สายใยใต้สมุทร 2

Page 1

0.55 cm

หนังสือชุด

ส�ำรวจโลก และธรรมชาติ

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร

2

หา

ู้

ดร. ซิลเวีย เอิร์ล

ราคา 290 บาท

ปัญ

นร

“แม้ว่าเธอจะไม่เคยเห็นหรือสัมผัสมหาสมุทร แต่มหาสมุทรสัมผัสเธอในทุกลมหายใจ ในน�้ำทุกหยดที่เธอดื่ม ในอาหารทุกค�ำที่เธอกิน ื่ เราทุกคนในทุกแห่งหนล้วนเชอมโยงและพึ ่งพาการมีอยู่ของผืนทะเล อย่างไม่สามารถแยกจากกันได้”

ห ม ว ด ห นั ง สื อ เ ด็ ก

เรีย

เมธิรา เกษมสันต์

เมื่อสัตว์ทะเลก�ำลังร้องไห้ และสวรรคใต้ ์ ทะเลก�ำลังค่อย ๆ จางหาย นีค่ ือโอกาสสุดท้ายในการก�ำหนดโชคชะตาของมหาสมุทร มาเรียนรู้ปัญหา พร้อมแสงสว่างแห่งความหวัง จากคนเล็ก ๆ ทั ่วทุกมุมโลกที่กำ� ลังบอกเราว่า ทุกคนสามารถสร้างความเปลี่ยนแปลง และอนาคตของมหาสมุทรอยู่ในมือเราทุกคน

สั่งซื้อออนไลน์ที่ @sarakadeemag

ISBN 978-616-465-043-5

ท่ี ม ห

าสม

ุทรกำก

เมธิรา เกษมสันต์ ลังเผชิญ

290.-


0.55 cm

ขอขอบคุณ

หนังสือชุดส�ำรวจโลกและธรรมชาติ

2 เมธิรา เกษมสันต์

ISBN  978-616-465-043-5 พิมพ์ครั้งแรก  เมษายน 2564  ราคา 290 บาท เรื ่องและภาพวาดประกอบ  เมธิรา เกษมสันต์ จัดพิมพ์และจัดจ�ำหน่าย บริษัทวิ ริยะธุรกิจ จ�ำกัด (ส�ำนักพิมพ์สารคดี ) โทรศัพท์ 0-2547-2700 โทรสาร 0-2547-2721 บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์  สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ  บรรณาธิการเล่ม  ปณต ไกรโรจนานันท์  ผู้ช่วยบรรณาธิการ  นฤมล สุวรรณอ่อน พิสูจน์อักษร  นวลจั นทร์ ทองมาก  ออกแบบและจัดรูปเล่ม  วันทนี เจริญวานิช  ควบคุมการผลิต  ธนา วาสิกศิริ เพลต  เอ็น. อาร์. ฟิล์ม  โทรศัพท์  0-2215-7559  พิมพ์  โรงพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์  โทรศัพท์  0-2433-7704 Ī สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

• New Heaven Reef Conservation Program : ส�ำหรับจุดเริ่มต้นแห่งแรงบันดาลใจ ความรู้  และความรักต่อท้องทะเล... Thank you for being my inspiration and introducing me  to the fascination in the marine world. Those times were such a meaningful experience.  My love of the ocean began here. • Love Wildlife Foundation : Thank you for the opportunity given to me as a grantee  in the 2018 Reef Ambassador Program, especially Mr. Chris Shepherd for providing  this grant. It was a life changing experience. • Dr. Rahul Mehrotra : Thank you for helping me review this book and giving many useful  comments. • ทีมงานส�ำนักพิมพ์สารคดี  โดยเฉพาะพี ่ดำ�  พี ่น้อง และพี ่บี ที่สนใจและให้โอกาสตีพิมพ์หนังสือเล่มนี้  และน้องวันทนีฝ่ายอาร์ตเวิ ร์กที่ช่วยจั ด layout ใหม่จนสวยงามน่าอ่านขึ้น 90 เท่า  • เพื่อน ๆ เดอะแก๊ง - นก, เมวลิน, โรส, ก้อ, อิ๋ง, กิ๊ก, ทีม Refill Station, เพื่อน ๆ สายสิ่งแวดล้อม  และเพื่อน ๆ ที่น่ารักทุกคน ที่คอยสนับสนุนและให้ก�ำลังใจเราเสมอมา • สุดท้าย ขอขอบคุณผู้อ่านและแฟนเพจทุกคนที่คอยสนับสนุน ติดตามผลงาน คอยกดไลก์ กดแชร์ สิ่งนี้คือก�ำลังใจที่ส�ำคัญมาก  หนังสือเล่มนี้คงส�ำเร็จไม่ได้ถ้าไม่มีผู้อ่านทุกคน

