ตามรอยพ่อ ก-ฮ ธ สถิตในดวงใจนิรันดร์

Page 1


ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ

002


“ที่ของข้าพเจ้าในโลกนี้ คือการได้อยู่ท่ามกลางประชาชนของข้าพเจ้า นั่นคือคนไทยทั้งปวง...” ความตอนหนึ่งในพระราชหัตถเลขา ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

003

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ


“...ความสุขความสวัสดีของข้าพเจ้า จะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยบ้านเมืองของเรา มีความเจริญมั่นคง เป็นปกติสุข... ความเจริญมั่นคงทั้งนั้น จะสัมฤทธิผลเป็นจริงได้ ก็ด้วยทุกคนทุกฝ่ายในชาติ มุ่งที่จะปฏิบัติ หน้าที่ของตนให้เต็มกําลังด้วยสติรู้ตัว ด้วยปัญญารู้คิด และด้วยความสุจริตจริงใจ โดยเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมยิ่งกว่าส่วนอื่น” พระราชดำ�รัส ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ

006


สารบัญ ค�ำน�ำ

๐๐๕

กฎหมาย ๐๑๖  กตัญญู ๐๑๗  กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค  ๐๑๘ กล้องถ่ายรูป ๐๒๑  กษัตริย์นักพัฒนา ๐๒๒  กส. ๙ ๐๒๓  กังหัน น�้ำ ชัยพัฒนา  ๐๒๔  กังหันลมแบบพระราชทาน ๐๒๖  กาแฟ ๐๒๖  การออก ก�ำลังกาย  ๐๒๘  กีฬา ๐๒๙  เกลียด ๐๓๑  เกลือพระราชทาน ๐๓๒ แก้มลิง ๐๓๓  แกล้งดิน ๐๓๔  แกลบ ๐๓๔  แก๊สชีวภาพ ๐๓๕  แก๊สโซฮอล์ ๐๓๖  โกรธ ๐๓๘  โกลเด้น เพลส ๐๓๘

ของขวัญวันเกิด ๐๔๐  ขันติ ๐๔๑  ขับรถ ๐๔๒  ข้าราชการ ๐๔๔  ขาดทุน คือก�ำไร ๐๔๕  ข้าว ๐๔๖  ข้าวกล้อง ๐๔๗  เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา  ๐๔๘ เขือ่ นขุนด่านปราการชล ๐๔๙  เขือ่ นแควน้อย ๐๕๐  เขือ่ นป่าสักชลสิทธิ ์ ๐๕๑ เขื่อนภูมิพล ๐๕๒  เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล ๐๕๒

คนเก่ง ๐๕๕  คนไทย ๐๕๖  คนโปรด ๐๕๗  คนไม่ด ี ๐๕๘  ครองราชย์ ๐๕๙  ครู ๐๖๑  คลองลัดโพธิ ์ ๐๖๒  คลินกิ ศูนย์แพทย์พฒั นา ๐๖๓  ความดี ๐๖๔  ความเพียร ๐๖๕  ความมั่นคง ๐๖๖  ความรัก ๐๖๗  ความรู้ ๐๖๘  ความสุข ๐๖๙  คอมพิวเตอร์ ๐๖๙  คอมมิวนิสต์ ๐๗๐  คุณธรรม ๐๗๒  เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๐๗๓  โครงการตามพระราชด�ำริ ๐๗๕ โครงการตามพระราชประสงค์ ๐๗๖  โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์ ๐๗๗ โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา ๐๗๗  โครงการหลวง ๐๘๐  โครงการ 007

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ


เนื่องมาจากพระราชด�ำริ ๐๘๔  โครงข่ายจตุรทิศตะวันตก-ตะวันออก ๐๘๘

ง จ

งู ู ๐๙๐  โง่ ๐๙๑

จระเข้ ๐๙๓  จราจร ๐๙๓  จอมทัพไทย ๐๙๕  จิตใจระเบิดขวด ๐๙๗ จิตรกรรมฝาผนังตามแนวพระราชด�ำริ ๐๙๗  จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ ๐๙๙  แจ๊ส

