จิตรกรรมฝาผนัง
AW cover WatThongThammachat.indd 1
จิตรกรรมฝาผนังวัดทองธรรมชาติ Mural Paintings of Wat Thong Thammachat
ISBN 978-616-7767-44-4
จิตรกรรมฝาผนังวัดทองธรรมชาติ หมวดศิลปะ ราคา ๓๘๐ บาท
วัดทองธรรมชาติ Mural Paintings of Wat Thong Thammachat
10/1/14 5:05 PM
9 9
8 8
สารบัญ
๖ ๑๐ ๖๖ ๗๖ 9๖ 99 ๑๐๒ ๑๐๔ ๑๐๕
CONTENTS
ค�ำน�ำส�ำนักพิมพ์ ภำพจิตรกรรมฝำผนัง บรรยำยภำพจิตรกรรมฝำผนัง แผนผังภำพจิตรกรรมฝำผนังในวัดทองธรรมชำติ วัดทองธรรมชำติ จิตรกรรมฝำผนังวัดทองธรรมชำติ ลักษณะกำรเขียนภำพและกำรจัดองค์ประกอบ ภำพจิตรกรรม สีในภำพจิตรกรรม สภำพสังคมจำกภำพจิตรกรรมฝำผนัง วัดทองธรรมชำติ
7 Publisher's Preface 10 The Mural Paintings 66 Captions of the Mural Paintings 76 Plan of the Mural Paintings in the Ordination Hall of Wat Thong Thammachat 110 Wat Thong Thammachat 113 Mural Paintings in the Ordination Hall of Wat Thong Thammachat 116 Painting Techniques and Picture Composition 118 Colors used in Mural Paintings 119 Society appears in Mural Paintings
9 9
8 8
สารบัญ
๖ ๑๐ ๖๖ ๗๖ 9๖ 99 ๑๐๒ ๑๐๔ ๑๐๕
CONTENTS
ค�ำน�ำส�ำนักพิมพ์ ภำพจิตรกรรมฝำผนัง บรรยำยภำพจิตรกรรมฝำผนัง แผนผังภำพจิตรกรรมฝำผนังในวัดทองธรรมชำติ วัดทองธรรมชำติ จิตรกรรมฝำผนังวัดทองธรรมชำติ ลักษณะกำรเขียนภำพและกำรจัดองค์ประกอบ ภำพจิตรกรรม สีในภำพจิตรกรรม สภำพสังคมจำกภำพจิตรกรรมฝำผนัง วัดทองธรรมชำติ
7 Publisher's Preface 10 The Mural Paintings 66 Captions of the Mural Paintings 76 Plan of the Mural Paintings in the Ordination Hall of Wat Thong Thammachat 110 Wat Thong Thammachat 113 Mural Paintings in the Ordination Hall of Wat Thong Thammachat 116 Painting Techniques and Picture Composition 118 Colors used in Mural Paintings 119 Society appears in Mural Paintings
11 11
10 10
ภาพจิตรกรรมฝาผนัง The Mural Paintings
พระนางสิริมหามายาประสูติเจ้าชายสิทธัตถะ ภาพจากผนังที่ ๒ Queen Sirimahamaya gives birth to Prince Siddhartha. (Bay no 2.)
11 11
10 10
ภาพจิตรกรรมฝาผนัง The Mural Paintings
พระนางสิริมหามายาประสูติเจ้าชายสิทธัตถะ ภาพจากผนังที่ ๒ Queen Sirimahamaya gives birth to Prince Siddhartha. (Bay no 2.)
