Vol.5/June/2011
th 5 Anniversary
เหลียวหลังแลหน้า สำเพ็ง ครบ 50 ปี Sport wear ตลาดสดใส Precious Chemical ความต้องการ ของตลาดคือหน้าที่ของเรา Salaya Design : Cool sport for life BIFF & BIL 2011 Review
CONTENTS Cover : Sport Wear
9 ACTIVITY biz
6
EXCLUSIVE interview ‡À≈’¬«À≈—ß·≈Àπâ“ ”‡æÁß 50 ªï
9
COVER story µ≈“¥ Sport Wear ¬—߇µ‘∫‚µµàÕ‡π◊ËÕß
27
14
SPECIAL interview 1 23 Precious Chemical ¬È”º≈‘µ ‘π§â“µ“¡§«“¡µâÕß°“√¢Õßµ≈“¥ §◊Õ§«“¡ ”‡√Á®∑’Ë·∑â®√‘ß
33
23
SPECIAL interview 2 Salaya Design Cool Sport For Life
27
BIFF review ‡°Á∫µ° BIFF & BIL 2011
33
SPECIAL report §«“¡§◊∫Àπâ“°“√ª√–‡¡‘π¢âÕ¡Ÿ≈ “√‡§¡’µ“¡√–‡∫’¬∫ REACH
39
MARKETING idea ∑”„À⥟¥’ ·µà∫“ß∑’°Á ‰¡à‚¥π
42
MANAGEMENT share §«“¡ ÿ¢...Õ¬Ÿà∑’˧ÿ≥‡≈◊Õ°
44
Horoscope
46
LIFE style
49
33
“√
‘° ∏ “ ≥ √ √ ∫∑∫
∑— π ∑’ ∑’Ë π “¬°√— ∞ ¡πµ√’ π“¬Õ¿‘ ‘ ∑ ∏‘Ï ‡«™™“™’ « – ‰¥â · ∂≈߬ÿ ∫ ¿“∑“ßÀπâ “ ®Õ∑’ «’ ‡ ¡◊Ë Õ «— π ∑’Ë 9 情¿“§¡ ‰¥â·∂≈ß«à“ æ√–∫“∑ ¡‡¥Á®æ√–‡®â“Õ¬ŸàÀ—« ∑√ß¡’æ√–∫√¡ √“™‚Õß°“√œ æ√Æ.¬ÿ∫ ¿“·≈â« ‚¥¬¡’º≈∫—ߧ—∫„™â „π«—π∑’Ë 10 情¿“§¡ ·≈–®–®—¥„Àâ¡’°“√‡≈◊Õ°µ—Èß∑—Ë«‰ª„π«—π∑’Ë 3 °√°Æ“§¡ 2554 π—Ëπ°ÁÀ¡“¬§«“¡«à“ Õ”π“®‰¥â°≈—∫§◊π Ÿà ª√–™“™πÕ’°§√—Èß ·≈–À≈—ß°“√À¬àÕπ∫—µ√‡ √Á®‡√’¬∫√âÕ¬≈ß Õ”π“®¢Õߪ√–™“™π°Á ® –°√–‡¥Á π ‰ªÕ¬Ÿà „ π¡◊ Õ ¢Õßπ— ° °“√‡¡◊Õ߇À¡◊Õπ‡™àπ∑ÿ°§√—Èß∑’˺à“π¡“ À≈“¬ ‘∫ªï∑’Ë ‰¥â‡ΩÑ“¥Ÿ°“√‡¡◊Õ߉∑¬ ‡√“¬—ߧ߇ÀÁπ ·µà§πÀπⓇ¥‘¡Ê ∑’Ë°√–À“¬Õ”𓮉¥â¡’ ‚Õ°“ ‡¥‘π¢«—°‰¢«à Õ¬Ÿà ∫ π∂ππ°“√‡¡◊ Õ ß §√—È π æÕ¡’ „ §√ — ° §π∑’Ë æ Õ®–‡ªì 𠧫“¡À«—ß ·µàµ¥¬—߉¡à∑—πÀ“¬‡À¡Áπ°Á°≈“¬‡ªìπ«à“Àπ’‡ ◊Õ ª–®√–‡¢â ‰ª‡ ’¬ °√–π—È π °Á µ “¡ „π‡¡◊Ë Õ ª√–‡∑»‡√“„™â √ –∫∫ ª√–™“∏‘ª‰µ¬·≈â«°ÁµâÕß∑”Àπâ“∑’Ë „Àâ ¡∫Ÿ√≥å ¥â«¬°“√„™â ªí≠≠“æ‘π‘®æ‘®“√≥“∫ÿ§§≈∑’Ëπà“®–¥’∑’Ë ÿ¥¡“‡ªìπµ—«·∑π¢Õß ‡√“ ·µàÀ“°«à“‰¡à∑√“∫À√◊Õ‰¡à¡’¢âÕ¡Ÿ≈‡æ◊ËÕ„™â „π°“√µ—¥ ‘π “¡“√∂‡¢â “ ‰ªÀ“Õà “ π‰¥â ∑’Ë www.tpd.in.th. ‡«Á ∫ ‰´µå ∑’Ë √«∫√«¡¢âÕ¡Ÿ≈¢Õß∫√√¥“æ√√§°“√‡¡◊Õß .§π‰Àπ∑” Õ–‰√‰«â∑’Ë ‰ÀπÕ¬à“߉√ „§√‡¢â“ª√–™ÿ¡ ¿“°’˧√—Èß ·≈–Õ◊ËπÊ ‚¥¬¢âÕ¡Ÿ≈‡À≈à“π’ȵ—ÈßÕ¬Ÿà∫πÀ≈—°∞“π‡™‘ßª√–®—°…å∑’ˇ™◊ËÕ∂◊Õ‰¥â ‰¡à‡Õ’¬ß´â“¬À√◊Õ¢«“ ©–π—ÈπÕ¬à“‡æ‘Ë߇∫◊ËÕ°“√‡¡◊Õß ‡æ√“–°“√‡¡◊Õ߇°’ˬ« æ— π °— ∫ ∏ÿ √ °‘ ® — ß §¡ »‘ ≈ ª– «— ≤ π∏√√¡ ‰≈øá ‰µ≈å ·≈– §√Õ∫§√—«¢Õ߇√“Ç
∫√√≥“∏‘°“√∫√‘À“√: ¥“À«—π «à“ßÕ“√¡¬å ∫√√≥“∏‘°“√∫∑§«“¡: ∫—ßÕ√ ‰∑√‡°µÿ °Õß∫√√≥“∏‘°“√: »‘√‘æ√ · ß·°â«, °—πµ‘π—π∑å ‡æ’¬ ÿæ√√≥ ∫√√≥“∏‘°“√»‘≈ª°√√¡: ‘√—≠≠“ «‘»“≈»—°¥‘Ï »‘≈ª°√√¡: ¡≈—°…≥å √“¡‚§°°√«¥, ¥≈ƒ¥’ Õ‘π∑¡“µ¬å ∑’˪√÷°…“Õ“«ÿ‚ : §ÿ≥¡“π– ‡Õ◊ÈÕ∏“√æ‘ ‘∞ ∑’¡∑’˪√÷°…“: «‘√—µπå µ—π‡¥™“πÿ√—µπå, ¥√.‰æ®‘µ√ «‘∫Ÿ≈¬å∏π “√, ¥√.®µÿæ√ —ߢ«√√≥, ¥√. “∏‘µ æÿ∑∏™—¬¬ß§å, ¥√.æß…å»—°¥‘Ï «— ¥‘‡°’¬√µ‘, ”‡√‘ß ®ß¥’‰æ»“≈ ¥√.√ÿ∏‘√å æπ¡¬ß§å, ¥√.®‘µµ‘«—≤πå ∫ÿ≠√ÿàß, Õ. ÿ√æ≈ µ√ßµàÕ»—°¥‘Ï, ‡®π π”™—¬»‘√‘, ¡»—°¥‘Ï »√’ ÿ¿√«“≥‘™¬å, ∂“«√ µ—𵑻‘√‘«‘∑¬å, ‡¥™ æ—≤π‡»√…∞æß…å, ‡»√…∞ «“π‘™«ß»å, πæ¥≈ ‡ªïò¬¡°ÿ≈«“π‘™, ®‘µµ‘§ÿ≥ ‡®’¬¡æ‘∑¬“πÿ«—≤πå, «‘°√ æ√À¡™π–, §¡ √√§å «‘®‘µ√«‘°√¡, ∑√߬» πæª√“™≠å, πæ¥ÿ≈ ‡°…®√—≈, ∂«—≈¬å Õ“√’√—µπ¡“», ∏’√¿“æ ‡Õ’È¬«æ‘∑¬“°ÿ≈, Õ.™—™«“≈¬å ß“¡»√’, «‘™“≠ Õ√à“¡«“√’°ÿ≈, ¿§‘π π‘∏‘∏π¿—∑√, 摇™…∞å ‡°’¬√µ‘‡¥™ªí≠≠“, ‡ √‘¡»—°¥‘Ï «ß…å™—¬, ‡°’¬√µ‘™—¬ ‚≈À™‘µ√“ππ∑å, «— ¥‘Ï ªí≠≠“»√, «—π‡æÁ≠ ®—π∑√å·°â«, æ‘™‘µ ®ß§”π÷ß ÿ¢ Published by D day Creative Co., Ltd. 105/116 Moo 8, Talingchan-Suphanburi Rd., Bangbuathong Nonthaburi 11110 Tel. 0 2597 5893, 0 2597 5894 Fax. 0 2597 5821 µ‘¥µàÕ‚¶…≥“ ‚∑√. 08 6024 3913 ÕÕ°·∫∫ ∫√‘…—∑ √â“ß ◊ËÕ ®”°—¥ 17/118 ´Õ¬ª√–¥‘æ—∑∏å 1 ∂ππª√–¥‘æ—∑∏å ·¢«ß “¡‡ π„π ‡¢µæ≠“‰∑ °√ÿ߇∑æœ 10400 ‚∑√. 0 2279 9636, 0 2271 4339 ‚∑√ “√ 0 2618 7838 æ‘¡æå∑’Ë ∫√‘…—∑ æ‘¡æ奒 ®”°—¥
4
Thai
Textile & Apparel
ACTIVITY biz BIFF & BIL 2011
งานแสดงสินค้าแฟชั่นและเครื่องหนัง BIFF&BIL 2011 (Bangkok International Fashion Fair & International Leather Fair 2011) จัดโดยกรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวง พาณิชย์ มีขึ้นระหว่างวันที่ 20-24 เมษายน ที่ผ่านมา ณ อาคาร ชาแลนเจอร์ ศูนย์แสดงสินค้าเมืองทองธานี โดยในปีนี้มีสินค้า จากผู้ประกอบการ ผู้ผลิตชั้นนำของไทยและอาเซียน ทั้งสินค้า สิ่งทอ ผ้าผืน เสื้อผ้า เครื่องหนังทั้งรองเท้า กระเป๋า สินค้าแฟชั่น ของดีไซน์เนอร์รุ่นเก่า-ใหม่ และสินค้าแบรนด์ดังกว่า 1,000 บู๊ธ
โดยปีนี้จัดในรูปแบบของ Fair in Fair แบ่งเป็น 6 กลุ่ม กลุ่ม อุ ต สาหกรรมหลั ก ได้ แ ก่ ส่ ว นแสดงสิ น ค้ า ของกลุ่ ม สิ่ ง ทอ กลุ่ ม เสื้ อ ผ้ า เครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม กลุ่ ม เครื่ อ งหนั ง กลุ่ ม Fashion Accessories กลุ่มดีไซน์เนอร์ และกลุ่ม Machinery พร้อมทั้ง เปิดโอกาสให้เกิดการเจรจาการค้า จับคู่ธุรกิจ เกิดการเชื่อมโยง Supply Chain เพื่อยกระดับและส่งเสริมให้ ไทยเป็นศูนย์กลาง สินค้าแฟชั่นในภูมิภาคและในระดับโลก
Thai Textile & Apparel
สถาบันฯ สิ่งทอ ร่วมลงนาม MOU กับโรงงานภายใต้ โครงการ CT
นายวิรัตน์ ตันเดชานุรัตน์ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนา อุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอ ร่ ว มลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง สถาบั น พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอและ 11 โรงงาน ในโครงการ “การใช้เทคโนโลยีสะอาด (Cleaner Technology : CT) สำหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอขนาดกลาง ขนาดเล็กใน ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตร
ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม” ภายใต้ โครงการ “การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรม สิ่งทอครบวงจร” โดยมี นางสาวพีรพร พละพลีวัลย์ ผู้อำนวยการ ศูนย์วิเคราะห์ทดสอบสิ่งทอ ชี้แจงแผนการดำเนินงานโครงการฯ และ นางทิ พ วรรณ พานิ ช การ นั ก วิ ท ยาศาสตร์ อ าวุ โ ส กล่ า ว ต้อนรับ เมื่อวันอังคารที่ 29 มีนาคม 2554ณ ห้องมรกต ชั้น 12 โรงแรมวินเซอร์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ
ibank ร่วมกับ สถาบันฯ สิ่งทอ เดินหน้ายกระดับวิสาหกิจชุมชน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ นายธีรศักดิ์ สุวรรณยศ กรรมการผู้จัดการธนาคารอิสลาม แห่ ง ประเทศไทย (ท่ า นที่ ส องจากซ้ า ยมื อ ) เป็ น ประธาน เปิ ด ตั ว โครงการ ibank ยกระดับอุตสาหกรรมเครื่องแต่งกายมุสลิม โดย มี นายวิรัตน์ ตันเดชานุรัตน์ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรม สิ่งทอกล่าวเรื่องแผนงานการดำเนินโครงการฯ พร้อมชมการแสดง แฟชั่ น โชว์ ชุ ด เครื่ อ งแต่ ง กายมุ ส ลิ ม ผลงานจากสถาบั น พั ฒ นา อุตสาหกรรมสิ่งทอ เมื่อวันจันทร์ที่ 7 มีนาคม 2554 ณ ห้องธาราเทพ ฮอล์ล โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค
Thai Textile & Apparel
ธสน. จัดอบรมแลกเปลี่ยนความรู้กับกรมส่งเสริมการส่งออก นายชนะ บุณยะชัย (ขวาสุด) ผู้อำนวย การอาวุ โ ส ฝ่ า ยกลยุ ท ธ์ แ ละพั ฒ นาธุ ร กิ จ ธนาคารเพื่อการส่งออก และนำเข้าแห่งประเทศ ไทย (ธสน.) นายเขมทัศน์ สายเชื้อ ผู้อำนวยการ ฝ่ายส่งเสริมธุรกิจ 1 และนางสุธาทิพ ภัทรวิมลพร (ที่ 2 จากขวา) ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริม ธุ ร กิ จ 2 ธสน. ร่ ว มเป็ น วิ ท ยากรการอบรม หลักสูตร “บริการทางการเงินเพื่อการส่งออก และการลงทุ น ” ภายใต้ โ ครงการแลกเปลี่ ย น ความรู้ ร ะหว่ า ง ธสน. กั บ กรมส่ ง เสริ ม การส่ ง ออก กระทรวงพาณิ ช ย์ โดยมี น ายวุ ฒิ ชั ย ดวงรัตน์ (ที่ 2 จากซ้าย) รองอธิบดีกรมส่งเสริม การส่ ง ออก เป็ น ประธานกล่ า วเปิ ด การอบรม ณ กรมส่งเสริมการส่งออกเมื่อเร็วๆ นี้
สมอ.จับมือสถาบันสิ่งทอฯ หนุนสิ่งทอติดฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์ ส ำ นั ก ง า น ม า ต ร ฐ า น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม (สมอ.) ร่ ว มกั บ สถาบั น พั ฒ นา อุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอ จั ด สั ม มนา Thailand Green Textile Network หนุนสร้างเครือข่าย สิ่งทอสีเขียวพร้อมมอบใบรับรองฉลากคาร์บอน ฟุตพริ้นท์และโชว์ศักยภาพผลิตภัณฑ์สิ่งทอ รวม กว่า 20 รายการ เพื่อเตรียมความพร้อมด้าน ข้ อ มู ล ให้ กั บ เครื อ ข่ า ยผู้ ผ ลิ ต สิ่ ง ทอที่ เ ป็ น มิ ต ร ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม หรื อ สิ่ ง ทอสี เ ขี ย วในประเทศ และตัวแทนจากบริษัทผู้ซื้อผู้ค้าปลีกสินค้าสิ่งทอ รายใหญ่จากต่างประเทศ รวมทั้งผลักดันให้เกิด การจัดตั้งกลุ่มความร่วมมือสีเขียว
oeko-Tex Standard 100 HOHENSTEIN INSTITUTE THAILAND ได้จัดสัมมนาในหัวข้อการบรรยายเกี่ยวกับเรื่องประโยชน์ ของการได้ รั บ การรั บ รองจากมาตรฐาน oeko-Tex Standard 100 เพื่อให้ผู้ผลิตและผู้ส่งออกได้ทราบถึง ประโยชน์ จ ากการรั บ รองมาตรฐาน oeko-Tex Standard 100 ซึ่งเสมือนได้ GREEN PASSPORT ใน การส่งสินค้าไปทั่วโลก โดยงานสัมมนาจัดขึ้นเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2554 ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค ห้องธาราเทพ ถนนรัชดาภิเษก
Thai Textile & Apparel
DESIGN TREND 201 สมาคมพ่ อ ค้ า ผ้ า ไทย ได้ เ รี ย นเชิ ญ อาจารย์ วิ บู ล ย์ ติ ร มงคล (อาจารย์ ค ณะ มัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และเป็นที่ ปรึกษาของบริษัทชั้นนำอีกหลายแห่ง) มาให้ ความรู้ ความเข้าใจ รวมทั้งให้คำปรึกษา แก่ สมาชิกสมาคมฯ ในหัวข้อ “DESIGN TREND 2011 สร้ า งความแตกต่ า งอย่ า งสร้ า งสรรค์ ทั้งตัวสินค้า และการนำเสนอต่อลูกค้า” ในวัน ศุกร์ที่ 11 เดือนกุมภาพันธ์ 2554
ร่วมแสดงความยินดีกับประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สมาคมพ่อค้าผ้าไทย
สมาคมพ่ อ ค้ า ผ้ า ไทย จั ด เลี้ ย งเพื่ อ แสดงความยิ น ดี วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม กั บ คุ ณ บุ ญ นำ บุ ญ นำทรั พ ย์ ประธานที่ ป รึ ก ษากิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ สมาคมพ่ อ ค้ า ผ้ า ไทย เนื่ อ งในโอกาสรั บ พระราชทานปริ ญ ญา
BIFF & BIL 2011
สมาคมพ่ อ ค้ า ผ้ า ไทย เข้ า ร่ ว มแสดง BIFF&BIL 2011 (Bangkok International Fashion Fair & International Leather Fair 2011) หรืองานสินค้า แฟชั่นและเครื่องหนัง จัดโดยกรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ โดยปีนี้มี แนวคิด Influence The World ณ อาคารชาแลนเจอร์ ศูนย์แสดงสินค้าเมืองทองธานี
Thai Textile & Apparel
EXCLUSIVE interview
‡À≈’¬«À≈—ß·≈Àπâ“ ”‡æÁß 50 ªï นั บ ตั้ ง แต่ ที่ เ กิ ด การรวมกลุ่ ม ของพ่ อ ค้ า ชาวสำเพ็ ง เมื่ อ ปี พ.ศ. 2504 ç ¡“§¡æà Õ §â “ ºâ “ ·Àà ß ª√–‡∑»‰∑¬é จึงได้ถือกำเนิดนับแต่ นั้นเป็นต้นมา ภายใต้บทบาทหน้าที่ ให้ ความช่วยเหลือในด้านต่างๆ ตลอด จนเป็นตัวแทนของผู้ค้าย่านสำเพ็งใน การเสนอความคิดเห็นทั้งต่อภาครัฐ และภาคเอกชน กระทั่ ง ในปี พ.ศ. 2510 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น ç ¡“§¡ À æàէ⓺â“é และในปี พ.ศ. 2548 ได้ เปลี่ยนเป็น ç ¡“§¡æàէ⓺Ⓣ∑¬é จนถึงปíจจุบัน คงไม่เป็นการกล่าวเกินจริงว่า ห้ ว งตลอดระยะ 50 ปี ข องสมาคม
พ่ อ ค้ า ผ้ า ไทย สามารถสะท้ อ นส่ ว น ห นึ่ ง ใ น ห น้ า ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ข อ ง อุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอไทย เพราะ สามารถทำหน้ า ที่ เ ป็ น ดั ช นี ทั้ ง แง่ การเจริ ญ เติ บ โต-ความซบเซาของ อุตสาหกรรมสิ่งทอ ตลอดจนแนวโน้ม แฟชั่ น (Trend) ของตลาดภายใน ประเทศได้เป็นอย่างดี ภ า ย ใ ต้ ภ า พ ลั ก ษ ณ์ ข อ ง สมาคมฯ ที่ขับเคลื่อนออกสู่สังคมนั้น แน่ น อนว่ า จำต้ อ งมี หั ว เรื อ ใหญ่ แ ละ ทีมงานที่ทำหน้าที่ผลักดันให้สมาคมฯ ดำเนินงานตามเจตนารมณ์ของการ ก่อตั้ง ซึ่งผู้สวมบทบาทดังกล่าวก็คือ นายกสมาคมพ่ อ ค้ า ผ้ า ไทย และใน
