หมู่บ้านป่าไม้แผนใหม่

Page 1

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบา นปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ (ประเมินผลลัพธของการใชกรอบแนวคิดคนกับปาอยูรวมกันไดอยางกลมกลืน สมดุล และยั่งยืน)


การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

สารบัญ เรื่อง บทที่ 1 บทนํา 1.1 หลักการและเหตุผล 1.2 วัตถุประสงค 1.3 ขอบเขตการดําเนินงาน 1.4 วิธกี ารดําเนินงาน

1 1 2 2 3

บทที่ 2 ผลการติดตามและการประเมินผล 2.1 ผลการติดตามโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ 2.2 การประเมินผลโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ

4 4 25

บทที่ 3 ปญหา อุปสรรค สรุปผล และขอสังเกต ในการดําเนินการ และการติดตามประเมินผล 3.1 ปญหา อุปสรรคในการดําเนินการและการติดตามประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ 3.2 สรุปผลและขอสังเกตจากการติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ

29

บทที่ 4 ขอเสนอแนะในการดําเนินการและการติดตามประเมินผล 4.1 ขอเสนอแนะในการดําเนินการโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ 4.2 ขอเสนอแนะในการติดตามประเมินผลโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

29 31

33 33 35


1

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

บทที่ 1 บทนํา 1.1 หลักการและเหตุผล ชวงหลายทศวรรษที่ผานมา ประเทศไทยมีก าร พัฒนาเพื่อปรับตัวใหเขากับสังคมโลกมากขึ้น มีผลทําให นโยบายในการบริหารจัดการประเทศเปลี่ยนตามไปดวย มีการใชทรัพยากรธรรมชาติเปนฐานในการพัฒนาประเทศ เชน การตัดไมสงไปขายเพื่อไดเงินตราตางประเทศ รวมถึง สงเสริมการสงออกผลผลิตทางการเกษตร เพื่อตอบสนอง ตอความตองการของตลาดโลก ซึ่งทําใหมีการขยายพื้นที่ ในการเพาะปลูก พื ช เศรษฐกิจ ในพื้ น ที่ ป า ไม ทํ า ให ปา ไม ในประเทศลดลงอย า งรวดเร็ ว และส ง ผลกระทบต อ สภาพแวดลอมเปนอยางมาก จากป ญ หาความเสื่ อ มโทรมของทรั พ ยากร ปาไมดังกลาว นายกรัฐมนตรีจึงไดมอบหมายใหกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมซึ่งเปนหนวยงานหลัก ใ น ก า ร ส ง ว น อ นุ รั ก ษ ฟ น ฟู แ ล ะ ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ดําเนินการ ฟ น ฟู ท รั พ ยากรป า ไม โดยยึ ด แนวทางตามพระราชดํ า ริ ในพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ในการให ป ระชาชน รวมกลุมกันเปนหมูบานปาไม (แผนใหม) และมีสวนรวม ในการจั ด การป า ไม ด ว ยความร า เริ ง ใจไม ถู ก ขั บ ไล ใชประโยชนพื้นที่ที่อาศัยอยูอยางเหมาะสมและไมกอใหเกิด ป ญ หาในพื้ น ที่ แ ห ง อื่ น รวมถึ ง แนวพระราชดํ า ริ ส มเด็ จ พระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ไดแก แนวทางปารักน้ํา และบ า นเล็ ก ในป า ใหญ เพื่ อ แก ป ญ หาการอยู ร ว มกั น ระหวางคนกับปา ใหสามารถอยูรวมกันไดอยางกลมกลืน สมดุล และยั่งยืน ดั ง นั้ น กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่ ง แวดล อ ม จึ ง ได นํ า แนวพระราชดํ า ริ ดั ง กล า วมา จั ด ทํ า โครงการหมู บ า นป า ไม แ ผนใหม ตามแนว พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ 7 2 พ ร ร ษ า พระบรมราชินีนาถ เพื่อฟนฟูทรัพยากรปาไมใหกลับคืนสู

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ความอุดมสมบูรณ และประชาชนในพื้นที่ไดรับประโยชน อยางยั่งยืนจากการดูแลรักษาและใชประโยชนปาไมอยาง เหมาะสม และเปนการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 72 พรรษา ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการ โครงการฯ เมื่ อ วั น ที่ 27 กรกฎาคม 2547 และวั น ที่ 10 สิงหาคม 2547 โดยมีระยะเวลาดําเนินโครงการฯ 4 ป ในป พ.ศ. 2548-2551 พื้นที่ดําเนินการเปนหมูบานที่อยู ในเขตและติ ด เขตพื้ น ที่ ป า ไม ทุ ก แห ง จํ า นวน 10,866 หมูบาน ซึ่งเปนพื้นที่รับผิดชอบของกรมปาไม กรมอุทยาน แหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช และกรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝง แนวทางหลั ก ของการดํ า เนิ น งานโครงการ หมูบานปาไมแผนใหมฯ มีดังนี้ 1. เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร อ ม ข อ ง โ ค ร ง ก า ร แ ล ะ เจ า หน า ที่ รวมทั้ ง เตรี ย มความพร อ มของชุ ม ชน เช น การจั ดทํ าคู มื อแนวทางการดํ าเนิ นงานโครงการ จั ด ประชุ ม ชี้ แ จงโครงการจั ด ฝ ก อบรมสั ม มนาและศึ ก ษา ดูงานใหแกหมูบานเปาหมาย 2. เตรียมพื้นที่โดยการสํารวจ รังวัด และจัดทํา ขอบเขตที่ตั้งชุมชน การจัดผังหมูบาน โดยจําแนกเปน ที่อยู อาศัย ที่ดินทํากิน และพื้นที่ปาไมหมูบานใหชัดเจน 3. บ ริ ห า ร จั ด ก า ร พื้ น ที่ โ ด ย ป ร ะ ช า ช น มีสวนรวม และโดยการสนับสนุนจากภาครัฐ เชน การจัด องคกรในการบริหารจัดการปาไม การกําหนดกฎ ระเบียบ กติ ก า หรื อ ข อ ตกลงร ว มกั น ของประชาชนในหมู บ า น การพัฒนาอาชีพของประชาชน เปนตน 4. ติดตามและประเมินผล ทั้งนี้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไ ด ม อ บ ห ม า ย ใ ห สํ า นั ก ง า น น โ ย บ า ย แ ล ะ แ ผ น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ติดตามและประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ เพื่อประเมินผลลัพธของ

บทนํา


การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

การใชกรอบแนวคิดคนกับปาอยูรวมกันไดอยางกลมกลืน สมดุล และยั่งยืน โดยใชตัวชี้วัด ดังนี้ พื้นที่ปาไมเพิ่มขึ้น การสร า งงานและรายได เ พิ่ ม ขึ้ น มี เ ครื อ ข า ยอาสาสมั ค ร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมหมูบาน มีกฎ ระเบียบ ข อ ตกลงร ว มกั น และได รั บ การแนะนํ า ช ว ยเหลื อ และ สนับสนุนจากภาครัฐ สํ า หรั บการติ ด ตาม ประเมิ น ผล โครงการฯ ที่ นําเสนอในรายงานฉบับนี้ เปนการดําเนินการในเบื้องตน ในป ง บประมาณ พ.ศ. 2548 โดยการคั ด เลื อ กหมู บ า น ตัวอยาง ในภาคกลาง (ราชบุรี) ภาคใต (ตรัง) ภาคเหนือ (เชี ย งราย) ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ (เลย) และภาค ตะวั น ออก (จั น ทบุ รี แ ละตราด)และสํ า รวจสภาพพื้ น ที่ พร อ มทั้ ง สั ม ภาษณ ป ระชาชน เพื่ อ รั บ ทราบทั ศ นคติ วิเคราะหปญหาและอุปสรรคในการดําเนินการโครงการฯ และเสนอแนะแนวทางการดํ า เนิ น การโครงการฯ และ แนวทางติ ด ตามประเมิ น ผลโครงการฯ ในระยะต อ ไป

1.3 ขอบเขตการดําเนินงาน 1.3.1 ระยะเวลาดําเนินการ ปงบประมาณ พ.ศ. 2548 1.3.2 พื้ น ที่ ดํ า เนิ น การ ดํ า เนิ น การสุ ม สํ า รวจ สภาพพื้ น ที่ แ ละสอบถามความคิ ด เห็ น ของประชาชนใน หมูบานตัวอยาง ประกอบดวย - ภาคกลาง ได แ ก บ า นเขาปากกว า ง ตํ า บล ธรรมเสน อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี - ภาคใต ไดแก บานทุงไพร-นายอดทอง ตําบล วังวน อํา เภอกัน ตัง จั งหวัดตรัง บ านบางคางคาว ตํ า บล เขาไมแกว อําเภอสิเกา จังหวัดตรัง บานทุงสมปอย ตําบล

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2

นอกจากนั้น ยังเปนการพัฒนาตัวชี้วัดในการประเมินผลลัพธ ของโครงการฯ ใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 1.2 วัตถุประสงค 1.2.1 เพื่อวิเคราะหป ญหาและอุปสรรคในการ ดําเนินโครงการฯ และการติดตามประเมินผลโครงการฯ 1.2.2 เพื่ อ ให ข อ เสนอแนะในการดํ า เนิ น การ โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ และขอเสนอแนะในการ ติดตามประเมินผลโครงการ ฯ ในระยะตอไป 1.2.3 เพื่ อ เป น แนวทางในการกํ า หนดตั ว ชี้ วั ด สําหรับการประเมินผลลัพธของการใชกรอบแนวคิดคนกับ ปาอยูรวมกันไดอยางกลมกลืน สมดุล และยั่งยืน และสราง ระบบการติดตาม ประเมินผลโครงการหมูบานปาไมแผน ใหมฯ ใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ละมอ อําเภอนาโยง จังหวัดตรัง และบานทอนนาหมู ตําบล ทุงยาว อําเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง - ภาคเหนือ ไดแก บานศรีปาซาง ตําบลทาสุด อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด เชี ย งราย บ า นหั ว ฝาย ตํ า บลบ า นดู อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย และบานอาไฮ ตําบลเทอดไทย อําเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย - ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ได แ ก บ า นใหม พั ฒ นา บ า นปากหมาก บ า นแก ง ม ว ง ตํ า บลศรี ส องรั ก อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด เลย บ า นแก ง ม ว งและบ า นนาน อ ย ตําบลทาศาลา อําเภอภูเรือ จังหวัดเลย และบานแกงเกลี้ยง ตําบลลาดคาง อําเภอภูเรือ จังหวัดเลย

บทนํา


การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

- ภาคตะวั น ออก ที่ จั ง หวั ด จั น ทบุ รี แ ละตราด ไดแก บานคลองพอก ตําบลทับชาง อําเภอสอยดาว จังหวัด จั น ทบุ รี และบ า นสลั ก เพชรเหนื อ ตํ า บลเกาะช า งใต กิ่งอําเภอเกาะชาง จังหวัดตราด 1.3.3 ใชการสัมภาษณ (interview guide) การ สัมภาษณกึ่งโครงสราง (semi-structured interviews) และการสังเกตการณ (observation) เปนเครื่องมือในการ ติดตามประเมินผล

3

อุปสรรคในการดูแลรักษาทรัพยากรปาไม และขอเสนอแนะ ในการดู แ ลรั ก ษาทรั พ ยากรป า ไม วิ เ คราะห ข อ มู ล โดย วิธีการพรรณนา (descriptive analysis) 2) วิ เ คราะห ป ญ หาและอุ ป สรรค เพื่ อ ให ข อ เสนอแนะในการดํ า เนิ น การโครงการหมู บ า นป า ไม แผนใหมฯ ตลอดจนวิเ คราะหห าแนวทางในการติดตาม ประเมินผลโครงการฯ ในระยะตอไป

1.4 วิธีการดําเนินงาน 1.4.1 การเตรียมการศึกษา 1) รวบรวมขอมูลหมูบาน และการดําเนินงาน ของโครงการในเบื้องตน จากหนวยงานที่รับโครงการไป ปฏิบัติ ไดแก กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพื ช กรมปาไม และกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง 2) ศึกษา วิเคราะหขอมูลหมูบาน ประกอบ กั บ การแนะนํ า ของเจ า หน า ที่ ที่ รั บ ผิ ด ชอบ แล ว พิ จ ารณา คัดเลือกหมูบานตัวอยางในการติดตาม ประเมินผล 3) กํ า หนดขอบเขตและเนื้ อ หาของแบบ สั ม ภาษณ แล ว สร า งแบบสั ม ภาษณ เ พื่ อ ติ ด ตามการ ดํ า เนิ น การโครงการฯ ซึ่ ง ประกอบด ว ย ข อ มู ล ทั่ ว ไปของ ประชากร ขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพและการใชประโยชน จากป า ไม ข อ มู ล ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ การอนุ รั ก ษ ทรั พ ยากรป า ไม ข อ มู ล การมี ส ว นร ว มในการอนุ รั ก ษ ทรั พ ยากรป า ไม ป ญ หาและอุ ป สรรคในการดู แ ลรั ก ษา ทรั พ ยากรป า ไม และข อ เสนอแนะในการดู แ ลรั ก ษา ทรัพยากรปาไม 1.4.2 การเก็บรวมรวมขอมูล สํานักงานฯ ดําเนินการสํารวจสภาพพื้นที่และ ใช แ บบสั ม ภาษณ เ ก็ บ ข อ มู ล จากหมู บ า นตั ว อย า ง โดยใช วิธีการสุมตามความเหมาะสม ขณะเก็บรวบรวมขอมูล 1.4.3 การประมวลผลและวิเคราะหขอมูล 1) ประมวลผลที่ ไ ด จ ากการรวบรวมข อ มู ล โดยนํ า แบบสั ม ภาษณ ทั้ ง หมด ลงรหั ส ข อ มู ล และ ประมวลผลทางสถิ ติ ด ว ยคอมพิ ว เตอร โ ดยใช โ ปรแกรม สํ า เร็ จ รู ป ทางสถิ ติ เพื่ อ หาค า เฉลี่ ย เลขคณิ ต (mean) คาสูงสุด คาต่ําสุด และคารอยละ (percentage) สําหรับ ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง รวมถึงใชวิธีการวิเคราะหแบบ วั ด ระดั บ การมี ส ว นร ว มของกลุ ม ตั ว อย า งในการอนุ รั ก ษ ทรัพยากรปาไม สวนคําถามปลายเปด ที่มีทั้งปญหาและ

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

บทนํา


4

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

บทที่ 2 ผลการติดตามและการประเมินผล โครงการหมู บ า นป า ไม แ ผนใหม ฯ มี แ ผนการ ดํ า เนิ น งานในชุ ม ชนที่ อ ยู ใ นเขตป า บกและป า ชายเลน ซึ่งลักษณะทางกายภาพของทั้งสองชุมชนมีความแตกตางกัน กิจกรรมตาง ๆ ในการจัดการทรัพยากรปาไม จึงมีความ แตกต า งกั น ด ว ย การนํ า เสนอผลการติ ด ตามโครงการ หมู บ า นป า ไม แ ผนใหม ฯ ในครั้ ง นี้ จึ ง แบ ง การศึ ก ษา ออกเปน 2 ส ว น คื อชุ ม ชนปา บก และชุ ม ชนป า ชายเลน สําหรับการประเมินผลโครงการหมูบ านปาไมแผนใหมฯ เปนการนําเสนอการประเมินผลเฉพาะโครงการที่ไดดําเนิน โครงการหมู บ า นป า ไม แ ผนใหม ฯ ไปแล ว คื อ โครงการ หมูบานปาชายเลนแผนใหมฯ หมูบานทุงไพร-นายอดทอง ต.วังวน อ.กันตัง จ.ตรัง

หมูบาน บานเขาปากกวาง บานทอนนาหมู บานทุงสมปอย บานศรีปาซาง บานหัวฝาย บานอาไฮ บานใหมพัฒนา บานปากหมาก บานนานอย บานแกงมวง บานแกงเกลี้ยง บานคลองพอก บานสลักเพชรเหนือ

ตําบล ธรรมเสน ทุงยาว ละมอ ทาสุด บานดู เทอดไทย ศรีสองรัก ศรีสองรัก ทาศาลา ทาศาลา ลาดคาง ทับชาง เกาะชาง

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2.1 ผลการติดตามโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ ในการติ ด ตามประเมิ น ผลนี้ ไ ด แ ยกการศึ ก ษา ออกเปน 2 กลุมพื้นที่ปาเนื่องจากความแตกตางของชุมชม ในแตละระบบนิเวศ จึงมีผลกับการบริหารจัดการที่แตกตาง กัน คือ แยกเปนชุมชนปาบก และชุมชนปาชายเลน 2.1.1 ชุมชนปาบก การติดตามโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ ได ศึกษาและสํารวจพื้นที่ชุมชนที่อาศัยอยูบริเวณปาบก ซึ่งอยูใน เขตและติดเขตปาสงวนแหงชาติ อุทยานแหงชาติ และเขต รักษาพันธุสัตวปา ซึ่งอยูในความรับผิดชอบของกรมปาไม และกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช โดยมีพื้นที่ ศึกษา ตาง ๆ ดังนี้