ผลงานอื่น ๆ ของผู้เขียน • หนังสือ สายใยที่มองไม่เห็น  • การ์ดความรู้ชุด “นกอะไรเอ่ย” • สามารถติดตามผลงานอื่น ๆ ของผู้เขี ยนได้ในเพจ “Nature Toon การ์ตูนสื่อความหมายธรรมชาติ”  แหล่งข้อมูลอ้างอิง


ใต้เกลียวคลื่น ณ ระเบี ยงไม้ชั้น 2 ของโรงเรียนสอนด�ำน�้ำ New Heaven Dive School  ฉันก�ำลังนัง่ มองผืนน�้ำทะเลสีฟ้าใสของอ่าวโฉลกบ้านเก่า เกาะเต่า จั งหวัดสุราษฎร์ธานี  การนัง่ มองทะเลวันนี้ มีความหมายแตกต่างจากที่เคยเป็นมาทั ้งชี วิต นีค่ ือวันสุดท้ายของคอร์สด�ำน�้ำเชิงอนุรักษ์ New Heaven Reef Conservation Program ที่ฉันได้ทุนจาก มูลนิธิรักสัตว์ป่าเพื่อมาฝึกงานที่นเี่ ป็นระยะเวลา 3 เดือน ี ิ นชาวเกาะที่น ี่ ฉันได้เรียนรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศทะเล ได้รู้จักชื ่อปลา ชื ่อปะการัง  ตลอดระยะเวลา ช้ชวตเป็ ชื ่อสิ่งมีชีวิตตัวเล็กตัวน้อยมากมาย ม่เคยรู้จักมาก่อน ได้รับรู้ถึงความมหัศจรรย์ ความส�ำคัญ และสายใยที่เชื ่อมสิ่งมีชีวิต เหล่านั้นกับเรา นอกจากนั้นพวกเรายังได้ด�ำน�้ำเพื่อท�ำกิจกรรมเชิงอนุรักษ์หลายอย่าง ซึ่งระยะเวลาเพี ยงไม่กี่เดือนนี้  ได้เปลี่ยนความรู้สึกและมุมมองที่ฉันมีต่อท้องทะเลไปตลอดกาล ภาพทะเลสีฟ้าใสที่ปรากฏตรงหน้าตอนนี้ ไม่ได้มีแค่ H20 แต่ลึกลงไปภายใต้เกลียวคลื่นที่เราเห็นตรงนั้น คือ  “บ้าน” ของสิ่งมีชีวิตมากมาย และสิ่งมีชีวิตเหล่านั้นล้วนมีความเกี่ยวข้องอย่างลึกซึ้งกับชี วิตของเรา ไม่ว่าจะเป็นอากาศ ที่เราหายใจ ผลิตภัณฑ์หลายอย่างที่เราใช้ อาหารส่วนใหญ่ที่เรากิน สภาพอากาศ ม่ร้อนไม่หนาวเกินไป ล้วนมีที่มาจาก ใต้ผืนน�้ำสีฟา้ นี้ ตลอดเวลาที่ฉันได้มาเรียนรู้และลงไปสัมผัสโลกใต้น�้ำที่น ี่ ความรู้สึกหนึง่ ที่เกิดขึ้นคือ ความรู้สึกขอบคุณต่อสิ่งมีชีวิต เหล่านั้น ที่ท�ำหน้าที่เป็น life support system ให้เรา และรู้สึกโชคดี ที่มีโอกาสเห็นความสวยงามเหล่านี้  แต่ในขณะเดี ยวกันฉันก็ได้เห็นอีกมุมหนึง่ ที่น่าเศร้า นัน่ คือความจริงที่วา่  มหาสมุทรของเราก�ำลังถูกท�ำร้าย อย่างแสนสาหัส ความสวยงามที่เห็นอยู่ตรงหน้าในวันนี้อาจไม่เหลือให้เห็นถึงรุ่นลูกรุ่นหลานอีกแล้ว...   อย่างไรก็ตามผู้คนมากมายที่ฉันได้พบเจอในโปรแกรมด�ำน�้ำเชิงอนุรักษ์แห่งนี้ท�ำให้ฉันรู้สึกว่า โลกสีฟ้าของเรา ยังมีความหวัง และในมุมต่าง ๆ ของโลกยังมีคนมากมายที่ก�ำลังลุกขึ้นมาท�ำอะไรบางอย่างเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลง  ……………………………….. ในหนังสือเล่มที่ 1 เราพาทุกคนด�ำดิ่งไปใต้มหาสมุทร เพื่อไปท�ำความรู้จักสัตว์ทะเลหลากชนิด เพื่อค้นพบ ความมหัศจรรย์ที่ราวกับหลุดมาจากนิทานแฟนตาซี  จากนั้นเราได้พาไปค้นหาสายสัมพั นธ์อันซับซ้อนระหว่าง ชี วิตเหล่านั้น ไปรู้จัก “อาชี พ” ของพวกเขาต่อระบบนิเวศ ซึ่งทุกชี วิตล้วนมีความส�ำคัญ  ต่อจากนั้นเรากลับขึ้นฝั่ง  เพื่อไปส�ำรวจชี วิตประจ�ำวันของเราตั้งแต่เช้าจดเย็นว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาสมุทรอย่างไรบ้าง  ส�ำหรับในเล่มนี้ เราจะพาไปเรียนรู้ปัญหาที่มหาสมุทรของเราก�ำลังเผชิญ และผู้คนมากมายทั ่วโลกที่ก�ำลัง ท�ำอะไรบางอย่างเพื่อช่วยมหาสมุทร  หนังสือเล่มนี้เขี ยนขึ้นด้วยความหวังที่วา่  อยากให้ทุกคนได้รู้สึกต่อท้องทะเลเหมือนที่ฉันรู้สึก - นัน่ คือความรู้สึก ตื่นตาตื่นใจ มหัศจรรย์ ไปจนถึงความรัก ความหวงแหน และอยากดูแลรักษาโลกสีครามและเพื่อนน้อยใหญ่ อยู่ที่นนั่ ไว้ให้นานที่สุด   และเมื่อเราดูแลมหาสมุทร... มหาสมุทรก็จะย้อนกลับมาดูแลเราเช่นกัน

