CLOUD GUIDE

Page 1


2

CLOUD GUIDE


คู่มือเมฆและปรากฏการณ์ในชั้นบรรยากาศ

CLOUD

GU I DE ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ

M e t e o r : ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ ก า ร จํ า แ น ก ป ร ะ เ ภ ท

3


จากผู้เขียน

ก่อนหน้านีห้ ากมีใครสักคนบอกว่าเขาเป็น “นักดูเมฆ” หรือทีฝ่ รัง่ เรียกว่า “cloudspotter”  หลายคนคงจะสงสัยว่าดูอะไร? ดูท�ำไม?  แต่ตอนนี้เฉพาะในบ้านเรา ชมรมคนรัก  มวลเมฆ ใน facebook มีสมาชิกกว่า 58,000 คน  แถมบางคนยังกล้าบอกชัด ๆ ว่าเป็น  “คนรักเมฆ” ก็คงท�ำให้รสู้ กึ ได้วา่  กิจกรรมการดูเมฆนีค้ งมีเสน่หบ์ างอย่างซ่อนอยูเ่ ป็นแน่ ค�ำว่า “การดูเมฆ” (cloudspotting) เป็นค�ำพูดง่าย ๆ  เพราะแท้จริงแล้วสิ่งที่  นักดูเมฆสนใจไม่ได้มเี พียงแค่เมฆ แต่เป็นปรากฏการณ์ในบรรยากาศหลากหลายรูปแบบ  ไม่ว่าจะเป็นสายรุ้ง สายฝน สายฟ้า แม่คะนิ้ง ผลึกหิมะ แสงเงาที่สาดออกมาจากเมฆ  ฯลฯ พูดแค่นี้อาจฟังดูธรรมดา แต่คนรักเมฆจะรู้รายละเอียดความพิเศษของปรากฏ-  การณ์ต่าง ๆ เช่น รู้ว่าเมฆบางสกุลมีเต้านมได้ เรียกว่า mamma  น�ำ้ ที่ตกลงมาจาก  เมฆแต่ตกไม่ถึงพื้น เรียกว่า virga  รุ้งไม่ได้มีแค่สองแบบ แต่มีกว่า 10 แบบ (รวมทั้ง  รุง้ เผือกอันน่าอัศจรรย์)  อาทิตย์ทรงกลดก็ไม่ได้มแี ค่วงกลมเท่านัน้  แต่มรี ปู แบบต่าง ๆ ได้  มากมายหลายสิบแบบ (มีเท่าไร ลองเปิดหนังสือเล่มนี้หาค�ำตอบได้ด้วยตัวเอง) หนังสือ CLOUD GUIDE เล่มนี้อาจมองว่าเป็นคู่มือชมเมฆชมฟ้าก็ได้ หรือ  จะมองว่าเป็นหนังสือวิชาการทีเ่ ต็มไปด้วยศัพท์แสงยาก ๆ มากมายก็ได้ เพราะอ้างอิงตาม  International Cloud Atlas ขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลกเป็นหลัก เสริมด้วยความรู้  อื่น ๆ เพิ่มเติม แต่สำ� หรับผูเ้ ขียนและเพือ่ น ๆ หลายคน นีค่ อื  หนังสือรัก เพราะหนังสือเล่มนีเ้ กิด  ขึ้นมาได้ด้วยความรักความหลงใหลของผู้เขียนและเพื่อน ๆ ในชมรมคนรักมวลเมฆ ที่  ช่วยกันเก็บภาพอันประทับใจไว้มากมายในช่วงหลายปีทผี่ า่ นมา  แง่มมุ หนึง่ ทีน่ า่ ยินดีคอื   เราสามารถร่วมกันสร้างหนังสือที่ประมวลภาพและข้อมูลเกี่ยวกับเมฆและปรากฏการณ์  ในชั้นบรรยากาศไว้อย่างเป็นระบบ  เชื่อว่านี่เป็นครั้งแรกของประเทศ และอาจเป็นครั้ง  แรก ๆ ของโลกด้วยก็เป็นได้ 6

