หอมกลิ่นดอกจำปา เสน่หาลาวใต้

Page 1

“ น า ย ร อ บ รู ้ ”  A S E A N  G U I D E

]k;.8h หอมกลิ่นดอกจําปา

เสน่หา

เรื่อง : รุ่งโรจน์ จุกมงคล ภาพ : นคเรศ ธีระค�าศรี

จ า ก ป ร า ส า ท วั ด พู สู่ ถิ่ น ป ลู ก กาแฟลาว กาแฟลาว ตื่ น ต า วั ฒ น ธ ร ร ม ห ล า ก ช น เ ผ่ า สุ ด อ ลั ง ก า ร ส า ย นํ้ า โ ข ง    แ  และเ ล ะ เ ก า ะ แ ก่ ง สี่ พั น ด อ น

พ ร้ อ ม

แ ผ น ที่

ท่ อ ง เ ที่ ย ว



]k;.8h

หอมกลิ่นดอกจําปา

เสน่หา

รุ่งโรจน์ จุกมงคล



ทางเดินชมปราสาทวัดพู มีเสานางเรียงขนานต่อกัน


ทวารบาลที่ปราสาทวัดพู


“นายรอบรู้” บอกกล่าว ในปี พ.ศ. 2558 ไทยจะก้าวเป็นส่วนหนึง่ ของประชาคมเศรษฐ-  กิจอาเซียน (Asean Economics Community หรือ AEC)  นับเป็นโอกาสอันดีด้านการค้าและการลงทุนกับมิตรประเทศ  รวมทั้งด้านการท่องเที่ยวข้ามแดนที่จะต้องขยายตัวเพิ่มขึ้น  เพราะเพียงแค่ประเทศเพือ่ นบ้านทีม่ อี าณาเขตติดกันอย่างลาว  ก็มสี งิ่ น่าสนใจมากมายรอให้ไปสัมผัสเรียนรู ้ ด้วยแต่ละภูมภิ าค  ของลาวทั้งภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ ล้วนมีความแตก  ต่างหลากหลายของชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และธรรมชาติ  หอมกลิ่นดอกจ�าปา เสน่หาลาวใต้ คู่มือน�าเที่ยวในชุด  “นายรอบรู”้  ASEAN GUIDE โดย รุง่ โรจน์ จุกมงคล นักเขียน  นักเดินทาง และคนท�าสารคดี จะน�าผู้อ่านไปรู้จักแหล่งท่อง  เที่ยวและสิ่งน่าสนใจทางพื้นที่ตอนใต้ของลาว เริ่มตั้งแต่เดิน  ทางข้ า มพรมแดนไทยสู ่ ป ากเซ เมื องเอกของลาวใต้  ก่ อ น  ตระเวนไปตามพื้นที่กว้างใหญ่ของแขวงจ�าปาสัก เซกอง และ  อัตตะปือ กระทัง่ สุดปลายทางทีด่ า่ นชายแดนเวียดนาม พร้อม  ให้รายละเอียดการเดินทาง การเตรียมตัว แนะน�าที่พัก ร้าน  อาหาร ของฝาก และแผนที ่  นอกจากข้อมูลอันเป็นประโยชน์  ในการท่องเที่ยวแล้ว ผู้อ่านยังจะได้เพลิดเพลินกับบรรยากาศ  ลาวใต้ด้วยภาพถ่ายสวยงามของ นคเรศ ธีระค�าศรี ช่างภาพ  แถวหน้าของเมืองไทย  ทีผ่ า่ นมาอาจเพราะอยูใ่ กล้ชดิ กันจนคุน้ เคย ท�าให้เรามอง  ข้ามความน่าสนใจของเพือ่ นบ้านอย่างลาว  “นายรอบรู”้  หวังว่า  หอมกลิ่นดอกจ�าปา เสน่หาลาวใต้ จะช่วยกระตุ้นให้ผู้อ่าน  สนใจเดินทางไปเที่ยวมิตรประเทศอาเซียน และเกิดทัศนคติ  ที่ดีในความสัมพันธ์ระหว่างกัน อันเป็นรากฐานส�าคัญที่จะ  ช่วยสานความร่วมมือสู่ความก้าวหน้าและเข้มแข็งของ AEC   ในอนาคต


