รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะ ๕๙ ซากโบราณสถาน

Page 1

รูปแบบสันนิษฐาน

สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน

ราว ๔๐ ปี วิธีคิด วิธีนำ�เสนอของข้าพเจ้าแปลกเปลี่ยนมาเป็นลำ�ดับ ภาพประกอบจำ�นวนมากในหนังสือเล่มใหม่ของข้าพเจ้า เกิดจากประสบการณ์ด้านงานประวัติศาสตร์ศิลปะ กับการศึกษาวิเคราะห์เพื่อจัดทำ�รูปแบบสันนิษฐานจากซากโบราณสถาน มาสู่พื้นฐานของศิลปะร่วมสมัยและใช้ชื่อ “รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน”

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม

หมวดศิลปะไทย ราคา ๖๙๐ บาท ISBN 978-616-465-041-1

รูปแบบสันนิษฐาน

สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม


ISBN หนังสือ รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน ผู้เขียน ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ  เล็กสุขุม พิมพ์ครั้งแรก มีนาคม ๒๕๖๔ ๑,๐๐๐ เล่ม จำ�นวนพิมพ์ ราคา ๖๙๐ บาท © สงวนลิขสิทธิ์โดยสำ�นักพิมพ์เมืองโบราณ ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จำ�กัด บรรณาธิการเล่ม ภาพประกอบ ออกแบบปก/รูปเล่ม จัดรูปเล่ม ควบคุมการผลิต แยกสี/เพลต พิมพ์ที่ จัดพิมพ์โดย จัดจำ�หน่าย

อภิวันทน์  อดุลยพิเชฏฐ์ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ  เล็กสุขุม จำ�นงค์  ศรีนวล ธนา วาสิกศิริ   นัทธิน ี สังข์สุข ธนา วาสิกศิริ เอ็น. อาร์. ฟิล์ม  โทร. ๐ ๒๒๑๕ ๗๕๕๙ ด่านสุทธาการพิมพ์   โทร. ๐ ๒๙๖๖-๑๖๐๐-๖ สำ�นักพิมพ์เมืองโบราณ (ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จำ�กัด) บริษัทวิริยะธุรกิจ จำ�กัด ๓ ซอยนนทบุร ี ๒๒ ถนนนนทบุร ี (สนามบินนํ้า)  ตำ�บลบางกระสอ อำ�เภอเมืองนนทบุร ี นนทบุรี  ๑๑๐๐๐ โทร. ๐ ๒๕๔๗  ๒๗๐๐  โทรสาร ๐ ๒๕๔๗ ๒๗๒๑

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ สันติ  เล็กสุขุม. รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน.  -- นนทบุรี  : เมืองโบราณ, ๒๕๖๔. ๑๕๖ หน้า. ๑. โบราณสถาน. I. ชื่อเรื่อง.    ๙๓๐.๑ ISBN 978-616-465-041-1

สำ�นักพิมพ์เมืองโบราณ (ในนามบริษทั วิรยิ ะธุรกิจ จำ�กัด) ๓ ซอยนนทบุร ี ๒๒ ถนนนนทบุร ี (สนามบินนํา้ ) ตำ�บลบางกระสอ อำ�เภอเมืองนนทบุร ี นนทบุร ี ๑๑๐๐๐  โทร. ๐ ๒๕๔๗ ๒๗๐๐ โทรสาร ๐ ๒๕๔๗ ๒๗๒๑ ทีป่ รึกษา ศรีศกั ร วัลลิโภดม  ธิดา สาระยา  เสนอ นิลเดช  ผูอ้ �ำ นวยการ สุวพร ทองธิว  ผูจ้ ดั การทัว่ ไป/ ผู้อำ�นวยการฝ่ายศิลป์  จำ�นงค์  ศรีนวล  ผู้จัดการฝ่ายการตลาด/ประชาสัมพันธ์  กฤตนัดตา หนูไชยะ บรรณาธิการสำ�นักพิมพ์  อภิวันทน์  อดุลยพิเชฏฐ์   ที่ปรึกษากฎหมาย สมพจน์  เจียมพานทอง

2 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน


คํานําสํานักพิมพ์ เชื่อว่าหลายคนที่เคยไปเที่ยวชมโบราณสถานเก่าในเมืองโบราณ เช่น อยุธยา สุโขทัย อาจมีความรูส้ กึ พิศวง ยากจะจินตนาการว่ากองอิฐหรือฐานเจดียท์ เี่ ห็นเบือ้ งหน้านี้ ในอดีตมีรูปทรงอย่างไร  นี่คือหนึ่งในเหตุผลสำ�คัญที่ทำ�ให้ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ  เล็กสุขมุ  สนใจศึกษาค้นคว้าเพือ่ ก่อร่างสร้างรูปทรงสันนิษฐานของโบราณสถาน ต่างๆ ในดินแดนไทย เพื่อนำ�มาใช้เป็นสื่อในการสอนนักศึกษามาตั้งแต่ครั้งที่อาจารย์ ยังเป็นอาจารย์ประจำ�ภาควิชาประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะ คณะโบราณคดี  มหาวิทยาลัยศิลปากร และหลังจากที่อาจารย์เกษียณอายุราชการมาแล้วก็ยังคงทำ�งานนี้ต่อเนื่องมาจวบจน ปัจจุบัน  จากที่อาจารย์สร้างรูปทรงสันนิษฐานด้วยการสเก็ตช์ด้วยมือลงบนกระดาษ เมื่อหลายสิบปีก่อน มาสู่การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน รูปทรงสันนิษฐานของโบราณสถานแต่ละแห่งที่อาจารย์สร้างภาพขึ้นมา เป็นผล จากการประมวลองค์ความรูจ้ ากชีวติ การทำ�งานเป็นอาจารย์ดา้ นประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะไทย กว่ า จะได้ ง านแต่ ล ะภาพจะต้ อ งอาศั ย หลั ก ฐานหลายด้ า น  ดั ง ที่ อ าจารย์ เ ขี ย นไว้ ว่ า “โบราณสถานบอกเล่าอดีตได้มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับสภาพของโบราณสถาน ยิ่งเก่า มาก ถูกทิ้งรกร้าง หลักฐานต่างๆ เหลือเพียงซาก เหลืออยู่น้อยก็ยิ่งบอกเล่าได้น้อย... ยิ่งน้อยมาก รูปแบบสันนิษฐานก็ยิ่งต้องอาศัยจินตนาการมาก”    หนังสือ “รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน” เล่มนี้ จึงเป็นผลงานจากประสบการณ์ชีวิตและความอุตสาหะของอาจารย์   เริ่มตั้งแต่การเก็บ ข้อมูลจากการออกสำ�รวจสถานที่จริง ถ่ายรูป นั่งหน้าจอคอมพิวเตอร์เพื่อขึ้นรูปทรง แต่ละด้าน แต่ละมุม ของโบราณสถานแต่ละแห่ง ผสานกับจินตนาการของอาจารย์ ก่อเกิดเป็นงานแต่ละชิ้น  เชื่อว่าเมื่อผู้อ่านได้เปิดดูแต่ละหน้า พินิจแต่ละภาพในหนังสือ เล่มนี้  ย่อมรับรู้ได้ถึงคุณค่าของหนังสือเล่มนี้  และความตั้งใจของอาจารย์ที่ต้องการ ถ่ายทอดถึงผูอ้ า่ น  ซึง่ สำ�นักพิมพ์เมืองโบราณภูมใิ จทีไ่ ด้เป็นผูอ้ อกแบบและจัดพิมพ์ผลงาน เล่มนี้ของศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ  เล็กสุขุม สู่ผู้อ่านทุกท่าน

