สารบัญ สารบัญ.................................................................................................................................................. i สารบัญรูป ............................................................................................................................................ ii สารบัญตาราง ...................................................................................................................................... ii บทสรุปสําหรับผูบ้ ริ หาร โครงการวางแผนการจัดการสิ่ งแวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย ........ 1 1. วัตถุประสงค์ของโครงการฯ.......................................................................................................... 1 2. ผลการศึกษา ................................................................................................................................. 3 2.1 สถานการณ์การใช้ประโยชน์ทราย ................................................................................. 3 2.2 กระบวนการผลิตทราย.................................................................................................. 4 2.3 ผลกระทบสิง่ แวดล้อมจากกระบวนการผลิตทราย........................................................... 5 2.4 สถานการณ์ปญั หาด้านการจัดการทรัพยากรทราย ......................................................... 7 2.5 พืน้ ทีศ่ กั ยภาพทรัพยากรทรายทีม่ คี วามเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ .............................. 9 3. แผนการจัดการสิ่ งแวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย ............................................................ 18 3.1 กรอบแนวคิดและทางเลือกในการจัดการ ..................................................................... 18 3.2 มาตรการและแนวทางปฏิบตั ิ....................................................................................... 22 4. รูปแบบการประกอบกิ จการขุด ตักและดูดทรายที่ส่งผลกระทบ ต่อสิ่ งแวดล้อมน้ อย.............. 31 4.1 แนวทางการบริหารจัดการสิง่ แวดล้อม ......................................................................... 31 4.2 การฟื้นฟูสภาพแวดล้อมของพืน้ ทีก่ ารใช้ประโยชน์ทรัพยากรทราย ............................... 35 5. การดําเนิ นงานต่อไป .................................................................................................................. 38 ทางเลือกที่ 1: ทางเลือกทีส่ ามารถทําได้ในทันที ................................................................. 38 ทางเลือกที่ 2: การบริหารจัดการทรัพยากรทรายทีม่ เี อกภาพ ............................................. 39 ทางเลือกที่ 3: : การบริหารจัดการทรัพยากรทรายทีม่ เี อกภาพและเหมาะสม....................... 39
i
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
ii
สารบัญรูป รูปที่ 1 แผนทีแ่ สดงพืน้ ทีศ่ กึ ษา 26 จังหวัด...........................................................................................2 รูปที่ 2 แผนทีแ่ สดงพืน้ ทีศ่ กั ยภาพทรัพยากรทรายทีม่ คี วามเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ใน ภาคตะวันออก.......................................................................................................................11 รูปที่ 3 แผนทีแ่ สดงพืน้ ทีศ่ กั ยภาพทรัพยากรทรายทีม่ คี วามเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ใน ภาคตะวันตก และจังหวัดนครปฐม .........................................................................................12 รูปที่ 4 แผนทีแ่ สดงพืน้ ทีศ่ กั ยภาพทรัพยากรทรายทีม่ คี วามเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ใน ภาคใต้ ..................................................................................................................................13 รูปที่ 5 แผนทีแ่ สดงพืน้ ทีศ่ กั ยภาพทรัพยากรทรายทีม่ คี วามเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ใน ภาคเหนือ..............................................................................................................................14 รูปที่ 6 แผนทีแ่ สดงพืน้ ทีศ่ กั ยภาพทรัพยากรทรายทีม่ คี วามเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ......................................................................................................15 รูปที่ 7 แผนทีแ่ สดงพืน้ ทีศ่ กั ยภาพทรัพยากรทรายทีม่ คี วามเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ใน ภาคกลาง ..............................................................................................................................16 รูปที่ 8 แผนทีแ่ สดงพืน้ ทีศ่ กั ยภาพทรัพยากรทรายทีม่ คี วามเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ ประเทศไทย ..........................................................................................................................17 รูปที่ 9 กรอบแผนการจัดการสิง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย ...................................................21 รูปที่ 10 ขัน้ ตอนการขออนุ ญาตขุด ตัก และดูดทรายแม่น้ําและทรายบก ...............................................30
สารบัญตาราง ตารางที่ 1 พืน้ ทีศ่ กั ยภาพทรัพยากรทรายทีม่ คี วามเหมาะสมในการพัฒนา พืน้ ทีศ่ กึ ษา 26 จังหวัด.........10
บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร โครงการวางแผนการจัดการสิ่งแวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย ในหลายทศวรรษทีผ่ ่านมา การพัฒนาเศรษฐกิจไทยได้อาศัยฐานทรัพยากรธรรมชาติ เป็ นปจั จัย ผลักดันให้เศรษฐกิจขยายตัวมากขึ้น แต่การนํ าทรัพยากรธรรมชาติมาใช้โดยไม่มกี ารบริหารจัดการที่ เหมาะสมอาจทําให้ทรัพยากรธรรมชาติร่อยหรอและสภาพแวดล้อมทรุดโทรมลง โดยเฉพาะทรัพยากร ทรายที่เป็ นปจั จัยพืน้ ฐานสําคัญในอุตสาหกรรมทีส่ ําคัญ คือ อุตสาหกรรมการก่อสร้าง และอุตสาหกรรม อื่นๆ ความต้องการใช้ทรายมีแนวโน้ มเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องจึงส่งผลให้มกี ารขุด ตัก และดูดทรายแม่น้ํ า ั หาอุ ป สรรคในการบริห ารจัด การ อาทิ ฐานข้อ มูล และ และทรายบกอย่า งแพร่ ห ลาย ประกอบกับ ป ญ องค์ความรู้ กฎหมายและกฎระเบียบ หน่วยงานและองค์กร แผนการจัดการสิง่ แวดล้อม ปจั จัยเหล่านี้ลว้ นมี ส่วนทําให้กจิ การการขุด ตัก และดูดทรายแม่น้ํ าและทรายบกส่งผลกระทบทางลบต่อสภาพแวดล้อมทาง กายภาพ ระบบนิเวศ คุณภาพชีวติ ของประชาชน และทําให้เกิดปญั หาความขัดแย้งระหว่างผูม้ สี ่วนได้เสีย ในท้องถิน่ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมได้เล็งเห็นถึงความสําคัญของ ั หาผลกระทบทางลบต่ อ สิ่ง แวดล้อ มและต่ อ สัง คมที่เ กิด จากกิจ การขุ ด ตัก และดู ด ทราย จึง ได้ ปญ ทําการศึกษาและวิจยั ในประเด็นทีส่ าํ คัญ คือ สถานการณ์การใช้ประโยชน์ทรายและความต้องการใช้ทราย ในอนาคต สถานการณ์ปญั หาด้านการบริหารจัดการทรัพยากรทราย พืน้ ทีแ่ หล่งศักยภาพทรัพยากรทราย และพืน้ ทีศ่ กั ยภาพการใช้ประโยชน์ทรายในพืน้ ทีศ่ กึ ษา 26 จังหวัด เพือ่ การจัดทําแผนการจัดการสิง่ แวดล้อม จากการใช้ทรัพยากรทราย โดยมีเป้าหมายเพื่อการจัดการทีส่ มดุลในทุกมิติ คือ ความมีประสิทธิภาพ มิติ รักษาสิง่ แวดล้อม และมิตคิ วามเป็ นธรรม พร้อมทัง้ เสนอแนะรูปแบบการประกอบกิจการขุด ตัก และดูด ทรายทีเ่ หมาะสมและส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมน้อย แนวทางการบริหารจัดการสิง่ แวดล้อมและแนวทาง ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมของพืน้ ทีใ่ ช้ประโยชน์ทรัพยากรทรายและพืน้ ทีใ่ กล้เคียง
1 วัตถุประสงค์ของโครงการฯ 1) ศึกษาพื้นที่ศกั ยภาพแหล่งทรายของพื้นที่ศึกษา 26 จังหวัด (รูปที่ 1) พร้อมทัง้ จัดลําดับ ความสําคัญของการนําแหล่งทรายมาใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม 2) ปรับปรุงข้อมูลพืน้ ที่ศกั ยภาพแหล่งทรายที่สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ง แวดล้อ มได้ดํา เนิ น การศึก ษาไปแล้วให้ส ามารถเชื่อ มโยงเป็ น ป จั จุบ นั และรูป แบบ เดียวกันทัง้ ประเทศ
1
2
รูปที่ 1 แผนที่แสดงพืน้ ที่ศึกษา 26 จังหวัด
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
3
3) ศึกษาและเสนอแนะรูปแบบการประกอบกิจการขุด ตัก และดูดทรายที่เหมาะสมและส่งผล กระทบต่ อ สิ่ง แวดล้อ มน้ อ ย แนวทางการบริห ารจัด การสิ่ง แวดล้อ มและแนวทางฟื้ น ฟู สภาพแวดล้อมของพืน้ ทีใ่ ช้ประโยชน์ทรัพยากรทรายและพืน้ ทีใ่ กล้เคียง 4) ศึกษาและเสนอแนะแนวทางการบริหาร รูปแบบองค์กรที่เหมาะสมในการจัดการทรัพยากร ทรายของประเทศ
2 ผลการศึกษา 2.1 สถานการณ์การใช้ประโยชน์ ทราย สถานการณ์การใช้ประโยชน์ ทรายเพื่ออุตสาหกรรมต่างๆ โดยสัดส่วนไม่ต่ํากว่าร้อยละ 80 ของ ประมาณการใช้ทรายทัง้ หมดใช้เป็ นวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมการก่อสร้าง ร้อยละ 15 ถูกใช้สาํ หรับอุตสาหกรรมอื่นๆ และทีเ่ หลือถูกใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆ จากการคํานวณปริมาณการใช้ทรายของประเทศ พบว่า ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2541 เป็ นต้นมา ปริมาณการใช้ทรายมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ มาอย่างต่อเนื่อง มีการใช้ทราย 56.8 ล้านเมตริกตัน ในปี พ.ศ. 2541 เพิม่ ขึ้นเป็ น 98.5 ล้านเมตริกตันในปี พ.ศ. 2549 โดยมีอตั ราการ เปลีย่ นแปลงอยูร่ ะหว่างร้อยละ 1 ถึง ร้อยละ 13 จากการพยากรณ์แนวโน้มของการขยายตัวของความต้องการทรายในอนาคต ภายใต้สมมติฐาน ที่ว่าไม่มกี ารเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงในด้านปริมาณการใช้ปูนซีเมนต์จากอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ใน อนาคต โดยใช้การวิเคราะห์อนุ กรมเวลา ใช้วธิ ี Box-Jenkins หรือทีเ่ รียกในทางเทคนิคว่า วิธี ARIMA (Autoregressive Integrated Moving Average Process) พบว่า ปริมาณความต้องการใช้ทรายในช่วง ปี พ.ศ. 2550-2555 มีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง ในอัตราร้อยละ 7.2 ต่อปี กล่าวคือ ในปี พ.ศ. 2550 ความต้องการทรายเท่ากับ 104.2 ล้านเมตริกตัน เพิม่ ขึน้ เป็ น 147.3 ล้านเมตริกตัน ในปี พ.ศ. 2555 ข้อมูลปริมาณการใช้ทรายและความต้องการทรายในอนาคตนี้เป็ นค่าประมาณการภายใต้สมมติฐาน ที่กําหนดขึ้น เพราะในปจั จุบนั ประเทศไทยยังไม่มกี ารจัดเก็บข้อมูลปริมาณการใช้ทราย ปริมาณการผลิต ทราย และปริมาณการสะสมตัวของทราย อย่างไรก็ตาม จากตัวเลขปริมาณความต้องการทรายทีม่ แี นวโน้ม เพิม่ ขึน้ นี้น่าจะส่งผลให้กจิ การการขุด ตัก และดูดทรายบกและทรายแม่น้ํามีการขยายตัวเพื่อตอบสนองต่อ ความต้องการในอนาคต และภายใต้ระบบการบริหารจัดการที่ยงั ขาดประสิทธิภาพในปจั จุบนั อาจทําให้ แนวโน้ ม ของผลกระทบต่ อ สิ่ง แวดล้อ มและสัง คมเกิด ขึ้น อย่า งแน่ น อน และยัง เป็ น การส่ง เสริม การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติทไ่ี ม่ยงยื ั ่ นอีกทางหนึ่งด้วย
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
4
