Functional Health Patterns

Page 1

การซักประวัติตามแบบแผนสุ ขภาพ (Functional health patterns) z

อ.ดร.ศรินรัตน์ ศรีประสงค์ ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


z

แบบแผนสุขภาพ ๑๑ แบบแผน

Functional health patterns ถูกพัฒนาโดย Marjory Gordon ให้สอดคล้องกับหลักความต้องการของบุคคล เพื่อเป็ นกรอบแนวคิดในการประเมินภาวะสุขภาพ และการวินิฉยั ทางการพยาบาล


z

แบบแผนสุขภาพ ๑๑ แบบแผน ( ๑ – ๔ )

1 การรับรูแ้ ละการดูแลสุขภาพ (Health perception-health management pattern) 2. โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร (Nutritional-metabolic pattern) 3. แบบแผนการขับถ่าย (Elimination pattern) 4. แบบแผนการทากิจกรรมและการออกกาลังกาย (Activity-exercise pattern)

75 ปี


z

แบบแผนสุขภาพ ๑๑ แบบแผน ( ๕ – ๘)

5. แบบแผนการพักผ่อนและการนอนหลับ (Sleep-rest pattern) 6. แผนการรูค้ ิด การรับรู ้ และการติดต่อสื่อสาร (Cognitive – perceptual communication pattern) 7. แบบแผนการรับรูต้ นเอง อัตมโนทัศน์ ภาพลักษณ์ และสภาพ อารมณ์ (Self-perception-self-concept pattern) 8. แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ (Role-relationship pattern)

75 ปี


z

แบบแผนสุขภาพ ๑๑ แบบแผน (๙–๑๑)

9. แบบแผนเพศและการเจริญพันธุ์ (Sexuality-relationship pattern) 10. แบบแผนความเครียด ความทนต่อความเครียด และการ แก้ปัญหา (Coping–stress-tolerance pattern) 11. แบบแผนคุณค่าความเชื่อและสุขภาวะทางจิตวิญญาณ (Value belief-spiritual pattern)

75 ปี


z

แบบแผนที่ 1 การรับรูแ้ ละการดูแลสุขภาพ

เป็ นการรับรูข้ องผูร้ บั บริการ เกี่ยวกับภาวะสุขภาพของตนเอง พฤติกรรม และกิจกรรมการดูแลตนเอง ได้แก่  พฤติกรรมการแสวงหาสุขภาพ (Health seeking behaviors),  การจัดการสุขภาพ (Health maintenance),  การรับประทานยาต่อเนื่ อง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Adherence

to medication & lifestyle),  การดูแล/จัดการตนเอง (Self Care management),  การติดเชื้ อ บาดเจ็บ พลัดตกหกล้ม (infection, injury, fall)


z

แบบแผนที่ 1 การรับรูแ้ ละการดูแลสุขภาพ

ตัวอย่างคาถาม  ทราบไหมว่า เป็ นโรคอะไรบ้าง ทราบวิธีการดูแลตนเองหรือไม่ ถ้า

ทราบดูแลตนเองอย่างไร  เมื่อเจ็บป่ วย/บาดเจ็บ ผูป้ ่ วยปฏิบตั ิอย่างไร  เคยรักษาแบบพื้ นบ้านหรือไม่ เคยรักษาด้วยวิธีการใดบ้าง  รับรูผ้ ลกระทบของภาวะเจ็บป่ วยต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตเป็ น อย่างไร


z

แบบแผนที่ 1 การรับรูแ้ ละการดูแลสุขภาพ

ตัวอย่างคาถาม  เคยดื่มสุราหรือเครื่องดื่มมึนเมาเป็ นประจาหรือไม่ หากเคยดื่มหรือ

ยังดื่มอยู่ ให้ระบุรายละเอียด ให้ระบุรายละเอียดของชนิ ด จานวน อะไรเป็ นปั จจัยส่งเสริม/อุปสรรคในการหยุดดื่ม หรือกลับมาดื่มใหม่  เคยสูบบุหรี่หรือไม่ ถ้าเคยให้ซกั ถามรายละเอียดเกี่ยวกับ ชนิ ด จานวน ระยะเวลาที่สูบ ระดับความรุนแรง  เคยใช้ยาหรือสารเสพติดอะไร เป็ นประจา หากเคยใช้ชนิ ดใด ปริมาณเท่าไร เหตุจงู ใจให้ใช้สารเสพติดคืออะไร


z

แบบแผนที่ ๒ โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร (Nutritional-metabolic pattern)

