india calling

Page 1


Namaste, all readers of India Calling,

The Centre for Bharat Studies at the Research Institute for Languages and Cultures of Asia, Mahidol University would like to present India Calling Vol. II (1) with articles which will help you to understand more about the Indian way. In this volume, we talk about the traditional Indian education system called Gurukula mixed with modern education, world history facts about India, the Kenneth O. May Prize awarded to an Indian mathematician, Professor Radha Charan Gupta, teaching and learning Hindi in Thailand, the Namakaran ceremony, Tamil proverbs and the advent of TV in India. India Calling is an open platform that welcomes bilingual English-Thai articles in either or both languages related to Bharat or aspects of India at home or abroad. It aims to develop a network of contributers through the Centre for Bharat Studies to further expand knowledge of India. Please submit your article to the editors. We would like to thank all those who have contributed to the timely publication of India Calling Vol. II (1). We hope that you will continue to collaborate with us in the future. Assoc. Prof. Dr.Sophana Srichampa, Editor-in Chief

สวัสดีทา่ นผูอ้ า่ น India Calling ทุกท่าน ศู น ย์ ภ ารตะศึ ก ษา สถาบั น วิ จั ย ภาษาและ วั ฒ นธรรมเอเชี ย มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ขอเสนอ India Calling ฉบับที่ II (1) ด้วยสาระต่างๆ ที ่ จะช่ ว ยให้ ท่ า นเกิ ด ความรู้ ความเข้ า ใจในวิ ถี แ บบ อิ น เดี ย ในฉบั บ นี้ ป ระกอบด้ ว ยบทความเกี่ ย วกั บ ระบบการศึกษาของอินเดียโบราณที่เรียกว่ากุรุกุล ผสานกั บ การศึ ก ษาสมั ย ใหม่ ข้ อ เท็ จ จริ ง ทาง ประวั ติ ศ าสตร์ ข องโลกเกี่ ย วกั บ อิ น เดี ย รางวั ล

เคนเนธ โอ เมย์ แด่ นั ก คณิ ต ศาสตร์ อิ น เดี ย ศาสตราจารย์ราธา ชารัน กุบต้า การเรียนการ สอนภาษาฮินดีในประเทศไทย พิธีตั้งชื่อ สุภาษิต ทมิฬ และกำเนิดโทรทัศน์ในอินเดีย India Calling เป็นเวทีทเี่ ปิดต้อนรับสำหรับ ท่านทีส่ นใจส่งบทความสองภาษาคือภาษาอังกฤษและ ภาษาไทย หรือภาษาใดภาษาหนึง่ เกีย่ วกับภารตะหรือ อินเดียในมิติต่างๆ ทั้งในประเทศอินเดีย และในต่าง ประเทศเพื่อร่วมเป็นเครือข่ายทางวิชาการกับศูนย์

ภารตะศึกษาในการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ประเทศอินเดียให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น ขอเชิญท่าน ส่งบทความได้ทบี่ รรณาธิการ ขอขอบคุณผู้เขียนและผู้แปลทุกท่านที่มีส่วน ช่วยให้ India Calling ฉบับที่ II (1) สามารถนำเสนอ สู่ ทุ ก ท่ า นได้ อ ย่ า งตรงเวลา และหวั ง ว่ า คงจะได้ รั บ ความร่วมมือด้วยดีเช่นนีใ้ นโอกาสต่อไปด้วยค่ะ รองศาสตราจารย์ ดร.โสภนา ศรีจำปา บรรณาธิการบริหาร


Gurakula As India’s Traditional Education System By Drs. Suryanto1

India is well-known as the birthplace of Hinduism, the oldest religion in the world. Unlike many other ancient religions and cultures in the world, today Hinduism is still becoming one of the world’s living religion. The Indian culture and education system is affected very much by the Vedic teaching, the Hindu’s holy scripture. It is interesting to note how in the ancient India and up to present days, the Vedic knowledge were preserved and transferred to generations in a Hindu traditional education system known as gurukula. In such educational system, the main aim of education was given to the character formation of the students. The word “gurukula” comes from two Sanskrit words “Guru” and “kula”. The word Guru in India generally refers to a “spiritual teacher” or “spiritual master”. Guru is also used for any person who teaches some particular art or gives some particular knowledge. Thus one may be called Guru for learning music, for learning medicine, in that sense he is more like teacher. According to the Sanskrit dictionary by Vasudeo Govind Apte (1992) the word kula means : “family, multitude, a house, noble descent”. In the Bhagavad-gita (one of the main scriptures of India) the word “kula dharma” is translated as family traditions. Gurukula thus refers to the “house of the Guru” or teacher since traditionally in India students would study at the house of the spiritual master. According to Bhaktivedanta Swami Gurukula has been the traditional educational system of India which can be traced back to its most ancient literatures called Vedas. In particular we find reference to gurukula education in one of the ancient Puranic literatures called the BhagavatPurana or Srimad-Bhagavatam (7.12.1) as follows: 1

“Narada Muni said: A student should practice completely controlling his senses. He should be submissive and should have an attitude of firm friendship for the spiritual master. With a great vow, the brahmacary should live at the gurukula, only for the benefit of the Guru.” Sharma (2001) confirms that in the traditional Vedic culture of India, young boys stayed in the homes of their teachers and naturally developed many qualifications of their preceptors. He said that in the Vedic age, the boys were sent to ‘gurukula’ or home of the guru or ‘acharyas’ for education, just after the upanayan ritual. They were called antevasin or gurukula wasee. Now they led a life of chastity and purity serving the Acharya and gaining knowledge. Naturally, they acquired many qualifications of the teacher. The word Acharya in the Sanskrit language means one who teaches by example, the spiritual master. The process of training and education was imparted by the spiritual master himself to his students. Altekar as quoted by Sharma noted that gurukula was the most important feature of ancient Indian education. “The gurukula system which necessitated the stay of the students away from his home at the home of the teacher in boarding school of established reputation, was one of the most important features of ancient Indian education”. (Sharma, 2001) It is also interesting to note how in the early centuries philosophers like Plato and Aristotle placed special importance on character formation, morality, good behavior, ethics, spirituality and less on formal and secular education. Their non-formal approach to education allowed for closer interaction and relationship between the teacher and the student. In his book Curriculum: Design and

a lecturer at the STAHN Palangkaraya, Central Kalimantan, Indonesia


Development, quoting from Marou, David Pratt states that while formal schooling was well established in Athens by the end of the fifth century B.C., the method of teaching employed by Socrates belonged to an older tradition: a tradition in which a young nobleman was entrusted to an older man for training and the educational relationship was one of love and inspiration. (Pratt, 1980: 17) Similiarly, the ancient educators in India laid the greatest emphasis on spiritual development and the formation of character of the pupils. This seems to influence some of the western educators also. According to Frobel, ‘to give firmness to the will, to quicken it and to make it pure and strong and endure is the chief concern of education’. The German educator Heabart was also a staunch supporter of the formation of character as the aim of education. (Achyuthan, 1974: 90) Within such institutions the Gurus or teachers were either householders of sannyasis (monks in renounced order of life) who were men of learning and impeccable character. Sharma further described that teachers in the Vedic age were men of the highest caliber from the point of view of knowledge and spiritual progress. They emerged in high reputation. Living in their ‘Ashrams’ (dormitory) they paid attention to the spiritual development of student’s thoughts. They kept them like their sons. They managed for their food and lodging. They helped them in need. Thus, the teachers owned every responsibility of the taught. Gurus always tried to develop the qualities of the students to make them higher than himself. However the ancient practice of traditional gurukula is not officially supported by the present government of India. Individuals within the government will at times speak favorably about the ancient educational system but the present day government is largely promoting the more modern classical and secular type of education. Still the

traditional gurukula continues in certain sections of the country. A few have adopted more modern ways of teaching but in general they have kept the ancient approach to education. Mahatma Gandhi was one of many outspoken nationalists who made efforts to bring education back more in conformity with India’s social, cultural and spiritual heritage. He regarded modern education introduced by the British as ‘intellectual dissipation’. He also opined that an intelligent use of the bodily organs in a child provides the best and quickest way of developing his intellect. But unless the development of the mind and body goes hand in hand with a corresponding awakening of the soul, the former alone would prove to be a poor lop-sided affair. (Vyas, 1962) One of the important feature of gurukula education system is the presence of full time teachers, who act as both academic teachers and spiritual guides, and who live with the students constantly, also makes for a stronger spiritual and moral commitment for the students. One of the most important factors, to help solidify the spiritual commitment of the students, is the presence and role of the guru or acharya. In the more traditional institutions, the guru or acharya is a constant source of inspiration and motivation for the brahmacaris or the students. His role, in helping mold the students into strong and committed individuals, is essential.

References: Achyuthan, M. (1974). Educational practices in Manu, Panini and Kautilya. Trivandrum: M. Easwaran, College Book House. Apte, V.S. (1993). Students Sanskrit English dictionary. New Delhi: Motilal Banarasidass. Bhaktivedanta, A.C. (1978). Srimad-Bhagavatam. Mumbai: The Bhaktivedanta Book Trust. Pratt, D. (1980). Curriculum: Design and development. U.S.A: Queen’s University, Harcout Brace Jovahovich Publishers. Sharma, Y.K. (2001) History and problems of Indian education. New Delhi: Kanishka Publishers. Vyas, H.M. (1962). Gandhi on village swaraj. Ahmedabad: Navajivan Publishing House.


กุรุกุล ในฐานะ ระบบการศึกษาดั้งเดิมของอินเดีย ประเทศอินเดียเป็นที่รู้จักในฐานะที่เป็นถิ่นกำเนิด ของศาสนาฮินดู ซึ่งเป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดของโลกที ่ แตกต่างจากศาสนาและวัฒนธรรมโบราณอื่นๆ ของโลก ปัจจุบนั นีศ้ าสนาฮินดูยงั เป็นหนึง่ ในศาสนาของโลกทีด่ ำรง อยู่ ระบบการศึกษาและวัฒนธรรมอินเดียได้รับอิทธิพล จากคำสอนในพระเวทซึ่งถือเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของฮินดู เป็นอย่างมาก จึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจที่จะศึกษาว่าความรู้ จากพระเวทได้รับการอนุรักษ์และถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น

