คู่มือ GIS

Page 1


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร. ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม...... . . ผูจัดทํา

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 60/1 ซอยพิบลู วัฒนา 7 ถนนพระรามที่ 6 พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2265 6562 โทรสาร 0 2265 6562

ผูศึกษา

บริษัท เทสโก จํากัด โทรศัพท 0 2258 1320 โทรสาร 0 2258 1313 , 0 2261 4511

การอางอิง

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2550. การติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้าํ บางปะกง กรุงเทพฯ. 130 หนา

คําสืบคน

ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี

พิมพเมื่อ

กรกฎาคม 2551

จํานวนพิมพ

100 เลม

จํานวนหนา

130 หนา

ผูพิมพ

บริษัท สามารถ กอปป จํากัด โทรศัพท 0 2691 6852-3 , 0 2691 6858 โทรสาร 0 2691 6859

สงวนลิขสิทธิ์ในประเทศไทย ตาม พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 โดย สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ.2551


คํานํา ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี เปนลุมน้ําหลักที่สําคัญในภาคตะวันออกของประเทศไทย เนื่องจากมี การใชทรัพยากรเกินขีดความสามารถในการรองรับของพื้นที่ สงผลใหทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรมและ กอใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมตั้งแตพื้ นที่ตนน้ําจนถึ งพื้นที่ ทายน้ํา ซึ่งหลายภาคสวนได รวมกันแกไขปญหา ดังกลาว ในสวนของภาครัฐ คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ.2548 มอบหมายใหหนวยงาน ที่เกี่ยวของดําเนินงานเพื่อปองกันและแกไขปญหามลพิษทางน้ําในแมน้ําบางปะกงอยางตอเนื่อง โดยให สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จัดทํายุทธศาสตรดานสิ่งแวดลอมเพื่อ พัฒนาลุมน้ําบางปะกง รวมทั้ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดมีนโยบายเรงดวน และให ความสําคัญในการแกไขปญหาในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรีเปนอันดับแรก โดยมีการบูรณาการแผนงาน และโครงการของหนวยงานภายในกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อจัดทําแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกงแบบบูรณาการ ปงบประมาณ 2551- 2554 ขึน้ ซึ่งในสวนการดําเนินงานของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในปงบประมาณ 2549 ได จั ด ทํ า กรอบยุ ท ธศาสตร ก ารบริ ห ารจั ด การและฟ น ฟู นิ เ วศลุ ม น้ํ า บางปะกงอย า งบู ร ณาการ ปงบประมาณ 2550 ดําเนินการประสานและผลักดันการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตามแผนยุทธศาสตรฯ และจัดทําระบบติดตามประเมินผลการดําเนินงานการบริหารจัดการและฟนฟูนิเวศ ลุมน้ําบางปะกง และในปงบประมาณ 2551 ไดจัดทําโครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล อมในระบบนิ เวศของลุ ม น้ําบางปะกง เพื่อติดตามและประเมินผลการเปลี่ ยนแปลงของ สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี โดยประยุกตใชระบบ ติดตามประเมินผลที่ไดจัดทําขึ้น ทั้งนี้ การดําเนินงานเพื่อติดตามและประเมินผลการเปลี่ยนแปลงของ สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจําเปนที่จะตองมีการดําเนินงานอยางตอเนื่องและสอดคลองกับ แผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําฯ ที่ภาครัฐไดมีการจัดสรรงบประมาณในการบริหารจัดการเพื่อ แกไขปญหาของลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี ทั้งนี้ เพื่อใหไดระบบและฐานขอมูลที่ตอเนื่องและเปนปจจุบัน ซึ่งจะสะทอนสถานการณที่แทจริงในพื้นที่ และจําเปนตองพัฒนาศักยภาพของภาคสวนในพื้นที่ ใหมีบทบาท ในการใชประโยชน ติดตามและประเมินผลดวยตนเอง ทําใหสามารถวิเคราะหปญหาและอุปสรรคในการ ดําเนินการตามแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรีแบบบูรณาการดังกลาว รวมทั้ง ใหขอเสนอแนะในการปรับปรุงแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรีแบบบูรณาการ เพื่อนําไปสูการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําใหมีความตอเนื่องและยั่งยืนตอไป สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กรกฎาคม 2551


สารบัญ คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง

หนา

สวนที่ 1 การติดตั้งและบริหารจัดการระบบ 1. 2.

ความนํา การพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลในระบบปฏิบัติการ 2.1 การพัฒนาระบบติดตามประเมินผล MYSQL Sever 5.0 2.2 ขั้นตอนการติดตั้งระบบติดตามประเมินผล PHP 2.2.1 การติดตั้งระบบติดตามประเมินผล PHP 2.2.2 การเตรียมพืน้ ที่เพื่อเก็บขอมูล Session 2.2.3 การปรับแตงคา Configure 2.2.4 การทดสอบการทํางานของระบบ PHP 2.3 การติดตั้งระบบติดตามประเมินผล MYSQL 2.4 การติดตั้งระบบติดตามประเมินผล MYSQL Tools 2.5 การบริหารจัดการระบบภายในเว็บไซต 2.5.1 ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการลุมน้าํ Administrator 2.5.2 ระบบจัดการขอมูลผูใชงานระบบ 2.5.3 ระบบจัดการขอมูลหนวยงานของนิเวศตางๆ 2.5.4 ระบบจัดการแบบฟอรม 2.5.5 ระบบจัดการสารบัญเว็บที่เกีย่ วของ 2.5.6 ระบบดูแลและจัดการกระดานขาวของ Administrator

1 1 2 2 2 4 4 6 8 11 16 16 17 18 19 20 21

สวนที่ 2 การใชงานระบบติดตามประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1. 2.

โครงสรางของระบบติดตามประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้าํ บางปะกง การทํางานและการใชงานภายในเว็บไซต 2.1 การเขาสูระบบขอมูล 2.2 ขอมูลความเปนมาของโครงการ -I-

1 5 6 8


สารบัญ (ตอ) เรื่อง

3.

หนา 2.3 ขอมูลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2.4 ขอมูลนโยบายและแผนที่สาํ คัญ 2.5 ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการลุมน้าํ 2.6 ขอมูลเอกสารวิชาการและเอกสารเผยแพร 2.7 กระดานขาว (Webboard) 2.8 สารบัญเว็บที่เกี่ยวของ การนําเขาขอมูลและเชื่อมโยงขอมูลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 3.1 การประยุกตใชระบบสนับสนุนการบริหารจัดการลุมน้าํ 3.2 แบบฟอรมการรายงานสถานภาพของหนวยงาน หรือ Stakeholder 3.3 รายงานการติดตามและประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม

9 12 13 25 27 27 28 28 29 43

สวนที่ 3 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1. 2.

3. 4.

ความนํา เทคนิคและวิธกี ารในการจัดทําฐานขอมูล 2.1 การปรับปรุงขอมูลจากภาพดาวเทียมและภาพถายทางอากาศ 2.2 การจัดทําฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร ฐานขอมูลภูมสิ ารสนเทศที่จดั ทําสําหรับโครงการ การใชขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรโดยโปรแกรม ArcView 4.1 องคประกอบของ ArcView 4.2 การใชโปรแกรม ArcView 4.3 รูปแบบการวิเคราะหขอมูลเชิงพืน้ ที่ในโปรแกรม 4.4 การวิเคราะหขอ มูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS DATA ANALYSIS)

-II-

1 2 2 11 14 33 33 34 44 51


สารบัญรูป รูปที่

หนา

สวนที่ 2 การใชงานระบบติดตามประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1-1

ผังโครงสรางและองคประกอบของระบบติดตามประเมินผลทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้าํ บางปะกง ป พ.ศ.2551

2

สวนที่ 3 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2-1 2-2 2-3 2-4 2-5 2-6 2-7 3-1

วิธีการวิเคราะหขอมูลดาวเทียม องคประกอบภาพและหลักการวิเคราะหภาพดวยวิธกี ารสายตา ขั้นตอนการดําเนินการสรางแผนที่จากขอมูลดาวเทียม ระวางภาพดาวเทียม Landsat ในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี ตัวอยางภาพจากแหลงขอมูลการสํารวจระยะไกล (Remote Sensing) ตัวอยางภาพดาวเทียม LANDSAT TM ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในลุมน้าํ บางปะกง-ปราจีนบุรี ตัวอยางภาพดาวเทียมความละเอียดสูง Google Earth ของทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมในลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี ตัวอยางแผนที่ขอมูลภูมิสารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

-III-

3 4 6 7 8 9 10 20


สวนที่ 1 การติดตั้งและบริหารจัดการระบบ 1.

ความนํา

การดําเนินงานตามขอบเขตงานในการจัดทําระบบติดตามประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง ป พ.ศ.2551 ไดดําเนินการโดยพัฒนาในรูปแบบของเว็บไซต เพื่อใหสามารถติดตามประเมินผลและรายงานสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทํางานผาน เครือขายอินเตอรเน็ต ครอบคลุมขอมูลทั้ง 6 นิเวศ ของโครงการศึกษาฯ ซึ่งประกอบดวย นิเวศปาไม นิเวศ เกษตรกรรม นิเวศแหลงน้ํา นิเวศเมืองและชุมชน นิเวศอุตสาหกรรม และนิเวศชายฝงทะเล โดยสวนของการ พัฒนาระบบดําเนินการทาง http://bangpakong.onep.go.th ทั้งนี้ ระบบติดตามและประเมินผล สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของระบบนิเวศลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี พัฒนาเพื่อเปน แหลงรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับระบบนิเวศลุมน้ํา บางปะกง-ปราจีนบุรี อีกทั้งยังเปนจุดศูนยกลางรับ ข อ มู ล สถานภาพจากท อ งถิ่ น เพื่ อ ประมวลผลและ แสดงผลสรุ ป ในลั ก ษณะของข อ มู ล อรรถาธิ บ าย ตารางสถิติ และรูปกราฟแบบตางๆ โดยระบบฯ จะมี สวนของการกรอกขอมูลรายปสําหรับเจาหนาที่แตละ ทอ งถิ ่น และระบบกระดานขา วที ่ใ ชแ ลกเปลี ่ย น ความคิดเห็นระหวางกันอีกดวย

2.

การพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลในระบบปฏิบัติการ

การพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในลักษณะ ของระบบปฏิบัติการภายใตโครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง ดําเนินการออกแบบดวยระบบปฏิบัติการตระกูล Window และระบบ Internet Information Services (IIS) ที่อํานวยความสะดวกตอการใชงาน การนําเขาขอมูล ภาพประกอบ และเนื้อหาเว็บไซต รวมทั้งระบบติดตามประเมินผลที่นํามาใชในการบริหารจัดการเปนการประยุกตใช MYSQL Server 5.0 ซึ่งเปนโปรแกรมสําหรับจัดการและควบคุมฐานขอมูลสําหรับเว็บไซต สวนที่ 1-1


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

2.1

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

การพัฒนาระบบติดตามประเมินผล MYSQL Server 5.0

โครงสรางของระบบติดตามประเมินผล ซึ่งพัฒนาโดย MYSQL Server 5.0 ประกอบดวย • Server : หรือ Server Program เปนสวนที่มีความจําเปนตองมีระบบปฏิบัติการตระกูล Window และติดตั้งระบบ Internet Information Services (IIS) โดยมีหนาที่ในการจัดเก็บไฟลขอมูล ซึ่ง ไฟลขอมูลสําหรับติดตั้งเก็บไวในแฟม Server Program ไดแก o php-5.2.5-win32-installer.msi สําหรับติดตั้ง PHP o mysql-5.0.45-win32.exe สําหรับติดตั้ง MYSQL Server 5.0 o mysql-gui-tools-5.0-r12-win32.msi สําหรับติดตั้ง MYSQL Tools o onepDBPack.sql เปนฐานขอมูลเบื้องตนที่ใชในระบบฯ • PHP : เปนภาษาโปรแกรมสําหรับพัฒนาเว็บไซตซึ่งใชในการพัฒนาระบบ • MYSQL Server 5.0 : เปนโปรแกรมสําหรับจัดการและควบคุมฐานขอมูลสําหรับเว็บไซต • MYSQL Tools : เปนระบบแสดงหนาจอสําหรับ MYSQL Server ใหสามารถใชงานไดสะดวกยิ่งขึ้น 2.2

ขั้นตอนการติดตั้งระบบติดตามประเมินผล PHP

ขั้นตอนการติดตั้งระบบติดตามประเมินผล PHP ซึ่งเปนภาษาโปรแกรมสําหรับพัฒนาเว็บไซตและ ใชในการพัฒนาระบบฯ สรุปไดดังนี้ 2.2.1 การติดตั้งระบบติดตามประเมินผล PHP 1) เปดไฟลที่แฟม Server Program และ Double Click ที่ php-5.2.5-win32-installer หลังจากนั้น เลือกปุม Run เพื่อดําเนินการในขั้นตอนตอไป

สวนที่ 1-2


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

2) กําหนด Path ในการลง PHP ซึ่งใช C:\Program Files\PHP\ และ เลือก Next เพื่อดําเนินการในขั้นตอนตอไป

3) เลือก IIS ISAPI module และกดปุม Next

4) Click บริเวณเครื่องหมายบวกหนา Extension เพื่อ เปดตัวเลือก PHP ยอย และดําเนินการตามขั้นตอนตอไปนี้ 4.1) เลื่อน Scrollbar มาที่ GD2 และ Click เพื่อเลือก Entire feature will be installed on local hard drive 4.2) เลื่อน Scrollbar มาที่ MYSQL และ Click เพื่อเลือก Entire feature will be installed on local hard drive หลังจากนั้น กดปุม Next

5) กดปุม Finish เพื่อสิ้นสุดการติดตั้งจาก PHP Installer

สวนที่ 1-3

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2.2.2 การเตรียมพื้นที่เพื่อเก็บขอมูล Session 1) การเตรียมพื้นที่เพื่อเก็บขอมูล Session ซึ่ง ใชในระบบติดตามและการประเมินผลฯ โดยเริ่มตน การดําเนินงานที่ C:\ แลวสรางแฟมขอมูลชื่อ Session และ Click ขวา และเลือก Sharing and Security

2) เลือกที่ Web Sharing และกรอก ขอมูลตามภาพตัวอยาง แลวเลือกปุม OK เพื่อ ปดหนาตางทั้งหมด

2.2.3 การปรับแตงคา Configure การปรับแตงคา Configure เพื่อให PHP ทํางานไดถูกตองโดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1) Copy ไฟล php.ini จาก C:\Program Files\PHP ไปยัง C:\WINDOWS

สวนที่ 1-4


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2) Double Click ที่ไฟล php.ini ที่ C:\WINDOWS เพื่อแกไขขอมูล ดังนี้ 2.1) แกไขขอมูลให register_globals = on

2.2) แกไขขอมูลให session.auto_start = 1

2.3) แกไข Path ของ upload_tmp_dir และ session.save_path ใหเปน”C:\session”

สวนที่ 1-5


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2.4) ระบุ Address ของ Mail Server ขององคกรทานใหกับตัวแปร SMTP

หลังจากที่ปรับแตงคาภายใน php.ini จนครบ แลวตามขั้นตอนดังกลาวขางตน Click ที่ปุม startup เลือก Run และใสคําสั่ง iisreset (ปรากฏหนาตางสีดํา ขึ้นมาสักครู เพื่อทําการเริ่มระบบ IIS ใหม เมื่อกระบวนการ สิ้นสุด หนาตางสีดําจะปดไปเอง)

2.2.4 การทดสอบการทํางานของระบบ PHP การทดสอบการทํางานของระบบ PHP ที่ติดตั้งสามารถทํางานถูกตองหรือไม ดําเนินการไดโดยการไปที่ C:\Inetpub\wwwroot และสราง Textfile ชื่อ test.php โดยสรุปไดดังนี้

<? phpinfo(); ?>

สวนที่ 1-6


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

1) หลังจากบันทึกไฟล test.php แลวใหเปด Internet Explorer ขึ้นมาแลวใส URL http://localhost/test.php หาก PHP สามารถใชงานไดจริง

2) นําแฟมขอมูลชื่อ Onep ไปวางลงใน C:\Inetpub\wwwroot

3) เปด IIS และขยายหัวขอยอยจนกระทั่งพบ Onep Click ขวาที่ Onep และเลือก Properties

4) ปรากฏหนาตางใหม เลือก Documents และ Click ปุม add จะปรากฏหนาตาง Add Default Document ขึ้นดังภาพดานลาง กรอก index.php และเลือกปุม OK

สวนที่ 1-7


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

5) เปด Internet Explorer แลวใส URL http://localhost/onep หากแสดงหนาจอดังภาพดานบนนี้ แสดงวา การติดตั้ง PHP และวางโปรแกรมระบบติดตามและ ประเมินผลฯ กับกระดานขาวเสร็จสิ้น 2.3

การติดตั้งระบบติดตามประเมินผล MYSQL

ขั้นตอนการติดตั้งระบบติดตามประเมินผล MYSQL เปนการติดตั้งระบบจัดการฐานขอมูล เพื่อใช รวมกับการติดตั้งระบบติดตามประเมินผล PHP มีขั้นตอนโดยสรุปดังนี้ 1) Double Click ที่ไฟล mysql-5.0.45-win32.exe ใน แฟม Server Program และเลือกปุม Next เพื่อลงโปรแกรม และ เลือก Typical และกดปุม Next

2) Click ที่ Checkbox หนา Configure the MYSQL Server now และกดปุม Finish

3) กดปุม Next และเลือก Detailed Configuration และ กดปุม Next เลือก Server Machine และกดปุม Next เพื่อดําเนินการขั้นตอนตอไป

สวนที่ 1-8


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

4) เลือก Multifunctional Database แลวกดปุม Next

5) กําหนด Path ที่ตองการเก็บฐานขอมูล เปน \MySQL Datafiles\ (อาจเปลี่ยนเปนที่อื่นตาม ความเห็นสมควร) กดปุม Next หลังแกไขเสร็จแลว

6) เลือก Decision Support (DSS)/OLAP และกดปุม Next

7) กําหนด Port 3306 และเลือก Enable Strict Mode ดวยเชนกัน หลังจากนั้น กดปุม Next

สวนที่ 1-9

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

8) เลือก Manual Selected Default Character Set/ Collation โดยในกลอง Combo Box ใหเลือก utf8 เพื่อใหระบบ สามารถแสดงขอความภาษาไทยไดถูกตอง

9) เลือก Install As Windows Service และระบุ Service Name เปน MySQL และกดปุม Next

10) ระบุรหัสผานสําหรับ User Root ในเอกสาร นี้จะใช Root เปนรหัสผาน หลังจากกรอกรหัสผานลงใน กลองขอความทั้งสองแลว กดปุม Next

11) กดปุม Execute เพื่อทําการลงโปรแกรมตามคาที่ติดตั้งไว

สวนที่ 1-10


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

หากขึ้นหนาจอเหมือนภาพดานลางใหดําเนินการปด Firewall ของ Window หรือ โปรแกรม Antivirus กอนแลวจึงเลือกปุม Retry เมื่อการลง MySQL เสร็จสมบูรณ หนาตางจะปดโดยอัตโนมัติ

2.4

การติดตั้งระบบติดตามประเมินผล MYSQL Tools

เมื่อดําเนินการติดตั้งระบบติดตามประเมินผล MySQL เรียบรอยแลว ใหดําเนินการติดตั้งระบบ ติดตามประเมนผล MYSQL Tools สรุปไดดังนี้ 1) Double Click ที่ mysql-gui-tools-5.0-r12-win32.msi ในแฟม Sever Program จะปรากฏ หนาตางดังภาพดานลาง และกดปุม Next

2) เลือก I accept the terms in the license agreement แลวกดปุม Next

สวนที่ 1-11


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

3) เลือก Complete และกดปุม next หลังจากนั้น เลือกปุม Install และกดปุม Next

4) กดปุม Finish เสร็จสิ้นการลง Program

5) Click ปุม Start up c และเปด program MYSQL Administrator

สวนที่ 1-12


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

กรอกขอมูลลงชองวาง สําหรับชอง Password ใหใส Password เดียวกันกับตอนที่ระบุไวตอนลง MySQL ในที่นี้ใช Root เปน Password เชนเดียวกับ Username

6) หลังจากกรอกขอมูลแลว กดปุม OK ซึ่งเปนการ เปด program จัดการฐานขอมูล

7) เลือก Restore จาก เมนูดานซาย และกดปุม Open Backup File ทางดานขวา

8) เลือก File onepDBPack.sql จาก แฟม Server Program และกด Open

สวนที่ 1-13


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

9) กดปุม Start Restore ที่มุมขวาลาง ของหนาตาง เพื่อทําการลงฐานขอมูล เมื่อการ ลงฐานขอมูลเสร็จสิ้นจะเกิดหนาตางใหมขึ้นมา ดังภาพ เลือกปุม Close เพื่อปดหนาตางแลว เลือก Catalogs ที่เมนูดานซาย

จะเห็นไดวามี ฐานขอมูล onepdb และ smf อยูที่มุมซายลางของหนาตาง

10) เลือก User Administration ที่เมนูดานซาย และเลือกปุม Add New User

สวนที่ 1-14


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

11) กรอก “Web user” ลงไปในกลอง ขอความหลัง MySQL User, Password และ Confirm Password และ Click ที่ Apply Changes จะสังเกตไดวามีตัวเลือก Web user ปรากฏขึ้นที่หนาตางดานซายลางแลว ใหเลือก ที่ Web user และเลือกที่ Schema Privileges

12) เลือกที่ onepdb และกดปุม << ซึ่งจะเห็น ไดวารายการที่อยูในชอง Available Privileges ซึ่งจะ ยายมาอยูใน Assigned Privilege ทั้งหมด

13) เลือก smf และกดปุม << เชนเดียวกับกรณีของ onepdb

สวนที่ 1-15


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

14) กดปุม Apply Changes เปนการ สิ้ น สุ ด ขั้ น ตอนการดํ า เนิ น การติ ด ตั้ ง MYSQL Tools เมื่ อ ดํ า เนิ น การติ ด ตั้ ง ระบบติ ด ตาม ประเมิ น ผลตามขั้ น ตอนดั ง กล า วข า งต น แล ว ระบบติ ด ตามและประเมิ น ผลภายใต โ ครงการ ติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง รวมทั้งการจัดการระบบของกระดานขาวนั้น สามารถใชงานไดถูกตองครบถวน 2.5