สารบัญ รู้จักก่อนเดินทาง  11

ประวัติและเหตุการณ์ส�าคัญ  12 สมัยสร้างบ้านแปงเมือง 12 • สมัยอาณานิคม การประกาศเอกราช และสงครามกลางเมือง 15 • ประวัติศาสตร์ลาวใต้ 19 ภูมิประเทศและภูมิอากาศ 21 • ชาติพันธุ์ชนเผ่า 22 การท่องเที่ยวในลาวใต้  24   1 เที่ยวเมืองเก่า : ปากเซ จ�าปาสัก 24 • 2 เที่ยวน�้าตกบอละเวน 25 3 เที่ยวเกาะแก่งแม่น�้าโขง 25 • 4 ชมโบราณสถาน 26 5 เที่ยวเซกอง-อัตตะปือ 27 การเดินทาง  28   หนังสือเดินทางและบัตรผ่านแดน 28 • การเดินทางสู่ลาวใต้ มุ่งสู่อุบลราชธานี 30 • มุ่งสู่ลาวใต้ 32 • การเดินทางจากลาวใต้กลับประเทศไทย 34 • การเดินทางในลาวใต้ 36 • การเดินทางจากปากเซ 37 การเดินทางจากจ�าปาสัก 39 • ภาษาลาวควรรู้ 41

ท่องเที่ยวในลาวใต้  45

ปากเซ ประตูสู่ลาวใต้  47 สถานที่น่าสนใจ  52 อาคารเก่าสมัยอาณานิคม 52 • วัดหลวงหรือวัดโพธิรัตนะศาสดาราม 57 สะพานเซโดน 58 • โรงแรมจ�าปาสักพาเลซ 58 พิพิธภัณฑ์มรดกประวัติศาสตร์จ�าปาสัก 60 • ย่านแคมของ 61 • ตลาดใหม่ปากเซ (ตลาดดาวเรือง) 61 ร้านอาหาร 62 • ร้านกาแฟ 66 • ของฝาก 67 จ�าปาสัก เมืองโบราณแห่งลาวใต้  69   สถานที่น่าสนใจ 73 อาคารเก่าสมัยอาณานิคม 73 • ดอนแดง 74 วัดเมืองกางหรือวัดพุทธวนาราม 81 • ปราสาทวัดพู 82


สี่พันดอน มหัศจรรย์แม่น�้าโขง  91 สถานที่ท่องเที่ยวนอกเขตสี่พันดอน 101 ปราสาทโต๊ะโมะ 101 • บ้านเกียดโง้งและภูอาสา 102 • สถานที่ท่องเที่ยวในเขตสี่พันดอน 106   ดอนโขง 106 • ดอนเดด ดอนคอน 112 • สะพานฝรั่งเศส 115 วัดคอนใต้ 116 • แก่งหลี่ผี 118 • บ้านหางคอน 119 แก่งคอนพะเพ็ง 122 ที่ราบสูงบอละเวน กรุ่นกลิ่นกาแฟกลางดินแดนน�้าตก  127   สถานที่น่าสนใจ 133   น�้าตกตาดผาส่วมและอุทยานบาเจียง 133 • น�้าตกตาดอีตู้ 137 น�้าตกตาดฟาน 138 • น�้าตกตาดถ�้าจ�าปี 139 น�้าตกตาดเยือง 139 • เมืองปากซอง 140 เที่ยวน�้าตกตามเส้นทางสู่อัตตะปือ 143   น�้าตกตาดคู่ 144 • น�้าตกเซกะตาม 144 แขวงเซกอง ดินแดนแห่งชนเผ่าลาวเทิง  147   สถานที่น่าสนใจ 153   เมืองละมาม 153 • น�้าตกตาดแฝก 156 • น�้าตกตาดหัวคอน 156 แขวงอัตตะปือ ดินแดนชายขอบลาวใต้  159   สถานที่น่าสนใจ 165   เมืองสามัคคีไชย 165 • วัดสะแคะ 168 แหล่งทอผ้าชนเผ่าบ้านสีวิไล 169 • พระธาตุไชยเชษฐา 170 บ้านปะอ�า 172 • หนองฟ้า 174 • ด่านชายแดนพูเกือ 174 ภาคผนวก  176   อาหารและเครื่องดื่ม 176 • ของฝาก 183 ค้นหาที่เที่ยว  185


xt;af

c]tgsfdkole7ao (ประวัติและเหตุการณ์ส�าคัญ)

