ฤาษีีดััดตน มรดกภููมิิปัญญาจากบรรพชน
สมุุดภาพจิิตรกรรม โคลงฤาษีีดััดตน
ฤาษีีดััดตน
มรดกภููมิิปัญญาจากบรรพชน
ราคา ๖๙๐ บาท หมวดศิิลปะ
ISBN 978-616-465-048-0
lay cover ��������� 4 �� book���.indd 1
20/10/2564 BE 12:36
lay ��������� ���������.indd 2-3
19/10/2564 BE 18:39
ฤาษีีดััดตน
มรดกภููมิิปัญญาจากบรรพชน
สารบััญ
๓
ว่่าด้้วยเรื่่�องฤาษีีดััดตน
๑๖
สมุุดภาพจิิตรกรรม โคลงฤาษีีดััดตน
๑๗
ถอดความและอธิิบายโคลงฤาษีีดััดตน
ฤาษีีดััดตน 2
ว่่าด้้วยเรื่่�องฤๅษีีดััดตน ศรััณย์์ ทองปาน
ปี ๒๔๓๔ ในรััชกาลพระบาทสมเด็็จพระจุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่�หััว
รััชกาลที่่� ๕ สมเด็็จฯ กรมพระยาดำำ�รงราชานุุภาพ (๒๔๐๕-๒๔๘๖) ขณะเมื่่�อยััง ทรงดำำ�รงพระอิิสริิยยศเป็นพระเจ้้าน้้องยาเธอ กรมหมื่่น� ดำำ�รงราชานุุภาพ อธิิบดีี กรมศึึกษาธิิการ ระหว่่างทางเสด็็จกลัับจากราชการ ณ ทวีีปยุุโรป ทรงแวะทอด พระเนตรกิิจการบ้้านเมืืองในอิินเดีีย ซึ่่�งขณะนั้้�นเป็นดิินแดนอาณานิิคมของ อัังกฤษ เมื่่�อเสด็็จยัังเมืืองชััยปุุระ (Jaipur ไจปููร์์) ในแคว้้นราชสถาน ทรงเล่่า ย้้อนความหลัังว่่า “วัันหนึ่่�งเขาพาฉัันไปดููพิิพิิธภััณฑสถานของเมืืองชััยปุุระ ไปเห็็น รููปปั้้นเป็นฤๅษีีอย่่างในอิินเดีีย ทำำ�ท่่าต่่างๆ เหมืือนอย่่างรููปฤๅษีีดััดตน ในวััดพระเชตุุพนฯ แต่่ขนาดย่่อมๆ ตั้้�งเรีียงไว้้ในตู้้�ใบหนึ่่�ง ที่่�จริิงควรฉััน จะถามเขาว่่ารููปอะไร แต่่ฉัันไปอวดรู้้�ถามเขาว่่ารููปเหล่่านั้้�นเป็นแบบท่่า ดััดตนให้้หายเมื่่�อยหรืือ เขาตอบว่่าไม่่ใช่่ แล้้วบอกอธิิบายต่่อไปว่่า รููป เหล่่านั้้�นเป็นแบบท่่าต่่างๆ ที่่�พวกดาบสบำำ�เพ็็ญตบะเพื่่�อบรรลุุโมกขธรรม ฉัันได้้ฟังก็็นึึกละอายใจ ไม่่พอที่่�จะไปอวดรู้้�ต่่อเขาผู้้�เป็นเจ้้าของตำำ�รา เรื่่�องฤๅษีีชีีพราหมณ์์ แต่่เกิิดอยากรู้้�แต่่นั้้�นมาว่่า เหตุุไฉนรููปฤๅษีีดััดตน ที่่�เราทำำ�ในเมืืองไทย จึึงไปพ้้องกัับท่่าดาบสบำำ�เพ็็ญตบะของชาวอิินเดีีย” พิิพิธภั ิ ณ ั ฑสถานของเมืืองชััยปุุระแห่่งนั้้น� ย่่อมได้้แก่่อัลั เบิิร์ต์ ฮอลล์์ (Albert Hall Museum) พิิพิธภั ิ ณ ั ฑ์์เก่่าแก่่ที่่สุ� ดุ ของเมืือง ขนานนามเฉลิิมพระเกีียรติิตาม พระนามเดิิมของสมเด็็จพระราชาธิิบดีีเอดเวิิร์์ดที่่� ๗ (Edward VII Albert Edward 1841-1910/๒๓๘๔-๒๔๕๓) ซึ่่�งเสด็็จมาทรงวางศิิลาฤกษ์์ตั้้�งแต่่เมื่่�อยััง ดำำ�รงพระยศเป็นมกุุฎราชกุุมาร ฤาษีีดััดตน 3
ภาพ : ศรััณย์์ ทองปาน
จนทุุกวัันนี้้�ในพิิพิิธภััณฑ์์อััลเบิิร์์ตฮอลล์์ยัังมีีตู้้�กระจกที่่�ตั้้�งรููปปั้้น “ฤๅษีี อย่่างในอิินเดีีย ทำำ�ท่่าต่่างๆ” เรีียงเข้้าแถวกัันไว้้เต็็มตู้้� ซึ่่�งน่่าจะเป็นชุุดเดิิมชุุด เดีียวกัับที่่�สมเด็็จฯ ทรงกล่่าวถึึง หลัังเสด็็จกลัับถึึงสยาม พระชนม์์ชีพี ของสมเด็็จพระเจ้้าน้้องยาเธอพระ ฤาษีีดััดตน 4