การบริหารจัดการระบบภายในเว็บไซต

2.5.1 ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการลุมน้ําของ Administrator ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการลุมน้ํา แบงเปน 4 ระบบยอย ไดแก ระบบรายงานการติดตาม สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, รายงานการติดตามและประเมินผลทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม, ระบบฐานขอมูลภูมิสารสนเทศ และระบบฐานขอมูลสนับสนุนการตัดสินใจ ในสวนของระบบรายงานติดตามทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะระบบรายงานและ ตัวชี้วัดเพื่อติดตามทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งครอบคลุมผลการนําเขาขอมูลของหนวยงาน ตางๆ ที่เกี่ยวของโดยแยกประเภทตามนิเวศซึ่งแบงกลุมหนวยงานดังกลาวเปน 6 นิเวศ ไดแก นิเวศปาไม นิเวศเกษตรกรรม นิเวศแหลงน้ํา นิเวศเมืองและชุมชน นิเวศอุตสาหกรรม และนิเวศชายฝงทะเล โดยมีเมนูยอย คือ รายการแบบฟอรมที่ถูกบันทึกแลว

สวนที่ 1-16


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ทั้งนี้ เมนูรายการแบบฟอรมที่ถูกบันทึก แล ว ดั ง กล า ว เจ า หน า ที่ หรื อ Administrator หรือ หนวยงานที่เกี่ยวของนั้นมีความจําเปนตอง ลงชื่อผูใชและรหัสผานเพื่อเขาสูระบบ

เมื่ อ เจ า หน า ที่ หรื อ Administrator ลงชื่ อ ผู ใ ช แ ละรหั ส ผ า นเพื่ อ เข า สู ร ะบบแล ว เมนู ร ายการ แบบฟอรมที่ถูกบันทึกแลวจะเปลี่ยนเปน ขอมูลเจาหนาที่และแบบฟอรม และระบบจัดการสารบัญเว็บที่ เกี่ยวของ ในเมนูขอมูลเจาหนาที่และแบบฟอรมจะมีระบบควบคุมผูใชและจัดการแบบฟอรม และในเมนู สารบัญเว็บที่เกี่ยวของจะมีระบบจัดการสารบัญเว็บที่เกี่ยวของ 2.5.2 ระบบจัดการขอมูลผูใชงานระบบ ระบบควบคุ ม ผู ใ ช แ ละจั ด การ แบบฟอรมจะแสดงขอมูลผูใชงานในระบบ ของทุ ก นิ เ วศและสามารถเลื อ กดู ข อ มู ล xxxxxx xxxxxx ผูใชงานระบบของแตละนิเวศได ซึ่งในหนา xxxxxx นี้เ จา หน า ที่ หรือ Administrator สามารถ xxxxxx เพิ่ ม แก ไ ข และลบข อ มู ล ผู ใ ช ง านระบบ xxxxxx xxxxxx เจาหนาที่ หรือ Administrator สามารถเขา ไปดูขอมูลหนวยงานของทุกนิเวศไดเมื่อเลือกปุมขอมูลหนวยงาน นอกจากนั้นเจาหนาที่ หรือ Administrator สามารถเขาไปดูรายงานของแตละผูใชที่มีการนําเขาขอมูลได

สวนที่ 1-17


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

หน า เพิ่ ม ข อ มู ล ผู ใ ช ง าน ระบบ มีแบบฟอรมขอมูลผูใชงาน ระบบใหกรอกขอมูล และเจาหนาที่ หรือ Administrator จะตอ งกรอก รายละเอียดในชองที่มีดอกจันทรสี แดงอยูขางหลังใหครบ

หนาแกไขขอมูลแสดงรายละเอียดของผูใชงานระบบที่ถูกเลือก และเจาหนาที่ หรือ Administrator สามารถแกไขรายละเอียดของผูใชงานระบบนั้นได 2.5.3 ระบบจัดการขอมูลหนวยงานของนิเวศตางๆ ระบบจัดการหนวยงานนิเวศตางๆ แสดงขอมูลของหนวยของทุกนิเวศ เจาหนาที่ หรือ Administrator สามารถเพิ่มหนวยงานใหม หรือแกไขขอมูลของหนวยงานที่มีอยูแลว แตไมสามารถลบหนวยงานออกไปได หลังการเพิ่มหนวยงาน

การเพิ่ ม หน ว ยงานใหม จ ะมี ร ายละเอี ย ดของหน ว ยงานให ก รอกข อ มู ล และเจ า หน า ที่ หรื อ Administrator มีความจําเปนตองกรอกรายละเอียดของหนวยงานนั้นๆ ตามประเภทหนวยงาน ทั้งนี้ ใน สว นของหน าแกไขขอมูลหนว ยงานจะแสดงรายละเอีย ดของหนว ยงานที่ถูก เลือก และเจ าหน า ที่ หรือ Administrator สามารถทําการแกไขรายละเอียดของหนวยงานได สวนที่ 1-18


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2.5.4 ระบบจัดการแบบฟอรม เจ า หน า ที่ หรื อ Administrator สามารถดู ข อ มู ล แบบฟอร ม ที่ มี ก รอกไว ข องแต ผู ใ ช ง านระบบ เจาหนาที่ หรือ Administrator สามารถดูรายละเอียด หรือแกไขรายละเอียดของแตละแบบฟอรมในแตละปได แตเจาหนาที่ หรือ Administrator ไมสามารถบันทึกขอมูลเพิ่มเติมได โดยขอมูลแบบฟอรมรายงานจะแสดง ขอมูลแบบฟอรมที่ถูกกรอกไว เจาหนาที่ หรือ Administrator สามารถดูรายละเอียดของแบบฟอรมที่กรอก ไวแลว และสามารถเลือกที่จะแกไขรายละเอียดในหนานี้ได

สวนที่ 1-19


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

หนาแกไขขอมูลแบบฟอรมรายงานจะแสดงรายละเอียดของแบบฟอรมที่ถูกกรอกไว ในหนานี้ เจาหนาที่ หรือ Administrator สามารถแกไขรายละเอียดของแบบฟอรม และเจาหนาที่ หรือ Administrator ยังสามารถลบแบบฟอรมดังกลาวไดเชนกัน

2.5.5 ระบบจัดการสารบัญเว็บที่เกี่ยวของ หนาระบบจัดการสารบัญเว็บที่เกี่ยวของเจาหนาที่ หรือ Administrator จะสามารถสามารถเพิ่มเติม, แกไข, ลบรายชื่อภายในสารบัญเว็บและกด URL ของเว็บเพื่อเขาสูเว็บได

สวนที่ 1-20


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

หนาเพิ่มเติมสารบัญเว็บเจาหนาที่ หรือ Administrator สามารถกรอกรายละเอียดของสารบัญได และหนาดูขอมูลสารบัญเว็บแสดงขอมูลสารบัญเว็บที่ถูกกรอกไวดวย

2.5.6 ระบบดูแลและจัดการกระดานขาวของ Administrator หนาเขาสูระบบกระดานขาว เจาหนาที่ หรือ Administrator จะตองใสชื่อและรหัสเพื่อเขาสูระบบ กระดานขาว เมื่อเขาสูระบบจะมาหนาแรกของกระดานขาว

สวนที่ 1-21


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2.5.6.1 เมนูผูดูแล หน า ผู ดู แ ลเป น หน า เครื่ อ งมื อ หลั ก สํ า หรั บ เจ า หน า ที่ หรื อ Administrator ผู ดู แ ลระบบ เจาหนาที่ หรือ Administrator จะสามารถควบคุมและปรับเปลี่ยนทั้งระบบไดจากหนานี้

2.5.6.2 เมนูรายละเอียด หนาแสดงขอมูลสวนตัว เจาหนา หรือ Administrator สามารถปรับแตงและแกไขขอมูลสวนตัวได จากหนานี้ สวนที่ 1-22


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2.5.6.3 ระบบควบคุมสมาชิก เจ า หน า ที่ หรื อ Administrator สามารถดู ร ายชื่ อ สมาชิ ก ที่ มี อ ยู ใ นหน า นี้ และเจ า หน า ที่ หรื อ Administrator สามารถทําการแกไขขอมูล ลบ และแบนสมาชิกจากหนานี้ได

สวนที่ 1-23


สวนที่ 2 การใชงานระบบติดตามประเมินผล สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1.

โครงสร า งของระบบติ ด ตามประเมิ น ผลสถานภาพทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

ในโครงสรางของระบบติดตามประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบ นิเวศของลุมน้ําบางปะกง ไดมีแนวคิดและการออกแบบใหเปนระบบที่ทําหนาที่ใหขอมูลและรับขอมูลใน ระบบเดียวกัน ผานทางระบบเครือขายอินเตอรเน็ต โดยกําหนดกลุมขอมูล 7 กลุม ดังรูปที่ 1-1 ประกอบดวย ขอมูลหลัก คือ 1. ขอมูลความเปนมาของโครงการ เปนกลุมขอมูลเพื่อนําเสนอและแนะนําเกี่ยวกับความเปนมา ของโครงการศึกษาฯ ประกอบดวย ความเปนมาของการศึกษา วัตถุประสงคและเปาหมาย พื้นที่ดําเนินการ และขอบเขตการดําเนินงาน 2. ขอมูลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนกลุมขอมูลที่จะใชเปนชองทางเผยแพร ขอมูลของพื้นที่ศึกษา โดยแบงเปนขอมูล ตอไปนี้ (1) ขอมูลพื้นฐานลุมน้ํา ประกอบดวย สภาพภูมิประเทศ ขอบเขตและลักษณะของลุมน้ําศึกษา และขอบเขตการปกครองของลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี (2) ขอมูลคุณคาเชิงพื้นที่ที่สําคัญ ไดแก ขอมูลพื้นที่ปาอนุรักษในลุมน้ํา 7 แหง ซึ่งประกอบดวย อุทยานแหงชาติเขาใหญ อุทยานแหงชาติปางสีดา อุทยานแหงชาติทับลาน อุทยานแหงชาติน้ําตกสามหลั่น เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาเขียว-เขาชมภู และเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาสอยดาว รวมทั้งขอมูลของกลุมผืนปามรดกโลกดงพญาเย็น-เขาใหญ และขอมูลของกลุมพื้นที่ปารอยตอ 5 จังหวัด (ภาคตะวันออก) (3) ขอมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่ไดจากการศึกษาในรายละเอียด จําแนกเปนราย นิเวศ ซึ่งครอบคลุม 6 นิเวศ ไดแก นิเวศปาไม นิเวศเกษตรกรรม นิเวศแหลงน้ํา นิเวศเมืองและชุมชน นิเวศ อุตสาหกรรม และนิเวศชายฝงทะเล สวนที่ 2-1


หนาแรก ความนํา วัตถุประสงคและเปาหมาย พื้นที่ดําเนินการ

ความเปนมาของโครงการ

ขอบเขตการดําเนินงาน

สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

พื้นที่ปาอนุรักษในลุมน้ํา

ขอมูลพื้นฐานลุมน้ํา

พื้นที่ปามรดกโลกดงพญาเย็น-เขาใหญ

คุณคาเชิงพื้นที่ที่สําคัญ

พื้นที่ปารอยตอ 5 จังหวัด (ภาคตะวันออก)

ขอมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (รายนิเวศ)

นิเวศปาไม นิเวศเกษตรกรรม นิเวศแหลงน้ํา นิเวศเมืองและชุมชน นิเวศอุตสาหกรรม นิเวศชายฝงทะเล

แผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกงเชิงบูรณาการ

นโยบายและแผนที่สําคัญ

แผนยุทธศาสตรการบริหารจัดการและฟนฟูนิเวศลุมน้ําบางปะกง แผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.2550-2554 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดของลุมน้ํา

ระบบ

ระบบสนับสนุน การบริหารจัดการ ลุมน้ํา

ระบบรายงานและตัวชี้วัด เพื่อการติดตาม ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม

รายงานการติดตามและประเมินผลสถานภาพ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รายการแบบฟอรมที่ถูกบันทึกแลว

นิเวศปาไม

นิเวศเกษตรกรรม

นิเวศแหลงน้ํา

นิเวศเมืองและชุมชน

นิเวศอุตสาหกรรม

นิเวศชายฝงทะเล

บันทึกขอมูลเพิ่มเติม แผนที่สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ระบบฐานขอมูลภูมิสารสนเทศ ระบบฐานขอมูลสนับสนุนการตัดสินใจ

ภาพถายดาวเทียม

เอกสารรายงานการศึกษา

เอกสารวิชาการและ เอกสารเผยแพร

เอกสารทางวิชาการ เอกสารเผยแพร

กระดานขาว ระบบรายงานสถานการณจากทองถิ่น (Webboard)

เครือขายในพื้นที่ลมุ น้ํา และ สารบัญเว็บที่เกี่ยวของ

เครือขายในพื้นที่ลุมน้ํา Weblink หนวยงานและองคกรที่เกี่ยวของ

รูปที่ 1-1 ผังโครงสรางและองคประกอบของระบบติดตามประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง ป พ.ศ.2551

สวนที่ 2-2


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

3. ขอมูลนโยบายและแผนที่สําคัญ เปนกลุมขอมูลที่ไดรวบรวมนโยบายและแผนที่เกี่ยวกับการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี เพื่อเปนขอมูลสําหรับผูที่สนใจ เขาใชงานระบบฯ ประกอบดวย แผนบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกงเชิงบูรณาการ แผนยุทธศาสตร การบริหารจัดการและฟนฟูนิเวศลุมน้ําบางปะกง แผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.2550-2554 และ แผนยุทธศาสตรการพัฒนาของจังหวัดในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี 4. ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการลุมน้ํา จัดเปนกลุมขอมูลที่สําคัญที่สุดของเว็บไซต โดยเปน ส วนงานพั ฒนาระบบให สามารถรองรั บการรายงานสถานภาพทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล อมจาก หนวยงานที่เกี่ยวของตามระบบอินเตอรเน็ตได โดยแบงสวนของระบบออกเปน 3 ระบบยอย (1) ระบบรายงานและตัวชี้วัดเพื่อการติดตามทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนสวน นําเขาขอมูลของหนวยงานที่รับผิดชอบในการกรอกขอมูลตามสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติฯ โดยที่แตละ หนวยงานตอง Log in เขาสูระบบ รวมทั้งระบบครอบคลุมเมนูยอยตอไปนี้ (1.1) รายงานการติดตามและประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (1.2) รายการแบบฟอรมที่ถูกบันทึกแลว และ (1.3) บันทึกขอมูลเพิ่มเติม (2) ระบบฐานขอมูลภูมิสารสนเทศ แสดงผลในรูปแบบของแผนที่สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนขอมูลสําหรับดาวนโหลดในลักษณะของภาพ ประมาณ 94 ภาพ และฐานขอมูล สารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ซึ่งประกอบไปดวยกลุมขอมูลตางๆ ดังนี้ • กลุมชั้นขอมูลมาตรฐานของแผนที่ชุด L7018 ของกรมแผนที่ทหาร 11 ชั้นขอมูล • กลุมชั้นขอมูลพื้นฐาน 13 ชั้นขอมูล • กลุมชั้นขอมูลนิเวศปาไม 14 ชั้นขอมูล • กลุมชั้นขอมูลนิเวศเกษตรกรรม 19 ชั้นขอมูล • กลุมชั้นขอมูลนิเวศแหลงน้ํา 15 ชั้นขอมูล • กลุมชั้นขอมูลนิเวศเมืองและชุมชน 24 ชั้นขอมูล • กลุมชั้นขอมูลนิเวศชายฝงทะเล 18 ชั้นขอมูล รวมทั้ง Map Sever และภาพถายดาวเทียม หรือการประยุกตใช Google Earth ใน ลักษณะของภาพถายดาวเทียมที่มีรายละเอียดสูง และสามารถระบุตําแหนงพิกัดสําคัญของพื้นที่บนแผนที่ ซึ่งแสดงผลสภาพพื้นที่จริงไดชัดเจนมากกวาการแสดงผลในรูปแบบแผนที่ทั่วไป ทั้งนี้ ภายใตระบบรายงานสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในสวนของ ระบบฐานขอมูลภูมิสารสนเทศจะแสดง Map Server ของโครงการประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในลุมน้ําบางปะกง และ Map Server ในสวนของโครงการติดตามและประเมินผลการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง และลุมน้ําปราจีนบุรี สวนที่ 2-3


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(3) ระบบฐานขอมูลสนับสนุนการตัดสินใจ เปนรูปแบบการแสดงผลในลักษณะของระบบสารสนเทศ ที่รวบรวมขอมูล และจัดทําแบบจําลองในการตัดสินใจที่สําคัญ เพื่อชวยในการตัดสินปญหาแกปญหาหรือ เลือกโอกาสที่เกิดขึ้น โดยครอบคลุม 17 เรื่อง ดังตอไปนี้ (1.1) ขอบเขตจังหวัด / อําเภอ (1.2) พื้นที่ปาตนน้าํ ลําธาร (1.3) พื้นที่เกษตรกรรม (1.4) พื้นที่ดินที่มีปญ  หาในการทําเกษตรกรรม (1.5) การจัดการดิน (1.6) การจัดการดินที่ผานการทํากุง (1.7) การฟน ฟูพนื้ ทีผ่ านการเลี้ยงกุงกุลาดํา (1.8) ขั้นตอนการฟน ฟูพื้นทีน่ ากุง ในเขตน้ําเค็ม (1.9) ขั้นตอนการฟน ฟูพื้นทีน่ ากุง ในเขตน้ําจืด ดินลางเปนตะกอนน้ําทะเล (1.10) ระบบบําบัดและการจัดการน้ําทิ้งจากการเลี้ยงปลาน้าํ จืด (1.11) การจัดการมลพิษในฟารมสุกร (1.12) ระบบการตัดสินใจในการจัดการดานมลพิษจากฟารมสุกร (ที่มา : สวนน้ําเสีย เกษตรกรรม สํานักจัดการคุณภาพน้ํา กรมควบคุมมลพิษ) (1.13) ขอบเขตและขนาดของพื้นทีส่ ีเขียวทีเ่ หมาะสม (1.14) การเปรียบเทียบคุณภาพน้าํ ตามประเภทแหลงน้ํา (1.15) การบริหารจัดการแหลงน้ําขนาดเล็ก (ที่มา : สวนฐานขอมูลสารสนเทศ สํานัก เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมพัฒนาที่ดิน และคณะที่ปรึกษาจาก คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) (1.16) การจัดทําพนังกั้นน้ําที่เหมาะสม (1.17) พื้นที่ปาชายเลน 5. ขอมูลเอกสารวิชาการและเอกสารเผยแพร เปนกลุมขอมูลที่ใชเปนแหลงสืบคน และดาวนโหลด ขอมูลทางวิชาการที่เปนผลผลิตจากการศึกษาที่ผานมาทั้งหมด เพื่อสามารถนําไปประกอบการใชประโยชน ตางๆ ประกอบดวย (1) เอกสารรายงานการศึกษา ไดแก รายงานโครงการบริหารจัดการนิเวศลุมน้ําบางปะกง และ รายงานโครงการประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในนิเวศลุมน้ําบางปะกง (2) เอกสารทางวิชาการ ไดแก รายงานการศึกษาวิจัยภายใตโครงการประสานการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในนิเวศลุมน้ําบางปะกง ประกอบดวย ชางปาเขาอางฤๅไน วิถีชีวิตลุมน้ํา คลองทาลาด การผนวกผืนปาอนุรักษ คายเยาวชนรักษคลองทาลาด การคุมครองพื้นที่เกษตรกรรมชั้นดี การคุมครองสิ่งแวดลอมชายฝงทะเล บริเวณปากแมน้ําบางปะกง และเครือขายรักษบึงพระอาจารย สวนที่ 2-4


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(3) เอกสารเผยแพร ไดแก (3.1) กฎหมายเกีย่ วของกับสิ่งแวดลอม (3.2) กองทุนสิง่ แวดลอม (3.3) การจัดการขยะอยางงาย (3.4) การจัดการพนังกัน้ น้าํ (3.5) การจัดการสิง่ แวดลอมเมืองนาอยู (3.6) การฟน ฟูพนื้ ทีท่ ี่ผานการทํานากุง (3.7) การเลี้ยงสุกรที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (3.8) คูมือดูนกเกาะทาขาม (3.9) ทองเที่ยวเชิงนิเวศลุมน้ําบางปะกง (3.10) เทคนิคการมีสว นรวมเพื่อการอนุรักษ (3.11) นโยบายและแผนการอนุรักษแมน้ํา คู คลอง (3.12) แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการนิเวศลุมน้ําอยางยั่งยืน (3.13) แนวคิดเกี่ยวกับการคุมครองพื้นที่เกษตรกรรมชั้นดี (3.14) ผืนปาดงพญาเย็น-เขาใหญ (3.15) พื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม (3.16) พื้นที่ปาอนุรักษในลุมน้ําบางปะกง (6) กระดานข า ว (Webboard) เปน ระบบรับขอมูลข า วสารอี ก รูป แบบหนึ่ ง ที่พัฒ นาขึ้ น สํ า หรั บ รองรับขอมูลสถานการณทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจากเครือขายผูใหขอมูล ซึ่งจะเปนขอมูลที่ รายงานไดในรูปแบบอิสระ หรือการประสานความรวมมือระหวางผูสนใจรวมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี (7) เครือขายในพื้น ที่ลุม น้ําและสารบัญเว็บที่เกี่ยวของ เป นสวนที่สามารถรองรับการรายงาน สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จากหนวยงานที่เกี่ยวของในการนําเขาขอมูลเครือขายใน พื้นที่รับผิดชอบ ตามระบบอินเตอรเน็ต รวมทั้งเปนสวนของระบบที่รวบรวมเว็บไซตของหนวยงาน องคกรที่ เกี่ยวของกับการบริหารจัดการพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี ซึ่งจะเปนการอํานวยความสะดวกใหกับผูใช ระบบในการเชื่อมโยงหรือสืบคนขอมูลที่นาสนใจของหนวยงานตางๆ หรือทํางานในลักษณะของการเปน เว็บทา (Portal Web) ของเครือขาย

2.