เมธิรา เกษมสันต์

AWText-Ocean_2.indd 1

4/2/2564 BE 12:07 PM


สารบัญ

P a r t

4

สวรรค์ที่ก�ำลังจะสูญหาย

เมื่อทะเล กลายเป็นถังขยะ 10

พรุ่งนี้อาจไม่มีปะการัง 20

2

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 2

4/2/2564 BE 12:07 PM


แดนมรณะใต้ทะเล 30

จั บปลาจนหมดทะเล 34

นับถอยหลัง สู่การสูญพั นธุ์ 40

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 3

3

4/2/2564 BE 12:08 PM


P a r t

5

มหาสมุทรแห่งความหวัง พื้นที่¤ØéÁ¤Ãͧ·Ò§·ÐàÅ ¤ÇÒÁËÇѧ¢Í§âÅ¡ÊÕ¤ÃÒÁ

กาลครั้งหนึง่ นานมาแล้ว

56

54

à·¤â¹âÅÂÕà¾×èÍ͹Ҥµ 62

คนเล็ก ๆ กับความเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ 68

¹âºÒ à¾×èÍÁËÒÊÁØ·Ã 64

4

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 4

4/2/2564 BE 12:08 PM


P a r t

6

มหาสมุทรในมือเรา

นักชี วเคมี นักออกแบบ ผลิตภัณฑ์ วิ ศวกร นักประดิษฐ์

เจ้าของกิจการ

80

82

78

ร้านกาแฟ ร้านอาหาร พ่อค้าแม่ค้า 84

อื่น ๆ อีกมากมาย 94

Startups 86

นักวิ ทยาศาสตร์ พลเมือง 92

นักพั ฒนา ซอฟต์แวร์ 90

ผู้ประกอบการ ทางสังคม 88

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 5

5

4/2/2564 BE 12:08 PM


เมื อ ่ ทะเล กลายเป็นถังขยะ

มหาสมุทร...  สถานที่แห่งความมหัศจรรย์  ต้นก�ำเนิดสรรพชี วิต  ทุกวันนี้ก�ำลังถูกเปลี่ยนเป็นถังขยะใบโต

แม่น�้ำหลายร้อยสายทั ่วโลก หลลงสู่ทะเล ไม่ได้น�ำพาแต่เพี ยง น�้ำจืดเท่านั้น แต่ยังพาขยะ วันละเป็นตัน ๆ ลงมาด้วย

แต่ละปีมีขยะราว 8 ล้านตัน ไหลลงมหาสมุทร  คิดภาพง่าย ๆ คือ  มีรถขยะหนึง่ คัน เทขยะลงทะเล  ในทุก ๆ หนึง่ นาที !