2.2 กระบวนการผลิ ตทราย ทรายที่ใช้ในประเทศไทยเป็ นทรายนํ้ าจืดมาจาก 2 แหล่ง คือ ทรายแม่น้ํ า และทรายบก โดยมี กระบวนการผลิต ดังนี้ 1) แหล่งทรายแม่น้ ํา (i) การดูดตักทราย: สามารถใช้เรือดูดทราย ซึ่งเป็ นลักษณะเรือเหล็กหรือแพทุ่นลอยคู่ขนาน ั๊ ประกอบกับปมกระพ้ อ สามารถขับหมุนด้วยเครื่องยนต์ขนาดต่างๆ ตัง้ แต่ 150-200 แรงม้าที่ ติด ตัง้ อยู่บนเรือ หรือ แพทุ่นลอยคู่ขนานเหล่านัน้ นอกจากนี้ ในบริเวณแม่น้ํ าและทางนํ้ าที่ ตืน้ เขินสามารถใช้รถแบคโฮขุดตักทรายได้โดยตรง (ii) การคัดแยกขนาดทราย: เรือดูดทรายขนาดใหญ่อาจจะมีตะแกรงคัดขนาดทรายติดตัง้ อยู่ โดยทรายทีด่ ดู ขึน้ มาพร้อมนํ้าจะไหลผ่านตะแกรงลงสู่กระบะรับทรายในเรือ วัสดุทข่ี นาดใหญ่ และไม่ต้องการจะถูกคัดแยกและทิ้งไป สําหรับทรายจากแพทุ่นลอยคู่ขนานขนาดเล็กและ รถตักแบคโฮจะถูกลําเลียงไปคัดแยกในโรงคัดแยกต่อไป (iii) การขนย้ายลําเลียงทราย: สําหรับเรือดูดทรายทีม่ ตี ะแกรงคัดแยกทรายในเบือ้ งต้น ทราย จากกระบะทรายสามารถลําเลียงด้วยกระพ้อทรายติดกับสายพานลําเลียง นําไปสูร่ างรับทราย เพือ่ ส่งลงเรือหรือรถบรรทุกเพือ่ ขนส่งไปยังท่าทรายหรือแหล่งจําหน่ายทรายโดยตรง 2) แหล่งทรายบก (i) การเปิ ดหน้ าดิ น: ใช้รถตักแบคโฮตักหน้าดินใส่รถบรรทุกนํ าไปทิ้งหรือใช้ประโยชน์ในการ ปรับพืน้ ทีต่ ่อไป (ii) การดูดตักทราย: ใช้รถแบคโฮตักทรายเพือ่ ขนส่งไปยังโรงแยกขนาด โดยชัน้ ทรายในระดับ ั ๊ ้ าสูบนํ้ าออก อย่างไรก็ตาม เมื่อขุด ตื้นอาจมีปญั หานํ้ าใต้ดนิ ไหลเข้าสู่บ่อทราย ซึ่งอาจใช้ปมนํ ลึกลงไปและมีปญั หาระดับนํ้ าใต้ดนิ สูงขึ้น ส่วนใหญ่จะใช้เรือแพดูดทรายแทนรถตักแบคโฮ โดยเรือหรือแพดูดทรายนํ้ าจะติดตัง้ เครื่องยนต์ขนาดต่างๆ 150-200 แรงม้า และใช้ท่อดูด ทรายขนาดตัง้ แต่ 6-10 นิ้วหย่อนลงไปถึงพืน้ ทรายเพื่อดูดทรายด้วยกระพ้อสูบนํ้าและทราย ผสมกันขึน้ มาด้วยเครื่องยนต์ดงั กล่าว จากนัน้ ทรายปนนํ้ าจะถูกลําเลียงตามท่อสูบส่งไปยัง ตะแกรงคัดขนาดบนฝงั ่ ั ่ านตะแกรงคัดขนาดดักเอาก้อน (iii) การคัดขนาดทราย: ทรายทีถ่ ูกดูดขึน้ มาและส่งมายังฝงจะผ่ กรวดและวัสดุท่ไี ม่ต้องการออกไป แล้วปล่อยให้ทรายที่ผ่านตะแกรงไหลลงสู่บ่อดักทราย เพือ่ ให้น้ําทีป่ นมาไหลกลับลงสูส่ ระนํ้า
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
5
(iv) การขนย้ายลําเลียงทราย: ทรายทีไ่ ด้จากบ่อดักทรายจะถูกทิง้ ไว้ให้แห้งก่อนตักใส่รถบรรทุก ต่อไปยังโรงแยกล้างทําความสะอาดหรือทําไปใช้ประโยชน์ได้โดยตรงตามแต่ละจุดประสงค์ นอกจากนี้ ในปจั จุบนั มีการใช้เครื่องจักรทันสมัยที่ถูกพัฒนาขึน้ มาคัดแยกขนาดทําความสะอาด และแต่งแร่สําหรับทรัพยากรทราย เพื่อแยกขนาดคละของทรายให้ตรงกับสมบัตติ ามความต้องการของ การใช้ประโยชน์ เป็ นการเพิม่ มูลค่าของทรายจากแหล่งต่างๆ ให้สงู ขึน้
2.3 ผลกระทบสิ่ งแวดล้อมจากกระบวนการผลิ ตทราย แม้วา่ การผลิตทราย โดยเฉพาะในส่วนของการดูดทรายจากแม่น้ํา จะก่อให้เกิดผลดีทางหนึ่ง ในแง่ ของการช่วยลดปริมาณตะกอนในแหล่งนํ้า ซึง่ เป็ นการชะลอการตืน้ เขิน เพิม่ ศักยภาพในการรองรับนํ้า และ เอื้อประโยชน์ในการคมนาคมทางนํ้ า แต่ผลกระทบจากการผลิตทรายได้ปรากฏให้เห็นเสมอ ทัง้ ทางตรง และทางอ้อม ซึง่ มักเป็ นผลสืบเนื่องจากกระบวนการผลิตทรายทีข่ าดการจัดการทีเ่ หมาะสม โดยมีลกั ษณะ ปญั หาทีค่ วรได้รบั การป้องกันและแก้ไข จําแนกออกเป็ นด้านหลักๆ ดังนี้ 1) ด้านอุทกวิ ทยาและเสถียรภาพของพื้นทีผ่ ลิ ตทราย (i) การขุ่นข้นของนํ้าในแหล่งนํ้า จากกระบวนการผลิตทรายแม่น้ําทีไ่ ม่เหมาะสม โดยเครื่องจักร ดูดตะกอนกรวดทรายปนมากับนํ้า เพือ่ เข้ากระบวนการแยกกรวดและทราย แล้วปล่อยนํ้าปน ตะกอนขนาดเล็กกลับลงสู่ลํานํ้ าสาธารณะโดยไม่ผ่านบ่อตกตะกอน ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ การใช้น้ําของประชาชนด้านท้ายนํ้า กระทบต่อการผลิตนํ้าประปา ตลอดจนอาจส่งผลต่อระบบ นิเวศในแหล่งนํ้า (ii) การกัดเซาะพังทลาย บริเวณแหล่งทรายแม่น้ําเมื่อทําการดูดทรายมากเกินไป อาจทําให้ ท้องนํ้ ามีความลึกเพิม่ มากขึน้ ตลิง่ จึงต้องมีการปรับสภาพเพื่อให้มคี วามลาดทีส่ มั พันธ์กบั ความลึกของท้องนํ้า เป็ นผลให้ตลิง่ บริเวณนัน้ พังลงไปเรื่อยๆ หรืออาจทําให้กระแสนํ้าเปลีย่ น ทิศทางและความเร็ว ส่งผลกระทบกับตลิง่ บริเวณอื่น ดังนัน้ อาจกระทบต่อความมันคงของ ่ สิง่ ปลูกสร้าง พืน้ ทีเ่ กษตรกรรมทีต่ งั ้ อยูร่ มิ ลํานํ้า ใกล้บริเวณทีม่ กี ารดูดทราย สําหรับแหล่งทรายบกการพังทลาย หรือยุบตัวของพืน้ ทีข่ อบบ่อ เป็ นผลเนื่องมาจากการดูด ทรายหรือขุดตักทรายลึกมากเกินไป หรือมีความลาดชันของขอบบ่อไม่เหมาะสม ตลอดจน การกันระยะห่างจากขอบบ่อกับทีด่ นิ ของบุคคลอื่นน้อยเกินไป ไม่สมั พันธ์กบั ความลึกของ ขอบบ่อ ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อทีด่ นิ ทีอ่ ยูข่ า้ งเคียง
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
6
(iii) การลดระดับนํ้าผิวดิ นของทางนํ้า ในพืน้ ทีท่ ม่ี แี ปลงดูดทรายหนาแน่นในช่วงแล้งฝน ซึง่ เป็ น ผลจากการใช้น้ําในกระบวนการผลิตทรายทีไ่ ม่มกี ารควบคุม จนทําให้ระดับผิวนํ้าในแหล่งนํ้า ลดลง ซึ่งหากเกิดเป็ นช่วงยาวนาน อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อเนื่องขึน้ ได้ อาทิ การ ลดลงของระดับนํ้าใต้ดนิ ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการใช้น้ําใต้ดนิ ของชุมชนทีอ่ ยูใ่ กล้เคียง โดยเฉพาะ บ่อนํ้าตืน้ ซึง่ มีปริมาณนํ้าน้อยลงหรือไม่มเี ลยในฤดูแล้ง (iv) การเปลี่ยนแปลงเสถียรภาพของลํานํ้าที่อาจส่งผลให้เกิ ดอุทกภัยขึน้ ได้ โดยการดูดทราย ทีม่ ากเกินขนาดทําให้ลาดท้องนํ้ าเปลีย่ น ซึ่งอาจทําให้น้ํ าไหลลงสูท่ างท้ายนํ้าเร็วเกินไป จน ระบายออกสูท่ ะเลไม่ทนั ทําให้เกิดนํ้าท่วมบริเวณเหนือปากนํ้าขึน้ มาได้ 2) ด้านคุณภาพเสียงและอากาศ (i) การรบกวนจากเสี ยงดังและความสันสะเทื ่ อน จากเครื่อ งยนต์หรือ เครื่อ งจักรใน กระบวนการผลิตและขนส่งทราย ซึ่งเสียงทีด่ งั เกินไปและความสันสะเทื ่ อนทีเ่ กิดขึน้ อาจเป็ น อันตรายต่อสุขภาพอนามัยของคนงานและประชาชนที่อาศัยในบริเวณใกล้เคียง รวมถึงผล ของแรงสะเทือนทีเ่ กิดขึน้ อาจกระทบต่อความมันคงของอาคารที ่ อ่ ยูอ่ าศัย (ii) การฟุ้ งกระจายของฝุ่ นละออง อาจเกิดจากทรายทีก่ องพักไว้เพื่อรอการจําหน่ าย/ขนย้าย ซึ่งเมื่อทรายอยู่ในสภาพที่แห้งก็จะถูกลมพัดพาไปทําให้เกิดฝุ่นละอองในอากาศ หรือการ ฟุ้งกระจายของฝุน่ ทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างการขนส่งทราย รวมถึงการร่วงหล่นของทราย ซึง่ อาจ ก่อให้เกิดความเดือดร้อนต่อประชาชนในบริเวณใกล้เคียง 3) ด้านคมนาคมขนส่ง (i) การขนส่งทราย ส่งผลให้มปี ริมาณการจราจรหนาแน่ นขึน้ และเร่งการชํารุดเสียหายของ พืน้ ผิวถนน ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นผลจากการบรรทุกนํ้าหนักเกินพิกดั กําหนด รวมถึงการร่วงหล่น ของทรายระหว่างขนส่ง ทําให้มคี วามเสีย่ งต่อการเกิดอุบตั เิ หตุทางถนนสูงขึน้ (ii) การเสียหายของร่องนํ้าเพื่อการเดิ นเรือ สําหรับร่องนํ้าทีใ่ ช้ในการคมนาคมทางนํ้าจะได้รบั การขุดลอกปรับปรุงตามหลักวิชาการ โดยส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้องเป็ นประจํา เพือ่ รักษาสภา พร่องนํ้ าให้กว้างและลึกตามกําหนด แต่การดูดทรายโดยผูป้ ระกอบการอาจจะละเลยไม่ คํานึงถึงข้อกําหนดและหลักวิชาการดังกล่าว จึงทําให้เกิดสันดอนใต้น้ํ าเป็ นแห่งๆ เกิดการ เปลีย่ นแปลงสภาพท้องนํ้าจนยากแก่การควบคุมของหน่วยงานราชการทีม่ หี น้าทีร่ กั ษาร่องนํ้า 4) ด้านทัศนี ยภาพและการใช้ประโยชน์ ทีด่ ิ น (i) สภาพพืน้ ที่โดยรอบบ่อทรายบกมีการเปลี่ยนแปลงสภาพของที่ดิน จากการขุดโค่นต้นไม้ เปิ ดหน้าดิน ขุดหรือตักเอาทรายทีอ่ ยูล่ กึ ลงไป ทําให้พน้ื ทีภ่ ายหลังจากดําเนินกิจการทรายมี สภาพเป็ นแอ่งหรือเป็ นบ่อขนาดใหญ่ และหลังจากหยุดประกอบการพืน้ ทีอ่ าจจะถูกปล่อยทิง้
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
7
ให้รกร้างโดยไม่มกี ารปรับปรุงสภาพให้เรียบร้อย และอาจมีกองวัสดุเหลือทิง้ จากกระบวนการ คัดแยกทรายกระจายอยู่ทวไป ั่ ก่อให้เกิดปญั หาด้านทัศนียภาพของพื้นที่บริเวณนัน้ และ ข้างเคียงโดยรอบ นอกจากนี้ พืน้ ทีบ่ างแห่งไม่มกี ารปกั รัว้ กัน้ เขตให้ชดั เจน ซึ่งอาจเป็ น อันตรายต่อคนและสัตว์เลีย้ งทีส่ ญ ั จรเข้ามาในบริเวณดังกล่าว (ii) สภาพดิ นเสื่อมโทรม เนื่องจากกรรมวิธใี นการทําทรายบก เป็ นเหตุให้พน้ื ทีภ่ ายหลังจากการ เปิ ดเป็ นบ่อทรายมีสภาพทีไ่ ม่เหมาะสมกับการเพาะปลูก เพราะธาตุอาหารในดินถูกชะล้าง ออกไประหว่างการเปิดหน้าดินเพือ่ ผลิตทราย
2.4 สถานการณ์ปัญหาด้านการจัดการทรัพยากรทราย 1) ปัญหาเชิ งโครงสร้างด้านการบริ หารจัดการ ปญั หาเชิง โครงสร้า งด้า นการบริห ารจัด การทรัพ ยากรทรายแม่น้ํ า และทรายบกประกอบด้ว ย กฎหมาย องค์กร และนโยบาย พบว่า มีกฎหมายและกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องในการบริหารจัดการทรัพยากร ทรายหลายฉบับ โดยทรัพยากรทรายแม่น้ํ ามีกฎหมายและกฎระเบียบจํานวน 5 ฉบับ สําหรับทรัพยากร ทรายในที่กรรมสิทธิ์มีกฎหมายและกฎระเบียบจํานวน 2 ฉบับ ซึ่งกฎหมายแต่ละฉบับก็จะมีหน่ วยงาน เจ้าภาพดูแลอยู่ สําหรับกรณีของการบริหารจัดการของทรายแม่น้ํ าในที่สาธารณะที่มคี วามเกี่ยวข้องกับ หลายหน่วยงาน จึงมีคณะกรรมการพิจารณาอนุ ญาตให้ดดู ทราย (กพด.) รับผิดชอบพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานคร และเขตพืน้ ทีร่ ะหว่างประเทศ และมีหน้าทีแ่ ก้ไขปญั หาและวางระเบียบแนวทางปฏิบตั เิ กีย่ วกับการดูดทราย ในภาพรวมของประเทศ และมีหน้ าที่แต่งตัง้ คณะอนุ กรรมการเพื่อพิจารณาอนุ ญาตให้ดูดทรายประจํา จังหวัด (อพด.) โดย อพด. มีหน้าทีใ่ นการพิจารณาการขออนุ ญาตให้ทาํ การดูดทรายในทีส่ าธารณะในระดับ จังหวัด และจากองค์ประกอบของ อพด. พบว่า มีหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องตัง้ แต่ ระดับท้องถิ่นจนถึงผู้ว่า ราชการจังหวัด ถือได้วา่ เป็ นการสนับสนุ นการมีสว่ นร่วมของท้องถิน่ ในการพิจารณาอนุ ญาตให้ดดู ทรายใน ระดับจังหวัด หน่ วยงานหลักที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการทรัพยากรทราย คือ กพด. อพด. กรมโรงงาน อุตสาหกรรม และกรมการขนส่งทางนํ้าและพาณิชยนาวี แต่ละหน่ วยงานมีกฎระเบียบของตนเอง ลักษณะ ของความซํ้าซ้อนดังกล่าวนํามาซึง่ ขัน้ ตอนทีย่ งุ่ ยากในการบริหารจัดการ การขาดประสิทธิภาพ ประกอบกับ ข้อจํากัดด้านบุคลากรและงบประมาณของหน่ วยงานภาครัฐ ทําให้ไม่สามารถกํากับ ติดตามตรวจสอบและ ควบคุมปญั หาด้านสิง่ แวดล้อมที่เกิดจากการขุด ตัก และดูดทรายแม่น้ํ า/ทรายบกได้อย่างทัวถึ ่ งและมี ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ข้อกําหนดต่างๆ อาทิ การจัดสรรอัตราค่าตอบแทนทรัพยากรทราย/เงินประกัน ของการประกอบกิจการขุด ตัก และดูดทรายทีไ่ ม่มคี วามเหมาะสม ก็ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของการ บริหารจัดการเช่นกัน และยังมีปญั หาข้อจํากัดขององค์ความรู้ ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการบริหาร จัดการทรัพยากรทรายของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องอีกด้วย นอกจากนี้ การบริหารจัดการที่ไม่มปี ระสิทธิภาพ ขัน้ ตอนยุ่งยาก ได้ส่งผลกระทบต่อการดําเนิน กิจการของผูป้ ระกอบการขุด ตัก และดูดทราย กล่าวคือ ทําให้ตน้ ทุนการบริหารจัดการทรายของผูป้ ระกอบการ สูงขึน้ โดยไม่จําเป็ น ทําให้เกิดการลักลอบขุด ตัก และดูดทรายแม่น้ํ าและทรายบก นํ ามาซึ่งผลกระทบต่อ
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
8