การทํางานและการใชงานภายในเว็บไซต

โครงสรางเว็บไซตของระบบติดตามและประเมินผลภายใตโครงการติดตามและประเมินผลการ จัด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ มในระบบนิ เ วศของลุ ม น้ํ า บางปะกงที่ พั ฒ นาขึ้ น ครอบคลุ ม โครงสรางและองคประกอบของระบบ 7 สวน ไดแก ความเปนมาของโครงการ สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติ สวนที่ 2-5


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

และสิ่งแวดลอม นโยบายและแผนที่สําคัญ ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการลุมน้ํา เอกสารวิชาการและ เอกสารเผยแพร กระดานขาว และสารบัญเว็บไซตที่เกี่ยวของ โดยการจัดการระบบเปนรูปแบบ Menu ที่มี ลักษณะเปน Frame ซึ่งดัดแปลง Menu ใหเปนแบบ Click to expand menu ดังนี้ 2.1

การเขาสูระบบขอมูล

การใชระบบติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศ ของลุมน้ําบางปะกง ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรีนี้ มีรูปแบบการเขาสูระบบโดยอาศัยเว็บไซต

http://bangpakong.onep.go.th

เมื่อผูใชงานเขาสูเว็บไซต ระบบจะเขาสูหนาแรก ซึ่งประกอบดวย Menu แสดงโครงสรางองคประกอบของ ระบบฯ ทางดานซายของเว็บไซต รวมทั้งแสดงเว็บลิงคของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม เว็บลิงคของโครงการประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในลุมน้ําบางปะกง ปงบประมาณ 2550 และเว็บลิงคของสารบัญเว็บหนวยงานที่เกี่ยวของภายใตโครงการติดตามและประเมินผล การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง ปงบประมาณ 2551 ทาง ดานขวาของเว็บไซต (บน) ทั้งนี้ การเขาสู Menu ตางๆ ของเว็บไซต ซึ่งเปนแบบ Click to expand menu ระบบจะแสดงผลการทํางานทางหนาจอ ดังนี้ Menu หลักแตละ Menu แสดงขอมูลสําคัญของโครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง โดยแตละ Menu มีองคประกอบของขอมูล ซึ่งเกี่ยวเนื่อง กับพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี ดังนี้ สวนที่ 2-6


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

http://www.onep.go.th

http://bpkeco2.onep.go.th

http://bangpakong.onep.go.th/......

สวนที่ 2-7


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

2.2

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ขอมูลความเปนมาของโครงการ

ความเปนมาของโครงการ มี 4 เมนูยอย ไดแก (1) ความนํา (2) วัตถุประสงคและเปาหมาย (3) พื้นที่ดําเนินการ และ (4) ขอบเขตการดําเนินงาน โดยแตละหัวขอแสดงหนาจอ ดังนี้

หนาแรกของเว็บไซต

สวนที่ 2-8


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

2.3

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ขอมูลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มี 3 เมนูยอย ไดแก เมนูยอยตอไปนี้ (1) ขอมูลพื้นฐานลุมน้ํา (2) คุณค า เชิงพื้ น ที่ ที่สํา คัญ ซึ่ ง สามารถเลือกดูขอมูลด า นล า งของหนา จอแสดงผลสถานภาพ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยมีหัวขอที่สามารถเชื่อมโยงขอมูลตอไปนี้ (2.1) พื้นที่ปาอนุรักษในลุมน้ํา (2.2) พื้นที่ปามรดกโลกดงพญาเย็น-เขาใหญ และ (2.3) พื้นที่ปารอยตอ 5 จังหวัด (ภาคตะวันออก) (3) ขอมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (รายนิเวศ)

สวนที่ 2-9


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คุ ณ ค า เชิ ง พื้ น ที่ ที่ สํ า คั ญ สามารถเลื อ กดู ขอมูลพื้นที่ปาอนุรักษในลุมน้ํา พื้นที่ปามรดกโลก ดงพญาเย็น -เขาใหญ และพื้ น ที่ป า รอยตอ 5 จังหวัด (ภาคตะวันออก)

สวนที่ 2-10

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

ขอมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (รายนิเวศ) สามารถเลือกขอมูลรายนิเวศเพื่อ Download ไปใชงาน ซึ่งหนาจอแสดงขอมูลที่ ตองการ Download ตามขั้นตอนตอไปนี้

สวนที่ 2-11

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

2.4

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ขอมูลนโยบายและแผนที่สําคัญ

นโยบายและแผนที่สําคัญ มี 4 เมนูยอย ไดแก (1) แผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกง เชิงบูรณาการ (2) แผนยุทธศาสตรการบริหารจัดการและฟนฟูนิเวศลุมน้ําบางปะกง (3) แผนการจัดการ คุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.2550-2554 และ (4) แผนยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดลุมน้ํา

สวนที่ 2-12


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

หนาจอแสดงผล : นโยบายและแผนฯ ระบบ จะแสดงขอมูลพรอมทั้ง Download ขอมูล

2.5

ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการลุมน้ํา

ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการลุมน้ํา มี 3 เมนูยอย ดังนี้ (1) ระบบรายงานและตัวชี้วัดเพื่อการติดตามทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หนาจอของระบบ จะแสดงหนา Log in เขาสูระบบ ทั้งนี้ เมื่อเขาสูระบบจะแสดงเมนูยอยตอไปนี้ (1.1) รายงานการติดตามและประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (1.2) รายการแบบฟอรมที่ถูกบันทึกแลว (1.3) บันทึกขอมูลเพิ่มเติม (2) ระบบฐานขอมูลภูมิสารสนเทศ ประกอบดวย เมนูยอยตอไปนี้ (2.1) แผนที่ ส ถานภาพทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม ฐานข อ มู ล สารสนเทศ ภูมิศาสตร (GIS) และ MAPPER / MAP SEVER (2.2) ภาพถายดาวเทียม (3) ระบบฐานขอมูลสนับสนุนการตัดสินใจ สวนที่ 2-13


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

Log in เขาสูระบบรายงานแบบฟอรม

ระบบรายงานการติดตามทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม เปนเมนูที่หนวยงานที่รับผิดชอบขอมูลเขาสู ระบบดวยการ Log in เพื่อกรอกขอมูล / แกไขขอมูล หรือ เพิ่มเติมขอมูลตามตัวชี้วัดสถานภาพทรัพยากรฯ

เมนูรายงานแบบฟอรมที่ถูกบันทึกแลว

เมนูบันทึกขอมูล

ขอมูลที่ถูกบันทึกแลว / แกไขขอมูล

สวนที่ 2-14


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

รายงานการติดตามทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (รายนิเวศ) เป น เมนู ร ายงานผลจากแบบฟอร ม ที่ แ ต ล ะหน ว ยงานกรอกข อ มู ล ตาม สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติฯ ซึ่งแสดงหนาจอดังตอไปนี้

สวนที่ 2-15


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

รายงานการติดตามทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (รายนิเวศ) นอกจากสามารถดู ข อ มู ล ภาพรวมของลุ ม น้ํ า บางปะกง-ปราจี น บุ รี แ ล ว ยังสามารถเลือกดูขอมูลรายพื้นที่ศึกษาของโครงการในแตละหนวยงานได ดังรายละเอียดตอไปนี้

เลือกหนวยงานที่ตองการดูรายงาน หลังจากนั้นระบบจะประมวลผลหนวยงาน ที่เลือก ซึ่งสามารถเลือกดูขอมูลรายปของ แตละหนวยงานได สามารถเลื อ กดู ร ายงานของแต ล ะหน ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบในการนํ า เข า ข อ มู ล ของพื้ น ที่ ศึ ก ษา โครงการไดทุกหนวยงาน ตามป พ.ศ. และรายงาน รายนิเวศ รวมทั้งปรากฏวัน เวลา และผูบันทึกขอมูล ของแตละหนวยงานดวย

สวนที่ 2-16


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สําหรับขอมูลในสวนของรายงานสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (รายนิเวศ)นั้นยังมี การเชื่อมโยงขอมูลไปยังหนาเว็บลิงคที่เกี่ยวกับประเด็นสําคัญเฉพาะตัวชี้วัด เพื่อเปนขอมูลเพิ่มเติมใหกับ หนวยงานที่เกี่ยวของหรือผูที่สนใจไดสามารถเขาไปใชงานไดทันที ซึ่งเว็บลิงคดังกลาวแสดงอยูในนิเวศ ตอไปนี้ - นิเวศเกษตรกรรม แสดงเว็บลิงคของกรมพัฒนาที่ดิน เรื่อง ขอมูลเกษตรกรที่ทําเกษตรอินทรีย/เกษตรลดการใชสารเคมี - นิเวศเมืองและชุมชน แสดงเว็บลิงคของกรมโยธาธิการและผังเมือง เรื่อง การวางผังเมืองรวมจังหวัด - นิเวศแหลงน้ํา แสดงเว็บลิงคของกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง รายงานคุณภาพน้ําของแมน้ําทั่วประเทศไทย เรื่อง รายงานคุณภาพแหลงน้ําที่สําคัญทั่วประเทศ - นิเวศชายฝงทะเล แสดงเว็บลิงคของกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําทะเลชายฝง

สวนที่ 2-17


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

สวนที่ 2-18

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สําหรับในสวนของระบบฐานขอมูลภูมิสารสนเทศนั้น แสดงผลในรูปแบบของ แผนที่ ส ถานภาพทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม ฐานข อ มู ล สารสนเทศ ภูมิศาสตร (GIS), Map Sever และภาพถายดาวเทียม

ทั้งนี้ ภายใตระบบรายงานสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ง แวดล อ ม ในส ว นของระบบฐานข อ มูล ภู มิ ส ารสนเทศจะแสดง Map Server ของโครงการประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในลุมน้ําบางปะกง และ Map Server ในสวนของ โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี

Google Earth มีรูปแบบการแสดงผลในลักษณะของ ภาพถายดาวเทียมที่มีรายละเอียดสูง และสามารถระบุตําแหนงพิกัด สําคัญของพื้นที่บนแผนที่ โดยแสดงผลสภาพพื้นที่จริงไดชัดเจน มากกวาการแสดงผลในรูปแบบแผนที่ทั่วไป

สวนที่ 2-19


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สวนของ Map Server แสดงขอมูลภายใตโครงการประสานการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในลุมน้ําบางปะกง และ Map Server ในสวนของโครงการติดตามและประเมินผลการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี

สวนที่ 2-20


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ มีรูปแบบการแสดงผลใน ลักษณะของระบบสารสนเทศที่รวบรวมขอมูล และจัดทํา แบบจําลองในการตัดสินใจที่สําคัญ เพื่อชวยในการตัดสิน ปญหาแกปญหาหรือเลือกโอกาสที่เกิดขึ้น

นอกจากนี้ ในสวนของระบบสนับสนุนการบริหารจัดการลุมน้ํายังรวมถึงระบบฐานขอมูลสนับสนุน การตัดสินใจ และภาพถายดาวเทียมหรือการประยุกตใช Google Earth กับงานสารสนเทศภูมิศาสตรดวย สําหรับ การประยุกตใช Google earth กับงานสารสนเทศภูมิศาสตร ในโครงการฯนั้น เปนรูปแบบของการ ใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรที่ทําใหผูใชงานสามารถใชแผนที่ควบคูกับภาพถายดาวเทียมในระบบพิกัด ภูมิศาสตรประกอบกับรายละเอียดของขอมูลเชิงพื้นที่ของโครงการติดตามและประเมินผลการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง โดยลักษณะของหลักการใชงานและ องคประกอบสําคัญในการใชงาน สามารถสรุปดังนี้ สวนที่ 2-21


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ระบบพิกัดภูมิศาสตรและรายละเอียดของขอมูลเชิงพื้นที่ มีองคประกอบหลัก ดังนี้ • ระบบพิกัดภูมิศาสตรในโปรแกรม Google Earth ประกอบดวย ขอมูล 2 สวนหลัก ไดแก Geographic coordinate (lat-long) พื้นหลักฐาน คือ WGS84 และ Earth Gravity Model คือ EGM96 • ขอมูลภาพถายดาวเทียม เปนขอมูลภาพดาวเทียมซึ่งถายในชวง 1-3 ป ประกอบดวย o ภาพถายดาวเทียม Landsat 7 ขนาดความละเอียดจุดภาพ 30 เมตร o ภาพถายดาวเทียม IKONOS ขนาดความละเอียดจุดภาพ 1 เมตร o ภาพถายดาวเทียม QUICKBIRD ขนาดความละเอียดจุดภาพ 0.6 เมตร • ขอมูลความสูงภูมิประเทศ(DEM) เปนขอมูล SRTM รายละเอียดของจุดภาพเทากับ 30 เมตร ความละเอียดถูกตองแนวดิ่งประมาณ 20-30 เมตร การแสดงผลขอมูลเวกเตอรดวย Keyhole Markup Language โดยสรุปความสําคัญของแตละสวน ไดดังนี้ • Keyhole Markup Language (.kml , .kmz) เปนโครงสรางภาษา XML รูปแบบหนึ่งที่ใช สําหรับการแสดงขอมูลเชิงพื้นที่บนโปรแกรม Google Earth บนฝงไคลเอน ปจจุบัน KML เปนเวอรชั่น 2.0 ซึ่งใชงานกับ Google Earth client version 3 โครงสราง KML เบื้องตน โดยเนนไปที่การสรางรูปทรง เรขาคณิตพื้นฐาน เชน point, line และ polygon • Point คือชุดขอมูลประเภทจุด (point feature) ใน Google Earth ผูใชสามารถสราง Place mark ประเภทจุดจากเครื่องมือที่โปรแกรมเตรียมไวใหได โดยโปรแกรมจะสรางเอกสาร KML ใหโดย อัตโนมัติ แถบเครื่องมือ Placemark

• Line เปนขอมูลประเภทเสน ที่ประกอบดวยชุดของจุดมากกวา 2 จุดขึ้นไป การสรางขอมูล ประเภทเสนสามารถทําไดโดยใชแทรก <Line String> • Polygon เปนฟเจอรที่ประกอบไปดวยชุดของเสนและชุดของจุดประกอบกัน โดย KML สามารถแสดงผลไดทั้งแบบโพลีกอนอยางงายและโพลีกอนแบบซับซอน แถบเครื่องมือ Polygon

การสราง KML ดวยเครื่องมือ Shp2kml สําหรับ Shp2kml เปน extension เสริมที่ใชแปลงขอมูล shape files ใหเปน KML โดย Shp2kml จะทํางานอยูบนโปแกรม Arcview 3.xx ซึ่งสามารถสรุปขั้นตอนใน การใชงานไดดังนี้ สวนที่ 2-22


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

1. เปดขอมูล shape file ที่ตองการ และตรวจสอบ Coordinate System ใหอยูในระบบ Geographic coordinate, Datum =WGS84, Spheroid = WGS84

2. เลือก extension Shape to KML บนแถบเครื่องมือ 3. กําหนดคารายละเอียดของ KML

กําหนดชื่อฟลดที่ใชแสดง

กําหนดฟลดที่ใชแสดงคําอธิบาย

4. กําหนดไดเร็กทอรี่ปลายทางที่ตองการบันทึก KML ผลลัพธ

สวนที่ 2-23


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

5. เปดไฟล KML ที่ไดดวยโปรแกรม Google Earth

6. ปรับแตงสีและสัญลักษณ โดยใชคําสัง่ properties

7. ผลลัพธที่ไดจากการปรับแตง

สวนที่ 2-24

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ประโยชนจากการใชงาน Google Earth กับโครงการติดตามและประเมินผลการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง ภาพถายดาวเทียมหรือการประยุกตใช Google Earth กับงานสารสนเทศภูมิศาสตรของโครงการ ติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง นั้ น เป น ประโยชน สํ า หรั บ การติ ดตามและประเมิ นสถานภาพของทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล อม โดยเฉพาะในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี เนื่องจากการประยุกตใช Google Earth แสดงผล โดยภาพถายดาวเทียมที่มีรายละเอียดสูง และสามารถระบุตําแหนงพิกัดตางๆ บนแผนที่ได ซึ่งจะทําใหเห็น ตํ า แหนง หรือ บริ เ วณของทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดลอ มในสภาพเปน จริ ง ได ชั ด เจนมากกว า การ แสดงผลในรูปแบบแผนที่ทั่วไป 2.6

ขอมูลเอกสารวิชาการและเอกสารเผยแพร เอกสารวิชาการและเอกสารเผยแพร มี Menu 3 เมนูยอย ประกอบดวย หนาจอตอไปนี้ (1) เอกสารรายงานการศึกษาครอบคลุมเอกสาร Download เกี่ยวกับรายงานตอไปนี้ (1.1) โครงการบริหารจัดการนิเวศลุมน้ําบางปะกง (1.2) โครงการประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง (2) เอกสารทางวิชาการ ไดแก เอกสารรายงานการศึกษาวิจัย (3) เอกสารเผยแพรเกี่ยวกับขอมูลการจัดการพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี

สวนที่ 2-25


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

สวนที่ 2-26

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

2.7

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

กระดานขาว (Webboard)

กระดานขาว หรือระบบรายงานสถานการณจากทองถิ่น (Webboard) ซึ่งเปนระบบในการแสดง ขอคิดเห็นเกี่ยวกับพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี

2.8

สารบัญเว็บที่เกี่ยวของ สารบัญเว็บที่เกี่ยวของ ประกอบดวย Weblink หนวยงานและองคกรที่เกี่ยวของ

สวนที่ 2-27


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

3.

การนําเขาขอมูลและเชื่อมโยงขอมูลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

3.1

การประยุกตใชระบบสนับสนุนการบริหารจัดการลุมน้ํา

ในการพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ระบบติ ด ตามและประเมิ น ผลการจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง เพื่อใหใชงานไดสะดวกและงายสําหรับผูใชงานจึงไดออกแบบ การประมวลผลตามขอมูลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมโครงการฯ และนําเสนอในรูปแบบ เครือขายอินเตอรเน็ต ทั้งนี้ จากการพัฒนาและปรับปรุงระบบติดตามฯ ดังกลาว สามารถนําเสนอภาพรวมของ ขอมูลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี โดยสามารถเขาสูระบบ ของแตละหนวยงานดังตัวอยางตอไปนี้

Log In เขาสูระบบ โดยแตละ หนวยงานมีรหัสเขาสูระบบเฉพาะ ของแตละหนวยงาน

xxxxxxx xxxxxxx

เมื่อเขาสูระบบเรียบรอยแลว ทางระบบฯ จะแจ ง ว า คุ ณ อยู ใ นฐานะเจ า หน า ที่ จ าก หนวยงานใด และรับผิดชอบตัวชี้วัดใด หาก ไดบันทึกขอมูลในชวงปที่ผานมา ระบบฯจะ ทําการบันทึกขอมูลไวซึ่งสามารถเรียกดู และ แกไขขอมูลได

สวนที่ 2-28


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

เมื่ อ ทํา การบั น ทึกขอ มูลเพิ่มเติม หรือ แกไ ข ขอมูลเรียบรอยแลว ระบบฯจะทําการประมวลผล และแสดงผลในรู ป แบบรายงานสถานภาพ ทรัพยากรธรรมชาติฯรายนิเวศตามตัวชี้วัดของ แตละหนวยงานรับผิดชอบ โดยระบบจะทําการ ประมวลผลตามเป า หมายและผลสั ม ฤทธิ์ ที่ กําหนดไว ในขอมูลของแตละป

3.2

แบบฟอรมการรายงานสถานภาพของหนวยงาน หรือ Stakeholder

ขอมูลหนวยงานที่รับผิดชอบในพื้นที่ศึกษาของโครงการประกอบดวย 149 หนวยงาน ซึ่งรับผิดชอบ ขอมูลโครงการฯ แตกตางกัน เพื่อประมวลผลภาพรวมของสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใน พื้นที่โครงการใหครอบคลุมพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี โดยหนวยงานแตละหนวยงานสามารถเขาสู ระบบไดภายใตการกําหนดรหัส Log In ของทางสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยแตละหนวยงานมีสวนรับผิดชอบตามขอมูลที่กําหนดให ซึ่งทางระบบจะทําการประมวลผลขอมูลเปน รายป และเทียบกับเปาหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กําหนดไวในระบบฯ รวมทั้งแสดงผลเปนรายงานสถานภาพ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยสรุปแบบฟอรมของแตละหนวยงาน จําแนกตามนิเวศไดดังนี้ 3.2.1.1 แบบฟอรมการรายงานสถานภาพ : นิเวศปาไม หนวยงานในนิเวศปาไม ประกอบด วย 7 หนว ยงาน ซึ่ง รับผิดชอบพื้ นที่ เฉพาะ โดยใช แบบฟอรมเดียวกัน ไดแก 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7)

อุทยานแหงชาติเขาใหญ อุทยานแหงชาติทับลาน อุทยานแหงชาติปางสีดา อุทยานแหงชาติน้ําตกสามหลั่น เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาสอยดาว เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาเขียว-เขาชมภู

สวนที่ 2-29


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรปาไม (พื้นที่รับผิดชอบเฉพาะของแตละอุทยานฯ และ เขตรักษาพันธุฯ) 3.2.1.2 แบบฟอรมการรายงานสถานภาพ : นิเวศเกษตรกรรม หนวยงานในนิเวศเกษตรกรรม ประกอบดวย เกษตรจังหวัด 9 จังหวัด ครอบคลุมจังหวัด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก ชลบุรี สระบุรี สระแกว ปทุมธานี จันทบุรี และนครราชสีมา ซึ่งรับผิดชอบ ขอมูลรายจังหวัด / อําเภอ ที่อยูในพื้นที่ศึกษาโครงการ และกรมพัฒนาที่ดิน รับผิดชอบขอมูลรายปของพืน้ ที่ ศึกษาโครงการ ซึ่งนําเขาขอมูลและแบบฟอรมนิเวศเกษตรกรรม สรุปไดดังนี้ สวนที่ 2-30


กรอก ป พ.ศ. ที่จะทําการบันทึกขอมูล โดยระบบฯ จะแสดงแบบฟอรมของเกษตรจังหวัดฯ โดย แสดงขอ มู ลเปน รายอํ าเภอของพื้ น ที่ โ ครงการฯ ซึ่ง เกษตรจั ง หวั ดจะกรอกข อ มูลแต ล ะอํ าเภอ หลังจากนั้น ระบบจะทําการประมวลผลตามขอมูลที่นําเขาสูระบบฯ และแสดงเปนรายงานฯ รายป ที่ดําเนินการนําเขาขอมูล

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรเกษตรกรรม ของเกษตรจังหวัด (รายจังหวัด / อําเภอ)

โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

สวนที่ 2-31 สวนที่ 2-31

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรเกษตรกรรม ของกรมพัฒนาทีด่ ิน (รายป)

สวนที่ 2-32


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

3.2.1.3 แบบฟอรมการรายงานสถานภาพ : นิเวศแหลงน้ํา หนวยงานในนิเวศแหลงน้ํา ประกอบดวย หนวยงานตอไปนี้ ชลประทานจังหวัด 9 จังหวัด ครอบคลุมจังหวัดฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก ชลบุรี สระบุรี สระแกว ปทุมธานี จันทบุรี และนครราชสีมา ซึ่งรับผิดชอบรายจังหวัดและอําเภอในพื้นที่โครงการ กรมควบคุมมลพิษ รับผิดชอบขอมูลรายป ของแมน้ําบางปะกง แมน้ําปราจีนบุรี และ แมน้ํานครนายก ทรัพยากรน้ําภาคที่ 2 สระบุรี ครอบคลุมจังหวัดสระบุรี ปทุมธานี ทรัพยากรน้ําภาคที่ 5 ครอบคลุมจังหวัดนครราชสีมา และทรัพยากรน้ําภาคที่ 6 ครอบคลุมจังหวัดฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก ชลบุรี สระแกว และจันทบุรี ซึ่งรับผิดชอบขอมูลรายปของจังหวัด มีระบบรายงานและแบบฟอรม ดังนี้