๑๐๐

ฉ ช ซ ฎ

ฉลองพระเนตร ๑๐๓  ฉลองพระบาท ๑๐๓  ฉลองพระองค์ ๑๐๔

ชลประทาน ๑๐๖  ชั่งหัวมัน ๑๐๗  ช่าง ๑๐๘  ช้างเผือก ๑๐๙  ชาวเขา ๑๑๑  แชร์ ๑๑๔

ซื่อตรง ๑๑๗  แซ็กโซโฟน ๑๑๗

ฎีกา ๑๒๑

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ

008


ณ ด ต ถ ท

เณร ๑๒๔

ดนตรี ไทย ๑๒๖  ดอยค�ำ ๑๒๗  ดิน ๑๒๘  ดินเค็ม ๑๒๘  ดินเปรี้ยว ๑๒๙  ดินสอ ๑๓๐  เดอะคิง can do no wrong ๑๓๐  เดิน ๑๓๑

ตราตัง้ ห้าง ๑๓๔  ตาโต ๑๓๕  ตํารวจ ๑๓๕  ตํารวจจราจรโครงการพระราชด�ำริ ๑๓๖  ติโต ๑๓๗  ตุลาการภิวัฒน์ ๑๓๘

ถนนห้วยมงคล ๑๔๒  ถวายสัตย์ปฏิญาณ ๑๔๒  ถาน ๑๔๔

ทรัพย์สิน ๑๔๖  ทฤษฎี ใหม่ ๑๔๗  ทศพิธราชธรรม ๑๕๐  ทสก. ๑๕๐ ทหาร ๑๕๑  ท้อ ๑๕๑  ทองแดง ๑๕๒  ทะเบียนสมรส ๑๕๓  ทาน ๑๕๓  ทีด่ นิ  ๑๕๖  ทุนภูมพิ ล ๑๕๗  ทุนเล่าเรียนหลวง คิงสกอลาชิป ๑๕๘ ทุนอานันทมหิดล ๑๕๙

ธงประจ�ำพระองค์ ๑๖๑  ธนาคารข้าว ๑๖๑  ธนาคารโค-กระบือ ๑๖๒

009

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ


นมหนองโพ ๑๖๔  นมอัดเม็ด ๑๖๕  นาเกลือ ๑๖๖  นาฏศิลป์ไทย ๑๖๖ นามสกุล ๑๖๗  นายกรัฐมนตรี ๑๖๘  นายอินทร์ผปู้ ดิ ทองหลังพระ ๑๗๐  นํา้ ๑๗๑  นํา้ ท่วม ๑๗๓  นํา้ ท่วมกรุงเทพฯ ๑๗๔  นํา้ เน่าเสีย ๑๗๗  นํา้ มัน ปาล์ม ๑๗๘  นิสิตนักศึกษา ๑๗๙  โน้ตเพลงไทย ๑๘๑

บ ป

บวร ๑๘๓  บึงพระราม ๙ ๑๘๓  บึงมักกะสัน ๑๘๔  แบดมินตัน ๑๘๕ ไบโอดีเซล ๑๘๖

ประชาชน ๑๘๙  ประชาธิปไตย ๑๙๐  ประชาพิจารณ์ ๑๙๑  ประติมากรรม ฝีพระหัตถ์ ๑๙๒  ประทับพับเพียบ ๑๙๓  ประโยชน์ส่วนตัว ๑๙๓  ประสาน งาน ประสานประโยชน์ ๑๙๔  ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ๑๙๕  ปริญญา บัตร ๑๙๖  ปลานิล ๑๙๗  ปลาร้องไห้ ๑๙๘  ปลาหมอเทศ ๑๙๙  ปลูกป่า ๓ อย่าง ให้ประโยชน์ ๔ อย่าง ๑๙๙  ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก ๒๐๐  ปลูกป่า ทดแทน ๒๐๑  ปลูกป่าในใจ ๒๐๒  ป่าชายเลน ๒๐๒  ป่าเปียก ๒๐๔ ป่าพรุ ๒๐๔  ป่าไม้ ๒๐๕  ปิดทองหลังพระ ๒๐๗  ปี่ ใน ๒๐๘  ปีพระ ราชสมภพ ๒๐๘  ปูเจ้าพ่อหลวง ๒๐๙