สำ�นักพิมพ์เมืองโบราณ มีนาคม ๒๕๖๔

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 3


สารบัญ คำ�นำ�สำ�นักพิมพ์

ความเป็นมา “ศิลปะจากซากโบราณสถาน”

นครปฐม เพชรบูรณ์ อู่ทอง สุพรรณบุรี ลพบุรี  สุโขทัย ศรีสัชนาลัย พระนครศรีอยุธยา  พิษณุโลก กําแพงเพชร พิจิตร ชัยนาท

๑๐

นครปฐม เพชรบูรณ์ อู่ทอง สุพรรณบุรี ลพบุรี

๑๔

นครปฐม  เจดีย์จุลประโทน สมัยทวารวดี (พุทธศตวรรษที ่ ๑๒-๑๖)  เจดีย์วัดพระเมรุ สมัยทวารวดี (พุทธศตวรรษที ่ ๑๒-๑๖)  เพชรบูรณ์  เจดีย์เขาคลังนอก ศรีเทพ สมัยทวารวดี (พุทธศตวรรษที ่ ๑๒-๑๖)  อู่ทอง : สมัยทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๖)  เจดีย์หมายเลข ๑  เจดีย์หมายเลข ๒  เจดีย์หมายเลข ๙  เจดีย์หมายเลข ๑๐  เจดีย์หมายเลข ๑๑  เจดีย์หมายเลข ๑๓  สุพรรณบุรี  วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สมัยอยุธยาตอนต้น (ต้นพุทธศตวรรษที ่ ๒๐)  ลพบุรี  วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ก่อนสมัยอยุธยา (ต้นพุทธศตวรรษที ่ ๑๙)

๑๔ ๑๔ ๑๘

4 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน

๒๒ ๒๒ ๒๕ ๒๕ ๒๗ ๓๐ ๓๒ ๓๔ ๓๖ ๓๘ ๓๘ ๔๐ ๔๐


สุโขทัย ศรีสัชนาลัย พระนครศรีอยุธยา

๔๓

สุโขทัย  ศาลตาผาแดง ก่อนสมัยสุโขทัย (กลางพุทธศตวรรษที ่ ๑๘)  วัดพระพายหลวง ก่อนสมัยสุโขทัย (กลางพุทธศตวรรษที ่ ๑๘)  วัดมหาธาตุ สมัยสุโขทัย (ต้นพุทธศตวรรษที ่ ๑๙)  วัดศรีชุม สมัยสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ ๒๐)  วัดตระพังทองหลาง สมัยสุโขทัย (กลางพุทธศตวรรษที ่ ๒๐)  วัดสรศักดิ ์ สมัยสุโขทัย (พ.ศ. ๑๙๖๐)  วัดศรีพิจิตรกีรติกัลยาราม สมัยสุโขทัย (พ.ศ. ๑๙๗๔)  วัดศรีสวาย สมัยสุโขทัย (พุทธศตวรรษที ่ ๒๐)  วัดเจดีย์สูง ปลายสมัยสุโขทัย (ครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที ่ ๒๐)  วัดเขาพระบาทน้อย ปลายสมัยสุโขทัย (ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๐)  ศรีสัชนาลัย  วัดเจดีย์เจ็ดแถว ศิลปะสุโขทัย (ปลายพุทธศตวรรษที ่ ๑๙)  วัดช้างล้อม สมัยสุโขทัย (ปลายพุทธศตวรรษที ่ ๑๙)  วัดเจดีย์เก้ายอด สมัยสุโขทัย (ปลายพุทธศตวรรษที ่ ๑๙)  วัดสวนแก้วอุทยานน้อย สมัยสุโขทัย (ปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙)  วัดกุฎีราย สมัยสุโขทัย (ปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙)  วัดชมชื่น สมัยสุโขทัย (ปลายพุทธศตวรรษที ่ ๑๙)  วัดนางพญา ศิลปะอยุธยา-ล้านนา (ปลายสมัยสุโขทัย)  พระนครศรีอยุธยา

๔๓ ๔๔ ๔๖ ๕๐ ๕๒ ๕๔ ๕๖ ๕๘ ๖๐ ๖๒ ๖๔

พระที่นั่งในพระราชวังโบราณ  พระที่นั่งสรรเพชญ์ปราสาท  พระที่นั่งวิหารสมเด็จ  พระที่นั่งจักรวรรดิไพชยนต์  พระที่นั่งบรรยงค์รัตนาสน์  พระที่นั่งสุริยาสน์อัมรินทร์