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรแหลงน้ํา ของชลประทานจังหวัด (รายจังหวัด / อําเภอ)

สวนที่ 2-33


คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรแหลงน้ํา ของกรมควบคุมมลพิษ (รายป)

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรแหลงน้ํา ของ ทรัพยากรน้าํ ภาคที่ 2, 5 และ 6 (รายปของจังหวัด)

โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

สวนที่ 2-34 สวนที่ 2-34


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

3.2.1.4 แบบฟอรมการรายงานสถานภาพ : นิเวศเมืองและชุมชน นิเวศเมืองและชุมชนมีหนวยงานรับผิดชอบ ประกอบดวย หนวยงานตอไปนี้ เทศบาล ซึ่งครอบคลุมเทศบาลทั้งสิ้น 66 เทศบาล ซึ่งรับผิดชอบพื้นที่เฉพาะเทศบาลนั้นๆ โยธาธิ ก ารและผั ง เมื อ งจั ง หวั ด 9 จั ง หวั ด ครอบคลุ ม จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา ปราจี น บุ รี นครนายก ชลบุรี สระบุรี สระแกว ปทุมธานี จันทบุรี และนครราชสีมา รับผิดชอบรายจังหวัดและอําเภอใน พื้นที่โครงการ ศูนยการทองเที่ยว กีฬา และนันทนาการจังหวัด 9 จังหวัด ครอบคลุมจังหวัดฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก ชลบุรี สระบุรี สระแกว ปทุมธานี จันทบุรี และนครราชสีมา รับผิดชอบรายจังหวัดและ อําเภอในพื้นที่โครงการ สํานักศิลปากรที่ 2 สุพรรณบุรี รับผิดชอบจังหวัดปทุมธานี สํานักศิลปากรที่ 3 พระนครศรีอยุธยา รับผิดชอบจังหวัดนครนายก สระบุรี สํานักศิลปากรที่ 5 ปราจีนบุรี รับผิดชอบจังหวัดฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ชลบุรี สระแกว และจันทบุรี สํานักศิลปากรที่ 12 นครราชสีมา รับผิดชอบจังหวัดนครราชสีมา สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รับผิดชอบตัวชี้วัดเฉพาะ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ มจั ง หวั ด 9 จั ง หวั ด ครอบคลุ ม จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา ปราจีนบุรี นครนายก ชลบุรี สระบุรี สระแกว ปทุมธานี จันทบุรี และนครราชสีมา ซึ่งรับผิดชอบขอมูลรายป ของจังหวัด มีระบบรายงานและแบบฟอรม สรุปไดดังนี้

กรอก ป พ.ศ. ที่จะทําการบันทึกขอมูล ทั้งนี้ ระบบฯ จะแสดงแบบฟอรมของเทศบาลฯ โดยแสดงขอมูลเฉพาะพื้นที่ เทศบาลของจังหวัดของพื้นที่ศึกษา โดยเทศบาลนั้นๆ เลือกกรอกขอมูลเฉพาะในพื้นที่รับผิดชอบของตน หลังจากนั้น ระบบจะทําการประมวลผลตามขอมูลที่นําเขาสูระบบฯ และแสดงเปนรายงานฯ รายป

สวนที่ 2-35


คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรเมืองและชุมชน ของเทศบาล (พื้นที่รับผิดชอบ)

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรเมืองและชุมชน ของโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด (รายจังหวัด /อําเภอ)

โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

สสววนที นที่ ่2-36 2-36


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรเมืองและชุมชน ของศูนยการทองเที่ยว กีฬา และนันทนาการจังหวัด (รายจังหวัด / อําเภอ)

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรเมืองและชุมชนของสํานักศิลปากรที่ 2, 3, 5 และ 12 (รายจังหวัด / อําเภอ) สวนที่ 2-37


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรเมืองและชุมชนของ สผ. (พื้นที่โครงการ)

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรเมืองและชุมชน ของ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัด (ระดับจังหวัด) สวนที่ 2-38


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

3.2.1.5 แบบฟอรมการรายงานสถานภาพ : นิเวศอุตสาหกรรม นิเวศอุตสาหกรรมมีหนวยงานรับผิดชอบ ประกอบดวย การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย รับผิดชอบเฉพาะพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมของพืน้ ทีโ่ ครงการ อุตสาหกรรมจังหวัด 9 จังหวัด ครอบคลุมจังหวัดฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก ชลบุรี สระบุรี สระแกว ปทุมธานี จันทบุรี และนครราชสีมา รับผิดชอบขอมูลรายจังหวัดและอําเภอในพื้นที่โครงการ นิคมอุตสาหกรรมเกตเวย ซิตี้ นิคมอุตสาหกรรมเวลโกรว นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร เขตอุตสาหกรรมกบินทรบุรี สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน กบินทรบุรี เขตอุตสาหกรรม 304 อินดัสเทรียล ปารค ซึ่งมีระบบรายงานและแบบฟอรม ดังนี้ ทั้งนี้ มีระบบรายงานและแบบฟอรม สรุปไดดังนี้

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรอุตสาหกรรม ของการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

สวนที่ 2-39


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรอุตสาหกรรม ของอุตสาหกรรมจังหวัด (รายจังหวัด / อําเภอ)

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรอุตสาหกรรม ของนิคมอุตสาหกรรม / เขตอุตสาหกรรม และสวนอุตสาหกรรม (พื้นที่รับผิดชอบเฉพาะ) สวนที่ 2-40


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

3.2.1.6 แบบฟอรมการรายงานสถานภาพ : นิเวศชายฝงทะเล นิเวศชายฝงทะเลมีหนวยงานที่เกี่ยวของ ประกอบดวย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กรมประมง กรมการขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวี และประมงจังหวัด 2 จังหวัด ไดแก จังหวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัดชลบุรี โดยมีระบบรายงานแบะแบบฟอรม ดังนี้

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรชายฝง ทะเล ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง (ตําบลทาขาม และปากแมน้ําบางปะกง)

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรชายฝง ทะเล ของกรมประมง (ตําบลทาขาม ปากแมน้ําบางปะกง) สวนที่ 2-41


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรชายฝง ทะเล ของกรมขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวี (ตําบลทาขาม ปากแมนา้ํ บางปะกง)

แบบฟอรมการรายงาน-สถานภาพทรัพยากรชายฝง ทะเล ของประมงจังหวัด (พื้นทีจ่ ังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี (รายป)) สวนที่ 2-42


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

3.3

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

รายงานการติดตามและประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

จากขอมูลขางตน เมื่อมีการบันทึกขอมูลเพิ่มเติม หรือแกไขขอมูลเรียบรอยแลว ระบบติดตามและ ประเมินผลฯ จะทําการประมวลผลและแสดงผลในรูปแบบรายงานสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ตามตัวชี้วัดของแตละหนวยงานที่รับผิดชอบ โดยระบบจะทําการประมวลผลเปรียบเทียบตาม เปาหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กําหนดไว ในรูปแบบขอมูลของแตละป ดังตัวอยางระบบรายงานสถานภาพ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตอไปนี้

ตัวอยางการแสดงผลรูปแบบตารางสถิติ สวนที่ 2-43


คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ตัวอยางการแสดงผลรูปแบบของกราฟ

โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

นที่ 2-44 ่ 2-44 สสววนที


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

นอกจากนี้ ระบบรายงานการติดตามและประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม สามารถดูรายงานของแตละหนวยงานที่รับผิดชอบนําเขาขอมูลของโครงการติดตามและประเมินผลการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง (รายนิเวศ/รายหนวยงาน) โดยเลือก ป พ.ศ. ที่ตองการดูรายงาน หลังจากนั้นระบบจะประมวลผลหนวยงานทั้งหมด ซึ่งสามารถเลือกดู รายนิเวศและรายหนวยงาน รวมทั้งในรายงานของแตละหนวยงานจะแสดงวัน เวลา และผูบันทึกขอมูลของ แตละหนวยงานที่ทําการนําเขาขอมูล

สามารถเลื อ กดู ร ายงานของแต ล ะหน ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบในการนํ า เข า ข อ มู ล ของพื้ น ที่ ศึ ก ษา โครงการไดทุกหนวยงาน ตามป พ.ศ. และรายงาน รายนิเวศ รวมทั้งปรากฏวัน เวลา และผูบันทึกขอมูล ของแตละหนวยงานดวย

สวนที่ 2-45


สวนที่ 3 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1.

ความนํา

การปรับปรุงขอมูลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมสําหรับโครงการ ดําเนินการตาม ขอกําหนดโครงการในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี ดังนี้ ลุมน้ําปราจีนบุรี ประสานและรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของ ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่ลุมน้ํา ปราจีนบุรี ทั้งขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ รวมทั้ง ขอมูล ภูมิสารสนเทศ เพื่อจัดทําขอมูลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล อ มในพื้ น ที่ ลุ ม น้ํ า ปราจี น บุ รี และระบบ ฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) เพื่อเปนฐานขอมูล ในการวิเคราะหและประเมินสถานภาพและสถานการณ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในนิเวศตางๆ ไดแก นิเวศปาไม นิเวศเกษตรกรรม นิเวศแหลงน้ํา นิเวศเมือง และชุมชน และนิเวศอุตสาหกรรม

ลุมน้ําบางปะกง ประสานและรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของ ด า นทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม รวมทั้ ง ข อ มู ล ภู มิ ส ารสนเทศและการสํ า รวจในพื้ น ที่ เพื่ อ ปรับปรุงระบบฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) และติ ด ตามประเมิ น ผลการเปลี่ ย นแปลงของ สถานภาพทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ มใน ระบบนิ เ วศของลุ ม น้ํ า ได แ ก นิ เ วศป า ไม นิ เ วศ เกษตรกรรม นิ เ วศแหล ง น้ํ า นิ เ วศเมื อ งและชุ ม ชน นิเวศอุตสาหกรรม และนิเวศชายฝงทะเล

สวนที่ 3-1


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2.

เทคนิคและวิธีการในการจัดทําฐานขอมูล

2.1

การปรับปรุงขอมูลจากภาพดาวเทียมและภาพถายทางอากาศ

การวิเคราะหขอมูลจากภาพดาวเทียม แบงออกเปน 2 สวน คือ วิธีการแปลดวยสายตา และการ วิเคราะหดวยคอมพิวเตอร ดังแสดงในรูปที่ 2-1 • วิธีการแปลขอมูลจากดาวเทียมดวยสายตา

วิธีการแปลขอมูลภาพจากดาวเทียมดว ยสายตา ไดมีการพัฒนาจากสมัย กอนโดยนํา คอมพิวเตอรเขามาชวย แตวิธีการแบบสมัยกอนยังคงเปนที่นิยมเพราะสะดวกตอการทํางาน วิธีการคือ ตอง พิมพภาพถายขอมูลจากดาวเทียม ซึ่งจะเปนภาพสีขาว-ดําหรือภาพสีผสม มาตราสวน 1:50,000 จากนั้น ผูแปลซึ่งควรจะเปนผูที่ไดรบั การฝกอบรมการแปลภาพถายจากขอมูลดาวเทียม และมีประสบการณในพื้นที่ จริงเปนอยางดี ซึ่งวิธีการแปลดวยสายตา มีดังนี้ 1) การจําแนกภาพดวยสายตา (Visual Interpretation) โดยดําเนินงานในชวงกอนการวิเคราะห ภาพดวยระบบคอมพิวเตอร การจําแนกภาพดวยสายตาเพื่อวัตถุประสงคในการศึกษาหาความสัมพันธ ระหวางปจจัยทางชีวภาพกับการใชที่ดินประเภทตางๆ และใชเปนแนวทางในการจําแนกภาพอยางละเอียด ดวยระบบคอมพิวเตอรในขั้นตอนตอไป - การจําแนกภาพดวยสายตาจะใชวิธีการแปลภาพแบบจัดลําดับขั้นตอน (Hierarchical Scheme Interpretation) โดยมีขั้นตอนในรายละเอียดดังนี้ - เขียนขอบเขตของลักษณะพื้นที่ที่เห็นไดงาย (Delineation of directly observation features) เชน แหลงน้ํา ถนน แมน้ํา ตัวเมือง เปนตน - แบงพื้นที่ที่มีสภาพคลายคลึงกันเปนเขต (Stratification of study area) โดย พิจารณาจากสี texture and pattern ของภาพ ในขั้นนี้สามารถเขียนขอบเขตไดอยางกวางๆ โดยแสดงเขต ที่มีสภาพนิเวศของพื้นที่ที่แตกตางกัน - กําหนดพื้นที่ทดสอบในแตละเขต (Test sites) ในขั้นตอนนี้ทําการคัดเลือกพื้นที่ใน ภาพเพื่อการสํารวจ โดยพิจารณาจากสีของภาพ ระดับสูงต่ํา และปจจัยตางๆ โดยเฉพาะจะตองเขาไปถึงไดงาย และเปนตัวแทนที่ดี 2) การสํารวจภาคสนาม (Field survey) มีวัตถุประสงคเพือ่ จะหาความสัมพันธระหวางสีกบั ความหมายที่แทจริง เพื่อที่จะใชขอมูลในการประกอบการแบงขอบเขตการใชที่ดินและคําอธิบายของแตละ ขอบเขต โดยเริ่มตนตั้งแตพื้นที่ตัวอยางจากสีตางๆ ของภาพ ตั้งแตสีที่สม่ําเสมอถึงสีผสม โดยพิจารณาถึง ความหยาบละเอียดของรูปแบบตางๆ ของภาพ พรอมทั้งรวบรวมขอมูล ตําแหนง (Location) ลักษณะพื้นที่ (Terrain type) พืชพันธุ (Vegetation) ชนิดดิน (Soil type) เปนตน การบันทึกขอมูลในภาคสนามจะใช ระบบ GPS ที่มีความถูกตอง 5 เมตร สวนที่ 3-2


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

การวิเคราะหขอ มูล ดาวเทียม การสืบ / การระบุ การตรวจวัด การแกปญหา 1

2

วิธีการแปลดวยสายตา

การวิเคราะหดวยคอมพิวเตอร

วิธีการวิเคราะห • การทดสอบ สมมติฐาน • การหาเหตุผล ประกอบ • การเชื่อมโยง เหตุการณ

อุปกรณและเทคนิค • • • •

รูปแบบการมองภาพ เอกสารที่เกี่ยวของ ภาพสามมิติ การคนหา

องคประกอบภาพ

อุปกรณและเทคนิค

• • • • • • • • • •

• พื้นที่ตัวแทน • เอกสารที่ เกี่ยวของ • รูปแบบทาง คณิตศาสตร

สีโทนขาว-ดํา สีผสม ขนาด รูปราง เนื้อภาพ รูปแบบ ความสูง เงา ตําแหนง ความสัมพันธ

รูปที่ 2-1 วิธกี ารวิเคราะหขอมูลดาวเทียม

สวนที่ 3-3

วิธีการวิเคราะห • การจัดกลุมตาม วิธีสถิติ • การวิเคราะห รูปแบบ • หลักการ ตัดสินใจ • การใชเหตุผล


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- การเขียนขอบเขตของลักษณะพื้นที่ (Delineation of Landform) ในขั้นตอนนี้เปน การเขียนขอบเขตที่สําคัญที่จะจําแนกแยกยอยตอไปไดอีก และเปนขั้นตอนที่มีความหมายตอการศึกษา และจําแนกการใชที่ดิน จากการศึกษาพบวา ภาพถายดาวเทียม LANDSAT 5 ระบบ TM เก็บขอมูลในชวง เดือนมีนาคม จะสามารถจําแนกลักษณะของ Landform ไดเปนอยางดี การแบงขอบเขตระหวางลานตะพัก ลําน้ํา (Terrace) ที่ราบน้ําทวมถึง (Flood plain) ลานตะพักลําน้ําระดับสูง (Upper fluvial terrace) โดยอาศัย ร อ งรอยวิ วั ฒ นาการทางธรณี สั ณ ฐานมาเป น ฐานในการจํ า แนกลั ก ษณะของ Landform ต า งๆ จะมี ความสัมพันธกับชนิดของการใชที่ดิน - การเขียนขอบเขตของการใชที่ดิน (Delineation of Land Use) ดังกลาวขางตน ลักษณะของ Landform จะมีความสัมพัน ธกันอยางชัดเจนกับสภาพการใชที่ดิน ในพื้ นที่ที่มีสภาพการ ระบายน้ําเลว (Poorly drained) จะถูกใชทํานาขาว ในขณะที่พื้นที่ดอนที่มีการระบายน้ําดี (Well drained) จะถูกใชสําหรับพืชไร ไมผล นอกจากนี้ การจําแนกประเภทของปาไมจะตองพิจารณาลักษณะของ Landform เปนปจจัยหนึ่งดวยเชนกัน ขั้นตอนการแปลความหมายขอมูลจากดาวเทียมจะใชองคประกอบภาพเปนหลัก ซึ่งมีวิธีการและขั้นตอนการดําเนินงานดังแสดงในรูปที่ 2-2 หลักการวิเคราะหองคประกอบภาพดวยวิธีการสายตา รูปถายทางอากาศขาว-ดํา ภาพถายดาวเทียมสีผสม

การคัดเลือกภาพ

ความซับซอน การวิเคราะห หรือการแปล

ขอมูลทันสมัย มาตราสวนที่เหมาะ

ลักษณะภาพโดยรวม ลักษณะเดนในภาพ

ลําดับที่ 1

ความเขมของขาว-ดํา ความแตกตางของสี

ลําดับที่ 2

เนื้อภาพ ขนาด รูปราง

ลําดับที่ 3

รูปแบบ เงา ความสูง

ลําดับที่ 4

ตําแหนง ความสัมพันธ

ลําดับที่ 5

องคประกอบภาพ

รูปที่ 2-2 องคประกอบภาพและหลักการวิเคราะหภาพดวยวิธกี ารสายตา สวนที่ 3-4


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

• การวิเคราะหดวยคอมพิวเตอร

ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูลดวยคอมพิวเตอร แบงการวิเคราะหออกเปน 2 แบบ คือ จําแนก โดยคอมพิวเตอรตามวิธีทางสถิติ (Unsupervised Classification) และการจําแนกโดยเปรียบเทียบกับ ตัวอยางจริงหรือแบบกํากับดูแล (Supervised classification) หลักการวิเคราะหมีดังนี้ 1) การจําแนกประเภทขอมูล (Image Classification) ในการศึกษานี้จะใชการแปลทั้งแบบ แปลดวยสายตา (Visual Interpretations) และการแปลดวยคอมพิวเตอร (Automated Interpretations) โดยที่ การแปลดวยคอมพิวเตอรจะใชทั้งแบบกํากับดูแล (Supervised Classification) และแบบไมกํากับดูแล (Unsupervised Classification) ซึ่งแบบไมกํากับดูแลจะใชวิธี ISODATA Clustering Algorithm และแบบ กํากับดูแล (Supervised Classification) จะใชวิธี Maximum Likelihood โดยมีรายละเอียดขั้นตอน ดังตอไปนี้ - การจําแนกประเภทขอมูลเบื้องตน เปนการนําขอมูลดาวเทียมมาแปลและตีความดวยคอมพิวเตอรแบบไมกํากับดูแล (Unsupervised Classification) ดวยวิธี ISODATA Clustering Algorithm โดยกําหนดจํานวนกลุมประเภท ขอมูล (Cluster) ตามประเภทการใชที่ดินในพื้นที่ศึกษา ผลลัพธที่ไดจะถูกนําไปเปนแนวทางที่จะใชในการ จําแนกและวิเคราะหขอมูลขั้นตอไป - การสํารวจภาคสนาม (Ground Survey): เพื่อทําการตรวจสอบผลการจําแนกในเบื้องตนในสภาพพื้นที่ศึกษาจริงเพื่อที่จะ นําไปใชเลือกตําแหนงที่จะทํา Training Area - การจัดทําแผนที่เฉพาะดาน (Thematic Mapping) เมื่อตรวจสอบความถูกตองในการจําแนกและไดดําเนินงานแกไขใหถูกตองแลว จึงจัดทําแผนที่เฉพาะดานในรูปกระดาษ (Hard copy) ขั้นสุดทายใหอยูในรูปที่สวยงาม พรอมทั้งเพิ่มเติม ขอมูลที่จําเปนอื่นๆ ตลอดจนผลลัพธ (Output) ไปทําการจัดทําระบบฐานขอมูลที่พรอมนําเขาสูระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ตอไป 2) การศึกษาภาคสนาม ในการศึกษาครั้งนี้จะมีการเก็บขอมูลภาคสนาม เพื่อเก็บขอมูล ประกอบการแปลดวยสายตา การวิเคราะหดวยคอมพิวเตอร และการตรวจสอบความถูกตองของแผนที่เมื่อ เทียบกับพื้นที่จริง

สวนที่ 3-5


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

เทปบันทึกขอมูลดาวเทียม

ปรับปรุงขอมูล - สัญญาณภาพ - เรขาคณิต ขอมูลเสริม - รูปถายทางอากาศ - แผนที่

ภาคสนามเบื้องตน แสดงภาพแบนดเดียว/ผสมหลายแบนด

จําแนกดวยคอมพิวเตอรวิธีการตางๆ

จําแนกโดยคอมพิวเตอรตามวิธีการสถิติ

จําแนกโดยเปรียบเทียบกับตัวอยางจริงในภาคสนาม ผลจําแนกไมพอใจ

เทียบกับภาคพื้นดิน เลือกบริเวณตัวอยาง จําแนกไมพอใจ แกไขการจําแนกจนพอใจ

ตรวจสอบความถูกตอง

ผลิตแผนที่ GIS

เทียบกับภาคพื้นดิน

การติดตามการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน

แกไขการจําแนกจนพอใจ

การแปลงขอมูลจากแผนที่บน กระดาษพิมพเปนขอมูลเชิงตัวเลข

รูปที่ 2-3 ขั้นตอนการดําเนินการสรางแผนที่จากขอมูลดาวเทียม สวนที่ 3-6


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

3) หนวยแผนที่ (Mapping Units) หนวยแผนที่แสดงทรัพยากรและสิ่งแวดลอมจะจัดทํา โดยใหหลักการของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ซึ่งจะไดกลาวถึงตอไป โดยสรุปหนวยแผนที่จะ ประกอบดวย - รูปหลายเหลี่ยม (Polygon) เชน ขอบเขตปาชายเลน ขอบเขตสวนยาง ขอบเขต นาขาว เปนตน - จุด (Point) แสดงตําแหนงของหมูบาน สิ่งแวดลอม โบราณคดี หรือหนวยงานที่มี ความสําคัญตอการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอมชายฝงทะเล เชน ที่ตั้งหนวยงานปาไม - ลายเสน (Line) เชน ถนนในตําบล เปนตน