โอกาสครบรอบ 50 ปีของสมาคมฯ Thai Textile & Apparel จึ ง มี โอกาสพูดคุยกับทีมงานสมาคมพ่อค้า ผ้าไทยในแต่ละยุคสมัย เพื่อสะท้อน มุมมองการค้าในย่านตลาดค้าผ้าอัน เก่าแก่ที่สุดของประเทศ ç ”‡æÁßé คุณถาวร ตันติศิริวิทย์ อดีตนายกสมาคมพ่อค้าผ้า 2 สมัย ระหว่าง พƒษภาคม 2547 ถึง เมษายน 2551 คุ ณ ถาวร ให้ ค วาม เห็นว่า งานในแต่ละยุคแตกต่างกันไป ขึ้ น อยู่ กั บ สถานการณ์ ข องสั ง คม ขณะนั้นจะเกิดอะไรขึ้น อย่างในสมัย ของตนเองนั้นประเด็นหลักที่ดำเนิน
9 Thai Textile & Apparel
การคื อ การให้ ค วามรู้ ในเรื่ อ งภาษี มูลค่าเพิ่ม หรือ vat ซึ่งเป็นเรื่องใหม่ ของรั ฐ บาลสมั ย นั้ น ดั ง นั้ น ตนจึ ง ทำ หน้ า ที่ ตั ว แทนของสำเพ็ ง ในการนำ ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม มาสู่สมาชิก นอกจากนี้ยังเป็นตัวแทน ของสำเพ็งในการเข้าร่วมประชุมกับ องค์กรต่างๆ เพื่อแสดงบทบาทของ สมาคมฯ และให้สมาคมฯ เป็นที่รู้จัก ในวงกว้างมากขึ้น “ ส ำ ห รั บ ผ ม แ ล้ ว คิ ด ว่ า สมาคมฯ พยายามให้การช่วยเหลือ สมาชิกให้ ได้มากที่สุด และช่วงหลังมี การจัดกิจกรรมสำหรับสมาชิกเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้สมาชิกได้รู้จักกันมากขึ้น นอกจากนี้ก็มีคนรุ่นใหม่เข้ามามีส่วน ร่วม ซึ่งเป็นผลดีเพราะจะได้มุมมอง มากขึ้น โดยเฉพาะในยุคดิจิตอลนี้” คุณถาวร กล่าว ตลาดเป็นของผู้ซื้อ ด้านภาพรวมของตลาดสำเพ็ง พบว่าขณะนี้เป็นยุคตามใจผู้ซื้อและไม่ สามารถตั้ ง ราคาขายเองได้ โดย เฉพาะในปี 2553 ที่ผ่านมา วัตถุดิบ
Thai Textile & Apparel 10
โดยเฉพาะฝ้ า ยขาดตลาด ส่ ง ผลให้ ราคาถีบตัวสูงขึ้น โดยราคาผ้าดิบมี ราคาสูงขึ้นร้อยละ 50 ส่วนคอตตอน ร้อยละ 100 ผ้า TC ร้อยละ 30 ด้วย เหตุนี้จึงทำให้ผู้ค้ายังไม่กล้าตัดสินใจที่ จะสต๊อกสินค้าไว้เพื่อรอให้ราคาลดลง ฉะนั้นในครึ่งหลังของปี 2553 ผู้ค้า จึ ง นำสต๊ อ กเก่ า ออกมาระบายขาย แต่ ก็ เ ป็ น ผลดี ที่ ช่ ว ยให้ ผู้ ค้ า สามารถ นำสินค้าเก่ามาขายในราคาที่ดี “ ข ณ ะ นี้ ค า ด ว่ า สิ น ค้ า ใ น สต๊อกของผู้ค้าหลายรายคงหมดแล้ว และบางรายก็เหลือไม่มากนัก แต่การ สั่งซื้อสต๊อกใหม่ก็ต้องรอบคอบและ คงจะไม่สั่งซื้อมากนัก เพื่อลดความ เสี่ ย งในการซื้ อ สิ น ค้ า ราคาแพง อย่ า งไรก็ ต ามขณะนี้ เ กิ ด ปั ญ หาใน เรื่อง supply ที่ ไ ม่เพียงพอ เพราะ แม้ผู้ค้าจะระมัดระวังในการซื้อ และ แม้ จ ะซื้ อ ไม่ ม ากแต่ โ รงงานก็ ยั ง ไม่ สามารถผลิตให้ ได้ตามที่ต้องการได้ หรืออาจกักสินค้าไว้เพื่อรอราคาใหม่ ที่สูงขึ้น” สำหรั บ ไตรมาสแรกของปี 2554 นี้ตลาดค่อนข้างซบเซาลงมาก
“ วั น นี้ จ ำ น ว น ผู้ ค้ า ผ้ า ใ น สำเพ็งไม่มากเท่าในอดีต ด้วย ความเสี่ ย งของการดำเนิ น ธุรกิจสูงขึ้นมากขณะที่ผลกำไร ลดลง อย่างไรก็ตามสำหรับผม พยายามปรั บ ตั ว ด้ ว ยการเน้ น ไปที่ ก ารบริ ก ารที่ ม ากขึ้ น ลด เวลาในการส่งของให้สั้นลง และ เพิ่ ม ความหลากหลายของ สินค้าให้มากขึ้น ซึ่งการปรับตัว เช่นผู้ค้าหลายๆ รายในสำเพ็งก็ คงทำเช่นเดียวกันเพื่อให้ธุรกิจ สามารถเดินหน้าต่อไปได้”
คุณวิชัย เจียมพิทยานุวัฒน์
โดยเฉพาะผ้ า พิ ม พ์ เนื่ อ งจากช่ ว ง เทศกาลสงกรานต์ เ ป็ น ช่ ว งที่ ต ลาด คึ ก คั ก และจะมี ก ารจั บ จ่ า ยใช้ ส อย มาก แต่ ด้ ว ยราคาสิ น ค้ า อุ ป โ ภค บริโ ภคถีบตัวสูงขึ้นจึงทำให้ผู้บริโ ภค ตัดค่าใช้จ่ายที่ ไม่จำเป็นออกไป “ วั น นี้ จ ำ น ว น ผู้ ค้ า ผ้ า ใ น สำเพ็งไม่มากเท่าในอดีต ด้วยความ เสี่ยงของการดำเนินธุรกิจสูงขึ้นมาก ขณะที่ผลกำไรลดลง อย่างไรก็ตาม สำหรับผมพยายามปรับตัวด้วยการ เน้นไปที่การบริการที่มากขึ้น ลดเวลา ในการส่งของให้สั้นลง และเพิ่มความ หลากหลายของสินค้าให้มากขึ้น ซึ่ง การปรั บ ตั ว เช่ น ผู้ ค้ า หลายๆ รายใน สำเพ็ ง ก็ ค งทำเช่ น เดี ย วกั น เพื่ อ ให้ ธุรกิจสามารถเดินหน้าต่อไปได้” คุณวิชัย เจียมพิทยานุวัฒน์ คุ ณ วิ ชั ย อุ ป นายกสมาคม กล่าวว่า โดยภาพรวมของสมาคมฯ ขณะนี้ ได้เป็นที่รู้จักของสังคมมากขึ้น และการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง สมาชิกมีความกระชับมากขึ้นซึ่งนับ เป็นเรื่องที่ดี สำหรับสภาพการค้าใน
ย่ า นสำเพ็ ง โดยเฉพาะตลาดผ้ า ยูนิฟอร์มที่ตนเองดำเนินธุรกิจ พบว่า ตลาดมีการขยายตัวมากขึ้นนับตั้งแต่ ปี 53 ที่ผ่านมา ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า อั ต ราการเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ของ ประเทศขยายตัวดี สำหรับไตรมาส แรกของปี 54 ความต้ อ งการผ้ า ยูนิฟอร์มยังมีอยู่อย่างต่อเนื่อง แม้ ว่ า ในช่ ว งปี 53 วั ต ถุ ดิ บ ประเภทฝ้ า ยจะเกิ ด การขาดแคลน และมีราคาสูงก็ตาม แต่ด้วยผู้ค้าผ้า ยู นิ ฟ อร์ ม ในสำเพ็ ง ส่ ว นใหญ่ มั ก จะ มีการเก็บสต๊อกผ้าค่อนข้างมากจึงไม่ ได้รับผลกระทบในเรื่องนี้ นอกจากผ้า ยู นิ ฟ อร์ ม แล้ ว ผู้ ค้ า ผ้ า ชุ ด นั ก เรี ย นจะ ได้ประโยชน์จากสถานการณ์นี้ เพราะ ปกติ ก ารสั่ ง ซื้ อ ผ้ า ชุ ด นั ก เรี ย นจะทำ ล่ ว งหน้ า 1 ปี แสดงว่ า ชุ ด นั ก เรี ย น ที่จะออกสู่ตลาดในปีนี้ ได้มีการซื้อขาย ก่อนแล้วในราคาปี 53 ที่ผ่านมา “การที่ตลาดผ้ายูนิฟอร์มขยาย ตัวต่อเนื่อง แสดงให้เห็นว่าเศรษฐกิจ บ้านเราดีเพราะผู้ประกอบการมีการ จ้างงานเพิ่มมากขึ้น หรือมีผู้ประกอบ การรายใหม่เพิ่มขึ้น ส่วนชุดนักเรียน เป็นอีกตลาดที่จะได้ประโยชน์ ในปีนี้ กระนั้ น ก็ ต ามการขึ้ น -ลงของตลาด ค้ า ผ้ า สำเพ็ ง เชื่ อ มโยงกั บ ตลาดโลก ซึ่ ง สามารถสะท้ อ นภาวะเศรษฐกิ จ ของประเทศได้ดี” คุณวิชัย กล่าว ขาดแคลนแรงงาน อย่างไรก็ตาม ขณะนี้สำเพ็งได้ เกิ ด ภาวะขาดแคลนแรงงานอย่ า ง หนั ก อั น อาจเป็ น ผลจากที่ โ รงงาน อุ ต สาหกรรมได้ ก ระจายไปยั ง ต่ า ง จั ง หวั ด โดยเฉพาะในเขตหั ว เมื อ ง ใหญ่ๆ ของแต่ละภาค ดังนั้นจึงทำให้
11 Thai Textile & Apparel
แรงงานซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนต่างจังหวัด ได้อพยพกลับภูมิลำเนาเดิมมากขึ้น ถึง แม้ ว่ า ผู้ ป ระกอบการจะเพิ่ ม ค่ า จ้ า งให้ มากกว่าแรงงานขั้นต่ำก็ตาม “ปัญหาการขาดแคลนแรงงาน เป็ น ปั ญ หาใหญ่ ม ากเราไม่ ส ามารถหา แรงงานเพิ่ ม ได้ ส่ ว นการหาแรงงาน ต่างด้าวก็ ไม่ ใช่เป็นทางออกที่ดี เพราะ แรงงานต่างด้าวไม่สามารถทำงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพเท่าแรงงานไทย” คุณเชื้อไข โตศะศุข ในฐานะรองเลขาธิการสมาคมฯ รุ่ น ใหม่ ที่ น่ า จั บ ตามองของสมาคมฯ ให้ความเห็นว่า สิ่งที่สมาคมฯ เน้นยัง เป็ น งานด้ า นการให้ ค วามรู้ แ ก่ ส มาชิ ก ทั้ ง ในรู ป ของงานสั ม มนา การอบรม การศึกษางานนอกสถานที่ ทั้งนี้เพื่อให้ สมาชิกเตรียมพร้อมกับการเป็นแหล่ง สินค้า หรือ sourcing ให้กับประเทศใน อาเซียนและประเทศอื่นๆ ด้วยขณะนี้ ออร์เดอร์จากจีนเคลื่อนมาที่ ไทยเพิ่มขึ้น ตลอดจนนโยบายอาเซี ย นเป็ น หนึ่ ง จึ ง นั บ เป็ น โอกาสที่ ดี ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น กั บ ผู้ประกอบการในสำเพ็ง ภัยธรรมชาติกระทบตลาด คุ ณ เชื้ อ ไขให้ ค วามเห็ น ต่ อ ใน ตลาดอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอว่ า ผลจาก อุ ท กภั ย ที่ ภ าคใต้ เ มื่ อ มี น าคมที่ ผ่ า นมา ได้ ส่ ง ผลต่ อ ผู้ ค้ า บางส่ ว นในสำเพ็ ง โ ด ย เ ฉ พ า ะ พื้ น ที่ ห า ด ใ ห ญ่ แ ล ะ นครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นตลาดใหญ่ ใน ส่ ว นสิ น ค้ า ผ้ า โสร่ ง และโดยเฉพาะ หาดใหญ่ซึ่งต้องประสบกับอุทกภัยถึง 2 ครั้งในช่วงปลายปี 2553 และเมื่อ
Thai Textile & Apparel 12
คุณเชื้อไข โตศะศุข
มี น าคมที่ ผ่ า นมา ยิ่ ง ทำให้ ต ลาด ซบเซามากยิ่งขึ้น สำหรั บ ภาพรวมธุ ร กิ จ นั้ น ขณะนี้ อ ยู่ ใ นภาวะแบกรั บ ต้ น ทุ น ที่ สู ง ขึ้ น เพราะวั ต ถุ ดิ บ คื อ ฝ้ า ย ขาดแคลนและราคาสู ง ขึ้ น อย่ า ง ต่อเนื่อง แม้จะมีการปรับราคาขึ้น บ้างแต่ก็ ไม่มากนัก “ผมเชื่อว่าการที่ฝ้ายปรับตัว สูงขึ้นนั้น ส่วนหนึ่งมาจากการปั่น ราคาในตลาดล่ ว งหน้ า อย่ า งไร ก็ ต ามคาดว่ า ราคาคงจะต้ อ งปรั บ ลงจากวงจรเศรษฐกิ จ ที่ ขึ้ น ไปสู ง ก็ จ ะต้ อ งตกลง แต่ ปั ญ หาคื อ จะ ตกลงเท่าไรและเมื่อไรเพราะขณะนี้ สินค้าในสต๊อกเหลือไม่มากกันแล้ว” คุณเชื้อไข กล่าว T& T
“ปัญหาการขาดแคลนแรงงาน เ ป็ น ปั ญ ห า ใ ห ญ่ ม า ก เ ร า ไ ม่ ส า ม า ร ถ ห า แ ร ง ง า น เ พิ่ ม ไ ด้ ส่ ว นการหาแรงงานต่ า งด้ า วก็ ไม่ ใ ช่ เ ป็ น ทางออกที่ ดี เพราะ แรงงานต่ า งด้ า วไม่ ส ามารถ ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เท่าแรงงานไทย”
COVER story
ตลาด Sport Wear ยั ง เติ บ โตต่ อ เนื่ อ ง จากรายงานของ Global Industry Analysts, Inc. ระบุ ว่ า ตลาดเสื้อผ้ากีฬาและชุดฟิตเนสจะมี มู ล ค่ า ขึ้ น ไปถึ ง 126.30 ล้ า นล้ า น เหรียญสหรัฐ ในปี 2015 อันเป็นผล จากไลฟ์สไตล์ของผู้คนให้ความสนใจ กับการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้นโดย เฉพาะในกลุ่มสตรี ซึ่งจะเป็นกลุ่มหลัก ที่มีความต้องการเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ ชุ ด ที่ ส ามารถผสมผสานได้ อ ย่ า ง กลมกลื น ระหว่ า งฟั ง ก์ ชั น ที่ มี ก ารใช้ งานพิเศษ อาทิ ความเบาบาง ไร้กลิ่น ซับเหงื่อได้รวดเร็ว ยืดหยุ่น ฯลฯ กับ ด้ า นรู ป แบบแฟชั่ น เสื้ อ ผ้ า เพื่ อ ให้ สามารถสวมใส่ ไ ด้ ใ นชี วิ ต ประจำวั น นอกจากนี้ จ ำนวนผลจากจำนวน ประชากรในประเทศเศรษฐกิ จ ใหม่
Thai Textile & Apparel 14
อย่ า งเอเชี ย และละติ น อเมริ ก าช่ ว ย ให้ ก ารบริ โ ภคเสื้ อ ผ้ า กี ฬ าเพิ่ ม ขึ้ น เช่นกัน การบริโภคเสื้อผ้ากีฬาที่เพิ่ม ขึ้นไม่เฉพาะแต่ตลาดในอเมริกาและ ยุโรปเท่านั้น แม้แต่ตลาดเอเชียโดย เฉพาะจี น และอาเซี ย นก็ มี ค วาม ต้องการบริโ ภคเพิ่มขึ้นเช่นกัน จาก ยอดขายในตลาดเอเชียพบว่ามีอัตรา การขยายตัวต่อเนื่องแม้ ในช่วงเวลาที่ เกิ ด เศรษฐกิ จ ตกต่ ำ ก็ ต าม ไม่ ว่ า จะ เป็ น เอเชี ย -แปซิ ฟิ ก ละติ น อเมริ ก า ห รื อ แ ม้ แ ต่ ป ร ะ เ ท ศ ด้ อ ย พั ฒ น า ตะวันออกกลางและแอฟริกาก็ตาม ปั จ จุ บั น ตลาดใหญ่ อั น ดั บ หนึ่งคือ สหรัฐอเมริกา รองลงมาคือ ยุ โ รปและเอเชี ย -แปซิ ฟิ ก และจาก
งานวิ จั ย ของ Sport and Fitness Clothing รายงานว่า ประเทศในกลุ่ม เอเชียที่มีความต้องการบริโ ภคอย่าง รวดเร็ ว ได้ แ ก่ จี น อิ น เดี ย ฮ่ อ งกง ออสเตรเลี ย โดยคาดว่ า อั ต ราการ เติ บ โตจะมากกว่ า ร้ อ ยละ 4 ในปี 2015 สำหรับสัดส่วนการตลาดใน แต่ ล ะแบรนด์ นั้ น ในสหรั ฐ อเมริ ก า ร้ อ ยละ 70 ครอบครองโดย Nike, Reebok และ Adidas ที่เหลือเป็น แบรนด์ Asics, Fila, Kappa, Lotto, Mizuno, New Balance Puma และ Umbro สำหรับในจีน Nike ยัง เป็นผู้นำโดยมีสัดส่วนมูลค่า 10 ล้าน ล้านเหรียญ หรือร้อยละ 16.7 ขณะที่ แบรนด์ Li Ning อยู่ อั น ดั บ สองมี
สัดส่วนร้อยละ 14.2 อันดับสามคือ Adidas มีสัดส่วนร้อยละ 13.9 กลุ่มสินค้าระดับบน-กลาง ใน ประเทศก็ขยายตัวเช่นกัน ด้านประเทศไทยซึ่งปัจจุบัน ได้ ก ลายเป็ น ฐานการผลิ ต สิ น ค้ า เสื้ อ ผ้ า กี ฬ าอั น ดั บ 2 ของโลก จาก รายงานของศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาด ว่ า ตลาดชุ ด กี ฬ าของไทยปี 2553 มีมูลค่าประมาณ 4,000-6,000 ล้าน บาท ขยายตัวประมาณร้อยละ 1015 อันเป็นผลจากกระแสการแข่งขัน ฟุตบอลโลก 2010 และการแข่งขัน กีฬาเอเชียนเกมส์ โดยจีนเป็นเจ้าภาพ เมื่อปลายปีที่ผ่านมา รายงานยังระบุอีกว่า ตลาด ของชุดกีฬาภายในประเทศได้จำแนก ตามความแตกต่างทางด้านราคา โดย แบ่งตลาดออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ 1. ชุดกีฬาสำหรับตลาดบน ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ชุ ด นำเข้ า จากต่ า ง ประเทศและเป็ น แบรนด์ ชั้ น นำของ โลก โดยสนนราคาจะอยู่ที่ประมาณ 1,000 บาทขึ้นไป ปัจจุบันตลาดกลุ่ม นี้มีสัดส่วนประมาณร้อยละ 20 ของ ตลาดชุดกีฬาทั้งหมด คิดเป็นมูลค่า ประมาณ 800-1,200 ล้ า นบาท ผู้ บริโ ภคสินค้ากลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ ที่ มี ก ำลั ง ซื้ อ สู ง และพฤติ ก รรมการ ตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้บริโ ภคกลุ่มนี้ ส่ ว นใหญ่ จ ะมี ค วามภั ก ดี ใ นแบรนด์ (Loyalty) และมีความชื่นชอบในตัว นั ก กี ฬ าหรื อ ที ม การแข่ ง ขั น จนเกิ ด ความต้ อ งการซื้ อ เพื่ อ มาใส่ เ ล่ น กี ฬ า หรือซื้อเพื่อเก็บสะสม นอกจากนี้ยัง ให้ ค วามสำคั ญ ในเรื่ อ งของคุ ณ ภาพ ของสินค้าอีกด้วย
