การชอคไฟฟ้า

Page 1

คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล เอกสารประกอบการสอน การรักษาภาวะหัวใจเต นผิดจังหวะ โดยการใช เครื่องช็อกไฟฟ า อาจารย ดร. ศรินรัตน ศรีประสงค

วิชาปฏิบัติการพยาบาล ผู ใหญ และผู สูงอายุ ๑ (พยอย ๓๘๓) หลักสูตรพยาบาลศาสตร บัณฑิตชั้นป ที่ ๓


สารบัญ บทนํา การรักษาด วยการช็อคไฟฟ า defibrillation หลักพื้นฐานของการใช งานเครือ่ ง Defibrillator การช็อคไฟฟ า defibrillation แบบ manual โดยใช paddles การทํา synchronized cardioversion

การช็อกไฟฟ า โดยใช soft paddles การรักษาภาวะหัวใจเต นช าด วยการกระตุ น หัวใจ (Transcutaneous pacing)


บทนํา ในการเข าห องปฏิบตั ิการนี้ นักศึกษาจะได รบั คําแนะนําการใช เครื่องช็อกไฟฟ า ที่เรียกกัน สั้นๆ ว า เครือ่ ง defib (ดีฟ ) (defibrillation)

บทนํา โดยจะแบ งออกเป น 4 ส วน คือ 1.การช็อคไฟฟ า defibrillation แบบ Manual 2.การทํา synchronized cardioversion 3.การช็อกไฟฟ า โดยใช soft paddles 4.การรักษาภาวะหัวใจเต นช าผิดปกติด วย เครื่องกระตุ นหัวใจ (Transcutaneous pacing) สารบัญ


การช็อคไฟฟ า defibrillation

การรักษาด วยการช็อคไฟฟ า

การช็อคไฟฟ า Defibrillation เป นการ รักษาภาวะหัวใจเต นเร็วผิดปกติชนิดรุนแรง โดยการปล อยไฟฟ ากระแสตรงทีม่ พ ี ลังงาน สูงเข าสู หวั ใจในช วงเวลาสั้นๆ เพื่อให หวั ใจ กลับมาเต นใหม เป นปกติ

จะทําในผู ปว ยทีม่ ภี าวะหัวใจเต นเร็วผิดปกติ ชนิดรุนแรง ได แก Ventricular Fibrillation (VF) รูปร างคล ายเวลาเราเขียนลองปากกา ปกติ


การรักษาด วยการช็อคไฟฟ า จะทําในผู ป วยทีม่ ี ภาวะหัวใจเต นเร็วผิดปกติชนิดรุนแรง ได แก

Pulseless Ventricular Tachycardia (VT)

แผนภูมทิ ี่ 1 Basic life support algorithm ผู ป วยไม รู สกึ ตัว ไม หายใจ หายใจเฮือก เรียกขอความช วยเหลือ ขอรถ emergency, เครื่อง defibrillator, ตาม แพทย คลําชีพจร carotid ใช เวลาไม เกิน 10 วินาที

Torsade de point

คลําชีพจรได ช วยหายใจ 1 ครั้ง ทุก 5 – 6 วินาที คลําชีพจรซ้าํ ทุก 2 วินาที


แผนภูมทิ ี่ 1 BLS ต อ คลําชีพจร carotid ใช เวลาไม เกิน 10 วินาที คลําชีพจรไม ได เริ่มกดหน าอก CPR (30:2) (2) ให Oxygen ทาง Ambu bag c mask เครื่อง defibrillator มาถึง ติด monitor ดู ECG Check rhythm ว าเป น Shockable rhythm หรือไม Shockable rhythm: VF, VT, Torsade

แผนภูมทิ ี่ 1 BLS ต อ Check rhythm ว าเป น Shockable rhythm หรือไม Shockable NonShockable ทํา CPR ต อทันที 2 นาที Check rhythm ทุก 2 Shock 1 ครั้ง นาที ทํา CPR ต อทันที 2 นาที IV/IO access (30:2 จํานวน 5 รอบ) ทํา CPR ต อ จนกว าแพทย IV/IO access หรือทีม ACLS จะมา หรือจนกว าผูป ว ยขยับ Non- Shockable rhythm: Asystole, Pulseless Electrical Activity (PEA)


แผนภูมทิ ี่ 1 BLS ต อ CPR Quality 1. กดหน าอกลึก 2 นิ้ว (5 cm) ไม เกิน 2.4 นิ้ว (6 cm) 2. อัตราเร็ว 100 – 120 ครั้ง/นาที 3. ให หน าอกคืนตัวทุกครั้ง ก อนกดหน าอกครั้งถัดไป 4. รบกวนการกดหน าอกน อยที่สดุ 5. หลีกเลี่ยงการช วยหายใจที่มากเกินไป (Excessive ventilation) สารบัญ