รูปที่ 2-4 ระวางภาพดาวเทียม Landsat ในพื้นที่ลมุ น้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี

สวนที่ 3-7


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ตัวอยางภาพดาวเทียม Landsat ในบริเวณ เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน

ตัวอยางภาพดาวเทียม Google Earth ในพื้นที่คลองบึงพระอาจารย

ตัวอยางภาพถายทางอากาศสี มาตราสวน 1:25,000 พื้นที่ปากแมน้ําบางปะกงและชายฝงทะเลอาวไทย

ตัวอยางภาพดาวเทียม IKONOS

รูปที่ 2-5 ตัวอยางภาพจากแหลงขอมูลการสํารวจระยะไกล (Remote Sensing) สวนที่ 3-8


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

พื้นที่ปาไม

พื้นที่ชายเลน

พื้นที่นาขาว

พื้นที่อางเก็บน้ํา/เขื่อน

พื้นที่ปลูกยูคาลิปตัส

พื้นที่นากุง-บอปลา

พื้นที่ชุมชน/เมือง

พื้นที่ปากแมน้ํา

รูปที่ 2-6 ตัวอยางภาพดาวเทียม LANDSAT TM ของทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมในลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี สวนที่ 3-9


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

พื้นที่ปาไมที่ถูกเปลี่ยนสภาพเปนพื้นที่เกษตร ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน

พื้นที่ตัวเมืองฉะเชิงเทรา

บริเวณเขื่อนทดน้ําบางปะกง

พื้นที่ตนน้ําลําธารที่มีสภาพเปนทุงหญา ในอุทยานแหงชาติเขาใหญ

พื้นที่อางเก็บน้าํ คลองสียัด

พื้นที่ฟนฟูปาไมเพื่อผนวกเขากับ เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน

นากุงในพื้นทีน่ า้ํ จืดจังหวัดนครนายก

ปาชายเลนบนเกาะทาขามปากแมน้ํา บางปะกงและบริเวณเพาะเลี้ยงปลาในกระชัง

รูปที่ 2-7 ตัวอยางภาพดาวเทียมความละเอียดสูง Google Earth ของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในลุม น้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี สวนที่ 3-10


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

2.2

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

การจัดทําฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร

การจัดทําฐานขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรสําหรับโครงการ ประกอบดวย 4 ขั้นตอน คือ การ รวบรวมแหลงขอมูลและการออกแบบฐานขอมูล การจัดเตรียมและการนําเขาขอมูลแผนที่ การตรวจสอบและแกไข โครงสรางขอมูล การนําเขาขอมูลอรรถาธิบายและเชื่อมโยงกับขอมูลแผนที่ จากนั้น จึงนําฐานขอมูลมาใช ในการวิเคราะหและจัดทําผลการศึกษาตามขอกําหนดของโครงการ สรุปไดดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมแหลงขอมูลและออกแบบฐานขอมูล การสํารวจรวบรวมแหลงขอมูล เปนการตรวจสอบขอมูลที่ไดมีการสํารวจไวโดยหนวยงานตางๆ นํามาประเมินคุณภาพขอมูล ทั้งในดานระดับความละเอียดถูกตองของขอมูล โดยเฉพาะขอมูลแผนที่ และ ในด า นความทั น สมัย ของขอมูลวาอยู ในเกณฑที่เ หมาะสมตอการใชง าน และในกรณี ที่ไม ส ามารถหา แหลงขอมูลทุติยภูมิที่เหมาะสมได ก็จะตองกําหนดวิธีการที่จะสํารวจจัดทําขอมูลนั้นขึ้นมาใหม หรือสํารวจ ปรับปรุงขอมูลเดิมใหถูกตอง ทันสมัย ครบถวน สําหรับการจัดทําฐานขอมูลแบบเวคเตอร โดยจําแนกขอมูล ออกเปน 2 ประเภทคือ ขอมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) และขอมูลคุณลักษณะ (Attribute Data) และ เชื่อมโยงขอมูล 2 ประเภทเขาดวยกัน ดวย Topology เพื่อใหเปนฐานขอมูลแบบสัมพัทธ (Relational Database) ขั้นตอนที่ 2 การจัดเตรียมและการนําเขาขอมูลแผนที่ ขอมูลแผนที่ที่รวบรวมมานั้นจะตองทําการจัดเตรียม เพื่อใหพรอมและงายตอการนําเขา รวมทั้ง เปนการตรวจสอบขอผิดพลาดที่อาจมีบนแหลงขอมูล การเตรียมขอมูลที่ดีจะทําใหการนําเขาและการแกไข ขอมูลทําไดงายและรวดเร็ว ถูกตองมากขึ้น การจัดเตรียมแผนที่สําหรับการนําเขานั้น ประกอบดวย • ตรวจสอบกําหนดจุดควบคุมพิกัดแผนที่ ซึ่งจะใชในการแปลงคาพิกัดของขอมูลแผนที่ • ตรวจสอบขอมูลแผนที่ที่สับสนหรือผิดพลาด ทําการแกไขหรือทําใหชัดเจน พื้นที่ที่มีขอมูล หนาแนนมาก อาจนําไปขยายกอนที่จะนําเขา • คัดลอกขอมูลจากแผนที่ ตน ฉบับ ลงบนวัสดุใ หม ที่ มี ความคงทนกวา เช น แผน ฟลม ไมลาร โดยเฉพาะในกรณีที่แผนที่ตนฉบับนั้นประกอบดวยขอมูลหลายประเภท และตองการนําเขา โดยการ Scan สวนที่ 3-11


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

• จัดเตรียมคารหัสประจําองคแผนที่ (Map Elements) เพื่อสามารถเชื่อมโยงกับขอมูลอรรถาธิบาย ในสวนของการนําเขาขอมูลแผนที่นั้น ทําไดหลายวิธี ขึ้นอยูกับลักษณะของขอมูลและลักษณะ ของแหลงขอมูลตนฉบับ ดังนี้ - การ Digitize แผนที่ เปนวิธีพื้นฐานซึ่งใชกันอยูเปนหลัก เปนวิธีที่ไมซับซอน ไดผลลัพธที่ นําไปแกไขตอไดทันที สามารถใส Code และแกไขขอมูลไดในระหวางการ Digitize สามารถ นําเขาขอมูลแผนที่ไดทุกประเภท โดยไมตองมีการจัดเตรียมแหลงขอมูลมากนัก - การ Scan แผนที่ เปนวิธีที่เร็วกวาการ Digitize มาก เพราะเปนการใชเครื่องอานความเขม ของแสงที่สะทอนขึ้นมาจากแผนที่ ดังนั้นจึงทําไดโดยอัตโนมัติ แตผลที่ไดจากการ Scan นั้นเปน Image ซึ่งอยูในรูปแบบขอมูล Raster และไมสามารถเลือก Scan เฉพาะขอมูล แผนที่ที่ตองการได ดังนั้น จึงตองนํามาประมวลผลแกไขอีกมาก โดยเฉพาะหากขอมูล ตนฉบับประกอบดวยขอมูลหลายประเภท และจะตองนําขอมูลที่ไดมาแปลงใหเปนขอมูล แบบ Vector อีกดวย • การพิมพคาพิกัดแผนที่เขาทางแปนพิมพ ใชในกรณีขอมูลลักษณะจุดที่มีจํานวนจุดบนแผนที่ ไมมากนัก สามารถอานคาพิกัดได หรือเปนขอมูลคาพิกัดที่มีผูหาไวแลว • การแปลงขอมูลแผนที่ที่อยูในรูปดิจิตอลอยูแลว เชน ขอมูลที่สรางขึ้นโดยซอฟทแวรอื่นๆ ขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบและแกไขโครงสรางขอมูล ขอมูลเชิงรหัสที่ไดนําเขาสูระบบนั้น ยังอาจมีความผิดพลาดและความคลาดเคลื่อน ซึ่งเกิดขึ้นใน กระบวนการนําเขา โดยเฉพาะขอมูลแผนที่ ดังนั้น จึงจําเปนตองมีขั้นตอนการตรวจสอบขอมูลในฐานขอมูล กับขอมูลตนแบบ และแกไขความผิดพลาดตางๆ ใหหมดสิ้น นอกจากนั้น ขั้นตอนนี้ยังรวมไปถึงการสราง โครงสราง Topology ใหกับขอมูลแผนที่ในฐานขอมูลอีกดวย เมื่อขอมูลไดถูกนําเขาสรางเปน Coverage และ Table ในฐานขอมูลของ Arc Info แลว ก็ยังตอง ไดรับการแกไขและตรวจสอบ เพื่ อให ขอมู ลในฐานขอมูลมีความละเอีย ดถูกตอง ทั้งดานตําแหนงและ ทางดานขอมูลอรรถาธิบายอื่นๆ ที่ปรึกษาไดดําเนินงานตรวจสอบ แกไขขอมูล เพื่อใหแนใจวาขอมูลใน ฐานขอมูลที่จัดสรางขึ้นนี้ มีมาตรฐานความถูกตองไมดอยไปกวามาตรฐานความถูกตองของแหลงขอมูลเดิม นอกจากนั้น ไดทําการจัดขอมูลลงในโครงสรางที่ออกแบบไว รวมทั้ง การสรางตารางขอมูลประกอบที่จําเปน ในการเชื่อมโยงขอมูล และการแสดงผลที่มีประสิทธิภาพดวย ซึ่งอาจสรุปเปนขั้นตอนตางๆ ไดดังนี้

สวนที่ 3-12


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

1. ตรวจสอบความครบถวนของขอมูล และความถูกตองของตําแหนง โดยการ Plot Check บน แผนโปรงแสง แลวเทียบกับแผนที่ตนฉบับ โดยทําการตรวจสอบทั้งการ Plot Check ทีละ Layer และการนํา ขอมูล Layer ตางๆ มาซอนกัน เพื่อตรวจสอบความสอดคลองของขอมูล (Composite Check) เชน ขอบเขตอําเภอ ซึ่งใชแมน้ําเปนแนวแบงเขต ควรจะตรงกับเสนของแมน้ําใน layer STREAM โดยการ Plot ขอมูลจากฐานขอมูลที่สรางเสร็จแลว ทั้งรูปแผนที่โดยการ Plot แผนที่ใหมีมาตราสวนตรงตามตนฉบับลง บนกระดาษโปรงแสง เชน กระดาษไข และ GIS จัดเก็บในลักษณะของชั้นขอมูล ทําการทาบกับแผนที่ตนฉบับ เพื่อตรวจสอบ (Stores Data as Layers) UTILITIES ความครบถวนของขอมูล และความคลาด BUILDINGS TRANSPORTATION เคลื่อนทางตําแหนงของเสน รหัสของขอมูล HYDROLOGY และตรวจสอบขอมูลอรรถาธิบาย โดยการ TOPOGRAPHIC 200 PARCEL พิมพทางเครื่องพิมพ นํามาเปรียบเทียบกับ ขอมูลอรรถาธิบายตนฉบับ REAL WORLD 2. ตรวจสอบข อ มู ล อรรถาธิ บ าย ความถูกตองของขอมูล เชน รหัสประจําองค แผนที่ (ID) โดยการแสดงขอมูลดวยสัญลักษณ และความถูกตองของตัวอักษร โดยการพิมพขอมูล 3. การสรางและตรวจสอบโครงสราง Topology ของขอมูล - เสนซอนกัน - จํานวน Polygon - Arc Overshoot / Undershoot เชน การเชื่อมปดของรูปปด (Polygon) การเชื่อมระหวางเสนในโครงขาย เชน ทางน้ํา 1121

1120

1124

1123

-

-

ขั้นตอนที่ 4 การนําเขาขอมูลอรรถาธิบาย และเชื่อมโยงเขากับขอมูลแผนที่ ขอมูลอรรถาธิบายสวนใหญเปนตาราง ตัวเลข ตัวอักษร ซึ่งการนําเขาก็ใชพิมพเขาทางแปนพิมพ (Keyboard) นอกจากนั้น ขอมูลอรรถาธิบายที่ไดพิมพเขาไว ดวยซอฟทแวรอื่นๆ เชน Word Processor, Spread Sheet ก็จะถูกแปลงเขามาสูโครงสรางฐานขอมูลที่เตรียมไว เมื่อนําเขาขอมูลแลวทําการเชื่อมโยง เขากับขอมูลแผนที่ เพื่อตรวจสอบความสอดคลองกันระหวางคารหัสที่บันทึกอยูในขอมูลทั้ง 2 ประเภท

สวนที่ 3-13


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

3.

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ฐานขอมูลภูมิสารสนเทศที่จัดทําสําหรับโครงการ

สําหรับการจัดทําฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรสําหรับโครงการไดดําเนินการจัดทําฐานขอมูล สารสนเทศภูมิศาสตร ประกอบดวย ชั้นขอมูลตางๆ เพื่อแสดงถึงขอมูลสถานภาพของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศตางๆ รวมทั้ง การนํามาวิเคราะหเพื่อเปรียบเทียบแสดงการเปลี่ยนแปลงใน ตางชวงเวลา ตามการกําหนดตัวชี้วัดสําหรับโครงการ ดังนี้ ตารางที่ 3-1 สรุปบัญชีชั้นขอมูลภูมสิ ารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม รหัสชั้น ขอมูล

ไฟลขอมูล

กลุมขอมูลพื้นฐาน Ge01 Politicboun Ge02 Tran Ge03 Contour Ge04 Land3D Ge05 Geology Ge06 Fault Ge07 Population Ge08 Landsat Ge09 Google Earth Ge10 Slopecomplex Ge11 Wshd Ge12 Land use Ge13 Landuse50 กลุมขอมูลนิเวศปาไม Fr01 Cea Fr02 Nationpark

ชั้นขอมูล

ป พ.ศ. ที่จัดทําใน ระบบ GIS

มาตราสวน

ที่มาขอมูล

เขตการปกครอง เสนทางคมนาคมรถยนต รถไฟ เสนและระดับชั้นความสูง สภาพภูมิประเทศ ธรณีวิทยา/ธรณีสณ ั ฐาน รอยเลือ่ น จํานวนประชากรรายอําเภอ ภาพดาวเทียม Landsat ภาพดาวเทียม Google Earth พื้นที่ลาดชันเชิงซอน

1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 50,000

2547 2548 2548 2551 2550 2550 2551 2549 2547 2549

พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ํา ตามมติ ครม. ป 2534 การใชประโยชนทดี่ ิน 2545 การใชประโยชนทดี่ ิน 2550

1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 50,000

กรมการปกครอง กรมแผนที่ทหาร กรมแผนที่ทหาร บริษัทที่ปรึกษา-3D กรมทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรธรณี กรมการปกครอง GISTDA Google Earth กรมพัฒนาที่ดิน ปรับปรุงโดยบริษัทฯ สผ. กรมพัฒนาที่ดิน บริษัทที่ปรึกษา-RS

1 : 50,000 1 : 50,000

2535 2549

1 : 50,000

กรมปาไม กรมอุทยานแหงชาติฯ ปรับปรุงโดยบริษทั ฯ กรมอุทยานแหงชาติฯ ปรับปรุงโดยบริษทั ฯ กรมอุทยานแหงชาติฯ ปรับปรุงโดยบริษทั ฯ

Fr03

Wildlife

จําแนกเขตการใชประโยชนในที่ดินปาไม เขตอุทยานแหงชาติ ที่ทําการและหนวย พิทักษปา เขตรักษาพันธุสัตวปา

Fr04

Firesta

สถานีไฟปา

สวนที่ 3-14

1 : 50,000

1 : 50,000

2549 2545 2550

2549 2549


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ตารางที่ 3-1 สรุปบัญชีชั้นขอมูลภูมสิ ารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม (ตอ-1) รหัสชั้น ขอมูล

ไฟลขอมูล

ชั้นขอมูล

มาตราสวน

ที่มาขอมูล

ป พ.ศ. ที่จัดทําใน ระบบ GIS 2549

Fr05

Ntforest

เขตปาสงวนแหงชาติ

1 : 50,000

Fr06

Foresttype

พืชพรรณปาไม

1 : 50,000

Fr07

Attracforest

1 : 50,000

Fr08

Elephant

1 : 50,000

บริษัทที่ปรึกษา

2550

Fr09 Fr10 Fr11

addforest habitat Good forest

แหลงธรรมชาติ แหลงทองเทีย่ วสําคัญใน ปาอนุรักษ การกระจายตัวของชางปา ในเขตรักษาพันธุ สัตวปาเขาอางฤๅไน พื้นที่ฟนฟูเพื่อผนวกผืนปาอนุรกั ษ การกระจายตัวของแหลงอาหารสัตวปา พื้นที่ปาอนุรักษทมี่ ีสภาพสมบูรณและ รอการฟนฟู

กรมปาไมปรับปรุง โดยบริษัทฯ กรมอุทยานแหงชาติฯ ปรับปรุงโดยบริษทั ฯ +RS บริษัทที่ปรึกษา

1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 50,000

2550 2550 2550

Fr12

Forest change

Fr13

SPK change

Fr14

Forest group

บริษัทที่ปรึกษา บริษัทที่ปรึกษา บริษัทที่ปรึกษา+ ขอมูลกรมพัฒนา ที่ดิน บริษัทที่ปรึกษา+ Aerial Photo+RS การวิเคราะหโดย เขตปาสงวนกับแนว เขต ส.ป.ก. กรมอุทยาน แหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กรมพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กรมชลประทาน ส.ป.ก. กรมพัฒนาที่ดิน ปรับปรุงโดยบริษัทฯ กรมพัฒนาที่ดิน ปรับปรุงโดยบริษัทฯ กรมพัฒนาที่ดิน ปรับปรุงโดยบริษัทฯ กรมพัฒนาที่ดิน ปรับปรุงโดยบริษัทฯ

2548 2548 2548 2548 2549

การเปลีย่ นแปลงสภาพการใชประโยชน ในพื้นที่ปาอนุรกั ษ การดําเนินการปฏิรูปที่ดินเพื่อการ เกษตรกรรมในพื้นที่ปาสงวน

1 : 50,000 1 : 50,000

กลุมผืนปามรดกโลกและกลุมปารอยตอ 5 จังหวัด

1 : 50,000

กลุมขอมูลนิเวศเกษตรกรรม Ag01 Soilserie Ag02 Soil unit Ag03 Irrigation Ag04 SPKPLOT Ag05 Soil_sault

ชุดดิน กลุมดิน พื้นที่ชลประทาน พื้นที่ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พื้นที่เสี่ยงตอการเกิดดินเค็ม

1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 50,000

Ag06

Soil_acid

พื้นที่เสี่ยงตอการเกิดดินเปรี้ยว

1 : 50,000

Ag07

Soil-erosion

พื้นที่เสี่ยงตอการชะลางพังทลาย

1 : 50,000

Ag08

Fisherysuit

ความเหมาะสมในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ชายฝง

1 : 50,000

สวนที่ 3-15

2550

2549

2550 2550

2549

2549 2549 2549


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ตารางที่ 3-1 สรุปบัญชีชั้นขอมูลภูมสิ ารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม (ตอ-2) รหัสชั้น ขอมูล

ไฟลขอมูล

ชั้นขอมูล

มาตราสวน

ที่มาขอมูล

ป พ.ศ. ที่จัดทําใน ระบบ GIS 2551

Ag09

Paddysuit

ความเหมาะสมของดินในการทํานา

1 : 50,000

Ag10

Cropsuit

ความเหมาะสมของดินในการปลูกพืชไร

1 : 50,000

Ag11

treesuit

ความเหมาะสมของดินในการปลูกไมผล

1 : 50,000

Ag12

Croppattern

พื้นที่ปลูกพืชจําแนกตามชนิดพืช 2549

1 : 50,000

Ag13 Ag14 Ag15 Ag16 Ag17

Floodarea Dryarea fisheryarea pigfarm Irrsuit

1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 50,000

Ag18

Agrichange

พื้นที่เสี่ยงตอการเกิดน้ําทวมซ้ําซาก พื้นที่เสี่ยงตอการเกิดภัยแลง พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา พื้นที่เพาะเลี้ยงสุกร ความเหมาะสมของดินในการทํา ชลประทาน การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ทําการเกษตรกรรม

พื้นที่ปลูกยูคาลิปตัส

1 : 50,000

กรมพัฒนาที่ดิน ปรับปรุงโดยบริษัทฯ กรมพัฒนาที่ดิน ปรับปรุงโดยบริษัทฯ กรมพัฒนาที่ดิน ปรับปรุงโดยบริษัทฯ กรมพัฒนาที่ดิน ปรับปรุงโดยบริษัทฯ กรมพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน ปรับปรุงโดยบริษัทฯ การวิเคราะหโดยใช แผนที่การใชที่ดิน ตางชวงเวลา 2546 และ 2550 กรมพัฒนาที่ดิน

1 : 50,000 1 : 50,000

กรมทรัพยากรน้ํา กรมแผนที่ทหาร

2548 2548

1 : 50,000

กรมทรัพยากรน้ํา ปรับปรุงโดยบริษัทฯ กรมทรัพยากรน้ํา บาดาล กรมทรัพยากรน้ํา บาดาล กรมทรัพยากรน้ํา บาดาล กรมทรัพยากรน้ํา กรมทรัพยากรน้ํา ปรับปรุงโดยบริษัทฯ กรมพัฒนาที่ดิน ปรับปรุงโดยบริษัทฯ

2551

Ag19 Ueaplant กลุมขอมูลนิเวศแหลงน้ํา Wt01 Basin Wt02 Waterway

1 : 50,000

Wt03

Waterbody

ระบบลุมน้ํา (ลุมน้ําหลัก-ลุมน้ําสาขา) เสนทางน้ํา แหลงน้ําธรรมชาติ คลอง ชลประทาน เขื่อนและอางเก็บน้ํา

