Educational Technology Journal v23(1)2559

Page 1


‡∑§‚π‚≈¬’ เทคโนโลยี ส◊ËÕื่อ “√°“√»÷ สารการศึ°ก…“ ษา ¡Ÿมู≈ลπ‘นิ∏ธ‘»ิศ“ μ√“®“√¬å าสตราจารย์Àห¡àม่Õอ¡À≈«ßªî มหลวงปิòπ่น ¡“≈“°ÿ มาลากุ≈ล

„πæ√–√“™Ÿปªถั∂—ม¡ภ์¿åส มเด็ ¡‡¥Á®จæ√–‡∑æ√— ¡“√’มารี ในพระราชู พระเทพรัμตπ√“™ ÿ นราชสุ¥ด“œาฯ ¬“¡∫√¡√“™°ÿ สยามบรมราชกุ ���บ�ที���่ 11 ������� ปี��ท�ี่ � 2319 ฉบั ประจำ�ปี�ก���� ารศึ��� กษา2555 2559 ❖❖❖

��ที�� ่ป���รึ�� กษา

��.�� ภู��ม���ิภ�� รศ.ชม าค ศ.ดร.ผดุ ง อารยะวิ ��.��.����� �������ญ�ญู���

บรรณาธิ ������� ���การ

ผศ.ดร.ไพโรจน์ เบาใจ ��.��.������� �����

คณะกรรมการดำ����� เนินงาน ���������������

ผศ.ดร.ไพโรจน์ เบาใจ ��.��.������� ����� รศ.ดร.สาโรช โสภี��ร� ัก�� ข์ ��.��.����� ���� รศ.ดร.วี ��.��.��ร�ะ� ไทยพานิ ��������ช รศ.ดร.สุ โคตรบรรเทา ��.��.��น�ทร �� ���������� ผศ.ดร.ไพบู เปานิ� ล ��.��.�����ล��ย์ ����� พ.ต.ดร.บุ ญ��ชู ���� ใจซื�� ่อ��กุ�ล �.�.��.��� รศ.ดร.วิ ะวั�ฒ������ นานนท์ ��.��.��น�ัย�� วี���ร��� นางวั นดี บุญทวี ��������� �����������

รศ.ดร.ประหยั ระวรพงศ์ ��.��.������ � ด���จิ������� รศ.ดร.สานิ���ตย์������� กายาผาด ��.��.���� ดร.พู�ล���ศรี����� เวศย์��� อ��ุฬาร ��.�� ศ.ดร.สุท���ธิ�พ���งศ์ ���� หกสุ���� วรรณ ��.��.�� รศ.ดร.เผชิ�ญ���กิ����� จระการ ��.��.���� รศ.ดร.พงษ์������� ประเสริ ฐ หกสุ วรรณ ��.��.���� � ���� ���� อาจารย์���น้ำ� ขอนั ������� ���สุ��� ���นต์

นางวันดี บุญทวี นางเยาวดี น่วมสวัสดิ์ ��������� ย���อาสภวิ �������� ริยะ นายชาญชั

ร.ต.ท.บัญชา บุญทวี นางศิริมา ถ้ำ�ทอง

ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา และประชาสัมพันธ์

�.��.�� ����� �������� รศ.ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ ดร.จันทร์� ������� ชุ่มเมือ�งปั��ก �.��.���

���� �� ������������ ����������������

นางเยาวดี น่วมสวัสดิ์

��������� ��������� �

���เจ้���� าของ

�����������ห��ม่�อ������� มู��ล�นิ��ธ�ิศ��าสตราจารย์ มหลวงปิ��่น������ มาลากุ� ล��������������������������������������� ������������ ����ปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพระราชู

���� สำ��นั��� กงาน

�����������ห��ม่�������� �� ������ � ล มู��ล�นิ��ธ�ิศ��าสตราจารย์ อมหลวงปิ ่น มาลากุ �����่ � 114 114 อาคาร ����� 1414��ชั��้น2 2����� ����� �����ย��� ������.0-2261-1777 เลขที มหาวิ ทยาลั ศรี�น���� คริ�น�� ทรวิ���.0-2259-1919 โรฒ โทรศัพท์ 0-2259-1919 โทรสาร 0-2261-1777


สารบัญ

หนา

บก.แถลง ........................................................................................................................................................................... 3 คณะกรรมการรวมกลั่นกรอง ............................................................................................................................................. 4 พระราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร .....................................................................................................................6 ประวัติยอ ศาสตราจารย หมอมหลวงปน มาลากุล ........................................................................................................... 8 หนาตางงานวิจัย...การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากบทเรียนผานเว็บไซตดวยสมารทโฟน : ไพโรจน เบาใจ ...............15 การพัฒนารูปแบบการจัดสภาพแวดลอมทางการเรียนแบบอีเลิรนนิ่งดวยกูเกิ้ลเอิรธ : พูลศรี เวศยอุฬาร, สุจิตรา นุมสุวรรณ .......21 การพัฒนาบทเรียนอีเลิรนนิงตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน เรื่องความรูเบื้องตนเกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา สําหรับสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร : ดร.พูลศรี เวศยอุฬาร, ผศ.ดร.ไพโรจน เบาใจ, ผศ.จงดี กากแกว ...................36 การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอีเลิรนนิ่งเสริมทักษะการเรียนวิชาคณิตศาสตรผานเฟซบุคของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ : ผศ.ดร.สมภพ ทองปลิว ..................................58 การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใชการเรียนรูดวยโครงงานเพื่อสงเสริมความคิดสรางสรรคและทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 : ฉวัฒญา ฉิมมา, สังคม ภูมิพันธุ, นิรุวรรณ เทรินโบล ........66 การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการแบบเธรด (Threaded) เพื่อพัฒนาทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ของนักศึกษาพยาบาลศาสตรมหาวิทยาลัยเอกชน : ชญาชล สิริอัครบัญชา, ไพโรจน เบาใจ ..............................................86 การพัฒนาบทเรียนตามสภาพแวดลอมอีเลิรนนิง เรื่อง การพัฒนาบุคลิกภาพในงานอาชีพคหกรรมศาสตร สําหรับนักศึกษาที่บกพรองทางการไดยิน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต : ฉัตรชัย บุษบงค ........................................ 103 Development of Web-based Learning Environment Model to Enhance Cognitive Skills for Undergraduate Students in the Field of Electrical Engineering : Thongmee Lakonpol .......................... 122 การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน โดยใชสถานการณปญหาเปนฐาน เพื่อสรางเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห เรื่อง มงคลชีวิต วิชาพระพุทธศาสนา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 : ประภาทิพย อัคคะปญญาพงศ, ไพโรจน เบาใจ, อุทิศ บํารุงชีพ ............................ 141 การพัฒนามัลติมีเดีย เรื่อง การใชแท็บเล็ตเพื่อการฝกอบรมครูระดับชั้นประถมศึกษา ในโรงเรียนเขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร : ปณิตา ปานทอง, รองศาสตราจารย ดร.วารินทร รัศมีพรหม .......................... 156 การพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง วงจรไฟฟาเบื้องตน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 : ศิรินภา จันทรลา, รองศาสตราจารย ดร.วิริยะ วงศเลาหกุล ................................. 165 การพัฒนาบทเรียนฝกอบรมผานเว็บเรื่องการใชงานหองสมุด สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา : พรพรรณ เกิดจั่น, รศ.ดร.ทิพยเกสร บุญอําไพ ..................... 174 การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 : ณัฐวิภา หงสเจริญกุล, สาโรช โศภีรักข .............................................................. 188 การกีฬากับสันติภาพ : รองศาสตราจารยชม ภูมิภาค .......................................................................................................... 197 การวิจัยและพัฒนา R&D : ผศ.ดร.ไพโรจน เบาใจ .............................................................................................................. 206 รถทัศนศึกษาดาวอังคาร : เทคโนโลยีที่เหนือกวาความจริงเสมือน : ดร.พูลศรี เวศยอุฬาร ................................................ 209 การพัฒนาบทเรียนตามสภาพแวดลอมอีเลิรนนิง เรื่อง การพัฒนาบุคลิกภาพในงานอาชีพคหกรรมศาสตร สําหรับนักศึกษาที่บกพรองทางการไดยิน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต : ดร.พีระพงษ สิทธิอมร ............................... 225 เกร็ดเล็กเกร็ดนอยเกี่ยวกับศาสตราจารยหมอมหลวงปน มาลากุล...ตอนที่ 5 : ดร.จันทร ชุมเมืองปก ............................... 229 องคบรมครู : หมอมหลวงหนอย กมลาศน ........................................................................................................................... 231 กิจกรรมของมูลนิธิ .......................................................................................................................................................... 233 แนะนําเว็บไซต มูลนิธิศาสตราจารยหมอมหลวง ปน มาลากุล ในพระบรมราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ............................................................... 237


บ.ก.แถลง ∫°.·∂≈ß หนั เทคโนโลยี ื่อสารการศึ นี้ เปน��������� ปที่ 23 ได�ใ��� หค� วาม ����ง��สื��อ���� �������ส����� �������กษาฉบั �����บ���� �� สํ��������� าคัญกับงานวิ ่อสาร �จึ��������� งนํามาลงไว��เป�� น ����จ�ัย��ทางเทคโนโลยี ������ �����ก�ารศึ ����ก�ษาและการสื ���������������� จํ��� านวนมาก เพื่อให นักวิ�ช������������ าการ นักวิจัย และผู นที่สนใจนําไปใช ����������� ����� ������อา���������� �����ประโยชน ������ ากํ��าลั�������������������� งเปนที่นิยม และการกีฬ����� าจะนํ�า��ไปสู สันติ��ภ���� าพ ������ขณะนี �������้ก�ารกี ����ฬ����� ��������� ท������ านรองศาสตราจารย ม �ภูE-Learning มิภาค ประธานมู ลนิธิ ศ.มล.ป น มาลากุ ล ได ���������������ช��� ��������� Agmented Reality กรุ ณาเขียนบทความนี ้ให สว�นด านเทคโนโลยี การศึกษาและการสื ����������� ��������������� ������ �������� �������� ���������������่อ��สาร ���� ทM-Learning าน ดร.พูลศรี เวศย นาํ � �เสนอ to Mars และยั�งมี������� เรือ่ งอืน่ �ๆ� �����อฬุ � ��าร� ��ได � ��� ��� � ���Field � ���� �Trip �� � ������ ������� ที������� น่ า สนใจอี ขาพเจาขอขอบคุ ทานไว������� ณ ทีน่ ดี้ �ว ���� ย นอกจากนี ข้ า พเจา � ���กมาก ��������� ����������ณ��ทุ��ก����� ��� �������� ยั��ง����� มีเจตนาสนั บสนุนให ักเทคโนโลยี การศึ กษาได ชวารสารฉบั นที่เผย �������������� ���น��������� ����� ������ ����ใ�������� �����บ��นี�้เ��ป�������� แพร ความรู างวิ���� ชาการสู ้น ถาทานมี� น�������� วัตกรรมใหม ๆ สามารถส ��������� ����ท�� �����ส��ัง�คม ����ฉะนั ����������� ������ �����������ง มาตี พิมพไดเสมอ ������� ขาพเจาขอขอบคุณทุกทานทีใ่ หการสนับสนุนการจัดพิมพหนังสือฉบับนี้ �������น�เล������� ����ขอให ������ท��า��นมี ������ ���� ����������า��วหน ���า�ในชี ������ จนออกมาเป มสวยงาม ความสุ ขและความก วิต ���������������� ��������������������������������������� ตลอดไป

ผูชวยศาสตราจารย ดร.ไพโรจน เบาใจ ������������������������� ������������� ������� กรรมการมู ิศาสตราจารย หมอมหลวงป น มาลากุล���� ��������� ����ล��นิ�ธ���� ���������������� ��� ������������ ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ������������������ ��.������� �����


¡Ÿ≈π‘∏‘»“ μ√“®“√¬å À¡àÕ¡À≈«ßªîòπ ¡“≈“°ÿ≈ PROFESSOR MOMLUANG PIN MALAKUL FOUNDATION ¡À“«‘∑¬“≈—¬»√’π§√‘π∑√«‘‚√≤ ª√– “π¡‘μ√ ÿ¢ÿ¡«‘∑ 23 ‡¢μ«—≤π“ °√ÿ߇∑æœ 10110 ‚∑√»—æ∑å.0-2259-1919 ‚∑√ “√.0-2261-1777

คณะกรรมการร่ กรอง §≥–°√√¡°“√√àว«มกลั ¡°≈—Ëπ่น°√Õß ¿Ÿ¡ภู‘¿ม“§ ิภาค

√Õß»“ μ√“®“√¬åชม ™¡ 1. 1.รองศาสตราจารย์ ૬»“ μ√“®“√¬åดร.ไพโรจน์ ¥√.‰æ‚√®πå 2. 2.ผู้ชºŸ่วâ™ยศาสตราจารย์

√Õß»“ μ√“®“√¬åดร.สุ ¥√. ÿนπทร ∑√ 3. 3.รองศาสตราจารย์

‚§μ√∫√√‡∑“ โคตรบรรเทา

4.4. ศาสตราจารย์ »“ μ√“®“√¬åดร.ผดุ ¥√.º¥ÿง ß 5. 5.ศาสตราจารย์ ดร.สุท¥√.«’ ธิพงศ์ √Õß»“ μ√“®“√¬å √–

อารยะวิ ยญู Õ“√¬–«‘ ≠êŸ หกสุวรรณ ‰∑¬æ“π‘ ™

6. 6.รองศาสตราจารย์ ระ √Õß»“ μ√“®“√¬åดร.วี ¥√. “‚√™ 7. รองศาสตราจารย์ ดร.สาโรช 7. √Õß»“ μ√“®“√¬å ¥√.ª√–À¬—¥ 8. รองศาสตราจารย์ ดร.ประหยัด 8. √Õß»“ μ√“®“√¬å ¥√. “π‘μ¬å 9. รองศาสตราจารย์ ดร.สานิตย์ 9. √Õß»“ μ√“®“√¬å ¥√.‡º™‘≠ 10. รองศาสตราจารย์ ดร.เผชิญ √Õß»“ μ√“®“√¬åดร.วิ ¥√.«‘นπัย—¬ 11. 10.รองศาสตราจารย์

‡∫“„® เบาใจ

ไทยพานิ ‚ ¿’ √—°¢å ช โสภีรักข์ ®‘√–«√æß»å จิระวรพงศ์ °“¬“º“¥ กายาผาด °‘®√–°“√ กิจระการ «’√วี–«— ระวั≤ฒπ“ππ∑å นานนท์

√Õß»“ μ√“®“√¬åดร.พงษ์ ¥√.æß…åปªระเสริ √–‡ √‘ฐ∞ À° ÿ «√√≥ 12. 11.รองศาสตราจารย์ หกสุ วรรณ ૬»“ μ√“®“√¬åดร.พิ ¥√.æ‘ตμร √ ∑Õß™— Èπ ้น 13. 12.ผู้ชºŸ่วâ™ยศาสตราจารย์ ทองชั 14. 13.ดร.พู ลศรี √Õß»“ μ√“®“√¬å ¥√. ÿ∑∏‘æß»å 15. 14.ดร.พี ระพงษ์ ¥√.æŸ ≈»√’

15. ¥√.æ’√–æß…å

เวศย์ อุฬาร À° ÿ «√√≥ สิทธิÕอÿÃมร ‡«»¬å “√

‘∑∏‘Õ¡√


¡Ÿ≈¡Ÿπ‘≈∏π‘‘»∏“ μ√“®“√¬å Õ¡À≈«ßªî òπ ¡“≈“°ÿ ≈≈ ‘»“ μ√“®“√¬åÀ¡àÀ¡à Õ¡À≈«ßªî òπ ¡“≈“°ÿ PROFESSOR MOMLUANG PINPIN MALAKUL FOUNDATION PROFESSOR MOMLUANG MALAKUL FOUNDATION ¡À“«‘¡À“«‘ ∑¬“≈—∑¬“≈— ¬»√’¬π»√’ §√‘π§√‘ ∑√«‘π∑√«‘ ‚√≤‚√≤ ª√– “π¡‘ μ √ ª√– “π¡‘μ√ ÿ¢ÿ¡ ÿ«‘¢∑ÿ¡23 ≤π“≤°√ÿ 10110 «‘∑ ‡¢μ«— 23 ‡¢μ«— π“߇∑æœ °√ÿ߇∑æœ 10110 ‚∑√»—‚∑√»— æ∑å.0-2259-1919 ‚∑√ “√.0-2261-1777 æ∑å.0-2259-1919 ‚∑√ “√.0-2261-1777

������ ������������� �� ������ � � �������������������������� ��� ���������� �������� �� ������ มู ล นิ ธ ิ ศ าสตราจารย์ ห ม่ อ มหลวงปิ ่ น มาลากุ ล ��������� ������������� ��������� ������� ������������������ �������� ��������� ����� ��������� ������� ������������ ในพระราชู ป ถั ม ภ์ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด า ฯ สยามบรมราชกุ มารี ����� ���� �� ��� ����� ������������� ����� ��������.�.2554-2558 � ��� ���� ������������� ����� �� �.�.2554-2558 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารมูลนิธิ พ.ศ. 2558-2562

���������� �������������� ����� ����� ����� ��� ��1/2554 ��������������������� ������ 2554 ��������� ��� ���������� �������������� ����� �� ����� ��� 1/2554 �������� 14 �� 14 ������ 2554 ���������� ในการประชุ ม คณะกรรมการบริ ห ารมู ล นิ ธ ิ ครั ้ ง ที ่ 2 / 2558 เมื ่ อ วั น ที ่ 5 สิ ง หาคม 2558 เรื ่ อ งการ ������������� ��������� ���.�.2554-2558 ���� ������ �� ���� ����������������� �� ������� ���� ��������� ��� �� ������������� � �.�.2554-2558 ���� ���� ����� ����������������� �� �������������� ��� �� เลือกตั้งคณะกรรมการบริหารชุดพ.ศ.2558 - 2562 ที่ประชุมมีมติเลือกตั้ง รองศาสตราจารย์ชม ภูมิภาค ��������������� ����� �������� �������� ��������� ��� ������ ��15 �� �� ��������� �� ������ �������� ����������� � 15 เป็นประธานมูลนิธิ และได้เลือกตั้งกรรมการอื่นๆ อีกรวมทั้งประธานเป็นจ�ำนวน 14 คน ���� ����������� ���������������� ��14 ���น��������� ������������������� ���จึ�ง� ��ประกาศแต่ �.�.2554-2558 �ด�ำเนิ 14 ��การขอจดทะเบี ���������� ����ย������������� ����� �� �.�.2554-2558 อาศั ย���� มติ ท�ี่ป���������� ระชุมที่ม�อบหมายให้ นกรรมการชุ�ด���� ใหม่ งตั้ง ��คณะกรรมการมู ������ ���� ลนิธิ ดังนี้ ������ ������������� 1.�������������� �������������� ����� ������������� 1. 1.รองศาสตราจารย์ ชม��ภู�ม���ิภ�าค ประธานกรรมการ ��.�� ���� �ม��ณฑา ����� ������ � ������������� � 1� 1 2. 2.รองศาสตราจารย์ ดร.คุ ณ��.�� หญิ พรหมบุ ญ � รองประธานกรรมการคนที ่1 2.�������������� �������������� �งสุ��� ������ ������ ������������� 3. 3. ดร.จั น��.�� ทร์ อ��งปั รองประธานกรรมการคนที ่2 ����ชุ�่ม��� ��เมื����� ������������� � 2� 2 3.��.�� ���������ก� ����� ������������� 4. 4. ผู4.้ช��่ว��ยศาสตราจารย์ เลิ�ศ���ชู���น���าค กรรมการและเลขานุ ���������������� ��� ���������������� �ก��าร ���������������� ����� ���������������� ��� 5. 5. ดร.พี ร ะพงษ์ สิ ท ธิ อ มร กรรมการและผู ช ้ ว ่ ยเลขานุ ������ ��������� ������������ ����������� �ก��าร 5.��.����.�� ������ ����� ������������ ����������� ��� 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ เบาใจ กรรมการและเหรัญญิก 6. 6.������������������� ��.������� ����� �������� ��������������� �����นธ์ กรโกสียกาจ �������������� �������������� 7. รองศาสตราจารย์ ดร.ท่า��.������� นหญิงประภาพั กรรมการ ��.����.�� ���(กมลาศน์ �) นี ������� 7.����������� ����������� ����������� �������� � ลเซ่น ������� 8. 7. หม่ อมหลวงจุ ฑามาตย์ กรรมการ ��.����.�� ����ช���ั��� ���� �������������� ��นมิ �������� ��� ������ ����������� ������� 9. 8. ผู8.้ช�������������� ่วยศาสตราจารย์ ดร.ฤทธิ ย��อ่��อ������� ่ง ���� ������� กรรมการ 9. 9.�������� ��� ������������������� ������� 10. นางวั น�������� ดี บุญ�ทวี กรรมการ ������ ������� 11. 10.อาจารย์ ว พงศาปาน กรรมการ ��.����.�� �เฉลี ����ย��� ����� ����� ������� 10. ����� ����� ������� 12. อาจารย์ ประวิท��ร�ตรี กรรมการ 11.11. �������� ������� �������� ������เพ็���ญมาลย์ ������� 13. ร้ อ ยต�ำรวจโท บั ญ ชา บุ ญ ทวี กรรมการและประชาสั มพันธ์ 12.12. �������������� ������� ������ ) ) ������� �������� ������� �������(������� � (������� ������� 14. นางสาวชื่นชม จริโมภาส กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 13.13. ������� ��������������� ��� ��� ������� ������� � ���� ������� 14.14. ������� ���������� �������� ������� ������� � ������� ������� ประกาศ ณ วันที่ 11 สิงหาคม 2558 ������ � ��������� �15 ������ 2554 ������ ��� 15 ������ 2554

(�������������� �� ����ชม �������) (�������������� �ภู��ม��) (รองศาสตราจารย์ ิภาค) �������� � �� � � � ���������� � �� � ������� � � ������ � � ล �������� � �� � � � ���������� � �� � ������� �� ่น������ ประธานมูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ มาลากุ ��������� ��������������� ��������� �������� ������ �������� ��������� ���� �������� �ต������� ในพระราชู ปถัมภ์��ส�มเด็ จ�พระเทพรั นราชสุ ด������������ า ฯ������������ สยามบรมราชกุ มารี


6

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


พระราโชวาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์และพระราชทานปริญญาบัตร แกผูสําเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารกีฬา ๑ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อําเภอองครักษ จังหวัดนครนายก วันจันทร ที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๒

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอม ใหขาพเจา มาปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ในวันนีข้ อแสดงความชืน่ ชมกับบัณฑิตทุกคน ทีไ่ ดรบั เกียรติและความสําเร็จ บัณฑิตเมื่อผานการศึกษาตั้งแตระดับตนจนถึงระดับมหาวิทยาลัย ยอมตองใหพัฒนา ตนเองมาเปนลําดับ ใหเปนผูมีความรูดี มีความสามารถสูง ความรูความสามารถเทาที่แตละ คนมีอยูนั้น แมจะเปนพื้นฐานอยางสําคัญในการปฏิบัติงานก็จริง แตก็ไมอาจกลาวไดวาเพียง พอแลว เพราะการทํางานทุกอยางใหบรรลุถึงความสําเร็จและความเจริญ ตองอาศัยความรู และความสามารถที่กวางขวาง ลึกซึ้ง จัดเจนซึ่งไดมาจากการพัฒนาตนเองใหดีขึ้นเจริญขึ้น อยูเสมอ บุคคลใดไมเห็นความสําคัญในขอนี้ กลับพอใจหยุดนิ่งอยูกับที่ ในขณะที่วิชาการ ตางๆ เหตุการณตางๆ ตลอดจนผูอื่นฝายอื่นพัฒนากาวหนาไปไมหยุดยั้งที่สุด บุคคลนั้นก็ จะกลายเปนคนลาหลังและงานที่ทําก็จะพลอยเสื่อมถอยไปดวย บัณฑิตผูปรารถนาความ เจริญกาวหนา จึงควรจะไดพฒ ั นาตนเองดวยการศึกษาเรียนรูพ รอมทัง้ ปฏิบตั ฝิ ก ฝน ใหมคี วาม รูและความสามารถเพิ่มพูนขึ้นโดยกระทําอยางตอเนื่องตลอดชีวิต ในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ขออวยพรใหบัณฑิตทุกคน มีความ เจริญรุงเรืองในชีวิตและกิจการงาน ทั้งขอใหทุกทานที่มาประชุมพรอมกันในที่นี้ มีความสุข สวัสดีโดยทั่วกัน

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

7


ª√–«—쑬àÕ

»“ μ√“®“√¬å À¡àÕ¡À≈«ßªîòπ ¡“≈“°ÿ≈

ประวัติยอ ศาสตราจารย หมอมหลวงปน มาลากุล π“¡

À¡àÕ¡À≈«ßªîòπ ¡“≈“°ÿ≈

«—π‡¥◊Õπªï‡°‘¥ «—π‡ “√å∑’Ë 24 μÿ≈“§¡ æ.».2446 ‡«≈“ 09.05 π. ≥ ∫â“π∂ππÕ—…Ɠߧå ∫‘¥“

‡®â“æ√–¬“æ√–‡ ¥Á® ÿ‡√π∑√“∏‘∫¥’ (À¡àÕ¡√“™«ß»å‡ªï¬ ¡“≈“°ÿ≈)

¡“√¥“

∑à“πºŸâÀ≠‘߇ ߒˬ¡ æ√–‡ ¥Á® ÿ‡√π∑√“∏‘∫¥’ ( °ÿ≈‡¥‘¡ « —πμ ‘ßÀå)

æ’ËπâÕß√à«¡∫‘¥“¡“√¥“ 1. À¡àÕ¡À≈«ßª° 2. À¡àÕ¡À≈«ßªÑÕß 3. À¡àÕ¡À≈«ßªÕß 4. À¡àÕ¡À≈«ßªîòπ 5. À¡àÕ¡À≈«ß‡ªπ»√’ 6. À¡àÕ¡À≈«ß‡ªïò¬¡ ‘π 7. À¡àÕ¡À≈«ßªπ»—°¥‘Ï 8. À¡àÕ¡À≈«ßª“πμ“

8

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

¡“≈“°ÿ≈ (∂÷ß·°à°√√¡) ¡“≈“°ÿ≈ (∂÷ß·°à°√√¡) ¡“≈“°ÿ≈ (∂÷ß·°à°√√¡) ¡“≈“°ÿ≈ (∂÷ß·°à°√√¡) ¡“≈“°ÿ≈ (∂÷ß·°à°√√¡) ¡“≈“°ÿ≈ (∂÷ß·°à°√√¡) ¡“≈“°ÿ≈ (∂÷ß·°à°√√¡) (¡“≈“°ÿ≈) « —πμ ‘ßÀå


°“√»÷°…“ æ.».2450 æ.».2451 æ.».2452 æ.».2453 æ.».2457 æ.».2458

æ.».2464 æ.».2465 æ.».2467 æ.».2471 æ.».2474 æ.».2498 ¡√

‡√‘¡Ë ‡√’¬πÀπ—ß ◊Õ∑’∫Ë “â π°—∫§√Ÿ·©≈â¡ (·©≈â¡ »ÿªμ√—°…å ¿“¬À≈—߇ªìπæ√–¬“ Õπÿ»“ μ√åæ“𑙬°“√) ‡√’¬πÀπ—ß ◊Õ°—∫§√ŸÕŸã (æ√–¬“æ𑙬»“ μ√å«‘∏“π) ‡√’¬π°—∫§√Ÿ‡™◊ÈÕ (À¡àÕ¡À≈«ß‡™◊ÈÕ Õ‘»√“ß°Ÿ√ ¿“¬À≈—߇ªìπÀ≈«ß‰«∑‡¬») ‡¢â“‡√’¬π‚√߇√’¬π¡—∏¬¡√“™∫Ÿ√≥– (ªí®®ÿ∫—π§◊Õ ‚√߇√’¬π «π°ÿÀ≈“∫ «‘∑¬“≈—¬) ‡≈¢ª√–®”μ—« 145 Õ∫‰≈à‰¥â™π—È ª√–∂¡æ‘‡»…ªï∑’Ë 3 μ“¡·ºπ°“√ »÷°…“ æ.».2452 ´÷Ë߇ª≈’ˬπ‡ªìπ¡—∏¬¡ 3 μ“¡·ºπ°“√»÷°…“ æ.».2456 ‡¢â“‚√߇√’¬π¡À“¥‡≈Á°À≈«ß ‡≈¢ª√–®”μ—« 199 ‡√’¬π´È”™—Èπ ¡—∏¬¡ªï∑’Ë 3 ¬°‡«âπ«‘™“§≥‘μ»“ μ√å ·≈–¿“…“Õ—ß°ƒ… ¢÷Èπ‰ª‡√’¬π™—Èπ¡—∏¬¡ªï∑’Ë 4 æ√–∫“∑ ¡‡¥Á®æ√–¡ß°ÿƇ°≈Ⓡ®â“Õ¬ŸÀà «— ∑√ßæ√–°√ÿ≥“‚ª√¥‡°≈â“œ ·μàß μ—ßÈ „À⇪ìππ—°‡√’¬π¡À“¥‡≈Á°„πæ√–∫√¡√“™«—ß ‰¡à ‰¥â‡√’¬π∑’Ë ‚√߇√’¬πÕ’° ·μà ª≈“¬ªïπ—Èπ¬—ߧߡ“ Õ∫‰≈à·≈– “¡“√∂ Õ∫ºà“π™—Èπ¡—∏¬¡ªï∑’Ë 5 ‡≈◊ËÕ𠉪‡√’¬π™—Èπ¡—∏¬¡ªï∑’Ë 6 ‰¥â ·μà ‰¡à ‰¥â¡“‡√’¬πÀ√◊Õ¡“ Õ∫Õ’°‡≈¬ ∑√ßæ√–°√ÿ≥“‚ª√¥‡°≈â“œ „Àâ ‰¥â√—∫∑ÿπ¢Õß°√–∑√«ß∏√√¡°“√ ÕÕ°‰ª »÷°…“μàÕ ≥ ª√–‡∑»Õ—ß°ƒ… μÕπ·√°‰¥â ‰ªÕ¬Ÿà°—∫§√Õ∫§√—« Marshall ∑’ˇ¡◊Õß brighton ‡æ◊ËÕΩñ°Ωπ¥â“π¿“…“·≈–ª√–‡æ≥’ ‡¢â“»÷°…“¿“…“ —π °ƒμ ·≈–∫“≈’∑’Ë School of Oriental Studies ·Ààß ¡À“«‘∑¬“≈—¬≈Õπ¥Õπ ‡¢â“»÷°…“∑’Ë Brasenose College ·Ààß¡À“«‘∑¬“≈—¬ÕÕ°´åøÕ√å¥ ‚¥¬ ‡≈◊Õ°¿“…“ —𠰃쇪ìπ«‘™“‡Õ° ·≈–¿“…“∫“≈’‡ªìπ«‘™“‚∑ ”‡√Á®°“√»÷°…“·≈–‰¥â√—∫ª√‘≠≠“μ√’‡°’¬√μ‘π‘¬¡ B.A “¢“¿“…“ ‚∫√“≥μ–«—πÕÕ° ¡À“«‘∑¬“≈—¬ÕÕ°´åøÕ√å¥ æ‘®“√≥“¡Õ∫ª√‘≠≠“Õ—°…√»“ μ√å¡À“∫—≥±‘μ (M.A) ”‡√Á®°“√»÷°…“ «‘∑¬“≈—¬ªÑÕß°—π√“™Õ“≥“®—°√ (√ÿàπ·√°)

