หิมะ พระจันทร์ ดอกไม้ : สวนญี่ปุ่น

Page 1


雪月花7.indd 6

2014/02/16 14:14


18

หิมะ พระจันทร์ ดอกไม้

・ 94

・ ・ 306

・ ・ ・

388

雪月花7.indd 7

2014/02/16 14:14


雪月花7.indd 10

2014/02/16 14:14


わが旅の紅葉いよ 濃かりけり 年尾

การเดินทางแห่งใบไม้แดง มากขึ้นเรื่อยๆ สีแดงที่ดํ่าลึก โทะชิโอะ

雪月花7.indd 11

2014/02/16 14:14


雪月花7.indd 14

2014/02/16 14:14


白藤や揺りやみしかばうすみどり 器男

พวงดอกฟุจิขาว ตอนที่หยุดแกว่งไกว สีเขียวจางๆ ฟุคิโอะ

雪月花7.indd 15

2014/02/16 14:14


雪月花7.indd 30

2014/02/16 14:14


โมะโนะโนะอะวะเระ Mono no Aware もののあわれ

ญี่ปุ่นเป็นประเทศที่สภาพแวดล้อมสวยงามอย่างมากในขณะเดียวกันกับ ที่โหดร้ายอย่างที่สุดเช่นกัน ส่วนหนึ่งของการตระหนักรู้เกี่ยวกับความไม่ แน่นอนของธรรมชาติและชีวิตก็มาจากความไม่แน่นอนนี้เอง นี่เป็นเหตุ

30

31

หิ ม ะ

สภาพในปัจจุบันของโคะเคะเดะระคือการเดินท่องเข้าไปในอาณาบริเวณ ชมสวนอันฉ่ำ�ชื้นภายใต้ความเงียบสงัด เสียงนกหรือเสียงแมลงที่ดังลอย มาตามธรรมชาติทีเ่ กิดขึน้ เป็นครัง้ คราวยิง่ ขับเน้นให้ตระหนักถึงความเงียบ สงบอย่างที่สุดของสวนนี้ สุนทรียภาพในวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่มีศัพท์เรียกว่า โมะโนะโนะอะวะเระ ดูจะค่อยๆ ก่อตัวแล้วท่วมท้นขึ้น ความงามเกิดขึ้น จากความเศร้าลึกๆ กลายเป็นส่วนหนึ่งของประสบการณ์ในสวนที่วัดนี้ ประวัติศาสตร์ของสวนช่วยทำ�ให้เราตระหนักถึงความไม่เที่ยงของชีวิต ชวนให้ย้อนเพ่งพิศถึงสภาวะของตัวเราเอง นักท่องเที่ยวในปัจจุบันยังไม่ สามารถหลีกหนีความรู้สึกดังกล่าวได้ ยิ่งเมื่อเพ่งพิจารณาร่องรอยที่ ธรรมชาติและกาลเวลาได้กลืนกินสรรพสิ่งยิ่งทำ�ให้ความรู้สึกนี้ค่อยๆ ซึม เอ่อขึ้นทีละน้อยกระทั่งท่วมท้นพื้นที่หัวใจ

雪月花7.indd 31

2014/02/16 14:14


雪月花7.indd 36

2014/02/16 14:14


มุโจ Mujo無常

มุโจคือการเห็นความงามจากความเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ง ใบไม้ที่ร่วง หล่นจากต้นไปหมดแล้วกระตุน้ ให้เห็นความงามตามธรรมชาติ การยอมรับ ก่อให้เกิดความงามขึน้ ในใจ จะเห็นได้วา่ มุโจมีความสัมพันธ์เป็นอย่างมาก กับโมะโนะโนะอะวะเระ หยดน้ำ�ค้างมักจะระเหยไปได้ง่ายและไว ชีวิตก็

36

37

หิ ม ะ

ผู้เชี่ยวชาญเรื่องสวนญี่ปุ่น จิโร ทะเคะอิ (Jiro- Takei) ขึ้นต้นบทที่ 1 ของ หนังสือ เดินไปในประวัติศาสตร์สวน 「庭園史をあるく」ว่า「形あるものは 6 かならず壊れる」 “วัตถุทรงรูปย่อมเสื่อมสลายอย่างแน่นอน” ประโยคนี้ นอกจากจะทำ�ให้เข้าใจพื้นฐานของสวนว่าเป็นสิ่งเสื่อมสลายไปตามกาล เวลาแล้ว ยังทำ�ให้เข้าใจถึงสุนทรียภาพแบบหนึ่งที่เรียกว่า มุโจ เข้าใจว่า เฉพาะตัวแนวคิดไม่มีอยู่ในสังคมดั้งเดิมของญี่ปุ่น แต่ปรากฏขึ้นหลังจาก ที่ได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนาแล้ว คำ�ในภาษาไทยที่เราคุ้นเคยกันดีก็คือ “อนิจจัง” ในวัฒนธรรมไทย แนวคิดของพุทธศาสนานี้ใช้ในบริบทของ ศาสนาและคำ�สอนต่อชีวิต ในขณะที่ในวัฒนธรรมญี่ปุ่นขยายความไปยัง ความงามด้วย

