การประเมินผลการพยาบาล Nursing evaluation
การประเมินผลการพยาบาล Nursing evaluation เป็ นการประเมินผลการปฏิบตั ิกิจกรรมการพยาบาลที่ ความหมาย ให้กบั ผูป้ ่ วย ว่าได้ผลลัพธ์เป็ นอย่างไร • จากอาการ อาการแสดง ผลการตรวจต่างๆ หรื อ พฤติกรรมสุขภาพของผูป้ ่ วย • ภายหลังได้รับการพยาบาล ว่า มีการเปลี่ยนแปลงที่บรรลุเป้าหมาย ที่ตงั้ ไว้หรื อไม่ • โดยเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์/ตัวชี้วดั ที่กาหนดไว้ในขัน้ ตอน การวางแผนการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล ชนิ ดของการประเมินผลการพยาบาล 1. การประเมินผลในขณะปฏิบตั ิ Formative evaluations
เป็ นการประเมินผลตลอดเวลา ที่ให้การพยาบาล อย่างต่อเนื่ อง จนสิ้ นสุดการปฏิบตั ิตามแผนนั้นๆ
2. การประเมินผลเมื่ อสิ้ นสุดการปฏิบตั ิ Summative evaluations
เป็ นการประเมินผลรวบยอดในสถานการณ์และ ช่วงเวลาหนึ่ ง เช่น ผูป้ ่ วยพ้นจากระยะวิ กฤต
พิจารณาตามเกณฑ์ การประเมินผล
ตรงตามเป้าหมายที่ได้กาหนดไว้
เก็บรวบรวม ข้อมูล
เพื่ อนาข้อมูลไปหาข้อสรุ ป
ตัดสิ นผลการ ประเมิน
ขัน้ ตอน การประเมินผล การพยาบาล
ว่าการพยาบาลบรรลุ เป้าหมายหรื อไม่
บันทึกผลการ ประเมิน
เพื่ อเป็ นหลักฐาน
การประเมินผลการพยาบาล การตัดสินผลการประเมิน มี 3 ลักษณะ 1.ปัญหาได้รับการแก้ไขแล้ว 2.ปัญหาได้รับการแก้ไขเพียงบางส่วน 3. ปัญหาไม่ได้รับการแก้ไข
การประเมินผลการพยาบาล การตัดสินผลการประเมิน มี 3 ลักษณะ
หมายถึง สภาพผูป้ ่ วยบรรลุเป้ าหมาย/ ผลลัพท์ ของข้อวินิจฉัยการพยาบาลนั้น การพยาบาลที่ให้แก่ผปู ้ ่ วยนั้นยุตไิ ด้
1.ปัญหาได้รับการแก้ไขแล้ว 2.ปัญหาได้รับการแก้ไขเพียง
บางส่วน
หมายถึง สภาพผูป้ ่ วยบรรลุเป้ าหมาย/ ผลลัพท์การพยาบาลเพียงบางส่วน ต้องการ กิจกรรมการพยาบาลต่อไป
3. ปัญหาไม่ได้รับการแก้ไข
หมายถึง สภาพผูป้ ่ วยไม่เปลี่ยนแปลง ไม่ บรรลุเป้ าหมายการพยาบาลเลย ต้องการ การเริ่มกระบวนการพยาบาลใหม่
พยาบาลต้องเริ่มกระบวนการพยาบาลใหม่ การประเมินผลการพยาบาล - ตั้งแต่ข้นั ตอนการประเมินว่า ข้อมูลที่รวบรวม การตัดสินผลการประเมิน มี 3 ลักษณะ ได้น้ันมีความถูกต้อง สมบูรณ์ ครบถ้วน? - อาจพิจารณาข้อวินิจฉัยการพยาบาลและ 1.ปัญหาได้รับการแก้ไขแล้ว แผนการพยาบาล ว่า มีส่วนไหนบกพร่อง หรือ 2.ปัญหาได้รับการแก้ไขเพียงบางส่วน ไม่เหมาะสมกับสภาพผูป ้ ่ วย เพื่อปรับปรุงข้อวินิจฉัยหรือแผนการพยาบาล 3. ปัญหาไม่ได้รับการแก้ไข - ใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือ ผูป้ ่ วยจนกว่าจะบรรลุเป้ าหมายที่ตอ้ งการ คือ แก้ปัญหาผูป้ ่ วยได้
การประเมินผลการพยาบาล