 เพื่อประเมินพฤติกรรมการรับประทานอาหาร โดยการพิจารณาความ

สอดคล้องกับอาหารที่ควรได้รบั และน้ าหนักตัว  ประเมินปั จจัยต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการได้รบั สารอาหาร น้ าและแกลือแร่ ค้นหาสิ่งบ่งชี้ ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงของภาวะทุพโภชนาการ เช่น ความ อยากอาหารลดลง  ประเมินการทางานของร่างกายที่เกี่ยวข้องกับภาวะโภชนาการ ได้แก่ การเคี้ ยว การกลืน การย่อย การดูดซึม และการเผาผลาญ


z

แบบแผนที่ ๒ โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร (Nutritional-metabolic pattern)

ตัวอย่างคาถาม  ปกติอาหารที่รบั ประทานคืออะไร (มื้ อเช้า กลางวัน เย็น เสริมมื้ ออื่น)  น้ าที่ดื่มเป็ นประจามีอะไรบ้าง ปริมาณเท่าใด  มีน้ าหนักตัวเปลี่ยนแปลง (เพิ่ม/ลด) ในช่วง 1เดือนที่ผ่านมาไหม ถ้า มีเป็ นมานานแค่ไหน  มีเบื่ออาหารไหม


z

แบบแผนที่ ๒ โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร (Nutritional-metabolic pattern)

ตัวอย่างคาถาม  มีปัญหาการกลืน การเคี้ ยว หรือถูกจากัดอาหารไหม  การเป็ นแผล หายช้า หรือปกติ  มีผิวแห้ง มีรอยโรคบ้างไหม  มีปัญหาปาก เหงือกอักเสบ ฟั นปลอม ฟั นผุไหม


z

แบบแผนที่ ๓ การขับถ่าย  เป็ นแบบแผนเกี่ยวกับการขับถ่ายของเสียทุกช่องทาง ทั้ง การถ่าย

อุจจาระ ปั สสาวะ และเหงื่อ รวมทั้งการรับรูข้ องผูป้ ่ วยว่าเป็ นปกติ หรือผิดปกติ  โดยครอบคลุมความสามารถในการขับถ่ายด้วยตนเอง ลักษณะสิ่ง

ที่ขบั ถ่ายจากร่างกาย ปั ญหาในการขับถ่ายและปั จจัยที่ส่งเสริม หรือเป็ นอุปสรรค


z

แบบแผนที่ ๓ การขับถ่าย ตัวอย่างคาถาม : การขับถ่ายอุจจาระ  ถ่ายอุจจาระบ่อยแค่ไหน วันละกี่ครั้ง หรือครั้งละกี่วนั  ลักษณะของอุจจาระ ปกติ เป็ นก้อน หรือเป็ นน้ า ลักษณะสีดา แดง  ปั ญหาในการขับถ่าย เช่น ท้องผูก ปวดท้อง กลั้นไม่ได้ เป็ นบ่อยแค่ ไหน  ถ้ามีปัญหาการขับถ่ายแก้ไขอย่างไร การใช้ยาระบาย ยาสมุนไพร