雪月花7.indd 37

2014/02/16 14:14


雪月花7.indd 42

2014/02/16 14:14


มะ Ma 間

ตัวอย่างจากการประสมคำ�ในภาษาญี่ปุ่นจำ�นวนมากแสดงให้เห็นมิติทาง ความหมายของมะ คำ�ว่า มะโมะนะคุ ที่แปลตรงตัวว่า “ไม่มีพื้นที่” แต่ ความหมายที่เป็นที่เข้าใจคือ “อีกสักครู่” คำ�ว่า ทะเอะมะ แปลว่า “หยุด พื้นที่” แต่ความหมายคือ “ต่อเนื่องในเวลา” เป็นต้น และยังมีตัวอย่าง เช่นนี้อีกมาก ความหมายและความรู้สึกของพื้นที่ในวัฒนธรรมญี่ปุ่นจึงเปลี่ยนแปลงไป

42

43

หิ ม ะ

สวนและพื้นที่ในวัฒนธรรมญี่ปุ่นมีลักษณะสี่มิติ การชื่นชมใช้เวลาและ เฉพาะอย่างยิ่ง “ใจ” คำ�ว่ามะในภาษาญี่ปุ่นแปลตรงตัวว่า “พื้นที่” ตัว อักษรคันจินี้มีที่มาจากการผสมคันจิตัวที่มีความหมายว่าประตู「門」 และ พระอาทิตย์「日」เข้าด้วยกัน ซึ่งความหมายก็คือแสงที่ส่องผ่านประตู ความรู้สึกนี้แฝงพื้นฐานความเข้าใจที่ว่า พื้นที่จะมีความหมายก็ต่อเมื่อ เกิดความเปลี่ยนแปลงไปในเวลา 8 การวัดพื้นที่ในผัสสะของคนญี่ปุ่นจึงใช้ เวลาเป็นคู่ปฏิสัมพันธ์

雪月花7.indd 43

2014/02/16 14:14


N

雪月花7.indd 252

0

5

10 m.

2014/02/16 14:26


・ ・

โทฟุคุจิ To-fukuji เกียวโต Kyoto

252

253

พ ร ะ จั น ท ร์

มิเระอิ ชิเกะโมะริ (Mirei Shigemori ค.ศ. 1896-1975) นักวิชาการและ นักออกแบบสวนคนสำ�คัญที่สุดแห่งศตวรรษที่ 20 รับงานออกแบบสวนรอบ อาคารโชะอินที่วัดโดยใช้สวนสี่แบบสำ�หรับสี่ด้านของอาคาร ที่ทิศใต้อันเป็น ทิศหลักออกแบบเป็นสวนทิวทัศน์แห้งโดยใช้หินขนาดใหญ่จัดเป็นกลุ่มร่วมกับ แนวกรวดขาวและเนินปลูกหญ้าเขียวที่สุดปลายด้านหนึ่งที่สวนทิศตะวันตก ชิเกะโมะริใช้ระดับพื้นสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างเนินจำ�ลองและพื้นกรวดขนาด เล็ก แต่ส่วนที่เป็นจุดรวมสายตาอยู่ที่ต้นสะทสึคิ (Satsuki) ที่ถูกเล็มเป็นพุ่ม สี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 180×180 เซนติเมตร สร้างระยะห่างระหว่างพุ่มด้วย ขนาดของช่องว่างรูปทรงและขนาดใกล้เคียงกัน การเล็มพุ่มไม้ให้เป็นรูปทรง ต่างๆ ในสวนญี่ปุ่นไม่ใช่เรื่องใหม่เช่นเดียวกับการเปิดพื้นที่ว่าง ทั้งสองมีรูป แบบและวิธีปฏิบัติมานานหลายร้อยปีแล้ว แต่การสร้างพุ่มและเปิดพื้นที่ว่างที่ เป็นปฏิสัมพันธ์กันแบบ positive/negative เท่าๆ กันแบบนี้ไม่เคยมีมาก่อน ลักษณะงานออกแบบนี้สะท้อนให้เห็นทัศนคติของชิเกะโมะริในการผลักดัน ความรู้สึกเกี่ยวกับธรรมชาติให้เกิดปฏิสัมพันธ์กับวัฒนธรรมสมัยใหม่ (ซึ่งใน บริบทของญี่ปุ่นก็คือความรู้ ความคิด เทคโนโลยีจากตะวันตก) ด้วยประวัติ การศึกษาของชิเกะโมะริเองที่เคยศึกษาศิลปะตะวันตกในช่วงที่ศึกษาอยู่ที่

雪月花7.indd 253

2014/02/16 14:26


雪月花7.indd 254

2014/02/16 14:26


・ ・

พ ร ะ จั น ท ร์ 255 254

雪月花7.indd 255

2014/02/16 14:27


N

雪月花7.indd 294

0

50

100 m.