ในระบบการศึ ก ษาแบบจารี ต ของฮิ น ดู ที่ รู้ จั ก ในชื่ อ ว่ า

“กุรกุ ลุ ” ตัง้ แต่ยคุ อินเดียโบราณมาระบบการศึกษาเช่นนัน้ ในปัจจุบันวัตถุประสงค์หลักของการศึกษาได้ถ่ายทอดไปสู่ การหล่อหลอมคุณลักษณะให้กบั นักเรียนได้อย่างไร คำว่า “gurukula” มาจากคำสันสกฤต 2 คำ คือ “Guru” และ “kula” คำว่า “Guru” ในอินเดียโดย ทั่วไปหมายถึง “ครูทางจิตวิญญาณ” หรือ “หัวหน้าทาง จิตวิญญาณ” กูรูยังใช้เรียกบุคคลที่สอนศิลปะบางอย่าง หรือให้ความรู้บางอย่าง บางคนอาจได้รับการเรียกเป็น กูรู สำหรับการเรียนดนตรี กูรูสำหรับการเรียนเรื่องยา ใน ความหมายนั้นก็เหมือนเป็นครู ตามพจนานุกรมภาษา สันสกฤตของ Vasudeo Govind Apte (1992) คำว่า kula หมายถึง “ครอบครัว ฝูงชน บ้าน การสืบเชือ้ สาย คนชั้นสูง” ในภควัทคีตา (หนึ่งในคัมภีร์หลักของอินเดีย) คำว่า kula dharma แปลว่า “ธรรมเนียมของครอบครัว” Gurukula หมายถึ ง “บ้ า นของกู รู หรื อ ครู ” เพราะ ในอิ น เดี ย โบราณนั ก เรี ย นศึ ก ษาที่ บ้ า นของหั ว หน้ า ทาง จิตวิญญาณ ตามความเห็ น ของ Bhaktivedanta Swami กุ รุ กุ ล เป็ น ระบบการศึ ก ษาแบบจารี ต ของอิ น เดี ย ซึ่ ง สามารถสืบสาวย้อนหลังไปถึงวรรณกรรมโบราณที่เก่าแก่ ที่สุดที่เรียกว่าพระเวทได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีการค้นพบ การอ้างอิงถึงระบบการศึกษากุรุกุลจากหนึ่งในวรรณ- กรรมปุรานิคโบราณเรียกว่า Bhagavat-Purana หรือ Srimad-Bhagavatam (7.12.1) ดังนี ้

1

“นาราด มุนี กล่าวว่า : นักเรียนควรจะรู้จักฝึกฝนการ ควบคุมความรู้สึกต่างๆ อย่างสมบูรณ์แบบ เขาควรรู้จัก อ่อนน้อมถ่อมตน และมีทัศนคติต่อมิตรภาพที่มั่นคงเพื่อครู ทางจิตวิญญาณ ด้วยคำสัตย์ปฏิภาณที่ยิ่งใหญ่ พรหมจารีย์ ควรอาศัยอยูท่ กี่ รุ กุ ลุ เพือ่ ยังประโยชน์ให้กบั กูร”ู

Sharma (2001) ยืนยันว่าในวัฒนธรรมดั้งเดิม สมัยพระเวทของอินเดีย เด็กผู้ชายพักอาศัยอยู่ที่บ้านของครู และพัฒนาคุณสมบัติหลายประการจากครูของพวกเขา เขา กล่าวว่าในยุคพระเวทเด็กผู้ชายถูกส่งไป “กุรุกุล” หรือบ้าน ของกูรู หรือ “อาจารย์” (acharyas) เพือ่ ศึกษาเล่าเรียนได้ อย่างเป็นธรรมชาติจากคุณสมบัติของครูอาจารย์หรือผู้ให้ ความรูน้ นั่ เอง ภายหลังพิธคี ล้องสายศักดิส์ ทิ ธิ1์ (upanayan) เรียกว่า อันติวาสิน (antevasin) หรือ กุรกุ ลุ วะสี (gurukula wasee) หลั ง จากนั้ น เขาต้ อ งถื อ พรหมจรรย์ แ ละความ บริ สุ ท ธิ์ เ พื่ อ รั บ ใช้ อ าจารย์ แ ละรั บ ความรู้ เขาได้ เ รี ย นรู ้ คุณสมบัตติ า่ งๆ จากครูตามธรรมชาติ คำว่า อาจารย์ (acharya) ในภาษาสันสกฤตหมายถึง ผู้ที่สอนด้วยตัวอย่าง ผู้นำด้านจิตวิญญาณ กระบวนการ อบรมและเล่ า เรี ย นได้ รั บ การถ่ า ยทอดจากครู สู่ นั ก เรี ย น Sharma (2001) อ้างจาก Altekar กล่าวว่ากุรุกุลเป็น คุณลักษณะสำคัญที่สุดของระบบการศึกษาของอินเดียสมัย โบราณ “ระบบการศึกษากุรุกุลที่บังคับให้นักเรียนที่บ้านอยู่ ไกล แต่พกั อยูก่ บั ครูในโรงเรียนกินนอนทีม่ ชี อื่ เสียง เป็นหนึง่ ในปัจจัยสำคัญของระบบการศึกษาอินเดียโบราณ” มีการบันทึกว่านักปรัชญาในต้นศตวรรษ เช่น เพลโต อริ ส โตเติ ล ให้ ค วามสำคั ญ เป็ น พิ เ ศษกั บ การหล่ อ หลอม คุ ณ สมบั ติ ศี ล ธรรม ความประพฤติ ดี จริ ย ธรรม จิ ต วิญญาณมากกว่าการศึกษาในระบบและการศึกษาทางโลก อย่ า งไร วิ ธี ก ารศึ ก ษาแบบไม่ เ ป็ น ทางการเอื้ อ ต่ อ การมี

ปฏิสมั พันธ์และความสัมพันธ์ระหว่างครูและศิษย์ทใี่ กล้ชดิ กว่า David Pratt (1980: 17) อ้างจากหนังสือชือ่ Design and Development ของ Marau ว่า ในขณะทีโ่ รงเรียนในระบบมี

ในสมัยโบราณเด็กอายุ 7 ขวบได้รบั การประกอบพิธคี ล้องสายธุรำหรือยัญโชปวีตจากพราหมณ์หรือกูรู ก่อนเริม่ เรียน (ผูแ้ ปล)


มหาตมา คานธี เป็นหนึ่งในนักชาตินิยมที่ตรงไป ตรงมาที่มีความพยายามที่จะนำการศึกษาที่ปรับเปลี่ยนให้ เข้ากับมรดกทางสังคม วัฒนธรรม และจิตวิญญาณของ อินเดียกลับมา ท่านพิจารณาว่าการศึกษาแบบใหม่ที่แนะนำ โดยอั ง กฤษนั้ น เป็ น ‘ความสิ้ น เปลื อ งทางปั ญ ญา’ ท่ า นมี ความเห็นว่าการใช้ความฉลาดจากอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ในทำนองเดียวกัน นักวิชาการการศึกษาโบราณ ของเด็กเป็นวิธีการที่จัดเตรียมไว้ให้อย่างดีที่สุดและเร็วที่สุด ของอิ น เดี ย ได้ มุ่ ง เน้ น ในเรื่ อ งของการพั ฒ นาทางด้ า น ในการพัฒนาปัญญาของเขา ยกเว้นการพัฒนาจิตใจและ จิ ต วิ ญ ญาณและการหล่ อ หลอมคุ ณ ลั ก ษณะของนั ก เรี ย น ร่ า งกายต้ อ งไปพร้ อ มกั บ ความตื่ น ตั ว ของความคิ ด การ สิ่งเหล่านี้ดูเหมือนจะมีอิทธิพลต่อนักการศึกษาตะวันตกด้วย พัฒนาทางด้านจิตใจอย่างเดียวก่อให้เกิดความไม่สมดุล ดั ง ที่ Frobel กล่ า วว่ า “การให้ ค วามมั่ น คงต่ อ ปณิ ธ าน ลักษณะที่สำคัญประการหนึ่งของระบบการศึกษา ทำให้มนั มีชวี ติ ชีวา และทำให้มนั บริสทุ ธิ์ มุง่ มัน่ และยืนหยัด อยู่ได้ เป็นปัจจัยหลักของการศึกษา” นักการศึกษาเยอรมัน กุรกุ ลุ คือครูมเี วลาให้นกั เรียนเต็มเวลา ซึง่ ทำหน้าทีเ่ ป็นทัง้ ครู Heabart เป็ น ผู้ ส นั บ สนุ น อย่ า งเต็ ม ที่ ใ นการหล่ อ หลอม ทางวิชาการและผูแ้ นะนำทางจิตวิญญาณ และอยูก่ บั นักเรียน คุณลักษณะว่าเป็นจุดประสงค์ของการศึกษา (Achyuthan อย่างต่อเนื่อง ทำเพื่อให้ความมุ่งมั่นที่จะยกระดับทางด้าน จิ ต วิ ญ ญาณและศี ล ธรรมของนั ก เรี ย นมี ค วามเข้ ม แข็ ง ขึ้ น 1974: 90) หนึ่งในปัจจัยที่สำคัญที่เป็นบทบาทของครูคือช่วยให้ความ ภายในสถาบั น ดั ง กล่ า ว กู รู ห รื อ ครู อาจเป็ น ทั้ ง มุ่ ง มั่ น ในการพั ฒ นาจิ ต วิ ญ ญาณของนั ก เรี ย นเข้ ม แข็ ง ใน ผูค้ รองเรือนทีป่ ฏิบตั ติ นเป็นสันยาสี (พระทีส่ ละชีวติ ทางโลก) สถาบันที่เป็นจารีตมากๆ กูรูหรืออาจารย์เป็นแหล่งของแรง ที่ใฝ่เรียนรู้และมีคุณสมบัติที่ Sharma ได้อธิบายเพิ่มเติมว่า บั น ดาลใจและแรงจู ง ใจที่ แ น่ ว แน่ ส ำหรั บ พรหมจารี ย์ ห รื อ ครูในยุคพระเวทเป็นผู้ชายที่มีความรู้และการพัฒนาทางจิต นักเรียน บทบาทที่สำคัญของครูคือช่วยปั้นนักเรียนให้เป็น วิญญาณสูง เขาเหล่านีเ้ ป็นทีร่ จู้ กั มีชอื่ เสียง การทีน่ กั เรียน คนทีเ่ ข้มแข็งและรับผิดชอบ อาศัยอยู่ในอาศรมได้รับความเอาใจใส่ในการพัฒนาทางจิต วิ ญ ญาณ ครู จ ะดู แ ลศิ ษ ย์ เ หมื อ นลู ก ทั้ ง ในเรื่ อ งอาหาร แปลโดย วรินธร เบญจศรี ทีพ่ กั และช่วยเหลือตามความต้องการ ดังนัน้ ครูรบั ผิดชอบ Translated by Varinthorn Benchasri ทุกอย่าง กูรูพยายามพัฒนาคุณภาพของนักเรียนในด้าน ต่างๆ เพือ่ ยกระดับให้เขามีคณ ุ สมบัตสิ งู กว่ากูร ู ความมัน่ คงในเอเธนส์ในปลายศตวรรษทีห่ า้ แต่วธิ กี ารสอนที่ โสเครติสใช้กลับเป็นแบบจารีต คือ ขุนนางหนุม่ มอบความไว้ วางใจให้กับผู้ชายที่สูงอายุกว่าเพื่อความสัมพันธ์ในด้านการ อบรมสั่งสอน ถ่ายทอดความรู้ เป็นสิ่งที่แสดงถึงความรัก และแรงบันดาลใจ

อย่างไรก็ตามการปฏิบัติแบบโบราณของกุรุกุลแบบ จารีตไม่ได้รับการสนับสนุนอย่างเป็นทางการจากรัฐบาล อินเดียในปัจจุบัน แม้ว่าจะมีบุคคลต่างๆ ในรัฐบาลอาจพูด ชื่นชมเกี่ยวกับระบบการศึกษาแบบโบราณบ้าง แต่รัฐบาล ปั จ จุ บั น กำลั ง ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาทางโลกที่ มี คุ ณ ภาพและ ทันสมัยมากกว่า อย่างไรก็ดีกุรุกุลแบบจารีตยังคงดำเนินต่อ ไปในบางส่วนของประเทศ มีจำนวนไม่มากทีร่ บั เอาการสอน แบบใหม่เข้าไปด้วย แต่โดยทั่วไปเขายังรักษาวิธีการแบบ โบราณไว้ในการศึกษาอยู ่