∑à“πºŸâÀ≠‘ߥÿ…Æ’¡“≈“ ¡“≈“°ÿ≈ ≥ Õ¬ÿ∏¬“ (‰°√ƒ°…å) ∏‘¥“‡®â“æ√–¬“¡À‘∏√·≈–∑à“πºŸâÀ≠‘ß°≈’∫ ‰¡à¡’∫ÿμ√∏‘¥“

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

9


√—∫√“™°“√ æ.».2455 æ.».2458 æ.».2461 æ.».2474

∂«“¬μ—«‡ªìπ¡À“¥‡≈Á°∑’Ëæ√–∑’Ëπ—ËßÕ—¡æ√ ∂“𠇪ìππ—°‡√’¬π¡À“¥‡≈Á°√—∫„™â√ÿàπ‡≈Á° ‡ªìππ—°‡√’¬π¡À“¥‡≈Á°√—∫„™â√ÿàπ„À≠à Õ“®“√¬åª√–®”°Õß·∫∫‡√’¬π°√¡«‘™“°“√ Õ“®“√¬å摇»…§≥–Õ—°…√ »“ μ√å ·≈–«‘∑¬“»“ μ√å ®ÿÓ≈ß°√≥å¡À“«‘∑¬“≈—¬ æ.».2475 Õ“®“√¬å‚∑ Õ“®“√¬åª√–®”§≥–Õ—°…√»“ μ√å æ.».2477 À—«Àπâ“·ºπ°Ωñ°À—¥§√Ÿ¡—∏¬¡ §≥–Õ—°…√»“ μ√å·≈–«‘∑¬“»“ μ√å ®ÿÓ≈ß°√≥å¡À“«‘∑¬“≈—¬ √—°…“°“√„πμ”·Àπàߧ√Ÿ„À≠à ‚√߇√’¬π ¡—∏¬¡ÀÕ«—ß æ.».2480 Õ“®“√¬å‡Õ° Õ—π¥—∫ 1 ºŸâÕ”π«¬°“√‚√߇√’¬π‡μ√’¬¡Õÿ¥¡»÷°…“ ·Ààß ®ÿÓ≈ß°√≥å¡À“«‘∑¬“≈—¬ æ.».2481 Õ“®“√¬å‡Õ° Õ—π¥—∫ 3 æ.».2482 Õ“®“√¬å‡Õ° Õ—π¥—∫ 4 æ.».2485 Õ∏‘∫¥’°√¡ “¡—≠»÷°…“ ÕÕ°®“°μ”·ÀπàßÀ—«Àπâ“·ºπ°Ωñ°À—¥§√Ÿ ¡—∏¬¡®ÿÓ≈ß°√≥å¡À“≈—¬™—Èπ摇»… μ˔՗μ√“ æ.».2486 ™—Èπ摇»… Õ—π¥—∫ 1 æ.».2487 ™—Èπ摇»… Õ—π¥—∫ 2 æâπ®“°μ”·ÀπàߺŸâÕ”π«¬°“√‚√߇√’¬π‡μ√’¬¡ Õÿ¥¡»÷°…“ ∑’˪√÷°…“‚√߇√’¬π‡μ√’¬¡Õÿ¥¡»÷°…“∑”ß“π„πÀπâ“∑’Ë ‡≈¢“∏‘°“√®ÿÓ≈ß°√≥å¡À“«‘∑¬“≈—¬ (22 ‘ßÀ“§¡ - 6 μÿ≈“§¡) æ.».2489 ™—Èπ摇»… Õ—π¥—∫ 3 ª≈—¥°√–∑√«ß»÷°…“∏‘°“√ (∂÷ß 26 ∏—𫓧¡ æ.».2500) æ.».2495-2496 √—°…“°“√„πμ”·ÀπàßÕ∏‘∫¥’°√¡«‘™“°“√ æ.».2497 √—°…“°“√„πμ”·ÀπàßÕ∏‘∫¥’°√¡°“√Ωñ°À—¥§√Ÿ (∂÷ß 27 °—𬓬π æ.».2499) »“ μ√“®“√¬å摇»…„π§≥–§√ÿ»“ μ√å ®ÿÓ≈ß°√≥å ¡À“«‘∑¬“≈—¬ æ.».2500 √— ∞ ¡πμ√’ «à “ °“√°√–∑√«ß»÷ ° …“∏‘ ° “√·≈–°√–∑√«ß«— ≤ π∏√√¡ √—∞∫“≈™ÿ¥ π“¬æ®πå “√ ‘𠇪ìπ𓬰√—∞¡πμ√’ æ.».2500-2501 √— ∞ ¡πμ√’ «à “ °“√°√–∑√«ß»÷ ° …“∏‘ ° “√·≈–°√–∑√«ß«— ≤ π∏√√¡ √—∞∫“≈™ÿ¥ æ≈‚∑∂πÕ¡ °‘μμ‘¢®√ ‡ªìπ𓬰√—∞¡πμ√’ √—°…“°“√

10

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


æ.».2502-2506 æ.».2506-2512

Õ∏‘°“√∫¥’®ÿÓ°√≥å¡À“«‘∑¬“≈—¬ (18-29 ‘ßÀ“§¡ æ.».2501) æâπ ®“°μ”·Àπàß√—∞¡πμ√’«à“°“√°√–∑√«ß«—≤π∏√√¡ (1 °—𬓬π) ‡π◊ËÕß®“°¬ÿ∫°√–∑√«ß √—∞¡πμ√’«“à °“√°√–∑√«ß»÷°…“∏‘°“√ √—∞∫“≈™ÿ¥®Õ¡æ≈ ƒ…¥‘Ï ∏π–√—™μå ‡ªìπ𓬰√—∞¡πμ√’ √—∞¡πμ√’«“à °“√°√–∑√«ß»÷°…“∏‘°“√ √—∞∫“≈™ÿ¥®Õ¡æ≈∂πÕ¡ °‘μμ‘¢®√ ‡ªìπ𓬰√—∞¡πμ√’

°“√ª√–™ÿ¡π“𓙓쑧√—Èß ”§—≠ æ.».2467 ºŸâ·∑ππ—°‡√’¬π‰∑¬ °“√ª√–™ÿ¡ Meeting of University Leaque of Nations æ.».2472 ºŸâ·∑π√—∞∫“≈ °“√ª√–™ÿ¡ 1st Work Conference on Adult Education ∑’Ë Cambridge æ.».2474 ºŸªâ Ø‘∫μ— ß‘ “π™—«Ë §√“« °“√ª√–™ÿ¡ Leaque of Nations Temporary Collaborator ¢Õß —ππ‘∫“μ‘™“μ‘∑’Ë GENEVA æ.».2491 À—«Àπⓧ≥–ºŸâ —߇°μ°“√≥å °“√ª√–™ÿ¡ ¡—™™“ ¡—¬ “¡—≠ (General Conference) §√—Èß∑’Ë 3 ¢ÕßÕߧ尓√»÷°…“ «‘∑¬“»“ μ√å·≈–«—≤π∏√√¡ ·Ààß Àª√–™“™“μ‘ (UNESCO) ∑’Ë°√ÿ߇∫√ÿμ ª√–‡∑»‡≈∫“πÕπ æ.».2492 UNESCO ‡™‘≠‡ªìπºŸÕâ ”π«¬°“√ —¡¡π“‡√◊ÕË ß°“√»÷°…“ºŸâ „À≠à„π™π∫∑∑’Ë √—∞‰¡‡´Õ√å (Mysore) ª√–‡∑»Õ‘π‡¥’¬ (UNESCO Seminar çRural Adult Education for Community Actioné) æ.».2493 ª√–∏“π°“√ª√–™ÿ¡ ECAFE - UNESCO Sorking Group ∑’Ë°√ÿ߇∑æœ æ.».2494 À—«Àπⓧ≥–ºŸâ·∑π‰∑¬ °“√ª√–™ÿ¡π“π“™“μ‘«à“¥«¬°“√»÷°…“¢Õß International Bureau Education (IBF) ∑’Ë°√ÿ߇®π’«“ ª√–‡∑» «‘μ ‡´Õ√å·≈π¥å æ.».2495 ‰¥â√—∫‡≈◊Õ°μ—È߇ªìπ°√√¡°“√∫√‘À“√ (Executive Board) ¢Õß UNESCO ∑’Ë°√ÿߪ“√’ æ.».2497 ‰¥â√—∫‡≈◊Õ°μ—È߇ªìπ°√√¡°“√∫√‘À“√ (Executive Board) ¢Õß UNESCO ¡—¬∑’Ë 2 ∑’ˇ¡◊Õß¡Õπ‡μ√‘‡§‚Õ ª√–‡∑»Õÿ√ÿ°«—¬ ‰¥â√—∫‡≈◊Õ°μ—È߇ªìπ√Õß ª√–∏“π°“√ª√–™ÿ¡ ¡—™™“¢Õß UNESCO ∑’‡Ë ¡◊Õß¡Õπ‡μ«‘‡¥‚Õ ª√–‡∑» Õÿ√ÿ°«—¬ ‰¥â√—∫‡≈◊Õ°‡ªìπ√Õߪ√–∏“π °“√ª√–™ÿ¡π“π“™“μ‘ «à“¥â«¬°“√ »÷°…“ International Bureau Education (IBF) ∑’Ë°√ÿ߇®π’«“ ª√–‡∑» «‘μ‡´Õ√å·≈π¥å เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา 11


æ.».2505

æ.».2506

æ.».2508

æ.».2511

√Õߪ√–∏“π °“√ª√–™ÿ¡√—∞¡πμ√’«à“°“√°√–∑√«ß»÷°…“∏‘°“√¢Õß ª√–‡∑»„πÕ“‡´’¬ (Minister of Education of Asian States Meeting on Education and Economic Planning ‡√’¬°¬àÕÊ «à“ MINEDAS) √Õߪ√–∏“π“∏‘∫¥’®ÕÀåπ —π (Johnson) ·Ààߪ√–‡∑» À√—∞Õ‡¡√‘°“ ‡™‘≠„Àâ ‰ªª√–™ÿ¡ Peace Corps ‡√◊ËÕß °”≈—ߧπß“π™—Èπ°≈“ß ∑’˪√–‡∑» ªÕ√å‚μ√‘‚° (Portorico) UNESCO ·≈– IAU (International Association of University) ·μàß μ—Èß„À⇪ìπºŸâ‡™’ˬ«™“≠¥â“π°“√»÷°…“¢Õß¡À“«‘∑¬“≈—¬·≈–‡™‘≠ª√–™ÿ¡ UNESCO-IAU Commission on the Fole of Higher Education in the Development of Nations ∑’Ë°√ÿß°—«≈“≈—¡‡ªÕ√å ª√–‡∑»¡“‡≈‡´’¬ ºŸâ‡™’ˬ«™“≠¥â“π°“√»÷°…“¢Õß¡À“«‘∑¬“≈—¬ ª√–™ÿ¡ UNESCO - IAU Commission on the Role of Higher Education in the Development of Nations ‡√◊ËÕß∫∑∫“∑¢ÕßÕÿ¥¡»÷°…“„π°“√æ—≤π“ ª√–‡∑» ∑’Ë°√ÿ߇∑æœ ª√–∏“π°“√ª™ÿ¡ MINEDAS ∑’Ë°√ÿ߇∑æœ (À≈—ß ®“°°“√ª√–™ÿ¡§√—Èßπ’È ‰¥â‡™‘≠™«π√—∞¡πμ√’°≈ÿà¡Õ“‡´’¬Õ“§‡π¬å®—¥μ—Èß Õߧ尓√ SEAMEO (South-East Asia Minister of Education Organization) ‡ªìπº≈ ”‡√Á® ≈ßπ“¡„π π∏‘ —≠≠“ SEAMEO „ππ“¡√—∞∫“≈‰∑¬∑’˪√–‡∑» ‘ߧ‚ª√å

μ”·Àπàß∑’Ë∑√ßæ√–°√ÿ≥“‚ª√¥‡°≈â“œ ·μàßμ—Èß æ.».2484 °√√¡°“√®—¥°“√√“™‘π’¡Ÿ≈π‘∏‘ (‚¥¬æ√–√“™‡ “«π’¬å) æ.».2485 √“™∫—≥±‘μ ”π—°»‘≈ª°√√¡ “¢“«√√≥§¥’ ·≈–¿“…“»“ μ√å °√√¡°“√ ¿“®ÿÓ≈ß°√≥å¡À“«‘∑¬“≈—¬ æ.».2490 °√√¡°“√ ¿“¡À“«‘∑¬“≈—¬‡°…μ√»“ μ√å æ.».2507 °√√¡°“√ ¿“¡À“«‘∑¬“≈—¬‡™’¬ß„À¡à æ.».2508 Õ∏‘°“√∫¥’¡À“«‘∑¬“≈—¬»‘≈ª“°√ ∂÷ß æ.».2514 Õÿªπ“¬°°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï„π §≥–≈Ÿ°‡ ◊Õ·Ààß™“쑧√—Èß·√° æ.».2512 Õÿªπ“¬°°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï„π§≥–≈Ÿ°‡ ◊Õ·Ààß™“μ‘ §√—Èß∑’Ë Õß ¡“™‘°«ÿ≤‘ ¿“ æ.».2515 °√√¡°“√ ¿“¡À“«‘∑¬“≈—¬»‘≈ª“°√ (∂÷ß æ.».2519) ¡“™‘° ¿“π‘μ∫‘ ≠ — ≠—μ‘ ·Ààß™“μ‘ (∂÷ß æ.».2516) æ.».2518 ¡“™‘°«ÿ≤‘ ¿“ ¡—¬∑’Ë 2 (∂÷ß æ.».2519) æ.».2529 √“™∫—≥±‘μ°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï

12

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


‡§√◊ËÕß√“™Õ‘ √‘¬“¿√≥å æ.».2458 æ.».2460 æ.».2475 æ.».2475 æ.».2481 æ.».2483 æ.».2486 æ.».2491 æ.».2492 æ.».2493 æ.».2494 æ.».2495 æ.».2497 æ.».2500 æ.».2503 æ.».2504 æ.».2505 æ.».2510 æ.».2516 æ.».2528 æ.».2532

‡À√’¬≠√“™√ÿ®‡‘ ß‘π ‡À√’¬≠√“™‘π√’ ™— °“≈∑’Ë 5 ( .º.) ‡À√’¬≠∫√¡√“™“¿‘‡…° √—™°“≈∑’Ë 6 (√.√.».6) ‡À√’¬≠√—μπ“¿√≥å «.ª.√. ™—Èπ 5 ‡À√’¬≠∑’Ë√–≈÷°ª∞¡∫√¡√“™“πÿ √≥å μ쑬®ÿ≈®Õ¡‡°≈â“ ( ◊∫ °ÿ≈) μ√‘¬“¿√≥å¡ß°ÿƉ∑¬ μ√‘μ√“¿√≥å™â“߇º◊Õ° ∑«‘쑬“¿√≥å¡ß°ÿƉ∑¬ ∑«‘쑬“¿√≥å™â“߇º◊Õ° ª√–∂¡“¿√≥å¡ß°ÿƉ∑¬ ‡À√’¬≠∫√¡√“™“¿‘‡…° √—™°“≈∑’Ë 9 ‡À√’¬≠√“™°“√™“¬·¥π ª√–∂¡“¿√≥å™â“߇º◊Õ° ‡À√’¬≠®—°√æ√√¥‘¡“≈“ ∑ÿ쑬®ÿ≈®Õ¡‡°â“ ¡À“«™‘√¡ß°ÿÆ ‡À√’¬≠√—μπ“¿√≥å ¿.ª.√.™—Èπ 3 ‡À√’¬≠©≈Õß 25 æÿ∑∏»μ«√√… ¡À“ª√¡“¿√≥å™â“߇º◊Õ° ∑ÿ쑬®ÿ≈®Õ¡‡°≈â“«‘‡»… ‡À√’¬≠√—™°“≈∑’Ë 9 ‡ ¥Á®π‘«—μ‘æ√–π§√ ‡À√’¬≠≈Ÿ°‡ ◊Õ ¥ÿ¥’ ‡À√’¬≠°“™“¥ √√‡ √‘≠ ™—Èπ 1 ª∞¡®ÿ≈®Õ¡‡°≈â“ ‡À√’¬≠¥ÿ…Æ’¡“≈“ ‡¢Á¡»‘≈ª«‘∑¬“ ‡À√’¬≠√—μπ“¿√≥å ¿.ª.√. ™—Èπ 2 ‡§√◊ËÕß√“™Õ‘ √‘¬“¿√≥åÕ—π‡ªìπ ‘√‘¬‘Ëß√“¡°’√μ‘

‡§√◊ËÕß√“™¬åÕ‘ √‘¬“¿√≥åμà“ߪ√–‡∑» æ.».2505 Great Cross with Star and Sash (‡¬Õ√¡—π) æ.».2507 Grand Cordon Leopod (‡∫≈‡¬’ˬ¡) Sacred Treasure 1st Class (≠’˪ÿÉπ) æ.».2510 The Order of Distinguished Diplomatic Merit Service Class (‡°“À≈’) æ.».2511 Grand Cordon of Order of Brilliant Star (®’π§≥–™“μ‘) เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

13


‡°’¬√쑉¥â√—∫®“°Àπ૬ߓπ·≈– ∂“∫—πμà“ßÊ æ.».2505 §√ÿ»“ μ√å¥ÿ…Æ’∫—≥±‘μ°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï ®ÿÓ≈ß°√≥å¡À“«‘∑¬“≈—¬ æ.».2507 π‘μ»‘ “ μ√奅ÿ Æ’∫≥ — ±‘μ°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï (LLD. ¡À“«‘∑¬“≈—¬Õ‘π‡¥’¬π“ ª√–‡∑» À√—∞Õ‡¡√‘°“ æ.».2509 »‘≈ª¥ÿ…Æ’∫—≥±‘μ°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï (‚∫√“≥§¥’) ¡À“«‘∑¬“≈—¬»‘≈ª“°√ æ.».2510 °“√»÷°…“¥ÿ…Æ’∫—≥±‘μ°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï «‘∑¬“≈—¬°“√»÷°…“ (¡À“«‘∑¬“≈—¬ »√’π§√‘π∑√«‘‚√≤) æ.».2516 »‘≈ª»“ μ√å¥ÿ…Æ’∫—≥±‘μ°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï ¡À“«‘∑¬“≈—¬‡™’¬ß„À¡à æ.».2517 »‘≈ª»“ μ√å¥ÿ…Æ’∫—≥±‘μ°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï ¡À“«‘∑¬“≈—¬»‘≈ª“°√ æ.».2527 ª√—™≠“¥ÿ…Æ’∫≥ — ±‘μ°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï ( “¢“¿“…“‰∑¬) ¡À“«‘∑¬“≈—¬√“¡§”·Àß æ.».2530 Õ—°…√»“ μ√奅ÿ Æ’∫≥ — ±‘μ°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï ¡À“«‘∑¬“≈—¬»‘≈ª“°√ »‘≈ªîπ·Ààß™“μ‘ “¢“«√√≥»‘≈ªá ∫ÿ§§≈¥’‡¥àπ¢Õß™“μ‘ “¢“æ—≤π“°“√»÷°…“ æ.».2531 ºŸâ π—∫ πÿπ°“√Õπÿ√—°…å¡√¥°‰∑¬¥’‡¥àπ √—∫æ√–√“™∑“πæ√–‡°’Ȭ«∑Õߧ” „π∞“π–ºŸâ à߇ √‘¡¿“…“‰∑¬¥’‡¥àπ æ.».2535 √—∫æ√–√“™∑“π‚≈àπ—°°“√Ωñ°À—¥§√Ÿ‰∑¬ æ.».2535 √—∫√“ß«—≈Õ“‡´’¬π “¢“«√√≥°√√¡ ‰¥â√—∫°“√¬°¬àÕ߇ªìπ∫ÿ§§≈∑’Ë ∑”§ÿ≥ª√–‚¬™πå·°à°“√»÷°…“¢Õß™“μ‘Õ¬à“ß Ÿß¬‘Ëß æ.».2537 ‰¥â √— ∫ °“√ª√–°“»‡™‘ ¥ ™Ÿ ‡ °’ ¬ √μ‘ ‡ ªì π ªŸ ™ π’ ¬ ∫ÿ § §≈¥â “ π¿“…“·≈– «√√≥°√√¡‰∑¬ À¡àÕ¡À≈«ßªîòπ ¡“≈“°ÿ≈ ‰¥â°√“∫∂«“¬∫—ߧ¡≈“∂÷ß·°àÕ —≠°√√¡ ‡¡◊ËÕ«—πæƒÀ— ∫¥’∑’Ë 5 μÿ≈“§¡ æ.».2538 ‡«≈“ 17.05 π. ¥â«¬‚√§‡ âπ‡≈◊Õ¥„π ¡Õßμ’∫·≈–‰μ«“¬ ≥ ‚√ß欓∫“≈æ√–¡ß°ÿƇ°≈â“ ‘√‘√«¡Õ“¬ÿ‰¥â 91 ªï 11 ‡¥◊Õπ 11 «—π æ.».2546 ‰¥â√—∫°“√¬°¬àÕß®“°¬Ÿ‡π ‚° ‡ªìπ∫ÿ§§≈ ”§—≠¥’‡¥àπ¢Õß‚≈° ¥â“π°“√»÷°…“ «—≤π∏√√¡ «√√≥°√√¡ ·≈–°“√ ◊ËÕ “√

14

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


หน้าต่างงานวิจัย โดย...ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ เบาใจ

......................................................................................................

ปัจจุบันงานวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษาจากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ มีอยู่จ�ำนวนมาก และไม่ได้น�ำไปใช้ ให้เป็นประโยชน์เท่าที่ควร ทั้งนี้อาจเนื่องจากผู้ใช้ไม่ทราบผลงานวิจัยที่มีอยู่ ฉะนั้นคอลัมน์นี้จึงรวบรวม ผลการวิจยั ด้านเทคโนโลยีทางการศึกษาและการสือ่ สาร มาให้ทา่ นได้นำ� ไปใช้ประโยชน์ตอ่ ไป ซึง่ ในฉบับนี้ ขอเสนอผลงานวิจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้

การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากบทเรียนผ่าน เว็บไซต์ด้วยสมาร์ทโฟน A STUDY OF LEARNING ACHIEVEMENT THROUGH WEBSITE WITH SMARTPHONE ไพโรจน์ เบาใจ*

บทคัดย่อ

งานวิจยั นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ เปรียบเทียบ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นก่ อ นและหลั ง เรี ย น ด้วยสมาร์ทโฟน และศึกษาความพึงพอใจของ นักศึกษาต่อการเรียนด้วยสมาร์ทโฟน ประชากร เป็นนักศึกษาวิชาเอกเทคโนโลยีการศึกษาชัน้ ปีที่ 3 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัด ชลบุรี ประเทศไทย จ�ำนวน 125 คน เป็นกลุ่ม ตัวอย่าง จ�ำนวน 30 คน ซึ่งเลือกแบบเจาะจง เฉพาะทีม่ สี มาร์ทโฟน สถิตทิ ใี่ ช้คอื ค่าร้อยละ ค่า

เฉลี่ย ค่า S.D. และทดสอบด้วย t-test พบว่าประสิทธิภาพบทเรียนมีคา่ เท่ากับ 90.33/87.66 ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนหลังเรียน สู ง กว่ า ก่ อ นเรี ย นอย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ 0.01 และนักศึกษามีความพึงพอใจต่อ การเรียนด้วยสมาร์ทโฟนอยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ มี ค่าเฉลี่ย 4.60 ซึ่งแสดงว่าสามารถใช้สมาร์ทโฟน ในการเรียนได้

* ผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา บรรณาธิการ วารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

15


Keywords: Learning with ค�ำส�ำคัญ : การเรียนด้วยสมาร์ทโฟน, การเรี ย นบทเรี ย นผ่ า นเว็ บ ไซต์ , ผลสั ม ฤทธิ์ smartphone, Lesson learning through website, Learning Achievement, Learning ทางการเรียน, ความพึงพอใจต่อการเรียน Satisfaction

Abstract

The purposes of this study were to compare the learning achievements before and after sessions of learning with smartphone, and to determine the level of participants’ satisfaction with the media. The population were 125 thirdyear, Education Technology-majored students from Burapha University, Chonburi, Thailand, of whom 30 samples with smartphones were chosen. The statistical analyses employed were percentage, mean, standard deviation (S.D.) and pair sample t-test. The result findings were: the efficiency of the media was at 90.33/87.66, the media abled to determine a significantly higher level of learning achievement after lesson learning through website at 0.01. Additionally, the overall average of students’ satisfaction was 4.60 out of 5.00 which mean the highest positive. This can be concluded that the developed media can be used to improve learning achievement effectively. 16

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

บทน�ำ

การศึ ก ษาของไทยก� ำ หนดให้ ค นไทย สามารถเลือกเรียนรู้ได้หลายรูปแบบตามพระ ราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พุ ท ธศั ก ราช 2542 มาตรา 15 ได้ก�ำหนดให้มีการศึกษาใน ระบบนอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย (กระทรวงศึกษาธิการ 2542) ประชาชนส่วนใหญ่ ของประเทศจะได้รบั การศึกษาในระบบโรงเรียน เพราะการศึกษาจะมีคุณภาพและให้เลือกเรียน ได้หลากหลายวิชาตามความสนใจและความถนัด ของแต่ละคน นอกจากนี้ในปัจจุบันเทคโนโลยี การศึกษามีความเจริญก้าวหน้าจึงมีส่วนเข้ามา ช่วยในการเรียนการสอนมากขึน้ และโดยเฉพาะ การศึกษาแบบอีเลิร์นนิ่ง (e-Learning) ซึ่งเป็น รูปแบบการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพโดย การเรียนผ่านเว็บไซต์ ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย ให้ผู้เรียน เพราะผู้เรียนจะเรียนอยู่ที่บ้านหรือที่ ท�ำงานก็ได้ (Everywhere)และเรียนได้ทุกเวลา (Every time) โดยเรียนไปตามตารางที่ก�ำหนด ไว้ ไม่ต้องเดินทางมายังมหาวิทยาลัยและช่วย ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไม่เสียค่าเช่าที่พัก และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ส่วนผู้สอนก็ไม่ต้องมีจ�ำนวน มากเท่ากับจ�ำนวนชั้นเรียน เพราะผู้เรียนทุกคน สามารถเรียนผ่านเว็บไซต์ได้ มีปฏิสัมพันธ์กับ ผู้สอนหรือผู้เรียนได้ตามที่บทเรียนก�ำหนดไว้


ในปัจจุบันการสื่อสารก้าวหน้าไปไกล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการใช้โทรศัพท์มือถือ ที่สามารถเข้าเว็บไซต์ได้ที่เรียกว่า สมาร์ทโฟน (Smartphone) ซึ่งรับภาพและเสียงได้ชัดเจน และราคาไม่สงู มากนัก (นพรัตน์ วินชิ าคม, 2557) ผู้เรียนจะมีใช้กันเกือบทุกคน จากคุณสมบัติที่ดี จึงถูกน�ำมาใช้ในรูปแบบอีเลิร์นนิ่ง(นพรัตน์ วินิ ชาคม, 2557) เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าสามารถ น�ำมาใช้ในการเรียนการสอนได้ดีหรือไม่ จึงควร มีการวิจัยต่อไป

ขอบเขตเนือ้ หา เป็นเนือ้ หาวิชาการถ่าย ภาพ เรื่องการถ่ายภาพบุคคล ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น คือ การเรียนจากบทเรียน ผ่านเว็บไซต์ด้วยสมาร์ทโฟน ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และความพึงพอใจ

นิยามศัพท์เฉพาะ

การเรียนผ่านเว็บไซต์ หมายถึง การเรียน เนือ้ หาการถ่ายภาพบุคคลโดยเรียนผ่านบทเรียน ที่สร้างขึ้นผ่านเว็บไซต์ด้วยสมาร์ทโฟน วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น หมายถึ ง เรียนก่อนและหลังเรียนบทเรียนผ่านเว็บไซต์ คะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนจากบทเรียนผ่าน ด้วยสมาร์ทโฟน เว็บไซต์ด้วยสมาร์ทโฟน 2. เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียน ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูส้ กึ ชอบ ผ่านเว็บไซต์ด้วยสมาร์ทโฟน จากการเรียนผ่านเว็บไซต์ด้วยสมาร์ทโฟน สมาร์ทโฟน หมายถึง โทรศัพท์มือถือที่ สมมติฐานการวิจัย สามารถรับบทเรียนผ่านเว็บไซต์ได้ ความรูห้ ลังเรียนผ่านเว็บไซต์ดว้ ยสมาร์ท โฟนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ี่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ระดับ 0.01 1. บทเรียนผ่านเว็บไซต์เรือ่ งการถ่ายภาพ 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ขอบเขตการวิจัย 3. แบบวัดความพึงพอใจ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 3 วิชา วิธีการด�ำเนินการวิจัย ด�ำเนินการวิจัยเป็นขั้นตอนดังนี้ เอกเทคโนโลยีการศึกษา ปีการศึกษา 2556 1. สร้างบทเรียนผ่านเว็บไซต์เรื่องการ มหาวิทยาลัยบูรพา จ�ำนวน 125 คน กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักศึกษาจ�ำนวน 30 ถ่ายภาพและผ่านการทดลองหาประสิทธิภาพ คน โดยการเลือกเจาะจงทีม่ โี ทรศัพท์สมาร์ทโฟน E1/E290.33/87.66 ใช้ในการสื่อสาร 2. สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

17


การเรียนและหาค่าความยากง่าย มีค่าระหว่าง .20 -.80 อ�ำนาจจ�ำแนกมีค่า .27 และค่าความ เชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.78 3. สร้างแบบวัดความพึงพอใจ โดยถาม ให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดไว้ 4. น� ำ บทเรี ย นขึ้ น เว็ บ ไซต์ เ พื่ อ ให้ นักศึกษาเข้าเรียนในชั้นเรียนตามตารางสอน 5. ให้นกั เรียนเข้าเรียนไปตามล�ำดับของ บทเรียนก่อนเรียนทดสอบ เรียนไปตามบทเรียน

เรียนจบทดสอบ และให้ทำ� แบบวัดความพึงพอใจ ใช้เวลา 3 ชม. 6. น�ำข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ทางสถิติ และแปลผลงานวิจัย พร้อมอภิปรายผลงานวิจัย

ผลการวิจัย

ตาราง 1 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนบทเรียนผ่าน เว็บไซต์ด้วยสมาร์ทโฟน

N X S.D. t Sig Pre –Post test

30

7.533

1.008

40.934**

0.000

** มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 จากตารางที่ 1 พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.533 และค่า S.D. 1.008 แสดงว่าการเรียนผ่านเว็บไซต์ ด้วยสมาร์ทโฟนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้ ตาราง 2 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนจากบทเรียนผ่านเว็บไซต์ด้วย สมาร์ทโฟน รายการประเมินความพึงพอใจ 1. 2. 3. 4. 5.