องค์์นั้้น� มีีอันั ให้้ต้อ้ งเปลี่่�ยนผัันไปจากงานจััดการศึึกษาแผนใหม่่ที่่เ� คยตั้้�งพระทััยไว้้ ด้้วยทรงได้้รัับพระมหากรุุณาธิิคุุณแต่่งตั้้�งให้้เป็นเสนาบดีีกระทรวงมหาดไทย พระองค์์แรก อัันทำำ�ให้้ทรงได้้รัับคำำ�ยกย่่องว่่าเปรีียบประดุุจ “พระหััตถ์์” (มืือ) และ “เพชรประดัับมงกุุฎ” ของรััชกาลที่่� ๕ แม้้ล่ว่ งมาจนถึึงในรััชกาลที่่� ๗ สมเด็็จฯ ยัังเป็นหนึ่่�งในสมาชิิกอภิิรัฐั มนตรีี สภา ทำำ�หน้้าที่่�ถวายคำำ�ปรึึกษาให้้แก่่พระมหากษััตริิย์์ กระทั่่�งภายหลัังเปลี่่�ยนแปลงการปกครองในปี ๒๔๗๕ สมเด็็จฯ กรม พระยาดำำ�รงราชานุุภาพตััดสินิ พระทััยเสด็็จลี้้ภั� ยั การเมืืองไปประทัับยัังเกาะปีนััง ในเขตอาณานิิคมมลายููของอัังกฤษ ระหว่่างนั้้น� ทรงมีีจดหมายติิดต่อ่ กัับพระเชษฐา ต่่างพระมารดา คืือสมเด็็จฯ เจ้้าฟ้้ากรมพระยานริิศรานุุวัดติ ั วิ งศ์์ (๒๔๐๖-๒๔๙๐) ซึ่่�งทรงพำำ�นััก ณ กรุุงเทพฯ เป็นประจำำ�ทุุกสััปดาห์์ สอบถามทบทวนเหตุุการณ์์ ประวััติิศาสตร์์ ประเพณีีราชสำำ�นััก และขนบธรรมเนีียมประเพณีีต่่างๆ ตลอด จนบอกเล่่าเรื่่�องราวสารพัันที่่�ทรงประสบพบเห็็นในปีนััง ลายพระหััตถ์์ฉบัับวัันที่่� ๒๑ เมษายน ๒๔๘๔ เล่่าว่่า ได้้เสด็็จไปยัังอาศรม ของดาบสชาวอิินเดีียรููปหนึ่่�ง ซึ่่�งชาวอิินเดีียในปีนัังผู้้�เลื่่�อมใสศรััทธาได้้บริิจาค ทรััพย์์สร้้างขึ้้�น เป็นมณฑปแปดเหลี่่�ยม หลัังคาเป็นซุ้้�มมีียอดแบบอิินเดีีย ทรง เห็็นตััวดาบสนั่่�งขััดสมาธิิ “เหมืือนพระประธาน” อยู่่บ� นเตีียงที่่�มุขุ เด็็จหน้า้ มณฑป เผอิิญมีีลููกศิิษย์์ชาวทมิิฬที่่�พููดภาษาอัังกฤษได้้ จึึงทรงมีีโอกาสพููดคุุยสอบถาม เรื่่�องของดาบส ลููกศิิษย์์อธิิบายว่่า ดาบสบำำ�เพ็็ญตบะด้้วยการงดเว้้นวจีีกรรม คืือไม่่พููดจากัับผู้้�ใดทั้้�งสิ้้�น และนั่่�งนิ่่�งภาวนาอยู่่� ณ ที่่�แห่่งเดีียวตั้้�งแต่่เช้้าจดค่ำำ�� “ถามว่่ามณฑปนั้้�นเป็นที่่�สำำ�หรัับดาบศนอนในเวลากลางคืืนหรืือ ตอบว่่าไม่่มีใี ครเคยเห็็นดาบศนั้้�นนอนเลย โดยปกติินั่่ง� นิ่่�งอยู่่�ที่่มุ� ขุ เด็็จจน ค่ำำ��แล้้วก็็เข้้าไปในมณฑป ไปทำำ�ท่่าต่่างๆ ตามตำำ�ราแก้้เมื่่�อย ที่่�นั่่�งนิ่่�งอยู่่� วัันยัังค่ำำ�� บางทีีก็็ลอยตััวขึ้้�นไปถึึงเพดานมณฑป แต่่หาเห็็นลงนอนไม่่ “หม่่อมฉัันได้้ฟังอธิิบายก็็ ‘หููผึ่่�ง’ ด้้วยเห็็นเป็นเค้้ามููลของฤๅษีี ดััดตน คืือลัักษณะบำำ�เพ็็ญตะบะนั้้�น คงจะสมาทาน-นั่่�งหรืือยืืน-ภาวนา อยู่่�วัันยัังค่ำำ�� เมื่่�อหม่่อมฉัันยัังหนุ่่�มเคยเห็็นโยคีีคน ๑ เข้้าไปในกรุุงเทพฯ ฤาษีีดััดตน 5
สมุุดภาพจิิตรกรรม โคลงฤาษีีดััดตน
ถอดความและอธิิบายโคลงฤๅษีีดััดตน ศรััณย์์ ทองปาน
เพื่่�อให้้ได้้ประโยชน์์สมสมััยในการสร้้างสรรค์์ภาพชุุดฤๅษีีดััดตน