ผ ฝ

ผักตบชวา ๒๑๑  แผนที ่ ๒๑๑

ฝนหลวง ๒๑๕  ฝายชะลอความชุ่มชื้น ๒๑๘

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ

010


พร ๒๒๐  พระต�ำหนัก ๒๒๐  พระไตรปิฎก ๒๒๑  พระปฐมบรมราชโองการ ๒๒๒  พระปรมาภิไธย ๒๒๒  พระปรมาภิไธยย่อ ๒๒๓  พระพีน่ าง ๒๒๓ พระพุทธนวราชบพิตร ๒๒๕  พระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ ๒๒๖  พระพุทธรูปปาง ประทานพร ภปร. ๒๒๗  พระมหากษัตริย ์ ๒๒๗  พระมหาชนก ๒๒๙  พระ ราชธิดา ๒๓๐  พระราชนิพนธ์ ๒๓๑  พระราชพิธเี ฉลิมพระชนมพรรษา ๒๓๓ พระราชพิธถี อื น�ำ้ พระพิพฒ ั น์สตั ยา ๒๓๕  พระราชพิธที รงพระผนวช ๒๓๖  พระ ราชพิธบี รมราชาภิเษก ๒๓๙  พระราชพิธพี ชื มงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ๒๔๒ พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส ๒๔๓  พระราชสัญลักษณ์ประจ�ำพระองค์ ๒๔๕ พระราชอ�ำนาจ ๒๔๖  พระราชโอรส ๒๔๖  พระราชินี ๒๔๗  พระสมเด็จ จิตรลดา ๒๕๐  พฤษภาคม ๒๕๓๕ ๒๕๑  พอเพียง ๒๕๒  พันธุข์ า้ วทรงปลูก ๒๕๒  พิธหี มัน้  ๒๕๓  พิพธิ ภัณฑ์ธรรมชาติทมี่ ชี วี ติ  ๒๕๔  พี ่ ๒๕๔  พีระมิด ๒๕๖  พุทธมามกะ ๒๕๗  เพลงพระราชนิพนธ์ ๒๕๘  แพทย์พระราชทาน

๒๖๔

ฟ ภ

ไฟพระฤกษ์ ๒๖๗  ไฟฟ้า ๒๖๗

ภาพถ่าย ๒๗๐  ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ ๒๗๑  ภาพยนตร์ส่วนพระองค์ ๒๗๓ ภูมิบาล ๒๗๔  ภูมิพล ๒๗๕  ภูมิพลอดุลเดช ๒๗๖  ภูมิพโล ๒๗๖ ภูมิสังคม ๒๗๗

มหิดล ๒๗๙  มะม่วง ๒๗๙  มูลนิธชิ ยั พัฒนา ๒๘๐  มูลนิธพิ ระดาบส ๒๘๑ มูลนิธริ าชประชานุเคราะห์ ๒๘๒  มูลนิธริ าชประชาสมาสัย ๒๘๓  มูลนิธสิ ายใจไทย ๒๘๔  มูลนิธอิ านันทมหิดล ๒๘๕ 011

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ


ย ร

ยะลา ๒๘๗  ยางนา ๒๘๘  ยิ้ม ๒๘๙  ยึกยือ ๒๙๐

รอยพระบาท ๒๙๒  ระบอบประชาธิป ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๒๙๓  ระเบิดจากข้างใน ๒๙๕  รัฐธรรมนูญ ๒๙๕  รัฐประหาร ๒๙๗ รั บ เสด็ จ   ๓๐๐    รางวั ล สมเด็ จ เจ้ า ฟ้ า มหิ ด ล   ๓๐๑    ราชาศั พ ท์   ๓๐๒ รูร้ กั สามัคคี ๓๐๓  รูปรับปริญญา ๓๐๔  เรือ ต. ๙๑ ๓๐๕  เรือใบ ๓๐๗ เรือใบฝีพระหัตถ์ ๓๐๘  เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ ๙ ๓๑๐ เรือรบจ�ำลอง ๓๑๑  เรื่องทองแดง ๓๑๒  โรคเรื้อน ๓๑๒  โรงพยาบาล ๓๑๓  โรงเรียน ๓๑๔  โรงเรียนวังไกลกังวล ๓๑๖

ล ว

ลงพระปรมาภิไธย ๓๑๙  ลายคราม ๓๒๐  ลึกและกว้าง ๓๒๑  ลุม่ น�ำ้ ปากพนัง ๓๒๑  ลูกเสือ ๓๒๒  ลูกเสือชาวบ้าน ๓๒๔  เล็ก ๓๒๖  โลกร้อน ๓๒๖

วัดประจ�ำรัชกาล ๓๒๙  วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก ๓๒๙  วันกีฬาแห่งชาติ ๓๓๐  วันชาติ ๓๓๐  วันทรงดนตรี ๓๓๑  วันเทคโนโลยีของไทย ๓๓๒ วัน พระบรมราชสมภพ ๓๓๒  วัน พ่อแห่งชาติ ๓๓๒  วัน ภาษาไทยแห่งชาติ ๓๓๓  วันมหาวิปโยค ๓๓๕  วิทยาศาสตร์ ๓๓๖  วิทยุสื่อสาร ๓๓๗

