อ. ดร. ศรินรัตน ศรีประสงค ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล
สารบัญ
วัตถุประสงคการเรียนรู
ความหมาย ชนิดและปจจัยเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูง ภาวะแทรกซอน แนวทางการประเมินเพื่อการวินิจฉัย การรักษาโรคความดันโลหิตสูง ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล การพยาบาลผูปวยความดันโลหิตสูง
1. อธิบาย ความหมาย ชนิด สาเหตุและปจจัยเสี่ยง ของภาวะความดันโลหิตสูง และความดันโลหิตสูง วิกฤตได 2. บอกแนวทางการวินิจฉัยความดันโลหิตสูง และ ความดันโลหิตสูงวิกฤตได 3. บอกแนวทางการรักษาความดันโลหิตสูง และ ความดันโลหิตสูงวิกฤตได 4. วิเคราะหสถานการณและวางแผนการพยาบาล ผูปวยที่มีความดันโลหิตสูง และความดันโลหิตสูง วิกฤตได 5. ใชหลักฐานเชิงประจักษในการเสริมสรางศักยภาพ ในการดูแลสุขภาพอยางตอเนื่องของผูปวยที่มี ความดันโลหิตสูง และความดันโลหิตสูงวิกฤต ครอบครัวและผูดูแลได
ความหมาย(1)
ความหมาย(1)
ภาวะความดันโลหิตสูง (Hypertension) หมายถึง ภาวะทีร่ า งกายมีระดับความดันโลหิตตัวบนหรือตัว ลางสูงกวา/เทากับ 140/90 mmHg (stage 2)
ภาวะความดันโลหิตสูงเฉพาะคาตัวบน (Isolated systolic hypertension) หมายถึง ภาวะทีร่ า งกายมีระดับความดันโลหิตตัวบนสูง กวา/เทากับ 140 mmHg แตระดับความดันโลหิต ตัวลางต่ํากวา 90 mmHg
BP Category
ปกติ เริ่ มสูง
SBP (mmHg)
DBP (mmHg)
<120
and
<80
120–129
and
<80
130–139
or
80–89
Stage 2
≥ 140
or
≥ 90
Hypertension crisis
> 180
and/ or
>120
Hypertension is new defined as Stage 1 ระยะเสี่ ยง
White-coat hypertension (WCH) หมายถึง ภาวะ ที่รางกายมีระดับความดันโลหิตสูง (SBP > 140 mmHg และ/หรือ DBP > 90 mmHg) เมื่อมาวัดที่ โรงพยาบาล หรือสถานบริการสาธารณสุข แต เมื่อวัดความดันโลหิตที่บานจากการวัดดวย เครื่องวัดความดันโลหิตอัตโนมัติพบวาไมสูง (SBP < 135 mmHg และ DBP < 85 mmHg
ความหมาย(1) Hypertensive Crisis ความดันโลหิตสูงวิกฤต หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงทีม่ ีอันตราย เฉียบพลันตออวัยวะตางๆ ของรางกาย (target organ damage)
ความหมาย(1) อวัยวะเปาหมายของความดันโลหิตสูง target organ damage : TOD
ตา
สมอง
มักพบในผูปวยที่ • ควบคุมความดันโลหิตไมดี (poorly controlled) หรือ • ไมไดรับการตรวจวาเปนความดันโลหิตสูง (Undiagnosed HT) หรือ • หยุด/ขาดยาความดันโลหิตทันที
หัวใจ
ไต
ชนิดของโรคความดันโลหิตสูง และปจจัยเสี่ยง(3) ความดันโลหิตสูง แบงเปน 2 ชนิดคือ 1. Essential (Primary) Hypertension เปนความดันโลหิตสูงที่ไมทราบสาเหตุ ปจจัยเสี่ยง คือ • ประวัติในครอบครัว • อายุ มากกวา 60 ป • ภาวะไขมันในเลือดสูง • ความเครียด • การสูบบุหรี่ • อวน