Arya Samaj’s Gurukul at Haridwar: An alternative traditional school model with the modern education of India Sophana Srichampa1

“Gurukul” is a Sanskrit word which means “the extended family of the teacher”. It is the most ancient traditional educational system combining Vedic concepts and has been incorporated into contemporary curricula. In the past, a gurukul student had to stay with his teacher and served the teacher while studying the Veda and Sanskrit. The guru was like a father to his students. During British rule of India, there were many religious and social reforms urging nationalism to protect Indian values and culture. One such reformer was Swami Dayananda who was a founder of Arya Samaj, an association meaning “noble society”. He believed in the absolute truth of the vedas only, no gods as other Hindu, no varna, the principles of karma and reincarnation, with a prime focus on “brahmacarya”, the age of learning and “sanyasi”, the age of renunciation. Gurukul Kangri Vidyalaya was founded in 1902 by Swami Shradhananda who abandoned the layman’s life to become a sanyasi according to the Arya Samaj way. This school was located at Kangri near the Ganges River, next to Chandi, six kilometers from Haridwar. 2 The school’s teaching focused primarily on strengthening the Indian spirit and culture and as such received no support from the British government. The gurukul was promoted under 8 principles: 1) Brahmacarya revitalization 2) Father-son, teacher-student relations

3) Teaching methods should not be influenced by western education 4) Teaching Sanskrit, Hindi, Veda and other sacred texts of India 5) The promotion of good health for students 6) Appropriate learning of English and the sciences of modern education 7) Free education 8) The investigation and rewriting of Indian history

In 1924, the gurukul school was flooded and seriously damaged. Munshi Aman Singh donated 2,000 Acres of land for a new school including a hostel at its present site. Sanskrit is an added subject which is applied by other schools and there is a written examination of that. There are 14 teachers, 5 with Ph.D. The others hold Master and Bachelor Degrees. The curriculum covers grades 1 to 12 with 380 students and 20 day-school students, all of whom study free and pay only for the hostel and food. The students have to follow the principles strictly. Every morning and evening, they have to pray together in a ritual called “Yajna” for the happiness of mankind and a peaceful society. There is also a ceremony of fire exercise, both in the morning and evening, to discipline students with fixed times for eating, reading and doing homework, both within evening and morning. The internet and mobile phones are not allowed although there is a school telephone under the teachers care.

Associate Prof. Dr. at the Centre for Bharat studies, RILCA, Mahidol University. Haridwar is an important pilgrimage city and municipality in the Haridwar district of Uttarakhand, India. It’s the north Indian city which is about 170 kilometers from New Delhi.

1 2


In 1963, the education was extended to university level as a “deemed university”3 which is an extension of the school. There are faculties of Arts, Sciences, Management, Technology and Engineering and Environmental Science. Veda teaching is included in the curriculum which makes it unique with such electives as: Vedic Mathematics, Vedic Management, Vedic Chemistry etc. These subjects help students to relate ancient Indian knowledge and wisdom to modern subjects and feel proud in the process. There are Bachelor, Master and Ph.D. degrees available. Every Sunday morning, teachers and students perform “Yajna” together which also makes this university different from any others. The gurukul separates males from females at both school and university levels. In 1922, there was a Gurukul Kanya for girls at Dehradun 50 kilometers from Haridwar starting from Secondary level to university level. In 1933, the university of Gurukul at Haridwar has another branch for girls. Gurukul offers an alternative education for Indians as well as students from neighboring countries. There are students from Nepal who also speak Hindi studying at the school. Gurukul integrates ancient Indian traditions, concepts and culture with a modern curriculum in an effort to groom a good and capable new generation, immune from the perils of a globalised world. The difference between gurukul and the general school system is that gurukul promote a simple way of life with proper manners: respect for seniors, a volunteer mind, knowledge and good religious understanding and practices, with a meditative mind during study and activities. Gurukul should be a good education model for India and potentially for Thailand too. Reference http://en.wikipedia.org/wiki/Deemed_university http://www.mapsofindia.com/haridwar/location.html, http://en.wikipedia.org/wiki/Haridwar Deemed university is a status of autonomy granted to high performing institutes and departments of various universities in India. This status of

3

‘Deemed-to-be-University’. is granted by Deptt. of Higher Education. Union Human Resource Development Ministry, on the advice of the University Grants Commission (UGC) of India, under Section 3 of the University Grants Commission (UGC) Act, 1956. (http;//en.wikipedia.org/wiki/ Deemed_university)


กุรุกุลของอารยา สมาช ที่หริทวาร: รูปแบบโรงเรียนทางเลือกโบราณ ผสมสมัยใหม่ของอินเดีย โสภนา ศรีจำปา ศูนย์ภารตะศึกษา สถาบันวิจยั ภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล

“กุรุกุล” เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า “ครอบครัว ของครูที่ขยายออก” เป็นแนวทางการจัดการศึกษาลักษณะ หนึ่ ง ของอิ น เดี ย ที่ ผ สมผสานระหว่ า งการใช้ แ นวคิ ด ของ พระเวทร่วมกับการศึกษาหลักสูตรสมัยใหม่ กุรกุ ลุ ในอดีตคือ การที่ศิษย์ต้องมาทำพิธีฝากตัวกับครูและอยู่รับใช้ครูที่บ้าน ในขณะเดียวกันก็ได้รับการอบรมสั่งสอนคัมภีร์พระเวทและ ภาษาสั น สกฤตไปด้ ว ย ครู จึ ง เปรี ย บเหมื อ นพ่ อ แม่ ข อง นักเรียน ประเทศอินเดียในสมัยที่อยู่ภายใต้การปกครองของ อังกฤษ มีนักเคลื่อนไหวทางด้านศาสนาและสังคมมากมาย เพือ่ กระตุน้ ให้ชาวอินเดียเกิดความรักชาติและวัฒนธรรมของ ตนเอง หนึ่งในท่านเหล่านั้นคือ สวามี ทยานันท์ (Swami Dayananda) ได้กอ่ ตัง้ สมาคมอารยา สมาช (Arya Samaj) แปลว่า “สังคมประเสริฐ” ท่านมีความเชือ่ ถือในความจริงแท้ ของคัมภีร์พระเวทอย่างเดียว ไม่นับถือเทพเจ้าเหมือนฮินดู อื่นๆ ไม่มีการแบ่งแยกวรรณะ เชื่อในเรื่อง “กรรม” และ “การเวียนว่ายตายเกิด” และเน้นความคิดเรือ่ ง “พรหมจารี” คือวัยทีต่ อ้ งศึกษาเล่าเรียน แสวงหาความรู้ และ “สันยาส” คือวัยปลายของชีวิตที่อุทิศทางโลกเพื่อเข้าสู่ทาง ธรรม แสวงหาความสงบสุขทางจิตเพื่อความ หลุดพ้น กุรุกุล กังกรี วิทยาลัย (Gurukul Kangri Vidyalaya) เป็นโรงเรียนทีต่ งั้ ขึน้ ใน ปี 1902 โดย สวามี ชรัดทนันท์ (Swami Shradhananda) ซึ่ ง สละเพศ ฆราวาสออกบำเพ็ญพรต (สันยาสี)


ในปี 1963 มีการขยายไปถึงระดับ มหาวิ ท ยาลั ย ซึ่ ง มี ส ถานะเป็ น deemed university เป็ น การต่ อ ยอดจากโรงเรี ย นสู่ มหาวิ ท ยาลั ย มี ค ณะศิ ล ปศาสตร์ วิ ท ยาศาสตร์ การจัดการ เทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ และสิ่ ง แวดล้ อ ม ใช้ แ นวทางของ พระเวทเสริมในหลักสูตรซึ่งสร้างความแตก ต่างจากมหาวิทยาลัยอืน่ เช่น มีวชิ าเลือกวิชา คณิ ต ศาสตร์ ส มั ย พระเวท การจั ด การสมั ย พระเวท เคมีสมัยพระเวท เป็นต้น เพื่อให้ นักศึกษาสามารถเชื่อมโยงความรู้และภูมิปัญญา ตามแนวทางของอารยา สมาช สถานทีต่ งั้ อยูท่ กี่ งั กรี ริมแม่นำ้ คงคา และ ของอินเดียโบราณเข้ากับวิชาการในปัจจุบัน ใกล้ภเู ขาจันดี ห่างจากเมืองหริทวาร1 6 กิโลเมตร การเรียนการสอนเน้น และเกิดความภาคภูมิใจด้วย มีการเรียนการ การสร้างพลัง คุณค่าทางจิตวิญญาณ และวัฒนธรรมแบบอินเดีย ไม่ สอนตั้งแต่ระดับปริญญาตรีจนถึงปริญญาเอก รับการสนับสนุนใดๆ จากรัฐบาลอังกฤษที่ปกครองอินเดีย ท่านกำหนด ทุกเช้าวันอาทิตย์ทั้งอาจารย์และนักศึกษาต้อง หลักการของกุรกุ ลุ ไว้ 8 ประการได้แก่ มาร่วมพิธีสวดบูชาไฟพร้อมกัน ซึ่งมหาวิทยา ลัยอืน่ ไม่ม ี 1) ฟืน้ พรหมจารี หรือ บราฮมะจารยา กุรกุ ลุ แยกเรียนระหว่างชาย หญิง มี 2) ความสัมพันธ์ระหว่างพ่อกับลูก ครูกบั ศิษย์ การตั้งโรงเรียนกุรุกุล กันยา สำหรับสตรีใน 3) ระบบการสอบต้องปลอดจากการศึกษาของตะวันตก ปี 1922 ที่เมืองเดห์ราดูนห่างจากหริทวาร 4) สอนสันสกฤต ฮินดี พระเวท และคัมภีรศ์ กั ดิส์ ทิ ธิต์ า่ งๆ ของ 50 กิ โ ลเมตรมี ตั้ ง แต่ ร ะดั บ โรงเรี ย นมั ธ ยม อินเดีย จนถึงมหาวิทยาลัยเช่นกัน และในปี 1993 5) ส่งเสริมให้นกั เรียนมีสขุ ภาพแข็งแรง มหาวิทยาลัยกุรุกุลที่หริทวารได้เปิดวิทยาเขต 6) ให้ความสำคัญอย่างเหมาะสมกับการสอนภาษาอังกฤษและ สำหรับนักศึกษาหญิงโดยเฉพาะขึน้ อีกด้วย ความรูท้ างวิทยาศาสตร์ของหลักสูตรสมัยใหม่ กุรุกุลเป็นเหมือนโรงเรียนทางเลือก 7) ให้การศึกษาฟรี 8) ควรให้มกี ารสอบทานและเขียนประวัตศิ าสตร์อนิ เดียสมัยใหม่ ให้กับชาวอินเดียรวมทั้งประเทศเพื่อนบ้าน มี นักเรียนจากเนปาลมาศึกษาด้วย เพราะพูด ในปี 1924 โรงเรียนกุรกุ ลุ ถูกน้ำท่วมใหญ่ พังเสียหายมาก มุนชี ภาษาฮินดีเหมือนกัน กุรกุ ลุ เป็นการผสมผสาน อามัน ซิงห์ (Munshi Aman Singh) บริจาคทีด่ นิ 2,000 เอเคอร์ ให้ ระหว่ า งประเพณี แนวคิ ด วั ฒ นธรรมแบบ สร้างโรงเรียนและหอพัก ซึง่ เป็นทีต่ งั้ ในปัจจุบนั มีการเรียนการสอนตัง้ แต่ อิ น เดี ย โบราณ (พระเวท) และการเรี ย น ระดับ 1 ถึง 12 มีนกั เรียนประจำ 380 คน ไปกลับ 20 คน นักเรียน หลักสูตรสมัยใหม่ซงึ่ มีสว่ นช่วยสร้างคนรุน่ ใหม่ เรียนฟรี แต่เสียค่าหอพักและค่าอาหาร นักเรียนจะต้องปฏิบตั ติ ามกฎของ ที่ เ ป็ น ทั้ ง คนดี แ ละมี ค วามสามารถเปรี ย บ โรงเรียนอย่างเคร่งครัด ทุกเช้าและเย็นมีการสวดบูชาไฟ เรียกว่า yajna เหมือนการสร้างภูมคิ มุ้ กันให้กบั เยาวชนเหล่านี้ เพือ่ ขอพรให้มวลมนุษยชาติ สังคมมีความสงบสุข นักเรียนมีกำหนดตาราง ให้ เ ป็ น คนที่ มี คุ ณ ภาพและคุ ณ ธรรมต่ อ ไปใน สั ง คมโลกาภิ วั ต น์ ความแตกต่ า งระหว่ า ง กิจกรรมทีจ่ ะช่วยพัฒนาร่างกายให้แข็งแรง ช่วยฝึกให้เป็นคนมีระเบียบวินยั อดทน มีคุณธรรมและจริยธรรม มีสัมมาคารวะ มีความเรียบง่ายในชีวิต นั ก เรี ย นโรงเรี ย นกุ รุ กุ ล กั บ นั ก เรี ย นทั่ ว ไป: นักเรียนกุรุกุลมีชีวิตความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย มีจติ อาสาทีช่ ว่ ยเหลือสังคมและผูอ้ นื่ กิริยามารยาทเรียบร้อย มีสัมมาคารวะ มีจิต โรงเรียนอยู่ในบริเวณเดียวกับหอพัก วิชาที่เรียนเพิ่มเติม คือ อาสา มีความรู้ ความเข้าใจในหลักปฏิบตั ขิ อง ภาษาสันสกฤตซึ่งมีหลายโรงเรียนได้มาขอใช้หลักสูตร และต้องใช้ข้อสอบ ศาสนาเป็นอย่างดี มีสมาธิในการเรียนดี และ ร่วมกับโรงเรียนนี ้ มีวินัย กุรุกุลน่าจะเป็นต้นแบบในการจัดการ โรงเรียนมีอาจารย์ทงั้ หมด 14 คน สำเร็จการศึกษาปริญญาเอก ศึกษาที่ดีแบบหนึ่งของอินเดียและของประเทศ 5 คน นอกนัน้ ปริญญาโท และตรี นักเรียนมีความสามารถในการแข่งขัน ไทยด้วย ระดับประเทศ เมืองหริทวารอยูใ่ นรัฐอุตตรขันธ์ ห่างจากกรุงนิวเดลี ประมาณ 200 กิโลเมตร ขึน้ ไปทางเหนือ

