รายงานผู้บริหารบางปะกง

Page 1


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร ผูจัดทํา

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 60/1 ซอยพิบลู วัฒนา 7 ถนนพระรามที่ 6 พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2265 6562 โทรสาร 0 2265 6562

ผูศึกษา

บริษัท เทสโก จํากัด โทรศัพท 0 2258 1320 โทรสาร 0 2258 1313 , 0 2261 4511

การอางอิง

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2550. การติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้าํ บางปะกง กรุงเทพฯ. 40 หนา

คําสืบคน

ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี

พิมพเมื่อ

กรกฎาคม 2551

จํานวนพิมพ

100 เลม

จํานวนหนา

40 หนา

ผูพิมพ

บริษัท สามารถ กอปป จํากัด โทรศัพท 0 2691 6852-3 , 0 2691 6858 โทรสาร 0 2691 6859

สงวนลิขสิทธิ์ในประเทศไทย ตาม พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 โดย สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ.2551


คํานํา ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี เปนลุมน้ําหลักที่สําคัญในภาคตะวันออกของประเทศไทย เนื่องจากมี การใชทรัพยากรเกินขีดความสามารถในการรองรับของพื้นที่ สงผลใหทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรมและ กอใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมตั้งแตพื้ นที่ตนน้ําจนถึ งพื้นที่ ทายน้ํา ซึ่งหลายภาคสวนได รวมกันแกไขปญหา ดังกลาว ในสวนของภาครัฐ คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ.2548 มอบหมายใหหนวยงาน ที่เกี่ยวของดําเนินงานเพื่อปองกันและแกไขปญหามลพิษทางน้ําในแมน้ําบางปะกงอยางตอเนื่อง โดยให สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จัดทํายุทธศาสตรดานสิ่งแวดลอมเพื่อ พัฒนาลุมน้ําบางปะกง รวมทั้ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดมีนโยบายเรงดวน และให ความสําคัญในการแกไขปญหาในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรีเปนอันดับแรก โดยมีการบูรณาการแผนงาน และโครงการของหนวยงานภายในกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อจัดทําแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกงแบบบูรณาการ ปงบประมาณ 2551- 2554 ขึน้ ซึ่งในสวนการดําเนินงานของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในปงบประมาณ 2549 ได จั ด ทํ า กรอบยุ ท ธศาสตร ก ารบริ ห ารจั ด การและฟ น ฟู นิ เ วศลุ ม น้ํ า บางปะกงอย า งบู ร ณาการ ปงบประมาณ 2550 ดําเนินการประสานและผลักดันการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตามแผนยุทธศาสตรฯ และจัดทําระบบติดตามประเมินผลการดําเนินงานการบริหารจัดการและฟนฟูนิเวศ ลุมน้ําบางปะกง และในปงบประมาณ 2551 ไดจัดทําโครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล อมในระบบนิ เวศของลุ ม น้ําบางปะกง เพื่อติดตามและประเมินผลการเปลี่ ยนแปลงของ สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี โดยประยุกตใชระบบ ติดตามประเมินผลที่ไดจัดทําขึ้น ทั้งนี้ การดําเนินงานเพื่อติดตามและประเมินผลการเปลี่ยนแปลงของ สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจําเปนที่จะตองมีการดําเนินงานอยางตอเนื่องและสอดคลองกับ แผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําฯ ที่ภาครัฐไดมีการจัดสรรงบประมาณในการบริหารจัดการเพื่อ แกไขปญหาของลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี ทั้งนี้ เพื่อใหไดระบบและฐานขอมูลที่ตอเนื่องและเปนปจจุบัน ซึ่งจะสะทอนสถานการณที่แทจริงในพื้นที่ และจําเปนตองพัฒนาศักยภาพของภาคสวนในพื้นที่ ใหมีบทบาท ในการใชประโยชน ติดตามและประเมินผลดวยตนเอง ทําใหสามารถวิเคราะหปญหาและอุปสรรคในการ ดําเนินการตามแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรีแบบบูรณาการดังกลาว รวมทั้ง ใหขอเสนอแนะในการปรับปรุงแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรีแบบบูรณาการ เพื่อนําไปสูการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําใหมีความตอเนื่องและยั่งยืนตอไป สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กรกฎาคม 2551


สารบัญ รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร เรื่อง 1. 2.

3. 4.

5.

หนา ความนํา สรุปสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพืน้ ที่ลุมน้าํ บางปะกง-ปราจีนบุรี 2.1 สรุปขอมูลพื้นฐานของลุม น้าํ 2.2 สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผลจากการดําเนินงานตามแผนบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้าํ บางปะกงแบบบูรณาการ แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศลุมน้ํา 4.1 การเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมและประเด็นที่ควรพิจารณา 4.2 ขอเสนอแนวทางและแผนงานในการอนุรักษและฟน ฟูทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมในรายนิเวศ ระบบติดตามประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพืน้ ที่ ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี

1 3 3 6 11 22 22 25 29

สารบัญรูป รูปที่ 2-1 2-2 5-1

หนา สภาพภูมิประเทศและขอบเขตลุมน้ําของพืน้ ที่ศึกษา แสดงพื้นที่ลุมน้ําสาขาในพืน้ ที่ลุมน้าํ บางปะกง-ปราจีนบุรี ผังโครงสรางและองคประกอบของระบบติดตามประเมินผลโครงการฯ

-I-

4 5 31


รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร 1.

ความนํา

ภาคตะวันออกของประเทศไทย มีลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรีเปนลุมน้ําหลักที่สําคัญ ซึ่งมีความ หลากหลายของทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม และมี ความสํ า คั ญ ในการเป น ฐานการผลิ ตทาง การเกษตร ปจจุบันมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงโครงสรางเศรษฐกิจและสังคมจากภาคเกษตรกรรม สูภาคอุตสาหกรรมมากขึ้นเรื่อยๆ ทําใหมีการใชที่ดินเพื่อสรางโรงงานอุตสาหกรรม เสนทางคมนาคมขนสง ชุมชน และที่อยูอาศัย เปนตน จากการพัฒนาอยางกาวกระโดดและรวดเร็วที่ผานมา ทําใหเกิดสภาพการใชทรัพยากร ในการผลิตเกินขีดความสามารถในการรองรับของพื้นที่ สงผลใหทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรมและหมดไป กอใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมขึ้นมากมาย ตั้งแตพื้นที่ตนน้ําจนถึงพื้นที่ทายน้ํา อาทิเชน การสูญเสียพื้นที่ปาไม ที่ทําใหขาดสมดุลในลุมน้ํา ขาดแคลนน้ําและคุณภาพน้ําเสื่อมโทรม การปนเปอนในดิน ชุมชนเมืองขยายตัว อยางรวดเร็วอยางขาดการควบคุมใหเปนไปตามผังเมืองที่เหมาะสม กอใหเกิดปญหาขาดแคลนพื้นที่สีเขียว ขาดความพรอมในการขยายระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ การ เพิ่มขึ้นและตกคางปริมาณขยะและของเสียอันตรายจากชุมชนและอุตสาหกรรม และพื้นที่เกษตรกรรม เสื่อมคุณภาพและถูกทิ้งราง แหลงสิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรมถูกบุกรุกทําลายอยูในสภาพทรุดโทรม นอกจากนี้ ยังมีปญหาการรุกตัวของน้ําเค็มเขาไปในแมน้ําบางปะกง แมน้ําปราจีนบุรี และแมน้ํานครนายก พื้นที่ปาชายเลนลดลง รวมทั้งปญหาความขัดแยงในการใชประโยชนที่ดินในลุมน้ํา เปนตน จากปญหาความเสื่อมโทรมและขาดความสมดุลของระบบนิเวศของลุมน้ําดังกลาว กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจึงไดมีนโยบายอยางเรงดวน และใหความสําคัญในการแกไขปญหาใน พื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรีเปนพื้นที่นํารอง โดยมีการบูรณาการแผนงานและโครงการของหนวยงาน ภายในกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อจัดทําแผนการบริหาร จัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกงแบบบูรณาการขึ้น ตั้งแตปงบประมาณ 2550 ทั้งนี้ ในสวนของสํานักงาน นโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ มได ดํ า เนิ น งานในโครงการประสานการจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง เพื่อประสานและผลักดันการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งจัดทําระบบติดตามและประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ดังนั้น เพื่อใหการบริหารจัดการนิเวศลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรีในอนาคตมีความเหมาะสม และสอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป สามารถนําไปสูการปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึง จํ า เป น ต อ งมี ก ารติ ด ตามและประเมิ น ผลการเปลี่ ย นแปลงของสถานภาพทรั พ ยากรธรรมชาติ และ -1-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

สิ่งแวดลอมในระบบนิเวศลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี โดยประยุกตใชระบบติดตามประเมินผลที่สํานักงานฯ ไดจัดขึ้นในปงบประมาณ 2550 เพื่อวิเคราะหปญหาและอุปสรรคในการดําเนินการตามแผนการบริหาร จัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกงแบบบูรณาการดังกลาว และใหขอเสนอแนะในการปรับปรุงแผนการ บริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกงแบบบูรณาการ เพื่อนําไปสูการปรับปรุงแนวทางการบริหารจัดการ และพัฒนาลุมน้ําอยางตอเนื่อง เกิดประสิทธิผลและยั่งยืน ทั้งนี้ ระบบติดตามประเมินผลดังกลาวจะเปน เครื่องมือและกลไกที่สามารถเชื่อมโยงการดําเนินงาน ทั้งหนวยงานสวนกลางและทองถิน่ ใหเกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรีตอไป สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ภายใตการกํากับโครงการโดย กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดมอบหมายให บริษัท เทสโก จํากัด โดยไดรับ ความรวมมือสนับสนุนทางวิชาการจากคณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รวมกันดําเนินงาน โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศลุมน้ําบางปะกง ตามสัญญาเลขที่ 72/2551 ลงวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ.2550 มีระยะเวลาดําเนินการทั้งสิ้น 210 วัน วัตถุประสงคของโครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง มีดังนี้ 1. ติดตามและประเมินผลการเปลี่ยนแปลงสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใน ระบบนิเวศลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี ที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการตามแผนการบริหารจัดการและพัฒนา ลุมน้ําบางปะกงแบบบูรณาการ 2. ปรับปรุงระบบการติดตามและประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรีใหเกิดประสิทธิภาพ โดยมีกลไกและเครื่องมือสําหรับหนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งสวนกลางและทองถิ่น สามารถนําไปปรับปรุงการบริหารจัดการและฟนฟูนิเวศลุมน้ํา เปาหมายในการดําเนินงานใหบรรลุผลสัมฤทธิ์ ประกอบดวย 1. มีขอมูลและรายงานสถานภาพการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบ นิเวศลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี 2. มีระบบการติดตามและประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในลุมน้ํา บางปะกง-ปราจีนบุรี ที่สามารถเชื่อมโยงระหวางหนวยงาน ทั้งสวนกลาง สวนภูมิภาค และเครือขายตางๆ ในพื้นที่ลุมน้ําได -2-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

2.

สรุปสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี

2.1

สรุปขอมูลพื้นฐานของลุมน้ํา

พื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี เปนลุมน้ําหลักที่สําคัญของภาคตะวันออก มีพื้นที่ รวมทั้งสิ้น 18,853.27 ตารางกิโลเมตร หรือ 11,783,293.75 ไร สวนใหญอยูในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก ชลบุรี สระแกว และบางสวนในจังหวัดสระบุรี จันทบุรี นครราชสีมา และปทุมธานี (ครอบคลุม พื้นที่บางสวนใน 320 ตําบล ของ 52 อําเภอ ตามเขตการปกครอง) แบงออกเปนลุมน้ําหลักและลุมน้ําสาขา (ขอบเขตลุมน้ําสาขาตามการแบงของกรมทรัพยากรน้ํา, 2551 และขอมูลพื้นที่วิเคราะหจากฐานขอมูล สารสนเทศภูมิศาสตร, 2551) ดังนี้ • ลุมน้ําบางปะกง 8,891.74 ตารางกิโลเมตร แบงเปน 4 ลุม น้ํา สาขา ประกอบดวย ลุมน้ํา สาขาแมน้ํานครนายก ลุมน้ําสาขาคลองทาลาด ลุมน้ําสาขาคลองหลวง และลุมน้ําสาขาที่ราบ แมน้ําบางปะกง • ลุมน้ําปราจีนบุรี 9,961.53 ตารางกิโลเมตร แบงเปน 4 ลุมน้ําสาขา ประกอบดวย ลุมน้ําสาขา คลองพระสะทึง ลุมน้ําสาขาแมน้ําพระปรง ลุมน้ําสาขาแมน้ําหนุมาน และลุมน้ําสาขาแมน้ํา ปราจีนบุรีตอนลาง สภาพภู มิ ประเทศของพื้ นที่ ลุ มน้ํ าบางปะกง-ปราจี นบุ รี เป นที่ ราบลุ มริ มฝ งแม น้ํ าเป นส วนใหญ บางสวนปกคลุมดวยปาไม ดานทิศเหนือมีทิวสันกําแพงซึ่งเปนแนวแบงเขตภาคตะวันออก ภาคกลาง และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีที่ราบลุมในเขตจังหวัดฉะเชิงเทราและจังหวัดนครนายก เหมาะกับการปลูกขาว สวนทิศใต มีเทือกเขาบรรทัดเปนแนวแบงพรมแดนไทยและกัมพูชา และมีเทือกเขาจันทบุรีอยูทางใตสุด ลุมน้ํา บางปะกง-ปราจีนบุรี มีทิศทางการไหลของทางน้ําธรรมชาติสายหลักจากทิศเหนือและทิศตะวันออกมาทาง ทิศตะวันตกผานที่ราบตอนลางบริเวณจังหวัดฉะเชิงเทรา และออกสูทะเลอาวไทยที่อําเภอบางปะกง จังหวัด ฉะเชิงเทรา

-3-




โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

2.2

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม นิเวศปาไม :

• นิเวศป าไม ของพื้นที่ศึกษา ประกอบไปดวยพื้ นที่บางสวนของปาอนุ รักษ ที่ ประกาศเป น อุทยานแหงชาติ 4 แหง และเขตรักษาพันธุสัตวปา 3 แหง รวมพื้นที่ 3,912.96 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวย พื้นที่บางสวนของอุทยานแหงชาติเขาใหญ อุทยานแหงชาติทับลาน อุทยานแหงชาติปางสีดา อุทยานแหงชาติ น้ําตกสามหลั่น เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาสอยดาว และเขตรักษาพันธุ สัตวปาเขาเขียว-เขาชมภู (อุทยานแหงชาติเขาใหญ อุทยานแหงชาติปางสีดา อุทยานแหงชาติทับลานเปน สวนหนึ่งของกลุมผืนปามรดกโลกดงพญาเย็น-เขาใหญ และเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน เขตรักษาพันธุ สัตวปาเขาสอยดาว เปนสวนหนึ่งของกลุมผืนปารอยตอ 5 จังหวัด (ภาคตะวันออก) ซึ่งเปนพื้นที่สําคัญทาง นิเวศวิทยา) • การจําแนกเขตการใชประโยชนทรัพยากรและที่ดินปาไม ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 และ 17 มีนาคม พ.ศ.2535 ลุม น้ําบางปะกง-ปราจีนบุ รี มีพื้นที่ปาสงวนแหงชาติรวม 3,027.72 ตาราง กิโลเมตร จําแนกเปนพื้นที่ปาเพื่อการอนุรักษ (โซน C) รวม 1,128.73 ตารางกิโลเมตร ปาเพื่อเศรษฐกิจ (โซน E) 1,759.19 ตารางกิโลเมตร และเขตปาที่เหมาะสมตอการเกษตรกรรม (โซน A) 139.80 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมี เฉพาะในลุมน้ําบางปะกง คิดเปนรอยละ 5.99, 9.33 และ 0.74 ของพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี ตามลําดับ • พื้นที่ที่ไดกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ําเปนชั้นที่ 1 และ 2 ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงตนน้ําลําธาร แทจริงของลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี รวม 2,363.39 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเปนรอยละ 12.54 ของพืน้ ทีล่ มุ น้าํ ประกอบดวย ชั้นคุณภาพลุมน้ํา 1A, 1B และ 2 เปนพื้นที่ 1,488.89 ตารางกิโลเมตร 56.58 ตารางกิโลเมตร และ 817.92 ตารางกิโลเมตร ตามลําดับ • พื้นที่ปาอนุรักษทั้ง 7 แหง เฉพาะสวนที่อยูในลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี มีสภาพปาที่มี สภาพสมบูรณอยูในป พ.ศ.2550 รวม 3,638.48 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 92.93 ของพื้นที่ปาอนุรักษ ที่อยูในทั้ง 2 ลุมน้ํา โดยมีแนวโนมไดรับการฟนฟูความอุดมสมบูรณมากขึ้นกวาในอดีต (ในป พ.ศ.2545 สภาพปาที่มีสภาพสมบูรณมีพื้นที่ 3,607.28 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 92.19 ของพื้นที่ปาอนุรกั ษทอี่ ยู ในทั้ง 2 ลุมน้ํา) • ในป พ.ศ.2550 พื้ น ที่ ตน น้ํ า ลํ า ธารได รั บ การฟน ฟู ทํ า ให พื้ น ที่ ป า ไม ฟ น ตั ว มี พื้ น ที่ ร วม 2,324.26 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเปนรอยละ 98.34 ของพื้นที่ตนน้ําทั้งหมด ทั้งนี้ เมื่อประเมินการเพิ่มขึ้น ของพื้นที่ปาไมในชวง 5 ป พบวา ในพื้นที่ตนน้ําลําธารมีพื้นที่ปาไมเพิ่มขึ้น คิดเปนรอยละ 5.11 ของป พ.ศ.2545