10

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 10

4/2/2564 BE 12:08 PM


ความเข้าใจผิ ดของคนส่วนใหญ่คือ ขยะในทะเลเกิดจากคนมักง่ายทิ้งขยะบนชายหาดหรือลงในทะเล   แต่ความจริงแล้วต่อให้อยู่ในเมืองแล้วทิ้งขยะลงถัง ขยะเหล่านั้นก็สามารถไปปรากฏในทะเลได้อยู่ดี ด้วยระบบการจั ดการขยะ ม่ได้มาตรฐานอย่างบ้านเรา บางทีเมื่อขยะล้นถัง หมาคุ้ยเขี ่ย  ลมพั ด หรือฝนตก ขยะเหล่านั้นก็จะลงสู่ท่อระบายน�้ำ ออกสู่ล�ำคลอง ลงแม่น�้ำ และไปถึงทะเลในที่สุด

แม้แต่ขยะ ปถึงบ่อฝังกลบก็ไม่ได้ปลอดภัย  เพราะเมื่อฝนตก น�้ำซึมไปในบ่อก็จะเกิด เป็นของเหลวที่เรียกว่าน�้ำชะขยะ (leachate) ซึ่งเต็มไปด้วยสารพิษและเชื ้อโรค  ที่จะซึมลงดิน สู่แหล่งน�้ำ สู่ห่วงโซ่อาหาร  และส่งมาถึงเรา 80% ของขยะในทะเล มีที่มาจากบนฝั่ง  ซึ่งส่วนใหญ่มาจากแม่น�้ำในเอเชีย

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 11

11

4/2/2564 BE 12:09 PM


เมื่อขยะเหล่านั้นไปปรากฏตัวอยู่ในทะเล โดยเฉพาะพลาสติก ห้ความสะดวกสบายแก่เราแค่ไม่กี่นาที มันจะกลายเป็นฆาตกรเลือดเย็นที่ฆา่ สัตว์ทะเลให้ตายอย่างช้า ๆ และทรมาน มีงานวิ จัยพบว่า แค่เต่าทะเลกินพลาสติก เข้าไปหนึง่ ชิ้นมีโอกาสตายถึง 22%  และเต่าทะเลทั ่วโลกเกินครึ ่งล้วนเคยกิน พลาสติกเข้าไปแล้ว  หากดูแค่ในประเทศไทย แค่ในปี 2561 เรามีเต่าทะเลเกยตื้นทั ้งหมด  362 ตัว เฉลี่ยเกือบวันละ 1 ตัว !

แม้ทุกวันนี้ประเทศส่วนใหญ่จะห้ามการล่าวาฬแล้ว แต่นา่ เศร้าว่าเราก�ำลังฆ่าวาฬด้วยวิ ธีการใหม่  นัน่ คือการสร้างขยะพลาสติก  วาฬที่เกยตื้นจ�ำนวนมากมีขยะในท้อง ซึ่งบางเคสมีมากถึง 40 กิโลกรัม  บางเคสพบถุงพลาสติก  85 ใบ  บางเคสพบขยะตั้งแต่ขวดน�้ำพลาสติก กระถางต้นไม้ รองเท้าแตะ สายยาง กระป๋องสเปรย์  เทปกาว ผ้าขนหนู กางเกงวอร์ม ไปจนถึงเชื อกยาวหลายเมตร

12

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 12

4/2/2564 BE 12:09 PM


นกทะเลทั ่วโลกราว 1 ล้านตัวก็ต้องตายเพราะขยะพลาสติก โดยเฉพาะนกอัลบาทรอสที่ท�ำรังบนเกาะใกล้แพขยะใหญ่แปซิฟิก  พวกมันราว 98% มีพลาสติกในท้อง รวมถึงลูกนกที่แม่ของมัน น�ำพลาสติกมาป้อน

Fact ภูเขาขยะที่อินเดี ยในปัจจุบัน สูงถึง 65 เมตร  โดยภูเขาขยะนี้กินพื้นที่ กว้างถึง 40 สนามฟุตบอล

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 13

13

4/2/2564 BE 12:09 PM


พรุ่งอาจไม่ นี้ มีปะการัง

ช่วยด้วย !