54 54
55 55
54 54
55 55
56 56
57 57
56 56
57 57
67 67
66 66
อธิบายภาพจิตรกรรมฝาผนัง
Captions of the Mural Paintings
หน้า ๑๑ พระนางสิริมหามายาประสูติเจ้าชายสิทธัตถะ ภาพตอนนี้ใช้เส้นสินเทาแบ่งฉากที่ใช้สีแดง เป็นพื้นหลัง แบ่งเนื้อหาภาพเป็นสองส่วนด้วย แนวเส้นของผ้าม่านที่ด้านในเป็นพื้นสีดำา แต่จัด วางภาพยักเยื้องกัน คือ ส่วนล่างภายในพื้นที่ ล้อมด้วยผ้าม่านเป็นภาพพระนางสิริมหามายา ทรงเหนี่ยวกิ่งต้นสาละเพื่อคลอดเจ้าชายสิทธัตถะ ท่วงท่าของพระนางสิริมหามายาอ่อนช้อยตาม แบบนาฏลักษณ์ ส่วนด้านบนเป็นภาพพระอินทร์ และพระพรหมทรงรับเจ้าชายสิทธัตถะ page 11 Queen Sirimahamaya gave birth to Prince Siddhartha. Sintao lines are used to separate red background. A black curtain is used to divide an episode into two parts which are laid slantingly. The lower part surrounded with curtain depicts Queen Sirimahamaya holding Sala branch in dramatic gesture while giving birth to Prince Siddhartha. The upper part of the painting portrays God Indra and Brahma appearing to receive the prince.
หน้า ๑๒ เจ้าชายสิทธัตถะทรงตัดสินพระทัยออกผนวช เขียนเส้นกรอบลายกระหนกเปลวรอบบุคคล สำาคัญของภาพคือ เจ้าชายสิทธัตถะที่กำาลัง ทอดพระเนตรพระชายาและพระโอรส พื้นที่ภายในกรอบใช้สีแดงที่ตัดกับสีเขียวของ พระแท่นบรรทมและสีทองของเครื่องทรง ทำาให้ ภาพจุดนี้ดูโดดเด่นมาก ส่วนล่างของภาพคือ กลุ่มนางกำานัลที่นอนก่ายเกยกันระเกะระกะ ผ้าผ่อนหลุดลุ่ย ทำาให้เจ้าชายสิทธัตถะทรง รู้สึกสังเวชในความเป็นมนุษย์ การจัดวาง องค์ประกอบกลุ่มนางกำานัลเขียนท่าทางการวาง แขนขาของแต่ละนางเป็นแนวเส้นต่อเนื่องกัน อย่างน่าชม page 12 Prince Siddhartha decided to lead an ascetic life. The frame in kranok motif is drawn around Prince Siddhartha, the significant character. He gave a last look to his consort and his son. Inside the frame is painted red in contrast with the green of the bed. The gold costume makes the painting looked prominent. The lower part portrays court ladies untidily lying asleep. This made Prince Siddhartha felt pity for human being. The group is composed in good composition with their limbs making continuous line.
หน้า ๑๔-๑๕ ภาพเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์ จัดองค์ประกอบ ภาพได้งามสง่า พื้นหลังใช้สีครามจางๆ แต่ช่วงบนระบายสีเข้มที่ให้อารมณ์ของความสงบ สอดคล้องกับเหตุการณ์ที่เจ้าชายสิทธัตถะ ออกผนวชเพื่อละทางโลก page 14-15 The Great Renunciation is portrayed majestically. The light indigo is applied on the back while the upper part is darker to give a serene mood. This conforms to the situation that Prince Siddhartha decided to lead an ascetic life.
หน้า ๑๖ พระสมณโคดมและปัญจวัคคีย์ทั้งห้า สังเกตอาศรมกลางป่าที่เขียนเหมือนยื่นออกมา จากชะเงื้อมเขา เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนทรงไทย มีการปิดทองที่ส่วนเครื่องบน page ๑๖ Gautama and his five ascetics were in a hermitage in a forest. The Thai style brick and plastered habitation looks as if it slants out of the cliff. Gold leaves are applied on the rooftop ornaments.
หน้า ๑๗ นางสุชาดากวนข้าวทิพย์ โทนภาพโดยรวมใช้สี หงดินอ่อน กลุ่มพุ่มใบของต้นไม้เขียนตัดเส้นใบ และระบายฝีแปรงโดยรอบด้วยสีที่เข้มกว่า ท่าทางของพระอินทร์ที่เหาะลงมาดูอ่อนช้อยมาก page 17 Sujata stirred honey rice. A light brick-red color is used as background. Leaves are bolded and color around them is much darker. God Indra flew down graciously in dramatic gesture.