สิง่ แวดล้อมและสังคม ดังนัน้ จึงควรมีการปรับปรุงแก้ไขปญั หาเชิงโครงสร้างด้านการบริหารจัดการให้ม ี ความเหมาะสม และมีประสิทธิภาพอย่างแท้จริง 2) ปัญหาด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนและท้องถิ น่ ประเด็นการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน/ท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรทรายยังเป็ น ปญั หาเช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเรื่องของการมีส่วนร่วมในการพิจารณาอนุ ญาตให้ดูดทรายประจํา จังหวัด ในบางพืน้ ทีค่ วามคิดเห็นของภาคประชาชน/ท้องถิน่ ต่อการพิจารณาอนุ ญาตให้ดูดทรายไม่ได้รบั ความสนใจ ในบางพืน้ ทีไ่ ม่มกี ารสอบถามความคิดเห็นของประชาชน/ท้องถิน่ เป็ นต้น ปญั หาเหล่านี้นํามา ซึง่ ความขัดแย้งระหว่างประชาชนผูไ้ ด้รบั ผลกระทบและผูป้ ระกอบการ จึงได้มกี ารร้องเรียนจากประชาชนที่ ได้รบั ผลกระทบจากการขุด ตัก และดูดทราย และการขนส่งทราย ถึงแม้วา่ การร้องเรียนของประชาชนเกีย่ วกับปญั หาสิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดจากการดูดทรายมีจํานวนไม่ มากนักเมือ่ เปรียบเทียบกับปญั หาสิง่ แวดล้อมในด้านอื่นๆ แต่ปญั หาสิง่ แวดล้อมและปญั หาสังคมทีเ่ กิดขึน้ นี้ ก็ช้ีใ ห้เ ห็น ถึง ความบกพร่อ งของระบบการบริห ารจัด การในป จั จุ บ นั ทัง้ นี้ เนื่ อ งจากประสิท ธิภ าพของ หน่ วยงานทีร่ บั ผิดชอบในการสํารวจ ควบคุม กํากับ ดูแล ซึง่ มักมีความล่าช้า ไม่ทนั การณ์ ดังนัน้ จึงควรมี การแก้ไข ปรับปรุง โดยการให้ความสําคัญในประเด็นการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน และการกระจาย อํานาจไปสู่ทอ้ งถิน่ มากขึน้ ก็จะเป็ นการเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการอีกทางหนึ่ง เพื่อเฝ้าระวัง ลด ปญั หาสิง่ แวดล้อมและปญั หาสังคมทีเ่ กิดขึน้ และสร้างความเป็ นธรรมในสังคมต่อไป 3) ปัญหาด้านผลกระทบสิ ง่ แวดล้อม จากสถานการณ์ ปญั หาเชิงโครงสร้างด้านการบริหารจัดการ และปญั หาด้านการมีส่วนร่วมของ ภาคประชาชน/ท้องถิน่ ในการบริหารจัดการทรัพยากรทราย มีส่วนทําให้กจิ การการขุด ตัก ดูดทราย และ การขนส่งทรายส่งผลกระทบทางลบต่อสิง่ แวดล้อม ได้แก่ การพังทลายของหน้าดินและตลิง่ คุณภาพนํ้ า คุณภาพอากาศและเสียง การขนส่ง ทัศนียภาพ ด้านเศรษฐกิจและสังคม และด้านการใช้ประโยชน์ ท่ดี นิ ซึง่ ปญั หาเหล่านี้ถอื เป็ นปญั หาของสังคม ที่ผ่านมา หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละระดับมีความพยายามในการจัดการปญั หาผลกระทบ สิง่ แวดล้อม โดยมีทงั ้ การนํ ามาตรการป้องกันไว้ก่อน มาตรการแก้ไข และมาตรการฟื้ นฟู มาใช้เพื่อการ จัดการสิง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย อาทิ กพด. มีมติเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ให้กรม ทีด่ นิ แจ้งให้จงั หวัดดําเนินการกําหนดบริเวณทีส่ ามารถขออนุ ญาตดูดทราย (zoning) และแจ้งให้ผปู้ ระกอบการ ภายในจังหวัดทราบถึง มาตรการป้องกัน แก้ไขผลกระทบสิง่ แวดล้อม และการฟื้ นฟูพน้ื ทีข่ ุด ตัก และดูด ทรายของสํา นั ก งานนโยบายและแผนทรัพ ยากรธรรมชาติแ ละสิ่ง แวดล้อ ม และให้ถือ เป็ น เงื่อ นไขที่ ผูป้ ระกอบการต้องปฏิบตั ติ ามด้วย กรณีทรายในทีก่ รรมสิทธิ์ กรมโรงงานอุตสาหกรรมได้ทําการปรับปรุง หลักเกณฑ์การพิจารณาโรงงานขุดและดูดทรายในทีก่ รรมสิทธิ ์ (วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550) เพื่อ ความชัดเจนในการควบคุม กํากับ ดูแล รวมถึงการป้องกันและการลดผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม อพด. ของบางจังหวัดได้เพิม่ เติมเงือ่ นไขการอนุ ญาตให้ดดู ทราย เพือ่ ป้องกันผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดจาก การขนส่งและผลกระทบต่อชุมชน หรือในระดับท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งได้จดั ทํา
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
9
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาการขออนุ ญาตดูดทรายและขอต่อใบอนุ ญาตดูดทรายขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ ขึน้ มา เพือ่ การป้องกันปญั หาสิง่ แวดล้อมและปญั หาสังคมทีจ่ ะเกิดขึน้ จากการขุด ตัก และดูดทราย อย่างไรก็ตาม ผลกระทบทางลบต่อสิง่ แวดล้อมได้นํามาซึ่งการสูญเสียทางเศรษฐกิจ สังคม และ สิง่ แวดล้อม ดังนัน้ จึงควรเพิม่ ความเข้มงวดในการติดตามตรวจสอบ ควบคุมกํากับ โดยอาศัยกลไกการมี ส่วนร่วมของประชาชนในพืน้ ที่ และการกระจายอํานาจไปสูท่ อ้ งถิน่
2.5 พืน้ ที่ศกั ยภาพทรัพยากรทรายที่มีความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ การศึกษาครัง้ นี้ได้ดาํ เนินการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงพืน้ ทีโ่ ดยใช้เทคโนโลยีดา้ นภูมสิ ารสนเทศ เพือ่ ให้ ได้มาซึ่งพื้นที่ศกั ยภาพทรัพยากรทรายที่มคี วามเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ (แหล่งทรายบกและแหล่ง ทรายแม่น้ํา) ของพืน้ ทีศ่ กึ ษา 26 จังหวัด โดยไม่มกี ารขุดเจาะสํารวจแหล่งทราย มีขนั ้ ตอนดังนี้ 1. วิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียมตามลักษณะภูมปิ ระเทศและสัณฐานธรณี ทําให้ได้พน้ื ทีท่ ม่ี โี อกาส ในการสะสมตัวของแหล่งทราย 2. ประมวลข้อมูลพืน้ ทีท่ ม่ี โี อกาสในการสะสมตัวของแหล่งทรายร่วมกับลักษณะทางธรณีวทิ ยา ชนิดหินต้นกําเนิดตะกอน ชนิดดิน การใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ข้อมูลหลุมเจาะ และข้อมูลอื่นๆ โดย วิธกี ารซ้อนทับข้อมูล ทําให้ได้พน้ื ทีศ่ กั ยภาพแหล่งทรัพยากรทราย 3. นําข้อมูลพืน้ ทีศ่ กั ยภาพแหล่งทรัพยากรทรายมาทําการกันพืน้ ทีท่ ไ่ี ม่สามารถประกอบกิจการ ขุด ตัก และดูดทรายออก (ตามข้อกําหนดกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ) โดยการวิเคราะห์ แบบเวกเตอร์ พืน้ ทีท่ ก่ี นั ออกประกอบไปด้วย สภาพภูมปิ ระเทศ พืน้ ทีล่ ุ่มนํ้าชัน้ ที่ 1A และ 1B พืน้ ทีป่ า่ สงวน อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ระยะ 500 เมตรจากสถานทีส่ าํ คัญ และ พืน้ ทีท่ ม่ี คี วามอ่อนไหวต่อการได้รบั ผลกระทบ เพือ่ ให้ได้มาซึง่ พืน้ ทีศ่ กั ยภาพการใช้ประโยชน์ 4. ทําการจัดลําดับความสําคัญของพื้นที่ศกั ยภาพทรัพยากรทรายที่มคี วามเหมาะสมในการใช้ ประโยชน์ โดยพิจารณาจากการรวมกลุ่มของแหล่งทราย (เพือ่ การประหยัดต้นทุนการบริหาร จัดการ) และบริเวณพืน้ ทีท่ อ่ี นุ ญาตให้ดดู ทรายในทีส่ าธารณะของจังหวัด ดังนี้ แหล่ง ทราย บก ทราย แม่น้ํา
เงื่อนไข การรวมกลุม่ = 1; การกระจายตัว = 0 การรวมกลุม่ = 1; การกระจายตัว = 0 พื้น ที่ท ับ ซ้ อ นพื้น ที่อ นุ ญ าตให้ดู ด ทราย ของจังหวัด = 1; พืน้ ทีไ่ ม่ทบั ซ้อนฯ = 0
คะแนนรวม 1 0 2 1 0
ศักยภาพการใช้ประโยชน์ สูง ตํ่า สูง ปานกลาง ตํ่า
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
10
ผลของการศึกษาพืน้ ทีศ่ กั ยภาพทรัพยากรทรายทีม่ คี วามเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ ของพืน้ ที่ ศึกษา 26 จังหวัด พบว่า พืน้ ทีศ่ กั ยภาพทรัพยากรทรายทีม่ คี วามเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ 5 ลําดับแรก ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช ชลบุรี สงขลา สุราษฎร์ธานี และกาญจนบุร ี (ตารางที่ 1, รูปที่ 2-4) ใน ระดับประเทศได้มกี ารปรับปรุงข้อมูลพืน้ ทีศ่ กั ยภาพทรัพยากรทรายทีม่ คี วามเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ ทัง้ ประเทศขึน้ เพือ่ ประโยชน์ในการบริหารจัดการต่อไป (รูปที่ 5-8) ตารางที่ 1 พื้นที่ศกั ยภาพทรัพยากรทรายที่มีความเหมาะสมในการพัฒนา พืน้ ที่ศึกษา 26 จังหวัด ภาค
จังหวัด
ตะวันออก
ปราจีนบุร ี ฉะเชิงเทรา ชลบุร ี ระยอง สระแก้ว จันทบุร ี ตราด กาญจนบุร ี ราชบุร ี เพชรบุร ี ประจวบคีรขี นั ธ์ นครปฐม ชุมพร ระนอง พังงา สุราษฏร์ธานี นครศรีธรรมราช กระบี่ ตรัง สงขลา สตูล ปตั ตานี ยะลา นราธิวาส
ตะวันตก
กลาง ใต้
พืน้ ที่ศกั ยภาพตามระดับความเหมาะสม (ตร.กม.) ตํา่ ปานกลาง สูง 12.59 80.11 59.48 25.71 119.63 96.2 111.28 0 692.15 153.48 67.72 171.97 6.75 24.41 12.55 145.12 13.33 232.09 53.14 213.29 72.54 33.65 275.89 133.01 9.26 137.8 0 74.42 136.74 177.57 112.01 10.18 211.24 2.28 52.06 0 81.02 69.58 70.17 58.62 28.16 10.24 43.73 78.66 35.24 122.67 244.51 156.06 178.89 31.18 623.49 54.01 32.81 44.1 74.71 54.13 163.11 144.25 88.04 473.78 39.44 13.03 18.79 85.2 10.27 45.17 14.43 46.6 56.2 61.16 74.57 93.55
รวมพืน้ ที่ (ตร.กม.) 152.18 241.54 803.43 393.17 43.71 390.54 338.97 442.55 147.06 388.73 333.43 54.34 220.77 97.02 157.63 523.24 833.56 130.92 291.95 706.07 71.26 140.64 117.23 229.28
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
รูปที่ 2 แผนที่แสดงพืน้ ที่ศกั ยภาพทรัพยากรทรายที่มีความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ ใน ภาคตะวันออก
11
12
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
รูปที่ 3 แผนที่แสดงพืน้ ที่ศกั ยภาพทรัพยากรทรายที่มีความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ ใน ภาคตะวันตก และจังหวัดนครปฐม
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
13
รูปที่ 4 แผนที่แสดงพืน้ ที่ศกั ยภาพทรัพยากรทรายที่มีความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ ในภาคใต้
14
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
รูปที่ 5 แผนที่แสดงพืน้ ที่ศกั ยภาพทรัพยากรทรายที่มีความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ ใน ภาคเหนื อ
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
รูปที่ 6 แผนที่แสดงพืน้ ที่ศกั ยภาพทรัพยากรทรายที่มีความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ ใน ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ
15
16
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
รูปที่ 7 แผนที่แสดงพืน้ ที่ศกั ยภาพทรัพยากรทรายที่มีความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ ใน ภาคกลาง
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
รูปที่ 8 แผนที่แสดงพืน้ ที่ศกั ยภาพทรัพยากรทรายที่มีความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ ประเทศไทย
17
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
18
3 แผนการจัดการสิ่ งแวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย การจัดทําแผนการจัดการสิง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทรายเพือ่ ให้สามารถจัดการสิง่ แวดล้อม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และแก้ไขปญั หาและอุปสรรคในด้านการบริหารจัดการได้อย่างแท้จริง