ปะการังเป็นหนึง่ ในสัตว์ที่นา่ สงสารที่สุดในโลก กราฟจาก IUCN แสดงให้เห็นว่า  ความเสี่ยงต่อการสูญพั นธุ์ของปะการัง เกิดขึ้นรวดเร็วยิ่งกว่าสัตว์อื่น

»Ð¡ÒÃÑ »Ð¡ÒÃÑ § § ปะการัง

0.950.95

IUCN Red List Index of species survival IUCN Red List Index of species survival

ยังไม่มีความเสี่ยง ต่อการสูญพั นธุ์

1.00 1.00

´Õ¢Öé¹ ´Õ¢Öé¹

1 =

¹¡ ¹¡นก

0.900.90

ÊÑµÇ ÊÑàµÅÕéÂÇ àสั§ÅÙ ÅÕตé¡ว์§ÅÙ ´ŒเลีÇ¡้ย¹Á ´ŒงลูǹÁ กด้วยนม

0.850.85

0.800.80

สูญพั นธุ์แล้ว

á‹ŧ á‹ŧ

0 =

ÊÑµÇ ÊÑʵสัÐà·Ô Ç ตÊว์Ðà·Ô ¹ส¹íะเทิ éÒ¹ÊÐà·Ô ¹íนéÒนํÊÐà·Ô º¡¹º¡ ้า¹สะเทิ นบก

0.750.75

0.700.70 19801980

19851985

19901990

19951995

20002000

20052005

20102010

¤.È.¤.È.

20

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 20

4/2/2564 BE 12:09 PM


แม้ว่าปะการังจะดูแข็งแกร่งราวก้อนหิน แต่ที่จริงมันเป็นสัตว์ที่อ่อนแอและเปราะบางมาก  ป่วยง่าย ตายง่าย แถมมี​ีเงื่อนไขในการด�ำรงชี วิตเยอะ

เราต้องการ อุณหภูมิที่เหมาะสม ประมาณ 22-28 องศาเซลเซียส

แร่ธาตุในน�้ำต้องไม่เยอะ ไม่งั้นสาหร่ายจะโตดี จนแย่งพื้นที่เราหมด

น�้ำใสไร้ตะกอนก็จ�ำเป็น เพื่อให้ป้าซูซาน*ในเนื้อเยื่อเรา สามารถสังเคราะห์แสง

ค่า pH และความเค็ม ต้องเหมาะสมด้วยนะ

แต่ที่น่าเศร้าคือ  มนุษย์เปลี่ยนมหาสมุทร ให้ตรงข้ามกับสิ่งที่เราต้องการทั้งหมด

* สาหร่ายเซลล์เดี ยว Zooxanthellae ที่อาศัยในเนื้อเยื่อปะการังและท�ำหน้าที่เป็นแม่ครัวส่วนตัว

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 21

21

4/2/2564 BE 12:09 PM


1

อุณหภูมิสูงขึ้นจาก ภาวะโลกร้อน

เมื่ออุณหภูมิน�้ำสูงเกินไป ปะการังจะ สูญเสียสาหร่ายเซลล์เดี ยวที่ท�ำหน้าที่ เป็นแม่ครัวประจ�ำตัว ท�ำให้เกิดภาวะ ฟอกขาว  หากภาวะนีด้ ำ� เนินต่อเนือ่ งนาน  ปะการังจะอดอาหารจนตาย  ภาวะนี้ มีแนวโน้มรุนแรงขึ้นทุกปี  ล่าสุดที่  Great Barrier Reef นักวิ จัยพบว่า ตัวอ่อนปะการังลดลงถึง 89%

2

สารเคม ในครีมกันแดด ก�ำลังฆ่าปะการัง

ครีมกันแดดส่วนใหญ่ที่วางขายในตลาดล้วนมีสารเคมีที่เป็นพิษต่อปะการัง เช่น Oxybenzone,  Octinoxate, Homosalate ฯลฯ ซึ่งมีผลท�ำให้ปะการังฟอกขาวง่ายขึ้น เติบโตผิ ดรูป  และความผิ ดปกติอื่น ๆ อีกมาก  ทะเลหลายแห่งมีสารเหล่านี้สูงเกินค่าปลอดภัยนับพั นเท่า

22

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 22

4/2/2564 BE 12:09 PM


3

ขยะพลาสติก ท�ำให้ปะการังป่วย ไมโครพลาสติกไปอุดตันในช่องย่อยอาหาร  ท�ำให้ปะการังอดตายอย่างช้า ๆ  รวมทั้งเชื้อโรคที่ติดมากับอนุภาคพลาสติก ก็อาจท�ำให้ปะการังป่วย

