2
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
3
4
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
5
สารบัญ Contents
ภาพปก : ดร.พิริยะ วงศ์คงคาเทพ Cover : Dr.Piriya Wongkongkathep
012
034
ตามรอยพ่อของแผ่นดิน
ฟ้าร�่ำไห้อาลัยพ่อของแผ่นดิน
พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
การเสด็จสู่สวรรคาลัยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สร้างความโศกเศร้าแก่ชาวไทยทั้งปวง
Following His Majesty the King’s Lifetime Path
The Skies mourn for the Father of the Land
คิดถึงพ่อ ของ แผ่นดิน In Remembrance of His Majesty King Bhumibol Adulyadej
082
196
ศาสตร์ศิลป์เกริกเกียรติพระบารมี
น้อมใจส่งเสด็จสู่สวรรคาลัย
ศาสตร์ศิลป์แห่งแผ่นดินจากการสร้างสรรค์ของช่างสรรพศิลป์ เพื่อถวายแด่พ่อของแผ่นดิน
พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
Finest Arts to honor the virtues of the King
Final Farewell before His Majesty the King’s return to Heaven
ผู้จัดทำ�และจัดพิมพ์ ลักคณา ทวีสุข และศิลปิน ช่างภาพจิตอาสา 33 สเปซ ซอยประดิพัทธิ์ 17 ถนนประดิพัทธิ์ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 090 905 1787, 085 906 4781 อีเมล์ : jazzmin-media@hotmail.com Created by: Luckkana Thaweesuk Volunteer Artist and Photographers 33 Space Soi Pradipat 17, Samsennai, Phaya Thai, Bangkok, 10440 Tel: 090 905 1787, 085 906 4781 E-mail: jazzmin-media@hotmail.com
พิมพ์ครั้งที่ ๑ ๒๕๖๐
First Published 2017 Copyright © 2017 by Jazzmin Media Co., Ltd. All rights reserved. บรรณาธิการ I Editor :: มาวิน โรจน์รติพร I Mawin Rojratiporn กองบรรณาธิการ I Editorial Staff :: กันตินันท์ ศุภวรรณาภรณ์ I Kantinan Supawannaporn ไรอัน แบ็ควิท I Ryan Beckwith ผู้แปล I Translator :: วนิชญา อินทรฑูต I Vanishaya Indraduta, สุวรรณา กนกเนตรสกล I Suwanna Kanoknadesakol วรรณภา ธรรมสังวาลย์ I Wannapa Thammasangwan ปิยจิตร แกสเนอร์ I Piyajit Gassner ศิลปกรรม I Design :: มูฮัมหมัด พันโพ I Muhammad Panpo
ค�ำน�ำ Foreward
ตลอดระยะเวลา ๗๐ ปีแ ห่ง การครองราชย์ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช พ่อหลวงของปวงชนชาวไทย ทรงเป็นตัวอย่างอันงดงามอย่างยิ่ง ไม่ว่า จะเป็นเรื่องของพระราชจริยวัตรและพระราชกรณียกิจ ทรงคิดถึงและทรงงานเพื่อพสก นิกรชาวไทยและประเทศชาติตลอดเวลา ภาพพระองค์ทรงงานหนักในการเสด็จฯ ไปเพือ ่ ทรงบ�ำบัดทุกข์บำ� รุงสุขแก่ประชาชนชาวไทยทัว่ ผืนแผ่นดินไทยยังเป็นรอยประทับอยู่ในใจ และความทรงจ�ำของเราทุกคน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเป็นศูนย์รวมใจของคนไทย ทั้งชาติ ทรงครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยามอย่างแท้จริง พระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมีต่อพสกนิกรล้นพ้นหาที่สุดมิได้ เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคต จึงน�ำความโศกเศร้าแผ่ปกคลุมไปทั่วแผ่นดิน เพียงมีประกาศให้ประชาชนเข้าถวาย สักการะพระบรมศพภายในพระบรมมหาราชวัง พสกนิกรที่เปี่ยมไปด้วยความรักและ ศรัทธาต่อในหลวงรัชกาลที่ ๙ จากทัว่ ประเทศพากันเดินทางมาต่อแถวยาวเหยียดบริเวณ ท้องสนามหลวง ด้วยความมุ่งมั่นที่จะได้น้อมกายก้มกราบสักการะพระบรมศพ ขณะเดียวกันตลอด ๑ ปีที่ผ่านมา ส�ำนักพระราชวังได้เตรียมงานพระราชพิธีถวาย พระเพลิงพระบรมศพอย่างพระสมเกียรติ ตามโบราณราชประเพณีเกี่ยวกับพระราช พิธีพระบรมศพที่มีความส�ำคัญอย่างยิ่ง ด้วยเป็นการเฉลิมพระเกียรติอย่างสูงสุดต่อ พระมหากษั ต ริ ย ์ มี ก ารสร้า งพระเมรุ ม าศและอาคารประกอบ ณ ทุ ่ง พระเมรุ ห รื อ ท้องสนามหลวง การบูรณะปฎิสังขรณ์ราชรถ ราชยาน และเครื่องประกอบพระราชพิธี รวมถึงการเตรียมงานมหรสพในงานออกพระเมรุ การสร้า งพระเมรุ ม าศที่ ถื อ เป็น แก่น กลางของงานพระราชพิ ธี ถ วายพระเพลิ ง พระบรมศพ ซึ่ ง นอกจากจะมี ค วามโดดเด่น ทางด้า นสถาปัต ยกรรมที่ ส ะท้อ นถึ ง พระเกียรติยศของพระมหากษัตริย์ไทย การออกแบบพระเมรุมาศ และสิ่งประกอบ พระเมรุมาศยังนับเป็นศาสตร์ศิ ลป์แ ห่งแผ่น ดิ น ที่ เกิ ด จากการสร้างสรรค์ร่วมกันของ ช่างฝีมือสรรพศิลป์ทั้งด้านสถาปัตยกรรม ศิลปกรรม จิตรกรรม ช่างทุกแขนงต่างทุ่มเท รังสรรค์งานอย่างสุดฝีมอ ื ให้พระเมรุมาศมีความวิจต ิ รงดงามเพือ ่ ถวายแด่พ่อของแผ่นดิน ผู้สถิตอยู่ในหัวใจของชาวไทยนิจนิรันดร์ “คิ ด ถึ ง พ่อ ของแผ่น ดิ น ” เป็น หนั ง สื อ ที่ จั ด ท� ำ ขึ้ น เพื่ อ เป็น การร� ำ ลึ ก ถึ ง พระมหา กรุณาธิคณ ุ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดชทีท ่ รงมีต่อปวงชนชาวไทย และร่วมเป็นส่วนหนึง่ ในการบันทึกหน้าประวัตศ ิ าสตร์ครัง้ ส�ำคัญของชาติ ทัง้ การสวรรคต ของกษัตริย์อันเป็นที่รัก ความอาลัยของพสกนิกรทั้งแผ่นดิน การจัดเตรียมงานพระราช พิ ธี ถ วายพระเพลิ ง พระบรมศพที่ เ ป็น การน� ำ ศาสตร์แ ละศิ ล ป์อั น ยิ่ ง ใหญ่ข องชาติ ม า หลอมรวมไว้ด ้ว ยกั น และพระราชพิ ธี ถ วายพระเพลิ ง พระบรมศพอั น สู ง ส่ง เพื่ อ ให้ คนรุ่นหลังได้เรียนรู้และจดจ�ำพระบารมีและศาสตร์ศล ิ ป์อน ั เกริกเกียรติของชาติทด ี่ ำ� รงอยู่ คู่กับสถาบันกษัตริย์นับจากอดีตและด�ำรงคู่ชาติไทยสืบต่อไป
10
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
Throughout 70 years of King Bhumibol Adulyadej’s reign, His Majesty has set many beautiful examples for the Thai citizens. Moreover, His Majesty’s conducts and royal activities explain how much he cared about the nation. The amount of effort he put in his work to assist his people is beyond words and these memories will forever and always be remembered. King Bhumibol Adulyadej’s death has left the nation in sorrow but he will always be the center of Thai people’s heart. He ruled the country by virtue of justice for the benefit of the Siamese public. Therefore, we are most grateful for the boundless and gracious kindness of His Majesty the late King. After his death, an announcement was made to inform people that they could pay homage to the Royal remains within the Grand Palace. Residents who love and believe in the late King, all traveled from different destinations to queue up in Sanam Luang area. Millions were present for one same reason, to pay homage to the Royal remains. According to the ancient traditions, a Royal Cremation ceremony is extremely significant. So, the Bureau of the Royal Household has spent the past year preparing for the Royal Cremation Ceremony. To honor the late King, the Royal Crematorium were constructed and located in Sanam Luang area. The restoration of the Royal vehicle, ritual equipment and ceremony preparation were also arranged. The construction of the Royal funeral pyre is considered as the central point of the Royal cremation ceremony. The stunning architecture reflected the late King’s honor and the design of the Royal funeral pyre were designed by top ranked Thai artists. These artists are specialized in architecture and fine art which all is devoted to creating the most magnificent work of art for our late King who will forever be in our hearts. “In Remembrance of His Majesty King Bhumibol Adulyadej” is a pictorial book published to reminisce His Majesty’s boundless and gracious kindness. Also, the book aims to be a part of national historical record whether it’s related to the late King’s death, the tears in the public’s eyes, the preparation of the Royal Cremation Ceremony and lastly the Royal Cremation Ceremony. These important national events are captured for the later generations to learn and remember the artistry of Thailand that have been with the monarchy from the past.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
11
ชื่อภาพ “พ่อของแผ่นดิน” เทคนิคการเขียนภาพ เกรยองบนกระดาษ ขนาดภาพ ๒๐๐ x ๑,๕๐๐ เซนติเมตร ศิลปิน : สุวิทย์ ใจป้อม เจ้าของภาพ ชนม์สวัสดิ์ อัศวเหม มอบให้อุทยานการเรียนรู้และหอชมเมืองสมุทรปราการ ด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
‘Father of the Land’ Crayon on paper 200 cm. x 1,500 cm. Artist : Suwit Jaipom ‘Father of the Land,’ a painting donated to Samut Prakan tower by Chonsawat Asavahame, in tribute of His Majesty King Bhumibol Adulyadej, 5th December 2013
14
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ตามรอยพ่อ ของแผ่นดิน Following His Majesty the King’s lifetime path
พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงพระนามเดิมว่า “พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมพ ิ ลอดุลยเดช” เสด็จพระราชสมภพเมือ ่ วันจันทร์ ขึน ้ ๑๒ ค�ำ่ เดือนอ้าย ปีเถาะ จุลศักราช ๑๒๘๙ ตรงกับวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๐ เวลา ๐๘.๔๕ นาฬิกา (ตรงกับเวลา ๒๐.๔๕ นาฬิกาในประเทศไทย) ณ โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นโรงพยาบาลเมานต์ ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศ สหรัฐอเมริกา เป็นพระโอรสพระองค์เล็ก ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี โดยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ พระราชทานพระนามว่า พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมิพล อดุลยเดช โดยค�ำว่า “ภูมิพล” มีความหมายว่า “พลังของแผ่นดิน” มีพระบรมเชษฐาธิราชและพระโสทรเชษฐภคินี คือ ๑. สมเด็จพระเจ้าพีน ่ างเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ประสูตเิ มือ ่ วันที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๖ ๒. พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ ๘ เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖๘ ในปี พ.ศ. ๒๔๗๑ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช โดยเสด็จสมเด็จพระบรมราชชนก และสมเด็จพระบรม ราชชนนีนิวัตพระนคร โดยประทับที่วังสระปทุม ซึ่งขณะนั้นมีพระชนมายุครบ ๑ พรรษา และในปีถัดมาสมเด็จพระบรมราชชนก ได้สวรรคตเมื่อวันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๔๗๒
Biography of Phra Bat Somdet Phra Poramintharamaha Bhumibol Adulyadej
Phra Bat Somdet Phra Poramintharamaha Bhumibol Adulyadej Mahitalathibet Ramathibodi Chakkrinaruebodin Sayamminthrathirat Borommanatbophit formerly known as “His Royal Highness Prince Bhumibol Adulyadej” was born on Monday, December 5th, 1927 at 08:54 pm. (20.54 hr. Thai time) at Cambridge Hospital (changed to Mount Auburn Hospital), Cambridge, Massachusettes, United States of America. He was the youngest son of His Royal Highness Prince Mahidol of Songkhla, and Somdet Phra Srinagarindra Boromarajajonani. His Majesty King Prajadhipok named him His Royal Highness Prince Bhumibol Adulyadej which means “strength of the land”. His Majesty the King has one older sister, Her Royal Highness Princess Galyani Vadhana, Princess of Naradhivas, who was born on Sunday, May 6th, 1923 and one older brother, His Majesty the King Poramentraramaha Ananda Mahidol, King Rama VIII, who was born on Sunday, September 20th,1925. On 1928, Phra Bat Somdet Phra Poramintharamaha Bhumibol Adulyadej Mahitalathibet Ramathibodi Chakkrinaruebodin Sayamminthrathirat Borommanatbophit, with his family arrived Thailand and stay at Wang Sa Patum, when he was one year old. His Majesty the King’s father passed away on September 24th, 1929.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
15
เมื่อพระชนมายุได้ ๕ พรรษา ทรงเข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอี กรุงเทพมหานคร ต่อจากนั้นทรงเสด็จไปศึกษาต่อ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในชั้นประถมศึกษา ที่โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน (LASAGNA) ในปี พ.ศ. ๒๔๗๘ ได้ทรงเข้า ศึกษาต่อที่ CEDE NOUBELLE DE LA SUES ROMANCE CHILLY ซึง่ เป็นโรงเรียนเอกชนทีร่ บ ั นักเรียนนานาชาติและทรงได้ รับประกาศนียบัตร บาเชอลิเย เอ แลทร์ จากการศึกษาดังกล่าว ทรงรอบรู้หลายภาษา ได้แก่ อังกฤษ ฝรัง่ เศส เยอรมัน และละติน ในระดั บ อุ ด มศึ ก ษาทรงเข้า ศึ ก ษาในแผนกวิ ท ยาศาสตร์ และวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เมื อ งโลซาน ต่อ มาในปี พ.ศ. ๒๔๘๑ ได้เสด็จนิวัตพระนครพร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช และสมเด็จพระพี่นางเธอ
เสด็จขึ้นครองราชย์
วันที่ ๙ มิถน ุ ายน พ.ศ. ๒๔๘๙ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล เสด็จสวรรคต ณ พระทีน ่ งั่ บรมพิมาน คณะรัฐบาล จึงได้กราบบังคมทูลเชิญ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติสืบราชสันตติวงศ์เป็น พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ขณะนั้นมีพระชนมายุ ๑๘ พรรษาเศษ ทรงเฉลิมพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และรัฐบาลได้แต่งตั้งคณะผู้ส�ำเร็จราชการ เพื่อบริหารราชการแผ่นดินแทนพระองค์ เนื่องจากยังทรงพระเยาว์และยังทรงมีพระราชภารกิจด้านการศึกษา สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภูมพ ิ ลอดุลยเดชเสด็จพระราชด�ำเนินกลับไปทรงศึกษาต่อเมือ ่ วันที่ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ ณ มหาวิทยาลัย โลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์เช่นเดิม แม้พระองค์จะทรงโปรดวิชาวิศวกรรมศาสตร์แต่เพื่อประโยชน์ในการปกครองประเทศ ได้ทรงเปลี่ยนมาศึกษาวิชาการปกครองแทน เช่น วิชากฎหมาย อักษรศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ นอกจากนี้ยังทรง ศึกษาและฝึกฝนการดนตรีด้วยพระองค์เองอีกด้วย ใน พ.ศ. ๒๔๙๑ ระหว่างทรงศึกษาอยู่ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์นน ั้ สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภูมพ ิ ลอดุลยเดชได้ทรง พบกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ธิดาในหม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร เอกอัครราชทูตไทยประจ�ำกรุงปารีส และ หม่อมหลวงบัว กิติยากร และต่อมาได้ทรงหมั้นหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ เป็นการภายใน เมื่อวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๒ โดยได้พระราชทานพระธ�ำมรงค์องค์เดียวกับที่สมเด็จพระบรมราชชนกทรงหมั้นสมเด็จพระบรมราชชนนี ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ประกาศข่าวทรงหมั้นกับหม่อมราชวงศ์ สิริกิติ์ กิติยากร เมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๙๒ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ King Bhumibol first attended Mater Dei School when he was 5 years old. Then, he continued his education at Ecole Miremont primary school Lausanne, Switzerland. In 1935, He started at Ecole Nouvelle de la Suisse Romande, International private school and received the baccalaurat des lettres (high school diploma). He was adept at English, French, German, and Latin. He applied to study science and engineering at the University of Lausann, while family returned to Thailand in 1938.
Ascension to the throne
On June 9th, 1946, King Ananda Mahidol was found dead at Borombiman Mansion. The cabinet invited Prince Bhumibol to ascend the throne as King Rama IX of Chakri Dynasty when he was 18 years old. Due to his youth and educational mission, he had to return to the University of Lausann to resume his study on August 19th, 1946, leaving Thailand under the regency administration. King Bhumibol had to change from his prefered subjects from engineering to political and social sciences such as law, arts, political science, public administration to be better suited to his new role as monarch. He also practiced music by himself. In 1948, while King Bhumibol continued his studies, he met Mom Rachawongse Sirikit Kitiyakara, daughter of the Thai ambassador to Paris, Prince Nakkhatra Mangala Kitiyakara and Mom Luang Bua Kitiyakara. On August 12th, 1949, the couple’s engagement was organized. King Bhumibol presented the same engagement ring that his father presented to his mother on their engagement day. The engagement was announced on July 19th, 1949 at Lausann, Switzerland.
16
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
17
18
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส เมื่ อ วั น ที่ ๒๗ กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. ๒๔๙๓ สมเด็ จ พระเจ้า อยู ่หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชเสด็ จ พระราชด� ำเนิ น กลั บ ประเทศไทย ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตงั้ การพระราชพิธถ ี วายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั อานันทมหิดล ระหว่าง วันที่ ๒๘-๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ และเมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๓ ทรงประกอบพิธีราชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์ สิรก ิ ต ิ ากร ทีว่ งั สระปทุม โดยสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ถวายน�ำ้ พระพุทธมนต์ น�ำ้ เทพมนต์ ิ ิ์ กิตย ทรงจดทะเบียนสมรสตามกฎหมายเช่นเดียวกับประชาชน และได้ทรงสถาปนาหม่อมราชวงศ์สริ ก ิ ต ้ เป็น สมเด็จพระราชินส ี ริ ก ิ ต ิ ิ์ ขึน ิ ิ์ ทั้งสองพระองค์มีพระราชธิดา และพระราชโอรส ๔ พระองค์ คือ ๑. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ๒. สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ ต่อมาทรงได้รบ ั สถาปนาเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เมื่อวันที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ทรงขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๑๐ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ เมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ทรงเฉลิมพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ๓. สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ ภายหลังทรงได้รับสถาปนาเป็น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ ๔. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
Royal wedding King Bhumibol returned to Thailand on February 27th, 1950 for the royal cremation of King Ananda Mahidol, which took place between March 28th-30th. On April 28th, the royal wedding took place at Srapatum Palace, presided over by Somdej Phra Sri Savarindra, the Queen’s Grandmother. They signed the marriage certificate the same as commoners. Mom Rachawongse Sirikit was elevated to Queen Sirikit.
King Bhumibol and Queen Sirikit have four children: 1. HRH Princess Ubolratana Rajakanya Sirivadhana Barnavadi 2. HRH Crown Prince Maha Vajiralongkorn, who was crowned King Rama X of the Chakri dynasty on October 13th, 2016 with the royal title “His Majesty King Maha Vajiralongkorn Bodindradebayavarangkun” 3. HRH Princess Sirindhorn Debaratanasuda Kitivadhanadulsobhak, was conferred the royal title of Somdet Phra Theppharat Rat Suda Chao Fa Maha Chakkri Sirinthon Ratthasima Khunakon Piyachat Sayam Borommaratchakumari on December 5th, 1977. 4. HRH Princess Chulabhorn Walailak Agrarajakumari
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
19
พระราชพิธีราชาภิเษก วันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภูมพ ิ ลอดุลยเดชได้ทรงประกอบพระราชพิธบ ี รมราชาภิเษกตามโบราณ ขัตติยราชประเพณี ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระปรมาภิไธยตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร” และได้พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการเป็นสัจจะวาจาว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน ชาวสยาม” ในการนีไ้ ด้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระราชินส ี ริ ก ิ ต ิ ิ์ พระอัครมเหสี เป็น สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี วันที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๓ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้เสด็จฯ พร้อมด้วย สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินี ได้เสด็จไปยังสวิตเซอร์แลนด์อีกครั้ง เพื่อทรงรักษาพระสุขภาพ และเสด็จพระราชด�ำเนินนิวัติพระนคร เมื่อวันที่ ๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๔ ประทับ ณ พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน และพระที่นั่งอัมพรสถาน
Coronation Ceremony On May 5th, 1950 King Bhumibol Adulyadej was crowned King of Thailand in the Baisal Daksin Throne Hall in the Grand Palace with the royal title “Phra Bat Somdet Phra Poramintharamaha Bhumibol Adulyadej Ramathibodi Chakkrinaruebodin Sayamminthrathirat Borommanatbophit”. His Majesty the King gave his oath of accession “We shall reign with righteousness, for the benefit and happiness of the people of Siam.” As part of the day’s ceremonies, Mom Sirikit was elevated to the rank of queen Sirikit. On June 5th, 1950, they returned to Switzerland and resumed his treatments. Finally, they returned to Thailand on December 2nd, 1951 and took residence at Amporn Palace and Chitralada Villa, Dusit Palace.
20
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
21
22
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ทรงพระผนวช เมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๙ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงพระผนวช ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ทรงจ�ำพรรษา ณ พระต�ำหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ทรงปฏิบัติพระศาสนกิจเป็นเวลา ๑๕ วัน ระหว่างนี้ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช ภายหลังจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึน ้ เป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิรก ิ ิติ์ พระบรมราชินน ี าถ ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคมปีเดียวกัน นอกจากนีพ ้ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดชยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระอิสริยยศสมเด็จพระบรม ชนกนาถขึ้นเป็น สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ทรงสถาปนาสมเด็จพระราชชนนี เป็น สมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา เป็น สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และทรงประกอบพระราชพิธีเฉลิมพระปรมาภิไธย สมเด็จพระบรม เชษฐาธิราช พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลใหม่ เมื่อวันที่ ๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๙ เพื่อให้สมพระเกียรติตาม โบราณขัตติยราชประเพณี
Entering the monkhood In late 1965, King Bhumibol Adulyadej entered the monkhood. And ordination was organized in the Temple of the Emerald Buddha on October 22nd, 1956, and resided in Wat Bowonniwet Vihara for 15 days appointing Queen Sirikit to be Queen Regent performing royal duties. King Bhumibol presented her the title “Somdet Phra Nang Chao Sirikit Phra Borommarachininat”, his Prince Father to “Somdej Phra Mahittalathibet Adulyadejvikrom Phra Borommarajachanok”, Princess mother to “Somdet Phra Srinagarindra Boromarajajonani”, the princess sister to “Somdet Phrachao Phinangthoe Chaofa Galyani Vadhana Krommaluang Naradhiwas Rajanagarindra”. Arranged the new royal title to the late King Rama VIII in order to honor him in accordance with ancient tradition.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
23
พระราชกรณียกิจ นับตัง้ แต่พท ุ ธศักราช ๒๕๐๒ เป็นต้นมา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสิรก ิ ต ิ ิ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงประกอบพระราชกรณียกิจอย่างต่อเนื่องยาวนาน ได้เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงกระชับสัมพันธไมตรีกับ ประเทศต่างๆ ทัง้ ในยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย และเอเชีย และได้เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเยีย ่ มราษฎรในภูมภ ิ าคต่างๆ ทุกภาค ทรงประจักษ์ในปัญหาของราษฎรในชนบททีด ่ ำ� รงชีวต ิ ด้วยความยากจน ล�ำเค็ญและด้อยโอกาส ได้ทรงมีพระวิรย ิ อุตสาหะหาทาง แก้ปัญหาตลอดระยะเวลาที่ทรงครองราชย์ อาจกล่าวได้ว่า ทุกหนทุกแห่งบนผืนแผ่นดินไทยที่รอยพระบาทได้ประทับลง พระองค์ทรงขจัดทุกข์ยาก น�ำความผาสุก และ ทรงยกฐานะความเป็นอยู่ของราษฎรให้ดีขึ้นด้วยพระบุญญาธิการและทรงมีพระปรีชาสามารถที่ปราดเปรื่อง พร้อมด้วย สายพระเนตรอันยาวไกล ทรงอุทิศพระองค์เพื่อประโยชน์สุขของราษฎรและเพื่อความเจริญของประเทศชาติตลอดระยะเวลา โดยมิได้ทรงค�ำนึงถึงประโยชน์สุขส่วนพระองค์
Royal duties Their Majesties the King and Queen did so much for the nation their reign since 1959. They visited Europe, America, Australasia, and Asia to enhance International relations. They also visited rural regions and remote corners to experience their hardship so they could help them. His long years of perseverance had improved the people’s livelihood. Every step his majesty stamped his feet upon, misery was eliminated, well-being was elevated by his righteousness, and keen vision. His devotion to the welfare of the people, and the nation throughout his reign was a noble act of selflessness.