2. ชุ ด กี ฬ าสำหรั บ ตลาด กลาง ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น แบรนด์ ข องคน ไทย และชุดที่ลอกเลียนแบบแบรนด์ ชั้นนำของโลก แต่คุณภาพของสินค้า อาจไม่เทียบเท่า โดยสนนราคาจะอยู่ ที่ประมาณ 300-1,000 บาท ตลาด กลุ่มนี้มีสัดส่วนประมาณร้อยละ 50 ของตลาดชุดกีฬาทั้งหมด หรือคิดเป็น มูลค่าประมาณ 2,000-3,000 ล้าน บาท ด้านพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อ ข อ ง ผู้ บ ริ โ ภ ค ใ น สิ น ค้ า ก ลุ่ ม นี้ จ ะ พิจารณาจากปัจจัยทางด้านราคาเป็น
“การเล่นกีÃาในตะ«ันตก ก”ลังเปìนที่นิยมมาก อีก ทั้งอิท∏ิพลของนักกีÃาที่ เ ปì น ด า « เ ด่ น อ ย่ า ง โรนั ล โด ™่ « ยกระตุ้ น ให้ เกิดการ∫ริโ¿คใน ินค้าที่ เขาเปìนพรีเซÁนเตอรåร«ม ∂÷ง ินค้าอ◊่นÊ ด้«ย”
หลักเพราะมีกำลังซื้อไม่สูงมากนัก ดัง นั้นผู้ประกอบการ∏ุรกิจชุดกีฬาที่จับ ตลาดระดั บ กลางจะเน้ น การใช้ กลยุท∏์ทางด้านราคาในการแข่งขัน ในตลาดเป็นหลัก 3. ชุดกีฬาสำหรับตลาดล่าง ส่วนใหญ่จะเป็นชุดที่เป็นแบรนด์ของ คนไทยผลิตและหันไปจับตลาดระดับ ล่าง รวมถึงเป็นชุดกีฬาที่ ไม่มีแบรนด์ และชุ ด กี ฬ าที่ มี ก ารลอกเลี ย นแบบ แบรนด์ ชั้ น นำของโลกแต่ คุ ณ ภาพ แตกต่ า งกั น ตลาดกลุ่ ม นี้ มี สั ด ส่ ว น ประมาณร้อยละ 30 ของมูลค่าตลาด ชุ ด กี ฬ าทั้ ง หมด หรื อ คิ ด เป็ น มู ล ค่ า ประมาณ 1,200-1,800 ล้ า นบาท ราคาของชุ ด กี ฬ าจะอยู่ ที่ ป ระมาณ ไม่ เ กิ น 300 บาท ผู้ บ ริ โ ภคกลุ่ ม นี้ มี ข้อจำกัดในเรื่องของรายได้ และไม่ ได้ ให้ ค วามสำคั ญ ของคุ ณ ภาพมากนั ก ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า ในปี 2554 นี้ ตลาดชุ ด กี ฬ าในประเทศน่ า จะมี การแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้นระหว่าง สิ น ค้ า นำเข้ า และสิ น ค้ า ที่ ผ ลิ ต ใน ประเทศ นอกจากนี้ยังคาดว่าตลาด ยังคงมีแนวโน้มเติบโตจากกระแสการ ตื่นตัวทางด้านกีฬาของคนในประเทศ โดยเฉพาะชุ ด กี ฬ าสำหรั บ ตลาดบน และกลาง ดังนี้
15 Thai Textile & Apparel
1. ชุดกีฬาสำหรับตลาดบน มีปัจจัยสำคัญได้แก่ - ผู้ บ ริ โ ภคหั น มาสนใจชุ ด กีฬาแบรนด์เนมมากขึ้น เนื่องจากมี นวัตกรรมที่ทันสมัย ประกอบกับมีรูป แบบคอลเลคชั่นใหม่ๆ หรือมีการเปิด ตั ว สิ น ค้ า โดยใช้ นั ก กี ฬ าที่ มี ชื่ อ เสี ย ง ระดับโลกจนทำให้เกิดแรงจูงใจ อีกทั้ง ยังสามารถขยายตัวได้จากบรรดาคน เ ล่ น กี ฬ า ที่ มี ค ว า ม จ ง รั ก ภั ก ดี (Loyalty) ในตัวสินค้าแบรนด์เนมที่ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักระดับโลก - การออกแบบชุดกีฬาที่เป็น แฟชั่นมากขึ้น ผู้บริโ ภคสามารถสวม
Thai Textile & Apparel 16
ใส่ ในรู ป แบบของชุ ด กี ฬ าลำลอง (Sport Casual) มากขึ้ น ส่ ง ผลให้ โอกาสในการขายชุดกีฬาที่เป็นแฟชั่น มีมากขึ้น เพราะไม่ ได้จำกัดว่าต้องใส่ เล่นกีฬาเท่านั้น เท่ากับเป็นการเพิ่ม ความถี่ ในการบริโ ภคสินค้าประเภท ชุดกีฬา โดยไม่ต้องสร้างพฤติกรรม การเล่นกีฬาเหมือนอุปกรณ์กีฬาอื่นๆ - ร้ า น จ ำ ห น่ า ย ชุ ด กี ฬ า แบรนด์เนมมากขึ้น - ค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น 2. ชุ ด กี ฬ าสำหรั บ ตลาด ระดับกลาง แนวโน้มที่ทำให้ขยายตัว ได้แก่ - การแข่ ง ขั น กี ฬ าภายใน ประเทศที่ มี ค วามเป็ น อาชี พ มากขึ้ น โดยเฉพาะการแข่ ง ขั น กี ฬ าฟุ ต บอล ไทยแลนด์ ลี ก สามารถก่ อ ให้ เ กิ ด กระแสตื่นตัว - การแข่ ง ขั น กี ฬ าซี เ กมส์ ครั้ ง ที่ 26 ในปี 2554 ที่ ป ระเทศ อิ น โดนี เ ซี ย น่ า จะเป็ น ปั จ จั ย หนึ่ ง ที่ กระตุ้นความต้องการเล่นกีฬาของคน ไทยในปีหน้าให้เพิ่มขึ้น - การขยายฐานลูกค้าในวง กว้างมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันผู้ ประกอบการผลิตชุดกีฬาของไทยได้มี การขยายฐานลูกค้าชุดกีฬาไปในกลุ่ม สถานศึกษา สโมสรกีฬาต่างๆ หน่วย งานราชการต่างๆ มากขึ้น หรือการ เป็นสปอนเซอร์การแข่งขันกีฬาต่างๆ โดยเฉพาะในต่างจังหวัดที่มักมีการจัด กิ จ กรรมการแข่ ง ขั น กี ฬ าอยู่ เ ป็ น ประจำ ส่งผลให้ความต้องการใช้ชุด กีฬายังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จะเห็นได้ ว่ า ตลาดเสื้ อ ผ้ า กี ฬ าไม่ ว่ า จะใน ประเทศหรือต่างประเทศ ต่างมีแนว โน้ ม ที่ ข ยายตั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดย
เฉพาะตลาดระดับบนและกลาง ดัง นัั้นในฐานะผู้ผลิตไทยที่สามารถก้าว ขึ้นมามีบทบาทในตลาดโลกมากยิ่งขึ้น ในขณะนี้ จึ ง เป็ น ช่ ว งจั ง หวะสำคั ญ ของผู้ประกอบการในการพัฒนาเสื้อ กีฬาไม่ว่าจะด้านคุณภาพ เทคโนโลยี ดีไซน์ ในการขยายตลาดให้กว้างขึ้น
“การขยายฐานการผลิ ต โดยเฉพาะกลุ่มในประเทศ อาเซี ย น เพราะต้ อ งการ ลดปั ญ หาด้ า นแรงงานที่ ขาดแคลนอี ก ทั้ ง การลด ต้นทุนการผลิต” เสื้อกีฬายังขยายตัวต่อเนื่อง ใ น ว ง ก า ร อุ ต ส า ห ก ร ร ม การ์เม้นท์ขนาดใหญ่ มีเพียงไม่กี่ราย เท่านั้นที่สามารถได้รับความไว้วางใจ ให้เป็นผู้ผลิตให้กับแบรนด์ชั้นนำระดับ โลก และหนึ่ ง ในนั้ น คื อ LibInter Group การ์เม้นท์ขนาดใหญ่ที่รับจ้าง ผลิตให้กับแบรนด์ Adidas, Puma, The Nor th Face คุ ณ สรั ญ ญา ทองยู Merchandising Manager กล่ า วว่ า ตลาดเสื้ อ ผ้ า กี ฬ าในปี 54 คาดว่าจะมียอดการผลิตที่ 2 ล้านชิ้น ขณะที่ปีที่ผ่านมามี 1.5 ล้านชิ้น ทั้งนี้ เนื่องจากผู้บริโภคได้ ให้ความสนใจต่อ เรื่ อ งสุ ข ภาพมากยิ่ ง ขึ้ น โดยเฉพาะ กิจกรรมการออกกำลังกายทั้งในร่ม และกลางแจ้ ง อี ก ทั้ ง กระแสความ นิ ย มเรื่ อ งกี ฬ าขยายในวงกว้ า งมาก
คุณสรัญญา ทองยู
ยิ่งขึ้น ซึ่งนับเป็นผลดีต่ออุตสาหกรรม การ์เม้นท์ ในประเทศ การขยายตัวของชุดกีฬานับ เป็นโอกาสที่ดี แต่ยังมีอุปสรรคสำคัญ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในกลุ่ ม ผู้ ป ระกอบการคื อ การขาดแคลนแรงงานที่รุนแรงมาก ยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้ล่าสุดบริษัทฯ จึงได้ ข ย า ย ฐ า น ก า ร ผ ลิ ต เ พิ่ ม ไ ป ยั ง อิ น โดนี เ ซี ย โดยได้ เ ริ่ ม ผลิ ต แล้ ว เมื่ อ กลางปี 2553 หลั ง จากที่ ได้ ข ยาย กำลังการผลิตไปแล้วที่เวียดนามเมื่อ ปี 2550 “การขยายฐานการผลิตโดย เฉพาะกลุ่มในประเทศอาเซียน เพราะ ต้ อ งการลดปั ญ หาด้ า นแรงงานที่ ขาดแคลนอี ก ทั้ ง การลดต้ น ทุ น การ ผลิต” คุณสรัญญา กล่าว
พลเมืองโลกสนใจด้านสุขภาพ เพิ่มขึ้น สำหรับ บริษทั ไฮ-เทค แอพพาเรล จำกัด ผู้รับจ้างผลิตที่เป็นหลัก ให้ กั บ แบรนด์ ไนกี้ นอกจากนี้ ยั ง มี แบรนด์ อื่ น ๆ อย่ า ง Perry Ellis, Jockey, Tommy Hilfiger เป็นต้น คุ ณ วิ รั ช ตั้ ง คาร ผู้จัดการฝ่ายการ ตลาด กล่าวว่า การลงดวลแข้งในลีด ของสโมสรต่างๆ ของยุโรป รวมถึง การย้ า ยค่ า ยของนั ก เตะชื่ อ ดั ง ทำให้ ความต้องการบริโ ภคชุดกีฬามากขึ้น ประกอบกับประชาชนทั่วโลกให้ความ สนใจต่ อ สุ ข ภาพ อี ก ทั้ ง ภาครั ฐ ของ ประเทศต่ า งๆ โดยเฉพาะสหรั ฐ ฯ ออกรณรงค์ ให้คนอเมริกันออกกำลัง มากขึ้น เพื่อลดปัญหาโรคจากภาวะ อ้วน เช่น เบาหวาน หัวใจ ฯลฯ โดย หวังว่าจะสามารถลดงบประมาณการ
รั ก ษาพยาบาลของคนอเมริ กั น ได้ เหล่ า นี้ ล้ ว นเป็ น ปั จ จั ย ให้ มี อ อร์ เ ดอร์ เพิ่มขึ้น นอกจากนี้นโยบายของไนกี้ ต้องการควบคุมเรื่องต้นทุน จึงได้ลด จำนวนคู่ค้าที่เป็นโรงงานขนาดเล็กให้ น้อยลง ดังนั้นออร์เดอร์ที่หายไปจะไป เพิ่มให้กับโรงงานที่มีความพร้อมเป็น ผู้ผลิตให้ จึงเป็นโอกาสของ ไฮ-เทค แอพพาเรล ที่สามารถรับออร์เดอร์ จากไนกี้ เ พิ่ ม ขึ้ น คาดว่ า ในปี นี้ จ ะมี ยอดการผลิตที่ 9.6-10 ล้านชิ้น แบ่ง เป็นเสื้อกีฬา ร้อยละ 70 ที่เหลือเป็น กางกางเกงบาส เพิ่มจากปี 2553 ซึ่ง มียอดการผลิตที่ 9 ล้านชิ้น “การเล่ น กี ฬ าในตะวั น ตก กำลั ง เป็ น ที่ นิ ย มมาก อี ก ทั้ ง อิ ท ธิ พ ล ของนั ก กี ฬ าที่ เ ป็ น ดาวเด่ น อย่ า ง โรนั ล โด ช่ ว ยกระตุ้ น ให้ เ กิ ด การ
คุณวิรัช ตั้งคาร
17 Thai Textile & Apparel
Mr. Jouni Heineken (ขวา) Mr. Finnian Stephens (ซ้าย) Supply Chain Manager
∫ริโ¿คในสินค้าที่เขาเป็นพรีเซÁนเตอรå รวม∂÷ ง สิ น ค้ า อ◊่ น Ê ด้ ว ย” คุ ณ วิ รั ช กล่าว เช่ น เดี ย วกั น กั บ ผู้ ผ ลิ ต ราย อื่ น ๆ ที่ ก ำลั ง เผชิ ญ กั บ ปั ญ หาการ ขาดแคลนแรงงานที่ รุ น แรงมากขึ้ น การแก้ปัญหาจึงขยายการผลิตไปยัง ประเทศในอาเซี ย น นอกจากนี้ ใน เรื่องของการแสวงหานวัตกรรม เช่น วัตถุดิบเส้นใยที่มีฟังก์ชันพิเศษ หรือ วิ∏ีการเย็บที่ ไร้รอยตะเข็บ เหล่านี้จะ เป็นสิ่งที่ผู้บริโภคต้องการมากขึ้น ยังได้เปรียบที่ภาพลักษณ์ ด้ า น jH-Premium Co., Ltd. ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ฯ ที่ รั บ จ้ า งผลิ ต เสื้อกีฬาจากยุโรป แคนาดา สิงคโปร์ J o u n i H e i n e k e n กรรมการ ผู้ จั ด การ กล่ า วว่ า เสื้ อ ผ้ า กี ฬ าเป็ น
Thai Textile & Apparel 18
สินค้าที่มีความนิยมมากในยุโรปโดย เฉพาะกีฬาประเภทฟุตบอล เนื่องจาก มี ที ม ฟุ ต บอลค่ อ นข้ า งมาก อี ก ทั้ ง มี แฟนๆ ลู ก หนั ง จำนวนมากเช่ น กั น และการที่ เ ขาตั ด สิ น ใจมาลงทุ น ทำ ∏ุรกิจด้านการ์เ ม้นท์ ในไทยเนื่องจาก สิ น ค้ า จากไทยมี ภ าพลั ก ษณ์ ที่ ดี โ ดย เฉพาะในเรื่องคุณภาพ อีกทั้งในเรื่อง ของความซื่ อ สั ต ย์ ต่ อ ลู ก ค้ า ยั ง เป็ น จุดเด่นของไทย เขาจึงตัดสินใจเลือก ทำ∏ุรกิจในไทยมากกว่าจีน “สินค้า®าก‰ทยเป็นสินค้าที่ สามาร∂ให้ ค วามเช◊่ อ มั่ น ในด้ า น คุณ¿าพ®ากลูกค้า” เขากล่าว อย่างไรก็ตาม jH-Premium Co., Ltd. เป็นเพียงผู้ประกอบการที่ รับออร์เดอร์จากต่างประเทศและส่ง ต่ อ ให้ โ รงงานการ์ เ ม้ น ท์ ใ นไทยผลิ ต ดังนั้นการควบคุมคุณภาพให้ ได้ตรง
กับความต้องการไม่ว่าจะเป็นวัตถุดิบ อย่างเส้นด้าย การฟอกย้อม ตลอด จนการตัดเย็บที่ประณีต ฯลฯ จึงเป็น หัวใจหลักของการดำเนินงาน “ปั ® ®ุ ∫ั น โรงงานผลิ ต เส้ น ด้ายใน‰ทยมีศักย¿าพในการผลิต‰ด้ ดั ง นั้ น เรา®÷ ง ‰ม่ ต้ อ งนำเข้ า เส้ น ด้ า ย ®าก‰ต้หวัน” นอกจากการรั บ จ้ า งผลิ ต แล้ ว ขณะนี้ บ ริ ษั ท ฯ ได้ ผ ลิ ต เสื้ อ ผ้ า อย่าง ready to wear อาทิ เสื้อเชิ้ต โปโล แจ็กเก็ต เสื้อยืด ภายใต้แบรนด์ çxplyé เมื่อปี 2553 ที่ผ่านมา ออก สู่ตลาด คาดว่าแบรนด์ çxplyé จะได้ รั บ การตอบรั บ จากตลาดอย่ า ง แน่นอน สัญญาณที่ดี ในตลาดเสื้อผ้า กี ฬ าจึ ง น่ า จะเป็ น อี ก หนึ่ ง เซ็ ก เม้ น ท์ ของอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอไทย ที่ จ ะ สามารถก้าวไปเป็นผู้นำด้าน sport wear ได้ ไม่ยาก T& T
NEWS release INVISTAûS PARENT COMPANY DONATES $1 MILLION FOR JAPAN RELIEF EFFORTS
TOKYO, Japan (24 March 2011) › In the wake of the March 11 earthquake and tsunami in Japan, INVISTAûs parent company, Koch Industries, Inc., is donating $1 million for disaster relief efforts, giving $500,000 each to the American Red Cross and The Salvation Army. çOur hearts go out to the people of Japan as they deal with overwhelming and unfolding challenges,é said Dave Robertson,
president and COO of Koch Industries. çAlthough our presence in Japan is small with only seventy-five employees, this is an important humanitarian effort. We hope these funds will help the Japanese people as they set out on the path to recovery.é INVISTA has offices in To k y o a n d O s a k a , w i t h 3 6 employees working in the fiber, chemical intermediates and
polymer markets across Asia. INVISTA is also part of a fiberproduction venture in Shiga. çWe are so thankful that our colleagues in Japan are safe and accounted for,é said Richard Dobzelecki, Managing Director for Asia Pacific of INVISTA. çWe extend our deepest condolences to the victims of the catastrophic Tohoku ear thquake and the resulting tsunami, and our heartfelt wish for the speedy reconstruction of the affected areas.é In addition to the $1 million donation from Koch Industries, Georgia-Pacific LLCfianother Koch companyfi is contributing its bath tissue and paper towels, and Dixie ˙ brand plates, cups and tableware, to the ongoing relief effort through organizations like Convoy of Hope and Feed The Children.