1

10


DO YOU KNOW OR NOT, INDIA... Q. Who is the GM of Hewlett Packard (Hp) ? A. Rajiv Gupta Q. Who is the creator of Pentium chip (needs no introduction as 90% of the today’s computers run on it)? A. Vinod Dham Q. Who is the third richest man on the world? A. According to the latest report on Fortune Magazine, it is Lakshmi Mittal who runs Steel business in 20 countries. Q. Who is the founder and creator of Hotmail (Hotmail is world’s No.1 web based email program)? A. Sabeer Bhatia Q. Who is the president of AT & T-Bell Labs (AT & T-Bell Labs is the creator of program languages such as C, C++, Unix to name a few)? A. Arun Netravalli Q. Who is the new MTD (Microsoft Testing Director) of Windows 2010, responsible to iron out all initial problems? A. Sanjay Tejwrika Q. Who are the Chief Executives of CitiBank, Mckensey & Stanchart? A. Victor Menezes, Rajat Gupta, and Rana Talwar (all Indians) Q. Who is heading the best known consumerable goods companies Pepsi? A. Ms. Indra Nooyi, the topmost paid CEO in the world Indians are the wealthiest among all ethnic groups in America, even faring better than the whites and the natives There are 3.22 millions of Indians in USA (1.5% of population). Out of them, 38% of doctors in USA are Indians. 12% scientists in USA are Indians. 36% of NASA scientists are Indians. 34% of Microsoft employees are Indians. 28% of IBM employees are Indians. 17% of INTEL scientists are Indians. 13% of XEROX employees are Indians.

11


ท่านทราบหรือไม่ว่า อินเดีย... ถาม ใครคือกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ของฮิวเล็ต แพ็คการ์ด (HP) ตอบ ราจีฟ กุปตะ (1) ถาม ใครคือผูส้ ร้างแพนเทียน ชิบ ตอบ วิโนด ธรรม (2) ถาม ใครคือมหาเศรษฐีอนั ดับสามของโลก ตอบ ลักษมี มิตตัล (จากการรายงานของนิตยสารฟอร์จูน) ซึ่งมีธุรกิจ อุตสาหกรรมเหล็กในยีส่ บิ ประเทศ

1

ถาม ใครคือผู้ก่อตั้งและผู้สร้างฮอตเมล์ ฮอตเมล์เป็นเว็บสำหรับอีเมล์ อันดับหนึง่ ของโลก) ตอบ ซาเบีย บฮาเตีย (3) ถาม ใครคือประธานแล็บเอที และที-เบลล์ (เอที และที-เบลล์เป็น

ผูส้ ร้างโปรแกรมภาษาซี ซี++ ยูนกิ ซ์) ตอบ อรุณ เนตราวาลลี ถาม ใครคื อ ผู้ อ ำนวยการฝ่ า ยการทดสอบไมโครซอฟท์ ข องไมโคร ซอฟท์ 2010 ตอบ สัญจัย เตจ-วริกา

2

ถาม ใครคือกรรมการบริหารของซิตี แบงค์ แม็คเค็นซี& สแตนชาร์ต ตอบ วิกเตอร์ เมนเนสเซส ราจัต กุบตา และรานา ตัลวาร ถาม ใครได้ชอื่ ว่าเป็นผูน้ ำของสินค้าอุปโภคของบริษทั เป๊ปซีทมี่ ชี อื่ เสียง ตอบ นางอิทรา นูยี ซีอโี อชัน้ นำระดับโลก (4)

12

ชาวอินเดียได้ชื่อว่าเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่ร่ำรวยที่สุดในบรรดากลุ่ม ชาติพันธุ์ต่างๆ ในอเมริกา ซึ่งค่อนข้างจะดีกว่าชาวผิวขาว และ คนพืน้ เมือง มี ช าวอิ น เดี ย 3.22 ล้ า นคนในอเมริ ก า (1.5% ของจำนวน ประชากร) ในจำนวนนี้ 38% ของแพทย์ในอเมริกาคือชาวอินเดีย 12% ของนักวิทยาศาสตร์ในอเมริกาคือชาวอินเดีย 36% ของนักวิทยาศาสตร์นาซ่าเป็นชาวอินเดีย 34% ของพนักงานโครซอฟท์เป็นชาวอินเดีย 28% ของพนักงานบริษทั ไอบีเอ็มเป็นชาวอินดีย 17% ของนักวิทยาศาสตร์อนิ เทลเป็นชาวอินเดีย 13% ของพนักงานบริษทั ซีรอ็ กซ์เป็นชาวอินเดีย

3

4


These facts deal with WORLD HISTORY : FACTS ABOUT INDIA 1. India never invaded any country in her all years of history. 2. India invented the Number system. Zero was invented by Aryabhatta. 3. The world’s first University was established in Taksashila in 700 BC. More than 10,500 students from all over the world studied more than 60 subjects. The University of Nalanda built in the 4 th century BC was one of the greatest achievements of ancient India in the field of education. 4. According to the Forbes magazine, Sanskrit is the most suitable language for computer software. 5. Ayurveda is the earliest school of medicine known to humans. 6. Although western media portray modern images of India as poverty striken and underdeveloped through political corruption, India was once the richest empire on earth. 7. The art of navigation was born in the river Sindh 5,000 years ago. The very word “Navigation” is derived from the Sanskrit word NAVGATIH.

9. Algebra, trigonometry and calculus came from India. Quadratic equations were by Sridharacharya in the 11th Century; the largest numbers the Greeks and the Romans used were 106 whereas Indians used numbers as big as 1053. 10. According to the Gemmological Institute of America, up until 1896, India was the only source of diamonds to the world. 11. USA based IEEE has proved what has been a century-old suspicion amongst academics that the pioneer of wireless communication was Professor Jagdeesh Bose and not Marconi. 12. The earliest reservoir and dam for irrigation was built in Saurashtra. 13. Chess was invented in India . 14. Sushruta is the father of surgery. 2,600 years ago he and health scientists of his time conducted surgeries like cesareans, cataract, fractures and urinary stones. Usage of anaesthesia was well known in ancient India. 15. When many cultures in the world were only nomadic forest dwellers over 5,000 years ago, Indians established Harappan culture in Sindhu Valley (Indus Valley Civilisation).

8. The value of pi was first calculated by Budhayana, and he explained the concept 16. The place value system, the decimal system was developed in India in 100 BC. of what is now known as the Pythagorean Theorem. British scholars have last year (1999) officially published that Budhayan’s works dates to the 6th Century which is long before the European mathematicians.