อําเภอ โพธาราม ปะเหลียน นาโยง เมือง เมือง แมฟาหลวง เมือง เมือง ภูเรือ ภูเรือ ภูเรือ สอยดาว กิ่งอําเภอเกาะชาง

จังหวัด ราชบุรี ตรัง ตรัง เชียงราย เชียงราย เชียงราย เลย เลย เลย เลย เลย จันทบุรี ตราด ผลการติดตามและประเมินผล


5

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

ผลการศึกษาสามารถสรุปไดดังนี้ สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง สว นที่ 2 ข อมูล สถานภาพและการใชประโยชน จากทรัพยากรปาไม สวนที่ 3 ขอมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับการอนุรักษ ทรัพยากรปาไม ส ว นที่ 4 ข อ มู ล การมี ส ว นร ว มในการอนุ รั ก ษ ทรัพยากรปาไม สวนที่ 5 ประโยชนของการดูแล รักษาทรัพยากร ปาไม สวนที่ 6 ปญหาและอุปสรรคในการดูแล รักษา ทรัพยากรปาไม ส ว นที่ 7 ข อ เสนอแนะในการดู แ ล รั ก ษา ทรัพยากรปาไม สว นที่ 8 ข อมู ล เกี่ ย วกั บ โครงการหมู บา นปา ไม แผนใหมฯ

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง จากการศึกษากลุมตัวอยางทั้งหมด 209 ตัวอยาง พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ (รอยละ 67.0) เปนเพศชาย อายุ เ ฉลี่ ย ของกลุ ม ตั ว อย า ง คื อ 46 ป โดยมี ช ว งอายุ อ ยู ระหวา ง 41-60 ป คิดเปน รอ ยละ 48.3 กลุม ตัวอยา ง สว นใหญเ กิ ด ในชุ ม ชน คิด เป น รอ ยละ 68.4 และนั บ ถื อ ศาสนาพุทธมากที่สุด คิดเปนรอยละ 86.6 กลุมตัวอยาง ส ว นใหญ (ร อ ยละ 59.9) มี ก ารศึ ก ษาอยู ใ นระดั บ ประถมศึกษา รอยละ 62.7 ของกลุมตัวอยางมีสมาชิกใน ครัวเรือน 4-6 คน ทั้งนี้ กลุมตัวอยางสวนใหญ รอยละ 65.5 มีอาชีพหลักคือเกษตรกรรม และสวนใหญ (รอยละ 61.8) ไม มี อ าชี พ รอง กลุ ม ตั ว อย า งส ว นใหญ มี ร ายได ไ ม เ กิ น 5,000 บาทตอเดือน คิดเปนรอยละ 66.1 กลุมตัวอยาง สวนใหญมีที่ดินทํากิน คิดเปนรอยละ 85.2 โดยมีที่ดินทํา กินอยูระหวาง 1-10 ไร มากที่สุด (รอยละ 78.4) ซึ่งที่ดิน ทํ า กิ น ส ว นใหญ ไ ม มี เ อกสารสิ ท ธิ์ คิ ด เป น ร อ ยละ 52.1 ของกลุมตัวอยางทั้งหมด นอกจากนี้ กลุมตัวอยางสวนใหญ (รอยละ 85.6) มีหนี้สิน ซึ่งกลุมตัวอยางที่มีหนี้สิน กูเงิน มาจากกองทุ น หมู บ า นมากที่ สุ ด คิ ด เป น ร อ ยละ 47.0 รายละเอียดดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง เพศ ชาย หญิง รวม อายุ 20-41 41-60 61 ปขนึ้ ไป

จํานวน (ราย)

รอยละ

140 69 209

67.0 33.0 100.0

79 101 30 รวม 209 หมายเหตุ : อายุมากที่สุด 80 ป อายุนอยที่สุด 20 ป อายุเฉลี่ย 45.8 ป

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

37.3 48.3 14.4 100.0

ผลการติดตามและประเมินผล


6

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง จํานวน (ราย) รอยละ ศาสนา 181 86.6 พุทธ อิสลาม 5 2.4 คริสต 21 10.0 อื่น ๆ (ระบุ) 2 1.0 รวม 209 100.0 หมายเหตุ : อื่น ๆ คือ นับถือสิ่งเหนือธรรมชาติ (ผีสาง , เทวดา) ระดับการศึกษา 18 8.6 ไมไดเรียน 125 59.9 ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน 37 17.7 มัธยมศึกษาตอนปลาย 18 8.6 ปริญญาตรี 8 3.8 อื่น ๆ 3 1.4 รวม 209 100.0 จํานวนสมาชิกในครัวเรือน 58 27.8 1-3 คน 4-6 คน 131 62.7 7-9 คน 17 8.1 10 คนขึน้ ไป 3 1.4 รวม 209 100.0 อาชีพหลัก(แหลงที่มาของรายไดหลัก) เกษตรกรรม 137 65.5 คาขาย 16 7.7 รับจาง 33 15.8 รับราชการ 4 1.9 อื่น ๆ 19 9.1 รวม 209 100.0 หมายเหตุ : อื่น ๆ คือ กิจการของครัวเรือน , ลูกสงมาให , ทําจักสาน , เปนครูอาสา ,เปนผูใหญบาน , เปน ส.อ.บ.ต. อาชีพรอง(แหลงที่มาของรายไดรอง) ไมมี 129 61.8 เกษตรกรรม 31 14.8 คาขาย 4 1.9 รับจาง 30 14.4 รับราชการ 7 3.3 อื่น ๆ 8 3.8 รวม 209 100.0 หมายเหตุ : อื่น ๆ คือ ตัดหวายขาย , ขายสลากกินแบงรัฐบาล , เปนเลขนายก อบต. กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ผลการติดตามและประเมินผล


7

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง จํานวน (ราย) รายไดรวม 138 ไมเกิน 5,000 บาท 5,001-10,000 บาท 40 10,001-15,000 บาท 15 15,001-20,000 บาท 3 20,001-25,000 บาท 5 25,000 ขึ้นไป 8 รวม 209 หมายเหตุ : รายไดเฉลี่ยประมาณ 6,410 บาทตอเดือน ภูมิลําเนาเดิม เกิดในหมูบาน 143 ยายมาจากที่อื่น 66 รวม 209 ที่ดินทํากิน 31 ไมมี มี 178 รวม 209 ขนาดที่ดินถือครอง 31 ไมมีที่ดินถือครอง มีที่ดิน 1-10 ไร 101 มีที่ดิน 11-20 ไร 36 มีที่ดิน 21 ไรขนึ้ ไป 41 รวม 209 หมายเหตุ : มีที่ดินถือครองเฉลี่ย 24.2 ไร เอกสารสิทธิ์ที่ดิน ไมมีเอกสารสิทธิ์ 93 ภบท.5 26 สปก. 17 สค.1 1 นส.3 6 โฉนด 35 รวม 178 หนี้สิน 30 ไมมี 179 มี รวม 209

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

รอยละ 66.1 19.1 7.2 1.4 2.4 3.8 100.0

68.4 31.6 100.0 14.8 85.2 100.0 14.8 48.4 17.2 19.6 100.0

52.1 14.6 9.6 0.6 3.4 19.7 100.0 14.4 85.6 100.0

ผลการติดตามและประเมินผล


8

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง แหลงเงินกู กองทุนหมูบาน

จํานวน (ราย)

รอยละ

84

47.0

นายทุน ธกส. กลุมออมทรัพย ญาติพี่นอง เพื่อนบาน ธนาคารพาณิชย อื่น ๆ

11 6.1 51 28.5 12 6.7 6 3.4 4 2.2 4 2.2 7 3.9 รวม 179 100.0 หมายเหตุ : อื่น ๆ คือ สหกรณตางตําบล, สหกรณอําเภอ, สหกรณจังหวัด, สหกรณโค, เงินนอกระบบ ส ว น ที่ 2 ข อ มู ล ส ถ า น ภ า พ แ ล ะ ก า ร ใ ช ประโยชนจากปาไม จากการศึ ก ษากลุ ม ตั ว อย า งทั้ ง หมด (209 ตัวอยาง) พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญอาศัยอยูนอกเขตปา (ป า สงวนแห ง ชาติ อุ ท ยานแห ง ชาติ และเขตรั ก ษาพั น ธุ สัต ว ป า ) คิ ดเป น ร อ ยละ 92.8 โดยมีร ะยะทางจากที่ พั ก อาศัยถึงเขตปาประมาณ 3.19 กิโลเมตร กลุมตัวอยางสวนใหญ (รอยละ 30.1) มีรายได จากการใชประโยชนจากปาของชุมชนนอยลง เมื่อเทียบกับ ชว ง 10 ป ที่ผา นมา อาจเนื่องมาจาก ปจจุบัน ประชาชน มีท างเลือ กในการประกอบอาชีพ มากขึ้ น รวมถึง ภาครั ฐ มีความเขมงวดมากขึ้น จึงทําใหโอกาสเขาไปใชประโยชน จากปามีนอยลง ทั้งนี้ กลุมตัวอยางสวนใหญเห็นวาสภาพปา ของชุม ชนที่เ คยอุด มสมบูร ณ เ สื่อมโทรมลง เนื่องมาจาก

การบุ ก รุ ก พื้ น ที่ เ พื่ อ ทํ า การเกษตร คิ ด เป น ร อ ยละ 29.7 แตอยางไรก็ตาม กลุมตัวอยางสวนใหญยังคิดวาสภาพปา บริเวณชุมชนในปจจุบันนั้น มีความอุดมสมบูรณดี คิดเปน รอยละ 44.5 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการแปลงสินทรัพยใหเปนทุน กลุมตัวอยางสวนใหญเห็นดวยกับการนําพื้นที่ปาของชุมชน เปนหลักทรัพยกับสถาบันการเงิน หรือธนาคาร เพื่อนําเงิน มาพัฒนาชุมชน คิดเปนรอยละ 72.2 โดยมีเหตุผล ดังนี้ - มีเงินมาพัฒนาหมูบาน และสนับสนุนกิจกรรม การอนุรักษปาไม - เพื่อเปนแรงจูงใจใหชุมชนอนุรักษปาไม อยาง จริงจังมากขึ้น รายละเอียดดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 ขอมูลสถานภาพและการใชประโยชนจากปาไม ขอมูลสถานภาพและการใช ประโยชนจากปาไม ที่พักอาศัยอยูในเขตปาชุมชนหรือไม ไมใช ใช รวม

จํานวน (ราย)

194 15 209

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

รอยละ

92.8 7.2 100.0

ผลการติดตามและประเมินผล


9

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

ขอมูลสถานภาพและการใช จํานวน (ราย) รอยละ ประโยชนจากปาไม ระยะทางจากทีพ ่ ักอาศัยของทานถึงเขตปาชุมชน หาง 1-5 กิโลเมตร 175 90.3 หาง 6-10 กิโลเมตร 14 7.2 หาง 11-15 กิโลเมตร 1 0.5 หาง 16-20 กิโลเมตร 2 1.0 หาง 21-25 กิโลเมตร 1 0.5 หาง 26-30 กิโลเมตร 1 0.5 รวม 194 100.0 รายไดของครอบครัวที่ไดประโยชนจากปาไมเมื่อ 10 ปที่ผานมาเมื่อเทียบกับปจจุบัน ปจจุบันมีรายไดนอยลงกวาเดิม 63 30.1 มีรายไดเทาเดิม 62 29.7 ปจจุบันมีรายไดมากขึ้นกวาเดิม 45 21.5 อื่น ๆ 39 18.7 รวม 209 100.0 หมายเหตุ : อื่น ๆ หมายถึง ไมเคยมีรายไดจากการใชประโยชนจากปาไม สาเหตุสําคัญทีส่ ุดที่ทําใหปาไมเสื่อมโทรม การทําการเกษตรกรรม 62 29.7 การตัดไมของประชาชน 57 27.3 สัมปทาน 25 12.0 การขยายพื้นที่อยูอาศัย 30 14.4 การปรับสภาพเปนแหลงทองเที่ยว 14 6.7 อื่น ๆ 21 10. รวม 209 100.0 หมายเหตุ : อื่น ๆ หมายถึง มีความคิดเห็นวาปาไมไมไดเสื่อมโทรมลง, นายทุนบุกรุก, ไฟปา ปจจุบันสภาพปาไมของชุมชนเปนอยางไร 30 14.4 เสื่อมโทรม ไมเปลี่ยนแปลง 86 41.1 อุดมสมบูรณ 93 44.5 รวม 209 100.0 การนําพื้นที่ปาบริเวณของชุมชนเปนหลักทรัพยในการกูเงินจากสถาบันการเงินเพื่อนํามาพัฒนาหมูบาน ทานเห็นดวยหรือไม ไมเห็นดวย 58 27.8 เห็นดวย 151 72.2 รวม 209 100.0

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ผลการติดตามและประเมินผล


10

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

จากการศึ ก ษากลุ ม ตั ว อย า งทั้ ง หมด (209 ตัวอยาง) เรื่องทัศนคติเกี่ยวกับสถานภาพทรัพยากรปาไม พบวา แมวากลุมตัวอยางสวนใหญ (รอยละ 44.5) คิดวา สภาพปาบริเวณชุมชนในปจจุบันนั้น มีความอุดมสมบูรณดี แต ก ลุ ม ตั ว อย า งส ว นใหญ (ร อ ยละ 40.2) ก็ ยั ง มี ความคิดเห็นวาสภาพปาของชุมชนในปจจุบันมีความอุดม สมบูรณนอยกวาชวง 10 ปที่ผานมา และมีความคิดเห็นวา จํานวนและชนิดสัตวปา รวมถึงจํานวนและชนิดพรรณพืช ในปจจุบัน มีน อยกวา ชว ง 10 ปที่ผา นมา คิด เปน รอยละ 50.3 และ 38.8 ตามลําดับ รายละเอียดดังตารางที่ 3 เรื่องการใชประโยชนจากปาไมของชุมชน พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ (รอยละ 51.7) ใชประโยชนจากปา เพื่อเปนอาหาร และสรางรายไดมากที่สุด รองลงมาเพื่อ สรางบานเรือน รอยละ 52.6 เพื่อเปนยารักษาโรค รอยละ 51.7 เพื่ อ เป น พลั ง งาน ร อ ยละ 49.3 เพื่ อ เป น แหล ง พักผอนหยอนใจ รอยละ 46.9 เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวเชิง

อนุรักษ และปองกันลมพายุ คิดเปนรอยละ 35.9 เทากัน เพื่ อ ป อ งกั น การกั ด เซาะพั ง ทลายของดิ น คิ ด เป น ร อ ยละ 34.0 และเพื่อเปนแหลงศึกษาเรียนรู คิดเปนรอยละ 30.1 รายละเอียดดังตารางที่ 4 ส ว นเรื่ อ งกลุ ม องค ก รที่ ดู แ ลป า ไม พบว า กลุ ม ตัวอยางทั้งหมด (209 ตัวอยาง) ตอบวา ในชุมชนมีกลุม องคกรตาง ๆ รวมกันดูแลปาไม โดยเฉพาะภาคประชาชน และผูนําชุมชน เขารวมคิดเปนรอยละ 100.0 และ 92.3 ตามลําดับ เจาหนาที่ปาไมเขามามีสวนรวม คิดเปนรอยละ 71.8 องคการบริหารสวนตําบลเขามามีสวนรวม คิดเปน รอยละ 67.9 สวนองคกรพัฒนาเอกชน (NGOs) พัฒ นา ชุมชน และบุคลากรสถาบันการศึกษา ยังเขามามีสวนรวม ไมมากนัก คิดเปนรอยละ 17.2 , 12.4 และ 12.0 ตามลําดับ รายละเอียดดังตารางที่ 5

ตารางที่ 3 ทัศนคติเกี่ยวกับสถานภาพทรัพยากรปาไม

ทัศนคติเกี่ยวกับ สถานภาพทรัพยากรปาไม สภาพปาไมเมื่อ 10 ป ที่ผานมาเมื่อเปรียบเทียบกับ ปจจุบัน จํานวนและชนิดสัตวปาเมื่อ 10 ปที่ผานมาเมื่อเทียบกับ ปจจุบัน จํานวนและชนิดพรรณพืชเมื่อ 10 ปที่ผานมาเมื่อเทียบกับ ปจจุบัน

ปจจุบัน มีนอยลงกวาเดิม จํานวน รอยละ

ปจจุบันมีเทาเดิม จํานวน

รอยละ

ปจจุบัน มีมากขึ้นกวาเดิม จํานวน รอยละ

อื่น ๆ

รวม (รอยละ)

จํานวน รอยละ

84

40.2

47

22.5

76

36.4

2

1.0

209 (100.0)

105

50.3

33

15.8

64

30.6

7

3.3

209 (100.0)

81

38.8

50

23.9

75

35.9

3

1.4

209 (100.0)