Basic life support algorithm


หลักพื้นฐานของการใช งานเครื่อง Defibrillator i. 1 2 3 Concept ii. การเลือกสัญญาณคลืน่ ไฟฟ าหัวใจ จาก ผู ป วยสูต ัวเครือ่ ง ผ าน Paddle iii. การต อ EKG monitor lead ผ าน Red dots สารบัญ

หลักพื้นฐานของการใช งานเครือ่ ง Defibrillator

i. 1 2 3 Concept


หลักพื้นฐานของการใช งานเครือ่ ง Defibrillator

ii. การเลือกสัญญาณคลืน่ ไฟฟ าหัวใจ จากผูป ว ยสู ตวั เครื่อง ผ าน Paddle

หลักพื้นฐานของการใช งานเครือ่ ง Defibrillator

ii. การเลือกสัญญาณคลืน่ ไฟฟ าหัวใจ จากผู ปว ยสู ตัวเครื่อง ผ าน EKG lead ต างๆ


หลักพื้นฐานของการใช งานเครือ่ ง Defibrillator

iii. การต อ EKG monitor lead ผ าน Red dots

W=Rt

B=LA

R=LL

สารบัญ


การช็อคไฟฟ า defibrillation แบบ manual โดยใช paddles 1. จัดผูป ว ยให อยู ในทีป่ ลอดภัย (นอนราบ) ห างจากน้าํ ไม สัมผัสกับโลหะ

2. เป ดเครือ่ ง defibrillato r (หมายเลข 1)

การช็อคไฟฟ า defibrillation แบบ manual โดยใช paddles

3. ถ าต องการดูคลืน่ ไฟฟ าหัวใจอย างรวดเร็ว “Qucik look” ให ใช paddles ทั้งสองอัน วางทีต่ าํ แหน ง sternum และ apex กดปุ ม lead select ให ขนึ้ คําว า “paddle” จะปรากฏคลืน่ ไฟฟ าหัวใจขึ้นในจอภาพ

Sternum

Apex


การช็อคไฟฟ า defibrillation แบบ manual โดยใช paddles

3. ติดขั้ว electrode ที่หวั ไหล และหน าท อง ผู ป วย เพือ่ ดูคลืน่ ไฟฟ าหัวใจตลอดเวลา

การช็อคไฟฟ า defibrillation แบบ manual โดยใช paddles

4. หมุนปุ มเลือกพลังงานไฟฟ า (หมายเลข 1) ตามคําสั่งแพทย

1 เลือกพลังงาน


การช็อคไฟฟ า defibrillation แบบ manual โดยใช paddles

5.ทา electrode gel ที่ paddle แล ววาง paddle ลงบนผิวหนังตามตําแหน ง apex และ sternum กด paddle ให สัมผัสกับผนังทรวง อกให แน น ระวัง gel ไหลจาก paddle อันหนึง่ ไปถึงอีกอันหนึง่ เพราะจะทําให เกิดไฟฟ าลัด วงจร

การช็อคไฟฟ า defibrillation แบบ manual โดยใช paddles

6.กดปุ ม charge ไฟ (หมายเลข 2 บนเครือ่ ง หรือ ที่ paddle)

2


การช็อคไฟฟ า defibrillation แบบ manual โดยใช paddles

การช็อคไฟฟ า defibrillation แบบ manual โดยใช paddles

7. แจ งทีม หนึ่ง ฉันถอย สอง คุณถอย สาม ทุกคนถอย

8.กดปุ ม discharge ที่ paddle (หมายเลข 3) ทั้งสองข าง และแจ งทีม “ช็อค” เพื่อปล อย พลังงานไฟฟ าสู ผ ปู วย

3


การช็อคไฟฟ า defibrillation แบบ manual โดยใช paddles

9. ให ทาํ CPR ต อทันที นาน 2 นาที แล วค อย ตรวจดูคลืน่ ไฟฟ าหัวใจและชีพจร

การช็อกไฟฟ าโดยเร็ว + CPR ให ผลบวกที่สาํ คัญยิ่ง การทํา defibrillation ปุ ม synchronization ต องอยู ในตําแหน ง OFF เสมอ ในผูช ายทีม่ ขี นหน าอกดก บางครั้งอาจต อง โกนขน บริเวณทีจ่ ะติด pad ออกก อน

สารบัญ


การทํา Synchronized cardioversion

การทํา Synchronized cardioversion

การช็อกไฟฟ าแบบ synchronized cardioversion ใช รกั ษาภาวะหัวใจเต นเร็วผิดปกติ ทีม่ ี QRS แคบ (ไม เกิน 3 ช องเล็ก) แต อาการไม คงที่ (unstable)