-6-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

• พื้นที่ปาที่มี ศักยภาพและเปนเปาหมายในการผนวกเขากับพื้ นที่ปาอนุรักษ ประกอบดว ย อุทยานแหงชาติเขาใหญ 46,034.10 ไร อุทยานแหงชาติปางสีดา 3,500.00 ไร อุทยานแหงชาติทับลาน 88,962.57 ไร อุทยานแหงชาติน้ําตกสามหลั่น 20,590.50 ไร เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาเขียว-เขาชมภู 6,223.50 ไร และเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน 14,000.00 ไร นิเวศเกษตรกรรม : • นิเวศเกษตรกรรม ในป พ.ศ.2550 ประกอบไปดวย การใชที่ดินทางการเกษตรที่สําคัญ ไดแก ที่นา 4,060 ตารางกิโลเมตร พืชไร 3,899 ตารางกิโลเมตร ไมผล 790 ตารางกิโลเมตร ไมยืนตน 1,966 ตารางกิโลเมตร เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา 714 ตารางกิโลเมตร ปศุสัตว 129 ตารางกิโลเมตร • คุณสมบัติของดินในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี มีพื้นที่ที่มีปญหาในการทําการเกษตร ประกอบดวย พื้นที่ดินที่เปนกรดจัด 6,054.55 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเปนรอยละ 32.11 พื้นที่ดินเค็ม 1,261.78 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเปนรอยละ 6.69 ดินตื้นและดินปนกรวด 6,899.54 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเปนรอยละ 36.60 ดินที่ลาดชันสูง 3,276.08 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเปนรอยละ 17.38 ดินมีการชะลางพังทลายระดับ รุนแรงถึงรุนแรงมากที่สุด 68.57 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเปนรอยละ 0.36 ของพื้นที่ลุมน้ํารวมทั้งหมด • ปริมาณน้ําทารายปเฉลี่ยทั้งหมดประมาณ 8,654 ลานลูกบาศกเมตรตอป ในขณะที่สามารถ เก็บกัก ไวใชไดจากแหลงเก็บกักน้ําทุกขนาดที่มีอยูในปจจุบัน และที่กําลังทําการกอสรางแลวเสร็จรวม ประมาณ 740 ลานลูกบาศกเมตรตอป หรือคิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 9.3 (ไมนับรวมปริมาตรเก็บกักทีเ่ กิดขึน้ จาก การบริหารจัดการเขื่อนทดน้ําบางปะกง) ซึ่งแสดงใหเห็นวาเปนลุมน้ําที่มีความเปราะบางในแงของการ บริหารจัดการน้ํา โดยจะตองพึ่งพาแหลงน้ําตนทุนจากลุมน้ําอื่น ในกรณีที่ลําน้ําธรรมชาติเกิดการขาดแคลน ทั้งนี้เนื่องจากไมมีแหลงน้ําสํารองในพื้นที่อยางเพียงพอ • ในปจจุ บั นพื้ นที่ ชลประทานในลุ มน้ํ าปราจี น บุรี มี พื้น ที่ ร วมทั้ ง สิ้ น 626,477 ไร และใน อนาคตมีศักยภาพในการขยายพื้นที่ 936,487 ไร สวนลุมน้ําบางปะกงมีพื้นที่ชลประทานรวม 1,449,158 ไร มีศักยภาพในการขยายพื้นที่ในอนาคตเปน 1,575,738 ไร นิเวศแหลงน้ํา : • นิเวศแหลงน้ํา มีทางน้ําหลักที่สําคัญ 3 สาย ไดแก แมน้ํานครนายก แมน้ําปราจีนบุรี และ มาบรรจบกันเปนแมน้ําบางปะกง มีลําน้ําธรรมชาติสายรองที่สําคัญเชื่อมตอเปนโครงขายจากทางน้ําหลัก ประกอบดวย แมน้ํานครนายก 105 สาย แมน้ําปราจีนบุรี 162 สาย และแมน้ําบางปะกง 48 สาย (ขอมูล จากรายงานการศึก ษาโครงการบริห ารจัด การคุณ ภาพน้ํา ในลุม น้ํ า บางปะกง ลุม น้ํา ปราจีน บุรี ลุ ม น้ํ า นครนายก และลุมน้ําโตนเลสาป, 2549) -7-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

• แนวโน ม คุ ณ ภาพน้ํ า ผิ ว ดิ น จากผลการติ ด ตามตรวจสอบคุ ณ ภาพน้ํ า ที่ ผ า นมาพบว า คุณภาพน้ําของทั้งลําน้ําสายหลัก และลําน้ําสาขาในภาพรวมอยูในระดับต่ํากวามาตรฐานที่กําหนดมา ตั้งแตป พ.ศ.2546 และจนถึงปจจุบัน ยังไมมีแนวโนมดีขึ้น คุณภาพน้ําแมนํ้าบางปะกงตลอดสาย ตั้งแต บริเวณปากแมน้ําบางปะกง ถึงบริเวณสะพานบางขนาก อําเภอบางน้ําเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา คุณภาพน้ํา สวนใหญจัดอยูในแหลงน้ําประเภทที่ 3-5 โดยมีดัชนีบงชี้ ไดแก ออกซิเจนละลายน้ํา และบีโอดี ในบาง บริเวณพบโลหะหลัก ประเภทตะกั่ว แคดเมี่ยม และสังกะสี สูงเกินมาตรฐานคุณภาพน้ําแหลงน้ําผิวดินบริเวณ ปากน้ําบางปะกง อําเภอบานโพธิ์ อําเภอเมือง อําเภอบางคลา และอําเภอบางน้ําเปรี้ยว คุณภาพน้ําใน แมน้ําปราจีนบุรี จัดอยูในเกณฑเสื่อมโทรมถึงเสื่อมโทรมมาก ประเภทที่ 4-5 โดยมีดัชนีบงชี้ คือ บีโอดี แบคทีเรีย กลุมโคลิฟอรม และฟคัลโคลิฟอรม สําหรับดัชนีบงชี้วาในเกณฑเสื่อมโทรมมาก คือ แอมโมเนีย ไนเตรท แมงกานีส สังกะสี โครเมี่ยม นิเกิล และแคดเมี่ยม และคุณภาพน้ําในแมน้ํานครนายก โดยรวมจัด อยูในเกณฑเสื่อมโทรมมาก คุณภาพตลอดสายจัดอยูในประเภทที่ 2-5 ดัชนีบงชี้ ไดแก บีโอดี แอมโมเนีย ออกซิเจนละลายน้ํา ไนเตรท นิเกิล และแมงกานีส นิเวศเมืองและชุมชน : • ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี มีชุมชนเมือง (เทศบาล) มีจํานวนทั้งสิ้น 56 เทศบาล ในป พ.ศ.2550 รวมพื้นที่ชุมชนเมืองทั้งสิ้น 551.37 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 2.92 ของพื้นที่ลุมน้ํา • ในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี มีอัตราการเกิดขยะมูลฝอยชุมชนเฉลี่ย 5.22 กิโลกรัม/คน/วัน • ในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี มีสถานที่กําจัดขยะชุมชนที่ถูกหลักสุขาภิบาลเพียง 4 แหง ไดแก เทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา เทศบาลตําบลบางคลา เทศบาลตําบลพนัสนิคม และเทศบาลเมืองบานบึง • ประเด็นปญหาการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน พบวา สาเหตุของปญหาการจัดการขยะมูลฝอย ชุมชนในพื้นที่มาจากหลายๆ สาเหตุ ไดแก ปริมาณขยะมูลฝอยและของเสีย ไมมีสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยใน พื้นที่ของตัวเอง ระบบการกําจัดขยะมูลฝอยไมมีประสิทธิภาพ บุคลากร/เครื่องจักร อุปกรณไมเพียงพอ งบประมาณมีจํากัด ใชวิธีกําจัดที่ไมถูกตองตามหลักวิชาการ หรือขาดความรวมมือจากประชาชน เปนตน • แหลงกําเนิดมลพิษในพื้นที่ชุมชน ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี มีปริมาณน้ําเสียรวม 56 ลานลูกบาศกเมตรตอป ภาระบรรทุกบีโอดี 6.0 ลานกิโลกรัมบีโอดี/ป และภาระบรรทุกทีเคเอ็นจากชุมชน 1.1 ลานกิโลกรัมบีโอดี/ป และในการคาดประมาณในป พ.ศ.2567 พบวา พื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี จะมีปริมาณน้ําเสียรวม 106 ลานลูกบาศกเมตรตอป ภาระบรรทุกบีโอดี 11.4 ลานกิโลกรัมบีโอดี/ป และภาระ บรรทุกทีเคเอ็นจากชุมชน 2.1 ลานกิโลกรัม บีโอดี/ป ตามลําดับ

-8-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

• ปญหาน้ําเสียที่เกิดขึ้นในลุมน้ําบางปะกงกวารอยละ 70 เปนปริมาณน้ําเสียที่ถูกระบายลงแมน้ํา ลําคลองเกิดจากชุมชน และอีกรอยละ 30 เปนน้ําเสียที่ถูกปลอยออกมาจากโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ ซึ่ง ความหนาแนนของประชากร จํานวนโรงงานอุตสาหกรรม ตลอดจนสารเคมีตกคางจากภาคเกษตรที่เพิ่มขึ้น ลวนแตเปนสาเหตุหลักของปญหาน้ําเสีย นอกเหนือจากการขาดจิตสํานึกของประชาชน และผูประกอบการ ในการระบายน้ําทิ้งที่ไมผานการบําบัดลงสูแหลงน้ําสาธารณะ โดยเฉพาะอยางยิ่งเทศบาลเมือง ซึ่งเปนชุมชน ขนาดใหญที่อยูบริเวณริมน้ํา มีการระบายน้ําทิ้งโดยปลอยใหไหลไปตามธรรมชาติจากพื้นดินลงสูรองน้ํา ตางๆ จนถึงลําหวยและลงสูแมน้ํา • ระบบบําบัดน้ําเสียรวมที่มีอยูในปจจุบัน มีเพียงเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา (เปนระบบคลอง วนเวียน) และเทศบาลตําบลพนัสนิคม (เปนระบบบอผึ่ง) เทานั้น นิเวศอุตสาหกรรม : • ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี ประกอบดวย พื้นที่นิคมอุตสาหกรรม 3 แหง สวนอุตสาหกรรม 2 แหง เขตประกอบการอุตสาหกรรม 1 แหง เปนพื้นที่ 157.43 ตารางกิโลเมตร และมีโรงงานอุตสาหกรรมที่ กระจายตัวอยูในพื้นที่ลุมน้ํา 5,039 แหง • ในป พ.ศ.2550 โรงงานอุตสาหกรรมประเภทตางๆ ในลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี มีโรงงาน อุตสาหกรรมทั้งสิ้น 5,039 แหง สวนใหญเปนโรงงานประเภทที่ 3 รวมทั้งสิ้น 4,260 แหง คิดเปนรอยละ 84.54 ของโรงงานทั้งหมดที่มีอยูในลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี รองลงมา ไดแก โรงงานประเภท 1 จํานวน 394 แหง คิดเปนรอยละ 7.82 และโรงงานประเภท 2 จํานวน 385 แหง คิดเปนรอยละ 7.64 ตามลําดับ • พื้นที่ประกอบการอุตสาหกรรมขนาดใหญในลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี ประกอบดวย นิคมอุตสาหกรรม จํานวน 3 แหง ไดแก นิคมอุตสาหกรรมเวลโกรว นิคมอุตสาหกรรมเกตเวย ซิตี้ และนิคม อุตสาหกรรมอมตะนคร เขตประกอบอุตสาหกรรม 1 แหง ไดแก เขตอุตสาหกรรมกบินทรบุรี และสวน อุตสาหกรรม 2 แหง ไดแก สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน กบินทรบุรี และเขตอุตสาหกรรม 304 อินดัสเทรียล ปารค • ปญหาการพัฒนาอุตสาหกรรมของพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรีเปนผลจากการพัฒนา พื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออก ทําใหมีการขยายตัวดานอุตสาหกรรม โดยมีการลงทุนเขามามากขึ้นและหลาย ประเภท ซึ่งจากการวางแผนเตรียมพื้นที่รองรับยังไมดีพอ ทําใหอุตสาหกรรมกระจัดกระจายอยูในพื้นที่ ตางๆ อย างไม เป นระเบีย บ ยากต อการควบคุมการตั้ งถิ่นฐานและการรัก ษาคุณภาพสิ่ งแวดลอม การ ขยายตั ว ทางด า นอุ ต สาหกรรม โดยขาดการควบคุ ม และบริ ห ารจั ด การที่ เ หมาะสม ทํ า ให เ กิ ด ป ญ หา ทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดลอมเสื่อมโทรม ทั้งในดานน้ําเสีย ขยะมูลฝอย มลภาวะทางอากาศ และเสียง ตลอดจนสารพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม -9-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

• พื้นที่ประกอบการอุตสาหกรรมขนาดใหญทุกแหงในลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี สามารถ ปฏิบัติตามมาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดลอม ตามที่ไดเสนอไวในรายงานวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม สวนผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมในดานคุณภาพอากาศ ระดับเสียงโดยทั่วไป คุณภาพน้ํา และสุขภาพอนามัย พบวา สวนใหญมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานของทางราชการ ในกรณีที่พบผลการติดตาม ตรวจสอบที่ไมเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดนั้น ไดมีความพยายามปรับปรุงแกไขเพื่อใหการดําเนินงาน สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด นิเวศชายฝงทะเล : • แนวโนมของปญหาความเสื่อมโทรมของปาชายเลน มีแนวโนมในทางที่ดีขึ้น เนื่องจาก ปจจุบัน มีหนวยงานตางๆ ทั้งจากภาครัฐและเอกชน ไดใหความสนใจและตระหนักถึงความสําคัญของปาชายเลน มากขึ้ น โดยมี ก ารปลู ก ป า ทดแทน และมีก ารสรา งจิต สํา นึ ก ในการอนุรั ก ษ และฟน ฟูปา ชายเลนให กั บ ประชาชนโดยเฉพาะประชาชนในทองถิ่น และใหเขามามีสวนรวมในการจัดการปาชายเลนมากยิ่งขึ้น • การปลูกปาชายเลน โดยสถานีทรัพยากรปาชายเลนที่ 5 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ใหความสําคัญกับปาชายเลนที่เหลืออยูอยางมาก และยังมีการแกไขปญหาโดยมุงเนนการเพิ่มพื้นที่ปาชายเลน อยางชัดเจน มีโครงการปลูกเสริมปาชายเลนทั้งในพื้นที่ปาเดิมเพื่อทําใหมีความอุดมสมบูรณกลับคืนมา และ ปลูกเพิ่มพื้นที่ปาชายเลนในพื้นที่งอกที่มีความเหมาะสม ซึ่งตั้งแตป พ.ศ.2545 เปนตนมา ไดมีการดําเนินงาน ปลูกปาไปแลวประมาณ 980 ไร • คุ ณ ภาพน้ํ า ทะเลชายฝ ง อยู ในสภาพเสื่อ มโทรม เนื่อ งจากไดรั บ น้ํ า ทิ้ ง และน้ํ า เสี ย จาก แหลงกําเนิดตางๆ ซึ่งยังคงทําใหคุณภาพน้ําทะเลต่ํากวาคามาตรฐานคุณภาพน้ําในพารามิเตอรที่เกี่ยวกับ สารอาหาร ได แ ก ฟอสเฟต-ฟอสฟอรั ส และไนเตรท-ไนโตรเจน พบว า มี ค า เกิ น กว า มาตรฐานฯ ทุ ก ป เนื่องจากบริเวณพื้นที่ชายฝงแมน้ําบางปะกงมีการใชประโยชนในดานการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง นอกจากนี้ บริเวณริมน้ํายั งเป นที่ตั้งของชุมชนและโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งเปนแหลง ที่ทําการประกอบอาชีพ ทางการเกษตร โดยเฉพาะการเลี้ยงสุกร และมีการทิ้งของเสียลงสูแหลงน้ําโดยตรงสงผลใหคุณภาพน้ําในแมน้ํา บางปะกงเสื่อมโทรมลง น้ําเสียที่ปลอยลงมาจะเปนอันตรายตอสัตวน้ํา โดยเฉพาะสัตวน้ําวัยออน นอกจาก น้ําเสียไหลลงสูแมน้ําและไหลลงสูปากแมน้ําจะมีปริมาณสารอาหารพัดพามาดวย โดยเฉพาะน้ําเสียที่มาจาก การเกษตรและปศุสัตว ซึ่งเหมาะกับการเจริญเติบโตของแพลงกตอนพืช ทําใหแพลงกตอนพืชเพิ่มจํานวนขึ้น เปนอยางมากและอยางรวดเร็วหรือที่เรียกวา ปรากฏการณน้ําเปลี่ยนสี (Red Tide) ซึ่งเกิดขึ้นในบริเวณ ปากแมน้ําบางปะกงอยูเปนประจํา ในขณะที่ปริมาณโลหะหนักมาจากโรงงานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับ โลหะที่ตั้งอยูริมแมน้ําบางปะกง มีคาเกินกวาที่กําหนดไวในมาตรฐานเปนอยางมากในบางป ไดแก เหล็ก และแมงกานีส -10-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