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ผลการติดตามและประเมินผล


11

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

ตารางที่ 4 การใชประโยชนทรัพยากรปาไม ไมไดประโยชน จํานวน รอยละ 106 50.7 99 47.4 101 48.3 84 40.2 111 53.1 138 66.0 134 64.1 134 64.1 146 69.9

การใชประโยชนทรัพยากรปาไม เพื่อใชเปนเชื้อเพลิง เพื่อใชสรางบานเรือน เพื่อใชทํายารักษาโรค เพื่อใชเปนอาหาร และสรางรายได เพื่อเปนแหลงพักผอนหยอนใจ เพื่อชวยปองกันการกัดเซาะพังทลายของดิน เพื่อชวยปองกันลมพายุ เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษ เพื่อเปนแหลงศึกษาเรียนรู

ไดประโยชน จํานวน รอยละ 103 49.3 110 52.6 108 51.7 125 59.8 98 46.9 71 34.0 75 35.9 75 35.9 63 30.1

รวม (รอยละ) 209 (100.0) 209 (100.0) 209 (100.0) 209 (100.0) 209 (100.0) 209 (100.0) 209 (100.0) 209 (100.0) 209 (100.0)

ตารางที่ 5 การมีสวนรวมของภาคสวนตาง ๆ ในการอนุรักษทรัพยากรปาไม การมีสวนรวมของภาคสวนตาง ๆ ในการอนุรักษทรัพยากรปาไม ประชาชนในหมูบาน กํานัน/ผูใหญบาน องคการบริหารสวนตําบล องคกรพัฒนาเอกชน (NGOs) เจาหนาที่ปาไม เจาหนาที่พัฒนาชุมชน บุคลากรสถาบันการศึกษา บุคคลอื่น ๆ

ไมมี

มี รวม (รอยละ)

จํานวน 0 16 67 173 59 183 184 205

ส ว นที่ 3 ข อ มู ล ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ การ อนุรักษทรัพยากรปาไม จากการศึ ก ษา พบว า กลุ ม ตั ว อย า งส ว นใหญ มี ทั ศ นคติ ที่ ดี ใ นการอนุ รั ก ษ ท รั พ ยากรป า ไม โดยกลุ ม ตัวอยางทั้งหมด (รอยละ 100.0) มีความเห็นวาภาครัฐ ควรใหชุมชนทองถิ่นเขามามีสวนรวมในการอนุรักษปาไม และ รอยละ 92.8 ของกลุมตัวอยางคิดวาควรมีการปลูกปา สม่ําเสมอ นอกจากนี้ พบวา กลุมตัวอยางมีความเขาใจมาก พอสมควรเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรปาไม ดังคําถาม กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

รอยละ 0.0 7.7 32.1 82.8 28.2 87.6 88.0 98.1

จํานวน 209 193 142 36 150 26 25 4

รอยละ 100.0 92.3 67.9 17.2 71.8 12.4 12.0 1.9

209 (100.0) 209 (100.0) 209 (100.0) 209 (100.0) 209 (100.0) 209 (100.0) 209 (100.0) 209 (100.0)

ที่วา การอนุรักษปาไม หมายถึง การหามใชประโยชนจาก ป า ไม กลุ ม ตั ว อย า งตอบว า ไม เ ห็ น ด ว ย คิ ด เป น ร อ ยละ 71.3 ซึ่งหมายความวา กลุมตัวอยางสวนใหญเขาใจวาการ อนุรักษปาไม ไมหามการใชประโยชน แตตองมีกฎเกณฑ การใชประโยชนที่เหมาะสม กลุมตัวอยาง รอยละ 51.2 ไมเห็นดวยกับคําถาม ที่วา การอนุรั กษ ปา ไม จะไดผ ลก็ ตอเมื่อ มีเ งิน สนับ สนุ น เท า นั้ น ซึ่ ง หมายความว า กลุ ม ตั ว อย า งเข า ใจว า การ อนุ รั ก ษ ป า ไม แม ไ ม มี มี เ งิ น สนั บ สนุ น ก็ ส ามารถที่ จ ะ ดําเนินการได ผลการติดตามและประเมินผล


12

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

อยางไรก็ตาม กลุ ม ตัวอยา ง รอยละ 51.2 เห็น ดวยกับคําถามที่วา การอนุรักษปาไมทําไดโดยการปลูกปา เท า นั้ น ซึ่ ง หมายความว า กลุ ม ตั ว อย า งส ว นใหญ ยั ง ไม เขาใจว า การอนุรักษปา ไมทํา ไดหลายวิธี การดูแลรัก ษา การใชประโยชนอยางสมดุลและเหมาะสมตามความจําเปน พื้นฐาน ก็เปนวิธีการอนุรักษเชนเดียวกัน รายละเอียดดัง ตารางที่ 6 สวนที่ 4 ขอมูลการมี สว นรวมในการอนุรัก ษ ทรัพยากรปาไม ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ (รอยละ 53.1) มีสวนรวมในการเขารวมประชุมรับฟงคําชี้แจงจาก ทางราชการเรื่องปาไมมากที่สุด กลุมตัวอยางรอยละ 48.8

เขารวมปลูกและดูแลปาไม รอยละ 46.0 ของกลุมตัวอยาง ใหความรูและแนะนําเด็กในชุมชนใหเห็นคุณคาของปาไม รอยละ 36.8 ของกลุมตัวอยางเขารวมฝกอบรมในกิจกรรม ที่ เ กี่ ย วกั บ การอนุ รั ก ษ ป า ไม นอกจากนี้ ร ว มกํ า หนด กฎเกณฑ ใ นการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรป า ไม ร อ ยละ 36.4 รวมตรวจตราและเฝาระวังการลักลอบทําลายปาไม รอยละ 35.9 รวมเสนอความคิดเห็นเรื่องที่เกี่ยวกับปาไม ในที่ประชุม คิดเปนรอยละ 26.8 รวมบริจาคเงินสนับสนุน เพื่อกิจกรรมการอนุรักษปาไม รอยละ 22.0 รวมเตรียม กลาไมสําหรับปลูกปา รอยละ 20.1 และรวมไปดูกิจกรรม การอนุ รั ก ษ ป า ไม ใ นพื้ น ที่ อื่ น ๆ คิ ด เป น ร อ ยละ 13.9 รายละเอียดดังตารางที่ 7

ตารางที่ 6 ขอมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรปาไม

ความคิดเห็นเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรปาไม

ไมเห็นดวย (รอยละ)

เห็นดวย (รอยละ)

รวม (รอยละ)

ภาครัฐควรใหชุมชนเขามารวมในการปองกัน ดูแลรักษา ฟนฟูและใชประโยชนจากปาไม การอนุรักษปาไมทําไดโดยการปลูกปาเทานั้น

0 (0.0)

209 (100.0)

209 (100.0)

102 (48.8)

107 (51.2)

209 (100.0)

ควรปลูกปาเพิ่มเติมสม่ําเสมอ

194 (92.8)

15 (7.2)

209 (100.0)

การอนุรักษปาไม หมายถึง การหามใชประโยชนจากปาไม

149 (71.3)

60 (28.7)

209 (100.0)

การอนุรักษปาไม จะไดผลก็ตอเมื่อมีเงินสนับสนุนเทานั้น

107 (51.2)

102 (48.8)

209 (100.0)

ตารางที่ 7 ขอมูลการมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรปาไม การมีสวนรวม ในการอนุรักษทรัพยากรปาไม

เขารวม ทุกครั้ง

ประชุมและรับฟงคําชี้แจงจากทางราชการ ในเรื่องที่ 111 (53.1) เกี่ยวการอนุรักษทรัพยากรปาไม ปลูกและดูแลพื้นที่ปาไม 102 (48.8) บริจาคเงินสนับสนุนสําหรับการบริหารจัดการ 46 (22.0) ทรัพยากรปาไม

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

เขารวม บางครั้ง

ไมเคย เขารวม

รวม

82 (39.2)

16 (7.7)

209 (100.0)

82 (39.2)

25 (12.0) 209 (100.0)

88 (42.1)

75 (35.9) 209 (100.0)

ผลการติดตามและประเมินผล


13

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

การมีสวนรวม ในการอนุรักษทรัพยากรปาไม กําหนดกฎเกณฑ ในการบริหารจัดการ และ การใชประโยชนทรัพยากรปาไม ใหความรูและแนะนําเยาวชนในชุมชน ใหเห็นความสําคัญของปาไม เตรียมกลาไมสําหรับปลูกปา แสดงความคิดเห็นในที่ประชุม ในเรื่องที่ เกี่ยวกับปาไม ตรวจตราและเฝาระวังการบุกรุกทําลายปาไม เขารวมฝกอบรมในกิจกรรมที่เกี่ยวกับการ อนุรักษปาไม ดูกิจกรรมการอนุรักษปาไมในพื้นที่อื่น ๆ

เขารวม ทุกครั้ง

เขารวม บางครั้ง

ไมเคย เขารวม

76 (36.4)

69 (33.0)

64 (30.6) 209 (100.0)

96 (46.0)

91 (43.5)

22 (10.5) 209 (100.0)

42 (20.1)

46 (22.0)

121 (57.9) 209 (100.0)

56 (26.8)

83 (39.7)

70 (33.5) 209 (100.0)

75 (35.9)

86 (41.1)

48 (23.0) 209 (100.0)

77 (36.8)

62 (29.7)

70 (33.5) 209 (100.0)

29 (13.9)

68 (32.5)

112 (53.6) 209 (100.0)

ส ว น ที่ 5 ป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ก า ร ดู แ ล รั ก ษ า ทรัพยากรปาไม จากการสอบถามความคิ ด เห็ น ของประชาชนใน ทุกๆภาค ทั่วประเทศ เกี่ยวกับประโยชนที่ประชาชนคิดวา จะไดรับจากการดูแล รักษาทรัพยากรปาไม สามารถสรุป ไดดังนี้ - ทําใหทรัพยากรปาไมมีความอุดมสมบูรณ และ มีสัตวปาเพิ่มขึ้น - ชวยทําใหฝนตกตองตามฤดูกาล และเปนแหลง กัก เก็บน้ํา ทําใหมีน้ําใชส ม่ําเสมอ ทั้งน้ํ า อุปโภค บริโภค รวมถึงน้ําใชในการเกษตร ทําใหมีผลผลิตทางการเกษตรดีขึ้น - เกิดความชุมชื้น ทําใหสภาพแวดลอมในชุมชน ดีขึ้น - มี ไ ม ใ ช ส อย และเป น แหล ง อาหาร สมุ น ไพร รวมถึงเปนแหลงรายไดเสริมใหกับชุมชน - ในอนาคตลูกหลาน จะไดมีไมไวใชประโยชน - ปองกันการเกิดน้ําทวม และดินถลม - เป น แหล ง ท อ งเที่ ย ว และแหล ง ศึ ก ษาทาง ธรรมชาติที่ดีสําหรับเยาวชน หรือบุคคลสนใจทั่วไป

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

รวม

สวนที่ 6 ปญหาและอุปสรรค ในการดูแลรักษา ทรัพยากรปาไม จากการสอบถามความคิดเห็นของประชาชนใน ทุ ก ๆ ภาค ทั่ ว ประเทศ เกี่ ย วกั บ ป ญ หา และอุ ป สรรคที่ ประชาชนคิดวาจะสงผลตอการดูแล รักษาทรัพยากรปาไม สามารถสรุปไดดังนี้ - ประชาชนยังไมเขาใจ วาโครงการหมูบานปาไม แผนใหม ฯ มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ อะไร และชุ ม ชนจะได ประโยชนอยางไรบาง - เกิ ด ภั ย ธรรมชาติ (ไฟป า ) ทํ า ให ป า ไ ม ถูกทําลาย - ขาดแคลน บุ ค ลากร วั ส ดุ อุ ป กรณ รวมถึ ง งบประมาณในการจัดการปาไม - ประชาชนบางสวน ยังขาดความรูความเขาใจใน การอนุรักษ จึงใหความสําคัญกับกิจกรรมการอนุรักษปาไม ไมมากที่ควร - เนื่องจากขาดความมั่นใจในสิทธิที่ดินทํากินของ ตนเอง ว า อาจจะต อ งสู ญ เสี ย ไปเพื่ อ ขยายพื้ น ที่ ป า จึ ง ไม เต็มใจที่จะใหความรวมมือกับทางหนวยงานราชการมากนัก - ยังมีการลักลอบบุกรุกพื้นที่ปา เพื่อขยายที่อยู อาศัย และพื้นที่ทํากิน - เยาวชนไมสนใจ เขารวมกิจกรรมการอนุรักษ ปาไม ผลการติดตามและประเมินผล


การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

- ขาดกลาไมในการปลูกปา - การดํ า เนิ น งานใด ๆ ของภาครั ฐ ขาดความ ตอเนื่อง ทําใหประชาชนคิดวาหนวยงานรัฐขาดความจริงใจ จึงทําใหการดําเนินงานตาง ๆ ไมไดรับความรวมมือจาก ประชาชนมากนัก - นายทุนกวานซื้อที่ดิน และบุกรุกพื้นที่เพิ่ม - บางชุ ม ชนไม ส ามารถหาพื้ น ที่ ว า งเปล า เพื่ อ ปลูกปาของชุมชนได สวนที่ 7 ขอเสนอแนะการดูแลรักษาทรัพยากร ปาไม และความตองการใหรัฐชวยเหลือสนับสนุน จากการสอบถามความคิดเห็นของประชาชนใน ทุก ๆ ภาค ทั่วประเทศ เกี่ยวกับขอเสนอแนะในการดูแล รักษาทรัพยากรปาไม สามารถสรุปไดดังนี้ - ควรแบงเขตพื้นที่หมูบาน และพื้นที่สาธารณะ พรอมทั้งจัดทําปายแนวเขตใหชัดเจน - ภาครั ฐ ควรส ง เสริ ม จั ด สรรงบประมาณ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ ต า ง ๆ ที่ มี ส ว นช ว ยในกิ จ กรรมการ อนุ รั ก ษ ป า ไม รวมทั้ ง จั ด เตรี ย มกล า ไม เพื่ อ สนั บ สนุ น สงเสริมกิจกรรมการปลูกปา - เจ า หน า ที่ ที่ รั บ ผิ ด ชอบควรเข า ไปแนะนํ า ให ความรูแกประชาชน ในการดูแลรักษาปาไม รวมทั้งสราง จิตสํานึกในการอนุรักษปาไม - ประชาชนตองมีความสามัคคีในการดูแลรักษา ปาใหมากขึ้น - ควรสงเสริมใหมีการจัดตั้งกลุมอนุรักษปาไมใน ชุมชน - มี ก ฎเกณฑ การใช ประโยชน ป า ไม ที่ ผา นการ เห็นชอบของประชาชนภายในชุมชน เพื่อสรางความเขาใจ รวมกันในการอนุรักษปาไม - ควรสอดแทรกวิชาเรียนเกี่ยวกับการอนุรักษปาไม เพื่ อ ส ง เสริ ม ให เ ยาวชนเกิ ด จิ ต สํ า นึ ก ในการอนุ รั ก ษ ทรัพยากรปาไม - สงเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการปลูกปาอยาง สม่ําเสมอ โดยเฉพาะในพื้นที่รกรางวางเปลา และพื้นที่ปาไม ที่เสื่อมโทรม - เจ า หน า ที่รั ฐ ควรมีค วามจริ งใจที่ จะชว ยเหลื อ ประชาชนใหมากขึ้น - เจาหนาที่รัฐรวมกับประชาชนหาวิธีการปองกัน การเกิดไฟปา กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

14

สําหรับความตองการของประชาชนในการใหรัฐ ชวยเหลือสนับสนุนเรื่องตาง ๆ มีดังนี้ - ออกเอกสารสิ ท ธิ์ ที่ดิ น ทํ า กิ น เพื่ อ สร า งความ มั่นใจในการประกอบอาชีพใหกับประชาชน - จัดหาแหลงน้ํา ใหกับชุมชน เชน สนับสนุนการ ขุดสระใหกับชุมชน - พัฒนาระบบสาธารณูปโภคตาง ๆ เชน ไฟฟา ประปา ถนนลาดยาง - จัดสรรงบประมาณ เพื่อดําเนินกิจกรรมพัฒนา หมูบาน - สงเสริม และสนับสนุน อาชีพเสริมใหกับชุมชน เชน ใหความชวยเหลือกลุมแมบานที่ผลิตสินคา OTOP โดย การหาตลาดรองรับสินคาที่แนนอน เปนตน - ไมควรใหคนตางพื้นที่เขามาประกอบอาชีพใน ชุ ม ชนมากเกิ น ไป เพราะส ง ผลกระทบต อ การประกอบ อาชีพของคนในทองถิ่น - สนับสนุนทุนการศึกษาใหกับเยาวชนในชุมชน - จัด ทํา แปลงพัน ธุ พื ช สมุ น ไพรโดยเฉพาะ เพื่ อ เปนทั้งแหลงเรียนรู และแหลงยารักษาโรค - ควรอนุญาตใหตัดไมยืนตนที่ปลูกในพื้นที่ทํากิน ของประชาชนเองได เพราะไม ไ ด เ ป น การทํ า ลายป า แตอยางใด - รั ฐ ควรมี ห ลั ก ประกั น ราคาผลผลิ ต ทาง การเกษตรใหกับประชาชน สวนที่ 8 ขอมูลเกี่ยวกับโครงการหมูบานปาไม แผนใหมฯ จากการศึ ก ษากลุ ม ตั ว อย า งทั้ ง หมด (209 ตั ว อย า ง) กลุ ม ตั ว อย า งส ว นใหญ ไ ม เ คยได ยิ น และ ไม เ คยรู จั ก โครงการหมู บ า นป า ไม แ ผนใหม ฯ มาก อ น คิด เปน รอยละ 59.3 แต กลุม ตัวอยางสว นใหญ (รอยละ 93.8) ยังเห็นดวยกับการมีโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ เนื่องจากคิดวาโครงการที่รัฐจะดําเนินการ เปนสิ่งที่ดี แตจะ ประสบผลสํ า เร็ จ หรื อ ไม นั้ น ต อ งติ ด ตามดู ผ ลการ ดําเนินงานตอไป โดยกลุ ม ตั ว อย า งมี เ หตุ ผ ลกั บ การเห็ น ด ว ยกั บ โครงการหมู บ า นป า ไม แ ผนใหม ฯ เพราะคาดว า ถ า มี โครงการจะทําใหไดประโยชนดังนี้ - ประชาชนมีความรูความเขาใจ ในความสําคัญ และเกิดจิตสํานึกรักปาไมมากขึ้น ผลการติดตามและประเมินผล