24
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
25
26
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช ได้พระราชทานโครงการนานัปการมากกว่า ๔,๐๐๐ โครงการ ทัง้ การแพทย์ สาธารณสุข การเกษตร การชลประทาน การพัฒนาที่ดิน การศึกษา การพระศาสนา การสังคมวัฒนธรรม การคมนาคม ตลอดจนการเศรษฐกิจเพื่อประโยชน์สุขของพสกนิกรในชนบท ทั้งยังทรงขจัดปัญหาทุกข์ยากของประชาชนในชุมชนเมือง เช่น ทรงแก้ปัญหาการจราจร อุทกภัย และปัญหาน�้ำเน่าเสีย ตลอดจนได้ทรงริเริ่มโครงการการช่วยสงเคราะห์ และอนุรักษ์ช้างไทย อีกด้วย พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงตรากตร� ำพระวรกายทรงงานอย่า งมิ ท รงเหน็ ด เหนื่ อ ย แม้ใ น ยามพระประชวรก็มิได้ทรงหยุดยั้งพระราชด�ำริเพื่อขจัดความทุกข์ผดุงสุขแก่พสกนิกร กลางแดดแผดกล้าพระเสโทหลั่งชุ่ม พระพั ก ตร์แ ละพระวรกายตกต้อ งผื น ปฐพี ประดุ จ น�้ ำ ทิ พ ย์ม นต์ช โลมแผ่น ดิ น แล้ง ร้า งให้ก ลั บ คื น ความอุ ด มสมบู ร ณ์นั บ แต่ เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติตราบจนเสด็จสวรรคต พระองค์ทรงพระราชทานแนวทางด�ำรงชีพแบบ “เศรษฐกิจพอเพียง” และ “ทฤษฎีใหม่” ให้ราษฎรได้พึ่งตนเอง ใช้ผืนแผ่นดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด ประกอบอาชีพอยู่กินตามอัตภาพ ซึ่งราษฎรได้ยึดถือ ปฏิบัติเป็นผลดีอยู่ในปัจจุบัน
Phra Bat Somdet Phra Poramintharamaha Bhumibol Adulyadej has been given over 4,000 projects, including medical, public health, agriculture, irrigation, land development, education, religion, social affairs, cultural, transportation and economy for the benefit of people in rural areas. Urban conflicts such as traffic, floods, and water pollution were also solved. He also initiated projects for Thai elephant conservation. His majesty worked tirelessly, even under his unstable health condition. He never stopped striving to improve the lives of Thai people. Drops of his perspiration under the burning sun resembled ambrosia that revived drought to prosperity throughout his reign. He initiated “Sufficiency Economy” and “New Theory” allowing people to rely on themselves and make use of the land to achieve the most beneficial means for occupation, which most people have conformed to until now.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
27
พระอัจฉริยภาพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้พระราชทานความรักอันยิ่งใหญ่แก่อาณาประชาราษฎร์ ทรงปฏิบัติ พระราชภารกิจอันหนักเพื่อประโยชน์สุขของอาณาประชาราษฎร์ได้ปรากฏเป็นที่ประจักษ์ และเทิดทูนพระเกียรติคุณทั้งในหมู่ ชาวไทยและชาวต่างชาติ จึงทรงได้รับการสดุดีและการทูลเกล้าฯ ถวายปริญญากิตติมศักดิ์เป็นจ�ำนวนมากทุกสาขาวิชาการ ทั้งยังมีพระอัจฉริยภาพด้านดนตรีอย่างสูงส่ง ทรงพระราชนิพนธ์เพลงอันไพเราะนับแต่ยังทรงพระเยาว์จนถึงปัจจุบันรวม ๔๗ เพลง ซึ่งนักดนตรีทั้งไทยและต่างประเทศน�ำไปบรรเลงอย่างแพร่หลาย เป็นที่ประจักษ์ในพระอัจฉริยภาพจนสถาบันดนตรี ในออสเตรียได้ทูลเกล้าฯ ถวายสมาชิกภาพกิตติมศักดิ์แด่พระองค์ ทรงได้รบ ั ยกย่องเป็น “อัครศิลปิน” ของชาติ พระปรีชาสามารถด้านดนตรีแล้วยังทรงสร้างสรรค์งานจิตรกรรมและวรรณกรรม อันทรงคุณค่าไว้เป็นทรัพย์สินทางปัญญาของชาติ เช่น พระราชนิพนธ์แปล เรื่อง ติโต, นายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ และ ทรงพระราชนิพนธ์เรื่องพระมหาชนก พระราชทานคติธรรมในการด�ำรงชีวิตด้วยความวิริยอุตสาหะอดทนจนพบความส�ำเร็จ แก่พสกนิกรทั้งปวง นอกจากนั้นยังทรงเป็นนักกีฬาชนะเลิศรางวัลเหรียญทองในการแข่งขันกีฬาซีเกมส์อีกด้วย ไม่เพียงแต่พสกนิกรชาวไทยเท่านั้น แม้แต่ชาวต่างชาติก็ตระหนักและชื่นชมในพระอัจฉริยภาพของพระองค์จนน�ำมาสู่การ ถวายรางวัลและพระเกียรติยศต่างๆ มากมายกว่าร้อยรางวัลอันเนื่องมาจากพระอัจฉริยภาพ พระราชกรณียกิจ และพระราช อัธยาศัยในการแสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลาของพระองค์
Remarkable Talents His Majesty the king gave a profound love to his people. His mission for the welfare of the people has appeared as a manifestation of honor witnessed by Thais and foreigners. Several organizations and nations bestowed several honors and academic degrees in a wind range of fields upon His Majesty the king. His remarkable, natural aptitude for music was witnessed through the royal compositions (48 songs) and was recognized both nationally and internationally. His compositions were featured internationally. While the Institute of Music and Arts of the City of Vienna presented His Majesty King Bhumibol with an Honorary Membership in recognition of his outstanding musical achievements. He had been praised as the National “Supreme Artist”; In addition to his musical talents, his creativity in arts and literature were also preserved as a national intellectual property. He translated “Josip Broz Tito”, “A Man Called Intrepid” and composed Mahajanaka, based on Buddhist legend teaching Thai people to maintain perseverance in order to achieve their goals. He also won a gold medal in the SEA Games. Not only Thai people admired His Majesty the King’s talents, many international organizations also presented him with wide range of honors and awards for his talents, duties, and his constant seeking of knowledge.
28
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
29
30
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
พ่อหลวงอันเป็นที่รักยิ่ง ของปวงชนชาวไทย ปวงชนชาวไทยต่างมีความจงรักภักดีต่อพ่อหลวงอันเป็นที่รักยิ่งดังปรากฏในโอกาสส�ำคัญ อาทิ พระราชพิธีรัชดาภิเษก เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ ๒๕ ปี เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๔, พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๐, พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษกทรงด�ำรงสิริราชสมบัติยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ ทุกพระองค์วันที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๑, พระราชพิธีกาญจนาภิเษก ทรงสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี วันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๙ และพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐบาล และประชาชน ชาวไทยได้พร้อมใจกันจัดงานเฉลิมพระเกียรติและถวายพระพรชัยมงคลด้วยความจงรักภักดีและส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ล้นเกล้าล้นกระหม่อมอย่างสมพระเกียรติทุกวาระ
The beloved Father of Thailand The profound loyalty of Thai people towards the King Bhumibol has been visible through various exceptional occasions: Silver Jubilee celebration of the monarch on June 9th, 1971; the King’s 5th cycle birthday anniversary on December 5th, 1987; the royal ceremony to celebrate the longest-reigning Monarch surpassing any other reign in the history of Thailand on July 2nd, 1988; The Golden Jubilee celebration on June 9th, 1996 and the King’s 6th cycle birthday anniversary on December 5th, 1999. The government and the whole nation organized ceremonies to celebrate and commemorate with gratitude in his Majesty the King’s honor.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
31
เสด็จสู่สวรรคาลัย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชด�ำเนินจากพระต�ำหนักจิตรลดารโหฐานไปประทับ ณ โรงพยาบาลศิรริ าชเพือ ่ รักษาพระอาการประชวรอันเนือ ่ งมาจากพระโรคไข้หวัด และพระปัปผาสะ (ปอด) อักเสบในเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒ ต่อมาในเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้เสด็จพระราชด�ำเนินแปรพระราชฐานไปประทับ ณ พระต�ำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพื่อเปลี่ยนพระอิริยาบถ วันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เสด็จพระราชด�ำเนินมาประทับ ณ โรงพยาบาลศิริราชเนื่องจากมีพระอาการไข้ คณะแพทย์ ได้ถวายการรักษาจนพระอาการทั่วไปดีขึ้นตามล�ำดับ ตลอดระยะเวลาที่ประทับ ณ โรงพยาบาลศิริราช ส�ำนักพระราชวัง ได้ออกแถลงการณ์เกี่ยวกับพระอาการประชวรให้ทราบเป็นระยะมาโดยตลอด จนกระทั่งเมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๙ เวลา ๑๕ นาฬิกา ๕๒ นาที พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จสวรรคต ณ โรงพยาบาลศิริราชด้วยพระอาการสงบ สิริพระชนมพรรษา ปีที่ ๘๙ ทรงครองราชสมบัติ ได้ ๗๐ ปี
The passing of the King
Phra Bat Somdet Phra Poramintharamaha Bhumibol Adulyadej moved from Chitlada Villa to Siriraj Hospital to be treated for flu and lung infection in September 2009. Later, His Majestry returned to Phra Tamnak Piem Suk, Klai Kang Won Palace in Hua Hin, Prachuap Khiri Khan Province. In October 2014, King Bhumibol was admitted at Siriraj Hospital for the treatment of a fever. The treatment improved respectively according to the report from the doctors. While the Bureau of the Royal Household announced the result of the treatments regularly during the King’s stay at the hospital. On October 13th, 2016 at 3:52 pm. local time, Phra Bat Somdet Phra Poramintharamaha Bhumibol Adulyadej passed away peacefully at Siriraj Hispital, at the age of 88 after a 70 year on the throne.
32
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
33
34
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
35
ฟ้าร�่ำไห้อาลัย พ่อของแผ่นดิน The Skies mourn for the Father of the land
“พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชด�ำเนินไปประทับรักษาพระอาการประชวร ณ โรงพยาบาลศิริราช ตั้งแต่วันศุกร์ที่ ๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗ ตามที่ส�ำนักพระราชวังได้แถลงให้ทราบเป็นระยะแล้วนั้น แม้คณะแพทย์ได้ถวายการรักษาอย่างใกล้ชิดจนสุดความสามารถ แต่พระอาการประชวรหาคลายไม่ ได้ทรุดหนักลงตามล�ำดับ ถึงวันพฤหัสบดีที่ ๑๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๙ เวลา ๑๕ นาฬิกา ๕๒ นาที เสด็จสวรรคต ณ โรงพยาบาลศิริราช ด้วยพระอาการสงบ สิริพระชนมพรรษาปีที่ ๘๙ ทรงครองราชสมบัติได้ ๗๐ ปี” - ส�ำนักพระราชวัง ๑๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๙ -
“Phra Bat Somdet Phra Poramintharamaha Bhumibol Adulyadej Mahitalathibet Ramathibodi Chakkrinaruebodin Sayamminthrathirat Borommanatbophit was admitted to Siriraj Hospital for the treatment of his illness on October 3rd, 2014 according to the announcement from the Bureau of the Royal Household. Even though the medical team has provided the best possible treatment, the King’s condition was unstable and started to deteriorate respectively until October 13th, 2016 at 3:52pm., the King passed away peacefully at Siriraj Hospital, at the age of 88 after a 70 year reign on the throne.” - Royal Household October 13th, 2016 -
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
37
หลั ง ทราบข่า วเศร้า เมื่ อ ส� ำ นั ก พระราชวั ง ประกาศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร เสด็จสวรรคต ที่ โรงพยาบาลศิ ริ ร าช ประชาชนหลายพั น คนที่ ม า รวมตัวอยู่บริเวณลานพระราชานุสาวรีย์ สมเด็จ พระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และภายในศาลาศิรริ าช ๑๐๐ ปี ต่างพากันร�ำ่ ไห้ด้วย ความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อการเสด็จสวรรคตของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ผู้เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวไทยทั้งประเทศ เช่นเดียวกับพสกนิกรทัว่ ประเทศและทุกหนแห่ง ทั่วโลกที่ได้ทราบข่าวการเสด็จสู่สรวงสวรรค์ของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ต่า งตกอยู ใ่ นอาการเศร้า โศกเสี ย ใจอย่า งหาที่ เปรียบมิได้ เมื่อพระมหากษัตริย์อันเป็นที่รักยิ่งชีพ ของพวกเขา พระมหากษัตริยผ ์ ู้เสียสละความสุข ส่ว นพระองค์ใ นการดู แ ลทุ ก ข์สุ ข ของประชาชน พระมหากษัตริย์ผู้ทุม ่ เทท�ำงานหนักตลอดรัชสมัย เพือ ่ ความผาสุกของอาณาประชาราษฎร์ได้จากไปแล้ว ในห้วงหลายปีที่ผ่านมา พระบาทสมเด็จพระ ปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชทรงพระประชวร และได้เสด็จฯ ไปประทับโรงพยาบาลศิริราชเป็น ระยะ เมื่ อ พระอาการบรรเทาลงก็ จ ะทรงปฏิ บั ติ พระราชกรณียกิจตามปกติด้วยพระวิริยอุตสาหะ เพื่อความผาสุกของพสกนิกร ย้อ นไปเมื่ อ วั น ที่ ๓ ตุ ล าคม พ.ศ. ๒๕๕๗ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น จากพระต� ำ หนั ก เปี่ย มสุ ข วังไกลกังวล อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ มาประทับ ณ โรงพยาบาลศิรริ าช เพือ ่ ประทับรักษาพระอาการ ประชวร ต่อมาส�ำนักพระราชวังได้ออกแถลงการณ์ ฉบับที่ ๒ ในวันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ระบุว่า พระองค์ทรงมีพระปรอท (ไข้) สูง ผลการตรวจ พระโลหิตแสดงว่ามีภาวะติดเชือ ้ มีการเปลีย ่ นแปลง ในความดั น พระโลหิ ต และอั ต ราการเต้น ของ พระหทัยเร็วขึ้น คณะแพทย์จึงได้กราบบังคมทูล เชิญเสด็จพระราชด�ำเนินไปประทับ ณ โรงพยาบาล
38
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ศิ ริ ร าช เพื่ อ ถวายการตรวจด้ว ยเครื่ อ งมื อ พิ เ ศษ จากนั้ น เมื่ อ วั น ที่ ๑๕ ธั น วาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ส�ำนักพระราชวังได้ออกแถลงการณ์ ฉบับที่ ๑๒ คณะแพทย์ไ ด้ร ายงานว่า พระอาการทั่ ว ไปดี ขึ้ น และพระวรกายแข็งแรงเป็นล�ำดับ จึงเสด็จฯ กลับไป ประทับที่วังไกลกังวล กระทั่ ง วั น ที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จออกจากพระต�ำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล กลับมาประทับที่โรงพยาบาลศิริราชตามค�ำกราบ บังคมทูลเชิญของคณะแพทย์ เพื่อถวายการตรวจ พระสมองด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ เพื่อ ติดตามผลของการใส่สายระบายน�้ำไขสันหลังจาก ช่องไขสันหลังเข้าสู่ช่องพระนาภี และประทับอยู่ที่ โรงพยาบาลจนสวรรคตเป็นเวลา ๕๐๒ วัน วันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ พระราชโอรส-ธิดา ทั้งสี่พระองค์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสม สวลี พระวรราชาทินด ั ดามาตุ และพระเจ้าหลานเธอ อีกสองพระองค์เข้าเยี่ยมพระอาการประชวร โดย ประชาชนจ�ำนวนมากได้เดินทางมายังโรงพยาบาล ศิริราชเพื่อถวายพระพรให้ทรงหายจากพระอาการ ประชวร กิจกรรมส�ำคัญคือการสวดบทโพชฌังคปริตร ซึง่ เชือ ่ ว่าจะเป็นบทสวดมนต์ปัดเป่าโรคร้าย พร้อมทัง้ มี ก ารเชิ ญ ชวนประชาชนสวมเสื้ อ สี ช มพู ซึ่ ง เป็น สีเสริมดวงพระราชสมภพและมีการร่วมกันถวาย พระพร จนถึงวันพฤหัสบดีที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เ ป ็น วั น สู ญ เ สี ย ค รั้ ง ใ ห ญ ่ห ล ว ง ข อ ง พ ส ก นิ ก ร ประชาชนชาวไทย แม้ค ณะแพทย์ไ ด้ถ วายการ รั ก ษาอย่า งใกล้ชิ ด จนสุ ด ความสามารถ แต่พ ระ อาการประชวรได้ทรุดหนักลงตามล�ำดับ พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จ สวรรคต ณ โรงพยาบาลศิริราช ด้วยพระอาการ สงบ สิ ริ พ ระชนมพรรษาปีที่ ๘๙ ทรงครองราช สมบัติได้ ๗๐ ปี ล่วงก่อนรุ่งสางของวันที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ประชาชนทุกสารทิศพากันทยอยเดินทางมาจับจอง พืน ้ ทีส ่ องฝัง่ ถนนตลอดเส้นทางอัญเชิญพระบรมศพ จากโรงพยาบาลศิรริ าชถึงประตูพระบรมมหาราชวัง
ทุ ก คนตระหนั ก ดี ว ่า นี่ เ ป็น ครั้ ง สุ ด ท้า ยที่ จ ะได้เ ฝ้า ถวายสั ก การะพระบรมศพพระบาทสมเด็ จ พระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชอันเป็นที่รักยิ่งของ พวกเขา แม้เวลาผ่านไปจากสายจรดบ่ายคล้อย ท่ามกลาง แสงแดดแรงกล้า กลั บ มิ อ าจท� ำ ให้เ หล่า พสกนิ ก ร ผู้โศกตรมย่อท้อต่อการเฝ้าถวายสักการะพระบรมศพ เป็นครั้งสุดท้าย ขณะเดียวกันจ�ำนวนผูค ้ นได้เพิ่ม มากขึ้นเรื่อยๆ จนเต็มล้นริมฝั่งถนน ด้วยทุกคน ล้วนเทิดทูน “ในหลวงรัชกาลที่ ๙” เต็มเปี่ยมหัวใจ ตลอดชีวิต กระทั่งถึงเวลาบ่ายสี่โมง สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ครัง้ ยังเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร พร้อ มด้ว ยพระบรมวงศานุ ว งศ์ไ ด้เ สด็ จ พระราช ด� ำ เนิ น ไปยั ง อาคารเฉลิ ม พระเกี ย รติ ช้ั น ๑๖ โรงพยาบาลศิริราช เพื่อเคลื่อนพระบรมศพของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ไปประกอบพระราชพิ ธี ส รงน�้ ำ พระบรมศพ ณ พระที่นั่งพิมานรัตยา พระบรมมหาราชวัง ขบวนรถอัญเชิญพระบรมศพเคลื่อนออกจาก โรงพยาบาลศิ ริ ร าชไปยั ง พระบรมมหาราชวั ง ตามเส้น ทางถนนอรุ ณ อมริ น ทร์ ข้า มสะพาน สมเด็จพระปิ่นเกล้า เลีย ้ วขวาเข้าถนนราชด�ำเนินใน ถนนหน้าพระลาน เลี้ยวซ้ายเข้าถนนมหาราช เข้าสู่ พระบรมมหาราชวังทางประตูวเิ ศษไชยศรีและประตู พิมานไชยศรี ตลอดเวลาที่ ข บวนรถอั ญ เชิ ญ พระบรมศพ เคลื่อนอย่างช้าๆ ไปตามเส้นทาง มีพสกนิกรเฝ้า ถวายสักการะหนาแน่นสองข้างทาง ต่างพนมมือ ตั้ ง จิ ต อธิ ษ ฐานและก้ม กราบพระบรมศพโดย ไม่ต้องนัดหมาย หยาดน�้ำตาอาบแก้มเป็นรอยอุน ่ ทุกคนล้วนร�่ำไห้น�้ำตานองหน้าด้วยความอาดูรและ อาลั ย ดั่ ง ใจจะขาด บรรยากาศเต็ ม ไปด้ว ยความ โศกเศร้า เมือ ่ พวกเขาจ�ำต้องเฝ้ามองขบวนรถอันเชิญ พระบรมศพลับตาเข้าสู่พระบรมมหาราชวัง ตลอดช่วงค�่ำคืนของวันที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บริ เ วณประตู วิ เ ศษไชยศรี มี พ สกนิ ก ร เดินทางเข้ามาถวายสักการะพระบรมศพที่บริเวณ
ด้า นนอกพระบรมมหาราชวั ง ต่อ ถึ ง เช้า มื ด วั น ที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ พสกนิกรจากทัว่ ทุกสารทิศ แต่ง กายด้ว ยชุ ด สี ด� ำ ไว้ทุ ก ข์ท ยอยหลั่ ง ไหลมา ถวายสั ก การะพระบรมศพอย่า งต่อ เนื่ อ งจนเต็ ม บริเวณหน้าประตูวิเศษไชยศรี รวมทั้งประชาชน จ�ำนวนมากพากันเดินทางจากต่างจังหวัดด้วยตั้งใจ มาถวายสักการะพระบรมศพและปักหลักพักค้างคืน ที่ท้องสนามหลวง ขณะเดียวกันบริเวณก�ำแพงพระบรมมหาราชวัง ประชาชนส่ว นหนึ่ ง นั่ ง สวดมนต์ภ าวนา หั น หน้า เข้าไปภายในพระบรมมหาราชวัง บางคนก้มกราบ ด้วยความอาลัยน�ำ้ ตานองใบหน้า ขณะทีม ่ ป ี ระชาชน เลือกเดินทางมายังพระบรมมหาราชวังในช่วงค�ำ่ คืน เพียงเพื่อขอโอกาสได้ถวายสักการะพระบรมศพ ณ เบื้องหน้าประตูวิเศษไชยศรี บ้างเลือกล้อมวง จุ ด เที ย นระลึ ก ถึ ง พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ณ สถานที่ซึ่งเคยใช้ประกอบ พิธีจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในโอกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา นับเป็นเรื่องที่ดีที่ในยามทุกข์โศกของบ้านเมือง เช่น นี้ ประชาชนอี ก ส่ว นหนึ่ ง มุ ่ง หน้า มาสู ่บ ริ เ วณ โดยรอบพระบรมมหาราชวัง เพือ ่ ช่วยบริการอาหาร น�้ ำ ดื่ ม และของขบเคี้ ย วแก่ผู ้ม าถวายสั ก การะ พระบรมศพ ตลอดจนผู ้อ าสารั บ ส่ง ประชาชนที่ เดินทางมาพระบรมมหาราชวังด้วยน�้ำใจจิตอาสา ทั้งนี้ ส�ำนักพระราชวังประกาศเรื่อง การถวาย สักการะพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ว่า ได้รับพระราชานุญาตให้ ประชาชนเข้าถวายสักการะพระบรมศพ เบื้องหน้า พระบรมโกศ ณ พระทีน ่ งั่ ดุสต ิ มหาปราสาท ภายหลัง จากการพระราชพิธีทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศลครบ ๑๕ วัน ได้ตั้งแต่วันที่ ๒๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นไป หลังทราบประกาศส�ำนักพระราชวัง อนุญาตให้ ประชาชนเข้าถวายสักการะพระบรมศพ ผ่านทาง ประตูวเิ ศษไชยศรี ประตูพม ิ านไชยศรี พระทีน ่ งั่ จักรี มหาปราสาท คลื่นพสกนิกรที่เปี่ยมไปด้วยความ รั ก และศรั ท ธาต่อ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช จากทัว่ ประเทศ พากันเดินทาง
มาต่อ แถวยาวเหยี ย ดบริ เ วณท้อ งสนามหลวง ด้ว ยความมุ ่ง มั่ น ที่ จ ะได้น ้อ มกายก้ม กราบถวาย สักการะพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ด้ว ยส� ำ นึ ก ในพระมหา กรุณาธิคุณ ทรงตรากตร�ำทุ่มเทพระวรกาย เพื่อให้ ประชาชนได้อ ยู่ได้กินอย่างร่มเย็นเป็นสุขมานาน ถึง ๗๐ ปี ส� ำ นั ก พระราชวั ง ได้ก� ำ หนดเส้น ทางการเข้า ถวายสักการะพระบรมศพโดยให้ขบวนประชาชน ซึง่ เดินมาจากสนามหลวงเข้ามาทางประตูวเิ ศษไชยศรี ผ่านประตูพิมานไชยศรี จากนั้นให้เลี้ยวขวาไปยัง พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ถึงประตูก�ำแพงแก้ว ด้า นตะวั น ออกของพระที่ นั่ ง ดุ สิ ต มหาปราสาท จะมี เ จ้า หน้า ที่ ค อยจั ด แถวเพื่ อ ให้ป ระชาชน เข้าไปกราบถวายสักการะพระบรมศพ จากนั้นให้ เดินผ่านประตูก�ำแพงแก้วด้านตะวันออก เพื่อขึ้นสู่ พระที่นั่งด้านมุขตะวันออกของพระที่นั่ง ในแต่ละวันมีพสกนิกรต่างเดินทางมาสักการะ พระบรมศพอย่างต่อเนือ ่ งเป็นจ�ำนวนมาก ครัน ้ เมือ ่ พสกนิกรได้ถวายสักการะพระบรมศพ และตั้งจิต อธิ ษ ฐานขอเป็น ข้า รองบาททุ ก ชาติ เ สร็ จ สิ้ น ทั้งหมดต้องหันหลังกลับผ่านทางประตูก�ำแพงแก้ว ฝั่งทิศตะวันตก เจ้าหน้าที่ส�ำนักพระราชวังได้มอบ ภาพพระราชทาน เป็นภาพพระบรมโกศพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้กลับไปไว้เป็นที่ระลึก แม้ใกล้ถงึ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ซึง่ เป็น วันสุดท้ายของการกราบถวายสักการะพระบรมศพ ทว่า เหล่า พสกนิ ก รที่ เ ดิ น ทางมากลั บ เพิ่ ม จ� ำ นวน มากขึ้น ทุกคนทราบดีว่าจวนถึงโอกาสสุดท้ายที่ จะได้ใ กล้ชิ ด พระองค์ ก่อ นถึ ง พระราชพิ ธี ถ วาย พระเพลิงพระบรมศพ กระทัง่ เมือ ่ วันที่ ๒๘ กันยายน ด้วยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงห่วงใยว่าประชาชน จะมีโอกาสกราบถวายสักการะพระบรมศพพระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชได้ ไม่ทั่วถึง และเพื่อพระราชทานขวัญและก�ำลังใจ แก่ประชาชน ในการนี้จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมให้เลื่อนก�ำหนดวันสุดท้ายของการ กราบถวายสั ก การะพระบรมศพพระบาทสมเด็ จ
พระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช จากเดิมวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ออกไปจนถึงเวลา ๒๔.๐๐ นาฬิกา ของคืนวันที่ ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ จนถึ ง วั น สุ ด ท้า ยของการกราบถวายสั ก การะ พระบรมศพบนพระที่ นั่ ง ดุ สิ ต มหาปราสาท ใน พระบรมมหาราชวัง พสกนิกรจากทั่วภูมิภาคต่าง หลั่ ง ไหลมายั ง บริ เ วณสนามหลวงอย่า งล้น หลาม ด้วยจุดมุ่งหมายเดียวกัน แม้รู้ว่าต้องต่อแถวยาว เป็นระยะเวลาหลายชัว่ โมง ทุกคนสู้อดทนด้วยความ สงบและภู มิ ใ จ แม้เ จ้า หน้า ที่ เ ริ่ ม ทยอยปิด ประตู คั ด กรองตั้ ง แต่เ วลา ๒๔.๐๐ นาฬิ ก า แต่ยั ง มี ประชาชนรอด้านหน้าจุดคัดกรอง เจ้าหน้าทีจ่ งึ ขยาย เวลาปิดให้ประชาชนบางส่วนเดินทางเข้ามาถวาย สักการะพระบรมศพจนถึงคนสุดท้าย ล่วงผ่านเลยไปถึงเวลาประมาณ ๐๒.๔๐ น. ของวันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ประชาชนกลุ่ม สุ ด ท้า ยที่ ไ ด้เ ข้า กราบถวายสั ก การะพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พากันเดินออกจากพระบรมมหาราชวังด้วยความ อาลั ย อย่า งโศกสลด และทั น ที ที่ ป ระชาชนกลุ ่ม สุดท้ายเดินพ้นประตูพระบรมมหาราชวัง เจ้าหน้าที่ ได้ปิดประตูวเิ ศษไชยศรี เป็นการสิน ้ สุดการเข้ากราบ ถวายสักการะพระบรมศพ ทว่าพสกนิกรจ�ำนวนมาก ยั ง คงรวมตั ว อยู ่บ ริ เ วณหน้า พระบรมมหาราชวั ง ต่า งพากั น ไปนั่ ง พนมมื อ หั น หน้า เข้า หาก� ำ แพงวั ง พร้อ มเปล่ง เสี ย งร้อ งเพลงสรรเสริ ญ พระบารมี ดังกึกก้องไปทั่วบริเวณ เพื่อแสดงความอาลัยและ น้อ มส� ำ นึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชที่ มี ต ่อ พสกนิกรของพระองค์เป็นครั้งสุดท้าย
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
39
After the Royal Household announced the tragic news of the death of Phra Bat Somdet Phra Poramintharamaha Bhumibol Adulyadej Mahitalathibet Ramathibodi Chakkrinaruebodin Sayamminthrathirat Borommanatbophit at Siriraj Hospital, thousands of loyal people gathered around the courtyard where the statue of Somdet Phra Mahitalathibet Adunyadetwikrom Phra Borommaratchachanok stands and at the grand hall of 100th Year Somdech Phrasrinagarindra Building. They cried with grief to the loss of the heart and soul of the Nation. As well as The King’s supporters within the country and from all around the world were in an incomparable grief when they heard the news of His Majesty the King whom they love more than their lives. They lost their king who sacrificed his happiness in caring for the welfare of the people and who had worked hard all his reign for the well-being of his people. The past several years, Phra Bat Somdet Phra Poramintharamaha Bhumibol Adulyadej had been hospitalized at Siriraj Hospital periodically. When the illness was alleviated, the King would perform his royal duties for the great benefit of the subjects. On October 3rd, 2014, Phra Bat Somdet Phra Poramintharamaha Bhumibol Adulyadej and Queen Sirikit proceeded from Phra Tamnak Piem Suk, Klai Kang Won Palace, Hua Hin, Prachuap Khiri Khan Province to Siriraj Hospital to be treated for his illness. Later, the Royal Household Bureau issued the 1st statement on October 4 stating that the King had a high fever, a blood infection was revealed after the test and
40
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
there was a change in his blood pressure and increase in his pulse. Therefore the team of royal doctors invited his Majesty the King to reside at Siriraj Hospital to be examined with specialized medical instruments. On December 15 th, the 12th statement from the Royal Household announced the recovery of the King’s condition and then he returned to Klai Kang Won Palace. The royal doctors invited his Majesty the King to return to Siriraj Hospital again on May 31th to have his brain scanned and to monitor the excessive spinal fluid drainage. His Majesty the kind had been in Siriraj Hospital for 502 days until his last day. On October 12 th , the royal family (The crown Prince and three Princesses) together with, Princess Soamsavali Phravararajatinuddhmat, and the two Princess Granddaughters arrived at Siriraj Hospital with concern. Large numbers of Thais came to Siriraj Hospital to give their best wishes for his Majesty the king’s recovery. The main activity is to chant the pochangkaparitra gatha believing that it would heal illness and persuaded Thais to dress in pink symbolizing good health and luck to bless His Majesty. The great loss of the Thai Nation happened on October 13th. Even though the medical team has provided the best possible treatment, the King’s condition was unstable and started to deteriorate respectively. Phra Bat Somdet Phra Poramintharamaha Bhumibol Adulyadej passed away peacefully at Siriraj Hospital, at the age of 89 after a 70 year reign on the throne.”
Before dawn of October 14th, people from all corners of Thailand came to occupy the area on both sides of the street to present their affection for the King along the route from Siriraj Hospital to the Grand Palace. They realized that was the last time they could bid His Majesty the King farewell. Time passing from late morning to late afternoon amidst the intense sunlight could not stop the distressed crowd who waited to pay a final tribute to their beloved King. The number of people had increased so much that there was no space on both sides of the street to present their adoration to “Nai Luang” who they had loved whole heartedly. At 15:59 pm. King Mahawachiralongkon Bodinthrathepphayawarangkun, the former Royal Highness Crown Prince Maha Vajiralongkorn with the royal families arrived at 16th floor, Chalermphrakiet Building, Siriraj Hospital to take the King’s body for the bathing ritual at Phiman Rattaya Throne Hall, the Grand Palace. The body was carried by an autocade from Siriraj Hospital to the Grand Place along Arun Ammarin Road, Phra Pin Klao Bridge, turning right to Ratchadamnoen Nai Road, Na Phra Lan Road, turning left to Maharaj Road leading to the Grand Place through Wisetchaisri and Pimanchaisri Gate. At the time of the slow procession, the crowded subjects along the street paid their respects without prior arrangement. Everyone shed their warm tears and mourned in despair amidst the sorrowful surroundings while the royal procession moved away to the Grand Palace. People came come to pay their respects to the King’s body around the Wisetchaisri
Gate, outside the Grand Palace from dusk of October 14th to dawn of October 15th. The surrounding crowd, dressed in black in mourning gradually came to prostrate the King’s body around Wisetchaisri Gate, including people from other provinces who stayed overnight at Sanam Luang with intention to pay their respects to the King’s body. At the same time around the walls of the Grand Palace were full of people praying and prostrating with teared faces turning to the Grand Palace. Some people decided to come at night just for an opportunity to pay their respects in front of the Wisetchaisri Gate while some chose to light the candle in remembrance of His Majesty the King at the venue where the King’s birthday was celebrated. It’s such joy in grief of the nation to see the public cooperation coming around the Grand Palace to give out free food, drinking water, and snacks to the people who came to worship as well as the volunteers who offered free rides to the Grand Palace. The Royal Household announced that after the 15th day (October 29th, 2016 onwards) of Buddhist rite, the public were allowed to pay their respects and attend the lying-instate before the Royal Urn in the Dusit Maha Prasat Throne Hall of the Grand Palace. After the statement from the Royal Household allowing public attendance through Wisetchaisri Gate, Pimanchaisri Gate, and Chakri Maha Prasat Throne Hall, trains of the King’s loyal subjects from all over the country queued around Sanam Luang with a determination to pay tribute to the body of His Majesty the King in remembrance of
his mercy and his selflessness devotion to improve the well-being of Thai people over the past 70 years. The Bureau of the Royal Household set the path for the public to pay their respects to the King’s body starting from Sanam Lauang through Wisetchaisri Gate, Pimanchaisri Gate, turning right to Dusit Maha Prasat Throne Hall to the east defensive wall of Dusit Maha Prasat Throne Hall. From there, there were officers who attended the queue up people to the Throne Hall pay their respects to the King’s body. After that the crowd had to walk through the east defensive wall to rise to the east porch shrine of the Throne. Each day, there were thousands of mourners coming to pay their respects to the King’s body before the Royal Urn and prayed to forever be His Majesty’s humble subjects. After finishing, everyone had to turn back through the west defensive wall and would receive the picture of His Majesty the King’s Royal Urn as a souvenir. The Royal Funerary Urn used for His Majesty King Bhumibol Adulyadej at the Dusit Maha Prasat Throne Hall is a large golden Urn built in Phra Phutthayotfa Chulalok, 1808. He commanded to dismantle the gold covering the glass used in the funeral of the princess sisters, Chao Fah Krom Phraya Thepsudawadee and Chao Fah Krom Phra Srisudaraksa of King Rama I in 1799 to make a large golden urn for himself and that made a tradition to use Phra Kot Thong Yai for the deceased Kings. Phra Kot Thong Yai is decorated with diamond Poom khao bin pattern on top of Phra Kot Thong Yai, artificial flowers on
spring wires, tassel, silver tuft on the Phra Kot cover, and flowers for Phra Kot. Even close to September 30th, 2017, the last day to be allowed to pay their respects to the King was approaching, trains of loyal subjects were increasing as they realized that it was their last opportunity to be close to His Majesty the King before the cremation ceremony. Until September 28th, His Majesty King Maha Vajiralongkorn Bodindradebayavarangkun concerned the lack of opportunity of the public and to give moral support to the his subjects, he extended the period of paying respect to the late King Bhumibol before the Royal Urn in Dusit Maha Prasat Throne Hall from September 30th to the midnight of October 5th, to be the last day. People from all walks of life and every corner of the country poured into Sanam Luang area with the same goal even though they realized that they needed to wait in a long queue. They had waitd with patience and pride. The officers began closing the screening points at midnight, but there were still a lot of people waiting in line, they had to extend the closure time for the last person. Until October 6, at 02:40 am., the last group of crowd exited the Grand Palace with deep grief. As soon as the last crowd left the gate, the officers started to close Wisetchaisri gate as a sign of the end of the mourning tribute to the King Bhumipol. However, the crowd was still gathering in front of the Grand Palace, reverberated with the Royal Anthem in remembrance of his grace and mercy of King Bhumibol to his subjects.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
41
คลื่นประชาชนชาวไทยที่หลั่งไหลไปเฝ้าถวายสักการะพระบรมศพตลอดเส้นทางที่ขบวนรถ อันเชิญพระบรมศพในหลวงรัชกาลที่ ๙ จากโรงพยาบาลศิริราชไปยังพระบรมมหาราชวัง ต่างอยู่ในอาการเศร้าโศกเสียใจ และร�่ำไห้จากการสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่
42
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
The procession of the King Bhumibol Adulyadej’s body while crossing Pinklao Bridge crowded with people who waited to witness their beloved King for the last time.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
43
ช่อดอกไม้จ�ำนวนมากที่ประชาชนน�ำมาถวายสักการะหน้าพระบรม ฉายาลักษณ์ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ที่ท้องสนามหลวง
44
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
People brought the bouquets of flowers to give the condolences in front of the King’s image.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
45
คลื่นประชาชนชาวไทยพากันเดินผ่าน ประตูพิมานไชยศรี เพื่อถวายสักการะ พระบรมศพในพระบรมมหาราชวัง People went through Piman Chai Si Gate to pay homage to the King’s body in the Grand Palace.
46
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
47
ประชาชนชาวไทยจากทั่วทุกสารทิศต่างหลั่งไหลมา รวมตัวกันบริเวณท้องสนามหลวงเพื่อรอการรวมพลัง ร่วมร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีเพื่อน้อมร�ำลึก ในพระมหากรุณาธิคุณและร่วมแสดงความอาลัย ในหลวงรัชกาลที่ ๙ Several thousands of people gathered at Sanam Luang to express their condolences to His Majesty King Rama IX.
48
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
บน : เมื่อทราบข่าวการเสด็จสวรรคตของ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ประชาชนทุกเพศทุกวัยต่าง มุ่งหน้ามาที่พระบรมมหาราชวังเพื่อจะได้มีโอกาส เข้ามาถวายสักการะพระบรมศพให้ใกล้มากที่สุด
Above : With love and faith in the King Rama IX people did not give up in traveling to queue for paying homage to the King’s body.
ล่าง : ประชาชนนั่งสวดมนต์ภาวนาและ ถวายดอกไม้แสดงความอาลัยริมก�ำแพง พระบรมมหาราชวัง
Below : People sat down, prayed, and gave the flowers to represent their condolences at the wall of the Grand Palace.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
49
50
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
51
ประชาชนต่างพร้อมใจกันจุดเทียนและร่วมกัน ร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีดังกึกก้องไปทั่วทั้ง บริเวณหน้าพระบรมมหาราชวังเพื่อน้อมร�ำลึกใน พระมหากรุณาธิคุณและร่วมแสดงความอาลัย ในหลวงรัชกาลที่ ๙ People lit the candles and sang the royal anthem in front of the Grand Palace in remembrance of His Majesty King Rama IX.
52
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ชาวสมุทรปราการที่เข้าร่วมโครงการ “ธ สถิตในดวงใจชาวสมุทรปราการตราบนิจนิรันดร์” ได้รวมตัวกันเพื่อแปรอักษรเป็นเลข ๙ บริเวณลานหน้าศาลากลางจังหวัดสมุทรปราการ A bunch of Samutprakarn people joined in gathering to make the image of number 9 in Thai letter in remembrance of His Majesty King Rama IX.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
53
54
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ช้าง ๑๑ เชือก จากวังช้างอยุธยา แล เพนียด จังหวัดพระนครศรีอยุธยาที่มูลนิธิพระคชบาล ร่วมกับกลุ่มคชสารคู่แผ่นดิน น�ำเดินทางเข้ามายัง กรุงเทพมหานคร ได้หมอบกราบถวายแสดง ความอาลัยในหลวงรัชกาลที่ ๙ The mahouts from Ayutthaya Elephant Camp led the elephants to crouch for paying homage to the body of His Majesty King Bhumibol Adulyadej
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
55
ขบวนช้างแสดงความจงรักภักดีที่หน้าประตูสวัสดิโสภา ช้างแสดงการชูงวง ยกเท้า ๑ ข้าง และเปล่งเสียงร้องเพื่อแสดงพลัง แห่งความจงรักภักดี ซึ่งสร้างความตื้นตันใจให้กับผู้ที่มาร่วมชม ขบวนช้างเป็นอย่างมาก
56
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
The procession of elephants paid homage in front of Sawasdi Sopha Gate
พยาบาลและเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลสวนดอก จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมแสดงความอาลัย ในหลวงรัชกาลที่ ๙
The nurses of the Suandok Hospital joined in lifting the King’s images over their heads to pay homage to him
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
57
หลังจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชานุญาตให้พสกนิกร น�ำพวงมาลัยดอกดาวเรืองมาวางรอบก�ำแพงพระบรมมหาราชวัง เพื่อถวายสักการะแด่ในหลวงรัชกาลที่ ๙
58
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
People laid the garlands to express their condolences and pay homage sadly at the wall of the Grand Palace
ประชาชนจิตอาสาร่วมท�ำดอกไม้จันทน์ เพื่อถวายในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ Volunteers joined in making the Dararat flowers or artificial flowers used for the royal cremation ceremony
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
59
ประชาชนจุดเทียนแสดงความอาลัยในหลวงรัชกาลที่ ๙ และร่วมร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี ในงานที่จัดขึ้น ริมแม่น�้ำสะตึก จังหวัดบุรีรัมย์ Group of students lit the candles to express their condolences alongside Satuk River at Buriram
60
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
จิตอาสาช่างฟ้อนเทียน จ�ำนวน ๕,๐๐๐ คน ฟ้อนเทียนถวายพ่อหลวง ในงานกอดพ่อครั้งสุดท้าย ณ บริเวณห้าแยกหอนาฬิกา จังหวัดล�ำปาง The 5,000 volunteer dancers are gathering to candle dance for King Rama IX at Lampang.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
61
62
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
หน้า ๖๒ บน : ชาวปกาเกอะญอที่บ้านป่าบงเปียง อ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ที่ปลูกข้าวตามโครงการพระราชด�ำริ ๑ ใน ๔,๐๐๐ โครงการที่ในหลวงทรงมีพระราชด�ำริไว้ ชูพระบรมฉายาลักษณ์ในหลวงรัชกาลที่ ๙ เพื่อแสดงความอาลัยแก่พระองค์ ล่าง : แม่อุ้ยในงานจุลกฐิน ๒๕๕๙ วัดยางหลวง อ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมน้อมร�ำลึกถึง พระมหากรุณาธิคุณในหลวงรัชกาลที่ ๙
Page : 62 Above : The Thai Hill Tribe in Chiang Mai joined in holding and lifting the King’s images over their heads to pay homage to him. Below : Group of old lady from Mae Chaem, Chiang Mai are gathering to pay homage to King Rama IX
ชาวสงขลาร่วมแปรอักษรแสดงความอาลัยถวายแด่ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ บริเวณหน้าประตูเมืองสงขลา A bunch of Songkhla people joined in gathering to make the image of number 9 in Thai letter in remembrance of His Majesty King Rama IX at Songkhla’s capital gate area
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
63
64
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
หน้า ๖๔ อาข่า หนึ่งในชาวเขา ๙ ชนเผ่า ที่เดินทางเข้ามา ถวายสักการะพระบรมศพในหลวงรัชกาลที่ ๙ ที่พระที่นั่ง ดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมหาราชวังชูภาพพระบรม ฉายาลักษณ์ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ขึ้นเหนือหัว อันเป็นการยกย่องเทิดทูลพระองค์ Page : 64 Akha, the one represent of nine Thai Hill Tribes are travel to pay homage to the King’s body at Dusit Maha Prasat Throne Hall in the Grand Palace
กลุ่มชาวไทยภูเขาที่ร่วมกิจกรรม “๙๙๙ ดวงใจ ไว้อาลัยพ่อหลวง” เตรียมตัวเดินทางเข้าเข้ามาถวาย สักการะพระบรมศพในหลวงรัชกาลที่ ๙ ที่พระที่นั่ง ดุสิตมหาประสาท พระบรมหาราชวังได้ชูภาพพระบรม ฉายาลักษณ์ในหลวงรัชกาลที่ ๙ Group of Thai Hill Tribe are prepare for travel to pay homage to the King’s body at Dusit Maha Prasat Throne Hall in the Grand Palace
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
65
คณะผู้บริหาร คณาจารย์ แพทย์ พยาบาล และนิสิตแพทย์ โรงพยาบาลจุฬา, สภากาชาดไทย และคณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกว่า ๑๐,๐๐๐ คนร่วมแปรอักษรเลข ๙ และเครื่องหมายสภากาชาดบริเวณหน้าลานพระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ ๖ สวนลุพินี
66
Thai people in Bangkok gather in the form of the Thai figure nine, standing for King Rama IX, in a candlelight ceremony in front of Lumpini Park
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
67
ชาวไทยร่วมกันจัดกิจกรรมจุดเทียนเพื่อแสดงความอาลัย และแสดงความจงรักภักดีแด่ในหลวงรัชกาลที่ ๙ บริเวณลานทรายชายหาดปลายแหลมสะพานหิน อ่าวภูเก็ต Thai mourners hold candles and pray for the late King Rama IX at Saphan Hin Park, Phuket
68
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
บน : พสกนิกรประคองพระบรมสาทิสลักษณ์ ด้วยความอาลัยต่อในหลวงรัชกาลที่ ๙ ล่าง : ท่ามกลางสายฝนที่ตกลงมาอย่างหนัก ไม่อาจหยุดยั้งศรัทธาของประชาชนที่มาเข้าแถว เพื่อถวายสักการะพระบรมศพ
Above : People held the King’ pictures firmly to express their condolences to His Majesty King Rama IX. Below : Amidst of the heavy rain, the faith of people could not be obstructed in queuing for paying homage to the King’s body
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
69
จิตรกรบรรจงแต้มสีวาดภาพ พระบรมสาทิสลักษณ์ในหลวง รัชกาลที่ ๙ อย่างงดงาม The painters carefully painted the pictures of His Majesty King Rama IX beautifully.