13


ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ ของโลกเกี่ยวกับอินเดีย 1. อินเดียไม่เคยรุกรานประเทศอื่นๆ เลยตลอดเวลาใน ประวัตศิ าสตร์ทผี่ า่ นมา

10. ตามบันทึกของสถาบันอัญมณีของอเมริกาจนถึงปี ค.ศ. 1896 อินเดียเป็นแหล่งผลิตเพชรแห่งเดียวของโลก

2. อินเดียเป็นผู้คิดระบบตัวเลข อารยาภัตตา ประดิษฐ์ เลขศูนย์

11. สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สหรัฐอเมริกา ได้พิสูจน์สิ่งที่เป็นมาราวศตวรรษ-ความคลางแคลงใจ เดิมๆ ในหมู่นักวิชาการว่าผู้บุกเบิกการสื่อสารไร้สาย คือศาสตราจารย์จกั ดีชโบส มิใช่ มาร์โคนี

3. มหาวิทยาลัยแห่งแรกของโลกอยู่ที่ตักศิลา สร้างขึ้น 700 ปีก่อนคริสตกาล มีนักศึกษามากกว่า 10,500 คนจากทั่ ว โลกมี ม ากกว่ า 60 วิ ช า มหาวิ ท ยาลั ย 12. อ่างเก็บน้ำและเขือ่ นในยุคแรกๆ สร้างขึน้ ทีเ่ สาราชฎระ นาลันทาตั้งในศตวรรษที่ 4 ถือว่าเป็นหนึ่งในความ สำเร็จของอินเดียโบราณในด้านการศึกษาที่ยิ่งใหญ่ 13. หมากรุกประดิษฐ์ในอินเดีย ทีส่ ดุ 14. สุ ช รู ต าเป็ น บิ ด าของการศั ล ยกรรม เขาและที ม

นักวิทยาศาสตร์สุขภาพในสมัยนั้นได้ผ่าตัดซีซาเรียน 4. จากนิ ต ยสารฟอร์ บ ส์ ภาษาสั น สกฤตเหมาะกั บ ต้อกระจก กระดูกหัก นิว่ การใช้ยาชาเป็นทีแ่ พร่หลาย ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์มากทีส่ ดุ ในยุคอินเดียโบราณ 5. อายุรเวชเป็นโรงเรียนแพทย์สมัยแรกๆ ทีม่ นุษย์รจู้ กั 15. ในขณะทีห่ ลายๆ วัฒนธรรมในโลกยังเป็นชนเผ่าเร่รอ่ น 6. แม้ว่าสื่อตะวันตกจะให้ภาพอินเดียสมัยใหม่ว่ายากจน ในป่า กว่า 5,000 ปีที่ผ่านมา ชาวอินเดียมีอารยและด้อยพัฒนาผ่านการเมืองที่คอร์รัปชั่น อินเดียเคย ธรรมฮารัปปาในลุ่มน้ำสินธุมาแล้ว (อารยธรรมลุ่มน้ำ เป็นอาณาจักรทีเ่ คยร่ำรวยทีส่ ดุ ของโลก อินดุส) 7. ศิลปะการเดินเรือถือกำเนิดขึน้ ทีล่ มุ่ น้ำซินด์เมือ่ 5,000 ปีกอ่ น คำว่า “navigation” มาจากภาษาสันสกฤตว่า “Navgatih” 8. ค่าของพาย (pi) ได้รับการคำนวณครั้งแรกโดยพุทธยาน เขาอธิบายในแนวคิดที่รู้จักกั นในปัจจุบัน คือ ทฤษฎีเรขาคณิต ในปี 1999 นักวิชาการชาวอังกฤษ ได้พมิ พ์งานของพุทธยานอย่างเป็นทางการ ซึง่ ย้อนไป ถึงศตวรรษที่ 6 ยาวนานก่อนการเกิดคณิตศาสตร์ใน ยุโรป 9. พีชคณิต ตรีโกณ และแคลคูลัสมาจากประเทศอินเดีย สมการกำลังสองคิดค้นโดยศรีธาราจารยาในศตวรรษ ที่ 11 จำนวนที่มากที่สุดที่กรีกและโรมันใช้คือ 106 แต่ในขณะทีอ่ นิ เดียใช้ 1053

14

16. ระบบค่าประจำตำแหน่ง ระบบเลขฐานสิบได้รับการ พัฒนาจากอินเดียเมือ่ 100 ปีกอ่ นคริสตศักราช


FAMOUS QUOTES ABOUT INDIA We owe a lot to the Indians, who taught us how to count, without which no worthwhile scientific discovery could have been made. Albert Einstein India is the cradle of the human race, the birthplace of human speech, the mother of history, the grandmother of legend and the great grand mother of tradition. Mark Twain If there is one place on the face of earth where all dreams of living men have found a home from the very earliest days when man began the dream of existence, it is India. French scholar Romain Rolland India conquered and dominated China culturally for 20 centuries without ever having to send a single soldier across her border. Hu Shih (former Chinese ambassador to USA)

การอ้างอิงที่มีชื่อเสียง เกี่ยวกับอินเดีย เราเป็นหนีบ้ ญ ุ คุณชาวอินเดียเป็นอย่างมาก ผูซ้ งึ่ สอนเราให้รจู้ กั นับ หากปราศจาก (สิง่ นีแ้ ล้ว) จะ ไม่มกี ารค้นพบทางวิทยาศาสตร์ทคี่ มุ้ ค่าเกิดขึน้ ได้ : อัลเบิรต์ ไอนสไตน์ อิ น เดี ย เป็ น แหล่ ง กำเนิ ด ของเผ่ า พั น ธุ์ ม นุ ษ ย์ เป็ น ที่ ก ำเนิ ด ของคำพู ด มนุ ษ ย์ เป็ น มารดาของ ประวัตศิ าสตร์ เป็นยายของตำนาน เป็นทวดของจารีต : มาร์ค ทเวน ถ้าจะมีทสี่ กั แห่งบนพืน้ ผิวโลกทีซ่ งึ่ ความฝันทุกอย่างของมนุษย์ในการสร้างบ้านตัง้ แต่ยคุ แรกๆ เมือ่ มนุษย์เริม่ ฝันทีจ่ ะดำรงอยู่ นัน่ คืออินเดีย : โรแมง โรลองด์ นักวิชาการฝรัง่ เศส อิ น เดี ย ชนะและครอบงำจี น ทางวั ฒ นธรรมนั บ ยี่ สิ บ ศตวรรษโดยปราศจากการส่ ง ทหารข้ า ม พรมแดนไปแม้สกั คนเดียว : หู ชิ (อดีตเอกอัครราชทูตจีนประจำประเทศสหรัฐอเมริกา)

แปลโดย รองศาสตราจารย์ ดร.โสภนา ศรีจำปา Translated by Assoc. Prof. Dr. Sophana Srichampa

15


India Mathematician awarded Kenneth O. May Prize of 2010 India not only gave the concept of zero to the world, but had influenced many foreign mathematical traditions by its disocoveries. Much was not known until Radha Charan Gupta proved this by his immaculate research. For his pioneering work he will be honoured at the International Congress of Mathematicians being held in Hyderabad during August 19-27, 2010. Radha Charan Gupta, currently engaged in extensive research work at Ganita Bharati Institute in his native city Jhansi (Uttar Pradesh, India), will be awarded the Kenneth O. May Prize. It is acknowledged that no scholar in the twentieth century has done more to advance widespread understanding of the development of Indian mathematics. He skillfully analyzed many unknown ingenious mathematical formulas in Sanskrit. He also published several papers on the remarkable mathematical discoveries of the Jaina tradition, many of which had been almost inaccessible to anyone except specialists in Prakrit. He has also traced the influence of Indian mathematical discoveries in foreign traditions, or expounding Jaina, Buddhist or Hindu cosmological theories. Prof. Gupta’s major contributions in the field include work on the history of development of trigonometry in India. He had been the President of the Association of Mathematics Teachers of India since 1994 until recently. He also founded the journal Ganita Bharati. Radha Charan Gupta was the gold medalist in the M.Sc. mathematics examination at Lucknow in 1957, and earned a Ph.D. in the history of mathematics from Ranchi University in 1971. He became a professor of mathematics at Birla Institute of Technology, Ranchi in 1982. Prof. Gupta is the first Indian to receive this prestigious international award for history of mathematics. His research work is a superb example of objectivity. He maintains, “Different cultures, including the Indian, have contributed immensely in the development of mathematical knowledge, and it should be recognized by all.” Many would be surprised to know that he has contributed some 500 original international grade research articles, but he even today does not use any modern amenities like computer and internet which could have improved his productivity and visibility many times.

16

Considering the working conditions his contribution is even more creditable. “Indian mathematics grew maximum in the Gupta Period, also dubbed as Golden Period of India, and many great names like Aryabhatta and Bhaskaracharya emerged. Later for a few centuries there was lull, but again between 14th and 17th century Indian Mathematics grew in South India and such great names as Madhav and Neelkanth emerged, whose contributions have much connection with modern mathematics.”, told Prof Gupta in reply to a question. He said, “There is no dearth of talent in India, but working environment here is peculiar and the one who can protect oneself from this, can only contribute something. This is the main reason why any Indian so far could not get the Fields Medal, considered as Maths Nobel Prize.”


รางวัลเคนเนธ โอ เมย์ ปี 2010 แด่นักคณิตศาสตร์ชาวอินเดีย

ประเทศอิ น เดี ย ไม่ เ พี ย งแต่ เ ป็ น ต้นกำเนิดเลข 0 แก่โลกเท่านั้น แต่จากการ ค้นพบนี้ยังส่งผลต่อหลักการแนวคิดต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ด้วย อิทธิพลจากแนวคิด ด้านคณิตศาสตร์ของอินเดียต่อนานาชาติ โดยส่ ว นใหญ่ แ ล้ ว จะไม่ มี ใ ครทราบเท่ า ใด นักจนกระทัง่ ราทา ชารัน กุบต้า พิสจู น์ แนวคิดนี้ด้วยงานวิจัยที่ไร้ข้อบกพร่องของ ท่ า น และจากงานวิ จั ย ชิ้ น บุ ก เบิ ก นี้ ท ำให้ ท่ า นได้ รั บ เชิ ญ เป็ น ผู้ ท รงเกี ย รติ ใ นงาน สัมมนาคณิตศาสตร์นานาชาติ จัดขึ้น ณ เมื อ งไฮดราบาด ระหว่ า งวั น ที่ 19–27 สิงหาคม 2553 ปัจจุบนั นี้ ราทา ชารัน กุบต้า ทำงานวิจัยที่มีคุณูปการต่อวงการคณิตศาสตร์ อย่างยิง่ นีท้ สี่ ถาบันกานิตา ภาราตี (Ganita Bharati Institute) ณ เมืองฌานสี (รัฐ อุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย) บ้านเกิด ของท่านเอง ซึง่ ท่านจะได้รบั รางวัลเคนเนธ โอ เมย์ เป็นที่ยอมรับว่าไม่มีนักวิชาการ คนใดในศตวรรษที่ 20 นี้ที่จะสร้างความ เข้าใจได้อย่างแพร่หลาย ก้าวหน้า ในการ พั ฒ นาคณิ ต ศาสตร์ ข องอิ น เดี ย ท่ า นมี ทักษะในการวิเคราะห์สตู รในภาษาสันสกฤต ซึ่ ง ไม่ มี ใ ครสามารถแก้ ไ ด้ และมี ผ ลงาน ตีพิมพ์มากมายในการค้นพบที่น่าทึ่งทาง คณิตศาสตร์ตามแนวคิดของศาสนาเชนซึ่ง เป็นเรื่องที่แทบจะเป็นไปไม่ได้สำหรับคน ทั่วไป ยกเว้นผู้มีความเชี่ยวชาญด้านภาษา ประกิต นอกจากนีท้ า่ นยังได้สบื หาร่องรอย อิ ท ธิ พ ลด้ า นคณิ ต ศาสตร์ ข องอิ น เดี ย ที่ ปรากฏในแบบแผนของต่างประเทศ หรือ ในทฤษฎีจกั รวาลวิทยาของฮินดู พุทธ และ เชน ศาสตราจารย์กบุ ต้ามีผลงานหลัก ทางด้ า นคณิ ต ศาสตร์ ซึ่ ง รวมถึ ง ประวั ติ พัฒนาการเรือ่ งตรีโกณมิตขิ องอินเดีย และ เป็ น ประธานสมาคมครู ค ณิ ต ศาสตร์ แ ห่ ง ประเทศอินเดียตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2537