หน้า ๑๘-๑๙ พระสมณโคดมรับข้าวทิพย์จากนางสุชาดา บุคคลในภาพเขียนตัดเส้นด้วยสีดำา พื้นภาพ สีหงดินอ่อน ตัดกับสีเข้มของกลุ่มใบไม้ ต้นไม้ แต่งแต้มพื้นที่ว่างด้วยต้นไม้เล็กๆ ดอกสีแดง page 18-19 Gautama received honey rice from Sujata. Black lines are used to bold the person in the scene. The background is light brick-red contrast with the dark color of leaves and trees. The space is filled with bush with red flowers.
67 67
66 66
อธิบายภาพจิตรกรรมฝาผนัง
Captions of the Mural Paintings
หน้า ๑๑ พระนางสิริมหามายาประสูติเจ้าชายสิทธัตถะ ภาพตอนนี้ใช้เส้นสินเทาแบ่งฉากที่ใช้สีแดง เป็นพื้นหลัง แบ่งเนื้อหาภาพเป็นสองส่วนด้วย แนวเส้นของผ้าม่านที่ด้านในเป็นพื้นสีดำา แต่จัด วางภาพยักเยื้องกัน คือ ส่วนล่างภายในพื้นที่ ล้อมด้วยผ้าม่านเป็นภาพพระนางสิริมหามายา ทรงเหนี่ยวกิ่งต้นสาละเพื่อคลอดเจ้าชายสิทธัตถะ ท่วงท่าของพระนางสิริมหามายาอ่อนช้อยตาม แบบนาฏลักษณ์ ส่วนด้านบนเป็นภาพพระอินทร์ และพระพรหมทรงรับเจ้าชายสิทธัตถะ page 11 Queen Sirimahamaya gave birth to Prince Siddhartha. Sintao lines are used to separate red background. A black curtain is used to divide an episode into two parts which are laid slantingly. The lower part surrounded with curtain depicts Queen Sirimahamaya holding Sala branch in dramatic gesture while giving birth to Prince Siddhartha. The upper part of the painting portrays God Indra and Brahma appearing to receive the prince.
หน้า ๑๒ เจ้าชายสิทธัตถะทรงตัดสินพระทัยออกผนวช เขียนเส้นกรอบลายกระหนกเปลวรอบบุคคล สำาคัญของภาพคือ เจ้าชายสิทธัตถะที่กำาลัง ทอดพระเนตรพระชายาและพระโอรส พื้นที่ภายในกรอบใช้สีแดงที่ตัดกับสีเขียวของ พระแท่นบรรทมและสีทองของเครื่องทรง ทำาให้ ภาพจุดนี้ดูโดดเด่นมาก ส่วนล่างของภาพคือ กลุ่มนางกำานัลที่นอนก่ายเกยกันระเกะระกะ ผ้าผ่อนหลุดลุ่ย ทำาให้เจ้าชายสิทธัตถะทรง รู้สึกสังเวชในความเป็นมนุษย์ การจัดวาง องค์ประกอบกลุ่มนางกำานัลเขียนท่าทางการวาง แขนขาของแต่ละนางเป็นแนวเส้นต่อเนื่องกัน อย่างน่าชม page 12 Prince Siddhartha decided to lead an ascetic life. The frame in kranok motif is drawn around Prince Siddhartha, the significant character. He gave a last look to his consort and his son. Inside the frame is painted red in contrast with the green of the bed. The gold costume makes the painting looked prominent. The lower part portrays court ladies untidily lying asleep. This made Prince Siddhartha felt pity for human being. The group is composed in good composition with their limbs making continuous line.
หน้า ๑๔-๑๕ ภาพเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์ จัดองค์ประกอบ ภาพได้งามสง่า พื้นหลังใช้สีครามจางๆ แต่ช่วงบนระบายสีเข้มที่ให้อารมณ์ของความสงบ สอดคล้องกับเหตุการณ์ที่เจ้าชายสิทธัตถะ ออกผนวชเพื่อละทางโลก page 14-15 The Great Renunciation is portrayed majestically. The light indigo is applied on the back while the upper part is darker to give a serene mood. This conforms to the situation that Prince Siddhartha decided to lead an ascetic life.