• ตั้งแตป พ.ศ.2538-2550 การเลี้ยงปลาในกระชังในแมน้ําบางปะกงมีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกป โดยในป พ.ศ.2538 มีการเลี้ยงปลาในกระชัง 111 ราย มีพื้นรวมประมาณ 9 ไร โดยมีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกป ในป พ.ศ.2550 มีผูเพาะเลี้ยงปลาในกระชังรวมทั้งหมดประมาณ 195 ราย และมีพื้นที่รวม 42 ไร พื้นที่เลี้ยง ปลากระชังในชวงป พ.ศ.2549 จนถึงปจจุบัน ไมเพิ่มขึ้น เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจรวมถึงปญหาคุณภาพน้ํา ที่ไมเหมาะสม • บริเ วณปากแม น้ํา บางปะกงนี้ เ ป น แหลง อาหารที่สํา คั ญ แหล ง หนึ่ ง ของโลมา และเป น บริเวณที่พบวามีโลมาเขามาหาอาหารอยูเปนประจํา โดยโลมาจะอพยพเขามาในบริเวณปากแมน้ําบางปะกง แทบทุกปในราวเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ ซึ่งโลมาที่พบในบริเวณนี้ ไดแก โลมาอิระวดี หรือ โลมาหัวบาตร (Sousa chinensis) โลมาเผือกหรือโลมาหลังโหนก (Creacella brevirostris) และโลมาหัวบาตร หลังเรียบ (Neophocoena phoenoides) ทําใหบริเวณปากแมน้ําบางปะกงกลายเปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญ แหงหนึ่งของจังหวัดฉะเชิงเทรา (สําหรับโลมาหัวบาตรนั้น จัดอยูในสถานะใกลสูญพันธุ ตาม Red List ของ IUCN และอยูในบัญชี 1 ของอนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศชนิดสัตวปาและพืชปาที่ใกลสูญพันธุ (CITES) ที่หามมิใหมีการซื้อขายระหวางประเทศเด็ดขาด ยกเวนเพื่อการวิจัยทางวิชาการ) • กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง (2550) รายงานวา ในอดีตมีโลมาเขามาหาอาหาร ใกลฝงบริเวณปากแมน้ําบางปะกงและมีอยูอยางชุกชุมนับรอยตัว ในชวงป พ.ศ.2545 แตปจจุบันมีจํานวน นอยลง และพบอยูไกลจากฝงมากขึ้น เนื่องจากอาหารของโลมา เชน ปลาดุกทะเล ปลากระบอก ปลากุเลา เปนตน มีนอยลง จากการพบในการพานักทองเที่ยวชมโลมา คาดการณจํานวนโลมาในปจจุบันนาจะมี จํานวนประมาณ 50 ตัว และสวนใหญจะพบวันละ 5-10 ตัว โอกาสพบโลมา อยูในชวงเดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนกุมภาพันธ (หนาหนาว) และชวงเชากอนเวลา 09.00 น. โดยจุดที่พบประมาณ 2 จุด ไดแก บริเวณ ปากอาว และบริเวณแปลงหอย

3.

ผลจากการดําเนินงานตามแผนบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกงแบบ บูรณาการ

การดําเนินงานตามแผนงานในโครงการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกงแบบบูรณาการใน ปงบประมาณ 2550 ดวยงบประมาณ 215.42 ลานบาท ภายใตการดําเนินงานของหนวยงานตางๆ ที่ได สรุปผลสัมฤทธิ์ของโครงการรายแผนงานดังกลาวไปแลวนั้น ประกอบกับกิจกรรมนํารองในโครงการบริหาร จัดการนิเวศลุมน้ําบางปะกงและกิจกรรมสนับสนุนการอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ในโครงการประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในลุมน้ําบางปะกงที่ดําเนินการตอเนื่อง นํามาประมวลผลสัมฤทธิ์จากการดําเนินงานของแผนงานและกิจกรรมในชวง 2-3 ปที่ผานมาที่มีตอการ เปลี่ยนแปลงสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และวิถีชีวิตของคนในลุมน้ําในพื้นที่ที่เกี่ยวของ ในรายนิเวศ ไดดังนี้ -11-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

นิเวศปาไม : ในชวงที่ผานมาในการดําเนินการแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกงแบบบูรณาการ สําหรับนิเวศปาไม ไดใหความสําคัญในดานการอนุรักษและฟนฟูพื้นที่ปาอนุรักษ และการฟนฟูพื้นที่ตนน้ํา ลํ า ธารทั้ ง ในพื้ น ที่ ลุ ม น้ํ า บางปะกง-ปราจี น บุ รี เนื่ อ งจาก สภาพเชิ ง นิ เ วศและอุ ท กวิ ท ยาของลุ ม น้ํ า ที่ มี ลักษณะเฉพาะคือลุมน้ําปราจีนบุรีเปนเสมือนพื้นที่ตนน้ําของลุมน้ําบางปะกง มีหนวยงานที่ดําเนินงานหลัก ไดแก กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช ที่ดูแลในดานการจัดการพื้นที่ปาอนุรักษที่อยูในพื้นที่ลุมน้ํา ใหคงความอุดมสมบูรณ การจัดทําฝายตนน้ําตามแนวพระราชดําริ รวมทั้งความพยายามในการฟนฟูพื้นที่ปา ใกลเคียงเพื่อผนวกเขากับพื้นที่ปาอนุรักษ กรมทรัพยากรน้ําไดดําเนินการฟนฟูพื้นที่ตนน้ําลําธารดวยการ จัดทําฝายตนน้ํา ซึ่งชวยสรางความชุมชื้นใหกับดินและสรางความสมบูรณใหกับปาตนน้ํา ในสวนของ กิจกรรมนํารองของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดใหความสําคัญ เฉพาะบางบริเวณ โดยมีพื้นที่ที่ดําเนินการตอเนื่อง ไดแก การฟนฟูพื้นที่เขตรักษาพันธุส ตั วปา เขาอางฤๅไนที่ ดําเนินการตอเนื่องมาทั้งสองป เปนกิจกรรมทั้งการฟนฟูและสนับสนุนการผนวกพื้นที่ปา และกิจกรรมฟนฟู ความเหมาะสมของแหลงที่อยูและแหลงอาหารสัตวปา รวมทั้งกิจกรรมการมีสวนรวมในการผนวกผืนปา นอกจากนี้ ไดมีการดําเนินการในพื้นที่โดยรอบอุทยานแหงชาติเขาใหญในการสงเสริมการนําปาเสื่อมโทรม มาจัดทําเปนสถานเรียนรูธรรมชาติโดยความรวมมือกับสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จังหวัดนครนายก กิจกรรมเหลานี้ นอกจากการมีสวนในการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติแลว ยังมีสวนในการ สรางความรวมมือระหวางหนวยงาน องคกร และประชาชนในทองถิ่นใหเขามามีสวนรวมในการดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่รวมกัน โดยสรุปการดําเนินงานแผนงานและกิจกรรมตางๆ ที่บูรณาการลงสูพื้นที่ ลุมน้ําในนิเวศปาไมไดดังนี้ การฟนฟูความอุดมสมบูรณของพื้นที่ปาไมที่เปนแหลงตนน้ําลําธาร • การฟนฟูพื้นที่ตนน้ําลําธาร ภายใตแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกงแบบ บูรณาการ ในป พ.ศ.2550 ดําเนินการโดยกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช จัดทําเปนฝายตนน้ํา แบบผสมผสาน 1,460 แหง แลวเสร็จทั้งหมด ในพื้นที่ตนน้ําเสื่อมโทรม ซึ่งจะสรางความชุมชื้นของดิน เพิ่มขึ้น ชะลอการไหลและลดความรุนแรงของน้ํา ทําใหเกิดความหลากหลายทางชีวภาพของผืนปาตนน้ํา ลําธาร ชวยลดการชะลางพังทลายของตะกอนดินลงสูพื้นที่ทายน้ํา และชวยเก็บกักน้ําไวใชในชวงหลัง ทั้ง สําหรับมนุษยและสัตวปา ผลการดําเนินงานในลุมน้ําสาขาแมน้ําหนุมาน 280 แหง ลุมน้ําสาขาคลองทาลาด 400 แหง และลุมน้ําสาขาแมน้ําปราจีนบุรีตอนลาง 780 แหง ใชงบประมาณทั้งสิ้น 7.3 ลานบาท ประเมินวา สามารถสรางความชุมชื้นใหผืนปากวา 14,600 ไร • กรมทรัพยากรน้ําได ดําเนินการจัดทําฝายตนน้ํารวม 27 แหง บริเวณตนน้ําสาขาลําพระยาธาร ตําบลบุพราหมณ อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี และฝายตนน้ําลําน้ําสาขาคลองทาลาด ตําบลทาตะเกียบ อําเภอทาตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา สรางความชุมชื้นใหกับผืนปากวา 270 ไร -12-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

การเพิ่มพื้นที่ปาไม • กิจกรรมการดําเนินการจัดทําแนวถนนลอมรอบแนวเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน และปลูกปา ในป พ.ศ.2549 ในโครงการบริหารจัดการนิเวศลุมน้ําบางปะกง ของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม มีสวนในการฟนฟูเขตปาสงวน และไดพื้นที่ปาเพื่อเตรียมการผนวกเพิ่มเติม 100 ไร บริเวณ ตําบลทากระดาน อําเภอสนามชัยเขต ปจจุบันไดมีการรังวัดและปกหมุดแลว โดยไดรับการสนับสนุนเพิ่มเติมจาก บริษัท โตโยตามอเตอร ประเทศไทย จํากัด ปลูกปาเพิ่มเติมอีก 331 ไร และในป พ.ศ.2551 เขตรักษาพันธุ สั ต ว ป า เขาอ า งฤๅไนกํ า หนดแผนในการจั ด ทํ า แนวเขตต อ เนื่ อ งจากที่ สํ า นั ก งานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหการสนับสนุนไวในป พ.ศ.2549 (5 กิโลเมตร) โดยเตรียมกลาไม เปนตน ถอย 200,000 ตน ซึ่งจะสามารถไดพื้นที่ปาคืนมาเพื่อผนวกเปนเขตรักษาพันธุสัตวปาเพิ่มเติม โดยเขตรักษาพันธุ สัตวปาเขาอางฤๅไน ไดนําเขาสูการดําเนินการตามกฎหมายแลวในปจจุบัน • ศักยภาพการผนวกผืนปาของพื้นที่ปาอนุรักษ การดําเนินงาน ทบทวนและศึกษาขอมูลที่ผานมา พบวาในพื้นที่ปาอนุรักษที่สําคัญหลายแหง มีการดําเนินการเพื่อรวบรวมและฟนฟูพื้นที่ปาทั้งที่สมบูรณอยู และฟนฟูปาเสื่อมโทรมที่อยูใกลเคียง เพื่อนํามาผนวกเปนผืนปาอนุรักษ ทั้งที่อุทยานแหงชาติเขาใหญที่มี เปา หมายการผนวกผืน ปากวา 46,034 ไร อุทยานแหง ชาติน้ํา ตกสามหลั่น ที่มีพื้น ที่เ ปา หมาย 318 ไร เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไนที่มีเปาหมายกวา 37,975 ไร ซึ่งทําใหเห็นไดวาพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี มีศักยภาพในการเพิ่มพื้นที่ปาเพื่อการอนุรักษ ซึ่งควรมีการสนับสนุนผลักดันโดยหนวยงานองคกรและผูที่มี สวนเกี่ยวของ เพื่อเปนชองทางหนึ่งในการอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรปาไมและสัตวปาของประเทศ การฟนฟูศักยภาพในการเปนแหลงอาศัยและแหลงอาหารของสัตวปา • ในดานการฟนฟูแหลงอาหารสัตวปา ซึ่งสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมไดใหการสนับสนุน ภายใตโครงการประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่ ลุมน้ําบางปะกง ป พ.ศ.2550 บริเวณปาทุงหนองคาย หมูที่ 5 ตําบลคลองตะเกรา อําเภอทาตะเกียบ จังหวัด ฉะเชิงเทรา เนื้อที่ 60 ไร จากการติดตามประเมินผลพบวา ปจจุบันแปลงทุงหญาที่จัดทําไวมีรองรอยสัตว เขามาใชประโยชนเปนจํานวนมาก เชน เกง กวาง ชาง และปจจุบันทางเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน จะมีการขยายผลนําวิธีการที่ใชนี้ขยายพื้นที่ทุงหญาราว 15,000 ไร บริเวณคลองหิน สําหรับบอน้ํา ในชวงปแรก พบวา น้ําจะแหงจนเกือบหมด แตในชวงปที่ 2 และ 3 เริ่มมีน้ําคงตัวในบอ และพบรอยเทาสัตวบริเวณริมอาง เปนจํานวนมาก แสดงวาสามารถเปนแหลงเอื้อตอการดํารงชีวิตของสัตวปาได

-13-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ • ในการศึกษาโครงการบริหารจัดการนิเวศลุมน้ําบางปะกง ในป พ.ศ.2549 ไดมีการนําเสนอไว ในยุทธศาสตรการบริหารจัดการและฟนฟูนิเวศลุมน้ําบางปะกงใหพื้นที่ปาอนุรักษทุกแหงควรมีการจัดทํา แผนแมบทการบริหารจัดการ ซึ่งครอบคลุมทั้งการจําแนกเขตพื้นที่ที่เหมาะสมตอทรัพยากรธรรมชาติ ความ เปราะบางเชิงนิเวศและการใชประโยชนภายใตขีดความสามารถในการรองรับ รวมทั้งแนวทางการดําเนินการ และแผนปฏิบัติการเพื่อสรางความชัดเจนในการบริหารจัดการพื้นที่ปาอนุรักษ ซึ่งในสถานะปจจุบัน พบวา พื้นที่ปาอนุรักษที่เปนอุทยานแหงชาติทั้ง 4 แหง ลวนมีการจัดทําแผนแมบทในการบริหารจัดการแลวเสร็จ ซึ่งมีการวิเคราะหและกําหนดแผนการบริหารจัดการที่ชัดเจนทั้งในระยะสั้น ระยะกลาง และศึกษาระยะยาว ครอบคลุมในดานตางๆ ซึ่งสวนใหญกําหนดใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน ไดแก การจัดการอนุรักษและฟนฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การสงเสริมดานการเรียนรูและการวิจัยทางธรรมชาติ การสงเสริมดาน การทองเที่ยวและนันทนาการ การเสริมสรางและพัฒนากระบวนการมีสวนรวมของชุมชนและหนวยงาน ตางๆ ที่เกี่ยวของ และการพัฒนาระบบบริหารจัดการอนุรักษแหงชาติที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ • กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช ไดดําเนินการวางแผนงานดานการจัดการพื้นที่กลุมปา ดงพญาเย็น-เขาใหญ โดยใชแผนการจัดการรวมแบบบูรณาการ คือ ไมมีแยกพื้นที่อุทยานแหงชาติหรือ เขตรักษาพันธุสัตวปาออกจากกัน และจะตองมีการจัดตั้งองคกรบริหารและสนับสนุนงบประมาณพรอมทํา การทบทวนแผนการดําเนินงานอยางตอเนื่องทุกป ภายใตภารกิจที่วา “รักษาระบบนิเวศของผืนปาดงพญาเย็นเขาใหญ ไวอยางยั่งยืน ควบคูกับการบริหารจัดการดานแหลงนันทนาการ ศึกษาวิจัย เผยแพรความรู และ การมีสวนรวม” การสรางความเขมแข็งของกระบวนการมีสวนรวม • ความตระหนักและจิตสํานึกการอนุรักษของคนในทองถิ่น พื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี มี พื้นที่ปาอนุรักษที่สําคัญรวมทั้งสิ้น 7 แหง เปนอุทยานแหงชาติ 4 แหง และเขตรักษาพันธุสัตวปา 3 แหง ซึ่ง สวนใหญจัดเปนพื้นที่ปาอนุรักษที่มีความสําคัญในลําดับตนๆ ของประเทศ เชน อุทยานแหงชาติเขาใหญ อุทยานแหงชาติทับลาน อุทยานแหงชาติปางสีดา ซึ่งอยูในสถานภาพการไดรับขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลก ทางธรรมชาติของโลกดวย รวมทั้งเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน ซึ่งถือเปนแหลงสงวนชีวมณฑลที่ สําคัญที่สุดแหงหนึ่งของโลก จากสถานะที่เปนพื้นที่ที่มีคุณคาสูงทางระบบนิเวศมีทรัพยากรปาไม สัตวปา และความหลากหลายทางชีวภาพสูง เปนถิ่นที่อยูอาศัยของชนิดพันธุที่ใกลสูญพันธุหลายชนิด ทําใหทิศทาง ในการบริหารจัดการไดรับกระแสการอนุรักษโดยมีความรวมมือสูงจากทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ รวมทั้งราษฎร ในทองถิ่นโดยรอบที่มีความตระหนักและการมีสวนรวมในการดูแลรักษาพื้นที่ปาไมมากขึ้นจากในอดีต -14-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