ชุุดใหม่่ ในที่่�นี้้�จึึงขอนำำ� โคลงฤๅษีีดััดตน ฉบัับดั้้�งเดิิมมาตีีพิิมพ์์ ไว้้ แล้้วถอดความ มาเป็นร้้อยแก้้ว เพื่่อ� ให้้สะดวกแก่่การทำำ�ความเข้้าใจของผู้้�อ่่านยุุคปัจจุุบันั พร้้อม ทั้้�งเพิ่่�มเติิมคำำ�อธิิบายขยายความเรื่่�องราวประวััติิของฤๅษีีแต่่ละตนไว้้ด้้วย น่่าสัังเกตว่่านัักปราชญ์์ราชกวีีผู้้�แต่่งโคลงเรื่่อ� งนี้้� ใช้้ถ้อ้ ยคำำ�หลากหลายใน การเรีียกเหล่่าฤๅษีี แม้้คำำ�เหล่่านี้้อ� าจมีีความหมายต่่างกััน ได้้แก่่ ฤๅษีี (ผู้้�เห็็น ใน รููปคำำ�สัันสกฤต)/อิิษีี (อิิสิิ ตามรููปคำำ�ภาษาบาลีี) ดาบส (ผู้้�บำำ�เพ็็ญตบะ) นัักสิิทธิ์์� (ผู้้�สำำ�เร็็จ) โยคีี (ผู้้�ปฏิิบััติิโยคะ) ชฎิิล (ผู้้�มีีมุ่่�นผมเป็นชฎา) ปริิพาชก (ผู้้�ท่่องเที่่�ยว ไป หรืือผู้้�จาริิกไป) แต่่ทั้้�งหมดถููกนำำ�มาใช้้เป็นคำำ�พ้้องความหมายของ “ฤๅษีี” ดุุจ เดีียวกััน อาจด้้วยในฐานะเป็น “กวีีโวหาร” อนึ่่�งในการขยายความเรื่่�องของฤๅษีีแต่่ละตนในที่่�นี้้� กลุ่่�มที่่�มาจากเรื่่�อง รามเกีียรติ์์� ยึึดจากหนัังสืือ สมญาภิิธานรามเกีียรติ์์� ของ “นาคะประทีีป” (พระสารประเสริิฐ) เป็นหลััก ที่่�เหลืือส่่วนใหญ่่อ้้างอิิงตามการสอบค้้นของศาสตราจารย์์ ดร. นิิยะดา เหล่่าสุุนทร ราชบััณฑิิต ในหนัังสืือ ประชุุมจารึึกวััดพระเชตุุพน (๒๕๔๔) บางคำำ�ใช้้ “อภิิธานศััพท์์” ท้้ายหนัังสืือ สมุุดภาพโคลงฤๅษีีดััดตน ของ กรมศิิลปากร (๒๕๕๙) มาเสริิม กัับทั้้�งยัังมีีบางส่่วนบางตอนที่่�ผู้้�เขีียนใช้้หนัังสืือ นารายณ์์สิิบปาง ฉบัับโรงพิิมพ์์หลวง (๒๕๑๐) แทรกอธิิบายความให้้เองด้้วย ฤาษีีดััดตน 17
โคลงนำำ�เรื่่�องบทที่่� ๑-๕
ถวายหััตถ์์ทััศนััขน้้อม ไตรยรััตน์์ขจััดสิ่่�งสรรพ จัักเริ่่�มจัักรำ��พััน นัักสิิทธิิประดิิษฐ์์ท่่าแก้้ ลุุจุุลศัักราชพ้้น ร้้อยกัับเก้้าสิิบแปดปี นัักษััตรอััฐศกรวีี สุุกรปักษ์์ห้้าค่ำำ��ครั้้�ง ให้้พระประยุุรราชผูู้� ณรงค์์หริิรัักษ์์ระดม สัังกะสีีดีีบุุกผสม นัักสิิทธิิแปดสิิบให้้ ฤาษีีดััดตน 18
อภิิวัันท์์ โทษแท้้ แผนดััด ตนนา โรคร้้างห่่างหาย พัันมีี เศษเฮย วอกตั้้�ง วารกติิก มาศแฮ เมื่่�อไท้้บรรหาร เป็นกรม หมื่่�นแฮ ช่่างใช้้ หล่่อรููป เทิิดถ้้าดััดตน
เสร็็จเขีียนเคลืือบภาคพื้้�น ตั้้�งทุุกศาลาราย อาวาศเชตวัันถวาย จารึึกแผ่่นผาพร้้อม เป็นประโยชน์์นรชาติิสิ้้�น เฉกเช่่นโอสถทาน พููลเพิ่่�มพุุทธสมภาร ประกาศพระเกีียรติิยศไว้้
ผิิวกาย รอบล้้อม นามทั่่�ว องค์์เอย โรคแก้้หลายกล สบสถาน ท่่านให้้ สมโพธิิ พระนา ตราบฟ้้าดิินสููญ
โคลงฤๅษีีดััดตน สิิบนิ้้�วขอยกขึ้้�นประนมมืือสัักการะพระรััตนตรััย เพื่่�อขจััดเสีียซึ่่�งสิ่่�งอัันเป็นโทษภััย ต่่อไปนี้้� จัักเริ่่�มกล่่าวถึึงแบบแผนการดััดตนของเหล่่าฤๅษีี ที่่�ได้้คิิดค้้นท่่าทางต่่างๆ ขึ้้�น เพื่่�อบำำ�บััดโรคร้้าย เมื่่�อจุุลศัักราช ๑๑๙๘ (ตรงกัับปี ๒๓๗๙) ปีวอกอััฐศก (อััฐศก คืือปีที่่�จุุลศัักราชลงท้้าย ด้้วยเลข ๘) เดืือน ๑๒ (กััตติิกมาส ดวงจัันทร์์อยู่่�ในฤกษ์์กััตติิกา) ขึ้้�น ๕ ค่ำำ�� (ศุุกลปักษ์์ คืือข้้างขึ้้�น) (พระบาทสมเด็็จพระนั่่�งเกล้้าเจ้้าอยู่่�หััว) มีีพระบรมราชโองการให้้พระประยููรญาติิ คืือ กรมหมื่่�น ณรงหริิรัักษ์์ เกณฑ์์ช่่าง ใช้้สัังกะสีีผสมกัับดีีบุุก หล่่อรููปฤๅษีีดััดตน ๘๐ ท่่า เมื่่�อหล่่อสำำ�เร็็จจึึงให้้เขีียนสีีเป็นผิิวเนื้้�อ แล้้วนำำ�ไปตั้้�งไว้้ตามศาลารายทุุกหลัังโดยรอบเขต พุุทธาวาสวััดพระเชตุุพนฯ พร้้อมกัับให้้จารึึกคำำ�อธิิบายการแก้้โรคต่่างๆ ลงในแผ่่นหิิน เพื่่�อเป็น ประโยชน์์แก่่ผู้้�คนทั้้�งหลาย เปรีียบประดุุจดัังทรงกระทำำ�ทานด้้วยยา อัันเป็นการเพิ่่�มพููนพระราชสมภารบารมีี ให้้ได้้ทรงตรััสรู้้�เป็นพระพุุทธเจ้้าในอนาคตกาล และประกาศพระเกีียรติิยศไว้้ตราบ ดิินและฟ้้า ฤาษีีดััดตน 19
ฤาษีีดััดตน 20
[๑] แก้้เกีียจ ๏ สัังกสีีดีีบุุกเข้้า หล่่อคณะนุ่่�งหนัังเสืือ กามัันตะกีีเขืือ เหยีียดยืืดหััดถ์์ดััดได้้
รคนเจืือ สถิิตย์์ ไว้้ ข้้อยหนุ่่�ม นัักนอ แต่่แก้้เกีียจกาย ๚
พระราชนิิพนธ์์ พระบาทสมเด็็จพระนั่่�งเกล้้าเจ้้าอยู่่�หััว
แก้้เกีียจ โคลงบทแรกอัันประเดิิมเป็นปฐมฤกษ์์คืือพระราชนิิพนธ์์ ในพระบาทสมเด็็จพระนั่่�งเกล้้า เจ้้าอยู่่�หััว เริ่่�มต้้นด้้วยอารััมภบทกล่่าวถึึงการสร้้างรููปฤๅษีีดััดตน หล่่อด้้วยสัังกะสีีกัับดีีบุุกผสม กััน เป็นภาพคณะฤๅษีีผู้้�นุ่่�งห่่มหนัังเสืือ ตนแรกคืือ กามัันตะกีี ผู้้�ยัังดููหนุ่่�มแน่่น ท่่านนั่่�งเหยีียดแขน ดััดนิ้้�ว เพื่่�อแก้้เกีียจ ยัังค้้นไม่่พบว่่าฤๅษีี กามัันตะกีี มาจากเรื่่�องอะไร ฤาษีีดััดตน 21
ฤาษีีดััดตน 22
[๒] แก้้เอวขััด ขาขััด ๏ ชฎิิลดััดตนนี้้�น่่า ชี้้�ชื่่�อสัังปติิเหงะ ถวััดเท้้าท่่ามวยเตะ แก้้กะเอวขดค้้อม
นึึกเอะ ใจชอบ หง่่อมง้้อม ตึึงเมื่่�อย หายฮา เข่่าคูู้�โขยกโขยง ๚
พระราชนิิพนธ์์ พระบาทสมเด็็จพระนั่่�งเกล้้าเจ้้าอยู่่�หััว
แก้้เอวขััด ขาขััด น่่าประหลาดใจว่่าฤๅษีี สัังปติิเหงะ ผู้้�เฒ่่า ยัังสามารถตวััดเท้้าเตะเหมืือนท่่ามวย บำำ�บััด อาการเมื่่�อยขบให้้หายได้้ ท่่านี้้�ใช้้แก้้เอวคด เข่่าคู้้� สัังปติิเหงะ/สัังปะลิิเหงะ คืือชื่่�อฤๅษีีในบทละคร อิิเหนา เป็นที่่�นัับถืือของวงศ์์กษััตริิย์์ในเรื่่�อง มีีอาศรมหรืือบรรณศาลาอยู่่�ที่่�ยอดเขากุุหนุุงปะราปี และเป็นผู้้�เสกน้ำำ��มนต์์รดให้้แก่่อิิเหนาและนางบุุษบา ฤาษีีดััดตน 23
ฤาษีีดััดตน 24
[๓] แก้้ลมในอก ในเอว ๏ อายัันญาณยิ่่�งผูู้� เนาพนััสฝ่่าแฝก โรคลมแล่่นดุุแดก แอ่่นอกเอี้้�ยวเอวสยิิว
ผนวดแขก หาบหิ้้�ว วางหาบ ดััดแฮ แสยะหน้้าเงยหงาย ๚
พระราชนิิพนธ์์ พระบาทสมเด็็จพระนั่่�งเกล้้าเจ้้าอยู่่�หััว