ศีล ๓๔๑  ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ๓๔๑  เศรษฐกิจ พอเพียง ๓๔๔

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ

012


ส.ค.ส. ๓๔๙  สถานีวิทยุ อ.ส. พระราชวังดุสิต ๓๔๙  สนิม ๓๕๑  สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ๓๕๒  สมเด็จพระบรมราชชนก ๓๕๒  สมเด็จย่า ๓๕๕  สมาธิ ๓๕๘  สมิทธ ๓๕๙  สระสุวรรณชาด ๓๕๙  สวนจิตรลดา รโหฐาน ๓๖๐  สหกรณ์ ๓๖๐  สหาย ๓๖๑  สามัคคี ๓๖๒  สายอากาศ สุธี ๓๖๔  สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชนฯ ๓๖๕  สิ่งใหม่ สิ่งเก่า ๓๖๖ สีเหลือง ๓๖๗  สุวรรณชาด ๓๖๘  เสด็จฯ เยีย่ มทหารและต�ำรวจตระเวนชายแดน ๓๖๙  เสด็จฯ เยี่ยมเยียนราษฎร ๓๗๐  เสด็จฯ เยือนต่างประเทศ ๓๗๒ เสียสละ ๓๗๔  เสื้อพระราชทาน ๓๗๖  ไส้กรอกหลวง ๓๗๖

หญ้าแฝก ๓๗๘  หน้าที่ ๓๗๙  หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ๓๘๐  หลอดยาสี พระทนต์ ๓๘๒  ห้องทรงงาน ๓๘๒  หุ่นยนต์คุณ หมอ ๓๘๓  หุบกะพง ๓๘๓  แหลมผักเบี้ย ๓๘๕

อ.ส. วันศุกร์ ๓๘๗  องคมนตรี ๓๘๘  อธรรมปราบอธรรม ๓๙๐  อภัยโทษ ๓๙๐  อวิโรธนะ ๓๙๑  อวิหงิ สา ๓๙๒  อ่อนโยน ๓๙๒  อักษรเทวนาครี ๓๙๓  อัครศาสนูปถัมภก ๓๙๔  อัครศิลปิน ๓๙๕  อาหาร ๓๙๕  อิฐเก่า ๓๙๗  อุบัติเหตุ ๓๙๗  เอทานอล ๓๙๘  เอฟบีไอ ๓๙๘

เฮลิคอปเตอร์ ๔๐๐  โฮเต็ล เซียร่า วัน อัลฟา ๔๐๒ บรรณานุกรม

013

๔๐๓

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ


ตามรอยพ่อ

สก-ฮ

014

ต า ม ร อ ย พ่ อ


ก ก

ต า ม ร อ ย พ่ อ

015

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ


กฎหมาย

ก กฎหมาย

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีความเข้าใจกฎหมายและปรัชญาของกฎหมายอย่าง ลึกซึ้ง ทรงให้ความส�ำคัญต่อกฎหมายและหลักความยุติธรรมเป็นอย่างมาก เพราะเป็น สิ่งหนึ่งที่ท�ำให้พสกนิกรอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างผาสุก  พระองค์มีพระราชด�ำรัสว่า

“...กฎหมายเป็ น เครื่ อ งมื อในการรั ก ษาความ ยุตธิ รรม ความยุตธิ รรมจึงควรมาก่อนและอยูเ่ หนือกฎหมาย และการใช้กฎหมายนั้นจะต้องใช้เพื่อรักษาความยุติธรรม มิใช่เพื่อรักษาตัวกฎหมาย...” พระองค์ทรงเห็นว่ากฎหมายควรมี ไว้เพื่อความสงบสุขของบ้านเมือง มิใช่ เพื่อบังคับประชาชน

“...เราจะต้องพิจารณาในหลักว่า กฎหมายมี ไว้ ส�ำหรับให้มคี วามสงบสุขในบ้านเมือง มิใช่วา่  กฎหมายมีไว้ ส�ำหรับบังคับประชาชน ถ้ามุ่งหมายที่จะบังคับประชาชน ก็จะกลายเป็นเผด็จการ กลายเป็นสิง่ ทีบ่ คุ คลหมูน่ อ้ ยจะต้อง ใช้บังคับบุคคลหมู่มาก  ในทางตรงกันข้าม กฎหมายมีไว้ ส�ำหรับให้บคุ คลส่วนมากมีเสรี และอยูไ่ ด้ดว้ ยความสงบ...”

ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงทรงห่วงใยในความขัดแย้งระหว่างกฎหมายกับความ เป็นจริงซึ่งท�ำให้เกิดความไม่ยุติธรรมจากการบังคับใช้กฎหมาย

“...การน�ำบทบัญญัติที่ปฏิบัติไม่ได้ตามสภาพที่ เป็นจริงของชีวิตมาบังคับใช้ เป็นต้นเหตุแห่งความเดือด ร้อนแตกแยกในชาติและประชาชน  บทบัญญัตแิ ห่งกฎหมาย ที่จะยังความสงบเรียบร้อยให้เกิดขึ้นได้ต้องตราขึ้นตาม สภาพการณ์และสภาพชีวิตที่แท้จริงของบ้านเมืองและ บุคคล...”

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ

016


กตัญญู

ก กตัญญู

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นแบบอย่างของลูกกตัญญู  เชื่อว่าทุกคนจดจ�ำและ ซาบซึ้งใจกับภาพในหลวงทรงคอยประคองแขนสมเด็จย่าไม่ห่าง  พ.อ. (พิเศษ) ทองค�ำ ศรีโยธิน เขียนในบทความ “พระมหากษัตริย์ยอดกตัญญู”  มี ใจความโดยย่อว่า เมื่อ สมเด็จย่าทรงพระประชวร แม้จะมีพยาบาลหรือองครักษ์คอยดูแล แต่ในหลวงทรงบอกว่า “ไม่ต้อง...คนนี้...เป็นแม่เรา...เราประคองเอง”  และเมื่อครั้งสมเด็จย่ากับในหลวงทรง พระประชวรอยู่ที่โรงพยาบาลศิริราชพร้อมกัน  เช้าวันหนึ่งขณะพยาบาลก�ำลังเข็นรถ สมเด็จย่าผ่านหน้าห้องพักของในหลวง พระองค์ทรงรีบออกจากห้องมาเข็นรถให้สมเด็จย่า แทน เมื่อมหาดเล็กกราบบังคมทูลทักท้วง ในหลวงรับสั่งว่า

“แม่ของเรา... ท�ำไมต้องให้คนอื่นเข็น... เราเข็นเองได้” เมื่อสมเด็จย่าทรงพระชราภาพมาก ในหลวงเสด็จจากสวนจิตรลดาไปวัง สระปทุมทุกเย็น เพื่อเสวยพระกระยาหารร่วมกับสมเด็จย่า สัปดาห์ละ ๕ วัน ทั้ง ๆ ที่ พระองค์มีพระราชกรณียกิจมากมาย  ทุกครั้งที่เสด็จไปหา ในหลวงจะเข้าไปกราบที่ตัก สมเด็จย่าก็จะกอดและหอมในหลวง  เวลาเสวย ในหลวงจะทรงตักอาหารที่สมเด็จย่า ชอบใส่ช้อนให้  เมื่อเสวยเสร็จ ในหลวงจะทรงนั่งคุยกับสมเด็จย่า แล้วมีรับสั่งว่า

“อยากฟังแม่สอนอีก” ในช่วงสุดท้ายทีส่ มเด็จย่าทรงพระประชวรพักอยูท่ โี่ รงพยาบาลศิรริ าช ในหลวง เสด็จไปเยี่ยมทุกคืนและประทับอยู่ครั้งละหลายชั่วโมง  กระทั่งคืน สุดท้าย ทรงเฝ้า สมเด็จย่าอยู่จนเกือบรุ่งสาง จึงเสด็จกลับ แต่พอถึงที่ประทับก็มีผู้แจ้งมาว่าสมเด็จย่า สวรรคตแล้ว