18

การเรียนโดยใช้สมาร์ทโฟนช่วย เพิ่มความสนใจ การเรียนด้วยวิธีนี้ท�ำให้เข้าใจเนื้อ หาบทเรียน การใช้สมาร์ทโฟนช่วยเพิ่มแรง จูงใจใฝ่เรียนรู้ สามารถน�ำความรู้จากการเรียน ด้วยสมาร์ทโฟนไปใช้ได้จริง การใช้สมาร์ทโฟนช่วยให้สะดวก ในการทบทวนเนื้อหา รวมเฉลี่ย

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

X

S.D.

ระดับความพึงพอใจ

4.63

0.015

มากที่สุด

4.43

0.080

มาก

4.53

0.050

มากที่สุด

4.66

0.030

มากที่สุด

4.76

0.220

มากที่สุด

4.60

0.0265

มากที่สุด


จากตารางที่ 2 พบว่าค่าเฉลี่ยสูงสุดใน รายการของการใช้สมาร์ทโฟนช่วยให้สะดวกใน การทบทวนเนือ้ หามีคา่ 4.76 และค่าเฉลีย่ ต�ำ่ สุด คือ การเรียนด้วยสมาร์ทโฟน ท�ำให้เข้าใจเนือ้ หา บทเรียนมีค่า 4.43 แต่ยังอยู่ในระดับมาก เมื่อ คิดโดยเฉลี่ยรวมมีค่าเท่ากับ 4.60 ซึ่งมีความพึง พอใจมากที่สุด

สรุปผลการวิจัย

ข้อมูลพื้นฐานที่นักศึกษาเข้ามารับการ ทดลองเป็นชายร้อยละ 53.30 หญิงร้อยละ 46.70 นักศึกษาร้อยละ 100 ไม่เคยเรียนผ่าน สมาร์ทโฟน และแสดงความต้องการที่จะเรียน ผ่านสมาร์ทโฟนร้อยละ 93.30 และไม่ต้องการ เรียนร้อยละ 6.7 จากการศึกษาพบว่า 1. ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นหลั ง เรี ย น ผ่านเว็บไซต์ด้วยสมาร์ทโฟนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.01 มีคา่ เฉลีย่ ก่อนเรียนเท่ากับ 1.23 หลังเรียนเท่ากับ 8.77 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.008 2. นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการเรียน จากบทเรียนผ่านเว็บไซต์ด้วยสมาร์ทโฟนอยู่ใน ระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.60

อภิปรายผลการวิจัย

จากการวิจยั สามารถอภิปรายผลได้ดงั นี้ 1. ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นหลั ง เรี ย น ผ่านเว็บไซต์ด้วยสมาร์ทโฟนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ที่เป็น

เช่นนี้เพราะตัวบทเรียนได้ผ่านการพัฒนาและ ปรับปรุงแก้ไขจนได้ค่าประสิทธิภาพ 90.33 / 87.66 ซึง่ มีประสิทธิภาพสูง นอกจากนีก้ ารเรียน ด้วยสมาร์ทโฟนเป็นเรือ่ งแปลกใหม่ นักศึกษาให้ ความสนใจมาก กระตือรือร้นในการเรียนจึงท�ำให้ ได้คะแนนมาก และยังสอดคล้องกับงานวิจยั ของ วิวัฒน์ มีสุวรรณ (2551) ที่ท�ำวิจัยเรื่อง การ พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่าย ไร้สายบนเครื่องช่วยงานส่วนบุคคลแบบดิจิตัล ซึ่งมีประสิทธิภาพ 86.12 / 85.75 และมีผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05 นอกจาก นี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของธงชัย แก้วกิริยา (2553) 2. นั ก ศึ ก ษามี ค วามพึ ง พอใจต่ อ การ เรียนจากบทเรียนผ่านเว็บไซต์ด้วยสมาร์ทโฟน อยู ่ ใ นระดั บ มากที่ สุ ด ที่ เ ป็ น เช่ น นี้ เ พราะบท เรียนน่าสนใจ และนักศึกษาทุกคนยังไม่เคย เรียนด้วยวิธีนี้เลยมีค่าร้อยละ 100 และยัง แสดงความต้องการที่จะเรียนผ่านสมาร์ทโฟน อีกร้อยละ 93.30 ซึ่งเป็นข้อมูลยืนยันในความ พึงพอใจต่อการเรียนด้วยสมาร์ทโฟน นอกจาก นี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของวิวัฒน์ มีสุวรรณ (2551) ทีผ่ เู้ รียนมีความพึงพอใจมากในการเรียน ตามรูปแบบการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายและ ผลงานวิจัยของ Gikasและ Grant (2013) ที่ พบว่ า นั ก ศึ ก ษาในมหาวิ ท ยาลั ย ของประเทศ สหรั ฐ อเมริ ก าพึ ง พอใจในการใช้ ส มาร์ ท โฟน เนื่องจากเป็นการส่งเสริมโอกาสของการเรียนรู้ อย่างมีปฏิสัมพันธ์ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

19


ข้อเสนอแนะส�ำหรับการวิจัย

1. ผู้เรียนต้องมีสมาร์ทโฟนที่มีคุณภาพและสามารถเข้าเว็บไซต์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. สัญญาณอินเตอร์เน็ตของผู้ส่งต้องแรงเพื่อให้เข้าเรียนได้ง่ายและรวดเร็ว 3. ควรมีการวิจัยในลักษณะนี้อีกในเนื้อหาวิชาต่างๆ กัน เพื่อยืนยันผลการวิจัย

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ.(2542). พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542.Council.Nsru.ac.th วันที่ 12 ธันวาคม 2556. ธงชัย แก้วกิริยา.(2553).E - Learning ก้าวไปสู่ M – Learning ในยุคสังคมของการสื่อสาร ไร้พรมแดน.วารสารร่มพฤกษ์ ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 กรุงเทพฯ นพรั ต น์ วิ นิ ช าคม. (2557). การใช้ ส มาร์ ท โฟนเพื่ อ การศึ ก ษา.com/xh8redkwwcp4/ smartphone/ 5มกราคม 2557 วิวฒ ั น์ มีสวุ รรณ.(2551). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายไร้สายบนเครือ่ งช่วย งานส่วนบุคคลแบบดิจติ ลั (PDA).ปริญญานิพนธ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพฯ Gikas Joanne and Grant M.Michael. (14 June, 2013). Mobile computing devices in higher education: Student perspectives onlearning with cellphones, smartphones & social media. Internet and Higher Education, 2013(19), 18–26.

20

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


การพัฒนารูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน แบบอีเลิร์นนิ่งด้วยกูเกิ้ลเอิร์ธ A Development of Learning Model Based on the Online Personal Learning Environment on Google Earth บทคัดย่อ

อีเลิรน์ นิง่ เป็นกระบวนการเรียนการสอน ทีน่ ำ� ศักยภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศมาเสริม คุณภาพการศึกษา ท�ำให้ผเู้ รียนได้ประสบการณ์ใหม่ เข้าถึงเนือ้ หาทีท่ นั สมัย และจูงใจให้ผเู้ รียนฝึกฝน ทักษะแห่งอนาคตเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21 ซึ่งท�ำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะพัฒนารูปแบบ การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนแบบอีเลิรน์ นิง่ ด้วยกูเกิล้ เอิรธ์ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ (1) พัฒนา รู ป แบบการจั ด สภาพแวดล้ อ มทางการเรี ย น แบบอีเลิร์นนิ่งด้วยกูเกิ้ลเอิร์ธ ให้มีประสิทธิภาพ ไม่ต�่ำกว่าเกณฑ์ 80/80 วิชาภูมิศาสตร์ ส�ำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (2) ศึกษาค่าดัชนี ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรี ย นแบบอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ด้ ว ยกู เ กิ้ ล เอิ ร ์ ธ (3) ศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างกลุ่มที่มีการเรียนรู้จากรูปแบบการจัด สภาพแวดล้อมทางการเรียนแบบกูเกิ้ลเอิร์ธ กับ กลุ่มที่มีการเรียนรู้จากรูปแบบปกติ (4) ศึกษา ความคงทนในการเรียนรู้ เมื่อเรียนผ่านไปแล้ว

ดร. พูลศรี เวศย์อุฬาร สุจิตรา นุ่มสุวรรณ

2 สั ป ดาห์ และ (5) ศึ ก ษาความพึ ง พอใจ ต่อรูปแบบดังกล่าว ประชากรคือนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนจิตรลดา จ�ำนวน 110 คน ได้กลุม่ ตัวอย่างจ�ำนวน 60 คน ด้วยการ สุ ่ ม อย่ า งง่ า ย ส� ำ หรั บ เครื่ อ งที่ ใช้ ใ นการวิ จั ย ประกอบด้วย (1) รูปแบบการจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรี ย นแบบอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ด้ ว ยกู เ กิ้ น เอิ ร ์ ธ (2)แบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น และความคงทนในการเรียนรู้ แบบปรนัย 4 ตัวเลือก จ�ำนวน 10 ข้อ (3) แบบวัดความพึงพอใจของ นักเรียนต่อรูปแบบฯ แบบประเมินค่า 5 ระดับ จ�ำนวน 20 ข้อ และ (4) แบบประเมินคุณภาพ ส�ำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและด้านอีเลิร์นนิ่ง สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิจยั คือ ค่าเฉลีย่ ร้อยละ การทดสอบ สมมติฐานโดยใช้ t-test Dependent และ Independent Samples ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนารูปแบบ การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนแบบอีเลิร์นนิ่ง ด้วยกูเกิล้ เอิรธ์ ทีผ่ วู้ จิ ยั ได้พฒ ั นานัน้ มีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

21


เท่ากับ 85/90 ซึง่ สูงกว่าเกณฑ์ทกี่ ำ� หนดไว้ ส่งผล ให้นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 86.6 เมื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า กลุ่มทดลองมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่า กลุม่ ควบคุม อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 ความคงทนในการเรียนรู้ต่อรูปแบบฯ เมื่อเรียน ผ่านไป 2 สัปดาห์มีผลการเรียนรู้ไม่แตกต่างกัน แสดงว่ารูปแบบฯ ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ ส่งผลดีตอ่ การเรียน ความพึงพอใจในระดับมากจากประสบการณ์ ที่ มี ค ่ า ซึ่ ง ได้ จ ากการทดลองครั้ ง นี้ รู ป แบบ สภาพแวดล้ อ มทางการเรี ย นแบบอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ที่พัฒนาขึ้นสามารถช่วย กระตุ้นและส่งเสริม ให้ผู้เรียนยอมรับอีเลิร์นนิ่งต่อไปในอนาคต ค�ำส�ำคัญ : กู้เกิ้ลเอิร์ธ ภูมิศาสตร์ และการจัด สภาพแวดล้อมทางการเรียนแบบอีเลิร์นนิ่ง

Abstract

E-Learning is an instruction approach integrating with potential of information technology to enhance education. E-Learning provides student new experiences, most up-dated contents and motivation to practice future skill of the 21st century. Consequently, the researcher was interested in develop a learning model based upon the online personal learning environment on Google Earth. The purposes of this research were to 22

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

(1) develop a learning model based upon the online personal learning environment on Google Earth in Geography to meet the 80/80 efficiency criterion, (2) validate an effectiveness index of the developed learning model based on the online personal learning environment on Google Earth (3) compare learning achievements between a control group and an experimental group (3) examine students’ retention after completing the course for 2 weeks and (4) investigate students’ satisfaction towards the developed learning model. The population was 110 Mathayomsuksa 5 students at Chitralada School. The simple random sampling selecting model was applied. 60 students were divided into two groups: the experimental group and the control group and each group included 30 students. The research instruments were the learning model based on the online personal learning environment on Google Earth (2) an achievement test which included 10 items of 4 multiple choice (3) a student’s satisfaction appraisal towards the model which included items 20 of 5-point rating scale and (4) a quality appraisal for content expert and e-learning expert.


The statistics used in this current research were mean, percentages, dependent and independent samples t-test. The research findings were: the developed learning model based upon the online personal learning environment on Google Earth, produced the efficiency at 85/90 which was higher than a predetermined criterion. Accordingly, 86.6 per cent of students’ knowledge increased accordingly. Comparison of students’ achievement found that the experimental group earned higher achievement rather than the control group, statistically significant at the .05 level. The learning retention of experimental group students was not found significantly different between the first and the second test results which could be implied that the developed model delivered a progressive instruction. Students were positively satisfied because of valued experience from this experiment. This developed online personal learning environment model encouraged and enhanced students to adopt e-Learning in the future.

บทน�ำ

เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาท ต่อการศึกษาอย่างมาก นับตั้งแต่ได้มีการน�ำ อินเทอร์เน็ตเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการ เรียนรูแ้ ละสนับสนุนการจัดการศึกษา ทัง้ ในส่วน ที่ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ หลั ก และเครื่ อ งมื อ สนั บ สนุ น เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และเพื่อให้สอดคล้องกับ พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2542 (2542 : 18 - 19) เน้นการจัดการเรียนการสอน แบบผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนรูใ้ นลักษณะ รายบุ ค คล และการศึ ก ษาตลอดชี พ รวมถึ ง การน�ำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยส่งเสริมในการเรียน มากขึ้น ดังสาระในหมวดที่ 9 ว่าด้วยเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา ได้สรุปใจความส�ำคัญกล่าวว่า รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาสือ่ การเรียน การสอน บุคลากร และผู้เรียน เพื่อส่งเสริมและ พัฒนาขีดความสามารถในการผลิต การประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีเพือ่ ก่อให้เกิดประโยชน์ในการแสวงหา ความรูด้ ว้ ยตนเองได้อย่างต่อเนือ่ งและตลอดชีพ อีกทั้งใช้ประโยชน์ส�ำหรับการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การทะนุบ�ำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรมตามความ จ�ำเป็น ความก้ า วหน้ า ทางวิ ท ยาการและ เทคโนโลยีสารสนเทศได้พัฒนาอย่างรวดเร็ว ท�ำให้ระบบการเรียนการสอนเปลีย่ นไป โดยเน้น ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ด้วยตนเองจากสื่อการเรียนการสอนโดยเฉพาะ Keyword : a Google Earth, Geography and อิ น เทอร์ เ น็ ต เนื่ อ งจากสื่ อ ประเภทดั ง กล่ า ว online personal learning environment ท�ำให้ผู้เรียนได้รับทราบข่าวสารข้อมูลที่ทันสมัย เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

23


มีวิสัยทัศน์กว้างไกล รอบรู้ในวิทยาการต่าง ๆ เกิดทักษะคิดเป็น ท�ำเป็น แก้ไขปัญหาเป็น และ สามารถเรี ย นรู ้ ไ ด้ตามความสนใจของผู้เรียน หากแต่ ค วามรู ้ ที่ ไ ด้ จ ากในชั้ น เรี ย นจากการ ฟังการบรรยายเพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอที่จะ ให้ผเู้ รียนรอบรูใ้ นวิทยาการและเทคโนโลยีทเี่ จริญ รุดหน้าไปอย่างรวดเร็วได้ ตลอดจนการสร้างเยาวชน ซึง่ เป็นอนาคตของชาติให้เป็นผูร้ จู้ กั ศึกษาค้นคว้า หาความรูด้ ว้ ยตนเองจะช่วยสร้างให้ผเู้ รียนสามารถ เรียนรูว้ ทิ ยาการและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในอนาคต ได้ตลอดชีวิตด้วยตนเอง และเมื่อโลกเข้าสู่ยุค โลกาภิวัตน์ สื่อการเรียนการสอนจ�ำเป็นต้อง ได้รบั การพัฒนาให้ทนั สมัย ทันเหตุการณ์ของสังคม และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทเี่ ปลีย่ นแปลงไป กรมวิชาการได้มีนโยบายส่งเสริมสนับสนุนให้ สถานศึ ก ษาน� ำ สื่อเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน สถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐ รวมถึงภาคเอกชนต่างสนใจที่จะพัฒนารูปแบบ การเรียนการสอน โดยการน�ำเอาคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี ส ารสนเทศมาช่ ว ยสนั บ สนุ น วิธีการเรียนการสอนและช่วยในการถ่ายทอด ความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจตรงตาม วัตถุประสงค์ทผี่ สู้ อนก�ำหนดไว้ผา่ นทางอินเทอร์เน็ต ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตามความ ต้องการและความสะดวก โดยไม่จ�ำเป็นต้องอยู่ ในสถานที่เดียวกัน และเวลาเดียวกัน ดังเช่น การเรียนการสอนในชัน้ เรียน จึงท�ำให้การเรียนรู้ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เรียกวิธีการสอนใน ลักษณะนี้ว่า อีเลิร์นนิ่ง ซึ่งเป็นระบบการเรียนรู้ 24

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

และวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเองที่ทันสมัย อีเลิรน์ นิง่ หรือ การเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษ Electronic Learning ซึง่ นิยมเขียนให้กระชับเป็น e-Learning (ไพโรจน์ เบาใจ, 2550: 37-43) เป็นรูปแบบการเรียน การสอนแบบใหม่ ทีส่ ามารถจัดการเรียนรูใ้ ห้กบั ผูเ้ รียนแม้จะอยูต่ า่ งสถานที่ เป็นการสร้างโอกาส ทางการศึ ก ษาของการเรี ย นรู ้ ใ ห้ ทั ด เที ย มกั น สามารถแลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์ ผ่ า นอิ น เทอร์ เ น็ ต ที่ มี ค วามเร็ ว สะดวก และ คล่ อ งตั ว นั บ ว่ า เป็ น การเปลี่ ย นแปลงสั ง คม การเรียนรูใ้ ห้กว้างไกลขึน้ อาจกล่าวได้วา่ อีเลิรน์ นิง่ เป็นการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ต มาออกแบบและจัดการองค์ความรู้ เพื่อสร้าง ระบบการเรี ย นการสอนในอั น ที่ จ ะสนั บ สนุ น และส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย และตรงกับความต้องการของผู้สอนและผู้เรียน จากการเชื่อมโยงด้วยอินเทอร์เน็ตนั้นเองสามารถ ท�ำให้ผู้เรียนเรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา และทุกคน อีกทั้งยังสามารถติดตามพฤติกรรมของผู้เรียน เสมือนการเรียนการสอนในห้องเรียนจริง ปั จ จุ บั น รู ป แบบอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ส่ ว นใหญ่ ยั ง ต้ อ งการพั ฒ นาและวิ จั ย อย่ า งเหมาะสม ความส�ำคัญของรูปแบบของอีเลิรน์ นิง่ ทีเ่ หมาะสม กับการน�ำไปใช้กับผู้เรียนและผู้สอน จ�ำเป็นที่จะ ต้องค�ำนึงถึงความพร้อมของผู้เรียนในการเรียน แบบอีเลิร์นนิ่ง การที่สถานศึกษาได้น�ำรูปแบบ อีเลิรน์ นิง่ ทีม่ อี ยูบ่ นอินเทอร์เน็ตไปใช้นนั้ ส่วนใหญ่ มักจะเป็นโครงการที่มาจากต่างประเทศมาใช้ อาจกล่าวได้ว่าเป็นสาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้อีเลิร์นนิ่ง


ขาดความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพียงพอ เพราะไม่มีรูปแบบอีเลิร์นนิ่งใดที่จะเหมาะสมกับ การเรียนการสอนของทุกสาขาวิชา ทุกสถานการณ์ และทุกสถานศึกษาที่มีลักษณะการเรียนการสอน หรือธรรมชาติของวิชาที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม ผู้ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดต่อการเรียนแบบ อีเลิรน์ นิง่ คือ ผูเ้ รียนนัน่ เอง ดังนัน้ การน�ำอีเลิรน์ นิง่ มาใช้ในการเรียนการสอนจ�ำเป็นที่จะต้องศึกษา วิจัย ความพร้อม รวมถึงปัญหาในการเรียนแบบ อี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ของผู ้ เรี ย นในสภาพแวดล้ อ มทาง การเรียนปัจจุบนั ซึง่ จะท�ำให้การเรียนแบบอีเลิรน์ นิง่ มีประสิทธิภาพ และเหมาะสม กระทรวงศึกษาธิการได้บรรจุสาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ในหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งมี เนือ้ หาเกีย่ วกับ ความสัมพันธ์เกีย่ วข้องกับลักษณะ กายภาพของโลก แหล่งทรัพยากร ภูมอิ ากาศของ ประเทศไทย ภูมภิ าคต่างๆ ของโลก การใช้แผนที่ และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์ของ สิ่งต่าง ๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของ มนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งที่ มนุษย์สร้างขึน้ การน�ำเสนอข้อมูล ภูมสิ ารสนเทศ รวมถึงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนา ที่ ยั่ ง ยื น ซึ่ ง ท� ำ ให้ ผู ้ เรี ย นได้ เรี ย นรู ้ แ ละเข้ า ใจ สภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว อีกทั้งน�ำความรู้ ที่ได้ไปปรับปรุงแก้ไข และวางแนวทางในการ ด�ำเนินชีวิตได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับ สภาพแวดล้อม ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ ทั้งใน

ฐานะปัจเจกบุคคลและการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรั บ ตั ว ตามสภาพแวดล้ อ ม การจั ด การ ทรั พ ยากรที่ มี อ ยู ่ อ ย่ า งจ� ำ กั ด เข้ า ใจถึ ง การ เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุ ปัจจัยต่าง ๆ เกิดความเข้าใจในตนเองและผู้อื่น มีความอดทนอดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถน�ำความรู้ไปใช้ในการ ด�ำเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและ สังคมโลก สาระส�ำคัญในสาระที่ 5 วิชาภูมิศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายนี้จะเน้นให้ผู้เรียน ได้ เรี ย นรู ้ เ กี่ ย วกั บ เครื่ อ งมื อ ทางภู มิ ศ าสตร์ ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ วิกฤตการณ์ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดการ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ การใช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม เพื่ อ การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการ รวบรวม วิเคราะห์ และน�ำเสนอข้อมูลอย่างมี ประสิ ท ธิ ภ าพ วิ เ คราะห์ อิ ท ธิ พ ลของสภาพ ภู มิ ศ าสตร์ ซึ่ ง ท� ำ ให้ เ กิ ด ปั ญ หาทางกายภาพ หรื อ ภั ย พิ บั ติ ท างธรรมชาติ ใ นประเทศไทย และภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ตลอดจนประเมิน การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติในโลกว่าเป็น ผลมาจากการกระท�ำของมนุษย์หรือธรรมชาติ จากการสัมภาษณ์ครูประจ�ำวิชาภูมศิ าสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ทราบว่า นักเรียน มีผลการเรียนวิชาภูมศิ าสตร์ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ที่โรงเรียนก�ำหนด อีกทั้งการเรียนการสอนวิชา ภูมิศาสตร์ในปัจจุบันไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงไป เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

25


มากนักครูผู้สอนและผู้เรียนยังคงใช้หนังสือหรือ ต�ำราเป็นสื่อพื้นฐานส�ำหรับการเรียนรู้ โดยครู ยั ง คงจั ด กิ จ กรรมการสอนเป็ น ไปในลั ก ษณะ การสอนแบบบรรยายเป็นหลัก แต่ก็ยังมีผู้สอน ผูป้ กครอง และผูเ้ รียนหลายท่านเห็นว่าอินเทอร์เน็ต อาจก่อให้เกิดมิติใหม่ทางการศึกษาในเรื่องของ กระบวนการเรียนรู้ และการเปลีย่ นแปลงบทบาท ของผู้สอน จากผู้สอนมาเป็นผู้อ�ำนวยความสะดวก หรือเป็นกุญแจส�ำคัญที่จะท�ำให้การจัดการเรียน การสอนวิ ช าสั ง คมศึ ก ษาบรรลุ เ ป้ า หมายได้ เพราะเส้นทางสืบค้นข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต สามารถท� ำ ให้ เ กิ ด วิ ธี ก ารเรี ย นการสอนที่ หลากหลาย ครูจะมีบทบาทใหม่ด้วยการเป็น ผู้แนะแนวทางค้นพบหรือแสวงหาข้อมูลให้แก่ นักเรียน ท�ำให้นักเรียนเกิดการเลือกสรรรู้จัก ไตร่ ต รองสิ่ ง ที่ มี คุ ณ ค่ า ต่ อ ตนเองและสั ง คม เพือ่ ถือเป็นแนวคิดทีม่ งุ่ สูก่ ระบวนการการศึกษา ตลอดชี วิ ต มุ ่ ง เน้ น ให้ เ กิ ด ความฉลาดรอบรู ้ รู ้ จั ก คิ ด รู ้ ค วามเป็ น จริ ง ของสภาพแวดล้ อ ม และสังคม ท�ำให้เกิดความกระตือรือร้นที่จะ แสวงหาความรู้ใหม่ ดังนั้นการใช้สื่อการสอน ผ่านอินเทอร์เน็ตสามารถน�ำมาใช้ในการสอนวิชา สังคมได้อกี ทางหนึง่ ซึง่ จะได้นำ� เครือข่ายแห่งการ เรียนรู้ในระดับมหภาคมากระตุ้นการเรียนรู้ของ บุ ค คลและชุ ม ชนเพื่ อ เป็ น การจุ ด ประกายให้ ระบบการศึกษาไทย กูเกิล้ เอิรธ์ (Google Earth) เป็นซอฟต์แวร์ ที่พัฒนาโดยบริษัท กูเกิ้ล (Google) ส�ำหรับ การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ดูภาพถ่าย ทางอากาศพร้อมทัง้ แผนที่ เส้นทาง และผังเมือง 26

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

ซ้อนทับลงในแผนที่ รวมทั้งระบบจีไอเอสใน รูปแบบ 3 มิติ กูเกิ้ลเอิร์ธใช้ข้อมูลจากภาพถ่าย ทางอากาศของยูเอส พับบลิก โดเมน (U.S. Public Domain) ซึ่งเป็นชั้นข้อมูลที่สามารถ เปิดเผยสูส่ าธารณะได้รว่ มกับภาพถ่ายดาวเทียม มาดั ด แปลงร่ ว มกั บ ระบบแผนที่ กู เ กิ้ ล แมพ (Google Maps) รวมทั้งการท�ำงานร่วมกับ กูเกิล้ โครม (Google Chrome) เพือ่ ค้นหารายชือ่ ร้าน เช่น ร้านขายของ ธนาคาร และปั๊มน�้ำมัน ในแผนที่ ไ ด้ โดยน� ำ แผนที่ ม าซ้ อ นทั บ ลงบน ต�ำแหน่งที่ต้องการ ต�ำแหน่งที่ต้องการค้นหา สามารถหาได้จาก บ้านเลขที่ ลองจิจูด ละติจูด ทั้งยังท�ำงานผ่านรูปแบบภาษาของ KML (Keyhole Markup Language) ภาพตึกจ�ำลอง 3 มิติ ที่มีลักษณะเป็นสีเทาใน กูเกิ้ลเอิร์ธได้รับ ลิขสิทธิส์ ว่ นหนึง่ มาจาก ซอฟต์แวร์ของ แซนบอร์น (Sanborn) ในชือ่ ซิตเี ซ็ทส์ (CitySets) โดยรูปตึก 3 มิติในรูปแบบที่สมบูรณ์สามารถเรียกดูได้ผ่าน ทางซิตีเซ็ทส์ นอกจากนี้ กูเกิ้ลเอิร์ธยังสามารถ ค้นหาเส้นทาง ส�ำหรับสถานทีท่ ตี่ อ้ งการจะเดินทาง จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้อีกด้วย อาจกล่าวได้ว่า กูเกิ้ลเอิร์ธเป็นรูปแบบ สื่อการเรียนการสอนที่น่าสนใจ เป็นซอฟต์แวร์ (Software) บนอินเทอร์เน็ตที่เหมาะสมส�ำหรับ การเรียนการสอนในวิชาภูมิศาสตร์ เพราะการ เชือ่ มโยงกับแหล่งข้อมูลทีท่ นั สมัยบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะท�ำให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจในวิชา ภูมิศาสตร์มากขึ้น ด้วยรูปแบบในการน�ำเสนอ ทีเ่ ป็นลักษณะสือ่ การเรียนการสอนแบบออนไลน์ 3 มิติ และสามารถพาผู้เรียนไปสถานที่ต่าง ๆ


ได้ทุกมุมโลกได้อย่างน่าประทับใจ อีกทั้งยังเป็น การให้บริการแบบไม่คดิ มูลค่า จึงท�ำให้กเู กิล้ เอิรธ์ เป็นสื่อการเรียนการสอนที่น่าจะน�ำมาพัฒนา ร่วมกับรูปแบบการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่ง ซึ่งน่าจะ ส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู ้ ใ ห้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพดี ขึ้ น เพราะเป็นการเรียนจากสื่อที่ทันสมัยเป็นการ จ� ำ ลองสภาพภูมิศาสตร์ทั้ง แบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ที่ส�ำคัญคือเครื่องมือในกูเกิ้ลเอิร์ธส่งเสริม ให้ผเู้ รียนสามารถท�ำงานร่วมกันเป็นกลุม่ สามารถ น�ำมาใช้เป็นการเรียนแบบร่วมมือ โดยที่ผู้เรียน สามารถแบ่งปันความรู้ และอภิปรายร่วมกัน เพื่อองค์ความรู้ใหม่ได้อีกด้วย การเรียนรู้ด้วยตนเอง มีแนวคิดพื้นฐาน มาจากทฤษฎีกลุ่มมานุษยนิยม (Humanism) ซึ่งมีความเชื่อเรื่องความเป็นอิสระ และความ เป็นตัวของตัวเองของมนุษย์ ดังที่มีผู้กล่าวไว้ว่า มนุษย์ทกุ คนเกิดมาพร้อมกับความดี มีความเป็น อิสระ เป็นตัวของตัวเอง สามารถหาทางเลือก ของตนเอง มี ศั ก ยภาพและพั ฒ นาศั ก ยภาพ ของตนเองอย่างไม่มขี ดี จ�ำกัด มีความรับผิดชอบ ต่อตนเองและต่อผูอ้ นื่ ซึง่ เป็นแนวคิดทีส่ อดคล้อง กั บ นั ก จิ ต วิ ท ยามานุ ษ ยนิ ย ม (Humanistic Psychology) ที่ให้ความส�ำคัญในฐานะที่ผู้เรียน เป็นปัจเจกบุคคล และมีแนวคิดว่า มนุษย์ทุกคน มี ศั ก ยภาพ และมี ค วามโน้ ม เอี ย งที่ จ ะใส่ ใจ ใฝ่รู้ ขวนขวายเรียนรู้ด้วยตนเอง มนุษย์สามารถ รับผิดชอบพฤติกรรมของตนเองและถือว่าตนเอง เป็นคนที่มีค่า (สุรพล บุญลือ. 2550 : 19) จากประเด็นข้างต้นท�ำให้การประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน

ในรู ป แบบอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง นี้ จ ะเป็ น การพั ฒ นาการ เรียนรู้รูปแบบใหม่ จะช่วยให้ผู้เรียนมีความตื่นตัว กระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา โดยการศึกษาด้วยตนเองจากบุคคล หรือจาก แหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ บนอินเทอร์เน็ตและ กูเกิล้ เอิรธ์ เป็นซอฟต์แวร์ทไี่ ม่คดิ มูลค่า ซึง่ เข้ามา มี บ ทบาทในการสร้ า งความรู ้ ความเข้ า ใจ สร้างเครือข่ายทางสังคมให้แก่เยาวชนในด้าน ภูมิศาสตร์มากขึ้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจในการ พัฒนารูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน แบบอีเลิรน์ นิง่ ด้วยกูเกิล้ เอิรธ์ โดยจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรียนด้วยตนเอง เนื่องจากกูเกิ้ล เอิร์ธ สามารถที่จะดึงดูดความสนใจของผู้เรียน ซึ่งจะ ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจในเนือ้ ผูเ้ รียนเกิดความ ประทับใจ เป็นประสบการณ์ทนี่ า่ จดจ�ำ สนุกสนาน เร้าให้เกิดการเรียนรู้ได้ด้วยปฏิสัมพันธ์ต่าง ๆ มีส่วนร่วมกับการฝึกปฏิบัติกิจกรรมดังกล่าว ด้วยตนเอง ผู้วิจัยจึงเล็งเห็นประโยชน์ดังกล่าว จึงเลือกศึกษาและพัฒนารูปแบบการจัดสภาพ แวดล้อมทางการเรียนแบบอีเลิร์นนิ่งด้วย กูเกิ้ล เอิร์ธ ต่อไป

วัตถุประสงค์

การศึกษาวิจยั นีม้ วี ตั ถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1. เพื่ อ พั ฒ นารู ป แบบการจั ด สภาพ แวดล้อมทางการเรียนแบบอีเลิร์นนิงด้วยกูเกิ้ล เอิร์ธ ให้มีประสิทธิภาพไม่ต�่ำกว่าเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อศึกษาค่าดัชนีประสิทธิผลของ รู ป แบบการจั ด สภาพแวดล้ อ มทางการเรี ย น แบบอีเลิร์นนิ่งด้วยกูเกิ้ล เอิร์ธ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

27


3. เพื่ อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาภูมศิ าสตร์ระหว่างกลุม่ ทีม่ กี าร เรียนรู้จากรูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมทาง การเรียนแบบอีเลิร์นนิ่งด้วยกูเกิ้ล เอิร์ธ กับกลุ่ม ที่มีการเรียนรู้จากรูปแบบปกติ 4. เพื่อศึกษาความคงทนในการเรียนรู้ ต่อรูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน แบบอีเลิร์นนิ่งด้วยกูเกิ้ล เอิร์ธ เมือเรียนผ่านไป 2 สัปดาห์ 5. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อรูปแบบ การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนแบบอีเลิรน์ นิง่ ด้วยกูเกิ้ล เอิร์ธ

วิธีการศึกษา

การศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบ การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนแบบอีเลิรน์ นิง่ ด้วยกูเกิล้ เอิรธ์ ผูว้ จิ ยั ได้ก�ำหนดวิธกี ารศึกษา ดังนี้ 1. สมมติฐานการศึกษาวิจัย 1.1 ค่ า ดั ช นี ป ระสิ ท ธิ ผ ลของการ เรียนรู้จากรูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมทาง การเรียนแบบอีเลิร์นนิ่งด้วยกูเกิ้ล เอิร์ธ 1.2 ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของกลุม่ ทีม่ กี ารเรียนรูจ้ ากรูปแบบการจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรียนแบบอีเลิร์นนิงด้วยกูเกิ้ล เอิร์ธ สูงกว่ากลุม่ ทีม่ กี ารเรียนรูจ้ ากรูปแบบปกติอย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 1.3 ความคงทนในการเรี ย นรู ้ ห ลั ง เรียนของกลุ่มทดลองไม่แตกต่างกัน เมื่อเรียน ผ่านไป 2 สัปดาห์ 1.4 ความพึงพอใจของกลุ่มทดลอง 28

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

ต่อการเรียนรูจ้ ากรูปแบบการจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรียนแบบอีเลิร์นนิงด้วยกูเกิ้ล เอิร์ธ มีความพึงพอใจในระดับมาก 2. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาวิจัย 2.1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) คือ วิธีการเรียนมี 2 วิธี คือ (1) การเรียนรูจ้ ากรูปแบบปกติ (2) การเรียนรู้จากรูปแบบการ จัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนแบบ อีเลิร์นนิ่ง ด้วยกูเกิ้ลเอิร์ธ 2.2 ตั ว แปรตาม (Dependent Variables) คือ (1) ค่าประสิทธิภาพ (2) ค่าดัชนีประสิทธิผล (3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (4) ความคงทนในการเรียนรู้ (5) ความพึงพอใจของผู้เรียน 3. ประชากรที่ ใช้ ใ นการศึ ก ษาวิ จั ย เป็ น นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 5 โรงเรี ย น จิตรลดา ที่ผ่านการเรียนรายวิชาคอมพิวเตอร์ เบื้องต้น รวมทั้งสิ้น 110 คน 4. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้เลือกจาก ประชากรโดยวิ ธี ก ารสุ ่ ม อย่ า งง่ า ย (Simple Random Sampling) ด้วยการจับฉลากซึ่งมี รายละเอียด ดังนี้ 4.1 กลุ ่ ม พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ เพื่ อ ใช้ ในการหาประสิทธิภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการ ศึกษาวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จ�ำนวน 40 คน


การทดลองครั้ ง ที่ 1 เป็ น การ พัฒนาเครื่องมือแบบรายบุคคล ท�ำการทดลอง กับนักเรียนจ�ำนวน 3 คน โดยแบ่งเป็นนักเรียน ที่มีผลการเรียนในระดับเก่ง 1 คน ปานกลาง 1 คน และอ่อน 1 คน เพือ่ ปรับปรุงบทเรียนครัง้ แรก โดยการสังเกต สัมภาษณ์ เพื่อน�ำข้อมูลที่ได้ มาปรับแก้ไขต่อไป การทดลองครั้งที่ 2 เป็นการ พัฒนาเครือ่ งมือแบบกลุม่ ย่อย ท�ำการทดลองกับ นักเรียนจ�ำนวน 7 คน โดยแบ่งเป็นนักเรียนที่มี ผลการเรียนในระดับเก่ง 2 คน ปานกลาง 3 คน และอ่อน 2 คน เพื่อปรับปรุงแก้ไขบทเรียนให้ดี ยิ่งขึ้น การทดลองครั้งที่ 3 เป็นการ พัฒนาเครือ่ งมือเพือ่ หาประสิทธิภาพของรูปแบบ สภาพแวดล้ อ มทางการเรี ย นแบบอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ด้วย Google Earth ที่สร้างขึ้นให้ได้ตามเกณฑ์ การหาประสิทธิภาพ 80/80 ท�ำการทดลองกับ นักเรียน จ�ำนวน 30 คน โดยแบ่งเป็นนักเรียน ที่มีผลการเรียนในระดับเก่ง 10 คน ปานกลาง 10 คน และอ่อน 10 คน 4.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ ความคงทนในการเรียนรู้ ซึ่งใช้วิธีการสุ่มอย่าง ง่ายด้วยการจับฉลาก โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง คือ กลุ่มนักเรียน ทีม่ กี ารเรียนรูจ้ ากรูปแบบการจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรี ย นแบบอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ด้ ว ยกู เ กิ้ ล เอิ ร ์ ธ จ�ำนวน 30 คน กลุ่มควบคุม คือ กลุ่มนักเรียน

ที่การเรียนรู้จากรูปแบบการเรียนการสอนปกติ จ�ำนวน 30 คน 5. ระยะเวลาที่ ใช้ ใ นการศึ ก ษาวิ จั ย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ระหว่างเดือน พฤษภาคม – กันยายน 2557 6. เนื้อหา วิชาภูมิศาสตร์ กลุ่มสาระ การเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยยึด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วย แผนที่ (Map) การรับรู้จากระยะไกล (Remote Sensing: RS) ระบบก�ำหนดต�ำแหน่งบนโลก (Global Positioning System: GPS) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) และ การใช้โปรแกรมกูเกิ้ลเอิร์ธ 7. เครื่ อ งมื อ ที่ ใช้ ใ นการศึ ก ษาวิ จั ย ผูว้ จิ ยั ได้ออกแบบเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการศึกษาวิจยั เรื่อง การพัฒนาการจัดรสภาพแวดล้อมทางการ เรียนแบบอีเลิรน์ นิง่ ด้วยกูเกิล้ เอิรธ์ ประกอบด้วย 7.1 รูปแบบการจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรียนแบบอีเลิร์นนิ่งด้วยกูเกิ้ลเอิร์ธ 7.2 แบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้ 7.3 แบบสอบถามวัดความพึงพอใจ ต่อรูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน แบบอีเลิร์นนิ่งด้วยกูเกิ้ลเอิร์ธ 7.4 แบบประเมิ น คุ ณ ภาพส� ำหรั บ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านเนื้อหา และด้านอีเลิร์นนิ่ง

ผลการศึกษาและข้อวิจารณ์

ผลการศึกษาวิจยั เรือ่ ง การพัฒนารูปแบบ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

29


การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนแบบอีเลิรน์ นิง่ ด้วยกูเกิล้ เอิรธ์ ผูว้ จิ ยั สรุปผลการศึกษาวิจยั ดังนี้ 1. ผลการวิ เ คราะห์ ห าประสิ ท ธิ ภ าพ จากการพัฒนารูปแบบการจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรียนแบบอีเลิร์นนิ่งด้วย กูเกิ้ลเอิร์ธ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 85/90 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ ที่ตั้งไว้ คือ 80/80 2. ผลการวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิทธิผล จากการพัฒนารูปแบบการจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรียนแบบอีเลิรน์ นิง่ ด้วยกูเกิล้ เอิรธ์ เท่ากับ .866 แสดงว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นคิดเป็น ร้อยละ 86.6 3. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนน เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนา รู ป แบบการจั ด สภาพแวดล้ อ มทางการเรี ย น แบบอีเลิรน์ นิง่ ด้วยกูเกิล้ เอิรธ์ ระหว่างกลุม่ ทดลอง สูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 4. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนน ความคงทนในการเรี ย นรู ้ ข องกลุ ่ ม ทดลอง หลังเรียนจบเมื่อเรียนผ่านไป 2 สัปดาห์มีผล การเรียนรู้ไม่แตกต่างกัน 5. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของ นักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ทีม่ ตี อ่ รูปแบบ การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนแบบอีเลิรน์ นิง่ ด้วยกูเกิล้ เอิรธ์ นักเรียนมีความพึงพอใจต่อรูปแบบ ดังกล่าวในภาพรวมคิดเป็นคะแนนเฉลี่ย 4.44 ซึ่งอยู่ในระดับพึงพอใจมาก ทั้งในด้านรูปแบบ การจัดการเรียนรู้ บทเรียนอีเลิรน์ นิง่ ด้วยกูเกิล้ เอิรธ์ รวมถึ ง ประโยชน์ ที่ ไ ด้ รั บ หลั ง จากการจั ด การ 30

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

เรียนรู้แบบอีเลิร์นนิ่งด้วยกูเกิ้ลเอิร์ธ ข้ อ วิ จ ารณ์ ห ลั ง จากศึ ก ษาวิ จั ย เรื่ อ ง การพัฒนารูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมทาง การเรียนแบบอีเลิร์นนิ่งด้วยกูเกิ้ลเอิร์ธผู้วิจัย สามารถวิจารณ์ผลการศึกษาวิจัย ดังต่อไปนี้ 1. ผลการวิ เ คราะห์ ห าประสิ ท ธิ ภ าพ จากการพัฒนารูปแบบการจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรียนแบบอีเลิร์นนิ่งด้วย กูเกิ้ลเอิร์ธ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 85/90 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ ที่ตั้งไว้ คือ 80/80 หมายความว่า นักเรียนท�ำ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ระหว่างเรียน คิดเป็น ร้อยละ 85 และท�ำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หลังเรียน คิดเป็นร้อยละ 90 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ ที่ตั้งไว้ ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากการที่ผู้วิจัยได้มีการ ศึกษาหลักสูตร ผู้เรียน วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การพั ฒ นาสื่ อ การเรี ย นการสอน การวั ด ผล ประเมิ น ผล ตลอดจนหลั ก และวิ ธี ก ารสร้ า ง บทเรียน อีเลิร์นนิ่งทั้งที่เป็นเอกสารงานวิจัย รวมถึงการปรึกษากับครูผสู้ อนโดยตรง จนเข้าใจ ในปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จากการเรียนการสอน จึงท�ำให้ ทราบถึ ง ความสนใจของนั ก เรี ย นซึ่ ง เป็ น กลุ ่ ม ทดลอง นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับการมีช่องการ สื่ อ สารหลากหลายช่ อ งทาง เช่ น e-mail Webboard และระบบ Video Conference จึงท�ำให้สร้างความคุ้นเคยระหว่างผู้สอนและ นักเรียนท�ำให้นักเรียนมีความกล้าที่จะซักถาม ในประเด็นที่สงสัย อีกทั้งการจัดการเรียนรู้แบบ อีเลิรน์ นิง่ ด้วยกูเกิล้ เอิรธ์ นี้ ยังอ�ำนายความสะดวก ให้ นั ก เรี ย นสามารถเรี ย นได้ ทุ ก ที่ ทุ ก เวลา และตามล� ำ ดั บ ความสนใจของนั ก เรี ย นเอง


จึงท�ำให้เกิดแรงกระตุน้ ให้นกั เรียนเกิดความสนใจ กระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้อีกด้วย 2. ผลการวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิทธิผล จากการพัฒนารูปแบบการจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรียนแบบอีเลิร์นนิ่งด้วย กูเกิ้ลเอิร์ธ เท่ากับ .866 แสดงว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น คิดเป็น ร้อยละ 86.6 ผู้วิจัยสามารถอภิปรายผล กล่าวคือ ผูว้ จิ ยั ได้คำ� นึงถึงการออกแบบการเรียน การสอนให้สอดคล้องกับเนื้อหา การจัดรูปแบบ ที่ เ หมาะสมกั บ วั ย โดยเลื อ กสื่ อ ที่ มี ค วาม หลากหลายเข้ามาช่วยอธิบายเนือ้ หาวิชาภูมศิ าสตร์ ที่มีความเป็นนามธรรม มาบรรยายหรืออธิบาย ด้วยภาพจนนักเรียนเกิดความเข้าใจอย่างชัดเจน ซึ่งนอกจากจะเป็นการกระตุ้นให้นักเรียนอยาก เรียนรู้อย่างสนุกสนานแล้ว ยังเป็นการสร้าง ความเข้าใจเนื้อหาสาระได้ดียิ่งขึ้น 3. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนน เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนา รู ป แบบการจั ด สภาพแวดล้ อ มทางการเรี ย น แบบอีเลิรน์ นิง่ ด้วยกูเกิล้ เอิรธ์ ระหว่างกลุม่ ทดลอง สูงกว่ากลุม่ อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ผู้วิจัยได้ตั้งไว้ ที่เป็น เช่นนีเ้ นือ่ งจาก ผูว้ จิ ยั เลือกสือ่ ในหลากหลายรูปแบบ รวมถึงวิธีการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับนักเรียน ท�ำให้คะแนนผลสัมฤทธิ์ของกลุ่มทดลองสูงกว่า กลุ่มควบคุม อีกทั้งยังเป็นการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เลือกและสร้างกระบวนการ เรี ย นรู ้ ด ้ ว ยตนเอง ได้ ล งมื อ ปฏิ บั ติ กิ จ กรรม และสามารถเรียนได้ตามความสนใจของนักเรียน คือ เรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา และไม่จ�ำกัดสถานที่

4. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนน ความคงทนในการเรียนรู้จากจากการพัฒนา รู ป แบบการจั ด สภาพแวดล้ อ มทางการเรี ย น แบบอีเลิรน์ นิง่ ด้วยซึง่ เป็นกลุม่ ทีไ่ ด้รบั การจัดการ เรียนรู้แบบอีเลิร์นนิ่งด้วยกูเกิ้ลเอิร์ธ เมื่อเรียน ผ่านไป 2 สัปดาห์ มีผลการเรียนรู้ไม่แตกต่างกัน จากคะแนนหลังเรียนของกลุ่มทดลองมีคะแนน เฉลี่ย 17.53 ส่วนกลุ่มควบคุมมีคะแนนเฉลี่ย 13.90 เมื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่ า งกลุ ่ ม ทดลองและกลุ ่ ม ควบคุ ม โดยใช้ t-test แบบ Independent Samples มีค่า เท่ากับ 15.77 ที่ระดับนัยส�ำคัญทางสถิติ .00 ซึ่ ง น้ อ ยกว่ า 0.05 แสดงว่ า รู ป แบบการจั ด สภาพแวดล้ อ มทางการเรี ย นแบบอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ด้วยกูเกิ้ลเอิร์ธที่พัฒนาขึ้น ส่งผลดีต่อการเรียน การสอน บทเรียนอีเลิร์นนิ่งร่วมกับกูเกิ้ลเอิร์ธ ท� ำ ให้ ผู ้ เรี ย นสามารถคงความรู ้ ไ ด้ อย่ า งมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้เป็นเพราะ การน�ำบทเรียนอีเลิร์นนิ่งมาใช้เป็นวิธีการเรียน ทีท่ นั สมัยสามารถสร้างแรงจูงใจภายในตนเองของ ผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ส�ำรวจ ค้นหา ความรู้และประกอบกับผู้เรียนมีความอยากรู้ อยากเห็นสิ่งที่อยู่รอบตัวด้วยตนเอง ซึ่งเป็น ประโยชน์ต่อสภาวการณ์ถ่ายโยงความรู้ ท�ำให้ ผู้เรียนสามารถจ�ำสิ่งที่ได้เรียนรู้ได้ยาวนานขึ้น 5. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของ นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 5 ที่ มี ต ่ อ รู ป แบบการจั ด สภาพแวดล้ อ มทางการเรี ย น แบบอีเลิร์นนิ่งด้วยกูเกิ้ลเอิร์ธ นักเรียนมีความ พึงพอใจในภาพรวมคิดเป็นคะแนนเฉลี่ย 4.44 เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

31


ซึ่งอยู่ในระดับพึงพอใจมาก ทั้งในด้านรูปแบบ การจั ด การเรี ย นรู ้ สื่ อ เว็ บ ไซด์ ที่ ใช้ ใ นการจั ด กิจกรรมการเรียนรู้ รวมถึงประโยชน์ที่ได้รับ หลังจากการการจัดการรู้เรียนแบบอีเลิร์นนิ่ง ด้วยกูเกิ้ลเอิร์ธ ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจาก ผู้วิจัย สามารถอภิปรายผล กล่าวคือ การพัฒนารูปแบบ การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนแบบอีเลิร์นนิ่ง ด้วยกูเกิ้ล เอิร์ธ มีการจัดกิจกรรมโดยเน้นให้ ผู้เรียนลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เป็นกิจกรรม ที่ท�ำให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีชีวิตชีวา มีอิสระ ที่จะเลือกเรียนตามล�ำดับความสนใจ สามารถ เรียนได้ ทุก ที่ ทุ กเวลา และสามารถทบทวน ความรู้ได้ตามต้องการ ซึ่งการเรียนการสอน ด้วยบทเรียนแบบอีเลิรน์ นิงนีจ้ ะส่งเสริมให้ผเู้ รียน มีความเป็นตัวของตัวเอง เกิดความภาคภูมิใจ มีความรับผิดชอบในหน้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย นอกจากนี้นักเรียนจะมีความกระตือรือร้นและ สนุกสนานเป็นอย่างมาก จากเหตุผลดังกล่าว จึ ง เป็ น สนั บ สนุ น เหตุ ผ ลความพึ ง พอใจของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ต่อรูปแบบการจัด สภาพแวดล้อมทางการเรียนแบบอีเลิร์นนิงด้วย กูเกิ้ล เอิร์ธ ในระดับความพึงพอใจมาก

บทสรุป

การพัฒนารูปแบบการจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรียนแบบ อีเลิร์นนิ่งด้วยกูเกิ้ลเอิร์ธ นอกจากจะได้บทเรียนอีเลิรน์ นิง่ ร่วมกับกูเกิล้ เอิรธ์ ในวิชาภูมศิ าสตร์ ส�ำหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 5 แล้ว ผู้วิจัยได้น�ำจุดเด่นของกูเกิ้ลเอิร์ธ ซึง่ มีศกั ยภาพในการอธิบายลักษณะทางกายภาพ 32

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

สถานที่ส�ำคัญต่าง ๆ ทั่วทุกมุมโลก ทั้งรูปแบบ สองมิติ และสามมิติ ท�ำให้ผเู้ รียนไม่ตอ้ งเสียเวลา เดินทางไปศึกษา ผู้เรียนได้มีโอกาสลงมือปฏิบัติ ด้วยตนเอง จึงเป็นกิจกรรมทีท่ ำ� ให้เกิดการเรียนรู้ อย่างมีชวี ติ ชีวา มีอสิ ระทีจ่ ะเลือกเรียนตามล�ำดับ ความสนใจ สามารถเรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา และ สามารถทบทวนความรูไ้ ด้ตามต้องการ นอกจากนี้ การเรียนการสอนด้วยบทเรียนแบบอีเลิร์นนิ่ง นี้จะส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเป็นตัวของตัวเอง เกิดความภาคภูมิใจ มีความรับผิดชอบในหน้าที่ ตามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย รวมถึ ง นั ก เรี ย นจะมี ความกระตือรือร้นและสนุกสนามกับการเรียน เป็นอย่างมาก และจากผลการงาวิจัยเรื่องนี้ แสดงให้เห็นว่า การเรียนแบบอีเลิรนนิ่งกับช่วย ในการเรียนและเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ได้อีกทางหนึ่งอย่างแน่นอน

ข้อเสนอแนะ

1. ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัย ไปใช้ 1.1 การพัฒนารูปแบบสภาพแวดล้อม ทางการเรี ย นแบบอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ด้ ว ยกู เ กิ้ ล เอิ ร ์ ธ ควรมีการเตรียมกิจกรรม เนือ้ หา และระยะเวลา ให้เหมาะสมกับกลุม่ เป้าหมาย และเพือ่ ให้เนือ้ หา มีความทันสมัย 1.2 การพัฒนารูปแบบสภาพแวดล้อม ทางการเรียนแบบอีเลิร์นนิ่งด้วยกูเกิ้ล เอิร์ธ ผู ้ ส อนควรจะปลู ก ฝั ง และจู ง ใจผู ้ เรี ย นให้ มี ความรับผิดชอบในการเข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละ หน่วย เพื่อให้เกิดกระบวนการการเรียนรู้ที่มี


ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด อี ก ทั้ ง ก่ อ นจั ด กิ จ กรรม การเรียนการสอนนั้นผู้สอนจะต้องอธิบายและ ท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการเรียนการสอน และขั้นตอนต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจ ยิ่งขึ้น 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมี ก ารศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียน วิชาภูมิศาสตร์ระหว่างบทเรียนอีเลิร์นนิ่งด้วย กู เ กิ้ ล เอิ ร์ ธ กับวิธีการสอนในรูปแบบอื่น ๆ ซึ่ ง เน้ น ผู ้ เรี ย นเป็ น ศู น ย์ ก ลาง เช่ น การสอน แบบโครงงาน การเรียนรูร้ ว่ มกัน และการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก เป็นต้น 2.2 ควรมี ก ารสร้ า งและพั ฒ นา เนื้อหาอื่น ๆ ตามหลักสูตร เพื่อให้บทเรียน อีเลิร์นนิ่งด้วยกูเกิ้ล เอิร์ธ สามารถมีเนื้อหา ครอบคลุมในกลุ่มเป้าหมายอื่น ๆ เช่น ระดับ ประถมศึ ก ษา ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น ระดั บ อาชี ว ศึ ก ษา ระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา และ การศึกษาตามอัธยาศัย 2.3 รูปแบบการจัดสภาพแวดล้อม

ทางการเรียนแบบอีเลิร์นนิ่งร่วมด้วยกูเกิ้ลเอิร์ธ เป็นสื่อการเรียนการสอนแบบออนไลน์ที่จ�ำเป็น ต้ อ งอาศั ย อิ น เทอร์ เ น็ ต และคอมพิ ว เตอร์ ที่ มี ความเร็ ว สู ง ปั จ จุ บั น รู ป แบบดั ง กล่ า วได้ รั บ ความนิ ย มมากขึ้ น แต่ ยั ง มี ข ้ อ จ� ำ กั ด เกี่ ย วกั บ วัสดุ อุปกรณ์ และระบบเครือข่ายต่าง ๆ เช่น กู เ กิ้ ล เอิ ร ์ ธ ไม่ ส ามารถแสดงผลได้ ใ นลั ก ษณะ ออฟไลน์ และในท้ อ งถิ่ น ทุ ร กั น ดารบางแห่ ง สัญ ญาณอินเทอร์เน็ตยังไม่ส ามารถเข้าถึงใน พืน้ ทีน่ นั้ เหล่านีจ้ งึ เป็นข้อจ�ำกัดในการน�ำรูปแบบ สภาพแวดล้อมแบบอีเลิร์นนิ่งร่วมกับกูเกิ้ลเอิร์ธ เมื่อน�ำไปใช้กับนักเรียนที่มีความแตกต่างกัน ทัง้ ด้านความพร้อม และโอกาสทางการศึกษาด้วย หากปัญหาดังกล่าวได้รับการแก้ไขจากหน่วยงาน ที่รับผิดชอบแล้ว รูปแบบดังกล่าวจะช่วยส่งเสริม และสนับสนุนให้เกิดการเรียนรูอ้ ย่างมีความหมาย รวมถึงเป็นการเปิดโลกทัศน์ทางการศึกษาให้ นั ก เรี ย นมี ค วามรู ้ ที่ ทั ด เที ย มกั น ตลอดจน สามารถแลกเปลีย่ นประสบการณ์ผา่ นอินเทอร์เน็ต ทัง้ รวดเร็วสะดวก และคล่องตัว จึงนับว่าเป็นการ ปรับเปลีย่ นสังคมการเรียนรูใ้ ห้กว้างไกลขึน้ นัน้ เอง

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ : ครุสภาลาดพร้าว. จิราภรณ์ หนูสวัสดิ์. (2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการผ่านเว็บตาม แนวทฤษฎีการขยายความคิดเพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถใน การแก้ปัญหา และการถ่ายโยงการเรียนรู้ของผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอเกล้า พระนครเหนือ. เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

33


ชลีนุช คนซื่อ. (2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานทางด้านกิจกรรม ในรายวิชาการวิเคราะห์ และออกแบบระบบของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน วิทยาเขตสกลนคร. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ชาญยุทธ สีเฉลียว. (2543). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคงทนในการเรียนรู้ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน กลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต เรือ่ งพืช ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 ทีเ่ รียนโดยใช้ชดุ การสอนกับการสอนตามปกติ. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ณัฐปคัลภ์ กิตติสุนทรพิศาล. (2549). การพัฒนาต้นแบบการเรียนการสอนบนเว็บส�ำหรับ มหาวิทยาลัยราชภัฏ. ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง. ประวิทย์ สิมมาทัน. (2552). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือบนเครือข่าย คอมพิวเตอร์ ส�ำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี โดยอาศัยแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ประหยัด ทีทา. (2555). การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่งแบบผสมผสาน วิชา พฤติกรรมการสอน คอมพิวเตอร์ศกึ ษาส�ำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. ดุษฎีนพิ นธ์ ครุศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. ปานใจ โพธิห์ ล้า. (2552). การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่าย เรือ่ ง ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ระดับ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2. การค้นคว้าอิสระ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. ไพโรจน์ เบาใจ. (2550). “นิยามอีเลิร์นนิ่ง ที่แท้จริงส�ำหรับอนาคต”. เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา. 15 (1) : 37-43. มนต์ชัย เทียนทอง. (มกราคม – มีนาคม 2547). “e-Learning การออกแบบและพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์บนเว็บตามแนวคิดวิธีการระบบ (System Approach) ตอนที่ 2”. วารสาร พัฒนาเทคนิคศึกษา, ปีที่ 16 (49) : 65 - 72. ยุทธนา อาจหาญ. (2551). การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง (e-Learning) วิชาฟิสิกซ์ เรื่อง แสง และการมองเห็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. สายชล จินโจ. (2550). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานรายวิชาการเขียน 34

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1 สาขาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. สุรพล บุญลือ. (2550). การพัฒนารูปแบบการสอนโดยใช้ห้องเรียนเสมือนจริงแบบใช้ปัญหาเป็น หลักในระดับอุดมศึกษา. ปริญญานิพนธ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. Bonk, J.Curtis and Graham, R. Chales. (2006). The Handbook of Blended Learning. USA : John Wiley & Sons, Inc. Judith, B Strother. (2007). Shaping Blended Learning Pedagogy for East Asia Learning Styles. https://www.ieee.org/index.html. Wang Yongxing. (2008). Blended Learning Design for software Engineering Course Design. https://www.ieee.org/index.html

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

35


การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่งตามกรอบมาตรฐานคุณภาพ ของสมาคมสโลน เรื่องความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ส�ำหรับสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร Development of e-Learning Courseware based on the Quality Framework of Sloan Consortium on a Basic Knowledge of Innovation and Educational Information Technology for the Institute of Physical Education, Chumphon Campus ดร. พูลศรี เวศย์อุฬาร ผศ. ดร. ไพโรจน์ เบาใจ ผศ. จงดี กากแก้ว*

