Technique for Physical Examination

Page 1

เทคนิคการตรวจร่างกาย อ.ดร.ศริ นรัตน์ ศรี ประสงค์ ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิ ดล sarinrut.sri@mahidol.ac.th


เทคนิ คการตรวจร่างกาย • ใช้ประสาท สัมผัสทุกส่วน

• ประเมินอย่าง ครอบคลุม

• ใช้ critical thinking

• สอนผูป้ ่ วย เข้าใจร่างกาย

•หาคาตอบแก้ สมมติฐาน

เพื่ อเข้าใจความต้องการ/ปัญหาของผูป้ ่ วย


เทคนิคการตรวจร่างกาย Skills for physical assessment • • • •

Inspection การดู Palpation การคลา Percussion การเคาะ Auscultation การฟัง


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Inspection การดู

• เป็ นทักษะการสังเกต (Observe) อย่างมีเป้ าหมาย • เริม ่ จากการสังเกตทั่วไป • การดูแบบรายละเอียดเฉพาะส่วน


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Inspection การดู

เทคนิคการสังเกตทั่วไป SOME TEAMS • เริม ่ ตัง้ แต่ผป ู้ ่ วยเดินเข้ามา ตัง้ แต่ศรี ษะจรดเท้า • Trunk • Symmetry • Extremities • Old • Appearance • Mental acuity • Movement • Expression • Speech


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Inspection การดู

• เทนิคการดู จาเป็ นต้อง มีแสงส่วางเพียงพอ • สิง่ ทีต ่ อ ้ งการดู จะต้องเปิ ดเผย ไม่มีสงิ่ ปกปิ ด • บางครัง้ ต้องใช้เครือ ่ งมือช่วย • • • •

Flashlight/Penlight Ophthalmoscope Nasal speculum Otoscope


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Palpation การคลา คลาเพื่อ ประเมิน? ใช้ ส่วนไหน ของมือบ้ าง? ขณะคลา ต้ องระวัง?

ใส่ถุงมือ?


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Palpation การคลา • • • •

เป็ นเทคนิคทีใ่ ช้ควบคูก ่ บั การดู เป็ นการตรวจส่วนต่างๆ ของร่างกายโดยการสัมผัส ด้วยส่วนต่างๆของมือ: ปลายนิ้วมือ ฝ่ ามือ หลังมือ มือ ด้วยน้าหนักทีต ่ า่ งกัน oคลาตืน ้ Light / Superficial palpation oคลาลึก Deep palpation


นิ้ วมือ

ประเมิน Vibration

นิ้วมือประเมิน

ด้านหลังมือ วัดอุณหภูมิ

Fine tactile discrimination, Moisture, Texture, Masses, Pulsations, Edema, Organ size, shape, position, mobility, & consistency

ประเมิน Vibration


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Palpation การคลา

เพือ ่ ประเมิน โดยนิ้วมือ นิ้วมือ • Texture พื้นผิว – หยาบ / เรียบ / ละเอียด • Moisture – ความชื้น /ความแห้ง • Firmness – ความนุ่ม/ แข็ง • Motion –การเคลือ ่ นไหว /การสั่นสะเทือน • ลักษณะ/รูปร่างของอวัยวะ เป็ นก้อนแข็ง /ก้อนนุ่มๆหยุน ่ • การตอบสนองของผูป ้ ่ วย – อาการปวด กดเจ็บ • Temperature - ความร้อน/ความเย็น/ ความอุน ่ ใช้หลังมือ


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Palpation การคลา

• การคลาดูอณ ุ หภูมิ o ควรใช้หลังมือ เพราะไขมันน้อย • การคลาแยกดูอวัยวะใต้ผวิ หนัง o ควรใช้ดว้ ยปลายนิ้ว เพราะ ปลายนิ้วมีเส้นประสาท เลี้ยงมาก &ไวต่อความรูส้ ก ึ • การคลาการสั่นสะเทือน o ควรใช้ ฝ่ ามือ & ข้อต่อนิ้วมือ • การคลาลึก o ควรใช้ สองมือ (อารี ชีวเกษมสุข, 2551).


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Palpation การคลา จัดท่า อย่างไร? o Light / Superficial palpation o Deep palpation

ใช้ นา้ หนักในการ คลา (ลึก)? ที่ปวด/เจ็บตรวจอย่างไร?


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Palpation การคลา

• การคลาตืน ้ ๆ Light / Superficial palpation • ลึก ½ - ¾ นิ้ว (1 – 2 cm) • ใช้ปลายนิ้วมือ คลาทั่วไป เพือ ่ บอกลักษณะภายนอก (surface) o ชีพจร o การบวม o ความยืดหยุน ่ o ความชื้น o บริเวณทีก ่ ดเจ็บ o ความร้อน/ความเย็น o การสั่นสะเทือน o ลักษณะ/รูปร่างของอวัยวะ o ความหยาบ/ละเอียดของผิว


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Palpation การคลา • • • •

Deep palpation การคลาลึก ลึก 1½ - 2 นิ้ว (4 – 5 cm) อาจใช้มือเดียว/ สองมือ เพือ ่ ประเมิน o ลักษณะ/รูปร่างของอวัยวะ o ขนาด/ ขอบเขต o การเคลือ ่ นไหว o ความเต้นของอวัยวะ o ความแข็ง-นุ่ม o แยกก้อนเนื้อจากอวัยวะต่างๆ o ก้อนทูม


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Palpation การคลา ขณะคลา ต้ องระวัง? • • • • •

ขณะคลา สังเกตสีหน้า & อาการของผูป ้ ่ วย จัดให้ผป ู้ ่ วยอยูใ่ นท่าทีผ ่ อ ่ นคลายมากทีส ่ ุด ใช้มือข้างทีถ ่ นัด มือต้องสะอาด เล็บสัน ้ ใส่ถุงมือเมือ ่ บริเวณทีค ่ ลามีสารคัดหลั่ง คลาบริเวณทีป ่ วดเป็ นบริเวณสุดท้าย

(อารี ชีวเกษมสุข, 2551).