ชนิดของโรคความดันโลหิตสูงและปจจัยเสี่ยง(3)
2. Secondary Hypertension เปนความดันโลหิตสูง ที่ทราบสาเหตุวาเกิดจากโรค เชน หลอดเลือดไต และโรคไต, primary aldosteronism, cushing’s syndrome, coartation of aorta หรือเนื้องอกใน สมอง brain tumor
ชนิดของโรคความดันโลหิตสูงวิกฤต(4)
ชนิดของโรคความดันโลหิตสูงวิกฤต(4)
Hypertensive Crisis ความดันโลหิตสูงวิกฤต แบงเปน 2 ชนิดคือ
2. Hypertension emergency เปนภาวะที่ BP สูง ≥ 180/120 mmHg รวมกับ พบอาการของ target organ damage (TOD) เชน เสนเลือดสมองตีบ/แตก จอประสาทตา กลามเนื้อหัวใจขาดเลือด ไตวาย
1. Hypertension urgency เปนภาวะที่ BP สูง ≥ 180/120 mmHg แตไมมีอาการผิดปกติ/หรือไมพบ อาการของ target organ damage (TOD)
สาเหตุของโรคความดันโลหิตสูงวิกฤต(3)
สาเหตุของโรคความดันโลหิตสูงวิกฤตจากโรคตางๆ (ตอ) (3)
เกิดจากโรคตางๆ ดังตอไปนี้ คือ
• เนื้องอกตอมหมวกไต Pheochromocytoma
• โรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
• ภาวะเลือดออกในสมองเฉียบพลัน Acute
Acute coronary syndromes,
• ภาวะหัวใจวายเฉียบพลันจนเกิดน้ําทวมปอด Acute pulmonary edema,
• โรคหลอดเลือดแดงใหญฉีกขาดฉับพลัน Dissecting aortic aneurysm,
• ความดันโลหิตสูงขณะผาตัด
Peri-operative hypertension
• ภาวะครรภเปนพิษรวมกับมีการชัก
Eclampsia /Pre-eclampsia, • ภาวะไตวายเฉียบพลัน Acute renal failure
crisis,
intracranial hemorrhage, • โรคหลอดเลือดสมอง Acute ischemic stroke,
• โรคสมองจากความดันโลหิตสูง
Hypertensive encephalopathy,
เกิดจากการใชยา หรือหยุดยากระทันหัน • cocaine, amphetamines, phencyclidine, • monoamine oxidase inhibitors or • การหยุดยา clonidine or ยา sympatholytic drugs ทันที
ภาวะแทรกซอนที่อาจเกิดเมื่อเกิดภาวะความดันโลหิตสูง Potential Complications • โรคหลอดเลือดสมอง Transient Ischemic Attack, TIA "mini-stroke" • Cerebrovascular accident: CVA
• เลือดออกในจอประสาทตา Retinal hemorrhage • กลามเนื้อหัวใจตาย Myocardial infarction • ภาวะหัวใจหองลางซายโต Left ventricular hypertrophy
• โรคไตวายเรื้อรัง Renal insufficiency and failure
• ภาวะหัวใจลมเหลว HF
แนวทางการวินิจฉัยความดันโลหิตสูง(3)
แนวทางการวินิจฉัยความดันโลหิตสูง(3)
การซักประวัติปจจัยเสี่ยง • ประวัติสวนตัว ไดแก อายุ การสูบบุหรี่ Smoking การออกกําลังกาย การรับประทานอาหาร ความเครียด • ประวัติโรคประจําตัว เชน โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคไต เบาหวาน และอื่นๆ • ประวัติการเจ็บปวยในครอบครัว เชน พอเปน ความดันโลหิตสูง • ประวัติการใชยาสารเสพติด และยาอื่นๆ เชน ยา ที่ไดรับ ยาสมุนไพร อาหารเสริม