15

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

- ความอุดมสมบูรณของปาไมจะมีมากขึ้น - มี แ หล ง กั ก เก็ บ น้ํ า ทํ า ให มี น้ํ า ในแหล ง น้ํ า ใชตลอดป - มีแหลงอาหาร และรายไดเสริมสําหรับชุมชน - มี ก ารจ า งงาน เช น การจ า งปลู ก ป า ทํ า ให ประชาชนมีรายไดเสริม - มี ก ฎเกณฑ ก ารดู แ ล รั ก ษา รวมถึ ง การใช ประโยชนปาไม ชัดเจนมากยิ่งขึ้น - มี การแบงเขตป า อนุรักษ ปา เพื่อใชประโยชน และที่อยูอาศัย อยางชัดเจน

- ทําใหชุมชนสามารถอยูรวมกับปาได โดยปาไม ถูกทําลาย โดยกลุม ตั วอยา งเกือบทั้ งหมด (รอยละ 83.7) คิดวาโครงการหมูบานปาไมจะชวยทําใหสิ่งแวดลอมดีขึ้น กลุ ม ตั ว อย า งร อ ยละ 67.0 คิ ด ว า จะช ว ยทํ า ให ชี วิ ต ความเป นอยู ดี ขึ้ น ร อ ยละ 58.9 คิ ด ว า ช ว ยให ก ารบุ ก รุ ก ปาไมลดนอยลง และรอยละ 26.8 คิดวาจะทําใหประชาชน มีรายไดเพิ่มมากขึ้น รายละเอียดดังตารางที่ 8

ตารางที่ 8 ขอมูลเกี่ยวกับโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ ขอมูลเกี่ยวกับโครงการ จํานวน (ราย) รอยละ หมูบานปาไมแผนใหมฯ ทานเคยไดยินโครงการหมูบานแผนใหมหรือไม ไมเคย 124 59.3 เคย 85 40.7 รวม 209 100.0 ทานคิดวาโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯมีประโยชนหรือไม ไมมีประโยชน 9 4.3 มีประโยชน 200 95.7 รวม 209 100.0 ทานคิดวาโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ มีประโยชนชวยทําใหการบุกรุกปาไมลดนอยลง ไมมีประโยชน 9 4.3 ไมเห็นดวย 77 58.9 เห็นดวย 123 95.7 รวม 209 100.0 ทานคิดวาโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ มีประโยชนชวยทําใหสิ่งแวดลอมดีขึ้น ไมมีประโยชน 9 4.3 ไมเห็นดวย 25 12.0 เห็นดวย 175 83.7 รวม 209 100.0 ทานคิดวาโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ มีประโยชนชวยทําใหชีวิตความเปนอยูดีขึ้น ไมมีประโยชน 9 4.3 ไมเห็นดวย 60 28.7 เห็นดวย 140 67.0 รวม 209 100.0

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ผลการติดตามและประเมินผล


16

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

ขอมูลเกี่ยวกับโครงการ จํานวน (ราย) รอยละ หมูบานปาไมแผนใหมฯ ทานคิดวาโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ มีประโยชนชวยทําใหมีรายไดเพิ่มขึ้น ไมมีประโยชน 9 4.3 ไมเห็นดวย 144 68.9 เห็นดวย 56 26.8 รวม 209 100.0

2.1.2 ชุมชนปาชายเลน การติดตามโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ ชุ มชนที่ อาศั ยอยู บริ เวณป าชายเลน ซึ่ งอยู ในความ รับผิดชอบของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง มี พื้นที่ศึกษา ตาง ๆ ดังนี้ หมูบาน ตําบล อําเภอ จังหวัด บานทุงไพรวังวน กันตัง ตรัง นายอดทอง บานบางคางคาว เขาไมแกว สิเกา ตรัง สามารถสรุปผลการศึกษาไดดังนี้ สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง สว นที่ 2 ข อมูล สถานภาพและการใชประโยชน จากทรัพยากรปาชายเลน สวนที่ 3 ขอมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับการอนุรักษ ทรัพยากรปาชายเลน ส ว นที่ 4 ข อ มู ล การมี ส ว นร ว มในการอนุ รั ก ษ ทรัพยากรปาชายเลน สวนที่ 5 ประโยชนของการดูแล รักษาทรัพยากร ปาชายเลน สวนที่ 6 ปญหาและอุปสรรคในการดูแล รักษา ทรัพยากรปาชายเลน ส ว นที่ 7 ข อ เสนอแนะในการดู แ ล รั ก ษา ทรัพยากรปาชายเลน สวนที่ 8 ขอมูลเกี่ยวกับตัวชี้วัดโครงการหมูบาน ปาชายเลนแผนใหม

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ก ลุ ม ตั ว อ ย า ง ทั้ ง ห ม ด ( 50 ตัวอยาง) พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศชายรอยละ 64.0 มีอายุเฉลี่ย 46 ป และมีชวงอายุ 41-60 ป คิดเปน รอยละ 58.0 กลุมตัวอยางทั้งหมด (รอยละ 100.0) เกิด ในชุ ม ชน ซึ่ ง ส ว นใหญ (ร อ ยละ 86.0) นั บ ถื อ ศาสนา อิสลาม รอยละ 64.0 ของกลุมตัวอยางศึกษาอยูในระดับ ประถมศึกษา ทั้งนี้ มีสมาชิกในครัวเรือน 4-6 คน คิดเปน รอยละ 70.0 กลุมตัวอยางมีอาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม ร อยละ 46.0 และส วนใหญ ไม มี อาชี พรอง คิ ดเป นร อยละ 78.0 ทั้งนี้ รอยละ 52.0 ของกลุมตัวอยางมีรายไดไมเกิน 5,000 บาท/เดือน ส วนใหญมีที่ดินทํากิน คิดเปนรอยละ 76.0 โดยมี ที่ ดิ น ทํ า กิ น อยู ร ะหว า ง 1-10 ไร มากที่ สุ ด และกลุมตัวอยางที่มีที่ดิน ทํากิน สวนใหญ มีเอกสารสิทธิ์ ประเภทโฉนด คิดเปนรอยละ 44.8 ซึ่งกลุมตัวอยางสวนใหญ (ร อ ยละ 74.0) มี ห นี้ สิ น โดยแหล ง เงิ น กู ที่ สํ า คั ญ คื อ กองทุ น หมู บ า น คิ ด เป น ร อ ยละ 40.0 รายละเอี ย ดดั ง ตารางที่ 1

ผลการติดตามและประเมินผล


17

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

ตารางที่ 1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง จํานวน (ราย) เพศ ชาย 32 หญิง 18 รวม 50 อายุ 20-41 16 29 41-60 61 ปขนึ้ ไป 5 รวม 50 หมายเหตุ : อายุมากที่สุด 80 ป อายุนอยที่สุด 20 ป อายุเฉลี่ย 45.8 ป ศาสนา 7 พุทธ อิสลาม รวม ระดับการศึกษา ไมไดเรียน ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย ปริญญาตรี รวม จํานวนสมาชิกในครัวเรือน 1-3 คน 4-6 คน 7-9 คน 10 คนขึน้ ไป รวม อาชีพหลัก(แหลงที่มาของรายไดหลัก) ประมงพื้นบาน เกษตรกรรม คาขาย รับจาง รับราชการ อื่น ๆ รวม หมายเหตุ : อื่น ๆ คือ เปนนักศึกษา กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

รอยละ 64.0 36.0 100.0 32.0 58.0 10.0 100.0

14.0

43 50

64.0 100.0

5 32 5 7 1 50

10.0 64.0 10.0 14.0 2.0 100.0

10 35 5 0 50

20.0 70.0 10.0 0.0 100.0

14 23 7 4 1 1 50

28.0 46.0 14.0 8.0 2.0 2.0 100.0

ผลการติดตามและประเมินผล


18

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง จํานวน (ราย) อาชีพรอง(แหลงที่มาของรายไดรอง) ไมมี 39 ประมงพื้นบาน 1 เกษตรกรรม 2 คาขาย 3 รับจาง 1 รับราชการ 4 รวม 50 รายไดรวม 26 ไมเกิน 5,000 บาท 5,001-10,000 บาท 14 10,001-15,000 บาท 8 15,001-20,000 บาท 1 20,001-25,000 บาท 1 25,000 ขึ้นไป 0 รวม 50 หมายเหตุ : รายไดเฉลี่ยประมาณ 6,636 บาทตอเดือน ภูมิลําเนาเดิม เกิดในหมูบาน 50 ยายมาจากที่อื่น 0 รวม 50 ที่ดินทํากิน 12 ไมมี มี 38 รวม 50 ขนาดที่ดินถือครอง มีที่ดิน 1-10 ไร 22 มีที่ดิน 11-20 ไร 11 มีที่ดิน 21 ไรขนึ้ ไป 5 รวม 50 หมายเหตุ : มีที่ดินถือครองเฉลี่ย 24.2 ไร

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

รอยละ 78.0 2.0 4.0 6.0 2.0 8.0 100.0 52.0 28.0 16.0 2.0 2.0 0.0 100.0

100.0 0.0 100.0 24.0 76.0 100.0 57.9 28.9 13.2 100.0

ผลการติดตามและประเมินผล


19

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง เอกสารสิทธิ์ที่ดิน ไมมีเอกสารสิทธิ์ ภบท.5 สค.1 นส.3 โฉนด รวม หนี้สิน ไมมี มี รวม แหลงเงินกู ไมมีหนี้สิน กองทุนหมูบาน นายทุน ธกส. กลุมออมทรัพย ญาติพี่นอง เพื่อนบาน ธนาคารพาณิชย รวม

จํานวน (ราย)

รอยละ

4 13 3 1 17 50

10.5 34.2 7.9 2.6 44.8 100.0

13 37 50

26.0 74.0 100.0

13 20 1 10 2 2 1 1 50

26.0 40.0 2.0 20.0 4.0 4.0 2.0 2.0 100.0

ส ว น ที่ 2 ข อ มู ล ส ถ า น ภ า พ แ ล ะ ก า ร ใ ช ประโยชนจากปาชายเลน จากกา รศึ ก ษากลุ ม ตั วอย า งทั้ ง หม ด (5 0 ตัว อยา ง) พบวา กลุมตัวอย างสว นใหญ (รอยละ 90.0) อาศัยอยูนอกเขตปา (ปาสงวนแหงชาติ อุทยานแหงชาติ และเขตรักษาพันธุสัตวปา) โดยมีระยะทางจากที่พักอาศัย ถึงเขตปาประมาณ 1.48 กิโลเมตร กลุมตัวอยางสวนใหญ (รอยละ 28.0) มีรายได จากการใชประโยชนจากปาของชุมชนนอยลง เมื่อเทียบกับ ชวง 10 ปที่ผานมา อาจเนื่องมาจาก ปจจุบันประชาชนมี ทางเลื อ กในการประกอบอาชี พ มากขึ้ น ทํ า ให ไ ด ใ ช ประโยชน จ ากป า ชายเลนไม ม ากนั ก ประกอบกั บ ทาง ภาครั ฐ มี ค วามเข ม งวดมากขึ้ น จึ ง ทํ า ให โ อกาสเข า ไปใช ประโยชนจากปาชายเลนนอยลงตามไปดวย กลุมตัวอยาง ส ว นใหญ คิ ด ว า สภาพป า ของชุ ม ชนที่ เ คยอุ ด มสมบู ร ณ เสื่อมโทรมลง เนื่องมาจากสัมปทาน คิดเปนรอยละ 58.0 กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

และกลุมตัวอยางสวนใหญคิดวาสภาพปาบริเวณชุมชนใน ปจจุบันมีความอุดมสมบูรณดี คิดเปนรอยละ 88.0 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการแปลงสินทรัพยใหเปนทุน กลุมตัวอยางสวนใหญเห็นดวยกับการนําพื้นที่ปาของชุมชน เปนหลักทรัพยกับสถาบันการเงิน หรือธนาคาร เพื่อนําเงิน มาพัฒนาชุมชน คิดเปนรอยละ 56.0 โดยมีเหตุผล ดังนี้ - มีเงินเพื่อพัฒนาหมูบานมากขึ้น - เป น การสร า งแรงจู ง ใจให ป ระชาชน ร ว มกั น อนุรักษปาชายเลนมากขึ้น รายละเอียดดังตารางที่ 2

ผลการติดตามและประเมินผล


20

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

ตารางที่ 2 ขอมูลสถานภาพและการใชประโยชนจากปาชายเลน ขอมูลสถานภาพและการใช จํานวน (ราย) ประโยชนจากปาชายเลน ที่พักอาศัยอยูในเขตปาชุมชนหรือไม ไมใช 45 ใช 5 รวม 50 ระยะทางจากทีพ ่ ักอาศัยของทานถึงเขตปาชุมชน หาง 1-5 กิโลเมตร 44 หาง 6-10 กิโลเมตร 1 รวม 50

รอยละ

90.0 10.0 100.0 97.8 2.2 100.0

รายไดของครอบครัวที่ไดประโยชนจากปาชายเลนเมื่อ 10 ปทผี่ านมาเมื่อเทียบกับปจจุบัน ปจจุบันมีรายไดนอยลงกวาเดิม มีรายไดเทาเดิม ปจจุบันมีรายไดมากขึ้นกวาเดิม อื่น ๆ รวม

14 13 12 11 50

28.0 26.0 24.0 22.0 100.0

หมายเหตุ : อื่น ๆ หมายถึง ไมเคยใชประโยชนจากปาชายเลน สาเหตุสําคัญทีส่ ุดที่ทําใหปาชายเลนเสื่อมโทรม การทําการเกษตรกรรม 15 30.0 สัมปทาน 29 58.0 การปรับสภาพเปนแหลงทองเที่ยว 6 12.0 รวม 50 100.0 ปจจุบันสภาพปาชายเลนของชุมชนเปนอยางไร 4 8.0 เสื่อมโทรม ไมเปลี่ยนแปลง 2 4.0 อุดมสมบูรณ 44 12.0 รวม 50 100.0 การนําพื้นที่ปาบริเวณของชุมชนเปนหลักทรัพยในการกูเงินจากสถาบันการเงินเพื่อนํามาพัฒนาหมูบาน ทานเห็นดวย หรือไม ไมเห็นดวย 22 44.0 เห็นดวย 28 56.0 รวม 50 100.0

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ผลการติดตามและประเมินผล


21

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

จากการศึกษากลุมตัวอยางทั้งหมด (50 ตัวอยาง) เรื่องทัศนคติเกี่ยวกับสถานภาพทรัพยากรปาชายเลน พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีความคิดเห็นวาสภาพปาของชุมชน ในปจจุบันมีความอุดมสมบูรณมากกวาชวง 10 ปที่ผานมา คิดเปนรอยละ 82.0 และมีความคิดเห็นวาจํานวนและชนิด สั ต ว ป า รวมถึ ง จํ า นวนและชนิ ด พรรณพื ช ในป จ จุ บั น มี มากกว า ช ว ง 10 ป ที่ ผ า นมา คิ ด เป น ร อ ยละ 54.0 และ 72.0 ตามลําดับ รายละเอียดดังตารางที่ 3 เรื่องการใชป ระโยชนจากปา ชายเลนของชุม ชน พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ (รอยละ 86.0) ใชประโยชน จากปาชายเลนเพื่อเปน อาหารและสรางรายไดมากที่สุด รองลงมา เพื่อสรางบานเรือน คิดเปนรอยละ 60.0 เพื่อ เปนยารักษาโรค คิดเปนรอยละ 48.0 เพื่อเปนพลังงาน คิดเปนรอยละ 46.0 เพื่อเปนแหลงพักผอนหยอนใจ และ เป น แหล ง ศึ ก ษาเรี ย นรู คิ ด เป น ร อ ยละ 42.0 เท า กั น ปองกันลมพายุ และปองกัน การกั ดเซาะพังทลายของดิน คิดเปนรอยละ 2.0 เทากัน รายละเอียดดังตารางที่ 4