สมัยสร้างบ้านแปงเมือง ดินแดนของ สปป. ลาวมีผคู้ นตัง้ ถิน่ ฐานมาตัง้ แต่ยคุ ดึกด�าบรรพ์  ดังปรากฏหลักฐานจากเครื่องมือหินที่ค้นพบตามสถานที่ต่าง ๆ เช่น แขวงหัวพันและหลวงพระบาง เป็นสิง่ ยืนยันร่องรอยของมนุษย์  สมัยก่อนประวัติศาสตร์เมื่อประมาณ 4 หมื่นปีที่ผ่านมา

ภาพวาดงานล่องเรือที่จ�าปาสักในอดีต

มนุษย์ทอี่ าศัยอยูใ่ นแผ่นดินลาวก้าวเข้าสูส่ งั คมเกษตรกรรม  เมือ่ ราว 7,000 ปีกอ่ น โดยนักโบราณคดีพบเครือ่ งมือการเกษตร  และเครื่องมือต่าง ๆ ในหลุมฝังศพ  ส�าหรับเครื่องมือส�าริดที่พบ  มีอายุประมาณ 3,500 ปี ส่วนเครือ่ งมือเหล็กอยูใ่ นช่วง 2,700 ปี  ซึ่งเป็นสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในแผ่นดินลาวเช่นกัน จนกระทั่ง  กลายเป็นแผ่นดินของชนชาติลาวในกาลต่อมา

12

ห อ ม ก ลิ่ น ด อ ก จํ า ป า เ ส น่ ห า ล า ว ใ ต้


ประวัติศาสตร์ยุคแรก ๆ ของลาว เชื่อว่าอยู่ภายใต้การ ปกครองของอาณาจักรน่านเจ้า ตามต�านานของปฐมกษัตริย ์ ขุน  บรมและขุนลอผู้เป็นพระราชโอรสทรงน� าผู้คนมาสร้างบ้าน  แปงเมืองขึน้ ตรงทีป่ ากแม่นา�้ คานไหลมาสบแม่นา�้ โขง (เมืองหลวง-  พระบางในปัจจุบนั ) โดยให้ชอื่ ว่า “เมืองศรีสตั นาคนหุตอุตมราช-  ธานี” แต่เรียกกันทั่วไปว่าเมืองเชียงทอง ตามชื่อเมืองเมื่อแรก  ตั้งถิ่นฐาน และมีลูกหลานปกครองสืบต่อกันมา จนถึงรัชสมัย  พระเจ้าฟ้างุม้  มหาราชองค์สา� คัญผูท้ รงรวบรวมอาณาจักรล้านช้าง  ได้สา� เร็จภายใต้ชอื่  “กรุงศรีสตั นาคนหุตล้านช้างร่มขาว” เมือ่  พ.ศ.  1896

เรือกลไฟของคณะส�ารวจชาวฝรั่งเศสเทียบท่าที่สี่พันดอน

นอกจากพระเจ้าฟ้างุ้มจะทรงสถาปนาอาณาจักรล้านช้าง  แล้ว ยังทรงสร้างความเจริญรุ่งเรืองมั่นคงทั้งด้านการปกครอง  การเมือง พุทธศาสนา ประเพณีวฒ ั นธรรม จึงถือเป็นช่วงสมัยที ่ เจริญรุง่ เรืองสูงสุด และมีอาณาจักรแผ่ไพศาลกว้างขวางทีส่ ดุ  ซึง่   ตามประวัติศาสตร์จารึกว่า ก่อนที่พระเจ้าฟ้างุ้มจะทรงรวบรวม  อาณาจักรลาวให้เป็นปึกแผ่น พระองค์เสด็จฯ จากเมืองเชียงทอง  รุ่ ง โ ร จ น์ จุ ก ม ง ค ล