70
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
เหล่าศิลปินร่วมกันสร้างสรรค์งานศิลปะ แสดงความอาลัยวาดภาพพระบรมสาทิสลักษณ์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร The artists joined in creating the art works to express their condolences by painting the pictures of His Majesty King Rama IX at Silpakorn University.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
71
นักดนตรีร่วมบรรเลงบทเพลงพระราชนิพนธ์ ถวายแด่ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ใกล้กับบริเวณ พระบรมมหาราชวัง The artists joined in playing music to honor His Majesty King Rama IX.
72
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
วงออร์เคสตร้า ๑๐๐ ชิ้น จาก SIAM PHILHARMONIC ORCHESTRA และคอรัส ๒๐๐ คน ก�ำลังบรรเลง เพลงสรรเสริญพระบารมีท่ามกลางฝูงชนที่บริเวณ ท้องสนามหลวง ก�ำแพงพระบรมมหาราชวัง People from all around the country traveled to join in singing the royal anthem sentimentally to pay homage to His Majesty King Rama IX at Sanam Luang.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
73
74
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
75
76
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ชาวปากคลองตลาดน�ำดอกดาวเรืองและดอกไม้อื่นๆ มาประดับตกแต่งเป็นซุ้มดอกไม้และอุโมงค์ดอกไม้ เพื่อน้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณและแสดง ความอาลัยแด่ในหลวงรัชกาลที่ ๙ People in Pak Khlong Talat decorated the flower gates and tunnel with Marigolds and other kinds of flowers to express their condolences in remembrance of His Majesty King Rama IX.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
77
78
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
79
ชาวล�ำปางชักชวนกันออกมาร่วมจุดเทียนกอดพ่อ โดยน�ำพระบรมฉายาลักษณ์ในหลวงรัชกาลที่ ๙ จากบ้านออกมารวมตัวกันร่วมแสดงความอาลัย ณ ห้าแยกหอนาฬิกา จังหวัดล�ำปาง
80
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
Lampang people bring King Rama IX’s image from their house came together to express their condolences to His Majesty King Rama IX at the clock tower of Lampang
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
81
82
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
83
84
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ศาสตร์ศิลป์ เกริกเกียรติ พระบารมี Finest Arts to honor the virtues of the King
การสร้างพระเมรุมาศถือเป็นแก่นกลางของงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ เป็นงานสถาปัตยกรรมที่สะท้อนถึง พระเกียรติยศของพระมหากษัตริย์ตามหลักโบราณราชประเพณี และคติความเชื่อซึ่งยึดถือมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาที่ได้รับ คติพราหมณ์มาจากขอม เรื่องพระมหากษัตริย์เป็นสมมติเทพ หมายถึง พระมหากษัตริย์ทรงเป็นเทพลงมาจุติเกิดเป็นมนุษย์ เพื่อประกอบคุณความดีและสะสมบารมี เมื่อเสด็จสวรรคตก็กลับขึ้นสรวงสวรรค์ To construct Phra Meru Mas (the Royal Crematorium) is regarded as the main part of the Royal Cremation Ceremony. The architecture represents the honor of the King according to the royal tradition and the belief since Ayudhaya era when Hindu mythology thought has been adopted from Khmer that the King is the God; meaning that kings earthly avatars of the god Narayana to make merits and virtues and their passing signals a return to heaven.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
85
พระเมรุมาศ ตามคติความเชื่อตั้งแต่อดีตมา พระเมรุมาศนั้น เปรียบได้กบ ั เขาพระสุเมรุ ซึง่ เป็นทีส ่ ถิตของทวยเทพ เปรียบกษัตริย์เป็นดั่งพระนารายณ์ที่อวตารลงมา เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคต ก็จะเสด็จฯ กลับไปยัง เขาพระสุเมรุ การสร้างพระเมรุมาศจึงมีขนาดและ แบบงดงามวิจิตรแตกต่างกันตามยุคสมัย และตาม แรงบั น ดาลของช่า งที่ มี ป รั ช ญาในการออกแบบ และเป็นไปตามหลักความเชื่อที่ยึดถือเรื่องไตรภูมิ ตามคติทางพระพุทธศาสนากล่าวถึงภาพจักรวาล อั น มี เ ขาพระสุ เ มรุ เ ป็น ศู น ย์ก ลางของภู มิ ทั้ ง ๓ และรายล้อมด้วยสรรพสิ่งนานา มาเป็นแนวทางใน การประกอบพิธีถวายพระเพลิง ด้วยจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ถึงภพแห่งความดีงาม อันมีดินแดนอยู่ที่ เขาพระสุเมรุนั่นเอง คติ ค วามเชื่ อ เรื่ อ งโลกและจั ก รวาลในหนั ง สื อ ไตรภูมพ ิ ระร่วงได้บรรยายว่า จักรวาลมีลก ั ษณะเป็น วงกลม มีเขาพระสุเมรุเป็นศูนย์กลางของจักรวาล บนเขาพระสุ เ มรุ เ ป็น ที่ ตั้ ง ของสวรรค์ชั้ น ดาวดึ ง ส์ มีไพชยนต์ปราสาทอยู่กลางเมือง เขาพระสุเมรุล้อม รอบด้วยแม่น�้ำสีทันดร ๗ สาย สลับด้วยภูเขา ๗ ลูก เรียกว่า “สัตบริภณ ั ฑ์” ส่วนเชิงเขาพระสุเมรุนน ั้ เป็น ที่ตั้งของป่าหิมพานต์และสระอโนดาต คติความเชือ ่ เรือ ่ งโลกและจักรวาลนีเ้ ป็นทีม ่ าของ การออกแบบและสร้างพระเมรุมาศในงานพระราช พิ ธี ถ วายพระเพลิ ง พระบรมศพพระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เช่นเดียวกับ พระมหากษัตริย์ไทยองค์ก่อนๆ การออกแบบและ สร้างพระเมรุมาศจึงเป็นการสร้างสรรค์อย่างสุด ฝีมอ ื ของช่างทุกส�ำนักทุกแขนง ช่างฝีมอ ื แต่ละแขนง จะหยิบยกสัญลักษณ์ต่างๆ ที่สื่อถึงเขาพระสุเมรุ มาประกอบไว้ในงานออกแบบ เช่น เดี ย วกับ การ ก่อ สร้า งได้ร วมสุ ด ยอดช่า งฝีมื อ ทุ ก แขนงเช่น กั น ที่ ต ่า งทุ ่ม เทรั ง สรรค์ง านกั น สุ ด ฝีมื อ เพื่ อ ให้ส ม พระเกียรติ จดจารึกเป็นประวัติศาสตร์และมรดก ของชาติ เพื่อถวายแด่พ่อของแผ่นดิน ผู้สถิตอยู่ใน หัวใจของชาวไทยนิจนิรันดร์
86
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
พระเมรุมาศ
พระเมรุมาศเป็นสถาปัตยกรรมชั่วคราวส�ำหรับ ประกอบพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระมหากษัตริย์หรือพระราชทานเพลิงพระบรมศพ พระบรมวงศ์ ตามรูปศัพท์ “พระเมรุมาศ” แปลว่า พระเมรุทป ี่ ระดับตกแต่งด้วยทองหรือวัสดุอน ื่ ทีใ่ ห้สี เรืองอร่ามดุจดั่งทอง ส่วนของพระบรมวงศานุวงศ์ เรียก “พระเมรุ” และของสามัญชนเรียก “เมรุ” การก่อสร้างพระเมรุมาศของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรวมถึงอาคาร หรือสิ่งปลูกสร้างประกอบในพระราชพิธีจะอาศัย กรรมวิ ธี แ ละเทคนิ ค ของงานสถาปัต ยกรรมแบบ ล� ำ ลอง โดยใช้โ ครงเหล็ ก รู ป พรรณที่ ส ามารถ ประกอบได้ง่ายและรวดเร็ว ตัง้ แต่หลังคาของบุษบก ซึ่ ง ใช้โ ครงเหล็ ก ถั ก ถ่า ยน�้ ำ หนั ก ลงสู ่เ สาเหล็ ก ประกอบ ๔ ชุด รองรับด้วยโครงเหล็กถักขนาดใหญ่ โครงสร้างทั้งหมดนี้จะตั้งบนฐานรากแผ่นคอนกรีต หล่อ ในที่ ซึ่ ง รั บ น�้ ำหนั ก บุ ษ บกแยกกั น ทั้ ง ๙ องค์ ส่วนฐานชาลาและบันไดจะวางบนฐานรากคอนกรีต ส� ำ เร็ จ รู ป โครงเหล็ ก ทั้ ง หมดจะกรุ ด ้ว ยแผ่น วั ส ดุ ส� ำ เร็ จ รู ป และไม้อั ด ตกแต่ง ด้ว ยผ้า ทองย่น ฉลุลายสาบสีสอดแววซึ่งเป็นวัสดุชั่วคราว รวมทั้ง งานประติมากรรมที่ประดับโดยรอบพระเมรุมาศ ก็ ขึ้ น รู ป ด้ว ยการถอดพิ ม พ์ต ้น แบบและหล่อ เรซิ น แล้วตกแต่งสีให้เหมือนโลหะ โครงสร้า งพระเมรุ ม าศของพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชมี ข นาดสู ง ๕o.๔๙ เมตร ประกอบด้วย อาคารทรงบุษบก ๙ องค์ ตั้งอยู่บนฐานชาลารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ๓ ชั้น มีบันไดทางขึ้นทั้ง ๔ ทิศ ทิศตะวันตกหันหน้าเข้า พระที่ นั่ ง ทรงธรรม ทิ ศ ตะวั น ออกและทิ ศ ใต้ติ ด ตั้งลิฟต์ ทิศเหนือติดตั้งสะพานเกรินส�ำหรับเชิญ พระบรมโกศจากราชรถปืนใหญ่ขน ึ้ บนพระเมรุมาศ ลานอุ ต ราวรรต หรื อ พื้ น รอบพระเมรุ ม าศ มีสระอโนดาตทั้ง ๔ ทิศ และเขามอจ�ำลอง ภายใน สระประดับด้วยสัตว์หิมพานต์ตระกูลต่างๆ
ฐานชาลาชัน ้ ที่ ๑ ชัน ้ ล่างสุด มีฐานสิงห์ ล้อมด้วย รั้วราชวัติ อิสริยยศ มีเทวดาเชิญฉัตรและบังแทรก มี อ งค์ม หาเทพ ๕ พระองค์ คื อ พระพิ ฆ เนศ พระอินทร์ พระพรหม พระศิวะ และพระนารายณ์ รายรอบพระเมรุมาศ มีท้าวจตุโลกบาลประทับยืน ที่มุมฐานชาลาหันหน้าเข้าสู่บุษบกประธาน ฐานชาลาชัน ้ ที่ ๒ มีหอเปลือ ้ งเครือ ่ งยอดบุษบก เชิงกลอน ๕ ชั้นตั้งอยู่ที่มุมฐานทั้ง ๔ ใช้ส�ำหรับ จัดเก็บพระโกศทองใหญ่ พระโกศไม้จันทน์ และ อุปกรณ์ส�ำหรับงานพระราชพิธี ฐานชาลาชั้ น ที่ ๓ ชั้ น บนสุ ด มี บุ ษ บกองค์ ประธานตั้งอยู่ที่จุดกึ่งกลาง เป็นอาคารทรงบุษบก ยอดมณฑป ชั้ น เชิ ง กลอน ๗ ชั้ น ที่ ย อดบนสุ ด ประดิษฐานนพปฎลมหาเศวตฉัตร ผนังโดยรอบ เปิดโล่ง ติดตั้งพระวิสูตร และฉากบังเพลิง ด้านบน เขียนภาพพระนารายณ์อวตาร และภาพโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริด้านล่าง ฐานบุษบก องค์ป ระธานประดั บ ประติ ม ากรรมเทพชุ ม นุ ม โดยรอบ รองรับด้วยฐานสิงห์ซงึ่ ประดับประติมากรรม ครุ ฑ ยุ ด นาคโดยรอบอี ก ชั้ น หนึ่ ง มุ ม ทั้ ง ๔ ของ ฐานชั้ น ชาลาที่ ๓ นี้ เ ป็น ที่ ตั้ ง ของช่า งทรงบุ ษ บก ยอดมณฑปชั้นเชิงกลอน ๕ ชั้น ใช้เป็นที่ส�ำหรับ พระพิธีธรรม ๔ ส�ำรับ นั่งสวดพระอภิธรรมสลับ กั น ไปตลอดนั บ ตั้ ง แต่พ ระบรมศพประดิ ษ ฐาน บนพระจิ ต กาธาน จนกระทั่ ง ถวายพระเพลิ ง พระบรมศพเสร็จ พระจิตกาธาน คือเชิงตะกอน หรือฐานที่ท�ำขึ้น ส�ำหรับเผาศพ ประกอบด้วยแท่นฐานส�ำหรับเผา ทรงสี่เหลี่ยม ภายในใส่ดินเสมอปากฐานส�ำหรับ วางฟืน ไม้จันทน์ พระจิตกาธานจะประดับตกแต่ง ด้วยกระดาษสีและเครื่องสด เช่น ดอกไม้ ใบไม้ ใบตอง หยวกกล้วยและผลไม้บางชนิด ส�ำหรับเป็น เครื่องกันไฟ ซึ่งในการถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระจิตกาธานตั้งอยู่บนฐานชาลาชั้นบนสุดภายใน บุษบกองค์ประธาน
The Royal Crematorium Designing and constructing the Royal Crematorium is therefore the masterpieces of architects, designers, artisans, and craftsmen. Each artisan will choose the various symbols that will represent the Royal Crematorium to be in their works. The same to the construction, all best artisans gather together to create and bring out the best in them for works in order to be the honor, be memorable in the history and heritage of the nation.
Constructing the Royal Crematorium will be different in terms of size and type of fine arts based on the era and the inspiration of the artisans who have different philosophy in designing and based on the three worlds belief. The plan of the Royal Crematorium is square-shape and will surrounded by the pavilions. The Royal Crematorium comprises nine spire-roofed pavilions (busabok). The principal pavilion is in the middle and is the centerpiece of the ceremony, busabok sitting on the top tier of the royal
crematorium’s base has a seven-tiered, spired roof, housing Phra Chittakathan, the catafalque for enshrining the royal urn made of sandalwood. All walls are open, the fire screens set up with the photo of avatars of the god Narayana at the top and the photos of the Royal projects at the bottom. The Nine-tiered Great White Umbrella of State is placed at the top of the principal pavilion. The second level consists of four ‘Dismantling Halls’ where…
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
87
ฝูงม้าในป่าหิมพานต์ ประจ�ำทิศตะวันตก Horse herd - west side of Himmavanta Forest
88
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
89
ประติมากรรมราชสีห์ตั้งเด่นอยู่ฐานชาลาที่ ๑ ของพระเมรุมาศ ด้านหน้าพระที่นั่งทรงธรรม ที่ก�ำลังก่อสร้าง Outstanding sculpture of Rachasiha (lion) on the third tier of the Royal Crematorium, in front of the Dharma Royal Pavilion
90
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
มองจากศาลาลูกขุนจะเห็นพระเมรุมาศงามเด่น อยู่ตรงกลางมณฑลพิธี ด้านซ้ายเป็นพระที่นั่งทรงธรรม View of the Royal Crematorium from a small pavilion, with Dharma Royal Pavilion on the left-hand side
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
91
ประติมากรรมพระพิฆเนศประทับยืน มี ๔ กร ถือศาสตราวุธ และสิ่งของที่ออกแบบมาอย่างสง่างาม Elegantly designed sculpture of standing god Ganesha, holding weapons and objects with his four hands
92
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ประติมากรรมเทวดา นั่งเชิญฉัตรและนั่งเชิญ บังแทรกเปรียบเสมือน ฐานชาลาที่ ๑ เป็น ดั่งสรวงสวรรค์ Sculpture of kneeling-deities holding tiered umbrellas and sunshades on the heaven-like 1st tier
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
93
ม้าเป็นสัตว์มงคล ประจ�ำทิศตะวันตก Horses are Auspicious Animals of the west side
นับเป็นครั้งแรกที่มี การสร้างสระอโนดาต ตั้งอยู่ ๔ มุมของ พระเมรุมาศแทนภูเขา ในป่าหิมพานต์ For the first time, Anodard Heavenly Ponds are built at 4 corners of the Royal Crematorium base, representing mountains in Himmavanta Forest
94
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
พญานาคเล่นน�้ำ ในสระอโนดาต Swimming Nagas in the Anodard Heavenly Pond
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
95
แปลงนาข้าวด้านหน้าพระเมรุมาศสื่อความหมาย สร้างประโยชน์สุขด้านการเกษตรแก่ประชาชน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง Paddy field in front of the Royal Crematorium, representing the agricultural benefits following sufficiency economy concept
96
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
กังหันน�้ำชัยพัฒนา สิ่งประดิษฐ์ใช้ปรับปรุง คุณภาพน�้ำตามแนวพระราชด�ำริ Chai Phatthana water turbine, one of the King’s Royal Projects to remedy water quality
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
97
พระเมรุมาศ ประกอบด้วย บุษบกองค์ประธานตั้งอยู่ ชั้นบนสุดฐานชาลารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ๓ ชั้น มุมทั้ง ๙ เป็น ที่ตั้งของซ่างส�ำหรับพระสวดอภิธรรม ถัดมาที่ฐานชาลา ชั้นที่ ๒ มีหอเปลื้อง ส�ำหรับจัดเก็บพระโกศ ตั้งอยู่ที่ มุมทั้ง ๔ ทิศ The Royal Crematorium comprises of the principal Busabok sitting on top of the 3-tier squares. 4 corners are the Monk pavilions, the Dismantling Pavilions are on the 2nd tier on 4 directions
98
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
พระจิตกาธานหรือฐาน ส�ำหรับถวายพระเพลิง พระบรมศพตั้งอยู่ภายใน บุษบกองค์ประธาน โดยมี ฉากบังเพลิงปิดกั้นไว้ Phra Chittakatarn or the catafalque sitting in the principal Busabok behind the cremation panels
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
99
100
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
พระเมรุมาศเหลืองอร่ามเรืองรองดั่งความหมาย พระเมรุที่ประดับตกแต่งด้วยทอง สมพระเกียรติ พระมหากษัตริย์ผู้เป็นดั่งเทพจากสรวงสวรรค์ Glittering golden Royal Crematorium of King Bhumibol Adulyadej, as a profound honor to the King who is equivalent to god from heaven
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
101
102
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ประติมากรรมคชสีห์ตั้งอยู่รอบนอก บริเวณอาคารประกอบพระเมรุมาศ Gajasiha sculptures around the buildings of the Royal Crematorium
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
103
สระอโนดาตสีมรกตรอบพระเมรุมาศพร้อมด้วยสัตว์ป่า หิมพานต์ตามคติความเชื่อเรื่องไตรภูมิ The Royal Crematorium is surrounded by Emerald Anodard Heavenly Ponds, decorated with Himmavanta Forest animals according to Trai Bhum (three worlds) or Bhuddhism cosmology
104
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
105
สัตว์ในป่าหิมพานต์รายรอบสระอโนดาต บริเวณลานอุตราวรรตหรือฐานพระเมรุมาศ Himmavanta Forest animals in Anodard Heavenly Ponds at the base of the Royal Crematorium
106
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
107
ฝูงช้างในป่าหิมพานต์อยู่เชิงบันได ขึ้นพระเมรุมาศด้านทิศเหนือ Elephant herd in Himmavanta Forest at the base of north-side staircases of the Royal Crematorium
108
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
109
เหมหัตถีและวารีกุญชร ประติมากรรมช้าง ตระกูลพรหมพงศ์ในป่าหิมพานต์ Hemahathi and Wareekulchara, elephant sculptures of Phrom Pongse family in Himmavanta Forest
110
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
111
112
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
113
ประติมากรรมรอบพระเมรุมาศ การจั ด สร้า งประติ ม ากรรมปั้น ลวดลายและ หล่อ ส่ว นประกอบประดั บ ตกแต่ง พระเมรุ ม าศ เป็น ส่ว นประกอบซึ่ ง แสดงความเป็น ทิ พ ยสถาน ออกแบบโดยใช้แ นวคิ ด ตามคติ ค วามเชื่ อ เรื่ อ ง พระมหากษัตริย์เปรียบเสมือนสมมติเทพอวตาร ลงมาจากสวรรค์เพือ ่ มาปราบยุคเข็ญ ประกอบด้วย ประติมากรรมพระโพธิสต ั ว์, เทพพนม, ครุฑยุดนาค, เทวดายืนและนั่งรอบพระเมรุมาศ, เทพชุมนุมรอบ ฐานท้องไม้, มหาเทพ ประกอบด้วย พระเวสสุวัณ พระนารายณ์ พระอิ น ทร์ พระพรหม และได้มี การปั้นหุ่นพระพิฆเนศเพิ่มเติมขึ้นมาในภายหลัง, ท้า วจตุ โ ลกบาลทั้ ง ๔ ประกอบด้ว ยท้า วกุ เ วร ท้าวธตรฐ ท้าววิรูปักษ์ และท้าววิรุฬหก, ครุฑยืน รอบพระเมรุมาศ, ราวบันไดนาค, คชสีห์-ราชสีห์, สัตว์มงคลประจ�ำทิศ ประกอบด้วย ช้าง ม้า วัว และสิงห์