z

แบบแผนที่ ๓ การขับถ่าย ตัวอย่างคาถาม : การขับถ่ายปั สสาวะ-เหงื่อ  ถ่ายปั สสาวะกี่ครั้งในตอนกลางวัน กลางคืนหลังเข้านอนกี่ครั้ง  ลักษณะสี กลิ่น ปริมาณมีการเปลี่ยนแปลงไหม มีฟองไหม  ปั ญหาการกลั้น/ควบคุมไม่ได้ ดูแลอย่างไร  ปั ญหาการถ่ายปั สสาวะลาบาก แสบขัด กระปริกระปรอย จัดการ อย่างไร  เหงื่อที่ออกมากตอนไหน กลิ่นรบกวนผูอ้ ื่นไหม


z

แบบแผนที่ ๔ กิจกรรมและออกกาลังกาย  เป็ นแบบแผนที่เกี่ยวข้องกับการออกกาลังกาย การทากิจวัตรประจาวัน

การทางานอดิเรก งานสันทนาการ การเล่นกีฬา  ตัวอย่างคาถาม  ในแต่ละวัน ตั้งแต่ตื่นนอน ท่านทาอะไรบ้าง กิจวัตรประจาวัน เช่น การอาบน้ า

แต่งตัว รับประทานอาหาร เดิน เคลื่อนไหว ทรงตัว การดูแล/ทางานบ้าน  มีปัญหาขณะทากิจกรรมนั้น ๆ หรือไม่  แต่ละกิจกรรมที่ทา ใช้ระยะเวลานานเท่าใด


z

แบบแผนที่ ๔ กิจกรรมและออกกาลังกาย  ตัวอย่างคาถาม  กิจกรรมการทางาน ประกอบอาชีพอะไร ต้องทาอะไรบ้าง เช่นยืนเดิน  การทางานอดิเรก นันทนาการ การใช้เวลาว่าง การออกกาลังกาย การ

เล่นกีฬา มีปัญหาในขณะทากิจกรรมนั้น ๆ หรือไม่  ความถี่ในการทา ระยะเวลาที่ทา (โดยเฉพาะกาออกกาลังกาย)  มีโรคประจาตัวที่ขดั ขวางการทากิจกรรมไหม


z

แบบแผนที่ ๔ กิจกรรมและออกกาลังกาย  ตัวอย่างคาถาม  กิจกรรมการทางาน ประกอบอาชีพอะไร ต้องทาอะไรบ้าง เช่นยืนเดิน  การทางานอดิเรก นันทนาการ การใช้เวลาว่าง การออกกาลังกาย การ

เล่นกีฬา มีปัญหาในขณะทากิจกรรมนั้น ๆ หรือไม่  ความถี่ในการทา ระยะเวลาที่ทา (โดยเฉพาะกาออกกาลังกาย)  มีโรคประจาตัวที่ขดั ขวางการทากิจกรรมไหม


z

แบบแผนที่ ๔ กิจกรรมและออกกาลังกาย ระดับความสามารถในการทากิจกรรม (Functional Levels Code)  Level 0: ทาได้ดว้ ยตนเอง (Full self-care)  Level I: ต้องใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือ เช่น ไม้เท้า (Requires use of equipment or device)  Level II: ต้องการการช่วยเหลือหรือคาแนะนาจากคนอื่น แล้วทาต่อเองได้ เช่น พยุงลุก ขึ้ น แต่เดินเองได้ (Requires assistance or supervision of another person)  Level III: ต้องการความช่วยเหลือจากคนอื่น และใช้อุปกรณ์ช่วย (Requires assistance or supervision of another person and equipment or device)  Level IV: ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้เลย ต้องมีผดู ้ ูแลช่วยเหลือตลอดเวลา (Is dependent and does not participate)


z

แบบแผนที่ ๕ การพักผ่อนและการนอนหลับ  เป็ นแบบแผนที่เกี่ยวข้องกับการพักผ่อนในชีวิตประจาวัน พฤติกรรมการ