13


คนงานสร้างทางรถไฟที่ดอนเดด

มาพ�านักทีเ่ กาะดอนของสีพ่ นั ดอน แคว้นจ�าปาสัก เพือ่ เตรียมการ   วางแผน และรวบรวมไพร่พลจนกระท�าการได้ส�าเร็จ ครัน้ สิน้ รัชสมัยพระเจ้าฟ้างุม้  อาณาจักรล้านช้างมีกษัตริย ์ ปกครองสืบต่อกันมาหลายพระองค์ โดยกษัตริยผ์ มู้ ชี อื่ เสียงและ  เป็นที่เคารพรักของลาวอีกพระองค์หนึ่งคือ พระเจ้าไชยเชษฐา-  ธิราช ทรงปกครองลาวช่วง พ.ศ. 2091-2114 และมีพระราชกรณีย-  กิจที่โดดเด่นด้วยทรงย้ายเมืองหลวงจากหลวงพระบาง (เมือง  เชียงทอง) มายังนครเวียงจันทน์ ก่อสร้างพระธาตุหลวง และสร้าง  หอพระแก้วเป็นที่ประดิษฐานพระแก้วมรกต พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชเป็นกษัตริย์ที่ครองราชย์ยาว  นานที่สุด รัชสมัยของพระองค์นับเป็นยุคทองของอาณาจักร  ล้านช้าง บ้านเมืองสงบสุข เปิดการค้าขายเจริญสัมพันธไมตรีกบั   ประเทศตะวันตก โดยลาวได้ติดต่อกับต่างประเทศตั้งแต่ พ.ศ.  2184 มีพอ่ ค้าชาวดัตช์จากบริษทั อินเดียตะวันออกเข้ามาค้าขาย  และมีคณะผู้สอนศาสนาชาวอิตาลีเดินทางมายังอาณาจักรล้าน-  ช้าง และพรรณนาถึงนครเวียงจันทน์ว่า เป็นเมืองยิ่งใหญ่งดงาม  ที่สุดเมืองหนึ่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในขณะนั้น ภายหลังเมื่อพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชเสด็จสวรรคต  เชือ้ พระวงศ์ลาวต่างแก่งแย่งราชสมบัตกิ นั จนอาณาจักรล้านช้าง  แตกแยกเป็ นสามส่ วนคื อ อาณาจั กรล้านช้ างหลวงพระบาง อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ และอาณาจักรล้านช้างจ�าปาสัก  และเพือ่ ชิงความเป็นใหญ่ตา่ งก็ขอสวามิภกั ดิต์ อ่ อาณาจักรเพือ่ น  บ้าน เช่น ไทย พม่า เพื่อขอก�าลังมาสยบอาณาจักรลาวด้วยกัน  กระทั่งในที่สุดอาณาจักรลาวทั้งสามแห่งก็ตกเป็นประเทศราช  ของอาณาจักรสยามในปี พ.ศ. 2321

14

ห อ ม ก ลิ่ น ด อ ก จํ า ป า เ ส น่ ห า ล า ว ใ ต้


http://www.talkingproud.us/Military/Ban%20Laboy/ Ban%20Laboy/BanLaboyHowItFit.html Photo credit: George Conklin. Presented by Thailand Dog Handlers.com

กองทหารตามเส้นทางโฮจิมินห์ในลาวช่วงสงครามอินโดจีน

สมัยอาณานิคม การประกาศเอกราช และสงครามกลางเมือง ต่อมาในปี พ.ศ. 2436 สยามเกิดข้อขัดแย้งกับฝรัง่ เศสเรือ่ งอ�านาจ  เหนือดินแดนฝั่งซ้ายของแม่น�้าโขงจนเกิดวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 จากการใช้เล่ห์เหลี่ยมของ ออกุสต์ ปาวี กงสุลฝรั่งเศส โดยใช้  เรือรบมาปิดอ่าวไทยเพื่อบังคับให้ยกดินแดนฝั่งซ้ายแม่น�้าโขง  รวมทัง้ ดินแดนอืน่ ๆ เป็นเหตุให้ดนิ แดนลาวเกือบทัง้ หมดต้องตก  อยู่ภายใต้อิทธิพลของฝรั่งเศสในปีนั้นและถูกรวมเป็นส่วนหนึ่ง  ของอินโดจีนฝรั่งเศส  ต่อมาดินแดนลาวส่วนอื่นที่อยู่ฝั่งขวาของ  แม่น�้าโขงก็ตกเป็นของฝรั่งเศสอีกในปี พ.ศ. 2450