ส ว นเรื่ อ งกลุ ม องค ก รที่ ดู แ ลป า ชายเลน พบว า กลุ ม ตั ว อย า งทั้ ง หมด (50 ตั ว อย า ง) ตอบว า ในชุ ม ชน มีกลุมองค ก รตา ง ๆ รว มกัน ดูแลปา ชายเลน โดยเฉพาะ ภาคประชาชน และผูนําชุมชน เขารวมคิดเปนรอยละ 100.0 เทากัน องคการบริหารสวนตําบลเขารวมดวยคิดเปนรอยละ 72.0 เจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการปาชายเลน เขามามีสวนรวมคิดเปนรอยละ 66.0 องคกรพัฒนาเอกชน (NGOs) มีสวนรวม คิดเปนรอยละ 42.0 สวนพัฒนาชุมชน เข า มามี ส ว นร ว มน อ ยมาก คิ ด เป น ร อ ยละ 2.0 ส ว น บุ ค ลากรจากสถาบั น การศึ ก ษา ยั ง ไม มี ส ว นร ว มในการ อนุรักษทรัพยากรปาชายเลน รายละเอียดดังตารางที่ 5

ตารางที่ 3 ทัศนคติเกี่ยวกับสถานภาพทรัพยากรปาชายเลน ทัศนคติเกี่ยวกับ ปจจุบัน สถานภาพทรัพยากร มีนอยลงกวาเดิม ปาชายเลน จํานวน รอยละ สภาพปาชายเลนเมื่อ 10 ป 9 18.0 ที่ผานมาเมื่อเปรียบเทียบกับปจจุบัน จํานวนและชนิดสัตวปาเมื่อ10 ปที่ 19 38.0 ผานมาเมื่อเทียบกับปจจุบัน จํานวนและชนิดพรรณพืชเมื่อ 10 ป 11 22.0 ที่ผานมาเมื่อเทียบกับปจจุบัน

ปจจุบันมีเทาเดิม

ปจจุบัน มีมากขึ้นกวาเดิม จํานวน รอยละ

รวม (รอยละ)

จํานวน

รอยละ

0

0.0

41

82.0

50 (100.0)

4

8.0

27

54.0

50 (100.0)

3

6.0

36

72.0

50 (100.0)

ตารางที่ 4 การใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลน

การใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลน เพื่อใชเปนเชื้อเพลิง เพื่อใชสรางบานเรือน เพื่อใชทํายารักษาโรค เพื่อใชเปนอาหารและสรางรายได เพื่อเปนแหลงพักผอนหยอนใจ

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ไมไดประโยชน จํานวน รอยละ 27 54.0 20 40.0 26 52.0 7 14.0 29 58.0

ไดประโยชน จํานวน รอยละ 23 46.0 30 60.0 24 48.0 43 86.0 21 42.0

รวม (รอยละ) 50 (100.0) 50 (100.0) 50 (100.0) 50 (100.0) 50 (100.0)

ผลการติดตามและประเมินผล


22

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

การใชประโยชนทรัพยากรปาชายเลน เพื่อชวยปองกันการกัดเซาะพังทลายของดิน เพื่อชวยปองกันลมพายุ เพื่อเปนแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษ เพื่อเปนแหลงศึกษาเรียนรู

ไมไดประโยชน จํานวน รอยละ 49 98.0 49 98.0 50 100.0 29 58.0

ไดประโยชน จํานวน รอยละ 1 2.0 1 2.0 0 0.0 21 42.0

รวม (รอยละ) 50 (100.0) 50 (100.0) 50 (100.0) 50 (100.0)

ตารางที่ 5 การมีสวนรวมของภาคสวนตาง ๆ ในการอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน การมีสวนรวมของภาคสวนตาง ๆ ในการอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน ประชาชนในหมูบาน กํานัน/ผูใหญบาน องคการบริหารสวนตําบล องคกรพัฒนาเอกชน (NGOs) เจาหนาที่ปาชายเลน เจาหนาที่พัฒนาชุมชน บุคลากรสถาบันการศึกษา บุคคลอื่น ๆ ส ว นที่ 3 ข อ มู ล ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ การ อนุรักษทรัพยากรปาชายเลน ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีความ เข าใจเรื่ องการอนุ รั กษ ทรั พยากรป า ชายเลนเป น อย า งดี ดังเชน กลุมตัวอยางทั้งหมด (50 ตัวอยาง) คิดวาภาครัฐ ควรใหชุมชนทองถิ่นเขามามีสวนรวมในการอนุรักษปาชายเลน และคิดวาควรมีการปลูกปาสม่ําเสมอ คิดเปนรอยละ 96.0 กลุมตัวอยางมีความเขาใจมากพอสมควรในการ อนุรักษทรัพยากรปาชายเลน ดังคําถามที่วา การอนุรักษ ปาชายเลน หมายถึง การหามใชประโยชนจากปาชายเลน กลุมตัวอยางตอบวา ไมเห็นดวย คิดเปนรอยละ 78.0 ซึ่ง หมายความวา กลุมตัวอยางเขาใจวาการอนุรักษปาชายเลน ไมหามการใชประโยชน แตตองมีกฎเกณฑ และขอปฏิบัติ รวมกันในการใชประโยชน กลุ ม ตั ว อย า งไม เ ห็ น ด ว ย กั บ คํ า ถามที่ ว า การ อนุรักษปาชายเลนจะไดผลก็ตอเมื่อมีเงินสนับสนุนเทานั้น คิดเปนรอยละ 78.0 ซึ่งหมายความวา กลุมตัวอยางเขาใจวา การอนุรั กษ ป าชายเลน แมไมมีเ งิน สนับสนุน ก็ส ามารถ ที่จะดําเนินการได กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ไมมี จํานวน 0 0 14 29 17 49 0 41

มี รอยละ 0.0 0.0 28.0 58.0 34.0 98.0 0.0 82.0

จํานวน 50 50 36 21 33 1 50 9

รอยละ 100.0 100.0 72.0 42.0 66.0 2.0 100.0 18.0

รวม (รอยละ) 50 (100.0) 50 (100.0) 50 (100.0) 50 (100.0) 50 (100.0) 50 (100.0) 50 (100.0) 50 (100.0)

นอกจากนั้น กลุมตัวอยางไมเห็นดวยกับคําถาม ที่วา การอนุรักษปาชายเลนทําไดโดยการปลูกปาเทานั้น คิ ด เป น ร อ ยละ 64.0 ซึ่ ง หมายความว า กลุ ม ตั ว อย า ง ส ว นใหญ เ ข า ใจว า การอนุ รั ก ษ ป า ชายเลนทํ า ได ห ลายวิ ธี การดูแลรักษา การใชประโยชนอยางสมดุลและเหมาะสม ตามความจําเปนพื้นฐาน ก็เปนวิธีการอนุรักษเชนเดียวกัน รายละเอียดดังตารางที่ 6 สวนที่ 4 ขอมูลการมี สวนรวมในการอนุรัก ษ ทรัพยากรปาชายเลน จากการศึกษากลุมตัวอยางทั้งหมด 50 ตัวอยาง กลุมตัวอยางสวนใหญ (รอยละ 62.0) มีสวนรวมในการ เขารวมปลูกและดูแลปาชายเลนมากที่สุด กลุมตัวอยาง รอยละ 54.0 เขารวมประชุมรับฟงคําชี้แจงจากทางราชการเรื่องที่ เกี่ยวกับปาชายเลน กลุมตัวอยางรวมกําหนดกฎเกณฑใน การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรป า ชายเลน ให ค วามรู แ ละ แนะนําเด็กในชุมชนใหเห็นคุณคาของปาชายเลน และรวม เตรียมกลาไมสําหรับปลูกปา คิดเปนรอยละ 42.0 เทา ๆ กัน เขารวมฝกอบรมในกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอนุรักษปาชายเลน ผลการติดตามและประเมินผล


23

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

คิดเปนรอยละ 40.0 รวมไปดูกิจกรรมการอนุรักษปาชาย เลนในพื้นที่อื่น ๆ คิดเปนรอยละ 32.0 รวมตรวจตราและ เฝาระวังการลักลอบทําลายปาชายเลน และรวมเสนอความ คิดเห็นเรื่องที่เกี่ยวกับปาชายเลนในที่ประชุม คิดเปนรอยละ 30.0 เทา กัน และสุดทา ย รว มบริจาคเงิน สนับสนุ นเพื่อ

กิ จ กรรมการอนุ รั ก ษ ป า ชายเลน คิ ด เป น ร อ ยละ 10.0 รายละเอียดดังตารางที่ 7

ตารางที่ 6 ขอมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน ความคิดเห็นเกี่ยวกับการอนุรักษ ทรัพยากรปาชายเลน ภาครัฐควรใหชุมชนเขามารวมในการปองกัน ดูแลรักษา ฟนฟู และใชประโยชนจากปาชายเลน การอนุรักษปาชายเลนทําไดโดยการปลูกปาเทานั้น

ไมเห็นดวย

เห็นดวย

รวม

0 (0.0)

50 (100.0)

50 (100.0)

32 (64.0)

18 (36.0)

50 (100.0)

2 (4.0)

48 (96.0)

50 (100.0)

39 (78.0)

11 (22.0)

50 (100.0)

39 (78.0)

11 (22.0)

50 (100.0)

ควรปลูกปาเพิ่มเติมสม่ําเสมอ การอนุรักษปาชายเลน หมายถึง การหามใชประโยชน จากปาชายเลน การอนุรักษปาชายเลน จะไดผลก็ตอเมื่อมีเงินสนับสนุนเทานัน้

ตารางที่ 7 ขอมูลการมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน การมีสวนรวม ในการอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน

เขารวม ทุกครั้ง

เขารวม บางครั้ง

ไมเคย เขารวม

รวม

27 (54.0)

18 (36.0)

5 (10.0)

50 (100.0)

3 (6.0)

16 (32.0)

31 (62.0)

50 (100.0)

33 (66.0)

12 (24.0)

5 (10.0)

50 (100.0)

13 (26.0)

16 (32.0)

21 (42.0)

50 (100.0)

10 (20.0)

19 (38.0)

21 (42.0)

50 (100.0)

10 (20.0)

19 (38.0)

21 (42.0)

50 (100.0)

แสดงความคิดเห็นในที่ประชุม ในเรื่องที่เกี่ยวกับปาชายเลน

11 (22.0)

24 (48.0)

15 (30.0)

50 (100.0)

ตรวจตราและเฝาระวังการบุกรุกทําลายปาชายเลน

11 (22.0)

24 (48.0)

15 (30.0)

50 (100.0)

เขารวมฝกอบรม ในกิจกรรมที่เกี่ยวกับการอนุรักษปาชายเลน

9 (18.0)

21 (42.0)

20 (40.0)

50 (100.0)

ดูกิจกรรมการอนุรักษปาชายเลนในพื้นที่อื่น ๆ

16 (32.0)

18 (36.0)

16 (32.0)

50 (100.0)

ประชุมและรับฟงคําชี้แจงจากทางราชการ ในเรื่องที่เกี่ยวการ อนุรักษทรัพยากรปาชายเลน ปลูกและดูแลพื้นที่ปาชายเลน บริจาคเงินสนับสนุนสําหรับการบริหารจัดการทรัพยากร ปาชายเลน กําหนดกฎเกณฑ ในการบริหารจัดการ และการใช ประโยชนทรัพยากรปาชายเลน ใหความรูและแนะนําเยาวชนในชุมชน ใหเห็นความสําคัญ ของปาชายเลน เตรียมกลาไมสําหรับปลูกปา

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ผลการติดตามและประเมินผล


การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

ส ว น ที่ 5 ป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ก า ร ดู แ ล รั ก ษ า ทรัพยากรปาชายเลน จากการสอบถามความคิ ด เห็ น ของประชาชน เกี่ยวกับประโยชนที่ประชาชนคิดวาจะไดรับจากการดูแล รักษาทรัพยากรปาชายเลน สามารถสรุปไดดังนี้ - ทรัพยากรปาชายเลนอุดมสมบูรณมากขึ้น และ ทําใหมีสัตวน้ําเพิ่มขึ้น - ช ว ยทํ า ให ฝ นตกตอ งตามฤดู ก าล และยั ง เป น แหลงกักเก็บน้ํา ทําใหมีน้ําในแหลงน้ําใชสม่ําเสมอ รวมถึง มีน้ําใชในการทําการเกษตร - ทําใหสภาพแวดลอมในชุมชนดีขึ้น - มีไมใชสอย และมีของปา เพื่อเปนทั้งอาหาร ยา สมุนไพร และยังเปนแหลงเพิ่มรายไดเสริมใหกับชุมชน - ปองกันการเกิดน้ําทวม และดินถลม - เพื่อเปนแหลงทองเที่ยว และแหล งศึ กษาทาง ธรรมชาติสําหรับเยาวชน และบุคคลทั่วไป สวนที่ 6 ปญหาและอุปสรรค ในการดูแลรักษา ทรัพยากรปาชายเลน จากการสอบถามความคิ ด เห็ น ของประชาชน เกี่ยวกับปญหาและอุปสรรคที่ประชาชนคิดวามีผลตอการ ดูแล รักษาทรัพยากรปาชายเลน สามารถสรุปไดดังนี้ - ประชาชนมี ค วามคิ ด เห็ น ในเรื่ อ งการจั ด การ ทรัพยากรปาชายเลนไมตรงกัน สงผลใหความสามัคคีของ ชุมชนในเรื่องอื่น ๆ มีปญหาตามไปดวย - ประชาชนขาดความมั่ น ใจในสถานภาพ ความเป น อยู ข องตนเอง เพราะพื้ น ที่ ทํ า กิ น อยู ใ นเขต ปาสงวน กลัวถูกขับออกจากพื้นที่ ทําใหประชาชนไมเต็มใจ ที่จะรวมมือกับเจาหนารัฐ ในการอนุรักษปาชายเลน - ประชาชนบางสวนยังไมใหความรวมมือเทาที่ควร - องคการบริหารสวนตําบลเขารวมกิจกรรมการ อนุรักษปาชายเลนของชุมชน ไมมากเทาที่ควร สวนที่ 7 ขอเสนอแนะในการอนุรักษทรัพยากร ปาชายเลน จากการสอบถามความคิ ด เห็ น ของประชาชน เกี่ ย วกั บ ข อ เสนอแนะที่ ป ระชาชนคิ ด ว า จะสามารถเพิ่ ม ประสิทธิภาพการอนุรักษทรัพยากรปาชายเลน มีดังนี้

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

24

- ควรสงเสริม อบรมใหความรูประชาชน เกี่ยวกับ ความสําคัญของการอนุรักษ และผลกระทบที่เกิดจากการ บุกรุกทําลายปาชายเลน อยางตอเนื่อง เพื่อใหประชาชน เกิดความตระหนัก รักและหวงแหนปาชายเลน - ภาครั ฐ ควรสนั บ สนุ น ทางด า นการเงิ น ใน กิจกรรมการอนุรักษปาชายเลน - สงเสริมการเพาะพันธุสัตวน้ําใหกับชุมชน เพื่อ เพิ่มแหลงอาหารใหกับชุมชน - สงเสริมและสรางจิตสํานึกรักษทรัพยากรปาไม ใหกับเยาวชนในชุมชน - ขุดสระน้ํา เพื่อเปนแหลงน้ําอุปโภคของชุมชน - ควรสงเสริมใหเกิดอาชีพใหม ๆ เพื่อสรางงาน สรางรายไดใหกับชุมชน - รั ฐ ควรส ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การปลู ก ไม เศรษฐกิจ เชน สะตอ มังคุด เพื่อเปนอาหาร และสรางรายได เสริมใหกับชุมชน - หน ว ยงานภาครั ฐ ควรลงพื้ น ที่ เ พื่ อ สํ า รวจ ตรวจสอบสภาพปาชายเลน อยางสม่ําเสมอ หรืออยางนอย เดือนละ 1 ครั้ง - หนวยงานที่รับผิดชอบควรประชาสัมพันธ สราง ความเข า ใจกั บ ประชาชน ถึง วั ต ถุ ป ระสงค และแผนการ ดํ า เนิ น งานโครงการหมู บ า นป า ไม แ ผนใหม ฯ เพื่ อ ลด ปญหาระหวางการดําเนินงาน - ควรมีแนวนโยบายที่ชัดเจนในการดําเนินงาน ภายใต โ ครงการหมู บ า นป า ไม แ ผนใหม ฯ เพื่ อ ไม ใ ห เ กิ ด ความสับสน หรือดําเนินการซ้ําซอนกับโครงการอื่น ๆ ที่มี ความใกลเคียงกัน - องคการบริหารสวนตําบล ควรใหความสําคัญ และเข า มามี บ ทบาทในกิ จ กรรมการอนุ รั ก ษ ท รั พ ยากร ปาชายเลนมากขึ้น - หน ว ยงานภาครั ฐ และตั ว แทนชุ ม ชนร ว มกั น กําหนดเขตการใชประโยชนพื้นที่ปาชายเลน พรอมทั้งตั้งกฎ กติกา การใชประโยชน ใหมีความชัดเจน เพื่อความเขาใจ รวมกันของชุมชนและเจาหนาที่ของรัฐ - สงเสริมใหพื้นที่ปาชายเลนของชุมชน เปนศูนย ศึกษาธรรมชาติ และแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษ เพื่อสราง รายไดเสริมใหกับชุมชน - สรางแรงจูงใจ เพื่อกระตุนใหชุมชนมีสวนรวม ในกิจกรรมการอนุรักษปาชายเลนมากขึ้น