สระอโนดาต
งานพระเมรุมาศครั้งนี้นับเป็นครั้งแรกที่มีการ สร้างสระอโนดาตแทนภูเขาในป่าหิมพานต์ที่เคย ท�ำกันในงานพระราชพิธีครั้งก่อนๆ สระอโนดาต รอบพระเมรุมาศมีการขุดสระน�ำ้ สูง ๒๐ เซนติเมตร เป็นสระน�้ำสีมรกต มีสัตว์หิมพานต์ทิศละ ๓๐ ตัว แบ่งเป็นสัตว์ ๔ ชนิดตามไตรภูมิ ช้างประจ�ำทิศเหนือ ราชสี ห ์ห รื อ สิ ง ห์ป ระจ� ำ ทิ ศ ตะวั น ออก ม้า ประจ� ำ ทิศตะวันตก และโคประจ�ำทิศใต้ สัตว์หิมพานต์ ที่น�ำมาประดับมีต้นแบบมาจากภาพจิตรกรรมฝา ผนังภายในวัดสุทัศน์เทพวรารามราชวรมหาวิหาร แบ่งเป็นช้าง ๑๐ ตระกูล สิงห์ ๔ ชนิด พระโคและ ปัญจมหานที ที่สื่อถึงความสมบูรณ์ และม้าพาหนะ ของเจ้าชายสิทธัตถะ รอบสระอโนดาต มี ย อดเขารายรอบอยู ่ ๕ ยอดเขา ๑. ยอดเขาสุทัสนะ เป็นทองค�ำรูปทรงโค้งตาม แนวสระอโนดาต และปลายยอดเขามีสณ ั ฐานโค้งงุ้ม ดังปากกา โอบปิดด้านบนสระอโนดาตไว้ไม่ให้โดน แสงอาทิตย์ แสงจันทร์ ๒. ยอดเขาจิตตะ เป็นรัตนะ ๓. ยอดเขากาฬะ เป็นแร่พลวง หินแห่งยอดเขา สีนิล
114
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
๔. ยอดเขาคันธมาทน์ ด้านบนยอดเขา เป็นพืน ้ ราบเรียบประกอบด้วยไม้หอมนานาพันธุ์ ๕. ยอดเขาไกรลาส เป็น ภู เ ขาเงิ น ที่ มี วิ ม าน ฉิมพลีแห่งพญาครุฑตั้งอยู่ จากสระอโนดาตจะมีปากทางให้น�้ำไหลระบาย ออกอยู่ ๔ แห่ง ทิศละแห่ง ๑. สี ห มุ ข ปากแม่น�้ ำ แดนราชสี ห ์ (เป็น ถิ่ น ที่ ราชสีห์อาศัยอยู่มาก) ๒. หัตถีมุข ปากแม่น�้ำแดนช้าง (เป็นถิ่นที่ช้าง อาศัยอยู่มาก) ๓. อั ส สมุ ข ปากแม่น�้ ำ แดนม้า (เป็น ถิ่ น ที่ ม ้า อาศัยอยู่มาก) ๔. อุสภมุข ปากแม่น�้ำแดนโคอุสภะ (เป็นถิ่นที่ โคอาศัยอยู่มาก) ท�ำให้เกิดเป็นแม่น�้ำใหญ่ ๔ สาย ไหลหล่อเลี้ยง รอบนอกของเขาหิ ม พานต์ก ่อ นลงสู ่ม หาสมุ ท ร ดังนั้น สัตว์มงคล ๔ ชนิด จึงได้แนวความคิดมาจาก ปากแม่น�้ำส�ำคัญทั้ง ๔ สาย และถิ่นที่อาศัยของ สัตว์เหล่านี้
ราวบันไดนาค
ตามความเชื่ อ ในคติ พุ ท ธ พญานาคเปรี ย บ เป็นสัญลักษณ์ของสายน�้ำ และเสมือนดั่งสะพาน สายรุ้ง เชื่อมโลกมนุษย์กับโลกสวรรค์ โดยภพภูมิ ของพญานาคคื อ เทพกึ่ ง สั ต ว์ อั น เป็น ที่ ม าของ ประติมากรรมราวบันไดนาคประดับพระเมรุมาศ พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ซึ่ ง ประติมากรรมบันไดนาค ทั้งหมด ๔ แบบ อยู่บน พระเมรุมาศทั้ง ๔ ชั้น โดยบันไดนาคในแต่ละชั้น มีลักษณะแตกต่างกันตามความส�ำคัญและระดับ ชั้นบารมีของนาค ซึ่งสื่อให้เห็นถึงการลดละกิเลสสู่ ความเป็นเทพในชั้นที่สูงขึ้น
อนันตนาคราช (นาค ๗ เศียร)
เศี ย รนาคทั้ ง ๗ เป็น หน้า เทวดา ไม่ล งยาสี แต่ประดับเลื่อมสีทอง สีเดียวกับสีกายนาค สื่อถึง ความละกิ เ ลสสู ่ค วามเป็น เทพ เนื่ อ งจากเป็น ราวบันไดเชือ ่ มสู่บษ ุ บกองค์ประธานซึง่ เป็นทีต ่ งั้ ของ พระโกศพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมพ ิ ลอดุลยเดชอันเปรียบดัง่ พระนารายณ์ตาม ความเชือ ่ ทีว่ ่ากษัตริย์เป็นสมมติเทพ ราวบันไดชัน ้ นี้ จึงแสดงถึงความเป็นเทพมากกว่าชั้นอื่นๆ
วาสุกรีนาคราช (นาค ๕ เศียร)
นาคทรงเครื่ อ ง ๕ เศี ย ร สวมมงกุ ฎ ยอดชั ย ไม่ลงยาสี แต่ประดับเลื่อมสีเงินบนกายสีทองของ ตัวนาค เพื่อสื่อถึงการละกิเลสในระดับที่สูงขึ้น
มกรนาคา (นาค ๓ เศียร)
มีการผสมระหว่างนาคและมังกร
นาคปุโรหิต (นาค ๑ เศียร)
มีลิ้น ๒ แฉก สีสันสดใสสะท้อนถึงกิ เลสที่ยัง มีอยู่ในตัวนาค
ท้าวจตุโลกบาล ๔ องค์
ตั้ ง อยู ่บ นฐานชาลาที่ ๒ บริ เ วณมุ ม ล้อ มรอบ องค์พระเมรุมาศ ท้าวจตุโลกบาลทั้ง ๔ เป็นเทวดา ผู ้ป ้อ งกั น อั น ตรายที่ จ ะเกิ ด แก่ม นุ ษ ย์ทั้ ง ๔ ทิ ศ เสด็จลงมาจากสวรรค์เพื่อรับเสด็จพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สู่สรวงสวรรค์ ท้าวเวสสุวัณ เทพเจ้าแห่งยักษ์ ผู้ปกครองทิศเหนือ มียก ั ษ์เป็น บริวาร ในมือถือกระบองยาว ท้าววิรูปักษ์ เทพเจ้าแห่งพญานาค ผู้ปกครองทิศตะวันตก มีพญานาคเป็นบริวาร ในมือถือคันธนู ท้าวธตรฐ เทพเจ้าแห่งคนธรรพ์ ผู้ปกครองทิศตะวันออก ฤดูร้อน ธาตุไฟ ทรงพิณเป็นสัญลักษณ์ ท้าววิรุฬหก เทพเจ้าผู้ปกครองครุฑและนก ปกครองทิศใต้ มีเทพกลุ่มกุมภัณฑ์เป็นบริวาร
มหาเทพ ๔ องค์
ตั้ ง อยู ่บ นฐานชาลาชั้ น ที่ ๓ เสด็ จ ลงมาเพื่ อ รับเสด็จพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชสู่สรวงสวรรค์
พระอิศวร (พระศิวะ) ผู ้ป ระทานพรวิ เ ศษแก่ผู ้ห มั่ น ท� ำ ความดี และ ยึดมั่นในศีลธรรม พระอินทร์ ผู้บันดาลความสุขแก่โลก เช่น บันดาลให้ฝนตก ตามฤดูกาล บันดาลให้พืชผลงดงาม พระนารายณ์ ผู้อวตารมาบนโลกเพื่อปราบยุคเข็ญ พระพรหม ผู้ก�ำหนดชะตาชีวิตของมนุษย์
สุนัขทรงเลี้ยง คุณทองแดง คุณโจโฉ
ตั้ ง อยู ่บ นฐานชาลาชั้ น บนสุ ด บริ เ วณด้า นข้า ง พระจิตกาธาน แสดงถึงพระมหากรุณาธิคุณของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ทรงมีต่อสุนัขทรงเลี้ยง คุณทองแดงและคุณโจโฉ
เป็นประติมากรรมเสมือนจริงทีส ่ อ ื่ ให้เห็นถึงลักษณะ นิสัยของสุนัขทรงเลี้ยง คุณโจโฉ เป็นสุนขั ทรงเลีย ้ งพันธุ์ตะวันตกเพศผู้ มีลก ั ษณะ ท่าทางโก้เท่ สง่า มีความกล้าแสดงออก คุณทองแดง เป็น สุ นั ข ทรงเลี้ ย งพั น ธุ ์ไ ทยเพศเมี ย มี กิ ริ ย า มารยาทดี เรียบร้อย ไม่ลืมตัว
สวนแปลงนาข้าวเลข ๙
ด้านหน้าพระเมรุมาศจัดสวนแปลงนาข้าวเลข ๙ อันงดงาม สื่อความหมายถึงพระอัจฉริยภาพของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยได้แรงบันดาลใจมาจากวังสวนจิตรลดา อันเป็น สวนในพระราชวังของพระองค์ท่าน สถานทีท ่ ดลอง โครงการส่ว นพระองค์ท่ี เ กี่ ย วกั บ การเกษตรและ
เป็นศูนย์วิจัยพัฒนาแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ตามแนวพระราชด�ำริในเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อคิดค้นแนวทางแก้ปัญหาด้านการเกษตรให้แก่ ประชาชน สร้างประโยชน์สุขต่อพสกนิกรชาวไทย สวนด้านหน้าพระเมรุมาศออกแบบคันนาส�ำหรับ ปลูกข้าวเป็นรูปเลข ๙ รวมถึงปลูกพืชชนิดอื่นๆ อาทิ หญ้าแฝก ยางนา มะม่วงมหาชนก เป็นต้น ดินที่ใช้เป็นดินผสมทรายสีทองเพื่อให้สวนมีความ โดดเด่นมากขึ้น อีกทั้งมีการติดตั้งกังหันชัยพัฒนา สิง่ ประดิษฐ์ทใี่ ช้ปรับปรุงคุณภาพน�ำ้ ด้วยวิธก ี ารเติม อากาศ ซึ่งมูลนิธิชัยพัฒนาได้คิดค้นพัฒนาขึ้นตาม แนวพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช เพื่อใช้บ�ำบัดน�้ำเสียในทั่วทุก ภูมภ ิ าคของไทย แปลงนาข้าวด้านหน้าพระเมรุมาศ ที่จัดสร้างขึ้นนี้ถือเป็นแปลงนานอกสถานที่ที่ใหญ่ ที่สุดที่เคยสร้างมา
Sculptures adorning the Royal Pyre for the cremation Creating the sculptures, motifs and casts that make up the Royal Pyre (the crematorium) that symbolizes heaven are modeled after an old belief that the King has Divine status who comes to Earth for the sake of the world’s peace, and when he dies he returns to heaven in Mount Sumeru which is the center of the universe.
The base of Mount Sumeru is encircled by 4 Anodard Heavenly Ponds and differentsized mountains. Inside the Anodard Ponds display different models of auspicious creatures from the Himmavanta Forest as per belief in Buddhist texts. Sculptures are, for example, those of Buddhist gods and deities, mythical angels in the HinduBuddhist tradition stand and sit around the
base of the Pyre, the Great Hindu Gods – Shiva, Narai (Vishnu), Indra, Brahma, Phra Phikanesh, figures of the Four Guardians of the world (Thao Chatumaharachiga), Garudas, the Naga staircases, Gajasiha (elephant lions), Rajasingha (royal lion), the Four Auspicious Animals facing 4 Cardinal directions including the Elephant, the Horse, the Cow and the Lion.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
115
116
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ร่างแบบประติมากรรมครุฑยุดนาค ขนาดเท่าองค์จริง Draft sculpture with real-size model of a Garuda holding Naga
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
117
ประติมากรก�ำลัง ปั้นรูปพระพิฆเนศใน ท่าประทับยืนตามคติ ความเชื่อโบราณ Sculptor working on god Ganesha sculpture
118
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ประติมากรก�ำลังตกแต่งรูปปั้น เศียรช้างเอราวัณ Sculptor’s final touch on Erawan elephant’s head
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
119
อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นําทีมกลุ่มจิตรกรอาสา ร่วม ‘ลงสี’ วันแรกงานประติมากรรม สัตว์หิมพานต์ประกอบพระเมรุมาศในงาน พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ ในหลวงรัชการที่ ๙ Chalermchai Kositpipat, National Artist bring the team of volunteer painters to ‘paint’ the Himmavantra Forest animals sculpture on the first day for Royal Crematorium of King Rama IX
120
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ประติมากรรมครุฑยืนรอบพระเมรุมาศ เป็นพญาครุฑรูปกายครึ่งมนุษย์ครึ่งนกอินทรี ยืนพนมมือ Sculpture of Garudas standing around the Royal Crematorium are half-eagled Garudas pressing hands at the chest
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
121
ประติมากรทั้งชายและหญิงล้วนทุ่มเทปั้นงานอย่าง ประณีตในทุกส่วนของพระเมรุมาศ 122
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
Male and female sculptures dedicatedly working on every piece of the Royal Crematorium ornaments
ประติมากรก�ำลังปั้นรูปท้าววิรูปักษ์ หนึ่งในท้าวจตุโลกบาล ๔ องค์
Sculptors working on Lord Virupaksa, one of the 4 Guardians of the world
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
123
124
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
บรรจงปั้นรายละเอียดอันอ่อนช้อยและ งดงามของประติมากรรมราชสีห์ Sculpting delicate and exquisite details of Rachasiha (lion)
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
125
เจ้าหน้าที่ของส�ำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ก�ำลังลงสีประติมากรรมเทวดาเชิญบังแทรก Office of Traditional Arts’s officers are coloring the sculpture of kneeling-deities holding sunshades
126
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
127
ลงสีประติมากรรมพระนารายณ์ ผู้อวตารมาบนโลก เพื่อปราบยุคเข็ญ ๑ ในมหาเทพ ๔ องค์ที่ฐานชาลา ชั้นที่ ๑ Coloring sculpture of god Narayana who avatars to earth for the sake of world’s peace, one of the four Greatest Gods at the base of the Royal Crematorium
128
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
การลงสีเป็นส่วนส�ำคัญที่ช่วยสร้างความงดงาม ให้กับประติมากรรมรอบพระเมรุมาศ Coloring process - an important part of the beautiful sculptures around the Royal Crematorium
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
129
ลงสีม่วงสดใสให้กับ ประติมากรรมคชสีห์ Gajasiha (elephant lion) sculpture in bright purple
130
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ประติมากรรมคุณทองแดงและคุณโจโฉ สุนัขทรงเลี้ยง ผลงานของ นายชิน ประสงค์ อดีตผู้อ�ำนวยการส่วนประติมากรรม กรมศิลปากร The sculptures of Thong Daeng and Jo Cho, the late King Bhumibol’s pet dogs, the work of Chin Prasong, a former Director of the Sculpture Division, Fine Arts Department
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
131
ประติมากรรมเทวดานั่งเชิญฉัตร และเชิญบังแทรกประดับอยู่รอบ พระเมรุมาศ Sculpture of kneeling-deities holding sunshades are decorated around the Royal Crematorium
132
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ลวดลายอันละเอียดและงดงามของ ประติมากรรมราชสีห์ Delicate and exquisite details of Rachasiha (lion)
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
133
134
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ความงดงามสูงค่าของประติมากรรมไทย ที่ประดับสมพระเกียรติบนพระเมรุมาศ
The magnificent value of Thai sculpture adorned with glory around the Royal Crematorium.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
135
136
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
อาคารประกอบพระเมรุมาศ อาคารประกอบพระเมรุมาศเป็นสิ่งที่ถูกสร้าง ขึ้ น ชั่ ว คราวส� ำ หรั บ พระราชพิ ธี ถ วายพระเพลิ ง พระบรมศพ โดยอาคารประกอบพระเมรุ ม าศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ก่อสร้างขึ้นตามโบราณราชประเพณีอย่างสง่างาม ถู ก ออกแบบให้มี รู ป ลั ก ษณ์ที่ ส อดคล้อ งกั บ องค์ พระเมรุ ม าศ เพื่ อ เสริ ม สร้า งให้พ ระเมรุ ม าศมี ความสง่า งามตามพระบรมราชอิ ส ริ ย ยศของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ประกอบด้วย พลับพลายก ราชวัติ ทิม ทับเกษตร ศาลาลูกขุน และพระที่นั่งทรงธรรม
พลับพลายก
พลั บ พลายกเป็น โถงส� ำ หรั บ พระมหากษั ต ริ ย ์ และพระบรมวงศานุวงศ์ ทรงรอรับส่งพระบรมศพ ขึ้นราชรถ
ราชวัติ
ราชวัตเิ ป็นแนวรัว้ ก�ำหนดขอบเขตปริมณฑลของ พระเมรุมาศทัง้ ๔ ด้าน สร้างต่อเนือ ่ งไปกับทิมและ ทับเกษตร ตกแต่งด้วยฉัตรและธง
ทิม
ทิ ม เ ป ็น ที่ พั ก ข อ ง พ ร ะ ส ง ฆ ์ แ พ ท ย ์ห ล ว ง เจ้าพนักงาน และเป็นที่ประโคมปี่พาทย์ ประกอบ พิธี สร้างติดแนวรั้วราชวัติทั้ง ๔ ทิศ มีลักษณะเป็น สิง่ ปลูกสร้างชัน ้ เดียว ด้านหน้าเปิดโล่ง หลังคาแบบ ปะร�ำคือหลังคาแบน
ทับเกษตร
ทับเกษตรเป็นอาคารโถง หลังคาจั่ว ประดับ ตกแต่งลวดลายไทย สร้างอยู่ตรงมุมทั้ง ๔ ของ มณฑลพิธี ใช้เป็นที่พ�ำนักส�ำหรับข้าราชการที่มา เฝ้าฯ รับเสด็จ และร่วมพระราชพิธี
ศาลาลูกขุน
ศาลาลู ก ขุ น เป็น สิ่ ง ปลู ก สร้า งลั ก ษณะโถงทรง ไทยชั้นเดียว ใช้เป็นที่ส�ำหรับข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ เฝ้าฯ รับเสด็จ และร่วมพระราชพิธี ส�ำหรับงาน พระบรมศพพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช มีการสร้างศาลาลูกขุน ๑ จ�ำนวน ๔ หลัง ศาลาลูกขุน ๒ จ�ำนวน ๒ หลัง และศาลา ลูกขุน ๓ นอกรั้วราชวัติ จ�ำนวน ๕ หลัง
พระที่นั่งทรงธรรม
พระที่ นั่ ง ทรงธรรมเป็น ที่ นั่ ง ส� ำ หรั บ พระบาท สมเด็ จ พระเจ้า อยู ่หั ว และพระบรมวงศานุ ว งศ์ ประทั บ ทรงธรรมในพระราชพิ ธี บ� ำ เพ็ ญ พระราช กุศลออกพระเมรุพระบรมศพ และเป็นที่ส�ำหรับ คณะองคมนตรี คณะรัฐมนตรี ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ทั้งฝ่ายทหาร พลเรือน สมาชิกรัฐสภา ตลอดจน คณะทูตานุทูต เฝ้าทูลละอองทุลีพระบาท พระที่นั่งทรงธรรมมีขนาดโดยประมาณ กว้าง ๔๔.๕o เมตร ยาว ๑๕๕ เมตร สูง ๒๒ เมตร มีลักษณะเป็นอาคารโถง หลังคาจตุรมุข ยกพื้นสูง หลังคาจั่วมีกันสาดปีกนก ด้านหน้าและด้านข้าง ต่อ เป็น หลั ง คาปะร� ำ เพื่ อ เพิ่ ม พื้ น ที่ ใ นการใช้ส อย มุขด้านทิศตะวันตกและทิศตะวันออกหรือมุขหน้า และหลัง เป็นมุขประเจิด
ผนังทั้ง ๓ ด้านภายในพระที่นั่งทรงธรรมเป็น ภาพเขียนจิตรกรรมเรียงร้อยเป็นเรือ ่ งราวโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริในพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช จ�ำนวน ๔๖ โครงการ จากทั้งหมดกว่า ๔,ooo โครงการ ผนังแต่ละด้าน บอกเล่าโครงการในภูมิภาคต่างๆ ผนั ง ด้า นทิ ศ เหนื อ เป็น ภาพเขี ย นโครงการอั น เนือ ่ งมาจากพระราชด�ำริในพืน ้ ทีภ ่ าคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ โครงการเขือ ่ นแควน้อย บ� ำ รุ ง แดน การอนุ รั ก ษ์ดิ น (การปลู ก หญ้า แฝก การแกล้งดิน การปลูกพืชหมุนเวียนและพืชตระกูล ถั่ ว ) มู ล นิ ธิ โ ครงการหลวง (สถานี เ กษตรหลวง การปลูกป่าอนุรก ั ษ์ตน ้ น�ำ้ ล�ำธาร การส่งเสริมการผลิต ผลิตภัณฑ์โครงการหลวง พืชเมืองหนาว) โครงการ พัฒนาลุ่มน�้ำล�ำพะยังตอนบน อ�ำเภอเขาวง จังหวัด กาฬสินธุ์ โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล รัตนโกสินทร์ วิทยาเขตเพาะช่าง ผนังด้านทิศใต้เป็นภาพเขียนโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริในพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ ได้แก่ โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนัง จังหวัด นครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา โครงการฝน หลวง (ปฏิบัติการฝนหลวงดับไฟป่าพรุโต๊ะแดง) โครงการศู น ย์ศึ ก ษาพั ฒ นาเขาหิ น ซ้อ น อ� ำ เภอ พนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โครงการตาม พระราชประสงค์หุบกะพง จังหวัดเพชรบุรี โดย สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ผนังกึง่ กลางพระทีน ่ งั่ ทรงธรรมเป็นโครงการส่วน พระองค์สวนจิตรลดา และพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โรงสีข้าว ผลิตภัณฑ์จากโคนมสวน จิตรลดา การบริหารจัดการน�ำ้ ท่วม มูลนิธพ ิ ระดาบส โดยส�ำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร
The Royal Crematorium structure Phra Meru Mas is a sizable crematorium temporarily built for the occasion of the royal cremation ceremony of King Bhumibol Adulyadej. The structural is designed specifically for the funeral rites for a king based on ancient royal traditions and is constructed to complement the Royal Pyre in order to feature an elegant honor for Kin. The crematorium consists of a series
of golden pavilions: the Dharma Royal Pavilion, Sala Lukkhun Hall, Thap Kaset, Thim, Ratchawat and Plubpla Yok.