รุ่ ง โ ร จ น์ จุ ก ม ง ค ล

15


[jvomjv’mjP; (สถานที่น่าสนใจ)

อาคารเก่าสมัยอาณานิคม ย้อนอดีตผ่านสถาปัตยกรรม - ที่ตั้ง  ย่านหลักเมือง

ด้วยผลจากการเป็นฐานทีม่ นั่ ของฝ่ายรัฐบาลเวียงจันทน์ในสงคราม  ปฏิวตั  ิ เมืองปากเซจึงรอดพ้นจากการถูกทิง้ ระเบิดท�าให้หลงเหลือ  อาคารเก่าตัง้ แต่สมัยทีเ่ ป็นอาณานิคมของฝรัง่ เศส  อาคารเหล่านี้  เป็นสถาปัตยกรรมผสมผสานในรูปแบบโคโลเนียล ฝีมอื ช่างชาว  เวียดนามที่ฝรั่งเศสน�ามา มีทั้งอาคารที่ท�าการรัฐ ร้านค้า และ  บ้านเรือน เรียกว่าอาคารหรือบ้านแบบ “ต๊อกซี่” เป็นบ้านที่ชาว  ฝรั่งเศสสร้างเพื่ออยู่อาศัย แม้จะมีอายุนานนับร้อยปี แต่ก็ได้รับ  การทะนุบา� รุงและซ่อมแซมจนยังคงสภาพสมบูรณ์  นักท่องเทีย่ ว  สามารถเดินชมความงามของสถาปัตยกรรมย้อนยุคที่ถ่ายทอด  ภาพประวัติศาสตร์สมัยอาณานิคมของเมืองปากเซในอดีตได้  อย่างชัดเจน  โรงแรมสีสุก

52

ห อ ม ก ลิ่ น ด อ ก จํ า ป า เ ส น่ ห า ล า ว ใ ต้


(บน) วัดโพธิรัตนะศาสดาราม  (ขวาบนสุด) โรงแรมจ�าปาสักพาเลซ (บนขวา) มอเตอร์ไซค์รับจ้างที่ปากเซ  (ล่าง) ตึกเก่าอันงดงามของสมาคมจีน

รุ่ ง โ ร จ น์ จุ ก ม ง ค ล

53


[jvomjv’mjP;

.og0fluJraofvo (สถานที่ท่องเที่ยวในเขตสี่พันดอน)

ดอนโขง

วิถีเรียบง่ายบนเกาะใหญ่

- การเดินทาง จากเมืองปากเซไปตามทางหลวงหมายเลข 13 ผ่านสามแยกทางแบ่ง จนถึงหลัก กม. 131 มีทางแยกขวามือเข้าไปอีกประมาณ 4 กิโลเมตร จะถึงบ้านหาด มีท่าแพขนานยนต์ข้ามไปสู่ดอนโขง ค่ารถคันละ 30,000 กีบ ขึ้นแพแล้วเลี้ยวขวาไปอีก 2 กิโลเมตรจะถึงเมืองโขง จากสถานีขนส่งหลักแปดมีรถสองแถวประจําทางไปดอนโขง เวลา 08.00, 09.30, 11.30, 14.00, 16.00 น. ค่าโดยสารคนละ 50,000 กีบ

ดอนโขงเป็นดอนขนาดใหญ่ที่สุดในสี่พันดอน มีภูมิทัศน์รูปทรง  ยาวรีคล้ายผลมะละกอ ความยาวจากเหนือจดใต้ 19 กิโลเมตร  กว้าง 8 กิโลเมตร รวมพืน้ ทีท่ งั้ เกาะประมาณ 90 ตารางกิโลเมตร  มีเมืองโขงเป็นเมืองเอก ในอดีตเคยเป็นที่ตั้งของที่ท�าการแขวง  สีทันดอน ก่อนถูกยุบไปขึ้นกับแขวงจ�าปาสัก เนื่องจากเป็นดอนขนาดใหญ่ที่พื้นที่มีทั้งที่ราบลุ่ม ภูเขา  หนองบึง และหาดทรายล้อมรอบดอน จึงมีชาวลาวลุ่มเข้ามาตั้ง