ผลการติดตามและประเมินผล


25

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

2.2 การประเมินผลโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ การประเมินผลโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ เปนการนําเสนอการประเมินผลเฉพาะโครงการที่ไดดําเนิน โครงการหมู บ า นป า ไม แ ผนใหม ฯ ไปแล ว คื อ โครงการ หมูบานปาชายเลนแผนใหมฯ หมูบานทุงไพร-นายอดทอง ต.วังวน อ.กันตัง จ.ตรัง ซึ่งไดรับเลือกใหเปนหมูบานนํา รอง ภายใตโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ เพื่อรับทราบ ความคิ ด เห็ น ของประชาชน และศึ ก ษาวิ ธี ก ารดํ า เนิ น กิจกรรม ตาง ๆ รวมถึงปญหาและอุปสรรค ที่เกิดขึ้นกับ หมู บ า นทุ ง ไพร-นายอดทอง โดยประเมิ น ตามตั ว ชี้ วั ด ที่กําหนด ไดแก พื้นที่ปาไมเพิ่มขึ้น การสรางงานและรายได เพิ่ ม ขึ้ น มี เ ครื อข า ยอาสาสมั ค รทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอมหมูบาน มีกฎ ระเบียบ ขอตกลงรวมกัน และ ไดรับการแนะนํา ชวยเหลือ และสนับสนุนจากภาครัฐ โดย สรุปผลการศึกษา ไดดังนี้

ข อมู ล เกี่ ย วกั บ ตั วชี้ วัด ที่ 1 (พื้ น ที่ป า ชายเลน เพิ่มขึ้น) จากผลการศึ ก ษากลุ ม ตั ว อย า งทั้ ง หมด (16 ตั ว อ ย า ง ) พ บ ว า ก ลุ ม ตั ว อ ย า ง ส ว น ใ ห ญ มี ค ว า ม คิดเห็นวา กอนการเปดตัวโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ พื้นที่ปาชายเลนมีสภาพอยูในระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 43.8 แตหลังจากการเปดตัวโครงการไปแลว กลุมตัวอยาง ส วนใหญ มี ความคิ ดเห็ นว าสภาพป าชายเลนมี ความอุ ดม สมบู ร ณ ม ากขึ้ น คิ ด เป น ร อยละ 87.5 และกลุ ม ตั วอย า ง สวนใหญยังเขาใจดวยวาโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ มีผลทําใหพรรณไม ปริมาณสัตวน้ําเพิ่มขึ้น คิดเปนรอยละ 68.8 กลุ ม ตั ว อย า งส ว นใหญ ร อ ยละ 56.3 เข า ใจว า โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ ไมมีผลตอการตัดไมชายเลน ภายในหมูบาน ซึ่งอธิบายเพิ่มเติมไดวาไมมีการตัดไมชายเลน ในหมูบานมานานพอสมควรแลว ดังนั้นโครงการหมูบาน ปาไมแผนใหมฯ จึงไมมีผลตอการตัดไมชายเลนของชุมชน รายละเอียดดังตารางที่ 8

ตารางที่ 8 คําถามเพื่อตอบตัวชี้วัดที่ 1 (พื้นที่ปาไมเพิ่มขึ้น) คําถามเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่ 1 จํานวน (ราย) สภาพปาชายเลนกอนการเปดตัวโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ 5 เสื่อมโทรม ปานกลาง 7 อุดมสมบูรณ 4 รวม 16 สภาพปาชายเลนหลังการเปดตัวโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ 0 เสื่อมโทรม ปานกลาง 2 อุดมสมบูรณ 14 รวม 16 โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯมีผลตอการเปลี่ยนแปลงพรรณไมปาชายเลนอยางไร 4 พรรณไม และปริมาณสัตวน้ําลดลง พรรณไม และปริมาณสัตวน้ําเทาเดิม 1 พรรณไม และปริมาณสัตวน้ําเพิ่มขึ้น 11 รวม 16

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

รอยละ 31.3 43.7 25.0 100.0 0.0 12.5 87.5 100.0 25.0 6.3 68.7 100.0

ผลการติดตามและประเมินผล


การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

26

คําถามเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่ 1 จํานวน (ราย) รอยละ โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ มีผลตอการตัดไมปาชายเลนภายในหมูบานหรือไม ไมมีผล 9 56.3 มีผล 7 43.7 รวม 16 100.0 ปญหาในการจัดตั้งกลุมและการประสานงานกับชุมชนอื่น ขอมูลเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่ 2 (มีการสรางงานและ เพราะประชาชนมีความตระหนักถึงความสําคัญของปาชายเลน เพิ่มรายไดใหกับชุมชน) และการประสานงานขอความรว มมือกับชุ ม ชนอื่น ๆ จึ ง จากผลการศึ ก ษากลุ ม ตั ว อย า งทั้ ง หมด (16 ไดรับความรวมมือเปนอยางดี ตัวอยาง) พบวา ชุมชนไมไดมีการสรางงานและมีรายได เ พิ่ ม ขึ้ น จ า ก ก า ร รั บ จ า ง ป ลู ก ป า ดั ง จ ะ เ ห็ น ไ ด จ า ก ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ ตั ว ชี้ วั ด ที่ 4 (มี ก ฎ ระเบี ย บ กลุมตัวอยางสวนใหญ (รอยละ 68.7) ตอบวาไมมีการจาง ขอตกลงรวมกัน) ปลูกปาภายในชุมชน และกลุมตัวอยางเกือบทั้งหมดไมได รับจางปลูกปา (93.7) ทั้งนี้ เนื่องจาก ชุมชนไดมีการตั้งกฎ จากผลการศึ ก ษากลุ ม ตั ว อย า งทั้ ง หมด (16 การใชประโยชนปาชายเลนของหมูบาน ที่กําหนดใหมีการ ตัวอยาง) พบวากลุมตัวอยางสวนใหญทราบเปนอยางดีวา ปลู ก ป า ทดแทน ถ า มี ก ารตั ด ไม ไ ปใช ป ระโยชน และการ ในหมู บ า นมี ก ารตั้ ง กฎ ระเบี ย บ ข อ บั ง คั บ ในการใช ดําเนินงานและกิจกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวกับปาชายเลน ชุมชน ประโยชน จ ากทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละพึ ง พอใจกั บ มาตรการตาง ๆ คิดเปนรอยละ 81.3 โดยใหเหตุผลวา กฎ ใหความรวมมือกันเปนอยางดี และทําดวยความเต็มใจ แต กติกาที่ใหประชาชนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น อยางไรก็ตาม กลุมตัวอยางสวนใหญรอยละ 62.5 เห็นวา เปนสิ่งที่ดี เพราะเกิดจากความตองการของชุมชนจริง ๆ โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ มีผลทําใหมีรายไดมากขึ้น นอกจากนั้นกฎกติกาตาง ๆ สามารถปรับเปลี่ยนไดตาม จากประโยชน ท างอ อ มของป า ชายเลน ทั้ ง จากการที่ มี ทรัพยากรประมงที่มีมากขึ้นกวาเดิม มีนักทองเที่ยวเขามา ความเหมาะสมของสถานการณ รายละเอียดดังตารางที่ 11 เยี่ยมชม รวมถึงรายไดจากการงานหัตถกรรม เชนการทํา จักรสาน รายละเอียดดังตารางที่ 9 ขอมูลเกี่ ยวกับตัวชี้วั ดที่ 5 (ได รับการแนะนํ า ชวยเหลือ และสนับสนุนจากภาครัฐ) ขอมูลเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่ 3 (มีเครือขาย ผลการศึ ก ษาพบว า กลุ ม ตั ว อย า งทั้ ง หมด (16 อาสาสมัครทรัพยากรธรรมชาติ) ตั ว อย า ง) กล า วว า เจ า หน า ที่ รั ฐ โดยเฉพาะเจ า หน า ที่ จากผลการศึ ก ษากลุ ม ตั ว อย า งทั้ ง หมด (16 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงใหความชวยเหลือ และ ร ว มมื อ กั บ ชุ ม ชนในการจั ด การทรั พ ยากรป า ชายเลน ตัวอยาง) พบวากลุมตัวอยางสวนใหญทราบดีวาในหมูบาน คอนขางดี โดยมีการจัดประชุม อบรม ใหความรูเกี่ยวกับ มีการจัดตั้งกลุมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ การจัดตั้งกลุม การอนุ รั ก ษ ป า ชายเลนแก ชุ ม ชน นอกจากนั้ น ยั ง มี โดยใหประชาชนเขามามีสวนรวม แสดงความคิดเห็น โดย หนวยงานอื่น ๆ เชน กรมประมง รวมใหการสนับสนุนดวย ใชวิธีการยกมือ ถือเสียงขางมากเปน หลั กเพื่อหาขอสรุป นอกจากนั้น ยังมีการประสานงานกับชุมชนอื่น ๆ ในเรื่อง สําหรับขอเสนอแนะที่กลุมตัวอยางตองการไดรับ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยมีชุมชนเครือขายตาง ๆ ดังนี้ บานทุงตาเซะ บานควนเกร็ง บานทุงกง บานปากพล ความชวยเหลือจากหนวยงานรัฐเพิ่มเติม มีดังนี้ ทั้งหมดอยูในอําเภอยานตาขาว บานแตะหรํา บานทาเรือ 1. ควรสงเสริม ใหมีศูนยการเรียนรู และพัฒ นา บานแหลม บา นปาเต บา นปากพรุน เครือขายลุม น้ํา ปะ ทางเดินศึกษาธรรมชาติปาชายเลนของชุมชน 2. ส ง เสริ ม อาชี พ ใหม ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การใช เหลียน เครือขายปาชายเลนชุมชนจังหวัดตรัง รายละเอียด ประโยชนผลผลิตจากปาใหกับประชาชน เพื่อเพิ่มทางเลือก ดังตารางที่ 10 ใหกับประชาชน สวนปญหาที่เกี่ยวกับการจัดตั้งกลุมอนุรักษ และ การประสานงานกับชุมชนอื่นนั้นกลุมตัวอยางกลาววา ไมมี กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ผลการติดตามและประเมินผล


27

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

3. ควรมีงบประมาณสนับสนุนในกิจกรรมตาง ๆ ที่ เกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ 4. จัดเตรียมความพรอม เพาะพันธุกลาไมชาย เลนสําหรับปลูก และแจกใหเพียงพอ 5. นําพันธุสัตวน้ํามาปลอยอยางสม่ําเสมอ

6. ควรมีเรือสําหรับลาดตะเวน เพื่อตรวจตรา สภาพปาชายเลน

ตารางที่ 9 คําถามเพื่อตอบตัวชี้วัดที่ 2 (มีการสรางงานและเพิ่มรายไดใหกับชุมชน) คําถามเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่ 2 จํานวน (ราย) โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ มีการจางปลูกปาหรือไม 11 ไมมีการจางปลูกและดูแลปา มีการจางปลูกและดูแลปา 5 รวม 16 ทานรับจางปลูกปาภายในโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ 15 ไมไดรับจาง รับจาง 1 รวม 16 โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯมีผลทําใหทานมีรายไดเพิ่มขึ้นหรือไม 6 ไมมีผล มีผล 10 รวม 16

รอยละ 68.7 31.3 100.0 93.7 6.3 100.0 37.5 62.5 100.0

ตารางที่ 10 คําถามเพื่อตอบตัวชี้วัดที่ 3 (มีเครือขายอาสาสมัครทรัพยากรธรรมชาติ) คําถามเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่ 3 จํานวน (ราย) ในหมูบานของทานมีกลุมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติหรือไม 0 ไมมี มี 16 รวม 16 ในหมูบานของทานรวมมือ และประสานงานกับชุมชนอื่นในการจัดการทรัพยากรปาชายเลน 0 ไมมี มี 16 รวม 16

รอยละ

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ผลการติดตามและประเมินผล

0.0 100.0 100.0 0.0 100.0 100.0


28

การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

ตารางที่ 11 คําถามเพื่อตอบตัวชี้วัดที่ 4 (มีกฎ ระเบียบ ขอตกลงรวมกัน) คําถามเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่ 4 จํานวน (ราย) ในหมูบานของทานมีการตั้งกฎ ระเบียบขอบังคับในการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติ 2 ไมมี มี (ไมพอใจ) 1 มี (พอใจ) 13 รวม 16

รอยละ

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ผลการติดตามและประเมินผล

12.5 6.3 81.2 100.0


การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

29

บทที่ 3 ปญหา อุปสรรค สรุปผล และขอสังเกต ในการดําเนินการและการติดตามประเมินผล 3.1 ป ญ หา อุ ป สรรคในการดํ า เนิ น การและ การติดตามประเมินผลโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ จากการติดตาม ประเมินผลหมูบานตัวอยางใน ภาคตาง ๆ ทั่วประเทศ พบวายังมีปญหา อุปสรรค หลาย ประการที่มีผลตอการดําเนิน การโครงการหมูบานปา ไม แผนใหมฯ รวมทั้งปญหา อุปสรรคที่สํานักงานฯ พบในการ ติดตามประเมินผลโครงการฯ ซึ่งสรุปไดดังนี้ 3.1.1 ป ญ หา อุ ป สรรคในการดํ า เนิ น การ โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ 1. ประชาชนบางสวนไมเต็มใจที่จะใหความ รวมมือในการดําเนินการโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ เนื่ อ งจากประชาชนยั ง ขาดความเข า ใจและความมั่ น ใจ ที่ชัดเจนในสิทธิ ขอบเขต และอํานาจของตนในการจัดการ ดู แ ล และใช ป ระโยชน ท รั พ ยากรป า ไม และประชาชน บางสวนคิดวาการทํางานของหนวยงานรัฐ ขาดความจริงใจ ในการดําเนินงาน 2. การดําเนินโครงการฯ ในพื้นที่รับผิดชอบ ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช จะมีปญหา การดําเนินงานกับชุมชน มากกวาโครงการฯ ที่อยูในพื้นที่ รับผิดชอบของกรมปาไมและกรมทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝง เนื่องจากเจาหนาที่ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช เดิมมีหนาที่ปราบปราม และมีปญหาขัดแยง กับชาวบานเนื่องจากการเขาจับกุมชาวบานอยูเสมอ เมื่อ ปรับ เปลี่ ย นมาทํ า หนา ที่ส งเสริ ม การดํา เนิ น งานหมู บา น ปาไมแผนใหมฯ จึงทําใหไมไดรับความรวมมือเทาที่ควร 3. นโยบายที่ขัดแยงกันระหวางหนวยงานของ รัฐ ระหวางการสงเสริมการเกษตร กับการปองกันการบุกรุก พื้นที่ปา เชน การสงเสริมการปลูกพืชไร การสงเสริมการ ปลูกยางพารา ซึ่งเปนสาเหตุทําใหประชาชนบุกรุก แผวถาง พื้ น ที่ ป า เพื่ อ ขยายพื้ น ที่ทํ า การเกษตรมากขึ้ น เป น ผลให กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ประชาชนเกิดความสับสนในการดําเนินงานของรัฐ และทํา ใหบางสวนไมเต็มใจใหความรวมมือในการดําเนินโครงการ หมู บ า นป า ไม แ ผนใหม ฯ เนื่ อ งจากเกรงว า จะทํ า ให พื้ น ที่ ทํากินของตนลดนอยลง 4. โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ ขาดการ เผยแพรและประชาสัมพันธโครงการ อีกทั้งมีกระแสขาวใน แงลบของโครงการตามสื่อสิ่งพิมพอยูเสมอ ทําใหประชาชน บางสวนที่ไมเขาใจขอเท็จจริงมีความรูสึกตอตานโครงการ ตั้งแตยังไมไดเริ่มดําเนินการในพื้นที่ของตน นอกจากนี้ วิธี ปฏิ บั ติ ข องเจ า หน า ที่ บ างส ว นที่ ไ ม ไ ด ทํา ความเข า ใจหรื อ ชี้แจงกับประชาชนกอนการดําเนินโครงการ ก็เปนสาเหตุ หนึ่งที่ทําใหประชาชนตอตานโครงการ 5. ค ว า ม ไ ม พ ร อ ม แ ล ะ ไ ม เ พี ย ง พ อ ข อ ง เจาหนาที่ที่รับผิดชอบการดําเนินการหมูบานปาไมแผนใหมฯ ทําใหการดําเนินการหมูบานปาไมแผนใหมฯ ในบางพื้นที่ ยังไมมคี วามกาวหนาเทาที่ควร 6. การดํ า เนิ น งานโครงการหมู บ า นป า ไม แผนใหมฯ ขาดงบประมาณที่ตอเนื่อง อาจทําใหโครงการ หมูบานปาไมแผนใหมฯ ไมมีความยั่งยืน 7. ในบางพื้นที่ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ยังไมใหค วามสนใจกับ โครงการหมูบา นปา ไมแผนใหมฯ มากนัก 8. ขาดการสร า งเครื อ ข า ยระหว า งชุ ม ชน ชาวบานจะรักษาปาเฉพาะในเขตพื้นที่ปาของชุมชนตนเอง แตจะมองปาของชุมชนอื่นที่ไมมีความเขมแข็งในการดูแล รั ก ษาเป น ป า เป ด สํ า หรั บ ทุ ก คน และเข า ไปฉกฉวย ผลประโยชนเปนครั้งคราว ในทางกลับกันชาวบานในชุมชน อื่นก็เขามาใชประโยชนในพื้นที่ปาของชุมชนที่มีการดูแล อยางดี