ปะการังที่สัมผัสพลาสติก  มีโอกาสเป็นโรคถึง 89%  เนื่องจากพลาสติกปิดกั้นออกซิเจน  แสงแดด และเป็นที่สะสมของเชื้อโรค

การศึกษาที่อเมริกาพบว่า ปะการังสายพั นธุ์หนึง่ มีอนุภาคเส้นใยพลาสติกในช่องท้อง อย่างน้อย 100 เส้นใยในโพลิปทุกตัว  จากการทดลองในห้องแล็บก็พบว่า  ปะการังชอบกินไมโครพลาสติก มากกว่าอาหารตามธรรมชาติเสียอีก  โดยในช่องท้องของมันมีไมโครบี ดส์มากกว่าไข่กุ้งถึงสองเท่า

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 23

23

4/2/2564 BE 12:10 PM


นับถอยหลัง

สู่การสูญพันธุ์

หมีขาว

เราก�ำลังอยู่ในยุคที่สิ่งมีชีวิตสูญพั นธุ์ ไปอย่างรวดเร็วยิ่งกว่ายุคไหน ๆ  จนกระทั ่งมีค�ำเรียกว่านีเ่ ป็น “ยุคแห่งการท�ำลายล้างทางชี ววิ ทยา” (biological annihilation era)

ขั้วโลกเป็นพื้นที่ ด้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากที่สุด น�้ำแข็งที่หายไปท�ำให้หมีขาวหาอาหารยากขึ้นจนถึงขั้นมีรายงานข่าวว่า หมีขาว 52 ตัวโผล่มาคุ้ยขยะกลางเมืองในประเทศรัสเซีย

ไม่กี่เดือนหลังจากนั้นก็มีข่าว รายงานว่ามีหมีขาวโผล่กลางถนน ที่ห่างจากแหล่งอาศัยของมัน กว่า 600 กิโลเมตร

40

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 40

4/2/2564 BE 12:11 PM


ชมคลิป

วอลรัส ปกติวอลรัส (walrus) จะนอนพั กบนน�้ำแข็ง  แต่เมื่อน�้ำแข็งหายไป พวกมันต้องมาแออัดกัน ในพื้นที่เล็ก ๆ  บางตัวเลือกที่จะหลีกหนี ความแออัดโดยปีนไปบนที่สูง แต่เมื่อต้อง กลับลงไปหาอาหารในทะเลอีกครั้ง  มันลงไม่ได้ ผลสุดท้ายคือตกหน้าผา  ดังเช่นภาพสะเทือนใจในสารคดี  Our Planet

นกทะเล ที่อะแลสกาใน ค.ศ. 2016 พบซาก นกพั ฟฟิน (puffin) เกลื่อนหาด  ราว 3,150-8,800 ตัว สาเหตุ คาดว่าเป็นเพราะอุณหภูมิน�้ำทะเล สูงขึ้น ท�ำให้สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง และปลาที่เป็นอาหารของนกพั ฟฟิน ย้ายถิ่นขึ้นเหนือจนนกเหล่านี้ ขาดอาหารตาย

ปลาแซลมอน ที่อะแลสกา ค.ศ. 2019 เกิดคลื่นความร้อน ท�ำให้ปลาแซลมอน (salmon) ในแม่น�้ำตาย เป็นจ�ำนวนมาก  แม่น�้ำสายหนึง่ พบปลาแซลมอน ตาย 850 ตัวในระยะ 320 กิโลเมตร ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 41

41

4/2/2564 BE 12:11 PM


ท่ามกลางปัญหามากมายที่รุมเร้ามหาสมุทร ไม่ว่าจะเป็นการประมงเกินขนาด ปะการังฟอกขาว  และการสูญเสียความหลากหลายทางชี วภาพ  ทางออกหนึง่ ที่เป็นความหวังก็คือ การจั ดตั้งพื้นที่คุ้มครองทางทะเล (marine protected area) ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งอุทยานแห่งชาติทางทะเล เขตห้ามท�ำการประมง เขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น�้ำ ฯลฯ  ซึ่งมีความคุ้มครองต่างระดับกันไป แต่ทั้งหมดล้วนมีจุดหมายเดี ยวกันคือ เพื่อลดการรบกวนของมนุษย์ และให้ธรรมชาติได้ฟื้นฟู ข่าวดี ก็คือ พื้นที่คุ้มครองทางทะเลทุกวันนี้มีเพิ่มขึ้นกว่าเมื่อก่อนมาก จาก ค.ศ. 2000 ที่พื้นที่น้ี คิดเป็นเพี ยง 0.7% ของมหาสมุทรทั ้งหมด พอมาถึง ค.ศ. 2020 พื้นที่น้เี พิ่มขึ้นไปที่ 7.66% และมีแนวโน้ม จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ  การวิ จัยติดตามผลในพื้นที่คุ้มครองหลายแห่งยืนยันและพิสูจน์ชัดว่า เมื่อเราให้ ความคุ้มครองทะเล ทะเลก็สามารถฟื้นฟูและให้ประโยชน์คืนกลับมาเช่นกัน  ต่อจากนี้คือสิ่งที่เราได้รับจากพื้นที่คุ้มครองทางทะเล