อีกสาเหตุหนึ่งนาจะมาจากกระแสการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในชวงระยะหลังนี้ ที่มี สวนทําใหมีแรงกระตุนและสรางจิตสํานึกจากหนวยงานและองคกรที่เกี่ยวของอยางตอเนื่อง ทําใหราษฎร เห็นความสําคัญในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติเพื่อเปนฐานการดํารงชีวิตและประกอบอาชีพอยางยั่งยืน นอกจากนี้ กระแสการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ที่มีความนิยมและไดรับการสงเสริมอยางมากในชวงเวลาไมกี่ปมานี้ ที่ทําใหทองถิ่นไดรับประโยชนจากกิจกรรมการทองเที่ยว โดยการสรางสินคาและบริการสําหรับผูมาเยี่ยมเยือน ตลอดจนการพัฒนาแหลงทองเที่ยวเพื่อเปนโครงขายการทองเที่ยวที่สงเสริมเศรษฐกิจชุมชนไดอีกทางหนึ่ง โดยจะเห็นไดจากการเกิดกลุม ชมรมอนุรักษขึ้นในพื้นที่ชุมชนใกลผืนปาอนุรักษทุกแหง รวมทั้งการเขามา มีสวนรวมในกิจกรรมการเฝาระวัง ดูแลผืนปาอนุรักษในทุกพื้นที่ • ความรวมมือและสนับสนุนในกิจกรรมการอนุรักษ พื้นที่ปาอนุรักษในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี มีการจัดตั้งกลุมองคกร ชมรม ทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน ในการรวมกลุมมาสนับสนุนกิจกรรมการ อนุรักษ ทั้งจากสวนกลางและสวนทองถิ่น ซึ่งทําใหเกิดศักยภาพในการบริหารจัดการพื้นที่ปาอนุรักษเพิ่มขึ้นจาก ในอดีต ซึ่งการดูแลผืนปากวางใหญแตมักมีขอจํากัดในดานบุคลากรและงบประมาณ องคกรที่มีสวนสําคัญ ในการอนุรักษ นอกจากกลุมองคกรดังกลาวยังพบวามีภาครัฐและภาคเอกชนที่เขามาใหการสนับสนุน กิจกรรมในการอนุรักษและฟนฟูพื้นที่ปาในดานการสนับสนุนทางวิชาการ ทางงบประมาณ เชน สํานักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่ดําเนินกิจกรรมฟนฟูพื้นที่ปาไมและแหลงอาหารสัตวปา ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมที่มีกิจกรรมการสรางจิตสํานึกและ สิ่งแวดลอมแหลงทองเที่ยวที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ วัดโสธรวรารามราชวิหารและมูลนิธิโตโยตา ที่มอบทุน สนับสนุนตอเนื่องในการฟนคืนสภาพปาไมในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไนเปนระยะเวลา 5 ป เปนตน จากความรวมมือและสนับสนุนในกิจกรรมการอนุรักษเหลานี้แสดงใหเห็นถึงทิศทางและแนวโนมในการ อนุรักษที่จะไดรับความสนับสนุนในดานงบประมาณ ซึ่งจะเปนกลไกสําคัญผลักดันกิจกรรมการอนุรักษและ ฟนฟูทรัพยากรปาไมและสัตวปา ใหมีความอุดมสมบูรณอยางยั่งยืนตอไป นิเวศเกษตรกรรม : การดําเนินงานในการฟนฟูพื้นที่เกษตรกรรมที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลงในนิเวศเกษตรกรรม สวนใหญ เปนภารกิจของหนวยงานภายในกระทรวงเกษตรและสหกรณเปนหลัก ชวงการดําเนินงานแผนการบริหาร จัดการและพัฒ นาลุม น้ําบางปะกงแบบบู รณาการ เฉพาะในส วนของการบูรณาการในหน ว ยงานของ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีการดําเนินการโดยสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม และกรมควบคุมมลพิษ ซึ่งใหความสําคัญกับการสงเสริมแนวทางการทําการเกษตรอยาง ยั่งยืน และการจัดการมลพิษของภาคการผลิตทางการเกษตร ซึ่งสวนใหญเปนการดําเนินการในพื้นที่นํารอง สรุปไดดังนี้ -15-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

• สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดสนับสนุนจัดตั้งศูนยสาธิต และเผยแพรการทําปุยอินทรียของชุมชนบานบอนกลาง จังหวัดนครนายก ภายใตโครงการบริหารจัดการ นิเวศลุมน้ําบางปะกง ป พ.ศ.2549 ปจจุบัน ไดรับการคัดเลือกใหเปนสินคา OTOP นอกจากนี้ ยังไดรับการ สนับสนุนจากสถาบันพัฒนาองคกรชุมชนใหเปนศูนยเผยแพรเกษตรอินทรียในภาคตะวันออก ที่มีสวนชวย ในการเผยแพรการทําเกษตรกรรมแบบยั่งยืนเพื่อสงผลถึงความยั่งยืนของนิเวศเกษตรกรรมในลุมน้ําดวย • กรมควบคุ ม มลพิษ ได ดํา เนิ น งานโครงการจัดการน้ํ า เสี ย ฟารม สุก ร ซึ่ง เปนการเสริ มสรา ง ศักยภาพการจัดการของเสีย น้ําเสีย และฟนฟูประสิทธิภาพการบําบัดน้าํ เสียฟารมสุกรในพืน้ ทีล่ มุ น้าํ บางปะกง ในป พ.ศ.2550 ประกอบดวย การจัดทําทําฐานขอมูลฟารมสุกร และดําเนินการประเมินสถานภาพและ ประสิทธิภาพของฟารมสุกรที่เขารวมโครงการกับปศุสัตว จํานวน 218 ราย และฟนฟูระบบบําบัดน้ําเสีย ฟารมสุกร จํานวน 55 ราย พรอมทั้งติดตามประเมินผลประสิทธิภาพระบบบําบัดน้ําเสียฟารมสุกรที่รับการฟนฟู ประสิทธิภาพ ตอมาในป พ.ศ.2551 ไดจัดการอบรมผูประกอบการฟารมสุกร จํานวน 56 ฟารม พรอมทั้งมี กิจกรรมฟารมสุกรสีเขียวขึ้นในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง ซึ่งจะเปนจุดเริ่มเพื่อสานตอและขยายผลของการทํา ฟารมสุกรอยางเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมในลุมน้ํา • ใน ป พ.ศ.2550 กรมควบคุมมลพิษไดดําเนินการเสริมสรางศักยภาพการจัดการน้ําทิ้งจากการ เพาะเลี้ ย งสั ต ว น้ํ า อย า งต อ เนื่ อ งการเสริ ม สร า งศั ก ยภาพการจั ด การน้ํ า ทิ้ ง จากการเพาะเลี้ ย งสั ต ว นํ้ า ประกอบดวย การจัดทําฐานขอมูล และมีการประเมินสถานการณการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําและเสริมสราง ความรูความเขาใจในการจัดการน้ําทิ้งจากบอเพาะเลี้ยง โดยมีการจัดกิจกรรมการสัมมนาสรางความรูความ เขาใจและเสวนาเกษตรกรกลุมยอย ตลอดจนการจัดทําสื่อประชาสัมพันธเผยแพรขอมูลตางๆ ตอมาในป พ.ศ.2551 การจัดเสริมสรางศักยภาพการจัดการน้ําทิ้งจากการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา โดยมีการจัดทําฐานขอมูล บอเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา การสัมมนาเรื่อง “เพาะเลี้ยงลดมลพิษ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ในชวงเดือนมีนาคมเมษายน พ.ศ.2551 และจัดทํามาตรการในการจัดระบบพื้นที่การเลี้ยงปลาและจํานวนการเลี้ยงปลาในกระชัง • กรมควบคุมมลพิษ ไดจัดการเสริมสรางความรูความเขาใจในการลดมลพิษจากนาขาวในพื้นที่ ลุมน้ําบางปะกง โดยจัดการอบรมใหกับกลุมชาวนาในวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2551 ณ องคการบริหารสวนตําบล เนินหอม จังหวัดปราจีนบุรี นิเวศแหลงน้าํ : การเปลี่ยนแปลงในนิเวศแหลงน้ําชวงการดําเนินงาน แผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกง แบบบูรณาการ แบงการดําเนินงานออกไดเปนสองสวนใหญๆ คือ การบริหารจัดการดานปริมาณน้ํา และ การฟนฟูคุณภาพน้ํา โดยในสวนของการบริหารจัดการแหลงน้ํา มีหนวยงานรับผิดชอบหลัก ไดแก กรม ทรัพยากรน้ํา ทั้งในดานการจัดหาและพัฒนาแหลงน้ําเพิ่มเติม การฟนฟูแหลงน้ํา และการบริหารจัดการน้ํา -16-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

สวนการฟน ฟู คุณภาพน้ํา หนว ยงานหลัก ที่มีการดํ าเนิน การ ได แก กรมควบคุ มมลพิ ษ และสํ า นัก งาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่นํารองการดําเนินงานเปนพื้นที่ที่มีวิกฤตเรงดวน สรุปไดดังนี้ การจัดหา พัฒนา และฟนฟูแหลงน้ํา • ภายใตแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกงแบบบูรณาการ ในป พ.ศ.2550 ของ กรมทรัพยากรน้ํา ไดทําการฟนฟูและพัฒนาแหลงน้ํา รวมทั้งสิ้น 11 แหง โครงการปรับปรุงฯ แหลงน้าํ เขากําแพง โครงการปรับปรุงฯ แหลงน้ําเขาปอบน โครงการปรับปรุงฯ แหลงน้ําคลองครก เปนโครงการปรับปรุงและ ฟนฟูแหลงน้ําเพื่อสนับสนุนโครงการอนุรักษทรัพยากรปาไมและสัตวปาในพื้นที่ปารอยตอ 5 จังหวัด (ภาค ตะวันออก) อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ทําใหมีแหลงน้ําเพิ่มขึ้น ความจุรวม 3 โครงการ 54,825 ลูกบาศกเมตร ในการพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค การเกษตรและบรรเทาอุทกภัย ภัยแลง ไดดําเนินการกอสราง ฝายน้ํ าลนคลองธาร อําเภอบอทอง จั งหวั ดชลบุ รี ซึ่งมีปริมาณเก็บกัก 500,000 ลูกบาศกเมตร เสริ ม พื้น ที่ การเกษตร 1,000 ไร ประชาชนไดประโยชน 2 หมูบาน 350 ครัวเรือน • โครงการปรับปรุงและฟนฟูแหลงน้ําธรรมชาติที่เสื่อมโทรม สําหรับอุปโภคบริโภคและฟนฟู ความสมดุลของระบบนิเวศและบรรเทาภัยแลง จํานวน 7 แหง ไดแก - ปรับปรุงฯ บึงตาเชื้อ ตําบลพระอาจารย อําเภอองครักษ จังหวัดนครนายก (ยกเลิกโครงการ) - ปรับปรุงฯ บึงพระอาจารย ตําบลพระอาจารย อําเภอองครักษ จังหวัดนครนายก - ปรับปรุงฯ บึงหวยน้ําใส ตําบลลาดกระทิง อําเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา - ปรับปรุงฯ แหลงน้ําคลองตะเคียน ตําบลคลองพลู อําเภอหนองใหญ จังหวัดชลบุรี - ปรับปรุงฯ หนองหมอหาย ตําบลบานซอง อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา - ปรับปรุงฯ แหลงน้ํา บานเขาผานางพัฒนา ตําบลทากระดาน อําเภอสนามชัยเขต จังหวัด ฉะเชิงเทรา - ปรับปรุงฯ แหลงน้ํา บานหวยกบ ตําบลคูยายหมี อําเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งทําใหมีปริมาณความจุรวม 1,157,250 ลูกบาศกเมตร ประชาชนไดรับประโยชน 1,250 ครัวเรือน • กรมทรัพยากรน้ําไดดําเนินโครงการปรับปรุงและฟนฟูบึงพระอาจารยที่อําเภอองครักษ จังหวัด นครนายก เพื่อแกไขปญหาการขาดแหลงน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค ซึ่งการบริหารจัดการเนนการมีสวนรวม จากผูมีสวนไดสวนเสียในพื้นที่เปนหลัก โดยจะทําใหมีน้ําตนทุนเพิ่มขึ้นประมาณ 47,200 ลูกบาศกเมตร เพื่อใชสนับสนุนการทําประปาแจกจายใหแกประชาชน จํานวน 197 ครัวเรือน

-17-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

การฟนฟูคุณภาพน้ํา • กรมควบคุมมลพิษไดดําเนินการในการแกไขปญหาน้ําเสียของคลองสารภี โดยกรมควบคุมมลพิษ ผูแทนกลุมเกษตรกร คณะอนุกรรมการลุมน้ําบางปะกง ปราจีนบุรี และโตนเลสาป และหนวยงานที่เกี่ยวของ แตงตั้งคณะทํางาน 2 ชุดประกอบดวย คณะทํางานตรวจสอบแหลงกําเนิดมลพิษ และหาสาเหตุของปญหา มลพิษในพื้นที่คลองสารภี และคณะทํางานกําหนดมาตรการปองกันและกํากับดูแลการดําเนินงานตาม แผนงานปองกันและแกไขปญหามลพิษในพื้นที่คลองสารภี เพื่อดําเนินการรวบรวมขอมูลและสํารวจขอมูล ภาคสนามที่เกี่ยวของกับมลพิษในพื้นที่ลุมน้ําคลองสารภี โดยคณะทํางานตรวจสอบแหลงกําเนิดมลพิษ และ หาสาเหตุของปญหามลพิษในพื้นที่คลองสารภี เชน ปริมาณน้ํา การระบายน้ํา การใชประโยชนที่ดิน การ ประมง การเพาะปลูก การใชสารเคมีเพื่อการเกษตร แหลงกําเนิดมลพิษในพื้นที่ และการตั้งถิ่นฐานของ ชุมชน เปนตน ทําการเก็บตัวอยางน้ําและตะกอนดินในพื้นที่ที่คาดวาจะมีการปนเปอนของสารมลพิษตางๆ ดําเนินการติดตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพน้ําอัตโนมัติเพื่อการเตือนภัยแลวเสร็จ 2 แหง คือ บริเวณพื้นที่เลี้ยงปลา ในกระชัง ตําบลบานสราง อําเภอบานสราง จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งอยูหางจากปากคลองสารภีลงมาทางดานใต ประมาณ 6 กิโลเมตร และบริเวณปากแมน้ําปราจีนบุรี ตําบลบางแตน อําเภอบานสราง จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งอยูหางจากปากคลองสารภีลงมาทางดานใตประมาณ 6 กิโลเมตร โดยมีการจัดทําระบบฐานขอมูล ระบบนําเสนอขอมูลผลการตรวจวัดแกสาธารณะชน และระบบแจงเตือนสถานการณคุณภาพน้ํา (Alarm) และจัดฝกอบรมการเฝาระวังคุณภาพน้ําและการแจงเตือนภัยใหกับประชาชนในพื้นที่ เพื่อทําความเขาใจใน ระบบการทํางานของสถานีตรวจวัดคุณภาพน้ําอัตโนมัติเพื่อการเตือนภัย และเพื่อใหประชาชนไดเขามามี สวนรวมในการตรวจสอบและบํารุงรักษาสถานี จากขอมูลตางๆ ที่ไดรับ คณะทํางานกําหนดมาตรการ ปองกันและกํากับดูแลการทํางานตามแผนงานปองกันและแกไขปญหามลพิษในพื้นที่คลองสารภี จึงนํามา จัดทํ า เป น มาตรการและแผนปฏิ บัติก ารปองกัน และแก ไขปญ หามลพิ ษ ในพื้ น ที่ ค ลองสารภี และแมน้ํ า ปราจีนบุรีบริเวณใกลเคียง • กรมควบคุมมลพิษ ไดดําเนินงานในโครงการจัดการน้ําเสียสําหรับบานเรือนและวัดสุนทรพิชิตาราม บริเวณชุมชนบึงพระอาจารย โดยการสรางระบบบําบัดน้ําเสียสําหรับบานเรือนแตละหลังนั้น พิจารณาจาก หลักเกณฑตางๆ ดังนี้ ตั้งอยูในรัศมี 500 เมตร จากบึงพระอาจารย ความเต็มใจของชาวบาน ซึ่งไดมาจาก การทําแบบสอบถาม สภาพทั่วไปของบานแตละหลัง ซึ่งพิจารณาจากหองน้ํา-หองสวม หองครัว และสภาพ ความเหมาะสมของพื้นที่ที่จะทําการติดตั้งระบบบําบัดน้ําเสีย หลังจากพิจารณาจากเกณฑดังกลาว จึงได ดําเนินการโครงการนํารองการจัดการน้ําเสีย โดยการกอสรางระบบบําบัดน้ําเสีย ไดแก วัดสุนทรพิชิตาราม และ บานเรือน ในรัศมี 500 เมตร รอบบึงพระอาจารย จํานวน 31 หลังคาเรือน รวมจํานวน 37 ชุด ซึ่งแนวทาง การจัดการน้ําเสียที่เหมาะสมสําหรับบานเรือนและวัดสุนทรพิชิตาราม ใหมีประสิทธิภาพและใชงบประมาณ ในการกอสรางที่ไมมากนัก -18-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