การทํา Synchronized cardioversion อาการไม คงที่ (unstable) ได แก • อาการแสดงของ poor perfusion • การมีสติสมั ปชัญญะเปลีย่ นไป • อาการเจ็บหน าอก • ความดันเลือดต่ํา • อาการช็อก • ปอดบวมน้าํ

Tachycardia Algorithm ประเมินลักษณะทางคลินิกโดยรวม Tachycardia ที่ทําให เกิดอาการ ควรมี HR  150 BPM ประเมินและรักษาโรคพื้นฐาน  เป ด Airway ช วยการหายใจ (Breathing) ถ าจําเป น  ให ออกซิเจน ถ ามี Hypoxia เป ด IV  Monitor EKG, BP, Pulse oximetry


การทํา Synchronized cardioversion การทําการช็อกไฟฟ าแบบนี้ จะต องกดปุม Sync ซึ่งเครื่องจะแสดง marker ที่ R wave เพือ่ ทีเ่ ครือ่ งจะปล อยกระแสไฟฟ าไปทีค่ ลืน่ QRS complex หลีกเลีย่ งการปล อยกระแสไฟฟ าในช วง relative refractory period* ซึ่งจะกระตุ นให เกิด VF ได

การทํา Synchronized cardioversion


การทํา Synchronized cardioversion

การทํา Synchronized cardioversion

อย าลืม sedate ผู ป วย สารบัญ


การช็อกไฟฟ า โดยใช Soft paddles

ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. เตรียมผิวหนังบริเวณที่ จะติดแผ น electrode/pad ถ ามีขนมากควรโกนขนออก 2. กดปุ มเครื่องเป ดและหมุนปุ ม monitor on


ขั้นตอนการปฏิบตั ิ 3. ติด soft paddle ที่ sternum และ apex

4. ถอดสาย ที่ใช กบั hard paddle จาก ตัวเครื่อง


ขั้นตอนการปฏิบตั ิ 5. ต อสาย electrode pad ต อเข ากับ electrode cable ของ ตัวเครื่อง เครื่องพร อมทีจ่ ะทําการ รักษาด วยไฟฟ าทัง้ แบบ การช็อกไฟฟ า defibrillation และ การทํา synchronized cardioversion สารบัญ


การทํา Transcutaneous pacemaker เป นการรักษาภาวะหัวใจเต นช ากว า 50 ครั้ง/นาที และผูป ว ยอาการไม คงที่ คือ ความดันโลหิตต่ํา เจ็บหน าอก ระดับความรูต วั เปลีย่ นแปลง ฯ โดยการตั้งเครือ่ งจะส งสัญญาณไฟฟ าผ านทาง soft paddle ไปกระตุ นให เกิด electrical depolarization ทีก่ ล ามเนือ้ หัวใจและทําให หวั ใจ มีการบีบตัว


ขั้นตอนการปฏิบตั ิ pacing 1. เตรียมผิวหนังบริเวณทีจ่ ะติดแผ น electrode ถ ามีขนมากควรโกนขนออก 2. ติด soft paddle ที่ sternum และ apex หรือบริเวณด านหน าที apex และด านหลัง 3. เปลีย่ นสายเป น Electrode pad cable และ ต อกับ Electrode pad 4. เป ดเครือ่ งเพือ่ แสดงภาพคลืน่ ไฟฟ าหัวใจ


ขั้นตอนการปฏิบตั ิ pacing (ต อ) 5. ติด ECG cable Select lead เป น I หรือ II 6. หมุนปุ ม (หมายเลข 1 ) ไปที่ pacing 7. ตั้งอัตราเร็วของการกระตุ น (heart rate) (ปกติตั้งไว ที่ 80 -100 ครัง้ ต อนาที) (แพทย ) 8. เลือก Mode (Fix mode/ Demand mode) เป น Demand mode (แพทย เป น ผู ทํา) 9. ตั้งค ากระแสไฟฟ า (output) (แพทย เป น ผู ทํา)


การตัง้ pacing

การตัง้ pacing

สารบัญ


เอกสารอ างอิง 1. Defibrillation retrieved from http://www.si.mahidol.ac.th/th/di vision/nursing/ndivision/n_me d/admin/download_files/8_67 _1.pdf 2. เครื องกระตุ้นไฟฟ้ าหัวใจ retrieved from http://www.si.mahidol.ac.th/Th/ division/nursing/NDivision/N_ MED/admin/download_files/11 _67_1.pdf

3. บทที 5 การรั กษาด้ วยไฟฟ้ า retrieved from http://www.thaicpr.com/?q=boo k/export/html/14 4. ศูนย์ ฝึกอบรมปฏิบัติการช่ วยชีวติ คณะ แพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล. เอกสาร ประกอบการอบรม Cardiopulmonary Resuscitation (CPR)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.