แก้้ลมในอก ในเอว ฤๅษีี อายััน เป็นนัักบวชแขกผู้้�มีีญาณ ท่่านอาศััยอยู่่�ในป่่า เดิินหาบคอนผลหมากรากไม้้ ที่่�หาได้้บุุกป่่าฝ่่าดงมา เกิิดโรคลมในอกในเอวขึ้้�น จึึงวางหาบลง แล้้วแอ่่นอกเอี้้�ยวเอว พร้้อมกัับ แหงนหน้้าหงายศีีรษะ เพื่่�อบรรเทาอาการ ในบทละครอิิเหนา ใช้้คำำ�ว่่า “อายััน” ในฐานะศััพท์์ชวา แปลว่่าฤๅษีี เช่่นตอนหนึ่่�งว่่า “เมื่่อ� นั้้�น อายัันอัันอยู่่ใ� นสถาน นั่่�งสำำ�รวมอินิ ทรีีย์มิ์ นิ าน เล็็งญาณก็็แจ้้ง ที่่�ในใจ” หรืือเมื่่�ออิิเหนาออกบวชเป็นฤๅษีี ออกนามว่่า “กััสมาหราอายััน” หรืือ “อายัันกััศมาหรา” ในที่่�นี้้�โคลงกล่่าวเพีียงว่่าเป็นฤๅษีีชื่่�อ “อายััน” จึึงเข้้าใจว่่าเพื่่�อให้้ฟังดููเป็นชวา สมกัับที่่�ในโคลงฤๅษีี ดััดตน ระบุุว่่าท่่านเป็น “แขก” ฤาษีีดััดตน 25
ฤาษีีดััดตน 168
[๗๕] แก้้ปัตคาด ตะคริิว ๏ ดาบสเทวบิิฐนี้้� ตัักส่่งสรงศิิวญาณ กายป่่มป่่วยพิิการ ยืืนดััดเศีียรเย่่อเท้้า
นัักงาน น้ำำ��นา อยูู่�เกล้้า ปััตคาด ตะคริิวเฮย ท่่านแก้้กลหมอ ๚
พระองค์์เจ้้าทิินกร พระเจ้้าบรมวงศ์์เธอ กรมหลวงภููวเนตรนริินทรฤทธิ์์�
แก้้ปัตคาด ตะคริิว ดาบส เทวบิิฐ เป็นผู้้�ตัักน้ำำ��สรงถวายแด่่พระศิิวะ ท่่านเจ็็บป่่วยด้้วยลมปัตคาด ตะคริิว จึึง รัักษาตนด้้วยการยืืนดััดกาย มืือข้้างหนึ่่�งดัันศีีรษะ อีีกข้้างรั้้�งข้้อเท้้าข้้างหนึ่่�งไว้้ ฤๅษีีเทวบิิด/เทวบิิฐ ผู้้�มีีหน้้าที่่�ตัักน้ำำ��สรงถวายพระอิิศวร มีีกล่่าวถึึงใน นารายณ์์สิิบปาง ฉบัับโรงพิิมพ์์หลวง ว่่าครั้้�งหนึ่่�ง มีีอสููรรููปม้้าชื่่�อกััณฐะกะ มีีฤทธิ์์�มาก เที่่�ยวเบีียดเบีียนตรีีโลกให้้ได้้รัับความเดืือดร้้อน แล้้วเหาะไป เชิิงเขาไกรลาส “ขณะนั้้�นพระฤๅษีีเทวบิิดอัันเป็นพนัักงานน้ำำ��สรงพระอิิศวรเป็นเจ้้า ลงมาตัักน้ำำ��ใน สระอโนดาต อสุุรกัณ ั ฐะกะไล่่ขบกััดพระฤๅษีีนั้้น� พระฤๅษีีก็หนีี ็ ไปเฝ้้าพระอิิศวรเป็นเจ้้า ทููลประพฤติิ เหตุุทั้้�งปวง...” นอกจากนั้้�นแล้้วฤๅษีีตนนี้้�ยัังมีีรููปภาพอยู่่�ใน “ตำำ�ราเทวรููปไสยศาสตร์์” ในนาม “พระฤๅษีี เทวบิิศ” ส่่วนใน “พระสมุุดรููปพระไสยศาสตร์์” เขีียนว่่า “พระเทวบิิต” (ดููหนัังสืือ ตำำ�ราภาพเทวรููป และเทวดานพเคราะห์์ กรมศิิลปากร) และดููเหมืือนยัังไปปรากฏนามในตำำ�ราพิิธีีสารทฉบัับที่่�ได้้มา จากเมืืองนครศรีีธรรมราชสมััยต้้นกรุุงรััตนโกสิินทร์์ด้้วย แต่่จดไว้้เป็น “ให้้ชีีพ่่อพราหมณ์์ถวายพระ ฤๅษีีเทวะชิิต และถวายทัักษิิณาบููชา” (ดูู ตำำ�นานพิิธีตรุ ี ษุ ของสมเด็็จฯ กรมพระยาดำำ�รงราชานุุภาพ) ฤาษีีดััดตน 169
ฤาษีีดััดตน 170
[๗๖] แก้้จุุก ๏ พระภรััตดาบสโพ้้น ตำำ�หรัับปรอทเรีียน โรคลมจุุกเสีียดเบีียน นั่่�งคุุกกดเข่่าคูู้�
พากเพีียร นัักนอ รอบรูู้� บำำ�บััด องค์์เฮย หััตถ์์ค้ำำ��คางหงาย ๚
พระมหาช้้างเปรีียญ
แก้้จุุก ฤๅษีี ภรััต เป็นผู้้�มีีความเพีียรอย่่างยิ่่�ง ท่่านเป็นต้้นตำำ�รัับวิิชาปรอท เมื่่�อเกิิดลมจุุกเสีียดขึ้้�น ท่่านรัักษาตนเองด้้วยการนั่่�งคุุกเข่่าข้้างหนึ่่�ง งอขาอีีกข้้าง พร้้อมกัับใช้้มืือดัันคางให้้หน้้าหงายขึ้้�น ใน เนมิิราชชาดก ตอนหนึ่่�ง พระอิินทร์์ทรงอธิิบายถึึงผลแห่่งการประพฤติิพรหมจรรย์์ให้้แก่่พระ เนมิิราชโพธิิสััตว์์ ดัังเช่่นฤๅษีีทั้้�งเจ็็ดตนผู้้�เคร่่งครััดในศีีลในธรรม จึึงไปเกิิดยัังพรหมโลก ได้้แก่่ ยามหนุุฤๅษีี โสมยาคฤๅษีี มโนชวฤๅษีี สมุุททฤๅษีี มาฆฤๅษีี ภรตฤๅษีี และกาลปุุรัักขิิตฤๅษีี นาม ภรััต ในที่่�นี้้�ตรงกัับภรตฤๅษีี ฤาษีีดััดตน 171