พื้นที่คุ้มครองทางทะเล ความหวังของโลกสีคราม

56

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 56

4/2/2564 BE 12:12 PM


1 2 3 4

จ�ำนวนและความหนาแน่น ของสัตว์น�้ำเพิ่มขึ้น

ตัวอย่างเช่นที่อุทยานแห่งชาติ Tsitsikamma  ประเทศแอฟริกาใต้ มีงานวิ จัยพบว่า ความหนาแน่น ของปลาเศรษฐกิจในพื้นที่คุ้มครองมีมากกว่า พื้นที่ข้างเคียง ม่ได้รับการคุ้มครองถึง 42 เท่า

ผลดีต่อการประมง

เมือ่ สัตว์นำ�้ เติบโตและขยายพั นธุในพืน้ ทีค่ มุ้ ครอง  ถึงจุดหนึง่ พวกมันจะล้นมาสู่เขตโดยรอบที่ท�ำการ ประมงได้ เรียกว่า spillover effect

เป็นแหล่งอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ และสัตว์หายาก

เช่น เต่าทะเล ฉลาม วาฬ กระเบนราหู ฯลฯ

ช่วยให้การฟื้นตัวของ ระบบนิเวศดีขึ้น

ท่ามกลางปัญหาอุณหภูมิน�้ำทะเลสูงขึ้น และทะเลเป็นกรดมากขึ้น ความหลากหลาย ทางชี วภาพที่พื้นที่คุ้มครองรักษาไว้จะช่วยให้ ระบบนิเวศฟื้นตัวกลับมาได้ดีกว่า

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 57

57

4/2/2564 BE 12:12 PM


เทคโนโลยี เพื่ออนาคต แม้ปัญหาภาวะโลกร้อนจะรุนแรงขึ้นทุกขณะ แต่นวัตกรรมใหม่ ๆ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ก็ได้รับการพั ฒนามากขึ้น ซึ่งเป็นความหวังว่าเราจะมีพลังงานสะอาดใช้ในอนาคต

2008

เรือ Beluga SkySails  เรือขนสินค้าแบบใหม่ ช้พลังงานลมช่วยขับเคลื่อน  ซึ่งเดินทางจากเยอรมนี ไปเวเนซุ เอลา สหรัฐอเมริกา  และนอร์เวย์ส�ำเร็จ ประหยัดน�้ำมันได้ 2.5 ตันต่อวัน

62

2012

เรือ PlanetSolar เรือพลังงานแสงอาทิตย์ล�ำแรก เดินทางรอบโลกส�ำเร็จ

2013

เมืองแอดิเลด (Adelaide) ประเทศออสเตรเลีย เมืองแรกของโลก ช้รถบัส ขับเคลื่อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์  100% ประหยัดน�้ำมัน 14,000 ลิตร  และลดคาร์บอนได้ถึง 70 ตัน  ในปีแรก ช้

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 62

4/2/2564 BE 12:13 PM


บริษัทแอร์บัส วางแผนผลิตเครื่องบิ น ZEROe  ช้เชื ้อเพลิงไฮโดรเจนแทนน�้ำมัน  ลดการปล่อยคาร์บอนและมลพิษ

2016

2017

เครื่องบิน Solar Impulse 2 เครื่องบิ นพลังงานแสงอาทิตย์ เดินทางรอบโลกส�ำเร็จ เป็นครั้งแรกโดยไม่ใช้ น�้ำมันสักหยด ประเทศเนเธอร์แลนด์ ประเทศแรกของโลกที่มี รถไฟขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า จากพลังงานลม 100%  รองรับผู้โดยสารราว  6 แสนคนต่อวัน

2019

2035

ประเทศสกอตแลนด์ เพี ยงครึ ่งปีแรก ที่นสี่ ามารถผลิตไฟฟ้า จากพลังงานลมเพี ยงพอ จะเลี้ยงประเทศขนาด สกอตแลนด์ได้ถึงสองประเทศ