017

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ


พ.อ. (พิเศษ) ทองค�ำเขียนบรรยายเหตุการณ์ตอนนี้ว่า “...ในหลวง...รีบเสด็จกลับไปศิริราช...เห็นสมเด็จย่านอนหลับตาอยู่บนเตียง... ในหลวงท�ำยังไงครับ...ในหลวงตรงเข้าไป...คุกเข่า...กราบลงที่หน้าอกแม่ พระพักตร์ ในหลวง...ตรงกับหัวใจแม่...ขอหอมหัวใจแม่...เป็นครั้งสุดท้าย...ซบหน้านิ่ง...อยู่นาน... แล้วค่อย ๆ เงยพระพักตร์ขนึ้ ...น�ำ้ พระเนตรไหลนอง...ต่อไปนี...้ จะไม่มแี ม่ให้หอมอีกแล้ว... เอามือ...กุมมือแม่ไว้ มือนิม่  ๆ ที่ไกวเปลนีแ้ หละทีป่ น้ั ลูกจนได้เป็นกษัตริย ์ เป็นทีร่ กั ของคน ทัง้ บ้านทัง้ เมือง...ชีวติ ลูก...แม่ปน้ั ...มองเห็นหวี...ปักอยูท่ ผี่ มแม่...ในหลวงจับหวี...ค่อย ๆ หวี ผมให้แม่...หวี...หวี...หวี...หวีให้แม่สวยที่สุด...แต่งตัวให้แม่...ให้แม่สวยที่สุด...ในวันสุดท้าย ของแม่...

“เป็นภาพที่ประทับใจเป็นที่สุด... เป็นสุดยอดของลูกกตัญญู... หาที่เปรียบมิได้อีกแล้ว...”

กระบวนพยุหยาตรา ทางชลมารค

ก กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค

กล่าวกันว่ากระบวนพยุหยาตราทางชลมารคมีทมี่ าจากการจัดรูปกระบวนของทัพเรือ และ อาจสืบสาวไปได้ถงึ เรือรูปสัตว์ของอาณาจักรขอมโบราณ  อย่างไรก็ตามหลักฐานทีแ่ น่ชดั ของการจัดกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคของไทยนั้นมีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา และสืบทอดมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ โดยส่วนใหญ่พระมหากษัตริย์จะทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้จัดกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคในการเสด็จพระราชด�ำเนินเลียบ พระนครซึง่ มักเป็นส่วนหนึง่ ของพระราชพิธบี รมราชาภิเษก  และการเสด็จพระราชด�ำเนิน ถวายผ้าพระกฐิน ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ

018


ในรัชกาลที่ ๗ มีการจัดกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคคราวฉลองพระนคร ครบรอบ ๑๕๐ ปี ในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๗๕  แต่ภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการ ปกครองในปีนนั้  ก็มไิ ด้มพี ระราชพิธีใด ๆ อีก เรือพระทีน่ งั่ ต่าง ๆ จึงถูกขึน้ คานไว้ในโรงเรือ พระราชพิธีริมคลองบางกอกน้อย  ต่อมาระหว่างสงครามโลกครั้งที่ ๒  เรือพระที่นั่ง บางล�ำได้รบั ความเสียหายจากการทิง้ ระเบิด  จนกระทัง่ ในปี พ.ศ. ๒๕๐๐ จึงได้เริม่ ฟืน้ ฟู การจัดกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคขึ้นใหม่ เนื่องในโอกาสฉลองกึ่งพุทธศตวรรษ เรียกว่า “พุทธพยุหยาตราทางชลมารค” ซึ่งนับเป็นครั้งแรกของการจัดให้มีกระบวนเรือ พระราชพิธีในรัชกาลปัจจุบัน อีก ๒ ปีตอ่ มาคือในปี พ.ศ. ๒๕๐๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั โปรดเกล้าฯ ให้ฟื้นฟูพระราชพิธีเสด็จพระราชด�ำเนินไปถวายผ้าพระกฐินโดยกระบวนพยุหยาตรา ทางชลมารคขึ้นเป็นครั้งแรกในรัชกาล นับถึงปัจจุบัน ในรัชกาลที่ ๙ นี้ มีการจัดกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค มาแล้ว ๑๖ ครั้ง โดยครั้งที่เป็นที่จดจ�ำแก่พสกนิกรมากที่สุดครั้งหนึ่ง คือคราวสมโภช กรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พ.ศ. ๒๕๒๕  เพราะเป็นการจัดเรือกระบวนใหญ่ครั้งแรกใน รัชกาล โดยรัฐบาลได้ซ่อมแซมเรือพระที่นั่งและเรือหลวงที่ช�ำรุดซึ่งต้องใช้ในพระราชพิธี ให้มีสภาพดีขึ้นอีกครั้ง ส่วนครั้งล่าสุดคืองานพระราชพิธีถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ ประกอบด้วยเรือ ๕๒ ล� ำ ใช้ฝีพายกว่า ๒,๐๐๐ คน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารเสด็จฯ แทนพระองค์ 019

