nursing planning

Page 1

การวางแผนการพยาบาล (Nursing Planning)

อ.ดร.ศรินรัตน์ ศรีประสงค์ ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


วัตถุประสงค์การเรียนรู ้ เมื่ อนักศึกษาเรี ยนบทนี้ จบ นักศึกษาจะสามารถ • อธิ บายความหมายของการวางแผนการพยาบาลได้ • บอกชนิ ดและส่วนประกอบของแผนการพยาบาลได้ • กําหนดขัน้ ตอนการวางแผนการพยาบาลได้ • กําหนดกิจกรรมการพยาบาลที่เกี่ยวข้องได้ • กําหนดการประเมินผลการพยาบาลได้

สารบัญ ในบทนี้ ประกอบด้วย 4 หน่วยย่อย ดังนี้  ความหมายของการวางแผนการพยาบาล  ชนิ ดและส่วนประกอบของแผนการพยาบาล  ขัน้ ตอนการวางแผนการพยาบาล  กิจกรรมการพยาบาล  การประมินผลการพยาบาล สรุป

2


ความหมาย

การวางแผนการพยาบาล คืออะไร (What is Nursing Planning?)

เป็ นการกําหนดวิธีการปฏิบตั ิการพยาบาล การส่งเสริ มสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟื้ นฟูร่างกาย

ครอบคลุม บทบาทหน้าที่ ของพยาบาล พรศิริ พันธสี, 2553

จุดมุ่งหมายของการวางแผนการพยาบาล (Nursing Planning)

•ใครได้ประโยชน์จากแผนการพยาบาล? ผูร้ บั บริ การ

ทีมสุขภาพ

โรงพยาบาล

ทีมพยาบาล

องค์กร/ วิชาชีพ

ผูด้ ูแล & ญาติ

(Alfaro-LeFevre, 2010)


Types of Planning ชนิ ดของการวางแผนการพยาบาล • Initial planning

เริ่มเข้า

• Ongoing planning

เมื่ออยู่ในร.พ.

• Discharge planning

จําหน่ ายกลับ..

Discharge planning การวางแผนจําหน่าย D-METHODS คําแนะนําก่อนกลับบ้าน เรื่องโรคที่เป็ น D iagnosis M edications เรื่องการใช้ยา การออกกําลังกาย และกิจกรรม E xercise T reatment/therapy การรักษา การดูแลสุขภาพ H ygiene O ut-patient follow up การมาตรวจตามนัด อาหารที่เหมาะกับโรค D iet/nutrition S exual activity/spirituality เพศสัมพันธ์/จิตใจ


องค์ประกอบของแผนการพยาบาล Major Care Plan Component : EASE E : Expected outcomes มีเป้าหมาย A : Actual & Potential problems ปัญหาจริ ง หรื อเสี่ยงต่อปัญหา S : Specific intervention กิจกรรมเฉพาะ E : Evaluation /Progress notes บันทึกชัด

E : Expected outcomes มีเป้าชัดเจน E: Evaluation /Progress notes

•บันทึกชัด

•S : Specific intervention กิจกรรมเฉพาะ

• A : Actual & Potential problems ปัญหาจริ ง


ขัน้ ตอนการวางแผน การพยาบาล (Nursing Planning) 1. จัดลําดับความสําคัญ ของปัญหา

3. กําหนดกิจกรรมการ พยาบาล (Establishing

(Priority setting)

Nursing Intervention)

2. กําหนดเป้าหมาย ทางการพยาบาล & ผลลัพท์ท่ ีตอ้ งการ

4. การเขียนแผน การพยาบาล

(Establishing Goals & Outcomes)

(Care Planning)

(Alfaro-LeFevre, 2002)


ขัน้ ตอนการวางแผน การพยาบาล (Nursing Planning) 1. จัดลําดับความสําคัญของปัญหา (Priority setting)

รุ นแรง

โดยประเมินผูป้ ่ วยตามระดับ 1.1 ความรุ นแรงของภาวะสุขภาพ 1.2 ความต้องการของผูป้ ่ วย (ตามหลักของมาสโลว์)

