จิตรกรรมฝาผนังพระที่นั่งพุทไธสวรรย์

Page 1

จิตรกรรมฝาผนัง

จิตรกรรมฝาผนังพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ Mural Paintings of Buddhaisawan Chapel

ISBN 978-974-7727-91-3

จิตรกรรมฝาผนังพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ หมวดศิลปะ ราคา ๔๐๐ บาท

พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ Mural Paintings of ฺBuddhaisawan Chapel


8 8

สารบัญ

๖ ๑๑ ๙๐ ๑๐๔ ๑๔๐ ๑๔๔ ๑๔๗ ๑๔8 ๑๕๐

ค�ำน�ำส�ำนักพิมพ์ ภำพจิตรกรรมฝำผนัง อธิบำยภำพจิตรกรรมฝำผนัง แผนผังภำพจิตรกรรมฝำผนังในพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ จิตรกรรมฝำผนังในพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ ลักษณะกำรเขียนภำพ และจัดองค์ประกอบภำพจิตรกรรมฝำผนัง สีของจิตรกรรมฝำผนังพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ ภำพจิตรกรรมสะท้อนสภำพสังคม ยุคต้นรัตนโกสินทร์


ŕš™ 9

CONTENTS

7 Publisher's Preface 11 The Mural Paintings 90 Captions of the Mural Paintings 104 Plan of the Mural Paintings in the Buddhaisawan Chapel 154 Buddhaisawan Chapel 158 Mural Paintings in the Buddhaisawan Chapel 161 Painting Techniques and Picture Composition 162 Color used in Paintings 164 Way of Living of Early Rattanakosin through Mural Paintings


๑๐ 10


๑๑ 11

ภาพจิตรกรรมฝาผนัง


เน 2 12


เน 3 13


๑๔ 14


๑๕ 15


๑๖ 16


๑๗ 17


90 90

อธิบายภาพจิตรกรรมฝาผนัง

Captions of the Mural Paintings

หน้า ๑๓

หน้า ๑๒

ภาพพระราชพิธีพิธีอภิเษกสมรสพระเจ้าสุทโธทนะ และพระนางสิรมิ หามายา กลุม่ บุคคลในภาพ แบ่งเป็นฝัง่ ซ้ายและขวา มีแนวของพานพุ่มบายศรี เป็นเสมือนเส้นกึ่งกลางแบ่งพื้นที่ เห็นรายละเอียด การตัดเส้นทั้งใบหน้าบุคคล และองค์ประกอบ ส่วนอื่น ๆ ด้วยเส้นสายที่ละเอียด ที่น่าชมคือ กลุม่ นักดนตรีหญิงในภาพ แต่ละคนเล่นเครือ่ งดนตรี คนละประเภท ทัง้ ฉิง่  ซอสามสาย กระจับปี ่ ขลุ่ย ร�ามะนา โทน และกรับ ท่วงท่าของนางมโหรีนี้ เป็นแบบคลาสสิกที่เป็นแบบอย่างของการเขียน ภาพในเวลาต่อมา

page 12

The wedding ceremony of King Suddhodhana and Princess Sirimahamaya.  The groups of people on left and right are separated by footed trays contained Baisi (a conical arrangement of folded leaves and flowers used in ceremony).  Perfect bold line on faces and other composition are seen. The group of women musicians plays different kind of music instruments; threestringed fiddle, oboe, fipple flute, one-side drum tom and krab-wooden rhythm instrument. These classical musicians are model for later painting.

กลุ่มนางในชาววังที่เขียนอย่างมีจังหวะ เห็นเป็น แนวเส้นโค้งที่ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว ด้วยกิริยา ท่าทาง และการวางใบหน้าของสตรีในภาพที่บ้าง ก้ม บ้างเงย หรือผินหน้า ดูสอดรับกัน  แม้ภาพนี้ จะเป็นพื้นที่ส่วนเล็ก ๆ ของผนังที่ ๑ แต่แสดงถึง ฝีมือช่างที่เขียนภาพบนพื้นที่อันจ�ากัด นับเป็นฉาก ที่งดงามมาก

page 13

Group of court ladies with perfect space. Curve lines are used to present the movements.  Ladies appear in the painting are in various actions in good composition. Though it is in the small corner of bay no.1, it shows the skill of the painter who create interesting work in limited area.