๖๖ ๖๖ ๗๐ ๗๒ ๗๔ ๗๖ ๗๘ ๘๐ ๘๒ ๘๒ ๘๒ ๘๔ ๘๖ ๘๘ ๙๐

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 5


พระนครศรีอยุธยา : ในและนอกเกาะเมือง  วัดมหาธาตุ สมัยอยุธยาตอนต้น (ต้นพุทธศตวรรษที ่ ๒๐)  วัดนางปลื้ม สมัยอยุธยาตอนต้น (ต้นพุทธศตวรรษที ่ ๒๐)  วัดสามปลื้ม สมัยอยุธยาตอนต้น (ต้นพุทธศตวรรษที ่ ๒๐)  วัดพระราม สมัยอยุธยาตอนต้น (ต้นพุทธศตวรรษที ่ ๒๐)  วัดใหญ่ชัยมงคล สมัยอยุธยาตอนต้น (ต้นพุทธศตวรรษที่๒๐)  วัดราชบูรณะ สมัยอยุธยาตอนต้น (พ.ศ, ๑๙๖๗)  วัดกระช้าย สมัยอยุธยาตอนต้น (พุทธศตวรรษที ่ ๒๐)  วัดพระศรีสรรเพชญ์ สมัยอยุธยาตอนกลาง (ต้นพุทธศตวรรษที ่ ๒๑)  วัดบางกะจะ สมัยอยุธยาตอนกลาง (ครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที ่ ๒๑)  วัดวรเชษฐ์ สมัยอยุธยาตอนกลาง (กลางพุทธศตวรรษที ่ ๒๒)  วัดไชยวัฒนาราม สมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ. ๒๑๗๒)  ตำ�หนักตึกวัดเตว็ด สมัยอยุธยาตอนปลาย (ต้นพุทธศตวรรษที ่ ๒๓)

๙๒ ๙๒ ๙๖ ๙๘ ๑๐๐ ๑๐๒ ๑๐๔ ๑๐๖ ๑๐๘ ๑๑๑ ๑๑๒ ๑๑๔ ๑๑๖

พิษณุโลก กำ�แพงเพชร พิจิตร ชัยนาท

๑๑๘

พิษณุโลก  พระราชวังจันทน์ สมัยอยุธยาตอนกลาง (ปลายพุทธศตวรรษที ่ ๒๐)  วัดเจดีย์ยอดทอง สมัยสุโขทัย (ต้นพุทธศตวรรษที ่ ๒๐)  วัดโพธิ์ทอง สมัยสุโขทัย (ต้นพุทธศตวรรษที ่ ๒๐)  วัดอรัญญิก สมัยสุโขทัย (ครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที ่ ๒๐)  วัดศรีสุคต สมัยอยุธยาตอนกลาง (พุทธศตวรรษที ่ ๒๑)  วัดจุฬามณี ปลายสมัยอยุธยาตอนต้น (พ.ศ. ๒๐๐๘)  วัดวิหารทอง สมัยอยุธยาตอนกลาง (ครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที ่ ๒๑)  กำ�แพงเพชร  วัดหนองลังกา สมัยสุโขทัย (ต้นพุทธศตวรรษที ่ ๒๐)  วัดช้างรอบ สมัยสุโขทัย (ต้นพุทธตวรรษที ่ ๒๐)  วัดสิงห์ สมัยสุโขทัย (ต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๐)  วัดพระแก้ว สมัยอยุธยาตอนต้น (พุทธศตวรรษที ่ ๒๐)  วัดพระธาตุ สมัยอยุธยาตอนต้น (พุทธศตวรรษที ่ ๒๐)

๑๑๘ ๑๑๘ ๑๒๐ ๑๒๑ ๑๒๒ ๑๒๓ ๑๒๔ ๑๒๖

6 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน

๑๒๘ ๑๒๘ ๑๓๐ ๑๓๒ ๑๓๔ ๑๓๖


ชัยนาท  วัดสองพี่น้อง สมัยอยุธยาตอนต้น (ครึ่งแรกพุทธศตวรรษที ่ ๒๐)  พิจิตร  วัดโพธิ์ประทับช้าง สมัยอยุธยาตอนปลาย    (รัชกาลสมเด็จพระศรีสรรเพชญ์ที่ ๘ พ.ศ. ๒๒๔๕-๒๒๕๑)

๑๓๘ ๑๓๘

เจดีย์กับต้นไม้

๑๔๔

สรุปความ

๑๕๔ ๑๕๕

บรรณานุกรมคัดสรร

๑๔๒ ๑๔๒

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 7


ความเป็นมา  “ศิลปะจากซากโบราณสถาน” โบราณสถานบอกเล่าอดีตได้มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับสภาพของ

โบราณสถาน ยิง่ เก่ามาก ถูกทิง้ รกร้าง หลักฐานต่าง ๆ เหลือเพียงซาก เหลืออยูน่ อ้ ย ก็ยงิ่ บอกเล่าได้นอ้ ย  การทำ�ความเข้าใจจึงยาก หวังจะได้ขอ้ มูลจากเอกสารโบราณ ก็ยาก  การทีไ่ ม่มขี อ้ มูลด้านรูปแบบลักษณะอย่างเพียงพอ จึงต้องอาศัยซากโบราณ สถานเพือ่ เชือ่ มโยงหารูปแบบลักษณะจากแหล่งอืน่ ทีน่ า่ จะเกีย่ วข้องกัน หากเชือ่ มโยง ก็แล้ว ยังไม่เพียงพอ ยิง่ น้อยมาก รูปแบบสันนิษฐานก็ยงิ่ ต้องอาศัยจินตนาการมาก ราวสามสิบปีทผี่ า่ นมาของข้าพเจ้า แบ่งได้เป็นสองช่วง ช่วงแรก ริเริม่ จัดทำ� รูปแบบสันนิษฐานจากซากโบราณสถาน เพื่อประโยชน์ของรายวิชาที่รับผิดชอบใน ภาควิชาประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะ คณะโบราณคดี  มหาวิทยาลัยศิลปากร พัฒนาเรือ่ ยมา เริ่มช่วงสองเมื่ออายุ  ๖๕ ปี  หลังเกษียณอายุจากราชการ ข้าพเจ้ายังศึกษารูปแบบ สันนิษฐานจากซากโบราณสถานต่อเนือ่ งมาอีกระยะหนึง่ ด้วยทุนรอนส่วนตัว ก่อนจะ ได้รับทุนอุดหนุนจากบริษัท ปตท. สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) โดยความสนับสนุนจากกรมศิลปากร คืองานศึกษาและจัดทำ�รูปแบบสันนิษฐานจาก วัดร้างในอุทยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย ศรีสชั นาลัย กำ�แพงเพชร  ในส่วนของอุทยาน ประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เลือกศึกษาซากวัดสำ�คัญและจากซากพระราชวัง โบราณ ซึง่ ได้จดั ทำ�รูปแบบสันนิษฐานพร้อมทัง้ จัดทำ�หุน่ จำ�ลองสามมิต ิ มาตราส่วน ๑ : ๑๒๕ ติดตั้งไว้ตามวัดเหล่านั้น และในพระราชวังโบราณด้วย  งานหนักหน่วง ของช่วงนีม้ ผี รู้ ว่ มงานคนสำ�คัญรับผิดชอบดูแลค่าใช้จา่ ยทุกอย่างทุกประการ ทัง้ ร่วม สำ�รวจและให้ขอ้ คิดเห็น คือ ดร. ทนงศักดิ์  หาญวงศ์   ต่อมาคุณราศี  บุรุษรัตนพันธุ์ ได้เข้ามาสมทบและในทีส่ ดุ ก็ตอ้ งทำ�งานทัง้ หมดแทน ดร. ทนงศักดิ ์ ซึง่ มีความจำ�เป็น ด้านธุรกิจส่วนตัว  อนึ่ง ในช่วงร่วมงานกันทั้งสองได้ช่วยประสานงานกับเจ้าหน้าที่

8 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน


กรมศิลปากรในพืน้ ที ่ ซึง่ ให้ความสะดวกแก่ทมี งานทุกประการ พร้อมข้อมูลคำ�แนะนำ� ข้าพเจ้าขอขอบคุณทั้งหลายทั้งปวงไว้ในที่นี้ บรรดารูปแบบสันนิษฐานโบราณสถานตั้งแต่ช่วงแรกผ่านมาในช่วงที่สอง  คือแรงบันดาลใจสำ�หรับงานปรุงแต่งทางศิลปะซึง่ ข้าพเจ้ามีพน้ื ฐานอยูก่ อ่ น  เปิดแสดง นิทรรศการจิตรกรรมครัง้ แรกในปี  ๒๕๕๕ ทีห่ อศิลป์ของคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิ ม พ์   มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร นิ ท รรศการเชิ ด ชู เ กี ย รติ ศิ ล ปิ น อาวุ โ ส ที่ สำ�นักศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยและกรมศิลปากรสนับสนุน ทำ�ให้เกิดการแสดง นิทรรศการที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์ และนิทรรศการสัญจร ในพื้นที่ อุทยานประวัติศาสตร์ มรดกโลก สามครั้ง ในช่วง พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๗ ต่อมา อีกสามครั้งระหว่าง พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๒ แสดงผลงานจิตรกรรมชุดใหม่ต่างสถาน ที่กัน   วิ ธี คิ ด   วิ ธี นำ � เสนอที่ เ ปลี่ ย นไปของหนั ง สื อ เล่ ม ใหม่ น้ี   เกิ ด จากการรวม ประสบการณ์ด้านประวัติศาสตร์ศิลปะและงานจัดทำ�รูปแบบสันนิษฐานจากซาก โบราณสถาน ด้วยแนวทางศิลปะร่วมสมัย และใช้ชอื่   รูปแบบสันนิษฐาน สูง่ านศิลปะ จาก ๕๙ ซากโบราณสถาน

ขอขอบคุณสำ�นักพิมพ์เมืองโบราณที่รับพิมพ์หนังสือเล่มนี้  ในภาวะธุรกิจ ที่ยากลำ�บากจากการระบาดของไวรัสโควิด-๑๙

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 9


นครปฐม เพชรบูรณ์ อูท ่ อง (สุพรรณบุร)ี   ลพบุรี สุโขทัย ศรีสัชนาลัย  พระนครศรีอยุธยา  พิษณุโลก กำ�แพงเพชร พิจิตร ชัยนาท

จังหวัดต่างๆ ในภาคกลางที่เป็นเมืองเก่าแก่  มีซากโบราณสถานให้ศึกษา หาข้อมูลเพื่อจัดทำ�รูปแบบสันนิษฐาน  และเป็นแรงบันดาลใจให้สร้างศิลปกรรมที่เลือก ลงพิมพ์ส�ำ หรับหนังสือนี้ เริ่มจากซากเก่าสุดอยู่ในสมัยทวารวดี  (อย่างช้าราวพุทธศตวรรษที่  ๑๒ จบลง เมือ่ ราวพุทธศตวรรษที ่ ๑๖) เป็นต้นว่า วัดพระเมรุ   นครปฐม ซึง่ รกร้าง  เจดียเ์ ขาคลังนอก (เจดีย์ร้าง) ในอุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ (เมืองศรีเทพ) เพชรบูรณ์  และที่เมืองอู่ทอง ซึ่ ง มี เ จดี ย์ เ ล็ ก ๆ  หลายองค์    เรื่ อ งราวอั น เป็ น ประวั ติ ค วามเป็ น มาของการสร้ า งศิ ล ป สถาปัตยกรรมเหล่านี้  ไม่มีเอกสารหรือข้อมูลใดช่วยบ่งชี้ ต้องสันนิษฐานจากผลการ ศึ ก ษารู ป แบบเปรี ย บเที ย บ  โดยเลื อ กจากโบราณสถาน ทั้ ง ในดิ น แดนไทยและ ดิ น แดนใกล้ เ คี ย งในภู มิ ภ าคเอเชี ย อาคเนย์   เช่ น   เขมร  (กั ม พู ช า) จาม  (เวี ย ดนาม) ศรี เ กษตร  (พม่ า )  ชวาภาคกลาง  (อิ น โดนี เ ซี ย )  ดิ น แดนร่ ว มสมั ย เหล่ า นี้ ล้ ว นได้ แรงบั น ดาลใจทางศาสนาและศิ ล ปกรรมจากประเทศอิ น เดี ย โบราณซึ่ ง แพร่ ห ลาย