ฤาษีีดััดตน 178
[๘๐] แก้้เส้้นสลัักทรวง ๏ ผูู้�ผนวชจีีนแจ้้งชื่่�อ อยูู่�เขตเขาซ่่าเหล็็ง ลััทธิิท่่านเคร่่งเขม็็ง มืือเหวี่่�ยงผวาท่่างิ้้�ว
หลีีเจ๋๋ง ตึ่่�งสิ้้�ว เมืืองท่่าน ถืือฮอ ระงัับเส้้นสลัักทรวง ๚
ออกญาโชฎึึกราชเศรษฐีี
แก้้เส้้นสลัักทรวง นัักบวชจีีน หลีีเจ๋๋ง อาศััยอยู่่�ที่่เ� ขาซ่่าเหล็็งตึ่่�งสิ้้�ว เป็นผู้้�เคร่่งครััดในลััทธิิอย่่างจีีน ทำำ�ท่า่ เหวี่่�ยง แขนเหมืือนท่่างิ้้�ว เพื่่�อแก้้เส้้นสลัักทรวง บางท่่านอธิิบายว่่าหลีีเจ๋๋งเป็นหนึ่่�งใน “โป๊๊ยเซีียน” ตำำ�นาน เซีียนผู้้�วิิเศษแปดตนตามคติิลััทธิิเต๋๋าของจีีน ถููกนำำ�เข้้ามาผสมโรงรวมอยู่่�ในชุุดฤๅษีีดััดตนด้้วย แต่่ ในตำำ�นานโป๊๊ยเซีียนกลัับไม่่ปรากฏชื่่�อนี้้� ดัังนั้้�นนาม หลีีเจ๋๋ง อาจหยิิบยืืมมาจากลิิเจ้้งหรืือหลี่่�จิ้้�ง บิิดาของโลเฉีียหรืือนาจา ในพงศาวดารจีีนเรื่่�อง ห้้องสิิน ลิิเจ้้งได้้รัับความนัับถืือให้้เป็นหนึ่่�งใน ท้้าวจตุุโลกบาลตามคติิจีีน แสดงภาพเป็นทหารจีีนโบราณร่่างกำำ�ยำำ� ยืืนแบก “ถะ” คืือเจดีีย์์ทรง เก๋๋งจีีนซ้้อนชั้้�น ฤาษีีดััดตน 179
ร่่าย ๏ จึ่่�งธบัันทููลพระโคลง รศราโชยงการสาร บรรหารเหตุุกายดััด แห่่งพนััศนัักธรรม์์ เสื่่�อมสร่่างสรรพอาพาธ ด้้วยขััติิยราชสุุริิวงษ ธรงนามกร กรมหมื่่�นศรีี สุุเทพปรีีชาไวย กรมหมื่่�นไกรสรวิิชิิต ชำำ�นิิกิิจกลกลอน พระองค์์ทิินกรเจนจััด พระองค์์นวมชััดชาญกระวีี สองกระษััตรีีเอารส ปรากฎิินามศิิริิวงษ พเนจรองค์์หนึ่่�งอาจ์์ สามารถเชี่่�ยวชำำ�นาญ วุุทธิิโวหาร ยวดยงค์์ หกขััติิยพงษเผ่่าราช อีีกหมู่่�มาตย์์ทัังผอง ข้้าทููลอองบััวบาท ร่่วมริิะราชนิิพนท์์ มีีมากตนแหล่่หลาย รายนามตามยศถา คืือเจ้้าพญาพระคลััง ยัังพญาอีีกเจดนาย บรรยายยศสมเยศ หนึ่่�งธิิเบศบดีี ราชมนตรีีบริิรัักษ รอบรูู้�มลัักปรีีชา อีีกอััษฎาเรืืองเดช เจ้้าบุุเรศบุุราณ ขนานชื่่�อไชยวิิชิิต ทัังบััณฑิิตยามาตย์์ โชดึึกราชเศรษฐีี ศรีีสหเทพย์์นามเสมอ หนึ่่�งบำำ�เรอห์์ บริิรัักษ ล้้วนธรงศัักดิ์์�ออกญา คณนาพระอิิกสี่่� ที่่�ร่่วมรจนาสาร สมบััดธิิบาลเพชฎา หนึ่่�งนามมหามนตรีี จิินตกระวีีสามรรถ์์ สุุพรรณสมบััติิ เชี่่�ยวเชลง ฉัันทพากย์์เพลงโคลงคล่่อง สองหลวงว่่องโวหาร ชาญภููเบศสมยา ลิิขิิตปรีีชาเฉลีียวอรรถ์์ เจนแจ้้งจััดทุุกอััน ร่่วมรัังสรรค์์เสาวพจน์์ อีีกกำำ�หนดสี่่�นาย หมายนามกรประกาศ จหมื่่�นราชนาคา ปัญายศเลื่่�องฦา หนึ่่�งคืือขุุนธนสิิทธิ์์� หนึ่่�งจ่่าจิิตนุุกููล ประยููรเมธามาตย์์ ปรีีดาราชหนึ่่�งนาย สิิบแปดรายชื่่�อถ้้วน ล้้วนได้้รจเรขบท โคลงนัักพรตดััดองค์์ อีีกฝ่่ายสงฆราชา คณะถานาบาเรีียน เพีียรเพ่่อมราชนิิพนท์์ โดยธนิิมนต์์สรรค์์สาร ขานนามนัับสิิบเอ็็ด คืือสมเด็็จพระสัังฆราช ปิ่่นปวงปราชญุุทุุกทิิศ กรมหมื่่�นนุุชิิตชีีโนรส ปรากฎิิศัักดิ์์� สมยา พระพุุทธโฆษาคณิิศร หนึ่่�งพระอมรโมลีี หนึ่่�งพระศรีีวิิสุุทธิิวงษ ธรงคุุณธรรโมฬาร อีีกพระญาณปริิญััติ์์� อีีกพระรััตนมุุนีี ปริิชาญาณยิ่่�งยงค์์ พระอริิยวงษกระวีี พระมุุนีีนายก ล้้วนปิฎกธำำ�รงค์์ องค์์หนึ่่�งพระถานา สมยาสมุุห์์จั่่�นอ้้าง บาเรีียนช้้างหนึ่่�งนาม นัับสริิสามสิิบห้้า กล้้าแกล้้วกล ตรองตริิะ ร่่วมตำำ�หริิะพระโคลง โองการราชบพิิตร สำำ�ฤทธิิในศศิิวาร ฤาษีีดััดตน 180
กาลศุุกปักษยดฤษฐีี สััตมีีมาฆมาศหมาย ปลายวอกศกนั้้�นเสร็็จ จึ่่�งสมเด็็จ นฤบาล ธก็็บรรหารเสาวพจน์์ ให้้ลิิขิิตบทโคลงธรง ลงจาฤกเศลา ตราติิดผนัังกำำ�กัับ สำำ�หรัับรููปหล่่อหลาย แล้้วให้้ภณายจิิตรกรรม์์ สฤษดิิ รัังสรรค์์เสาวเลข รจเรขรููปชฎิิล ดััดกายิินถ้้วนองค์์ ลงในสมุุดดุุจหล่่อ ส่่อถ้้าตราแผนไว้้ ธก็็ให้้เลขกามาตย์์ จำำ�ลองสาตรเส้้นรง แสดงโคลงธรง สืืบสร้้าง เปนตำำ�หรัับฉบัับอ้้าง คู่่�หล้้าแหล่่งเฉลอม ๚ ๚ะ ๛
(ร่่าย) รายพระนามและรายนามผู้้�นิิพนธ์์โคลงประจำำ�ภาพฤๅษีีดััดตน มีีดัังนี้้� กรมหมื่่�นศรีีสุุเทพ กรมหมื่่�นไกรสรวิิชิิต พระองค์์เจ้้าทิินกร (กรมหลวงภููวเนตรนริินทรฤทธิ์์�) พระองค์์เจ้้านวม (กรม หลวงวงศาธิิราชสนิิท) พระองค์์เจ้้าศิิริิวงศ์์ พระองค์์เจ้้าคเนจร (กรมหมื่่�นอมเรนทรบดิินทร) รวม เป็นเจ้้านายหกพระองค์์ นอกจากนั้้�นยัังมีีเหล่่าข้้าทููลละอองธุุลีพี ระบาทที่่�ร่วม ่ ประพัันธ์์อีกี มาก เรีียงลำำ�ดัับตามชั้้�นยศ คืือ เจ้้าพระยาพระคลััง (หน) กัับพระยาอีีกหกท่่าน คืือ พระยาธิิเบศร์์บดีี พระยาราชมนตรีีบริิรัักษ์์ พระยาไชยวิิชิิต (เผืือก) พระยาโชฎึึกราชเศรษฐีี พระยาศรีีสหเทพ พระยาบำำ�เรอบริิรัักษ์์ ขุุนนาง บรรดาศัักดิ์์�เป็นพระอีีกสี่่�คน คืือ พระสมบััติธิิ บิ าล พระเพ็็ชรชฎา พระมหามนตรีี พระสุุพรรณสมบััติิ ขุุนนางชั้้�นหลวงอีีกสองคน คืือ หลวงชาญภููเบศร์์ และหลวงลิิขิติ ปรีีชา แล้้วยังั มีีข้า้ ราชการอีีกสี่่�นาย ได้้แก่่ จมื่่�นราชนาคา ขุุนธนสิิทธิ์์� จ่่าจิิตรนุุกููล นายปรีีดาราช รวมทั้้�งสิ้้�น ๑๘ รายชื่่�อ ส่่วนในฝ่่าย คณะสงฆ์์มีีอีีก ๑๑ รููป คืือ สมเด็็จพระสัังฆราช กรมหมื่่�นนุุชิิตชิิโนรส (สมเด็็จพระมหาสมณเจ้้า กรมพระปรมานุุชิิตชิิโนรส) พระพุุทธโฆษาจารย์์ พระอมรโมลีี พระศรีีวิิสุุทธิิวงศ์์ พระญาณปริิยััติิ พระรััตนมุุนีี พระอริิยวงศ์์มุนีีุ (เนีียม) พระมุุนีีนายก พระสมุุห์จั่่์ น� พระมหาช้้าง เปรีียญ รวมทั้้�งสิ้้�นเป็น ๓๕ (น่่าสัังเกตว่่า จำำ�นวนดัังกล่่าวนี้้� มิิได้้นัับรวมพระบาทสมเด็็จพระนั่่�งเกล้้าเจ้้าอยู่่�หััว ซึ่่�งทรงพระ ราชนิิพนธ์์โคลงฤๅษีีดััดตนไว้้หลายบท-ศรััณย์์) ได้้ร่่วมกัันแต่่งโคลงตามพระบรมราชโองการ แล้้ว เสร็็จ ณ วัันขึ้้�น ๗ ค่ำำ�� เดืือน ๓ ปลายปีวอก (พระบาทสมเด็็จพระนั่่�งเกล้้าเจ้้าอยู่่�หััว) มีีพระบรมราชโองการให้้จารึึกลงในแผ่่นศิิลา ติิดผนัังไว้้กำำ�กัับรููปหล่่อฤๅษีีดััดตน แล้้วให้้ช่่างเขีียนเขีียนภาพ ฤๅษีีดัดั ตนลงในสมุุด แบบเดีียวกัันกัับที่่�เป็นรููปหล่่อ พร้้อมทั้้�งให้้อาลัักษณ์์เขีียนคำำ�โคลงด้้วยเส้้นรง เป็นตำำ�รัับไว้้อ้้างอิิงสืืบไป ฤาษีีดััดตน 181
หนังสือ ฤาษีดัดตน มรดกภูมิปัญญาจากบรรพชน ผู้เขียน ศรัณย์ ทองปาน วาดภาพ สุทธิชัย ฤทธิ์จตุพรชัย พิมพ์ครั้งที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ จำ�นวนพิมพ์ ๑,๐๐๐ เล่ม ราคา ๖๙๐ บาท © สงวนลิขสิทธิ์โดยสำ�นักพิมพ์เมืองโบราณ ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จำ�กัด ห้ามการลอกเลียนไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือ นอกจากจะได้รับอนุญาต
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ ศรัณย์ ทองปาน. ฤาษีดัดตน มรดกภูมิปัญญาจากบรรพชน.--นนทบุรี : เมืองโบราณ, ๒๕๖๔. ๑๘๔ หน้า. ๑. ฤาษีดัดตน. ๒. กายภาพบำ�บัด--ไทย. ๓. การแพทย์แผนไทย.--ไทย. ๔. โยคะ (กายบริหาร). I. ศรัณย์ ทองปาน. II. ชื่อเรื่อง. ๖๑๕.๘๒๒ ISBN 978-616-465-048-0
คณะผู้จัดทำ� บรรณาธิการเล่ม : จำ�นงค์ ศรีนวล ออกแบบปกและรูปเล่ม : จำ�นงค์ ศรีนวล พิสูจน์อักษร : นวลจันทร์ ทองมาก ควบคุมการผลิต : ธนา วาสิกศิริ จัดพิมพ์ จัดจำ�หน่าย
สำ�นักพิมพ์เมืองโบราณ (ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จำ�กัด) บริษัทวิริยะธุรกิจ จำ�กัด ๓ ซอยนนทบุรี ๒๒ ถนนนนทบุรี (สนามบินน้ำ�) ตำ�บลบางกระสอ อำ�เภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๕๔๗-๒๗๐๐ (อัตโนมัติ) โทรสาร ๐-๒๕๔๗-๒๗๒๑
แยกสี/เพลต พิมพ์
เอ็น. อาร์. ฟิล์ม โทรศัพท์ ๐-๒๒๑๕-๗๕๕๙ ทวีวัฒน์การพิมพ์ โทรศัพท์ ๐-๒๗๒๐-๕๐๑๔
สำ�นักพิมพ์เมืองโบราณ (ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จำ�กัด) ๓ ซอยนนทบุรี ๒๒ ถนนนนทบุรี (สนามบินน้ำ�) ตำ�บลบางกระสอ อำ � เภอเมื อ งนนทบุ รี จั ง หวั ด นนทบุ รี ๑๑๐๐๐ โทรศั พ ท์ ๐-๒๕๔๗-๒๗๐๐ (อั ต โนมั ติ ) โทรสาร ๐-๒๕๔๗-๒๗๒๑ ที่ปรึกษา ศรีศักร วัลลิโภดม ธิดา สาระยา เสนอ นิลเดช ผู้อำ�นวยการ สุวพร ทองธิว ผู้จัดการทั่วไป/ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายศิลป์ จำ�นงค์ ศรีนวล ผู้อำ�นวยการฝ่ายการตลาด/ประชาสัมพันธ์ : กฤตนัดตา หนูไชยะ บรรณาธิการสำ�นักพิมพ์ อภิวันทน์ อดุลยพิเชฏฐ์ ที่ปรึกษากฎหมาย สมพจน์ เจียมพานทอง
lay ��������� ���������.indd 2-3
19/10/2564 BE 18:39
ฤาษีีดััดตน มรดกภููมิิปัญญาจากบรรพชน
สมุุดภาพจิิตรกรรม โคลงฤาษีีดััดตน
ฤาษีีดััดตน
มรดกภููมิิปัญญาจากบรรพชน
ราคา ๖๙๐ บาท หมวดศิิลปะ
ISBN 978-616-465-048-0
lay cover ��������� 4 �� book���.indd 1
20/10/2564 BE 12:36