บทคัดย่อ

การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ (1) พัฒนา บทเรียน อีเลิร์นนิ่งตามกรอบมาตรฐานคุณภาพ ของสมาคมสโลน เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษาให้มีประสิทธิภาพไม่ต�่ำกว่าเกณฑ์ 80/80 (2) ประเมิ น บทเรี ย น อี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ที่ พั ฒ นาขึ้ น ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน (3) เปรียบเทียบผลการเรียนรูก้ อ่ นและหลังเรียน ด้วยบทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ทีพ่ ฒั นาขึน้ (4) เปรียบเทียบ ความคงทนในการเรียนรู้หลังเรียนจบแล้วเว้นช่วง

*

คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร

36

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

2 สัปดาห์ และ (5) ศึกษาความพึงพอใจของ นักศึกษาทีม่ ตี อ่ การเรียนด้วยบทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ที่ พั ฒ นาขึ้ น ประชากรที่ ใช้ ใ นการวิ จั ย เป็ น นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 สถาบัน การพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2557 จ�ำนวน 285 คน กลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ ชัน้ ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จ�ำนวน 31 คนที่ได้จากการสุ่มแบบเป็นกลุ่ม เครื่องมือ ที่ใช้ใ นการวิจัย ประกอบด้วย (1) บทเรียน


อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคม สโลน เรือ่ งความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ วกับนวัตกรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา (2) แบบ ทดสอบวั ด ผลการเรี ย นรู ้ ที่ มี ค ่ า ความเชื่ อ มั่ น เท่ากับ 0.87 (3) แบบประเมินความพึงพอใจของ นักศึกษาที่มีต่อบทเรียน อีเลิร์นนิ่งที่พัฒนาขึ้น ซึง่ มีคา่ ความเชือ่ มัน่ เท่ากับ 0.86 (4) แบบประเมิน บทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ ตามกรอบมาตรฐาน คุณภาพของสมาคมสโลนส�ำหรับผู้เชี่ยวชาญ และ (5) แบบประเมินคุณภาพส�ำหรับผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านเนื้อหาและด้าน อีเลิร์นนิ่ง สถิติที่ใช้ในการ วิจยั คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน ค่าประสิทธิภาพ และการทดสอบค่าที ผลการวิจยั พบว่า (1) บทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ที่พัฒนาขึ้นตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของ สมาคมสโลน เรื่ อ งความรู ้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษา มีประสิทธิภาพเท่ากับ 88.17/84.95 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ (2) บทเรียน อีเลิร์นนิ่ง ที่พัฒนาขึ้นตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของ สมาคมสโลน เรื่ อ งความรู ้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษาผ่านการประเมินในระดับดี (ได้คะแนน 3.5 ขึน้ ไป) (3) ผลการเรียนรูห้ ลังเรียนของนักศึกษา สู ง กว่ า ก่ อ นเรี ย นอย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ ที่ระดับ .01 (4) นักศึกษามีความคงทนในการ เรียนรู้โดยผลการเรียนรู้เมื่อสิ้นสุดการเรียนกับ เว้นช่วง 2 สัปดาห์ไม่แตกต่างกัน และ (5) ความ พึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนด้วยบทเรียน อีเลิร์นนิ่งที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับมากที่สุด

ค�ำส�ำคัญ : กรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคม สโลน, บทเรียน อีเลิร์นนิ่ง

Abstract

The objective of this research were (1) to develop of e–Learning courseware based on the quality framework of Sloan Consortium on a basic knowledge of Innovation and Educational Information Technology to meet the 80/80 (E1 / E2) efficiency criteria (2) evaluate e–Learning courseware according to the quality framework of Sloan Consortium (3) compare the pre–test and the post test of the student’s learning achievement earned from the developed e–Learning courseware (4) examine student’s retention 2 weeks after studying the developed e-Learning courseware and (5) investigate students’ satisfaction towards the developed e–Learning courseware. The population was the first year university student at the Institute of Physical Education, Chumphon Campus. The population covered 285 students who were studying in the first semester of the academic of year 2013. With cluster sampling 31 students from faculty of education were derived as a sample group. The research instruments were เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

37


(1) the e–Learning courseware based on the quality framework of Sloan Consortium on a basic knowledge of Innovation and Educational Information Technology (2) an achievement test with reliability at 0.87 (3) a satisfaction assessment with reliability at 0.86 (4) a quality evaluation of e–Learning courseware according to the quality framework of Sloan Consortium and (5) a quality appraisal form focusing on courseware content and educational technology for experts. The calculations of research statistic consisted in this study were means, percentage, standard deviation and t-test for dependent sample. The research results are following: (1) The developed e–Learning courseware based on the Sloan Consortium on a basic knowledge of Innovation and Educational Information Technology achieved the efficiency at 88.17/84.95 (E1 / E2) which was higher than the predetermined criteria. (2) The developed e–Learning courseware according to the quality framework of Sloan Consortium on a basic knowledge of Innovation and Educational Information Technology was passed the evaluation at 3.5. 38

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

(3) Student’s learning achievement earned after studying was higher than the pre-test statistically significant different at the 0.01 level. (4) The students’ achievement 2 weeks after course completion was not statistically significant different. and (5) The students’ satisfaction towards the developed e–Learning courseware was at the highest level. Keywords : the quality framework of Sloan Consortium, e–Learning courseware

บทน�ำ

ระบบการสื่ อ สารและโทรคมนาคม สมั ย ใหม่ ท� ำ ให้ ก ารติ ด ต่ อ สื่ อ สารกระท� ำ ได้ รวดเร็วขึน้ รูปแบบการเรียนรูใ้ หม่ ๆ อันเกิดจาก ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีมีอยู่มากมาย การจั ด การศึ ก ษาในปั จ จุ บั น จึ ง ต้ อ งเน้ น ให้ ผู้เรียนได้รู้จักคิดวิเคราะห์ และศึกษาเรียนรู้ ได้ ด ้ ว ยตนเอง โดยมี ค รู เ ป็ น ผู ้ ชี้ แ นะและให้ ค� ำ แนะน� ำ ปรึ ก ษากั บ นั ก เรี ย นนั ก ศึ ก ษาทั้ ง นี้ เพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มาตรา 22 ทีก่ ล่าวว่าการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผูเ้ รียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผูเ้ รียนมีความส�ำคัญทีส่ ดุ กระบวนการ จั ด การศึ ก ษาต้ อ งส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ เรี ย นสามารถ พั ฒ นาตามธรรมชาติ แ ละเต็ ม ตามศั ก ยภาพ


(ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2553) ซึ่งเป็นแนวคิดในการพัฒนาประเทศไทย สู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้มุ่งเน้นที่ ความดี มี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม เมตตาธรรม และวัฒนธรรม เป็นการจัดการความรูใ้ ห้เกิดความ รอบรู้ อีกทั้งมาตรา 30 ระบุว่าให้สถานศึกษา พัฒนากระบวนการเรียนการสอนทีม่ ปี ระสิทธิภาพ รวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัย เพื่อ พัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละ ระดับการศึกษา และมาตรา 66 ที่ระบุว่าให้ ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรก ที่ท�ำได้ เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะ ใช้ เ ทคโนโลยี เ พื่ อ การศึ ก ษาในการแสวงหา ความรู้ด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต อีกทั้งมาตรา 67 กล่าวว่า รัฐต้องส่งเสริมให้มี การวิจัย และพัฒนาการผลิตและการพัฒนา เทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา รวมทัง้ ติดตามตรวจสอบ และประเมิ น ผลการใช้ เ ทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา เพื่ อ ให้ เ กิ ด การใช้ ที่ คุ ้ ม ค่ า และเหมาะสมกั บ กระบวนการเรียนรูข้ องคนไทย ซึง่ สอดคล้องกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) ข้อ 1 ความว่าการเปลีย่ นแปลง ของบริบทการพัฒนาและสถานะของประเทศไทย ทั้งการพัฒนาและการสร้างองค์ความรู้ รวมถึง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมมาผสมผสาน ร่วมกับจุดแข็งในสังคมไทย และยังสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ข้อ 1 คือ ยุทธศาสตร์ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพคนและสั ง คมไทยสู ่ สั ง คม แห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ ซึ่งให้ความส�ำคัญ

กั บ การพั ฒ นาคนให้ มี คุ ณ ธรรมน� ำ ความรู ้ เกิดภูมคิ มุ้ กัน โดยพัฒนาจิตใจควบคูก่ บั การพัฒนา การเรียนรู้ของคนทุกกลุ่ม ทุกวัย ตลอดชีวิตให้มี ความรู้พื้นฐานเข้มแข็ง มีทักษะชีวิต พัฒนา สมรรถนะทักษะของก�ำลังแรงงานให้สอดคล้อง กับความต้องการ พร้อมก้าวสูโ่ ลกแห่งการท�ำงาน และการแข่งขันอย่างมีคุณภาพ สร้างพัฒนา ก�ำลังคนที่เป็นเลิศโดยเฉพาะการสร้างสรรค์ นวัตกรรมและองค์ความรู้ ส่งเสริมให้คนไทย เกิดการเรียนรูอ้ ย่างต่อเนือ่ งตลอดชีวติ (ส�ำนักงาน คณะกรรมการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คม แห่ ง ชาติ . 2554) นอกจากนั้ น ในแผนพั ฒ นา สื่ อ สารมวลชน เทคโนโลยี ส ารสนเทศและ โทรคมนาคมเพื่อพัฒนาคนและสังคม (พ.ศ. 2542 - 2551) ได้กำ� หนดวิสยั ทัศน์ทางการพัฒนา ส�ำหรับประเทศไทยไว้วา่ ประชาชนได้รบั การพัฒนา ศักยภาพในทุกมิตขิ องชีวติ อย่างต่อเนือ่ ง สามารถ เข้าถึงข้อมูลสารสนเทศทีม่ คี ณ ุ ภาพได้อย่างอิสระ และชอบธรรม ส่งเสริมกระบวนการเรียนรูอ้ ย่าง สร้างสรรค์และต่อเนื่องตลอดชีวิต และผู้เรียน ทุกคนมีโอกาสเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ และ การสือ่ สารเพือ่ การเรียนรูโ้ ดยจัดให้มอี ย่างเพียงพอ (ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา. 2545 : 75 - 76) การพัฒนาคนให้มีคุณภาพที่ดีนั้นต้อง อาศัยการศึกษาเข้ามาช่วย และจ�ำเป็นต้องอาศัย เทคโนโลยีและการเชือ่ มโยงเป็นเครือข่ายทีม่ อี ยู่ ทั่วโลก ปรับเปลี่ยนแนวทางและกระบวนการ เรียนรูใ้ หม่ ตลอดจนการวางแนวทางการสัง่ สอน มาเป็นการเรียนรู้ให้สอดคล้องไปกับธรรมชาติ เพื่อการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนอย่างเต็มที่ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

39


โดยการน�ำกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ มีก ารเรี ย นรู ้ ด้ วยตนเอง (Self – Directed Learning) การเรียนรูด้ ว้ ยการน�ำตนเองเป็นการ เรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นผู้รับผิดชอบในการวางแผน การปฏิบัติ และการประเมินผลความก้าวหน้า การเรี ย นของตนเอง (ชั ย อนั น ต์ สมุ ท วณิ ช . 2540 : 2) โดยการเรียนรู้ด้วยการน�ำตนเองเป็น กระบวนการที่ผู้เรียนวิเคราะห์ความต้องการ ในการเรียนรู้ของตนเอง ตั้งเป้าหมายการเรียนรู้ แสวงหาความรู้ ผู้สนับสนุนและแหล่งความรู้ รวมทั้ ง ผู ้ เรี ย นสามารถประเมิ น ผลการเรี ย น ด้ ว ยตนเอง ซึ่ ง การเรี ย นการสอนที่ ส ามารถ ตอบสนองการเรียนรู้ด้วยตนเอง และก�ำลังเป็น ทีน่ ยิ มกันในขณะนีก้ ค็ อื อีเลิรน์ นิง่ (e-Learning) ในอดีตสถานศึกษาจะต้องเรียนในเวลาเดียวกัน ในทีเ่ ดียวกัน และส�ำหรับบางคนเท่านัน้ ทีม่ โี อกาส เข้าสู่ระบบการศึกษา แต่เมื่อมีการน�ำ อีเลิร์นนิ่ง เข้ามาใช้ในการศึกษาโดยมีผเู้ รียนเป็นศูนย์กลาง ของการเรียนรู้ ท�ำให้สถานศึกษาสามารถจัด การเรี ย นการสอนที่ ผู ้ เรี ย นสามารถเรี ย นได้ ทุกเวลา ทุกสถานที่ และทุกคน การน�ำเทคโนโลยี เพือ่ การศึกษาเข้ามาใช้จะช่วยให้ผเู้ รียนได้เรียนรู้ อย่างกว้างขวางยิง่ ขึน้ เรียนได้เร็วขึน้ ผูเ้ รียนจะมี อิ ส ระในการเสาะแสวงหาความรู ้ มี ค วาม รับผิดชอบต่อตัวเอง เป็นการเปิดโอกาสให้เรียนรู้ ตามความสามารถซึ่งจะสนองต่อความต้องการ ของแต่ละบุคคลได้เป็นอย่างดี เป็นการน�ำโลก ภายนอกเข้ามาสูห่ อ้ งเรียน ท�ำให้ชอ่ งว่างระหว่าง ห้องเรียนกับสังคมลดน้อยลง ท�ำให้เกิดความ เสมอภาคทางการศึกษาขึ้น อีกทั้งวิถีทางของ 40

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

การเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนในยุค สารสนเทศจะเป็นการเรียนรูแ้ ละการจัดการเรียน การสอนโดยคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ผนวกกับระบบการสื่อสารทางไกล มากขึน้ เรียกว่าเป็นระบบการเรียนแบบออนไลน์ (Online) หรือระบบการเรียนการสอนแบบ อีเลิรน์ นิง่ ทีใ่ ช้ระบบ World Wide Web (www) ในการค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม ปัจจุบันการเรียน การสอนแบบอีเลิร์นนิ่งได้แพร่กระจายเข้าไป มี บ ทบาทในระดั บ อุ ด มศึ ก ษาทั้ ง ในวิ ท ยาลั ย และมหาวิทยาลัยเป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งลักษณะ การเรียนการสอนแบบนี้จะตอบสนองต่อความ แตกต่างระหว่างบุคคล อีกทั้งได้มีการออกแบบ และพั ฒ นาบทเรี ย นให้ ส ามารถมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนได้เป็นอย่างดี ผู้เรียน สามารถติดต่อสื่อสารกับผู้คนทั่วโลกได้อย่าง รวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นลักษณะการปฏิสัมพันธ์ โต้ตอบทันทีทันใด เช่น การสนทนาออนไลน์ หรือการใช้บริการอื่นๆ เช่น อีเมล์ (E- mail) ผูเ้ รียนสามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศได้ทวั่ โลก ไม่จ�ำเป็นว่าข้อมูลนั้นจะมาจากส่วนใด ระบบ คอมพิวเตอร์ออนไลน์ถือเป็นแหล่งขุมทรัพย์ ทางปัญญาในลักษณะทีส่ อื่ ประเภทอืน่ ไม่สามารถ กระท�ำได้ สมาคมสโลน หรือ Sloan – C หรือ The Sloan Consortium เป็นสมาคมเพื่อ การศึกษาด้วยตนเอง เป็นองค์กรที่ไม่แสวงหา ผลก�ำไรโดยการรวมกลุ่มของบุคคล สถาบัน และองค์ ก รที่ มุ ่ ง มั่ น ในการสร้ า งการศึ ก ษา แบบออนไลน์ที่มีคุณภาพ เป็นมืออาชีพในการ


บูรณาการการศึกษาแบบออนไลน์ให้กลายเป็น กระแสหลักของการศึกษาในระดับอุดมศึกษา และยังให้ความช่วยเหลือสถาบันการศึกษาและ นั ก วิ ช าการศึ ก ษาในการปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพ การศึกษาแบบออนไลน์ มีนวัตกรรมทีม่ คี ณ ุ ภาพ และการเรียนการสอนที่เป็นเลิศ ช่วยให้เกิด การเรียนรูอ้ ย่างต่อเนือ่ ง สมาคมสโลนจะมีกรอบ มาตรฐานคุ ณ ภาพของสมาคมสโลนเพื่ อ การ ศึกษาด้วยตนเองมาใช้ ซึ่งจะประกอบด้วยหลัก 5 ประการทีเ่ ป็นแนวทางในการจัดการศึกษา คือ ประสิทธิผลทางการเรียน ความคุม้ ค่า กระบวนการ ความพึงพอใจของผู้สอนและความพึงพอใจของ ผู้เรียน ดังนั้น การศึกษาในรูปแบบดังกล่าวจะ กลายมาเป็นส่วนหนึง่ ของชีวติ ประจ�ำวันทีท่ กุ คน สามารถเข้าถึงได้ทุกที่ ทุกเวลา ตลอดจนใน หลากหลายสาขาวิชา (Moore. 2002 : 1-2) ซึ่งคุณสมบัติด้งกล่าวของสมาคมสโลนน่าจะมี ประโยชน์มากถ้าน�ำมาใช้กับ อีเลิร์นนิ่งที่ผู้วิจัย จะพัฒนาขึน้ นอกจากนัน้ การเรียนแบบ อีเลิรน์ นิง่ ยังเป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การศึกษา ซึง่ ได้เปลีย่ นแปลงไปตามแนวคิดและ ทฤษฎีการเรียนรู้ในแต่ละยุคแต่ละสมัย และ ในปั จ จุ บั น การเรี ย นรู ้ ต ามแนวคอนสตรั ค ชั่ น นิ ส ซึ ม (Constructionism) ซึ่ ง เป็ น ทฤษฎี ที่ แ ยกตั ว มาจากทฤษฎี ค อนสตรั ค ติ วิ ส ต์ ซึ ม (Constructivism) หรือทฤษฎีการสร้างความรู้ โดยผู้เรียนเอง โดยทฤษฎี คอนสตรัคชั่นนิสซึม เชื่อว่าหากใครจะเรียนรู้อะไรเขาจะต้องปฏิบัติ ไม่ใช่เพียงรู้แบบดูอยู่ห่าง ๆ หากแต่ต้องรู้แบบ พุ่งเข้าใส่ และประสานสัมพันธ์กับสิ่งที่อยากรู้

ผู้สอนเป็นเพียงผู้แนะแนวทาง เป็นที่ปรึกษา เป็นพี่เลี้ยงและเป็นผู้อ�ำนวยความสะดวกให้กับ ผู้เรียน ผู้เรียนสามารถเรียนตามความต้องการ และความสามารถของผูเ้ รียนแต่ละคน (พลสัณห์ โพธิ์ศรีทอง, 2542 : 1-4) โดยให้ผู้เรียนได้รับ การเสริมแรงไปด้วย ซึ่งจะสอดคล้องกับทฤษฎี การวางเงือ่ นไขแบบอาการกระท�ำของสกินเนอร์ (Operant Conditioning) ซึง่ สรุปได้วา่ การกระท�ำ ใด ๆ ถ้าได้รับการเร้าด้วยการเสริมแรงความ เข้ ม แข็ ง ของการตอบสนองจะมี โ อกาสสู ง ขึ้ น (วิไลวรรณ ศรีสงคราม. 2549) สถาบันการพลศึกษา เป็นสถานศึกษา ในระดั บ อุ ด มศึ ก ษา มี วิ ท ยาเขตต่ า ง ๆ รวม 17 วิทยาเขต มีหน้าที่หลักในการจัดการศึกษา ควบคู่กับการให้บริการชุมชนในลักษณะของ การจัดกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา จากภาระหน้าที่ดังกล่าวจึงอาจจะกระทบต่อ การเรี ย นการสอน ท� ำ ให้ เ กิ ด ปั ญ หาขึ้ น เช่ น นักศึกษามีเวลาเรียนไม่เพียงพอเนื่องจากต้องออก บริการชุมชนท�ำให้เรียนไม่ทันเพื่อน อีกทั้งการ รับรู้ของนักศึกษาก็อาจจะไม่เท่ากันเนื่องจาก ระดับสติปัญญาและความแตกต่างระหว่างบุคคล หรือภูมิหลังของแต่ละคนไม่เหมือนกัน บางคน จะเรียนรูไ้ ด้เร็ว บางคนจะเรียนรูไ้ ด้ชา้ ซึง่ ในกรณี ของนักศึกษาที่เรียนรู้ได้ช้าก็สามารถใช้บทเรียน อีเลิรน์ นิง่ เป็นส่วนเสริมได้ เนือ่ งจากการเรียนด้วย บทเรียน อีเลิรน์ นิง่ นัน้ นักศึกษาสามารถทบทวน การเรียนการสอนได้ตลอดเวลาตามความต้องการ ของตนจนกว่าจะเข้าใจ และเมื่อมีปัญหาตรงจุด ไหนก็สามารถปรึกษาอาจารย์ผู้สอนได้ตลอด เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

41


เวลาเช่นเดียวกัน ซึ่งแต่ละวิทยาเขตจะมีปัญหา ในเรือ่ งการเรียนคล้าย ๆ กัน สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร ก็เป็นวิทยาเขตหนึ่งที่มีปัญหา ด้านนี้ และจากปัญหาดังกล่าวจึงเป็นภารกิจ ของผู้สอนที่ต้องคิดค้นและสร้างสรรค์สื่อการสอน ใหม่ ๆ ขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่าง ครบถ้วน โดยน�ำเทคโนโลยีมาช่วยสร้างสือ่ การสอน ส�ำหรับการเรียนรู้ การน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศ มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนปัจจุบัน มี ห ลายรู ป แบบ และการเรี ย นการสอนแบบ อีเลิรน์ นิง่ ก็เป็นการเรียนการสอนอีกรูปแบบหนึง่ ที่ก�ำลังเป็นที่นิยม ผู้วิจัยซึ่งท�ำการสอนวิชานวัตกรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา รหัสวิชา กศ 031001 ซึ่งเป็นวิชาบังคับในหมวดศึกษา ทั่วไป ส�ำหรับนักศึกษาสถาบันการพลศึกษา หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต จึงมีความสนใจ ทีจ่ ะพัฒนาบทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบมาตรฐาน คุณภาพของสมาคมสโลน ในรายวิชานวัตกรรม และเทคโนโลยี ส ารสนเทศทางการศึ ก ษาขึ้ น โดยเลือกหัวข้อเรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษา เนื่องจากผู้วิจัยซึ่งรับผิดชอบการสอน ในรายวิ ช านี้ ม าเป็ น เวลานานสั ง เกตเห็ น ว่ า นักศึกษาท�ำคะแนนในเรื่องนี้ได้คะแนนต�่ำกว่า หัวข้อเรื่องอื่น ๆ อาจเป็นเพราะเรื่องดังกล่าว มีเนื้อหาเกี่ยวความรู้ความจ�ำหรือเป็นทฤษฎี มากกว่าการลงมือปฏิบัติ ซึ่งอาจท�ำให้นักศึกษา เกิ ด ความเบื่ อ หน่ า ย และอี ก เหตุ ผ ลหนึ่ ง คื อ การเรียนด้วยบทเรียน อีเลิร์นนิ่งนั้น นักศึกษา 42

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

สามารถเรี ย นหรื อ ค้ น คว้ า โดยไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ ง เข้าห้องเรียนเท่านั้น แต่สามารถที่จะเรียนที่ไหน ก็ได้ตามที่ต้องการ โดยเรียนได้ตามความถนัด และความสามารถของตนเอง จะทบทวนเนือ้ หา ซ�้ำไปซ�้ำมากี่ครั้งก็ได้จนกว่านักศึกษาจะเข้าใจ หรื อ พอใจ และผู ้ วิ จั ย ได้ น� ำ กรอบมาตรฐาน คุณภาพของสมาคมสโลนมาใช้ในการท�ำวิจัย ครั้งนี้ เนื่องจากสมาคมสโลนได้รับการยกย่อง ว่ า เป็ น มื อ อาชี พ ในการบู ร ณาการการศึ ก ษา แบบออนไลน์ มี รู ป แบบการผลิ ต บทเรี ย น อีเลิร์นนิ่งที่ผ่านการศึกษา ค้นคว้า และวิจัย จนเป็ น ที่ ย อมรั บ กั น ทั่ ว โลกแล้ ว ว่ า สามารถ น�ำกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคม สโลน ไปใช้ในการผลิตบทเรียน อีเลิร์นนิ่งได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ดังนั้น เมื่อผู้วิจัยได้น�ำกรอบ มาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลนมาใช้ในการ วิจัยครั้งนี้ จึงคาดว่าน่าจะได้บทเรียน อีเลิร์นนิ่ง ที่เป็นนวัตกรรมที่มีคุณภาพเหมือนดังเช่นของ สมาคมสโลน เพื่ อ ให้ บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ดั ง กล่ า ว ผู ้ วิ จั ย จึ ง มี ค วามต้ อ งการที่ จ ะพั ฒ นาบทเรี ย น อี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ตามกรอบมาตรฐานคุ ณ ภาพของ สมาคมสโลน เรื่ อ งความรู ้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษา ส�ำหรับสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขต ชุมพรขึน้ เพือ่ ให้ได้บทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ทีม่ คี ณ ุ ภาพ และมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ก�ำหนดต่อไป

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. เพื่ อ พั ฒ นาบทเรี ย น อี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง


ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน เรื่ อ งความรู ้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ นวั ต กรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ส�ำหรับ สถาบั น การพลศึ ก ษา วิ ท ยาเขตชุ ม พรให้ มี ประสิทธิภาพไม่ต�่ำกว่าเกณฑ์ 80/80 2. เพื่ อ ประเมิ น บทเรี ย น อี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ที่พัฒนาขึ้นตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของ สมาคมสโลน 3. เพื่ อ เปรี ย บเที ย บผลการเรี ย นรู ้ ก่อนและหลังการเรียนด้วยบทเรียน อีเลิร์นนิ่ง ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน เรื่ อ งความรู ้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ นวั ต กรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ส�ำหรับ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร 4. เพื่อเปรียบเทียบความคงทนในการ เรียนรู้หลังเรียนจบทันทีและเว้นช่วง 2 สัปดาห์ 5. เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา ทีม่ ตี อ่ การเรียนด้วยบทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบ มาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน เรื่องความ รู ้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ นวั ต กรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา ส�ำหรับสถาบันการ พลศึกษา วิทยาเขตชุมพร

สมมติฐานของการวิจัย

1. ผลการเรียนรู้หลังเรียนด้วยบทเรียน อี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ตามกรอบมาตรฐานคุ ณ ภาพของ สมาคมสโลน เรื่ อ งความรู ้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษา ส�ำหรับสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขต ชุมพร สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทาง

สถิติที่ระดับ 0.05 2. ความคงทนในการเรียนรู้จากการ เรียนด้วยบทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบมาตรฐาน คุณภาพของสมาคมสโลน เรื่องความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึ ก ษา ส� ำ หรั บ สถาบั น การพลศึ ก ษา วิทยาเขตชุมพร หลังเรียนจบทันทีและเว้นช่วง 2 สัปดาห์ ไม่แตกต่างกัน 3. นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการเรียน ด้วยบทเรียน อีเลิร์นนิ่งตามกรอบมาตรฐาน คุณภาพของสมาคมสโลนอยูใ่ นระดับมาก

ขอบเขตของการวิจัย

1. ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ครั้งนี้เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร ภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จ�ำนวน 285 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง ใช้การสุ่มแบบเป็น กลุ่ม (Cluster Sampling) ด้วยการจับฉลากได้ ห้อง 1/3 จากจ�ำนวนทั้งหมด 3 ห้องเรียนของ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์ เพื่อใช้ เป็นกลุ่มทดลองจ�ำนวน 31คน ส่วนกลุ่มพัฒนา บทเรียน อีเลิร์นนิ่งเลือกแบบเจาะจงอีก 40 คน เพื่อใช้ทดลองรายบุคคล 3 คน กลุ่มย่อย 7 คน และกลุ่มหาประสิทธิภาพจ�ำนวน 30 คน 3. ตัวแปร ตัวแปรทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ ประกอบด้วย 3.1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) คือ การเรียนรูโ้ ดยใช้บทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

43


3.2 ตั ว แปรตาม (Dependent Variables) ประกอบด้วย (1) ผลการเรียนรู้ (2) ความคงทนในการเรียนรู้ (3) ความพึงพอใจของผู้เรียน 4. เนือ้ หา เรือ่ งความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ วกับ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษา มีหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้คือ ความหมายของ นวัตกรรมและนวัตกรรมทางการศึกษา แนวคิด พื้ น ฐานที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด นวั ต กรรมทางการศึ ก ษา ประโยชน์ของนวัตกรรมทางการศึกษา ความหมาย ของเทคโนโลยี และเทคโนโลยีทางการศึกษา แนวคิดพื้นฐานที่ก่อให้เกิดเทคโนโลยีทางการ ศึกษา หลักและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี ทางการศึกษาประโยชน์ของเทคโนโลยีทางการ ศึกษา ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึกษา ลักษณะส�ำคัญของเทคโนโลยี สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่นิยมใช้ ในปัจจุบัน

นิยามศัพท์เฉพาะ

การเรี ย นแบบ อี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง หมายถึ ง การถ่ า ยทอดความรู ้ เนื้ อ หาสาระผ่ า นทาง อินเทอร์เน็ต ซึง่ เป็น สือ่ หรือตัวกลางในการเรียน การสอน ลักษณะของบทเรียนประกอบด้วย เนื้อหา ภาพประกอบ เสียง และภาพเคลื่อนไหว ผูส้ อนและผูเ้ รียนสามารถใช้อภิปรายแลกเปลีย่ น ความคิดเห็น สืบค้น ตอบปัญหา ท�ำแบบฝึกหัด ท�ำข้อสอบ และท�ำกิจกรรมการเรียนการสอน ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 44

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

บทเรียน อีเลิร์นนิ่ง หมายถึง ขั้นตอน แนวคิด หลักการ วัตถุประสงค์ตลอดจนขั้นตอน การจัดการเรียนการสอนโดยถ่ายทอดเนื้อหา และสือ่ สารผ่านอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วยระบบ ต่างๆ ได้แก่ ระบบการบริหารจัดการเรียนการ สอน (Learning Management System : LMS) ระบบการจัดเนื้อหา (Content Management System : CMS) รวมถึงการวัดผลและประเมินผล เพื่อน�ำมาพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบเสมือน ห้องเรียนจริง โดยใช้สื่อการเรียนรู้หลายรูปแบบ เช่น วิดโี อมัลติมเี ดีย การสือ่ สารแบบประสานเวลา การสือ่ สารแบบไม่ประสานเวลา ระบบการสืบค้น ระบบการติดต่อนักศึกษาด้วยอีเมล์ แช็ทรูม เว็บบอร์ด เว็บเพจ และการทดสอบ เป็นต้น การพัฒนาบทเรียน อีเลิร์นนิ่ง หมายถึง กระบวนการสร้าง ทดลองใช้ ปรับปรุงแก้ไขจนมี คุณภาพ อีเลิร์นนิ่งตามกรอบมาตรฐานคุณภาพ ของสมาคมสโลน หมายถึง อีเลิรน์ นิง่ ทีไ่ ด้นำ� กรอบ มาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน (Sloan Consortium) เพื่อการศึกษาด้วยตนเองมาใช้ โดยยึดหลัก 5 ประการที่พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและ กันในแง่ของเป้าประสงค์ร่วม มาใช้เป็นแนวทาง ในการจัดการศึกษาประกอบด้วยประสิทธิผล ทางการเรียน (Learning Effectiveness) ความ คุ้มค่า (Cost Effectiveness) กระบวนการหรือ การเข้าถึง (Access) ความพึงพอใจของผู้สอน (Faculty Satisfaction) และความพึงพอใจของ ผู้เรียน (Student Satisfaction) คุณภาพของบทเรียน อีเลิรน์ นิง่ หมายถึง