10 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน


เข้ามาอย่างช้าก็ราวพุทธศตวรรษที่  ๑๒ ราวพุทธศตวรรษที่  ๑๗ อำ�นาจปกครองและศิลปวัฒนธรรมเขมรแพร่หลาย เข้ามาแทนที่ศิลปะทวารวดี  ภาคกลางมีเมืองลพบุรี  (ละโว้) เป็นแหล่งสำ�คัญ  อีกแหล่ง หนึง่ คือทีส่ โุ ขทัยและศรีสชั นาลัยด้วย  จนถึงปลายพุทธศตวรรษที ่ ๑๘ ศิลปวัฒนธรรมเขมร จึงเสื่อมถอยลงจนหมดไปในที่สุด สุโขทัย-ศรีสัชนาลัยเป็นราชธานีคู่แฝด เมื่อขับไล่อำ�นาจปกครองของเขมรออก ไปแล้ว พ่อขุนรามคำ�แหงเสวยราชสมบัตแิ ทนพระบิดา พระนามขุนศรีอนิ ทราทิตย์  ในราว พ.ศ. ๑๘๒๒๑ ตำ�นานเล่าว่า พ่อขุนรามคำ�แหงทรงเป็นพระสหายกับพ่อขุนผาเมืองแห่ง เมืองพะเยา และพระเจ้ามังรายแห่งเชียงใหม่ราชธานีของแคว้นล้านนา๒ ช่วงเวลาที่ศิลปะสุโขทัยเจริญสูงสุดคงอยู่ในรัชกาลของพระยาลิไท (ราวระหว่าง พ.ศ. ๑๘๙๐-๑๙๑๑) ร่วมสมัยกับรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอู่ทองแห่งกรุงศรีอยุธยา ศิลปะ ด้านสถาปัตยกรรม จิตรกรรม และประติมากรรมของสุโขทัย ซึ่งผ่านการเกี่ยวเนื่องกับ ศิ ล ปะเขมรที่ เ จริ ญ รุ่ ง เรื อ งมาก่ อ น   ได้ เ พิ่ ม การเกี่ ย วโยงกั บ ศิ ล ปะพม่ า   รวมถึ ง การ แลกเปลี่ยนถ่ายเทกับศิลปะร่วมสมัยจากศิลปะล้านนา๓ ด้วยพืน้ ฐานดังเพิง่ กล่าว สุโขทัยในส่วนของสถาปัตยกรรม มีขอ้ มูลด้านเจดียท์ รง ต่างๆ  ซึง่ ความเรียบง่ายคือประเด็นสำ�คัญจากการผสมผสานรูปแบบกันภายใน และการ ปรับรับมาจากภายนอกก็มีบ้าง  รูปทรงสัดส่วนเจดีย์ของศิลปะสุโขทัยสัมพันธ์กับความ เรียบง่ายของอาคารหลังคาคลุมประเภทวิหารหลังเล็กๆ ที่หลงเหลืออยู่บ้าง ก็เพราะทั้ง อาคารก่อด้วยศิลาแลง อันเป็นวัสดุก่อที่แข็งแรงแต่ตกแต่งรายละเอียดได้ไม่มาก  หาก เป็นวิหารขนาดใหญ่เช่นวิหารหลวง ก็ล้วนทลายลงเหลือเพียงฐานหรือเสา  ส่วนหลังคา เครื่องไม้หมดไปอย่างรวดเร็วเมื่อวัดถูกทิ้งร้าง ใน พ.ศ. ๑๘๙๓ พระเจ้าอูท่ องทรงสถาปนาราชธานีแห่งลุม่ นํา้ เจ้าพระยาตอนล่าง คือกรุงศรีอยุธยา๔  ซึ่งในที่สุดเมื่อถึงปลายศตวรรษที่  ๒๐ ต่อต้นพุทธศตวรรษถัดมา อยุธยา สุโขทัย และเชียงใหม่  เกิดขัดแย้งกัน  กองทัพเมืองเชียงใหม่ยกทัพลงมายึดครอง ศรีสัชนาลัย  ท่ามกลางการต่อต้านเป็นระยะจากกองทัพกรุงศรีอยุธยาซึ่งขึ้นมาตั้งหลัก ที่พิษณุโลก  ในที่สุดกองทัพเมืองเชียงใหม่ก็ต้องถอยกลับไปหลังจากการยึดครองสุโขทัย ไม่น้อยกว่า ๒๐ ปี   อยุธยาจึงผนวกเอาสุโขทัยไว้ใต้อาณาจักรอยุธยาได้ในครั้งนั้น๕

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 11


นครปฐม เพชรบูรณ์  อู่ทอง สุพรรณบุรี ลพบุรี  นครปฐม เจดีย์จุลประโทน  สมัยทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๖) ส่วนบนของเจดีย์องค์นี้ทลายลงจนหมด  พระพุทธรูปประดิษฐานภายใน