หน้า ๑๖ พระสมณโคดมและปัญจวัคคีย์ทั้งห้า สังเกตอาศรมกลางป่าที่เขียนเหมือนยื่นออกมา จากชะเงื้อมเขา เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนทรงไทย มีการปิดทองที่ส่วนเครื่องบน page ๑๖ Gautama and his five ascetics were in a hermitage in a forest. The Thai style brick and plastered habitation looks as if it slants out of the cliff. Gold leaves are applied on the rooftop ornaments.
หน้า ๑๗ นางสุชาดากวนข้าวทิพย์ โทนภาพโดยรวมใช้สี หงดินอ่อน กลุ่มพุ่มใบของต้นไม้เขียนตัดเส้นใบ และระบายฝีแปรงโดยรอบด้วยสีที่เข้มกว่า ท่าทางของพระอินทร์ที่เหาะลงมาดูอ่อนช้อยมาก page 17 Sujata stirred honey rice. A light brick-red color is used as background. Leaves are bolded and color around them is much darker. God Indra flew down graciously in dramatic gesture.
หน้า ๑๘-๑๙ พระสมณโคดมรับข้าวทิพย์จากนางสุชาดา บุคคลในภาพเขียนตัดเส้นด้วยสีดำา พื้นภาพ สีหงดินอ่อน ตัดกับสีเข้มของกลุ่มใบไม้ ต้นไม้ แต่งแต้มพื้นที่ว่างด้วยต้นไม้เล็กๆ ดอกสีแดง page 18-19 Gautama received honey rice from Sujata. Black lines are used to bold the person in the scene. The background is light brick-red contrast with the dark color of leaves and trees. The space is filled with bush with red flowers.
97 97
96 96
วัดทองธรรมชาติ
ด้วยวัฒนธรรมการตั้งชุมชนของคนไทยภาคกลางในอดีตจะตั้งบ้านเรือนอยู่ริม แม่นํ้าอันเป็นเส้นทางสัญจรหลัก สิ่งที่บ่งบอกถึงความเป็นชุมชนคือ วัดวาอาราม ที่มักจะตั้งอยู่ริมแม่นํ้าหรือไม่ห่างจากแม่นํ้านัก โดยเฉพาะแม่นํ้าเจ้าพระยาใน เขตกรุงเทพมหานครหรือเมืองบางกอกในสมัยกรุงศรีอยุธยาที่มีสถานะเป็นเมือง สําคัญที่อยู่ ใกล้ปากแม่นํ้า มีวัดเก่าแก่ที่สร้างมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาอยู่ หลายวัด หนึ่งในนั้นคือ วัดทองธรรมชาติ วัดทองธรรมชาติวรวิหารเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ไม่ ปรากฏประวัติการสร้างที่ชัดเจน ทราบแต่เพียงว่าชาวบ้านเรียกกันว่า วัดทอง แต่เนื่องจากในบริเวณใกล้กันนั้นมีวัดทองอีกแห่งที่อยู่ฝั่งแม่นํ้าเดียวกัน จึงเรียก วัดนี้ที่อยู่ทางต้นนํ้าว่า วัดทองบน ส่วนวัดทองอีกแห่งหนึ่งเรียกว่า วัดทองล่าง ซึ่งปัจจุบันรู้จักกันในชื่อ วัดทองนพคุณ ทั้งนี้ในสมัยแรกตั้งกรุงรัตนโกสินทร์เป็นยุคสถาปนาบ้านเมืองขึ้นใหม่ ที่แม้จะสืบต่อจากสมัยกรุงธนบุรีแต่ก็ห่างจากการเสียกรุงศรีอยุธยาเพียง ๑๕ ปี ทําให้สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงเน้นการฟื้นฟู บ้านเมืองและหลักทางใจของราษฎรด้วยการบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามที่มี