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 63

63

4/2/2564 BE 12:13 PM


The Great Bubble Barrier นวัตกรรมก�ำแพงฟองอากาศที่เป่าขยะ ให้ลอยขึ้นเหนือน�้ำและเข้าไปในเครื่อง  ซึ่งจากการทดลองสามารถเก็บขยะในแม่น�้ำ ได้ถึง 86% โดยไม่รบกวนสัตว์น�้ำ  และยังช่วยเพิ่มออกซิเจนให้น�้ำด้วย

Sanergy นวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาน�้ำเสียจากชุ มชนชายฝั่ง ในรูปแบบห้องน�้ำอัจฉริยะส�ำหรับชาวเคนยา  ที่แปลงอุจจาระมนุษย์เป็นปุ๋ย ช่วยทั ้งสุขอนามัย ของชาวเคนยาไปพร้อม ๆ กับช่วยปะการัง

Reef Havens Proposal โปรเจกต์ที่พยายามชะลอการฟอกขาวของปะการัง ใน Great Barrier Reef โดยพั ฒนาใบพั ด พลังงานแสงอาทิตย์ที่จะดึงน�้ำเย็นจากส่วนลึก ในมหาสมุทรเข้ามาในแนวปะการัง

78

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 78

4/2/2564 BE 12:14 PM


Planet Care  นวัตกรรมตัวกรองส�ำหรับเครื่องซักผ้าที่ช่วย กรองไมโครพลาสติกจากน�้ำทิ้งได้ถึง 90%   ตลับกรองที่เต็มแล้วยังส่งกลับคืนบริษัทได้  โดย 95% จะถูกน�ำกลับไปใช้ซ�้ำ  ส่วนที่เหลือน�ำไปรีไซเคิล

วิศวกร นักประดิษฐ์

3D-printed  Coral Carbonate  นวัตกรรม ช้เครื่องพิมพ์สามมิติ พิมพ์โครงสร้างปะการังเทียมจากหินปูน ที่ออกแบบมาให้คล้ายกับปะการังจริง มากที่สุด ไม่ว่าจะวัสดุ รูปทรง ผิ วสัมผัส  ที่มีรพู รุน เพื่อเป็นบ้านให้ตัวอ่อนปะการัง ได้มาอาศัย

The Tyre Collective  อุปกรณ์ดักจั บไมโครพลาสติกจากยางรถยนต์ ที่หลุดออกมาระหว่างการเสียดสีกับผิ วถนน  โดยใช้หลักไฟฟ้าสถิตและการไหลของอากาศ  ซึ่งผง ด้สามารถน�ำไปรีไซเคิลเป็นยางใหม่ได้

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร  2

AWText-Ocean_2.indd 79

79

4/2/2564 BE 12:14 PM


0.55 cm

หนังสือชุด

ส�ำรวจโลก และธรรมชาติ

ส า ย ใ ย ใ ต้ ส มุ ท ร

2

หา

ู้

ดร. ซิลเวีย เอิร์ล

ราคา 290 บาท

ปัญ

นร

“แม้ว่าเธอจะไม่เคยเห็นหรือสัมผัสมหาสมุทร แต่มหาสมุทรสัมผัสเธอในทุกลมหายใจ ในน�้ำทุกหยดที่เธอดื่ม ในอาหารทุกค�ำที่เธอกิน ื่ เราทุกคนในทุกแห่งหนล้วนเชอมโยงและพึ ่งพาการมีอยู่ของผืนทะเล อย่างไม่สามารถแยกจากกันได้”

ห ม ว ด ห นั ง สื อ เ ด็ ก

เรีย

เมธิรา เกษมสันต์

เมื่อสัตว์ทะเลก�ำลังร้องไห้ และสวรรคใต้ ์ ทะเลก�ำลังค่อย ๆ จางหาย นีค่ ือโอกาสสุดท้ายในการก�ำหนดโชคชะตาของมหาสมุทร มาเรียนรู้ปัญหา พร้อมแสงสว่างแห่งความหวัง จากคนเล็ก ๆ ทั ่วทุกมุมโลกที่กำ� ลังบอกเราว่า ทุกคนสามารถสร้างความเปลี่ยนแปลง และอนาคตของมหาสมุทรอยู่ในมือเราทุกคน

สั่งซื้อออนไลน์ที่ @sarakadeemag

ISBN 978-616-465-043-5

ท่ี ม ห

าสม

ุทรกำก

เมธิรา เกษมสันต์ ลังเผชิญ

290.-


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.