ไม่รุนแรง ไม่ตอ้ งการ

ต้องการมาก (Alfaro-LeFevre, 2002)


ขัน้ ตอนการวางแผน การพยาบาล (Nursing Planning)

2. กําหนดเป้าหมายทางการพยาบาล & ผลลัพธ์ท่ ีตอ้ งการ

เป็ นสัปดาห์ เป็ น เดื อ น การกําหนดเป้าหมาย ได้ 2 ลักษณะ

•เป้าหมายระยะยาว (Long-term Goal)

(Establishing Goals & Outcomes)

เป้าหมายหรื อผลลัพธ์ หมายถึง ผลที่จะ เกิดขึ้นกับผูป้ ่ วยภายหลังการพยาบาล (Alfaro-LeFevre, 2002)

น้อยกว่าสัปดาห์

•เป้าหมายระยะสัน้ (Short–Term Goal) (จันทร์เพ็ญ สันตวาจา, อภิญญา เพียรพิจารณ์, & รัตนาภรณ์ ศิริวฒั น์ชยั พร, 2553)


ขัน้ ตอนการวางแผน การพยาบาล (Nursing Planning) 2.หลักในการกําหนดเป้าหมาย/ผลลัพธ์

Establishing Goals /Outcomes 1. มุง่ เน้นที่ปัญหา/ความต้องการของผูป้ ่ วย (focused on patient’s needs )

2. มีความชัดเจน สังเกตได้ • เพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการหายใจ 3. เป็ นข้อเท็จจริ ง วัดได้ • ลดการติดเชื้ อในทางเดินอาหาร 4. บ่งชี้ขอบเขตของเวลา • บรรเทาอาการปวดแผล 5. ต้องคํานึ งถึง การมีสว่ นร่วมของผูร้ ับบริ การ (พรศิริ พันธสี, 2552)

•บ่งบอกพฤติกรรม การคงสภาพ (Maintain) การป้องกัน (Prevent) การปรับปรุ ง (Improve) การบํารุ ง (Restore)

•แสดงทิศทางของ การปฏิบตั ิ (Alfaro-LeFevre, 2002)

การเพิ่ม (Increase)

การลด (Decrease)

การบรรเทา (Relief)


ขัน้ ตอนการวางแผน การพยาบาล (Nursing Planning)

2.การกําหนดเกณฑ์ของผลลัพธ์ (Outcome Criteria)

เพื่ อกําหนดมาตรฐาน--ในการวัด/การประเมิน oประสิ ทธิ ภาพ & ประสิ ทธิ ผลของกิจกรรมการพยาบาล o ว่าเกิดผลลัพธ์การพยาบาลตามที่คาดหวัง o ว่าบรรลุตามเป้าหมายของการพยาบาล o มีความสอดคล้องกับเป้าหมายของการพยาบาล

ลักษณะที่จาํ เป็ นของ การกําหนดเกณฑ์ของผลลัพธ์ (Outcome Criteria) 1. สัมพันธ์กบั เป้าหมายการพยาบาล 2. ทุกคนวัดได้ตรงกัน ตัวอย่าง จุดมุ่งหมาย: 3. เป็ นรู ปธรรม ได้รับสารอาหารเพียงพอกับ ความต้องการของร่างกาย

4. ผลลัพธ์ในทิศทางบวก

เกณฑ์การประเมินผล: 1. ได้รับสารอาหารวันละ 2500 Kcal 2. มีนํ้าหนักเพิ่มขึ้นอยูใ่ นมาตรฐาน 3. ผิวหนังมีความยื ดหยุน่ ดี (จันทร์เพ็ญ สันตวาจา, อภิญญา เพียรพิจารณ์, & รัตนาภรณ์ ศิริวฒั น์ชยั พร, 2553)


ขัน้ ตอนการวางแผน การพยาบาล (Nursing Planning) 3. การกําหนดกิจกรรมการพยาบาล (Establishing Nursing Intervention)

เป็ นเทคนิ คและวิธีการ ปฏิบตั ิทางการพยาบาล

บทบาทการพยาบาล (Nursing Roles) • บทบาทอิสระ (Independent role) เป็ นกิจกรรมพยาบาล ที่พยาบาลสามารถปฏิบตั ิได้ดว้ ยตนเอง ตามขอบเขตของกฏหมาย โดยไม่ตอ้ งมีคาํ สัง่ การรักษา