CLOUD GUIDE


ด้วยความน่าอัศจรรย์อันหลากหลายของธรรมชาติ เป็นไปได้ว่าหนังสือเล่มนี้คง  ยังไม่สมบูรณ์แบบ เพราะปรากฏการณ์บางอย่างที่ไม่ปรากฏในหนังสืออาจเกิดจาก  ความไม่รอบรู้ของผู้เขียน อีกทั้งอาจมีปรากฏการณ์ ใหม่ ๆ ที่รอการค้นพบในอนาคต  ซึ่งเป็นเรื่องปรกติเมื่อการค้นคว้าของมนุษย์ก้าวหน้าไปอย่างไม่หยุดยั้ง  คุณผูอ้ า่ นทีส่ นใจเรียนรูเ้ มฆ (แถมได้เพือ่ นใหม่ ๆ หัวใจตรงกัน) สามารถสมัครเป็น  สมาชิกชมรมคนรักมวลเมฆได้ที่  กลุ่มหลัก : www.facebook.com/groups/CloudLoverClub (ค้น “ชมรม  คนรักมวลเมฆ” ใน facebook และสังเกตจ�ำนวนสมาชิกที่มีมากกว่า 58,000 คน) ห้องสมุดเมฆ : www.facebook.com/CloudGuidebook (ขอ add friend ก่อน) นอกจากนี้เรายังมีเว็บที่ www.CloudLoverClub.com ซึ่งก�ำลังพัฒนาอย่างต่อ  เนื่องอีกด้วย ขอให้สนุกรื่นรมย์กับการชมเมฆและเรียนรู้ปรากฏการณ์ในชั้นบรรยากาศครับ บัญชา ธนบุญสมบัติ ผู้ก่อตั้งชมรมคนรักมวลเมฆ อังคาร 26 กันยายน 2560

ติดต่อผู้เขียนได้ที่ www.facebook.com/buncha2509 และ buncha2509@gmail.com  ด ร . บั ญ ช า ธ น บุ ญ ส ม บั ติ

7


สารบัญ ภาคที่ 1  Meteor : ความหมายและการจ�ำแนกประเภท 1.1  ความหมายของ Meteor 1.2  การจ�ำแนกประเภท Meteor 1.2.1  Hydrometeor 1.2.2  Lithometeor 1.2.3  Photometeor 1.2.4  Electrometeor

12 12 12 14 15 15

ภาคที่ 2  เมฆ (Clouds) 2.1  นิยามของเมฆ 2.2  รูปร่างลักษณะของเมฆ 2.3  ระดับความสูงของเมฆ 2.4  ระบบการจัดจ�ำแนกเมฆตาม International Cloud Atlas ของ WMO 2.5  เมฆดั้งเดิม 2.6  เมฆพิเศษ 2.7  อิทธิพลของภูเขาต่อการเกิดเมฆ 2.8  เมฆในบรรยากาศระดับสูง 2.9  ตัวอย่างชื่อเมฆเต็มรูปแบบ

16 17 19 22 26 28 32 39 43

ภาคที่ 3  คู่มือภาพเพื่อการจัดจ�ำแนกเมฆ 3.1  สกุล (Genus) 3.2  ชนิด (Species) 3.3  พันธุ์ (Variety) 3.4  เมฆตัวประกอบ (Accessory Clouds) 3.5  ลักษณะเสริม (Supplementary Features) 3.6  เมฆพิเศษ (Special Clouds)  3.7  เมฆที่เกิดจากอิทธิพลของภูเขา 3.8  เมฆในบรรยากาศระดับสูง 8

CLOUD GUIDE

48 59 78 95 100 112 118 125


3.9   เมฆที่น่าสนใจแบบอื่น ๆ 3.10  การระบุรหัสเมฆ (Coding of Clouds) 3.11  โครงสร้างเมฆ/รูปแบบเมฆ (Cloud Structures/Cloud Patterns)

131 147 182

ภาคที่ 4  Hydrometeor นอกเหนือจากเมฆ 4.1  Hydrometeor ที่ไม่ใช่เมฆ 4.2  หมอก 4.3  น�้ำแข็ง 4.4  Hydrometeor อื่น ๆ

199 236 246 253

ภาคที่ 5  Lithometeor 5.1  กลุ่มอนุภาคของแข็งซึ่งล่องลอยอยู่ในบรรยากาศ 5.2  กลุ่มอนุภาคของแข็งซึ่งถูกลมพัดขึ้นมาเหนือพื้น

257 260

ภาคที่ 6  Photometeor 6.1  Photometeor ตามการจัดของ ICA 6.2  ปรากฏการณ์ทรงกลด (Halo Phenomena) 6.3  กลอรี (Glory) 6.4  รุ้ง (Rainbow) 6.5  มิราจ (Mirage) 6.6  ดวงอาทิตย์บิดเบี้ยว 6.7  เงาเมฆ & รังสีครีพัสคิวลาร์ 6.8  ปรากฏการณ์สีรุ้ง (Iridescence / Irisation) 6.9  Photometeor อื่น ๆ