ผลการประเมินบทเรียน อีเลิร์นนิ่งตามกรอบ มาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน เรื่องความ รู ้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ นวั ต กรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษาจากผู้เชี่ยวชาญทาง ด้านเนื้อหาและด้าน อีเลิร์นนิ่ง ประสิทธิภาพของบทเรียน อีเลิร์นนิ่ง หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพของ กระบวนการ (E1) กับประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) จากการเรียนรู้โดยใช้บทเรียน อีเลิร์นนิ่ง ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน เรื่ อ งความรู ้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ นวั ต กรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ส�ำหรับ สถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตชุมพร มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 80/80 80 ตัวแรก (E1) หมายถึง ประสิทธิภาพ ของกระบวนการระหว่างเรียนคิดจากค่าร้อยละ ของคะแนนเฉลี่ยจากการท�ำแบบฝึกหัด และ กิจกรรมแต่ละหน่วยการเรียน 80 ตัวหลัง (E2) หมายถึง ประสิทธิภาพ ของผลลัพธ์ ซึ่งคิดจากค่าร้อยละของคะแนน เฉลี่ยจากการท�ำแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ ทางการเรียนหลังเรียน ผลการเรียนรู้ หมายถึง คะแนนทีไ่ ด้จาก การสอบหลังจากเรียนด้วยบทเรียน อีเลิร์นนิ่ง ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน ครบทุกหน่วยแล้ว โดยใช้แบบทดสอบที่ผู้วิจัย สร้างขึ้นเป็นเครื่องมือในการวัดผลการเรียนรู้ ความคงทนในการเรี ย นรู ้ หมายถึ ง คะแนนผลการเรียนรูห้ ลังจากเรียนด้วยบทเรียน อี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ตามกรอบมาตรฐานคุ ณ ภาพของ

สมาคมสโลน เรื่ อ งความรู ้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษา ผ่านไปแล้ว 2 สัปดาห์ ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกชอบ ของนั ก ศึ ก ษาที่ มี ต ่ อ การเรี ย นด้ ว ยบทเรี ย น อี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ตามกรอบมาตรฐานคุ ณ ภาพของ สมาคมสโลน เรื่ อ งความรู ้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษา ซึ่งประเมินได้จากการใช้แบบสอบถาม ความพึ ง พอใจที่ ผู ้ วิ จั ย สร้ า งขึ้ น ซึ่ ง เป็ น แบบ ประเมินค่า 5 ระดับ ของลิเคิร์ท

วิธีด�ำเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research & Development) ที่มีรูปแบบ การวิ จั ย เป็ น แบบกลุ ่ ม เดี ย ววั ด ก่ อ นและหลั ง (One Group Pretest-Posttest Design)

ขั้นตอนการด�ำเนินการวิจัย

ในการวิจยั การพัฒนาบทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนวัตกรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ส�ำหรับ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพรในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การสังเคราะห์รูปแบบการ จัดการเรียนการสอนด้วยบทเรียน อีเลิร์นนิ่ง ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนวัตกรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ส�ำหรับ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

45


สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร ดังนี้ 1. ศึกษาบริบทการจัดการเรียนการสอน ด้ ว ยบทเรี ย น อีเลิร์นนิ่งตามกรอบมาตรฐาน คุณภาพของสมาคมสโลน เรื่อง ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึ ก ษา ส� ำ หรั บ สถาบั น การพลศึ ก ษา วิ ท ยาเขตชุ ม พร จากสภาพปั ญ หาการเรี ย น การสอนและวิเคราะห์หลักสูตรเนื้อหารายวิชา 2. ศึ ก ษากรอบแนวคิ ด ทฤษฎี และ ความรู้เกี่ยวกับ อีเลิร์นนิ่งตามกรอบมาตรฐาน คุณภาพของสมาคมสโลน ระยะที่ 2 การพัฒนาบทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนวัตกรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ส�ำหรับ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร ดังนี้ 1. น�ำรูปแบบการจัดการเรียนการสอน แบบที่ สั ง เคราะห์ ไ ด้ ม าก� ำ หนดกรอบแนวคิ ด การเรียนการสอนแบบ อีเลิร์นนิ่ง 2. สร้ า งเครื่ อ งมื อ การจั ด การเรี ย น การสอน ได้แก่ บทเรียน อีเลิร์นนิ่งตามกรอบ มาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน แบบวัดผล การเรี ย นรู ้ แบบประเมิ น คุ ณ ภาพเครื่ อ งมื อ โดยผู้เชี่ยวชาญ แบบประเมินความพึงพอใจของ นักศึกษา 3. ประเมินบทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบ มาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลนโดยผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านเนื้อหาจ�ำนวน 5 ท่าน และด้าน อีเลิร์นนิ่ง จ�ำนวน 5 ท่าน แล้วน�ำไปปรับปรุงแก้ไข 4. ได้ บ ทเรี ย น อี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ตามกรอบ 46

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

มาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลนที่พัฒนาขึ้น ระยะที่ 3 การศึกษาผลของการจัดการ เรียนการสอนแบบ อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบมาตรฐาน คุณภาพของสมาคมสโลน ดังนี้ 1. ก�ำหนดกลุ่มตัวอย่าง 2. เตรี ย มการจั ด การเรี ย นการสอน แบบ อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของ สมาคมสโลน รวมทั้งเครื่องมือต่าง ๆ 3. ด�ำเนินการทดลอง 4. รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล 5. สรุปผลของการจัดการเรียนการสอน แบบ อีเลิร์นนิ่ง

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

1. บทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบมาตรฐาน คุณภาพของสมาคมสโลน เรื่อง ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึ ก ษา ส� ำ หรั บ สถาบั น การพลศึ ก ษา วิทยาเขตชุมพร 2. แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้เรื่อง ความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ วกับนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตาม ขัน้ ตอนการสร้างแบบวัดผลการเรียนรู้ เป็นแบบ ปรนัย 4 ตัวเลือก จ�ำนวน 30 ข้อ 3. แบบสอบถามความพึ ง พอใจของ นักศึกษา

การเก็บรวบรวมข้อมูล

ในการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ครั้ ง นี้ ผู ้ วิจัยด�ำเนินการทดลอง โดยให้กลุ่มทดลองท�ำ


เบี่ ย งเบนมาตรฐาน เพื่ อ อธิ บ ายคะแนนของ นั ก ศึ ก ษาจากการท� ำ แบบทดสอบวั ด ผลการ เรียนรู้ทั้งก่อนและหลังเรียน รวมทั้งเพื่ออธิบาย คะแนนของนักศึกษาในการท�ำแบบฝึกหัด และ แบบทดสอบหลังเรียนในแต่ละหน่วยการเรียน 3.2 ค่ า เฉลี่ ย และค่ า เบี่ ย งเบน มาตรฐาน เพื่ อ วิ เ คราะห์ ค วามพึ ง พอใจของ นักศึกษาที่มีต่อบทเรียน อีเลิร์นนิ่ง 4. สถิติอ้างอิง คือ สถิติ t - test for Dependent Samples เพื่อเปรียบเทียบผล การวิเคราะห์ข้อมูล การเรียนรูข้ องนักศึกษาระหว่างก่อนและหลังเรียน ผู้วิจัยได้ก�ำหนดสถิติเพื่อการวิเคราะห์ โดยใช้บทเรียน อีเลิร์นนิ่ง และเพื่อเปรียบเทียบ ข้อมูล ดังนี้ ความคงทนในการเรียนรู้ของนักศึกษาระหว่าง 1. สถิติหาคุณภาพของเครื่องมือ ได้แก่ หลังเรียนทันทีและหลังเรียนผ่านไป 2 สัปดาห์ หาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) หาค่าความ ยากง่ า ย ค่ า อ� ำ นาจจ� ำ แนก ค่ า ความเชื่ อ มั่ น ผลการวิจัย ค่าสัมประสิทธิอ์ ลั ฟ่าของครอนบัค (Cronbach’s สามารถสรุปผลการวิจัยได้ ดังนี้ 1. บทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบมาตรฐาน α - Coefficient) 2. สถิตหิ าคุณภาพของบทเรียน อีเลิรน์ คุณภาพของสมาคมสโลน เรื่องความรู้เบื้องต้น นิ่งโดยการหาค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึกษา มีประสิทธิภาพเท่ากับ 88.17/ 3. สถิติพื้นฐาน ได้แก่ 3.1 ค่ า ร้ อ ยละ ค่ า เฉลี่ ย และค่ า 84/95 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80 แบบทดสอบก่อนเรียน โดยใช้แบบทดสอบวัดผล การเรียนรู้ หลังจากนั้น ให้เรียนด้วยบทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคม สโลน เรือ่ ง ความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ วกับนวัตกรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา เมื่อเรียน จบแล้วจึงท�ำการทดสอบหลังเรียน ให้กลุม่ ทดลอง ประเมินความพึงพอใจ และหลังจากนัน้ เว้นระยะ 2 สัปดาห์ ท�ำการทดสอบซ�้ำโดยใช้แบบทดสอบ ชุดเดิมเพื่อหาความคงทนในการเรียน

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

47


ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพของบทเรียน อีเลิร์นนิ่ง คะแนน 1. วัดผลการเรียนรู้ก่อนเรียน 2. รวมทดสอบระหว่างเรียน (E1) 2.1 ทดสอบระหว่างเรียนชุดที่ 1 2.2 ทดสอบระหว่างเรียนชุดที่ 2 2.3 ทดสอบระหว่างเรียนชุดที่ 3 3. วัดผลการเรียนรู้หลังเรียน (E2)

คะแนนเต็ม 30 9.65 30 26.45 10 8.77 10 8.90 10 8.77 30 25.48

S.D. ร้อยละ 1.92 32.15 1.55 88.171 0.96 87.74 0.75 89.03 0.80 87.74 1.12 84.952

หมายเหตุ : 1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) 2 คือ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2)

จากตารางที่ 1 พบว่า กลุม่ ทดลองจ�ำนวน 31 คน ท�ำแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ (30 คะแนน) ได้คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน เท่ากับ 9.65 คิดเป็นร้อยละ 32.15 ได้คะแนนเฉลี่ยหลังเรียน เท่ากับ 25.48 คิดเป็นร้อยละ 84.95 (E2) จากการท�ำแบบทดสอบระหว่างเรียนทัง้ 3 ชุด (30 คะแนน) กลุ่มทดลองได้คะแนนเฉลี่ย รวม เท่ากับ 26.45 คิดเป็นร้อยละ 88.17 (E1)

ส�ำหรับการทดลองในครั้งนี้ได้บทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 88.17/ 84.95 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ 80/80 2. บทเรียน อีเลิร์นนิ่งที่พัฒนาขึ้นตาม กรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลนเรื่อง ความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ วกับนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึ ก ษาผ่ า นการประเมิ น ในระดับดี (ได้คะแนน 3.5 ขึ้นไป)

ตารางที่ 2 ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อบทเรียน อีเลิร์นนิ่งที่พัฒนาตามกรอบมาตรฐาน คุณภาพของ สมาคมสโลน

มาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน 1. ด้านประสิทธิผลทางการเรียน 2. ด้านความคุ้มค่า 4.07 3. ด้านการเข้าถึง 4.04 4. ด้านผู้สอน 4.09 5. ด้านผู้เรียน 4.18 รวม 48

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

4.47 0.29 0.13 0.09 0.24 4.17

S.D. 0.37

0.18


จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้เชี่ยวชาญมี ความคิดเห็นต่อบทเรียน อีเลิร์นนิ่งตามกรอบ มาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน มีค่าเฉลี่ย สูงกว่า 3.50 ทั้งภาพรวมและทุกด้าน แสดงว่า บทเรียน อีเลิร์นนิ่งที่สร้างขึ้นผ่าน การยอมรับ ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน 3. ผลการเรียนรูห้ ลังเรียนโดยใช้บทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคม สโลน เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ส�ำหรับ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร สูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.01 จากตารางที่ 3 พบว่า กลุม่ ทดลอง จ�ำนวน

31 คน ท�ำแบบทดสอบวัดผลการเรียนรูก้ อ่ นเรียน ได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 9.65 ส่วนหลังเรียน ได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 25.48 ดังนั้นหลังเรียน โดยใช้ บ ทเรี ย น อี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ท� ำ ให้ ก ลุ ่ ม ทดลอง ได้คะแนนสูงขึ้นโดยเฉลี่ยเท่ากับ 15.84 ผลการเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ของ กลุ่มทดลอง ระหว่างก่อนและหลังเรียนโดยใช้ บทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ด้วยสถิติ Paired t-test พบว่า ผลการเรียนรู้ของกลุ่มทดลองหลังเรียนโดยใช้ บทเรียน อีเลิรน์ นิง่ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.01 4. ความคงทนในการเรี ย นรู ้ ห ลั ง จาก ทดสอบทันทีกบั เว้นผ่านมา 2 สัปดาห์ไม่แตกต่างกัน

ตารางที่ 3 การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ของกลุ่มทดลอง ระหว่างก่อนและหลังเรียนโดยใช้ บทเรียน อีเลิร์นนิ่ง ผลการเรียนรู้ Paired S.D. M.D. (30 คะแนน) t-test ก่อนเรียน 9.65 1.92 -15.84 -41.09 หลังเรียน 25.48 1.12

Sig. 0.00**

ตารางที่ 4 การเปรียบเทียบความคงทนในการเรียนรู้ด้วยบทเรียนอีเลิร์นนิง ระหว่างหลังเรียนทันที และหลังเรียนผ่านไป 2 สัปดาห์ ของกลุ่มทดลอง ผลการเรียนรู้ Paired S.D. M.D. (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) t-test หลังเรียนทันที 25.48 1.12 0.39 1.063 หลังเรียนผ่านไป 2 สัปดาห์ 25.10 1.78 เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

Sig. 0.30

49


จากตารางที่ 4 พบว่ า กลุ ่ ม ทดลอง จ�ำนวน 31 คน ท�ำแบบทดสอบวัดผลการเรียน รู้หลังเรียนทันทีได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 25.48 ส่วนหลังเรียนผ่านไป 2 สัปดาห์ ได้คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 25.10 ท�ำให้คะแนนหลังเรียนผ่านไป 2 สัปดาห์ ของกลุ่มทดลองได้คะแนนน้อยกว่า การทดสอบหลังเรียนทันทีโดยเฉลีย่ เท่ากับ 0.39 ผลการเปรียบเทียบความคงทนในการ เรียนรู้ด้วยบทเรียน อีเลิร์นนิ่งของกลุ่มทดลอง ระหว่ า งหลั ง เรี ย นทั น ที แ ละหลั ง เรี ย นผ่ า นไป 2 สัปดาห์ ด้วยสถิติ Paired t-test พบว่า ผลการเรียนรูห้ ลังเรียนทันที และหลังเรียนผ่านไป 2 สัปดาห์ไม่แตกต่างกัน 5. นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการเรียน ด้วยบทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพ ของสมาคมสโลนอยู่ในระดับมากที่สุด

จากตารางที่ 5 พบว่า กลุม่ ทดลองมีความ พึงพอใจต่อการเรียนจากบทเรียน อีเลิร์นนิ่ง โดยภาพรวมระดับมากทีส่ ดุ ( = 4.24) เมือ่ พิจารณา เป็นรายด้าน พบว่า กลุม่ ทดลองมีความพึงพอใจ ต่อด้านรูปแบบการจัดการเรียนรู้สูงสุด ระดับ มากที่สุด ( = 4.56) รองลงมามีความพึงพอใจ ต่อด้านสื่อเว็บไซต์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ ระดับมากที่สุด ( = 4.23) และมีความ พึงพอใจต่อด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียน การสอนแบบ อีเลิรน์ นิง่ ต�ำ่ สุด ระดับมาก ( = 4.09)

อภิปรายผลการวิจัย

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มุ่งพัฒนาบทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคม สโลน เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ส�ำหรับ

ตารางที่ 5 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเรียน จากบทเรียน อีเลิร์นนิ่ง โดยภาพรวม ระดับ รายการ S.D. ความพึงพอใจ 1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ 4.56 0.24 มากทีส่ ุด 2. สื่อเว็บไซต์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4.23 0.27 มากที่สดุ 3. ประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง 4.09 0.17 มาก รวม 4.24 0.14 มากที่สดุ

50

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร ซึ่งได้ผ่าน การทดลองจากกลุม่ รายบุคคล รายกลุม่ ย่อยและ กลุ่มใหญ่แล้ว ส�ำหรับการพัฒนาครั้งนี้ ผู้วิจัย สามารถอภิปรายผลการวิจัยได้ ดังนี้ 1. บทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบมาตรฐาน คุณภาพของสมาคมสโลน เรื่องความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึ ก ษา ส� ำ หรั บ สถาบั น การพลศึ ก ษา วิทยาเขตชุมพร มีประสิทธิภาพเท่ากับ 88.17/ 84.95 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80 ที่เป็น เช่นนี้เพราะ 1.1 ผู ้ วิ จั ย ยึ ด รู ป แบบตามกรอบ มาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน ซึ่งมีกรอบ 5 ด้าน อันประกอบด้วย 1. ประสิทธิผลทางการเรียน 2. ความคุ้มค่า 3. การเข้าถึง 4. ความพึงพอใจ ของผู้สอน และ 5. ความพึงพอใจของผู้เรียน รวมทั้งได้วิเคราะห์และสังเคราะห์จากรูปแบบ ของผูเ้ ชีย่ วชาญต่าง ๆ เพือ่ สร้างบทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ที่ใช้ในการวิจัย จากนั้นจึงน�ำไปท�ำการทดลอง และปรับปรุงแก้ไขจนบทเรียนมีประสิทธิภาพสูง มีค่าเท่ากับ 88.17/84.95 1.2 การพัฒนาบทเรียน อีเลิร์นนิ่ง ในครั้งนี้ยังใช้ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องคือทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม (Constructivism) ที่มีหลักการ ว่าการเรียนรู้คือการแก้ปัญหาซึ่งขึ้นอยู่กับการ ค้นพบของแต่ละคน ผูเ้ รียนจะมีแรงจูงใจจากภายใน ผู้เรียนเป็นผู้กระตือรือร้น มีการควบคุมตนเอง และเป็นผูท้ มี่ กี ารตอบสนอง (บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์, 2546 : 65) อีกทั้งทฤษฎีคอนสตรัคชั่นนิสซึม (Constructionism) ซึง่ เชือ่ ว่าการเรียนรูจ้ ะเกิดขึน้

ได้ ดี เ มื่ อ เด็ ก มี ส ่ ว นร่ ว มในการสร้ า งหรื อ ท� ำ กิจกรรม เพราะขณะที่เด็กท�ำกิจกรรมเด็กก็จะ สร้างหรือเกิดความรู้ขึ้นด้วยซึ่งสอดคล้องกับ แนวคิดของแคนดี (Candy, 1991 : 208) ทีบ่ อกว่า การเรียนรู้ด้วยตนเองในลักษณะของบทเรียน การสอนผ่านเว็บ มีลักษณะส�ำคัญอันประกอบ ด้วย การเรียนไปตามความสะดวกของตนเอง คือ ผู้เรียนเป็นผู้ก�ำหนดเวลา สถานที่มีความสะดวก เหมาะสม มีการเลือก คือ ผู้เรียนจะวางแผน การเรียนทีต่ นต้องการ มีการก�ำหนดวิธกี ารเรียน ด้วยตนเอง และเป็นผูก้ ำ� หนดเนือ้ หาในการเรียน ตามความต้องการและความสนใจของตนเอง อีกทั้งการเรียนด้วยบทเรียน อีเลิร์นนิ่งตามกรอบ มาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน เรื่องความรู้ เบือ้ งต้นเกีย่ วนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึ ก ษา ส� ำ หรั บ สถาบั น การพลศึ ก ษา วิทยาเขตชุมพร จัดได้ว่าเป็นวิชาใหม่ที่นักศึกษา ไม่เคยมีความรู้มาก่อน ประกอบกับวิธี การจัด การเรียนการสอน ซึ่งถือว่าเป็นนวัตกรรมใหม่ ส�ำหรับนักศึกษาเช่นเดียวกัน ท�ำให้นักศึกษา สนใจทีจ่ ะท�ำกิจกรรมตลอดเวลา เพราะสามารถ เรียนได้ด้วยตนเอง และสามารถทบทวนสิ่งที่ ไม่เข้าใจได้ตลอดเวลาตามที่ต้องการ ท�ำให้มี ความรู้ ความเข้าใจในเนือ้ หาได้มากขึน้ ซึง่ สอดคล้อง กับงานวิจยั ของลักขณา เก่วใจ (2556) ทีไ่ ด้ศกึ ษา พัฒนารูปแบบการฝึกอบรมแบบมีสว่ นร่วมผ่านเว็บ เรือ่ ง การจัดการเรียนการสอนบนเครือข่ายส�ำหรับ บุคลากรทางการศึกษา พบว่า รูปแบบการฝึกอบรม มีประสิทธิภาพ 89.13/87.25 อีกทัง้ ยังสอดคล้อง กับ เสรี เพิ่มชาติ (2551) ที่ได้ศึกษาการพัฒนา เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

51


รูปแบบบทเรียนด้วยการเรียนรู้ผ่านเครือข่าย เรื่ อ งมวยไทยในระดั บ อุ ด มศึ ก ษา พบว่ า มี ประสิทธิภาพ 92.05/90.75 2. บทเรี ย น อี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ที่ พั ฒ นาขึ้ น ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน เรื่ อ งความรู ้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ นวั ต กรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ผ่านการ ประเมินในระดับดี (ได้คะแนน 3.5 ขึ้นไป) ที่ เป็นเช่นนี้เพราะ 2.1 บทเรียน อีเลิร์นนิ่งที่พัฒนาขึ้น ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน เป็นบทเรียน อีเลิร์นนิ่ง ซึ่งผู้วิจัยได้น�ำรูปแบบ หรือกรอบมาตรฐานของสมาคมสโลนเพื่อการ ศึกษาด้วยตนเองมาใช้โดยยึดกรอบมาตรฐาน คุ ณ ภาพ 5 ด้ า นที่ พึ่ ง พาอาศั ย ซึ่ ง กั น และกั น ในแง่ของเป้าประสงค์ร่วมมาใช้เป็นแนวทาง ในการจัดการศึกษา ประกอบด้วยประสิทธิผล ทางการเรี ย น (Learning Effectiveness) ความคุม้ ค่า (Cost Effectiveness) กระบวนการ หรือการเข้าถึง (Access) ความพึงพอใจของ ผู้สอน (Faculty Satisfaction) และความ พึงพอใจของผู้เรียน (Student Satisfaction) โดยทัง้ ห้ากรอบนีเ้ รียกว่ากรอบมาตรฐานคุณภาพ 5 ด้าน ประกอบด้วยกรอบโดยรวมทีพ่ งึ่ พาอาศัย ซึง่ กันและกันในการไปสูจ่ ดุ หมายเดียวกัน โดยกรอบ แต่ละด้านจะบ่งบอกค่านิยม เป้าหมาย และผลลัพธ์ และแต่ละกรอบจะแนะแนวกระบวนการที่จะ น�ำไปสู่เป้าประสงค์หรือจุดหมายในการท�ำให้ การศึ ก ษาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของชี วิ ต ประจ� ำ วั น ที่ สามารถเข้าถึงได้สำ� หรับทุก ๆ คน ทุกที่ ทุกเวลา 52

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

ในสาขาวิชาทีห่ ลากหลาย ไม่วา่ หน่วยการเรียนใด ๆ (Moore C Janet. 2002 : 1-2) 2.2 บทเรียน อีเลิร์นนิ่งที่พัฒนาขึ้น ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน เรื่ อ งความรู ้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ นวั ต กรรมและ เทคโนโลยี ส ารสนเทศทางการศึ ก ษา ผู ้ วิ จั ย ได้ อ อกแบบข้ อ ค� ำ ถามครอบคลุ ม ตามกรอบ มาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลนทั้ง 5 ด้าน โดยท�ำการวิเคราะห์จากการตอบค�ำถาม ดังนี้ 2.2.1 ด้ า นประสิ ท ธิ ผ ลการ เรียนรู้ สถานศึกษาได้เรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับ การท�ำให้ การเรียนที่เกิดขึ้นนั้นดีแค่ไหน 2.2.2 ด้ า นความคุ ้ ม ค่ า หรื อ ประสิทธิผลของต้นทุน ล้วนจูงใจให้สถานศึกษา ขยายการเรียนรู้ให้กว้างขวางมากขึ้นหรือไม่ 2.2.3 ด้ า นกระบวนการหรื อ การเข้าถึง แบบจ�ำลองปฏิสมั พันธ์ (Interactive) ท� ำ ให้ เ กิ ด การเข้ า ถึ ง การศึ ก ษาที่ มี คุ ณ ภาพ ในระดับใด 2.2.4 ด้านความพึงพอใจของ ผูส้ อน สถาบันการศึกษารูไ้ ด้อย่างไรว่าการพัฒนา วิชาหรือการสอนแบบออนไลน์นั้นยากหรือง่าย เพียงใด 2.2.5 ด้านความพึงพอใจของ ผูเ้ รียน ผู้เรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างทีเ่ กีย่ วกับความ พึงพอใจโดยรวมของผู้เรียน 3. ผลการเรียนรูห้ ลังเรียนโดยใช้บทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคม สโลน เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ส�ำหรับ


สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร สูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.01 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ผู้วิจัยได้ตั้งไว้ ทั้งนี้ เนื่องจาก 3.1 การเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ บ ทเรี ย น อี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ตามกรอบมาตรฐานคุ ณ ภาพของ สมาคมสโลน เรื่ อ งความรู ้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษา ส�ำหรับสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขต ชุมพร เป็นการเรียนรู้จากบทเรียนที่ได้สร้าง และพัฒนาขึ้นโดยผ่านกระบวนการผลิตตาม ขั้นตอนที่จัดไว้อย่างเป็นระบบ โดยเริ่มจากการ แบ่ ง หมวดหมู ่ ข องเนื้ อ หาและประสบการณ์ ออกเป็นหน่วยการเรียน ซึ่งแต่ละหน่วยจะแบ่ง เป็ น หั ว เรื่ อ งที่ ต ้ อ งมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น มี ก าร ก�ำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียน การสอนและการประเมินผล หลังจากนั้นก็จะ ท�ำการเลือกสื่อการสอนที่เหมาะสมโดยเฉพาะ การหารูปภาพประกอบที่ถูกต้อง ชัดเจน และ สวยงาม โดยให้สอดคล้องกับหัวเรือ่ ง จุดประสงค์ และกิจกรรมการเรียน การสอน รวมทั้งการ ออกแบบกราฟิคส์ทงั้ ภาพนิง่ และภาพเคลือ่ นไหว ท�ำให้นกั ศึกษาสนใจมีความรูส้ กึ อยากเรียน และ การทราบผลการเรียนทันทีทนั ใดเป็นการกระตุน้ และสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ อีกทั้งนักศึกษา สามารถทบทวนเนื้อหาที่ไม่เข้าใจได้ตลอดเวลา และเมือ่ นักศึกษามีปญั หาก็สามารถติดต่ออาจารย์ ผู้สอนผ่านทางอินเทอร์เน็ตได้ 3.2 ความส� ำ เร็ จ ในการเรี ย นจาก การใช้บทเรียน อีเลิร์นนิ่งตามกรอบมาตรฐาน

คุณภาพของสมาคมสโลน เรื่องความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึ ก ษา ส� ำ หรั บ สถาบั น การพลศึ ก ษา วิทยาเขตชุมพร อาจเป็นเพราะการเรียนด้วย บทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ในครัง้ นี้ เป็นการประยุกต์ทฤษฎี การเรียนการสอนและเทคโนโลยีเข้าด้วยกัน อย่างเหมาะสม มีการบริหารจัดการท�ำหน้าที่ แทนผู ้ ส อน ที่ ส� ำ คั ญ คื อ ได้ ท� ำ การพั ฒ นาขึ้ น โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้อง กับเนื้อหาและวัตถุประสงค์ เน้น การปฏิบัติจริง การลงมือท�ำด้วยตนเองจนนักศึกษาเกิดความรู้ และทักษะเพิม่ ขึน้ จึงส่งผลให้การศึกษานีส้ อดคล้อง กับงานวิจยั ของสุบนิ ยมบ้านกวย (2550 : 133) ทีไ่ ด้ ศึกษาพัฒนาบทเรียน e-learning แบบปฏิสมั พันธ์ เรื่องความน่าจะเป็นส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 3 ผลการวิจัยพบว่าผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 3 ภายหลังการเรียนด้วยบทเรียน e – Learning แบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง ความ น่าจะเป็น สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.01 และยังสอดคล้องกับ สังคม ไชยสงเมือง (2547) ที่ได้ศึกษาพัฒนา บทเรียนบนเครือข่าย วิชาระบบสื่อสารข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เรือ่ งเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของนักเรียน ระดับ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 5 โรงเรี ย นท่ า ขอนยาง พิทยาคม อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ผลการวิจัยพบว่าคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนหลังเรียน เพิ่มขึ้นจากก่อนเรียนอย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.01 อีกทัง้ ยังสอดคล้อง เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