About INVISTA INVISTA is one of the worldûs largest integrated producers of polymers and fibers, primarily for nylon, spandex and polyester applications. With a business presence in over 20 countries, INVISTAûs global businesses deliver exceptional value for their customers through technology innovations, market insights and a powerful portfolio of global trademarks including: ADI-PURE˙, ANTRON˙, AVORA˙, C12TM, COMFOREL˙, COOLMAX˙, CORDURA˙, CORFREE˙, DACRON˙, DBE˙, DYTEK˙, FLEXISOLV TM, FRESHFX ˙, LYCRA ˙, PERFORMATM, POLARGUARD ˙, POLYSHIELD ˙, POLYCLEAR ˙, SOLARMAX ˙, STAINMASTER˙, SUPPLEX˙, SUPRIVATM, TACTEL˙, TACTESSE˙, TERATE˙, TERATHANE˙ and THERMOLITE˙. For more information, visit www.INVISTA.com. About Koch Industries, Inc. Based in Wichita, Kan., Koch Industries, Inc. is one of the largest private companies in America according to Forbes magazine. It owns a diverse group of companies involved in refining and chemicals; process and pollution control equipment and technologies; minerals; fertilizers; polymers and fibers; commodity trading and services; forest and consumer products; and ranching. Koch companies have a presence in nearly 60 countries and employ about 70,000 people. Since 2003, Koch companies have completed more than $32 billion in acquisitions and investments, and nearly $11 billion in capital expenditures.
Local Agency : Bayer Thai Co., Ltd Agency Business/Textile Processing Chemicals
20
Thai Textile & Apparel
130/1 North Sathon Rd, Silom, Bangrak, Bangkok 10500 Thailand Tel : 0 2232 7299 - 7318 Fax : 0 2266 5422
SPECIAL interview 1
ย้ำผลิตสินค้าตามความต้องการของตลาดคือ
ความสำเร็จที่แท้จริง เป็ น อี ก ก้ า วของความสำเร็ จ จากอั ต ราเติ บ โต ของปี 53 ที่ผ่านมา บริษัท พรีเชียส เคมีคอล จำกัด ผู้ ผ ลิ ต และจำหน่ า ยสี pigment ยั ง คงสามารถครอง ตลาดความนิ ย มจากโรงพิ ม พ์ ผ้ า สกรี น ผ้ า ได้ อ ย่ า ง ต่อเนื่องด้วยตัวเลขการเติบโตอยู่ที่ร้อยละ 15 ปั จ จั ย ที่ หั ว เรื อ ใหญ่ คุ ณ สุ ภ ชั ย บุ ญ ภั ก ดี ผู้อำนวยการ บริษัท พรีเชียส เคมีคอล จำกัด เชื่อมั่นมา ตลอดของการทำธุ ร กิ จ ก็ คื อ การผลิ ต สิ น ค้ า ให้ ต รงกั บ ความต้ อ งการของตลาดไม่ ว่ า สิ น ค้ า นั้ น จะอยู่ ใ นตลาด ระดับใดก็ตาม “ผมไม่จำกัดตัวเองว่าผลิตสินค้าในกลุ่มใดไม่ว่า จะเป็นตลาดบน ตลาดกลาง หรือตลาดล่าง แต่ผมผลิต สินค้าที่ตอบสนองกับตลาดทุกกลุ่ม” คุณสุภชัย กล่าว
23 Thai Textile & Apparel
ทำในสิ่งที่คนอื่นไม่ทำ ท่ามกลางที่ผู้ประกอบการสิ่ง ทอต่ า งขยั บ เพื่ อ ไปพั ฒ นาสิ น ค้ า คุณภาพ ในขณะที่ พรีเชียส เคมีคอล กลับมองในทางตรงข้ามว่ากลุ่มตลาด ระดับล่างยังเป็นกลุ่มมีศักยภาพและ ไม่มีวันที่จะดับสูญไปจากตลาด เพราะ ในสังคมประกอบด้วยชนชั้นสูง ชนชั้น กลาง และชนชั้นล่าง ซึ่งกลุ่มชนชั้น ล่างคือฐานขนาดใหญ่ที่สุดของสังคม ฉะนั้ น ในขณะที่ ค นอื่ น มุ่ ง ไปที่ ต ลาด เดี ย ว จึ ง เท่ า กั บ ว่ า มี เ พี ย ง พรี เ ชี ย ส เคมี ค อล เพี ย งเจ้ า เดี ย วเท่ า นั้ น ที่ จั บ ตลาดล่างโดยปราศจากคู่แข่ง “วันนี้ทุกคนหันไปเล่นตลาด กลางและตลาดบน เหมือนกับการไป เล่นเตะลูกฟุตบอลกัน แต่ผมไม่อยาก ลงแข่งเตะลูกกลมๆ ลูกนั้นด้วย ขอ อยู่วงนอก ซึ่งน่าจะเดาทิศทางของลูก ได้แม่นยำกว่า วันนี้ทุกคนต่างอ้างว่า ผู้ บ ริ โ ภคต้ อ งการของดี แล้ ว ของดี ที่ว่าเป็นอย่างไร เป็นของดีแบบไหน จะเป็นสินค้าดีเลิศ หรือสินค้าดีที่ ใช้ ได้ หรือสินค้าดีที่ ใช้นาน แต่อย่าลืมไปว่า ยังมีตลาดอื่นๆ เหลืออยู่ ซึ่งเป็นตลาด ขนาดใหญ่ ดังนั้นโดยส่วนตัวผมมอง ว่าทำอะไรก็ ได้ที่ตลาดต้องการเท่านั้น เพียงพอแล้ว” ด้วยเหตุนี้ พรีเชียส เคมีคอล จึงไม่จำกัดตนเองว่าเป็นผู้ผลิตสินค้า ในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง แต่จะเป็นผู้ผลิต สิ น ค้ า ในทุ ก กลุ่ ม ตามความต้ อ งการ ของลู ก ค้ า ด้ ว ยเป็ น บริ ษั ท ฯ ที่ เ ป็ น ผู้ ผ ลิ ต เองจึ ง สามารถปรั บ การผลิ ต ให้ ต รงตามความต้ อ งการได้ อ ย่ า ง รวดเร็ ว ซึ่ ง ในปี 2553 ที่ ผ่ า นมา มี อัตราการเติบโตอยู่ที่ร้อยละ 10-15
Thai Textile & Apparel 24
ผมไม่จำกัดตัวเองว่าผลิตสินค้าใน กลุ่มใดไม่ว่าจะเป็นตลาดบน ตลาด กลาง หรือตลาดล่าง แต่ผมผลิต สิ น ค้ า ที่ ต อ บ ส น อ ง กั บ ต ล า ด ทุกกลุ่ม
และสามารถขยายกลุ่มลูกค้าใหม่ ได้ ร้อยละ 10-15 เช่นกัน “ตัวเลขนี้สูงกว่าที่ตั้งไว้ ด้วย เพราะบริษัทฯ มีความพร้อมในด้าน การบริ ก าร, มี ก ลุ่ ม ลู ก ค้ า ใหม่ เ พิ่ ม และลูกค้าเก่ามีการขยายตัว ขณะที่ คู่ แ ข่ ง ของเราลดลง เหล่ า นี้ จึ ง เป็ น ปั จ จั ย ที่ ท ำให้ เ ราเติ บ โตได้ ดี ใ นปี ที่ ผ่านมา”
ความภู มิ ใ จในการทำงาน เพื่อสังคม นอกจากการอาสาทำงาน สาธารณประโยชน์ ใ ห้ แ ก่ ส ถาบั น ที่ สำเร็จมาคือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร ยังได้รับเชิญจาก ท่ า นคณบดี ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ภูวพัสส์ เอกตาแสง ให้เป็นอาจารย์ พิเศษ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช-
มงคลพระนคร คณะเทคโนโลยีสิ่งทอ กระทั่งได้รับเลือกจากมหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลพระนคร เป็ น ผู้ ได้ รั บ ปริ ญ ญาเทคโนโลยี บั ณ ฑิ ต กิตติมศักดิ์ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อ วันที่ 15 ธันวาคม 2552 ซึ่งเขากล่าว ว่านั้นคือ เกียรติและเป็นความภาค ภูมิใจสูงสุดในชีวิตการทำงาน นอกจากการช่วยเหลืองาน จากสถาบั น ที่ ป ระสิ ท ธิ์ ป ระสาทวิ ช า ให้ แ ล้ ว เขายั ง อาสาเป็ น ครู ฝึ ก วิ ช า ศิ ล ปะการต่ อ สู้ แ ละป้ อ งกั น ตั ว หรื อ Hapkido แก่ ส ถาบั น ต่ า งๆ อาทิ กองสื บ สวนตำรวจนครบาล, กอง บังคับการตำรวจสันติบาล 3, ตำรวจ ตระเวนชายแดน, กองพั น ทหารม้ า ที่ 2 รั ก ษาพระองค์ และโรงเรี ย น นายร้อย
จากความสนใจและฝึ ก ฝน การฝึกศิลปะเทควันโดจนได้รับสาย ดำจากสถาบัน Kunniwon ประเทศ เกาหลี และพั ฒ นาไปสู่ ศิ ล ปะการ ป้องกันตัว หรือ Hapkido รวมระยะ เวลากว่า 7 ปี จนได้รับความไว้วางใจ จากอาจารย์ เ ฉลิ ม นากสวาสดิ์ ผู้ เ ชี่ ย วชาญในแวดวงศิ ล ปะการ ต่อสู้และป้องกันตัว เทควันโดสายดำ ดั้ ง 6 แ ล ะ ฮั บ คิ โ ด ส า ย ด ำ ดั้ ง 4 เจ้ า ของโรงเรี ย นชั ย เฉลิ ม ศิ ล ปะ ป้ อ งกั น ตั ว และท่ า นพลตำรวจตรี ฉันทวิทย์ รามสูต (ผู้บังคับการกอง บังคับการตำรวจสันติบาล 3) ให้เป็น ผู้ช่วยฝึกสอนแก่หน่วยงานในภาครัฐ ตามที่ ได้กล่าวมา “ผมใช้เวลาฝึกฝนกว่า 7 ปี จนได้สายดำ ซึ่งอาจารย์ท่านคงเห็น ว่ า ผมสามารถที่ จ ะช่ ว ยอาจารย์ ได้
25 Thai Textile & Apparel
จึ ง ชั ก ชวนให้ ผ มมาช่ ว ยท่ า นเวลาที่ หน่ ว ยงานต่ า งๆ ร้ อ งขอมา ซึ่ ง นั บ เป็นเกียรติอย่างยิ่งเพราะรู้สึกว่าเรา สามารถมีส่วนช่วยเหลือสังคมได้บ้าง” แม้ บ นเส้ น ทางการแข่ ง ขั น ทางธุรกิจจะยังคงเข้มข้นอย่างต่อเนื่อง แต่ ส ำหรั บ เขามี ห ลั ก การของการทำ ธุรกิจที่ ไม่ ได้อยู่ที่ตัวเลขของกำไรเพียง อย่างเดียว แต่หากมี โอกาสจะคืนกำไร สู่สังคมในทางใดแล้ว เขาพร้อมเสมอ และจะยั ง คงยึ ด มั่ น ในการทำธุ ร กิ จ ควบคู่กับการช่วยเหลือสังคมตลอดไป นี่คือคำตอบของผู้บริหารหนุ่มไฟแรง ที่ประสบความสำเร็จในทุกๆ ด้าน “ความสำเร็จของผมส่วนหนึ่ง ต้ อ งขอขอบพระคุ ณ บริ ษั ท พิ สิ ษ ฐ์ อิ น เตอร์ ก รุ๊ ป จำกั ด เป็ น ผู้ ให้ ก าร สนับสนุนต่างๆ จนทำให้ผมมีทุกวันนี้ ได้” T& T
Thai Textile & Apparel 26
ตัวเลขนี้สูงกว่าที่ตั้งไว้ ด้วยเพราะบริษัทฯ มี ความพร้อมในด้านการบริการ, มีกลุ่มลูกค้า ใหม่เพิ่ม และลูกค้าเก่ามีการขยายตัว ขณะที่ คู่ แ ข่ ง ของเราลดลง เหล่ า นี้ จึ ง เป็ น ปั จ จั ย ที่ ทำให้เราเติบโตได้ดีในปีที่ผ่านมา PRECIOUS CHEMICAL CO., LTD. บริษัท พรีเชียส เคมีคอล จำกัด Address 95/359-360 Soi Rama 3 (52) Chongnontree Yannawa., Bangkok 10120 Thailand Tel: 0 2681 8786-7 Fax: 0 2681 8797 e-mail: bird_suppachai@yahoo.co.th, pcc123@truemail.co.th
SPECIAL interview 2
Salaya Design Cool Sport For Life “Salaya Design กับความสำเร็จอีกขั้น คู่การพัฒนาที่ ไม่หยุดนิ่ง ภายใต้นิยาม ระบบที่ดีที่สุด คือ ระบบที่เหมาะกับเรามากที่สุด’’ นี่ เ ป็ น ห ลั ก ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง คุ ณ อนุ พ ล วงศ์ ทิ พ นาถ กรรมการ ผู้ จั ด การ หจก. ศาลายาดี ไ ซน์ และ หจก.เอสดี แ อลเอาท์ เ ลท ใช้ เ ป็ น แนวทางการทำงาน ดังนั้น หากจะถาม ว่าในปีนี้มีเป้าหมายตัวเลขเท่าไร หรือ บริษัทฯ ได้นำเทคโนโลยีหรือระบบการ บริหารจัดการ คุณอนุพลตอบ ทันทีว่า
“ไม่มี เราไม่เคยตั้งเป้ายอดขาย เราไม่มีระบบการบริหารที่เรียนๆ กัน ในตำรามาใช้ แต่ระบบของศาลายาก็ คื อ อะไรที่ เ หมาะกั บ เรา เราจะเอา มาใช้ เป็ น ต้ น ว่ า บริ ษั ท ฯ เป็ น ธุ ร กิ จ ขนาดเล็ก มีคนงานไม่กี่ร้อยคนซึ่งหาก จะนำระบบลี น (Lean) มาใช้ ค งไม่ เหมาะ เพราะลีนเหมาะสำหรับโรงงาน
การ์ เ ม้ น ท์ ข นาดใหญ่ แต่ ศ าลายาใช้ ระบบที่ ค นงานหนึ่ ง คนสามารถทำ ชิ้ น งานได้ ทั้ ง หมดของการทำเสื้ อ ผ้ า กี ฬ า ฉะนั้ น ถ้ า เอาคนงานคนหนึ่ ง ไป วางที่ แ ผนกใด เขาจะสามารถทำได้ หมดในสายการผลิต นี้คือระบบของ ศาลายา”
27 Thai Textile & Apparel
ขยายอาณาจักรสู่ที่ราบสูง หจก.ศาลายาดีไซน์ ผู้ผลิตเสื้อผ้า กี ฬ าส่ ง ออกซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง ในสามของ ผู้ ป ระกอบการไทยที่ ได้ รั บ ฉลาก CoolMode โครงการที่องค์การบริหาร จั ด การก๊ า ซเรื อ นกระจก (องค์ ก าร ม ห า ช น ) ร่ ว ม กั บ ส ถ า บั น พั ฒ น า อุตสาหกรรมสิ่งทอ เพื่อส่งเสริมการ พั ฒ น า เ สื้ อ ผ้ า ล ด โ ล ก ร้ อ น ห รื อ CoolMode โดยจะให้ตราสัญลักษณ์ CoolMode แก่ผู้ผลิตที่สามารถพัฒนา เสื้อผ้าที่มีคุณสมบัติพิเศษ ในการสวม ใส่ ที่ ส บายสามารถดู ด ซั บ เหงื่ อ และ ระบายความร้อนได้ดี โดยมีคุณสมบัติ พิเศษ 3 ประการคือ
Thai Textile & Apparel 28
ส ำ ห รั บ ลู ก ค้ า ใ น ญี่ ปุ่ น เอเชีย และยุโรป จะให้ความ สนใจต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มหรื อ การมีฉลากที่ระบุว่าสินค้า นั้นเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โ ด ย เ ฉ พ า ะ ที่ ญี่ ปุ่ น จ ะ ใ ห้ ความสำคั ญ มาก ขณะที่ สหรัฐฯ จะให้ความสำคัญ ที่ราคาต้องถูกมาก่อน
1. ในกระบวนการผลิตต้องผลิต จากสารเคมีและสีย้อมที่ปลอดภัยจาก สารก่อมะเร็งและโลหะหนัก 2. มี คุ ณ ภาพและคงทนต่ อ การ เปลี่ ย นแปลงจากการซั ก และสี เ ที ย บ เท่ า มาตรฐาน มอก. และมาตรฐาน สากล 3. มีคุณลักษณะลดความร้อนซึ่ง ช่ ว ยลดอุ ณ หภู มิ ข องร่ า งกายทำให้ ผู้ สวมใส่เย็นสบาย ซึ่งส่งผลให้ลดการใช้ พลังงานจากเครื่องปรับอากาศได้ นอกจาก หจก.ศาลยาดีไซน์ แล้ว ยังมี หจก.เอสดีแอล เอาท์เลท เป็น ร้านจำหน่ายสินค้า Sportwear ของ ศาลายาดี ไ ซน์ โดยมี ชื่ อ แบรนด์ ว่ า SDL ซึ่งขณะนี้ ได้รับการยอมรับและ นิ ย มจากนั ก กี ฬ าโดยเฉพาะนั ก ปั่ น จั ก รยานทุ ก ประเภทจะรู้ จั ก SDL สำหรับสัดส่วนรายได้นั้น ร้อยละ 20 เป็ น ตลาดในประเทศภายใต้ แ บรนด์ SDL ที่เหลือร้อยละ 80 รับจ้างผลิต ชุดกีฬาส่งออกทั้งในญี่ปุ่น ยุโรป และ สหรัฐฯ ถึงแม้ว่าศาลายาดีไซน์จะไม่มีรูป แบบบริหารจัดการที่ ใช้กันอยู่ทั่วไป แต่ ปรากฏว่าอัตราการเติบโตของบริษัทฯ มีไ ม่ต่ำกว่าร้อยละ 10 ต่อปี โดยปีที่ ผ่านมามียอดขายอยู่ที่ 70 ล้านบาท และในปี 54 นี้คาดว่าจะมียอดขายอยู่ ที่ 80 ล้านบาท ดังนั้นเพื่อให้สามารถ รองรับกับออร์เดอร์ที่มากขึ้นและต่ อ เนื่องตลอดปี จึงต้องมีการขยายกำลัง การผลิตไปที่จังหวัดร้อยเอ็ดบนเนื้อที่ 47 ไร่ โดยมีจักรจำนวน 120 เครื่อง ในนาม หจก.ศาลายาดีไซน์ 101 การเลื อ กทำเลบนดิ น แดนถิ่ น อี ส านเพราะจากนี้ ไปไม่ เ กิ น 5-6 ปี อีสานจะเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพเติบโต
ที่ น่ า สนใจมากที่ สุ ด ของประเทศ ไม่ ว่ า จะเป็ น เรื่ อ งของแรงงาน ขณะนี้ แรงงานอี ส านจำนวนมากได้ อ พยพ กลั บ ถิ่ น ฐานเดิ ม ของตั ว เองมากขึ้ น ทั้งนี้เพราะมีอุตสาหกรรมได้ขยายตัว เข้ า ไปทางภาคอี ส านเพิ่ ม ขึ้ น ซึ่ ง แรงงานท้ อ งถิ่ น เหล่ า นี้ ล้ ว นแต่ เ ป็ น แรงงานที่ มี ฝี มื อ เพราะเคยเข้ า มา ทำงานในกรุ ง เทพฯ มาก่ อ น จึ ง เป็นการเอื้อประโยชน์ ให้ศาลายาดีไซน์ สามารถควบคุ ม ผลิ ต สิ น ค้ า ให้ ได้ คุ ณ ภาพได้ ง่ า ยขึ้ น นอกจากเรื่ อ ง แรงงานแล้ ว ในระบบขนส่ ง ขณะนี้ กำลังมี โครงการรถไฟความเร็วสูงจาก จี น วิ่ ง ผ่ า น ซึ่ ง หากโครงการดั ง กล่ า ว เสร็จเรียบร้อยเมื่อไร จะทำให้ระบบ การขนส่งรวดเร็วและใช้ต้นทุนถูกลง “ขณะนี้ แ รงงานที่ เ ข้ า มาใน กรุงเทพฯ และปริมณฑลส่วนมากเป็น แรงงานต่างด้าว ซึ่งเป็นแรงงานที่ ไม่มี
ทั ก ษะแต่ แ รงงานจากภาคอี ส านเป็ น แรงงานที่มีทักษะได้เคลื่อนย้าย กลับ ถิ่นฐานเพื่อไปทำไร่ทำนาหรือหางาน ทำใกล้ บ้ า น ดั ง นั้ น การไปตั้ ง โรงงาน ที่ อี ส านจึ ง นั บ เป็ น โอกาสที่ ดี ที่ จ ะได้ แรงงานที่ มี คุ ณ ภาพและค่ า แรงไม่ สู ง เท่ า ในกรุ ง เทพฯ และสามารถ ทำงานได้ เ สร็ จ แล้ ว ทั น ส่ ง มอบสิ น ค้ า แก่ลูกค้าได้ ดังนั้นแม้การไปตั้งโรงงาน ที่ ร้ อ ยเอ็ ด จะทำให้ ค่ า ใช้ จ่ า ยด้ า นการ ขนส่ ง เพิ่ ม ขึ้ น แต่ เ มื่ อ ดู จ ากต้ น ทุ น ทั้งหมดแล้ว พบว่าไม่มีต้นทุนที่เพิ่มขึ้น แต่อย่างใด ตรงกันข้ามสามารถแก้ ไข ปัญหาในเรื่องขาดแคลนแรงงานไปได้ อย่างไม่มีปัญหา”
การพัฒนาที่ ไม่หยุดนิ่งของ ศาลายาดี ไซน์ ศาลายาดี ไ ซน์ เ ป็ น ที่ ที่ นั ก ปั่ น จักรยานรู้จักอย่างกว้างขวาง แม้ว่าใน วงการกี ฬ าอย่ า งอื่ น อาจจะไม่ คุ้ น มากนั ก แต่ ส ำหรั บ ที ม สโมสรต่ า ง ประเทศ อย่ า งอเมริ ก า ยุ โ รป โดย เฉพาะญี่ปุ่นจะรู้จักศาลายาดีไซน์เป็น อย่างดี เพราะเป็นผู้ผลิตเสื้อทีมสโมสร เกื อ บทุ ก สโมสรของญี่ ปุ่ น ที่ นิ ย มใส่ อยู่ทุกวันนี้ โดยไม่มีคู่แข่ง อ ะ ไ ร ที่ ท ำ ใ ห้ ศ า ล า ย า ดี ไ ซ น์ สามารถทำตลาดที่ มี มู ล ค่ า สู ง ได้ โ ดย ปราศจากคู่แข่ง ทั้งๆ ที่บริษัทฯ ไม่มี นั ก การตลาดหรื อ ฝ่ า ยขายนอกจาก กรรมการผู้จัดการ เขากล่าวว่าหลักการทำงานของ เขาไม่ ได้มองคู่แข่งไม่ว่าจะในประเทศ หรือต่างประเทศ แต่ผมเลือกที่จะแข่ง ขันกับตัวเองโดยพยายามพัฒนาสินค้า ของตนเองตลอดเวลา ไ ม่ ว่ า จะ เป็ น การตั ด เย็ บ ทุ ก ฝี เ ข็ ม จะต้ อ งได้
ภาพคู่กับบุตรสาว
คุณภาพและเรียบร้อย รวมถึงวัตถุดิบ ที่ ใช้จะต้องได้มาตรฐาน ซึ่งปัจจุบันจะ ซื้ อ ผ้ า ที่ ท อในประเทศแต่ เ ส้ น ใยที่ น ำ มาทอนั้นจะใช้เส้นใยรีไซเคิลที่นำเข้า จากญี่ ปุ่ น และไต้ ห วั น สำหรั บ เส้ น ใย ระบายอากาศจะนำเข้ า จากเกาหลี เพราะเส้นใยเหล่านี้ยังไม่สามารถผลิต ได้เองในประเทศนอกจากนี้ ในเทคนิค การพิ ม พ์ ผ้ า จะมี ก ารพั ฒ นาตลอด เวลารวมถึ ง งานด้ า นการออกแบบก็ เช่นกัน ดั ง นั้ น แม้ ว่ า บริ ษั ท ฯ จะมี คุ ณ อนุพลคนเดียวเท่านั้นที่ทำหน้าที่ขาย แต่ผลปรากฏว่ามีออร์เดอร์แน่นตลอด ทุ ก เดื อ น โดยออร์ เ ดอร์ ที่ ว่ า มาจาก 1. คำสั่งซื้อจากเว็บไซต์ 2. จากปาก
29 Thai Textile & Apparel
ต่อปากของลูกค้า และ 3. นิตยสาร กีฬา จาก 3 ช่องทางที่กล่าวมาแล้ว ถื อ ว่ า เพี ย งพอที่ ท ำให้ ไม่ ต้ อ งวิ่ ง หา ออร์เดอร์ “ผมไม่สนหรอกว่าคนอื่นทำอะไร รู้ แ ต่ ว่ า ศาลายาดี ไ ซน์ มี ศั ก ยภาพและ เชี่ยวชาญเรื่องอะไรแล้วทำมันให้ดีที่ สุ ด พร้ อ มๆ กั บ การพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง การมั ว แต่ ไปมองคนอื่ น แล้ ว พยายามเลี ย นแบบเขาเราจะไม่ สามารถนำเป็นที่หนึ่งได้ และการมัว แต่มองข้างนอกเราจะมองตัวเองไม่ชัด อีกด้วย ส่วนจะให้นิยามของศาลายา ดี ไ ซน์ คื อ ใคร ก็ ค งนิ ย ามได้ ว่ า เราคื อ ผู้ ผ ลิ ต สิ น ค้ า ไลฟสไตล์ ที่ เ รี ย บง่ า ยมี คุ ณ ภาพและพั ฒ นาไม่ ห ยุ ด อยู่ กั บ ที่ เพียงแค่นี้ออร์เดอร์จะเข้ามาเอง” กระบวนการผลิ ต และวั ต ถุ ดิ บ ที่ เ ป็ น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม กระแสสิ่งแวดล้อมมาแรง ผมไม่ ส นหรอกว่ า คนอื่ น ทำอะไร กระแสเรียกร้องความรับผิดชอบ “สำหรั บ ลู ก ค้ า ในญี่ ปุ่ น เอเชี ย ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น กระแสที่ เ กิ ด ขึ้ น และยุ โ รปจะให้ ค วามสนใจต่ อ สิ่ ง รู้แต่ว่าศาลายาดีไซน์มีศักยภาพ ทั่วโลก อย่างไรก็ตามสำหรับศาลายา แวดล้ อ มหรื อ การมี ฉ ลากที่ ร ะบุ ว่ า และเชี่ยวชาญเรื่องอะไรแล้วทำมัน ดีไซน์แล้วเรื่ องสิ่ งแวดล้อมเป็น สินค้านั้นเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดย ให้ ดี ที่ สุ ด ส่ ว นจะให้ นิ ย ามของ ประเด็นที่ตระหนักมาตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง เฉพาะที่ ญี่ ปุ่ น จะให้ ค วามสำคั ญ มาก ศาลายาดีไซน์คือใคร ก็คงนิยาม ด้ ว ย พื้ น ฐ า น ข อ ง ก า ร รั ก กี ฬ า ปั่ น ขณะที่สหรัฐฯ จะให้ความสำคัญที่ราคา ได้ ว่ า เราคื อ ผู้ ผ ลิ ต สิ น ค้ า ไลฟ สไตล์ ที่เรียบง่ายมีคุณภาพและ จั ก รยานของคุ ณ อนุ พ ล สิ น ค้ า ทุ ก ชิ้ น ต้องถูกมาก่อน” จึ ง ประกอบด้ ว ยวั ส ดุ ที่ แ สดงความ ในสายตาอื่นแล้วศาลายาดีไซน์ พัฒนาไม่หยุดอยู่กับที่ เพียงแค่นี้ รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ อาจเป็นผู้ผลิตรายย่อย แต่สำหรับทีม ออร์เดอร์จะเข้ามาเอง เขายั ง ร่ ว มรณรงค์ ให้ ล ดการขั บ ขี่ งานศาลายาดีไซน์แล้วทุกคนภูมิใจใน รถยนต์ แ ต่ หั น มาใช้ จั ก รยานแทน ความเป็น “small is beautiful” เพื่ อ ลดการใช้ พ ลั ง งานและลดการ ปล่ อ ยก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ สู่ ชั้ น Salaya Design Ltd., Part. บรรยากาศ หจก. ศาลายาดี ไซน์ ด้วยเหตุนี้การได้เป็นหนึ่งในสาม ที่อยู่ 36/115-116 หมู่ 5 ต.ไร่ขิง อ.สามพราน จ.นครปฐม 73210 ของผู้ ป ระกอบการไทยที่ ไ ด้ รั บ ฉลาก โทรศัพท์ 0 2429 7246-7, 0 2429 7315 CoolMode บริษัทฯ จึงไม่ ใช่สิ่งบังเอิญ โทรสาร 0 2429 0349 แต่ เ ป็ น ผลจากความตั้ ง ใจกอปรกั บ เว็บไซต์ http://www.sdlwonga.com ข้ อ บั ง คั บ ข อ ง ลู ก ค้ า ที่ ร ะ บุ ใ ห้ มี e-mail: salayadesign@yahoo.com T& T
Thai Textile & Apparel 30
SPECIAL scoop
BIFF&BIL 2011
ผ่ า นพ้ น ไปสำหรั บ งานแสดงสิ น ค้ า แฟชั่ น และเครื่ อ งหนั ง ประจำปี
2011 ภายใต้ แ นวคิ ด Influence The World เมื่ อ 20-24 เมษายน ที่ผ่านมา ณ อาคารชาแลนเจอร์ ศูนย์แสดงสินค้าเมืองทองธานี คาดยก ระดับตลาดอาเซียน และกระตุ้นการส่งออกเพิ่มขึ้น
BIFF&BIL 2011 (Bangkok International Fashion Fair & International Leather Fair 2011) โดยกรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวง พาณิ ช ย์ ระบุ ว่ า ในปี 2554 นี้ งาน BIFF&BIL ได้ ร วบรวมสิ น ค้ า จาก
ผู้ ป ระกอบการ ผู้ ผ ลิ ต ชั้ น นำของไทย และอาเซี ย น ทั้ ง สิ น ค้ า สิ่ ง ทอ ผ้ า ผื น เสื้อผ้า เครื่องหนังทั้งรองเท้า กระเป๋า สินค้าแฟชั่นของดีไซเนอร์รุ่นเก่า-ใหม่ และสิ น ค้ า แบรนด์ ดั ง กว่ า 1,000 บู๊ ธ โดยปีนี้จัดในรูปแบบของ Fair in Fair
แบ่ ง เป็ น 6 กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมหลั ก ได้แก่ ส่วนแสดงสินค้าของกลุ่มสิ่งทอ กลุ่ ม เสื้ อ ผ้ า เครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม กลุ่ ม เครื่ อ ง หนั ง กลุ่ ม Fashion Accessories กลุ่มดีไซน์เนอร์ และกลุ่ม Machinery พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้เกิดการเจรจา การค้า จับคู่ธุรกิจ เกิดการเชื่อมโยง Supply Chain เพื่อยกระดับและส่ง เสริมให้ ไทยเป็นศูนย์กลางสินค้าแฟชั่น ในภูมิภาคและในระดับโลก จากแนวคิ ด ดั ง กล่ า วปรากฏ ให้ เ ห็ น ในการพยายามผลั ก ดั น ให้ ความสำคั ญ ในส่ ว นตลาดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC (ASEAN Economic Community) กลุ่ ม ทาง เศรษฐกิจของประเทศสมาชิกอาเซียน ทั้ ง 10 ประเทศ อั น ประกอบด้ ว ย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย บรูไน ฟิลิปปินส์ เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา และไทย อย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น ซึ่ง
33 Thai Textile & Apparel
คุณพงษ์ศักดิ์ อัสสกุล นายกสมาคมอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย
คุณพงษ์ศักดิ์ อัสสกุล นายกสมาคม อุตสาหกรรมสิ่งทอไทย กล่าวว่า ตลาด อาเซี ย นจะเป็ น โอกาสสำคั ญ สำหรั บ ผู้ประกอบการไทย เพราะลำพังตลาด ในประเทศที่มีเพียง 60 ล้านคนซึ่งมีไม่ มากพอที่จะทำให้อัตราการเติบโตของ อุตสาหกรรมสิ่งทอขยายตัวได้ แต่หาก รวมเอาประชาคมอาเซียนเข้าร่วมจะ ทำให้ตลาดใหญ่ถึง 600 ล้านคน “คำถามคือ เราจะเตรียมพร้อม อย่างไรที่จะคว้าโอกาสไว้ ให้ ได้ คำตอบ ก็ คื อ เราต้ อ งเตรี ย มพร้ อ มทั้ ง ระบบ ทั้ ง ภายในของผู้ ป ระกอบการเองและ ภายนอกคื อ ระบบต่ า งๆ ที่ จ ะช่ ว ย
Thai Textile & Apparel 34
อำนวยความสะดวกในการค้ า ขาย สำหรับตัวอาเซียนก็พยายามผลักดันที่ จะอำนวยความสะดวกสำหรับ Buyer ที่ เ ห็ น ชั ด ก็ คื อ การตั้ ง SAFSA หรื อ Source ASEAN Full Service Alliance เพื่อเป็นองค์กรประสานใน การ Source ให้กับแบรนด์ดังๆ ของ โลก” คุณพงษ์ศักดิ์ กล่าว SAFSA คื อ เครื อ ข่ า ยระหว่ า ง โรงงานตัดเย็บ โรงงานสิง่ ทอในประเทศ กลุ่ ม อาเซี ย น กั บ ลู ก ค้ า แบรนด์ เ นม ระดั บ โลก โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการ สนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม และยกระดั บ ภูมิภาคอาเซียนให้เป็นผู้นำในการผลิต สินค้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มคุณภาพ พร้ อ มบริ ก ารแบบครบวงจร โดยได้ จัดตั้งมาได้ 2 ปีแล้ว นอกจากการให้ ค วามสำคั ญ กั บ อาเซียนแล้ว BIFF&BIL 2011 ยังได้ แง่มุมต่างๆ จากผู้ร่วมแสดงสินค้าทั้ง ในภาพรวมของอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอ แนวโน้มสินค้าแฟชั่นและการนำเสนอ นวัตกรรมใหม่ๆ ดังนี้
สำหรับสถานการณ์ตลาดขณะนี้ พบว่ า ออร์ เ ดอร์ ล ดลงเมื่ อ เที ย บกั บ ไตรมาสแรกของปี 53 ทั้งนี้อาจเป็นผล จากราคาฝ้ า ยซึ่ ง เป็ น วั ต ถุ ดิ บ มี ร าคา แพงขึ้นและขาดแคลน จึงทำให้ลูกค้า ยังไม่กล้าลงออร์เดอร์มากนัก “ตอนนี้ออร์เดอร์ที่ลงก็มีไ ม่มาก เท่าที่ผ่านมา ขณะเดียวกันการสั่งซื้อ เส้นด้ายก็ ไ ม่มากเช่นกัน ส่วนมากจะ สั่งซื้อเพื่อให้มีสต๊อกเพียง 2-3 เดือน เท่ า นั้ น เพราะความไม่ แ น่ น อนจาก ราคาฝ้าย” คุณนุตรา กล่าว
United Textile Mills Co., Ltd.
ด้ า น United Textile Mills Co., Ltd. ซึ่งมาออกงานในบู๊ธของ T3 หรื อ Thai Tex Trend ซึ่ ง เป็ น กลุ่ ม ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมในการพัฒนา ผ้ า ผื น กั บ กรม ส่ ง เสริ ม การส่ ง ออก โดยการเชิ ญ ผู้ เ ชี่ ย วชาญจากอิ ต าลี มาให้ ค ำปรึ ก ษาในการผลิ ต เพื่ อ ให้ สอดคล้ อ งแนวโน้ ม แฟชั่ น ผ้ า ผื น ของ ยุโรป คุณนุตรา อุตมาภินันท์ Export Manager กล่าวว่า สินค้าที่นำมาแสดง เป็ น ผ้ า Yarn Dye ซึ่ ง เป็ น ผ้ า ที่ มี ขั้ น ตอนการผลิ ต ซั บ ซ้ อ นจึ ง ทำให้ มี มูลค่าสูง ส่วนผ้าที่นำมาแสดงจะเป็น ผ้าใหม่ๆ ในฤดูหน้า
คุณนุตรา อุตมาภินันท์ Export Manager United Textile Mills Co., Ltd.
Teijin Polyester (Thailand) Co.,Ltd.