แต่เดิมให้เป็นศูนย์กลางของชุมชน โดยมีเชื้อพระวงศ์และขุนนางปฏิบัติตาม พระราชนิยมนี้ด้วย สําหรับวัดทองธรรมชาติแม้จะตั้งอยู่ทางฝั่งธนบุรี ไม่ใช่ฝั่ง เมืองหลวงแห่งใหม่แต่ก็มีผู้คนตั้งบ้านเรือนอยู่มาก อีกทั้งวัดนี้ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้าม แม่นํ้าเยื้องกับวัดปทุมคงคาหรือวัดสําเพ็งในเขตชุมชนชาวจีน แสดงว่าน่าจะ เป็นวัดสําคัญมาแต่ดั้งเดิม ในประวัติของวัดกล่าวไว้ว่า พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนรินทรเทวี (พระองค์เจ้าหญิงกุหรือเจ้าครอกวัดโพธิ์) พระขนิษฐาใน รัชกาลที่ ๑ และพระภัสดา คือ กรมหมื่นนรินทรพิทักษ์ (หม่อมมุก) ทรงร่วมกัน บูรณปฏิสังขรณ์วัดนี้ขึ้นใหม่ทั้งวัดแต่ไม่แล้วเสร็จ อาจเนื่องจากกรมหมื่นนรินทร พิทักษ์สิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๕๑ ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนเดชอดิศร (ต่อมาได้ เลื่อนพระอิสสริยยศเป็น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร) เป็น
แม่กองในการบูรณะวัดนี้และรับเป็นพระอารามหลวง พร้อมทั้งพระราชทานนาม วัดใหม่ว่า “วัดทองธรรมชาติ” ดังความในพระราชพงศาวดารรัชกาลที่ ๓ ว่า “วัดทองธรรมชาติวัด ๑ นั้น เดิมพระองค์เจ้าหญิงกุ และกรมหมื่นนรินทรพิทักษ์ บูรณะมาแต่ก่อน ครั้นทรุดโทรมไป ก็โปรดพระราชทานเงินหลวงให้พระเจ้าน้อง ยาเธอกรมขุนเดชอดิศร เป็นแม่กองไปทำาขึ้น ฉลองพระเดชพระคุณที่ได้ ไปอยู่วัง ของท่าน” ๒ ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั มีการปฏิสงั ขรณ์ ๓ วัดนี้ และใน พ.ศ. ๒๔๕๘ สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีการ บูรณะครั้งใหญ่อีกครั้งหนึ่งโดยเฉพาะพระอุโบสถที่มีการซ่อมแซมทั้งหลัง วั ด ทองธรรมชาติ มี ง านศิ ล ปสถาปั ต ยกรรมสํ า คั ญ และน่ า สนใจอั น สะท้อนถึงศิลปะสมัยต้นรัตนโกสินทร์ซึ่งมีทั้งรูปแบบที่สร้างสืบเนื่องมาจากสมัย อยุธยา และที่เป็นรูปแบบเฉพาะในสมัยรัชกาลที่ ๓ เช่น พระอุโบสถ หันหน้าไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้สู่แม่นํ้าเจ้าพระยา ฐานอาคารพระอุโบสถทําลักษณะโค้งเล็กน้อยแบบที่เรียกว่า “ท้องสําเภา” อัน เป็นงานสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยาตอนปลาย มีมุขที่มีหลังคาคลุมทั้งด้านหน้า และด้านหลัง เครื่องบนพระอุโบสถเป็นแบบอาคารไทยประเพณี คือ มีช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ทําหลังคาลดชั้น ๒ ชั้น หน้าบันทั้งด้านหน้าและด้านหลังเป็น งานจําหลักไม้ประดับกระจกสีรูปเทพนมล้อมรอบด้วยลายกระหนกก้านขด พระ อุโบสถมีประตูทางเข้าด้านหน้าและด้านหลัง ด้านละ ๒ ช่อง สิ่งที่เป็นลักษณะ เด่นของพระอุโบสถคือ ที่พนักของบันไดทางขึ้นพระอุโบสถทําปูนปั้นรูปหัวแหวน รูปทรงแบบโบราณ ประดับกระจกสีสวยงามมาก ภายในพระอุโบสถประดิษ ฐานพระพุทธรูปประธานประทับขัดสมาธิ ราบ ปางมารวิชยั หน้าตักกว้าง ๒.