การซักประวัติอาการของความดันโลหิตสูง: • • • • •
ปวดศีรษะ มึนงง หนาแดงรอน หรือเปนลม บวม Edema เลือดกําเดาไหล การมองเห็นเปลี่ยน ตาพรา อาการทางไต คา BUN, Cr สูง พบโปรตีนใน ปสสาวะ GFR ต่ํา ในคนปกติ ค่า GFR อยู่ท่ปี ระมาณ 125 มล./นาที แต่ถ้า ค่า GFR มีค่าตํ่ากว่า 90 มล./นาที แสดงว่า เกิดภาวะไตเริ่มทํางานผิดปกติ (ไตวายเรื้อรัง)
แนวทางการวินิจฉัยความดันโลหิตสูง(3) การวัดความดันโลหิตในโรงพยาบาล(1, 2) เมื่อวัดความดันโลหิต ได > 140/90 mmHg • ใหวัดความดันโลหิต ซ้ําใน 2 สัปดาห • หรือ วัดเองที่บานถาทําได เพื่อยืนยันวาเปนโรคความดันโลหิตสูงจริง
แนวทางการวินิจฉัยความดันโลหิตสูง(3)
การประเมินอวัยวะหลอดเลือดที่ถูกทําลาย (Target organ damage TOD) • คลําได bruits บริเวณหนาทอง carotid, femoral • คลําชีพจรได Irregular pulse (หัวใจเตนผิดจังหวะ) หรือมี rate > 100 BPM หรือ คลําชีพจรไมได หรือ คลําชีพจรไดเบากวาอีกขาง • ตรวจ Point of maximal impulse ที่ ตําแหนง 6th ICS & anterior axillary line : แสดงวา มีหัวใจโต Cardiomegaly/ หรือหัวใจหองลางซายโต left ventricle hypertrophy เปนตน
แนวทางการวินิจฉัยความดันโลหิตสูง(3) การตรวจทางหองปฏิบัติการ ไตถูกทําลาย: พบโปรตีนใน ปสสาวะ ปสสาวะมีเลือดออก ผลเลือด พบ BUN, Cr สูง , GFR ต่ํา เนื้องอกใน adrenal medulla: ตรวจปสสาวะพบ – catecholamine in Pheochromocytoma Cushing’s disease: Serum corticosteroid และ 17-ketosteroids ในปสสาวะ
แนวทางการวินิจฉัยความดันโลหิตสูง(3)
การตรวจพิเศษ • ตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจ (ECG): พบ หัวใจหองลางโต ventricular hypertrophy • การตรวจหัวใจดวยคลื่นเสียง ความถี่สูง (Echocardiography): พบ ภาวะหัวใจหองซายโต หัวใจ หองลางซายคลายตัวไดนอย diastolic dysfunction
แนวทางการรักษาความดันโลหิตสูง(1) การรักษาโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชีวิต(1, 2) วิธีการ
ประสิทธิภาพของการลด BP ทุก ๆ BW ที่ลดลง 1 กก. สามารถ ลดน้ําหนักใน ลด SBP ไดเฉลี่ย 1 mmHg โดยรวม ผูปวยที่มี BMI การลด BW 10 Kg สามารถลด 2 > 25 kg/m SBP ไดเฉลี่ย 5-20 mmHg การรับประทาน SBP ลดลง 8-14 mmHg อาหารแบบ DASH การลดการดื่ม SBP ลดลง 2-4 mmHg แอลกอฮอล
วิธีการ
ประสิทธิภาพของการลด BP
การจํากัดโซเดียม SBP ลดลง 2-8 mmHg ในอาหารนอยกวา 2,300 มก. ตอวัน การออกกําลังกาย SBP ลดลงเฉลี่ย 4 mmHg แบบแอโรบิก DBP ลดลงเฉลี่ย 2.5 mmHg อยางสม่ําเสมอ
แนวทางการรักษาความดันโลหิตสูง(1)
การรักษาโดยการใชยาลดความดันโลหิต(1) การเลือกใชยาลดความดันโลหิต เริ่มตนจากยา 5 กลุม คือ
- Thiazide–type diuretics - Beta-blockers (BBs) - Calcium channel blockers (CCBs) - Angiotensin converting enzyme inhibitors (ACEIs) - Angiotensin receptor blockers (ARBs)