The Dharma Royal Pavilion
The Dharma Royal Pavilion is a large hall where King Rama X and members of the Royal Family attend a sermon and merit-making ceremony while the ceremony
is underway to transfer the body of the late King Bhumibol Adulyadej to be cremated in the Royal Crematorium. It is a tall building with a four-faced roof and elevated floor. On its three walls, there are mural paintings portraying stories of 46 of the 4,000+ Royal Development Projects under King Bhumibol Adulyadej’s Patronage form each region of Thailand.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
137
138
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
กลุ่มจิตรกรขึ้นนั่งร้านเพื่อช่วยกันเขียนภาพโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริส�ำหรับติดตั้งผนัง ๓ ด้าน ของพระที่นั่งทรงธรรม Group of artisans climbed up to paint the Royal Projects to decorate the 3 sides of the Dharma Royal Pavilion
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
139
140
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
จิตรกรตั้งใจเขียนภาพเพื่อบอกเล่าพระราชกรณียกิจ เพื่อประโยชน์สุขแก่พสกนิกรของในหลวงรัชกาลที่ ๙ Concentrating artisan painting the late King Rama IX’s activities for the greater good of his people
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
141
จิตรกรร่วมกันเขียนภาพถ่ายทอดเรื่องราวโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริจ�ำนวน ๔๖ โครงการ Group of artists painting 46 Royal Projects of the late King
142
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
รายละเอียดของภาพต้นแบบที่น�ำเสนอผู้ที่เกี่ยวข้อง กับโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริให้ครบถ้วน สมบูรณ์ที่สุด Details of original photos of those who work for the Royal Projects
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
143
144
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ภาพจิตรกรรมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ในพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ติดตั้งบนผนังด้านทิศใต้ Paintings of Royal Projects in the Central and Southern Thailand on the south wall
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
145
146
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ภาพจิตรกรรมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ในพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือติดตั้ง บนผนังด้านทิศเหนือ Paintings of Royal Projects in the Northern and Northeastern Thailand on the north wall
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
147
148
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ศักดิ์นรินทร์ คูณสวัสดิ์ จิตรกรจิตอาสาก�ำลัง วาดภาพโครงการตามพระราชประสงค์หุบกะพง จังหวัดเพชรบุรี Saknarin Koonsawat, volunteer painter is painting “Hub Kapong” royal project
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
149
150
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
151
152
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ฉากบังเพลิง ฉากบังเพลิงเป็นเครือ ่ งกัน ้ ทางขึน ้ ลงพระเมรุมาศ ในชัน ้ พระจิตกาธาน มีลก ั ษณะเป็นฉากพับได้ ติดไว้ กับเสาทั้ง ๔ ด้าน บริเวณบันไดขึ้นลงพระเมรุมาศ เพื่อมิให้เห็นการถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ และ ใช้บังลม ฉากบังเพลิงมักเขียนจิตรกรรมประดับ ตกแต่ง ด้ว ยภาพเทวดา โดยฉากบั ง เพลิ ง ในงาน พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทั้ง ๔ ทิศ ด้านหน้าเป็นภาพพระนารายณ์อวตารในปางต่างๆ ๘ ปาง พร้อมสัตว์พาหนะและกลุ่มเทวดา ด้านล่าง เป็นภาพโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริใน หมวดดิน น�ำ้ ลม และไฟ ซึง่ เป็นผลงานการออกแบบ และจิตรกรรมโดยส�ำนักช่างสิบหมู่ ทิศเหนือ เป็นภาพพระนารายณ์อวตารปางที่ ๒ กู ร มาวตาร (อวตารเป็น เต่า ทอง) และปางที่ ๑ มัตสยาวตาร (อวตารเป็นปลากรายทอง) ด้านล่าง เป็นภาพโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริใน หมวดน�้ำ ๖ โครงการ ได้แก่ ฝนหลวง ฝายต้นน�้ำ อ่างเก็บน�้ำเขาเต่า เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ โครงการ พัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนัง และกังหันน�้ำชัยพัฒนา
ทิศตะวันออก เป็นภาพพระนารายณ์อวตาร ปางที่ ๔ นรสิงหาวตาร (อวตารเป็นนรสิงห์ครึ่งคน) และปางที่ ๓ วราหาวตาร (อวตารเป็นหมูป่าเอก เขี้ยวเพชร) ด้านล่างเป็นโครงการในหมวดดิน ๖ โครงการ ได้แก่ ดินกรวด ศูนย์ศึกษาการพัฒนา ห้วยฮ่องไคร้ ดินเค็ม ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้ง กระเบน ดินทราย ศูนย์ศก ึ ษาการพัฒนาเขาหินซ้อน และโครงการหุบกะพง-ดอนห้วยขุน ดินดานลูกรัง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย ดินพรุ ศูนย์ศึกษา การพัฒนาพิกุลทอง และดินเปรี้ยว ศูนย์ศึกษาการ พัฒนาพิกุลทอง ทิศใต้ เป็นภาพพระนารายณ์อวตารปางที่ ๗ รามาวตาร (อวตารเป็น พระราม) และปางที่ ๖ ปรศุรามาวตาร (อวตารเป็นพราหมณ์ผ้ใู ช้ขวานเป็น อาวุธ) ด้านล่างเป็นโครงการในหมวดไฟ ๖ โครงการ ได้แก่ สบู่ด�ำ ปลูกเพื่อสกัดน�้ำมัน สามารถใช้แทน น�้ำมันดีเซล โรงงานผลิตไบโอดีเซล ศูนย์ศึกษาการ พัฒนาพิกุลทอง เชื้อเพลิงอัดแท่ง แกลบอัดแท่ง โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ก๊าซชีวภาพ โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา พลังงานเซลล์ แสงอาทิ ต ย์ ผลิ ต กระแสไฟฟ้า ใช้ไ ฟฟ้า ส� ำ หรั บ
อุปกรณ์รับส่งสัญญาณดาวเทียม ศูนย์ศึกษาการ พั ฒ นาห้ว ยฮ่อ งไคร้ และกั ง หั น น�้ ำ ผลิ ต ไฟฟ้า ที่ ประตูน�้ำคลองลัดโพธิ์ ทิศตะวันตก เป็นภาพพระนารายณ์อวตารปางที่ ๑๐ กัลกยาวตาร (อวตารเป็นบุรุษผู้ขี่ม้าขาว) และ ปางที่ ๘ กฤษณาวตาร (อวตารเป็นพระกฤษณะ) ด้านล่างเป็นโครงการในหมวดลม ๖ โครงการ ได้แก่ กั ง หั น ลม โครงการชั่ ง หั ว มั น ตามพระราชด� ำ ริ บ้านหนองคอไก่ จังหวัดเพชรบุรี เพือ ่ การผันน�ำ้ จาก ที่ต�่ำชักน�้ำขึ้นที่สูง กังหันลม โครงการสถานีพัฒนา เกษตรที่สูงตามพระราชด�ำริดอยม่อนล้าน จังหวัด เชียงใหม่ กังหันลม โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ศู น ย์ช ่ว ยเหลื อ ผู ้ป ระสบวาตภั ย แหลมตะลุ ม พุ ก จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช และมู ล นิ ธิ ร าชประชา นุเคราะห์ ปอดของกรุงเทพฯ พระราชด�ำริพื้นที่ บางกะเจ้า อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ด้า นหลั ง ของฉากบั ง เพลิ ง เขี ย นภาพพระ ปรมาภิไธยย่อ ภปร. ประดับตกแต่งด้วยดอกไม้ ทิพย์ และดอกดาวเรืองสีเหลือง ซึ่งเป็นสีประจ�ำวัน พระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช
Cremation Panel Paintings The Cremation Panel, or Chak Bang Phloeng, is a folding screen surrounding the cremation platform at the top of the stairs. When in use, the screen is extended to shield the funeral pyre. The front features pictures of god Phra Narai avatars, the bottom is a picture some royal projects. The North side displays two avatars of the god Phra Narai: the Kurma Avatar (the tortoise) and Matsya Avatar (the fish). Below
is a picture of six royal projects promoting water resources management. The East side displays two avatars of the god Phra Narai: the Narasimha Avatar (the half-man/half-lion) and Varaha Avatar (the boar). Below is a picture of six royal projects relating to soil and crop development. The South side displays two avatars of the god Phra Narai: Rama Avatar (the prince) and Parashurama Avatar (the prince holding an axe). Below is a picture of six
royal projects promoting the conservation and production of power energy. The West side displays two avatars of the god Phra Narai: Kalki Avatar (the man on white horse) and Dashavatara (Lord Krishna or Vishnu). Below is a picture of six royal projects promoting the wind energy. The back of the Cremation Panel is a painting of His Majesty’s insignia, Bhor Por Ror, adorned with sacred flowers.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
153
ภาพพระนารายณ์อวตารปางที่ ๑๐ กัลกยาวตาร (ซ้าย) และปางที่ ๘ กฤษณาวตาร (ขวา) บนฉากบังเพลิง ด้านทิศตะวันตก 154
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
Paintings of god Narayana Avatar-Kalakayavatar episode 10; and Krishana Avatar episode 8 on the west-side cremation panels
Paintings of god Narayana Avatar–Norasinghavatar episode 4; and Varahavatar sequence episode 3 on the east-side cremation panels
ภาพพระนารายณ์อวตารปางที่ ๔ นรสิงหาวตาร (ซ้าย) และปางที่ ๓ วราหาวตาร (ขวา) บนฉากบังเพลิง ด้านทิศตะวันออก
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
155
156
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
Paintings on the cremation panel showing deities paying respect to King Rama IX on his return to heaven
ภาพเทวดาลงมาเพื่อรับเสด็จในหลวงรัชกาลที่ ๙ กลับขึ้นสู่ สรวงสวรรค์ในจิตรกรรมประกอบฉากบังเพลิง
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
157
ภาพโครงการพระราชด�ำริในหมวดไฟ บนฉากบังเพลิงด้านทิศใต้ ซ้ายบน : โรงงานผลิตไบโอดีเซล ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง ซ้ายล่าง : พลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ ขวาบน : เชื้อเพลิงอัดแท่ง โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ขวาล่าง : ก๊าซชีวภาพ โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา Paintings of the Royal Projects in the fire category on the south cremation panel, upper-left: Bio-diesel plant project, Pikhun Thong Development Center; lower-left: Solar Cell energy project, Huay Hong Krai Development Center ; lower-right: Bio-gas project, Royal Chitralada Projects; upper-right: Compressed Fuel project, Royal Chitralada Projects
158
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
จิตรกรของส�ำนักช่างสิบหมู่ร่วมกันเขียนภาพจิตรกรรม ประกอบฉากบังเพลิง Artisan from Office of Traditional Art paints the cremation panels
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
159
จิตกรรมดอกไม้ทิพย์ประดับงดงาม ด้านหลังฉากบังเพลิง Painting of sacred flowers on the back side of cremation panels
160
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ฉากบังเพลิงด้านหลังเขียนภาพ พระปรมาภิไธยย่อ ภปร. มีจิตรกรรม บัวหลวงและนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร อยู่ด้านล่าง The late King’s monogram, lotus and Princess Sirindhorn birds on the back side of cremation panels
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
161
ตราสัญลักษณ์ พระปรมาภิไธยย่อ ภปร. บนฉากบังเพลิง ด้านหลัง The late King’s monogram on the back side of cremation panels
162
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
Coloring beautiful lotus on the lower part of the cremation panel
แต้มสีดอกบัวงามประดับภาพจิตรกรรม ประกอบด้านล่างฉากบังเพลิง
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
163
164
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ภาพจิตรกรรมนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร หลั่งน�้ำตาบนฉากบังเพลิง สื่อถึงการร้องไห้ สะเทือนใจด้วยความอาลัย The painting of tearing Princess Sirindhorn birds on the back side of cremation panelsto shows the crushed cry of mourning.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
165
ฯพณฯ ชวน หลีกภัย อดีตนายกรัฐมนตรี เป็นจิตอาสาร่วมเขียนภาพจิตรกรรมฉากบังเพลิง H.E. Chuan Leekpai, former Prime Minister as a volunteer working on the cremation panel paintings
166
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ฉากบังเพลิงในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพทั้ง ๔ ทิศ ด้านบนเป็นภาพพระนารายณ์อวตาร ๘ ปางและกลุ่มเทวดา ด้านล่างเป็น ภาพโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริในหมวดดิน น�้ำ ลม ไฟ The cremation panels of 4 directions of the Royal Cremation, the front panels are 8 sequences of Narayana Avatars and dieties, the lower paintings are Royal Projects in relation to ground, water, wind and fire.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
167
ฉากบังเพลิงด้านหน้าเมื่อติดตั้งบนพระเมรุมาศ Front view of the cremation panel on the Royal Crematorium
168
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
169
170
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ฉากบังเพลิงด้านหลังที่ปิดกั้นพระจิตกาธานภายใน The back side of cremation panel that blocked the Pyre
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
171
นักเรียน ภปร.ราชวิทยาลัยช่วยขนไม้จันทน์หอม ส�ำหรับสร้างพระโกศจันทน์ Students from King’s College carrying sandalwoods to preapre for the Royal Urn
172
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
พระโกศจันทน์ การจัดสร้างพระโกศจันทน์เป็นพระราชประเพณี มาแต่โบราณ เมื่อมีเจ้านายระดับสูงเสด็จสวรรคต พระบรมศพจะถูกอัญเชิญลงในพระโกศประดิษฐาน ไว้ในพระบรมมหาราชวังเพื่อการบ�ำเพ็ญพระราช กุศลตามพระราชประเพณี ในการพระราชพิธถ ี วายพระเพลิงพระบรมศพนัน ้ พระโกศส่วนนอกจะถูกเปลื้องออกเหลือแต่โกศล องในโลหะปิดทอง ซึ่งจะน�ำขึ้นตั้งบนพระจิตกาธาน และหุ ้ม ปิด ด้ว ยพระโกศไม้จั น ทน์ที่ จ ะสร้า งขึ้ น ใน แต่ละครั้งที่มีงานพระราชพิธี น�ำขึ้นประดิษฐานบน พระเมรุ ม าศอั น เป็น แบบอย่า งมาแต่โ บราณของ การถวายพระเพลิงพระบรมศพเจ้านายชั้นสูง ส� ำ หรั บ การจั ด สร้า งพระโกศจั น ทน์ใ นงาน พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร ม ห า ภู มิ พ ล อ ดุ ล ย เ ด ช กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อ ม (ทส.) ได้จัดหาไม้จันทน์หอมส�ำหรับน�ำไปจัดสร้าง พระโกศจันทน์และใช้ในงานพระราชพิธี โดยคัดเลือก ไม้จันทน์หอมในพื้นที่อุทยานแห่งชาติกุยบุรี ต�ำบล หาดขาม อ� ำ เภอกุ ย บุ รี จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ์ ซึ่ ง มี ลั ก ษณะเหมาะสม ยื น ต้น ตายธรรมชาติ เปลาตรง ก่อ นท� ำ พิ ธี บ วงสรวงไม้จั น ทน์ห อม เมื่อวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙ จากนัน ้ กรมอุทยานแห่งชาติฯ ได้ตด ั และแปรรูป ไม้จน ั ทน์หอม จ�ำนวน ๙ ต้น ได้ไม้จน ั ทน์หอมแปรรูป เป็นแผ่น ๑,๔๑๕ แผ่น เป็นไม้ท่อนจ�ำนวน ๔๖ ท่อน ก่อนส่งให้ส�ำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร น�ำไปจัด สร้างพระโกศจันทน์ ฐานรองพระโกศจันทน์ และ
ส่วนประกอบอืน ่ ๆ ส�ำนักช่างสิบหมู่นำ� ไม้จน ั ทน์หอม แปรรูปดังกล่าวไปจัดสร้างพระโกศจันทน์ตามที่ได้ ออกแบบไว้ ในการด�ำเนินการต้องอาศัยช่างหลาย ประเภท ได้แก่ ช่างโลหะ จัดสร้างโครงโลหะ ช่างไม้ ประณีตแปรรูปไม้จันทน์หอมเป็นรูปลักษณะต่างๆ เพื่อใช้ฉลุลวดลาย ช่างโกรกฉลุ โกรกและฉลุลาย ตามแบบ ช่างประดับลาย น�ำดอกลายที่ส�ำเร็จแล้ว มาประดับกับโครงพระโกศ แต่ละขัน ้ ตอนสุดประณีต และพิถีพิถัน ต้องใช้ความละเอียดรอบคอบ พระโกศจันทน์ ประกอบด้วย ฝา ตัวพระโกศ และฐานพระโกศ สร้า งขึ้ น โดยล้อ ตามพระโกศ ทองใหญ่ มีพระลองในอยู่ด้านใน ถือเป็นเครื่อง แสดงถึ ง พระเกี ย รติ ย ศสู ง สุ ด จะถู ก ใช้อั ญ เชิ ญ พระบรมโกศประดิษฐานยังพระจิตกาธานภายใน พระเมรุ ม าศ การออกแบบพระโกศจั น ทน์ใ ช้ ลวดลายทั้งหมด ๔๖ รูปแบบ ประดับลายซ้อนไม้ ประมาณ ๑๐,๐๐๐ ชิ้น โดยใช้ลายเทพพนมเป็น ลายหลักทั้งหมด ๖๔ องค์ เพื่อเป็นสัญลักษณ์เมื่อ อัญเชิญพระโกศขึ้นเทินบนหีบพระบรมศพจันทน์ จะเปรียบเสมือนพระนารายณ์อวตารลงมาโดยใช้ ครุฑเป็นพาหนะในการส่งเสด็จ ในส่ว นของหี บ พระบรมศพจั น ทน์ห รื อ ฐาน พระโกศจันทน์ จะประดิษฐานเหนือพระจิตกาธาน ในพระเมรุมาศคู่กับพระโกศจันทน์ท่ีจะประดิษฐาน อยู่เหนือหีบพระบรมศพจันทน์อีกชั้น หีบพระบรม ศพจันทน์ใช้ลวดลายประกอบทั้งหมด ๒๔ รูปแบบ ประดับลายซ้อนไม้ประมาณ ๓๐,๐๐๐ ชิ้น โดยใช้ ลายเครือเถาครุฑจ�ำนวน ๑๓๒ องค์ ในการประดับ
ตกแต่งโดยรอบ ถือเป็นครั้งแรกที่ใช้ลายเครือเถา ครุ ฑ จ� ำ นวนมากขนาดนี้ เพื่ อ ให้หี บ พระบรมศพ จันทน์มีความสมพระเกียรติอย่างสูงสุด ครุฑแต่ละ องค์ประกอบด้วยชิ้นส่วน ๕๓ ชิ้น น�ำงานไม้แต่ละ ส่วนมาประกอบซ้อนเป็นชั้นๆ เพื่อให้เห็นลวดลาย งดงามชัดเจน การประดิ ษ ฐ์พ ระโกศจั น ทน์ เริ่ ม จากการใช้ ลวดโครงเหล็กตัดตามรูปร่างและขนาดตามแบบ มาเชื่อมกัน แล้วจึงน�ำตะแกรงลวดตาข่ายมาบุทับ โครงภายนอกเพื่อไว้ติดลวดลายไม้จันทน์ ซึ่งจะน�ำ ไม้จันทน์ที่เป็นท่อน ซอยเป็นแผ่นบางๆ ตามขนาด ที่ต้องการ เพื่อใช้ฉลุลวดลายตามขนาดที่ก�ำหนด เช่น แปรรู ป เป็น แผ่น รู ป โค้ง ตามลั ก ษณะลวดบั ว ต่า งๆ ตามแบบ รวมทั้ ง ท� ำ การกลึ ง ไม้เ ป็น ยอด พระโกศจันทน์
ท่อนฟืนไม้จันทน์
ท่อ นฟืน ไม้จั น ทน์ป ระดั บ ลายรดน�้ ำ เป็น ไม้ จันทน์หอมที่ได้จากอุทยานแห่งชาติกุยบุรี จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ ลวดลายประกอบไปด้วยลายพุ่ม กบินทร์ก้านแย่ง และลายกรวยเชิง สาเหตุใช้เทคนิค ลายรดน�ำ้ เพือ ่ ให้สมพระเกียรติสงู สุด เนือ ่ งจากลาย รดน�ำ้ เป็นงานประณีตชัน ้ สูงของไทย มีกระบวนการ ที่มีความประณีตละเอียดอ่อนทุกขั้นตอน อีกทั้งใช้ เทคนิคแบบโบราณทั้งหมด โดยท่อนฟืนไม้จันทน์ ใช้ทั้งหมด ๒๔ ท่อน
The Sandalwood Royal Urn Creation of the Sandalwood Royal Urn has been in a royal tradition back in time. In ancient Thai tradition, when a member of the royal family dies, the body is placed inside the Royal Urn, to be enshrined at the Grand Palace during a period of the royal merit-making ceremony. However, King Bhumibol’s body has been placed in a coffin,
with the traditional royal urn used more as a symbol of his status. The royal urn has an outer component of carved wood covered in embossed gold sheet and small mirrors, and an inner component cast in iron and plated in gold. On Oct 26th, the urn will be carried out of the Grand Palace to be placed
on the crematorium. Once inside the crematorium, the outer component of the royal urn will be removed, and replaced by a sandalwood version specifically crafted for this occasion, according to Thai ancient tradition.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
173
พิธีรับมอบไม้จันทน์หอม ส�ำหรับจัดสร้างพระโกศจันทน์เพื่อใช้ในงาน พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพในหลวงรัชกาลที่ ๙ วันอังคารที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ ส�ำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร Handing over ceremony of sandalwoods for the Royal Urn for the Royal Cremation Ceremony of King Bhumibol Adulyadej. (Office of Traditional Arts, Fine Art Office - on 20th December 2016)
174
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ส�ำนักช่างสิบหมู่ออกแบบพระโกศจันทน์ ประกอบด้วย ฝา ตัวพระโกศ และฐานพระโกศ โดยใช้ลวดลายทั้งหมด ๔๖ รูปแบบ ประดับลายซ้อนไม้ประมาณ ๑๐,๐๐๐ ชิ้น The Royal Urn blueprint, designed by the Office of Traditional Arts, with 46 designs of 10,000 pieces of carved wood
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
175
176
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ช่างหลวงก�ำลังประกอบลวดลายบนหีบพระบรมศพจันทน์ หรือฐานพระโกศจันทน์ที่จะประดิษฐานเหนือพระจิตกาธาน ในพระเมรุมาศคู่กับพระโกศจันทน์ Artisans decorating the Royal Coffin or the Royal Urn base, to place on top of the Pyre in the Royal Crematorium alongside the Royal Urn
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
177
หีบพระบรมศพจันทน์ใช้ลวดลายประกอบทั้งหมด ๒๔ รูปแบบ ประดับลายซ้อนไม้ประมาณ ๓๐,๐๐๐ ชิ้น โดยใช้ลายเครือเถาครุฑจ�ำนวน ๑๓๒ องค์ ในการประดับ ตกแต่งโดยรอบ The Royal Coffin consists of 24 designs, decorated with 30,000 pieces of carved wood of 132 Garuda symbols
178
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
179
ช่างหลวงและจิตอาสาร่วมเขียนลายรดน�้ำลงบน ท่อนฟืนไม้จันทน์อย่างประณีต
180
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
A volunteer artisan delicately decorating the Royal Urn
ท่อนฟืนไม้จันทน์ประดับลายรดน�้ำเป็นงานประณีต ชั้นสูงของไทย โดยใช้เทคนิคแบบโบราณที่มีความประณีต ละเอียดอ่อนทุกขั้นตอน เพื่อให้สมพระเกียรติสูงสุด The sandalwood log with Thai lacquer work is a high level art, using ancient technique with delicate steps to honor the king
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
181
ราชรถ - ราชยาน การอัญเชิญพระบรมศพจากพระมหาปราสาท ไปสู ่พ ระเมรุ ม าศ หรื อ อั ญ เชิ ญ พระบรมอั ฐิ จ าก พระเมรุมาศ มาสู่พระบรมมหาราชวัง พระบรม ราชสรีรางคารไปบรรจุหรือลอยพระอังคาร ตาม โบราณกาลจะอัญเชิญด้วยขบวนพระราชอิสริยยศ ซึ่ ง เรี ย กว่า “ริ้ ว ขบวน” โดยมี ก ารบู ร ณะตกแต่ง ราชรถ - ราชยาน และเครือ ่ งประกอบพระราชอิสริยยศ เพื่ อ ให้พ ร้อ มส� ำ หรั บ การอั ญ เชิ ญ พระบรมศพ พระบรมอัฐิ และพระบรมราชสรีรางคาร แต่ละ ริ้วขบวนมีคนหาม คนฉุดชักจ�ำนวนมาก พร้อมด้วย เครื่องประกอบพระอิสริยยศ เพื่อเคลื่อนขบวนให้ งดงามประหนึ่งราชรถเคลื่อนบนหมู่เมฆส่งเสด็จ สู่สวรรค์
พระมหาพิชัยราชรถ
พระมหาพิ ชั ย ราชรถมี ลั ก ษณะเป็น ราชรถ ทรงบุ ษ บก สร้า งขึ้ น ในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระ พุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ใช้เพื่อการอัญเชิญ พระโกศพระอัฐิ สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกออก พระเมรุ เมื่ อ พุ ท ธศั ก ราช ๒๓๓๙ จากนั้ น ถื อ เป็น พระราชประเพณี ที่ ใ ช้พ ระมหาพิ ชั ย ราชรถ อัญเชิญพระบรมโกศพระมหากษัตริย์ และพระโกศ พระบรมวงศ์ศานุวงศ์ พระมหาพิ ชั ย ราชรถสร้า งด้ว ยไม้แ กะสลั ก ลงรักปิดทองประดับกระจก ใช้ก�ำลังพลฉุดชักจาก กรมสรรพาวุธทหารบก ๒๑๖ นาย คือ ด้านหน้า ๑๗๒ นาย ด้านหลัง ๔๔ นาย