กระทั่งปัจจุบัน ท่านยังเป็นผู้ริเริ่มจัดทำวารสารกานิตา ภาราตี (Ganita Bharati) เมื่อปี พ.ศ. 2500 ท่านได้รับเกียรตินิยมเหรียญทอง ระดับปริญญาโทสาขาวิชาคณิตศาสตร์ทลี่ กั เนาว์ และได้รบั ปริญญาเอกสาขา วิชาประวัตศิ าสตร์คณิตศาสตร์จากมหาวิทยาลัยรานชีในปี พ.ศ. 2514 และ เมือ่ ปี พ.ศ. 2525 ได้เป็นศาสตราจารย์ดา้ นคณิตศาสตร์ทสี่ ถาบันเทคโนโลยี บิรล่า ณ เมืองรานชี ศาสตราจารย์กุบต้าเป็นชาวอินเดียคนแรกที่ได้รับรางวัลอันทรง เกียรติระดับนานาชาติในสาขาประวัตศิ าสตร์คณิตศาสตร์นี้ งานวิจยั ของท่าน เป็นแบบอย่างที่ดีเยี่ยมที่เป็นรูปธรรม ท่านยังคงธำรง “ความแตกต่างทาง วัฒนธรรมซึง่ หมายรวมถึงประเทศอินเดียด้วยนัน้ ทำให้เกิดการพัฒนาความ รู้ด้านคณิตศาสตร์อย่างใหญ่หลวงและเป็นสิ่งที่ควรได้รับการยอมรับอย่าง แพร่หลาย” หลายคนอาจประหลาดใจถ้าได้ทราบว่าท่านเขียนบทความงาน วิจัยระดับนานาชาติซึ่งล้วนแต่เป็นงานวิจัยต้นแบบมากกว่า 500 เรื่อง แต่ ทั้ ง นี้ ท่ า นก็ ยั ง ไม่ ใ ช้ อุ ป กรณ์ ส มั ย ใหม่ ใ ดเพื่ อ อำนวยความสะดวก เช่ น คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะช่วยปรับปรุงผลงานของท่านและทำให้ เข้าถึงได้มากขึน้ เมือ่ พิจารณาจากเงือ่ นไขการทำงานผลงานสร้างสรรค์ของท่านแล้ว ยิง่ ทำให้นา่ เชือ่ ถือมากยิง่ ขึน้ ศาสตราจารย์กบุ ต้าเคยกล่าวตอบคำถามหนึง่ ว่า “คณิตศาสตร์ของอินเดียมีความเจริญอย่างสูงสุดในสมัยคุปตะ และได้รบั การ ขนานนามว่าเป็นยุคทองของอินเดีย มีนักปราชญ์ที่มีชื่อเสียงหลายท่านอาทิ อารยาภัตต์และภาษการาจารย์ หลังจากนั้น 2-3 ร้อยปีก็ไม่ปรากฏ แต่ใน ศตวรรษที่ 14 และ 17 คณิตศาสตร์อินเดียก็มีความเจริญรุ่งเรืองขึ้นอีก ครั้งทางอินเดียใต้และปรากฏชื่อนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ เช่น มาทัฟและ นีลกัณฐ์ ผลงานของท่านมีความเชือ่ มโยงกับคณิตศาสตร์สมัยใหม่” ท่านเคยกล่าวไว้วา่ “ประเทศอินเดียไม่ขาดแคลนผูม้ คี วามรูค้ วาม สามารถ แต่สภาพแวดล้อมในการทำงานทีน่ คี่ อ่ นข้างแปลกและใครทีส่ ามารถ ปกป้องตนเองจากสิง่ นีไ้ ด้ เขาจึงจะสร้างสรรค์งานขึน้ มาได้ นีค่ อื เหตุผลหลัก ว่าทำไมนักวิชาการอินเดียจึงยังไม่ได้รับเหรียญฟิลด์ส (รางวัลสูงสุดทาง คณิตศาสตร์-ผูแ้ ปล) ซึง่ เทียบได้กบั รางวัลโนเบลทางด้านคณิตศาสตร์” แปลโดย ดร.ขนบพร วงศ์กาฬสินธุ ์ Translated by Dr. Kanopporn Wonggalasin

17


Teaching and Learning Hindi in Thailand (Part 2) Though Arjarn Karuna Kusalasai passed away at the age 89 on 13th August 2009, his wife who is known by the name “Anthangkinee”, which means “half of life” is now 90 years old. She tells her story about teaching and learning Hindi in the time of Arjarn Karuna at Asom Thai-Bharat Cultural Lodge. “I learnt Hindi with Arjarn Karuna and then I went to study at BHU (Banaras Hindu University), Varanasi for 2 years. I studied at Asom Thai-Bharat Cultural Lodge before I went to India. I learnt Hindi before other people though there were many students including foreigners, about 10 students altogether. Other Thais, Arjarn Dr.Banjob (Banjob Panthumetha) who has now passed away. Also Pathama who is half Indian and half Thai but I don’t know whether she is still alive because we have not met lately. These 2 persons traveled with me to Varanasi to study Hindi” “I met Arjarn Karuna when I went to study Hindi at Asom Thai-Bharat Cultural Lodge. At that time we were learning Hindi without books. I don’t remember what method we used, though I remember learning the alphabet first and after that reading and then speaking by using the Devanagari Alphabet” “There were no fees to study at that time because it was the activity of Asom Thai-Bharat Cultural Lodge and Pandit Rakunarth was the president. I learned Hindi with Arjarn Karuna till I could write and speak. Then I continued my study in India. Arjarn Karuna was the first Thai teacher of Hindi before that, no one.” She told the story about the time she was studying in India. “I learnt Hindi in Thailand so I could communicate when I was in India. During 2 years in India I stayed in the university hostel and traveled around India too. I like Indian food so I could eat with others. I wore a sari because it was easy and comfortable when I stayed with Indian friends. India is still India, it never changes. The picture of Varanasi is still in my memory. I used to take a bath in the Ganges River. It was dirty but I did not care even though they were burning corpses on the banks.”

18

Reangurai Kusalasai Arjarn Reangurai Kusalasai is an expert in linguistics and literature. She received a prize for linguistics and Thai literature from Fine Arts Department in 1994. At present she is still on the committee of Rajabanditiyastan (Royal Institute of Thailand) to prepare a vocabulary list about literature. Recently on 12 July 2010 Honorary Professor Reaungurai Kusalasai received a Ph.D. Honorary Degree in Education, Thai Language Teaching, from Silapakorn University. Arjarn Reangurai Kusalasai uses her skills in linguistics, Thai, and Hindi literature to work with Arjarn Karuna. “Karuna-Reangurai Kusalasai” is the pen name which appears on all their works. Arjarn Reangurai talked about what motivated her to study linguistics and Indian knowledge. “I felt that linguistics was a subject that attracted me and I was already interested in it when I was


studying Thai so it seemed natural to continue learning Hindi. And to demonstrate that it was important for the interaction between Thai and India when Asom Thai–Bharat Cultural Lodge was established, I went to learn Hindi over there.” “Hindi is not difficult, I think. Before studying Hindi I learnt Sanskrit from Phya Anumanrajathon and Phya Upakitsilapasan and Pali was taught to me by Pra Saraprasert. He was my teacher since studying at the Faculty of Arts, Chulalongkorn University and at that time I also studied Thai. ”

At the end of interview, she advised younger students who were studying about India “It is an advanced area of academic study that we can use it beneficially” Though she is 90 years old and she is still good health. Every Wednesday she goes for a meeting at Rajabanditiyastan (Royal Institute of Thailand). Before concluding the conversation she kindly sang 2 Indian songs, the National song (Jana Gana Mana) and Aayega Aanewala, 1949 black and white movie, Mahal. Translated by Kanopporn Wonggarasin

การเรียนการสอนภาษาฮินดี ในประเทศไทย (ตอนที่ 2) กิตพิ งษ์ บุญเกิด*

แม้ว่าอาจารย์กรุณา กุศลาสัย ท่านจะเสียชีวิตไป แล้วเมือ่ วันที่ 13 สิงหาคม 2552 สิรอิ ายุได้ 89 ปี แต่ อาจารย์เรืองอุไร กุศลาสัย ภรรยาของท่านผู้ได้รับฉายาว่า “อรรธางคิ นี ” หรื อ ผู้ ที่ เ ป็ น เสมื อ นภาคครึ่ ง หนึ่ ง ของชี วิ ต ปัจจุบันในวัย 90 ปีได้เล่าย้อนความหลังถึงบรรยากาศการ เรียนการสอนภาษาฮินดีในสมัยที่อาจารย์กรุณาเริ่มเผยแพร่ ภาษาฮินดี ณ อาศรมวัฒนธรรมไทย-ภารต ว่า “ดิฉันเรียนภาษาฮินดีกับอาจารย์กรุณาด้วยและไป เรี ย นที่ พ าราณสี ด้ ว ย อยู่ พ าราณสี 2 ปี เรี ย นที่ BHU (Banaras Hindi University) ตอนทีเ่ รียนทีเ่ มืองไทยนัน้ เรียน ในอาศรมวั ฒ นธรรมไทย-ภารตก่ อ น ก่ อ นที่ จ ะไปอิ น เดี ย ดิฉันเรียนก่อนใครเลย มีคนเรียนเยอะอยู่เหมือนกัน มีชาว ต่างประเทศด้วย จำนวนคนเรียนราวสิบกว่าคน เรียนภาษา ฮิ น ดี อ ย่ า งเดี ย ว คนไทยที่ เ รี ย นอยู่ น อกจากดิ ฉั น แล้ ว ก็ มี อาจารย์บรรจบ ดร.บรรจบ ทีเ่ สียชีวติ ไปแล้ว (บรรจบ พันธุเมธา) และมีปทั มะอีกคนหนึง่ เป็นลูกครึง่ อินเดีย ก็ไม่ทราบว่า ยังมีชีวิตอยู่หรือไม่เพราะไม่เจอกันเลย ทั้งสองคนนี้ไปเรียน ภาษาฮินดีตอ่ ทีพ่ าราณสีดว้ ยกัน” “เมื่อไปเรียนภาษาฮินดีที่อาศรมฯ จึงได้พบกันกับ อาจารย์กรุณา การเรียนในสมัยนั้นไม่มีการทำตำราเรียน อะไร ดิฉันก็จำไม่ค่อยได้แล้วว่าเรียนกันในรูปแบบใด แต่ เข้าใจว่าต้องเรียนตัวหนังสือก่อน ให้อ่านให้เขียนได้ก่อนแล้ว ค่อยเรียนพูดกัน ตอนนัน้ เรียนด้วยตัวอักษรเทวนาครี”