2014/02/16 14:27


・ ・

สวนริทสึริน Ritsurin Koen ทะคะมะทสึ Takamatsu

294

295

พ ร ะ จั น ท ร์

ไดเมียวจังหวัดทะคะมะทสึหลายรุ่นขยับขยายสวนจนกระทั่งใหญ่มากมีขนาด พื้นที่ประมาณ 160,000 ตารางเมตร สภาพที่เห็นในปัจจุบันน่าจะเสร็จสมบูรณ์ เมื่อ ค.ศ. 1741 และกลายเป็นสวนสาธารณะในสมัยเมจิ ตัวสวนวางอยู่บนเชิง เขาชื่อ ชิอุนเซ็น (Shiun-zen) แปลว่าภูเขาเมฆม่วง ซึ่งแน่นอนว่าสวนใช้ ประโยชน์จากภูเขาในฐานะหนึ่งในองค์ประกอบสวนอย่างเต็มที่และปรากฏ เป็นฉากหลังที่สวยงามในหลายแง่มุม สระขนาดใหญ่และขนาดย่อมจำ�นวน 7 สระ กลุ่มหินและเนินเขาจำ�ลองอีก 27 แห่ง สะพานจำ�นวน 13 สะพาน กลุ่ม หิน 11 กลุ่ม ศาลาอีก 19 ศาลา ประกอบกันเป็นทัศนียภาพที่หลากหลายให้ บรรยากาศกับอารมณ์ที่สวยงามตระการตา

雪月花7.indd 295

2014/02/16 14:27


กลุ่มสอง

雪月花7.indd 328

กลุ่มสาม

นกจิโดะริ Chidori

ฝูงห่านบิน Gankou

โค้งน้อยๆ Hizumi

โค้งกว้าง Magari

ดอกไม้ร่วง Rakka

2014/02/16 14:28


・ ・ ・

ด อ ก ไ ม้ 328

329

ทางสายตาและในแง่ความหมาย เช่น ห้ามวางหิน ปลายแหลมเข้าหากัน เป็นเรือ่ งไม่งา่ ยนัก โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเมื่อหินที่ได้มามีรูปทรงไม่เหมาะสม หินที่ เรียกว่าสุเตะอิชิ (Sute-ishi) หรือหินขว้างทิ้งก้อน เล็ ก ๆ จะเข้ า มามี บ ทบาทแก้ ไ ของค์ ป ระกอบให้ กลมกลืนกัน หินทางเดินส่วนที่อยู่ใกล้กับอาคาร ชุมนุมชาจะถูกวางให้ชิดกันและเตี้ยกว่าปกติเพื่อ ช่วยสร้างสมาธิให้แก่แขก เพราะจะต้องเดินช้าลงดึง ให้สมาธิอยู่กับตัวเองมากขึ้น หินที่ประกอบกันเป็น เส้นทางในสวนแบบโระจิจงึ ทรงความสำ�คัญเป็นองค์ ประกอบที่ขาดไม่ได้ กล่าวกันว่าหินในสวนที่เกียวโตประมาณสอง ในสามอยูใ่ นดิน ส่วนทีโ่ ผล่พน้ ขึน้ มาและเห็นได้เพียง หนึ่งในสาม สำ�หรับรสนิยมแบบญี่ปุ่น แทนที่การนำ� เสนอหินทั้งก้อนจะทำ�ให้หินดูใหญ่กลับเป็นตรงกัน ข้าม การเห็นหินทั้งหมดยิ่งทำ�ให้ทั้งรูปทรงและการ ตั้งหินแลดูอ่อนแอไม่มั่นคง การเห็นจำ�นวนน้อยทั้ง ทำ�ให้รู้สึกมั่นคงและกระตุ้นจินตนาการด้วย หินบาง ครั้งทำ�หน้าที่อื่นนอกเหนือจากตัวเอง หินที่ถูกตั้งอยู่ ในสายน้ำ�เพื่อขวางทางน้ำ�เป็นจังหวะ กระแสน้ำ�ที่ ไหลกระทบหินก่อนจะแยกออกจากกันและมารวม ตัวกันอีกครั้ง เมื่อผ่านหินไปก่อให้เกิดฟองและ ประกายยามสะท้อนแสง นอกจากนี้ยังให้เสียงที่ เพลิดเพลินด้วย