3.1 กรอบแนวคิ ดและทางเลือกในการจัดการ 1) กรอบแนวคิ ด แนวทางการจัดการสิง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทรายควรมีความสอดคล้องกับกรอบแนวคิด ของแผนพัฒนาหลักของประเทศ ได้แก่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 25502554 ซึง่ เน้นเรือ่ ง “การสร้างสังคมทีม่ คี วามสุขอย่างยังยื ่ น” บนรากฐานการพัฒนาของความสมดุลใน 3 มิติ คือ เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และแผนจัดการคุณภาพสิง่ แวดล้อม พ.ศ. 25502554 ที่มกี รอบแนวคิดในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมบนพื้นฐานของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงซึง่ เป็ นแนวทางทีจ่ ะนําพาสังคมไปสูส่ งั คมทีม่ สี ภาพแวดล้อมทีด่ แี ละยังยื ่ น โดยวิสยั ทัศน์ คือ “ร่วมอนุ รกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรูค้ ่า รักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมทีด่ ใี ห้แก่สงั คม” มีหลักการจัดการที่ สําคัญ 5 หลักการ ได้แก่ ผูก้ ่อมลพิษเป็ นผู้จ่าย ความเป็ นหุ้นส่วนของรัฐ-เอกชน การระวังไว้ก่อน การ เปิดเผยข้อมูลสูส่ าธารณะ และผูไ้ ด้รบั ประโยชน์เป็ นผูจ้ ่าย ซึง่ หลักการเหล่านี้เป็ นเครื่องมือในการสร้างความ สมดุลของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในมิตปิ ระสิทธิภาพ มิตริ กั ษาสิง่ แวดล้อม และมิติ ความเป็ นธรรม เป้าหมายหลักของแผนการจัดการสิง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย คือ การสร้างสมดุลของ การจัดการทรัพยากรทรายใน 3 มิติ คือ ประสิทธิภาพ รักษาสิง่ แวดล้อม และความเป็ นธรรม (รูปที่ 9) ทัง้ นี้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายจึงกําหนดมาตรการและแนวทางปฏิบตั ิข้นึ มาใน 3 ด้าน คือ มาตรการด้านการ บริหารจัดการ มาตรการด้านผลกระทบสิง่ แวดล้อม และมาตรการด้านการมีสว่ นร่วม ซึ่งแต่ละมาตรการจะ มีสว่ นในการสนับสนุ นและเป็ นกลไกและเครือ่ งมือในการบรรลุซง่ึ ความสมดุลของมิตติ ่างๆ ด้านการบริหารจัดการ มาตรการด้านการบริหารจัดการจะต้องสามารถแก้ไขปญั หาเชิงโครงสร้าง ของการบริหารจัดการทรัพยากรทราย (กฎหมาย กฎระเบียบ และองค์กร) สามารถเพิม่ ประสิทธิภาพ การบริหารจัดการของหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องได้ และสามารถเพิม่ ประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตของ ผูป้ ระกอบการขุด ตัก และดูดทรายได้เช่นกัน โดยจําเป็ นต้องมีมาตรการอื่นๆ เข้ามาสนับสนุ น อาทิ การ เปิ ดเผยข้อมูลสูส่ าธารณะเพือ่ สร้างความเท่าเทียมในการแข่งขันระหว่างผูป้ ระกอบการเพือ่ นํ าไปสูก่ ารเพิม่ ประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตทราย เครื่องมือทางการเงินการคลังทีเ่ ป็ นทัง้ มาตรการจูงใจในการลด ผลกระทบสิง่ แวดล้อมของผู้ประกอบการ และยังเป็ นเครื่องมือเพิม่ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการ การควบคุม กํากับ ติดตามและตรวจสอบกิจการขุด ตัก และดูดทราย การขนส่งทรายได้อกี ทางหนึ่งด้วย ด้านการมีส่วนร่วม ประเด็นเรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชนและท้องถิน่ เป็ นหัวใจสําคัญในการ บริหารจัดการทราย ในทางปฏิบตั แิ ล้วการทํางานของหน่วยงานทีม่ หี น้าทีใ่ นการควบคุม กํากับ ติดตามและ ตรวจสอบผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมยังไม่มปี ระสิทธิภาพมากนัก เนื่องจากข้อจํากัดด้านงบประมาณและ บุคลากรของภาครัฐ ดังนัน้ มาตรการสนับสนุ นการมีส่วนร่วมของประชาชนและท้องถิน่ ในทุกขัน้ ตอนของ การบริหารจัดการทรัพยากรทรายในระดับพืน้ ทีน่ ่ าจะส่งผลดีต่อการบริหารจัดการทรัพยากรทราย และควร
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
19
พิจารณาถึงประเด็นการกระจายอํานาจไปสู่ท้องถิ่นด้วย โดยให้อํานาจท้องถิ่นในการตัดสินใจและการ บริหารจัดการทรัพยากรทรายในพื้นที่รบั ผิดชอบ และเพื่อให้การมีส่วนร่วมสามารถดําเนินไปได้จะต้อง พิจารณาในเรือ่ งการแบ่งปนั ผลประโยชน์จากค่าตอบแทนทรัพยากรทรายในทีส่ าธารณะไปสูท่ อ้ งถิน่ ซึง่ เป็ น ส่วนของมิตคิ วามเป็ นธรรม รวมทัง้ มาตรการด้านการพัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ และข้อมูลทีจ่ าํ เป็ นต่อ การบริหารจัดการและการมีส่วนร่วม ทัง้ นี้เพื่อให้กจิ การการขุด ตัก ดูด และขนส่งทรายดําเนินไปโดยไม่ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมซึง่ สอดคล้องกับมิตริ กั ษาสิง่ แวดล้อม ด้านผลกระทบสิง่ แวดล้อม ปญั หาผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมทางกายภาพที่เกิดจากการขุด ตัก และดูดทราย เช่น ฝุน่ ละออง เสียงดัง นํ้าขุน่ ตลิง่ พัง แผ่นดินทรุดตัว การปนเปื้ อนและการลดลงของระดับ นํ้าใต้ดนิ หรือผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมทางชีวภาพทีม่ ตี ่อสิง่ มีชวี ติ ในลํานํ้า ผลกระทบสิง่ แวดล้อมเกิดจาก หลายสาเหตุ เช่น ปญั หาด้านการบริหารจัดการของหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้ประกอบการขาดความรับ ผิดชอบด้านสิง่ แวดล้อมต่อสังคม ประชาชนไม่มสี ่วนร่วมในการบริหารจัดการหรือการเฝ้าระวังปญั หา ผลกระทบด้า นสิ่ง แวดล้อ ม ดัง นั น้ มาตรการสํา คัญ ที่จ ะทํ า ให้ส ามารถบรรลุ ม ิติร ัก ษาสิ่ง แวดล้อ ม คือ มาตรการควบคุมกํากับ มาตรการระวังไว้ก่อน และมาตรการสร้างแรงจูงใจ อาทิ เกณฑ์การพิจารณา อนุ ญาต การวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อมเบือ้ งต้น (initial environmental examination: IEE) เกณฑ์การ ปฏิบตั ทิ ด่ี ี (code of conduct) การวางแผนการใช้ทด่ี นิ (zoning) ระบบประกันภัยเงินประกันความเสียหาย ระบบการติดตามและตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดล้อม และสิง่ สําคัญจะต้องเปิ ดช่องทางให้ประชาชนและ ท้องถิน่ เข้ามามีส่วนร่วมตัดสินใจในทุกขัน้ ตอนของการจัดการทรัพยากรทรายซึ่งก็จะนํ ามาซึ่งความสมดุล ในทุกมิตนิ นเอง ั่ 2) ทางเลือกในการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย ปญั หาอุ ปสรรคของการบริหารจัดการทรัพยากรทรายแม่น้ํ าและทรายบก การมีส่วนร่วมของ ประชาชน/ท้องถิน่ และผลกระทบทางลบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคม ดังนัน้ จึงขอเสนอแนวทางการบริหาร จัดการ 3 ทางเลือก ดังนี้ (i) ทางเลือกที่ 1: ภายใต้กฎหมายและกฎระเบียบปัจจุบนั ทําการปรับปรุงการบริ หาร จัดการให้มีประสิ ทธิ ภาพ แต่ไม่ครอบคลุมทรัพยากรทรายในที่ดินกรรมสิ ทธิ์ ทางเลือกที่ 1 เป็ นทางเลือกที่สามารถทําได้ในทันที โดยยังคงใช้กฎหมายกฎระเบียบที่มอี ยู่ใน ปจั จุบนั และทําการปรับปรุงแก้ไขปญั หาอุปสรรคของการบริหารจัดการทรัพยากรทรายในทีส่ าธารณะ แต่ จะไม่ครอบคลุมทรัพยากรทรายในที่ดนิ กรรมสิทธิ์ จากปญั หาอุปสรรคทีไ่ ด้จากการวิเคราะห์สถานการณ์ ของการบริหารจัดการทรัพยากรทรายในที่สาธารณะ ซึ่งจะต้องทําการปรับปรุง เพิม่ เติม เปลี่ยนแปลง แก้ไข ได้แก่ บทบาทและหน้าทีข่ องหน่ วยงาน ระบบค่าตอบแทน/เงินประกันความเสียหายและการจัดสรร เงินรายได้เพื่อการบริหารจัดการ การให้อํานาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในการติดตามตรวจสอบ และ การมีสว่ นร่วมของประชาชนและท้องถิน่ ในทุกขัน้ ตอนของการบริหารจัดการ
20
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
(ii) ทางเลือกที่ 2: กําหนดให้ทรายเป็ นแร่ ครอบคลุมทรายในที่สาธารณะและในที่ดิน กรรมสิ ทธิ์ เพื่อความเป็ นเอกภาพในการบริ หารจัดการทรัพยากรทราย ทางเลือกที่ 2 เป็ นทางเลือกทีก่ ําหนดให้ทรัพยากรทรายทุกชนิดเป็ นทรัพยากรแร่ ซึ่งจะทําให้การ บริหารจัดการอยูภ่ ายใต้กฎหมายฉบับเดียว คือ พระราชบัญญัตแิ ร่ พ.ศ. 2510 มีหน่ วยงานรับผิดชอบหลัก คือ กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ อย่างไรก็ตาม การกําหนดให้ทรัพยากรทรายทุกชนิดเป็ นแร่ หรือไม่นนั ้ จะต้องทําการศึกษาเชิงลึกถึงผลประโยชน์และผลกระทบทางลบ แต่ทางเลือกนี้จะทําให้เกิดความ เป็ นเอกภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรทรายของประเทศ กล่าวคือ การบริหารจัดการอยู่ภายใต้ หน่วยงานรับผิดชอบหลัก ขัน้ ตอนการขออนุ ญาตจะต้องผ่านหน่วยงานเดียวกัน ซึง่ จะเป็ นผลดีต่อประสิทธิภาพ ในการควบคุมกํากับ และการติดตามตรวจสอบ การรายงานผลของผูป้ ระกอบการ รวมถึงการฟื้ นฟู และ นํามาซึง่ การใช้ทรัพยากรทรายทีส่ มดุลไม่สง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคม (iii) ทางเลือกที่ 3: กําหนดให้ทรายเป็ นแร่ ครอบคลุมทรายในที่สาธารณะและในที่ดิน กรรมสิ ทธิ์ และออกกฎกระทรวงเฉพาะ เพื่อการจัดการทรัพยากรทรายที่เหมาะสม ทางเลือกที่ 3 คือ ทางเลือกที่ 2 แต่เนื่องจากกฎเกณฑ์ต่างๆ ภายใต้พระราชบัญญัตแิ ร่ พ.ศ. 2510 อาจไม่มคี วามเหมาะสมต่อกิจการขุด ตัก และดูดทราย อาทิ ขัน้ ตอนการขออนุ ญาตทีย่ ุ่งยากและใช้เวลา มาก ต้องมีการจัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมซึง่ มีค่าใช้จ่ายในการดําเนินการสูงและ อาจไม่เหมาะสมกับกิจการขุด ตัก และดูดทรายทีม่ ขี นาดเล็กทีส่ ามารถดําเนินการได้เฉพาะบางช่วงเวลา เท่านัน้ ดังนัน้ จึงควรออกกฎกระทรวงเฉพาะขึน้ มาเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรทรายอย่างเหมาะสม ได้แ ก่ ขัน้ ตอนการขออนุ ญ าต การจัด ทํา รายงานผลกระทบสิ่ง แวดล้อ มเบื้อ งต้น แผนฟื้ น ฟู พ้นื ที่แ ละ สภาพแวดล้อมโดยรอบ ขนาดแปลง ระยะเวลาของใบอนุ ญาต เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมและสามารถควบคุม กํากับได้ง่าย อัตราค่าภาคหลวง เงินประกันความเสียหายด้านสิง่ แวดล้อมที่เหมาะสม หลักเกณฑ์และ เงื่อนไขประกอบการพิจารณาคําขออนุ ญาต และสืบเนื่องจากลักษณะการกระจายตัวของแหล่งศักยภาพ การใช้ประโยชน์ ทรายในระดับพื้นที่ ประกอบกับข้อจํากัดด้านบุคลากรและงบประมาณของหน่ วยงาน ส่วนกลาง จึงควรพิจารณาประเด็นเรื่องการแต่งตัง้ เจ้าพนักงานท้องถิ่น การกระจายอํานาจการบริหาร จัดการทรัพยากรทรายไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ การ ควบคุมกํากับ การติดตามตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดล้อม การมีสว่ นร่วมของท้องถิน่ และประชาชนในทุก ขัน้ ตอนของการบริหารจัดการ และให้หน่ วยงานภาครัฐส่วนกลางและส่วนภูมภิ าคเป็ นทีป่ รึกษาทางเทคนิค ข้อมูลและองค์ความรู้ท่เี กี่ยวข้อง เพื่อให้การบริหารจัดการทรัพยากรทรายมีประสิทธิภาพ และมีความ สมดุลของมิตปิ ระสิทธิภาพ รักษาสิง่ แวดล้อม และความเป็ นธรรม
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
รูปที่ 9 กรอบแผนการจัดการสิ่ งแวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
21
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
22
3.2 มาตรการและแนวทางปฏิ บตั ิ มาตรการและแนวทางปฏิบ ัติแ บ่ ง ออกเป็ น 3 ด้าน ได้แ ก่ ด้า นการบริห ารจัด การ ด้า นการมี ส่วนร่วม และด้านผลกระทบสิง่ แวดล้อม ด้านการบริ หารจัดการ มาตรการ 1: การปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 1.1 แนวทางการปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องทําโดยการรวมการบริหารจัดการทรายบก (ที่กรรมสิทธิ์) และทรายแม่น้ํ า (ที่สาธารณะ) ให้อยู่ภายใต้กฎระเบียบเดียวกัน เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ โดยอาจออกเป็ น (1) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี หรือ (2) กําหนดให้ทรัพยากรทรายทุกชนิดเป็ นทรัพยากรแร่ ก็จะทําให้อยู่ภายใต้กฎหมายฉบับ เดียวกัน คือ พระราชบัญญัตแิ ร่ พ.ศ. 2510 สําหรับประเด็นทางเทคนิคอื่นๆ ควรแยกจาก กัน เพราะความแตกต่างของแหล่ง การสะสมตัว และเทคโนโลยีทใ่ี ช้ มาตรการ 2: การกําหนดบทบาท หน้ าที่ และความเชื่อมโยงของหน่ วยงานส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ น และประชาชน 2.1
หน่ วยงานส่วนกลาง ได้แก่ กรมทรัพยากรธรณี กรมการขนส่งทางนํ้ าและพาณิชยนาวี สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ทําหน้าที่ผลิตข้อมูลเชิง วิชาการ อาทิ แผนทีศ่ กั ยภาพการใช้ประโยชน์ทรัพยากรทราย ความรูเ้ กีย่ วกับการบริหาร จัดการทรัพยากรทราย เกณฑ์การปฏิบตั ทิ ด่ี แี ละแนวทางการจัดการสิง่ แวดล้อมจากกิจการ ขุด ตัก และดูดทรายแม่น้ํ า/ทรายบก การขนส่งทราย เพื่อป้องกันและลดผลกระทบด้าน สิง่ แวดล้อ มและผลกระทบต่อ สัง คม แนวทางการฟื้ น ฟู สภาพแวดล้อ มของพื้นที่การใช้ ประโยชน์ทรัพยากรทราย และองค์ความรูอ้ ่นื ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
2.2
หน่ วยงานส่วนกลาง ได้แก่ กรมทรัพยากรธรณี กรมการขนส่งทางนํ้ าและพาณิชยนาวี สํา นั ก งานนโยบายและแผนทรัพ ยากรธรรมชาติแ ละสิ่ง แวดล้อ ม ทํ า หน้ า ที่ถ่ า ยทอด องค์ความรู้และข้อมูลเชิงวิชาการ เพื่อเพิม่ ขีดความสามารถเชิงวิชาการและทางเทคนิค ให้กบั หน่ วยงานส่วนภูมภิ าคในระดับจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และประชาชน อย่างเหมาะสม เพื่อเป็ นประโยชน์ ต่อการบริหารจัดการทุกขัน้ ตอน ตัง้ แต่การสํารวจ การ พิจารณาอนุ ญาต การกํากับและควบคุม การติดตามตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดล้อม การ ฟื้นฟู และการพิสจู น์สาเหตุปญั หาผลกระทบสิง่ แวดล้อม
2.3
คณะกรรมการพิจารณาอนุ ญาตให้ดดู ทราย (กพด.) ทําหน้าทีพ่ จิ ารณาการขออนุ ญาตให้ทาํ การดูดทรายในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและเขตพื้นทีระหว่างประเทศ รวมทัง้ แก้ไ ข ปญั หาและวางระเบียบแนวทางปฏิบตั เิ กี่ยวกับการดูดทราย และแต่งตัง้ คณะอนุ กรรมการ เพือ่ พิจารณาอนุ ญาตให้ดดู ทรายประจําจังหวัด (อพด.)