การสรางเครือขายการบริหารจัดการ การอนุรักษและฟนฟูแหลงน้ํา • กิจกรรมจัดเวทีชุมชนในพื้นที่คลองบึงพระอาจารย ที่สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมใหการสนับสนุนคณะอนุกรรมการลุมน้ําบางปะกง ปราจีนบุรี และโตนเลสาป ดําเนินการ ในโครงการบริหารจัดการนิเวศลุมน้ําบางปะกง ทําใหเกิดเครือขายการอนุรักษและฟนฟูบึงพระอาจารยขนึ้ ขยายตัวครอบคลุมผูนําชุมชนและสมาชิกเครือขายจาก 7 ตําบล เปน 9 ตําบล ปจจุบันครอบคลุม 16 ตําบล มีการหมุนเวียนจัดประชุมกันทุกเดือน เพื่อวิเคราะหปญหาและแนวทางแกไขรวมกัน ซึ่งเปนผลสําเร็จใน ดานการสรางเครือขายในชุมชนเพื่อเปนกลไกการแกไขปญหาในทองถิ่น และปจจุบันมีการขยายเครือขาย และมีกิจกรรมอยางตอเนื่อง • กรมทรั พ ยากรน้ํ า ได จั ด ตั้ ง สํ า นั ก งานศู น ย อํ า นวยการลุ ม น้ํ า บางปะกง เพื่ อ สนั บ สนุ น การ ดําเนินงานของสํานักงานทรัพยากรน้ําภาค 6 ในการประสานกับหนวยงานในพื้นที่ หนวยงานสวนกลาง องคกรเอกชน ภาคประชาชน เครือขายในพื้นที่ และผูมีสวนไดเสีย รวมทั้งการวิเคราะหและประมวลผล ขอมูลการดําเนินงานตามโครงการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกงแบบบูรณาการ บริหารจัดการ ลุมน้ํานํารองแบบบูรณาการ เพื่อบริหารจัดการองคกรลุมน้ําและเครือขายเปนระบบลุมน้ํา การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา • ในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ซึ่งจะเปนสวนสําคัญในการแกไขปญหาดานทรัพยากรน้ํา อยางยั่งยืน มีการดําเนินการพัฒนาระบบโครงขายอุทกวิทยา และระบบเตือนภัย รวมทั้งการวางแผนการ จัดสรรน้ํา โดยกรมทรัพยากรน้ํา เครือขายสถานีอุทกวิทยาครอบคลุมลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี ทําใหมี ฐานขอมูลเพื่อการบริหารจัดการน้ําของลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรีอยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพ ประกอบดวย สถานีอุทกวิทยา 16 สถานี ซึ่งเปนระบบตรวจวัดขอมูลทางไกลอัตโนมัติ ที่สามารถตรวจวัด ขอมูลตอการบริหารจัดการน้ํา ทั้งน้ําทวม ภัยแลง และคุณภาพน้ํา เครือขายสถานีอุทกวิทยารองแบบอัตโนมัติ (Logger) 4 สถานี เครือขายสถานีอุตุนิยมวิทยารองแบบจดบันทึก (Manual) 7 สถานี เครือขายสถานีอุตุนิยมวิทยา 22 สถานี เครือขายระบบตรวจวัดขอมูลเพื่อเตือนภัยน้ําทวมฉับพลัน-ดินถลม ครอบคลุมพื้นที่เสี่ยงภัย 22 หมูบาน • กรมทรั พ ยากรน้ํ าได จั ดทํา เกณฑการจัดสรรน้ํา ที่เ หมาะสม และเป น ที่ ย อมรับของทุก ภาค กิจกรรมการใชน้ํา ภาคประชาชน และหนวยงานของรัฐ มีการวางแผนจัดสรรน้ําและแนวทางการแกไข ปญหามีความเขาใจ การยอมรับ และการจัดทําเกณฑการจัดสรรน้ํารวมกันกับภาคประชาชน สรางความรู และความเขาใจตอทุกภาคกิจกรรมการใชน้ําในพื้นที่

-19-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

นิเวศเมืองและชุมชน : ในนิเวศเมืองและชุมชนมีการดําเนินการโดยโครงการนํารองของหนวยงานในแผนการบริหาร จัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกงแบบบูรณาการ สรุปไดดังนี้ • สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดําเนินการโครงการศึกษาการ จัดการสิ่งแวดลอมเพื่อเมืองและชุมชนนาอยูในพื้นที่นํารอง 2 พื้นที่ ไดแก เทศบาลตําบลบางคลา และ เทศบาลกับองคการบริหารสวนตําบลที่อยูบริเวณปากแมน้ําบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา มีการดําเนินงาน กิจกรรม โครงการหนาบานนามอง และปรับปรุงภูมิทัศนเมืองนาอยู และมีการพาบุคลากรของเทศบาลกับ องคการบริหารสวนตําบลที่อยูบริเวณปากแมน้ําบางปะกง ไดแก เทศบาลตําบลทาขาม เทศบาลตําบล บางปะกง และองคการบริหารสวนตําบลบางปะกง จํานวน 45 คน ไปศึกษาดูงานและฝกอบรมเรื่องขยะ น้ําเสีย พื้นที่สีเขียวในเมือง และระบบนิเวศชายฝงทะเล ณ เทศบาลนครระยองและศูนยศึกษาการพัฒนา อาวคุงกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดจันทบุรี เมื่อวันที่ 28-29 สิงหาคม พ.ศ.2550 เพื่อเปน การสรางองคความรูและความเขาใจมาประยุกตใชในการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมชุมชนเมืองในอนาคต • สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดําเนินโครงการบริหารจัดการ สิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรมในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกงแบบมีสวนรวม โดยไดจัดทําคูมือการบริหาร จัดการสิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรมในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง แผนที่สิ่งแวดลอมมรดกทางวัฒนธรรม เทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา และชุมชนวัดเซนตปอล ตําบลบางตีนเปด อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งเปน พื้นที่นํารอง 2 พื้นที่ นิเวศอุตสาหกรรม : ภายใตแ ผนการบริห ารจัด การและพัฒ นาลุม น้ํา บางปะกงแบบบูร ณาการ ป พ.ศ.2550 กรม ควบคุมมลพิษ ไดดําเนินโครงการเทคโนโลยีสะอาดในโรงงานอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมชุมชน โดยมี การสํารวจภาคสนามและจัดทําฐานขอมูลโรงงานอุตสาหกรรมครอบคลุม จังหวัดฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และนครนายก โดยไดดําเนินการสํารวจขอมูลเบื้องตน โรงงานนํารองประเภทอุตสาหกรรม 5 แหง และ อุตสาหกรรมชุมชน 30 แหง และปจจุบันอยูระหวางการดําเนินงานเสริมสรางศักยภาพการจัดการสิ่งแวดลอม อุตสาหกรรมชุมชน/โรงงานอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ยังไดดําเนินการติดตามตรวจสอบการระบายมลพิษ อยางตอเนื่องจากปลองระบายอากาศเสียอุตสาหกรรม (CEMs) ซึ่งไดจัดทําระบบคอมพิวเตอรที่ใชสําหรับ รับ-สงและประมวลผลขอมูลตรวจวัดการระบายมลพิษจากปลองโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งปจจุบนั อยูร ะหวาง การติดตามตรวจสอบการระบายมลพิษดังกลาวในพื้นที่อยางตอเนื่อง จะเปนประโยชนตอการติดตาม คุณภาพสิ่งแวดลอมในนิเวศอุตสาหกรรมในอนาคต -20-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

นิเวศชายฝง ทะเล : จากการติดตามผลการดําเนินงานตามแผนงานและกิจกรรมตางๆ ประมวลผลตอสถานการณ ทรัพยากรชายฝงทะเลในพื้นที่ปากแมน้ําบางปะกง ดังนี้ • สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ใหการสนับสนุนการศึกษา ออกแบบและจัดทําเสนทางศึกษาธรรมชาติและระบบสื่อความหมายในพื้นที่เกาะธรรมชาติทาขาม ที่ตําบล ทาขาม อําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา มอบหมายใหเทศบาลตําบลทาขามเปนเจาภาพพัฒนาใหเปน แหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ ไดดําเนินการออกแบบและจัดทําปายสื่อความหมายแลวเสร็จ ภายใตโครงการ บริหารจัดการนิเวศลุมน้ําบางปะกง ป พ.ศ.2549 และไดสนับสนุนการจัดทําเสนทางศึกษาธรรมชาติปาชายเลน วัดคงคาราม (วัดบน) เปนผืนปาชายเลน 1 ใน 3 แหงที่เหลืออยูของตําบลบางปะกง และทองถิ่นมีความตั้งใจ รวมกันอนุรักษและฟนฟู ราว 20 ไร เปนหองเรียนธรรมชาติ รวมทั้งเปนการสรางความตระหนักและแหลง เรียนรูดานสิ่งแวดลอมใหกับเยาวชน ในโครงการประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใน พื้นที่ลุมน้ําบางปะกง ป พ.ศ.2550 • กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงสนับสนุนการสรางศูนยการเรียนรูและผลิตสื่อเผยแพร ประชาสัมพันธการอนุรักษโลมา และทรัพยากรทางทะเลและชายฝงปากแมน้ําบางปะกง ที่ศูนยศึกษาปาชายเลน วัดคงคาราม (วัดบน) อําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งจะเปนการสรางความตระหนักและแหลงเรียนรู ดานสิ่งแวดลอมใหกับเยาวชน • กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ดําเนินกิจกรรมโครงการฟนฟูจัดการทรัพยากรทางทะเล บริ เ วณลุ ม น้ํ าบางปะกงแบบบูรณาการ โดยมีกิจกรรมประกอบดวย การสร างจิ ตสํา นึ ก ในการอนุ รัก ษ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝงรวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น การเฝาระวังและดูแลโลมาบริเวณปากแมน้ํา บางปะกง การจัดคายเยาวชนคนรักษทะเลไทย และการจัดตั้งกลุมอาสาสมัครพิทักษทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝง และเครือขายภาคประชาชน ผลที่ไดจากกิจกรรมทําใหประชาชนบริเวณปากแมน้ําบางปะกง มีความ เขาใจถึงความสําคัญของนิเวศชายฝง พื้นที่ปากแมน้ํา และวิธีการรวมกันอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝง จากการติดตามพบวา มีความอุดมสมบูรณของสัตวน้ําเพิ่มขึ้นในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2550 พบฝูงโลมากวา 20 ตัว เขามาในปากแมน้ําใกลเกาะทาขาม และพบวาปริมาณขยะมูลฝอยในน้ําลดลง • ปจจุบันกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงมีการดําเนินการจัดตั้งหนวยสงเสริมการอนุรักษ โลมา รวมถึงทรัพยากรทางทะเลและชายฝงในการตรวจตราดูแลการกระทําผิดกฎหมายและทําลายระบบ นิเวศทางทะเลอยางตอเนื่อง โดยมีเรือทรัพยากรทางทะเลและชายฝง 801 และ 301 ปฏิบัติงานในพื้นที่ ปากแมน้ําบางปะกงอยางตอเนื่อง ในชวงป พ.ศ.2550 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ไดดําเนิน โครงการตางๆ ในพื้นที่ปากแมน้ําบางปะกง ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา และพื้นที่ตําบลคลองตําหรุ จังหวัดชลบุรี เชน โครงการปลูกปาชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ -21-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

4.

แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศลุมน้ํา

4.1

การเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมและประเด็นที่ควรพิจารณา

ผลจากการดําเนินงานในแผนงานและโครงการตางๆ ของหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งในสวนกลางและ สวนทองถิ่น สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของพื้นที่ลุมน้ําบางปะกงลุมน้ําปราจีนบุรี ทั้งที่ทําใหสถานการณดีขึ้นหรือคงเดิม เปนปจจัยที่ควรใหความสําคัญในการนํามากําหนด แนวทางในการบริหารจัดการในระยะตอไป โดยสรุปประเด็นปญหาที่ควรพิจารณาไดดังนี้ นิเวศ นิเวศปาไม

นิเวศเกษตรกรรม

ภาพรวมการเปลี่ยนแปลง • พื้นที่ปาอนุรักษ 7 แหง รวมพื้นที่ 2.45 ลานไร ยังคงมีขอบเขตพื้นที่เปนไปตามประกาศเขตฯ โดยมีพื้นที่ทมี่ ีศักยภาพในการฟนฟูพื้นที่ปา ขางเคียง รวมทั้งสิ้น 179,310.67 ไร เพื่อผนวก เปนเขตปาอนุรักษไดในหลายพื้นที่ • พื้นที่ปาอนุรักษและพื้นที่ปาตนน้ําลําธาร 1.48 ลานไร มีสภาพอุดมสมบูรณคิดเปนรอยละ 98.34 รวม 1.45 ลานไร ของพื้นทีต่ นน้ําทั้งหมด โดยมีอัตราการเพิ่มขึ้นของพื้นทีป่ าไมที่ไดรับ การฟนฟูใหมีความอุดมสมบูรณ คิดเปนรอยละ 5.11 ซึ่งสงผลใหพื้นที่ปารอการฟน ฟูมีพื้นที่นอยลง • การบริหารจัดการมีการนํากระบวนการมีสวนรวม ของประชาชนเขามาใชในการบริหารจัดการ มีกลุมเครือขายและองคกรอนุรักษเขามารวม ดําเนินการ • พื้นที่เกษตรกรรมประมาณ 10 ลานไร สวนใหญ มีความอุดมสมบูรณ มีพื้นที่ทมี่ ีปญหาคุณภาพ ที่ดินในการทําการเกษตร ไดแก ดินเปนกรดจัด 3.8 ลานไร ดินเค็ม 0.79 ลานไร ดินตื้น 4.3 ลานไร ดินที่มกี ารชะลางพังทลายรุนแรง 42,856 ไร ไดรับการปรับปรุงบํารุงดินจนมีความเหมาะสม ในการปลูกพืชและใหผลผลิตไดดีพอสมควร • ยังคงมีปญหามลพิษจากน้ําทิ้งทางการเกษตร การปนเปอนของสารเคมีทางการเกษตรและ ยาปราบศัตรูพืชในแหลงน้ํา • ปริมาณน้ําทาเฉลี่ย 8,654 ลาน ลบ.ม./ป สามารถเก็บกักไวใชในลุม น้ําไดเพียง 740 ลาน ลบ.ม. หรือเพียงรอยละ 9.3 ทําใหมี ความเปราะบางในการจัดสรรน้ํา