นอนและการผ่อนคลาย  ตัวอย่างคาถาม • นอนวันละกี่ชวั ่ โมง นอนตอนกลางวันหรือกลางคืน • หลับสนิ ทไหม หรือตื่นๆหลับๆ • เมื่อตื่นนอนรูส้ ึกอย่างไร (สดชื่น ง่วง ไม่ประปรี้ กระเปร่า) • มีอาการเหนื่ อยจนต้องตื่นมานัง่ ไหม • มีปัญหานอนไม่หลับไหม ถ้ามีจดั การอย่างไร • มีการกรนไหม ฝั นร้ายบ่อยไหม


z

แบบแผนที่ ๖ การรูค้ ิด การรับรู ้ และการสื่อสาร  เป็ นแบบแผนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางความคิดของสมองที่

ทาให้บุคคลคนหนึ่ งเกิดความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ ด้วยการใช้เหตุผล และใช้ประสบการณ์ที่ผ่านมาในกระบวนการทางความคิดนี้  การรับรู ้ เป็ นการแปลความจากสิ่งที่รบั รูจ้ ากประสาทสัมผัส  การสื่อสาร เป็ นการประเมินวิธีการใช้ภาษาพูด ท่าทาง น้ าเสียง


z

แบบแผนที่ ๖ การรูค้ ิด การรับรู ้ และการสื่อสาร  แบบแผนนี้ นอกจากการซักประวัติ ต้องทาการสังเกตผูร้ บั บริการด้วย  การรับรูบ้ ุคคล สถานที่ เวลา ความรู ้ ความจา การโต้ตอบ ระดับ

สติปัญญา ผลการเรียน เป็ นต้น  การรับรู:้ การได้ยน ิ การมองเห็น อาการชา ปั ญหาและการแก้ไข การใช้ เครื่องช่วยหรือไม่  ความสามารถในการโต้ตอบ สื่อสาร การใช้ภาษาทางกาย


z

แบบแผนที่ ๗ การรับรูต้ นเอง อัตมโนทัศน์ และ สภาพอารมณ์

 เป็ นการประเมินความเชื่อ ความรูส้ ึกของบุคคลที่มีต่อตนเอง 3 มิติ คือ

การรับรูภ้ าพลักษณ์/สภาพร่างกาย คุณค่าของตนเอง ความเป็ นตัวของ ตัวเอง หรือเอกลักษณ์ รวมถึงการรับรูส้ ภาวะทางอารมณ์  ตัวอย่าง: ซักถามเกี่ยวกับความรูส้ ึกที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย จากความเจ็บป่ วยของตนเอง ความรูส้ ึกผิด ความดีและการมีคุณค่าของ ตนเอง หรือสิ่งที่ผูป้ ่ วยนึ กคิดเกี่ยวกับตนเองทั้งด้านบวก (ด้านดี) และ ด้านลบ (ด้านไม่ดี)


z

แบบแผนที่ ๗ การรับรูต้ นเอง อัตมโนทัศน์ และ สภาพอารมณ์

 ตัวอย่างคาถาม:  คิดว่าเป็ นคนอย่างไร/มีนิสยั อย่างไร คิดว่าสามารถพัฒนาตนเอได้ดีไหม  ต้องการเป็ นคนอย่างไร อยากมีความสามารถอย่างไร  รูส้ ึกอย่างไรต่อสภาพตนเอง ตอนที่เจ็บป่ วย (เช่นถูกดั เต้านม ตัดอวัยวะ)  คิดว่าตนเองมีจุดเด่น/จุดด้อยอะไรบ้าง  คนอื่นมองคุณอย่างไร  สภาพอารมณ์เป็ นย่างไร พื้ นฐานอารมณ์เป็ นอย่างไร


z

แบบแผนที่ ๘ บทบาท และสัมพันธภาพ

 เป็ นการประเมินการรับรูแ้ ละการแสดงออกถึงบทบาทในหน้าที่การงาน

ในครอบครัว ตลอดความรับผิดชอบ ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว ที่ ทางาน  ตัวอย่าง: คุณอยูก่ บั ใคร ครอบครัวมีอะไรบ้าง มีปัญหาในครอบครัวไหม ครอบครัวจัดการปั ญหาอย่างไร คุณช่วยจัดการปั ญหาอย่างไร ครอบครัว คิดอย่างไรกับการเจ็บป่ วยของคุณ ในที่ทางานมีปัญหาไหม มีเพื่อนสนิ ท ไหม รูส้ ึกโดดเดี่ยวไหม


