Assessment of age-groups

Page 1

การประเมินผู้ป่วยที่มีความแตกต่างตามวัย Assessment of age-groups อ.ดร.ศรินรัตน์ ศรีประสงค์ ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล sarinrut.sri@mahidol.ac.th


การประเมินผูป ้ ่ วยทีม ่ ค ี วามแตกต่างตามวัย Assessment of age-groups • • • • • • • •

Infancy (birth to 1 year) Toddler (1-3 years) Preschool child (3-6 years) School child (6-12 years) Adolescent (12 – 19 years) Early adult (20 -40 years) Middle adult (40 – 65 years) Late adult ( 65 + years)


การเตรียมเพือ่ การตรวจร่างกาย เด็กทารก Infancy (birth to 1 year) • ถ้าห้องไม่เย็นเกินไป ให้ถอดเสือ ้ ออกหมดเหลือแต่ ผ้าอ้อมไว้ • ให้พอ ่ แม่มส ี ว่ นช่วยเหลือในการตรวจเด็กมากทีส ่ ด ุ • ทาให้เด็กให้ความร่วมมือโดย o ของเล่น o พูดคุยกับเด็กกระหว่างตรวจ o กระตุน ้ ให้พอ ่ แม่ เล่นกับเด็ก


แนวทางการเตรียมเพือ่ ตรวจร่างกาย เด็กทารก Infancy (birth to 1 year) • • • •

ท่าทีใ่ ช้การตรวจ ให้เด็กนอนคว่า นอนหงายโดยให้พอ ่ /แม่อม ุ้ เด็ก พาดบ่าหรือให้น่ งั ตัก


ขัน้ ตอนในการตรวจร่างกาย เด็กทารก Infancy (birth to 1 year) • ถ้าเด็กไม่รอ้ งไห้ ให้ตรวจร่างกายในส่วนทีต ่ อ้ งใช้หู ฟัง (stethoscope)ก่อน ได้แก่ หัวใจ ปอด ช่อง ท้อง แล้วตามด้วยการตรวจร่างกายตามระบบ • ตรวจจากศีรษะจนถึงปลายเท้า โดยใช้ทกั ษะการดู เป็ นส่วนใหญ่


ขัน้ ตอนในการตรวจร่างกาย เด็กทารก Infancy (birth to 1 year) • ไม่ตอ ้ งตรวจตามลาดับ ของการดู คลา เคาะ ฟัง ้ กับความพร้อมของเด็กเป็ นสาคัญ ขึน • การตรวจทีก ่ อ ่ ให้เกิดความกลัว/ความเจ็บปวดให้เก็บ ไว้ตรวจหลังสุด เช่น การใช้เครือ ่ งมือต่างๆ


การเตรียมเพือ่ การตรวจร่างกาย เด็กวัยเตาะแตะ (Toddlers) • ท่าทีใ่ ช้การตรวจ: ท่านั่ง /ท่ายืน ไม่ใช่ทา่ นอน • เพราะเด็กเคลือ ่ นไหวมาก • ให้อยูใ่ กล้ พ่อ/แม่ มากทีส ่ ด ุ


ขัน้ ตอนในการตรวจร่างกาย เด็กวัยเตาะแตะ (Toddlers) • ใช้ทกั ษะการดูให้มากทีส ่ ด ุ • การคลาและการเคาะใช้ในขณะทีเ่ ล่นกับเด็ก • ไม่ตอ ้ งตรวจตามลาดับ ของการดู คลา เคาะ ฟัง ้ กับความพร้อมของเด็กเป็ นสาคัญ ขึน • การตรวจทีก ่ อ ่ ให้เกิดความกลัว/ความเจ็บปวดให้เก็บ ไว้ตรวจหลังสุด เช่น การใช้เครือ ่ งมือต่างๆ


การเตรียมเพือ่ การตรวจร่างกาย เด็กวัยก่อนเรียน (Preschool child) • ท่าทีใ่ ช้การตรวจ: ใช้ทา่ นั่ง/ท่ายืน • ให้พอ ่ แม่อยูด ่ ว้ ย


ขัน้ ตอนในการตรวจร่างกาย เด็กวัยก่อนเรียน Preschool child (3-6 years) • ควรอธิบายการตรวจสัน ้ ๆ • ตรวจจากศีรษะจนถึงปลายเท้า • ระหว่างการตรวจควรพูดคุยกับเด็ก • ถอดเสือ ้ ผ้าเฉพาะบริเวณทีต ่ อ ้ งการตรวจ ้ กับความพร้อมของเด็กเป็ นสาคัญ • การตรวจขึน • การตรวจทีก ่ อ ่ ให้เกิดความกลัว/ความเจ็บปวดให้เก็บ ไว้ตรวจหลังสุด เช่น การใช้เครือ ่ งมือต่างๆ


การเตรียมเพือ่ การตรวจร่างกาย เด็กวัยเรียน (School child 6-12 years) • ท่าทีใ่ ช้การตรวจ: ใช้ทา่ นั่ง ท่านอน ท่ายืน • แต่เด็กจะชอบท่านั่งมากทีส ่ ด ุ • เด็กวัยเรียนตอนต้น ชอบให้พอ ่ แม่อยูด ่ ว้ ย • เด็กวัยเรียนตอนปลายชอบให้พอ ่ แม่ รอนอกห้อง • การตรวจเริม ่ จากศีรษะจนถึงปลายเท้า • ใช้ทกั ษะการดู คลา เคาะ ฟัง


ขัน้ ตอนในการตรวจร่างกาย เด็กวัยเรียน (School child 6-12 years) • อธิบายวิธก ี ารตรวจให้เด็กฟังก่อน • ถอดเสือ ้ ผ้าเฉพาะบริเวณทีต ่ อ ้ งการตรวจ • ไม่ควรทาให้เด็กอาย • ตรวจจากศีรษะจนถึงปลายเท้า • ระหว่างการตรวจควรให้ คาแนะนา/การสอนเกีย่ วกับ ร่างกายและสุขวิทยาส่วนบุคคล


การเตรียมเพือ่ การตรวจร่างกาย เด็กวัยรุน ่ ผูใ้ หญ่ ผูส ้ งู อายุ • ท่าทีใ่ ช้การตรวจ: ใช้ทา่ นั่ง ท่านอน ท่ายืน • ผูป ้ ่ วยต้องการความเป็ นสัดส่วน • เริม ่ ตรวจจากศีรษะจรดปลายเท้า • ใช้ทกั ษะในการดู คลา เคาะ ฟัง • อธิบายวิธก ี ารตรวจและผลตรวจ • อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกควร ตรวจเป็ นลาดับสุดท้าย


เอกสารอ้างอิง • พรศิริ พันธสี. (2553). กระบวนการพยาบาล & แบบแผนสุขภาพ: การประยุกต์ใช้ทางคลินิก (พิมพ์ครัง้ ที่ 5). กรุงเทพฯ: พิมพ์อกั ษร. • สิรริ ตั น์ ฉัตรชัยสุชา. (2553). หลักการและเทคนิคการตรวจร่างกาย. เอกสารประกอบการสอน. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. • อารี ชีวเกษมสุข. (2551). กระบวนการพยาบาลและการประเมิน สุขภาพ: ทฤษฎีและการปฏิบตั .ิ นนทบุร:ี สานักวิชาการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. • Lippincott Williams & Wilkins. (2012). Assessment Made Incredibly Easy! (5th ed.). Philadelphia: Wolters Kluwer Health/Lippincott Williams & Wilkins.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.