อาศัยหลักการทางทฤษฎี การพยาบาล

ที่มีความจําเพาะเจาะจงกับผูป้ ่ วย ตาม 4 หน้าที่หลัก คื อ ส่งเสริ ม ป้องกัน ดูแล แสดงถึงบทบาทอิสระ หรื อ จัดการ และฟื้ นฟู กึ่งอิสระ หรื อ ไม่อิสระ โดยคํานึ งถึงความเป็ นปัจเจกบุคคล เอกสิ ทธิ์ ค่านิ ยม ความเชื่ อ จิตใจ อารมณ์ และสังคมของผูป้ ่ วย (พรศิ ริ พันธสี , 2553)

• บทบาทไม่อิสระ (Dependent /Collaborative role) เป็ นกิจกรรมพยาบาล ที่พยาบาลปฏิบตั ิตามแผนการรักษา หรื อการช่วยเหลื อแพทย์ในการตรวจรักษาโรค

(พรศิ ริ พันธสี , 2553)


บทบาทการพยาบาล(Nursing Roles) ต่อไปนี้ บทบาทใดเป็ นบทบาทอิสระ/บทบาทไม่อิสระ • การสอน • การฉี ดยา • การเจาะเลื อด • การสวนอุจจาระ • การให้คาํ ปรึ กษา • การให้ยารับประทาน • การปลอบใจ ให้กาํ ลังใจ • บทบาทอิสระ (Independent role) เป็ นกิจกรรมพยาบาล ที่พยาบาลสามารถปฏิบตั ิได้ดว้ ยตนเอง ตามขอบเขตของกฏหมาย โดยไม่ตอ้ งมีคาํ สัง่ การรักษา

•การสวนปัสสาวะ •การจัดสภาพแวดล้อม •การให้อาหารทางสายยาง •การให้คาํ แนะนําการปฏิบตั ิตวั •การช่วยแพทย์ทาํ การเจาะปอด •การให้สารนํ้าทางหลอดเลื อดดํา •การแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย

• บทบาทไม่อิสระ (Dependent /Collaborative role) เป็ นกิจกรรมพยาบาล ที่พยาบาลปฏิบตั ิตามแผนการรักษา หรื อการช่วยเหลื อแพทย์ในการตรวจรักษาโรค (พรศิ ริ พันธสี , 2553)


3. แนวทางการกําหนดกิจกรรมการพยาบาล

(Establishing Nursing Intervention)

การกําหนดกิจกรรมพยาบาลที่ •สอดคล้องกับข้อวินิจฉัย/เป้าหมายการพยาบาล •ครอบคลุม 4 มิติ ส่งเสริ ม ป้องกัน จัดการ ดูแล & ฟื้ นฟูสุขภาพ •ครอบคลุมทัง้ 4 ด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์สงั คม และจิตวิญญาณ •ควรให้ผูป้ ่ วย & ครอบครัวมีสว่ นร่วมในการดูแลตนเอง ด้วย •ครอบคลุมกิจกรรมที่เกี่ยวกับการรักษา ความปลอดภัย & การป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้น (Risk management) (พรศิ ริ พันธสี , 2553)

เหมาะสมกับ ผูป้ ่ วย บุคลากร สภาพหอผูป้ ่ วย วัฒนธรรม และสังคม โดยคํานึ งถึง •เป็ นกิจกรรมที่สามารถปฏิบตั ิได้จริ ง •อาศัยความรู ้ & ความสามารถของพยาบาล •เน้นการใช้แหล่งทรัพยากรที่เหมาะสม •เป็ นกิจกรรมที่ไม่ขดั แย้งกับแผนการรักษา •เป็ นกิจกรรมที่ไม่ขดั แย้งกับความเชื่ อ ศาสนา วัฒนธรรม •เป็ นกิจกรรมที่ไม่ขดั แย้งกับจริ ยธรรมทางการ พยาบาล & สิ ทธิ ผูป้ ่ วย