Wt04

Hydrout

อุทกธรณีวิทยา

1 : 50,000

Wt05

Gwtyield

ศักยภาพการใหน้ําบาดาล

1 : 50,000

Wt06

Well

บอบาดาล

1 : 50,000

Wt07 Wt08

Rainfallsta Cross

สถานีวัดปริมาณน้ําฝน ภาพตัดขวางแมน้ําบางปะกง

1 : 50,000 1 : 50,000

Wt09

Levee

คันกั้นน้ําเค็ม

1 : 50,000

สวนที่ 3-16

2551 2551 2549 2550 2550 2549 2549 2551 2551

2550

2549 2549 2548 2548 2550 2548


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ตารางที่ 3-1 สรุปบัญชีชั้นขอมูลภูมสิ ารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม (ตอ-3) รหัสชั้น ขอมูล

ไฟลขอมูล

ชั้นขอมูล

มาตราสวน

Wt10

Waterclass

มาตรฐานประเภทแหลงน้ําผิวดิน

1 : 50,000

Wt11

fish

พันธุปลาและสัตวน้ําอื่นๆ ในแมน้ําบางปะกง

1 : 50,000

Wt12

aquaticplant

พันธุไมน้ําและไมริมน้ํา ในแมน้ําบางปะกง

1 : 50,000

Wt13

Weathering

1 : 50,000

Wt14

Port river

บริเวณเกิดการพังทลายของตลิ่งจากการ เปดเขือ่ นทดน้ําบางปะกง ทาเทียบเรือ

Wt15

Water Quality

สถิติคุณภาพน้ําในแมน้ําสายหลัก

1 : 50,000

กลุมขอมูลนิเวศชายฝงทะเล Co01 Mangrove

พื้นที่ปาชายเลน ไมริมน้ํา

1 : 50,000

Co02

Fishery

พื้นที่เพาะเลี้ยงปลาในกระชัง

1 : 25,000

Co03 Co04

Deltalanduse marinequality

การใชประโยชนทดี่ ินบริเวณปากแมน้ํา คุณภาพน้ําทะเลชายฝง

1 : 25,000 1 : 50,000

Co05

Seadepth

เสนชั้นความลึกทองทะเล

1 : 25,000

Co06

Deltafish

พันธุสัตวน้ําบริเวณปากแมน้ําบางปะกง

1 : 25,000

สวนที่ 3-17

ที่มาขอมูล

ป พ.ศ. ที่จัดทําใน ระบบ GIS 2549

ประกาศ คณะกรรมการ สิ่งแวดลอมแหงชาติ ปรับปรุงโดยบริษัทฯ กรมทรัพยากรทาง 2550 ทะเลและชายฝง ปรับปรุงโดยบริษัทฯ กรมทรัพยากรทาง 2550 ทะเลและชายฝง ปรับปรุงโดยบริษัทฯ กรมชลประทานและ 2549 บริษัทที่ปรึกษา กรมการขนสงทางน้ํา 2550 และพาณิชยนาวี กรมควบคุมมลพิษ 2545-2551 กรมทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝง และ สผ. กรมทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝง ปรับปรุงโดยบริษัท AerialPhoto บริษัท+Aerial Photo บริษัท+Aerial Photo กรมทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝง กรมควบคุมมลพิษ และบริษัททีป่ รึกษา กรมการขนสงทางน้ํา และพาณิชยนาวี ปรับปรุงโดยบริษัท กรมทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝง ปรับปรุงโดยบริษัท

2550

2550 2550 2550

2550

2550


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ตารางที่ 3-1 สรุปบัญชีชั้นขอมูลภูมสิ ารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม (ตอ-4) รหัสชั้น ขอมูล

ไฟลขอมูล

ชั้นขอมูล

Co07 Co08 Co09

Birdthakham Saline Dolphin

พันธุนกในเกาะทาขาม การรุกตัวของน้ําเค็ม บริเวณแหลงอาศัยและหากินของโลมา

Co10

Boat_l

Co11

Lateral_mark

เสนชั้นความลึกและแนวรองน้ําเพื่อการ เดินเรือ แนวทุนและเครื่องหมายการเดินเรือ

Co12

Mgzone2530

Co13

Mangrove_plan

Co14

Ero

Co15

Mg zone 2543

Co16

Mg use 2550

Co17

Coastal Change

Co18

Mg change

แผนที่เขตจําแนกการใชประโยชนทดี่ ินใน พื้นที่ปาชายเลน ตามมติ ครม. 15 ธ.ค. 2530 แปลงปลูกปาชายเลนของสถานีทรัพยากร ปาชายเลนที่ 5 จ.ชลบุรี พื้นที่ประสบปญหาการกัดเซาะชายฝงและ กัดเซาะตลิ่ง แผนที่การใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ปาชายเลน ตามมติ ครม. 22 ส.ค.2543 แผนที่การใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ปาชายเลน ป 2550 แผนที่เปรียบเทียบการเปลีย่ นแปลงชายฝง ทะเล แผนที่เปรียบเทียบการเปลีย่ นแปลงพื้นที่ ปาชายเลน

กลุมขอมูลนิเวศเมือง ชุมชน และอุตสาหกรรม Ur01 Village ที่ตั้งหมูบาน Ur02 School สถานศึกษา Ur03 Religionplace ศาสนสถาน Ur04 Factory ที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรม พรอมขอมูลการ จดทะเบียน Ur05 Industrial ที่ตั้งนิคมอุตสาหกรรม Ur06 Mineral ศักยภาพแหลงแร

สวนที่ 3-18

มาตราสวน

ที่มาขอมูล

1 : 25,000 1 : 50,000 1 : 25,000

บริษัทที่ปรึกษา บริษัทที่ปรึกษา บริษัทที่ปรึกษา+ Aerial Photo 1 : 100,000 กรมการขนสงทางน้ํา และพาณิชยนาวี 1 : 100,000 กรมการขนสงทางน้ํา และพาณิชยนาวี 1 : 50,000 บริษัทที่ปรึกษา+ Aerial Photo 1 : 50,000

ป พ.ศ. ที่จัดทําใน ระบบ GIS 2549 2548 2550 2541 2541 2530

2550

1 : 50,000

สถานีทรัพยากร ปาชายเลนที่ 5 จ.ชลบุรี บริษัทที่ปรึกษา+ Aerial Photo กรมปาไม

1 : 50,000

กรมพัฒนาที่ดิน

2550

1 : 50,000

บริษัทที่ปรึกษา+ Aerial Photo การซอนทับแผนที่ การใชที่ดินในเขต ปาชายเลน ป 2530, 2543 และ 2550

2550

กรมแผนที่ทหาร กรมแผนที่ทหาร กรมแผนที่ทหาร กรมโรงงาน อุตสาหกรรม บริษัทที่ปรึกษา กรมอุตสาหกรรม พื้นฐานและการ เหมืองแร

2548 2548 2548 2549

1 : 25,000

1 : 50,000

1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 50,000

2550 2543

2550

2549 2549


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ตารางที่ 3-1 สรุปบัญชีชั้นขอมูลภูมสิ ารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม (ตอ-5) รหัสชั้น ขอมูล

ไฟลขอมูล

ชั้นขอมูล

มาตราสวน

Ur07

Miningplot

ประทานบัตรเหมืองแร พรอมขอมูล

1 : 50,000

Ur08 Ur09

Tourist Archeology

1 : 50,000 1 : 50,000

Ur10

Amata

แหลงทองเทีย่ วสําคัญ แหลงโบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนแลว และ ยังไมไดขึ้นทะเบียน ผังการใชประโยชนในพื้นที่นิคมอมตะนคร

1 : 25,000

Ur11

Gateway

ผังการใชประโยชนในพื้นที่นิคมเกตเวย

1 : 25,000

Ur12

Energy

โรงไฟฟา สายสงศักยสูง สถานีจายไฟฟา

1 : 50,000

Ur13 Ur14 Ur15

Sport Publichealth Chachoengsao

1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 4,000

Ur16

Nakhonnayok

Ur17

Panusnikom

สนามกีฬา สนามกอลฟ สถานบริการสาธารณสุข ผังกายภาพในเขตผังเมืองรวมเมือง ฉะเชิงเทรา ผังกายภาพในเขตผังเมืองรวมเมือง นครนายก ผังกายภาพในเขตผังเมืองรวมเมืองพนัสนิคม

Ur18

Chonburi

ผังกายภาพในเขตผังเมืองรวมเมืองชลบุรี

1 : 4,000

Ur19

Banbung

ผังกายภาพในเขตผังเมืองรวมเมืองบานบึง

1 : 4,000

Ur20

Bangpakong

ผังกายภาพในเขตผังเมืองรวมเมืองบางปะกง

1 : 4,000

Ur21

Prachinplan

ผังเมืองรวมเมืองปราจีนบุรี

1 : 4,000

Ur22

Chachoensaoplan

ผังเมืองรวมเมืองฉะเชิงเทรา

1 : 4,000

Ur23

Nakonnayokplan

ผังเมืองรวมเมืองนครนายก

1 : 4,000

Ur24

Province plan

รางผังเมืองรวมจังหวัด

1 : 50,000

หมายแหตุ : ขอมูลรวบรวมถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2551 โดยบริษัทที่ปรึกษา * มาตราสวนแผนที่พื้นฐานที่นําเขา หรือที่จัดทํา ** หนวยงานที่จัดทําขอมูลและเผยแพร *** ปที่เผยแพรหรือจัดทําเปนขอมูลเชิงเลข (Digital Files) (+RS) มีการปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบันดวยภาพดาวเทียม

สวนที่ 3-19

1 : 4,000 1 : 4,000

ป พ.ศ. ที่จัดทําใน ที่มาขอมูล ระบบ GIS กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน 2549 และการเหมืองแร บริษัทที่ปรึกษา 2549 กรมศิลปากร 2551 ปรับปรุงโดยบริษัทฯ จัดทําประยุกตโดย 2550 กลุมบริษัทฯ+RS จัดทําประยุกตโดย 2550 กลุมบริษัทฯ+RS กรมแผนที่ทหาร และ 2548 การไฟฟาฝายผลิตฯ กรมแผนที่ทหาร 2548 กรมแผนที่ทหาร 2548 กรมโยธาธิการและ 2548 ผังเมือง กรมโยธาธิการและ 2548 ผังเมือง กรมโยธาธิการและ 2548 ผังเมือง กรมโยธาธิการและ 2548 ผังเมือง กรมโยธาธิการและ 2548 ผังเมือง กรมโยธาธิการและ 2548 ผังเมือง กรมโยธาธิการและ 2548 ผังเมือง กรมโยธาธิการและ 2548 ผังเมือง กรมโยธาธิการและ 2548 ผังเมือง กรมโยธาธิการและ 2549 ผังเมือง


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

เขตการปกครอง

เสนทางคมนาคม

เสนชั้นความสูง

สภาพภูมิประเทศ

ธรณีวิทยา/ธรณีสณ ั ฐาน

รอยเลื่อน

จํานวนประชากรรายอําเภอ

ภาพดาวเทียม Land Sat

รูปที่ 3-1 ตัวอยางแผนที่ขอ มูลภูมสิ ารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สวนที่ 3-20


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ภาพดาวเทียม Google Earth

พื้นที่ลาดชันเชิงซอน

พื้นที่ชนั้ คุณภาพลุมน้ํา ตามมติ ครม. ป พ.ศ.2534

การใชประโยชนที่ดิน ป พ.ศ.2545

การใชประโยชนที่ดิน ป พ.ศ.2550

การจําแนกเขตการใชประโยชนที่ดินปาไม ตามมติ ครม. 10 และ 17 มีนาคม 2535

เขตอุทยานแหงชาติ

เขตรักษาพันธุสัตวปา

รูปที่ 3-1 ตัวอยางแผนทีข่ อมูลภูมสิ ารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ตอ-1) สวนที่ 3-21


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สถานีไฟปา

เขตปาสงวนแหงชาติ

ชนิดพืชพรรณปาไม

แหลงธรรมชาติ แหลงทองเที่ยวที่สาํ คัญ

การกระจายตัวของชางปาในเขตฯเขาอางฤๅไน

พื้นที่ฟน ฟูเพือ่ ผนวกผืนปาอนุรักษ

การกระจายตัวของแหลงอาหารสัตวปา

พื้นที่ปาอนุรักษที่มีสภาพสมบูรณและรอการฟนฟู

รูปที่ 3-1 ตัวอยางแผนทีข่ อมูลภูมสิ ารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ตอ-2) สวนที่ 3-22


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนในพื้นที่ปาอนุรักษ

พื้นที่ดําเนินการปฏิรูปทีด่ ินเพื่อการเกษตรกรรม ในพื้นที่ปา สงวน

กลุมผืนปามรดกโลกและกลุม ปารอยตอ 5 จังหวัด

ชุดดิน

กลุมดิน

พื้นที่ชลประทาน

พื้นที่ปฏิรูปทีด่ ินเพื่อเกษตรกรรม

พื้นทีเ่ สีย่ งตอการเกิดดินเค็ม

รูปที่ 3-1 ตัวอยางแผนทีข่ อมูลภูมสิ ารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ตอ-3) สวนที่ 3-23


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

พื้นที่เสี่ยงตอการเกิดดินเปรี้ยว

พื้นที่เสีย่ งตอการชะลางพังทลาย

ความเหมาะสมในการเพาะเลี้ยงสัตวนา้ํ ชายฝง

ความเหมาะสมของดินในการทํานา

ความเหมาะสมของดินในการปลูกพืชไร

ความเหมาะสมของดินในการปลูกไมผล

พื้นที่ปลูกพืชจําแนกตามชนิดพืช ป พ.ศ.2550

พื้นทีเ่ สีย่ งตอการเกิดน้าํ ทวมซ้ําซาก

รูปที่ 3-1 ตัวอยางแผนทีข่ อมูลภูมสิ ารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ตอ-4) สวนที่ 3-24


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

พื้นที่เสี่ยงตอการเกิดภัยแลง

พื้นที่เพาะเลีย้ งสัตวน้ํา

พื้นที่เพาะเลีย้ งสุกร

ความเหมาะสมของดินในการทําชลประทาน

การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ทําการเกษตรกรรม

ระบบลุมน้าํ (ลุมน้ําหลัก-ลุมน้ําสาขา)

เสนทางน้ํา แหลงน้าํ ธรรมชาติ คลองชลประทาน

เขื่อนและอางเก็บน้ํา

รูปที่ 3-1 ตัวอยางแผนทีข่ อมูลภูมสิ ารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ตอ-5) สวนที่ 3-25


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

อุทกธรณีวิทยา

ศักยภาพการใหน้ําบาดาล

บอบาดาล

สถานีวัดปริมาณน้าํ ฝน

ภาพตัดขวางแมน้ําบางปะกง

คันกั้นน้ําเค็ม

มาตรฐานประเภทแหลงน้าํ ผิวดิน

พันธุปลาและสัตวน้ําอื่นๆ ในแมน้ําบางปะกง

รูปที่ 3-1 ตัวอยางแผนทีข่ อมูลภูมสิ ารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ตอ-6) สวนที่ 3-26


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

พันธุไมน้ําและไมริมน้ําในแมน้ําบางปะกง

บริเวณเกิดการพังทลายของตลิ่งฯ

ทาเทียบเรือ

สถิติคุณภาพน้ําในแมนา้ํ สายหลัก

พื้นที่ปาชายเลน ไมริมน้ํา

พื้นที่เพาะเลีย้ งปลาในกระชัง

การใชประโยชนที่ดินบริเวณปากแมน้ํา

คุณภาพน้ําทะเลชายฝง

รูปที่ 3-1 ตัวอยางแผนทีข่ อมูลภูมสิ ารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ตอ-7) สวนที่ 3-27


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

เสนชั้นความลึกทองทะเล

ชนิดพันธุส ัตวน้ําบริเวณปากแมนา้ํ บางปะกง

ชนิดพันธุน กในเกาะทาขาม

การรุกตัวของน้ําเค็ม

บริเวณแหลงอาศัยและหากินของโลมา

เสนชั้นความลึกและแนวรองน้ําเพื่อการเดินเรือ

แผนทีเ่ ขตจําแนกฯ พืน้ ที่ปา ชายเลนฯ ตามมติ ครม. ป พ.ศ.2530

แปลงปลูกปาชายเลนฯ

รูปที่ 3-1 ตัวอยางแผนทีข่ อมูลภูมสิ ารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ตอ-8) สวนที่ 3-28


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

พื้นที่ประสบปญหาการกัดเซาะชายฝงฯ

แผนที่การใชประโยชนที่ดนิ ชายฝงทะเล ป พ.ศ. 2543

แผนที่การใชประโยชนที่ดินชายฝงทะเล ป พ.ศ. 2550

แผนที่เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงชายฝงทะเล

แผนที่เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลง พื้นที่ปาชายเลน

ที่ตั้งหมูบาน

สถานศึกษา

ศาสนสถาน

รูปที่ 3-1 ตัวอยางแผนทีข่ อมูลภูมสิ ารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ตอ-9) สวนที่ 3-29


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรม

ที่ตั้งนิคมอุตสาหกรรม

ศักยภาพแหลงแร

ประทานบัตรเหมืองแร

แหลงทองเที่ยวที่สําคัญ

แหลงโบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนแลวฯ

ผังการใชประโยชนในพื้นที่นิคมฯอมตะนคร

ผังการใชประโยชนในพื้นที่นิคมฯเกตเวย ซิตี้

รูปที่ 3-1 ตัวอยางแผนทีข่ อมูลภูมิสารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ตอ-10) สวนที่ 3-30


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

โรงไฟฟา สายสงศักยสูง สถานีจายไฟฟา

สนามกีฬา สนามกอลฟ

สถานบริการสาธารณสุข

ผังกายภาพในเขตผังเมืองรวมเมืองฉะเชิงเทรา

ผังกายภาพในเขตผังเมืองรวมเมืองนครนายก

ผังกายภาพในเขตผังเมืองรวมเมืองพนัสนิคม

ผังกายภาพในเขตผังเมืองรวมเมืองชลบุรี

ผังกายภาพในเขตผังเมืองรวมเมืองบานบึง

รูปที่ 3-1 ตัวอยางแผนทีข่ อมูลภูมิสารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ตอ-11) สวนที่ 3-31


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ผังกายภาพในเขตผังเมืองรวมเมืองบางปะกง

ผังเมืองรวมเมืองปราจีนบุรี

ผังเมืองรวมเมืองฉะเชิงเทรา

ผังเมืองรวมเมืองนครนายก

รางผังเมืองรวมจังหวัด รูปที่ 3-1 ตัวอยางแผนทีข่ อมูลสารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ตอ-12)

สวนที่ 3-32


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

4.

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

การใชขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรโดยโปรแกรม ArcView

ArcView เปนโปรแกรม ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรหนึ่ง ที่ไดรับการพัฒนามาเปนเวลานานและ มีคนใชงานมาก เพื่อใชงานในการนําเสนอขอมูล และเรียกคนขอมูล จากโปแกรม Arc/Info หรือโปรแกรม อื่นๆ ที่สามารถใชงานไดงายและมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการทํางานบนระบบปฏิบัติการของ Windows System (Window 98 or Windows 95) ซึ่งมีเมนูตางๆ แสดงบนหนาจอ และสามารถเปดไดหลายๆ หนาตาง (Windows) ในระหวางการทํางาน โปรแกรม ArcView โปรแกรมแรก คือ ArcView 1.0 สามารถใชงานไดเฉพาะการนําเสนองานใน รูปแบบแผนที่เทานั้น แตโปรแกรมไดมีการพัฒนาเรื่อยมา จนถึง version 3.3 และปจจุบัน (พ.ศ.2548) ArcView 9.0 ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ใกลเคียงกับโปรแกรม PC Arc/Info กลาวคือนอกจากผูใชสามารถ ใชงานนําเสนอ และเรียกคนขอมูลตามเงื่อนไขตางๆ แลว ยังสามารถใชในการผลิตแผนที่ไดเปนอยางดี จะสรางและแกไขขอมูล ทั้งที่เปนพื้นที่ (Spatial Data) และตารางฐานขอมูล (Database) ไดดวย และยัง สามารถรับขอมูลที่จัดเก็บในรูปแบบตางๆ เชน AutoCAD (.dwg), Image (.tiff, .bmp, etc.) และสามารถ ใชในการวิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Analysis) ไดดวย โดยการเขียนชุดคําสั่ง (Scripts) หรือใช โปรแกรมประยุกต (ชุดคําสั่งสําเร็จรูป) ที่ไดจัดเขียนไวโดยผูเชี่ยวชาญ นอกจากนี้ ในการนําขอมูลที่ถูก จัดสรางขึ้นโดย ArcView ที่อยูในรูป Shape file ไปใชงานหรือเผยแพร เราสามารถที่จะใช Software อื่นๆ เชน ArcExplorer ซึ่งเปน Freeware ที่ทางบริษัท ESRI ไดพัฒนาขึ้นและเผยแพรผลิตภัณฑนี้ฟรี และมี ความสามารถในการแสดงผลขอมูล สอบถามและวิเคราะหขอมูล GIS ที่ไดจัดทําขึ้นไดอีกดวย โดยสามารถ เขาไป download ArcExplorer 3.1 ได 4.1

องคประกอบของ ArcView

การเขาสูโปรแกรม สามารถกระทําไดโดยการ Double-Click บน ArcView Icon (ในกรณีที่มี icon) หรือผานทาง Start → Program File→ ESRI → ArcView บนหนาจอ Window เวอรชั่นตางๆ เหมือนกับโปรแกรมอื่นๆ ทั่วไป เมื่อเขาสูโปรแกรม ArcView จะประกอบไปดวยหนาตางที่สําคัญ 6 หนาตาง คือ Project Window, View Window, Table Window, Chart Window, Layout Window และ Scripts สวนประกอบหลักๆ ของหนาตาง ArcView จะประกอบไปดวย • หนาตาง (Windows) ซึ่งประกอบดวย 5 หนาตาง คือ Project Window, View Window, Table Window, Chart Window, Layout Window และ Scripts Window • เมนู (Pull down Menus) จะเปลี่ยนแปลงไปตามการทํางานของหนาตางทั้ง 5 ชนิด • เครื่องมือ (Toolbars) จะเปลี่ยนแปลงไปตามการทํางานของหนาตางทั้ง 5 ชนิด • ไอคอน (Icon) ซึ่งอยูภายใต Project Window ประกอบไปดวย View icon, Table icon, Chart icon, Layout icon และ Scripts icon สวนที่ 3-33


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

กลองขอความหนาจอเริม่ ตน (Startup Screen Dialog) เมื่อเปดโปรแกรมแลวหนาจอจะปรากฏกลองขอความ ถามถึงการจัดการ Projectในกรณีที่สราง Project ใหม สามารถเลือกได • With a new View จะเรียก View windowใหดวย • as a blank project จะไมเรียก View window ให • Open an existing project จะเรียกขอมูลเกาที่ เก็บไว • Show this window when ArcView GIS Starts เปนการเลือกใหแสดง Dialog นี้หรือไมเมื่อเปดโปรแกรม ArcView ขึ้นมา ถาตองการใหมีเครื่องหมายถูกไว ขางหนา 4.2

