CLOUD GUIDEBOOK
คูมือ
ราคา 199 บาท
ISBN 978-616-7767-52-9
และปรากฏการณ บนทองฟา
คูมือ
199.11KT02100D_NG
สกุล (Genus) ชนิด (Species) พันธุ (Variety) เมฆตัวประกอบ (Accessory Clouds) ลักษณะเสร�ม (Supplementary Features) ปรากฏการณทางแสงที่ควรรูจัก เมฆ & ปรากฏการณเกี่ยวกับเมฆอื่น ๆ 11KT02100A_NG
2
คู่มือเมฆ และปรากฏการณ์บนท้องฟ้า
ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ
3
CLOUD GUIDEBOOK
คู่มือเมฆ
และปรากฏการณ์บนท้องฟ้า ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ ชมรมคนรักมวลเมฆ
4
คู่มือเมฆ และปรากฏการณ์บนท้องฟ้า
หนังสือ Cloud Guidebook คู่มือเมฆ และปรากฏการณ์บนท้องฟ้า (ฉบับปรับปรุง) ผู้เขียน ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ © สงวนลิขสิทธิ์โดยส�ำนักพิมพ์สารคดี ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด ห้ามลอกเลียนไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือ นอกจากจะได้รับอนุญาต พิมพ์ครั้งที่ 1 มีนาคม 2558 จ�ำนวนพิมพ์ 2,000 เล่ม ราคา 199 บาท ข้อมูลบรรณานุกรม บัญชา ธนบุญสมบัติ. Cloud Guidebook คู่มือเมฆ และปรากฏการณ์บนท้องฟ้า. --กรุงเทพฯ : สารคดี, 2558. 116 หน้า : ภาพประกอบ. 1. อุตุนิยมวิทยา. 2. เมฆ. 551.576 ISBN 978-616-7767-52-9 คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการเล่ม : สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นฤมล สุวรรณอ่อน กองบรรณาธิการ : ปณต ไกรโรจนานันท์ ออกแบบปกและจัดรูปเล่ม : ชาญศักดิ์ สุขประชา พิสูจน์อักษร : นวลจันทร์ ทองมาก ควบคุมการผลิต : ธนา วาสิกศิริ จัดพิมพ์ บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด (ส�ำนักพิมพ์สารคดี) จัดจ�ำหน่าย บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด 28, 30 ถนนปรินายก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทร. 0-2281-6110 (อัตโนมัติ) โทรสาร 0-2282-7003 เพลต กนกศิลป์ (ไทยแลนด์) โทร. 0-2215-1588 พิมพ์ บริษัททวีวัฒน์การพิมพ์ จ�ำกัด โทร. 0-2720-5014 ส�ำนักพิมพ์สารคดี ผู้อ�ำนวยการ : สุวพร ทองธิว ผู้จัดการทั่วไป : จ�ำนงค์ ศรีนวล ที่ปรึกษากฎหมาย : สมพจน์ เจียมพานทอง ผู้อ�ำนวยการฝ่ายศิลป์/ฝ่ายผลิต : จ�ำนงค์ ศรีนวล ผู้จัดการฝ่ายการตลาด : พิเชษฐ ยิ้มถิน บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ : สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ หนังสือเล่มนี้ใช้หมึกพิมพ์ซึ่งมีส่วนผสมของน�้ำมันถั่วเหลือง ช่วยลดการใช้วัตถุดิบจากน�้ำมันปิโตรเลียม ช่วยลดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ
จากส�ำนักพิมพ์ เพราะโลกใบนี้มีอากาศ เราจึงมีชีวิตหายใจอยู่ได้ ในอากาศ ยั ง มี ไ อน�้ ำ รวมตั ว กั น เป็ น เมฆ ตกมาเป็ น ฝน กลายเป็ น น�้ ำ ให้เราดื่ม อาบ และใช้ นี่อาจเป็นประโยชน์ที่จับต้องได้ แต่เมฆ อากาศ และ ท้องฟ้า ยังสร้างความสุขความรื่นรมย์ ท้องฟ้ากว้าง เมฆก้อนลอยฟ่อง ดูแล้วสบายใจ บาง คนก็เพลิดเพลินกับจินตนาการให้เมฆเป็นรูปร่างต่างๆ นานา แต่หากใครหมั่นมองเมฆบ่อยๆ จะสังเกตเห็นว่าเมฆ มีหลายรูปร่างลักษณะ และอยู่สูงต�ำ่ จากพื้นดินแตกต่างกันไป ในเชิงวิชาการ เมฆได้รับการจัดจ�ำแนกแยกแยะอย่างมีระบบ เป็นสกุล ชนิด พันธุ์ และมีชื่อเรียกเป็นของตนเอง หนึ่งปีที่ผ่านมานี้ มีผู้สนใจดูเมฆกันมากจนเกิดเป็น “ชมรมคนรักมวลเมฆ” โดยมี ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ เป็น หัวเรี่ยวหัวแรงขับเคลื่อนส�ำคัญ เมฆหลายแบบที่เคยเห็นแต่ บนหน้าหนังสือหรือคูม่ อื ต่างประเทศ เมือ่ มีผชู้ ว่ ยกันเฝ้าสังเกต ท้องฟ้าของเมืองไทยมากขึ้น ก็มีรายงานการพบเห็นด้วยตา ตนเองเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างน่าประหลาดใจ Cloud Guidebook คู่มือเมฆ และปรากฏการณ์บน ท้องฟ้า เล่มนี้ จึงเป็นคู่มือที่ส� ำนักพิมพ์สารคดีหวังว่าจะมี ส่วนช่วยให้เราได้รู้จักเมฆอย่างเป็นระบบ อันจะน�ำไปสู่ความ เข้าใจธรรมชาติซึ่งเต็มไปด้วยความหลากหลาย ละเอียดอ่อน งดงาม และถึงขั้นมหัศจรรย์ หากคูม่ อื เล็กๆ เล่มนีจ้ ะท�ำให้คณ ุ จะเผลอมองเมฆเพียง ชั่วครู่ หรือถึงขั้นเป็นคนติดเมฆ ก็เพียงพอแล้ว เพราะคุณ คงค้นพบด้วยตนเองว่า ความสุ ข ไม่ใช่ของหายาก เพียงคุณแหงนหน้ามอง ท้องฟ้า เท่านั้นเอง ส�ำนักพิมพ์สารคดี
5
6
คู่มือเมฆ และปรากฏการณ์บนท้องฟ้า
จากผู้เขียน ปัจจุบันชมรมคนรักมวลเมฆใน facebook มีสมาชิก ถึง 44,444 คน (เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2557) แสดงให้เห็น ว่ามีคนไทยสนใจเมฆและปรากฏการณ์ท้องฟ้าจ� ำนวนมาก หลายคนต้องการศึกษาอย่างจริงจัง กล่าวคือ อยากรู้ชื่อของ เมฆและปรากฏการณ์ต่างๆ รวมทั้งรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง คูม่ อื เมฆและปรากฏการณ์บนท้องฟ้า ในมือของท่านเล่มนีช้ ว่ ย ตอบโจทย์ดังกล่าวในเบื้องต้นได้ ผมขอขอบคุ ณ เพื่ อนสมาชิกชมรมคนรักมวลเมฆที่ อนุญาตให้ใช้ภาพเพือ่ เป็นตัวอย่างอ้างอิง อันจะท�ำให้เราคนไทย สามารถเรียนรู้เกี่ยวกับเมฆ & ปรากฏการณ์ท้องฟ้าได้อย่าง เป็นระบบ คุณผู้อ่านที่ยังไม่ได้เป็นสมาชิกชมรมคนรักมวลเมฆ อาจลองแวะเข้าไปเยี่ยมชมกิจกรรมของเราได้ใน facebook ดังนี้ กลุม่ : www.facebook.com/groups/CloudLoverClub (ที่หลัก) เพจ : www.facebook.com/CloudLoverClub ห้องสมุดเมฆ : www.facebook.com/CloudGuide book (ขอ add friend ก่อน) นอกจากนี้เรายังมีเว็บที่ www.CloudLoverClub.com อีกด้วย ขอให้สนุกและรืน่ รมย์ในการชมเมฆและปรากฏการณ์ บนท้องฟ้าครับ ^__^ ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ ผู้ก่อตั้งชมรมคนรักมวลเมฆ CloudLoverClub@gmail.com www.facebook.com/groups/CloudLoverClub ศุกร์ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557
ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ
สารบัญ 9 11 16 19 21 25
การจัดจ�ำแนกเมฆบนฟากฟ้า รูปร่างลักษณะของเมฆ ระดับความสูงของเมฆ วงศ์ของเมฆ เมฆดั้งเดิม (Mother-clouds) ตัวอย่างชื่อเมฆเต็มรูปแบบ
31 32 38 51 65 68 72 77 87
คู่มือภาพเพื่อการจัดจ�ำแนกเมฆ สกุล (Genus) ของเมฆ ชนิด (Species) ของเมฆ พันธุ์ (Variety) ของเมฆ เมฆตัวประกอบ (Accessory Clouds) ลักษณะเสริม (Supplementary Features) เมฆพิเศษ (Special Clouds) เมฆ & ปรากฏการณ์เกี่ยวกับเมฆอื่น ๆ ปรากฏการณ์ทางแสงที่ควรรู้จัก
ภาคผนวก 103 ค�ำแนะน�ำส�ำหรับคนริรักเมฆ
107 คะแนนสะสมในการชมเมฆ & ปรากฏการณ์บนท้องฟ้า 115 ขุมทรัพย์ทางปัญญา 116 ประวัติผู้เขียน
7
30
คู่มือเมฆ และปรากฏการณ์บนท้องฟ้า
การจัดจ�ำแนกเมฆบนฟากฟ้า
ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ
คู่มือภาพ
เพื่อการจัดจ�ำแนกเมฆ
31
Genus
32
คู่มือเมฆ และปรากฏการณ์บนท้องฟ้า
สกุล (Genus) ของเมฆ เมฆที่เราเห็นมีลักษณะเฉพาะซึ่งสามารถจัดเป็นสกุลใด สกุลหนึ่งใน 10 สกุล (genus) ได้แก่ 1. ซีร์รัส (Cirrus) 2. ซีร์โรคิวมูลัส (Cirrocumulus) 3. ซีร์โรสเตรตัส (Cirrostratus) 4. แอลโตคิวมูลัส (Altocumulus) 5. แอลโตสเตรตัส (Altostratus) 6. นิมโบสเตรตัส (Nimbostratus) 7. สเตรโตคิวมูลัส (Stratocumulus) 8. สเตรตัส (Stratus) 9. คิวมูลัส (Cumulus) 10. คิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus)
สัญลักษณ์
อักษรสองตัวท้ายชื่ออังกฤษ เป็นตัวย่อของชื่อเรียกสกุล ความหมายของภาษาละตินในชื่อเมฆ ลักษณะทั่วไป ระดับความสูง องค์ประกอบในเมฆ
ภาพ : วันเพ็ญ ตันจันทร์กูล
ภาพ : บัญชา ธนบุญสมบัติ
คู่มือภาพเพื่อการจัดจ�ำแนกเมฆ
ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ
1. ซีร์รัส (Cirrus, Ci) cirrus แปลว่า เส้นผมปลายม้วนโค้ง เมฆฝอยลักษณะเป็นเส้นใยหรือปุย เมฆระดับสูง ผลึกน�้ำแข็ง
2. ซีร์โรคิวมูลัส (Cirrocumulus, Cc) เมฆก้อนที่อยู่ระดับสูง มองจากพื้นจะเห็นแต่ละก้อนเป็นเม็ดเล็ก ละเอียด เมฆระดับสูง ผลึกน�้ำแข็ง อาจมีหยดน�้ำเย็นยิ่งยวดปะปน
33
คู่มือเมฆ และปรากฏการณ์บนท้องฟ้า
Genus
36
7. สเตรโตคิวมูลัส (Stratocumulus, Sc) เมฆลักษณะผสมระหว่างเมฆก้อนกับเมฆแผ่น เมฆระดับต�่ำ หยดน�้ำธรรมดา
8. สเตรตัส (Stratus, St) strato แปลว่า ชั้น เมฆลักษณะเหมือนหมอก อยู่ในระดับต�่ำแต่ไม่ติดพื้น เมฆระดับต�ำ่ หยดน�้ำธรรมดา (อาจเป็นหยดน�้ำเย็นยิ่งยวด หรือผลึกน�้ำแข็ง ในบริเวณที่หนาวเย็นจัด)