(พรศิ ริ พันธสี , 2553


3. แนวทางการกําหนดกิจกรรมการพยาบาล

(Establishing Nursing Intervention)

ตัวอย่างกิจกรรมพยาบาลในการพยาบาล ข้อวินิจฉัยการพยาบาล: ปวดแผลผ่าตัดเต้านม • กิจกรรมการพยาบาลสามารถแบ่งตาม 4 มิติ (ของการ ปฏิบตั ิการพยาบาลคื อ ส่งเสริ ม ป้องกัน จัดการ & ฟื้ นฟู)

เนื่ องจาก ปัญหาเกิดแล้ว กิจกรรมแรกคื อ - การจัดการหรื อดูแล • ให้ผูป้ ่ วยได้รบั ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา • ช่วยเหลื อกิจกรรมเพื่ อบรรเทาปวด - การป้องกัน • การแนะนําเรื่ องการเปลี่ยนท่า - การให้คาํ แนะนําการป้องกันระยะยาว

(พรศิ ริ พันธสี , 2553)

ดังนัน้ กิจกรรมการพยาบาลจะมีการเรี ยงลําดับแตกต่างกัน ตามปัญหา เช่น ผูป้ ่ วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน กิจกรรมแรก คือ - การลดปัจจัยเสี่ยง (ถ้าทราบ) - การติดตามประเมินว่าความเสี่ยงเกิดขึ้นหรื อยัง - การให้คาํ แนะนําแก่ผูป้ ่ วยและผูแ้ ลเพื่ อป้องกัน ระยะยาว

(พรศิ ริ พันธสี , 2553


ขัน้ ตอนการวางแผน การพยาบาล (Nursing Planning) 4. การเขียนแผน การพยาบาล (Care Planning) ข้อวินิจฉัยการ พยาบาล 1. ความทนในการทํา กิจกรรมลดลง ข้อมูลสนับสนุ น บ่นเหนื่ อยเวลาคุย หายใจเร็ ว 24/min Lung: crepitation BL

2………

เป้ าหมายและเกณฑ์ การประเมิน 1.สามารถทํา กิจกรรมโดยไม่เหนื่ อย เกณฑ์การประเมิน -ไม่มีอาการเหนื่ อย เวลาทํากิจกรรม เช่น หายใจ 16-20/min -Lung no crep..

การพยาบาลและ เหตุผล 1. ช่วยเหลื อในการทํา กิจกรรม 2. แบ่งการทํากิจกรรม ย่อยๆ ให้มีเวลาพัก 3. สังเกตอาการ

4. แนวทางการเขียนแผนการพยาบาล (Care Planning) 1.เขียนข้อวินิจฉัยการพยาบาลและข้อมูลสนับสนุ น โดยเรี ยงลําดับความสําคัญก่อนหลัง 2.กําหนดเป้าหมาย หรื อผลลัพธ์ท่ ีตอ้ งการ และเกณฑ์ท่ ี ทําให้ทราบว่า เป้าหมายบรรลุ วัดได้ 3. เขียนกิจกรรมพยาบาลที่สอดคล้องกับข้อวินิจฉัย/ เป้าหมายการพยาบาล ครอบคลุม 4 มิติ ส่งเสริ ม/ สร้างเสริ ม ป้องกัน รักษา & ฟื้ นฟูสุขภาพ ทัง้ ด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ 4. ระบุเหตุผลในแต่ละกิจกรรม 5. กิจกรรมต้องชัดเจน พยาบาลคนอื่ นสามารถทําตาม ได้ โดยไม่ตอ้ งสอบถามคนเขียน รายละเอียดกิจกรรม แผ่นที่ 19


วางแผนการประเมินและ ติดตามผล

สรุ ป ขัน้ ตอนการวางแผน การพยาบาล (Nursing Planning) จัดลําดับความสําคัญของ ปัญหาของผูป้ ่ วยตาม

-ระดับความรุ นแรงของสภาพ หรื อปัญหา -ความสามารถในการแก้ไข -การป้องกัน -โอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน

ระบุเป้าหมายของการดูแล

-ตัง้ ผลลัพธ์ท่ ีตอ้ งการ สภาพที่ แสดงว่าผูป้ ่ วยได้รับการ แก้ไข ป้องกัน ดูแล จัดการ ปัญหาแล้ว เป็ น อาการ หรื ออาการแสดง -เฉพาะเจาะจง วัดได้ ตาม ความสามารถของผูป้ ่ วย และสภาพของร่างกาย

วางแผนกิจกรรมการพยาบาล -เพื่ อช่วยผป.และญาติ ในการ จัดการอุปสรรคของการดูแล สุขภาพ จัดการความเจ็บป่ วย -ให้ผป.และญาติมีสว่ นร่วมใน การจัดการดูแลอาการของ ตนเอง -หาวิธีการที่จะช่วยผูด้ ูแลผูป้ ่ วย -หาเครื่ องมื อหรื อแหล่ง สนับสนุ น

-ประเมินผลลัพท์ตาม เป้าหมาย -วางแผนการประเมิน/ เครื่ องมื อที่ใช้


การปฏิบัติการพยาบาล

Nursing Intervention


Nursing Intervention เป็ นการนําแผนการพยาบาลที่วางไว้ ไปปฏิบตั ิจริ งกับผูร้ บั บริ การ Nursing Intervention Action

เพื่ อให้ผูร้ บั บริ การมีสุขภาพที่ดี แก้ไขความผิดปกติหรื อ ภาวะสุขภาพที่เป็ นปัญหา เพื่ อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของการพยาบาลที่ตงั้ ไว้ (พรศิ ริ พันธสี , 2553)

การปฏิบตั กิ ารพยาบาล


การปฏิบตั กิ ารพยาบาล พยาบาลผูป้ ฏิบตั ิ

• • • •

ต้องมีความรู ้ มีทกั ษะการพยาบาล มีการตัดสินใจทางคลิ นิกที่ดี มีการติดต่อสื่อสารที่ดี

อย่างมีประสิทธิภาพ ขึ้นอยูก่ บั สิ่งสําคัญในการปฏิบตั ิการพยาบาล คือ การจัดระบบการทํางาน และ การทํางานเป็ นทีม เพื่อให้ผรู ้ บั บริการทุกคน ได้รบั การดูแลอย่างเหมาะสม ตามปั ญหาและความรุนแรงของโรค


การปฏิบตั กิ ารพยาบาล

มีกิจกรรมการพยาบาล ดังนี้

ลักษณะของการปฏิบตั ิ คํานึ งถึง

• การจัดบุคลากรและการมอบหมายงานให้เหมาะสม • การเตรี ยมและดูแลอุปกรณ์ เครื่ องใช้ให้เพียงพอ และอยูใ่ นสภาพที่พร้อมใช้งาน •การดูแลสิ่ งแวดล้อมที่มีผลต่อภาวะสุขภาพ

บุคคล

พยาบาล สิ่ งแวดล้อม

สุขภาพ (พรศิ ริ พันธสี , 2553)


Nursing Intervention มีกิจกรรมการพยาบาล ดังนี้

การปฏิบตั กิ ารพยาบาล มีกิจกรรมการพยาบาล ดังนี้

1. การให้ขอ้ มูลที่จาํ เป็ นสําหรับผูร้ บ ั บริการ

เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่ วย การปฏิบตั ิตน หรื อ ข้อมูลที่จาํ เป็ นต่อการตัดสิ นใจ เลื อกวิธีการรักษา

(พรศิ ริ พันธสี , 2553)

2. การสอน การให้ความรู ้ การให้คําแนะนํ า เช่น การสอนสุขศึ กษา การส่งเสริ มสุขภาพ การ ป้องกันโรค การดูแลตนเองเมื่ อเจ็บป่ วย การป้องกัน ภาวะแทรกซ้อน การฟื้ นฟูสุขภาพ และ การดูแล ต่อเนื่ องเมื่ อกลับบ้าน