266 281 340 345 362 366 373 381 386

ภาคที่ 7  Electrometeor 7.1  Electrometeor ตามการจัดของ ICA 7.2  ฟ้าแลบ-ฟ้าผ่า 7.3  เหตุการณ์แสงสว่างวาบชั่วขณะ (Transient Luminous Events, TLE)

390 395 409

ภาคผนวก ค�ำแนะน�ำส�ำหรับคนริรักเมฆ ประวัติผู้เขียน

417 424 ด ร . บั ญ ช า ธ น บุ ญ ส ม บั ติ

9


ภาคที่ 1

Meteor :  ความหมายและการจ�ำแนกประเภท 1.1  ความหมายของ Meteor

วิชาอุตุนิยมวิทยาศึกษาปรากฏการณ์ทางกายภาพบางแง่มุมที่เกิดขึ้นในบรรยากาศหรือ  บนพื้นผิวโลก  ปรากฏการณ์ที่อยู่ในขอบข่ายเรียกว่า meteor1 (อ่านว่า มีทีออร์) ดังจะ  เห็นว่าในภาษาอังกฤษเรียกวิชาอุตุนิยมวิทยาว่า meteorology meteor อาจมีรปู แบบต่าง ๆ เช่น อนุภาคของเหลวหรือของแข็งซึง่ ล่องลอยอยู่ใน  อากาศ ตกลงมา หรือตกสะสมอยูบ่ นพืน้ ผิววัตถุอนื่  ๆ  meteor ยังอาจเป็นปรากฏการณ์  ทางแสงหรือกระแสไฟฟ้า รวมทั้งเสียงฟ้าร้องที่เป็นผลพวงจากฟ้าแลบอีกด้วย

1.2  การจ�ำแนกประเภทของ Meteor

เว็บ International Cloud Atlas ขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (World Meteorological  Organization, WMO) จั ด แบ่ ง  meteor เป็ น สี่ ก ลุ ่ ม หลั ก  ได้ แ ก่  hydrometeor,  lithometeor, photometeor และ electrometeor โดยมีประเด็นส�ำคัญดังนี้ 1.2.1  Hydrometeor (ไฮโดรมีทีออร์) hydrometeor มาจากค�ำว่า hydro หมายถึง น�้ำ รวมกับค�ำว่า meteor  ดังนั้น  hydrometeor จึงประกอบด้วยอนุภาคน�้ำไม่ว่าในสถานะของเหลวหรือของแข็ง (อย่างไร  ก็ดนี ำ�้ หรือหิมะทีอ่ ยูบ่ นพืน้ ไม่ถอื ว่าเป็น hydrometeor ในทางอุตนุ ยิ มวิทยา) hydrometeor  แบ่งได้เป็นห้าชนิดดังนี้ 1

เมื่อเปรียบเทียบกับวิชาดาราศาสตร์ meteor แปลว่า ดาวตกหรือผีพุ่งไต้ เกิดจากการที่สะเก็ดดาว  (meteoroid) ฝุ่นสะเก็ดดาว (micrometeoroid) ดาวเคราะห์น้อย (asteroid) หรือชิ้นส่วนของดาวหาง  (comet) เคลื่อนที่เข้ามาในบรรยากาศของโลก และเสียดสีกับอากาศจนร้อนขึ้นและเกิดแสงสว่าง  (ค�ำว่า meteor ในความหมายนี้ยังเรียกว่า shooting star หรือ falling star อีกด้วย)  ส่วนค�ำว่า  meteorite แปลว่า อุกกาบาตหรืออุกลาบาต หมายถึง ชิ้นส่วนของสะเก็ดดาวตกลงบนพื้นโลก 12

CLOUD GUIDE


ที่มา : www.wmocloudatlas.org/Associated-clouds-forms-table.html

1.2.1.1  อนุภาคที่แขวนลอยอยู่ในอากาศ  ได้แก่ เมฆ (cloud) หมอก (fog)  หมอกนํ้าค้าง (mist) และหมอกน�้ำแข็ง (ice fog) 1.2.1.2  อนุภาคที่ตกลงมา  อาจเรียกว่า หยาดน�้ำฟ้า (precipitation) แบ่ง  ได้เป็นสองกลุ่มย่อย ได้แก่ กลุ่มที่ตกลงมาจากเมฆ ได้แก่ ฝน (rain) ฝนละออง (drizzle) หิมะ  (snow) ละอองหิมะ (snow grain) ลูกปรายหิมะ (snow pellet) ลูกเห็บ (hail) และ  ฝนน�้ำแข็ง (ice pellet) กลุ่มอนุภาคไม่ได้ตกลงมาจากเมฆ (ใน International Cloud Atlas  ใช้ค�ำว่า from clear air) ได้แก่ ไดมอนด์ดัสต์ (diamond dust) ตารางต่อไปนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างหยาดน�้ำฟ้ารูปแบบต่าง ๆ (แนวดิ่ง) กับ  สกุลของเมฆที่ให้ก�ำเนิดหยาดน�้ำฟ้าชนิดนั้น ๆ ได้ (แนวนอน)

ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างหยาดนํ้าฟ้ากับสกุลของเมฆที่ให้ก�ำเนิดหยาดน�้ำฟ้าแต่ละชนิด

มีข้อสังเกตบางอย่างที่ควรทราบดังนี้ 1. หยาดน�ำ้ ฟ้าอาจตกลงมาจนถึงพืน้ โลกหรือไม่ก็ได้ โดยในกรณีทตี่ กลง  มาไม่ถึงพื้นโลกเนื่องจากน�้ำระเหย (หรือระเหิด) หมดไปก่อน เรียกว่า เวอร์กา (virga) 2. hydrometeor อาจประกอบด้วยกลุ่มของอนุภาคที่ตกลงมาค่อน  M e t e o r : ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ ก า ร จํ า แ น ก ป ร ะ เ ภ ท

13


ภาคที่ 2

เมฆ (Clouds) 2.1  นิยามของเมฆ

เมฆคือกลุ่มอนุภาคขนาดเล็กของหยดน�้ำหรือน�้ำแข็ง (หรือทั้งสองอย่างปนกัน) ที่ล่อง  ลอยอยู่ในอากาศ และตามปรกติมักไม่สัมผัสกับพื้นดิน จัดเป็น hydrometeor รูปแบบ  หนึง่   ในทางปฏิบตั เิ มฆอาจมีอนุภาคขนาดใหญ่ของหยดน�้ำหรือน�ำ้ แข็งเป็นองค์ประกอบ  ร่วมด้วย รวมทั้งอาจมีอนุภาคของเหลวหรือของแข็งที่ไม่มีน�้ำเป็นองค์ประกอบ (เช่น  อนุภาคที่อยู่ในกลุ่มควัน ฝุ่นผง ไอสารเคมี) ปะปนอยู่ด้วย การศึกษาเมฆในเชิงวิทยาศาสตร์เรียกว่า เมฆวิทยา (nephology) นับเป็นส่วน  หนึ่งของอุตุนิยมวิทยา (meteorology) เมฆแทบทุกรูปแบบอยู่ ในชั้นบรรยากาศที่  เรียกว่า โทรโพสเฟียร์ (troposphere) ซึ่งเป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่ติดพื้นโลก มีเมฆบาง  แบบเท่านั้นที่อยู่ในบรรยากาศระดับสูงขึ้นไป) ได้แก่ เมฆสแตรโตสเฟียร์ขั้วโลก (polar  stratospheric clouds) และเมฆเมโซสเฟียร์ขั้วโลก (polar mesospheric clouds)  เรียกโดยรวมว่า เมฆในบรรยากาศชั้นสูงขึ้นไป (upper atmospheric clouds)

16

Subtropical jet

15 10

Polar jet

e paus

o

Trop

Hadley cell

5 0 North Pole

Polar 30°N front แผนภาพแสดงความหนาของชั้นโทรโพสเฟียร์ CLOUD GUIDE

60°N

Equator

70 60 50 40 30 20 10 0

Altitude (1000 ft)

20 Altitude (km)

ที่มา : http://techhydra.com/wp-content/uploads/tropopause.jpg

Stratosphere


บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์มีความหนาแตกต่างไปตามละติจูดบนผิวโลกและ  ฤดูกาล เช่น บริเวณเขตร้อน (tropical region) หนาราว 20 กิโลเมตร ส่วนขั้วโลกหนา  ราว 7 กิโลเมตร (ในฤดูร้อน)  แต่โดยเฉลี่ย บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์หนาราว 17  กิโลเมตร การจัดประเภทของเมฆมีเกณฑ์หลายแบบ แต่เกณฑ์ที่ส�ำคัญคือ รูปร่างลักษณะ  และระดับความสูงของเมฆ  นอกจากนีล้ กั ษณะของภูเขาทีก่ นั้ ขวางทิศทางลมยังมีอทิ ธิพล  ต่อการเกิดเมฆด้วยเช่นกัน