แนวทางการรักษาความดันโลหิตสูง(1)
1. ยาขับปสสาวะ Diuretics:
แนวทางการรักษาความดันโลหิตสูง(1)
1. ยาขับปสสาวะ Diuretics: a. Thiazide diuretics
ปองกันการดูดกลับของ Na+ ที่ distal tubules ของไตและชวยใหผิว endothelium ดีขึ้น ผลขางเคียง: K+ & Mg+ ต่ํา แต Ca+ & uric acid สูง ทําใหเกิด sexual dysfunction ในผูชายและ digestive upset
แนวทางการรักษาความดันโลหิตสูง(1)
1. ยาขับปสสาวะ Diuretics: b. Loop diuretics (furosemide)
ลดการดูดกลับของ Na+ ที่ ascending loop ของ Henle และกระตุนการขับ K+ ผลขางเคียง K+ & Mg+ ต่ํา ระดับ BS & cholesterol สูง ชั่วคราว uric acid สูง ทําให เกิด sexual dysfunction ใน ผูชาย และ digestive upset
แนวทางการรักษาความดันโลหิตสูง(1)
1. ยาขับปสสาวะ Diuretics: c. Potassium-sparing diuretics
Aldosterone receptor blockers :spironolactone ยับยั้งการดูด Na+ แลกกับ K+ กัก K+ ขัดขวางการทํางานของ ฮอรโมนแอลโดสเตอโรน aldosterone ผลขางเคียง: มึนศีรษะ ระดับ K+ สูง หนา ตา ปาก บวม (angioedema พบนอย) มี คลื่นไส อาเจียน ผูชายอาจมี เตานมโต (gynecomastia)
แนวทางการรักษาความดันโลหิตสูง(1)
2. Angiotensinogen Converting Enzyme Inhibitor (ACEIs) Captopril Enalapril
ผลขางเคียง: ไอ (พบไดประมาณ รอยละ 20) ความดันโลหิตต่ํา ระดับ K+ สูง มีผื่น หนา ตา ปาก บวมและทําใหหายใจลําบาก คลายอาการแพ (angioedema) ถาผูปวยมี อาการไอ มากหรือควบคุมความดันไมได อาจพิจารณา Angiotensin receptor blockers (ARBs)
แนวทางการรักษาความดันโลหิตสูง(1)
3. Beta-blockers (BBs): Atenolol, metoprolol
ผลขางเคียง: หลอดลมตีบ (Bronchospasm) หัวใจเตนชา (bradycardia) หัวใจวาย (heart failure) ระดับ BS ลดลงมากหลังใหยา insulin นอนไมหลับ ออนลา หายใจตืน้ ซึมเศรา Raynaud syndrome ประสาทหลอน และ เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ อาจเพิ่มระดับ triglyceride ถาใหยา alpha และ carvedilol BBs labetalol ทําใหเกิดความดันโลหิตต่ําเมื่อ ยืน และหลอดลมหดเกร็ง
แนวทางการรักษาความดันโลหิตสูง(1)
4. Calcium Channel Blockers(CCBs): Diltiazem Amlodipine, Nicardipine
ผลขางเคียง: ปวดศีรษะ มึนศีรษะ หนาแดง น้ําคั่ง หัวใจเตนผิดจังหวะ bradycardia Tachycardia หัวใจวาย
การรักษา Hypertensive emergency: ลด BP ทันที ดวย IV drugs เปาหมาย: ระดับ mean arterial BP (MAP) ลดลงรอยละ 25 ภายใน 5 นาที ถึง 1 ชั่วโมง ยกเวน: ภาวะ stroke & dissecting aortic aneurysm การรักษา เปาหมาย ใหยาทาง การรักษา Follow Up
HT emergency ลด BP ใน 10 นาที IV ใน ICU ขึ้นกับการรักษา ใน รพ.