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
23
2.4
คณะอนุ ก รรมการเพื่อ พิจ ารณาอนุ ญ าตให้ดู ด ทรายประจํ า จัง หวัด (อพด.) ทํ า หน้ า ที่ พิจารณาการขออนุ ญาตให้ทําการดูดทรายภายในจังหวัด และทําหน้าทีเ่ ป็ นทีป่ รึกษาทาง เทคนิ คให้กบั องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการให้คําปรึกษาทางเทคนิ ค องค์ความรู้ ข้อกําหนดในกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง การพิสจู น์สาเหตุปญั หาผลกระทบสิง่ แวดล้อม เป็ นต้น
2.5
สําหรับกรณีทพ่ี น้ื ทีท่ ม่ี กี ารขออนุ ญาตดูดทรายในทีส่ าธารณะ ทีอ่ าจมีผลกระทบสิง่ แวดล้อม ต่อพื้นที่จงั หวัดข้างเคียง กําหนดให้คณะอนุ กรรมการเพื่อพิจารณาอนุ ญาตให้ดูดทราย ประจําจังหวัดทัง้ สองจังหวัดทําหน้าทีพ่ จิ ารณาการขออนุ ญาตให้ทาํ การดูดทรายร่วมกัน
2.6
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอนุ ญาตให้ดูดทราย พ.ศ. 2546 กําหนดให้ สภาองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ให้ความเห็นต่อการพิจารณาอนุ ญาตขุด ตัก และดูดทราย ในพืน้ ทีข่ องตนเอง ดังนัน้ จึงควรเพิม่ อํานาจให้กบั องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทําหน้าทีใ่ น การควบคุม กํากับ ติดตามตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสังคมของกิจการขุด ตัก และดูดทราย ขนส่งทรายในพืน้ ทีข่ องตนเอง เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
มาตรการ 3: การปรับปรุงขัน้ ตอนการขออนุญาตและการต่อใบอนุญาต ั หาการลัก ลอบดูด ทรายแม่น้ํ า และ 3.1 เพิ่ม ประสิท ธิภ าพของการบริห ารจัด การและลดป ญ ทรายบก โดย (1) ลดขัน้ ตอนการขออนุ ญาตขุด ตัก และดูดทราย โดยเน้นความสะดวก รวดเร็ว และ ความโปร่งใสในทุกขัน้ ตอน โดยจัดให้อยู่ในลักษณะ one stop service ทีร่ ะดับ จังหวัด (รูปที่ 10) มีขนั ้ ตอนดังนี้ ก. ให้ผูป้ ระกอบการยื่นเอกสารดังต่อไปนี้ท่ที ฝ่ี ่ายเลขานุ การ อพด. (1) คําร้องขอ อนุ ญาตขุด ตักและดูดทรายในพืน้ ทีส่ าธารณะ (ทด.64 ทรายแม่น้ํ า) (2) คําร้อง ขออนุ ญาตขุดลอกร่องนํ้ าทางเรือเดินเพื่อการจําหน่ าย (แบบ ข1 ทรายแม่น้ํ า) (3) คํา ร้อ งขออนุ ญ าตประกอบกิจ การโรงงานจํา พวกที่ 3 และ (4) รายงาน ผลกระทบสิง่ แวดล้อมเบือ้ งต้นและแนวทางฟื้นฟูสภาพแวดล้อมของพืน้ ที่ ข. ให้ อพด. แต่งตัง้ คณะทํางานอย่างน้อยต้องประกอบด้วย ตัวแทนของสํานักงาน การขนส่งทางนํ้ าภูมภิ าค สํานักงานอุตสาหกรรมท้องที่ สํานักงานทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีม่ กี ารขออนุ ญาต องค์ก ารบริห ารส่ว นจัง หวัด นายอํ า เภอหรือ ปลัด อํา เภอหรือ สํานั ก งานที่ดิน จังหวัด และประชาคม/ประชาชนทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีท่ ม่ี กี ารขออนุ ญาต โดยคณะทํางาน มีหน้าที่ ดังนี้ - ดําเนินการสํารวจตรวจสอบพืน้ ที่ โดยพิจารณา (1) หลักเกณฑ์การ พิจารณาอนุ ญาตให้ดดู ทราย (ทด. 67 ทรายแม่น้ํา) (2) หลักเกณฑ์ ของกรมการขนส่งทางนํ้ าและพาณิชยนาวี (ทรายแม่น้ํ า) (3) หลักเกณฑ์ของการดูดทรายบกของกรมโรงงานอุตสาหกรรม และ
24
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
(4) รายงานผลกระทบสิง่ แวดล้อมเบื้องต้นและแนวทางฟื้ นฟู สภาพแวดล้อมของพืน้ ที่ - จัดให้มกี ารทําประชาพิจารณ์ในพืน้ ที่ (local public hearing) โดย ทํา การชี้แ จงให้ป ระชาคม/ประชาชนทราบถึง คํา ขออนุ ญ าตดู ด ทรายในพืน้ ที่ ผลกระทบทางบวกและทางลบต่อสภาพแวดล้อมและ ชุมชน เงื่อนไขทีผ่ ปู้ ระกอบการจะต้องปฏิบตั ติ าม เป็ นต้น เพื่อรับ ฟงั ความคิดเห็นของประชาชนและประชาคมในพื้นที่ท่มี ีการขอ อนุ ญาตดูดทราย - จัดทําสรุปความเห็นต่อคําขออนุ ญาตดูดทราย ส่งให้ฝา่ ยเลขานุ การ ของ อพด. ค. ให้ อพด. ประชุมเพื่อทําการพิจารณาคําร้องขออนุ ญาตดูดทราย โดยพิจารณา เอกสารคําร้องขออนุ ญาตดูดทราย และความเห็นของคณะทํางานสํารวจพื้นที่ หาก - มีมติอนุ ญาต ให้ฝา่ ยเลขานุ การ อพด. ประสานสํานักงานการขนส่ง ทางนํ้ า ภู ม ิภ าคให้อ อกใบอนุ ญ าตขุ ด ลอกร่ อ งนํ้ า และประสาน สํานักงานอุ ตสาหกรรมท้องที่ให้ออกใบอนุ ญาตประกอบกิจการ โรงงาน ภายใน 15 วัน - มีมติไม่อนุ ญาต แจ้งผูป้ ระกอบการทราบถึงเหตุผล โดยผูป้ ระกอบการ สามารถปรับปรุงคําขอ เอกสารต่างๆ และยืน่ ขอใหม่ได้ (2) ปรับอายุของใบอนุ ญาตที่เกี่ยวข้องภายใต้กฎระเบียบในปจั จุบนั ได้แก่ ใบอนุ ญาต ประกอบกิจการโรงงาน (ทรายแม่น้ํ า และทรายบก) ใบอนุ ญาตขุด ตัก และดูดทราย (ทรายแม่น้ํา) ใบอนุ ญาตขุดลอกร่องนํ้า (ทรายแม่น้ํา) ให้มอี ายุเท่ากัน คือ 3 ปี มาตรการ 4: การสํารวจและกําหนดเขตพืน้ ที่ศกั ยภาพการใช้ประโยชน์ ทรายระดับจังหวัด 4.1 หน่ วยงานส่วนกลาง คือ กรมทรัพยากรธรณี และสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ทําการศึกษา (1) พืน้ ทีท่ ม่ี กี ารสะสมตัวของทรายทางกายภาพ (2) พื้นที่ศกั ยภาพการใช้ประโยชน์ ทราย ระดับจังหวัด โดยการกันพื้นที่อ่อนไหวด้าน สิง่ แวดล้อมออก ตามที่กําหนดไว้ในกฎหมาย/กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง และ (3) ทําการ คํ า นวณหาปริม าณการสะสมทรายที่ส ามารถดู ด ออกไปใช้ไ ด้โ ดยไม่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ สิง่ แวดล้อม ระดับลุม่ นํ้า เพือ่ เป็ นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการบริหารจัดการทรัพยากร ทรายต่อไป 4.2 หน่ วยงานส่วนกลาง คือ กรมทรัพยากรธรณี และสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ทําการศึกษาและพัฒนาเกณฑ์การจัดลําดับความสําคัญของพืน้ ที่ ศักยภาพการใช้ประโยชน์ทราย ระดับจังหวัด เพือ่ ให้ อพด. ใช้ประกอบการตัดสินใจในการ
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
25
บริห ารจัด การทรัพ ยากรทราย ตัว อย่า งของเกณฑ์ก ารจัด ลํา ดับ ความสํา คัญ ของพื้น ที่ ศักยภาพการใช้ประโยชน์ทราย อาทิ (1) ปจั จัยการกระจุกตัวของแหล่งทราย (cluster) เพื่อประโยชน์ ของการควบคุม กํากับ ดูแลปญั หาผลกระทบสิง่ แวดล้อม (2) ปจั จัยทางด้านกายภาพ ด้านคุณภาพและปริมาตรการสะสมตัวของทราย 4.3 หน่ วยงานส่วนกลาง คือ กรมทรัพยากรธรณี และสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ทําการเผยแพร่และส่งเสริมให้มกี ารนําข้อมูลแผนทีศ่ กั ยภาพการ ใช้ประโยชน์ทรายระดับจังหวัดไปใช้ประกอบการตัดสินใจการบริหารจัดการทรัพยากรทราย และการวางแผนการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ อย่างเหมาะสมในระดับจังหวัด 4.4 อพด. มีหน้าที่ทําการสํารวจบริเวณทีส่ ามารถขอดูดทราย (zoning) ของจังหวัด โดยให้ นายอําเภอหรือปลัดอําเภอ/สํานักงานที่ดินจังหวัด ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทําการสํารวจบริเวณทีส่ ามารถขอดูดทรายในพืน้ ทีข่ องตนเอง โดยใช้ขอ้ มูลจากส่วนกลาง (แผนทีศ่ กั ยภาพการใช้ประโยชน์ทรายระดับจังหวัดทีไ่ ด้จากข้อ 4.1) เป็ นข้อมูลประกอบการ สํารวจ และต้องทําการปรับปรุงแผนทีแ่ สดงบริเวณทีส่ ามารถขอดูดทรายในระดับจังหวัดทุก 5 ปี เพื่อให้สอดคล้องกับสถานภาพทีเ่ ป็ นปจั จุบนั พร้อมทัง้ จัดลําดับความสําคัญของพืน้ ที่ ศักยภาพทรัพยากรทรายระดับจังหวัด (ตามเกณฑ์ในข้อ 4.2) เพื่อประกอบการพิจารณา คําขออนุ ญาตดูดทรายในพืน้ ทีต่ ่อไป 4.5 อพด. เผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะเพื่อให้ทุกภาคส่วนเข้าถึงและได้ใช้ประโยชน์ จากข้อมูล ดังกล่าว ข้อมูลทีส่ าํ คัญ คือ บริเวณพืน้ ทีท่ อ่ี นุ ญาตให้ดดู ทราย (zoning) ของจังหวัด แผนที่ ศักยภาพการใช้ประโยชน์ทรัพยากรทรายระดับจังหวัด ประโยชน์ของการใช้ขอ้ มูล คือ เพือ่ ประกอบการตัดสินใจลงทุนพัฒนาแหล่งทรายของผูป้ ระกอบการ และเป็ นการสร้างความ เท่าเทียมกันในการแข่งขันระหว่างผูป้ ระกอบการในจังหวัดเดียวกัน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นสามารถใช้ขอ้ มูลประกอบการติดตามตรวจสอบเพื่อป้องกันผลกระทบสิง่ แวดล้อม ประชาชนทัว่ ไปทราบถึ ง ขอบเขตพื้น ที่ท่ีอ นุ ญ าตให้ ดู ด ทรายก็ จ ะสามารถใช้ ข้อ มู ล ประกอบการตัดสินใจในการตัง้ ถิน่ ฐานของตนเองได้ มาตรการ 5: การปรับปรุงระบบค่าตอบแทน เงิ นมัดจําความเสียหาย และการจัดสรรเงิ นรายได้ 5.1 ให้ใช้อตั ราค่าตอบแทนทรัพยากรทรายในทีส่ าธารณะ ตามประมวลกฎหมายทีด่ นิ ลูกบาศก์ เมตรละ 28 บาท โดยคิดตามปริมาตรทรายที่ดูดขึน้ มา และกําหนดอัตราค่าตอบแทน ทรัพยากรทรายในพืน้ ทีก่ รรมสิทธิ์เป็ นครึ่งหนึ่งของทรายในทีส่ าธารณะ ลูกบาศก์เมตรละ 14 บาท โดยคิดตามปริมาตรทรายทีด่ ดู ขึน้ มาเช่นกัน หรือคิดในอัตราค่าตอบแทนต่อพืน้ ที่ ไร่ละ 44,800 บาท (ลึก 2 เมตร) 5.2 จัดสรรเงินค่าตอบแทนทรัพยากรไปใช้ในการบริหารจัดการในทุกขัน้ ตอน ตัง้ แต่ การสํารวจ พืน้ ทีเ่ พื่อพิจารณาคําขอของผูป้ ระกอบการ การประชุมเพือ่ พิจารณาคําขอของผูป้ ระกอบการ ั หา การติด ตามและตรวจสอบผลกระทบด้า นสิ่ง แวดล้อ ม การควบคุ ม กํ า กับ ดู แ ลป ญ
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
26
ผลกระทบสิ่ง แวดล้ อ ม และการพิสู จ น์ ห ลัก ฐานกรณี ท่ี ม ีข้ อ ขัด แย้ ง เกิ ด ขึ้น ระหว่ า ง ผูป้ ระกอบการและประชาชนในพืน้ ที่ โดยจัดสรรเงินรายได้จากค่าตอบแทนทรัพยากรทราย ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ร้อยละ 60 และองค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยละ 40 เพือ่ (1) ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดจัดตัง้ งบประมาณเพื่อใช้ในการดําเนินงานของ อพด. อาทิ ค่ า จัด ประชุ ม ค่ า เบี้ย ประชุ ม และค่ า บริห ารจัด การอื่น ๆ และค่ า ใช้จ่ า ยของ คณะทํางานทีแ่ ต่งตัง้ โดย อพด. ใช้ในกิจกรรมการสํารวจตรวจสอบพืน้ ที่ และการจัดทํา local public hearing (2) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จัดสรรงบประมาณเพื่อใช้ในการสนับสนุ นการดําเนินงาน ตามหน้าทีแ่ ละบทบาทในการควบคุม กํากับ ติดตามตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดล้อม และสังคมของกิจการขุด ตัก และดูดทราย ขนส่งทรายในพืน้ ทีข่ องตนเอง และกิจกรรม อื่นทีเ่ กีย่ วข้อง 5.3 จัดเก็บเงินประกันภัยความเสียหายด้านสิง่ แวดล้อมและสังคมหรือ เงินมัดจําความเสียหายที่ เกิดจากการขุด ตัก ดูด และขนส่งทราย (damage potential) เพือ่ ไว้ใช้ในการแก้ไขปญั หา ั หาฝุ่น ละออง ป ญ ั หาคุ ณ ภาพนํ้ า ถนนชํา รุ ด ป ญ ั หาการพัง ทลายของ สิ่ง แวดล้อ ม ป ญ แผ่นดินและตลิง่ และปญั หาผลกระทบสิง่ แวดล้อมอื่นๆ รวมทัง้ ค่าชดเชยความเสียหายให้แก่ ผูไ้ ด้รบั ผลกระทบจากกิจการขุด ตัก และดูดทราย และการขนส่งทราย โดยเงินประกันความ เสียหายให้เก็บไว้ท่ี อพด. หากผูป้ ระกอบการสามารถจัดการกับปญั หาผลกระทบสิง่ แวดล้อม ได้ต ามเกณฑ์ท่ีกํ า หนดไว้ ผู้ป ระกอบการสามารถขอรับ เงิน ประกัน ความเสีย หายคืน หลังจากเลิกกิจการไปแล้วเป็ นเวลา 1 ปี เงินประกันความเสียหายเก็บจากกิจกรรม 2 ส่วน ดังนี้ (1) การขุด ตัก และดูดทรายแม่น้ํ าและทรายบก คิดตามขนาดของพื้นที่ท่ขี ออนุ ญาต ใน อัตรา 30,000 บาทต่อไร่ (2) การขนส่งทราย คิดตามระยะทางและประเภทถนนจากแหล่งดูดทรายถึงถนนหลักที่ ดูแลโดยกรมทางหลวง ในอัตรา 100,000 บาทต่อกิโลเมตร 5.4 กําหนดบทลงโทษสําหรับผูร้ บั ซื้อทรายจากแหล่งทีไ่ ม่มใี บอนุ ญาต ผูท้ าํ การขุด ตัก และดูด ทรายโดยไม่มใี บอนุ ญาต ด้านการมีส่วนร่วม มาตรการ 6: สนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริ หารจัดการทุกขัน้ ตอน 6.1 จัดช่องทางให้ประชาชนและประชาคมมีสว่ นร่วมในการบริหารจัดการทุกขัน้ ตอน (1) จัดให้มกี ารทํา local public hearing ในขัน้ ตอนการพิจารณาคําขออนุ ญาตดูดทราย เพือ่ รับฟงั ความคิดเห็นของประชาชนและประชาคมในพืน้ ทีท่ ม่ี กี ารขออนุ ญาตขุดทราย
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
27