2.2  รูปร่างลักษณะของเมฆ

ภาพ : บัญชา ธนบุญสมบัติ

ในระดับพืน้ ฐาน นักอุตนุ ยิ มวิทยาจัดประเภทของเมฆตามรูปร่างลักษณะเป็นสามประเภท  หลัก ได้แก่  - เมฆก้อน (cumuliform clouds) : เมฆที่ก่อตัวสูงขึ้นในแนวดิ่ง - เมฆแผ่น (stratiform clouds) : เมฆทีแ่ ผ่ขยายออกตามแนวระดับกินพืน้ ทีก่ ว้าง  - เมฆฝอย (cirriform clouds) : เมฆซึ่งประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กซึ่งส่วน  ใหญ่เป็นผลึกน�้ำแข็งที่อยู่ค่อนข้างห่างกัน

เมฆก้อน เมฆ (Clouds)

17


สกุล Altocumulus

Altostratus Nimbostratus Stratocumulus

Stratus

Cumulus

Cumulonimbus

เมฆดั้งเดิมและเมฆพิเศษ genitus Cumulus Cumulonimbus Altocumulus Cumulonimbus Cumulus Cumulonimbus Altostratus Nimbostratus Cumulus Cumulonimbus Nimbostratus Cumulus Cumulonimbus Homo Silva Cataracta Altocumulus Stratocumulus Flamma Homo Cataracta Altocumulus Altostratus Nimbostratus Stratocumulus Cumulus Flamma Homo

mutatus Cirrocumulus Altostratus Nimbostratus Stratocumulus Cirrostratus Nimbostratus Altocumulus Altostratus Stratocumulus Altocumulus Nimbostratus Stratus Stratocumulus

Stratocumulus Stratus

Cumulus

ดัดแปลงจาก Table 2 Cloud classification ที ่ https://www.wmocloudatlas.org/cloud-classification summary.html  30

CLOUD GUIDE


ตารางสรุปชื่อเรียกเมฆดั้งเดิมและเมฆพิเศษ ชื่อย่อและการเขียนชื่อในภาษาไทย กรณีที่ 1 บางส่วนของเมฆดั้งเดิมเปลี่ยนแปลงไปเป็นเมฆสกุลใหม่ ชื่อภาษาอังกฤษ cirrocumulogenitus altocumulogenitus altostratogenitus nimbostratogenitus stratocumulogenitus

ชื่อย่อ ccgen acgen asgen nsgen scgen

ศัพท์บัญญัติ ซีร์โรคิวมูโลเจนิตัส แอลโตคิวมูโลเจนิตัส แอลโตสเตรโตเจนิตัส นิมโบสเตรโตเจนิตัส สเตรโตคิวมูโลเจนิตัส

cumulogenitus cumulonimbogenitus flammagenitus homogenitus silvagenitus cataractagenitus

cugen cbgen flgen hogen silgen cagen

คิวมูโลเจนิตัส คิวมูโลนิมโบเจนิตัส แฟลมมาเจนิตัส โฮโมเจนิตัส ซิลวาเจนิตัส คาตาแรกตาเจนิตัส

กรณีที่ 2 เมฆดั้งเดิมทั้งหมดเปลี่ยนแปลงไปเป็นเมฆสกุลใหม่ ชื่อภาษาอังกฤษ cirromutatus cirrocumulomutatus cirrostratomutatus altocumulomutatus altostratomutatus nimbostratomutatus stratocumulomutatus stratomutatus cumulomutatus homomutatus

ชื่อย่อ cimut ccmut csmut acmut asmut nsmut scmut stmut cumut homut

ศัพท์บัญญัติ ซีร์โรมิวเตตัส ซีร์โรคิวมูโลมิวเตตัส ซีร์โรสเตรโตมิวเตตัส แอลโตคิวมูโลมิวเตตัส แอลโตสเตรโตมิวเตตัส นิมโบสเตรโตมิวเตตัส สเตรโตคิวมูโลมิวเตตัส สเตรโตมิวเตตัส คิวมูโลมิวเตตัส โฮโมมิวเตตัส

ดัดแปลงจาก https://www.wmocloudatlas.org/abbr-and-symbols-of-clouds-table-mother-special. html เมฆ (Clouds)

31


ภาพ : ปิยะรัตน์ มณีกาศ

Altocumulus floccus virga (Ac flo vir)

Cirrocumulus stratiformis cavum (Cc str cav)

44

CLOUD GUIDE

ภาพ : https://www.wmocloudatlas.org/images/compressed/5787_ main_altocumulus-floccus-virga_clouds.JP