106

เรือหาปลาลอยลํ ห อามในแม่ ก ลิ่ นนํ้าดโขงที อ ก จํ่ดาอนโขง ป า เ ส น่ ห า ล า ว ใ ต้


fvo0v’ โรงเรียน พลอารีนา สุขสบาย พลริเวอร รัตนาริเวอรไซ ไปรษณีย สถานีตำรวจ วิลลาแกงโขง ดอนโขง ไปเมืองแสน

แมน้ำ โขง

วัดกลางเมือง

แมโขงอินน ไปทาเรือเฟอรรี

แสนสดสวย วิลลาเมืองโขง

รุ่ ง โ ร จ น์ จุ ก ม ง ค ล

107


เรือแพบรรทุกมอเตอร์ไซค์ข้ามโขง

ถิน่ ฐานอยูบ่ นดอนโขงตัง้ แต่ครัง้ โบราณ กระทัง่ พระครูยอดแก้ว--  โพนสะเม็กหรือญาครูขี้หอมพาญาติโยมอพยพหนีภัยจากเวียง-  จันทน์ ล่องแม่น�้าโขงสู่ทางใต้เมื่อ 200 กว่าปีที่ผ่านมา  เมื่อมาถึงดอนโขงญาครูขี้หอมน�าญาติโยมและชาวบ้าน  ที่อาศัยอยู่บนเกาะดอนสร้างเมืองโขงขึ้น โดยเสี่ยงต�าแหน่งว่า  บริเวณใดจะเป็นท�าเลทีต่ งั้ ของเมืองทีร่ งุ่ เรืองในกาลข้างหน้า ด้วย  การปลูกต้นโพธิน์ า� ส่วนยอดฝังดิน แต่ปกั รากขึน้ ฟ้าเรียกว่า “ต้น  โพธิเ์ สีย่ ง” สามจุด คือ ทีเ่ มืองโขงปัจจุบนั  ทีบ่ า้ นเมืองแสน และที่

ท่านค�าไต สีพันดอน

เมืองโขงเป็นบ้านเกิดของท่านค�าไต สีพันดอน ประธานประเทศแห่ง  สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึง่ เทียบได้กบั ต�าแหน่งประธานา-  ธิบดี  ท่านค�าไตเกิดทีบ่ า้ นโขงพะใหญ่ เมืองโขง แขวงจ�าปาสัก เมือ่ วันที่  8 กุมภาพันธ์ 2467  เมื่ออายุ 7 ขวบได้มาพักกับญาติคือมหาแก้วซึ่งเป็นปัญญาชน  ของลาวในยุคนั้น โดยเรียนอยู่ที่เวียงจันทน์ จนถึงชั้นมัธยมฯ ปลายที ่ โรงเรียนปาวี แต่ยังไม่ทันส�าเร็จก็ประสบปัญหาทางการเงิน จึงย้ายไป  ท�างานเสมียน และศึกษาเพิ่มเติมที่ไซ่ง่อน จนถึง พ.ศ. 2490 จึงเข้ารับ  ราชการประจ�าที่แขวงพงสาลี  ต่อมาท่านได้ติดต่อกับขบวนการลาวอิสระ และเข้าร่วมกับกอง  ก�าลังต่อต้านรัฐบาลในปี พ.ศ. 2491 รับหน้าที่อยู่ในเขตภาคใต้ของลาว  และน�ากองไชยจักรพรรดิไปตั้งอยู่ในแนวเส้นทางชายแดนเวียดนาม  (เขต 5) และบัญชาการรบทีภ่ าคกลางและภาคใต้ในเขตเส้นทางหมายเลข

108

ห อ ม ก ลิ่ น ด อ ก จํ า ป า เ ส น่ ห า ล า ว ใ ต้


ท่าแพขนานยนต์ที่ดอนโขง

บ้านหัวโขง โดยอธิษฐานว่าหากพืน้ ทีใ่ ดสามารถปลูกต้นโพธิเ์ สีย่ ง  ไม่ตาย ถือเป็นที่หมายการสร้างบ้านแปงเมืองถาวร ปรากฏว่า  ต้นโพธิท์ ปี่ ลูกบริเวณเมืองโขงไม่ตาย ขณะทีอ่ กี สองต้นตาย จึงมี  การสร้างชุมชนและวัดที่ดอนโขงสืบมาจนถึงปัจจุบัน แม้วันเวลาจะผ่านมาเนิ่นนาน แต่เมืองโขงทุกวันนี้ก็ยัง  เป็นชุมชนอันสงบเงียบไม่ต่างจากสมัยที่เริ่มสร้างบ้านแปงเมือง  นักท่องเทีย่ วทีไ่ ด้มาเยือนจะรูส้ กึ เหมือนอยูใ่ นดินแดนสงบนิง่ ด้วย  วิถีชีวิตเรียบง่ายตามประสาพื้นถิ่น

