หลักทัว่ ไปของการซักประวัติ
และทักษะการสือ่ สาร
หลักทัว่ ไปของการซักประวัติ การแต่งกาย สุภาพ เรียบร้ อย บุคลิกภาพที่ดี นา้ เสียงอ่อนโยน พูดไม่เร็ว/ช้ า ไป เพื่อให้ผปู ้ ่ วยเกิดความรูส้ ึกไว้วางใจในการให้ขอ้ มูล
สถานที่ในการซักประวัติ ควรเงียบ ไม่มเี สียงรบกวน เป็ นสัดส่วน เพื่อให้ ผูป้ ่ วยและพยาบาลมีสมาธิ และไม่เปิ ดเผยความลับของผูป้ ่ วย
จัดท่าผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบาย ไม่กระตุ้นให้ เกิดอาการเจ็บปวด เพื่อให้ผปู ้ ่ วยมี ความพร้อมที่จะให้ขอ้ มูล
วางแผนการซักประวัติ ว่าจะเริ่มเรื่องใดก่อน แต่ละเรื่องมีขอบเขตมากน้ อย เพียงใด ใช้ คาถามอย่างไรเพื่อให้ได้ขอ้ มูลที่ตอ้ งการ และใช้เวลาเหมาะสม กับสภาพผูป้ ่ วย
ทักษะการสือ่ สารในการซักประวัติ การใช้คาถาม ใช้ ได้ ท้งั คาถามปลายเปิ ดและปลายปิ ด คาถามปลายเปิ ดใช้ เมื่อ
• ต้ องการคาอธิบาย • รายละเอียดของข้ อมูล • ต้ องการข้ อมูลที่เป็ นการแสดงการรับรู้อาการ ที่ไม่ควรมีการ ชี้นา
คาถามปลายปิ ดใช้ เมื่อ • ต้ องการคาตอบแบบเฉพาะเจาะจง
ทักษะการสือ่ สารในการซักประวัติ การกล่าวนา
เป็ นเทคนิคการนาทางการสนทนาให้ ดาเนินต่อไป ใช้ ในกรณีท่ผี ้ ูป่วยกาลังเล่าแล้ วมีการหยุดชะงัก ผู้ป่วยคิดไม่ออกว่ากาลังพูดถึงเรื่องอะไร ใช้ ประโยคสั้นๆ เช่น • • • •
แล้ วอย่างไรต่อคะ เล่าต่ออีกนิดซิคะ ช่วยอธิบายรายละเอียดอีกนิดนะคะ มีอะไรจะบอกเพิ่มเติมไหมคะ ฯลฯ
ทักษะการสือ่ สารในการซักประวัติ การสะท้อนความรูส้ ึก: เป็ นเทคนิคที่ช่วยให้ ผ้ ูป่วยสามารถ คิดทบทวนในสิ่งที่ตนเองได้ พูดถึง หรือ สะท้อนความรู้สกึ ที่แท้จริงออกมา อาจใช้ เป็ นการทวนคาถาม หรือ พูดซา้ ในสิ่งที่ผ้ ูป่วยกล่าวถึง เช่น • ผู้ป่วย: ฉันรู้สกึ กลัวมากเมื่อหมอบอกเป็ นโรคหัวใจ • พยาบาล: คุณรู้สกึ กลัวมากหรือคะ • ผู้ป่วย: ค่ะ ฉันกลัวจะทางานไม่ได้ เมื่อกลับบ้ าน
ทักษะการสือ่ สารในการซักประวัติ การทาความกระจ่ าง: เป็ นการช่วยให้ เข้ าใจในสิ่งที่คลุมเครือ ไม่ แน่ใจ ให้ ชัดเจนขึ้น หรือเข้ าใจได้ ถูกต้ องตรงกับสิ่งที่ผ้ ูป่วยต้ องการ จะบอก
• โดยใช้ คาถามให้ อธิบายเพิ่มเติม หรือ • ยกตัวอย่าง หรือ • เปรียบเทียบให้ เข้ าใจชัดเจนมากขึ้น เช่น ผู้ป่วย: ทาไมชีวิตมันสับสนไปหมด ผมไม่ร้ จู ะทาไงดี พยาบาล: คุณลองยกตัวอย่างเหตุการณ์ท่ที าให้ คุณรู้สกึ อย่างนั้นซิคะ
ทักษะการสือ่ สารในการซักประวัติ การเน้น: เป็ นการช่วยผู้ป่วยที่มภี าวะสับสน พูดวกวน พูดมาก พูดออกนอกเรื่อง กลับมาสู่ข้อมูลที่เกี่ยวข้ องกับปัญหาสุขภาพ โดยเน้ นประเด็นสาคัญ เช่น คุณช่วยเล่าปัญหาการดูแลตนเองที่บ้านให้ ละเอียดสักนิด คุณช่วยบอกความรู้สกึ อาการเจ็บหน้ าอกว่าเกิดตอนกาลังทาอะไรอยู่