ภาพ : พญ. ฉัฐสุดา สุกทน
คู่มือภาพเพื่อการจัดจ�ำแนกเมฆ
ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ
37
9. คิวมูลัส (Cumulus, Cu) cumulo แปลว่า กอง เมฆก้อนรูปร่างคล้ายปุยฝ้าย เกิดจากอากาศที่ไม่เสถียร ยกตัวสูงขึ้นในแนวดิ่ง เมฆระดับต�่ำ บางชนิดระดับต�่ำถึงปานกลาง หยดน�ำ้ ธรรมดา
10. คิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus, Cb) เมฆก้อนหนาทึบ รูปร่างคล้ายภูเขาขนาดใหญ่ ท�ำให้ฝนตกหนัก มีฟ้าร้อง ฟ้าผ่า หรือบางครั้งอาจมีลูกเห็บ เรียกง่าย ๆ ว่า เมฆฝนฟ้า คะนอง (thundercloud) เมฆก่อตัวในแนวดิ่ง หยดน�ำ้ ธรรมดา หยดน�้ำเย็นยิ่งยวด และผลึกน�้ำแข็ง
คู่มือเมฆ และปรากฏการณ์บนท้องฟ้า
เมฆ & ปรากฏการณ์ เกี่ยวกับเมฆอื่นๆ
86
18. เมฆโรเตอร์ (Rotor Cloud) เมฆซึ่งเกิดจากกระแสอากาศไหลวน (eddy) ใกล้กับแนวเทือกเขา ทางด้านปลายลม http://www.mountain-wave-project.com/index-1.html http://www.weatheronline.co.uk/reports/wxfacts/Rotorcloud.htm
19. เมฆผนังเฟิน (Foehn Wall Cloud) เมฆซึ่งเกิดเป็นปื้นหนาและทอดตัวยาวขนานกับแนวเทือกเขา ทางฝั่งปะทะลม http://www.weatheronline.co.uk/reports/wxfacts/ Foehn-wall.htm
คู่มือภาพเพื่อการจัดจ�ำแนกเมฆ
87
ปรากฏการณ์ ทางแสงที่ควรรู้จัก
ปรากฏการณ์ ทางแสงที่ควรรู้จัก
ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ
เชื่อว่าคุณผู้อ่านที่สนใจเมฆ ก็คงจะชื่นชอบปรากฏการณ์ ทางแสงแบบต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนท้องฟ้าด้วยเช่นกัน ยิ่ง กว่านั้น บางปรากฏการณ์ก็ยังเกิดจากเมฆโดยตรง เช่น การทรงกลด (halo) เกิดจากแสงอาทิตย์หรือแสงจันทร์ หั ก เห (หรื อ สะท้อน) โดยผลึกน�้ ำแข็งในเมฆระดั บ สู ง เป็นต้น ในส่วนนี้ขอน�ำเสนอปรากฏการณ์ต่าง ๆ ด้วยชื่อ และภาพ เพือ่ ให้ผสู้ นใจใช้เป็นจุดเริม่ ต้นในการสังเกตและ ค้นคว้าเชิงลึกต่อไป รายละเอียดเกี่ยวกับปรากฏการณ์ ทางแสงส่วนใหญ่สามารถอ่านได้จากหนังสือ มหัศจรรย์ ฟ้าฝน ส�ำนักพิมพ์สารคดี เว้นแต่ระบุแหล่งข้อมูลอื่น ๆ ไว้
คู่มือเมฆ และปรากฏการณ์บนท้องฟ้า
1. รังสีครีพัสคิวลาร์ & เงาเมฆ ภาพ : ฐิติญา สุรีฉัตรไชยยันต์
ปรากฏการณ์ ทางแสงที่ควรรู้จัก
88
ภาพ : ภาริณี สุวรรณศรี
เงาเมฆ (cloud shadows)
ภาพ : นุสรินทร์ หาญสกล
รังสีครีพัสคิวลาร์ (crepuscular rays)
รังสีครีพัสคิวลาร์และเงาเมฆ
ภาพ : สิรภาพ : สิ ิรัตน์ ดอนสระ ริรัตน์ ดอนสระ
คู่มือภาพเพื่อการจัดจ�ำแนกเมฆ
ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ
รังสีแอนติครีพสั คิวลาร์ (anti-crepuscular rage) & รังสีครีพสั คิวลาร์
ภาพ : บัญชา ธนบุญสมบัติ
2. ปรากฏการณ์สีรุ้ง
ภาพ : P. Chictakarnnathikit