สิ่งน่าสนใจ

• วัดกลางเมือง  วัดกลางเมืองเป็นวัดเก่าแก่คดู่ อนโขง สร้าง

โดยญาครูขหี้ อม แต่กลายเป็นวัดร้างในสมัยอาณานิคม และฝรัง่ -  8 หมายเลข 12 และหมายเลข 13 พ.ศ. 2499 ท่านค�าไตเข้าเป็นกรรมการของคณะชี้นา� ศูนย์กลาง  พรรค จนถึง พ.ศ. 2503 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บัญชาการสูงสุดกองทัพ  ลาวอิสระ หลังจากกองก�าลังปฏิวัติลาวได้รับชัยชนะเข้ามาบริหารประเทศ  จนถึงในการประชุมใหญ่ผู้แทนประชาชนทั่วประเทศที่เวียงจันทน์ เมื่อ  วันที ่ 2 ธันวาคม 2518 ท่านค�าไตได้รบั แต่งตัง้ ให้ดา� รงต�าแหน่งรองนายก  รัฐมนตรี สปป. ลาว, รัฐมนตรีกระทรวงป้องกันประเทศ, ผู้บัญชาการ  กองทัพประชาชนลาว  ต่อมาถึงปี พ.ศ. 2534 สภาแห่งชาติมมี ติเห็นชอบ  ให้ดา� รงต�าแหน่งนายกรัฐมนตรี และขึน้ สูต่ า� แหน่งประธานพรรคประชาชน  ปฏิวัติลาวในปีต่อมา จนกระทัง่  พ.ศ. 2541 จึงได้รบั เกียรติให้ดา� รงต�าแหน่งเป็นประธาน  ประเทศแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ต่อจากท่านหนูฮกั   พูมสะหวัน และอยู่ในต�าแหน่งประมุขประเทศจนถึง พ.ศ. 2549 รุ่ ง โ ร จ น์ จุ ก ม ง ค ล

109


rkdrto;d (ภำคผนวก)

อาหารและเครื่องดื่ม คนไทยจ�ำนวนมำกมักเข้ำใจว่ำอำหำร  ลำวก็คืออำหำรอีสำนของไทย ซึ่งนับว่ำ  คลำดเคลื่อนจำกข้อเท็จจริงมำก  โดย  ทั่วไปแล้วอำหำรลำวจะมีรสชำติธรรมดำไม่  ค่อยจัดจ้ำน เครื่องปรุงรสเดิมใช้เกลืออย่ำงเดียว แต่ปัจจุบัน  ชำวลำวทัง้ ประเทศนิยมใส่ผงชูรสมำกขึน้ จนเป็นเรือ่ งปกติ ไม่วำ่   อำหำรใดก็ตอ้ งใส่ผงชูรสหรือทีค่ นลำวเรียกว่ำ “แป้งนัว” ไว้กอ่ น เนือ่ งจำกประเทศลำวมีพนื้ ทีก่ ว้ำงใหญ่ทอดตัวจำกเหนือจด  ใต้ แต่ละภูมภิ ำคจะมีวฒ ั นธรรมกำรกินเป็นเอกลักษณ์  ส�ำหรับ  ลำวใต้แถบลุม่ แม่นำ�้ โขงมีปลำน�ำ้ จืดนำนำชนิดเป็นอำหำรจำนเด่น  น�ำมำปรุงกับต�ำรับอำหำรพื้นถิ่นอย่ำงแพร่หลำย เมนูหลักคือ  ต้มปลำและก้อยปลำ กินกับข้ำวเหนียว • ต้มปลา  ต�ำรับลำวจะไม่เน้นรสเผ็ดแบบต้มย�ำของไทย  แต่เน้นควำมหวำนจำกเนื้อปลำและปรุงรสให้ซดคล่องคอ  นิยม  ใช้ปลำเนือ้ ตัวใหญ่ทงั้ ตัวหรือหัน่ เป็นชิน้  ต้มในน�ำ้ เปล่ำกับข่ำและ  ตะไคร้จนสุก ปรุงรสด้วยเกลือ พร้อมบีบมะนำวหรือใส่ผักรส  เปรี้ยว เช่น ยอดผักติ้ว มะเขือเทศ มะกอก มะขำม จะไม่ใส่ข่ำ  ตะไคร้ และไม่ปรุงรสเปรี้ยว

176

ห อ ม ก ลิ่ น ด อ ก จํ า ป า เ ส น่ ห า ล า ว ใ ต้


เฝอเป็นอาหารยอดนิยมของลาวใต้ที่หากินได้ทั่วไป

• ก้อยปลา  น�ำปลำมำสับให้ละเอียด หรือแล่เป็นชิน้  ขึน้

อยูก่ บั ขนำดและประเภทของปลำ  ปลำส่วนใหญ่ทชี่ ำวบ้ำนมักท�ำ  กินในครัวเรือนคือปลำเพี้ยหรือปลำกำเพรำะมีมำกในแม่น�้ำโขง  และล�ำน�้ำสำขำ  จำกนั้นโรยข้ำวคั่วป่น พริกคั่วป่น ปรุงรสด้วย  เกลือ น�้ำปลำร้ำ และผักต่ำง ๆ เพื่อให้กลิ่นหอม เช่น ต้นหอม  สะระแหน่ แล้วบีบมะนำว คลุกผสมเข้ำด้วยกัน ชิมรสตำมชอบ  จะปรุงสุกหรือดิบก็ได้ นอกจำกกินปลำสดแล้ว ปลำทีม่ มี ำกยังน�ำมำถนอมอำหำร  โดยท�ำเป็นปลำย่ำง รมควันด้วยไฟอ่อน ๆ เก็บไว้ เพื่อน�ำไปต้ม  หรือป่นปรุงรสตำมชอบ  และยังท�ำปลำหมักแบบต่ำง ๆ มีทั้ง  ปลำส้ม ปลำจ่อม ปลำร้ำเก็บไว้กินหรือขำยด้วย  โดยเฉพำะ  ปลำร้ำมักปรุงเป็นแจ่วปลำร้ำ โขลกรวมกับพริกย่ำงไฟ ผสม  กระเทียม หัวหอม และมะนำว จิม้ ด้วยข้ำวเหนียวกินเป็นอำหำร  หลักกับต้ม ก้อย และของย่ำงได้อร่อย

รุ่ ง โ ร จ น์ จุ ก ม ง ค ล

177


ของฝากจากลาวใต้

178

ห อ ม ก ลิ่ น ด อ ก จํ า ป า เ ส น่ ห า ล า ว ใ ต้


รุ่ ง โ ร จ น์ จุ ก ม ง ค ล

179


บานหัวเดด สุขสันต ลิตเติลอีเดน คุณบีซันเซตวิว

คุณโม คุณโต มามาทานนบังกะโล ดอนเดดบังกะโล

ทีนาบังกะโล

ดอนเอน

ซันเซตวิว คุณโตบังกะโล

สุขสันต

ดอนเดด

บานดอนเดดใต

ริเวอรการเดน

ตะวันแดง สะพานฝรั่งเศส สันติภาพ

แมน้ำโขง

ปลาขา บานคอนเหนือ ศาลาดอนคอน

คุณพาน คำแพง

บานคอนใต แสงอรุณ วัดคอนใต

ดอนคอน

ดอนสม

แกงหลี่ผี

ลาวใต้...ดินแดนแห่งชนเผ่า สายน�้า และธรรมชาติงาม ตามรอยประวัติศาสตร์และอารยธรรมพื้นถิ่นดินแดนลาวใต้ ครบถ้วนด้วยรายละเอียดสถานที่ท่องเที่ยว ที่กิน และที่พัก พร้อมข้อมูลการเดินทางจากชายแดนไทยจดชายแดนเวียดนาม กัมพูชา บานหางคอน

หมวดท่องเที่ยวต่างประเทศ ISBN 978-616-7767-46-8

ราคา 199 บาท


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.