ภาพ : http://www.skystef.be/images/Sun/slides/2005-12-02-0816-Kampenhout.htm

Cumulonimbus capillatus incus (Cb cap inc)

Altostratus opacus mamma (As op mam)

เมฆ (Clouds)

45

ภาพ : ศุภสิทธิ์ พิศวง


ภาคที่ 3

คู่มือภาพเพื่อการจัดจ�ำแนกเมฆ 3.1  สกุล (Genus)

เมฆส่วนใหญ่ในบรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์แบ่งได้เป็น 10 สกุลดังนี้ 1. Cirrus (ซีร์รัส) 2. Cirrocumulus (ซีร์โรคิวมูลัส) 3. Cirrostratus (ซีร์โรสเตรตัส) 4. Altocumulus (แอลโตคิวมูลัส) 5. Altostratus (แอลโตสเตรตัส) 6. Nimbostratus (นิมโบสเตรตัส) 7. Stratocumulus (สเตรโตคิวมูลัส) 8. Stratus (สเตรตัส) 9. Cumulus (คิวมูลัส) 10. Cumulonimbus (คิวมูโลนิมบัส) สัญลักษณ์

อักษรสองตัวในวงเล็บ เป็นตัวย่อของชื่อสกุล   - ความหมายของภาษาละตินในชื่อเมฆ    - ลักษณะทั่วไป    - ระดับความสูง   - องค์ประกอบในเมฆ

48

CLOUD GUIDE


1. Cirrus (Ci), ซีร์รัส

ภาพ : บัญชา ธนบุญสมบัติ

cirrus  แปลว่า เส้นผมปลายม้วนโค้ง เมฆฝอยลักษณะเป็นเส้นใยหรือปุย เมฆระดับสูง ผลึกน�้ำแข็ง (แทบทั้งหมด)

คู่ มื อ ภ า พ เ พื่ อ ก า ร จั ด จํ า แ น ก เ ม ฆ

49


ภาพ : บัญชา ธนบุญสมบัติ

2. uncinus (unc), อันไซนัส

Cirrus uncinus (Ci unc)

uncinus แปลว่า ขอเกี่ยว (hooked) เมฆสกุล Cirrus ทีป่ ลายมีลักษณะคล้ายขอเกี่ยว  Cirrus เท่านั้น

62

CLOUD GUIDE


ภาพ : บัญชา ธนบุญสมบัติ

3. spissatus (spi), สปิสเซตัส

Cirrus spissatus (Ci spi)

spissatus มาจากค�ำกริยา spissare แปลว่า ท�ำให้หนา เมฆสกุล Cirrus ที่มีความหนาค่อนข้างมาก เห็นเป็นสีเทาเมื่อมองไปทาง ดวงอาทิตย์ เกิดจากส่วนบนของเมฆ Cumulonimbus เดิมเรียกว่า false cirrus (ซีร์รัสปลอม) Cirrus เท่านั้น

คู่ มื อ ภ า พ เ พื่ อ ก า ร จั ด จํ า แ น ก เ ม ฆ

63


ภาพ : บัญชา ธนบุญสมบัติ

14. calvus (cal), แคลวัส

Cumulonimbus calvus (Cb cal)

calvus แปลว่า หัวล้าน เมฆ Cumulonimbus ซึง่ บริเวณยอดเมฆเริม่ กลายเป็นน�ำ้ แข็ง ท�ำให้ผวิ ดูเรียบขึน้   ไม่เป็นตะปุม่ ตะป�ำ่ เหมือนกับ Cumulus congestus แต่ยงั ไม่เกิดเป็นเส้น ๆ แบบ เมฆฝอย (cirriform) Cumulonimbus เท่านั้น 76

CLOUD GUIDE


ภาพ : ภัทรกร ด�ำรงค์สกุล

15. capillatus (cap), แคพิลเลตัส

Cumulonimbus capillatus (Cb cap)

capillatus แปลว่า มีเส้นผม เมฆ Cumulonimbus ซึง่ บริเวณยอดเมฆมีลกั ษณะเป็นเมฆฝอย เช่น เป็นเส้นริว้ รอยขนาน (striation) หรือเส้นคล้ายขนนกแผ่ออกไป Cumulonimbus เท่านั้น

คู่ มื อ ภ า พ เ พื่ อ ก า ร จั ด จํ า แ น ก เ ม ฆ

77


เมฆซูเปอร์เซลล์ (supercell)