(2) ให้ประชาชนมีสว่ นร่วมรับรูข้ อ้ มูล องค์ความรูท้ เ่ี กีย่ วข้อง และมีสว่ นร่วมในการเฝ้าระวัง ปญั หาผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมจากการขุด ตัก และดูดทราย และการขนส่งทราย โดยร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (3) ให้ประชาชนสามารถร้องเรียน/ร้องทุกข์ ในด้านการบริหารจัดการ ปญั หาผลกระทบ ด้านสิง่ แวดล้อมและสังคมทีเ่ กิดจากการขุด ตัก และดูดทราย และการขนส่งทราย ได้ใน ทุกระดับ ตัง้ แต่ผใู้ หญ่บา้ น องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ นายอําเภอ จังหวัด อพด. จนถึง กพด. มาตรการ 7: สนับสนุนให้ภาคเอกชน (ผูป้ ระกอบการ) มีส่วนร่วม 7.1 ให้ผู้ประกอบการขุด ตัก และดูดทรายบกและทรายแม่น้ํ า ช่วยกันแจ้งเบาะแสของการ ลักลอบขุด ตัก และดูดทราย โดยอาจตัง้ เป็ นกลุม่ สหกรณ์ และโดยกําหนดบทลงโทษสําหรับ ผูร้ บั ซือ้ ทรายจากแหล่งทีไ่ ม่มใี บอนุ ญาต มาตรการ 8: สนับสนุนให้ภาครัฐมีส่วนร่วม 8.1 ให้หน่ วยงานภาครัฐทุกหน่ วยไม่รบั ซื้อทรายจากแหล่งทรายที่ไม่มใี บอนุ ญาต หรือจาก ผูป้ ระกอบการขนส่งทรายทีบ่ รรทุกเกินอัตราทีก่ าํ หนดไว้โดยกรมทางหลวง มาตรการ 9: สนับสนุนให้องค์กรชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรทรายในลํานํ้าสาขา 9.1 สนับสนุ นให้มรี ะบบการบริหารจัดการทรายแม่น้ําโดย Community Based Organization (CBO) คือ องค์กรชุมชนทีจ่ ดทะเบียนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ โดยเปรียบเสมือน ผูป้ ระกอบการรายเดียว ซึง่ จะต้องดําเนินการขออนุ ญาตเหมือนผูป้ ระกอบการอื่นๆ (1) ให้ CBO ทีจ่ ดทะเบียนแล้วสามารถยืน่ คําร้องขอเข้าดําเนินการบริหารจัดการทรัพยากร ทรายในพื้น ที่ลํา นํ้ า สาขา (ตัง้ แต่ ต้น นํ้ า จนถึง ปลายนํ้ า ) ต่ อ อพด. โดยมีเ ป้ า หมาย การจัดการเพื่อส่วนรวม กล่าวคือ การพัฒนาแหล่งนํ้ าในฤดูแล้ง การระบายนํ้ าในช่วง อุทกภัย เป็ นต้น (2) ให้ CBO เป็ นผูร้ บั ผิดชอบต่อการบริหารจัดการทรัพยากรทรายในพืน้ ทีท่ งั ้ ลํานํ้ า โดย ต้องมีการจัดทําแผนงาน โดยมี อพด. เป็ นทีป่ รึกษาทางเทคนิคในการประเมินปริมาตร ทรายที่สะสมตัวในแต่ละปี เพื่อกําหนดเป็ นปริมาตรทรายที่อนุ ญาตให้ดูดออกไปจาก พืน้ ทีเ่ ป็ นรายปี (3) ให้ CBO เปิ ดโอกาสให้ผปู้ ระกอบการขุด ตัก และดูดทราย ยืน่ คําร้องขอดําเนินการดูด ทรายในพืน้ ที่ โดยต้องจ่ายค่าตอบแทนทรัพยากรทราย และเงินประกันความเสียหาย จากการดูดทรายและการขนส่งทรายเช่นเดียวกันกับกรณีปกติ ก. โดยจัดสรรเงินรายได้จากค่าตอบแทนทรัพยากรทราย ให้องค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ ร้อยละ 20 และองค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยละ 40 และ CBO ร้อยละ 40 เป็ นค่าบริหารจัดการ
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
28
ข. โดยเงินประกันความเสียหายให้เก็บไว้ท่ี อพด. (4) ให้สทิ ธิผู้ประกอบการทําการขุด ตัก และดูดทรายโดยแบ่งเป็ นโควต้าตามปริมาตร ทรายทีส่ ามารถดูดออกไปใช้ได้ โดยให้ใช้เงือ่ นไขการอนุ ญาตดูดทรายทีม่ อี ยูใ่ นปจั จุบนั (5) ให้ CBO ทําการบันทึกปริมาตรทรายทีด่ ดู ออกไปจากพืน้ ที่ เพือ่ ควบคุมไม่ให้มกี ารดูด ทรายเกินอัตราทีก่ ําหนดไว้ หากพบว่ามีการดูดทรายออกไปจากพืน้ ทีเ่ กินโควต้า จะถูก ปรับ 1.5 เท่าของปริมาตรทรายทีเ่ กิน โดยจะหักออกจากโควต้าในปีถดั ไป ด้านผลกระทบสิ ง่ แวดล้อม มาตรการ10: กําหนดเงื่อนไขการจัดทํารายงานผลกระทบด้านสิ่ งแวดล้อมเบือ้ งต้นและ แผนฟื้ นฟูสภาพแวดล้อมของพืน้ ที่การใช้ประโยชน์ ทราย 10.1 ให้ผปู้ ระกอบการขุด ตักและดูดทรายต้องจัดทํารายงานผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมเบือ้ งต้น และแผนฟื้ น ฟู สภาพแวดล้อ มของพื้น ที่ก ารใช้ประโยชน์ ทราย ประกอบการขออนุ ญาต ประกอบการขุด ตัก และดูดทรายบกและทรายแม่น้ํา และประกอบการขอต่อใบอนุ ญาตทุก 3 ปี 10.2 ให้ห น่ ว ยงานที่เ กี่ย วข้อ งใช้ร ายงานผลกระทบด้า นสิ่ง แวดล้อ มเบื้อ งต้น และแผนฟื้ น ฟู สภาพแวดล้อ มของพื้น ที่ก ารใช้ป ระโยชน์ ท ราย ประกอบ การติด ตาม ตรวจสอบ การ ควบคุมและกํากับ ในช่วงทีม่ กี ารดําเนินกิจการขุด ตัก และดูดทรายบกและทรายแม่น้ํา การ ขนส่งทราย และหลังหยุดกิจการแล้ว มาตรการ 11: กําหนดเงื่อนไขการจัดทํารายงานความก้าวหน้ าของผูป้ ระกอบการ 11.1 ให้ ผู้ป ระกอบการขุ ด ตัก และดู ด ทรายต้ อ งจัด ทํ า รายงานความก้ า วหน้ า ของกิจ การ ประกอบด้วย วิธกี ารทีใ่ ช้ในการขุด ตัก ดูด และขนส่งทราย ช่วงระยะเวลาทีด่ ําเนินการขุด ตัก ดูด และขนส่งทราย ปริมาตรทรายที่ดูดออกจากพื้น ที่ ลักษณะของผลกระทบด้าน สิง่ แวดล้อมที่เกิดขึ้นและการจัดการสิง่ แวดล้อมของผู้ประกอบการ โดยให้จดั ทําและส่ง รายงานความก้าวหน้ารายปี เพือ่ ประกอบการพิจารณาต่ออายุใบอนุ ญาตดูดทราย มาตรการ 12: มาตรการป้ องกันผลกระทบสิ่ งแวดล้อม 12.1 หน่ วยงานส่วนกลางจัดทําคู่มอื แนวทางการปฏิบตั ดิ า้ นสิง่ แวดล้อมในการพัฒนาและการใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรทรายแม่น้ํ าและทรายบกหรือเกณฑ์การปฏิบตั ทิ ่ดี ี (code of conduct) สําหรับ (1) ผูป้ ระกอบการขุด ตัก และดูดทรายแม่น้ําและทรายบก รวมทัง้ การขนส่งทราย เพือ่ เป็ น แนวทางการปฏิบตั ทิ ด่ี ี (2) หน่วยงานภาครัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เพือ่ ประกอบการติดตาม ตรวจสอบ ผลกระทบสิง่ แวดล้อม และการควบคุม กํากับกิจการขุด ตักและดูดทรายแม่น้ํ าและ
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
29
ทรายบก และการขนส่งทราย และการฟื้ นฟู พ้ืนที่ท่ีม ีการพัฒนาทรัพยากรทรายให้ เหมาะสมและถูกวิธี (3) ประชาชนในพืน้ ที่ เพือ่ ประกอบการเฝ้าระวังปญั หาผลกระทบสิง่ แวดล้อมในพืน้ ที่ มาตรการ 13: ดําเนิ นมาตรการควบคุมด้านสิ่ งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด 13.1 อพด. มอบหมายให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จัดตัง้ กลุ่ม third party ขึน้ ประกอบด้วย สมาชิกอย่างน้ อย คือ ตัวแทนองค์กรปกครองส่ว นท้องถิ่น ตัวแทนจาก อพด. ตัวแทน ประชาชนในพืน้ ที่ และเจ้าของพืน้ ทีข่ า้ งเคียง โดยมีหน้าที่ ดังนี้ (1) ดําเนินการควบคุมและกํากับการดําเนินการของผูป้ ระกอบการ และติดตาม ตรวจสอบ ผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมและสังคมที่เกิดจากกิจการขุด ตัก และดูดทรายแม่น้ํ าและ ทรายบก และการขนส่งทราย (2) โดยดํ า เนิ น การสํา รวจพื้น ที่ จํ า นวน 2 ครัง้ ต่ อ ปี ในช่ ว งนอกฤดู ฝ นระหว่ า งเดือ น พฤศจิกายนถึงเดือนมิถุนายน หรือช่วงทีม่ กี ารดูดทราย โดยใช้แบบรายงานผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อ มเบื้อ งต้น เป็ นต้น แบบประกอบการติดตามตรวจสอบ พร้อ มทําการ เปรียบเทียบสถานการณ์ความรุนแรงของปญั หาทีเ่ กิดขึน้ และให้จดั ทํารายงานผลการ ติดตามเสนอต่อ อพด. (3) หากกลุ่ม third party พบว่า ผูป้ ระกอบการไม่ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบทีว่ างไว้ หรือ พบว่ามีปญั หาผลกระทบสิง่ แวดล้อมเกิดขึน้ ในพืน้ ที่ ให้แจ้ง อพด. ทราบ เพือ่ สังการให้ ่ ผูป้ ระกอบการหยุดดําเนินกิจกรรมทัง้ หมด จนกว่าจะมีการแก้ไขให้ถูกต้อง
30
รูปที่ 10 ขัน้ ตอนการขออนุญาตขุด ตัก และดูดทรายแม่นํ้าและทรายบก
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
31
4 รูปแบบการประกอบกิ จการขุด ตักและดูดทรายที่ส่งผลกระทบ ต่อสิ่ งแวดล้อมน้ อย ทราย (sand) เป็ นวัสดุธรณีวทิ ยาและทรัพยากรธรรมชาติชนิดหนึ่ง ทีม่ กี ารใช้ประโยชน์ในหลาย ลักษณะ อาทิ ทรายสําหรับงานก่อสร้าง ทรายแก้วสําหรับอุตสาหกรรมแก้ว-กระจก เซรามิกส์ และอื่นๆ โดยเฉพาะทรายก่อสร้างทีน่ บั วันจะยิง่ ทวีความสําคัญ เพราะเกีย่ วข้องใกล้ชดิ กับชีวติ ความเป็ นอยูข่ องทุกคน และปริมาณความต้องการใช้ประโยชน์ทเ่ี พิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนื่องตามอัตราการเพิม่ ของจํานวนประชากรและ การเติบโตทางเศรษฐกิจ ในขณะทีป่ ริมาณสํารองทรายลดน้อยลงและเริม่ ขาดแคลนในบางพืน้ ที่ การบริหาร จัดการแหล่งทรายก่อสร้าง และการสํารวจหาแหล่งเพิม่ เติมอย่างเป็ นระบบจึงเป็ นสิง่ ทีเ่ ลีย่ งไม่ได้ เพื่อให้ เกิดการใช้ประโยชน์ทย่ี งยื ั ่ น เหมาะสมกับลักษณะคุณภาพของแหล่ง และมีกระบวนการผลิตทีส่ ง่ ผลกระทบ ต่อสิง่ แวดล้อมน้อยทีส่ ดุ รวมถึงป้องกันความขัดแย้งทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการใช้ประโยชน์พน้ื ที่
4.1 แนวทางการบริ หารจัดการสิ่ งแวดล้อม การผลิตทรายทัง้ ทรายบกและทรายแม่น้ําทีไ่ ม่มกี ารควบคุม กํากับดูแลอย่างใกล้ชดิ และเป็ นระบบ มักก่อให้เกิดผลกระทบต่อแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมด้านต่างๆ ได้ ดังนัน้ เพื่อหลีกเลีย่ ง ไม่ให้เกิดผลกระทบ หรือลดผลกระทบทีห่ ลีกเลีย่ งไม่ได้ให้เกิดขึน้ น้อยทีส่ ุดระหว่างการประกอบกิจการ ทราย จําเป็ นต้องกําหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิง่ แวดล้อม รวมถึงการกํากับดูแลให้ม ี กระบวนการผลิตและดูดทรายทีเ่ หมาะสม มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดล้อม และแนวทาง การฟื้นฟูพน้ื ทีข่ ดุ ตักและดูดทราย ดังนี้ 1) มาตรการป้ องกันและแก้ไขผลกระทบสิ ง่ แวดล้อม (i) ด้านอุทกวิ ทยาและเสถียรภาพของพืน้ ที่ผลิ ตทราย 1) ควรมีการกําหนดพืน้ ทีอ่ นุ ญาตประกอบกิจการทรายอย่างเหมาะสม เพือ่ ป้องกันปญั หาการฟุ้ง กระจายของตะกอนในลํานํ้าจากการขุด ตัก และดูดทราย ซึง่ ควรจะอยูห่ ่างจากพืน้ ทีอ่ ่อนไหวต่อผลกระทบ ได้แก่ จุดสูบนํ้าสําหรับการอุปโภคบริโภคหรือผลิตนํ้าประปา เขตรักษาพันธุแ์ ละเพาะพันธุส์ ตั ว์น้ํา 2) ควรกําหนดเงื่อนไขให้ผปู้ ระกอบการดําเนินการล้างและแต่งทรายบริเวณท่าทราย พร้อมทัง้ จัดสร้างบ่อดักตะกอนก่อนระบายลงสูแ่ หล่งนํ้าธรรมชาติ 3) ควรหลีกเลีย่ งการดูดทรายในช่วงฤดูแล้งจัด เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดผลกระทบต่ออุทกวิทยา นํ้าใต้ดนิ ทีอ่ าจเป็ นผลให้ปริมาณนํ้าในบ่อนํ้าตืน้ ลดน้อยลงจนส่งผลกระทบต่อการใช้น้ําของชุมชน และควร จัดหาแหล่งนํ้าอื่นทดแทนผูไ้ ด้รบั ผลกระทบ 4) ควรกําหนดพื้นทีอ่ นุ ญาตให้ดูดทรายในพื้นที่ทม่ี ศี กั ยภาพการทับถมของทรายแม่น้ํ าอย่าง ต่อเนื่องพร้อมทัง้ ควบคุมกําลังการผลิตหรือกําลังเครื่องยนต์ดูดทรายโดยคํานึงถึงสมดุลธรรมชาติของ ปริมาณทรายทีอ่ ยูใ่ นบริเวณนัน้ และกําหนดระยะห่างจากตลิง่ ทีเ่ หมาะสมตามสภาพพืน้ ทีล่ าํ นํ้านัน้
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
32
ในส่วนของการประกอบกิจการทรายบกที่มกั เกิดปญั หาการชะล้างพังทลายและการทรุดตัวของ พืน้ ดินในพืน้ ทีข่ า้ งเคียง ควรจํากัดและกําหนดขอบเขตพืน้ ทีแ่ ละความลึกทีส่ ามารถผลิตทราย ให้แน่ นอน ชัดเจน อาทิ ห่างจากทีด่ นิ ของบุคคลอื่นไม่น้อยกว่า 2 เท่าของความลึกหรือไม่น้อยกว่า 40 เมตร และความ ลาดชันของบ่อไม่เกิน 1:2 รวมถึงให้มกี ารปรับสภาพขอบบ่อหลังเลิกทําการผลิตโดยการบดอัดให้มคี วาม ลาดชันไม่เกิน 45 องศา พร้อมปลูกพืชคลุมดินในบริเวณดังกล่าว (ii) ด้านคุณภาพเสียงและอากาศ 1) ควบคุมให้ดดู คัดแยกขนาด และขนส่งทรายเฉพาะในเวลากลางวัน 2) ตรวจสอบและบํารุงรักษาเครือ่ งยนต์ต่างๆ ให้อยูใ่ นสภาพดีเสมอ 3) จัดหาวัสดุคลุมเครือ่ งยนต์ดดู ทราย รวมทัง้ ติดตัง้ หม้อพักไอเสียของเครือ่ งยนต์ 4) ฉีดพรมนํ้าบริเวณพืน้ ทีห่ น้างาน และถนนทีใ่ ช้เป็ นเส้นทางขนส่งอย่างสมํ่าเสมอ เพือ่ ลดปญั หา การฟุ้งกระจายของฝุน่ ละออง 5) ใช้ผา้ ใบปิ ดคลุมรถบรรทุกทรายให้มดิ ชิดขณะขนส่ง เพือ่ ป้องกันการร่วงหล่นของวัสดุ และการ ฟุ้งกระจาย 6) จํากัดความเร็วรถบรรทุกทรายทีว่ งิ่ ผ่านพืน้ ทีช่ ุมชนไม่เกิน 40 กิโลเมตรต่อชัวโมง ่ (iii) ด้านคมนาคมขนส่ง 1) ควบคุมการบรรทุกทรายไม่ให้น้ํ าหนักเกินเกณฑ์ทร่ี าชการกําหนด หรือไม่เกินพิกดั ทีถ่ นน เส้นทางนัน้ สามารถรองรับได้ 2) ควรสนับสนุ น และส่งเสริมให้มกี ารขนส่งทางนํ้า หรือทางรถไฟ 3) การขนส่งทรายจะต้องขนส่งเฉพาะในเวลากลางวันเท่านัน้ 4) ต้องปรับปรุงซ่อมแซมถนนให้อยูใ่ นสภาพดี และสามารถใช้งานได้อยูเ่ สมอ 5) ให้หลีกเลีย่ งการขนส่งทรายในเส้นทางทีม่ กี ารจราจรหนาแน่นหรือเส้นผ่านชุมชน (iv) ด้านทัศนี ยภาพและการใช้ประโยชน์ ที่ดิน 1) ควรกําหนดให้ผปู้ ระกอบการวางแผนผังการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ก่อนเปิดบ่อทราย เช่น กําหนดจุด กองเก็บหน้าดินทีข่ ุดขึน้ มาขณะเปิ ดหน้าดินออก เพื่อใช้ฟ้ื นฟูสภาพพืน้ ทีห่ ลังหยุดประกอบการ จัดแต่ง ภูมสิ ถาปตั ย์และปลูกต้นไม้โดยรอบพื้นที่ เพื่อเป็ นแนวบังและลดผลกระทบด้านทัศนียภาพและการ แพร่กระจายฝุน่ ละออง 2) ควรกําหนดพืน้ ทีห่ า้ มประกอบกิจการขุด ตักและดูดทรายในพืน้ ทีท่ ม่ี คี ุณค่าต่อการใช้ประโยชน์ ทีด่ นิ สูง เช่น พืน้ ทีท่ ม่ี ศี กั ยภาพหรือเหมาะสมสําหรับการเกษตร โดยเฉพาะพืน้ ทีซ่ ง่ึ ภาครัฐได้มกี ารลงทุน ในด้านระบบชลประทานสําหรับการเกษตร