คุณสมคิด รัตนประภาพร Sub Manager, Staple Fiber Sales Division กล่าวว่า ในส่วนของบริษัทฯ เทยิน ได้นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการ รั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มด้ ว ยการแสดง เทคโนโลยี Eco Cycle Fibers เสื้อผ้า ที่ ไ ม่ ใ ช้ แ ล้ ว นำกลับมาแปรเป็นเส้นใย เพื่อนำไปทอเพื่อนำไปตัดเย็บใหม่ ได้อีก ครั้ง อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีดังกล่าวนี้ ยั ง มี ต้ น ทุ น ที่ สู งมากเป็นเพียงต้นแบบ เพื่ อ รองรั บ กั บ Green Market ใน อนาคต ซึ่ ง เทคโนโลยี นี้ มี อ ยู่ ที่ ญี่ ปุ่ น บริษัทแม่ สำหรั บ ตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใหม่ ที่ ได้ ผลิตในไทย คือ Binder Fiber ที่นำไป ใช้ ในการผลิตผ้าอนามัย ผ้าอ้อมเด็กผู้ ใหญ่ และ Tea Bag โดยไลน์ผลิตนี้ ได้ เ ริ่ ม เมื่ อ ปี 2553 ที่ ผ่ า นมา แต่ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ทั้ ง หมดที่ ผ ลิ ต ได้ จ ะส่ ง กลั บ ญี่ปุ่น เพราะตลาดมีความต้องการเป็น จำนวนมาก นอกจากนี้ ก็ มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ประเภท Automotive เพื่อเป็นส่วน ประกอบในรถยนต์ ตลาดในส่ ว นนี้ มี อัตราเติบโตสูงอย่างต่อเนื่องอันเป็นผล จากตลาดรถยนต์ ข ยายตั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง อี ก ทั้ ง รถยนต์ ญี่ ปุ่ น ทุ ก แบรนด์ ล้วนใช้ผลิตภัณฑ์จากบริษัทฯ ทั้งสิ้น “ปี 53 อุ ต สาหกรรมรถยนต์ เติ บ โตมากและในปี 54 นี้ ค าดว่ า จะ สามารถผลิตได้ 1.6 ล้านคัน แต่อาจ ลดลงบ้างเล็กน้อยจากผลกระทบแผ่น ดินไหวที่ญี่ปุ่น นอกจากนี้รัฐบาลให้การ ส่งเสริมอีกทั้งมีนโยบายที่จะให้ ไทยเป็น ฐานการผลิตเพื่อส่งออกในตลาดยุโรป อเมริกา จีน และอาเซียน ซึ่งจะช่วยให้ ตลาดในส่วนนี้ขยายตัวอย่างแน่นอน” คุณสมคิด กล่าว
คุณบัณฑิต พงศาโรจนวิทย์ กรรมการผู้จัดการบริษัท ไทยนำโชคเท็กซ์ ไทล์ จำกัด
JTC : Japan-Thailand Textile แนวโน้ ม แฟชั่ น ระยะเวลาในการทำ & Apparel Collaboration ธุรกิจ การสั่งซื้อ เพื่อให้ผู้ประกอบการ
โครงการความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง ไทยและญี่ ปุ่ น ภายใต้ เ ขตเสรี ก ารค้ า ไทย-ญี่ปุ่น JTEPA : Japan-Thailand Economic Partnership Agreement ด้วยการส่งผู้เชี่ยวชาญจากญี่ปุ่นมาให้ คำปรึ ก ษาแก่ ผู้ ผ ลิ ต ไทยในการผลิ ต สิ น ค้ า ให้ ต รงตามความต้ อ งการของ ตลาดญี่ ปุ่ น ทั้ ง ด้ า นคุ ณ ภาพ เทรนด์ ตลอดจนถึงรูปแบบวิธีการทำธุรกิจของ ญี่ ปุ่ น โดย JTC ได้ ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น มาเมื่ อ 2 ปีก่อน สำหรับผู้ประกอบการที่เข้า ร่ ว มโครงการประกอบด้ ว ยโรงทอ 6 โรง การ์ เ ม้ น ท์ 2 ราย และโรงฟอก ย้อม 2 ราย และบริษัท ไทยนำโชค เท็ ก ซ์ ไ ทล์ จำกั ด ได้ เ ป็ น 1 ใน 10 ราย ที่ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ คุ ณ บั ณ ฑิ ต พงศาโรจนวิ ท ย์ กรรมการผู้ จั ด การ กล่าวว่า รูปแบบของ JTC คล้ายกับ T3 กล่าวคือ ทางญีป่ นุ่ จะส่งผูเ้ ชีย่ วชาญ มาให้ ค ำปรึ ก ษาไม่ ว่ า จะเป็ น เรื่ อ ง
ไทยสามารถผลิ ต สิ น ค้ า ได้ ต รงตาม ความต้องการของญี่ปุ่นมากที่สุด “2 ปีจากที่เข้าร่วมโครงการเรา ได้รู้จักกับตลาดญี่ปุ่นมากขึ้น ซึ่งจะพบ ว่ า สิ น ค้ า ที่ จ ะนำเข้ า ญี่ ปุ่ น ได้ จ ะต้ อ งมี คุ ณ ภาพมากๆ ซึ่ ง อาจจะมากกว่ า ที่ นำเข้ า ในยุ โ รปหรื อ อเมริ ก าเสี ย อี ก นอกจากนี้ตลาดญี่ปุ่นจะให้ความสำคัญ กับวัตถุดิบที่ทำมาจากธรรมชาติ เช่น เส้ น ใยจากข่ า เส้ น ใยสั บ ปะรด ฯลฯ ทั้ ง นี้ เ พราะคนญี่ ปุ่ น สนใจปั ญ หาสิ่ ง แวดล้อม นอกจากนี้การจะสามารถเข้า ตลาดญี่ปุ่นได้ต้องใช้เวลานานไม่น้อย กว่า 2 ปี ในการสร้างความเชื่อมั่นและ เชื่ อ ใจจากลู ก ค้ า ญี่ ปุ่ น แต่ ห ากว่ า เรา สามารถสร้างภาพลักษณ์เช่นนั้นได้แล้ว โอกาสที่จะได้ออร์เดอร์ก็จะมีมากและ จะได้อย่างสม่ำเสมอเพราะคนญี่ปุ่นจะ ไม่นิยมเปลี่ยน Suppliers” คุณบัณฑิต กล่าว
35 Thai Textile & Apparel
คุณอุไร สัจจะไพบูลย์ ในฐานะกรรมการผู้จัดการ Thai Cotton & Silk Group Co., Ltd.
สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ที่ ไ ด้ ท รง พระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ พระราชทาน สัญลักษณ์ตรานกยูงให้เป็นเครื่องหมาย รั บ รองคุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ์ ผ้ า ไหมไทย อั น เ ป็ น ก า ร แ ก้ ไ ข ปí ญ ห า ใ น ด้ า น มาตรฐานของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ผ้ า ไหมไทย และแก้ ไขปíญหาในการแอบอ้างนำคำ ว่า çไÀมไทยé ไปใช้เพื่อการค้า อีกทั้ง เป็นการสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้บริโภค “สินค้าที่ ได้เครื่องหมายนกยูงจึง เสมือนเป็นการประกาศว่าสินค้าของ เราเป็น The Best ดังนั้นโดยตัวสินค้า ก็ ส ามารถขายได้ โดยไม่ ต้ อ งอธิ บ าย มาก” คุณอุไร กล่าว อย่างไรก็ตาม คุณอุไร กล่าวว่า ปí ญ หาหลั ก ของบริ ษั ท ฯ ไม่ ใ ช่ ท่ี ก าร ตลาดแต่ อ ยู่ ที่ วั ต ถุ ดิ บ คื อ เส้ น ไหมมี ไ ม่ เพี ย งพอ จึ ง ทำให้ ไม่ ส ามารถผลิ ต ได้ ทุกออร์เดอร์ “ตอนนี้มีออร์เดอร์แทบ จะทำไม่ทัน แต่เราติดปัญหาที่วัตถุดิบ มีไม่พอ”
ตลาด ที่ ให้ความสนใจก็คือ ญี่ปุ่น ยุโรป และอินโดนีเซีย “การได้ อ อกบู๊ ธ ช่ ว ยให้ ข ยาย ตลาดได้ ม ากขึ้ น ดั ง นั้ น จึ ง อยากให้ ภาครั ฐ ช่ ว ยเหลื อ ในเรื่ อ งคำแนะนำ และจั ด ไปแสดงสิ น ค้ า ในต่ า งประเทศ ซึ่ ง จะช่ ว ยให้ เ รามี พื้ น ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น ” คุณอัครพงษ์ กล่าว แล้ว 5 วัน ของงาน BIFF&BIL 2011 ก็จบลง แต่สำหรับปีหน้า BIFF& BIL จะมีอะไรแปลกใหม่ที่สามารถเรียก Buyers จากต่ า งประเทศมากน้ อ ย เพียงไร คงต้องติดตามดูกันใน BIFF& BIL 2012 T& T
มุมมองจาก Designer Thai Cotton & Silk Group ด้ า นนั ก ออกแบบที่ ได้ เ ข้ า ร่ ว ม แสดงสิ น ค้ า อย่ า ง ARKRA Gallery Co., Ltd.
นอกจากบู๊ ธสินค้าอุตสาหกรรม แล้ ว ยั ง มี บู๊ ธ แสดงสิ น ค้ า หั ต ถกรรมซึ่ ง เป็นสินค้าที่ ได้รับความสนใจจากกลุ่ม ประเทศยุ โ รปและญี่ ปุ่ น และหนึ่ ง ใน บู๊ ธ หั ต ถกรรมที่ ไ ด้ รั บ ความสนใจจาก ผู้ร่วมงานก็คือ Thai Cotton & Silk Group Co., Ltd. คุ ณ อุ ไ ร สั จ จะไพบŸ ล ย์ ในฐานะกรรมการผู้ จั ด การ กล่าวว่า จุดขายของสินค้าของตนคือ การได้ เ ป็ น สิ น ค้ า ที่ ไ ด้ รั บ เครื่ อ งหมาย รั บ รองคุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต รานกยู ง พระราชทานจากสมเด็ จ พระนางเจ้ า
Thai Textile & Apparel 36
โดยคุ ณ อั ค รพงษ์ วงศ์ โ คม แสดง ความเห็นว่า สำหรับนักออกแบบแล้ว แรงบันดาลใจที่จะทำให้เกิดผลงานต้อง อาศั ย การศึ ก ษาดู ง านที่ มี ค วามหลาก หลายจากธรรมชาติสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ดีแม้งานออกแบบบาง ชิ้ น ที่ ดู ดี แ ต่ ไ ม่ ส ามารถขายได้ เ พราะ ตลาดไม่นิยม ดังนั้นโดยตัวนักออกแบบ จึงจำเป็นต้องตัดทอนงานที่ ไ ม่จำเป็น ออกเพื่อให้ตลาดยอมรับ สำหรับสินค้า ของตนเองซึ่ ง เน้ น ที่ ง านบาติ ก ลงบน เส้นใยธรรมชาติ เช่น ผ้าไหม ผ้าฝ้าย
คุณอัครพงษ์ วงศ์ โคม Director Textile Designer
SPECIAL report
§«“¡§◊ ∫ Àπâ “ °“√ª√–‡¡‘ π ¢â Õ ¡Ÿ ≈ “√‡§¡’ µ “¡√–‡∫’ ¬ ∫ ‚¥¬ §≥–ºŸâ·∑π‰∑¬ª√–®”ª√–™“§¡¬ÿ‚√ª
” π— ° ß “ π ‡ § ¡’ ¿— ≥ ±å ¬ÿ ‚ √ ª (ECHA) ‰¥â‡º¬·æ√à√“¬ß“π‡√◊ËÕß°“√ ª√–‡¡‘π¢âÕ¡Ÿ≈ “√‡§¡’¿“¬„µâ√–‡∫’¬∫ REACH ‡¡◊Ë Õ «— π ∑’Ë 28 °ÿ ¡ ¿“æ— π ∏å 2554 ´÷Ëß°“√ª√–‡¡‘π‡ªìπ à«π ”§—≠ Õ¬à “ ߬‘Ë ß ¢Õß√–‡∫’ ¬ ∫π’È ∑’Ë √â “ ߧ«“¡ ¡—Ëπ„®„π°“√ª°ªÑÕß ÿ¢¿“æ¡πÿ…¬å·≈– ‘Ëß·«¥≈âÕ¡®“°º≈°√–∑∫¢Õß “√‡§¡’ ‚¥¬¿“¬À≈—ß®“°∑’ËÕÿµ “À°√√¡‰¥â®¥ ∑–‡∫’¬π·≈â« ECHA ¡’Õ”π“®„π°“√ ¢Õ¢â Õ ¡Ÿ ≈ ‡æ‘Ë ¡ ‡µ‘ ¡ √«¡∑—È ß ·π–π”ºŸâ ® ¥ ∑–‡∫’¬π„π°“√ª√—∫ª√ÿ߇հ “√ ¢âÕ¡Ÿ≈ „π¢—ÈπµÕπ°“√ª√–‡¡‘π ´÷Ëß√“¬≈–‡Õ’¬¥ ¢Õß√“¬ß“π √ÿª‰¥â¥—ßπ’È 1. Compliance check æ‘®“√≥“ «à“¢âÕ¡Ÿ≈∑’ˬ◊Ëπ‡ªìπ‰ªµ“¡°ÆÀ¡“¬ ´÷Ëß ECHA ®–µ√«® Õ∫Õ¬à“ßπâÕ¬√âÕ¬≈– 5 ¢Õߢâ Õ ¡Ÿ ≈ ∑’Ë ‰¥â √— ∫ 2. æ‘ ® “√≥“ testing proposals ª√–‡¡‘π‡Õ° “√
¢âÕ¡Ÿ≈∑’ˬ◊Ëπ¢Õ°“√∑¥ Õ∫¢—Èπ Ÿß´÷Ëß√«¡ ∂÷ß°“√∑¥ Õ∫„π —µ«å ‡æ◊ËÕµ√«®«à“°“√ ∑¥ Õ∫π—Èπ¡’‡Àµÿº≈‡æ’¬ßæÕ·≈–À≈’° ‡≈’ˬ߰“√∑¥ Õ∫„π —µ«å ‚¥¬‰¡à®”‡ªìπ 3. substance evaluation µ√«® Õ∫ °“√„™â “√ª√‘¡“≥¡“°°«à“‡°‘¥§«“¡ ‡ ’ˬߵàÕ ÿ¢¿“æ¡πÿ…¬å·≈– ‘Ëß·«¥≈âÕ¡ À√◊Õ‰¡à สถิติป 2553
„πªï 2553 ECHA ¥”‡π‘π°“√ compliance check ‡√’ ¬ ∫√â Õ ¬ 70 √“¬ (‡Õ° “√‡√’¬∫√âÕ¬ 25 √“¬ ¢Õ¢âÕ¡Ÿ≈‡æ‘Ë¡ 12 √“¬ ·≈–·π–π”„Àâ ª√—∫ª√ÿߢâÕ¡Ÿ≈ 33 √“¬) Õ¬Ÿà√–À«à“ß °“√µ—¥ ‘π„® 21 √“¬ ·≈–°“√ª√–‡¡‘π ‡Õ° “√¢âÕ¡Ÿ≈¥”‡π‘π¡“∂÷ߪï 2554 Õ’° 60 √“¬ §«“¡‡ÀÁπ/§” —Ëß ECHA ‡√‘Ë¡ °“√æ‘®“√≥“ testing proposals 123
REACH
√“¬‚¥¬„™â ° “√æ‘ ® “√≥“ 4 «‘ ∏’ ·≈– ‰¥â ‡ πÕ√à “ ß«‘ ∏’ ° “√æ‘ ® “√≥“‡æ‘Ë ¡ Õ’ ° 11 «‘ ∏’ °“√¥”‡π‘ π °“√ substance evaluation ®–‡√‘Ë¡„πªï 2555 ·≈–‰¥â ¡’°“√µ°≈߇°≥±å „π°“√®—¥≈”¥—∫ “√ ‡§¡’ ¢ Õß Community Rolling Action Plan (CoRAP) √«¡∑—Èßµ“√“ß ‡«≈“·≈–°√–∫«π°“√ ”À√— ∫ °“√ ¥”‡π‘π°“√§√—Èß·√° คุณภาพของเอกสารขอมูลที่ไดรับ
ECHA ¡—°µ√«®æ∫ªí≠À“¥â“π §ÿ ≥ ¿“æ„π‡Õ° “√¢â Õ ¡Ÿ ≈ ®”π«π¡“° ‰¡à «à “ ®–‡ªì π °“√ ÿà ¡ µ√«®À√◊ Õ ‡≈◊ Õ ° µ√«®®“°∫“ߪ√–‡¥Áπ Õ¬à“߉√°Áµ“¡ ‡π◊ËÕß®“°‡ªìπ°“√µ√«®‡Õ° “√®“°°“√ ®¥∑–‡∫’¬π°≈ÿà¡·√°Ê ®÷߉¡à “¡“√∂ √ÿ ª ‰¥â «à “ ‡Õ° “√°“√®¥∑–‡∫’ ¬ π ∑—ÈßÀ¡¥¢Õß√–¬–‡«≈“ ‘Èπ ÿ¥«—π∑’Ë 30
39 Thai Textile & Apparel
惻®‘°“¬π 2553 ∑’˺à“π¡“®–¡’ªí≠À“ ¥—ß°≈à“« ´÷Ëß®“°°“√µ√«® Õ∫ ECHA ‰¥â „À⧔·π–π”∑’Ë ”§—≠¥—ßπ’È - °“√Õ∏‘∫“¬≈—°…≥–‡©æ“–¢Õß “√‡§¡’∑’Ë®¥∑–‡∫’¬π„Àâ™—¥‡®π¢÷Èπ - °“√¥—¥·ª≈ß√–∫∫°“√∑¥ Õ∫ ¡“µ√∞“πµâÕ߇ªìπ‰ªµ“¡‡ß◊ËÕπ‰¢∑’Ë√–∫ÿ „π Annex XI À√◊Õ„π column 2 ¢Õß Annex VII-X ¢Õß√–‡∫’¬∫ REACH æ√â Õ ¡∑—È ß §”Õ∏‘ ∫ “¬∂÷ ß °“√¥— ¥ ·ª≈ß∑’Ë ™—¥‡®π - √ÿ ª °“√»÷ ° …“§«√√–∫ÿ √ “¬≈–‡Õ’ ¬ ¥∑’Ë ‡ æ’ ¬ ßæÕ‡æ◊Ë Õ °“√ª√–‡¡‘ π ¢âÕ¡Ÿ≈‡©æ“–√“¬ - °“√®”·π°·≈–°“√µ‘¥©≈“° §«√√–∫ÿ§«“¡‡ªìπÕ—πµ√“¬À√◊Õ‡ªìπ‰ª µ“¡°“√®”·π°ª√–‡¿∑·≈–°“√µ‘ ¥ ©≈“°„À⇪ìπ·π«∑“߇¥’¬«°—π ”À√—∫
“√‡§¡’ (harmonized classification and labeling of the substance) - µâ Õ ß‡ πÕ¢â Õ ‡ πÕ¢Õ∑”°“√ ∑¥ Õ∫°àÕπ∑’Ë°“√∑¥ Õ∫®–‡ √Á® ‘Èπ (‡æ◊Ë Õ °“√∑¥ Õ∫¿“¬„µâ Annex IX ·≈– X) ‡π◊ËÕß®“°°“√∑”°“√∑¥ Õ∫ °àÕπ∑’Ë ECHA ®–æ‘®“√≥“Õ“®π”‰ª Ÿà ªí≠À“∑“ß°ÆÀ¡“¬ - °“√®¥∑–‡∫’¬π®–µâÕß·∫àߪíπ ¢âÕ¡Ÿ≈®“°°“√∑¥ Õ∫„π —µ«å·≈–‡æ◊ËÕ ‡©≈’ˬ¿“√–µâπ∑ÿπ°àÕπ¬◊Ëπ‡Õ° “√¢âÕ¡Ÿ≈ ∑—Èßπ’È°”À𥇫≈“ ‘Èπ ÿ¥§√—Èßπ’ȇªìπ‡æ’¬ß °“√‡√‘Ë¡µâπ‡∑à“π—Èπ ¬—ß¡’°”À𥇫≈“ ‘Èπ ÿ¥„πÕπ“§µÕ’° 2 §√—Èß„πªï 2556 ·≈– 2561 ”À√—∫ “√‡§¡’∑’˺≈‘µ·≈–π”‡¢â“ „πª√‘¡“≥∑’˵˔°«à“ §≥–°√√¡“∏‘°“√ ®–æ‘ ® “√≥“ª√– ∫°“√≥å ® “°°“√ ª√–‡¡‘ π „π§√—È ß π’È ‡ æ◊Ë Õ ª√— ∫ ª√ÿ ß °“√
¥”‡π‘ π °“√ ”À√— ∫ «— π ‘È π ÿ ¥ °“√®¥ ∑–‡∫’ ¬ π§√—È ß µà Õ ‰ª „Àâ ‡ ªì π ‰ªÕ¬à “ ß ‡√’¬∫√âÕ¬ ภูมิหลัง