หน้า ๑๔-๑๕

พระนางสิริมหามายาประทับบนบุษบก แวดล้อม ด้วยเหล่านางก�านัลและข้าราชบริพาร ก�าลังเสด็จ ไปยังพระราชอุทยานสวนอโศกในกรุงเทวทหะ อันเป็นสถานทีป่ ระกอบพระราชพิธีอภิเษกสมรส ภาพนีแ้ สดงลักษณะการแต่งกายของข้าราชบริพาร ที่ใส่เสื้อและสวมหมวกลอมพอกสีขาวแบบขุนนาง สมัยอยุธยาที่ปรากฏในเอกสารชาวตะวันตก รวมถึงเครื่องยศเครื่องสูงประกอบการเสด็จของ นางกษัตริย์

page 14-15

Princess Sirimahamaya is seen seated on a palanquin surrounded by the lady coutiers and servants.  They are on their way to the


9๑ 91

wedding which will take place in the Asoka garden, Devadaha. Courtiers are seen in a particular kind of shirt and pointed white hat, like Ayutthaya period, worn specially for the auspicious wedding ceremony.

อันเป็นนิมิต  บุคคลส�าคัญของภาพคือ เจ้าชายสิทธัตถะปิดทองที่พระวรกาย ดูโดดเด่น จากพื้นภาพที่เป็นสีแดงคล�้า

page 18

The upper part of bay no. 3 depicts the birth of Prince Siddhartha.  God Indra, Brahma and deities gathered to welcome him. The baby Lord Buddha walked seven steps and vowed his intention.  Prince Siddhartha, the focus of the painting, looks prominent with his gilded body striking out of red background.

หน้า ๑๖-๑๗

ตอนพระนางสิรมิ หามายาสุบนิ นิมติ ในวันที่ พระโพธิสตั ว์ทรงถือปฏิสนธิในครรภ์พระองค์ว่า มีเทวดาสี่องค์ยกพระองค์พร้อมพระแท่นบรรทม ไปยังป่าหิมพานต์  พระนางได้เห็นช้างเผือกชูงวง จับดอกบัวขาว  ภาพนี้เน้นความส�าคัญของภาพ คือ พระนางสิริมหามายาด้วยเส้นกรอบรัศมีรอบ พระวรกายที่ลงพื้นสีด�าตัดกับสีแดงชาดของพืน้ ที่ ภายในปราสาท  เทวดาสีอ่ งค์ที่ก�าลังแบกปราสาท เขียนแบบนาฏลักษณ์

page 16-17

Queen Sirimahamaya dreamt in the night the Lord Buddha came into her.  Four deities carried her from the palace into Himavanta forest.  She saw an elephant holding lotus flower with its trunk.  Black color is used around Queen Sirimahamaya distinguishing her from the palace which is painted red. The four deities carrying her in dramatic manner.

หน้า ๑๙

พระนางสิรมิ หามายาประสูตเิ จ้าชายสิทธัตถะ ท่ามกลางเหล่านางใน  ลายเส้นและลีลาการวาด พระนางสิริมหามายาทีป่ ระทับยืนใต้ตน้ สาละ ดูสวยงาม อ่อนหวาน รับกับท่าทางของนางก�านัล

page 19

Queen Sirimahamaya gives birth to Prince Siddhartha surrounded by court ladies. The linear depicted of the queen standing under the Sala tree is beautifully executed. The court ladies are harmoniously arranged around the queen who gracefully stretches out one of her arms to grasp a branch of the tree.