“การเรียนในสมัยนั้นไม่เสียค่าใช้จ่ายในการเรียน เพราะเป็นกิจกรรมของอาศรมจัดทำขึ้น ในสมัยนั้นมีท่าน บัณฑิตรฆุนาถศรมาเป็นประธานอาศรมฯ ดิฉันเรียนอยู่กับ อาจารย์กรุณาในเมืองไทย ก็เรียนจนพูดได้เขียนได้แล้วจึงไป เรียนต่อในอินเดีย ก่อนหน้าอาจารย์กรุณาไม่มีคนไทยเป็น ครูสอนภาษาฮินดีมาก่อน อาจารย์กรุณาเป็นคนแรก” ท่าน ยังได้เล่าถึงประสบการณ์เมื่อครั้งไปเรียนในเมืองพาราณสีไว้ ด้วยว่า “เรี ย นภาษาฮิ น ดี จ ากเมื อ งไทยมาแล้ ว เมื่ อ ไปอยู่ อินเดียก็สามารถใช้สื่อสารได้ ดิฉันอยู่หอพักในมหาวิทยาลัย ระหว่างที่ใช้ชีวิตอยู่ในอินเดีย 2 ปีนั้นก็ได้ท่องเที่ยวไปใน อินเดียด้วย ดิฉันชอบอาหารอินเดีย อยู่ที่นั่นก็ทานอาหาร อิ น เดี ย กั บ เค้ า ได้ อยู่ ใ นอิ น เดี ย ก็ แ ต่ ง ตั ว อิ น เดี ย ใส่ ส่ า หรี

มั น สะดวกดี ง่ า ยๆ และเราก็ อ ยู่ กั น กั บ เพื่ อ นๆ ในหอพั ก

อินเดียก็ยังเป็นอินเดียอยู่อย่างนั้นไม่เปลี่ยนแปลง ภาพเมือง พาราณสีก็ยังจำได้อยู่ ดิฉันเคยลงอาบน้ำคงคาด้วยตอนที่ เรียนอยู่ที่นั่น ความสกปรกก็มีอยู่ แต่ไม่รู้สึกอะไร ทั้งที ่ เค้าเผาศพกันอยูต่ รงนัน้ ” อาจารย์เรืองอุไร กุศลาสัย เป็นผู้เชี่ยวชาญทาง ด้านภาษาและวรรณคดีไทย ท่านเคยได้รับรางวัลปูชนียบุคคลทางด้านภาษาและวรรณกรรมไทยจากกรมศิลปากร เมือ่ ปี พ.ศ 2537 ปัจจุบนั ท่านยังเป็นกรรมการจัดทำศัพท์ วรรณคดีไทยราชบัณฑิตยสถาน และล่าสุดเมื่อวันที่ 12

* อาจารย์พเิ ศษสอนภาษาฮินดี

19


กรกฎาคม 2553 ศาสตราจารย์พิเศษเรืองอุไร กุศลาสัย ได้ รับพระราชทานปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทยจากมหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารย์ เ รื อ งอุ ไ ร กุ ศ ลาสั ย ได้ ใ ช้ ค วามรู้ ค วาม เชี่ยวชาญทางด้านภาษาและวรรณคดีทั้งไทยและอินเดียของ ท่านร่วมกันทำงานกับอาจารย์กรุณา ดังปรากฏในผลงาน หนังสือแปลมากมายของปราชญ์ทั้งสองที่จะใช้นามปากกา ร่วมกันคือ “กรุณา-เรืองอุไร กุศลาสัย” อาจารย์เรืองอุไรยัง ได้กล่าวถึงแรงบันดาลใจที่ทำให้ท่านสนใจศึกษาภาษาและ ความรูเ้ กีย่ วกับประเทศอินเดียว่า “ดิฉันรู้สึกว่าเป็นวิชาที่น่าเรียน เป็นสิ่งที่ดิฉันสนใจ อยู่แล้วตั้งแต่เรียนภาษาไทยมาเหมือนกับเราได้เรียนต่อไป จากภาษาไทย และพอมีการก่อตั้งอาศรมวัฒนธรรมไทยภารต ทำให้ยิ่งเห็นความสำคัญในการที่จะติดต่อกันระหว่าง ไทยกับอินเดีย ดิฉนั ก็เลยไปเรียนทีอ่ าศรมฯ”

“ดิ ฉั น คิ ด ว่ า ภาษาฮิ น ดี ไ ม่ ย าก ดิ ฉั น เรี ย นภาษา สันสกฤตมาก่อนตั้งแต่สมัยท่านเจ้าคุณอนุมานราชธน และ ท่านเจ้าคุณอุปกิตศิลปสาร พระสารประเสริฐอีกท่านหนึง่ ซึง่ ท่านสอนภาษาบาลี ท่านเป็นอาจารย์ของดิฉันตั้งแต่เรียนที่ อักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตอนนั้นเรียนด้วย อักษรไทย” ในตอนท้ายของการสัมภาษณ์ อาจารย์เรืองอุไรได้ ฝากชี้แนะนักศึกษารุ่นใหม่ในการศึกษาเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับ อินเดียว่า “เป็นความก้าวหน้าทางวิชาการ ที่เราจะเอามา ใช้ได้อย่างดีทเี ดียว” แม้วา่ ท่านจะอายุ 90 ปีแล้วแต่ถอื ว่าแข็งแรงดี ยัง ไปประชุมทีร่ าชบัณฑิตอยูท่ กุ วันพุธ ก่อนทีผ่ เู้ ขียนจะกราบลา ท่าน ท่านยังกรุณาร้องเพลงอินเดียให้ฟังถึงสองเพลงคือ เพลงชาติอนิ เดีย (jana gana mana) ส่วนอีกเพลงหนึง่ เป็น เพลงภาษาฮินดีชอื่ เพลง Aayega Aanewala เพลงประกอบ ภาพยนตร์เรือ่ ง mahal ภาพยนตร์ขาวดำทีโ่ ด่งดังมากเมือ่ ปี ค.ศ 1949

Namkaran Ceremony The birth of a child in a family is an occasion that brings joy and happiness to everyone associated with the family. The first thing that comes to mind after the birth of a child is choosing an apt name for him/her. This name would give a unique identity to the baby and will stay forever. Naming a baby is considered to be sacred and therefore is an important Indian tradition. It involves the immediate families and also close relatives and friends. Traditionally known as Namkaran or Namkaran Sanskar, this ceremony is conducted in an elaborate form.

The people involved in the baby naming ceremony are the parents of the new born, the paternal and maternal grandparents and few close relatives and friends. The child is dressed in new clothes and the mother wets the head of the baby with a bit of water as a symbol of purifying the child. The baby is then handed over to the paternal grandmother or the father who sits near the priest during the ritual. The sacred fire is lit and the priest chants sacred hymns to invoke the Gods in the heaven to bless the child.

According to the date and time of birth of The Namkaran Sanskar is usually held the child, a particular alphabet is chosen which after the first 10 days of a baby’s delivery. These would prove lucky for the baby. The baby is then 10 post-natal days are considered to be inauspicious given a name starting with that alphabet. Usually the as the mother and child are considered to be father whispers the name four times in the right ear impure. After those 10 days, the house is cleaned of the baby. The baby receives blessings from all, and sanctified for the ceremony. The mother and including the priests. An elaborate feast is organized child are bathed traditionally and are prepared for for the priests and the guests, as a closing event the ceremony. Relatives and close friends are invited of the ceremony. to be a part of this sacred occasion and bless the (Cited from http://www.iloveindia.com/indian-traditions/ child. Priests are called and an elaborate ritual namkaran.html) takes place.

20


พิธีตั้งชื่อ ทารกแรกเกิดในครอบครัวถือเป็นสิ่งที่นำความปีติ สุขมาให้ทกุ คนทีเ่ กีย่ วข้องกับครอบครัว สิง่ แรกทีต่ อ้ งทำหลัง การเกิดของทารก คือ การเลือกชื่อที่เหมาะสมสำหรับลูก ชื่อนี้แสดงถึงเอกลักษณ์ของทารกและจะอยู่ตลอดไป การตั้ง ชื่อทารกเป็นพิธีที่ศักดิ์สิทธิ์และเป็นจารีตที่สำคัญของอินเดีย เกี่ยวข้องกับครอบครัวโดยตรงรวมถึงญาติและเพื่อนสนิท ตามจารีตพิธนี รี้ จู้ กั กันในชือ่ “นามการาน หรือ นามการาน สังสการ” การประกอบพิธนี กี้ ระทำขึน้ อย่างศักดิส์ ทิ ธิ ์ นามการาน สังสการ โดยทั่วไปจัดขึ้นหลังสิบวัน แรกของการคลอด สิบวันหลังการคลอดถือว่าไม่เป็นมงคล เพราะมารดาและทารกยั ง ไม่ บ ริ สุ ท ธิ์ หลั ง จากสิ บ วั น นี้ ทำความสะอาดบ้าน และทำให้พ้นบาปเพื่อการประกอบพิธี ญาติ ๆ และเพื่ อ นฝู ง ที่ ส นิ ท ได้ รั บ เชิ ญ ให้ ม าร่ ว มในพิ ธี ท ี่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ แ ละอวยพรให้ กั บ ทารก โดยมี พ ราหมณ์ เ ป็ น ผู้ ประกอบพิธ ี

ผูท้ รี่ ว่ มในพิธตี งั้ ชือ่ ทารก ได้แก่ พ่อแม่ของทารก ปู่ ย่า ตา ยายของทารก ญาติและเพือ่ นสนิท ทารกได้รบั การ แต่งตัวด้วยเสือ้ ผ้าชุดใหม่ มารดาลูบผมทารกด้วยน้ำเล็กน้อย เพื่อเป็นสัญลักษณ์ทำให้ทารกบริสุทธิ์ ทารกถูกส่งต่อไปยัง มื อ ของย่ า หรื อ ของพ่ อ ที่ นั่ ง ใกล้ กั บ พราหมณ์ ร ะหว่ า งการ ประกอบพิธีรอบกองไฟศักดิ์สิทธิ์ซึ่งพราหมณ์สวดสรรเสริญ เพือ่ วิงวอนให้เทพเจ้าอวยพรแก่ทารก การตั้งชื่อจะตั้งตามวันและเวลาเกิดของทารก ตัว อักษรที่เลือกต้องแสดงถึงความโชคดีของทารก ทารกจะได้ รับการตั้งชื่อที่ขึ้นต้นด้วยอักษรนั้น โดยทั่วไปบิดาจะกระซิบ ชื่อนี้สี่ครั้งที่หูขวาของทารก ทารกได้รับการอวยพรจากทุก คนรวมทัง้ พราหมณ์ งานเลีย้ งถูกจัดขึน้ สำหรับพราหมณ์และ แขกทัง้ หลายหลังจบการประกอบพิธ ี

Tamil Proverbs (สุภาษิตทมิฬ) FATE พรหมลิขิต

1. In what God has written there will not be an atom of failure. อะไรทีพ่ ระเจ้าบัญญัตไิ ว้ ไม่มแี ม้แต่อณูทจี่ ะล้มเหลว 2. What God has written before that He will not destroy and re-write “That’s which must be, will be.” อะไรที่ พ ระเจ้ า บั ญ ญั ติ ไ ว้ พระองค์ จ ะไม่ ท ำลายและ บัญญัตใิ หม่ “อะไรจะเกิดก็ตอ้ งเกิด” 3. If we want more than God has appointed, shall we get it? “ถ้าเราต้องการมากกว่าที่พระเจ้ากำหนดให้ เราจะได้ หรือ” 4. No one can cast off God’s decree. ไม่มใี ครสามารถออกจากประกาศิตของสวรรค์ได้ 5. That which does not exist will not come into existence, and that which exists will not be annihilated. อะไรที่ไม่มีอยู่ก็จะไม่บังเกิด และอะไรที่มีอยู่ก็ไม่อาจถูก ทำลายได้ 6. Though dirt may be got rid of, inherited fate will not expire.