ไม่ใช่ การประเมินผลการปฏิบตั ิของพยาบาล
เป็ นการประเมินที่ตวั ผูป้ ่ วยว่า มีอาการเปลี่ยนแปลงอย่างไร หลังให้กิจกรรมการพยาบาล บรรลุเป้าหมาย หรื อ เป็ นไปตามผลลัพธ์ท่ ีคาดหมายหรื อไม่
เช่น ผูป้ ่ วยมีไข้สูง 39 C การประเมินผลการพยาบาล คื อ หลังการเช็ดตัวลดไข้ ผูป้ ่ วยไข้ลดลง 38 C
เป็ นการประเมินว่า พยาบาลได้ทาอะไรให้กบั ผูป้ ่ วยบ้าง มากน้อยเพียงใด เช่น ผูป้ ่ วยมีไข้สูง 39 C การประเมินผลการปฏิบตั ิของพยาบาล คื อ พยาบาลได้ทาการเช็ดตัวลดไข้ และให้ยาลดไข้แก่ผูป้ ่ วยแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่า ผูป้ ่ วยไข้ลดลงหรื อยัง
การประเมินผลการพยาบาล
ไม่ใช่
เกณฑ์การประเมินผลการพยาบาล
เป็ นพฤติกรรม อาการหรื ออาการแสดง ของผูป้ ่ วยที่เปลี่ยนแปลงไปจริ งๆ หลังได้รับการพยาบาล
เป็ นค่ามาตรฐาน หรื อค่าปกติ ที่จะเป็ นแนวทางให้ทราบว่า การพยาบาลได้ บรรลุเป้าหมาย หรื อผลลัพธ์ท่ ีพยาบาลคาดหวัง ว่าผูป้ ่ วยจะมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีข้ ึน
เช่น ผูป้ ่ วยมีไข้สูง 39 C การประเมินผลการพยาบาล คื อ หลังการเช็ดตัวลดไข้ ผูป้ ่ วยไข้ลดลง 38 C
เช่น ผูป้ ่ วยมีไข้สูง 39 C เกณฑ์การประเมินผลการพยาบาล คื อ ผูป้ ่ วยไม่มีไข้ อุณหภูมิร่างกายไม่เกิน 37.4 C
สรุ ป การประเมินผลการพยาบาล
สรุ ป กระบวนการพยาบาล
เป็ นขัน้ ตอนสุดท้ายของกระบวนการพยาบาล
เป็ นกระบวนการที่มีความชัดเจนในการปฏิบตั ิ
ปัญหาได้รับการแก้ไขอย่าง สมบูรณ์
สามารถทาให้เกิดคุณภาพของการพยาบาลได้
ปัญหาได้รับการแก้ไขเพียงบางส่วน ปัญหาไม่ได้รับการแก้ไข
ตอบสนองความต้องการของผูร้ ับบริ การได้ถูกต้อง เพื่ อประโยชน์ในการสื่ อสารกับทีมสุขภาพ ก่อให้เกิดความเป็ นเอกภาพในวิชาชีพ พยาบาลต้องมีความเข้าใจ สามารถนาไปใช้ใน อย่าง ต่อเนื่ อง มีประสิ ทธิ ภาพ
เอกสารอ้างอิง • จันทร์เพ็ญ สันตวาจา, อภิญญา เพียรพิจารณ์, & รัตนาภรณ์ ศิริวฒ ั น์ชยั พร. (2553). แนวคิดพื้ นฐาน ทฤษฎีและกระบวนการพยาบาล นนทบุรี: โครงการ สวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก. • พรศิริ พันธสี. (2553). กระบวนการพยาบาล & แบบแผนสุขภาพ: การประยุกต์ใช้ทางคลินิก (พิมพ์ ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: พิมพ์อกั ษร. • Seaback, W. W. (2013). Nursing process : concepts and applications (3rd ed.). Clifton Park, NY: Delmar, Cengage Learning. • Alfaro-LeFevre, R. (2010). Applying nursing process : A tool for critical thinking (7th ed.). Philadelphia: Wolters Kluwer/ Lippincott Williams & Wilkins.
คิดแบบพยาบาล
It’s in your “Hand”