-22-

• •

ประเด็นที่ควรพิจารณาสําหรับ การบริหารจัดการในระยะตอไป สนับสนุนการฟนฟูเพื่อเพิ่มพื้นที่ปาตนน้ํา ลําธารใหมีความอุดมสมบูรณ เชน การสราง ฝายตนน้ํา การปลูกหญาแฝก เปนตน สนับสนุนและสงเสริมการสรางสภาพ แวดลอมที่เหมาะสมตอการอยูอาศัยของ สัตวปาอยางสมดุล ผลักดันกระบวนการผนวกผืนปาและ การบริหารจัดการแบบกลุมปา สงเสริมกระบวนการมีสวนรวมใหคนใน ทองถิ่นเขามามีสว นรวมอนุรักษและฟนฟู โดยมีความตระหนักและมีจติ สํานึก

• สงเสริมทําการเกษตรแบบยั่งยืน เกษตร อินทรียและเกษตรปลอดสารพิษ เพื่อลดปญหาสารพิษตกคางและเปนการทํา การเกษตรอยางยั่งยืน • มีการศึกษาวางแผนระบบจัดสรรน้ําที่ เปนธรรมทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ • มีการจัดตั้งเครือขายและกลุมองคกรทาง การเกษตรและกลุมผูใชน้ําเพื่อมีสวนรวม ในการบริหารจัดการ


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

นิเวศ

ภาพรวมการเปลี่ยนแปลง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

ประเด็นที่ควรพิจารณาสําหรับการบริหาร จัดการในระยะตอไป

นิเวศเกษตรกรรม (ตอ)

• ในปจจุบันมีพื้นทีช่ ลประทานรวม 2.08 ลานไร และศักยภาพในอนาคตขยายเต็มที่ไดเปน 2.51 ลานไร • มีปญหาการขาดแคลนน้ํา น้ําทวม และปญหา การรุกล้ําของน้ําเค็ม เนื่องจากมีปญหาในระบบ การจัดสรรน้ํา นอกจากนี้บางพื้นที่มีปญหา น้ําเสียตอการทําเกษตร เชน พืน้ ทีบ่ ึงพระอาจารย คลองสารภี เปนตน • มีพื้นทีท่ ิ้งรางไมใชประโยชนเปนจํานวนมาก

นิเวศแหลงน้ํา

• คุณภาพน้ําผิวดินในแหลงน้ําหลัก ไดแก แมน้ํา ปราจีนบุรี สวนใหญอยูในประเภทที่ 4-5 คุณภาพน้ํา ต่ํากวาเปาหมายที่กําหนดไวใหเปนประเภทที่ 2 แมน้ํานครนายก สวนใหญอยูในประเภทที่ 2-5 และแมน้ําบางปะกง สวนใหญอยูใ นประเภทที่ 3-5 ซึ่งสภาพทั่วไปยังมีความเสื่อมโทรม คุณภาพน้ํา ต่ํากวาเปาหมายที่กําหนดไวใหเปนประเภทที่ 3 • การบริหารจัดการพื้นที่ชุมน้ํายังไมไดรับการให ความสําคัญมากนัก ซึ่งมีผลกระทบตอคุณภาพ และปริมาณของทรัพยากรน้ําในลุมน้ํา

• สรางความตระหนักและจิตสํานึกในการมี สวนรวมอนุรักษทรัพยากรน้ํา • ควรมีการสงเสริมและสนับสนุนการอนุรักษ และฟนฟูแหลงน้าํ ใหมีคณ ุ ภาพประเภทที่ 3 อยางยั่งยืนตั้งแตในลําน้ําสาขาจนถึงลําน้ํา หลัก • ใหความสําคัญในการจัดการพื้นที่ชมุ น้ํา อยางมีสวนรวมของคนในทองถิ่น

นิเวศเมืองและชุมชน

• ชุมชนเมือง 56 แหง มีการวางผังเมืองเพียง 18 แหง ยังมีการวางผังเมืองไมครบทุกแหง • โดยเฉลี่ยอัตราการเกิดขยะมูลฝอยชุมชนเฉลี่ย 5.22 กก./คน/วัน ชุมชนเมืองยังขาดแคลนระบบ กําจัดของเสียที่มปี ระสิทธิภาพและเหมาะสม เพียงพอตอการบําบัดของเสียของเมือง ปจจุบันมี ทั้งฝงกลบขยะอยางถูกหลักสุขาภิบาลเพียง 4 แหง • ชุมชนเมืองเกิดปญหาน้ําเสียในลุมน้ํารอยละ 70 เกิดจากชุมชนอีกรอยละ 30 เปนน้ําเสียจาก โรงงาน ปจจุบันมีเพียงระบบบําบัดน้ําเสียรวม ที่เทศบาลเมืองฉะเชิงเทราและเทศบาลตําบล พนัสนิคมเทานั้น • ผูบริหารขององคกรปกครองสวนทองถิ่นยังขาด ความรูความเขาใจในการจัดการคุณภาพ สิ่งแวดลอมของเมือง

• เรงรัดการจัดทําผังเมืองรวมใหครบทุกชุมชน เมือง • สนับสนุนและผลักดันใหทุกชุมชนเมือง มีระบบกําจัดขยะและระบบบําบัดน้ําเสียที่มี ประสิทธิภาพครบทุกชุมชนเมือง • สนับสนุนและสงเสริมการจัดการคุณภาพ สิ่งแวดลอมของเมืองตามแนวทางการจัด การเมืองนาอยู

-23-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

นิเวศ

ภาพรวมการเปลี่ยนแปลง

นิเวศอุตสาหกรรม

• ปจจุบันมีพื้นที่ประกอบอุตสาหกรรมขนาดใหญ 6 แหง และโรงงานอุตสาหกรรมประเภทตางๆ ที่กระจายอยูใ นลุม น้ํารวม 5,039 แหง ยังคงมี ปญหาการรองเรียนมลภาวะจากโรงงาน อุตสาหกรรมทีอ่ ยูน อกนิคมหรือเขตอุตสาหกรรม ที่ติดชุมชน ในดานของน้ําเสีย อากาศเปนพิษ เสียงดัง และกลิ่นเหม็น ซึ่งเปนผลสืบเนื่องมาจาก จํานวนโรงงานอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึน้ อยางรวดเร็ว และการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมที่ไมมี ประสิทธิภาพ

นิเวศชายฝงทะเล

• คุณภาพน้ําทะเลชายฝงยังมีความเสื่อมโทรม ในภาพรวมยังพบปญหาคุณภาพน้ําใน พารามิเตอรที่เกีย่ วกับสารอาหารที่มีคาเกินกวา มาตรฐานที่กําหนด และปริมาณโลหะหนักจาก โรงงานอุตสาหกรรมเกินกวาคามาตรฐานใน บางบริเวณ เนื่องจากของเสียของชุมชนเมือง และโรงงานอุตสาหกรรมที่มาตามแมน้ํา มีปญหา คุณภาพน้ําและการตกตะกอนบริเวณปากแมน้ํา จากการเลี้ยงปลาในกระชัง • ปญหาการลดลงของพื้นที่ปาชายเลนเหลือนอย มาก สงผลกระทบตอการการขาดแคลนแหลง อนุบาลสัตวน้ําและความสมบูรณของทรัพยากร ประมง • ปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเลที่ยังคงมีปญหา รุนแรงในบางบริเวณ • ปญหาการทองเที่ยวชมโลมาขาดระเบียบและ ความเหมาะสม อาจสงผลกระทบตอการอยู อาศัยของโลมา

-24-

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

ประเด็นที่ควรพิจารณาสําหรับการบริหาร จัดการในระยะตอไป • สนับสนุนและสงเสริมการใชแนวคิดการใช เทคโนโลยีสะอาดในการผลิต • มีการบังคับใชกฎหมายอยางเครงครัด รวมทั้ง มาตรการจูงใจในการจัดการมลพิษที่ดีของ โรงงานอุตสาหกรรม • สงเสริมใหมีการตัง้ โรงงานในพื้นที่นคิ ม อุตสาหกรรมหรือเขตอุตสาหกรรม เนือ่ งจากมี ระบบการจัดการสิ่งแวดลอมทีม่ ีประสิทธิภาพกวา

• ควรมีการสรางจิตสํานึกและความตระหนัก ในการมีสวนรวมลดมลพิษลงสูแหลงน้ําที่ สงผลตอคุณภาพน้ําทะเลชายฝง • กวดขันการใชกฎหมายบังคับการปลอยของ เสียของโรงงานอุตสาหกรรมบริเวณ ปากแมน้ําบางปะกง • ใชมาตรการทางกฎหมายและมาตรการจูงใจ ในการเพิ่มพื้นทีป่ าชายเลนเพื่อเปนแหลง อนุบาลสัตวน้ํา แนวปองกันภัยธรรมชาติและ แนวปองกันการกัดเซาะชายฝง • ควบคุมไมใหมีการเพิ่มจํานวนและพื้นที่ การเลี้ยงปลาในกระชังบริเวณปากแมน้ําและ สงเสริมการจัดการที่เปนมิตรตอสิง่ แวดลอม • จัดระเบียบการทองเที่ยวชมโลมาอยาง เหมาะสมถูกหลักทางวิชาการ • สรางองคความรูและความรวมมือของ เครือขายและองคกรในการอนุรักษทรัพยากร ทางทะเลและชายฝงใหมีความเขมแข็ง


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

4.2

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

ขอเสนอแนวทางและแผนงานในการอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในรายนิเวศ

ขอเสนอแนวทางและแผนงานในการอนุรักษและฟนฟูสําหรับการจัดทําแผนการบริหารจัดการ และพัฒนาลุมน้ําบางปะกงแบบบูรณาการ ในระยะตอไปมีดังนี้ นิเวศปาไม : 1. แมวาพื้นที่ปาอนุรักษในลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรีทั้ง 7 แหง รวมพื้นที่ 2.5 ลานไร โดยสวนใหญ จะมีผืนปาที่มีสภาพสมบูรณกวารอยละ 90 ของพื้นที่ปาทั้งหมด และสามารถเฝาระวังปองกันพื้นที่ปาไม ไดอยางมีประสิทธิภาพ ในการดําเนินงานเพื่อสงวน อนุรักษ ฟนฟูสภาพปา จึงควรมุง เนนการสรางความชุม ชืน้ ใหกับผืนดินเพื่อหลอเลี้ยงผืนปาบริเวณตนน้ําลําธารใหสมบูรณอยางยั่งยืน เพื่อเปนแหลงอํานวยน้ําเขาสูลุมน้ํา อยางสมดุล สรางเสริมปริมาณน้ําทาที่มีเสถียรภาพ โดยใหความสําคัญเปนพิเศษกับการเรงรัดการจัดทํา แนวเขตปาอนุรักษที่ชัดเจนเพื่อปองกันและรักษาปาเชิงรุก ตลอดจนการผนวกผืนปาที่ยังคงความสมบูรณ เพิ่มเติมเขากับพื้นที่ปาอนุรักษ และปองกันการเกิดไฟปา 937,500 ไร โดยประยุกตดําเนินการตามทฤษฎี ปาเปยก (Wet Fire Break) การปลูกหญาแฝกตามแนวพระราชดําริ ซึ่งสงผลดีถึงการชะลอน้ําในพื้นที่ปาตนน้ํา และปองกันการชะลางพังทลายของดินลงสูพื้นที่ตอนลาง และการจัดทําฝายตนน้ําลําธาร (Check Dam) ตอเนื่องจากที่ดําเนินการแลวในลุมน้ําสาขาคลองทาลาด ลุมน้ําสาขาแมน้ําปราจีนบุรีตอนลาง และลุมน้ํา สาขาแมน้ําหนุมาน โดยควรมีการดําเนินงานเพิ่มเติมในลุมน้ําสาขาแมน้ํานครนายก ลุมน้ําสาขาแมน้ําพระปรง และลุมน้ําสาขาคลองพระสะทึง เปาหมายจํานวน 1,200 แหง โดยเฉลี่ยฝายตนน้ําลําธารแตละแหงจะสราง ความชุมชื้นใหกับดินและผืนปาราว 100 ไร 2. สงเสริมการสรางเครือขายและกลไกการมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่นในการรวมสงวน อนุรักษ และฟนฟูเพื่อเพิ่มพื้นที่และความอุดมสมบูรณของปาไม โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ยังมีสภาพปาเสื่อมโทรมและ พื้นที่ชายขอบของปาอนุรักษ โดยดําเนินการใหสอดคลองกับวิถีชีวิตและภูมิปญญาทองถิ่นที่มีอยู รวมทั้ง ตามแนวทางปาชุมชนหรือโครงการธนาคารอาหารตามแนวพระราชดําริ (Food Bank) ตลอดจนการสรางเสริม ความรวมมือในการฟนฟูขยายเพื่อผนวกผืนปาเปาหมายที่มีพื้นที่กวา 170,000 ไร เขากับพื้นที่ปาเพื่อการ อนุรักษ 3. สนับสนุนและสงเสริมการศึกษาวิจัยเพื่อประเมินศักยภาพการพัฒนาและขีดความสามารถใน การรองรับ (Carrying Capacity) ของสภาพธรรมชาติและสภาพแวดลอมของทรัพยากรธรรมชาติของพื้นที่ ตางๆ เพื่อการทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนการเฉพาะ เพื่อจัดทําแผนแมบทการพัฒนาเฉพาะแหลงที่ประกอบดวย -25-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

การกําหนดลักษณะการพัฒนากําหนดเขตพื้นที่ ตามความเหมาะสมของกิจกรรม (Zoning) การกําหนด ระเบียบและขอปฏิบัติในการใชพื้นที่ที่ไมทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของแหลง เพื่อใหการ ใชประโยชนเปนไปอยางอนุรักษและยั่งยืน โดยเฉพาะอยางยิ่งควรใหความสําคัญในการจัดทําแผนแมบท ของพื้นที่อนุรักษคือ เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน และเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาเขียว-เขาชมภู เพือ่ ให มีแผนแมบทสําหรับพื้นที่ปาอนุรักษครบทุกแหง 4. ดําเนินการสํารวจเพื่อทําการฟนฟูและสรางแหลงอาหารและแหลงน้ําสําหรับสัตวปาในพื้นที่ เขตรักษาพันธุสัตวปาทั้ง 3 แหง ในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี เพื่อใหเพียงพอและเหมาะสมตอการ เปนถิ่นอาศัย ซึ่งจะสงผลตอการแกไขปญหาสัตวออกหากินนอกเขตปาและปญหากับราษฎรที่อยูโดยรอบ นิเวศแหลงน้ํา : 1. จัดการดานอุปสงคเพื่อใหการใชน้ําในลุมน้ําสําหรับกิจกรรมตางๆ ของทุกภาคสวนเปนไปอยาง ประหยัดและไดประโยชนสูงสุด เปนที่ยอมรับของผูมีสวนไดสวนเสีย ขจัดความขัดแยงในทุกระดับ ดวยการ บริหารจัดการน้ําผิวดินและน้ําบาดาลแบบบูรณาการเพื่อประโยชนในการอุปโภคบริโภค และการผลิตภายใน ลุมน้ํา โดยเนนกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนทั้งตนน้ํา กลางน้ํา ทายน้ํา ใหมีการใชน้ําโดยตระหนักถึง ความเหมาะสมของอุปสงคและอุปทาน สอดคลองกับวิถีชีวิตและภูมิปญญาของทองถิ่น มีความเหมาะสมดาน เทคนิค ดานเศรษฐศาสตร ตลอดจนความเสมอภาคและเปนธรรมในสังคม 2. อนุรักษและฟนฟูคุณภาพน้ําในแมน้ําบางปะกง รวมทั้งลําน้ําสาขารวมทั้งสิ้น 48 สาย และแมน้ํา นครนายก รวมทั้งลําน้ําสาขารวมทั้งสิ้น 105 สาย ใหอยูในมาตรฐานแหลงน้ําผิวดินประเภทที่ 3 อยางยั่งยืน สวนแมน้ําปราจีนบุรีและลําน้ําสาขารวม 162 สาย ใหอยูในมาตรฐานแหลงน้ําผิวดินประเภทที่ 2 อยางยั่งยืน เนื่องจากคุณภาพน้ํามีความสําคัญตอความอุดมสมบูรณ ความสมดุล การใชประโยชน การเปลี่ยนแปลง สภาพแวดลอม และคุณภาพชีวิตของคนในระบบนิเวศลุมน้ํา 3. ควบคุมใหทุกชุมชนเมืองทั้ง 56 แหง ในลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี มีการบําบัดน้ําเสียที่มี ประสิทธิภาพ และกํากับดูแลคุณภาพน้ําทิ้งใหเปนไปตามมาตรฐาน เพื่อลดผลกระทบจากการปลอยของเสีย ลงสูแหลงน้ําจากแหลงกําเนิดตางๆ ในลุมน้ําบางปะกง ทั้งการเกษตรกรรม อุตสาหกรรม ปศุสัตว นากุง เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา น้ําเสียจากเมืองและชุมชน 4. รณรงคประชาสัมพันธสรางความตระหนักและสรางเครือขายความรวมมือในการจัดการมลพิษ และคุณภาพสิ่งแวดลอม โดยสรางจิตสํานึกในการดูแลรักษาแหลงน้ํา และการสงเสริมการลดปริมาณน้ําเสีย ในกระบวนการผลิตโดยใชเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด (Clean Technology) -26-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