ปญหา อุปสรรค สรุปผล และขอสังเกต ในการดําเนินการและการติดตามประเมินผล


การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

9. ชุมชนขาดความรูทางวิชาการที่จะตอยอด ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น ในการจั ด การดู แ ลป า และขาดการ สนับสนุนทางดานเทคนิควิชาการ 3 . 1 . 2 ป ญ ห า อุ ป ส ร ร ค ใ น ก า ร ติ ด ต า ม ประเมินผลโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ 1. การติดตาม ประเมินผลโครงการหมูบาน ปาไมแผนใหมฯ ในปงบประมาณ 2548 ของสํานักงานฯ เปน การศึกษาในขณะที่การดําเนิน การโครงการหมูบา น ปา ไมแผนใหมฯ ยังไมมีงบประมาณในการดํา เนิน งานที่ ชัดเจน ตองปรับเปลี่ยนจากการดํา เนินงานโครงการอื่น จึงยังขาดความกาวหนาของโครงการเทาที่ควร เปนเหตุให ขอมูลที่ไดรับจากการศึกษา ยังไมสามารถนํามาประเมิน ผลลัพธของการใชกรอบแนวคิดคนกับปาอยูรวมกันไดอยาง กลมกลืน สมดุล และยั่งยืน ไดอยางครอบคลุม 2. ในบางพื้ น ที่ ยั ง ไม มี ก ารประกาศเป น หมูบานปาไมแผนใหมฯ แตกระทรวงฯ ไดเรงดําเนินการ เพื่อใหเปนไปตามแผนงาน หนวยงานที่รับผิดชอบจึงเรง ประกาศหมูบานปาไมแผนใหมฯ โดยที่ไมไดศึกษาสภาพ ของหมู บ า น และไม มี ข อ มู ล พื้ น ที่ ใ นป จ จุ บั น (Baseline Data) ของหมูบานเลย ทําใหการติดตาม ประเมินผลไดรับ ขอมูลที่ยังไมมีความชัดเจนนัก 3. เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานในพื้นที่ ยังไมเขาใจ บทบาทหนาที่ ในการติดตาม ประเมินผลโครงการหมูบาน ปาไมแผนใหมฯ ที่มีการประเมินผลลัพธของการใชกรอบ แนวคิดคนกับปาอยูรวมกันไดอยางกลมกลืน สมดุล และ ยั่ ง ยื น บางครั้ ง มี ค วามคาดหวั ง ที่ จ ะให ก ารติ ด ตาม ประเมินผลนี้ ชี้แจงถึงแนวทางการดําเนินงานหมูบานปาไม

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

30

แผนใหม ฯ ให กั บ ประชาชนในพื้ น ที่ ข องตน ซึ่ ง ผู ติ ด ตาม ประเมินผลสามารถตอบขอซักถามเกี่ยวกับแนวทางการ ดําเนินงานทั่ว ๆ ไปของโครงการฯ ได แตไมสามารถชี้แจง แนวทางการดําเนินงานในแตละพื้นที่ได เนื่องจากควรจะ เปนแนวทางเฉพาะของแตละพื้นที่เองที่ไดจากวนศาสตร การระดมความคิดเห็น ภูมิปญญาทองถิ่น และลักษณะการ ใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติของแตละพื้นที่ หลายกลุม ตัวอยางจึงเกิดความสับสน 4. กลุมตัวอยางที่ทําการศึกษา บางครั้งเปน กลุ ม ตั ว อย า งที่ ไ ม ส ามารถเป น ตั ว แทนของกลุ ม ตั ว อย า ง ทั้ง หมดได เช น หมู บา นอาไฮ ตํ า บลเทอดไทย อํ า เภอ แมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย กลุมตัวอยางทั้งหมดเปนผูชาย เนื่องจากเปนวัฒนธรรมของชาวไทยภูเขาที่ผูหญิงตองไป ทํา งานนอกบา น และกลุม ตัวอยา งผูช ายทั้งหมด มีเ พีย ง บางสวนที่พูดภาษาไทยได หรือบางหมูบานมีกลุมตัวอยาง ทั้งหมดเปนผูหญิง เนื่องจากผูชายไปทํางานในพื้นที่รอบ หมูบาน หรือบางหมูบานมีแตผูสูงอายุ เปนตน 5. ตัวชี้วัด (พื้นที่ปาไมเพิ่มขึ้น การสรางงาน และรายไดเพิ่มขึ้น มีเครือขายอาสาสมัครรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดลอมหมูบ าน มีกฎ ระเบี ยบ ข อตกลงร วมกั น และไดรับการแนะนํา ชวยเหลือ และสนับสนุนจากภาครัฐ) บางตัวเปนธรรมชาติที่ตองใชเวลาในการประเมิน เชน พื้นที่ ป า ไม เ พิ่ ม ขึ้ น ไม ส ามารถประเมิ น ได ในระยะเวลาอั น สั้ น อี ก ทั้ ง ไม ส ามารถประเมิ น จากการสั ม ภาษณ แ ละสั ง เกต สภาพพื้นที่เทานั้น จําเปนตองมีการใชเทคโนโลยี ไมวาจะ เปนเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาพถายทางอากาศ ทั้งในอดีต และที่เปนปจจุบัน

ปญหา อุปสรรค สรุปผล และขอสังเกต ในการดําเนินการและการติดตามประเมินผล


การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

3.2 สรุ ป ผลและข อ สั ง เกตจากการติ ด ตาม ประเมินผลโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ จากการติ ด ตาม ประเมิ น ผลโครงการหมู บ า น ปาไมแผนใหมฯ สามารถสรุปผลและขอเสนอแนะ ไดดังนี้ 3.2.1 สรุ ป ผลจากการติ ด ตาม ประเมิ น ผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ 1. ประชาชนคิ ด ว า โครงการหมู บ า นป า ไม แ ผ น ใ ห ม ฯ เ ป น โ ค ร ง ก า ร ที่ ดี ถึ ง แ ม ว า ป ร ะ ช า ช น บางส ว นจะยั ง ไม เ ข า ใจและมั่ น ใจในโครงการฯ มากนั ก ดั ง นั้ น จึ ง ควรเร ง ประชาสั ม พั น ธ โ ครงการหมู บ า นป า ไม แผนใหมฯ ดวยวิธีการตาง ๆ เพื่อเปนการสรางความเขาใจ และความมั่ น ใจให กั บ สาธารณะชนมากยิ่ ง ขึ้ น รวมทั้ ง เจาหนาที่ของรัฐในพื้นที่ก็มีความเห็นวาเปนโครงการที่ดี เชนเดียวกัน โดยเฉพาะหมูบานที่อยูในเขตพื้นที่เพื่อการ อนุรักษตามกฎหมาย ซึ่งในอดีตการดําเนินการใด ๆ ที่จะ เปนการสงเสริมใหมีการดําเนินงานใด ๆ ในชุมชนจะเปน การขั ด กฎหมาย ดั ง นั้ น มติ ค ณะรั ฐ มนตรี ที่ ใ ห ดํ า เนิ น โครงการนี้จึงเปนทางออกที่เจาหนาที่รัฐในพื้นที่สามารถที่ จะประสานงานกับชุมชนไดดียิ่งขึ้น ดังนั้นจึงเปนไปตาม แนวพระราชดํ า ริ ที่ จ ะให ค นอยู กั บ ป า ได อ ย า งสมดุ ล และ ยั่งยืน 2. แนวทางการดําเนินโครงการหมูบานปาไม แผนใหมฯ ทั้งเจาหนาที่รัฐและประชาชน ในขณะนี้ยังไมมี ความชัดเจนเทาที่ควร ดังนั้นแนวทางเรงดวน จึงควรสราง ความเขาใจใหกับเจาหนาที่ โดยมีกรอบการดําเนินงานหรือ คูมือที่ชัดเจนในการดําเนินโครงการฯ และการจัดอบรม เกี่ยวกับแนวทางการดําเนินโครงการฯ ตอไป 3. กิ จ กรรมเครื อ ข า ยของชุ ม ชนและความ ตอเนื่องของกิจกรรมดังกลาว มีความสําคัญตอความยั่งยืน ของโครงการหมู บ า นป า ไม แ ผนใหม ฯ เพราะเป น การ กระตุนและเปนแรงจูงใจใหสมาชิกเขามามีสวนรวม ทั้งนี้ องค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น ควรเข า มามี ส ว นร ว มและ สนับสนุนการดําเนินกิจกรรม ซึ่งเปนไปตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 4. ประชาชนบางส ว นยั ง ขาดความรู ค วาม เข า ใจในการดู แ ลรั ก ษาทรั พ ยากรป า ไม ดั ง นั้ น จึ ง ควร สนั บ สนุ น การเผยแพร ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น บู ร ณาการ องค ค วามรู ท างวิ ช าการ รวมทั้ ง ความรู ที่ จ ะต อ ยอดแก ประชาชนในการจัดการดูแลปา ซึ่งจะเปนสวนสําคัญที่ทํา กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

31

ให ก ารดํ า เนิ น โครงการหมู บ า นป า ไม แ ผนใหม ฯ มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 5. การพบปะเยี่ ย มเยี ย นประชาชนอย า ง สม่ําเสมอของเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ มีผลตอความรวมมือของ ประชาชนในการดําเนินโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ 6. การดําเนินโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ นอกจากจะเป น การรั ก ษาและเพิ่ ม พื้ น ที่ ป า แล ว ยั ง ให ผลตอบแทนทางสังคมดวย เชน เปนการสรางความเขมแข็ง ในชุมชน ในการเปลี่ยนวิธี การที่ประชาชนคิดใชพื้นที่ปา แตกต า งไปจากเดิ ม เป น การคิ ด ถึ ง ผลประโยชน แ บบ สวนรวม 3.2.2 ขอสังเกตจากการติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ 1. ไม ค วรละเลยในการให ค วามสํ า คั ญ กั บ หมูบานที่ยังไมมีศักยภาพเปนหมูบานปาไมแผนใหมฯ เชน หมูบานที่ไมมีความเขมแข็งในการดูแลรักษาทรัพยากรปาไม เนื่องจากเปนสวนหนึ่งที่ทําใหเกิดปญหากับทรัพยากรปาไม เพราะยังคงมีความตองการใชประโยชนจากปาไม 2. การสงเสริมสนับสนุนอยางเต็มที่กับผูนํา ที่เสียสละทุมเท และการเสริมสรางชุมชนใหมีความเขมแข็ง มี ส ว นสํ า คั ญ ทํ า ให โ ครงการหมู บ า นป า ไม แ ผนใหม ฯ มีความกาวหนา และประสบความสําเร็จในที่สุด 3. ความคิ ด เห็ น ส ว นใหญ ข องประชาชน มองวาสภาพปาชายเลนมีความอุดมสมบูรณดี สวนหนึ่ง อาจเนื่ อ งจากพื้ น ที่ ศึ ก ษา เป น สถานที่ เ ป ด ตั ว โครงการ หมู บ า นป า ไม แ ผนใหม อ ย า งเป น ทางการ จึ ง มี ก าร ดําเนินการจนประสบผลสําเร็จในระดับที่นาพอใจ ซึ่งแสดง ให เ ห็ น ว า ถ า หน ว ยงานรั ฐ มี ก ารดํ า เนิ น กิ จ กรรมต า ง ๆ อยางจริงจัง ก็สามารถที่จะประสบผลสําเร็จได 4. โดยธรรมชาติ ข องป า ชายเลน มี ก าร เจริ ญ เติ บ โตที่ ค อ นข า งเร็ ว เมื่ อ เที ย บกั บ ป า บก ดั ง นั้ น จึงควรแยกมาตรฐาน ระยะเวลาการเจริญเติบโตของปาชายเลน หลังการปลูก ฟนฟู กับเกณฑวัดการเจริญเติบโตของปาบก 5. ปจจุบัน ประชาชนใชประโยชนจากปาเพื่อ บริ โ ภคและสร า งรายได เ สริ ม ไม ม ากนั ก แต ไ ม ไ ด หมายความวาประชาชนเขาใจและเห็นความสําคัญของการ อนุรักษ ม ากขึ้น เพียงแตมีเ หตุ ผลอื่น ๆ เช น ประชาชน ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ น อ ก ห มู บ า น ม า ก ขึ้ น ส ภ า พ พื้ น ที่ ไม เ อื้ อ อํ า นวยต อ การเข า ไปใช ป ระโยชน จ ากป า เป น ต น ดังนั้น จึงไมควรที่จะละเลยภารกิจการเสริมสรางความรู ปญหา อุปสรรค สรุปผล และขอสังเกต ในการดําเนินการและการติดตามประเมินผล


การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

32

ความเขาใจ เกี่ยวกับประโยชน และความสําคัญของปาไม ในชุมชน เพื่อสรางจิตสํานึกในการดูแลรักษาทรัพยากรปาไม 6. ช ว งเวลาที่ ผ า นมา มี โ ครงการต า ง ๆ เกิดขึ้นมาก รวมถึงมีวัตถุประสงคและวิธีการดําเนินงาน ที่ ใ กล เ คี ย งกั น ทํ า ให ทั้ ง เจ า หน า ที่ ใ นระดั บ ปฏิ บั ติ แ ละ ประชาชนเกิ ด ความสั บ สน ยั ง ผลให ก ารดํ า เนิ น งานไม ประสบผลสําเร็จเทาที่ควร

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ปญหา อุปสรรค สรุปผล และขอสังเกต ในการดําเนินการและการติดตามประเมินผล


การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

33

บทที่ 4 ขอเสนอแนะในการดําเนินการและการติดตามประเมินผล จากปญหา อุปสรรคที่พบจากการดําเนินการและ การติดตามประเมินผลโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ สามารถนํามาเสนอแนะแนวทางการดําเนินการโครงการ หมู บ า นป า ไม แ ผนใหม ฯ และการติ ด ตามประเมิ น ผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ ในระยะตอไป ไดดังนี้ 4.1 ขอเสนอแนะในการดําเนินการโครงการ หมูบานปาไมแผนใหมฯ 1. ในการจั ด ทํ า กรอบการดํ า เนิ น งานหรื อ คู มื อ ที่ ชั ดเ จน ใน กา รดํ า เ นิ น งา น ภ าย ใต โค รงกา ร หมู บ า นป า ไม แ ผนใหม ฯ ควรสร า งความเข า ใจร ว มกั น ระหว า งเจ า หน า ที่ ใ น ระดั บ ต า ง ๆ ของหน ว ยงาน ที่ รั บ ผิ ด ชอบอย า งเร ง ด ว น เพื่ อ ลดความสั บ สนที่ มี ห ลาย พื้ น ที่ เ ห็ น ว า มี ค วามซ้ํ า ซ อ นกั บ โครงการอื่ น ที่ มี ลั ก ษณะ การดํ า เนิ น งานที่ ใ กล เ คี ย งกั น รวมทั้ ง ควรจั ด ประชุ ม เกี่ ย วกั บ แผนการดํ า เนิ น งานเป น ระยะต อ เนื่ อ ง เพื่ อ รั บ ทราบสถานภาพป จ จุ บั น ของโครงการหมู บ า นป า ไม แผนใหมฯ 2. ควรให ค วามสํ า คั ญ และเร ง สร า งความ ชั ด เ จ น แ ก ห มู บ า น นํ า ร อ ง ข อ ง โ ค ร ง ก า ร ฯ แ ล ะ เรงประชาสัมพันธโครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯ ทั้งใน ระดั บ พื้ น ที่ และสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ ส าธารณะที่ มี ก ารแสดง ความคิ ด เห็ น ในหลายแง มุ ม แต ยั ง ไม ส ะท อ นจุ ด ประสงค ที่ แ ท จ ริ ง ของโครงการ และมอบหมายให ทุ ก ส ว นงาน ที่รับผิดชอบเพิ่มชองทางประชาสัมพันธดวยวิธีการตาง ๆ ตามความเหมาะสม เพื่อสรางความเขาใจและความมั่นใจ ใหกับสาธารณะชน และชุมชนที่เขารวมโครงการ 3. เจาหนาที่ในระดับปฏิบัติ ยังมีความเขาใจ เกี่ยวกับโครงการไมมากนัก ประกอบกับมีงานรับผิดชอบ อื่น ๆ ขั้นตอนการดําเนินงาน เชน กระบวนการคัดเลือก รายชื่อหมูบาน เพื่อประกาศเปนหมูบานปาไมแผนใหมฯ เกิ ด ความเร ง รี บ เพื่ อ ให ทั น ส ง หน ว ยงานกลางตาม กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