ราชรถน้อย
มี ลั ก ษณะคล้า ยราชรถองค์ใ หญ่ คื อ มี ส ่ว น ตัวรถที่แกะสลักลงรักปิดทองประดับกระจก คานที่ ยื่นออกมาเป็นรูปนาคราช บนราชรถมีบุษบกตั้งอยู่ เช่นเดียวกัน เพียงแต่มข ี นาดเล็กกว่ามาก มีนำ�้ หนัก เพียง ๓.๘๕ ตันและ ๓.๖๕ ตัน เท่านั้น ราชรถน้อ ยองค์ห นึ่ ง ใช้เ ป็น ราชรถที่ ส มเด็ จ พระสังฆราชหรือพระราชาคณะ ทรงสวดน�ำขบวน พระมหาพิชัย ราชรถ ราชรถองค์สองเป็น ราชรถ โยงผ้าจากพระบรมโกศจัดเป็นราชรถตาม จากนั้น เป็น ราชรถน้อ ยอี ก องค์ห นึ่ ง ใช้เ ป็น รถส� ำ หรั บ พระบรมวงศานุวงศ์ผ้ใู หญ่ประทับ เพือ ่ ทรงโปรยทาน พระราชทานแก่ประชาชนที่มาเฝ้ากราบสักการะ พระบรมศพตามทางสู่พระเมรุมาศ
พระที่นั่งราเชนทรยาน
พระที่นั่งราเชนทรยานเป็นพระราชยานที่สร้าง ขึ้ น ในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช ลักษณะเป็นทรงบุษบก มีขนาด กว้าง ๑.o๓ เมตร ยาว ๕.๔๘ เมตร พร้อมคานหาม
182
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
สู ง ๔.๒๓ เมตร ย่อ มุ ม ไม้สิ บ สอง หลั ง คาซ้อ น ๕ ชั้น สร้างด้วยไม้ แกะสลักลงรักปิดทองประดับ กระจก พนักพิงและกระจังปฏิญาณแกะสลักเป็น ภาพเทพนมไว้ตรงกลาง และมีรูปครุฑยุดนาค ๑๔ ตัว ประดับที่ฐาน มีคานส�ำหรับหาม ๔ คาน ใช้คน หาม ๕๖ คน แต่เวลาปกติจะคงคานประจ�ำไว้ ๒ คาน พระที่นั่งราเชนทรยานใช้ในการเสด็จพระราช ด�ำเนินโดยขบวนแห่อย่างยิ่งใหญ่ ที่เรียกว่าขบวน พยุ ห ยาตราสี่ ส าย แต่เ นื่ อ งจากมี ข นาดใหญ่แ ละ น�้ ำ หนั ก มาก จึ ง ไม่นิ ย มใช้ส� ำ หรั บ เสด็ จ พระราช ด�ำเนินทางไกลไปนอกพระบรมมหาราชวัง นอกจากนี้ ใช้ในการเชิญพระโกศพระบรมอัฐิพระมหากษัตริย์ หรื อ พระโกศพระอั ฐิ พ ระบรมวงศ์จ ากพระเมรุ ท้องสนามหลวงเข้าสู่พระบรมมหาราชวัง
พระที่นั่งราเชนทรยานน้อย
พระที่นั่งราเชนทรยานน้อย เป็นพระราชยานที่ ใช้ในการประดิษฐานพระบรมราชสรีรางคารเข้าสู่ วั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม พระบรมมหาราชวั ง พระราเชนทรยานน้อ ยมี ลั ก ษณะเป็น ทรงบุ ษ บก สร้างด้วยไม้แกะสลักลงรักปิดทองประดับกระจก ทั้งองค์ ขนาดกว้าง ๑๐๐ เซนติเมตร ยาว ๕๔๘ เซนติเมตร รวมคานหาม สูง ๔๑๔ เซนติเมตร มีคานส�ำหรับหาม ๔ คาน จ�ำนวนคนหาม ๕๖ คน
พระยานมาศสามล�ำคาน
พระยานมาศสามล�ำคาน เป็นยานที่มีคานหาม ขนาดใหญ่ ท�ำด้วยไม้จ�ำหลักลวดลายลงรักปิดทอง มีพนักโดยรอบ ๓ ด้าน และมีคานหาม ๓ คาน จึ ง เรี ย กว่า พระยานมาศสามล� ำ คาน ใช้ส� ำ หรั บ อั ญ เชิ ญ พระบรมโกศ (พระโกศทองใหญ่) จาก พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง
ราชรถปืนใหญ่
ราชรถปืน ใหญ่จั ด สร้า งขึ้ น ใหม่เ พื่ อ ใช้ใ นการ อัญเชิญพระโกศพระบรมศพ โดยกรมสรรพาวุธได้ ศึกษารูปแบบตามงานถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ ๖ และพระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทรมหาอานั น ท มหิ ด ล พระอั ฐ มรามาธิ บ ดิ น ทร รั ช กาลที่ ๘ โดยโครงสร้างราชรถปืนใหญ่แบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ราชรถปืนใหญ่ส่วนหลัง และราชรถปืนใหญ่ส่วนหน้า มีคานบังคับสั้น เชือกชุดชัก ๒ เส้น
พระเสลี่ยงกลีบบัว
พระเสลี่ ย งกลี บ บั ว เป็น พระราชยานส� ำ หรั บ สมเด็ จ พระสั ง ฆราชหรื อ พระราชาคณะ นั่ ง อ่า น พระอภิธรรมน�ำพระโกศพระบรมศพ จากพระที่นั่ง
ดุ สิ ต มหาปราสาทออกจากพระบรมมหาราชวั ง ไปยั ง พระมหาพิ ชั ย ราชรถที่ วั ด พระเชตุ พ นวิ ม ล มั ง คลารามราชวรมหาวิ ห าร และน� ำ ขบวน พระอิ ส ริ ย ยศ เมื่ อ อั ญ เชิ ญ พระโกศพระบรมศพ เวียนรอบพระเมรุมาศ สร้างด้วยไม้ปิดทองประดับ กระจกทั้ ง องค์ มี ค านหาม ๒ คาน ล� ำ คานเป็น ไม้กลมกลึงทาสีแดง ปลายกลึงเป็นหัวเม็ดทรงมัณฑ์ มีรูปทรงกลมหรือเหลี่ยมซ้อนกันเป็นชั้นๆ เรียวขึ้น ไป หัวเม็ดเสาเกย ปิดทองประดับกระจก ล�ำคาน ท�ำด้วยไม้กลึงกลมทาสีแดงเรียบ ปลายคานประดับ หัวเม็ดปิดทองประดับกระจก
พระเสลี่ยงแว่นฟ้า
พระเสลีย ่ งแว่นฟ้าเป็นราชยานขนาดเล็ก ส�ำหรับ อัญเชิญพระลองในพระบรมศพ ลงจากพระที่นั่ง ดุ สิ ต มหาปราสาทไปยั ง เกยเที ย บพระยานมาศ สามล� ำ คานที่ น อกก� ำ แพงแก้ว พระที่ นั่ ง ดุ สิ ต มหาปราสาท มีลักษณะเป็นฐานแท่งไม้สี่เหลี่ยม สลักลาย ปิดทองประดับกระจกทัง้ องค์ ตัวแท่นฐาน เป็นฐานสิงห์ปากบัว หน้ากระดานล่างลงรักปิดทอง ประดับกระจกลายดอกประจ�ำยาม ฐานสิงห์ปิดทอง ประดับกระจก บัวหลังสิงห์ปิดทองประดับกระจก เส้นลวดเดินเส้นทางซ้อนประดับด้วยลายเม็ดประค�ำ พื้นพระเสลี่ยงลาดพรมสีแดง ทั้ง ๔ มุม ติดห่วง เหล็กทาสีแดง คานหามทั้ง ๔ คาน ทาสีแดงเรียบ ปลายคานเป็นหัวเม็ดทรงมัณฑ์ปิดทองเรียบ
เกรินบันไดนาค
อุปกรณ์ทใี่ ช้เชิญพระโกศพระบรมศพขึน ้ หรือลง จากพระมหาพิชย ั ราชรถและพระเมรุมาศ แทนการ ใช้นงั่ ร้านไม้ต่อยกสูงแบบสมัยโบราณ ซึง่ ใช้กำ� ลังคน ยกขึ้นลง มีความยากล�ำบากและไม่สะดวก เกริน มีลักษณะเป็นรางเลื่อนขึ้นลงด้วยกว้านหมุน โดย มีแท่นที่วางพระโกศเพื่อสะดวกในการเคลื่อนย้าย ขึ้ น หรื อ ลง ลั ก ษณะเป็น แท่น สี่ เ หลี่ ย ม ขอบฐาน แกะสลักลายปิดทองประดับกระจก ท้ายเกรินเป็น พื้ น ลดระดั บ ลงมา ซึ่ ง เป็น ที่ ส� ำ หรั บ เจ้า พนั ก งาน ภู ษ ามาลาขึ้ น นั่ ง ประคองพระโกศพระบรมศพ มีลักษณะคล้ายท้ายส�ำเภา ด้านข้างบุผ้าตาดทอง มีราวทั้ง ๒ ข้างตกแต่งเป็นรูปพญานาค จึงเรียกว่า เกริ น บั น ไดนาค เป็น อุ ป กรณ์ที่ คิ ด ค้น โดยสมเด็ จ พระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรี สุ ด ารั ก ษ์กั บ เจ้า ขรั ว เงิ น ใช้ค รั้ ง แรก ใ น พ ร ะ ร า ช พิ ธี ถ ว า ย พ ร ะ เ พ ลิ ง พ ร ะ บ ร ม ศ พ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๕
Eng
The Royal Chariots and Palanquins Transferring of the royal urn from the Grand Palace to the Crematorium, and of King Bhumibol’s relics and ashes from the Crematorium to the Grand Palace according to the ancient tradition is called the Royal Procession of Honor. The Royal
Chariots and Palanquins have been carved, gilded and decorated splendidly in order to accommodate this transfer. The day-long Grand processions are led by the new King, Rama X, the members of the Royal Family, and accompanied by
bearers of the Chariots and Palanquins including thousands of troops, moving slowly forward step by step, as if they are making way through the clouds to send the beloved King up to heaven.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
183
ช่างก�ำลังบูรณะตกแต่งราชรถให้พร้อมส�ำหรับการอัญเชิญ พระบรมศพในหลวงรัชกาลที่ ๙ Artisan is restoring the Royal Chariots for Royal Procession of Honor for King Rama IX
184
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
185
186
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
พระมหาพิชัยราชรถเป็นราชรถทรงบุษบกส�ำหรับอัญเชิญ พระบรมโกศพระมหากษัตริย์และพระโกศพระบรมวงศ์ศานุวงศ์ Phra Maha Pichai Racharot (The Great Victory Chariot) is a vehicle with a busabok shape for royal procession of royal urns of late kings and high ranking royals
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
187
ราชรถน้อยมีส่วนตัวรถที่แกะสลักลงรักปิดทองประดับกระจก คานที่ยื่นออกมาเป็นรูปนาคราช บนราชรถมีบุษบกขนาดเล็กตั้งอยู่ เช่นเดียวกัน ใช้เป็นราชรถที่สมเด็จพระสังฆราชประทับทรงสวด น�ำขบวนพระมหาพิชัยราชรถ Small Palanquin has been carved and decorated with Thai lacquer work, gold leaf and colored glasses. The handle are crafted as Nagas, with a small busabok seating on top for the Supreme to lead ดถึงพ่อของแผ่ นดินPhra Maha Pichai Racharot 188 คิPatriarch
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
189
ริ้วขบวนพระมหาพิชัยราชรถในระหว่าง ซ้อมริ้วขบวนพระบรมราชอิสริยยศ Phra Maha Phichai Ratcharot (the Great Victory Royal Chariot) in Royal Procession of Honor
190
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
191
192
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
นักศึกษาที่จังหวัดเชียงใหม่และกรุงเทพฯ ซ้อมฟ้อนร�ำเพื่อแสดงในงานพระราชพิธีถวาย พระเพลิงพระบรมศพ Students from Chiang Mai and Bangkok are dance practicing for the royal cremation ceremony.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
193
นาฏศิลปิน ส�ำนักการสังคีต นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลป์ ทั่วประเทศ ๑๒ แห่ง และสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ร่วมฝึกซ้อม การแสดงโขนหน้าพระที่นั่งทรงธรรมในงานพระราชพิธีถวาย พระเพลิงพระบรมศพในหลวงรัชการที่ ๙ Performance Ceremony is the sign to cease mourning after the Royal Cremation, performed with high level of Thai dancing arts
194
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ฝึกซ้อมการแสดงโขนเรื่อง รามเกียรติ์หน้าพระเมรุมาศ เพื่อแสดงมหรสพสมโภชใน งานพระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพ Performers rehearsing the Ramayana “Khon” performance in front of the Royal Crematorium
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
195
196
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
197
198
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
น้อมใจ ส่งเสด็จสู่ สวรรคาลัย The last farewell to his return to heaven
พระราชพิธถ ี วายพระเพลิงพระบรมศพเป็นโบราณราชประเพณีทส ี่ ำ� คัญ ถือธรรมเนียมปฏิบต ั ส ิ บ ื ต่อมาจากสมัยกรุงศรีอยุธยา เพราะเป็นการเฉลิมพระเกียรติอย่างสูงสุดต่อพระมหากษัตริย์ตามคติความเชื่อของพราหมณ์ที่เทิดทูนพระมหากษัตริย์เป็น ดั่งสมมติเทพที่อวตารลงมายังโลกมนุษย์ เพื่อคุ้มครองประชาชนให้อยู่เย็นเป็นสุข และเสด็จกลับสู่สรวงสวรรค์เมื่อสวรรคต A royal funeral ceremony is a very significant tradition in honoring the passing of a monarch. According to the Brahmin belief, a monarch is revered as an incarnation of a deity, born to this world to lead and give guidance to his subjects for their well beings while on the Earth, and returned to heaven after his passing. Thus, a royal funeral ceremony is very significant in honoring his passing and bidding farewell to his return to heaven.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
199
ดั ง นั้ น เ พื่ อ เ ป ็น ก า ร เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ต ่อ พระมหากษั ต ริ ย ์ พระราชพิ ธี พ ระบรมศพจึ ง จั ด อย่างสมพระเกียรติ ใช้เวลาเตรียมการนานแรมปี มีรายละเอียดซับซ้อนหลายขั้นตอน เริ่มตั้งแต่การ สรงน�้ำพระบรมศพ การสุก�ำพระบรมศพ (การห่อ และมั ด ตราสั ง ) และการอั ญ เชิ ญ พระบรมศพสู ่ พระบรมโกศ หลังจากนั้นจึงอัญเชิญพระบรมโกศ ประดิษฐานเหนือพระแท่นสุวรรณเบญจดลภายใต้ นพปฎลมหาเศวตฉัตร ณ พระทีน ่ งั่ ดุสต ิ มหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง เพื่อประกอบพระราชพิธี บ�ำเพ็ญพระราชกุศล โดยพระบรมวงศานุวงศ์จะ ร่วมบ�ำเพ็ญพระราชกุศลเป็นประจ�ำทุกวัน จนครบ ๑๐๐ วั น แต่ล ะวั น มี ก ารสวดพระอภิ ธ รรมโดย พระพิ ธี ธ รรมด้ว ยท� ำ นองสวดเฉพาะที่ เ รี ย กว่า ท�ำนองหลวง ในส่วนของพระราชพิธถี วายพระเพลิงพระบรมศพ หรืองานออกพระเมรุ ถือเป็นขั้นตอนส�ำคัญในการ จั ด งานพระบรมศพ มี ก ารก่อ สร้า งพระเมรุ ม าศ ณ ท้องสนามหลวง และเครื่องประกอบอื่นๆ เช่น พระโกศจันทน์ เครื่องฟืนไม้จันทน์ พระโกศบรรจุ พระบรมอั ฐิ ทั้ ง หมดนี้ ด� ำ เนิ น การไปพร้อ มกั บ พระราชพิธีบ�ำเพ็ญพระราชกุศล ภายหลังสร้างพระเมรุมาศเสร็จสิน ้ จึงได้อญ ั เชิญ พระบรมโกศจากพระบรมมหาราชวังสู่พระเมรุมาศ ด้ว ยริ้ ว ขบวนพระราชอิ ส ริ ย ยศ เพื่ อ ประกอบ พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพในช่วงเย็น และอัญเชิญพระโกศพระบรมอัฐิจากพระเมรุมาศ ไปประดิษฐานในพระบรมมหาราชวังในวันรุ่งขึ้น พระราชพิธถ ี วายพระเพลิงพระบรมศพพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช มีรวิ้ ขบวน พระราชอิสริยยศจ�ำนวน ๖ ริ้วขบวน ริ้วขบวนแรก เริม ่ ขึน ้ ในเวลา ๐๗.๒๔ นาฬิกา ของวันที่ ๒๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ อัญเชิญพระโกศทองใหญ่จากพระทีน ่ งั่ ดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง ไปยัง พระเมรุมาศ มณฑลพระราชพิธีท้องสนามหลวง โดยพระยานมาศสามล�ำคาน เคลื่อนออกไปตาม ถนนมหาราช เลี้ยวเข้าสู่ถนนท้ายวัง มุ่งไปยังถนน สนามไชย สมเด็ จ พระวั น รั ต วั ด บวรนิ เ วศวิ ห าร นั่ ง พระเสลี่ ย งกลี บ บั ว อ่า นพระอภิ ธ รรมน� ำ เพื่ อ
200
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
อั ญ เชิ ญ พระบรมโกศขึ้ น ประดิ ษ ฐานในบุ ษ บก พระมหาพิชัยราชรถโดยเกรินบันไดนาค จากหน้า พลับพลายก วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวร มหาวิหาร สมเด็จพระวันรัตลงจากพระเสลีย ่ งกลีบบัว ขึ้นราชรถน้อย ริ้วขบวนที่ ๒ อัญเชิญพระมหาพิชัยราชรถทรง พระบรมโกศ เคลื่อนไปตามถนนสนามไชย ถนน ราชด�ำเนินใน ผ่านพลับพลายกหน้าพระที่นั่งสุทไธ สวรรยปราสาท ผ่านกระทรวงกลาโหม สู่ถนนกลาง ท้องสนามหลวง และเคลื่อนเข้ามณฑลพระราชพิธี เมื่อเคลื่อนขบวน ทหารปืนใหญ่ยิงปืนใหญ่ถวาย พระเกียรตินาทีละ ๑ นัด จนกว่าพระบรมโกศขึ้น ประดิษฐานบนพระจิตกาธานในพระเมรุมาศแล้ว จึ ง หยุ ด ยิ ง เมื่ อ พระมหาพิ ชั ย ราชรถถึ ง ที่ เ ที ย บ สะพานเกริ น บั น ไดนาคหน้า พลั บ พลายกนอก ราชวัตพ ิ ระเมรุมาศ เพือ ่ เลือ ่ นอัญเชิญพระบรมโกศ เคลื่ อ นลงทางเกริ น บั น ไดนาคประดิ ษ ฐานเหนื อ ราชรถปืนใหญ่ มีทหารปืนใหญ่ฉด ุ ชักราชรถปืนใหญ่ อัญเชิญพระบรมโกศเข้าเวียนพระเมรุมาศ ริว้ ขบวนที่ ๓ เชิญราชรถปืนใหญ่ทรงพระบรมโกศ เวียนรอบพระเมรุมาศโดยอุตราวรรต (เวียนซ้าย) ๓ รอบ ริ้วขบวนน�ำโดยพระเสลี่ยงกลีบบัวอัญเชิญ พระสวดพระอภิธรรม ราชรถปืนใหญ่ ตามด้วย ขบวนเสด็จฯ ของสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ วั รัชกาลที่ ๑๐ และพระบรมวงศานุวงศ์ เมื่อเคลื่อนขบวนครบ ๓ รอบแล้ว เที ย บราชรถปืน ใหญ่ที่ เ กริ น บั น ไดนาค พระเมรุมาศด้านทิศเหนือ อัญเชิญพระบรมโกศ ขึ้ น ประดิ ษ ฐานบนพระจิ ต กาธาน ปิด พระฉาก ปิด พระวิ สู ต ร เปลื้ อ งพระบรมโกศ ประกอบ พระโกศจันทน์ แล้วเปิดพระฉาก เปิดพระวิสูตร เวลา ๑๗.๑๕ นาฬิกา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ เสด็จขึ้นพระเมรุมาศ ทรงวางเครื่อง ราชสักการะพระบรมศพ จุดธูป เทียน ดอกไม้จน ั ทน์ เพือ ่ ประกอบพระราชพิธถ ี วายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากนัน ้ ในเวลา ๒๒.๐๐ นาฬิกา สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ ๑๐ เสด็จขึ้นพระเมรุมาศ ปิดพระฉาก และพระวิ สู ต รเพื่ อ เตรี ย มการถวายพระเพลิ ง พระบรมศพจริง
วันรุ่งขึ้น เวลา ๐๘.๐๐ นาฬิกา ริ้วขบวนที่ ๔ อัญเชิญพระโกศพระบรมอัฐขิ น ึ้ ประดิษฐานในบุษบก พระทีน ่ งั่ ราเชนทรยาน และอัญเชิญพระบรมราชสรี รางคารขึน ้ ประดิษฐานในพระทีน ่ ง่ั ราเชนทรยานน้อย จากพระเมรุมาศเข้าสู่พระบรมมหาราชวัง เคลื่อน ขบวนพระราชอิ ส ริ ย ศเชิ ญ พระโกศพระบรมอั ฐิ พระบรมราชสรีรางคาร ขบวนพระราชอิสริยยศ อั น เชิ ญ พระบรมราชสรี ร างคาร โดยพระที่ นั่ ง ราเชนทรยานน้อยแยกเข้าวัดพระศรีรต ั นศาสดาราม อัญเชิญพระผอบพระบรมราชสรี ร างคารพั ก ไว้ที่ พระศรีรัตนเจดีย์ ขบวนพระราชอิ ส ริ ย ยศ อั ญ เชิ ญ พระโกศ พระบรมอัฐโิ ดยพระที่นั่งราเชนทรยาน เข้าประตู พิ ม านไชยศรี อั ญ เชิ ญ พระโกศพระบรมอั ฐิ จ าก พระที่ นั่ ง ราเชนทรยานเข้า สู ่พ ระที่ นั่ ง ดุ สิ ต มหา ปราสาท ประดิษฐานที่บุษบกแว่นฟ้าทอง ริ้วขบวนที่ ๕ ในวันที่ ๒๙ ตุลาคม เวลา ๑๐.๓๐ นาฬิกา อัญเชิญพระโกศพระบรมอัฐิโดยพระที่นั่ง ราเชนทรยาน จากพระที่ นั่ ง ดุ สิ ต มหาปราสาท ขึ้ น ประดิ ษ ฐาน ณ พระวิ ม าน บนพระที่ นั่ ง จั ก รี มหาปราสาท เวลา ๑๗.๓๐ นาฬิ ก า ริ้ ว ขบวนที่ ๖ ขบวน กองทหารม้า อัญเชิญพระบรมราชสรีรางคารจาก พระศรีรัตนเจดีย์ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดย รถยนต์พ ระที่ นั่ ง ออกจากพระบรมมหาราชวั ง ทางประตู วิ เ ศษไชยศรี ไปยั ง วั ด ราชบพิ ธ สถิ ต มหาสีมาราม ขบวนกองทหารม้า อัญเชิญพระบรม ราชสรีรางคาร จากวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ไปบรรจุ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร พระราชพิธถ ี วายพระเพลิงพระบรมศพพระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชจึ ง ได้ สิ้ น สุ ด ลงอย่า งสมพระเกี ย รติ ก ษั ต ริ ย ์ผู ้เ ป็น ที่ รั ก และเทิดทูนของปวงชนชาวไทย แม้นเป็นห้วงเวลา แห่ง ความโศกเศร้า อย่า งยาวนานของพสกนิ ก ร ทุกหมู่เหล่านับตั้งแต่สวรรคต แต่ทุกคนตระหนัก ดีว่า...ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปยาวนานเพียงใด พระองค์ ยังคงสถิตในดวงใจตราบนิจนิรันดร์
The current royal funeral tradition was originated in the Ayutthaya period with modifications to some minor details thru the times or according to the wishes of each monarch. The ceremony is very grand and magnificent. It takes many months of careful preparation. Each ritual of the royal funeral ceremony are planned to the very small details. Right after the passing, the ceremony begins with the Srong Nam (bathing) ritual, the Sugum (wrapping) ritual, and then the royal body is laid in the royal funeral urn. The urn is then moved in a ceremonious procession to sit atop the Suwan Benjadol at the Dusit Maha Prasat Throne Hall in the Grand Palace. A royal merit-making ceremony attended by members his royal family, will be held daily for the next 100 days. Each of the 100 days, a group of monk will perform a religious ceremony, chanting with a special rhythm called Tham Nong Luang. One of the most important rituals in the royal funeral ceremony is the cremation or Ngan Ook Phra Meru. Concurrent to the 100 days religious ceremony, many attentive detail preparations for the cremation begin. The Royal Crematorium or Phra Meru Mas is constructed at Sanam Luang, an open field public square located in front of the Grand Palace. The Royal Cremation Urn, made out of Mai Chan (a fragrant sandalwood), the sandalwood burning logs and the ashes urn are carefully prepared. After the construction of the Royal Crematorium is completed, the royal urn is brought out the Grand Palace in a
ceremonious funeral procession to the cremation site. Once the construction of the Royal Crematorium is completed, the royal urn is brought out of the Grand Palace in a ceremonious funeral procession to the cremation site. October 25, 2017 5:30pm. The merit making rite at Dusit Maha Prasat Throne Hall October 26, 2017 7:24am. The royal ceremonial urn is moved in three stages to the crematorium complex The first procession - The royal ceremonial urn is moved from the throne hall, atop the Phra Yannamas Sam Lam Khan (the golden palanquin with three poles). The first procession goes through the Deva Phirom Gate of the Grand Palace to Maharaj Road and turns to Tai Wang Road heading toward Sanamchai Road. The second procession - In front of the Chetupon Vimolmanklara Temple, the urn is transferred from the palanquin to Phra Maha Pichai Ratcharot chariot, the procession then march 890 meter for about 2 hours toward Rajadamnern Nai Road and turn into Sanam Luang to the front of the crematorium. The third procession - the royal ceremonial urn is placed on the Rajarot Puen Yai chariot and taken in the third procession to circle counter clockwise around the crematorium three times. The royal ceremonial urn is then carried up a ramp to the royal funeral pyre for cremation. 5:15 -10:00pm. The royal cremation
October 27, 2017 8:00am. The royal relics and ashes collection ceremony at the royal crematorium. The fourth procession - The royal relic urn and the ash urn are transported back to the Grand Palace on two Busbok Phra Thee Nang Rachaintarayan (the four post throne palanquin). The Little throne palanquin carry the royal ash urn separate from the fourth procession and turn toward the Emerald Buddha Temple where the royal ash urn is temporary stored. The main procession and the throne palanquin carrying the royal relic urn proceed through the Phimanchaisri Gate to the Dusit Maha Prasat Throne hall where the royal relic urn is placed atop the Vanfah Throne. October 28, 2017 5:30pm. Merit making rite at the Dusit Maha Prasat Throne Hall October 29, 2017 10:30am. The royal relic urn transfer ceremony The fifth procession - The royal relic urn is transfer atop the throne palanquin to be stored at Chakri Maha Prasat Throne Hall, also within the Grand Palace. 5:30pm. The royal ash urns transfer ceremony The sixth procession - The royal ash urns are transferred from the Emerald Buddha Temple to be stored at Rajabopidh Temple and Bavornivesvihan Temple.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
201
202
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
สมเด็จพระวันรัต วัดบวรนิเวศวิหาร นั่งราชรถน้อยอ่าน พระอภิธรรมน�ำริ้วขบวนเชิญพระบรมโกศออกสู่พระเมรุมาศ Somdej Phra Wannarat from Bowonniwet Vihara temple on the Royal Vehicle, reading the scripture while leading the Royal Urn to the Royal Crematorium.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
203
ริ้วขบวนพระราชอิสริยยศเคลื่อนไปตาม ถนนราชด�ำเนินเพื่อเข้าสู่มณฑลพิธีท้องสนามหลวง The Royal Palanquin is being carried in Ratchadamnoen road to the Royal Cremation ceremony in Sanam Luang area.