นิเวศเกษตรกรรม : 1. สงเสริมใหมีการใชประโยชนที่ดินที่เหมาะสมตอการเกษตรกรรมในกิจกรรมที่สอดคลองกับ ศักยภาพและคุณภาพของที่ดิน โดยการวางแผนการใชที่ดินที่เหมาะสม รวมทั้งการฟนฟู บูรณะและพัฒนา ที่ดินที่มีปญหาและเสื่อมโทรม เชน การฟนฟูพื้นที่ปญหาดินเปรี้ยว 3.8 ลานไร ดินเค็ม 0.8 ลานไร และฟนฟู พื้นที่นากุง-บอปลาราง 33,656 ไร ตลอดจนการเพิ่มความสมบูรณของดินเพื่อเพิ่มผลผลิตตอพื้นที่ การ สนับสนุนใหมีการนําพื้นที่ทิ้งรางกลับมาใชประโยชน 2. คุมครองพื้นที่เกษตรกรรมชั้นดีในการใหผลผลิตไดอยางยั่งยืน เพื่อปองกันการสูญเสียพื้นที่ เกษตรกรรมที่มีคุณภาพเหมาะสมตอการเกษตรอยางแทจริงที่มีอยูอยางจํากัด ควรไดรับการคุมครองและ บํารุงรักษาไวเพื่อประโยชนทางการเกษตรกรรมตามความเหมาะสมกับสมรรถนะที่ดิน เนื่องจากมีแนวโนม การถูกรุกล้ําเปลี่ยนแปลงสภาพโดยกิจกรรมอื่นๆ ซึ่งจะสงผลใหพื้นที่เกษตรกรรมที่เหลืออยู ไมใชพื้นที่ที่ เหมาะสมต อการเกษตรกรรมอย างแทจริง การกําหนดเขตคุมครองพื้นที่เ กษตรกรรมและแนวกั นชนที่ เหมาะสมเพื่อปองกันและชวยลดความขัดแยงในการใชประโยชนที่ดินในอนาคต 3. พัฒนาและสงเสริมระบบการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําที่มีพื้นที่ราว 0.45 ลานไร ปศุสัตว 0.08 ลานไร และกิจกรรมการเกษตรการเพาะปลูกพืชตางๆ 6.7 ลานไร ใหเปนการจัดการอยางยั่งยืน และไมกอใหเกิด มลพิษตอสภาพแวดลอม โดยใชทั้ งมาตรการดานกฎหมายและมาตรการจูงใจ เชน การแบงเขตพื้น ที่ เพาะเลี้ยงกุงน้ําจืดและน้ําเค็มที่ชัดเจน การจัดระบบการเพาะเลี้ยงปลากระชัง การเพาะเลี้ยงสัตวน้ําอื่นๆ และการเลี้ยงสุกร ใหมีการพัฒนาฟารมตามมาตรฐานที่ดี (Good Agricultural Practice : GAP) มาตรฐาน การจัดการสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน (Code of Conduct : CoC) ครอบคลุมทั่วทั้งลุมน้ําบางปะกง นิเวศเมืองและชุมชน : 1. กําหนดเขตการใชประโยชนที่ดินประเภทตางๆ ของเมืองและชุมชนใหเปนไปตามหลักการดาน ผังเมือง เพื่อสิ่งแวดลอมที่ดีของเมือง ตามแนวทางของเมืองนาอยูและเมืองยั่งยืน โดยการสรางสมดุล ระหวางทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูกับกิจกรรมของเมือง ควบคุมความเจริญเติบโตของเมืองใหอยูในระดับที่ เหมาะสมตอความสามารถในการรองรับไดของทรัพยากรและนิเวศที่มีอยู จัดการเชิงพื้นที่เพื่อใหกิจกรรมที่ เสริมกันอยูในพื้นที่เดียวกัน และแยกกิจกรรมที่ขัดแยงออกจากกัน เพื่อใหการจัดการทรัพยากรของเมืองเกิด ประโยชนสูงสุด จัดระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการใหมีความเหมาะสมกับความตองการและกิจกรรม ของเมืองเพื่อใหมีคุณภาพชีวิตที่ดี ใหความสําคัญกับการจัดระเบียบชุมชนที่อยูริมน้ําใหมีการพัฒนาและ ขยายตัวที่เหมาะสมและคงความเปนเอกลักษณของชุมชน โดยสงเสริ มใหทองถิ่นมีการออกขอบังคั บ ทองถิ่นในการควบคุมและดูแลสภาพแวดลอมของตน

-27-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

2. อนุรักษ คุมครอง และฟนฟูคุณภาพสิ่งแวดลอมของแหลงธรรมชาติ แหลงศิลปกรรม แหลง ประวัติศาสตร และโบราณคดี โดยการประกาศเขตอนุรักษ คุมครองสิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรม การกําหนดเขตควบคุมอาคารกิจกรรมและการใชประโยชนที่ดินที่เหมาะสม ตลอดจนการเฝาระวังปองกัน การบุกรุก ทําลาย และการเสื่อมสภาพของแหลงมรดกทางธรรมชาติและวัฒนธรรม เพื่อใหคงอยูอ ยางยัง่ ยืน รวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนใหชุมชนทองถิ่นมีสวนรวมในการอนุรักษ ปกปอง คุมครอง ดูแลรักษาคุณภาพ สิ่งแวดลอมของแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรม รวมทั้งแหลงประวัติศาสตรโบราณคดี โดยการ เสริมสรางความรูความเขาใจในคุณคาและความสําคัญ ทั้งในระดับชาติและระดับโลก 3. เรงรัดใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น ทั้ง 56 แหง มีระบบบําบัดน้ําเสียที่มีประสิทธิภาพและ เหมาะสม โดยใหความสําคัญอยางยิ่งกับชุมชนเมืองระดับเทศบาล ไดแก ชุมชนที่อยูใกลแหลงน้ํา และ ชุมชนที่มีประชากรหนาแนน ที่ควรจัดใหมีระบบบําบัดกอนปลอยลงสูแหลงน้ํา 4. สงเสริมใหชุมชนเมืองทั้ง 56 แหง มีการจัดการสิ่งแวดลอมชุมชนที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยสงเสริมใหมีการพัฒนาเมืองและชุมชน ตามแนวทางชุมชนนาอยูและชุมชนยั่งยืน ทั้งการจัดการขยะมูลฝอย ชุมชน การบําบัดน้ําเสียชุมชนที่มีประสิทธิภาพ การเพิ่มและจัดการพื้นที่สีเขียวเพื่อคุณภาพสิ่งแวดลอมและ คุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชน โดยจัดใหมีพื้นที่สีเขียวอยางยั่งยืนไมนอยกวารอยละ 10 ของพื้นที่ทั้งหมดของ ชุมชน ควบคุมการพัฒนาเมืองและชุมชนใหสงเสริมและรักษาคุณคาทางทัศนียภาพของเมือง โดยทุกภาคสวน มีสวนรวม และจัดใหมีระบบกําจัดของเสียจากเมืองที่มีประสิทธิภาพและไมสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมใน ลุมน้ํา จัดใหมีระบบรวบรวมและกําจัดขยะมูลฝอยของชุมชนในทุกองคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้ง 56 แหง อยางถูกหลักวิศวกรรมสุขาภิบาล นิเวศอุตสาหกรรม : 1. ควบคุมและสงเสริมการขยายตัวและกระจายตัวของโรงงานอุตสาหกรรมที่จะเพิ่มขึ้นใหจํากัด อยูในพื้นที่รองรับอุตสาหกรรมที่เหมาะสม ที่มีการจัดเตรียมพื้นที่ โครงสรางพื้นฐาน ระบบสาธารณูปโภค และระบบบําบัดของเสียที่มีความเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ เนนการสงเสริมใหมีการจัดตั้งโรงงานใหม ในเขตนิคมอุตสาหกรรมหรือสวนอุตสาหกรรมที่มีอยูในพื้นที่ลุมน้ําทั้ง 6 แหง ที่ยังคงมีพื้นที่วางอีกกวา 6,425 ไร ใหเต็มพื้นที่กอนการเปดพื้นที่ใหม โดยการใชกฎหมายผังเมืองเปนเครื่องมือในการดําเนินการ 2. กํากับดูแลและบังคับใชกฎหมายในการควบคุมการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมของโรงงานที่ อยูในพื้นที่ประกอบการอุตสาหกรรมขนาดใหญรวม 873 แหง และโรงงานที่ตั้งกระจายอยูโดยทั่วไป 5,039 แหง และควรใชมาตรการจูงใจเสริมในการกระตุนใหสถานประกอบการมีการจัดการดานสิ่งแวดลอมที่ดี 3. สงเสริมการผลิตทางอุตสาหกรรมใหมีลกั ษณะของการผลิตดวยเทคโนโลยีสะอาด -28-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

นิเวศชายฝงทะเล : 1. อนุรักษพื้นที่ปาชายเลนที่เหลืออยูนอยมากในปจจุบนั รวมกับการฟน ฟูและปลูกเพิม่ พืน้ ทีป่ า ชายเลน ปาจากตลอดลําน้ําและปากอาวบางปะกง เพื่อฟนฟูปาชายเลน ทั้งในพื้นที่ปาชายเลนเสื่อมโทรม พื้นที่นากุงราง เกาะธรรมชาติทาขาม และที่ดินเลนงอกใหม เพื่อเปนแหลงอนุบาลและแหลงอาศัยของสัตวน้ํา รวมทั้งเปน พื้นที่กรองของเสียและดักตะกอนที่ถูกพัดพามาจากแผนดินลงสูทะเล ตลอดจนลดการกัดเซาะตลิ่งและการ รักษาสภาพแวดลอมของชายฝง 2. สนับสนุนและสงเสริมการทําประมงพื้นบานเชิงอนุรักษ ดวยการจัดระเบียบเครื่องมือประมงที่มี ความเหมาะสม สอดคลองกับวิถีชีวิตและภูมิปญญาของทองถิ่น การยุติการประมงแบบทําลายลาง ควบคูกับ การสรางความตระหนักและสรางความเขมแข็งใหกับเครือขายการอนุรักษและฟนฟูชายฝงทะเล 3. ใหความรูในการจัดการการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําในกระชังแกผูเลี้ยงปลาในกระชัง 195 ราย มีพื้นที่ รวม 42 ไร บริเวณปากแมน้ําบางปะกงอยางเหมาะสม และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมบริเวณปากแมน้ําบางปะกง 4. ดําเนินการประกาศพื้นที่บริเวณปากแมน้ําบางปะกงเปนพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมตามความ ในมาตรา 43 แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535

5.

ระบบติดตามประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่ ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี

ในการจัดทําระบบติดตามและประเมินผลการดําเนินงานการบริหารจัดการและฟนฟูนิเวศลุมน้ํา บางปะกง ภายใตโครงการประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง เมื่อป พ.ศ.2550 มีแนวคิดในการออกแบบและพัฒนาระบบใหมีขีดความสามารถในการสนับสนุนการวิเคราะห ผลการดําเนินงานของแผนงาน / โครงการ และความสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรการบริหารจัดการและฟนฟู นิเวศลุมน้ําบางปะกง ตั้งแตผลผลิต ผลลัพธ และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงานที่สนองตอเปาหมาย ผลผลิต และตัวชี้วัดของแผน รวมทั้งการติดตามประเมินผลขอมูลภูมิสารสนเทศและผลการดําเนินงานกิจกรรม นํารองในพื้นที่ศึกษาที่ไดดําเนินการในป พ.ศ.2549 และสามารถเชื่อมโยงการสงผานเครือขายอินเตอรเน็ตได โดยการเขาสูเว็บไซต http://bpkeco2.onep.go.th/ ระบบติดตามและประเมินผลที่ไดพัฒนาขึ้นในป พ.ศ.2550 นั้น ได พั ฒ นาขึ้ น ให มี ค วามสอดคล อ งกั บ การติ ด ตามและประเมิ น ผลนโยบาย แผน และมาตรการฯ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไปสูการปฏิบัติที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจัดทําขึ้น ในป พ.ศ.2548 รวมทั้ งการติดตามและประเมินผลการดํ าเนินการตามกรอบแผนการจั ดการคุณ ภาพ สิ่งแวดลอม พ.ศ.2545-2549 สามารถเชื่อมโยงระหวางหนวยงานทั้งสวนกลาง สวนภูมิภาค และเครือขาย ตางๆ ในพื้นที่ลุมน้ํา โดยหนวยงานที่เกี่ยวของจะสามารถกรอกขอมูลผานทางเว็บไซตไดโดยตรง รวมทัง้ การ สื บ ค น ปรั บ ปรุ ง ข อ มู ล และวิ เ คราะห ส ถานการณ ทรั พยากรธรรมชาติ ของลุ มน้ํ าได ทางระบบเครื อข าย อินเตอรเน็ต โดยใชรหัสผานรายบุคคล โดยขอมูลที่ไดรับจะนําไปสูการตรวจสอบวิเคราะหและเผยแพรตอไป -29-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

สํ า หรั บ การดํ า เนิ น งานตามขอบเขตงานในการจั ด ทํ า ระบบติ ด ตามประเมิ น ผลสถานภาพ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง ป พ.ศ.2551 ไดดําเนินการโดย พัฒนาในรูปแบบของเว็บไซด เพื่อใหสามารถติดตามประเมินผลและรายงานสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมทํางานผานเครือขายอินเตอรเน็ต ครอบคลุมขอมูลทั้ง 6 นิเวศ ของโครงการศึกษาฯ ซึ่ง ประกอบดวย นิเวศปาไม นิเวศเกษตรกรรม นิเวศแหลงน้ํา นิเวศเมืองและชุมชน นิเวศอุตสาหกรรม และ นิเวศชายฝงทะเลโดยสวนของการพัฒนาระบบดําเนินการทาง http://bangpakong.onep.go.th ซึ่งแตกตาง จากระบบในป พ.ศ.2550 ที่พัฒนาระบบเพื่อติดตามประเมินผล สนับสนุนการวิเคราะหผลการดําเนินงาน ของแผนงาน/โครงการ และความสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรการบริหารจัดการและฟนฟูนิเวศลุมน้ําบางปะกง ตั้งแตผลผลิต ผลลัพธ และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงานที่สนองตอเปาหมาย ผลผลิต และตัวชี้วัด ของแผน รวมทั้งการติดตามประเมินผลขอมูลภูมิสารสนเทศและผลการดําเนินงานกิจกรรม ทั้งนี้ ไดทําการ เชื่อมโยงใหสามารถเขาสูระบบขอมูลที่พัฒนาขึ้นในป พ.ศ.2550 ผานระบบที่พัฒนาขึ้นใหมในป พ.ศ.2551 เพื่อสะดวกในการใชงานดวย ในโครงสรางของระบบติดตามประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดมี แนวคิดและการออกแบบใหเปนระบบที่ทําหนาที่ใหขอมูลและรับขอมูลในระบบเดียวกัน ผานทางระบบ เครือขายอินเตอรเน็ต โดยกําหนดกลุมขอมูล 7 กลุม ดังรูปที่ 5-1 ประกอบดวยขอมูลหลัก คือ 1. ขอมูลความเปนมาของโครงการ เปนกลุมขอมูลเพื่อนําเสนอและแนะนําเกี่ยวกับความเปนมา ของโครงการศึกษาฯ ประกอบดวย ความเปนมาของการศึกษา วัตถุประสงคและเปาหมาย พื้นที่ดําเนินการ และขอบเขตการดําเนินงาน ซึ่งกําหนดโดยสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2. ขอมูลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนกลุมขอมูลที่จะใชเปนชองทางเผยแพร ขอมูลของพื้นที่ศึกษา โดยแบงเปนขอมูล ตอไปนี้ • ขอมูลพื้นฐานลุมน้ํา ประกอบดวย สภาพภูมิประเทศ ขอบเขตและลักษณะของลุมน้ําศึกษา และขอบเขตการปกครองของลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี • ข อ มู ล คุ ณ ค า เชิ ง พื้ น ที่ ที่ สํ า คั ญ ได แ ก ข อ มู ล พื้ น ที่ ป า อนุ รั ก ษ ใ นลุ ม น้ํ า 7 แห ง ซึ่ ง ประกอบดวยอุทยานแหงชาติเขาใหญ อุทยานแหงชาติปางสีดา อุทยานแหงชาติทับลาน อุทยานแหงชาติ น้ําตกสามหลั่น เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไน เขตรักษาพันธุสัตวปาเขาเขียว-เขาชมภู และเขตรักษา พันธุสัตวปาเขาสอยดาว รวมทั้งขอมูลของกลุมผืนปามรดกโลกดงพญาเย็น-เขาใหญ และขอมูลของกลุม พื้นที่ปารอยตอ 5 จังหวัด (ภาคตะวันออก) • ขอมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่ไดจากการศึกษาในรายละเอียด จําแนกเปน รายนิเวศ ซึ่งครอบคลุม 6 นิเวศ ไดแก นิเวศปาไม นิเวศเกษตรกรรม นิเวศแหลงน้ํา นิเวศเมืองและชุมชน นิเวศอุตสาหกรรม และนิเวศชายฝงทะเล -30-