เมฆสีรุ้ง (iridescent cloud) มีชื่อเรียกอื่นว่า ปรากฏการณ์สีรุ้ง (irisation หรือ iridescence) และปรากฏการณ์สีรุ้งเกิดจากเมฆ (cloud iridescence) http://cloudloverclub.com/pages/irisation/
หมวกเมฆสีรุ้ง (iridescent pileus) http://cloudloverclub.com/ pages/sky-wonder-june-2-2010/
89
ปรากฏการณ์ ทางแสงที่ควรรู้จัก
96
คู่มือเมฆ และปรากฏการณ์บนท้องฟ้า
6. มิราจ
มิราจแบบภาพอยู่ใต้วัตถุจริง (inferior mirage)
มิราจแบบภาพอยู่เหนือวัตถุจริง (superior mirage)
ฟาตา มอร์กานา (Fata Morgana)
มิราจด้านข้าง (lateral mirage)
คู่มือภาพเพื่อการจัดจ�ำแนกเมฆ
ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ
97
7. การทรงกลด
เส้นโค้งเซอร์คัมซีนิทัล (circumzenithal arc, CZA) เส้นสัมผัสบน (upper tangent arc) การทรงกลดแบบวงกลม 22 องศา (22-degree halo) วงกลมพาร์ฮีลิก (parhelic circle) พาร์ฮีเลีย (parhelia) หรือ ซันด็อก (sundogs) เส้นสัมผัสล่าง (lower tangent arc)
การทรงกลดที่เกิดบ่อย แอนทีเลียน (anthelion) เส้นโค้งทริกเกอร์ (tricker arc) พาร์ฮีเลีย 120 องศา (120° panthelion) เส้นโค้งซับฮีลิก (subhelic arc) เส้นโค้งแฮสติงส์ (Hastings arc) เส้นโค้งเวเกเนอร์ (Wegener arc) เส้นโค้งซูปราแลตเทอรัล (supralateral arc) การทรงกลดแบบวงกลม 46 องศา (46° halo) เส้นโค้งอินฟราแลตเทอรัล (Infralateral arc) เส้นโค้งแพร์รีซูปราแลตเทอรัล (Parry supralateral) เส้นโค้งแพร์รี (Parry arc) เส้นโค้งแพร์รีอินฟราแลตเทอรัล (Parry infralateral) เส้นโค้งเฮลิแอก (heliac arc)
การทรงกลดซึ่งเกิดไม่บ่อยนัก
คู่มือเมฆ และปรากฏการณ์บนท้องฟ้า
ภาพ : บัญชา ธนบุญสมบัติ
ปรากฏการณ์ ทางแสงที่ควรรู้จัก
98
ภาพ : ดวงพร เกี๋ยงค�ำ
วงกลม 22 องศา & เส้นสัมผัสบน
ภาพ : ทวี ขนขจี
ซันด็อก
การทรงกลดแบบเซอร์คัมสไครบด์ (circumscribed halo) วงกลม 22 องศา และวงกลมพาร์ฮีลิก
คู่มือภาพเพื่อการจัดจ�ำแนกเมฆ
ภาพ : Myname’s TaRay
ภาพ : เกศราภรณ์ แสงแก้ว
การทรงกลดแบบ เซอร์คัมสไครบด์ & เส้นโค้งอินฟราแลตเทอรัล (infralateral arc)
ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ
99
ภาพ : รุจิณี สันติกุล
เส้นโค้งเซอร์คัมซีนิทัล (circumzenithal arc, CZA) ในภาพยังปรากฏการทรงกลดแบบอื่น ๆ เช่น ซันด็อก วงกลมพาร์ฮีลิก และเส้นสัมผัสบน
เส้นโค้งแพร์รดี า้ นบนแบบเว้าเข้าหาดวงอาทิตย์ (suncave Parry arc) ในภาพยังปรากฏวงกลม 22 องศา และเส้นสัมผัสบน
CLOUD GUIDEBOOK
คูมือ
ราคา 199 บาท
ISBN 978-616-7767-52-9
และปรากฏการณ บนทองฟา
คูมือ
199.11KT02100D_NG
สกุล (Genus) ชนิด (Species) พันธุ (Variety) เมฆตัวประกอบ (Accessory Clouds) ลักษณะเสร�ม (Supplementary Features) ปรากฏการณทางแสงที่ควรรูจัก เมฆ & ปรากฏการณเกี่ยวกับเมฆอื่น ๆ 11KT02100A_NG