204
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
205
สารถีถือแพนหางนกยูงนั่งหน้าพระมหาพิชัยราชรถ เข้าสู่มณฑลพระราชพิธีท้องสนามหลวง Charioteers sitting in front of the Royal Vehicle holding the tail of a peacock while entering Sanam Luang area.
206
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
เจ้าพนักงานภูษามาลาเลื่อนอัญเชิญพระบรมโกศ เคลื่อนลงมาทางเกรินบันไดนาคประดิษฐาน เหนือราชรถปืนใหญ่ Phusa Mala Officers (Bureau of the Royal Household officers who is the late King’s dresser) transferring the Royal Crematorium to the Naga Conveyor which is placed on top of the Royal Gun Carriage.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
207
พราหมณ์ท�ำการสยายผมของตนเองเพื่อแสดง ความโศกเศร้าอย่างที่สุดในริ้วขบวนที่ ๒ Brahmin spreading their hair to express their deepest grief in the second procession.
208
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
เจ้าพนักงานภูษามาลาประคองพระบรมโกศ บนพระยานมาศสามล�ำคานเคลื่อนผ่าน พระบรมมหาราชวัง Phusa Mala Officers handling the Royal Urn on the Royal Vehicle while passing the Grand Palace.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
209
เจ้าพนักงานภูษามาลาถวายบังคมพระบรมโกศ ก่อนอัญเชิญประดิษฐานเหนือพระเมรุมาศ Phusa Mala Officers paying homage to the Royal Urn before enshrining it on the Royal Crematorium.
210
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
211
ทหารปืนใหญ่ฉุดชักราชรถปืนใหญ่อัญเชิญ พระบรมโกศเข้าเวียนพระเมรุมาศ Artillery Corps dragging the Royal Gun Carriage to respectfully allocation the Royal Urn in the Royal Crematorium
212
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
213
214
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ ในริ้วขบวนอัญเชิญพระบรมโกศสู่พระเมรุมาศ Artillery Corps dragging the Royal Gun Carriage to respectfully allocation the Royal Urn in the Royal Crematorium
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
215
ทหารกองเกียรติยศตั้งแถวหน้าพระเมรุมาศ เพื่อเตรียมพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ The King’s Guard regiment lined up to pay respect to the Royal Crematorium.
216
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
217
กลองชนะแดงลายทองและกลองชนะเงิน ร่วมในริ้วขบวนพระราชอิสริยยศ Victory drum in red and victory drum in gold are utilized in the Royal Procession.
218
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ทหารกองเกียรติยศและประชาชนแสดงความเคารพ ระหว่างที่เจ้าพนักงานภูษามาลาอัญเชิญพระบรมโกศ ลงจากพระมหาพิชัยราชรถ Guard of honor and citizens showing respect while Phusa Mala officers transfer the Royal Urn from the Royal Vehicle.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
219
ประชาชนเดินทางมาค้างแรมตากสายฝนเพื่อร่วม ส่งเสด็จพระผู้ทรงธรรมสู่สวรรคาลัย Thousands drenched in rain for late King’s ascent to heaven.
220
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
พสกนิกรพากันมาเฝ้ารอส่งเสด็จเป็นครั้งสุดท้าย ริมก�ำแพงพระบรมมหาราชวัง ระหว่างริ้วขบวน พระราชอิสริยยศเคลื่อนผ่าน People surrounding the Grand Palace wall to pay homage to the late King for the last time while the Royal Procession are passing by.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
221
222
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
223
224
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
พสกนิกรยอมทนตากแดดตากฝนเพื่อร่วมพระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพเต็มพื้นที่ท้องสนามหลวง Peoples are out in the sun and rain to be a part of the Royal Cremation ceremony in Sanam Luang Area.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
225
226
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ทหารปืนใหญ่ยิงปืนใหญ่ถวายพระเกียรติ นาทีละ ๑ นัด ระหว่างพระบรมโกศ ขึ้นประดิษฐานบนพระจิตกาธาน Artillery Corps firing the Royal Gun a shot per minute while the Royal Urn is place on the Pyre.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
227
228
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ภาพประวัติศาสตร์ของพระเมรุมาศอร่ามเรืองรอง ราวกับวิมานบนสรวงสวรรค์ เคียงคู่พระบรมมหาราชวัง แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ Historical image of the Royal Crematorium. A paradise located close by the Royal Palace of the Rattanakosin period.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
229
230
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
โขนเรื่องรามเกียรติ์เป็นหนึ่งในการแสดงมหรสพสมโภช ในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพที่ยึดถือตาม ธรรมเนียมโบราณราชประเพณีของพระมหากษัตริย์ Khon (traditional Thai dance drama) performance in the Royal Cremation ceremony featuring an episode of Ramakien, an ancient Royal Tradition of the King.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
231
การแสดงบัลเลต์เรื่องมโนราห์เป็นมหรสพสมโภช ที่สื่อให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถด้านดนตรีของในหลวง รัชกาลที่ ๙ ที่ทรงคิดค้นและสร้างสรรค์บัลเลต์ไทยขึ้น เป็นครั้งแรก Ballet performance featuring an episode of Manohra to commemorate King Rama IX’s achievement of creating Thailand’s first ballet performance.
232
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
233
234
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
เมื่อเห็นกลุ่มควันสีขาวนวลลอยออกมา จากพระเมรุมาศภายหลังการถวาย พระเพลิงพระบรมศพจริง แม้นสร้าง ความเศร้าโศกเสียใจพร้อมกับเสียงร�่ำไห้ ทั้งแผ่นดิน ทว่าห้วงเวลานั้นพสกนิกร ทุกคนตระหนักดีว่ากษัตริย์อันเป็นที่รัก และเทิดทูนของพวกเขาเสด็จ สู่สวรรคาลัยแล้ว The white smokes hovering on top of the Royal Crematorium after the Royal Cremation Ceremony resulted people in sorrow and grief. Though, the nation acknowledges that their beloved King is now safe in Heaven.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
235
236
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
พระเมรุมาศจ�ำลองที่ศาลาว่าการ เมืองสมุทรปราการเรืองรองริมแม่น�้ำ เจ้าพระยายามพลบค�่ำ A Royal Crematorium Replica shining brightly by the banks of Chao Phraya River at Samutprakan City Hall.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
237
238
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ประชาชน เหล่าทหาร ข้าราชการ และจิตอาสาร่วมวางดอกไม้จันทน์ ณ พระเมรุมาศจ�ำลอง จังหวัดสมุทรปราการ Citizens, military, officials and volunteers laying Sandalwood flowers at the Royal Crematorium Replica in Samutprakan.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
239
บน : ร�ำมโนราห์ มหรสพ การแสดงของชาวใต้ ถวายหน้าพระเมรุมาศจ�ำลอง จังหวัดสงขลา ล่าง : ประชาชนเฝ้ารอ วางดอกไม้จันทน์ที่พระเมรุมาศ จ�ำลอง บางนา Above : Manohra – traditional Thai dance dedicatedto the late King and performed in front of the Royal Crematorium Replica in Songkhla. Below : People waiting to lay Sandalwood flowers at the Royal Crematorium Replica in Bangna district.
240
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
บน : พสกนิกรหลั่งน�้ำตาอาลัยขณะวางช่อดอกไม้จันทน์ ส่งเสด็จเป็นครั้งสุดท้าย
Above : Thai residents in tears while laying Sandalwood flowers.
ล่าง : อัญเชิญเถ้าดอกไม้จันทน์ท�ำพิธีลอยเถ้าดอกไม้จันทน์ ในแหล่งน�้ำส�ำคัญของจังหวัดล�ำปาง
Below : Collecting ashes of Sandalwood flower to scatter in Lampang’s main source of water.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
241
แสงตะวันยามรุ่งอรุณ สาดส่องจากดอยสุเทพ เบื้องหลังพระเมรุมาศ จ�ำลอง จังหวัดเชียงใหม่ Sunrise behind the Royal Crematorium Replica in Doi Suthep, Chiang Mai.
242
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
บน : แบบจ�ำลองพระเมรุมาศในหลวงรัชกาลที่ ๙ ล้อมรอบด้วยสวนดอกดาวเรืองสีเหลือง ที่จังหวัดล�ำปาง ล่าง : ดอกดาวเรืองสีเหลืองบานสะพรั่งประดับ พระบรมฉายาลักษณ์ที่สวนหลวง ร.๙ Above : The Royal Crematorium Replica in King Rama IX around with Yellow Marigold flower garden at Lampang. Below : Yellow Marigold flower blooming around the King Rama IX’s image in King Rama IX park.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
243
244
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
ภาพตระการตาของพระเมรุมาศจ�ำลอง ริมปากแม่น�้ำกระบี่ ท่ามกลางขุนเขาพนมเบญจา สูงตระหง่านทางเบื้องหลัง Image of the dazzling Royal Crematorium Replica amidst the tall mountains in Krabi.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
245
ริ้วขบวนกองทหารม้า อันเชิญพระบรมราชสรีรางคาร จากวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ไปบรรจุ ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม Horse cavalry troop relocating the Royal Relics from Wat Phra Kaew (the Temple of the Emerald Buddha) to Wat Ratchabophit.
246
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
247
248
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
วัดบวรนิเวศและวัดราชบพิธ สถานที่จัดเก็บ พระบรมราชสรีรางคารในหลวงรัชกาลที่ ๙ Wat Bovornniwet and Wat Ratchabophit, the sites for stored the Royal Relics of King Rama IX.
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
249
ช่างภาพจิตอาสา คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
250
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
คิดถึงพ่อของแผ่นดิน
251
ศิลปิน ช่างภาพจิตอาสา
สุวิทย์ ใจป้อม
ศิลปินในรัชกาลที่ ๙ ที่วาดพระบรมสาทิสลักษณ์ของ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ย เดช รัชกาลที่ ๙ มาโดยตลอด ในขณะที่วาดภาพ จะน้อมน�ำ พระบรมราโชวาทของพระองค์มาใช้ในการท�ำงาน ท�ำให้ เกิดความมุ่งมั่น ตั้งใจท�ำงาน จนงานทุกอย่างประสบผล ส�ำเร็จ แม้บางภาพจะมีขนาดใหญ่ “ความภู มิ ใ จสู ง สุ ด ของกระผม คื อ การที่ ไ ด้ว าดภาพ ด้ว ยเทคนิ ค เกรยองที่ มี ข นาดใหญ่ที่ สุ ด ในโลก ขนาด ๒ x ๑๕ เมตร ชื่อภาพ “พ่อของแผ่นดิน” เนื้อหาของ ภาพเป็น พระราชประวั ติ ข องพระองค์ตั้ ง แต่เ ยาว์วั ย และพระราชกรณียกิจของพระองค์ท่าน นับว่าเป็นบุญ อันยิง่ ใหญ่ของกระผมทีไ่ ด้ทำ� งานอันยิง่ ใหญ่นี้ เพือ ่ แสดง ความอาลัยแด่พระองค์ แม้นพระองค์จะเสด็จสู่สวรรคาลัยแล้ว กระผมก็ยังตั้งปณิธานเอาไว้ว่า กระผมจะวาดภาพ พระบรมสาทิสลักษณ์ของพระองค์ท่านต่อไป จนกว่าจะหมดแรง เพื่อภาพของพระองค์ท่าน จะได้สถิตอยู่ในใจปวงชนชาวไทยตราบชั่วนิรันดร์” Suwit Jaipom
นคเรศ ธีระค�ำศรี
อายุ ๕๔ ปี อาชีพ ช่างภาพอิสระ จบการศึกษาชั้นมัธยม ที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย อนุปริญญาตรี สาขาสื่อสารมวลชน ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา แรงบันดาลใจทีไ่ ด้ถ่ายภาพ ก็เกิดจากความ จงรักและความภักดีต่อในหลวงรัชกาลที่ ๙ จึงได้ถ่ายภาพเพื่อถ่ายทอดทุกสิ่งทุกอย่าง ในช่ว งเวลาอั น ส� ำ คั ญ และเป็น เหตุ ก ารณ์ ประวั ติ ศ าสตร์ห น้า หนึ่ ง ของเมื อ งไทยสู ่ คนรุ่นต่อไปได้เห็นภาพถึงเหตุการณ์ต่างๆ ที่ได้เกิดขึ้น Nakares Teerakamsri
Age: 54 Occupation: Freelance artist Education: Bachelor of Communications at Suan Sunandha Rajabhat University
Suwit is an artist in the Reign of King Rama IX who drew pictures of the late King in the past. He adopted His Majesty’s Royal guidance so he could be committed and determined with his work. As a result, he managed to complete his portraits with his best ability no matter how large it was.
I’m inspired by the nation’s devotedness to King Bhumibol Adulyadej. That’s why I capture important moments and national historical events so that I can share it with younger generations.
My proudest achievement is producing the world’s largest crayon drawing with the size of 2 x 15 meters. The title is “Father of the Land”. Additionally, the content is related to His Majesty’s profile and his Royal duties. It is such an honor to create this magnificent piece of art to commemorate the late King.
บรรณานุกรม
“Although His Majesty is now in heaven, I will continue to paint pictures of him. I will paint until I’m worn out. Just so he could be remembered forever.”
ลาภ อ�ำไพรัตน์ การศึกษา ศิลปบัณฑิต (จิตรกรรม) โรงเรียนเพาะช่าง ผลงาน l เขี ย นภาพจิ ต รกรรมโครงการพระราชด� ำ ริ ๒๔ โครงการ ลงบนฉากบังเพลิงเพือ ่ ใช้ประกอบ ในพระราชพิ ธี ถ วายพระเพลิ ง พระบรมศพ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ l ร ่ว ม เ ขี ย น ภ า พ จิ ต ร ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร พระราชด�ำริในหลวงรัชกาลที่ ๙ ใช้ประกอบ พ ร ะ ที่ นั่ ง ท ร ง ธ ร ร ม เ พื่ อ ใ ช ้ป ร ะ ก อ บ ใ น พระราชพิ ธี ถ วายพระเพลิ ง พระบรมศพ ในหลวงรัชกาลที่ ๙
Lap Amphairat
Education: Bachelor of Fine Arts at Poh Chang Academy of Arts Portfolio l Painted 24 of His Majesty King Rama IX Royal Initiative projects on the fire scene which was displayed in the Royal Cremation ceremony l One of the artists who painted His Majesty King Rama IX Royal Initiative projects on the Dharma Royal pavilion which was displayed in the Royal Cremation ceremony
พระเมรุมาศ. หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์, ตุลาคม ๒๕๖๐ พระเมรุมาศ ศิลปกรรมล�้ำเลิศสู่แดนสรวง. มติชน ฉบับพิเศษ, ตุลาคม ๒๕๖๐ l วีระศักร จันทร์ส่งแสง. “วิปโยคแห่งศตวรรษ รัชกาลที่ ๙ เสด็จสู่สวรรคาลัย” สารคดี ๓๒ (๓๘๐) : ๙๕-๑๐๑, ตุลาคม ๒๕๕๙ l สู่ฟ้าเสวยสวรรค์. กรุงเทพฯ : มติชน, ตุลาคม ๒๕๖๐ l www.kingrama9.net l https://th.wikipedia.org/wiki/พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
บรรณาธิการภาพ สุทัศน์ รุ่งศิริศิลป์
PHOTO EDITOR Suthas Rungsirisilp
ศิลปิน ชัชวาล รอดคลองตัน ดินหิน รักพงษ์อโศก พรชัย สินนท์ภัทร วัฒนา พูลเจริญ
ARTISTS Chatchawan Rodklongtan Dinhin Rakpong-Asoke Pornchai Sinonpat Watana Pooncharoen
ช่างภาพจิตอาสา PHOTOGRAPHERS ก�ำศักดิ์ อติพิบูลย์ศิลป์ Gumsak Atipiboonsin จีรัชญ์ พลอยเจิ่ง Jerush Ployjung ฉัตรชัย ชัยเทอดศิริ Chatchai Chaitherdsiri ชูศักดิ์ วรพิทักษ์ Chusak Voraphitak นุวัฒน์ จันทาจันทึก Nuwat Chanthatuk บุญเลิศ โรจนบวร Boonlert Rojanaboworn ประพันธ์ ไกรศักดาวัฒน์ Praphan Kraisakdawat ปรีชา วงศ์วรากร Preecha Wongvarakon พรเพ็ญ ชัยสิทธิพล Pornpen Chaisitipon พิริยะ วงศ์คงคาเทพ Piriya Wongkongkathep ภัทรพงศ์ เกี่ยวข้อง Pattarapong Kiewkong ร้อยลี้ สุริยาวรกุล Roylee Suriyaworakul รัตนา ผ่องเมฆินทร์ Ratana Pongmakina วรรณพงษ์ สุรโรจน์ประจักษ์ Wannapong Surarochprajak วิศาล น�้ำค้าง Wisan Numkarng วิสูตร สุทธิกุลเวทย์ Wisoot Suttigulvet วีรพงศ์ ชปารังษี Veerapong Chaparungsri ศิริชัย อัศวลาภสกุล Sirichai Asawalapsakul ศิริธรรม สว่างพลอย Siritham Sawangploy ศุภชัย วีรยุทธานนท์ Supachai Veerayutthanon สุกานดา เจียรศิริสมบูรณ์ Sukanda Jiansitisomboon สุชน ชลภูมิ Suchon Chonlapoom สุทธิรัตน์ พาชีรัตน์ Sutthirat Pacheerat สุมานรี รัตนอุบล Sumanree Ratana-u-bol เสรี ศิรินพวงศากร Seri Sirinopwongsago โอภาส โชติพันธวานนท์ Opas Chotiphantawanon อนุชิต สุนทรกิติ Anuchit Soontornkiti อ�ำนวยพร บุญจ�ำรัส Amnuaiphorn Boonjamras อิษยา อนิวรรตน์ Isaya Aniwat อัครินทร์ อัศววารินทร์ Akkarin Asawavarin
l l
หนังสือภาพเล่มนี้จัดท�ำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหารายได้ สมทบทุนมูลนิธิโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า This pictorial book was compiled to raise funds for Phramongkutklao Hospital Foundation.