การปฏิบตั กิ ารพยาบาล

มีกิจกรรมการพยาบาล ดังนี้ (ต่อ) 3. การให้คําปรึกษา

การปฏิบตั กิ ารพยาบาล มีกิจกรรมการพยาบาล ดังนี้ (ต่อ) 4. การบําบัดทางการพยาบาล

ได้แก่ การเผชิญและการจัดการกับความเครี ยด การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใหม่เมื่ อเกิดความเจ็บป่ วย การประคับประคองด้านจิตใจ อารมณ์ ได้แก่ การช่วยเหลื อดูแลด้านสุขอนามัยและความสุข สบาย การช่วยเหลื อในการทํากิจวัตรประจําวัน การ ดูแลให้ได้รบั อาหารทางปากและทางสายยาง การดูแล เกี่ยวกับการขับถ่าย การสวนปัสสาวะ การทําแผล เป็ นต้น

(พรศิ ริ พันธสี , 2553


การปฏิบตั กิ ารพยาบาล

มีกิจกรรมการพยาบาล ดังนี้ (ต่อ) 5. การดูแลช่วยเหลื อให้ผูป้ ่ วยได้รบั การ

รักษาตามแผนการรักษา

ได้แก่ การให้ยารับประทาน การฉี ดยา การให้เลื อด การให้สารนํ้าทางหลอด เลื อดดํา การเก็บเสมหะ เลื อด ส่งตรวจ การส่งผูป้ ่ วยไปรับการตรวจพิเศษ เป็ นต้น

การปฏิบตั กิ ารพยาบาล มีกิจกรรมการพยาบาล ดังนี้ (ต่อ) 6. การประเมินสภาพซํ้า

การเฝ้ าระวัง

ได้แก่ การวัดสัญญาณชีพ (วัดไข้ จับชีพจร นับหายใจ วัดความดันโลหิ ต) ประเมินระดับความปวด การสังเกต การตรวจร่างกายผูป้ ่ วยเป็ นระยะ เพื่ อประเมินและหา อันตรายที่จะเกิดขึ้นกับผูป้ ่ วย และให้ความช่วยเหลื อ ผูป้ ่ วยได้ทนั ท่วงที

(พรศิ ริ พันธสี , 2553


ตัวอย่างกิจกรรมพยาบาล

Nursing Intervention

ข้อวินิจฉัยการพยาบาล: ปวดแผลผ่าตัดเต้านม กิจกรรมการพยาบาล ส่งเสริ ม ตาม 4 มิติ คื อ จัดการ

กิจกรรม พยาบาล

ป้องกัน

ฟื้ นฟู (พรศิ ริ พันธสี , 2553)

กิจกรรมการพยาบาล คื อ - การจัดการ/ดูแลให้ผูป้ ่ วยได้รบั ยาแก้ปวดตาม แผนการรักษา - ช่วยเหลื อกิจกรรมเพื่ อบรรเทาปวด - การแนะนําเรื่ องการเปลี่ยนท่า - การแนะนําการป้องกันระยะยาว

(พรศิ ริ พันธสี , 2553


ตัวอย่างกิจกรรมพยาบาลในการพยาบาล

ส่งเสริ ม

Nursing Intervention

ดังนัน้ กิจกรรมการพยาบาลจะเรี ยงลําดับแตกต่างกัน ตามปัญหา เช่น ผูป้ ่ วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน

จัดการ

กิจกรรม พยาบาล

ป้องกัน

ฟื้ นฟู

กิจกรรมการพยาบาล อันดับแรก คือ -การลดปัจจัยเสี่ยง (ถ้าทราบ) -การติดตามประเมินว่าความเสี่ยงเกิดขึ้นหรื อยัง -การให้คาํ แนะนําแก่ผูป้ ่ วยและผูแ้ ลเพื่ อป้องกันระยะยาว (พรศิ ริ พันธสี , 2553)

(พรศิ ริ พันธสี , 2553


การประเมินผลการพยาบาล Nursing evaluation


การประเมินผลการพยาบาล Nursing evaluation เป็ นการประเมินผลการปฏิบตั ิกิจกรรมการพยาบาลที่ ความหมาย ให้กบั ผูป้ ่ วย ว่าได้ผลลัพธ์เป็ นอย่างไร • จากอาการ อาการแสดง ผลการตรวจต่างๆ หรื อ พฤติกรรมสุขภาพของผูป้ ่ วย • ภายหลังได้รบั การพยาบาล ว่า มีการเปลี่ยนแปลงที่บรรลุเป้าหมาย ที่ตงั้ ไว้หรื อไม่ • โดยเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์/ตัวชี้วดั ที่กาํ หนดไว้ในขัน้ ตอน การวางแผนการพยาบาล