雪月花7.indd 329

2014/02/16 14:28


h as hi

雪月花7.indd 346

2014/02/16 14:29


・ ・ ・

ด อ ก ไ ม้

เพื่อเชื่อมต่อแผ่นดินเข้ากับเกาะ เกาะเข้ากับ เกาะ สวนต้องการสะพาน แม้ในสวนทิวทัศน์แห้งที่ ไม่มีน้ำ�อยู่จริง มีเพียงกรวดแห้งเป็นสัญลักษณ์ของ น้ำ� สะพานก็ยังจำ�เป็น สะพานในสวนสมัยแรกๆ ใช้ โครงสร้างไม้ หลักฐานจากการขุดค้นทางโบราณคดี ทำ�ให้รู้ว่าในสวนแบบชินเด็นมีทั้งสะพานเรียบและ สะพานโค้ง ต่อมามีพัฒนาการของสะพานแบบมี หลังคาเป็นทางเดินในตัวเช่นทีพ่ ระราชนิเวศชูกะคุอนิ และสะพานดินแบบที่อนุญาตให้ตะไคร่และมอสส์ เติบโตบนสะพานได้ การเจริญเติบโตของธรรมชาติ ถึงกับสังเกตได้จากรายละเอียดบนสะพาน สะพานหินเป็นที่นิยมเช่นกัน ในยุคแรกของ สวนญี่ปุ่นเป็นหินทั้งก้อนตามธรรมชาติ หลังจาก สมัยโมะโมะยะมะ (Momoyama Period ค.ศ. 1573-1615) จึงเกิดสะพานที่เป็นการแกะสลักเรียบ ใช้หินก้อนเดียว ลักษณะที่เรียบร้อยขึ้นสัมพันธ์กับ เทคนิคการแกะสลักหินที่พัฒนาขึ้นและความสนใจ ในการสร้างสรรค์งานทีค่ อ่ ยๆ มีลกั ษณะเป็นนามธรรม มากขึน้ สัมพันธ์กบั สวนทิวทัศน์แห้งทีใ่ ช้องค์ประกอบ หลักจากหินหรือกรวดมากกว่าต้นไม้และสายน้�ำ จริง สะพานที่สวนนิโนะมะรุ ปราสาทนิโจะโจะ (Nijojo castle) เชื่อมต่อบริเวณพื้นราบเข้ากับกลุ่มหินเกาะ

346

347

はし

สะพาน

雪月花7.indd 347

2014/02/16 14:29


i s h i d o- r o-

雪月花7.indd 376

2014/02/16 14:30


・ ・ ・

เป็นหนึ่งในองค์ประกอบสำ�คัญของสวนที่มีไว้เพื่อ สุนทรียภาพมากกว่าเพื่อประโยชน์ใช้สอยของแสง สว่าง แม้จะใช้กันในวัดพุทธศาสนาและศาลเจ้า ชินโตมาก่อน ลักษณะดั้งเดิมจะประกอบด้วยส่วน

376

377

ด อ ก ไ ม้

ตะเกียงหิน

いしどうろう

รับบทเด่นในสวนเนือ่ งจากสีสนั อันจัดจ้าของแดงและ เหลืองตัดกัน นอกจากนี้มีหลายสวนที่ตั้งอยู่เชิงเขา ที่ตั้งใจปลูกเมเปิลให้ประสานกลมกลืนกันไปจาก ภายในสวนไปจนกระทั่งบนภูเขา ตัวอย่างเช่นที่วัด เงินหรือกินคะคุจิและชิเส็นโด อย่างไรก็ตามสำ�หรับหลายๆ คนการชมสวน ในหิมะเป็นหนึง่ ในความประทับใจทีล่ กึ ซึง้ เสียยิง่ กว่า สีสันของใบไม้หรือความน่าตื่นตาตื่นใจของดอกไม้ บานเต็มต้นเสียอีก หิมะที่โปรยปุยลงมาอย่างแผ่ว เบา ปุยแล้วปุยเล่า ค่อยๆ ลงเกาะบนก้อนหิน มอสส์ ต้นไม้ ชานระเบียงอาคาร ฯลฯ ในวันที่สวนสงัด อย่างที่สุดเป็นสุนทรียภาพที่เกิดจากความเงียบและ เหงาที่ยากจะลืมเลือน

雪月花7.indd 377

2014/02/16 14:30



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.