การใชโปรแกรม ArcView 1. Project Window

Project คือ แฟมขอมูลที่ ArcView สรางขึ้นมาเพื่อใชใน การจัดการระบบการทํางานทั้งหมด ใน Project หนึ่งๆ ซึ่งจะรวม องคประกอบทั้งหมดใหอยูในแฟมขอมูลเดียวกัน แต Project File ที่มี นามสกุลเปน .apr (จุด-A-P-R) ซึ่งแฟมขอมูลดังกลาวจะไมมีขอมูล พื้นที่ และตารางฐานข อมูล แตจะใชในการเรียกคนขอมูลจากแหล ง สวนที่ 3-34


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ตางๆ ใน Project หนึ่งๆ จะประกอบดวยหนาตางยอย หรือองคประกอบหลัก 5 หนาตาง คือ Project Window, View Window, Table Window, Chart Window, Layout Window และ Scripts แต Arcview จะทํางานครั้งละ 1 Project เทานั้น หากตองการดูรายละเอียดใน Project อื่น ตองปด Project ที่กําลัง ทํางานอยูกอน หากเราสังเกตบน Menu Bar และ Button Bar จะมีคําสั่งหรือกลุมคําสั่งสําหรับการจัดการในเรื่อง ของ Project ทั้งสิ้น เชน มีเมนู File (จัดการแฟมขอมูล Project), Project (จัดการเกี่ยวกับคุณสมบัติใน project Window), Window (จัดการเกี่ยวกับการวางตัวของหนาตางแสดงผล) และ Help (เมนูสําหรับขอ ความชวยเหลือ) ซึ่งขึ้นอยูกับวาขณะนั้นเรากําลังเลือก Project Window ให Active หรือกําลังถูกเลือกใชงาน อยูใน Window ทั่วไปจะแสดงในลักษณะเปนกรอบสีน้ําเงินที่ Title Bar นั่นเอง ขั้นตอไปลองศึกษาเมนูของ Project Window ในคําสั่งเมนู File ดังนี้ 1) การสรางแฟมฐานขอมูลที่ทํางาน (New Project) ในการสราง Project ใหม สามารถทําไดโดยเลือกเมนู File --> New Project บน Manu Bar เชนเดียวกับการเปดขอมูลที่มีอยูแลว 2) การเปดแฟมฐานขอมูลที่มีอยูแลว (Existed Project) ในการเปด แฟมขอมูล Project ที่เคยทํางานไวอยูแลวทําไดโดยเลือกที่เมนู File Open Project… แลว เลือก แฟม Project ที่ตองการใชงานได 3) การบันทึกแฟมฐานขอมูลที่ทํางาน (Save Project) เปนการบันทึกแบบโครงการที่ทํางานเก็บไว ในฐานขอมูล เพื่อใหสามารถเรียกใชไดในครั้งตอไป ในการทํางานอาจจะบันทึกกอนหรือหลังการทํางานก็ได แตในบทนี้จะแนะนําใหบันทึกไวกอนถารูวาเราตองการเก็บขอมูลอะไรไว เชน ถาตองการเก็บขอมูลจังหวัด ปทุมธานี อาจบันทึกเปนแฟมโครงการชื่อ Pathumtani.apr ซึ่งแฟมโครงการจะมีสกุล .apr (ArcView Project) โดยที่โปรแกรม PC Arcview จะทํางานครั้งละ 1 Project เทานั้น หากตองการดูรายละเอียดใน Project อื่น ตองปด Project ที่กําลังทํางานอยูกอน ฉะนั้น ผูที่ทํางานจะตองเขาใจถึงขอจํากัดในการทํางานนี้ ** ใหเลือก Project Windows ให Active กอน เพื่อเปนการเปลี่ยนเมนูที่ตองการใชงาน ** กดปุม หรือ เลือกเมนู File Save Project As… เลือก Directories: ที่ตองการ ** ตั้งชื่อแฟมขอมูล แลวกดปุม OK ถือวาเสร็จสิ้นการบันทึก

สวนที่ 3-35


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

4) การเปลี่ยนคุณสมบัติของ Project (Project Properties) ในการจัดการขอมูลตางๆ ใน Project Window เราสามารถเขาไปจัดการไดจากเมนู Project ที่เห็นดังภาพ ซึ่งสามารถเปลี่ยนคุณสมบัติภายใน Project ที่ทํางาน หรือเกี่ยวของกับคุณสมบัติของ Icon ตางๆ บน Project Window

**Properties… เปนการเปลี่ยนคุณสมบัติของ Project เชน เปลี่ยนชื่อผูจัดทํา และตั้งคา Script ใน การเปดและปดแฟมขอมูลได หรือการตั้งคาสีของตัวเลือกได **Customize… เปนการตั้งคาเมนู Button หรือ Tools Bare หรือเราสามารถสรางเมนูได โดย สามารถเชื่อมความสัมพันธกับ Script หรือ Avenue ที่เขียนขึ้นได **Rename… ใชสําหรับการเปลี่ยนชื่อของ Objects (View, Table, Chart และ Script) ที่ถูกเลือก ใหทํางานอยู ตามที่ผูใชโปรแกรมตองการ **Delete… ใชสําหรับการลบ Objects (View, Table, Chart และ Script) ที่ถูกเลือกให Active **Add Table… เปนเมนูที่ใชในการนําเขา Table (Dbase, Info, Delimited Text) เขาสูฐานขอมูล **Import… เปนการนําเขา ArcView Project (*.apr) อื่นๆ หรือ ArcView version 1.0 กอนหนานี้ **SQL Connect… เปนการนําเขาฐานขอมูล Table จากโปรแกรมประยุกตอื่นๆ เชน (MS Excel, MS Access, dBase, Foxpro หรืออื่นๆ) หลังจากที่พอเขาใจในการควบคุมการทํางานของ Project Window มาบางแลวในขั้นตอไปเราจะตองทําความรูจัก View Window ซึ่งเปนหัวใจที่สําคัญของโปรแกรม PC ArcView ตัวหนึ่งเพราะจะใชในการแสดงผลแผนที่หรือขอมูลเชิงแผนที่ (Spatial Data) 2. View Window: การปรับแตงTheme หลังจากที่ไดเพิ่มขอมูล (Add Theme) เขาไปบนวิว ภาพที่ปรากฏบนจอจะเปนสีเดียว หรือชั้น อันตรภาคเดียว (Single Symbol) การแกไขสัญลักษณของ Theme แตละประเภทจะแตกตางกัน ใหสังเกต ดูวาเปน Theme ชนิดใด Point, Line หรือ Polygon เพื่อจะไดเขาใจปรับแกไดอยางงายดาย และเลือกชนิด ของสัญลักษณใหเหมาะสมกับแผนที่ หรือชนิดของ Theme ซึ่งการปรับแตง Legend ของแตละ Theme นั้น ขึ้นกับ Attribute Table ของ Theme ดังกลาววามีรายละเอียดในแตละ Field เปนอยางไรบาง หรือมีขอมูล ที่เราตองการใชแสดงผลหรือไมอยางไร หากมีที่ตองการก็สามารถปรับแตงไดตามขั้นตอน แตถาไมมีจะตอง สวนที่ 3-36


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

นํา Attribute Table เขามาสรางความสัมพันธ Relation ระหวางตาราง Legend Editor ในโปรแกรม ArcView สามารถแกไขสัญลักษณของขอมูลทั้งที่เปนจุด (Point) เสน (Line) และพื้นที่ (Polygon) โดยการ (Edit Legend button) หรือ Double-Click ที่ Active Theme บน View Window Click ที่เครื่องหมาย (เปนพื้นนูนขึ้นมา) แลวเลือก Legend Type ดังรูป

Legend Type มี 5 ประเภท คือ 1) Single Symbol คือ ใชสัญลักษณเดียวแสดงทุกคาของขอมูล ใชไดกับขอมูลแบบจุด เสน และพื้นที่ 2) Graduated Color คือ ใชความเขมของสี กับชั้นอันตรภาคขอมูลที่ไดแบงไว ใชไดกับขอมูลแบบ จุด เสน และพื้นที่ 3) Graduated Symbol คือ ใชขนาดของสัญลักษณกับชั้นอันตรภาคขอมูลที่ไดแบงไว ใชไดกับ เฉพาะขอมูลแบบจุด และเสน เทานั้น 4) Unique Value คือ ใชสัญลักษณหนึ่งแทนหนึ่งคาของขอมูล ใชไดกับขอมูลแบบจุด เสน และพื้นที่ 5) Dot คือ ใชจํานวนจุดเปนสัญลักษณแทนคาขอมูล ใชไดเฉพาะขอมูลแบบพื้นที่เทานั้น 6) Chart คือ ใชแผนภูมิเปนสัญลักษณแทนคาขอมูล ใชไดกับขอมูลแบบจุด เสน และพื้นที่

สวนที่ 3-37


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ถาเปน Theme ชนิด Point เชน จุดวัดปริมาณน้าํ ฝน Rain_sta ให Double-click ไปที่ Rain_sta (Edit Legend button) Theme ในชองขวาของหนาตาง หรือโดยการ Click ที่เครื่องหมาย - เลือกชนิดแบบ Single Symbol เพื่อแสดงดูเฉพาะที่ตงั้ เทานัน้ - ถาตองการ Save สัญลักษณเก็บไวใหกดปุม Save แลวเก็บเปนไฟลสกุล .avl - เมื่อเลือกเสร็จใหกดปุม Apply

ถาเปน Theme ชนิด line เชน เสนทางถนน Road หรือ Stream ให Double-click ไปที่ Road หรือ Stream Theme ในชองขวาของหนาตาง หรือโดยการ Click ที่เครื่องหมาย Button) แลวเลือกชนิดของสัญลักษณใหเหมาะสม

สวนที่ 3-38

(Edit Legend


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ถาเปน Theme ชนิด Polygon เชน ขอบเขตการปกครองระดับอําเภอ Amphur ให Double-click ไปที่ Amphur Theme ในชองขวาของหนาตาง หรือโดยการ Click ที่เครื่องหมาย Button) แลวเลือกชนิดของสัญลักษณใหเหมาะสม

(Edit Legend

การปรับแกใหเปนภาษาไทยในสวนของ Table of Content เมื่อทําการเปลี่ยนชื่อ Theme ใน สวนของคุณสมบัติใหเปนชื่อภาษาไทยแลว แตจะพบวาขอมูลใน Table Of Content (TOC) จะไมสามารถ อานภาษาไทยได เราสามารถปรับแกใหอานภาษาไทยไดดังนี้ 1. ใหเลือกเมนู View TOC Style… 2. แลวปรับแตคาใหเปน Font ภาษาไทย เชน AngsanaUPC และขนาดตัวอักษร 3. แลวกดปุม Apply และ Close ตามลําดับ

สวนที่ 3-39


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

การคัดลอก ยาย และลบ Theme

ซึ่งจากเมนู Edit --> แลวในรายละเอียดจะมีใหเลือกคือ ** Cut Themes ถาหากเรามีความตองการที่จะยาย Themes ไปยัง View อื่นๆ ได ** Copy Themes ถาหากเรามีความตองการที่จะคัดลอก Themes ไปยัง View อื่นๆ ได ** Delete Themes ถาหากเรามีความตองการที่จะลบ Themes ออกจาก View ได เมื่อไดทําการ Cut หรือ Copy แลว ใหทําการวางไวยงั View ที่ตองการโดยคําสั่ง Edit --> Paste การใสคําอธิบายแผนที่ (Text Label) 1. เลือก Theme ที่ตองการใสขอความให Active 2. เลือกเมนู Theme--> Properties 3. Click เลือกที่ Text Label Icon แลวเลือกรายละเอียดใน Label Field ที่ตองการใสขอความ และ สามารถเลือกตําแหนงของขอความ ตามเหมาะสม 4. ใสรายละเอียดของขอความ ซึ่งมี 2 วิธี (Label) แลวไปกดที่ตําแหนงที่ตองการ 4.1) ใสทีละจุดที่ตองการ ใหกดที่ปุม 4.2) ใสทั้งพื้นที่ทุกจุด หรือทุกเสน ใหเลือกเมนู Theme -->Auto Label การใสคําอธิบายและขอความเพิ่มเติมเปนภาษาไทย (Thai Label) การใสขอความอธิบาย (Label) ในครั้งแรกอาจเปนตัวหนังสือที่อานไมได หรือไมเปนที่ตองการ เราสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงได โดยมีวิธีการดังตอไปนี้

สวนที่ 3-40


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

1) เลือกไปยังตัวอักษร (Label) ที่ไมสามารถอานภาษาไทยได หรือที่ตองการเปลี่ยนรูปแบบ ตัวอักษร (Font) 2) เลือกเมนู Window -->Show Symbol Windows หรือ กด Ctrl + P ก็ได 3) เลือกแถบ (Font Palette) Pointer เพื่อไปใชในการ Click เลือก Text หรือ Label ที่อานไมได 4) กดปุม 5) แลวทําการเปลี่ยนเลือกเปน AngsanaUPC หรือ รูปแบบตัวอักษรภาษาไทย และสามารถ เปลี่ยนขนาด ประเภท และสีไดตามตองการ

3. Table Window (ตารางฐานขอมูล) Table Window เปนอีกองคประกอบหนึ่งของ Project ที่ใชในการแสดงฐานขอมูลของแผนที่หรือ ฐานขอมูลอื่นๆ ที่จะเก็บโดยใช dBase และ ArcView สามารถรับขอมูลจากแหลงอื่นๆ เชน Microsoft Access แลวนํามาบันทึกไวใน 3 รูปแบบ คือ dBase, INFO (จาก Arc/Info) และ Delimited Text การเปดตารางฐานขอมูลของ Theme ทําโดย เลือก Theme นั้นให Active แลว Click ที่ ปุม Open Theme Table หรือเลือกที่เมนู Theme แลวเลือก Table ดังภาพที่แสดง สวนที่ 3-41


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

โดยปกติในแฟมขอมูล Coverage หรือ Theme ที่สรางขึ้นดวยโปรแกรม ArcVeiw หรือ Arc/Info จะมีฐานขอมูลที่เปน Spatial Data (Graphic) และ Non-spatial Data (Attribute) จึงสามารถนํามาใชงาน ในการวิเคราะหหรือแสดงผลไดอยางสมบูรณ ซึ่ง Spatial Data มักจะแสดงอยูบน View Window สวน Non-Spatial Data จะแสดงไวบน Table Window ซึ่งขอมูลทั้งสองสวนจะสัมพันธกัน ในสวนนี้ ArcView สามารถสรางฐานขอมูล Dbase ขึ้นมาได เพื่อเปนฐานขอมูลเสริมเพื่อสราง ความสมบูรณของการอธิบาย Code ที่อยูในฐานขอมูลไดละเอียดขึ้น 4. Layout Window Layout คือ แผนที่ ที่ประกอบดวย ขอมูลตางๆ เชน ชั้นขอมูล (Themes) บน view แผนภูมิ (Chart) ตาราง (Table) หรือสัญลักษณตางๆ ทั้งที่ทําโดย ArcView หรือ นําเขาจากแหลงขอมูลตางๆ ภาพที่ปรากฏ บน Layout จะเหมือนกับขอมูลที่แสดงบน View ซึ่งใน Layout หนึ่งอาจจะมีขอมูล หลาย View การทํา Layout จาก View Window หลังจากที่ไดตกแตงภาพที่ตองการแสดง และเรียงตามลําดับกอนหลัง ตาม หลักเกณฑของการทําแผนที่ คือ คําบรรยาย จุด เสน และพื้นที่ และบริเวณที่ตองการแสดงผล (Zoom-in หรือ Zoom-out) ใหดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1) ในกรณีที่ขอมูลยังจัดเก็บโดยใชระบบคาพิกัดเสนรุง เสนแวง ใหเปลี่ยนแปลงคาพิกัดเปน UTM โดยใหกดที่ view เลือก Properties แลว เลือก Map Units (ระยะบนแผนที่) เปน Meters และ Distance Units (หนวยความยาวและหนวยที่ปรากฏที่มาตราสวน) เปน Kilometers แลวเปลี่ยนระบบ Projection ให ถูกตอง สวนที่ 3-42


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2) กด View Menu แลวเลือก Layout หลังจากนั้นใหเลือกขนาดของแผนที่ และรูปแบบตามที่ ตองการ 3) ในกรณีที่มี Layout ของ Project ที่ทํางานนี้อยูแลว เครื่องจะถามวาตองการสราง Layout ใหม หรือไม หรือสรางทับ Layout เดิม หลังเลือกแลวกด OK ก็จะไดแผนที่ดังแสดงในภาพ

สวนที่ 3-43


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

4.3

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

รูปแบบการวิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่ในโปรแกรม

การวิเคราะหขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรที่มีความสามารถในการวิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่ รวมกับขอมูลเชิงคุณลักษณะได ทําใหการวิเคราะหที่ตองการจึงมีความซับซอน และสามารถนําไปประยุกต ใชไดอยางเหมาะสม เพื่อตอบสนองความตองการของผูใชงานไดหลายๆ อยาง เชน การสอบถามขอมูลการหาที่ตั้ง (Location) โดยผูใชฐานขอมูลสามารถสอบถามไดวา “มีอะไรอยูที่ไหน? (What is at…?)” เปนคําถามที่สามารถตอบไดดวย GIS ซึ่งหากมีการเตรียมแผนที่ GIS ไดอยางถูกตอง ทําให ผูสอบถามขอมูลจากฐานขอมูลสามารถตอบคําถามไดวา จุดที่ตั้งสถานีวัดปริมาณน้ําฝน ตั้งอยูที่ตําบล หรืออําเภอ หรือจังหวัดใด หรืออาจจะอยูใกลกับถนนใด เพื่อใหงายตอการไปถึงจุดที่ตองการ และสามารถ สอบถามรายละเอียดอื่นๆ เพิ่มเติมได และทําใหเราทราบถึงพิกัดทางภูมิศาสตรได การสอบถามขอมูลโดยการตั้งเงื่อนไข (Condition) โดยตั้งเงื่อนไขในการสอบถามหรือวิเคราะห ขอมูลวา “สิ่งที่สอบถามนั้นอยูที่ไหน? (Where is it?)” พื้นที่ที่ตั้งเงื่อนไขที่ผูใชตองการสรางสถานีวัดปริมาณ น้ําฝนเพิ่มเติมในพื้นที่นั้นอยูบริเวณใดในพื้นที่ศึกษา เชน หางจากแมน้ํา 500 เมตร หางจากถนนไมเกิน 1,000 เมตร และไมตั้งอยูในพื้นที่การเกษตร เพื่อไมใหสูญเสียการใชประโยชนที่ดินทางดานการเกษตร เปนตน GIS สามารถชวยคนหาพื้นที่ที่ตั้งเงื่อนไขไวและสามารถแสดงผลในรูปแบบแผนที่และขอมูลเชิง คุณลักษณะได การสอบถามขอมูลถึงแนวโนมการเปลี่ยนแปลง (Trends) โดยที่ผูใชฐานขอมูล GIS สามารถ สอบถามขอมูลการเปลี่ยนแปลงในฐานขอมูลที่รวบรวมไววา “ในชวงระยะเวลาที่ผานมามีอะไรในพื้นที่ ศึกษาเปลี่ยนแปลงไปบาง? (What has changed since…?)” เชน สภาพการใชที่ดินที่เปลี่ยนแปลงไปใน ระยะ 10 ป จากพื้นที่เกษตรไปเปนพื้นที่อุตสาหกรรมในปจจุบันนี้ มีเนื้อที่เทาไร หรืออยูบริเวณใดบาง ซึ่งสามารถ ทําใหเห็นแนวโนมหรือพัฒนาการของพื้นที่ศึกษาหรือชุมชนในพื้นที่ศึกษาได การสอบถามขอมูลรูปแบบการเปลี่ยนแปลง (Patterns) ในการสอบถามขอมูลถึงรูปแบบของสิ่งที่ กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงนี้จะตองใชการแสดงแผนที่หรือขอมูลในรูปแบบความสัมพันธของสิ่งที่ปรากฏบน แผนที่เพื่อตรวจสอบดูวา “ขอมูลมีความสัมพันธกันในดานพื้นที่เปนอยางไร? (What spatial patterns exist?)” อยากจะหาสาเหตุของการกระจายตัวของอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ในชุมชนชนบท หรือพื้นที่ศึกษา บางแหงมีการกระจุกตัวของโรงงานอุตสาหกรรม SMEs เปนจํานวนมาก เมื่อแสดงดวย แผนที่แลวพบวาการกระจายตัวของโรงงานอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นนี้สวนใหญจะตั้งไปตามเสนทางคมนาคม สวนที่ 3-44


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ทางบกเปนปจจัยสําคัญ เพราะวางตัวไปตามแนวถนนหลัก และปจจัยรองคือแหลงน้ํา เนื่องจาก มีน้ําประปา และน้ําบาดาลที่ใชในกระบวนการผลิตอยางพอเพียง และสามารถคาดการณไปไดอีกวาการกระจายตัว จะไปทิศทางใด การสอบถามขอมูลดวยการสรางแบบจําลอง (Modeling) ซึ่งในการจัดทําแบบจําลองสถานการณนี้ สามารถทําใหผูใชฐานขอมูลซึ่งจะตองมีความรูดาน GIS มาบางสามารถใชงานไดในการกําหนด รูป แบบจําลองโดยใชฐานขอมูล และทําใหคาดการณถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นตอไปหากมีการเปลี่ยนแปลงปจจัยหรือ ตัวแปรใดๆ ในฐานขอมูล (What if…?) เชน การเตรียมขอมูลสภาพพื้นที่บริเวณที่ราบลุมเชิงเขา ใน หมูบานน้ํากอ จังหวัดเพชรบูรณ ผูจัดเตรียมฐานขอมูลจะตองสรางฐานขอมูลเสนชั้นความสูง ขอมูลชุดดิน และความสามารถในการซึมน้ํา และการระเหยของน้ําในบริเวณพื้นที่ศึกษา สภาพปาไม และปริมาณน้ําฝน โดยเฉลี่ย และคาบของปริมาณน้ําฝนอยางนอย 30 ป เพื่อใหสามารถคาดการณไดอยางแมนยํามากขึ้นใน เรื่องของปริมาณฝนที่ตก รวมถึงการไหลเขาของน้ํา และการไหลออกของน้ําจากพื้นที่ศึกษา เพื่อตรวจดู ความสมดุลของน้ําที่ชะลางลงมาสูพื้นที่วาสามารถระบายออกจากพื้นที่ไดทันเวลาหรือไมหรือจะตองทวม เปนเวลากี่ชั่วโมงหรือกี่วัน ผูใชจึงสามารถจําลองสถานการณไดวาหากฝนตกมาในปริมาณ 1,000 มิลลิเมตร จะทวมหรือไม บริเวณใดบางไดรับผลกระทบ ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรอาจจะแบงรูปแบบหลักในการวิเคราะหขอมูลได 3 รูปแบบ คือ 1. การวิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่ (Analysis of the Spatial Data) • การแปลงระบบพิกัดทางภูมิศาสตร (Transformation or Projection) การแปลงระบบ พิกัดทางภูมิศาสตร, มาตราสวน (เชน Geographic--Lat./Log. UTM) เปนการเปลี่ยนจากระบบพิกัดทาง ภูมิศาสตรจากระบบหนึ่งไปเปนอีกระบบหนึ่ง เชน ระบบพิกัดทางภูมิศาสตรแบบ Geographic--Lat./Lon. ไปเปนระบบ UTM เสนโครงแผนที่จะมีอยูหลายประเภท คุณสมบัติที่แตกตางกันออกไป การจะเลือกใชเสน โครงแผนที่ประเภทใดนั้น ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของการใชงาน แผนที่สวนใหญในประเทศไทยจะใชเสนโครงแผนที่แบบยูนิเวอรซัล ทรานสเวอรส เมอรเคเตอร (Universal Transverse Mercator Projection - UTM) ซึ่งสามารถใชโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ชวยในการแปลงระบบพิกัดได