การรักษา Hypertensive urgency: เปาหมาย: ลด BP ที่ 160/100-110 mmHg ภายใน 2-6 hours ใหระดับ BP อยูในชวงปกติ <140/90 mmHg ภายใน 24-48 hours HT urgency ลด BP ใน 24–48 ชม oral ออกฤทธิ์เร็ว ในหอง ER ภายใน 24–72 ชั่วโมง
การรักษา Hypertensive emergency:
การรักษา Hypertensive emergency
ยาที่ใชทางหลอดเลือดดํา IV Medication:
และ Hypertensive urgency:
•ยาขยายหลอดเลือด Vasodilators:ไดแก sodium nitroprusside, nicardipine, fenoldopam mesylate, nitroglycerin, enalaprilat, hydralazine • ยาตานการจับของ Adrenergic blockers: labetalol, esmolol, phentolamine
ถาระดับความดันโลหิตลดลงตามเปาหมาย คงระดับยาไว หรือเปลี่ยนเปนใหยารับประทาน ตามแผนการรักษา ไดแก • beta-adrenergic blocking agents [labetalol] • ACE inhibitors [eg, captopril], or • alpha2-agonists [eg, clonidine]
วิเคราะหกรณีศึกษา Bill อายุ 48 ป เปนชางยนต มาพบแพทยดวย อาการไอแหงๆ จากการติดเชื้อทางเดินหายใจ สวนบน ไมเคยมีประวัติการเจ็บปวย ไมเคยทาน ยาใดๆ ไมแพยาหรืออาหาร สูบบุหรี่ตั้งแตหนุมๆ วันละซอง ดื่มสุราทุกคืน และดื่มหนักสุดสัปดาห ครั้งนี้มาพบแพทยเพราะอาการไอเรื้อรัง VS: T 37°C P 78, regular BP 148/94 mmHg ; repeat BP 144/92 mmHg 1.ผูปวยรายนี้มีภาวะความดันโลหิตสูงจริงไหม 2.ถาผูปวยมีความดันโลหิตสูงจริง มีสาเหตุ/ปจจัย เสี่ยงใดบาง
วิเคราะหกรณีศึกษา
https://youtu.be/f6HtqolhKqo
ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล ผูปวยความดันโลหิตสูง(3) การปฏิบัติตัวไมถูกตองเนื่องจากขาดความรูเ กี่ยว กับการใชยา การควบคุมโรค การปรับเปลี่ยน พฤติกรรม
กิจกรรมการพยาบาล(3) วางแผนในการจัดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทีเ่ สี่ยง
การรักษาไมสม่ําเสมอ เนื่องจากผลขางเคียงของยา
1. วางแผนรวมกับนักกําหนดอาหาร (dietitian) : - จํากัดการรับประทาน Na intake < 2 gm/day - การใชเครื่องปรุง สมุนไพร ผลไม หรือสารที่ ทดแทนเกลือ - แนะนําผูปวยในการควบคุมน้ําหนัก - วางแผนกับผูปวยในการรับประทานอาหารทีล่ ด เกลือ ไขมัน
Nonadherence with therapeutic regimen related to side effects of prescribed therapy
2. แนะนําการจํากัดการดื่มสุรา และหยุดสูบบุหรี่
Deficient knowledge regarding relationship between treatment regimen & control of disease process
3. ชวยเหลือผูปวยในการวางแผนการออกกําลัง กายอยางสม่ําเสมอ
กิจกรรมการพยาบาล(3)
การใหคําปรึกษาเพื่อการเลิกบุหรี่ ตามหลัก 5A 5R 5D(4)
วางแผนในการจัดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทีเ่ สี่ยง 4. สอนหรือสงตอผูปวยไปที่นักกายภาพบําบัดหรือ การจัดการความเครียด 5. กระตุนใหผูปวยตระหนักในการรับประทานยา อยางสม่ําเสมอ และ ความสําคัญของการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • โดยการใหความรูเกี่ยวกับผลเสียของการไม ควบคุมความดันโลหิตทําใหเกิดอวัยวะที่สําคัญ ถูกทําลาย (สมอง หัวใจ ไต ตา)
5A
5R
5D
Ask
Relevance
Delay
Advise
Risk
Deep breath
Assess
Reward
Drink water
Assist
Do something Road Blocks else
Arrange FU
Repetition
Destination
การใหคาํ ปรึกษาเพื่อการเลิกบุหรี่ ตามหลัก 5A 5R 5D(4) 5A
Assist
ถาม สูบบุหรี่หรือไม ถาสูบ แนะนําวา เลิกเหอะ ประเมินความพรอมที่จะเลิกบุหรี่ ชวยใหผูปวยเลิกสูบ
Arrange FU
จัดการใหมีการดูแล-ติดตาม
Ask Advise Assess
ประเมินความพรอมที่จะเลิกบุหรี่
การใหคาํ ปรึกษาเพื่อการเลิกบุหรี่ ตามหลัก 5A 5R 5D(4)
การใหคาํ ปรึกษาเพื่อการเลิกบุหรี่ ตามหลัก 5A 5R 5D(4) 5R
ใหคนสูบบอกถึงการเลิกสูบที่ถึง เชื่อมโยงเขากับสภาพผูปวยและ ครอบครัวในปจจุบัน ใหคนสูบบอกผลเสียที่อาจเกิดขึ้นทั้ง Risk ตนเองและผูใกลชิด ใหคนสูบบอกประโยชนทจี่ ะไดจาก Rewards การเลิกสูบบุหรี่ Roadblocks ใหคนสูบบอกอุปสรรคในการเลิกสูบ ของเขา Repetition กระตุน ใหแรงจูงใจซ้ําอยางตอเนื่อง Relevant
5D Delay Deep breath Drink water
3-5 นาที หายใจเขาลึก 2-3 ครั้ง ดื่มน้ํา อยางนอย 2 ลิตร/วัน อมน้ํา จิบน้ํา อาบน้ํา เช็ดหนา/ตัว Do something ขยัน งานยุง มุงออกกําลังกาย else Destination
ไมสูบแลว / แรงจูงใจ
การวัดความดันโลหิตในโรงพยาบาล(1, 2) วิธีการวัด • ขณะวัดควรให arm cuff อยูระดับ แนวราบเดียวกับ หัวใจ • ใหทําการวัดอยางนอย 2 ครั้ง หางกันครัง้ ละ 1 นาที นํา 2 คาที่วัดไดมาเฉลี่ย • หากพบผลจากการวัดสองครั้ง ตางกันมากกวา 5 mmHg ควรวัดเพิ่มอีก 1-2 ครั้ง และนําคาที่ ตางกันไมเกิน + 5 mmHg มาเฉลี่ย
การวัดความดันโลหิตในโรงพยาบาล(1, 2)
• ในการวัดระดับความดันโลหิตครั้งแรก • แนะนําให้ วัดที่แขนทั้ง 2 ข้ าง • หากได้ ค่าต่างกันเกิน 20/10 mmHg • จากการวัดซํา้ หลาย ๆ ครั้ง • แสดงถึงความผิดปกติของหลอดเลือด • ให้ ส่งผู้ป่วยต่อไปให้ ผ้ ูเชี่ยวชาญ • หากความดันโลหิตของแขนทั้งสองขางไมเทากัน โดยเฉพาะในผูสูงอายุ พบไดมากกวารอยละ 10 จะมี SBP ของแขนสองขางตางกัน > 10 mmHg การติดตามความดันโลหิตจะใชขางทีม่ ีคาสูงกวา
การพยาบาลผูปวยที่ไดรับยาลดความดันโลหิต 1. บันทึกปริมาณน้ําเขา-ออก และชั่งน้ําหนักตัวทุก วัน เพื่อติดตามประสิทธิภาพของยา และปองกัน การขาดน้ํา 2. ติดตามผล laboratory โดยเฉพาะ potassium และ sodium เพราะอาจเกิด electrolyte imbalances 3. บันทึก vital signs โดยเฉพาะ BP วาไดตาม เปาหมาย 4. สังเกตอาการสับสน มึนงง ออนเพลีย วูบ หมดสติ ความดันโลหิตต่ําเมื่อเปลี่ยนทา อาจเกิดจากภาวะ ขาดน้ํา