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ


ข ก

ต า ม ร อ ย พ่ อ ฮ

039

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ


ข ของขวัญวันเกิด

ของขวัญ วันเกิด

ทุกคนอยากได้ของขวัญวันเกิดเป็นสิง่ ของทีต่ นเองชอบ แต่สำ� หรับในหลวง ของขวัญวันเกิด  ที่มีค่าส�ำหรับพระองค์ คือการที่ประชาชนทุกหมู่เหล่าท�ำหน้าที่ของตนอย่างเต็มที่ อย่าง  เสียสละ เพื่อให้งานส�ำเร็จ และเกิดประโยชน์แก่ประเทศชาติ ในหลวงพระราชทานพระราชด�ำรัสแก่ประชาชนที่เข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคล  เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๑๗ ความตอนหนึ่งว่า

“วัน นี้ ท่านทั้งหลายอาจอึดอัดใจ เพราะทาง  เจ้าหน้าที่ ได้ย�้ำแล้วย�้ำอีกว่า ห้ามน�ำสิ่งของมาให้เป็น  ของขวัญ ห้ามเด็ดขาด แม้ดอกไม้ดอกเดียวก็ไม่ได้ ใบไม้  เหี่ยวหนึ่งใบก็ไม่ได้ เพราะเหตุว่าสิ่งเหล่านั้นไม่มีความ  จ�ำเป็น  ถ้าแต่ละคนท�ำหน้าที่ทั้งในหน้าที่ที่มี ทั้งหน้าที่  ที่ ได้ตั้งไว้กับตัว หรืออาชีพ ทั้งในหน้าที่ที่มี ในทางที่เป็น  คนไทย เป็นมนุษ ย์ ที่จะต้องมีความเอื้อเฟื้อซึ่งกันและ  กัน... “ถ้าท่านทั้งหลายช่วยกันคิด ช่วยกันท�ำ แม้จะ  มีการเถียงกัน บ้างก็เถียงกัน แต่เถียงด้วยรากฐานของ  เหตุ ผ ล และเมตตาซึ่ ง กั น และกั น  และสิ่ ง ที่ สู ง สุ ด ก็ คื อ  ประโยชน์ร่วมกัน คือความพอมีพอกิน พออยู่ปลอดภัย  ของประเทศชาติ ทั้งนี้ถ้าท�ำไปตามที่ว่านี้ก็เป็นของขวัญ  วันเกิดที่ล�้ำค่า”

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ

040


ไม่ได้  ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนินเยี่ยม  โครงการซ่อมแซมฝาย และมีพระราชด�ำริว่าควรสร้างเป็นโรงไฟฟ้าพลังน�้ำเพื่ออ�ำนวย  ประโยชน์ให้ได้มากกว่าเดิม  จึงเริ่มการก่อสร้างเป็นเขื่อนไฟฟ้าพลังน�้ำขึ้นเมื่อปี พ.ศ.  ๒๕๒๐ สร้างตัวเขื่อนเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ปีถัดมา พ.ศ. ๒๕๒๘ ติดตั้งโรงไฟฟ้าพลัง  น�้ำแล้วเสร็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนินประกอบพิธีเปิดเขื่อน  เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๙ เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชลสร้างกั้นล�ำน�้ำแม่งัด ที่ อ. แม่แตง จ. เชียงใหม่  เป็น  เขื่อนดินถม สูง ๕๙ เมตร ยาว ๑,๙๕๐ เมตร เก็บกักน�ำ้ ได้สูงสุด ๒๖๕ ล้านลูกบาศก์  เมตร เอื้อประโยชน์ให้แก่พื้นที่การเกษตรถึง ๑๘๘,๐๐๐ ไร่ รวมทั้งสามารถป้องกัน  น�ำ้ ท่วมพื้นที่เพาะปลูกสองฝั่งล�ำน�้ำ และป้องกันน�้ำท่วมตัวเมืองเชียงใหม่ ส่วนเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ามีก�ำลังการผลิตสูงสุด ๙.๓ เมกะวัตต์ ผลิตพลังงาน  ไฟฟ้าได้ ๒๐ ล้านกิโลวัตต์ชั่วโมงต่อปี