ภาพ: 123rf

138

เมฆฝนฟ้าคะนองซึ่งภายในมีกระแส อากาศหมุนวน เรียกว่า เมโซไซโคลน (mesocyclone)  เมฆซูเปอร์เซลล์ อาจท�ำให้เกิดพายุทอร์นาโดได้

CLOUD GUIDE


กรวยไอน�้ำ (vapor cone)

ภาพ: 123rf

เมฆรูปกรวยซึ่งเกิดขึ้นขณะเครื่องบิน เคลื่ อ นที่ ด ้ ว ยอั ต ราเร็ ว ทรานซอนิ ก (transonic speed - ประมาณ 0.8 ถึง 1.2 เท่าของอัตราเร็วเสียงในอากาศ) ในอากาศซึ่งมีปริมาณไอน�้ำสูงเพียง พอ เนื่องจากความดันและอุณหภูมิ ทีบ่ ริเวณผิวกรวยได้ลดลงอย่างรวดเร็ว เมื่ออุณหภูมิลดตํ่ากว่าอุณหภูมิอิ่มตัว ไอน�้ำกลั่นตัวกลายเป็นหยดน�้ำ

ชือ่ เรียกอืน่  ๆ เช่น shock collar, shock egg

คู่ มื อ ภ า พ เ พื่ อ ก า ร จั ด จํ า แ น ก เ ม ฆ

139


Rose Stratocumuli Clouds (RSCC) 198

CLOUD GUIDE


ภาคที่ 4

Hydrometeor นอกเหนือจากเมฆ 4.1  Hydrometeor ที่ไม่ใช่เมฆ

4.1.1  กลุ่มอนุภาคที่แขวนลอยอยู่ในบรรยากาศ

หมอก (fog)

ภาพ : ทัศนัย สุขขีวรรณ

กลุม่ หยดน�ำ้ ขนาดเล็กมาก ๆ ซึง่ แขวน ลอยอยู ่ ใ นอากาศใกล้ ผิ ว พื้ น ท� ำ ให้ ทัศนวิสัยลดลง  ค�ำว่า fog มักใช้ใน กรณีที่ทัศนวิสัยที่ผิวพื้นลดลงต�่ำกว่า 1 กิโลเมตร H y d r o m e t e o r น อ ก เ ห นื อ จ า ก เ ม ฆ

199


เรนฟุต (rain foot)

ภาพ: Phetchanart Mitkitti

› คื อ หยาดน�้ ำ ฟ้ า ที่ ต กกระทบพื้ น และ กระจายออกไปในแนวระดับติดพื้น

256

CLOUD GUIDE


ภาคที่ 5

Lithometeor

5.1  กลุ่มอนุภาคของแข็งซึ่งล่องลอยอยู่ในบรรยากาศ ฟ้าหลัว (haze)

ภาพ : http://media.getdocsays.com/wp-content/uploads/2016/03/22141709/4.jpeg

› สภาพของท้องฟ้าซึ่งดูขมุกขมัว เนื่อง  จากอากาศมี อ นุ ภาคของแข็ ง ขนาด  เล็ก (ตาเปล่ามองไม่เห็น) จ�ำนวนมาก  อนุภาคที่ท�ำให้เกิดฟ้าหลัวอาจมีสีของ  ตัวเองซึ่งท�ำให้ฟ้าหลัวปรากฏเป็นสี  ต่าง ๆ ตามสีของอนุภาคนั้น Lithometeor

257


ภาคที่ 6

Photometeor

6.1  Photometeor ตามการจัดของ ICA การทรงกลดของดวงอาทิตย์ (solar halo)

ภาพ : ทวี ขนขจี

› 266

ปรากฏการณ์ที่แสงอาทิตย์หักเหหรือ สะท้อนโดยผลึกน�้ำแข็งในเมฆหรือใน อากาศท�ำให้เห็นเป็นวง เส้นโค้ง แถบ แสง หรือจุดสว่าง

CLOUD GUIDE


การทรงกลดของดวงจันทร์ (lunar halo)

ภาพ : ดร. สุรเวช สุธีธร

ปรากฏการณ์ที่แสงจันทร์หักเหหรือ สะท้อนโดยผลึกน�้ำแข็งในเมฆหรือใน อากาศ ท�ำให้เห็นเป็นวง เส้นโค้ง แถบ แสง หรือจุดสว่าง Photometeor

267


เส้นโค้งสัมผัสด้านล่าง (lower tangent arc, LTA)