53


กับทิภากร สาลิกา (2546) ที่ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง การพั ฒ นากิ จกรรมการเรียนรู้ผ่านเครือข่าย อิ น เทอร์ เ น็ ต เรื่ อ งฟิ สิ ก ส์ นิ ว เคลี ย ร์ เ บื้ อ งต้ น ผลการวิจัยพบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 4. ความคงทนในการเรียนรู้หลังจาก ทดสอบทันทีกบั เว้นช่วง 2 สัปดาห์ ไม่แตกต่างกัน ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ผู้วิจัยได้ตั้งไว้ โดยพบ ว่านักศึกษาจ�ำนวน 31 คน ท�ำแบบทดสอบวัดผล การเรียนรู้หลังเรียนทันทีได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 25.48 ส่วนหลังเรียนผ่านไป 2 สัปดาห์ ได้คะแนน เฉลีย่ เท่ากับ 25.10 ท�ำให้คะแนนหลังเรียนผ่านไป 2 สัปดาห์ของนักศึกษาได้คะแนนต�่ำลงจากการ ทดลองหลังเรียนทันทีโดยมีคา่ เฉลีย่ เท่ากับ 0.44 และจากการเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ระหว่าง หลังเรียนทันทีและหลังเรียนผ่านไป 2 สัปดาห์ พบว่าผลการเรียนรูห้ ลังเรียนทันทีและหลังเรียน ผ่านไป 2 สัปดาห์ไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิติ เนือ่ งจากการเรียนด้วยบทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน เป็นการเรียนที่ท�ำให้นักศึกษาเกิดความสนใจ และเข้าใจเนือ้ หาสาระได้มากยิง่ ขึน้ กว่าการเรียน โดยวิธีปกติทั่ว ๆ ไป เป็นการเรียนการสอนที่ มุ่งเน้นให้นักศึกษาได้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เน้ น การลงมื อ ท� ำ จนเกิ ด ความเชี่ ย วชาญและ สามารถบันทึกจดจ�ำรายละเอียดต่าง ๆ ได้เป็น อย่างดี มีความคงทนในการเรียนรู้ได้มากขึ้น อีกทัง้ เมือ่ มีการทดสอบวัดผลการเรียนรูห้ ลังจาก ผ่านมา 2 สัปดาห์ ความทรงจ�ำยังคงมีอยู่จึงอาจ ท�ำให้นักศึกษามีผลการเรียนรู้ไม่แตกต่างจาก 54

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

การทดสอบทันที ซึ่งแสดงว่าบทเรียน อีเลิร์นนิ่ง ที่พัฒนาขึ้นส่งผลดีต่อความคงทนในการเรียน และสอดคล้องกับงานวิจัยของสุจิตา นุ่มสุวรรณ (2558) ทีไ่ ด้พฒั นารูปแบบการเรียนรูแ้ บบ อีเลิรน์ นิง่ ด้วยกูเกิ้ล เอิร์ธ ในวิชาภูมิศาสตร์ ผลการวิจัย พบว่ า ความคงทนในการเรี ย นรู ้ ต ่ อ รู ป แบบ การเรีย นรู ้ แบบ อี เ ลิ ร์ น นิ่ง ด้ วย กูเ กิ้ ล เอิร ์ ธ ในวิชาภูมิศาสตร์เมื่อเรียนผ่านไป 2 สัปดาห์ มีผลการเรียนรู้ไม่แตกต่างกัน และยังสอดคล้อง กั บ ประหยั ด ที ท า (2555:87) ที่ ไ ด้ พั ฒ นา บทเรียน อีเลิรน์ นิง่ แบบผสมผสานวิชาพฤติกรรม การสอนคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับนักศึกษาปริญญาตรี ผลการวิจัยพบว่าความคงทนในการเรียนรู้ของ กลุ่มทดลองหลังทดสอบครั้งแรก และเว้นช่วง 2 สัปดาห์ มีผลการเรียนรู้ไม่แตกต่างกันอีกทั้ง ยังสอดคล้องกับงานวิจยั ของสุรพล บุญลือ (2550 : 86) ที่ ไ ด้ ศึ ก ษาการพั ฒ นารู ป แบบการสอน โดยใช้หอ้ งเรียนเสมือนจริงแบบใช้ปญ ั หาเป็นหลัก ในระดับอุดมศึกษา ผลการวิจัยพบว่านักศึกษา ที่ เรี ย นแบบใช้ ป ั ญ หาเป็ น หลั ก ในห้ อ งเรี ย น เสมือนจริงมีความคงทนในการเรียนรูไ้ ม่แตกต่าง จากหลังสอบไปแล้ว 2 สัปดาห์ 5. นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการเรียน แบบ อีเลิรน์ นิง่ ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของ สมาคม สโลนอยู่ในระดับมาก ซึ่งเป็นไปตาม สมมติฐานที่ตั้งไว้ จากผลการวิจัยพบว่ากลุ่ม ทดลองมีความพึงพอใจต่อบทเรียน อีเลิร์นนิ่ง โดยภาพรวมระดับมากที่สุด ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ ตัง้ ไว้ เป็นเพราะนักศึกษาได้รบั ความสะดวก สามารถ เข้าเรียนตอนไหน เวลาใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับความ


พอใจของตนเอง ไม่มีการบังคับและนักศึกษา ส่ ว นใหญ่ ส นใจเทคโนโลยี ด ้ า นคอมพิ ว เตอร์ เนือ่ งจากกระแสของสังคมรุน่ ใหม่เป็นตัวผลักดัน ให้เกิดการเรียนรู้ และคอมพิวเตอร์ยงั มีสว่ นร่วม ในการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความต้องการและ สนใจการใช้ ง านคอมพิ ว เตอร์ นอกจากนั้ น ในการสร้ า งและพั ฒ นาบทเรี ย น อี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน เรื่ อ งความรู ้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ นวั ต กรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ยังได้น�ำ แนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยาการเรียนรู้ เช่น ทฤษฎีการสร้างความพึงพอใจของเฮอร์สเบิร์ก และคณะ (1959 : 60-65) รวมทัง้ ทฤษฎีแรงจูงใจ ของมาสโลว์ (1970 : 80-81) มาประยุกต์ใช้ในการ พัฒนาบทเรียน อีเลิร์นนิ่งตามกรอบมาตรฐาน คุณภาพของสมาคมสโลนด้วย โดยจัดบทเรียน ให้เหมาะสมกับระดับความรู้ ความเข้าใจของ ผู้เรียน สร้างแรงจูงใจและเสริมแรงให้ผู้เรียน ได้ประกอบกิจกรรมด้วยตนเอง แสวงหาความรู้ ด้วยตนเองได้ซงึ่ สอดคล้องกับงานวิจยั ของสมภพ ทองปลิว (2556 : 94) ทีไ่ ด้ศกึ ษาเรือ่ งการพัฒนา รูปแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรูแ้ บบ อีเลิรน์ นิง่ บนเครื อ ข่ า ยทางสั ง คม เรื่ อ งการอิ น ทิ เ กรด วิชาคณิตศาสตร์ ส�ำหรับนักศึกษาปริญญาตรี ผลการวิ จัย พบว่าเจตคติข องนักศึกษาที่มีต่อ รูปแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรูแ้ บบ อีเลิรน์ นิง่ บนเครื อ ข่ า ยทางสั ง คม เรื่ อ งการอิ น ทิ เ กรด วิชาคณิตศาสตร์ ส�ำหรับนักศึกษาปริญญาตรี ที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับดี อีกทั้งยังสอดคล้อง กับนฤมล ศิระวงษ์ (2548) ที่ได้พัฒนารูปแบบ

บทเรี ย นออนไลน์ วิ ช าการเขี ย นหนั ง สื อ เพื่ อ การพิมพ์ในระดับอุดมศึกษา ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาที่เรียนผ่านบทเรียนออนไลน์ วิชาการ เขี ย นหนั ง สื อ เพื่ อ การพิ ม พ์ มี ค วามคิ ด เห็ น ต่ อ การเรียนการสอนอยู่ในระดับดี และสอดคล้อง กับพูลศรี เวศย์อุฬาร (2543) ซึ่งได้ศึกษาวิจัย เรื่ อ งผลการเรี ย นผ่ า นเครื อ ข่ า ยอิ น เตอร์ เ น็ ต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผลการวิจัย พบว่าเจตคติของนักเรียนที่เรียนผ่านเครือข่าย ทุ ก แผนการเรี ย นมี ผ ลไปในทางบวก และยั ง สอดคล้องกับแม็ททิว และวารากัวร์ (2001) ทีไ่ ด้ ศึกษาวิจยั เรือ่ งการตอบสนองของผูเ้ รียนต่อบทเรียน ออนไลน์กบั นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ผลการ วิจัยพบว่าผู้เรียนส่วนมากมีประสบการณ์และ ความรู้สึกที่ดีในการใช้อินเทอร์เน็ตและเรียนผ่าน บทเรียนออนไลน์ นอกจากนั้นยังสอดคล้องกับ กูลสัน (2000) ที่ได้ท�ำการวิจัยเกี่ยวกับเจตคติ ของนักเรียนทีม่ ตี อ่ การเรียนจากเว็บไซต์เพือ่ การ ศึกษา ผลการศึกษาพบว่าผูเ้ รียนทุกกลุม่ มีเจตคติ ที่ดี รู้สึกสนุกสนาน เกิดการค้นพบสิ่งใหม่ ๆ

ข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะทั่วไป 1. ในการพั ฒ นาบทเรี ย น อี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ผู ้ พั ฒ นาต้ อ งมี ค วามรู ้ ใ นการเตรี ย มข้ อ มู ล การออกแบบบทเรียน และควรมีความรูท้ างด้าน การวิเคราะห์บทเรียนและการจัดล�ำดับขัน้ ของการ เรียนรู้ ซึ่งจะเป็นการส่งผลให้ผู้พัฒนาสามารถ พัฒนาบทเรียน อีเลิร์นนิ่งได้อย่างรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

55


2. ต้องมีการเตรียมตัวผู้เรียนเป็นอย่างดี เนือ่ งจากการเรียนด้วยบทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ผูเ้ รียน มี โ อกาสได้ พ บผู ้ ส อนแบบเผชิ ญ หน้ า กั น น้ อ ย หรือไม่ค่อยได้ทักทายพูดคุยกันแบบปกติซึ่งใน การเรียนการสอนโดยทัว่ ไปครูผสู้ อนจะมีอทิ ธิพล อย่างมาก และหากผู้เรียนขาดแรงบันดาลใจ หรือขาดแรงจูงใจในการเรียน ก็จะท�ำให้ผู้เรียน ประสบความส�ำเร็จในการเรียนได้ค่อนข้างน้อย 3. ควรมี ก ารจั ด เตรี ย มความพร้ อ ม ด้านอุปกรณ์ และระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หากอุปกรณ์และระบบเครือข่ายไม่มปี ระสิทธิภาพ อาจส่งผลให้เกิดความล่าช้าในการเข้าสู่บทเรียน ท�ำให้ความสนใจเรียนและตัง้ ใจเรียนของนักศึกษา ลดลง 4. การสื่ อ สารควรเน้ น ที่ ก ารสื่ อ สาร สองทาง (Two Way Communication) หรือ การสื่อสารในเวลาเดียวกัน (Synchronous Mode) ผ่านเครื่องมือต่าง ๆ เช่น ห้องสนทนา การติดต่อด้วยเสียง หรือการใช้กล้องวีดิทัศน์ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Webcam) เพราะมี

ลักษณะเหมือนกับการสือ่ สารแบบปกติทสี่ ะดวก เข้าใจง่าย ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรท� ำ การวิ จั ย โดยใช้ บ ทเรี ย น อีเลิรน์ นิง่ เรือ่ งความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ วกับนวัตกรรม และเทคโนโลยี ส ารสนเทศทางการศึ ก ษา เปรียบเทียบกับวิธีการสอนแบบอื่น ๆ 2. ควรท� ำ การวิ จั ย โดยใช้ บ ทเรี ย น อีเลิรน์ นิง่ เรือ่ งความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ วกับนวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาร่วมกับ การสอนปกติในขัน้ อืน่ ๆ เช่น ขัน้ น�ำเข้าสูบ่ ทเรียน ขั้ น สอน หรื อ ขั้ น สรุ ป เพื่ อ จะน� ำ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ไปพัฒนาบทเรียน อีเลิร์นนิ่งให้มีคุณภาพและ ประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้นต่อไป 3. ควรน�ำกรอบมาตรฐานคุณภาพของ สมาคมสโลนไปใช้ในการสร้างบทเรียน อีเลิรน์ นิง่ ในรายวิชาอื่น ๆ โดยเฉพาะวิชาที่ค่อนข้างเป็น นามธรรม หรือวิชาที่ต้องใช้การบรรยาย เพื่อให้ ผู้เรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจมากขึ้น

เอกสารอ้างอิง ทิภากร สาลิกา. (2546). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่องฟิสิกส์ นิวเคลียร์เบื้องต้น. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. นฤมล ศิระวงศ์.(2548). การพัฒนารูปแบบบทเรียนออนไลน์วิชาการเขียนหนังสือเพื่อการพิมพ์ ในระดับอุดมศึกษา.ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. (2546). เทคโนโลยีสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์ศกึ ษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. 56

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


ประหยัด ทีทา. (2555). การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่งแบบผสมผสานวิชาพฤติกรรมการสอน คอมพิวเตอร์ส�ำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏ จันทรเกษม. พูลศรี เวศย์อฬุ าร.(2543). ผลการเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนคินทรวิโรฒ. ลักขณา เก่วใจ. (2556). การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมแบบมีสว่ นร่วมผ่านเว็บเรือ่ งการจัดการเรียน การสอนบนเครือข่ายส�ำหรับบุคลากรทางการศึกษา.วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ราชภัฏจันทรเกษม. สังคม ชัยสงเมือง.(2547). การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายวิชาระบบสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย คอมพิวเตอร์ เรือ่ งเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย.วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.ถ่ายเอกสาร. เสรี เพิม่ ชาติ. (2551). การพัฒนารูปแบบบทเรียนด้วยการเรียนรูผ้ า่ นเครือข่ายเรือ่ งมวยไทยในระดับ อุดมศึกษา. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สุจิตา นุ่มสุวรรณ. (2558). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบ อีเลิร์นนิ่งด้วยกูเกิ้ล เอิร์ธ ในวิชา ภูมิศาสตร์. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. สุบิน ยมบ้านกวย. (2550). การพัฒนาบทเรียน e-Learning แบบปฏิสัมพันธ์ เรื่องความน่าจะเป็น ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ศรีนครินทร วิโรฒ. สุรพล บุญลือ. (2550). การพัฒนารูปแบบการสอนโดยใช้หอ้ งเรียนเสมือนจริงแบบใช้ปญ ั หาเป็นหลัก ในระดับอุดมศึกษา. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบณ ั ฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สมภพ ทองปลิว. (2556). การพัฒนารูปแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบอีเลิร์นนิ่งบนเครือข่าย ทางสังคมเรื่องการอินทิเกรด วิชาคณิตศาสตร์ส�ำหรับนักศึกษาปริญญาตรี. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. Candy, Philip C. (1991). Self – Direct for Lifelong Learning. San Francisco : Jossey – Bass Publisher. Gulsun Kurubacak. (2000). Online Learning : A study of students towards web-based instruction (WBI) Ph.D.University of Cincinnati (online) Available:http ://wwwlib. umi.com/dissertations/fullcit/9973125 Herzsberg and Others. (1959). The Motivation to Work. New York. เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

57


การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอีเลิร์นนิ่งเสริมทักษะการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ผ่านเฟซบุ๊คของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ผศ.ดร.สมภพ ทองปลิว *

บทคัดย่อ

การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ 1) ศึกษา เปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของบทเรียน อีเลิร์นนิ่งในการสอนเสริมทักษะการเรียนวิชา คณิตศาสตร์กบั การเรียนแบบปกติของนักศึกษา ระดั บ ปริ ญ ญาตรี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2) ศึกษาประสิทธิผล ทางการเรียนของบทเรียนอีเลิร์นนิ่งในการสอน เสริ ม ทั ก ษะการเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ข อง นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ กลุ่ม ตัวอย่างคือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 ที่ ล งเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ในภาคเรี ย นที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จ�ำนวน 28 คน โดยคัดเลือก แบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เว็บไซต์ google classroom เว็บไซต์ facebook แบบ ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ผลการวิจยั พบว่า 1) ผลสัมฤทธิท์ างการ เรียนของนักศึกษาทีเ่ รียนผ่านบทเรียนอีเลิรน์ นิง่ *

ในการสอนเสริมทักษะการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สูงกว่านักศึกษาที่มีการเรียนแบบปกติอย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 2) ดัชนีประสิทธิผล ของนั ก ศึ ก ษาที่ เรี ย นผ่ า นบทเรี ย นอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ในการสอนเสริมทักษะการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เท่ากับ 0.6648 แสดงว่านักศึกษามีความรู้เพิ่ม ขึ้น 0.6648 หรือคิดเป็นร้อยละ 66.48 ค�ำส�ำคัญ: อีเลิร์นนิ่ง กูเกิ้ลคลาสรูม เฟซบุ๊ค

Abstract

The purposes of this research were 1) to compare the mathematics learning achievement of two groups of undergraduate students. One group of students learned the mathematics’ enriching learning skills via e-learning (Facebook), the other group learned

ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์และสังคม วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนิอ

58

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


mathematics in the normal classroom at King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. 2) to investigate the effectiveness of learning mathematics’ enriching learning skills via e-learning (Facebook) of undergraduate students at King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. The participants were 28 first-year-undergraduate students who enrolled in the mathematics course in the first semester of 2015 academic year. They were purposively sampled. The research instruments used were the website of Google classroom, and the website of Facebook, pre-test and post-test. The results of this study revealed that 1) the learning achievement of the students who studied mathematics’ enriching learning skills via e-learning (Facebook) was significantly higher than those studying in the normal classroom (P<0.5). 2) The effectiveness index of mathematics’ enriching learning skills via e-learning (Facebook) was 0.6648. It also revealed that the students’ competence increased by 0.6648 which was equivalent to 66.48%.

1. ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา

ในยุคปัจจุบันการเรียนการสอนพัฒนา ไปมากขึ้นโดยการเรียนไม่จ�ำเป็นต้องเรียนใน ห้องเรียนเพียงอย่างเดียวแต่การเรียนกับอาจารย์ นั้ น เป็ น การเรี ย นที่ ท� ำ กั น มาทุ ก มหาวิ ท ยาลั ย ซึ่งในปัจจุบันได้มีการพัฒนาการเรียนการสอน โดยใช้การเรียนแบบอีเลิร์นนิ่ง (e-learning) เข้ามาสู่ในระบบมหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ แต่ ก ารเรี ย นโดยใช้ เรี ย นแบบ อี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง นั้ น ต้องประกอบด้วย เนื้อหา ระบบการจัดการ การติดต่อสื่อสาร และ สามารถวัดผลได้ โดยแต่ละรายวิชามีวธิ กี ารสร้างบทเรียน ที่ใช้ในระบบอีเลิร์นนิ่งต่างกัน บางวิชาอาจใช้ เป็น PowerPoint การ์ตูน หรือใช้การอัดเป็น คลิปสั้น ๆ สอนทีละบท แต่วิชาคณิตศาสตร์ ในระดับมหาวิทยาลัยนัน้ เป็นวิชาทีย่ าก อาจารย์ ผู้ส อนมีหน้าที่เป็นผู้อธิบายเนื้อหาเพื่อแสดง ให้เห็นว่าจุดใดเน้นหรือเนือ้ หาใดจ�ำเป็น แต่นกั ศึกษา ระดับปริญญาตรีบางสาขาที่เรียนวิชาคณิตศาสตร์ นั้นมีหลายคนที่เรียนไปด้วยและท�ำงานไปด้วย ท�ำให้ไม่สามารถเข้าเรียนในห้องเรียนได้ทุกครั้ง และจากการเก็บข้อมูลเกือบทุกภาคการศึกษา นักเรียนจะถอนวิชาเรียนวิชาคณิตศาสตร์เกือบ 40 เปอร์เซ็นต์ (ข้อมูลช่วงปี 2557 - 2558 ของ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ วทอ.) หลังจากเมื่อสอบ กลางภาคแล้ว ดังนั้นผู้วิจัยจึงใช้อีเลิร์นนิ่งเข้ามา ประกอบการเรี ย นการสอนและสื่ อ สารกั บ นั ก ศึ ก ษาแต่ ก ารจั ด การเรี ย นการสอนแบบ Key words: E-learning, Google Classroom, อิเลิร์นนิ่งต้องมีการสนทนา การตอบกลับ หรือ Facebook มีการกิจกรรมเพื่อกระตุ้นผู้เรียนให้เกิดความ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

59


สนใจ (ตวงแสง ณ นคร, 2549) ผู้วิจัยจึงใช้ โปรแกรมถ่ า ยทอดสด (live) ของเฟซบุ ๊ ค (facebook) ซึ่งเป็นการติดต่อกันแบบง่ายที่สุด ใช้ได้ทุกที่ทุกเวลา โดยนักศึกษาสามารถเรียน ขณะถ่ายทอดสดและถามปัญหาทีส่ งสัยตัวต่อตัว ได้ทนั ที แตกต่างกับการเรียนในห้องเรียน นักศึกษา บางคนอาจจะไม่กล้าถาม อีกทัง้ นักศึกษาสามารถ ดูวดี โิ อถ่ายทอดสดย้อนหลังเพือ่ เป็นการทบทวน ได้อีกด้วย ผู ้ วิ จั ย เห็ น ประโยชน์ ข องโปรแกรม สังคมออนไลน์ จึงน�ำมาประยุกต์ใช้กับการเรียน แบบอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ของวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ระดั บ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือเพือ่ ท�ำให้นกั ศึกษาได้มผี ลการเรียน ในวิชาคณิตศาสตร์ได้ดียิ่งขึ้น

2. จุดมุ่งหมายของการวิจัย (Objectives)

2.1 เพื่ อ สร้ า งและพั ฒ นาบทเรี ย น อีเลิรน์ นิง่ เพือ่ เสริมทักษะการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2.2 เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของบทเรียนอีเลิร์นนิ่งเพื่อเสริม ทักษะการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ กับการเรียน ปกติ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2.3 เพือ่ ศึกษาประสิทธิผลทางการเรียน ของบทเรียนอีเลิร์นนิ่งเพื่อเสริมทักษะการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 60

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

3. ขอบเขตของการวิจัย (Scope of research)

3.1 ประชากรในการวิ จั ย ครั้ ง นี้ คื อ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชัน้ ปีที่ 1 ของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือทีล่ งทะเบียน เรียนวิชาคณิตศาสตร์ จ�ำนวน 235 คน 3.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับ ปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 ที่ลงเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จ�ำนวน 28 คน โดยคัดเลือกแบบเจาะจง 3.3 เนื้อหาที่ใช้ประกอบสื่อการสอน วิ ช าสมการเชิ ง อนุ พั น ธ์ ระดั บ ปริ ญ ญาตรี โดยเนื้อหาประกอบด้วย - การแก้สมการโดยวิธแี ยกตัวแปรได้ - การแก้สมการสมการแบบเอกพันธ์ - การแก้สมการสมการแบบลดรูป เป็น เอกพันธ์ได้ - ก า ร แ ก ้ ส ม ก า ร โ ด ย วิ ธี ห า ตัวประกอบเพื่ออินทิเกรต - การแก้สมการโดยวิธขี องแบร์นลู ี่ - การแก้สมการของการประยุกต์ เกี่ ย วกั บ สมการเชิ ง อนุ พั น ธ์ อันดับที่หนึ่ง - การแก้สมการอันดับที่ n

4. วิธีด�ำเนินการวิจัย

4.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็ น นั ก ศึ ก ษาที่ จ บการศึ ก ษาระดั บ ปวส. (ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง) ซึ่งก�ำลังศึกษา อยู่ในระดับปริญญาตรี จ�ำนวน 28 คน และกลุ่ม


ควบคุม จ�ำนวน 30 คน โดยเนื้อหาที่ใช้คือวิชา สมการเชิงอนุพนั ธ์ทเี่ ป็นวิชาบังคับของนักศึกษา ชั้นปีที่ 1 ด� ำ เนิ น การทดลองในภาคเรี ย นที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ทั้งนี้ใช้เวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ โดยนักศึกษาต้องเรียนในห้องเรียน ก่อนทัง้ สองกลุม่ กลุม่ ตัวอย่างจะเริม่ ใช้การเรียน แบบอิเลิร์นนิ่งตั้งแต่สัปดาห์แรก และท�ำการ ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ทั้งสองกลุ่ม 4.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย - เว็บไซต์ Google Classroom - เว็บไซต์ Facebook - แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน 4.3 ขั้นตอนการด�ำเนินงานวิจัย 4.3.1 หลังจากได้นักศึกษากลุ่ม ตัวอย่างมาจ�ำนวน 28 คนได้ให้นกั ศึกษาสร้างกลุม่ ในเฟซบุ๊คเพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสาร และท�ำ ข้อสอบก่อนเรียน

ภาพที่ 2 ห้องเรียนใน Google Classroom 4.3.3 นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งเรี ย นใน ห้ อ งเรี ย นปกติ ใ นเวลาเรี ย นจากนั้ น จะสั่ ง ให้ นักศึกษาไปทบทวนใน Google Classroom พร้อมทั้งฝึกท�ำแบบฝึกหัดหลังจากเรียนเสร็จ

ภาพที่ 3 วีดโิ อทีน่ กั ศึกษาสามารถเข้าไปทบทวนได้ ภาพที่ 1 กลุ่มในเฟซบุ๊คที่สร้างขึ้น 4.3.2 ให้นักศึกษาสมัคร Google Classroom เพื่อใช้ในการเรียนแบบอีเลิร์นนิ่ง

4.3.4 หลังจากส่งแบบฝึกหัดผ่าน google classroom นักศึกษาจะได้รับคะแนน เมื่อผู้สอนตรวจเสร็จ

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

61


ภาพที่ 4 คะแนนแบบฝึกหัด

ภาพที่ 6 นักศึกษาส่งการบ้านผ่านหน้ากระดาน เฟซบุ๊ค

4.3.5 หลั ง จากเรี ย นไป 4 ครั้ ง เนื้อหาเริ่มซับซ้อนผู้สอนได้นัดนักศึกษาเรียน 4.3.7 นักศึกษาเรียนประมาณ 8 เพิ่ ม เติ ม อี ก ครั้ ง ทุ ก สั ป ดาห์ โ ดยใช้ โ ปรแกรม สัปดาห์ พร้อมทั้ง ท�ำข้อสอบหลังเรียน ถ่ายทอดสดบนเฟซบุ๊ค 4.4 รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล 4.4.1 ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น ของบทเรียน อีเลิร์นนิ่งในการสอนเสริมทักษะ การเรียนวิชาคณิตศาสตร์กับการเรียนปกติของ นักศึกษาระดับปริญญาตรีโดยการค�ำนวณค่า t-test แบบ Independent Samples 4.4.2 ค่ า ดั ช นี ป ระสิ ท ธิ ผ ลทาง การเรียนของบทเรียนอีเลิรน์ นิง่ ในการสอนเสริม ทักษะการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ภาพที่ 5 ถ่ายทอดสดการสอนผ่านเฟซบุ๊ค

5. ผลการวิจัย (Result)

5.1 ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของบท เรียน อีเลิร์นนิ่งในการสอนเสริมทักษะการเรียน 4.3.6 จากนัน้ ให้นกั ศึกษา สอบถาม วิชาคณิตศาสตร์ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี กับการสอนปกติ และส่งแบบฝึกหัดผ่านเฟซบุ๊ค 62

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ ระหว่างบทเรียนอีเลิร์นนิ่งในการสอนเสริม ทักษะการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีกับการสอนปกติ วิชาคณิตศาสตร์ กลุ่มควบคุม กลุ่มทดลอง *p<.05 จากตารางที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนั ก ศึ ก ษาที่ เรี ย นผ่ า นบทเรี ย นอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ในการสอนเสริมทักษะการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สูงกว่านักศึกษาที่มีการเรียนแบบปกติอย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5.2 ค่าดัชนีประสิทธิผลของนักศึกษา ที่เรียนผ่านบทเรียนอีเลิร์นนิ่งในการสอนเสริม ทักษะการเรียนวิชาคณิตศาสตร์

n S.D. t p 30 4.77 6.05 5.89* .00 28 7.86 2.05 การแก้สมการโดยวิธี หาตัวประกอบเพือ่ อินทิเกรต การแก้สมการโดยวิธีของแบร์นูลี่ การแก้สมการ ของการประยุกต์ เกี่ยวกับสมการเชิงอนุพันธ์ อันดับที่หนึ่ง การแก้สมการอันดับที่ n การเรียน แบบอิเลิร์นนิ่งโดยใช้ Google Classroom นั้น นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งเรี ย นในห้ อ งก่ อ นจึ ง จะมา เรียนทบทวนและท�ำแบบฝึกหัด นักศึกษาจะ กระตือรื้อล้น เพราะมีคะแนนทุกครั้งในการ

ค่าดัชนีประสิทธิผล เท่ากับ 0.6648 แสดงว่านักศึกษามีความรู้เพิ่มขึ้น 0.6648 หรือ คิดเป็นร้อยละ 66.48

6. การอภิปรายผล (Discussion)

จากการศึกษาตามขัน้ ตอนดังกล่าว สรุป ผลการศึกษาได้ดงั นี้ เนือ้ หาทีใ่ ช้ประกอบสือ่ การ สอนวิชาสมการเชิงอนุพันธ์ ระดับปริญญาตรี โดยเนื้อหาประกอบด้วย การแก้สมการโดยวิธี แยกตัวแปรได้ การแก้สมการสมการแบบเอกพันธ์ การแก้สมการสมการแบบลดรูปเป็นเอกพันธ์ได้

ท�ำแบบฝึกหัดและเมื่อถึงเรื่องที่เนื้อหายากขึ้น ผู้สอน จะสอนตัวอย่างเพิ่มจากในห้องเรียน โดยใช้ การถ่ายทอดสด ผ่านเฟซบุค๊ นักศึกษาจะมี ความสนใจซักถามในช่องถามสดเพราะจะสังเกตุ ได้ว่านักศึกษาจะบอกว่า ตัวเล็กไป อธิบายซ�้ำ ได้ไหม ท�ำให้ผู้สอน ได้ทราบว่านักเรียนสนใจ ในการเรียนและการท�ำแบบฝึกหัดแล้วส่งผ่าน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

63


ทางกล่องข้อความผ่านเฟซบุ๊คท�ำให้นักศึกษา เพิ่มทักษะในการท�ำโจทย์เพิ่มขึ้น เพราะวิชา คณิตศาสตร์นั้นการฝึกท�ำโจทย์นั้นเป็นการฝึก ทักษะทีส่ ำ� คัญท�ำให้นกั ศึกษาสามารถท�ำข้อสอบได้ จากการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของบทเรียนอีเลิร์นนิ่งในการสอนเสริมทักษะ การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีเปรียบเทียบกับการเรียนในชั้นเรียน แบบปกติ พบว่า ผลการเรียนของนักศึกษาทีเ่ รียน ผ่านบทเรียน อีเลิร์นนิ่งในการสอนเสริมทักษะ การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ (ค่าคะแนนเฉลีย่ 7.86) สูงกว่านักศึกษาทีม่ กี ารเรียนแบบปกติ (ค่าคะแนน เฉลีย่ 4.77) อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ เตือนใจ ทองดี (2549) ได้ศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนและเจคติตอ่ การเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์กลุม่ ทีไ่ ด้รบั การจัด กิจกรรมการเรียนรูแ้ บบออนไลน์สงู กว่ากลุม่ ทีไ่ ด้ รับการเรียนรูแ้ บบปกติอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 ค่าดัชนีประสิทธิผลของนักศึกษาที่เรียน ผ่านบทเรียนอีเลิร์นนิ่งในการสอนเสริมทักษะ การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เท่ากับ 0.6648 แสดงว่า นักศึกษามีความรู้เพิ่มขึ้น 0.6648 หรือคิดเป็น