ทักษะการสือ่ สารในการซักประวัติ การใช้ความเงียบ อย่างเหมาะสม: • ช่วยให้ ผ้ ูป่วยมีโอกาสคิดทบทวนสิ่งที่พูดออกมา และสิ่งที่คิด จะพูดต่อไป • ช่วยให้ ผ้ ูป่วยมีโอกาสเผชิญกับอารมณ์ ความรู้สึกของตนเอง • โดยมีพยาบาลอยู่ใกล้ ๆ ซึ่งพร้ อมที่จะยอมรับและรับฟังผู้ป่วย ระบายสิ่งที่ไม่สบายใจ • โดยไม่มีการโต้ แย้ ง หรือรุกเร้ าให้ มีความรู้สกึ วิตกกังวลมากขึ้น
ทักษะการสือ่ สารในการซักประวัติ การสรุป: เป็ นการรวบรวมเนื้อหาที่สาคัญ หรือ กระจัดกระจาย รวมทั้ง ความรู้สกึ ของผู้ป่วย ที่แสดงออกมาในระหว่างการซัก ประวัติ แล้ วถ่ายทอดกลับไปสู่ผ้ ูป่วย เพื่อการตรวจสอบการรับรู้ ให้ ตรงกัน ระหว่างการซักประวัติ ก่อนจะเข้ าสู่ประเด็นต่อไป เช่น เราคุยกันมามากมายสรุปได้ ว่าปัญหาของคุณตอนนี้คือ.. คุณบอกว่าคุณกังวลมากมายหลายอย่าง แต่ส่งิ ที่คุณกังวลมากที่สดุ คือ เรื่อง.........
ทักษะการสือ่ สารในการซักประวัติ การสือ่ สารโดยไม่ใช้คาพูด: มีความสาคัญในการได้ มาซึ่งข้ อมูล
oทาให้ เข้ าใจข้ อมูลมากขึ้น เป็ นการสร้ างสัมพันธภาพ และช่วยในการ บาบัดด้ วย เช่น • การใช้ ภาษาทางกายโดยการแสดงกิริยาท่าทาง คือ การยิ้ม การพยักหน้ า การส่ายหน้ า การชี้ การดูนาฬิกาบอกถึงหมดเวลา การแสดงสีหน้ า และการ ใช้ สายตา หรือนา้ เสียงที่แสดงความโกรธ ความวิตกกังวล ความเข้ าใจ ความเห็นใจเป็ นต้ น • การสัมผัส เช่น การจับมือบีบเบาๆ การลูบหลัง หรือท่าทีต่างๆ ที่แสดงถึง ความรู้สกึ ปลอบใจ ห่วงใย เห็นใจ เอื้ออาทร โดยคานึงถึงความเหมาะสม ของสังคม และวัฒนธรรม โดยเฉพาะการสัมผัสระหว่างต่างเพศ
ทักษะการสือ่ สารในการซักประวัติ การฟัง: มีความสาคัญมากต่อการซักประวัติ
• การฟังอย่างตั้งใจ นอกจากจะได้ ข้อมูลถูกต้ อง ครบถ้ วน ยังแสดงถึง การยอมรับ ให้ เกียรติ และเห็นคุณค่าของผู้ป่วย • การฟังอย่างตั้งใจ แสดงออกโดยการใช้ การสื่อสารแบบใช้ คาพูด คือ • การมองหน้ า • ประสานสายตา • การพยักหน้ า หรือ • ใช้ คาพูดบอกถึงการรับรู้ และติดตามการสนทนาตลอดเวลา
ทักษะการสือ่ สารในการซักประวัติ คาพูดที่ควรหลีกเลีย่ ง ได้แก่ - การใช้ คาศัพท์แพทย์/วิชาการ - การใช้ ความคิดเห็นส่วนตัว - การพูดมากเกินไป - การพูดขัดจังหวะผู้รับบริการ - การใช้ คาถามว่า “ทาไม” มากเกินไป - การใช้ คาถามนา - อ่านคาถามตามแบบฟอร์ม
ทักษะการสือ่ สารในการซักประวัติ ท่าทางที่ควรหลีกเลีย่ ง ได้แก่ - การหลบตา - การจ้ องตา - ท่าทางใจลอย - นั่งห่างมากกว่า 1 เมตร - การยืนสัมภาษณ์
สรุปหลักการและทักษะการสือ่ สารในการซักประวัติ การเตรียมตัวของผู้ทาการซักประวัติ ด้ วยการฝึ กทักษะการ สื่อสาร การเตรียมสถานที่ สิ่งแวดล้ อม และอุปกรณ์ และ การเตรียมผู้ป่วยให้ พร้ อมต่อการซักประวัติ ย่อมทาให้ การซักประวัติเป็ นไปอย่างราบรื่น ไม่ทาให้ ผ้ ูป่วยเสียเวลา และช่วยเหลือผู้ป่วยได้ ทนั ท่วงที จึงเป็ นสิ่งสำคัญที่นกั ศึกษำต้องฝึ กปฏิบตั ิ