5. สอนผูปวยและญาติ รายงาน ถามีอาการหนามืด เปนลม 6. แนะนําใหเปลี่ยนทาชาๆ โดยเฉพาะ ผูสูงอายุ มี โอกาส พลัดตกหกลม 7. ควรวัดความดันโลหิตในทานอน ทานั่ง และยืน เพื่อประเมิน orthostatic hypotension 8. ติดตามระดับ potassium ในผูปวยที่ได thiazide/ loop diuretics แนะนําอาหารทีม่ ี potassium สูง 9. ในผูปวยที่ได Potassium-sparing diuretics แนะนําจํากัดอาหารทีม่ ี potassium
การพยาบาลผูปวย ที่ไดรับยาลดความดันโลหิต (ตอ)
อาการผิดปกติ ทีต่ องรีบมาพบแพทย
10. ติดตามอาการแพยา ไดแก อาการหายใจลําบาก หนา ตาปากบวม มีผื่นแดง ออนเพลียมาก คลื่นไส อาเจียน ถายดํา หรืออาเจียนเปนเลือด ตาตัว เหลือง ใหหยุดยาและมาพบแพทย
# หอบเหนื่อยนอนราบไมได ใจสั่น เจ็บแนนหนาอก # บวมตามตัว ปสสาวะออกนอย #แขนขาออนแรง ปากเบี้ยว พูดไมชัด # ปวดศีรษะรุนแรง ตาพรามัว # วัดความดันโลหิตได > 180/110 mmHg
11. มาตรวจตามนัด เพื่อติดตามประเมินการทําหนาที่ ของตับและไต (เพราะยา ACE inhibitors metabolized ที่ตับ ขับออกที่ไต)
วิเคราะหกรณีศึกษา
ผล chest x-ray
เมื่อ Bill รักษาและออกจากโรงพยาบาล Bill ไมมาตรวจตามนัด เพราะแพทยใหเลิกบุหรี่ แตเขาทําไมได และยังดื่มสุราเหมือนเดิม 2 ป ตอมา เขามีมาอาการหอบเหนื่อย นอนราบไมได จึงมาโรงพยาบาล ที่ ER: T 37oC P 120 BPM R 26/min BP 220/110 mmHg มีตาพรา lung : crepitation BLL, CXR: Lung infiltration
https://openi.nlm.nih.gov/imgs/512/311/3481392/PMC3481392_y mj-53-1224-g001.png?keywords=infiltration
3. Bill กําลังมีปญหาสุขภาพใด 4. พยาบาลควรติดตามประเมินเรื่องใดเปนพิเศษ
ขอวินิจฉัยทางการพยาบาล ผูปวยความดันโลหิตสูงวิกฤต (3) ๏ (เสี่ยงตอ) การเกิดภาวะแทรกซอน: เนื้อเยื่อไดรับ เลือดไมเพียงพอ (ตา สมอง ไต หัวใจ) (Ineffective tissue perfusion) เนื่องจากแรงตาน ทานเลือดสูงจากภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต ๏ (เสี่ยงตอ) ระดับความรูสึกตัวเปลี่ยนแปลง เนื่องจากภาวะแทรกซอนทางสมองในภาวะความ ดันโลหิตสูงวิกฤต ๏ ปวดศีรษะรุนแรง เนื่องจาก การเพิ่มความดันใน หลอดเลือดสมอง
๏ (เสี่ยงตอ) การแลกเปลี่ยนกาซไมมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก มีภาวะน้ําทวมปอด ๏ (เสี่ยงตอ) การดูแลตนเองไมมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก ขาดความรูเกี่ยวกับภาวะโรค การจํากัด อาหาร การใชยา การควบคุมปจจัยเสี่ยง และการ ดูแลรักษาตอเนื่องหลังออกจากโรงพยาบาล ๏ มีความวิตกกังวล เนื่องจาก การอยูใน สิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงจากเดิมและความรูสึกไม แนนอนในความเจ็บปวย
กิจกรรมการพยาบาล ผูปวยความดันโลหิตสูงวิกฤต(3) 1. เฝาระวังอาการ/อาการแสดงของเนื้อเยื่อไดรับ เลือดไมเพียงพอ (ตา สมอง ไต หัวใจ)