√–‡∫’ ¬ ∫§«∫§ÿ ¡ ‡§¡’ ¿— ≥ ±å À√◊ Õ REACH ‡ªì π √–‡∫’ ¬ ∫«à “ ¥â « ¬°“√®¥ ∑–‡∫’ ¬ π “√‡§¡’ °“√µ√«® Õ∫·≈– ª√–‡¡‘ 𠧫“¡‡ ’Ë ¬ ß®“°°“√„™â „Àâ ¡’ º≈∫— ß §— ∫ „™â µ—È ß ·µà «— π ∑’Ë 1 ¡‘ ∂ÿ 𠓬π 2550 ·≈–°”Àπ¥„Àâ∏ÿ√°‘®∑’˪√– ß§å ®–®”Àπà“¬À√◊Õπ”‡¢â“ “√‡§¡’®–µâÕß ®¥∑–‡∫’ ¬ π “√‡§¡’ ¿ “¬„π«— π ∑’Ë 30 惻®‘°“¬π 2553 ”À√—∫ “√‡§¡’∑’Ë º≈‘ µ À√◊ Õ π”‡¢â “ „π À¿“æ¬ÿ ‚ √ª¡“° °«à“ 1,000 µ—πµàÕªï “√∑’ˇªìπæ‘… Ÿß µà Õ — µ «å πÈ ” ∑’Ë º ≈‘ µ À√◊ Õ π”‡¢â “ ¡“°°«à “ 100 µ— π /ªï / ∫√‘ …— ∑ ·≈– “√Õ— π µ√“¬ °≈ÿà¡ CMR ¡“°°«à“ 1 µ—π/ªï/∫√‘…—∑ T& T
Thai Textile & Apparel 40
MARKETING idea
ดร.พงษ์ศักดิ์ สวัสดิเกียรติ ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ ม.เกษตรศาสตร์ / อาจารย์พิเศษโครงการปริญญาเอกการจัดการกีฬา ม.เกษตรศาสตร์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการพิสิษฐ์กรุ๊ป
ทำให้ ด ู ด ี แต่ บ างที ก็ ไ ม่ โ ดน
ใน การบริ ห ารธุ ร กิ จ โดย เฉพาะอย่างยิ่งการบริหารการตลาด แล้ ว สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ส ำคั ญ ก็ คื อ การรู้ จั ก ลู ก ค้ า ที่ เ ร า เ รี ย ก ว่ า ก ลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้าหมาย (TARGET CUSTOMER) ซึ่ ง ตำราทุ ก เล่ ม ก็ เ ขี ย นหมื อ นกั น คื อ จะต้องสื่อสารกับลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ แ ล้ ว
Thai Textile & Apparel 42
ก็ผ่านการโฆษณา หรือกิจกรรมการ ตลาดต่างๆ ให้ลูกค้ากลุ่มเป้าหมายได้ ซึมซับและรับรู้ว่าสินค้านั้นๆ จะตอบ สนองความต้ อ งการหลั ก เช่ น ซื้ อ นาฬิกาก็คือการบอกเวลา ซื้อรถยนต์ ก็เพื่อเป็นพาหนะในการเดินทาง แต่ ความต้องการรองๆ ลงมา เช่น ความ หรูหรา ใช้แล้วดูดีมีระดับ ใช้แล้วเป็น พวกเดียวกัน ฯลฯ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่ง ที่ต้องใช้การสื่อสารทางการตลาดเข้า มาบูรณาการหรือใช้ตัวพรีเซ็นเตอร์ มาสื่อสารกับลูกค้าเป้าหมาย แน่นอนครับในกระบวนการ เลื อ กพรี เ ซ็ น เตอร์ ก็ ต้ อ งให้ ต รงกั บ ภาพลั ก ษณ์ ข องสิ น ค้ า และสิ่ ง ที่ ปรารถนาให้ผู้บริโภครู้สึกได้ เช่น เรา คงไม่ ส ามารถเชื่ อ ถื อ ในภาพลั ก ษณ์ สิ น ค้ า ร ถ ย น ต์ เ บ น ซ์ ไ ด้ ดี ห า ก ใ ช้
คุ ณ เท่ ง เถิ ด เทิ ง เพราะไม่ ต รงกั บ ภาพลักษณ์ของสินค้า แต่อาจจะมีคน แย้ ง ว่ า แล้ ว ทำไมตุ๊ ก กี้ ถึ ง เป็ น พรี เซ็ น เตอร์ ใ ห้ กั บ รถกระบะโตโยต้ า ได้ คำตอบก็ คื อ ว่ า รถยนต์ ก ระบะโตโย ต้านั้น MATURE แล้วเป็นที่รู้จักและ ยอมรั บ เพี ย งแต่ ต้ อ งการสร้ า งการ จดจำในเรื่องของการประหยัดน้ำมัน และมี ตั ว เบรกคื อ คุ ณ ป๋ อ ณั ฐ วุ ฒ ิ ที่ ดู ดี มี ร ะดั บ มาสร้ า งความสมดุ ล ได้ นั่นเอง อ้าว.....แล้วทำไมเท่ง เถิดเทิง ถึ ง ไปเป็ น พรี เ ซ็ น เตอร์ ใ ห้ กั บ ปู น ตรา ดอกบั ว ได้ ล่ ะ ครั บ แน่ น อนความ สนุกสนานและเพลงที่จดจำได้ง่ายๆ นั้นทำให้คนจำโฆษณาได้ และอย่าลืม ว่ า คนที่ มี อิ ท ธิ พ ลกั บ การตั ด สิ น ใจ ซื้ อ ปู น นั้ น ช่ า งปู น หรื อ ผู้ รั บ เหมา ก่ อ สร้ า งนั บ ได้ ว่ า เป็ น ผู้ มี อิ ท ธิ พ ลใน
การตัดสินใจซื้อ ลองนึกดูนะครับหาก ทางช่างบอกว่าปูนดอกบัวฉาบแล้วดี แข็งแรงทนทาน และราคายังถูกกว่า ปูนตราเสือ ถ้าทั้งหลังนี้เปลี่ยนยี่ห้อ ปูนก็จะทำให้ประหยัดได้ถึง 30,000 บาทล่ะก็ เจ้าของบ้านก็เขวได้เหมือน กันนะครับ แต่ ก็ ใช่ ว่ า การทำให้ ดู ดี มี ระดั บ จะถู ก ต้ อ งเสมอไปนะครั บ เพราะว่าหากเรานำ นิชคุณ (ทำไม เค้าดังก็ ไม่รู้สาวๆ กรี๊ดสลบกันทั้งนั้น คนหล่ อ ทำอะไรไม่ น่ า เกลี ย ดมั้ ง ) มาโฆษณาเบี ย ร์ ช้ า งอะไรจะเกิ ด ขึ้ น “มั น ไม่ โ ดน” เพราะคนดื่ ม ช้ า งก็ จ ะ บอกว่านี่ ไม่ ใช่ตัวตนของเค้า ของเค้า ของแท้ต้องพี่แอ๊ดคาราบาวต่างหาก แต่ ช่ ว งหลั ง นี่ โ ฆษณา “เบี ย ร์ ไทย ทำเอง” “คนไทยหรือเปล่า” ของพี่ แอ๊ดหายไปจนไม่ทราบว่าเป็นสาเหตุ หนึ่งของยอดขายของช้างที่ โดนค่าย
สิงห์เบียดกลับมาเป็นแชมป์ ได้อีกหรือ ไม่ เพราะเห็นว่าเอาเพลงของ คุ ณ บอย โกสิยพงษ์ มาทำหนังโฆษณา และใช้ คุ ณ วิ ล ลี่ ม าเป็ น พรี เ ซ็ น เตอร์ ซึ่ ง อาจจะไม่ โ ดนเพราะเพลงพี่ แ อ๊ ด แกง่ า ยๆ ติ ด ดิ น ไม่ ต้ อ งแปลความ ที่สำคัญ “โดน” ทุกคำทุกเม็ด ขนาด กี ต าร์ แ กยั ง ทุ่ ม ใส่ ได้ เ พื่ อ แสดงว่ า แม้ แ ต่ กี ต าร์ แ กยั ง ติ ด ดิ น เลยครั บ พี่ น้อง ชิมิชิมิ ในหัวข้ออบรมพนักงาน ขายทั้งหลายก็จะมีอยู่ข้อหนึ่งที่ว่า จะ ต้ อ งมี ก ารแต่ ง กายที่ ดี บุ ค ลิ ก ดี เป็นต้น ซึ่งมิได้หมายความว่าจะต้อง ใส่ สู ท ผู ก ไทค์ แ ต่ เ พี ย งอย่ า งเดี ย ว
เท่ า นั้ น เช่ น หากเป็ น พนั ก งานขาย แบตเตอรี่ที่ต้องติดต่อร้านค้าย่อยทั้ง หลายที่กระจายอยู่ทุกถนน หากแต่ง แบบนั้ น คงไม่ โดนใจเจ้ า ของร้ า น แบตเตอรี่ เ ป็ น แน่ แ ท้ แต่ ก็ ต้ อ งแต่ ง กายให้ สุ ภ าพดู ดี เ หมาะกั บ สภาพ แวดล้อม นานมาแล้วแชมพูยี่ห้อแฟ ซ่ า ซึ่ ง ขายดี ม ากเป็ น อั น ดั บ สองรอง จากซันซิลทั้งๆ ที่ ในกรุงเทพและเมือง ใหญ่ๆ ยอดขายน้อยมาก ทั้งนี้เพราะ ตลาดส่วนใหญ่ของแฟซ่าอยู่ ในชนบท ซึ่ ง เ ป็ น ป ร ะ ช า ก ร ส่ ว น ใ ห ญ่ ข อ ง ประเทศไทย แต่หากรวมตลาดแชมพู พรีเมี่ยม ก็จะมีตลาดไม่มากนักเพราะ นั บ วั น ตลาดแชมพู พ รี เ มี่ ย มขยาย ตัวอย่างต่อเนื่อง ตามกำลังซื้อและ วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปของคนไทย มาวั น หนึ่ ง เมื่ อ นานมาแล้ ว แฟซ่ า ให้ คุ ณ แ ซ ม ยุ ร นั น ท์ ม า เ ป็ น พ รี เซ็ น เตอร์ ป รากฏว่ า ยอดขายไ ม่ กระเตื้ อ งเลย ทั้ ง นี้ ถึ ง แม้ ว่ า จะมี เป้าหมายเพื่อเจาะตลาดคนในเมือง แต่มันไม่ โดนใจผู้บริโ ภค แถมยังอาจ จะมีผลกระทบต่อความรู้สึกของคนใน ชนบทอี ก ด้ ว ย เพราะแซมดู เ ป็ น คน ที่หรูหรา ไม่ติดดิน ไม่ตรงกับวิถีชีวิต ชนบท งั้ น หากเอาพี่ แ อ๊ ด มาเป็ น พรีเซ็นเตอร์แฟซ่าล่ะครับคงไม่เวิร์ค เพราะดู แ ล้ ว พี่ แ อ๊ ด แกไม่ ค่ อ ยได้ สระผมนะครับที่สำคัญทุ่มแชมพูใส่คน ดูมันไม่ ได้อารมณ์ครับพี่น้อง 555+ T& T
43 Thai Textile & Apparel
MANAGEMENT share ดร.จตุพร สังขวรรณ ผู้อำนวยการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการโลจิสติกส์ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก Managing Director, International Advisory Associates Co.,Ltd. Change Management and Corporate Alignment Consultant dr_jatuporn@yahoo.com, dr_jatuporn@iaa.co.th
Leading Value
ตอน ความสุข...
อยู่ที่คุณเลือก ความสุ ข คื อ อะไร? คำถาม ง่ายๆ ที่หลายๆ คนกำลังพยายามหา คำตอบให้กับตนเอง ซึ่งน้อยคนนักที่ จะค้นพบว่าความสุขที่แท้จริงที่ตนเอง ต้ อ งการคื อ อะไร??? ผู้ ค นส่ ว นใหญ่ เมื่อพูดถึงความสุขแล้ว มักจะมองว่า คนที่มีความสุขคือ “คนอื่น” ตนเอง นั้นมีแต่ความทุกข์ ความยากลำบาก จึ ง ไม่ น่ า แปลกใจว่ า ทำไมสั ง คมใน ปัจจุบันถึงได้วุ่นวายนัก เพราะคนส่วน ใหญ่มักจะคาดหวังว่าจะได้รับความสุข จากสิ่งรอบข้าง เมื่อไม่เป็นไปตามที่ หวั ง ความผิ ด หวั ง เสี ย ใจก็ คื บ คลาน เข้ามาจนก่อตัวเป็นความทุกข์....แล้ว ความสุขคืออะไรล่ะ??? ถ้ า ผมจะบอกว่ า ความสุ ข คื อ การตัดสินใจเลือก คุณคิดอย่างไรบ้าง
Thai Textile & Apparel 44
กับคำตอบนี้ ทำไมผมถึงบอกว่าความ สุขคือการตัดสินใจเลือกน่ะหรือครับ ก็ เพราะว่าความสุขของแต่ละคนอยู่ที่ การเลื อ ก เลื อ กที่ จ ะตอบสนองหรื อ ตอบโต้ต่อเหตุการณ์และสิ่งรอบตัวที่ เกิดขึ้น เลือกที่จะเป็นยายตัวดีที่ชีวิตมี แต่ความสุข หรือจะเลือกเป็นยายตัว ร้ายที่ชีวิตมีแต่ความทุกข์ ก็สุดแต่การ ตั ด สิ น ใจของแต่ ล ะคน เหมื อ นที่ หลายๆ คนมักจะพูดว่า “ชีวิตเลือก เกิดไม่ ได้แต่เลือกที่จะเป็นได้” ความ สุขก็เช่นเดียวกัน เส้ น ทางของความสุ ข และ ความทุ ก ข์ นั้ น อาจจะแตกต่ า งกั น ไป ตามเป้าหมายของแต่ละคนที่พิจารณา แล้ ว ว่ า อะไรคื อ สิ่ ง ที่ ต นเองให้ ค วาม สำคั ญ ในชี วิ ต ซึ่ ง การมี เ ป้ า หมายใน
ชี วิ ต จะช่ ว ยให้ คุ ณ รู้ ว่ า ควรจะเริ่ ม ต้ น หาความสุขได้จากอะไร และไม่ ห ลง ทางไปกับความสุขจอมปลอมที่เกิดขึ้น โดยสามารถแบ่งกลุ่มคนที่มีเป้าหมาย กั บ คนที่ ไม่ มี เ ป้ า หมายออกเป็ น 4 กลุ่ ม เปรี ย บเที ย บกั บ การเลื อ ก รับประทานอาหาร ดังนี้ 1. จากความสุขระยะสั้นไปสู่ ความสุ ข ระยะยาว คนกลุ่ ม นี้ จ ะมี เป้าหมาย พร้อมกับการตัดสินใจเลือก ที่จะมีความสุขตั้งแต่เริ่มต้น โดยเลือก ที่จะเริ่มจากการที่จะเชื่อว่าอาหารมี ประโยชน์ก็อร่อยได้ ปรับทัศนคติให้มี ความสุ ข ในการเลื อ กรั บ ประทาน อาหารที่มีประโยชน์ เมื่อความสุขใน ระยะสั้ น เกิ ด ก็ จ ะส่ ง ผลไปสู่ ค วามสุ ข ในระยะยาวที่ จ ะมี สุ ข ภาพดี อ ย่ า งมี
ความสุ ข ดั ง นั้ น การที่ เ ราสามารถ สร้างความสุขในระยะสั้นและส่งผลไป สู่ความสุขในระยะยาวได้นั้นถือว่าเป็น ความสุขชั้นเลิศ 2. จากความทุกข์ระยะสั้นไป สู่ ค วามสุ ข ระยะยาว กลุ่ ม นี้ มี เ ป้ า หมาย แต่ รู้ สึ ก เป็ น ทุ ก ข์ ใ นเวลาแห่ ง การเริ่ ม ต้ น คนกลุ่ ม นี้ มี เ ป้ า หมายใน ระยะยาวให้มีสุขภาพดี แต่ต้องพบกับ ความทุกข์ ในระยะแรกที่ต้องฝืนทาน อาหารที่ตนไม่ชอบเพื่อเป้าหมายที่จะมี สุขภาพดี ในระยะยาว ดังนั้นคนกลุ่มนี้ จึงเป็นผู้ที่เสียสละความสุขในระยะสั้น เพื่อความสุขในระยะยาว 3. จากความสุขระยะสั้นไปสู่ ความทุกข์ระยะยาว กลุ่มนี้มักจะไม่มี เป้าหมายหรือตัดสินใจที่จะมีความสุข ในระยะสั้นๆ แสวงหาความสุขเฉพาะ หน้า เหมือนกับการเลือกรับประทาน อาหารตามความพอใจโดยมิได้คำนึง ถึ ง ประโยชน์ แ ละคุ ณ ค่ า ทางอาหาร ผลในระยะยาวก็จะทำให้เกิดเป็นความ ทุกข์เนื่องจากสุขภาพไม่ดี ดังนั้นคน กลุ่ ม นี้ จึ ง เป็ น ผู้ ที่ ค ำนึ ง ถึ ง ความสุ ข เฉพาะหน้าในระยะสั้นโดยไม่ ได้คำนึง ถึงผลที่จะเกิดตามในระยะยาว
ความสุขนั้นไม่ ใช่สิ่งที่หวังว่าจะ เกิ ด ขึ้ น ในอนาคต เพราะเราทุ ก คน สามารถตัดสินใจได้ว่าจะเลือกที่จะมี ความสุขในวันนี้กับสิ่งที่มีอยู่ หรืออยู่ บนความเร่งรีบที่จะทำให้เกิดความสุข ในอนาคต จนวันสุดท้ายของชีวิตมา ถึงแล้วบอกกับญาติพี่น้องว่าอยากจะ ทำโน่ น อยากจะทำนี่ แต่ ที่ ส ำคั ญ “ไม่มี โอกาสได้ทำแล้ว” ดังนั้นเราจึง จำเป็นจะต้องจัดลำดับความสำคัญให้ ได้ว่าอะไรคือสิ่งสำคัญ คือความสุขใน ชี วิ ต ที่ ค วรจะตั ด สิ น ใจเริ่ ม ต้ น ให้ เ ร็ ว 4. จากความทุกข์ระยะสั้นไป ที่สุด การที่จะทำให้ชีวิตนั้นมีความสุข สู่ความทุกข์ระยะยาว คนกลุ่มนี้เป็น ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งง่ า ย หากแต่ ต้ อ งมี ค วาม คนที่ ไ ม่ มี เ ป้ า หมาย ไ ม่ ส นใจทั้ ง ตั้ ง ใจที่ แ น่ ว แน่ และมี วิ นั ย ในตนเอง ปั จ จุ บั น และอนาคต ปล่ อ ยชี วิ ต ไป โดยอาศัย 3 สิ่งต่อไปนี้ ตามยถากรรม จึ ง ไม่ มี ก ารเลื อ ก สุดท้าย อย่ามองข้ามความสุข รับประทานอาหาร มีอะไรก็ทานอย่าง จากเหตุการณ์หรือสิ่งรอบตัวของคุณ นั้ น โดยมิ ไ ด้ ค ำนึ ง ถึ ง ประโยชน์ แ ละ ในปั จ จุ บั น อย่ า ลื ม ที่ จ ะตั้ ง เป้ า หมาย คุณค่าทางอาหาร รวมทั้งผลในระยะ เพื่ อ ความสุ ข ในระยะยาวของชี วิ ต ยาวที่จะเกิดขึ้นตามมานั่นก็คือการมี และอย่ารอจนไม่มี โอกาสได้สัมผัสถึง สุขภาพที่ ไม่ดี ดังนั้นคนกลุ่มนี้จึงเป็น ความสุข ถ้าคุณอยากจะมีความสุขจง ผู้ที่มีชีวิตอยู่ ไปวันๆ ไม่สนใจทั้งผลใน จำไว้ ว่ า “ความสุ ข สร้ า งได้ . ...อยู่ ที่ ระยะสั้นและระยะยาวว่าจะเป็นเช่นไร คุณเลือก” T& T
องค์ประกอบของความสุข © International Advisory Associates Co., Ltd.