ภาพ : ดร. สุรเวช สุธีธร

288

มีลักษณะเป็นเส้นโค้งแตะขอบล่าง ของวงกลม 22 องศา  เกิดขึ้นในช่วง ทีด่ วงอาทิตย์มมี มุ เงยไม่เกิน 29 องศา หากมุ ม สู ง กว่ า  29 องศา เส้ น โค้ ง สัมผัสด้านล่างจะเชื่อมต่อกับเส้นโค้ง สัมผัสด้านบน เกิดเป็นการทรงกลด แบบเซอร์คัมสไครบด์

CLOUD GUIDE


ภาพ : http://atoptics.co.uk/halo/circsalt.htm

การทรงกลดแบบเซอร์คัมสไครบด์ (circumscribed halo)

40 องศา

50 องศา

60 องศา

70 องศา

มีลักษณะเป็นเส้นโค้งต่อเนื่องอยู่รอบดวงอาทิตย์ และมีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไปตามมุม เงยของดวงอาทิตย์ ในช่วงมุมเงย 29-70 องศา  หากมุมเงยอยู่ในช่วง 70-90 องศาจะ ซ้อนทับกับวงกลม 22 องศา การทรงกลดแบบนีเ้ กิดจากการทีเ่ ส้นสัมผัสด้านบนและเส้นสัมผัสด้านล่างมาเชือ่ ม ต่อกันเมื่อมุมเงยของดวงอาทิตย์มีค่าอย่างน้อย 29 องศา ในกรณีที่มุมเงยมากกว่า 70 องศา การทรงกลดแบบเซอร์คัมสไครบด์จะปรากฏเป็นวงกลม โดยเส้นมีสีเข้มและมัก สว่างมากกว่าวงกลม 22 องศาแบบปรกติ ภาพแสดงลักษณะของการทรงกลดแบบเซอร์คัมสไครบด์ เมื่อมุมเงยของดวง อาทิตย์เท่ากับ 40, 50, 60 และ 70 องศา ตามล�ำดับ Photometeor

289


ภาพ : ดร. สุรเวช สุธีธร สถานที่ บ้านนาบอน อ.ค�ำม่วง จ.กาฬสินธุ์ วันที่ 4 มกราคม 2557 เวลา 17.34 น.

› ดวงอาทิตย์รปู โอเมกายังอาจเกิดเนือ่ ง จากความร้อนของพื้นถนนราดยาง

368

CLOUD GUIDE


ดวงจันทร์รูปโอเมกา (omega moon)

ภาพ : นพรัตน์ มะนะกุล

› ดวงจันทร์อาจเกิดปรากฏการณ์คล้าย กับดวงอาทิตย์รูปโอเมกาได้เช่นกัน

Photometeor

369


หมวกเมฆสีรุ้ง (iridescent pileus)

ภาพ : Diwadi KaTae

› คือหมวกเมฆที่เกิดปรากฏการณ์สีรุ้ง

382

CLOUD GUIDE


หมวกเมฆสีรุ้ง (iridescent pileus)

ภาพ : Suphacha Naja

› อาจเกิดกับหมวกเมฆแบบหลายชั้น

Photometeor

383


ภาคที่ 7

Electrometeor

7.1  Electrometeor ตามการจัดของ ICA พายุฝนฟ้าคะนอง (thunderstorm)

ภาพ : ลุงต้อง ชมรมคนรักมวลเมฆ

› 390

การปลดปล่อยประจุไฟฟ้าอย่างฉับ พลั น หนึ่ ง ครั้ ง หรื อ มากกว่ า  โดย ปรากฏในรูปของสายฟ้าและเสียงฟ้า ร้อง พายุฝนฟ้าคะนองเกิดจากเมฆ Cumulonimbus และบ่อยครั้งมักมี หยาดน�้ำฟ้าตกลงมาบนพื้น โดยอาจ

CLOUD GUIDE

เป็นชาวเวอร์ หิมะ ลูกปรายหิมะ ลูก เห็บขนาดเล็ก หรือลูกเห็บตามสีของ อนุภาคนั้น


ฟ้าแลบ (lightning)

ภาพ : บัญชา ธนบุญสมบัติ

แสงสว่างที่เกิดขึ้นพร้อมกับการปลด ปล่อยประจุไฟฟ้าอย่างฉับพลัน  ประจุ ไฟฟ้าอาจถูกปลดปล่อยออกมาจาก เมฆ โครงสร้างทรงสูงบนพืน้  ยอดเขา หรื อ กลุ ่ ม เถ้ า ถ่ า นจากการปะทุ ข อง ภูเขาไฟ

Electrometeor

391



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.