ค.ไตขาดเลือดไปเลี้ยง – ความถวงจําเพาะของ ปสสาวะเพิ่มขึ้น ระดับโซเดียมในปสสาวะเพิ่มขึ้น ปสสาวะเปนฟอง ปริมาณปสสาวะลดลงอยาง ตอเนื่อง ระดับ BUN Creatinine เพิ่มขึ้น GFR ต่ํา
ก. การมองเห็นบกพรอง ไดแก การเห็นภาพไมชัด เห็นเปนจุด ตาพรา ตามัว สูญเสียการมองเห็น จอตาบวม และมีเลือดออก ทําใหตาบอดได ข.หลอดเลือดสมองมีเลือดไปเลี้ยงไมพอ ทําใหการรู เวลา สถานที่ บุคคล หรือความจําลดลง แขนขา ออนแรง อัมพาต ซึม คลื่นไส อาเจียน ปากเบี้ยว พูดไมชัด กระสับกระสาย ปวดศีรษะรุนแรง
ง. เลือดเลี้ยงหัวใจไมพอกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจวาย – เจ็บแนนหนาอก หอบเหนื่อย นอน ราบไมได ใจสั่น
กิจกรรมการพยาบาล ผูปวยความดันโลหิตสูงวิกฤต(3) 2. ดูแลใหไดรับยาเพื่อชวยลดความดันโลหิตตาม แผนการรักษา และติดตามผลขางเคียง 3. วัด BP ทุกครั้งทีท่ าํ การปรับยาทางหลอดเลือดดํา ทุก 5 – 15 นาที เพื่อประเมินระดับความรุนแรง และการตอบสนองตอการรักษา 4. ติดตามสัญญาณชีพ จนกวาความดันโลหิตจะ คงที่ และคํานวณ Modified Early Warning Score (MEWS) 5. ติดตาม/ประเมินภาวะ Orthostatic hypotension 6.เมื่อสามารถควบคุมความดันโลหิตไดได ใหการ พยาบาลเชนเดียวกับผูปวย HT ดังกลาวขางตน
Modified Early Warning Score (MEWS)
Modified Early Warning Score (MEWS)
สรุป
เอกสารอางอิง 1. สมาคมความดันโลหิตสูงแหงประเทศไทย. แนวทางการ รักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไปฉบับ ปรับปรุง 2558 Thai Guidelines on The Treatment of Hypertension. กรุงเทพฯ: สมาคมความดันโลหิตสูงแหง ประเทศไทย; 2558.
2. Whelton PK, Carey RM, Aronow WS, Casey DE, Collins KJ, Dennison Himmelfarb C, et al. 2017 ACC/AHA/AAPA/ABC/ACPM/AGS/APhA/ASH/ASPC/ NMA/PCNA Guideline for the Prevention, Detection, Evaluation, and Management of High Blood Pressure in Adults. Journal of the American College of Cardiology. 2018;71(19):e127. 3.Ignatavicius DD, Workman ML. Medical-surgical nursing: Patient-centered collaborative care. 8th ed. Philadelphia: Elsevier Saunders; 2016.
4. กรองจิต วาทีสาธกกิจ. คูมือการรักษาโรคเสพติดยาสูบ สําหรับพยาบาล. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มณปรียา กราฟฟค; 2559. 5. Aronow, W. S. (2017). Treatment of hypertensive emergencies. Annals of Translational Medicine, 5(Suppl 1), S5. http://doi.org/10.21037/atm.2017.03.34 6. Surrena, H. (2010). Handbook for Brunner & Suddarth’s textbook of medical-surgical nursing. 12th ed. China: Lippincott Williams & Wilkins. 7. อินทนนท อิ่มสุรรณ. (2013). การดูแลรักษาภาวะความ ดันโลหิตสูงในหองฉุกเฉิน. ธรรมศาสตรเวชสาร,13(1): 109 -123.