053

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ


ค ก

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ

054


ค คนเก่ง

คนเก่ง

ทุกวันนี้เป็นที่ยอมรับกันว่า การศึกษานอกจากจะต้องอบรมให้ผู้เรียนเป็นคนเก่งแล้วยัง  ต้องเป็นคนดีด้วย  ในหลวงทรงเตือนถึงความบกพร่องของคนเก่งไว้ในพระราชด�ำรัส  เมื่อวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๓๒ ว่า

“ข้อหนึง่  บกพร่องในความคิดพิจารณาทีร่ อบคอบ  และกว้างไกล เพราะใจร้อนเร่งจะท�ำการให้เสร็จโดยเร็ว  เป็นเหตุให้การงานผิดพลาด ขัดข้องและล้มเหลว “ข้อสอง บกพร่องในความนับถือและเกรงใจผูอ้ นื่   เพราะถือว่าตนเป็นเลิศ เป็นเหตุให้เย่อหยิ่ง มองข้าม  ความส�ำคัญของบุคคลอื่น และมักก่อความขัดแย้งท�ำลาย  ไมตรีจิตมิตรภาพตลอดจนความสามัคคีระหว่างกัน “ข้อสาม บกพร่องในความมัธยัสถ์พอเหมาะพอดี  ในการกระท�ำทั้งปวง เพราะมุ่งหน้าแต่จะท�ำตัวให้เด่น ให้  ก้าวหน้า เป็นเหตุให้เห็นแก่ตัว เอารัดเอาเปรียบ “ข้อสี่ บกพร่องในจริยธรรมและความรู้จักผิด ชอบชั่วดี เพราะมุ่งแต่จะแสวงหาประโยชน์เฉพาะตัวให้  เพิ่มพูนขึ้น เป็นเหตุให้ท�ำความผิดและความชั่วทุจริตได้  โดยไม่รู้สึกสะดุ้งสะเทือน “...ดังนั้นนอกจากจะสอนคนให้เก่งแล้ว จ�ำเป็น  อย่างยิ่งที่จะอบรมให้ดีพร้อมกันไปด้วย ประเทศเราจึง  จะได้คนที่มีคุณภาพพร้อม คือ ทั้งเก่ง ทั้งดีมาเป็นก�ำลัง  ของบ้านเมือง ให้ความเก่งเป็นปัจจัยและพลังส�ำหรับการ  สร้างสรรค์ และให้ความดีเป็นปัจจัยเพื่อประคับประคอง  หนุนน�ำความเก่ง ให้เป็นไปในทางที่ถูกต้อง ที่อ�ำนวยผล  เป็นประโยชน์อันพึงประสงค์แต่ฝ่ายเดียว...” 055

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ


บรรณานุกรม ๓๖๕ วัน ใต้ร่มพระบารมี. กรุงเทพฯ : บริษัทบันลือ พับลิเคชั่น ส์ จำ�กัด, ๒๕๕๐. ๘ ทศวรรษกษัตราธิราช. กรุงเทพฯ : บริษัทโพสต์ พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน). ๘๐ พรรษา โครงการพระราชดำ�ริ. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จำ�กัด, ๒๕๕๐. กษัตริย์นักประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดีการพิมพ์, ๒๕๕๐. กองบรรณาธิการนิตยสารสารคดี. “๖๐ ปีครองราชย์.” สารคดี ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๒๕๖ เดือนมิถุนายน ๒๕๔๙. กองประชาสัมพันธ์ สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ. วารสารอันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริ. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๔ ประจำ�เดือนตุลาคม-ธันวาคม, ๒๕๔๘. กัลยาณิวัฒนา, สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า (๒๔๖๖-). แม่เล่า ให้ฟัง/กัลยาณิวัฒนา. เชียงใหม่ : สุริวงศ์บุ๊คเซ็นเตอร์, ๒๕๓๗. . เจ้านายเล็กๆ-ยุวกษัตริย์. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ : โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์, ๒๕๓๙. ครองใจคน. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : บริษัทแปลน พริ้นท์ต้งิ  จำ�กัด, ๒๕๔๘. งานช่างของในหลวง. “เพลงพระราชนิพนธ์.” หน้า ๗๘-๑๒๓. ชนิดา ชิตบัณฑิตย์. โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำ�ริ : การสถาปนา พระราชอำ�นาจในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : 403

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ


“ถ้าประชาชนไม่ ‘ทิ้ง’ ข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะ ‘ละทิ้ง’ อย่างไรได้” ความตอนหนึ่งในพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ

408


015

ต า ม ร อ ย พ่ อ

ก-ฮ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.