หนาแรก ความนํา วัตถุประสงคและเปาหมาย พื้นที่ดําเนินการ

ความเปนมาของโครงการ

ขอบเขตการดําเนินงาน

สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

พื้นที่ปาอนุรักษในลุมน้ํา

ขอมูลพื้นฐานลุมน้ํา

พื้นที่ปามรดกโลกดงพญาเย็น-เขาใหญ

คุณคาเชิงพื้นที่ที่สําคัญ

พื้นที่ปารอยตอ 5 จังหวัด (ภาคตะวันออก)

ขอมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (รายนิเวศ)

แผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกงเชิงบูรณาการ

นโยบายและแผนที่สําคัญ

แผนยุทธศาสตรการบริหารจัดการและฟนฟูนิเวศลุมน้ําบางปะกง แผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.2550-2554 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดของลุมน้ํา

ระบบ

ระบบสนับสนุน การบริหารจัดการ ลุมน้ํา

ระบบรายงานและตัวชี้วัด เพื่อการติดตาม ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม

รายงานการติดตามและประเมินผลสถานภาพ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รายการแบบฟอรมที่ถูกบันทึกแลว บันทึกขอมูลเพิ่มเติม แผนที่สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ระบบฐานขอมูลภูมิสารสนเทศ ระบบฐานขอมูลสนับสนุนการตัดสินใจ

ภาพถายดาวเทียม

เอกสารรายงานการศึกษา

เอกสารวิชาการและ เอกสารเผยแพร

เอกสารทางวิชาการ เอกสารเผยแพร

กระดานขาว ระบบรายงานสถานการณจากทองถิ่น (Webboard)

เครือขายในพื้นที่ลมุ น้ํา และ สารบัญเว็บที่เกี่ยวของ

เครือขายในพื้นที่ลุมน้ํา Weblink หนวยงานและองคกรที่เกี่ยวของ

รูปที่ 5-1 ผังโครงสรางและองคประกอบของระบบติดตามประเมินผลโครงการฯ -31-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

3. ขอมูลนโยบายและแผนที่สําคัญ เปนกลุมขอมูลที่ไดรวบรวมนโยบายและแผนที่เกี่ยวกับการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี เพื่อเปนขอมูลสําหรับผูที่สนใจ เขาใชงานระบบฯ ประกอบดวย แผนบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําบางปะกงเชิงบูรณาการ แผนยุทธศาสตร การบริหารจัดการและฟนฟูนิเวศลุมน้ําบางปะกง แผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.2550-2554 และ แผนยุทธศาสตรการพัฒนาของจังหวัดในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี 4. ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการลุมน้ํา จัดเปนกลุมขอมูลที่สําคัญที่สุดของเว็บไซด โดยเปน ส วนงานพั ฒนาระบบให สามารถรองรั บการรายงานสถานภาพทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล อม จาก หนวยงานที่เกี่ยวของตามระบบอินเตอรเน็ตได โดยแบงสวนของระบบออกเปน 3 ระบบยอย • ระบบรายงานและตัวชี้วัดเพื่อการติดตามทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนสวน นําเขาขอมูลของหนวยงานที่รับผิดชอบในการกรอกขอมูลตามสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติฯ โดยที่แตละ หนวยงานตอง Log in เขาสูระบบ รวมทั้งระบบครอบคลุมเมนูยอยตอไปนี้ - รายงานการติดตามและประเมินผลสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม - รายการแบบฟอรมที่ถูกบันทึกแลว และ - บันทึกขอมูลเพิ่มเติม • ระบบฐานขอมูลภูมิสารสนเทศ แสดงผลในรูปแบบของแผนที่สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนขอมูลสําหรับดาวนโหลดในลักษณะของภาพ ประมาณ 94 ภาพ และฐานขอมูล สารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ซึ่งประกอบไปดวยกลุมขอมูลตางๆ ดังนี้ - กลุมชั้นขอมูลมาตรฐานของแผนที่ชุด L7018 ของกรมแผนที่ทหาร 11 ชั้นขอมูล - กลุมชั้นขอมูลพื้นฐาน 13 ชั้นขอมูล - กลุมชั้นขอมูลนิเวศปาไม 14 ชั้นขอมูล - กลุมชั้นขอมูลนิเวศเกษตรกรรม 19 ชั้นขอมูล - กลุมชั้นขอมูลนิเวศแหลงน้ํา 15 ชั้นขอมูล - กลุมชั้นขอมูลนิเวศเมืองและชุมชน 24 ชั้นขอมูล - กลุมชั้นขอมูลนิเวศชายฝงทะเล 18 ชั้นขอมูล รวมทั้ง Map Sever และภาพถายดาวเทียม หรือการประยุกตใช Google Earth ใน ลักษณะของภาพถายดาวเทียมที่มีรายละเอียดสูง และสามารถระบุตําแหนงพิกัดสําคัญของพื้นที่บนแผนที่ ซึ่งแสดงผลสภาพพื้นที่จริงไดชัดเจนมากกวาการแสดงผลในรูปแบบแผนที่ทั่วไป ทั้งนี้ ภายใตระบบรายงานสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในสวนของ ระบบฐานขอมูลภูมิสารสนเทศจะแสดง Map Server ของโครงการประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในลุมน้ําบางปะกง และ Map Server ในสวนของโครงการติดตามและประเมินผลการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ลุมน้ํา บางปะกงและลุมน้ําปราจีนบุรี -32-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

• ระบบฐานขอมูลสนับสนุนการตัดสินใจเปนรูปแบบการแสดงผลในลักษณะของระบบสารสนเทศ ที่รวบรวมขอมูล และจัดทําแบบจําลองในการตัดสินใจที่สําคัญ เพื่อชวยในการตัดสินปญหาแกปญหาหรือ เลือกโอกาสที่เกิดขึ้น โดยครอบคลุม 17 เรื่อง ดังตอไปนี้ - ขอบเขตจังหวัด / อําเภอ - พื้นที่ปาตนน้ําลําธาร - พื้นที่เกษตรกรรม - พื้นที่ดินที่มีปญหาในการทําเกษตรกรรม - การจัดการดิน - การจัดการดินที่ผานการทํากุง - การฟนฟูพื้นที่ผานการเลี้ยงกุงกุลาดํา - ขั้นตอนการฟนฟูพื้นที่นากุงในเขตน้ําเค็ม - ขั้นตอนการฟนฟูพื้นที่นากุงในเขตน้ําจืด ดินลางเปนตะกอนน้ําทะเล - ระบบบําบัดและการจัดการน้ําทิ้งจากการเลี้ยงปลาน้ําจืด - การจัดการมลพิษในฟารมสุกร - ระบบการตั ด สิ น ใจในการจั ด การด า นมลพิ ษ จากฟาร ม สุ ก ร (ที่ ม า : ส ว นน้ํ า เสี ย เกษตรกรรม สํานักจัดการคุณภาพน้ํา กรมควบคุมมลพิษ) - ขอบเขตและขนาดของพื้นที่สีเขียวที่เหมาะสม - การเปรียบเทียบคุณภาพน้ําตามประเภทแหลงน้ํา - การบริ ห ารจั ด การแหล ง น้ํ า ขนาดเล็ ก (ที่ ม า : ส ว นฐานข อ มู ล สารสนเทศ สํ า นั ก เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมพัฒนาที่ดิน และคณะที่ปรึกษาจาก คณะ วิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) - การจัดทําพนังกั้นน้ําที่เหมาะสม - พื้นที่ปาชายเลน 5. ขอมูลเอกสารวิชาการและเอกสารเผยแพร เปนกลุมขอมูลที่ใชเปนแหลงสืบคน และดาวนโหลด ขอมูลทางวิชาการที่เปนผลผลิตจากการศึกษาที่ผานมาทั้งหมด เพื่อสามารถนําไปประกอบการใชประโยชน ตางๆ ประกอบดวย • เอกสารรายงานการศึกษา ไดแก รายงานโครงการบริหารจัดการนิเวศลุมน้ําบางปะกง และ รายงานโครงการประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในนิเวศลุมน้ําบางปะกง • เอกสารทางวิชาการ ไดแก รายงานการศึกษาวิจัยภายใตโครงการประสานการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในนิเวศลุมน้ําบางปะกง ประกอบดวย ชางปาเขาอางฤๅไน วิถีชีวิตลุมน้ํา คลองทาลาด การผนวกผืนปาอนุรักษ คายเยาวชนรักษคลองทาลาด การคุมครองพื้นที่เกษตรกรรมชั้นดี การคุมครองสิ่งแวดลอมชายฝงทะเล บริเวณปากแมน้ําบางปะกง และเครือขายรักษบึงพระอาจารย -33-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

• เอกสารเผยแพร ไดแก - กฎหมายเกีย่ วของกับสิ่งแวดลอม - กองทุนสิง่ แวดลอม - การจัดการขยะอยางงาย - การจัดการพนังกัน้ น้าํ - การจัดการสิง่ แวดลอมเมืองนาอยู - การฟน ฟูพนื้ ทีท่ ี่ผานการทํานากุง - การเลี้ยงสุกรที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม - คูมือดูนกเกาะทาขาม - ทองเที่ยวเชิงนิเวศลุมน้ําบางปะกง - เทคนิคการมีสว นรวมเพื่อการอนุรักษ - นโยบายและแผนการอนุรักษแมน้ํา คู คลอง - แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการนิเวศลุมน้ําอยางยั่งยืน - แนวคิดเกี่ยวกับการคุมครองพื้นที่เกษตรกรรมชั้นดี - ผืนปาดงพญาเย็น-เขาใหญ - พื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม - พื้นที่ปาอนุรักษในลุมน้ําบางปะกง 6. กระดานข า ว (Webboard) เปน ระบบรับขอมูลข า วสารอี ก รูป แบบหนึ่ ง ที่พัฒ นาขึ้ น สํ า หรั บ รองรับขอมูลสถานการณทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจากเครือขายผูใหขอมูล ซึ่งจะเปนขอมูลที่ รายงานไดในรูปแบบอิสระ หรือการประสานความรวมมือระหวางผูสนใจรวมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี 7. เครือขายในพื้น ที่ลุม น้ําและสารบัญเว็บที่เกี่ยวของ เป นสวนที่สามารถรองรับการรายงาน สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จากหนวยงานที่เกี่ยวของในการนําเขาขอมูลเครือขายใน พื้นที่รับผิดชอบ ตามระบบอินเตอรเน็ต รวมทั้ง เปนสวนของระบบที่รวบรวมเว็บไซดของหนวยงาน องคกรที่ เกี่ยวของกับการบริหารจัดการพื้นที่ลุมน้ําบางปะกง-ปราจีนบุรี ซึ่งจะเปนการอํานวยความสะดวกใหกับผูใช ระบบในการเชื่อมโยงหรือสืบคนขอมูลที่นาสนใจของหนวยงานตางๆ หรือทํางานในลักษณะของการเปน เว็บทา (Portal Web) ของเครือขาย โครงสรางเว็บไซตของระบบติดตามและประเมินผลภายใตโครงการติดตามและประเมินผลการ จัด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ มในระบบนิ เ วศของลุ ม น้ํ า บางปะกงที่ พั ฒ นาขึ้ น ครอบคลุ ม โครงสรางและองคประกอบของระบบ 7 สวน ไดแก ความเปนมาของโครงการ สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม นโยบายและแผนที่สําคัญ ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการลุมน้ํา เอกสารวิชาการและ เอกสารเผยแพร กระดานขาว และเครือขายในพื้นที่ลุมน้ําและสารบัญเว็บไซดที่เกี่ยวของ โดยการจัดการระบบ -34-


โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

เปนรูปแบบ Menu ที่มีลักษณะเปน Frame ซึ่งดัดแปลง Menu ใหเปนแบบ Click to expand menu ทั้งนี้ การใชระบบติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้ํา บางปะกง ซึ่ง ครอบคลุ มพื้น ที่ลุม น้ําบางปะกง-ปราจีนบุรีนี้ มี รูปแบบการเข าสูระบบโดยอาศั ยเว็ บไซต http://bangpakong.onep.go.th

http://www.onep.go.th

http://bpkeco2.onep.go.th

http://bangpakong.onep.go.th

-35-


คณะทํางาน โครงการติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมในระบบนิเวศของลุมน้ําบางปะกง 1. คณะกรรมการกํากับการศึกษา (1) นายสมศักดิ์ บุญดาว หัวหนากลุมงานประสาน 3 (2) นายสกุลยุช ศรุตานนท นักวิชาการสิ่งแวดลอม 7ว (3) นางสาวกตัญชลี เวชวิมล นักวิชาการสิ่งแวดลอม 6ว (4) นายวิทยา ตั้งพิทยาเวทย นักวิชาการสิ่งแวดลอม 4

ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ

ดําเนินการศึกษาโดย บริษัท เทสโก จํากัด เลขที่ 21/11-14 ซอยสุขุมวิท 18 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 0 2258 1320 โทรสาร 0 2258 1313 , 0 2261 4511 E-mail : tesco007@ksc.th.com

-I-


รายชื่อคณะผูศึกษา (1) นายพิเศษ

เสนาวงษ

(2) ดร.อภิสิทธิ์

เอี่ยมหนอ

(3) รศ.ดร.สิทธิชัย

ตันธนะสฤษดิ์

(4) นายทัพนันทน (5) ดร.วิโรจน

เอี่ยวพานทอง พิมมานโรจนากูร

(6) (7) (8) (9) (10)

ศรีขจร เวชพันธ รังสิรักษ สาธุมนัสพันธุ รมสนธิ์

นายมนู นายวิชิต ผศ.เลิศวิทย รศ.ดร.สุวลักษณ นายชาติชาย

(11) นางกอบกุล (12) นายจํารูญ

สามัคคี สวยดี

(13) (14) (15) (16) (17) (18) (19)

ศิลปมณีพนั ธ จรเดช นิติเกษตรสุนทร อยูสุข โพธิ์เกษม ชมชิด คําแทง

นางสาวอรนุช นางสาวนันจิรา นายเผาพงศ นายทรงยศ นายสาโรจน นางสาวพรรษา นางสาวอําพร

-II-

ผูจัดการโครงการ / ผูเชีย่ วชาญดานฐานขอมูล สถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผูเชี่ยวชาญดาน Remote Sensing และ สารสนเทศภูมิศาสตร ผูเชี่ยวชาญดานการพัฒนาและทดสอบตัวชี้วัด ในการติดตามประเมินผล ผูเชี่ยวชาญดานการพัฒนาโปรแกรม ผูเชี่ยวชาญดานทรัพยากรปาไม-สัตวปา และ จัดการพืน้ ที่ปา อนุรักษ ผูเชี่ยวชาญดานการใชที่ดนิ และการเกษตรกรรม ผูเชี่ยวชาญดานทรัพยากรน้าํ ผูเชี่ยวชาญดานชุมชนเมือง ผูเชี่ยวชาญดานนิเวศปากแมน้ําและชายฝง ทะเล ผูเชี่ยวชาญดานแหลงโบราณคดี ประวัติศาสตร และแหลงธรรมชาติ ผูเชี่ยวชาญดานการเสริมสรางกระบวนการมีสว นรวม ที่ปรึกษาโครงการ / ผูเชี่ยวชาญดานการพัฒนา เครือขายและกลไกการบริหารจัดการลุมน้ํา นักวิชาการดานสิ่งแวดลอม นักวิชาการดานสิ่งแวดลอม นักวิชาการสารสนเทศภูมิศาสตรและระบบ นักวิชาการสารสนเทศภูมิศาสตรและระบบ นักวิชาการสารสนเทศภูมิศาสตรและระบบ นักวิชาการสารสนเทศภูมิศาสตรและระบบ เลขานุการโครงการ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.