จระนำ�ทีเ่ รียงเป็นแถวรอบองค์เจดียก์ ช็ �ำ รุดหลุดหายไปหมดเช่นกัน  กรมศิลปากรถอดแผ่น รูปปัน้ นูนสูง ทัง้ ด้วยดินเผาและปูนปัน้  ทีป่ ระดับเรียงในช่องของฐานเจดีย ์ นำ�ไปบูรณะและ เก็บรักษาไว้ภายในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ  พระปฐมเจดีย์ ข้อมูลหลักฐานทีเ่ หลืออยูน่ อ้ ย ปลุกให้เกิดจินตนาการมากหลาย กว้างไกล  ซาก โบราณสถานเก่าแก่นบั พันปีของเจดียอ์ งค์น ี้ ย่อมเชือ่ มโยงได้กบั เจดียร์ นุ่ ราวคราวเดียวกับ ประเทศข้างเคียง ที่ต่างรับแรงบันดาลใจด้านพุทธศิลป์จากต้นกำ�เนิดคือประเทศอินเดีย โบราณ

14 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน


ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 15


16 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน


ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 17


เจดีย์เขาคลังนอก เพชรบูรณ์

เจดีย์เขาคลังนอก เพชรบูรณ์

24 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน


อู่ทอง สุพรรณบุรี : สมัยทวารวดี  (พุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๖)  เจดีย์หมายเลข ๑, ๒, ๙, ๑๐, ๑๑, ๑๓

“เมืองอู่ทอง” ชื่อที่เรียกกันมาก่อน เป็นอำ�เภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี เหลือซากเจดีย์ร้างสมัยทวารวดีจำ�นวนมาก ส่วนใหญ่เป็นเจดีย์ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ก็มีบ้าง  กรมศิลปากรสำ�รวจและบูรณะ พร้อมทั้งให้ชื่อเป็นหมายเลขเพื่อสะดวกแก่การ ศึกษาตรวจสอบ ในที่นี้ได้เลือกมาแสดงเพียงบางหมายเลข

เจดีย์หมายเลข ๑

เหลือซากฐานซึง่ มีชดุ บัววลัย อันเป็นแบบเฉพาะของลวดบัวประดับฐานเจดียส์ มัยทวารวดี เค้าของการซ่อมปฏิสงั ขรณ์ทเี่ จดียอ์ งค์นม้ี ไี ม่นอ้ ยกว่าสองครัง้ สำ�คัญ  ครัง้ หลังสุดคงอยูใ่ น สมัยอยุธยา  เดาว่าคงก่อเป็นเจดีย์ทรงปรางค์แบบอยุธยาเหนือซากฐานเดิม สำ�หรับเจดียข์ นาดเล็กกว่า ลำ�ดับถัดจากหมายเลข ๑ (คือหมายเลข ๒, ๙, ๑๐, ๑๑, ๑๓) เหลือเพียงส่วนฐาน  เข้าลักษณะของเจดีย์สมัยทวารวดี   ประเด็นสันนิษฐาน ให้ครบองค์ได้จากชิ้นส่วนของเจดีย์ในแหล่งทวารวดี  ทั้งในอำ�เภออู่ทองและแหล่งอื่น ในบริเวณใกล้เคียง

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 25


เจดีย์หมายเลข ๑ อู่ทอง สุพรรณบุรี

เจดีย์หมายเลข ๑ อู่ทอง สุพรรณบุรี

26 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน


เจดีย์หมายเลข ๒

27 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 27


28 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน


ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 29


เจดีย์หมายเลข ๙

30 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน


ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 31


วัดพระพายหลวง  ก่อนสมัยสุโขทัย (กลางพุทธศตวรรษที่ ๑๘) โดยทั่ วไป วั ดของสมั ย สุ โ ขทั ย มั ก ไม่ มีห ลักฐานเอกสารหรือ แม้จารึกที่

กำ�หนดอายุระบุการสร้างหรือการปฏิสังขรณ์ใดๆ ไว้   การกำ�หนดอายุจึงใช้วิธีศึกษา  รูปแบบศิลปะ  สำ�หรับวัดนี้แบบอย่างของปราสาทแบบเขมรช่วยให้ระบุได้ว่าสร้างขึ้น  ก่อนสมัยสุโขทัย และในสมัยสุโขทัยได้มกี ารก่อสร้างเพิม่ เติมมาโดยตลอด แสดงถึงความ  สำ�คัญของวัดนี้

46 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน


ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 47


48 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน


ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 49


วัดมหาธาตุ  สมัยสุโขทัย (ต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙) โดยทัว่ ไปชือ่ วัด “มหาธาตุ” บ่งบอกถึงความสำ�คัญของวัดในฐานะศูนย์กลาง

ความศักดิส์ ทิ ธิท์ างศาสนา  พืน้ ทีก่ ว้างขวางของวัดมหาธาตุ  มีซากอาคารใหญ่นอ้ ย มีวหิ าร  อุโบสถ และเจดีย์แบบต่างๆ ที่เหลือเพียงซากฐานจำ�นวนมาก งานปฏิสังขรณ์สร้างเสริม เพิ่มเติมคงมีอยู่ตลอดสมัย รวมถึงงานบูรณะของกรมศิลปากรด้วย

50 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน


ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 51


วัดชมชื่น  สมัยสุโขทัย (ปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙) กว่า ๒๐ ปีที่ศรีสัชนาลัย ราชธานีคู่แฝดของสุโขทัย ตกอยู่ใต้อำ�นาจของ

กองทัพเมืองเชียงใหม่   ช่วงนั้นกองทัพอยุธยาได้ขึ้นมาช่วยศรีสัชนาลัยต่อต้านสลับเจรจา  สงครามเป็นระยะ  วัดชมชืน่ คงเป็นหนึง่ ในวัดทีไ่ ด้รบั การดูแลปฏิสงั ขรณ์จากกองทัพเมือง  เชียงใหม่  ในฐานะที่ชาวเชียงใหม่เป็นพุทธศาสนิกชนเช่นกัน อย่างน้อยในด้านลวดลาย  ประดับที่ชำ�รุดทรุดโทรมได้ง่าย ยังมีร่องรอยของลวดลายปูนปั้นแบบล้านนาของชาว  เชียงใหม่