การประเมินผลการพยาบาล

ชนิ ดของการประเมินผลการพยาบาล 1. การประเมินผลในขณะปฏิบตั ิ Formative evaluations

เป็ นการประเมินผลตลอดเวลา ที่ให้การพยาบาล อย่างต่อเนื่ อง จนสิ้ นสุดการปฏิบตั ิตามแผนนั้นๆ

2. การประเมินผลเมื่ อสิ้ นสุดการปฏิบตั ิ Summative evaluations

เป็ นการประเมินผลรวบยอดในสถานการณ์และ ช่วงเวลาหนึ่ ง เช่น ผูป้ ่ วยพ้นจากระยะวิกฤต


พิจารณาตามเกณฑ์ การประเมินผล

ตรงตามเป้าหมายที่ได้กาํ หนดไว้

เก็บรวบรวม ข้อมูล

เพื่ อนําข้อมูลไปหาข้อสรุ ป

ตัดสิ นผลการ ประเมิน

ขัน้ ตอน การประเมินผล การพยาบาล

ว่าการพยาบาลบรรลุ เป้าหมายหรื อไม่

บันทึกผลการ ประเมิน

เพื่ อเป็ นหลักฐาน


การประเมินผลการพยาบาล การตัดสินผลการประเมิน มี 3 ลักษณะ 1.ปัญหาได้รบั การแก้ไขแล้ว 2.ปัญหาได้รบั การแก้ไขเพียงบางส่วน 3. ปัญหาไม่ได้รบั การแก้ไข


การประเมินผลการพยาบาล การตัดสิ นผลการประเมิน มี 3 ลักษณะ

1.ปัญหาได้รบั การแก้ไขแล้ว 2.ปัญหาได้รบั การแก้ไขเพียง

บางส่วน

3. ปัญหาไม่ได้รบั การแก้ไข

หมายถึง สภาพผูป้ ่ วยบรรลุเป้ าหมาย/ ผลลัพท์ ของข้อวินิจฉัยการพยาบาลนั้น การพยาบาลที่ให้แก่ผปู ้ ่ วยนั้นยุตไิ ด้ หมายถึง สภาพผูป้ ่ วยบรรลุเป้ าหมาย/ ผลลัพท์การพยาบาลเพียงบางส่วน ต้องการ กิจกรรมการพยาบาลต่อไป หมายถึง สภาพผูป้ ่ วยไม่เปลี่ยนแปลง ไม่ บรรลุเป้ าหมายการพยาบาลเลย ต้องการ การเริ่มกระบวนการพยาบาลใหม่


พยาบาลต้องเริ่มกระบวนการพยาบาลใหม่ การประเมินผลการพยาบาล - ตั้งแต่ข้นั ตอนการประเมินว่า ข้อมูลที่รวบรวม การตัดสิ นผลการประเมิน มี 3 ลักษณะ ได้น้ันมีความถูกต้อง สมบูรณ์ ครบถ้วน? - อาจพิจารณาข้อวินิจฉัยการพยาบาลและ 1.ปัญหาได้รบั การแก้ไขแล้ว แผนการพยาบาล ว่า มีส่วนไหนบกพร่อง หรือ 2.ปัญหาได้รับการแก้ไขเพียงบางส่วน ไม่เหมาะสมกับสภาพผูป ้ ่ วย เพื่อปรับปรุงข้อวินิจฉัยหรือแผนการพยาบาล 3. ปัญหาไม่ได้รบั การแก้ไข - ใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือ ผูป้ ่ วยจนกว่าจะบรรลุเป้ าหมายที่ตอ้ งการ คือ แก้ปัญหาผูป้ ่ วยได้