หน้า ๑๘

ผนังที ่ ๓ ด้านบนเป็นภาพเจ้าชายสิทธัตถะประสูติ มีพระอินทร์ พระพรหม และเหล่าทวยเทพแสดง ความยินดี  เมื่อประสูติเจ้าชายสิทธัตถะ ได้ด�าเนินไป ๗ ก้าวและทรงเปล่งวาจา

หน้า ๒๐-๒๑

ตอนมหาภิเนษกรมณ์ เจ้าชายสิทธัตถะทรงม้า กัณฐกะเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์โดยมีพระอินทร์


๑04 104

แผนผังภาพจิตรกรรมฝาผนังในพระที่นั่งพุทไธสวรรย์

Plan of the Mural Paintings in the Buddhaisawan Chapel ๓๑ ๓๐

๓๒

๒๙

๒๘

๒๗ ๖ พระพุทธสิหิงค์ The Phra Phuttha Sihing Image. ๒๖ ๗ ๒๕

๒๔

๒๓

๑๐

๒๒

๑๑

๒๑

๑๒

๒๐

๑๓

๑๙ ๑๘

0 ๑ ๒ ๓ 4 ๕

ทิศเหนือ

๑๗

๑๖

๑๔ ๑๕

รูปปั้นนกทัณฑิมา

Stucco moulded Tantima birds.

ฐานหินอ่อนซึ่งเคยตั้งพระที่นั่งปาฏิหาริย์ทัศนัย Marble-floored base on which the pavilion called Pathihanthasanai used to be placed.

๑๐

รูปส�าริดพระนารายณ์ทรงปืน

The standing image of Rama in bronze.


ผนังที่ ๑    ผนังที่ ๒  ผนังที่ ๓  ผนังที่ 4    ผนังที่ ๕  ผนังที่ ๖      ผนังที่ ๗  ผนังที่ ๘  ผนังที่ 9  ผนังที่ ๑0    ผนังที่ ๑๑  ผนังที่ ๑๒  ผนังที่ ๑๓  ผนังที่ ๑4  ผนังที่ ๑๕  ผนังที่ ๑๖    ผนังที่ ๑๗    ผนังที่ ๑๘    ผนังที่ ๑9  ผนังที่ ๒0  ผนังที่ ๒๑    ผนังที่ ๒๒  ผนังที่ ๒๓    ผนังที่ ๒4    ผนังที่ ๒๕    ผนังที่ ๒๖  ผนังที่ ๒๗  ผนังที่ ๒๘  ผนังที่ ๒9  ผนังที่ ๓0  ผนังที่ ๓๑  ผนังที่ ๓๒