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
33
3) ส่งเสริมให้ผปู้ ระกอบการมีแผนการจัดการวัสดุเหลือใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เช่น กรวด และดิน โดยรวบรวมและคัดแยกนําไปใช้ประโยชน์ หรือนําไปถมกลับในบริเวณทีม่ กี ารขุดทรายออก (ใน กรณีทรายบก) เพือ่ ฟื้นสภาพพืน้ ทีส่ าํ หรับการเพาะปลูก หรือจัดสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัยต่อไป (v) ด้านสังคม ควรมีการจัดตัง้ คณะกรรมการเพือ่ รับเรื่องร้องเรียน และตรวจสอบข้อเท็จจริงในระดับอําเภอ หรือ ระดับตําบล เพือ่ รับและแก้ไขปญั หาในกรณีทม่ี กี ารร้องเรียนเกีย่ วกับผลกระทบและความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ จากการประกอบกิจการแต่ละราย โดยมีนายอําเภอเป็ นประธานคณะกรรมการ และเจ้าหน้าทีข่ องหน่ วยงาน ต่างๆ ในระดับท้องถิน่ หรือภูมภิ าค ได้แก่ อบต. อบจ. ตํารวจ สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม จังหวัด สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด และสํานักงานการขนส่งทางนํ้าภูมภิ าค 2) การกํากับดูแลให้มีวิธีการผลิ ตและดูดทรายทีเ่ หมาะสม ในการดูดทรายแม่น้ํ าโดยใส่ทรายลงเรือขนทรายหรือการดูดทรายขึน้ ฉางแบบการดูดต่อตรงแล้ว
ทิ้งเศษทรายลงในแม่น้ํ า นอกจากจะทําให้เกิดความขุ่นข้นของนํ้ าในบริเวณใกล้เคียงแล้ว ยังสูญเสีย ผลพลอยได้จากตะกอนทีด่ ดู ขึน้ มา สําหรับแนวทางในการแก้ไขสามารถแยกตามลักษณะการผลิต ดังนี้ การดูดทรายแม่น้ ําโดยวิ ธีดดู ลงเรือ เศษตะกอนและเศษดินจะถูกปล่อยลงตามทางนํ้า ซึ่งใน กรณีน้ํานิ่ง ตะกอนบางส่วนจะตกสะสมลงบริเวณพืน้ ทีบ่ ริเวณนัน้ แต่ถา้ นํ้าไหลพวกทีม่ ขี นาดละเอียดจะถูก กระแสนํ้าพัดไปไกล การแก้ปญั หานี้ทาํ ได้ยาก หากต้องการไม่ให้ตะกอนตกไกล จําเป็ นต้องลดความเร็ว ของตะกอน โดยใช้รปู แบบเรือทีน่ ้ําล้นออกโดยบังคับให้น้ําไหลไปตามกาบเรือและวางท่อทิง้ ดิง่ ลงไปให้ใกล้ ถึงพืน้ ท้องนํ้า ซึง่ จะสามารถช่วยเร่งการตกตะกอนถึงพืน้ ท้องนํ้าเร็วขึน้ การทิ้ งและจัดการตะกอนบริ เวณพื้นทีร่ ิ มตลิ ง่ ในการผลิตทรายมีการทิง้ ตะกอนดินกลับลงตาม ทางนํ้า ทําให้เกิดความขุน่ ข้นตามทางนํ้า การทีไ่ ม่พกั ตะกอนดินนอกจากส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม แล้ว ยังขาดการใช้ประโยชน์ตะกอนซึง่ เป็ นผลพลอยได้ทม่ี สี ว่ นประกอบเป็ นทรายละเอียดปนดินและวัชพืช สามารถนําไปถมยกระดับพืน้ ที่ หรือเพาะปลูกได้ โดยวิธที าํ ทีพ่ กั ตะกอนมีหลายรูปแบบขึน้ อยูก่ บั ขนาดพืน้ ที่ การผลิต วิธที น่ี ิยมใช้ ได้แก่ การขุดบ่อพัก และการขุดแบบร่องสวน ความแตกต่างของทัง้ สองวิธมี ี ดังนี้ การขุดบ่อพักตะกอน ต้องใช้พน้ื ทีไ่ ม่ต่าํ กว่า 2 ไร่ แบ่งเป็ นบ่ออย่างน้อย 2 บ่อ ความลึกไม่น้อย กว่า 2 เมตร หรือระยะช่วงตักของรถขุดตัก โดยเป็ นบ่อกักตะกอนและปล่อยให้น้ําขุน่ ข้นตกลงบ่อทีห่ นึ่ง เมือ่ นํ้าขุน่ ข้นเต็มบ่อพัก นํ้าจะไหลไปบ่อที่ 2 โดยปากท่อทีน่ ้ําไหลออกไปสูบ่ ่อที่ 2 จะอยูใ่ นระดับนํ้าขุน่ ถึง นํ้าใส นํ้าขุน่ จะไหลไปพักอีกครัง้ และระบายนํ้าใสลงไปสู่พน้ื ทีเ่ กษตรกรรมหรือตามทางนํ้าต่อไป จุดอ่อน ของระบบนี้คอื เมือ่ ตะกอนเต็มการขุดลอกนํามาตากหรือขนย้ายออกจะเสียค่าใช้จา่ ยเว้นแต่ทข่ี อบบ่อพักจะ มีขนาดกว้าง สามารถถมทีข่ น้ึ มาเพือ่ ยกระดับพืน้ ทีใ่ ห้สงู ขึน้ การขุดบ่อพักแบบร่องสวน มีรปู แบบคือ การวางเป็ นร่องนํ้ า ความกว้างของร่องนํ้าเท่ากับระยะ ช่วงทีร่ ถขุดตักสามารถเอือ้ มถึงได้ รูปร่างเป็ นร่อง เรียงแถวกัน โดยให้มคี วามยาวรวมของร่องมากกว่า 1,000 เมตร ร่องสวนนี้มลี กั ษณะคดโค้งไปมา ทําให้ลดความเร็วของนํ้าเร่งให้ตะกอนตกเร็วขึน้ (กรณีทไ่ี ม่ สามารถสร้างร่องสวนยาวกว่า 1,000 เมตรได้ ต้องทําให้เกิดการคดโค้งมากทีส่ ุด จึงสามารถกักตะกอนได้
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
34
หมด) รางรับนํ้าระบายนํ้าล้นออกปากท่องอเพือ่ ลดความเร็วและป้องกันแรงดันนํ้าทําให้ทอ้ งนํ้า เหลือนํ้าใส ไหลไปใช้ในการเกษตร หรือกลับไปยังแม่น้ํา เมือ่ ร่องสวนเต็ม สามารถใช้รถขุดตักพักดิน เพือ่ ตากดินรอ ขนย้ายหรือถมทีใ่ ห้สงู ขึน้ ต่อไป 3) การติ ดตามตรวจสอบผลกระทบสิ ง่ แวดล้อม มาตรการและแนวทางการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดล้อม มีวตั ถุประสงค์เพื่อติดตาม ตรวจสอบเปรียบเทียบผลกระทบสิง่ แวดล้อมทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการดําเนินการ ซึ่งผูป้ ระกอบการจะต้อง จัดทําเป็ นรายงานเสนอต่อหน่วยงานในระดับท้องถิน่ เพือ่ พิจารณา และเสนอต่อคณะกรรมการระดับจังหวัด และเสนอต่อหน่วยงานกลางทีเ่ กีย่ วข้องพิจารณาอีกครัง้ ในภาพรวม โดยสามารถแบ่งเป็ น 3 ช่วงเวลา ดังนี้ (i) มาตรการติ ดตามตรวจสอบในช่วงก่อนดําเนิ นการ (มาตรการระยะสัน้ ) มาตรการในช่วงนี้เป็ นการตรวจวัดค่าต่างๆ เพื่อเก็บเป็ นข้อมูลฐานสําหรับศึกษาเปรียบเทียบผล การเปลีย่ นแปลงทางสิง่ แวดล้อมทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการดําเนินการดูดทราย ดังนี้ 1. ตรวจวัดระดับเสียงบริเวณชุมชนทีอ่ ยูโ่ ดยรอบพืน้ ทีท่ จ่ี ะดําเนินการดูดทราย เป็ นช่วงเวลา ทัง้ ในช่วงกลางวัน และกลางคืน (โดยเฉพาะในช่วงเวลาทีม่ กี ารสัญจรคับคัง)่ อย่างน้อย 1 ครัง้ 2. ตรวจวัดปริมาณความเข้มข้นของฝุ่นละอองบริเวณโดยรอบพื้นที่ท่จี ะดําเนินการและชุมชน สองข้างเส้นทางทีจ่ ะใช้ขนส่งทราย อย่างน้อย 1 ครัง้ โดยเน้นช่วงเวลาทีม่ กี ารสัญจรคับคัง่ 3. ตรวจวัดคุณภาพนํ้าผิวดิน เก็บตัวอย่างและวิเคราะห์คุณภาพนํ้า อย่างน้อย 1 ครัง้ 4. ตรวจวัดระดับและคุณภาพนํ้าใต้ดนิ อย่างน้อย 1 ครัง้ 5. ตรวจสอบสภาพถนนก่อนทีจ่ ะใช้เป็ นเส้นทางขนส่งทราย 6. ตรวจสอบลักษณะดังเดิมของตลิง่ และสภาพธรรมชาติของลํานํ้า (ii)
มาตรการติ ดตามตรวจสอบในช่วงระหว่างดําเนิ นการ (มาตรการระยะสัน้ )
มาตรการในช่วงนี้เป็ นการตรวจติดตามเปรียบเทียบผลการเปลี่ยนแปลงทางสิง่ แวดล้อมที่อาจ เกิดขึน้ จากการดําเนินการดูดทราย ดังนี้ 1. ติดตามตรวจสอบระดับเสียงบริเวณชุมชนทีอ่ ยู่โดยรอบพืน้ ทีด่ ําเนินการดูดทราย ตรวจวัด อย่างน้อย ปีละ 4 ครัง้ ทัง้ ในช่วงกลางวัน และกลางคืน 2. ติดตามตรวจสอบปริมาณความเข้มข้นของฝุน่ ละอองบริเวณโดยรอบพืน้ ทีด่ าํ เนินการดูดทราย และชุมชนสองข้างเส้นทางขนส่งทราย ตรวจวัดอย่างน้อยปีละ 2 ครัง้ 3. ติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าผิวดิน เก็บตัวอย่างและวิเคราะห์คุณภาพนํ้า ตรวจวัดอย่างน้อย ปี ละ 4 ครัง้ คือ 2 ครัง้ ในช่วงฤดูฝน (ช่วงต้นฤดู และช่วงกลางฤดู) และ 2 ครัง้ ในช่วงฤดูแล้ง (ช่วงต้นฤดู และช่วงกลางฤดู)
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
35
4. ติดตามตรวจสอบระดับและคุณภาพนํ้าใต้ดนิ ตรวจวัดอย่างน้อยปี ละ 4 ครัง้ คือ 2 ครัง้ ในช่วง ฤดูฝน (ช่วงต้นฤดู และช่วงกลางฤดู) และ 2 ครัง้ ในช่วงฤดูแล้ง (ช่วงต้นฤดู และช่วงกลางฤดู) 5. ตรวจสอบสภาพถนนทีใ่ ช้เป็ นเส้นทางขนส่งทรายเป็ นประจํา ทุก 4-6 เดือน 6. ตรวจสอบระยะห่างจากพืน้ ทีข่ า้ งเคียงและความชันของบ่อเป็ นประจํา (กรณีทรายบก) และ สภาพตลิง่ ข้างเคียงพืน้ ทีด่ าํ เนินการ และสภาพธรรมชาติของลํานํ้า เป็ นประจําทุกๆ 2 เดือน (กรณีทรายแม่น้ํา) 7. สํารวจทัศนคติความคิดเห็นของราษฎรในชุมชนทีอ่ ยูใ่ กล้เคียงต่อการดําเนินการ ปีละ 1 ครัง้ (iii)
มาตรการติ ดตามตรวจสอบในช่วงเสร็จสิ้ นการดําเนิ นการ (มาตรการระยะยาว)
สภาพพืน้ ทีท่ ่าทรายภายหลังจากการประกอบการดูดทราย (กรณีทรายแม่น้ํ า) ให้ดําเนินการ ติดตามตรวจสอบเปรียบเทียบสภาพพืน้ ที่ และแผนการฟื้ นฟูสภาพแวดล้อมบริเวณท่าทราย และบริเวณ ตลิ่ง ของพื้น ที่ดูด ทรายว่าได้มกี ารเปลี่ยนสภาพของตลิ่งธรรมชาติของลํานํ้ าภายหลังจากเสร็จสิ้น การ ดําเนินการไปมากน้อยเพียงใด และให้ดาํ เนินการติดตามเป็ นช่วงๆ อย่างต่อเนื่อง สภาพพืน้ ทีภ่ ายหลังการประกอบการขุด ตักและดูดทราย (กรณีทรายบก) ให้ดาํ เนินการติดตาม ตรวจสอบสภาพพืน้ ทีบ่ ่อทราย เสถียรภาพของขอบบ่อสุดท้าย และแผนการฟื้ นฟูสภาพแวดล้อมของพืน้ ที่ แหล่งทราย ทัง้ นี้ เจ้าหน้าทีท่ เ่ี กีย่ วข้องจะต้องดําเนินการตรวจสอบพืน้ ทีก่ ่อนใบอนุ ญาตจะหมดอายุ และ กรณีท่ขี อต่ออายุใบอนุ ญาต หรือขออนุ ญาตดําเนินการในแปลงใหม่ เจ้าหน้ าที่จะต้องกํากับดูแลให้ ผูป้ ระกอบการดําเนินการปรับปรุงฟื้ นฟูสภาพพืน้ ทีใ่ นส่วนทีไ่ ด้ดําเนินการไปแล้วให้เรียบร้อยก่อนการยื่น เรือ่ งขอต่อใบอนุ ญาตในครัง้ ต่อไป นอกจากนี้หน่วยงานทีก่ าํ กับดูแลควรติดตามตรวจสอบระดับและคุณภาพนํ้าใต้ดนิ อย่างต่อเนื่องไป อีกระยะหนึ่ง ตรวจวัดอย่างน้อยปี ละ 2 ครัง้ คือ ในช่วงกลางฤดูฝน และ กลางฤดูแล้ง เป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 3 ปี และติดตามผลการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมของพืน้ ทีแ่ หล่งทรายว่าสัมฤทธิ ์ผลมากน้อยเพียงใด
4.2 การฟื้ นฟูสภาพแวดล้อมของพืน้ ที่การใช้ประโยชน์ ทรัพยากรทราย แนวทางการฟื้นฟูสภาพพืน้ ทีท่ ม่ี กี ารขุด ตัก และดูดทราย ประกอบด้วย ั ่ อ่ าจได้รบั ผลกระทบ ให้อยูใ่ น 1) การหยุดการสูญเสียตลิ่ ง โดยพยายามรักษาตลิง่ ทัง้ สองฝงที สภาพคงตัวและลดการทรุดตัว และลดการกัดเซาะที่เกิดจากกระแสนํ้ า ซึ่งมีผลทําให้เกิด ตะกอนในนํ้ าและทําให้น้ํ าขุน่ การหยุดการสูญเสียตลิง่ สามารถทําได้หลายวิธขี น้ึ อยู่กบั ความ ลาดชันของตลิง่ ทีพ่ งั ทลายหรือทรุดตัว ในกรณีทต่ี ลิง่ ทีท่ รุดตัวมีความลาดชันไม่มาก (มากกว่า 1 ต่อ 3) อาจใช้วธิ ที อ่ี าศัยขบวนการตามธรรมชาติ เช่น การใช้วสั ดุธรรมชาติคลุมตลิง่ การ ปลูกหญ้าท้องถิน่ คลุมตลิง่ การปลูกพืชพวกหญ้าทีม่ รี ะบบรากแผ่กว้างและลึกคลุมตลิง่ ส่วน ในกรณีทม่ี คี วามลาดชันทีส่ งู (น้อยกว่า 1 ต่อ 3) ซึ่งไวต่อการกัดเซาะจําเป็ นต้องใช้วธิ กี ลที่ สามารถหยุดการสูญเสียได้ในเวลาอันสัน้ เข้ามาช่วยวิธกี ารธรรมชาติ เช่น การปรับระดับตลิง่ ให้มคี วามลาดชันทีค่ งตัวมากขึน้ (1 ต่อ 3 ถึง 1 ต่อ 5) แล้วปลูกพืชคลุมตลิง่ การทํากําแพง
36
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