๑๐ เมตร สูง ๒.7๐ เมตร พระบาทสมเด็จ- พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันพระราชทานนามพระประธานองค์นี้ว่า “พระพุทธ- ชินชาติมาศธรรมคุณ”๔ ที่ผนังทั้งสี่ด้านของพระอุโบสถมีภาพจิตรกรรมฝาผนัง ศิลปะสมัยรัชกาลที่ ๓ ที่คงขนบบางประการของศิลปะสมัยอยุธยาตอนปลายอยู่
97 97
96 96
วัดทองธรรมชาติ
ด้วยวัฒนธรรมการตั้งชุมชนของคนไทยภาคกลางในอดีตจะตั้งบ้านเรือนอยู่ริม แม่นํ้าอันเป็นเส้นทางสัญจรหลัก สิ่งที่บ่งบอกถึงความเป็นชุมชนคือ วัดวาอาราม ที่มักจะตั้งอยู่ริมแม่นํ้าหรือไม่ห่างจากแม่นํ้านัก โดยเฉพาะแม่นํ้าเจ้าพระยาใน เขตกรุงเทพมหานครหรือเมืองบางกอกในสมัยกรุงศรีอยุธยาที่มีสถานะเป็นเมือง สําคัญที่อยู่ ใกล้ปากแม่นํ้า มีวัดเก่าแก่ที่สร้างมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาอยู่ หลายวัด หนึ่งในนั้นคือ วัดทองธรรมชาติ วัดทองธรรมชาติวรวิหารเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ไม่ ปรากฏประวัติการสร้างที่ชัดเจน ทราบแต่เพียงว่าชาวบ้านเรียกกันว่า วัดทอง แต่เนื่องจากในบริเวณใกล้กันนั้นมีวัดทองอีกแห่งที่อยู่ฝั่งแม่นํ้าเดียวกัน จึงเรียก วัดนี้ที่อยู่ทางต้นนํ้าว่า วัดทองบน ส่วนวัดทองอีกแห่งหนึ่งเรียกว่า วัดทองล่าง ซึ่งปัจจุบันรู้จักกันในชื่อ วัดทองนพคุณ ทั้งนี้ในสมัยแรกตั้งกรุงรัตนโกสินทร์เป็นยุคสถาปนาบ้านเมืองขึ้นใหม่ ที่แม้จะสืบต่อจากสมัยกรุงธนบุรีแต่ก็ห่างจากการเสียกรุงศรีอยุธยาเพียง ๑๕ ปี ทําให้สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงเน้นการฟื้นฟู บ้านเมืองและหลักทางใจของราษฎรด้วยการบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามที่มี แต่เดิมให้เป็นศูนย์กลางของชุมชน โดยมีเชื้อพระวงศ์และขุนนางปฏิบัติตาม พระราชนิยมนี้ด้วย สําหรับวัดทองธรรมชาติแม้จะตั้งอยู่ทางฝั่งธนบุรี ไม่ใช่ฝั่ง เมืองหลวงแห่งใหม่แต่ก็มีผู้คนตั้งบ้านเรือนอยู่มาก อีกทั้งวัดนี้ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้าม แม่นํ้าเยื้องกับวัดปทุมคงคาหรือวัดสําเพ็งในเขตชุมชนชาวจีน แสดงว่าน่าจะ เป็นวัดสําคัญมาแต่ดั้งเดิม ในประวัติของวัดกล่าวไว้ว่า พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนรินทรเทวี (พระองค์เจ้าหญิงกุหรือเจ้าครอกวัดโพธิ์) พระขนิษฐาใน รัชกาลที่ ๑ และพระภัสดา คือ กรมหมื่นนรินทรพิทักษ์ (หม่อมมุก) ทรงร่วมกัน บูรณปฏิสังขรณ์วัดนี้ขึ้นใหม่ทั้งวัดแต่ไม่แล้วเสร็จ อาจเนื่องจากกรมหมื่นนรินทร พิทักษ์สิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๕๑ ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนเดชอดิศร (ต่อมาได้ เลื่อนพระอิสสริยยศเป็น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร) เป็น