กํ า หนดเวลา ในการแก ไ ขป ญ หานี้ เห็ น ควรอนุ ญ าตให หนว ยงานในระดับปฏิบัติ ปรั บ เปลี่ย นรายชื่ อหมู บานใน แผนการดําเนินงานปตอ ๆ ไป แทนหมูบานเดิมที่รายงาน มาถึงสวนกลาง ไดตามความเหมาะสม โดยคงจํานวนรวม เดิมไว เพื่อใหการดําเนินงานในระยะตอไป มีประสิทธิภาพ มากขึ้น 4. เนื่ อ งจากหน ว ยงานในระดั บ ปฏิ บั ติ มี ค วามพร อ ม และรั บ ผิ ด ชอบหมู บ า นแตกต า งกั น ทั้ ง จํ า นวน ขนาดหมู บ า น และหมู บ า นแต ล ะแห ง ย อ มมี ความแตกต า งกั น ทั้ ง สภาพทางกายภาพ และจํ า นวน ประชากร จึ ง ควรพิ จ ารณาจั ด สรรงบประมาณให เ กิ ด ความเหมาะสม รอบคอบ และเปนธรรมมากที่สุด 5. ควรสนับสนุนชุมชนอยางจริงจังใหมีการ จัดตั้งกลุมองคกร และกลุมอาสาสมัครอนุรักษทรัพยากร ปาไม รวมประสานงานกับชุมชนอื่น ๆ เพื่อเปนการสราง เครือขายในระดับที่กวางขวางขึ้น และสนับสนุนกิจกรรมให มีความตอเนื่อง เนื่องจากมีความสําคัญตอความยั่งยืนของ โครงการฯ 6. เรงประสานงานกับหนวยงานที่รับผิดชอบ ดานการทองเที่ยว เขามาศึกษา แนะนํา และรวมวางแผน พัฒนาชุมชนที่มีศักยภาพ ใหสามารถเปนแหลงทองเที่ยว เชิงนิเวศได 7. ควรพัฒนาอาชีพและสนับสนุนอาชีพเสริม แก ประชาชนที่ ใช ผลิ ตผลจากป า เช น กลุ มแม บ านที่ ผลิ ต สินคา เพื่อเปนการเพิ่มรายไดใหกับประชาชน 8. เจาหนาที่ที่เกี่ยวของควรใหความสําคัญใน การเยี่ยมเยียนประชาชนอยางสม่ําเสมอ เพื่อประสานและ ปรับใหเขาใจวิถีการดําเนินชีวิตของแตละชุมชน พรอมทั้ง รับฟ งป ญหาต าง ๆ เพื่ อนํ าไปปรั บและวางแผนช วยเหลื อ ใหสอดคลองกับความตองการของชุมชนตอไป 9. ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น และให ค วามรู เ ชิ ง วิ ช าการ พร อ มทั้ ง ให ป ระชาชนเข า มามี ส ว นร ว มในการ ขอเสนอแนะในการดําเนินการและการติดตามประเมินผล


การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

อนุรักษปาไม เพื่อสงเสริมใหเกิดจิตสํานึก รักและหวงแหน ทรั พ ยากรปา ไม ข องชุม ชน โดยใชวิ ธีก ารที่ส อดคล องกั บ ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น เพื่ อ ให เ ป น ไปตามรั ฐ ธรรมนู ญ ฉบั บ ปจจุบัน 10. องค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น ควรเข า มา มี ส ว น ร ว ม อ ย า ง จ ริ ง จั ง ใ น กิ จ ก ร ร ม ก า ร อ นุ รั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมากยิ่งขึ้นเพื่อเปนทุน ทางทรัพยากรใหลูกหลานสืบไป 11. ระหวางการดําเนินโครงการหมูบานปาไม แผนใหม ฯ เจ า หน า ที่ ที่ รั บ ผิ ด ชอบควรสานต อ การ ดําเนินงานโครงการใหเกิดความตอเนื่อง และติดตามผล การดําเนินงานอยางสม่ําเสมอ อยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง ในแต ล ะหมู บ า น และเจ า หน า ที่ ร ะดั บ ภู มิ ภ าค และ เจ า หน า ที่ จ ากส ว นกลางจะต อ งลงพื้ น ที่ เ พื่ อ ติ ด ตามผล การดําเนินงานอีกชั้นหนึ่ง เปนระยะใหบอยครั้ง 12. ในหมูบานที่มีการดําเนินโครงการหมูบาน ป า ไม แ ผนใหม ควรจั ด กล อ งรั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น ของ ประชาชน ตามสถานที่ ส ว นกลางของชุ ม ชน เช น วั ด โรงเรียน และหลายพื้นที่มีการใชงานอินเตอรเนตไดก็ควร จั ด ทํ า เวปไซต เ พื่ อ ประชาสั ม พั น ธ โ ครงการและรั บ ฟ ง ขอคิดเห็น เพื่อเปนอีกชองทางหนึ่งในการรับทราบทัศนคติ ของประชาชน และนําความคิดเห็นตาง ๆ มาปรับใชใหเกิด ความเหมาะสมกับการดําเนินการในระยะตอไป 13. ในหลายพื้ น ที่ มี ค วามหลากหลายของ พันธุไมและพันธุสัตวปา เห็นควรสงเสริมการพัฒนาจัดทํา พื้ น ที่ เพื่ อ รวบรวมพรรณไม ส มุ น ไพร เพื่ อ อนุ รั ก ษ ไ ว ใ ห ลูกหลานเรียนรู และใชประโยชนตามความเหมาะสม โดย สนั บ สนุ น ให ผู รู ห รื อ ผู สู ง อายุ ใ นหมู บ า น เป น ผู ถ า ยทอด ภูมิปญญาในการรวบรวม และใชประโยชนจากสมุน ไพร แกคนรุนหลังตอไป 14. หมูบานที่ไมมีปาไมบริเวณหมูบาน อาจจะ ประสาน รวบรวม รับบริจาคพื้นที่สวนบุคคลเพื่อสรางให เปนปาหมูบาน ทั้งนี้หมูบานที่อยูในความรับผิดชอบของรัฐ ในบางพื้ น ที่ ไม ส ามารถหาพื้ น ที่ ว า งเปล า หรื อ พื้ น ที่ สาธารณะเพื่ อ ปลู ก ป า ของชุ ม ชนได เช น บ า นสลั ก เพชร เหนือ จ.ตราด จึงควรหาแนวทางดําเนินกิจกรรมในรูปแบบ อื่น ๆ ใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการ ฯ ตอไป 15. ควรส ง เสริ ม และอนุ รั ก ษ วั ฒ นธรรม ประเพณีดั้งเดิมของแตละชุมชนไว เชน ปาตามประเพณี ซึ่งผูกพันกับพิธีกรรมและความเชื่อทางศาสนา ซึ่งนอกจาก

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

34

จะเป น การสนั บ สนุ น การอนุ รั ก ษ ป า ไม ตามวั ฒ นธรรม ประเพณีอันดีงามของชุมชนแลว ยังเปนจุดแข็งที่สามารถ ปรับใหเกิดประโยชนในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ และวั ฒ นธรรมได โดยจั ด ทํ า ป า ยบอกชื่ อ ส ถ า น ที่ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ พรอมคําอธิบายตามความเชื่อของชุมชนนั้น ๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ รวมทั้งขอควรปฎิบัติ และ การวางตัวใหกลมกลืนกับวัฒนธรรมชุมชน พรอมทั้งสราง ที่พักในลักษณะ home stay เพื่อสรางรายไดเสริมใหกับ ชุมชน และยังเปนการเผยแพรวัฒนธรรม ประเพณีอีกดวย นอกจากนั้ น ยั ง เป น การส ง เสริ ม ให ชุ ม ชนเรี ย นรู และ พัฒนาการบริหารจัดการดวยตนเอง อยางไรก็ตาม หาก การทองเที่ยวมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้นในอนาคต ควรตอง หาแนวทางการจัดการที่ดี โดยรัฐอาจสนับสนุนเปนความ ช ว ยเหลื อ ทางวิ ช าการและให ข อ เสนอแนะ โดยต อ ง ระมัดระวังไมเปนการแทรกแซงขอตกลง หรือกฎ กติกาของ ชุมชน 16. ในการกํ า หนดเขตการใช ป ระโยชน กฎ ระเบี ย บ และกติ ก าการใช ป ระโยชน ป า ชุ ม ชนควร ดํ า เนิ น การโดยคณะกรรมการหมู บ า นป า ไม แ ผนใหม ฯ ที่จัดตั้งขึ้นโดยชุมชน ซึ่งในการกําหนดนี้อาจจะมีการดูงาน ระหวางหมูบาน ที่หลายหมูบานมีการดําเนินงานมาเปน ระยะเวลายาวนานและประสพผลสําเร็จในการสงวนหรือ อนุรักษทรัพยากรปา ไม เชน การกําหนดขนาดหรืออายุ ของไมที่สามารถจะใชประโยชน การปลูกทดแทน การเวน ช ว งเวลา เพื่ อ ให ป า ฟ น ตั ว ซึ่ ง คณะกรรมการผู อ นุ ญ าต การใชประโยชนเมื่อกําหนดแลวจะตองยึดถือกฎ ระเบียบ และกติกาเหลา นี้โดยเครงครัด โดยอาจเลือกวันประชุม หมูบานประจําเดือนเปนวันที่ตกลงอนุญาตการใชประโยชน เพื่อใหประชาชนในชุมชน รับทราบโดยทั่วกัน และแสดงถึง ความโปรงใสในการอนุญาตดวย 17. การดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ของหนวยงาน รัฐ เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรปาไม ควรคํานึงถึงความ เหมาะสมของสภาพชุมชนในแตละพื้นที่เปนหลัก ดังเชน หมู บ า นอาไฮ จั ง หวั ด เชี ย งราย เป น ชุ ม ชนชาวไทยภู เ ขา ที่อาศัยอยูในเขตปาสงวนแหงชาติ และมีลักษณะพิเศษเปน ชุมชนเสมือนไขแดงในผืนปา ดังนั้น รูปแบบการดําเนินงาน เพื่อการอนุรักษปาไม จึงควรมีลักษณะแตกตางจากชุมชน อื่น ๆ

ขอเสนอแนะในการดําเนินการและการติดตามประเมินผล


การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

4.2 ข อ เสนอแนะในการติ ด ตามประเมิ น ผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหมฯในระยะตอไป 1. การประเมิ น ผลในระยะเริ่ ม แรกของ โครงการ เปนการเริ่มตนเก็บขอมูลเพื่อใชเปรียบเทียบกับ ตอนที่โครงการไดดําเนินการไปทั้งระยะสั้นและระยะยาว แม ว า ขณะนี้ ยัง ไม ส ามารถประเมิ น ผลลัพ ธต ามตัว ชี้วั ด ที่ กําหนดได แตจากการประเมินจากตัวชี้วัด ในความเขาใจ ของประชาชนที่ มี ต อ โครงการหมู บ า นป า ไม แ ผนใหม ฯ พบวามีความพอใจที่ประชาชนไดรับจากโครงการหมูบาน ป า ไม แ ผนใหม ฯ และได รั บ ความร ว มมื อ ในการจั ด การ ทรัพยากรปาไมของชุมชนเพิ่มขึ้น เปนตน ทั้งนี้ ในระยะตอไป การกําหนดตัวชี้วัดควร จะมีความยืดหยุนและเหมาะสมในแตละสภาพพื้นที่ และ เปนตัวชี้วัดที่ประชาชนเขาใจงาย ที่คณะกรรมการประจํา หมู บ า นพิ จ ารณากํ า หนดขึ้ น มา ดั ง ตั ว ชี้ วั ด สภาพความ สมบูรณของปา อาจจะกําหนดจาก เชน พื้นที่ปาชายเลน วั ด จากจํ า นวนกิ โ ลกรั ม ของปู แ สมที่ เ ก็ บ ได ใ น 1 ชั่ ว โมง ขนาดของต น ไม ใ หญ ที่ มี ค วามสํ า คั ญ ของพื้ น ที่ ป า นั้ น ๆ นอกจากนี้ยังมีตัวชี้วัดความพรอมขององคกร ที่เปนระดับ กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

35

ตาง ๆ เชน 1) การมีหรือยังไมมีองคกรชุมชน 2) การที่มี องคกรชุมชนและมีกติกา 3) การมีองคกรชุมชน มีกติกา และมี กิ จ กรรมต อ เนื่ อ ง 4) มี อ งค ก รชุ ม ชน มี ก ติ ก า มีกิจกรรมตอเนื่อง และมีเครือขาย เปนตน 2. การติ ด ตามประเมิ น ผลในระยะต อ ไป สํ า นั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่ ง แวดล อ ม ควรจั ด ทํ า และพั ฒ นาระบบการติ ด ตาม ประเมิน ผล โดยใชขอมูลสารสนเทศ ทั้งในอดีต ปจจุบัน เพื่ อ เปรี ย บเที ย บสถานการณ และเผยแพร ใ ห เ กิ ด ความ เข า ใจและประสานการดํ า เนิ น งานให เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพ ยิ่งขึ้น 3. การสุ ม ตั ว อย า งควรดํ า เนิ น การภายใต ขอมูลทางวิชาการ ดานสถิติ เพื่อใหไดตัวอยางขอมูลที่เปน ตัวแทนของพื้นที่อยางแทจริง รวมทั้งการประสานกับพื้นที่ เพื่ อ เข า ไปติ ด ตาม ประเมิ น ผลโครงการฯ อาจจะใช สถาบันการศึกษาในพื้นที่เพื่อทําการสุมสํารวจกลุมตัวอยาง ที่มีความหลากหลาย ทั้งของชุมชน และประชาชน ซึ่งจะมี การใชเวลาสวนใหญอาศัยอยูในพื้นที่ เพื่อใหเปนตัวแทน ของกลุ ม ตั ว อย า งทั้ ง หมด และได ข อ มู ล ที่ ถู ก ต อ งยิ่ ง ขึ้ น ขอเสนอแนะในการดําเนินการและการติดตามประเมินผล


การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

36

สําหรับการติดตามประเมินผลโครงการฯ ในภาพรวมของ โครงการทั้งประเทศ เจาหนาที่สวนกลางจะตองใชเวลาใน หมู บ า นที่ ดํ า เนิ น โครงการฯ ให ม ากขึ้ น เพื่ อ ให ไ ด ข อ มู ล ที่แทจริง และการประเมินผลลัพธที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ขอเสนอแนะในการดําเนินการและการติดตามประเมินผล


การติดตาม ประเมินผล โครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ

คณะผูตดิ ตามและประเมินผลโครงการหมูบานปาไมแผนใหม ตามแนวพระราชดําริ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบรมราชินีนาถ นายเกษมสันต จิณณวาโส นายสันติ บุญประคับ นายสมชาย ตะสิงหษะ นายสมศักดิ์ บุญดาว นางจิตตินันท เรืองวีรยุทธ นายประเสริฐ ศิรินภาพร นางมาริสา อิงธรรมจิตร นายสกุลยุช ศรุตานนท นางสาวกตัญชลี เวชวิมล นางอภิชญา สิวะวรรณวงศ นางวาสนา ศรีใหม นายธวัชชัย สุขลอย นางสาวสุทธิรัตน จิตระวัง นายวิทยา ตัง้ พิทยาเวทย

ขอขอบคุณ - เจาหนาที่จากกรมปาไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช และกรมทรัพยากร ทางทะเลและชายฝง ที่ชวยประสานงานกับพื้นที่ พรอมทั้งใหความอนุเคราะหขอมูล เบื้องตน - เจาหนาที่สวนทองถิ่นและประชาชนในพื้นที่ตางๆ ที่อํานวยความสะดวก และให ความรวมมือเปนอยางดี ดังนี้ ) ตําบลธรรมเสน อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ) ตําบลวังวน อําเภอกันตัง จังหวัดตรัง ) ตําบลเขาไมแกว อําเภอสิเกา จังหวัดตรัง ) ตําบลละมอ อําเภอนาโยง จังหวัดตรัง ) ตําบลทุงยาว อําเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง ) ตําบลทาสุด ตําบลบานดู อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ) ตําบลเทอดไทย อําเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย ) ตําบลปากหมาก ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย ) ตําบลทาศาลา ตําบลลาดคาง อําเภอภูเรือ จังหวัดเลย ) ตําบลทับชาง อําเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี ) ตําบลเกาะชางใต กิ่งอําเภอเกาะชาง จังหวัดตราด

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.