กันดินลักษณะต่างๆ และการดาดผิวตลิง่ สําหรับในกรณีทพ่ี น้ื ทีท่ ม่ี ศี กั ยภาพในการพัฒนาเพือ่ ใช้งานในลักษณะอื่นๆ เช่น การเป็ นสถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจหรือเป็ นสวนสาธารณะ การสร้าง กําแพงกันดินก็ควรออกแบบโดยคํานึงถึงการเอื้อให้เกิดประโยชน์ ในการประกอบกิจกรรม ริมนํ้าด้วย 2) การลดการชะล้างพังทลายจากกองทรายและผิ วดิ น หมายถึง การปรับแต่งพืน้ ทีบ่ ริเวณที่ มีกองทรายเหลือค้างทัง้ บริเวณชายตลิง่ และในพืน้ ทีป่ ระกอบการไม่ให้เกิดการพังทลายหรือ การชะล้างลงสู่แม่น้ํ า ลําคลอง เพิม่ เติมไปจากตะกอนที่เกิดจากขบวนการขุด ตัก และดูด ทราย ทัง้ นี้ไม่ได้หมายถึงการปรับระดับพื้นที่ให้ราบแบนเท่ากันหมด แต่เป็ นการปรับระดับ หรือปรับแต่งเพื่อให้กองทรายดังกล่าวมีความเสถียรมากขึน้ และทําให้พน้ื ทีม่ คี วามกลมกลืน กับสภาพแวดล้อมโดยรอบ ร่วมไปกับการปลูกพืชคลุมดินเพื่อลดการชะล้าง หากการชะล้าง ลงแม่น้ําหลังการปรับแต่งและปลูกพืชคลุมดินแล้วมีปริมาณไม่มากนัก และระดับตลิง่ กับระดับ ั ่ กตะกอน (reed bank zone) จะช่วยลดการชะล้าง นํ้ามีความใกล้เคียงกัน การทําชายฝงดั ตะกอนลงในแม่ น้ํ า ได้ ในกรณี ท่ีก ารชะล้ า งสู ง อาจจํ า เป็ น จะต้ อ งสร้ า งบ่ อ ดัก ตะกอน ั ่ อ่ ลดปริมาณตะกอนทีไ่ หลลงสูแ่ ม่น้ํา (sedimentation pond) บริเวณชายฝงเพื 3) การช่วยให้เกิ ดการตกตะกอนในลํานํ้ า หมายถึง การทําให้ตะกอนทีแ่ ขวนลอยในลํานํ้ าที่ เกิดจากขบวนการขุด ตัก และดูดทราย และทีเ่ กิดจากการชะล้างจากพืน้ ดินลงสูแ่ หล่งนํ้า ให้ม ี การตกตะกอนได้เร็วที่สุด เพื่อลดความขุ่นของนํ้ าบริเวณท้ายนํ้ า ถึงแม้ว่าการพัดพาและ ตกตะกอนของทรายในแม่น้ํ าเป็ นขบวนการที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ แต่การขุด ตัก และดูด ทราย เป็ นการทําให้ตะกอนมีขนาดเล็กกว่าอนุ ภาคของทรายแขวนลอยในนํ้ าและก่อให้เกิด ปญั หานํ้าขุน่ ดังนัน้ จําเป็ นจะต้องช่วยทําให้ตะกอนทีแ่ ขวนลอยเกิดการตกตะกอนให้เร็วทีส่ ุด และไม่ก่อให้เกิดการแพร่ของตะกอนไปในบริเวณอื่นๆ ทําได้โดย การติดตัง้ ตาข่ายทีม่ ตี าถี่ ล้อมรอบบริเวณที่ทําการขุด ตัก และดูดทรายในแม่น้ํ าหรือ ริมนํ้ า หรือการสร้างลูกทราย บริเวณชายฝงั ่ เพือ่ ขวางการไหลของนํ้าและทําให้เกิดการตกตะกอน ซึง่ ลูกทรายดังกล่าวอาจ ปลูกพืชชายนํ้าเพื่อช่วยดักตะกอนอีกทางหนึ่ง แต่เมื่อนํ้ามีคุณภาพดีขน้ึ แล้วควรเอาลูกทราย ออกและปรับแต่งชายตลิง่ เพื่อไม่ให้กดี ขวางการไหลของนํ้ าต่อไป ในกรณีทไ่ี ม่สามารถสร้าง ลูกทรายได้ เนื่องจากกระแสนํ้ าเชีย่ ว การกองกระสอบทรายริมตลิง่ หรือการสร้างโครงสร้าง ในลํานํ้าทีเ่ รียกว่า กรอย (groin) จะช่วยให้เกิดการตกตะกอนได้เช่นกัน 4) การลดความร้อนในดิ น หมายถึง การลดความร้อนทีเ่ กิดบริเวณผิวดินบนบก ซึง่ หลังจาก ประกอบกิจการสิน้ สุดแล้วไม่ได้มกี ารปกปิ ดผิวดิน ทําให้พน้ื ดินมีความร้อนสูงจนเมล็ดหญ้า ต่างๆ ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ ซึ่งเป็ นการขัดขวางขบวนการฟื้ นตัวตามธรรมชาติ ดังนัน้ การลดความร้อนในดินจึงมีเป้าหมายเพือ่ ทําให้พน้ื ดินมีสภาพทีเ่ หมาะสมกับการเจริญเติบโต ของพืช ด้วยวิธกี ารต่างๆ ตัวอย่างเช่น การคลุมดินด้วยอินทรียว์ ตั ถุต่างๆ เช่น หญ้าแห้ง ฟาง ข้าว วัสดุท่หี าได้ในท้องถิ่น ดินเลนที่ได้จากการขุดลอกบ่อดักตะกอนในพื้นที่ หรือขุดลอก ลํานํ้า ซึง่ จะชักนําให้เกิดวัชพืชหรือหญ้าท้องถิน่ ให้ขน้ึ ได้ การปลูกต้นไม้ใหญ่ทม่ี คี วามทนทาน ต่อสภาพดินทีม่ ธี าตุอาหารตํ่า และทนแล้งได้ดี เพื่อให้ร่มเงาแก่พน้ื ที่ ซึ่งเมื่อพืชขึน้ ได้แล้วจะ ทํ า ให้ค วามร้อ นผิว ดิน ลดลง และเก็บ ความชื้น ได้ม ากขึ้น ซึ่ง นอกจากจะเป็ น การปรับ
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
37
สภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเติบโตของพืชพันธุอ์ ่นื ๆ แล้ว ยังเป็ นการรักษาหน้าดินไป ด้วยในตัว 5) การเพิ่ มความอุดมสมบูรณ์ ของดิ น หมายถึง การเพิม่ อินทรีย์วตั ถุลงในพื้นที่บนบก เพื่อ ช่วยเพิม่ เนื้อดิน และทําให้ขบวนการฟื้ นตัวตามธรรมชาติเกิดเร็วขึน้ การเพิม่ ความอุดมสมบูรณ์ ให้แ ก่ ดิน ทําได้ห ลายวิธี เช่น การใช้อิน ทรีย์ว ตั ถุ คลุ ม ผิว ดิน เมื่อ ย่อ ยสลายจะเกิดเนื้ อ ดิน เพิม่ ขึน้ การปลูกพืชตระกูลถัวคลุ ่ มดิน และการปลูกไม้ใหญ่ตระกูลถัวที ่ ่มรี ากช่วยในการจับ ไนโตรเจน จะช่วยให้ดนิ มีความอุดมสมบูรณ์มากขึน้ ซึ่งนอกจากจะช่วยให้พน้ื ทีฟ่ ้ื นตัวได้เร็ว ขึน้ แล้ว ยังช่วยให้พน้ื ทีก่ ลับมาเป็ นทีอ่ ยูอ่ าศัยของสัตว์ทอ้ งถิน่ ได้เร็วขึน้ ด้วย 6) การใช้ ประโยชน์ ที่ ดิน ให้ คุ้ม ค่ า ทางเศรษฐกิ จ พื้น ที่แ หล่ง ทรายบกที่ผ่า นการประกอบ กิจการขุด ตัก และดูดทราย จะมีลกั ษณะคล้ายบ่อหรือขุมนํ้าขนาดใหญ่ ซึง่ ขนาดและความลึก จะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กบั ลักษณะทางธรณีสณ ั ฐานของแหล่งทราย ดังนัน้ การฟื้ นฟู ให้ กลับ คืน สภาพเดิม จึง ค่ อ นข้า งเป็ น ไปได้ย ากและต้อ งลงทุ น สูง การฟื้ น ฟู ท่ีช่ ว ยให้ส ภาพ นิเวศวิทยาคล้ายคลึงกับสภาพก่อนดําเนินกิจการ สามารถทําได้เพียงบางส่วน เช่น การถม กลับเปลือกดิน ปลูกต้นไม้คลุมดิน และรักษาเสถียรภาพของขอบบ่อ ซึ่งมีวธิ กี ารดังกล่าว เหมาะสมสําหรับพืน้ ทีข่ นาดเล็ก การฟื้ นฟูพน้ื ทีโ่ ดยการพัฒนารูปแบบการใช้ประโยชน์ ทด่ี นิ อาจมีความเหมาะสมกว่าสําหรับพืน้ ทีข่ นาดใหญ่ ทัง้ นี้ รูปแบบของการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ทีอ่ าจ พิจารณานําไปปรับใช้ ได้แก่ (1) การใช้ประโยชน์เพื่อการเพาะเลีย้ งสัตว์น้ํ า บ่อหรือขุมนํ้ า บริเวณแหล่งทรายเป็ นบ่อทีไ่ ม่ ลึกมากนักเมือ่ เทียบกับขุมเหมืองร้างโดยทัวไป ่ หากมีอายุมากพอและมีการตกตะกอนจน ระบบนิเวศมีการปรับตัวใกล้เคียงกับสภาพธรรมชาติของแหล่งนํ้าแล้วจะเริม่ มีสงิ่ มีชวี ติ อยู่ อาศัย หรือหากมีลําธารเชื่อมต่อกับแม่น้ํ า ลําคลอง ก็จะสามารถปรับสภาพทางฟิ สกิ ส์ และเคมีของแหล่งนํ้า ลดความขุน่ เพิม่ ปจั จัยต่างๆ ให้ใกล้เคียงกับธรรมชาติ และจัดพืน้ ที่ ให้มคี วามเหมาะสมกับการดํารงชีวติ ของสัตว์น้ําแล้ว อาจพัฒนาเป็ นแหล่งเพาะเลีย้ งสัตว์ นํ้าได้ (2) การใช้ประโยชน์ เพื่อการเกษตร แหล่งนํ้ าจากบ่อทรายสามารถนํ ามาใช้ในการเพาะปลูก ได้ โดยเฉพาะพืน้ ทีเ่ กษตรกรรรมทีอ่ ยูห่ ่างไกลจากระบบชลประทาน โดยเกษตรกรจะผัน นํ้าจากบ่อนํ้ามาใช้ในพืน้ ทีเ่ พาะปลูก โดยเฉพาะในช่วงแล้ง (3) การใช้ประโยชน์ เพื่อเป็ นแหล่งนํ้ าอุปโภคบริโภค นํ้ าทีม่ าจากบ่อทรายอาจมีเชื้อโรคเจือ ปนอยู่ จึงควรปรับปรุงคุณภาพนํ้าก่อนนําไปใช้ประโยชน์ ซึ่งการใช้ประโยชน์บ่อทรายวิธี นี้เหมาะสําหรับแหล่งทรายทีอ่ ยูใ่ กล้ชุมชน (4) การใช้ประโยชน์เพือ่ กักเก็บนํ้ าเพือ่ การป้องกันนํ้าท่วม (แก้มลิง) บ่อทรายมีความเป็ นไป ได้ท่จี ะพัฒนาเป็ นบ่อกักเก็บนํ้ าชัวคราวในช่ ่ วงฤดูฝนและมีน้ํ าหลากเพื่อช่วยบรรเทา อุทกภัย แต่ตอ้ งพิจารณาถึงลักษณะทางกายภาพของพืน้ ที่ เช่น สภาพของเนื้อดิน ความ ชันของพืน้ ดิน และสภาพนํ้ าใต้ดนิ ความสามารถในการระบายนํ้ าเข้าและออกได้ดี และ
บทสรุปสําหรั บผู้บริ หาร
38
ความเป็ นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ ซึ่งบ่อทรายมีความเป็ นไปได้สูง เนื่องจากไม่ตอ้ งเสีย ค่าใช้จา่ ยในการขุดบ่อ แต่อาจมีคา่ ใช้จา่ ยในการทําขอบบ่อและประตูระบายนํ้า (5) การใช้ประโยชน์ เพื่อเป็ นทีฝ่ งั กลบของเสียชุมชน นอกจากจะเป็ นการพัฒนาบ่อทรายให้ สามารถใช้ป ระโยชน์ ไ ด้แล้ว ยัง เป็ น การแก้ป ญั หาการขาดแคลนสถานที่ฝ งั กลบขยะ แต่อย่างไรก็ตาม การพิจารณาทางเลือกนี้ตอ้ งมีความระมัดระวังสูง และต้องมีการพิจารณา อย่า งรอบคอบจากนัก วิช าการ และควรมีก ารศึก ษาผลกระทบสิ่ง แวดล้อ ม ตลอดจน กําหนดแผนแก้ไขผลกระทบสิง่ แวดล้อมอย่างชัดเจนและเป็ นรูปธรรม จึงควรพิจารณา ทางเลือกนี้เป็ นทางเลือกสุดท้าย ในทางปฏิบตั ิการฟื้ นฟูจะเลือกวิธกี ารใดวิธกี ารหนึ่งหรือหลายวิธรี ่วมกัน ขึ้นอยู่กบั สภาพพื้นที่ บริเวณที่มแี นวโน้ มที่จะเกิดผลกระทบรุนแรง ความจําเป็ นเร่งด่วนหรือระยะเวลาที่ต้องการให้เกิดการ ฟื้ นตัว รวมถึงแนวโน้มในการใช้ประโยชน์พน้ื ทีด่ งั กล่าวในอนาคต และงบประมาณในการดําเนินงาน ทัง้ นี้ การพิจารณาว่าพืน้ ทีม่ ศี กั ยภาพหรือไม่ ขึน้ อยูก่ บั ทีต่ งั ้ ความสะดวกในการเข้าถึง และการมีสาธารณูปโภค ต่างๆ รอบรับทีเ่ พียงพอกับความต้องการในการพัฒนาทีด่ นิ นัน้ ๆ ในการออกแบบพืน้ ทีน่ อกเหนือไปจาก จะต้องคํานึงถึงความต้องการใช้งานต่างๆ แล้ว ยังจําเป็ นจะต้องเลือกเทคนิคในการฟื้ นฟูทส่ี อดคล้องกัน ด้ว ย จึง จะทํา ให้ป ระหยัด ค่า ใช้จ่า ยต่ างๆ ในการพัฒ นาพื้นที่ สํา หรับ กรณีท่ีพ้นื ที่ไ ม่ม ีศ กั ยภาพหรือ มี ศักยภาพตํ่าในการพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์ ต่อไป อย่างน้ อยการฟื้ นฟูจะต้องทําเพื่อช่วยหยุดผลกระทบ ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ และกระตุน้ ให้ขบวนการฟื้นตัวตามธรรมชาติเกิดขึน้ ได้รวดเร็ว
5 การดําเนิ นงานต่อไป หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรทรายในทุกระดับ และสํานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมควรร่วมกันพิจารณา “แนวทางการจัดการสิง่ แวดล้อมจากการใช้ ทรัพยากรทรายทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ทีไ่ ม่ส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคม” ทีก่ ารศึกษานี้ได้เสนอไว้ 3 ทางเลือก โดยแต่ละทางเลือกจะมีขอ้ ได้เปรียบและข้อเสียเปรียบต่างกัน ทัง้ นี้ขน้ึ อยูก่ บั ความพร้อมและการ ยอมรับของทุกภาคส่วน ดังนี้ ทางเลือกที่ 1:
ทางเลือกที่สามารถทําได้ในทันที
กฎหมาย:
กฎหมายและกฎระเบียบทีม่ อี ยูใ่ นปจั จุบนั มีหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบหลายหน่วยงาน
ขอบเขต:
ไม่ครอบคลุมทรัพยากรทรายในทีด่ นิ กรรมสิทธิ ์
ระยะเวลาทีใ่ ช้:
ระยะสัน้
สิง่ ทีต่ อ้ งทํา:
ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการให้มปี ระสิทธิภาพ ดังนี้ - ภารกิจ ของหน่ ว ยงาน ให้อํ า นาจองค์ก รปกครองส่ว นท้อ งถิ่น ในการติด ตาม ตรวจสอบ - ปรับปรุงระบบค่าตอบแทน/เงินประกันความเสียหาย และการจัดสรรเงินรายได้ เพือ่ การบริหารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
โครงการวางแผนการจัดการสิ ง่ แวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรทราย
39
- สนับสนุ นการมีส่วนร่วมของประชาชนและท้องถิน่ ในทุกขัน้ ตอนของการบริหาร จัดการทรัพยากรทราย ทางเลือกที่ 2: การบริ หารจัดการทรัพยากรทรายที่มีเอกภาพ กฎหมาย:
พระราชบัญญัตแิ ร่ พ.ศ. 2510 กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่
ขอบเขต:
ครอบคลุมทรัพยากรทรายทัง้ หมด (ในทีด่ นิ กรรมสิทธิ ์และในทีส่ าธารณะ)
ระยะเวลาทีใ่ ช้:
ระยะปานกลาง
สิง่ ทีต่ อ้ งทํา:
กําหนดให้ทรัพยากรทรายทุกชนิดเป็ นทรัพยากรแร่ โดยจะต้องทําการศึกษาเชิงลึกถึง ผลประโยชน์และผลกระทบทางลบของทางเลือกนี้เพือ่ ประกอบการตัดสินใจ
ทางเลือกที่ 3: : การบริ หารจัดการทรัพยากรทรายที่มีเอกภาพและเหมาะสม กฎหมาย:
พระราชบัญญัตแิ ร่ พ.ศ. 2510 กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่
ขอบเขต:
ครอบคลุมทรัพยากรทรายทัง้ หมด (ในทีด่ นิ กรรมสิทธิ ์และในทีส่ าธารณะ)
ระยะเวลาทีใ่ ช้:
ระยะปานกลาง-ระยะยาว
สิง่ ทีต่ อ้ งทํา:
กําหนดให้ทรัพยากรทรายทุกชนิดเป็ นทรัพยากรแร่ และออกกฎกระทรวงเฉพาะเพื่อ การจัดการทรัพยากรทรายทีเ่ หมาะสม โดยจะต้องทําการศึกษาในประเด็นดังนี้ - ผลประโยชน์และผลกระทบของการกําหนดทรายเป็ นแร่ต่อทุกภาคส่วนของสังคม - ศึกษาข้อจํากัดของกฎเกณฑ์ภายใต้พระราชบัญญัตแิ ร่ พ.ศ. 2510 ต่อการจัดการ ทรัพยากรทราย และให้ขอ้ เสนอแนะรูปแบบการจัดการทีเ่ หมาะสมต่อทรัพยากร ทราย อาทิ เงื่อนไขการขออนุ ญาต ขนาดแปลง อายุของใบอนุ ญาต เทคโนโลยี ค่าภาคหลวง เงินประกันความเสียหาย - ภารกิจของหน่วยงาน แต่งตัง้ เจ้าพนักงานท้องถิน่ การกระจายอํานาจการบริหาร จัด การไปสู่อ งค์ก รปกครองส่ว นท้อ งถิ่น เพื่อ เพิ่ม ประสิท ธิภ าพในการบริห าร จัดการ การควบคุมกํากับ การติดตามตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดล้อม และการมี ส่วนร่วมของประชาชนในทุกขัน้ ตอน
และเพือ่ ให้การบริหารจัดการทรัพยากรทรายเป็ นไปตามเป้าหมายของแผนการจัดการสิง่ แวดล้อม จากการใช้ทรัพยากรทราย และมีความสอดคล้องกับสถานการณ์ทเ่ี ป็ นปจั จุบนั จึงขอเสนอให้มกี ารปรับปรุง มาตรการและแนวทางปฏิบตั ทิ ุก 5 ปี โดยสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม กรมทรัพยากรธรณี กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ ร่วมกับผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝา่ ยและทุกระดับ