ตอนพระราชพิธีอภิเษกสมรส พระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายา ตอนทูลเชิญพระโพธิสัตว์และสุบินนิมิต ตอนเจ้าชายสิทธัตถะประสูติ ตอนพระเจ้าสุทโธทนะ ประกอบพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ตอนมหาภิเนษกรมณ์และตัดพระเมาฬี ตอนพระสมณโคดมทรงกระท�าความเพียร เพื่อความหลุดพ้น นิมิตพิณสามสาย กวนข้าวทิพย์ และลอยถาด ตอนมารผจญ ตอนเสวยวิมุตติสุขและทรงรับข้าวสัตตู ตอนแสดงปฐมเทศนา ตอนเทศนาโปรดยสกุลบุตร และประทานบรรพชาแก่เจ้าชายแห่งแคว้นโกศล ตอนท้าวสักกะถวายหินและเทศนาโปรดชฎิลดาบส ตอนเทศนาโปรดชฎิลผู้น้องและเสด็จกรุงลงกา ตอนทรมานพระยามหาชมพู ตอนพระเจ้าพิมพิสารเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า ตอนพระยามหาชมพูฟนั ยอดปราสาทพระเจ้าพิมพิสาร ตอนระงับวิวาทระหว่างพระญาติ เรื่องแย่งน�้าท�าการเกษตร ตอนแสดงพระธรรมเทศนาโปรดพระพุทธบิดา และถวายพระเพลิงพุทธบิดา ตอนพระเจ้าพิมพิสารทรงเป็นพระพุทธอุบาสก และถวายเวฬุวันแด่พระพุทธเจ้า ตอนสัจจกะนิครนถ์และพระติสสะนิพพาน ตอนทรมานช้างนาฬาคีรีและเทศนาโปรดองคุลีมาน ตอนยมกปาฏิหาริย์ เทศนาโปรดพุทธมารดา และปราบพญานาคนันโทปนันท์ ตอนเสด็จลงจากดาวดึงส์ ตอนพระโมคคัลลานะนิพพาน และพระเจ้าสุปปพุทธถูกธรณีสูบ ตอนพระสารีบุตรนิพพาน และอาลวกะยักษ์เข้าถึงพระธรรม ตอนพระนางยโสธรานิพพาน และการผูกพยาบาทของพระนางคัณฑิยา ตอนพระพุทธเจ้าเทศนาโปรดกษัตริย์ลิจฉวี ตอนพญามารทูลเตือนให้เสด็จสู่ปรินิพพาน ตอนพระราหุลนิพพาน ตอนเสวยสุกรมัทวะ ตอนเสด็จปรินิพพาน ตอนพระอานนท์แจ้งข่าวปรินิพพานแก่มัลลกษัตริย์ ตอนถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ และแบ่งพระบรมสารีริกธาตุ

หมายเหตุ :  ผนังเหนือขอบบนหน้าต่างและประตูทุกด้าน   เขียนภาพเทพชุมนุม ฤๅษี นักสิทธิ์ และวิทยาธร

Bay 1  The wedding of Prince Suddhodhana and Princess Sirimahamaya. Bay 2  The invitation to the Bodhisattava to descend to the Human World. Bay 3  The birth of Prince Siddhartha. Bay 4  The Ploughing Ceremony of King Suddhodhana. Bay 5  The Great Renunciation of Prince Siddhartha and the cutting the hair to become an ascetic. Bay 6  The mortifications of Gotama as an ascetic to attain Enlightenment.  Indra with his three-stringed musical instrument.  Sujata cooking the milk rice and the floating of the gold tray. Bay 7  The Assault of Mara. Bay 8  The meditation of the Lord Buddha after the Enlightenment and his first meal after the Enlightenment offered by two merchants. Bay 9  The First Sermon. Bay 10  The conversion of Yasakulaputra and the Princes of Kosol. Bay 11  Sakka or Indra offering a stone to the Lord Buddha. Bay 12  The conversion of Younger Jatila and the Lord Buddha's visit to Lanka. Bay 13  The conversion of Jambupati. Bay 14  King Bimbisara's visit to the Lord Buddha. Bay 15  Jambupati breaks the finial of Bimbisara's palace Bay 16  The quarrel over irrigation water among the relatives of the Lord Buddha. Bay 17  The conversion and the cremation of King Suddhodhana. Bay 18  King Bimbisara offers the Veluwan Garden to the Lord Buddha. Bay 19  The argument on religious matters between the Lord Buddha and Sacchaka; Tissa's Nirvana. Bay 20  Taming Nalagiri the wild elephant and Angulimala's attack. Bay 21  The miracle of the double appearance of the Lord Buddha.  The Lord Buddha’s sermon to his mother; subduing Nanthopanan, the Naga king. Bay 22  The descent from Tavatimsa Heaven. Bay 23  Moggallana's Nirvana and Suppabuddha falling into hell. Bay 24  Sariputta's Nirvana and the conversation of Alavaka, the king of the giants. Bay 25  Yasodhara's Nirvana and the slander by Queen Maagandiya. Bay 26  The Lord Buddha preaches to the Kings of the Licchavi. Bay 27  Mara's envoy temping the Lord Buddha to enter Nirvana. Bay 28  Rahula's Nirvana. Bay 29  The last meal of the Lord Buddha. Bay 30  The Nirvana of the Lord Buddha. Bay4 31  Anada informs the Mala Kings of the Lord Buddha's   Nibbana. Bay 32  The cremation of the Lord Buddha   and the distribution of the relics of the Lord Buddha.