78 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน


ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 79


วัดนางพญา  ศิลปะอยุธยา-ล้านนา (ปลายสมัยสุโขทัย) ศรีสัชนาลัยเคยตกอยู่ใต้อำ�นาจของกองทัพเมืองเชียงใหม่กว่า ๒๐ ปี   วัด

ที่สร้างขึ้นในช่วงการยึดครองและการต่อต้านสลับการเจรจากับกองทัพอยุธยา เช่น  วัดนางพญา จึงมีศลิ ปกรรมทีผ่ สมผสานระหว่างศิลปะล้านนากับศิลปะอยุธยา เป็นต้นว่า   เจดีย์ประธานของวัดนางพญาคงได้แบบอย่างจากเจดีย์ประธานของวัดพระศรีสรรเพชญ์  อยุธยา แต่วัดพระศรีสรรเพชรญ์​์มีเจดีย์ประธานมีสามองค์เรียงกัน แบบเดียวกัน ขนาด เดียวกัน ลวดลายประดับผนังวิหารของวัดนางพญา งามอย่างฉลาดด้านการออกแบบ  ก็มีอยู่ก่อนในศิลปะล้านนาของเชียงใหม่  ซึ่งพัฒนาจากลวดลายประดับแบบจีน

80 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน


ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 81


พระนครศรีอยุธยา

กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาได้ รั บ การสถาปนาเป็ น ราชธานี เ มื่ อ   พ.ศ.  ๑๘๙๓  สอง  ศตวรรษแรกของกรุงศรีอยุธยา ราชธานีแห่งลุ่มนํ้าเจ้าพระยาแห่งนี้มีพื้นฐานที่ห่างไกล  แต่ ยั ง หลงเหลื อ อยู่ บ้ างคื อ วั ฒ นธรรมทวารวดี   คั่ น ด้ ว ยวั ฒ นธรรมเขมร พร้ อ มกั น นั้ น  กรุงศรีอยุธยาก็มีความสัมพันธ์เครือญาติกับเมืองทางเหนือซึ่งมีสุโขทัยเป็นราชธานีและ  ทั้งเกี่ยวโยงกับราชธานีเชียงใหม่แห่งแคว้นล้านนาด้วย สองศตวรรษหลัง ความเป็นศิลปะผสมผสานเป็นเอกลักษณ์อย่างใหม่เมื่อรับ  ศิลปะจากภายนอกเข้าผสม ก็ปรับตัวเป็นลักษณะเฉพาะของศิลปะอยุธยาทั้งสิ้น ก่อนจะ  สืบทอดลงมาเป็นศิลปะรัตนโกสินทร์ของปัจจุบัน

พระที่นั่งในพระราชวังโบราณ พระที่นั่งสรรเพชญ์ปราสาท พระที่นั่งองค์นี้คงสร้างในรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เพื่อการ  พระราชพิธีและรับแขกเมือง  ต้นแบบเมื่อแรกเริ่มโดยเฉพาะส่วนยอดยังไม่มีผู้ใดศึกษา อย่างมัน่ ใจ การสันนิษฐานโดยอาศัยเอกสารเก่าบอกเล่า ให้ภาพงดงามในเชิงกวีมากกว่า ความรู้ในเชิงช่าง  ยอดพระที่นั่งทลายลงหมดสิ้นแล้วคงเป็นทรงกรวย (ทรงจอมแห) ที่ประกอบ  จากหลังคาลาดซ้อนลดหลั่นเพื่อขึ้นเป็นยอดแหลมของปราสาท คงเป็นเค้าของศิลปะ  สมัยอยุธยาตอนปลาย เพราะเอกสารระบุว่าสมัยอยุธยาตอนปลาย ในรัชกาลของสมเด็จ  พระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ มีการซ่อมเป็นงานใหญ่ทพี่ ระทีน่ งั่ องค์น ี้  ซึง่ งานสันนิษฐานรูปแบบ  ของยอดปราสาทในที่นี้  อาศัยแบบอย่างยอดของพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทในพระบรม-  มหาราชวัง กรุงเทพฯ

82 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน


ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 83


วัดพระราม  สมัยอยุธยาตอนต้น (ต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๐) เอกสารเก่าบางเล่มระบุการสร้าง การบูรณะสลับสับสนกัน  อย่างไรก็ตาม

แผนผังของวัดเป็นแบบอย่างที่นิยมกันในสมัยอยุธยาตอนต้น  วัดสำ�คัญแห่งนี้อาจถูก  บูรณะครั้งสำ�คัญไม่น้อยกว่าสามครั้งในสมัยอยุธยา ครั้งล่าสุดคงเป็นการบูรณะส่วนบน  ของปรางค์ประธาน บนลานของฐานไพทีมปี รางค์ปกี ขนาบด้านเหนือและด้านใต้ของปรางค์ประธาน  คือแบบแผนระยะแรกของศิลปะอยุธยาทีส่ บื ทอดมาจากเจดียพ์ ระศรีรตั นมหาธาตุ  ลพบุร  ี เจดีย์ทรงปราสาทยอดสี่องค์ประจำ�มุมบนลานของฐานไพที  เกี่ยวข้องกับแบบอย่างของ  เจดีย์ทรงปราสาทยอดที่มีอยู่ในศิลปะสุโขทัยและศิลปะล้านนา กับส่วนผสมเด่นชัดจาก  ปราสาททรงเรือนชั้นแบบเขมรด้วย  และที่สำ�คัญ  ภายในจระนำ�ของเจดีย์ประจำ�มุม  ตะวันออกเฉียงเหนือ ยังเหลือหลักฐานพระพุทธรูปลีลาซึง่ เป็นแบบอย่างเฉพาะของศิลปะ  สุโขทัย ส่วนรูปทรงรูปแบบเจดีย์ทรงระฆังขนาดเล็ก เป็นสมัยอยุธยาตอนปลายแล้ว  อาจมีชื่อเรียกว่า เจดีย์คะแนน เรียงรายบนขอบรอบฐานไพที