แม้ว่าความสกปรกจะถูกกำจัดได้ พรหมลิขิตที่สืบทอด มาจะไม่หมดอายุ 7. One may bathe so as to wash off oil, but who can rub himself so as to free himself from fate. ใครอาจจะอาบน้ำเพื่อชำระล้างน้ำมันได้ แต่ใครจะถูตัว เองเพือ่ ให้เป็นอิสระจากพรหมลิขติ ได้ 8. Though one weeps, will the fate written (by Brahma) be removed? แม้ว่าคุณจะหลั่งน้ำตา พรหมลิขิตที่ถูกบัญญัติ (โดย พระพรหม) แล้ว จะถูกกำจัดได้หรือ 9. You get your wife and your priest according to destiny.“Marriages are made in heaven.” “In time comes she whom God sends.” คุ ณ ได้ ภ รรยาและพระตามโชคชะตาของคุ ณ “การ แต่ ง งานบั ญ ญั ติ จ ากสวรรค์ ” “ผลสุ ด ท้ า ยเธอคื อ ผู้ ที่ พระเจ้าส่งมา” 10. When God has made a mark, there is no erasing of it. เมือ่ พระเจ้าทำเครือ่ งหมายแล้วไม่มกี ารลบออก แปลโดย โสภนา ศรีจำปา (อมฤตา)

Translated by Sophana Srichampa (Amrita) Cited from Rev. Hermen Jensen. 2005. A Dictionary of Tamil Proverbs. P.5-6. New Delhi: Mittal Publications.

21


First thing in India The Advent of TV into India In 1959, at the time of the advent of TV in the country, it was regarded as an exorbitant luxury meant for the rich. It was only six years later, when a fifteen-minute news bulletin started being telecast, that the people began to comprehend tv’s utility. From then on until 1982, it remained an instrument of rural education and development with the help of telecast beamed all over the country through foreign satellites. Presently, it has become a valuable medium of entertainment as well. In 1982, on the occasion of the Asian Games, colour telecast was introduced. The then Information and Broadcasting Minister, Vasant Sathe, exploited the Government controlled medium to publicize the so-called achievements of the then Prime Minister Indira Gandhi. Later, during the tenure of Rajeev Gandhi the Prime Minister, serials

on social and religious topics were added to the state propaganda and commercial service was also introduced. In 1990, at the time of the Gulf hostilities, Indian viewers were provided with satellite transmissions. As the time went by, private channels began to crowd the tv band. However, DoorDarshan-the state TV-attracted the largest number of viewers. TV has helped reduce the distances. An event can be transmitted live to the remotest part of the world. The medium has thus made an astounding contribution to bring closer farflung regions of the world, to keep every viewer informed of the happenings everywhere and to provide an instant personal contact through the services like video-conferencing.

แรกมีในอินเดีย : กำเนิดโทรทัศน์ในอินเดีย ในปี 1959 เป็นเวลาที่โทรทัศน์เกิดขึ้นในประเทศ มันถูกมองว่าเป็นสมบัตทิ หี่ รูหราคาแพงสำหรับคนรวย เพียง หกปีให้หลัง เมือ่ รายงานข่าว 15 นาทีเริม่ ออกอากาศ นัน่ ทำให้ผู้คนเริ่มเห็นประโยชน์ของทีวี ตั้งแต่นั้นมาจนกระทั่งปี 1982 ทีวียังคงเป็นเครื่องมือของการศึกษาในชนบท และ การพั ฒ นาด้ ว ยความช่ ว ยเหลื อ ในการถ่ า ยทอดสั ญ ญาณ กระจายไปทั่วทั้งประเทศผ่านดาวเทียมต่างชาติ ปัจจุบันนี้ มันเป็นสือ่ ทีม่ คี า่ ของความบันเทิงเช่นกัน ปี 1982 ในโอกาสที่เป็นเจ้าภาพจัดเอเชียนเกมส์ โทรทัศน์สจี งึ ได้เริม่ ขึน้ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงข่าวสารและ การกระจายเสียง วสันต์ สัทธี ใช้เพื่อประโยชน์ของรัฐบาล ในการควบคุมสื่อสำหรับโฆษณาสิ่งที่เรียกว่าเป็นความสำเร็จ ของนายกรัฐมนตรีอินทิรา คานธี ต่อมาในสมัยของนายก รัฐมนตรีราจีฟ คานธี รายการชุดทางด้านสังคมและศาสนา ได้เพิ่มเข้าไปกับการโฆษณาของรัฐ การโฆษณาสินค้าก็เริ่ม ต้นเช่นกัน

ปี 1990 ช่วงสงครามอ่าว (เปอร์เชีย-ผู้แปล) ผู้ชม ชาวอิ น เดี ย ได้ ช มผ่ า นการถ่ า ยทอดผ่ า นดาวเที ย มด้ ว ย เมื่อเวลาผ่านไป ช่องต่างๆ ของเอกชนเริ่มเข้าไปแย่งคลื่น สัญญาณ อย่างไรก็ตาม Door-Darshan คือ ทีวีของรัฐที่ ดึงดูดผู้ชมได้มากที่สุด ทีวีช่วยลดระยะทางเหตุการณ์ต่างๆ สามารถถ่ายทอดสดไปยังที่อยู่ห่างไกลที่สุดของโลก สื่อมี ส่วนสนับสนุนอย่างน่าพิศวงที่ทำให้ภูมิภาคต่างๆ ที่อยู่ห่าง ไกลไพศาลเข้ามาใกล้กัน ผู้ชมได้รับการเสนอเรื่องราวที่เกิด ขึ้นทุกที่ และยังช่วยในการติดต่อที่เร่งด่วนระหว่างบุคคล ผ่านบริการ เช่น วิดโี อคอนเฟอเรนซ์

แปลโดย รศ.ดร.โสภนา ศรีจำปา (อมฤตา) Translated by Assoc. Prof. Dr.Sophana Srichampa (Amrita)

(Cited from Rajnee Vyas. 2008. Incredible India. P. 189 Ahmedabad: Akshara Prakashnan.)

22


ISSN 1906-9758

Bilingual Newsletter in both Thai and English Languages three times a year

Benefactor Centre for Bharat Studies, Research Institute for Languages and Cultures of Asia, Mahidol University Objectives 1. To promote the mutual interests and nurture the ageless relations between Thailand and India. 2. To disseminate the knowledge and information of India and its study for the benefit of Thai public in various aspects at both national and international levels. 3. To be the most significant mode of information in print media for the spread of knowledge, idea and experience exchange between the experts and interested people, both national and international through articles and other way of writings. 4. To promote better understanding and relationship between Thai and the people of Indian origin throughout the world. 5. To develop the academic network leading to other collaborations between the Asian people in general and the Indian origin people in particular. Honorary Advisers Hon’ble Ambassador of India to Thailand Hon’ble Ambassador of Thailand to India President of Mahidol University Counsellor (Information and Culture), Embassy of India, Bangkok, Thailand Minister, Royal Thai Embassy, India Director, Research Institute for Languages and Cultures of Asia, Mahidol University Editors Assoc. Prof. Dr. Sophana Srichampa, the Coordinator of the India Programme at Mahidol University Assoc. Prof. Dr. Amarjiva Lochan (India) Editorial Board Professor M. Rajantheran (Malaysia), Professor Do Thu Ha (Viet Nam) Dr.Kanopporn Wongarasin (Thailand), Assist. Prof.lam Thongdee (Thailand) Mr.Richard Haim (New Zealand), Mr. I Made Darmayasa (Indonesia) Mr.Ven Sophorn (Cambodia) Mr.Aphirat Khamwang (Thailand) Designer Chanthana Khamnark, Somluck Romkokgrout, Siranya Wisansak Publisher Sangsue Co., Ltd 17/118 Soi Pradiphat 1 Pradiphat Rd. Samsannai Phayatai, Bangkok 10400 Coordinator Mr.Aphirat Khamwang Contact Center for Bharat Studies, Research Institute for Languages and Cultures of Asia, Mahidol University, Phutthamonthon 4 Road, Nakhonpathom 73170, Thailand Email: bharatmahidol@hotmail.com

23


ISSN 1906-9758

จดหมายข่าวสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) ปีละ 3 ฉบับ เจ้าของ ศูนย์ภารตะศึกษา สถาบันวิจยั ภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล วัตถุประสงค์

1. เพือ่ ส่งเสริมการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศระหว่างประเทศไทยกับประเทศอินเดีย 2. เพือ่ เผยแพร่ความรู้ และข้อมูลข่าวสารทีเ่ กีย่ วกับอินเดียศึกษาในมิตติ า่ งๆ สูส่ งั คมทัง้ ในและต่างประเทศ 3. เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิด ความเห็น และประสบการณ์ของผู้เชี่ยวชาญหรือผู้สนใจทั้งในและต่างประเทศ ผ่านบทความ ข้อเขียนต่างๆ 4. เพือ่ ส่งเสริมความรูค้ วามเข้าใจและความสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ กันระหว่างชาวไทย ชาวอินเดีย และประชาชนในประเทศอืน่ ๆ ทีส่ นใจ อินเดีย 5. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการอันจะนำไปสู่ความร่วมมือด้านอื่นๆ ของประชาชนในประเทศต่างๆ ทั้งในเอเชีย และในโลกต่อไป

ทีป่ รึกษา

เอกอัครราชทูตอินเดีย ประจำประเทศไทย เอกอัครราชทูตไทย ประจำประเทศอินเดีย อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล Counsellor (Information and Culture), Embassy of India, Bangkok, Thailand Minister สถานเอกอัครราชทูตไทย ประจำกรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย ผูอ้ ำนวยการสถาบันวิจยั ภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล

บรรณาธิการ

รองศาสตราจารย์ ดร.โสภนา ศรีจำปา

กองบรรณาธิการ

ดร.ขนบพร วงศ์กาฬสินธุ ์ Professor M. Rajantheran (Malaysia) Mr.I Made Darmayasa (Indonesia) Mr.Richard Haim (New Zealand)

Assoc. Prof. Dr. Amarjiva Lochan (India) ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์เอีย่ ม ทองดี Professor Do Thu Ha (Viet Nam) Mr.Ven Sophorn (Cambodia) นายอภิรฐั คำวัง

ออกแบบ/รูปเล่ม

ฉันทนา คำนาค, สมลักษณ์ รามโคกกรวด, สิรญ ั ญา วิศาลศักดิ ์

บริหารการพิมพ์

บริษทั สร้างสือ่ จำกัด 17/118 ซอยประดิพทั ธ์ 1 ถนนประดิพทั ธ์ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

ประสานงาน

อภิรฐั คำวัง

สำนักงาน/สถานที ่

ศูนย์ภารตะศึกษา สถาบันวิจยั ภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 ประเทศไทย โทร. 6628003208 ต่อ 3309 แฟกซ์ 6628002332

อีเมล์

bharatmahidol@hotmail.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.