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Percussion การเคาะ เคาะเพื่อ จัดท่า ใส่ถุงมือ? ประเมิน? อย่างไร? ใช้ ส่วนไหน วิธกี ารเคาะ? ของมือบ้ าง? ขณะเคาะ ต้ องระวัง?

เสียงที่ได้ การเคาะ?

o Direct o Indirect


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Percussion การเคาะ

• เป็ นเทคนิคทีท ่ าให้เกิดการสั่นสะเทือนของเนื้ อเยือ ่ • ด้วยส่วนต่างๆของมือ: ปลายนิ้วมือ ฝ่ ามือ สันมือ กาปั้น ทุบ/เคาะไปบนอวัยวะทีต ่ รวจ


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Percussion การเคาะ

• เพือ ่ ประเมินโครงสร้างของอวัยวะทีอ ่ ยูข ่ า้ งใต้บริเวณที่ เคาะนัน ้ ด้วยเสียงทีส ่ ะท้อนกลับมา ทึบ โปร่ง • ประเภทของการเคาะ มี 2 ชนิด o Direct percussion o Indirect percussion


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Percussion การเคาะ

เพือ ่ ประเมิน • Pain - ความเจ็บปวด • Location - ตาแหน่ ง • Density – ความหนาแน่ น • Size – ขนาดของอวัยวะ ทีต ่ รวจ • Symmetry - ความเหมือนกันของอวัยวะสองข้าง


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Percussion การเคาะ

Direct percussion การเคาะโดยตรง • ใช้ปลายนิ้วชี้ และนิ้วกลาง/ สันมือ ข้างทีถ ่ นัด • เคาะโดยตรงบริเวณทีต ่ รวจ • โพรงอากาศ (Sinus) • กระดูกไหปลาร้า • อาจทาให้ผป ู้ ่ วยเจ็บ • ทาง่าย สะดวก


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Percussion การเคาะ Indirect percussion การเคาะโดย • ใช้สว่ นปลายของนิ้วกลาง ของฝ่ ามือ ข้างทีไ่ ม่ถนัดวางทาบตาแหน่ งที่ ต้องการตรวจ • โดยส่วนทีเ่ หลือของมือไม่สมั ผัส • มือทีเ่ คาะ - มือข้างทีถ ่ นัด ใช้ นิ้วกลางเคาะ • เคาะทีข ่ อ ้ ที่ 2 ของนิ้วกลาง ้ -ลง • กระดกข้อมือขึน • เป็ นจังหวะ


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Percussion การเคาะ เทคนิคการเคาะ – • ต้องเคาะให้ถูกวิธี • โดยเฉพาะนิ้วกลางแนบสนิท • ส่วนทีเ่ คาะ ไม่กระดกข้อมือ เร็วๆ จะไม่สะเทือน


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Percussion การเคาะ

เสียงทีไ่ ด้จากาการเคาะ o Tympany เสียงโปร่งของท้อง o Resonance เสียงก้อง กังวาน-เสียงปอด o Hyperresonance เสียงก้อง โปร่งมาก o Dullness เสียงทึบ/เสียงแน่ น ๆ o Flatness เสียงทึบสนิท / เกือบไม่มีเสียง


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Auscultation การฟัง

เป็ นการตรวจร่างกายโดยการฟังด้วยหู หรือใช้หูฟงั • Lung sound • Heart sound • Bowel sound


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Auscultation การฟัง Stethoscope หูฟงั ประกอบด้วย 2 ส่วน • Chest piece ใช้วางแนบอวัยวะทีต ่ รวจ

Bell ฟังเสียงความถีต ่ ่า (หัวใจ diastolic murmur) Diaphragm ฟังเสียงความถีส ่ ูง (wheezing)

• Ear piece ใส่ในหู


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Auscultation การฟัง การใช้หฟ ู งั Stethoscope • วาง Diaphragm แนบสนิท ผิวหนังของอวัยวะทีต ่ รวจ • จับ Bell เบาๆ ให้พอแนบ ผิวหนัง ไม่แน่ นมาก • บริเวณผิวหนังทีฟ ่ งั มีขน ทาให้ เปี ยกก่อน • ตัง้ สติขณะฟัง อาจหลับตา


เทคนิคการตรวจร่างกาย

Auscultation การฟัง การใช้หฟ ู งั Stethoscope • • • • • •

สถานทีท ่ ต ี่ รวจควรเงียบ อย่า expose ผูป ้ ่ วยหมด อย่าฟังผ่านเสือ ้ หรือผ้า Warm ถ้าอากาศเย็น ค่อยๆฟังทีละเสียง ค่อยๆแยกเสียง


เทคนิ คการตรวจร่างกาย นักศึกษาจาเป็ นต้องฝึ กหัดให้มีทกั ษะทั้ง การใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า การจัดท่าให้เหมาะสม การใช้อุปกรณ์และการวิเคราะห์แปลผลที่ได้ เพื่อให้การช่วยเหลือผูป้ ่ วยได้ทนั ที


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.