๑0๕ 105


๑0๘ 108

ผนังที่ ๑ พระราชพิธีอภิเษกสมรสระหว่างพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายา Bay 1 The wedding of Prince Suddhodhana and Princess Sirimahamaya.


๑09 109

ผนังที่ ๒ ทูลเชิญพระโพธิสัตว์และสุบินนิมิต Bay 2 The invitation to the Bodhisattava to descend to the Human World.


๑40 140

พระที่นั่งพุทไธสวรรย์

ยุคต้นรัตนโกสินทร์ นับเป็นช่วงเวลาของการสร้างบ้านแปงเมืองใหม่และสร้าง  นครหลวงแห่งใหม่รมิ ฝัง่ ตะวันออกของแม่น�้าเจ้าพระยา ด้วยฝีมอื ของผูค้ นในสมัย  อยุธยาตอนปลายทีย่ งั คงสืบเนือ่ งวิทยาการจากสมัยอยุธยาตอนปลายทัง้ ด้านศิลปะ  งานช่าง ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม เป็นต้น และต่อยอดสร้างสรรค์  เป็นงานศิลปะที่มีเอกลักษณ์เฉพาะในเวลาต่อมา  ดังนั้นหากจะศึกษางานศิลปะ  และสถาปัตยกรรมยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น ก็ต้องดูจากอาคารและศาสนสถานที่  สร้างขึน้ ในช่วงแรกสร้างกรุงเทพมหานครซึง่ หลงเหลือให้เราศึกษาได้เพียงไม่กแี่ ห่ง  และหนึง่ ในจ�านวนนัน้ คือ พระทีน่ งั่ พุทไธสวรรย์ ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีพ่ พิ ธิ ภัณฑสถาน  แห่งชาติพระนคร กรุงเทพฯ ในปัจจุบัน

ประวัติพระที่นั่งพุทไธสวรรย์

พระทีน่ งั่ พุทไธสวรรย์แต่เดิมเป็นพระทีน่ งั่ ในเขตพระราชวังบวรสถานมงคล  หรือวังหน้า อันเป็นทีป่ ระทับของพระมหาอุปราช  ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ทีด่ า้ นทิศเหนือของ  พระบรมมหาราชวังและอยูท่ างทิศตะวันตกของทุง่ พระเมรุหรือท้องสนามหลวงใน  ปัจจุบัน  สันนิษฐานว่าสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท วังหน้าในสมัย  พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดให้สร้างพระที่นั่งองค์นี้  เมื่อ พ.ศ. ๒๓๓๘๑  แรกเริ่มสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทมีพระด�าริให้  ั เชิญ  สร้างพระทีน่ งั่ องค์นสี้ า� หรับเป็นทีป่ ระกอบพระราชพิธตี า่ ง ๆ ต่อมาท่านได้อญ พระพุทธสิหิงค์มาจากเชียงใหม่เมื่อคราวยกทัพไปช่วยเจ้ากาวิละขับไล่พม่าที่มา  รุกรานเมืองเชียงใหม่เมื่อ พ.ศ. ๒๓๓0 จึงทรงอุทิศพระที่นั่งที่จะสร้างนี้ให้เป็น  หอพระส�าหรับประดิษฐานพระพุทธสิหงิ ค์ และเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังภายใน  พระที่นั่งเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา  เมื่อแล้วเสร็จทรงขนานนามพระที่นั่งว่า “พระ  ที่นั่งสุทธาสวรรย์”   เมื่อสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาททิวงคตและพระราชวังบวร  สถานมงคลว่างลง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ  ให้อญ ั เชิญพระพุทธสิหงิ ค์มาประดิษฐานในวัดพระศรีรตั นศาสดารามด้วยทรงเกรง