z

แบบแผนที่ ๙ เพศและการเจริญพันธ์

 เป็ นการประเมินการกระทาหรือการแสดงเพศสัมพันธ์ การรับรูต้ าม

บริบททางสังคม วัฒนธรรม แบบแผนนี้ ต้องระมัดระวัง ความพร้อมใน การให้ขอ้ มูลของผูร้ บั บริการ ต้องมีสมั พันธภาพที่ดีก่อน  ตัวอย่างคาถาม: ประวัติประจาเดือน เริ่มมีเมื่อใด แต่ละครั้งมีกี่วนั อาการร่วมขณะมีประจาเดือน จานวนบุตร วิธีคุมกาเนิ ด และอาการ ข้างเคียงจากการคุมกาเนิ ด ความสัมพันธ์ระหว่างเพศ มีปัญหาเรื่อง เพศสัมพันธ์หรือไม่ และการป้ องกันโรคทางเพศสัมพันธุห์ รือไม่


z

แบบแผนที่ ๑๐ ความเครียด ความทนต่อ ความเครียด และการแก้ปัญหา

 เป็ นการประเมินสถานการณ์/เหตุการณ์ที่เกิดขึ้ นในชีวติ ที่ก่อให้เกิด

ความเครียดและการไขปั ญห การได้รบั การสนับสนุ นจากเพื่อน ครอบครัว  ตัวอย่างคาถาม: ในช่วง 1 ปี ที่ผ่านมา มีการเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญใน ชีวติ ของผูร้ บั บริการ / บุคคลในครอบครัว มีเรื่องอะไรบ้างที่ทาให้รสู ้ ึกไม่ สบายใจ เครียด และแก้ไขอย่างไร มีการใช้กลไกการป้ องกันทางจิต อย่างไร เช่น ใช้วธิ ีการแก้ปัญหา การเก็บกด การโทษผูอ้ ื่น การจัดการ เพื่อแก้ไขความเครียด สามารถแก้ไขได้ไหม


z

แบบแผนที่ ๑๑ คุณค่าความเชื่อและสุขภาวะทาง จิตวิญญาณ

 เป็ นการประเมินถึงการให้คุณค่ากับชีวิตของผูร้ บั บริการ การให้คุณค่าที่ได

รับอิทธิพลจากศาสนา วัฒนธรรม การกาหนดเป้ าหมายในชีวติ ความหวัง ความสุขทางด้านจิตวิญญาณ  ตัวอย่างคาถาม: มีจุดมุ่งหมายในชีวิตอย่างไร มีแผนสาหรับอนาคต อย่างไร ความรูส้ ึกถึงคุณค่าในชีวติ สิ่งที่ยดึ เหนี่ ยวทางด้านจิตใจคืออะไร สิ่งที่มีความหมายต่อชีวิตผูร้ บั บริการมากที่สุด มีหลักในการดาเนิ นชีวิต อย่างไร ความเชื่อว่าการเจ็บป่ วยครั้งนี้ เกิดจากอะไร อะไรที่ช่วยใหดีขนึ้


z

สรุป

 การประเมินภาวะสุขภาพ ตาม 11 แบบแผน จะช่วยให้พยาบาลสามารถ

รวบรวมข้อมูลของผูร้ บั บริการได้ครอบคลุมทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ ครอบครัว สังคม และทางด้านจิตวิญญาณ เพื่อประกอบแนวทางในการ วินิจฉัยปั ญหาของผูร้ บั บริการได้ และหาแนวทาง จุดเด่นของผูร้ บั บริการ มาใช้ในการช่วยเหลือ ส่งเสริม ป้ องกัน และฟื้ นฟูสภาพของผูร้ บั บริการให้ สามารถมีชีวไิ ด้อย่างมีความสุขและมีคุณภาพ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.