แม่กองในการบูรณะวัดนี้และรับเป็นพระอารามหลวง พร้อมทั้งพระราชทานนาม วัดใหม่ว่า “วัดทองธรรมชาติ” ดังความในพระราชพงศาวดารรัชกาลที่ ๓ ว่า “วัดทองธรรมชาติวัด ๑ นั้น เดิมพระองค์เจ้าหญิงกุ และกรมหมื่นนรินทรพิทักษ์ บูรณะมาแต่ก่อน ครั้นทรุดโทรมไป ก็โปรดพระราชทานเงินหลวงให้พระเจ้าน้อง ยาเธอกรมขุนเดชอดิศร เป็นแม่กองไปทำาขึ้น ฉลองพระเดชพระคุณที่ได้ ไปอยู่วัง ของท่าน” ๒ ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั มีการปฏิสงั ขรณ์ ๓ วัดนี้ และใน พ.ศ. ๒๔๕๘ สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีการ บูรณะครั้งใหญ่อีกครั้งหนึ่งโดยเฉพาะพระอุโบสถที่มีการซ่อมแซมทั้งหลัง วั ด ทองธรรมชาติ มี ง านศิ ล ปสถาปั ต ยกรรมสํ า คั ญ และน่ า สนใจอั น สะท้อนถึงศิลปะสมัยต้นรัตนโกสินทร์ซึ่งมีทั้งรูปแบบที่สร้างสืบเนื่องมาจากสมัย อยุธยา และที่เป็นรูปแบบเฉพาะในสมัยรัชกาลที่ ๓ เช่น พระอุโบสถ หันหน้าไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้สู่แม่นํ้าเจ้าพระยา ฐานอาคารพระอุโบสถทําลักษณะโค้งเล็กน้อยแบบที่เรียกว่า “ท้องสําเภา” อัน เป็นงานสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยาตอนปลาย มีมุขที่มีหลังคาคลุมทั้งด้านหน้า และด้านหลัง เครื่องบนพระอุโบสถเป็นแบบอาคารไทยประเพณี คือ มีช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ทําหลังคาลดชั้น ๒ ชั้น หน้าบันทั้งด้านหน้าและด้านหลังเป็น งานจําหลักไม้ประดับกระจกสีรูปเทพนมล้อมรอบด้วยลายกระหนกก้านขด พระ อุโบสถมีประตูทางเข้าด้านหน้าและด้านหลัง ด้านละ ๒ ช่อง สิ่งที่เป็นลักษณะ เด่นของพระอุโบสถคือ ที่พนักของบันไดทางขึ้นพระอุโบสถทําปูนปั้นรูปหัวแหวน รูปทรงแบบโบราณ ประดับกระจกสีสวยงามมาก ภายในพระอุโบสถประดิษ ฐานพระพุทธรูปประธานประทับขัดสมาธิ ราบ ปางมารวิชยั หน้าตักกว้าง ๒.๑๐ เมตร สูง ๒.7๐ เมตร พระบาทสมเด็จ- พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันพระราชทานนามพระประธานองค์นี้ว่า “พระพุทธ- ชินชาติมาศธรรมคุณ”๔ ที่ผนังทั้งสี่ด้านของพระอุโบสถมีภาพจิตรกรรมฝาผนัง ศิลปะสมัยรัชกาลที่ ๓ ที่คงขนบบางประการของศิลปะสมัยอยุธยาตอนปลายอยู่
จิตรกรรมฝาผนัง
AW cover WatThongThammachat.indd 1
จิตรกรรมฝาผนังวัดทองธรรมชาติ Mural Paintings of Wat Thong Thammachat
ISBN 978-616-7767-44-4
จิตรกรรมฝาผนังวัดทองธรรมชาติ หมวดศิลปะ ราคา ๓๘๐ บาท
วัดทองธรรมชาติ Mural Paintings of Wat Thong Thammachat
10/1/14 5:05 PM