Vital signs

Page 1

การประเมินสัญญาณชีพ (Vital signs) การวัดรอบเอว ส่วนสูง น้าหนัก อ.ดร.ศริ นรัตน์ ศรี ประสงค์ ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิ ดล sarinrut.sri@mahidol.ac.th


การประเมินสัญญาณชีพ (Vital signs) ประกอบด้วย • การวัดอุณหภูมิ (Temperature) • การนับชีพจร (Pulse) • การนับอัตราการหายใจ (Respiration) • การวัดความดันโลหิต (Blood pressure)


Physical Examination เทคนิคในการตรวจ ๑. ก่อนตรวจควรวัด V/S, BP, Pulse 4 extremities ๒. ผูต้ รวจยืนด้านขวาของผูป้ ่ วย ๓.ใช้เทคนิค ดู คลา เคาะ ฟัง

ผศ อัจฉริยา พงษ์นุ่มกุล


การวัดอุณหภูมิ (Temperature) • • • •

ทางปาก (1-2นาที)(Oral temperature) ทางรักแร้ (5-10 นาที) (Axillary temperature) ทางทวารหนัก(1-2 นาที)(Rectal temperature) ทางหู (Tympanic temperature)


การวัดอุณหภูมิ (Temperature) • อุณหภูมข ิ องร่างกายปกติอยูร่ ะหว่าง 35.8 – 37.3 องศาเซลเซียส • อุณหภูมข ิ องร่างกายเปลีย่ นแปลงตาม กิจกรรมทีท ่ า และพยาธิสภาพของ ร่างกาย • ไม่ควรวัดอุณหภูมท ิ าง................... หลังดืม ่ น้าเย็น

https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/d/d4/Human_Body_Temperature_Scale.jpg


การจับชีพจร (Pulse) • อัตราการเต้นของชีพจร = อัตราการเต้นของหัวใจ การตรวจชีพจร • ใช้สว่ นปลายนิ้วชี้ นิ้วกลางและนิ้วนางวางทีต ่ าแหน่ ง ต่างๆ และกดเบาๆ จนรูส้ ก ึ ได้ถงึ จังหวะของการเต้น


ตาแหน่ งชีพจร (Pulse)


Normal Resting Pulse Rate Age Newborn 1 year 2 year 4 year 6 year 8 – 12 14 year 16 year- Adult

Normal limits 70 – 190 80 – 160 80 – 130 80 – 120 75 – 115 70 – 110 65 – 105 60 – 100

เฉลีย่ ครัง้ /นาที 120 120 110 100 100 90 85 80


การจับชีพจร (Pulse) • • • •

Absent pulse – คลาไม่ได้ = 0 Weak /Thread pulse – คลาได้เบา ๆ = +1 Normal pulse คลาได้งา่ ย = +2 Bounding pulse คลาแรงมาก = +3


Respiration • • • • • • •

เมือ ่ นับการหายใจ อย่าจ้องมาก ผูป ้ ่ วยจะเกร็ง อัตรา : ควรนับเต็มนาที ปกติ อัตรา 12 – 20 ครัง้ /นาที สังเกตความลึกการหายใจ ้ -ลง มองดูทรวงอกทีย่ กขึน สังเกตจังหวะการหายใจ การขยายของทรวงอก ทัง้ สองข้าง ความสมมาตร


Respiration


Respiration


Blood pressure


Blood pressure ความดันโลหิต = แรงดันภายในหลอดเลือดแดงส่วนปลาย Systolic BP เป็ นค่าแรงดัน ขณะทีห ่ วั ใจบีบตัว (ventricle contraction) Diastolic BPเป็ นค่าแรงดัน ขณะทีห ่ วั ใจคลายตัว ้ ไป วัดในผูป ้ ่ วยอายุ > 3 ปี ขึน


From: Free Medical Book Thailand #FMBT


การวัดความดันโลหิตในโรงพยาบาล(1, 2) วิธีการวัด •ขณะวัดควรให้ arm cuff อยู่ระดับ แนวราบเดียวกับหัวใจ •ให้ทาการวัดอย่างน้อย 2 ครั้ง ห่างกันครั้งละ 1 นาที นา 2 ค่าที่วัดได้มาเฉลี่ย •หากพบผลจากการวัดสองครั้ง ต่างกันมากกว่า 5 mmHg ควรวัดเพิ่มอีก 1-2 ครั้ง และนาค่าที่ต่างกันไม่เกิน + 5 mmHg มาเฉลี่ย


การวัดความดันโลหิตในโรงพยาบาล(1, 2) •ในการวัดระดับความดันโลหิตครั้งแรก •แนะนาให้ วัดที่แขนทั้ง 2 ข้ าง •หากได้ ค่าต่างกันเกิน 20/10 mmHg •จากการวัดซา้ หลาย ๆ ครั้ง •แสดงถึงความผิดปกติของหลอดเลือด •ให้ ส่งผู้ป่วยต่อไปให้ ผ้ ูเชี่ยวชาญ • หากความดันโลหิตของแขนทั้งสองข้างไม่เท่ากัน โดยเฉพาะใน ผู้สูงอายุ พบได้มากกว่าร้อยละ 10 จะมี SBP ของแขนสองข้าง ต่างกัน > 10 mmHg การติดตามความดันโลหิตจะใช้ข้างที่มีค่า สูงกว่า


ค่าความดันโลหิต BP Category

ปกติ เริ่ มสูง

SBP (mmHg)

DBP (mmHg)

<120

and

<80

120–129

and

<80

Hypertension is new defined as Stage 1 ระยะเสี่ยง 130–139 or

Stage 2 Hypertension crisis

80–89

≥ 140

or

≥ 90

> 180

and/ or

>120

SBP: systolic blood pressure DBP: diastolic blood pressure


Waist circumference การวัดรอบเอว


การวัดรอบเอว การวัดรอบเอว Waist circumference • หาตาแหน่ งกระดูกสะโพกส่วนบน และตาแหน่ ง right iliac crest • วางสายเทปในระดับแนวนอน รอบท้องทีต ่ าแหน่ ง iliac crest และขนานไปกับพื้น • ไม่รดั สายเทปมากไป/มีการบิด • วัดเมือ ่ หายใจออกจนสุด


การชัง่ น้ าหนัก ส่วนสูง • Weight BMI • Length/ Height Body mass index


เอกสารอ้างอิง • พรศิริ พันธสี. (2553). กระบวนการพยาบาล & แบบแผนสุขภาพ: การประยุกต์ใช้ทางคลินิก (พิมพ์ครัง้ ที่ 5). กรุงเทพฯ: พิมพ์อกั รร. • สิรริ ตั น์ ฉัตรชัยสุชา. (2553). หลักการและเทคนิคการตรวจร่างกาย. เอกสารประกอบการสอน. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. • อารี ชีวเกรมสุข. (2551). กระบวนการพยาบาลและการประเมิน สุขภาพ: ทฤรฎีและการปฏิบตั .ิ นนทบุร:ี สานักวิชาการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. • Lippincott Williams & Wilkins. (2012). Assessment Made Incredibly Easy! (5th ed.). Philadelphia: Wolters Kluwer Health/Lippincott Williams & Wilkins.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.