45 Thai Textile & Apparel
HORO scope
ÿ√æ≈ µ√ßµàÕ»—°¥‘Ï
โอกาสเสี่ยงเรื่องภัยพิบัติในบานเรา บทความครั้งนี้อาจจะแปลกตากว่าทุกครับ เหตุจากภัย พิบัติแผ่นดินไหวและสึนามิที่เกิดขึ้นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของเกาะŒอนชูประเทศ≠ี่ปÉุนค่อนข้างกระทบใจผมเป็นอย่างมาก เกิดคำถามที่วนเวียนในสมองอย่างมากมายว่า โอกาสที่ประเทศ ของเราจะเกิดเหตุการณ์เช่นที่≠ี่ปÉุนมีมากน้อยเพียงไร และจาก ปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในช่วงต้นปïที่ผ่านมา เราสามารถ สัมผัสอากาศหนาวในราวเดือนมีนาคม หรือเกิดน้ำท่วมให≠่ ใน ภาคใต้ของประเทศในช่วงต้นปï ดังนั้นสิ่งที่ ไม่เคยเกิดก็อาจจะ เกิดขึ้นได้ครับ ด้ ว ยเหตุ นี้ ผมจึ ง ใคร่ ข ออนุ ≠ าตนำเสนอเนื้ อ หาและ การเตรียมพร้อมรับมือกับภัยพิบัติที่อาจจะเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา โดยหวังว่าข้อมูลดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อท่านผู้อ่านครับ ภัยพิบัติจากภัยธรรมชาติมีหลายรูปแบบแตกต่างกันไป บางอย่างร้ายแรงน้อย บางอย่างร้ายแรงมาก ซึ่งอาจทำให้เกิด ผลเสี ย ต่ อ ชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น ซึ่ ง ภั ย พิ บั ติ ต ามธรรมชาติ ต่ า งๆ
Thai Textile & Apparel 46
แบ่งเป็น 8 ประเภท วาต¿ัย | อุทก¿ัย | ทุกข¿ิกข¿ัย | พายุΩนøÑาคะนอง | คลื่นพายุ´ัดΩัòง | แº่นดิน‰หว | แº่นดินถล่ม | ‰øปÉา เมื่อเราไม่สามารถหยั่งรู้ดินฟ้าได้ ดังนั้นวิธีง่ายที่สุดที่ จะช่วยลดระดับความสู≠เสียจากมากให้น้อยลงได้คือ การ เตรียมรับมือกับภัยพิบัติที่เกิดขึ้น ดังนี้ การปองกัน - ติดตามสภาวะอากาศ ฟังคำเตือนจากกรมอุตุนิยมวิทยา - สอบถาม แจ้งสภาวะอากาศร้าย โทร. 0-5327-7919 ตลอด 24 ชั่วโมง - ซ่อมแซมอาคารบ้านเรือนให้แข็งแรง เตรียมป้องกัน ภัยให้สัตว์เลี้ยงและพืชผลการเกษตร
- ไม่ ใช้อุปกรณ์ ไฟฟ้าทุกชนิด ไม่ ใส่เครื่องประดับโลหะ และอยู่กลางแจ้ง ขณะมีฟ้าคะนอง - ฝึกซ้อมการป้องกันภัยพิบัติ เตรียมพร้อมรับมือ และ วางแผนอพยพหากจำเป็น - เตรียมเครื่องอุป โภค บริโ ภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยุ กระเป๋าหิ้วติดตามข่าวสาร - เตรียมพร้อมอพยพเมื่อได้รับแจ้งให้อพยพไปถ้าอยู่ ใน พื้นที่เสี่ยงภัยและฝนตกหนักต่อเนื่อง - หากอยู่ ในพื้นที่น้ำท่วมขัง ป้องกันโรคระบาด ระวังเรื่อง น้ำและอาหารต้องสุกและสะอาดก่อนบริโภค - ขั บ รถให้หยุดรถ ควบคุมสติ อยู่ภายในรถจนการสั่ น สะเทือนหยุดลง - ไม่ลงเล่นน้ำ ไม่ขับรถผ่านน้ำหลากแม้อยู่บนถนน ถ้าอยู ่
ใกล้น้ำ เตรียมเรือเพื่อการคมนาคม - ขณะเกิดแผ่นดินไหวอยู่ ในอาคารสูง ควบคุมสติ หลบใต้ โต๊ะแข็งแรง ไม่วิ่งลงบันได ลงลิฟต์ - ถ้าอยู่นอกอาคาร ห่างจากอาคารสูง กำแพง เสาไฟฟ้า ไปอยู่ที่ โล่งแจ้ง - หลังเกิดแผ่นดินไหวสำรวจผู้ประสบภัย ปฐมพยาบาล ผู้ ได้รับบาดเจ็บ ส่งแพทย์หากเจ็บหนัก
- ดับไฟ บุหรี่ ธูป เทียน กองไฟให้ความอบอุ่น ทุกครั้ง ในบ้านหรือกลางแจ้ง - ติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิงฉุกเฉินประจำอาคารบ้านเรือน - เก็บวัสดุอุปกรณ์ ไวไฟ สารเคมี ให้อยู่ ในที่ปลอดภัย
การเตรี ย มตั ว เตรี ย มปั จ จั ย เพื่ อ ตนเองและ สมาชิกในครอบครัวอย่างง่าย 1. เตรี ย มอาหารและน้ ำ ดื่ ม ไว้ ที่ บ้ า นอย่ า งน้ อ ย 1 เดื อ น หรือให้ ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ 2. เครื่องนุ่งห่มเพื่อความอบอุ่นของร่างกาย ได้แก่ เสื้อผ้า กระเป๋าน้ำร้อน ผ้าห่ม ฯลฯ 3. เครื่องใช้ที่จำเป็น 4. ที่อยู่อาศัยหรือสำรองที่อยู่อาศัย 5. ยารักษาโรคและยาเฉพาะโรคประจำตัว 6. ด่างทับทิมและคาราไมล์ ห้ามกินอาหารที่ ไม่สดสะอาด เพราะจะมีทั้งเชื้อโรคและสารกัมมันตรังสี ให้นำมาล้าง ด้ ว ยด่ า งทั บ ทิ ม ส่ ว นคาราไมล์ จะมี ไ ว้ รั ก ษาโรคทาง ผิวหนัง 7. ยานพาหนะ เช่น เรือ เสื้อชูชีพ
47 Thai Textile & Apparel
8. เครื่องช่วยชีวิตยามฉุกเฉิน 9. แสงสว่าง เช่น เทียน ไฟฉาย ตะเกียงพายุ 10. เตรียมสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ การดูแลตัวเองในช่วงวิกฤติ 1. ห้ามออกนอกบ้านโดยเด็ดขาดถ้าไม่จำเป็น 2. ห้ามตากฝน เพราะในฝนอาจจะมีพิษ ทั้งเชื้อโรคและ สารเคมีที่มนุษย์สร้างขึ้น 3. ห้ามลุยน้ำหรือแช่น้ำนานๆ แต่ถ้าหลีกเลียงไม่ ได้ต้องใช้ ด่างทับทิมล้างทุกครั้ง 4. พิจารณาอย่างรอบคอบในการเปิดประตูต้อนรับผู้อื่น เพราะเราไม่รู้ว่าใครคือมิตรหรือศัตรูกันแน่ 5. ห้ามกินเนื้อสัตว์ทุกชนิด เพราะสัตว์นั้นอาจจะกินหรือ โดนสารพิษมา 6. ห้ามกินผักที่ยังไม่ ได้แช่ด่างทับทิม
7. ฝึกการกินน้อย ถ่ายน้อย 8. ระวังอากาศที่หนาวเย็น 9. ระวังสัตว์ร้าย สัตว์มีพิษ เช่น งูพิษ จระเข้ 10. ห้ามอยู่ตึกสูงเกิน 3 ชั้น เพราะตึกสูงเกิน 3 ชั้น จะพัง ทลายได้หากเกิดแผ่นดินไหว 11. มีสติรู้ตัวตลอดเวลา ยอมรับให้ ได้ต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 12. อย่ า อยู่ นิ่ ง เฉย เพราะจะทำให้ ก ลั ว มากขึ้ น ควรหา กิจกรรมทำ เช่น อ่านหนังสือธรรมะ หรือสวดมนต์ ให้มี สติรู้ก็ยังได้ ท้ายสุดนี้ เมื่อเราไม่รู้ภัยพิบัติจะเกิดขึ้นเมื่อใด ดังนั้น พวกเราควรจะช่วยกันดูแล ปฏิบัติดี ทำสิ่งที่ดีกัน ทำประโยชน์ แบ่งปันกัน ทำให้ตนเองรู้สึกมีคุณค่า ทำสิ่งที่อยากทำทันทีก่อน จะไม่มี โอกาสได้ทำ กราบเท้าและบอกรักพ่อ-แม่ เหมือนไม่มีวัน พรุ่งนี้ เพราะเราก็ ไม่รู้ว่าเราจะได้อยู่ถึง วันพรุ่งนี้อาจจะไม่มีเลย ก็เป็นได้ T& T
ท่านที่สนใจอบรม “เสริมโหงวเฮ้งสร้างความมั่งคั่งยุคเงินบาทแข็งกระเป๋าแห้ง” เพื่อเร่งให้เกิดการฉกฉวยโอกาส จังหวะต่อสู้ชีวิตให้เงินในกระเป๋าตุงในยุคเศรษฐกิจสังคมการเมืองปัจจุบัน สอบถามรายละเอียดที่ โทร 08-91754510 หรือ 08-9796-3626 (รับจำนวนจำกัดพร้อมรับมอบพระหยกแท้เพื่อสิริมงคงในการดำเนินชีวิตใหม่อีกด้วย)
Thai Textile & Apparel 48
LIFE style
สาวซอกแซก
ช่ า งตั ด ชุ ด สู ท โกอิ น เตอร์ ข่าวว่ามีช่างตัดชุดสูทชาวไทย ท่ า นหนึ่ ง สามารถเดิ น ทางไปให้ บริ ก ารตั ด เย็ บ ชุ ด สู ท แก่ เ จ้ า หน้ า ที่ ใ น มหาวิทยาลัยชั้นนำอย่าง European University Viadrina ประเทศเยอรมนี ชายที่ว่านี้ชื่อว่า จิม เชคไนเดอร์ อายุ 61 ปี เป็ น คนกรุ ง เทพฯ เขามี อ าชี พ เป็นช่างตัดชุดสูท เสื้อเชิ้ต และเนคไท แนวคิ ด ทางการทำธุ ร กิ จ ของเขานั้ น ง่ายๆ คือ ราคาคือเครื่องดึงดูดลูกค้า เขากล่ า วว่ า เขาจะเดิ น ทาง ปี ล ะ 2 ครั้ ง โดยจะใช้ เ วลา 10 วั น ในเยอรมั น ลู ก ค้ า ของเขามี ทั้ ง ใน มหาวิทยาลัยเอกชน และบริษัทเอกชน เช่น Goldman Sachs นอกจากการ รับออร์เดอร์ใหม่แล้วยังมาให้บริการแก่ ลูกค้าเก่าๆ อีกด้วย การบริ ก ารของเขามี ทั้ ง ชุ ด สูท เสื้อเชิ้ต และเนคไท จะใช้ผ้าที่สั่ง ตรงจากอิตาลีและอังกฤษ นอกจากนี้ ในส่ ว นของกระดุ ม และอุ ป กรณ์ อื่ น ๆ ล้ ว นมาจากความต้ อ งการของลู ก ค้ า เมื่ อ ออร์ เ ดอร์ ทุ ก ชิ้ น ได้ รั บ การบั น ทึ ก เรี ย บร้ อ ยแล้ ว เขาจะเดิ น ทางกลั บ กรุ ง เทพฯ เพื่ อ นำรายละเอี ย ดของ ลูกค้าแต่ละรายส่งต่อไปยังทีมงานกว่า 70 ชีวิต ดำเนินการขั้นตอนต่อไป ตั้ง แต่การตัด เย็บ การรีด ซึ่งจะแล้วเสร็จ ภายใน 8 สัปดาห์
ช่างตัดเย็บจากประเทศไทย คุณจิม
จุดเด่นที่เขาได้รับความนิยมก็ คือการนำเสนอ ชุดสูท 1 ชุด กางเกง 2 ตั ว และเนคไท 1 เส้ น ในราคา 15,000-16,000 บาท หรื อ 360
ยู โ ร ซึ่ ง จำนวนเช่ น นี้ ห ากหาซื้ อ ที่ เยอรมั น ราคาจะมากกว่ า เป็ น เท่ า ตั ว เขาให้ เ หตุ ผ ลว่ า การที่ เ ขาสามารถ เสนอที่ต่ำกว่าได้ก็เพราะค่าแรงในไทย ถูกกว่าในยุโรปมาก Philipp Biermann นักศึกษา บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ จ า ก E u r o p e a n University Viadrina วัย 20 ปีก็เป็น หนึ่ ง ในลู ก ค้ า ของเขา กล่ า วว่ า เขา สามารถจ่ายเพียง 265 ยูโร ในการ ตัดชุดสูทตัวแรกของเขา
George Town นักวิชาการ ด้านเศรษฐกิจใน Viadrina กล่าวว่า การบริ ก ารของจิ ม ช่ ว ยให้ นั ก ศึ ก ษา ด้ า น ธุ ร กิ จ ที่ มี ร า ย ไ ด้ ไ ม่ ม า ก นั ก สามารถมี ชุ ด สู ท ในราคาถู ก ได้ และ การที่ชุดสูทเป็นที่จำเป็นของนักศึกษา ก็ เ พราะชุ ด สู ท ไม่ ใ ช่ เ สื้ อ ผ้ า ธรรมดา สามั ญ ทั่ ว ไป แต่ เ ป็ น ชุ ด ที่ บ่ ง บอกถึ ง การเป็นบุคคลพิเศษว่ามีสถานะใดใน สังคม และความที่มีการตัดเย็บที่เข้า รูปร่างพอดีก็สามารถเพิ่มความมั่นใจ ในการทำงานได้ ชื่อเสียงการตัดเย็บชุดสูทของ เขาเป็ น ที่ รู้ จั ก เป็ น อย่ า งดี กระทั่ ง นั ก วิชาการในมหาวิทยาลัยถึงกับกล่าวว่า
49 Thai Textile & Apparel
ในยุคที่เศรษฐกิจโลกาภิวัตน์ความเป็น ผู้ เ ชี่ ย วชาญพิ เ ศษจะไม่ ส ามารถถู ก ขวางกั้นด้วยพรมแดนอีกต่อไป แต่จะ สามารถได้ รั บ ความนิ ย มในระดั บ นานาชาติ อย่างเช่นถ้าเป็นเรื่องชิ้น ส่วนกลไกของรถยนต์แล้ว เยอรมันคือ เบอร์หนึ่ง แต่ถ้าเป็นเร่ืองของชุดสูท แล้วต้องเป็นประเทศไทย ลูกค้ารายหนึ่งของเขาซึ่งเป็น นักศึกษาปริญญาโท Marc Zurhold ได้สั่งตัดชุดสูทไปแล้ว 3 ชุด แต่เขา
ยังได้สั่งตัดชุดสูทไปที่ร้านของจิมไปที่ กรุงเทพฯ โดยเขาต้องการชุดสูท 2 ชุด สีน้ำตาลอ่อนและน้ำตาลแก่ เขา กล่ า วว่ า ชุ ด สู ท สามารถช่ ว ยให้ ดู เ ป็ น บุคคลพิเศษได้ มาดู ที่ ร ายได้ ข องเขาแล้ ว จะ ทึ่ง จิมจะรับงานเพียง 25 ชุดภาย ในวันเดียวที่เฟรงเฟิร์ส โดยงานแต่ละ ชิ้นจะตกราคาที่ 250 ยูโร เพียง 10 วัน
ในเยอรมั น เขาสามารถมี ร ายได้ ถึ ง 62,000 ยูโร แต่ เ ป็ น ที่ น่ า เสี ย ดายที่ เ ขาได้ ตัดสินใจที่จะวางมือและให้ลูกชายรับ ช่ ว งงานต่ อ ไป ซึ่ ง ขณะนี้ ลู ก ชายของ เขาได้เรียนรู้เทคนิคการตัดเย็บ การ จะเป็ น ช่ า งที่ ดี และแนวคิ ด การทำ ธุ ร กิ จ ของเขาน่ า จะครบกระบวนท่ า แล้ว แทบไม่ น่ า เชื่ อ ที่ อ าชี พ อย่ า ง ช่างตัดชุดสูทจะสามารถสร้างรายได้ งามขนาดนี้ นอกจากนี้ยังได้รับการ ยกย่องจากลูก ค้ า ตรงกั น ข้ า มกั บ ใน ขณะที่ในไทยที่จำนวนช่างตัดเย็บเสื้อ ได้ลดลงอย่างต่อเนื่อง เพราะผู้บริโภค นิ ย มซื้ อ หาเสื้ อ ผ้ า พร้ อ มใส่ ไ ด้ อ ย่ า ง สะดวกและรวดเร็ว เรื่ อ งราวของคุ ณ จิ ม หาก พิเคราะห์แล้วเราจะพบความจริงที่ว่า ไม่ ว่ า คุ ณ จะเป็ น อาชี พ ใดก็ ต าม หาก
คุณมีศรัทรา มีความมุ่งมั่น สามารถ พัฒนาจนเกิดความเชี่ยวชาญแล้วไซร้ คุณก็สามารถเดินถึงเส้นทางของความ สำเร็จในชีวิตได้ทั้งสิ้น ไม่ว่าอาชีพนั้น จะเป็นช่างตัดเสื้อผ้า ช่างทำรองเท้า ช่ า งปู น ช่ า งไม้ ช่ า งซ่ อ ม ช่ า งภาพ ช่างทาสี นักเขียน แม่บ้าน แม่ครัว คนเล่านิทาน หรือแม้แต่คนกวาดถนน ก็ตาม... T& T
Philipp Biermann นักศึกษาบริหารธุรกิจ หนึ่งในลูกค้าของจิม
Thai Textile & Apparel 50