100 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน


ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 101


พิษณุโลก กำ�แพงเพชร พิจิตร ชัยนาท พิษณุโลก

ในสมัยสุโขทัย พิษณุโลกเคยเป็นราชธานีชั่วคราว เนื่องจากพระเจ้าลิไท

เสด็จจากสุโขทัยมาประทับระยะหนึ่ง  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เมื่อครั้งยังไม่ได้เสด็จ  ขึน้ เสวยราชสมบัตทิ กี่ รุงศรีอยุธยา เคยประทับอยูใ่ นเมืองพิษณุโลก เพราะพระราชมารดา  ของพระองค์เป็นเจ้าหญิงสุโขทัย เมือ่ เสวยราชย์แล้ว สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถประทับทีอ่ ยุธยาระยะหนึง่  ก็เสด็จ  ขึ้นมาประทับที่พิษณุโลกเพื่อทรงสกัดกองทัพจากเมืองเชียงใหม่ของพระเจ้าติโลกราช  ซึ่งลงมายึดได้เมืองศรีสัชนาลัย สงครามและการเจรจายืดเยื้อกว่า ๒๐ ปี  กองทัพเมือง  เชียงใหม่จึงถอยกลับไป  ครั้งนั้นอยุธยารวบเอาราชธานีสุโขทัยและเมืองบริวาร ซึ่งรวม  เมืองพิษณุโลก ไว้ในอาณาจักรของกรุงศรีอยุธยา พิษณุโลกยังเคยเป็นเมืองที่ประทับของสมเด็จพระนเรศวรก่อนเสวยราชย์   หลัง  จากนัน้ ผูค้ นก็ยงั อยูต่ ดิ ต่อกันมาโดยไม่เคยรกร้าง ต่อมาถึงปัจจุบนั บ้านเมืองเจริญด้วยผูค้ น  ที่เพิ่มจำ�นวนขึ้นเป็นลำ�ดับ จำ�นวนวัดร้าง ซากโบราณสถานจึงเหลืออยู่น้อย

พระราชวังจันทน์  สมัยอยุธยาตอนกลาง (ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๐) พระราชวังจันทน์อยูท่ างตะวันตกภายในบริเวณกำ�แพงเมืองพิษณุโลก ทาง  ฝั่งตะวันตกของแม่นํ้าน่าน ตรงข้ามวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ   สมเด็จพระนเรศวรมหาราช  ทรงมีพระราชสมภพทีเ่ มืองนี ้  และประทับทีพ่ ระราชวังจันทน์เมือ่ ทรงดำ�รงพระอิสริยยศเป็น  สมเด็จพระมหาอุปราชของกรุงศรีอยุธยา ก่อนจะเสด็จลงไปครองราชสมบัตทิ กี่ รุงศรีอยุธยา  หลังจากนั้นความสำ�คัญของพระราชวังจันทน์คงลดถอยลงเป็นลำ�ดับ  บางครั้งอาจเป็น  ทีป่ ระทับชัว่ คราวของเจ้านายจากกรุงศรีอยุธยาเมือ่ เสด็จผ่าน หรือเป็นทีพ่ �ำ นักของเจ้าเมือง  ในสมัยต่อมา รวมถึงอาจเป็นที่ทำ�การชั่วคราวของเจ้านายขุนนาง

118 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน


ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 119


วัดเจดีย์ยอดทอง  สมัยสุโขทัย (ต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๐) ปัจจุบนั เป็นวัดทีม่ พี ระภิกษุจ�ำ พรรษา เจดียป์ ระธานทรงยอดดอกบัวตูมของ  วัดจึงอยูใ่ นสภาพดี  คงสร้างขึน้ ในสมัยสุโขทัย  แต่สว่ นฐานซ้อนลดหลัน่ มากเกินแบบอย่าง  ประเพณีของเจดีย์ทรงนี้  คงเป็นความคิดแผลงของช่างพิษณุโลกในสมัยนั้น

120 รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน


วัดโพธิ์ทอง  สมัยสุโขทัย (ต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๐) เจดีย์ประธานของวัดร้าง คงสร้างในสมัยสุโขทัย  ร่องรอยหลงเหลือน้อย

เพียงส่วนฐาน อาจเป็นฐานของเจดียพ์ มุ่ ข้าวบิณฑ์  หรือทีเ่ รียกว่า “เจดียท์ รงยอดดอกบัวตูม” ด้านหน้าทางตะวันตกและทางตะวันออกเหลือฐานสีเ่ หลีย่ มด้านเท่า คงเป็นฐาน  ของมณฑปก่อด้วยอิฐ  ร่องรอยของหลุมเป็นแถวบนขอบฐาน เข้าใจว่าสำ�หรับปักเสาไม้  เพื่อรองรับชายหลังคาของมณฑป ท้ายวัดมีเพียงร่องรอยของซากฐานเช่นกัน อาจมีเจดีย์ยอดทรงดอกบัวตูม โดย  มีอาคารขนาดเล็กอยู่ด้านหน้า  สันนิษฐานว่าคงมีเจดีย์ทรงระฆังอยู่เยื้องทางด้านหน้า  (ตะวันออก) ของวัดร้างแห่งนี้

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม 121


รูปแบบสันนิษฐาน

สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน

ราว ๔๐ ปี วิธีคิด วิธีนำ�เสนอของข้าพเจ้าแปลกเปลี่ยนมาเป็นลำ�ดับ ภาพประกอบจำ�นวนมากในหนังสือเล่มใหม่ของข้าพเจ้า เกิดจากประสบการณ์ด้านงานประวัติศาสตร์ศิลปะ กับการศึกษาวิเคราะห์เพื่อจัดทำ�รูปแบบสันนิษฐานจากซากโบราณสถาน มาสู่พื้นฐานของศิลปะร่วมสมัยและใช้ชื่อ “รูปแบบสันนิษฐาน สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน”

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม

หมวดศิลปะไทย ราคา ๖๙๐ บาท ISBN 978-616-465-041-1

รูปแบบสันนิษฐาน

สู่งานศิลปะจาก ๕๙ ซากโบราณสถาน ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ เล็กสุขุม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.