สวนที่ 3-45


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ผลลัพธที่ไดจากการแปลงพิกัดจากระบบ Geographic มาเปน UTM • การตอแผนที่ (Mosaic) หรือการเทียบขอบ (Edge-matching) การเชื่อมตอแผนที่หลายๆ ระวางเขาดวยกัน หรือการเชื่อมตอแผนที่เรื่องเดียวกันแตมี หลายๆ ระวางหรือหลายแผนเขาดวยกัน เรียกกระบวนการนี้วา Mosaic สวน Edge-matching (การเทียบขอบ) เปนวิธีการปรับตําแหนงรายละเอียดของแผนที่ 2 ระวางขึ้นไปที่อยูตอเนื่องกัน แตเชื่อมตอกันไมสนิท จึงจําตอง ทําการปรับแผนที่เพื่อใหเปนแผนที่ที่ตอเนื่องกัน

รูปแบบการตอแผนที่โดยใชโปรแกรมชวย สวนที่ 3-46


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

• คํานวณพื้นที่ เสนรอบวง และระยะทาง การคํานวณพื้นที่ที่อยูในฐานขอมูล และสามารถ วัดพื้นที่เสนรอบวง ความยาวเสน และระยะทางของเสนได โดยโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตรจะ คํานวณไดอัตโนมัติหลังการทํา Topology แลว หรืออาจจะสอบถามผานโปรแกรมได โดยใชเครื่องมือหรือ คําสั่งในโปรแกรมเพื่อบอกระยะทางและพื้นที่ได 2. การวิเคราะหขอมูลเชิงบรรยาย (Analysis of Non-Spatial Data) ในการประมวลผลขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เราจะใชการแกไขขอมูล ตรวจสอบ ความถูกตอง และวิเคราะหผล ขอมูลเชิงบรรยาย ซึ่งกระบวนการนี้ดูคลายกับกระบวนการวิเคราะหผลใน รูปแบบดั้งเดิม ซึ่งอาศัยกระบวนการฐานขอมูลและสถิติ • การแกไขขอมูลเชิงบรรยาย (Attribute Editing Function) จะสามารถเรียกคน ตรวจสอบ และเปลี่ยนแปลงขอมูลสามารถเพิ่มหรือลบขอมูลได รวมถึงการเชื่อมตอตารางและรวมใหเปนตาราง เดียวกันได

การแกไขและการเชื่อมความสัมพันธตาราง • การสอบถามขอมูลเชิงบรรยาย (Attribute Query Function) เปนการเรียกคนขอมูลใน ฐานขอมูลที่เกีย่ วของกับเงื่อนไขที่ผูใชตั้งคําถามแลวสอบถามโดยใชวธิ ีการตางๆ เชน - การเรียกคนขอมูลอยางงาย เชน การคนหาขอมูลตามลําดับชั้น หรือ Polygon ที่เลือก - การสอบถามขอมูลเชิงซอน เชน การคนหาทางเลือกจากขอมูลเชิงบรรยายที่มีอยูจาํ นวน ชุดขอมูลหนึง่ หรือมากกวา - กระบวนการทีใ่ ชในการเรียกคนขอมูลที่เชือ่ มโยงกัน เชน กระบวนการ Relation-join สวนที่ 3-47


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

การสอบถามขอมูลโดยตัง้ เงื่อนไข • กระบวนการทางสถิติ (Attribute Statistic Function) คํานวณคาทางสถิติจากตารางขอมูล เชน Mean, Standard Deviation, Minimum, Maximum, Correlation etc. คํานวณคาทางสถิติสามารถไดตารางขอมูลใหมและสามารถใชรวมกับการสอบถามขอมูล (Query) และจัดเตรียมรายงานที่สมบูรณ

คํานวณคาสถิติของขอมูลเชิงคุณลักษณะ 3. การวิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่รวมกับขอมูลเชิงบรรยาย (Integrated Analysis of the Spatial and Non-Spatial Data) การวิเคราะหขอมูลเชิงบรรยายรวมกับขอมูลเชิงพื้นที่จะทําใหระบบ สารสนเทศมีประสิทธิภาพสูงมากขึ้น และระบบสารสนเทศภูมิศาสตรอาจใชงานรวมกับโปรแกรมประยุกตอื่นๆ ซึ่งจะทําใหการทํางานบนระบบสารสนเทศภูมิศาสตรมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น สวนที่ 3-48


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

• การเรียกคนขอมูล, การแบงกลุมขอมูล และการวัด (Data Retrieval, Classification and Measurement) ในกระบวนการนี้เปนการทํางานรวมกันกับขอมูลเชิงพื้นที่และขอมูลเชิงบรรยาย คือ เมือ่ เรา ทําการเปลี่ยนแปลงหรือดัดแปลงขอมูลเชิงบรรยายแลว ทําใหตําแหนงที่ตั้งหรือขอมูลเชิงพื้นที่จะถูกสราง ขึ้นมาใหมดวย (1) การเรียกคนขอมูล (Retrieval) - การเรียกคนขอมูลเกี่ยวของกับการคนหาทางเลือก การดัดแปลงแกไข และผลลัพธ ขอมูลจะไมมีการดัดแปลงรูปแบบใดๆ เลยการคนหาขอมูลมาตรฐาน (Standard Query Language-SQL) SQL เปนมาตรฐานที่ใชกันในฐานขอมูลที่เชื่อมโยงกัน และใชในดาน GIS - การคนหาทางเลือกจากฐานขอมูลที่มีอยูหลายชั้น การใช Boolean Logic มักจะใชเปน หลักในการทํางานขอมูลเชิงบรรยาย และขอมูลเชิงพื้นที่ - การเรียกคนขอมูลสามารถเลือกพื้นที่ที่ตองการ และแสดงผลลัพธจากที่สืบคนขอมูล จากตารางขอมูลเชิงบรรยาย ในแตละ Record หรือผลลัพธจากการสอบถามจากแผนที่ ที่ถูกเลือกในฐานขอมูล - การเรียกคนขอมูลแบบซับซอน (เชน คนหาตําแหนงที่ตั้งของบานภายในระยะทาง 2 กิโลเมตรจากรานคา) เปนการใชวิธี Boolean Logic รวมกับการซอนทับขอมูล (Overlay) (2) การแบงกลุมขอมูล (Classification) - เปนกระบวนในการจัดกลุมของสิ่งที่มีลักษณะเดียวกัน หรือที่เรียกวา Classification - หลังจากที่มีการแบงกลุมใหมแลว เราจะตองการรวมแผนที่ที่มีรายละเอียดในสวนที่ แบงเหมือนกันใหเปนชิ้นเดียวกัน เราเรียกกระบวนการนั้นวา Generalization หรือ Map Dissolve - กระบวนการแบงกลุมขอมูลนี้มักจะใชขอมูลเชิงบรรยายในการทํางานเปนสวนใหญ เชน เลือกกลุมที่มีการใชที่ดินประเภท “ที่รกรางวางเปลา” และตองหางจากถนน “มากกวา 500 เมตร” ใหจัดกลุมเปน “เหมาะสมตอการตั้งโรงงานมากที่สุด” เปนตน - การพิจารณาแผนที่ชุดดิน : เราจะสรางแผนที่ชุดดินหลักจากชั้นขอมูล (layer) ซึ่งมี พื้นที่อยูมากมาย ที่ถูกแบงตามลักษณะโดยรวม เราอาจทําการจัดกลุมใหม (Reclassify) และลบขอบเขต (Dissolve) และการรวมขอมูล (Merge)

สวนที่ 3-49


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

1. Reclassify การจัดกลุมขอมูลใหม โดยการใชขอมูลเชิงบรรยายอันใดอันหนึ่งหรือ หลายอันรวมกัน เชน การจัดกลุมพื้นที่ชุดดินโดยอาศัยชนิดของดินเทานั้น 2. Dissolve การลบขอบเขตระหวางพื้นที่ที่เปนชนิดเดียวกันโดยการลบเสน (Arc) ระหวาง สอง Polygon ที่เปนขอมูลกลุมเดียวกัน หรือขอมูลเชิงบรรยายที่ถูกจัดกลุมใหเปนกลุม เดียวกัน 3. Merge การรวมขอมูลพื้นที่เขาดวยกันใหเปนพื้นที่ขนาดใหญขึ้นโดยการใหรหัสหรือคา ใหมตามลําดับของเสนซึ่งมีขอบเขตเชื่อมตอกัน (เชน การสราง Topology ใหม) และ ใหคา ID ใหมทุกๆ Polygon (3) การวัด (Measurement) โดยปกติการวัดมักจะเกี่ยวของกับขอมูลเชิงพื้นที่ แตการแสดงผล ของการวัดสามารถเก็บไวในฐานขอมูลใหมหรือกลุมใหมได

การรวมขอมูลเชิงพืน้ ที่เขาดวยกัน

สวนที่ 3-50


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

4.4

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

การวิเคราะหขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS DATA ANALYSIS) 1. การซอนทับขอมูล (Overlay Function) • การซอนทับขอมูล เปนขั้นตอนหนึ่งที่สําคัญและเปนพื้นฐานทั่วไปในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร หลักการคือการนําขอมูลที่มีอยูเขามารวมกันจากแหลงขอมูลที่มีอยูหลากหลาย เพื่อใชใน การตัดสินใจแกปญหา (Decision Making) • หลักการ ในการซอนทับขอมูล - โดยทั่วไปในการซอนทับขอมูลแผนที่จะอาศัยจุดคูควบ (x,y) และขอมูลเชิงบรรยายจะ ถูกสรางขึ้นใหม หลังจากที่เราทําการ Overlay ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร - การซอนทับขอมูลอาจจะใชกระบวนการทางเลขคณิต (Arithmetic) (เชน การบวก, ลบ, คูณ, หาร) หรือตรรกศาสตร Logical (เชน AND, OR, XOR, etc.) - รูปแบบของการซอนทับขอมูลไดแก การทํา Buffer, การตัดขอมูล-Clip, การเชื่อมตอ แผนที่-Merge, การรวมขอมูล-Dissolve, การขจัดขอมูล-Eliminate, การลบขอมูลErase, การซอนทับขอมูลแบบ Identity, การซอนทับขอมูลแบบ Intersect, การซอนทับ ขอมูลแบบ Union, การหาระยะทางระหวางขอมูล 2 Theme-Near, การปรับปรุงขอมูลUpdate

1) แนวระยะหางดวย Buffer - Buffers selected features เปนการหาระยะทางใหหางจากรูปแบบภูมิศาสตร (Featues) ที่กําหนด โดยที่การจัดทํา Buffer เปนการวิเคราะหพื้นที่เพียง 1 Theme และเปนการสรางพื้นที่ลอมรอบ Graphic Features (Point, Line and polygon) ของ 1 Theme ที่ไดคัดเลือกไวบางสวน หากไมไดเลือกจะทํา buffer ทั้ง theme ผลที่ไดรับ คือ theme ใหม ที่มีขนาดความกวางของพื้นที่จากตําแหนงที่เลือก เทากับขนาดของ Buffer ที่ไดกําหนดมี หนวยเปนเมตร

การหาแนวระยะหางดวย Buffer สวนที่ 3-51


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

2) การตัดขอบเขตขอมูลดวย Clip-Clips one theme using another เปนการตัดขอมูลแผนที่ ออกจาก Theme เปาหมาย (Theme to be Clipped) กับแผนที่หรือพื้นที่ที่ใชตัด เชน พื้นที่อําเภอเดียว ที่ตองการ ใชเปนขอบเขตในการตัด (Theme to Clip)

การตัดขอบเขตขอมูลดวย Clip 3) การหาพื้นที่ซอนทับดวย Union-Overlays two polygon themes เปนฟงกชั่นทางคณิตศาสตรที่ เกิดจากการสนใจในพื้นที่ของวัตถุที่ซอนกัน มากกวา 2 พื้นที่ โดยที่เปนการรวมแผนที่จํานวน 2 พื้นที่ขึ้นไปเขา ดวยกัน โดยสรางขึ้นมาเปนแผนที่ชุดใหม

การหาพื้นที่ซอนทับดวย Union 4) การหาพื้นที่ซอนทับดวย Intersect-Overlays two themes and preserves only features that intersect เปนการซอนทับ (Overlay) ขอมูลระหวาง Theme 2 Themes โดย Theme ผลลัพธ (OutTheme) จะอยูในทั้งขอบเขตพื้นที่ (Map Extent) ของทั้ง 2 Theme ไมเกินจากขอมูลทั้ง 2 Theme ทั้งนี้ InTheme เปนไดทั้ง Point, Line และ Polygon สวน Intersect-Theme จะตองเปน Polygon เทานั้น

การหาพื้นทีซ่ อนทับแบบ Intersect สวนที่ 3-52


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

5) การหาพื้นที่ซอนทับขอมูลดวย Identity - Overlays two themes and preserves only features that falls within the first themes extent การซอนทับ (Overlay) ขอมูลเชิงพื้นที่ 2 Themes โดย ยึดขอบเขตของแผนที่ตนฉบับ (In-Theme) เปนหลัก และจะรักษาขอมูลเชิงคุณลักษณะของทั้ง 2 Themes เขาไวดวยกัน ขอมูลจากแผนที่ตนฉบับ (In-Theme) เปนไดทั้ง Point, Line, Polygon และ Multi-Point แต Identity-Theme จะตองเปนเฉพาะ Polygon Theme เทานั้น ตัวอยางเชน มีขอมูลสถานีวัดปริมาณน้ําฝน (In-Theme) ที่ไมทราบวาตั้งอยูในตําบลใด ก็นําขอมูลตําบล (Identity-Theme) มาซอนทับแบบ Identity จะทําใหขอมูลใหมของสถานีวัดปริมาณน้ําฝนมีขอมูลวาอยูในตําบลใด

การหาพื้นทีซ่ อนทับแบบ Identity 6) การเชื่อมตอขอมูลแผนที่ MapJoin และ Merge เปนการรวม Graphic Features จากหลาย Theme เขาเปน Theme เดียว MapJoin สามารถดําเนินการทั้งขอมูลที่เปน Point, Line และ Polygon เพื่อ เปนการเชื่อมตอแผนที่ที่มีพิกัดภูมิศาสตรอยูในพื้นที่ใกลเคียงกัน หรือตอกัน

การเชื่อมตอขอมูลแผนที่ MapJoin และ Merge 7) การรวมขอบเขตขอมูลดวย Dissolve - Removes borders between polygon witch share the same values Dissolve ใชฟงกชันนี้เพื่อรวมขอมูลพื้นที่ (Polygon) ที่มีคุณสมบัติหรือ Attribute เหมือนกันที่อยูติดกันเขาดวยกัน เพื่อลดความซ้ําซอนของ Theme ใหนอยลง ซึ่งเปนการเอาเสนขอบเขตของ พื้นที่ที่มีคาเหมือนกันในหนึ่งหรือหลาย Fields ออกไป

สวนที่ 3-53


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

การรวมขอบเขตขอมูลดวย Dissolve

8) การลบแลวรวมขอมูลดวย Eliminate-Removes the longest border on selected polygons Eliminate เปนคําสั่งที่ใชรวม Polygon ที่ไดถูกเลือกไวแลว (เชน Polygon ที่มีขนาดเล็ก) โดยการเรียกคน (Query) หรือเลือกโดยตรง เขากับ Polygon ขางเคียง ในระยะ Snap Tolerance ที่กําหนดไว โดยการลบ เสนที่ยาวที่สุดของ Polygon ที่ถูกเลือก โดยสวนใหญใชในการลบขอมูลที่ไดจากการจําแนกประเภทการใช ที่ดิน ในสวนของ Noise หรือ สวนที่มีเนื้อที่นอย ออกไปแลวทําการรวมใหเปนเนื้อที่สวนใหญ (Dominant)

การลบแลวรวมขอมูลดวยEliminate 9) การลบขอมูลดวย Erase Cover - Erases from one theme using another การลบขอมูล จากแผนที่ (Graphic Feature) จากแผนที่หนึ่ง (In-Theme) โดยการใชอีกแผนที่หนึ่งเปนกรอบ (The Erase-Theme) ที่มีพื้นที่ซอนทับกัน ซึ่งอาจเปน Polygon, Line, Point หรือ Multi-Point คลายกับการ Clip แตการ Erase Cover เปนการเหลือขอมูลที่อยูนอก Erase-Theme

การลบขอมูลดวย Erase Cover สวนที่ 3-54


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

คูมือระบบติดตามประเมินผลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ของขอมูลทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

10) ระยะทางระหวางขอมูลของ 2 Themes ดวย Near - Calculates distance from features in one theme to the nearest feature in another theme near เปนคําสั่งที่ใชในการคํานวณระยะทางจากแตละ Feature ใน 1 Theme ไปยัง Feature ที่ใกลที่สุดใน Theme อื่น (ไมสามารถเลือก Feature เปาหมายได) ระยะทางจะถูกบันทึกไวใน field ชื่อ called_distance

การหาระยะทางระหวางขอมูลของ 2 Themes ดวย Near 11) การปรับแกขอมูลพื้นที่บางสวน Update เปนการแทนที่พื้นที่ใน Theme หนึ่งโดย Theme อื่นๆ โดยการซอนทับระหวาง In-Theme กับ Update-Theme (เฉพาะขอมูลที่เปนพื้นที่ Polygon) OutTheme จะประกอบดวย Field ทั้งหมดของ 2 Theme

การปรับแกขอ มูลพื้นที่บางสวน Update สวนในการปฏิบัติใชงานจริงนั้นเกิดจากการผสมผสานของขั้นตอนตางๆ ขางตน ซึ่งตองอาศัย ประสบการณของผูปฏิบัติงานในการทํางานทางดาน GIS โดยการใชโปรแกรมตางๆ ใหเหมาะสมตอ วัตถุประสงคของการใชรูปแบบคําสั่งนั้นๆ ดวย

สวนที่ 3-55


คณะทํางาน โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง 1. คณะกรรมการกํากับการศึกษา (1) นายสมศักดิ์ บุญดาว หัวหนากลุมงานประสาน 3 (2) นายสกุลยุช ศรุตานนท นักวิชาการสิ่งแวดลอม 7ว (3) นางสาวกตัญชลี เวชวิมล นักวิชาการสิ่งแวดลอม 6ว (4) นายวิทยา ตั้งพิทยาเวทย นักวิชาการสิ่งแวดลอม 4

ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ

ดําเนินการศึกษาโดย บริษัท เทสโก จํากัด เลขที่ 21/11-14 ซอยสุขุมวิท 18 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 0 2258 1320 โทรสาร 0 2258 1313 , 0 2261 4511 E-mail : tesco007@ksc.th.com

-I-


รายชื่อคณะผูศึกษา (1) นายพิเศษ

เสนาวงษ

(2) ดร.อภิสิทธิ์

เอี่ยมหนอ

(3) รศ.ดร.สิทธิชัย

ตันธนะสฤษดิ์

(4) นายทัพนันทน (5) ดร.วิโรจน

เอี่ยวพานทอง พิมมานโรจนากูร

(6) (7) (8) (9) (10)

ศรีขจร เวชพันธ รังสิรักษ สาธุมนัสพันธุ รมสนธิ์

นายมนู นายวิชิต ผศ.เลิศวิทย รศ.ดร.สุวลักษณ นายชาติชาย

(11) นางกอบกุล (12) นายจํารูญ

สามัคคี สวยดี

(13) (14) (15) (16) (17) (18) (19)

ศิลปมณีพนั ธ จรเดช นิติเกษตรสุนทร อยูสุข โพธิ์เกษม ชมชิด คําแทง

นางสาวอรนุช นางสาวนันจิรา นายเผาพงศ นายทรงยศ นายสาโรจน นางสาวพรรษา นางสาวอําพร

-II-

ผูจัดการโครงการ / ผูเชีย่ วชาญดานฐานขอมูล สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผูเชี่ยวชาญดาน Remote Sensing และ สารสนเทศภูมิศาสตร ผูเชี่ยวชาญดานการพัฒนาและทดสอบตัวชี้วัด ในการติดตามประเมินผล ผูเชี่ยวชาญดานการพัฒนาโปรแกรม ผูเชี่ยวชาญดานทรัพยากรปาไม-สัตวปา และ จัดการพืน้ ที่ปา อนุรักษ ผูเชี่ยวชาญดานการใชที่ดนิ และการเกษตรกรรม ผูเชี่ยวชาญดานทรัพยากรน้าํ ผูเชี่ยวชาญดานชุมชนเมือง ผูเชี่ยวชาญดานนิเวศปากแมน้ําและชายฝง ทะเล ผูเชี่ยวชาญดานแหลงโบราณคดี ประวัติศาสตร และแหลงธรรมชาติ ผูเชี่ยวชาญดานการเสริมสรางกระบวนการมีสว นรวม ที่ปรึกษาโครงการ / ผูเชี่ยวชาญดานการพัฒนา เครือขายและกลไกการบริหารจัดการลุมน้ํา นักวิชาการดานสิ่งแวดลอม นักวิชาการดานสิ่งแวดลอม นักวิชาการสารสนเทศภูมิศาสตรและระบบ นักวิชาการสารสนเทศภูมิศาสตรและระบบ นักวิชาการสารสนเทศภูมิศาสตรและระบบ นักวิชาการสารสนเทศภูมิศาสตรและระบบ เลขานุการโครงการ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.