การประเมินผลการพยาบาล

ไม่ใช่ การประเมินผลการปฏิบตั ิของพยาบาล

เป็ นการประเมินที่ตวั ผูป้ ่ วยว่า มีอาการเปลี่ยนแปลงอย่างไร หลังให้กิจกรรมการพยาบาล บรรลุเป้าหมาย หรื อ เป็ นไปตามผลลัพธ์ท่ ีคาดหมายหรื อไม่

เช่น ผูป้ ่ วยมีไข้สูง 39 C การประเมินผลการพยาบาล คื อ หลังการเช็ดตัวลดไข้ ผูป้ ่ วยไข้ลดลง 38 C

เป็ นการประเมินว่า พยาบาลได้ทาํ อะไรให้กบั ผูป้ ่ วยบ้าง มากน้อยเพียงใด เช่น ผูป้ ่ วยมีไข้สูง 39 C การประเมินผลการปฏิบตั ิของพยาบาล คื อ พยาบาลได้ทาํ การเช็ดตัวลดไข้ และให้ยาลดไข้แก่ผูป้ ่ วยแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่า ผูป้ ่ วยไข้ลดลงหรื อยัง


การประเมินผลการพยาบาล

ไม่ใช่

เกณฑ์การประเมินผลการพยาบาล

เป็ นพฤติกรรม อาการหรื ออาการแสดง ของผูป้ ่ วยที่เปลี่ยนแปลงไปจริ งๆ หลังได้รบั การพยาบาล

เป็ นค่ามาตรฐาน หรื อค่าปกติ ที่จะเป็ นแนวทางให้ทราบว่า การพยาบาลได้ บรรลุเป้าหมาย หรื อผลลัพธ์ท่ ีพยาบาลคาดหวัง ว่าผูป้ ่ วยจะมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีข้ ึน

เช่น ผูป้ ่ วยมีไข้สูง 39 C การประเมินผลการพยาบาล คื อ หลังการเช็ดตัวลดไข้ ผูป้ ่ วยไข้ลดลง 38 C

เช่น ผูป้ ่ วยมีไข้สูง 39 C เกณฑ์การประเมินผลการพยาบาล คื อ ผูป้ ่ วยไม่มีไข้ อุณหภูมิร่างกายไม่เกิน 37.4 C


สรุ ป การประเมินผลการพยาบาล

สรุ ป กระบวนการพยาบาล

เป็ นขัน้ ตอนสุดท้ายของกระบวนการพยาบาล

เป็ นกระบวนการที่มีความชัดเจนในการปฏิบตั ิ

ปัญหาได้รับการแก้ไขอย่าง สมบูรณ์

สามารถทําให้เกิดคุณภาพของการพยาบาลได้

ปัญหาได้รับการแก้ไขเพียงบางส่วน ปัญหาไม่ได้รับการแก้ไข

ตอบสนองความต้องการของผูร้ บั บริ การได้ถูกต้อง เพื่ อประโยชน์ในการสื่ อสารกับทีมสุขภาพ ก่อให้เกิดความเป็ นเอกภาพในวิชาชีพ พยาบาลต้องมีความเข้าใจ สามารถนําไปใช้ใน อย่าง ต่อเนื่ อง มีประสิ ทธิ ภาพ


เอกสารอ้างอิง • จันทร์เพ็ญ สันตวาจา, อภิญญา เพียรพิจารณ์, & รัตนาภรณ์ ศิริวฒ ั น์ชยั พร. (2553). แนวคิดพื้ นฐาน ทฤษฎีและกระบวนการพยาบาล นนทบุรี: โครงการ สวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก. • พรศิริ พันธสี. (2553). กระบวนการพยาบาล & แบบแผนสุขภาพ: การประยุกต์ใช้ทางคลินิก (พิมพ์ ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: พิมพ์อกั ษร. • Seaback, W. W. (2013). Nursing process : concepts and applications (3rd ed.). Clifton Park, NY: Delmar, Cengage Learning. • Alfaro-LeFevre, R. (2010). Applying nursing process : A tool for critical thinking (7th ed.). Philadelphia: Wolters Kluwer/ Lippincott Williams & Wilkins.

คิดแบบพยาบาล

It’s in your “Hand”


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.