๑4๑ 141

ว่าจะถูกลักขโมย  ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ  ให้ใช้พระที่นั่งองค์นี้เป็นท้องพระโรงส�าหรับรับแขกเมืองและประกอบพระราชพิธี  ต่าง ๆ  ในรัชกาลต่อมาคือสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เปลี่ยน  นามพระทีน่ งั่ องค์นเี้ ป็น “พระทีน่ งั่ พุทไธสวรรย์” จนกระทัง่ ในสมัยพระบาทสมเด็จ  พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์มาประดิษฐานใน  พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ตามเดิม๒ และประดิษฐานอยู่ที่นี่จวบจนปัจจุบัน

ลักษณะทางศิลปะและสถาปัตยกรรมพระที่นั่งพุทไธสวรรย์

พระทีน่ งั่ พุทไธสวรรย์เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน ตัง้ อยูบ่ นฐานยกพืน้ สูง หัน  หน้าไปด้านทิศตะวันออก  พระทีน่ งั่ มีขนาด ๓๒.๗0 x ๑0.๑0 เมตร มีบนั ไดทาง  ขึ้นทางด้านหน้าและด้านหลังโดยแต่ละด้านมีประตูเข้าออก ๓ ประตู โดยประตู  กลางมีขนาดกว้างทีส่ ดุ  ขนาบด้านซ้ายและขวาด้วยประตูขนาดเล็กกว่า  เชิงผนัง  ด้านนอกท�าเป็นฐานปัทม์คล้ายกับพระมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง มีพาไล  ยืน่ ออกมาจากอาคาร และมีเสานางเรียงทรงสีเ่ หลีย่ มลบมุมจ�านวน ๓๖ ต้นรองรับ  ชายคา ซึง่ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ์ทรงสันนิษฐานว่าน่าจะเป็น  การซ่อมในสมัยรัชกาลที่ ๓   ภายในพระที่นั่งเป็นท้องพระโรงโถงปูพื้นด้วยไม้แผ่นใหญ่ โดดเด่นด้วย  บุษบกทรงมณฑปอันเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์ พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง  เบื้องหน้าและด้านข้างบุษบกประดิษฐานพระพุทธรูปประทับนั่งและพระพุทธรูป  ประทับยืนทรงเครือ่ งปางห้ามสมุทรและพระพุทธรูปองค์อนื่  ๆ อีกหลายองค์  ด้าน  ซ้ายและขวาของบุษบกตั้งต้นไม้เงินและต้นไม้ทองที่เป็นเครื่องบรรณาการจาก  เชียงใหม่ เบื้องหลังบุษบกพระพุทธสิหิงค์มีตู้ลายรดน�้าขนาดใหญ่ ๓ ใบที่สมเด็จ  พระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ วังหน้าในสมัยรัชกาลที ่ ๓ ทรงสร้างส�าหรับเก็บ  พระไตรปิฎ ก  ด้านหนึ่ ง เป็ น ภาพเขี ย นสี เ รื่ อ งรามเกี ย รติ์   อี ก ด้ านหนึ่ ง เขี ย น  ลายรดน�้าเป็นภาพจากเรื่องรามเกียรติ์ นับเป็นงานชิ้นส�าคัญของช่างเขียนฝีมือดี  ในยุคนั้นโดยมีผู้หนึ่งที่ปรากฏชื่อคือ เจ้ากรมอ่อน หลังตู้พระไตรปิฎกมีลับแล


จิตรกรรมฝาผนัง

จิตรกรรมฝาผนังพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ Mural Paintings of Buddhaisawan Chapel

ISBN 978-974-7727-91-3

จิตรกรรมฝาผนังพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ หมวดศิลปะ ราคา ๔๐๐ บาท

พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ Mural Paintings of ฺBuddhaisawan Chapel


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.