64

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

ร้อยละ 66.48 ซึง่ สอดคล้องกับงานวิจยั ของ สุบรร น้อยตาแสง (2552) ที่ได้ศึกษาการเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนเรือ่ งธุรกิจในชีวติ ประจ�ำ วันระหว่างการสอนโดยใช้บทเรียนบนเครือข่าย และการสอนแบบปกติ พบว่า ดัชนีประสิทธิผล การเรียนรู้ของนักเรียนมีค่าเท่ากับ .63

7. ข้อเสนอแนะ

7.1 ในการใช้แบบเรียนทีผ่ า่ นอีเลิรน์ นิง่ ในวิชาคณิตศาสตร์นั้นควรจะให้นักศึกษาเรียน ในห้องเรียนก่อนเมือ่ เริม่ ใช้อเี ลิรน์ งิ่ จะเหมือนเป็น การทบทวนจะท�ำให้เข้าใจดียิ่งขึ้น 7.2 การประเมินผลควรท�ำทันทีเมื่อถึง ก�ำหนดส่งงานเพื่อให้นักศึกษารู้ว่าต้องท�ำงาน ตามก�ำหนด มิเช่นนั้นจะไม่ได้คะแนน 7.3 การใช้เฟซบุค๊ เข้ามาช่วยในการเรียน ผ่านบทเรียนแบบอีเลิรน์ นิง่ ควรจะนัดเวลาล่วงหน้า เพือ่ ให้นกั ศึกษาได้เตรียมตัว และเวลาสอนโจทย์ เพิ่มเติมควรให้นักศึกษามีการโต้ตอบผ่านกล่อง ข้อความในเฟซบุ๊ค เพื่อท�ำให้ผู้สอนกับผู้เรียน มีปฎิสัมพันธ์ดียิ่งขึ้น 7.4 ควรเช็ ค ระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต ว่ า มี ความเสถียรเพื่อใช้ในการทบทวนแบบฝึกหัด ผ่านโปรแกรมถ่ายทอดสดผ่านเฟซบุ๊ค


เอกสารอ้างอิง

ตวงแสง ณ นคร. (2549). “แนวคิดในการออกแบบบทเรียน e-learning”. วารสารรามค�ำแหง. 23(3) : 143. เตือนใจ ทองดี. (2549). “การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ออนไลน์ (e – Learning) กับการเรียนรู้แบบปกติ”. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. สุบรร น้อยตาแสง. (2552). “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องธุรกิจในชีวิตประจ�ำวัน ระหว่างการสอนโดยใช้บทเรียนบนเครือข่ายและการสอนแบบปกติ”. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

65


การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้การเรียนรู้ ด้วยโครงงานเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 Development of Blended Learning Model Utilizing Project-Based Learning to Enhance Creative Thinking and Science Process Skills of Mattayomsueksa 2 students ฉวัฒญา ฉิมมา (Chawatya Chimma) 1* สังคม ภูมิพันธ์ (Sangkom Pumipuntu) 2 นิรุวรรณ เทรินโบล์ (Niruwan Turnbull) 3

ABSTRACT

To promote students using information technology in the learning process is the important strategy of the ministry of education. Utilization of technology is necessary to access the knowledge and information sources which are important for the producing process and development. It is important to provide the proper learning process for youth and students. They can then use the proper technology to access 1

the information and knowledge sources which are important for learning and development, leading to the creative thinking. The development of blended learning model using the projectbased learning to enhance creative thinking and science process skills for Mattayomsueksa 2 students was conducted. The research aims: 1) to develop a web-based instructional learning model, 2) to investigate the

นิสิตระดับปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาควิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม * ผู้รับผิดชอบบทความ e-mail : Chawallak@gmail.com 2

66

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


blended learning model that improves creative thinking and science process skills. The programme recruited three sample groups including 217 teachers, 7 educational expertise, and 370 students. The research employed 4 research tools comprising of 1) blended learning programme, 2) the creative thinking test for Sciences and 3) the test of process management for Sciences and 4) the learning achievement test. The data were analyzed by Percentage, Mean, Standard Deviation and Dependent T-test. The results and findings were as follows: 1. Blended learning model utilizing projectbased learning to enhance creative thinking and science process skills for Mattayomsueksa 2 students which included principle, objectives, instruction and evaluation as well as three learning steps: 1.Learning preparation, Learning activities and Learning evaluation. 2. Evaluating experts give high score for the developed learning model (mean = 4.29, SD=0.69) . 3. Blended Learning Model has been significantly satisfied by the student (mean =4.73, SD =0.88) (p-value < 0.001). In conclusion, the Blended Learning Model of the project learning had enhanced Mattayomsueksa 2 students

for creative thinking and science process skills, which allows students to improve knowledge achievement. Therefore, teacher and stakeholder should be prompted to support and encourage the student for their sustainable learning. Keywords: Blended Learning Model, Project-Based Learning, Creative Thinking, Science Process Skills, Mattayomsueksa 2 students, Buriram province

บทคัดย่อ

การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสม ผสานโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ด้วยโครงงาน เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ความคิ ด สร้ า งสรรค์ แ ละทั ก ษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 ในครั้ ง นี้ มี ค วามมุ ่ ง หมาย เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสาน โดยใช้การเรียนรู้ด้วยโครงงาน เพื่อส่งเสริม ความคิ ด สร้ า งสรรค์ แ ละทั ก ษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 2 2) ศึ ก ษาผลการใช้ รู ป แบบการเรี ย น แบบผสมผสานโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ด้วย โครงงาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ วิจัยในครั้งนี้ มี 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ�ำนวน 370 คน และครู วิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2557 จ�ำนวน 217 คน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

67


กลุ่มที่ 2 ผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 7 ท่าน และกลุ่ม ที่ 3 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนจุฬา ภรณราชวิทยาลัยบุรีรัมย์ สังกัดส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 จ�ำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) รูปแบบ การเรียนที่พัฒนาขึ้น 2) แบบทดสอบวัดความ คิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ 3) แบบทดสอบ วัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4) แบบ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Dependent t-test ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการเรียน แบบผสมผสานโดยใช้ ก ระบวนการเรี ย นรู ้ ด้วยโครงงานเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของ นักเรียน ซึ่งประกอบด้วย หลักการของรูปแบบ วัตถุประสงค์ของรูปแบบ กระบวนการเรียน การสอน และการวัดผลและประเมินผล โดยขั้น ตอนกระบวนการเรียนการสอน มี 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นการเตรียมก่อนการเรียน ขั้นการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน และขั้นการวัดผล ประเมินผล ส่วนกิจกรรมการเรียนการสอน มี 6 กิจกรรม ได้แก่ ขั้นการน�ำเสนอหัวข้อ ขั้นการ วางแผน ขั้นการปฏิบัติโครงงาน ขั้นการสรุป ผล ขั้นการน�ำเสนอผลงาน และขั้นการประเมิน ผล 2. ผู้เชี่ยวชาญประเมินความเหมาะสมของ รูปแบบการเรียนที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับมาก ( Χ = 4.29, SD=0.69) 3. นักเรียนทีเ่ รียนด้วยรูป แบบการเรียนที่พัฒนาขึ้นมีความคิดสร้างสรรค์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และผล 68

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

สัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยสรุป รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้การเรียน รูด้ ว้ ยโครงงานส่งผลให้นกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 มีความคิดสร้างสรรค์ ทักษะกระบวนการ ทางวิยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง ขึ้น ดังนั้น ผู้สอนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรส่ง เสริมสนับสนุนและก�ำหนดแนวทางการพัฒนา รูปแบบการเรียน การสอนให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะช่วย ให้นักเรียนได้รับประโยชน์สูงสุดตามไปด้วย ค�ำส�ำคัญ: รูปแบบการเรียนแบบผสม ผสาน การเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ โ ครงงาน ความคิ ด สร้างสรรค์ ทักษะขบวนการวิทยาศาสตร์, นัก เรียนชั้นมัถยมศึกษาที่ 2, จังหวัดบุรีรัมย์

Introduction

The educated society and the intellectual economy are the main stream for the development process of the international community. To promote students using information technology in the learning process is the important strategy of the ministry of education. Utilization of technology is necessary to access the knowledge and information sources which are important for the producing process and development. The youth and students are the new generation where the future of the nation be in their hands. It is important to provide


the proper learning process for youth and students. They can then use the proper technology to access the information and knowledge sources which are important for learning and development, leading to the creative thinking. It is a higherorder thinking process. The promotion of creative thinking plays an important role for learner centred educational management. This learning format emphasizes the need for learner to express their thinking and doing which is delivered from the learning process that is linking old experiences with new ones to create unique works or outputs leading to new discoveries (1). Moreover, creative thinking can be adapted and used to improve daily life activities effectively. It exists in everyone and this skill can be promoted to the higher level of development (2). Everyone possesses creative thinking to a certain degree (3). It is a thinking process that is sensitive to problems or what is lacking and how to solve them. It is a phenomenon that is limitless, nor is it confined to only some individuals. There are several types of creative thinking and they can be taught, practiced and the outputs are many and varied without limitation (4).

Science process is essential in developing a good quality of life. It can be used to solve daily problems effectively. By developing science process skills, not only can students learn scientific facts and concepts, they also can achieve intelligence from practice (5). Science process skill is a systemic thinking process, employing all five senses to seek knowledge and develop problemsolving skills. By utilizing project-based learning, students are encouraged to learn naturally and engage in science process, which enhances creative thinking and science process skills acquisition. Present learning activities are still mostly carried out by giving the lecture in the classroom, students rarely have a chance to practice thinking skills. There is a lack of education media which encourage students to learn outside the classroom or at home and students cannot apply what is learned in the classroom to develop creative thinking. The majority of students are unable to apply the knowledge learned from classroom to develop the critical thinking, thinking synthesis, judgment, creative thinking, consideration and vision. According the requirement of the ministry of Education, the following เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

69


criteria are required. The fourth standard of the basic education standard requires the learner having the ability for critical thinking, synthesis thinking, judgment, creative thinking, consideration and vision. The fifth standard requires the learner having skills according to the study programmed and the sixth standard require that the learner having the skill of self-training and engage in the continuing education and lifelong learning. During years 2011-2015, the regional education zone has been assessed for the third round by the external quality assurance office (EQA). The overall result showed that on the fourth attributes: rational thinking, creative thinking, process thinking and vision was low and needed to be remedied while the fifth attribute of effective learning was adequate (53.14%). The sixth attribute: the child centered learning was adequate (0.28%). Following the third assessment result, the EQA suggested the school should improve its teaching process which would improve the skill and quality of students according to the standard of educational program and also improve the students skill on critical thinking, thinking synthesis, judgment, creative 70

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

thinking, consideration and vision. In year 2013 the result from the national evaluation of basic education (O-Net) reported that the O-Net’s mathematics evaluation for Mattayomsueksa 2 students was also downgraded to the low level. The factors that caused this result were 1) There is not enough teachers. 2) The teacher teaches a subject which is not related to their expertise. 3) The media and equipment is insufficient. Therefore it is important to encourage students to concentrate on their examination, teacher with their expertise related to the educational program and the school with proper teaching media and equipment. In year 2013, the result of the assessment in the science subject of Mattayomsueksa 2 students in the educational jurisdiction area 32 was lower than the standard (38.62%). Therefore researchers were, thus, interested in developing a blended learning model using project-based learning to enhance creative thinking and science process skills acquisition in Mattayomsueksa 2 students.


Objective

have achieved the learning output. Methods The blended Learning model using project-based learning to enhance creativity and science process skills of student was designed using One group Pre-test Post-test experiment in the of Mattayomsueksa 2 students and the science teachers of the regional educational jurisdiction area 32. This study is including 3 phases:

Hypothesis

Phase 1: Learning model development: The development of a blended learning model using projectbased learning to enhance creativity and science process skills of Mattayomsueksa 2 students were composed by the following step: 1) Literature review on a blended learning model and project-based learning and then the conceptual framework was designed from the analysis and synthesis the data earning from related documents, theory, and research related to the development of blended learning. The synthesized framework was comprised of 1) the blended learning model using the concept of Thorne (2003); Clark (2003); Horne (2003); Carman (2005) (6-9). The

1. To develop a blended learning model utilizing project-based learning to enhance creative thinking and science process skills acquisition in Mattayomsueksa 2 students. 2. To study the results of blended learning model utilizing project-based learning to enhance creative thinking and science process skills acquisition in Mattayomsueksa 2 students. 1. The Students taught by a blended learning model utilizing projectbased learning to enhance creative thinking and science process skills acquisition in Mattayomsueksa 2 students increases their creative thinking skill 2. The Students taught by a blended learning model utilizing projectbased learning to enhance creative thinking and science process skills acquisition in Mattayomsueksa 2 students increases their science process skills. 3. The Students taught by a blended learning model utilizing projectbased learning to enhance creative thinking and science process skills acquisition in Mattayomsueksa 2 students

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

71


model was combined of a classroom instruction (face-to-face), web based instruction (WBI) and live-e-learning. 2) the project based learning process using the concept of Katz and Chard (1994); Baert (1999); Hyosook et al., (2008) which consists of 1) propose the project 2) planning 3) action 4) make a conclusion 5) presentations 6) assessment (10-12) 2) A survey of the requirement and the format of a blended learning using project-based learning to enhance the creativity and science process skills of Mattayomsueksa 2 students. The population in this study which included 494 science teachers and 12,898 Mattayomsueksa 2 students under the educational jurisdiction area 32, the study was conducted during the first semester of the academic year 2013. Therefore 217 science teachers and 370 Mattayomsueksa 2 students were randomly sampled using the table of Krejcie and Morgan (referred by (13). The variable studied was a learning condition and a requirement of a blended learning using project- based learning pattern. The data was collected using questionnaires which evaluated for content validity and index of congruence. The data 72

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

was analyzed using descriptive statistic including frequency, percentage, Mean and standard deviation. The scoring system referred to Boonchom Srisa-ard (2003) as following degree: 5 means strongly agree, 4 means agree, 3 means moderately agree, 2 means disagree and 1 means strongly agree. The interpretation rate were 4:51 to 5:00 means strongly agree, 3:51 to 4:50 means agree 2:51 to 3:50 means moderately agree, 1:51 to 2:50 means disagree and 1:00 to 1:50 means disagree strongly (14). 3) The design of a blended learning model using project-based learning to enhance creativity and science process skills of Mattayomsueksa 2 students was comprised of 2 steps including 1) the format of a blended learning model using project-based learning to enhance creativity and science process skills of Mattayomsueksa 2 students including 3 parts 1: the details of learning process 2: learning process 3: learning process observation plan. 2) The learning model utilization criteria. 4) The invention design and quality assessment was conducted as follows steps: 1) the experimental invention includes a) web-based lessons of science


project entitled Life and Environment for Mattayomsueksa 2 students using Moodle LMS program b) the learning model was edited and evaluated by the thesis advisory committee. c) the learning model was corrected following their comments and suggestions . 2) The data collection using questionnaires for the evaluation a) The teaching documents and learning format was evaluated for its appropriation of learning format using 5 scale rating (15) b) The learning media and equipments was evaluated using 5 scale rating in 3 categories as context, webbased lessons design and web-based learning administration. 3) The progression of creativity was evaluated using the scoring system of Guilford (1988) and Torrance (1971) in 4 categories comprising initiative thinking, flexible thinking, rapidity thinking and finery thinking (3, 4). 4) The achievement of learning output was evaluated using the examination question according to the context of the subject following the learning evaluation process of Srisa-ard (2553) (13).

5) Student’s science process skills were evaluated for 13 science skills with 60 questions. The assessment sheet was designed and validated according to criteria of the institute of science and technology teaching promotion. Phase 2: Model Validation: The effectiveness of a blended learning model using project-based learning model was evaluated. The learning model was evaluated by the expertise committee that comprised of 2 information technology specialists, 2 learning context specialists, 2 evaluation and assessment specialists and 1 psychologist. Following the evaluation process the validated learning model was trialed in the 30 Mattayomsueksa 2 students from Satuek district school who were purposely sampled into the test. Data was collected and analyzed using descriptive statistic. The mean with standard deviation of the data illustrated that the designed learning model reach the standard criteria as 80/80. Therefore the blended learning model using project-based learning model was then used in phase 3 of the study. เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

73


Phase 3: Model application: The effects of a blended learning model using project-based learning model on creativity and science process skills of Mattayomsueksa 2 students on the creative thinking and science process skills acquisition has been applied and evaluated. The One group Pre-test Posttest experiment was designed and used to evaluate the effect of project-based learning model. Thirty of Mattayomsueksa 2 students were purposely sampled from the population of 193 Mattayomsueksa 2 students from the Princess Chulabhorn college high school under the educational jurisdiction area 32. The study was conducted during the second semester of academic year 2014. The 30 of Mattayomsueksa 2 students participated and engaged in the designed learning model including web-base learning , face-to-face instruction and project based learning. The assessment of creativity, science process skills acquisition and the learning output achievement had been evaluated prior and post the experiment.

deviation), pre- and post-learning tests comparison using dependent samples T-test.

Results

Phase 1: The development of blended learning model using projectbased learning model Phase 1 of the research allowed the researcher to investigate the general information relating to the study model including the overall information of Mattayomsueksa 2 students and science teacher who were responsible for the subject life and science. The study illustrated the information as following. 1.1 General information: The result showed under the educational jurisdiction area 32 there are 186 girl students (50.30%) and 184 boy students (49.70%). The evaluation of student’s opinion on the information technology knowledge and communication illustrated that teacher should be present at the computer laboratory at all times, there is internet available at school and the school website. The students used internet for searching the information Statistical analysis The data were analyzed using online. However, there are fewer students descriptive analysis (means and standard using the online lesson provided. 74

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


1.2 General knowledge and recognition in a blended learning model of Mattayomsueksa 2 students under the educational jurisdiction area 32 The results showed that most students had a face-to=face learning model (100%) and 95.15 of students understood what is the face-to-face lesson. On the other hand, there were 40.8% of students who took the blended learning lesson and there was 43% of students recognized the blended learning lesson. The information earned led to the design of a blended learning model effectively. 1.3 General knowledge and recognition in project based learning model of Mattayomsueksa 2 students under the educational jurisdiction area 32 There was 96.8 % of students wanting to take a project based learning lesson. Also 91.1% of students used to take the lesson and activity related to a project based learning lesson. However there were 60.5% of students knew of a project based learning lesson and 59.2 % of students knew the basic activity of a project based learning lesson.

Phase 2: Model Validation: The relevance of a blended learning model using project-based learning model was evaluated. 2.1 committee evaluation: The committees evaluated that the consequence of the lesson activities had highly appropriated. The committees reported that most appropriated step was the study output evaluation and assessment and then the preparation prior taking the lesson and the least was the lesson learning process. Overall the evaluating expertise committee gave high score for the developed learning model, suitable to be used to teach Mattayomsueksa 2 students. 2.2 The tryout of the learning model: The designed blended learning model was tried out with Mattayomsueksa 2 students at Stuek district secondary school where the effectiveness criteria (E1/E2) was 80/80. The result showed the effectiveness score for the designed blended learning model was 84.42/82.33 (E1 / E2) therefore the developed blended learning model using projectbased learning (Figure 1) was appropriate and can be used in phase 3 of the experiment . เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

75


Phase 3: The blended learning model using project-based learning Model application 1. The comparisons of the creative thinking score (Mean±SD) of Mattayomsueksa 2 students pre and post participation the blended learning model using project-based learning The Mattayomsueksa 2 students that studied the life and science subject using the blended learning model using project-based learning have significantly increased creative thinking score (P<0.01) when compared to their score prior the learning. (Table 1) 2. The comparisons of the science process score (Mean±SD) of Mattayomsueksa 2 students pre and post participation the blended learning model using project-based learning The Mattayomsueksa 2 students that studied the life and science subject using the blended learning model using project-based learning have significantly increased science process skills score (P<0.01) when compared to these score prior the learning. (Table 2) 3. The comparisons of the learning output achievement (Mean±SD) of Mattayomsueksa 2 students pre and post 76

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

participation the blended learning model using project-based learning The Mattayomsueksa 2 students that studied the life and science subject using the blended learning model using project-based learning have significantly increased science learning achievement score (P<0.01) when compared to these score prior the learning. (Table 3) Figure 1 The recognition in project based learning model of Mattayomsueksa 2 students under the educational jurisdiction area 32

Figure 2: 4PsCE Project of Blended Learning Model using project-based learning Model application


Table 1: The comparisons of the creative thinking score (Mean±SD) of Mattayomsueksa 2 students pre and post participation the blended learning model 11 using project-based learning 11 learning Pre learning Post df t p S.D. S.D.   Pre learning Post Rapid thinking 27.03 7.24 57.20learning 4.49 29 18.94 .000** Creative thinking score df t p S.D. S.D. Flexible thinking 8.90 1.24 18.17 1.68 29 27.08 .000**   Rapid thinking 27.03 7.24 57.20 4.49 29 18.94 .000** Innovative thinking 28.07 2.19 53.80 3.70 33.41 Flexiblethinking thinking 8.90 18.17 1.68 29 27.08 Finery 31.83 1.24 1.87 50.33 2.69 37.88 .000** Innovative thinkingat P= .0128.07 2.19 53.80 3.70 29 33.41 .000** **statistical different Finery 1.87 process 50.33 skills2.69 37.88of Mattayomsueksa .000** Table 2: thinking The comparisons of31.83 the science score 29 (Mean±SD) 2 Table 2: The comparisons of the science process skills score (Mean±SD) of **statistical P= .01 students predifferent and postatparticipation the blended learning model using project-based learning Mattayomsueksa 2 students pre and post participation the (Mean±SD) blended learning model 2 Table The comparisons of the science process skills scoreS.D. Science2: process learning score n t of Mattayomsueksa p  using project-based learning the blended learning model using project-based learning students pre and post participation Pre learning 30 19.13 1.27 37.41 .000** Science process learning score n S.D. t p Post learning 30 34.87 1.90  learningdifferent at P= .01 30 19.13 1.27 37.41 .000** **Pre statistical Post learning 30 34.87 1.90 ** statistical different at P= .01

Creative thinking score

Discussion been promoted due to the blended Discussion This research was to develop the blended learning model using project-based learning to This research was to develop the learning using project based learning Discussion enhance the creative thinking and science process skills for Mattayomsueksa 2 students. The blended learning model using project- was developed by the combination of researchlearning was tomodel developusing the project-based blended learning modellesson usingincreased project-based learning(P< to developedThisblended learning significantly the teaching in the classroom (Face-tobased learning to enhance the creative enhance the creative and science process skills for Mattayomsueksa 0.01) the creativity scorethinking of students after participation the lesson. The creativity 2ofstudents. students The had Face) together with using Web-based thinking and science process skills developed blended model using project-based learning increased significantly (P< been promoted due learning to the blended learning using project basedlesson learning was developed by the Instruction which students can learn for Mattayomsueksa 2 students. The 0.01) the creativity of students participation the lesson.together The creativity of students had combination of thescore teaching in theafter classroom (Face-to-Face) with using Web-based onanytime. their anytime. Thedeveloped studying developed blended modelonlearning using been promoted due tolearning thecan blended using projectown based learningcontent was by the Instruction which students learn their own The studying was available on was anytime. available onwiththe network project-based lesson increased combination of learning thestudent teaching the to classroom together using Web-based the network which wasin able accesscontent in(Face-to-Face) the class These models encouraged which student was able significantly 0.01) can the creativity Instruction students learn on theirbyown anytime. Thethere studying wasaccess available on students towhich try (P< and discover the question them. Moreover wascontent a live to e–Learning where the network which student able totothe access thesupport class anytime. models encouraged was available atwas all times answerininand ifanytime. studentThese has questions about the the class These models scoreteacher of students after participation students tothetrycreativity and discover thewasquestion thereofwas activity lesson. Student allowed leaveMoreover the question opinion one–Learning the web where board encouraged students to atryliveand discover lesson.inThe of students hadbytothem. the teacher all times answeractivity. and support if studentdiscussions has questions aboutboard the where they was wereavailable able to atdiscuss the to learning The threaded on web activity the learning lesson. Student was allowed the question opinion web board enhancein the atmosphere leading toto leave the increase of creative thinking. provided เทคโนโลยี สofื่อสารการศึ กon ษา the It77 where they were able to todiscuss learning activity. The threaded discussionssolution on webto board opportunities for students createthe a new concept and then fine the alternative solve


the question by them. Moreover there was a live e–Learning where the teacher was available at all times to answer and support if student has questions about the activity in the lesson. Student was allowed to leave the question of opinion on the web board where they were able to discuss the learning activity. The threaded discussions on web board enhance the learning atmosphere leading to the increase of creative thinking. It provided opportunities for students to create a new concept and then fine the alternative solution to solve the problem effectively. The thinking that comes from the learning experience encourages the students to have wider thinking and initiative thinking. Joe (2006) reported that using the combination process for the learning lesson such as the combination of web based or live e- learning and class room instruction (face-to-face) encourage students to get greater output from the study lesson (16) (17). According to the study in the biology subject in the secondary school using the blended learning model, the research showed that a problem-solving skills after the taking the blended learning lesson increased significantly (P<0.05) 78

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

(18). Students increased understanding in the study context. Moreover they found that students increased their self-control and have the positive attitude toward the blended learning model and enquired the blended learning mode for the further subject. The study of the development of blended learning using web-based model and creative problem solving process to promote creativity and problem solving for students of higher education showed that the developed blended learning design increased the problem solving skills. Students had significantly higher academic achievement than before taking the lesson (P<0.01) (19). The studying environment is important for promoting the creative thinking in students. The brain based learning model was investigated to promote the creative thinking of undergraduate students when they took the designing subject. The designed lesson emphasized the proper environment that induced the students to think and solve the designing problem process. The activities challenged students to use their brain to create the solutions in design activity. The developed model showed that student’s creative level


was higher than before the experiment (P<0.05) (15). We conclude that the teaching process that enhanced the thinking process includes 7 steps: (1) preparation, (2) define the learning goals (3) learning and linking (4) defines the conceptual framework and application (5), adjustment (6) presentation (7) evaluation. The present study showed that the science process skills of the students increased significantly after taking the blended learning model using project based (P<0.01). Due to the developed learning lesson enhanced students to use the science process skill since the beginning of the activity. The first activity was to propose the experimental subject which students had to review and study the related documents and research the data involved the experimental subject. Then students developed the experiment proposal by explanation, arrangement and make the conclusion leading to the experiment subject. These processes enhanced the student‘s science process skills such as observation, classification and hypothesis skills. The second activity was to planning the experiment

design by the students had to drafted the experiment planning including the main question of the experiment, the objective, variables, methods , grant chart, the benefit of the experiment and reference list. Theses process promoted the practical definition skills, hypothesis development skill and the variable controlling skill. The third activity was to conduct the experimental project. The students conducted the experiment according to a predetermined plan including preparation of equipment and chemical and then defined the chemical used in each step of experiments. This activity allowed students to practice in the calculation, classification and conduct the experiment. The forth activity was the conclusion; the students from each group analyzed data and then wrote the experiment report. The students learned how to select the presentation format and also the language that used for drafting thing the report. They also trained how to critic the experimental result and make the conclusion for the main finding in the experiment. This activity enhances the students to learn and practice how to prepare the data and present the information earned from the เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

79


experiment. The fifth, presentation, the students chosen the presentation format and then designed the presentation technique. The presentation was in the class meeting where students from others group attended the presentation. The student was enhanced to explain and present the main finding from the experiment. This activity promotes the communication, skills to convey information, data arrangement skill and learnt how to express their expression. The sixth activity was to evaluation; the study achievement was evaluated by students. They were encouraged to express their opinion each the activities according the project based learning. Students used their own experience to evaluate the learning process. This activity promotes the evaluation skill by express their opinion using the previous experience. The comparisons of the integrated science process skill on the critical thinking and scientific attitude in the fourth year students using a project-based learning model and the investigation skill. The results showed that 1) the project based learning activities and the investigation for the fact in the chemical reactions subject 80

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

in Mattayomsueksa 2 students had the effectiveness of studying before and after taking the developed lesson at 82.83 / 77.50 and 69.20/67.35 respectively. These results showed that students were making the progress in learning. Moreover the students who took the blended learning lesson increased the overall science process skills significantly when compared (P<0.05) (20). Mittlefehldt and Grotzer (2003) conducted the research using cognitive techniques for the teaching in the density and pressure subject (21). The lesson included the ability to understand (Intelligibility), ability to be trusted (Plausibility) and the wide-applicability. The learning model promoted the self-reflection, question, comparing own question to the others, trust and respect skillsc (22). The students liked the idea of being able to understand the technical knowledge and ability to use their knowledge extensively (23). The blended learning model, using developed project-based leaning enhance the student’s learning achievement. The present study showed that student’s learning achievement score increased significantly after students took the blended learning model using project-


based leaning (P<0.01). The developed learning lesson was the combination of both face-to-face classroom teaching and the web-based instruction. The developed learning model comprised of 7 steps as 1) Presentation of Topic 2) Planning (drafting the proposal) 3) conduct the project 4) conclusion 5) presentations 6) evaluation. Students had participated the project freely depend on their ability and interest. The learning activity encouraged students to practice on search, trial, invent and create. There were facilities provided for students to learn on their own. In the same time the teachers were available there for giving suggestion or answer the question if the student need. By this learning model, it encourages students who want to discover and experiment. The atmosphere in the classroom enhances students to liberate their thinking and expression. The freedom to think and create their work without the blocking of an idea leads to the higher study achievement score. The blended learning model using the project based learning has showed that it increased the student’s learning achievement score in various studies. The developed blended

learning activities has been used for teaching the undergraduate student in the analysis and design subject at the Rajamangala University of Technology of Isaan it showed that the student had significantly greater learning achievement score after the lesson than before taking the lesson (P <0.01) (24). The development of teaching using a blended learning lesson enhanced a self-study in the students, the research showed that students were satisfied to participate in the designed learning model (25). Rovi and Jordan (2004) compared the study achievement output when the student had taken the conventional class instruction, the blended learning model or the web-based learning, the found that the blended learning lesson created the learning community within the students (26). Due to the blended learning lesson was focusing on the student centered model which encourage student to investigate and search for the answer themselves while there were taking part in the learning process. To sum up, the developed blend learning model using projectbased learning enhanced the creative thinking and science process skills of the เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

81


Mattayomsueksa 2 students. Due to the designed learning model composed by the learning format, teaching preparation process, learning activities that promote the student to express their ideas or action for solving the challenging question. It supported them to create the initiative idea and having boarded mind. Students were able to apply the idea into the practice. They also had the fluency, flexibility, originality and elaboration. Moreover the project-based learning also promoted the use of five sense of studying including analysis, survey, searching and explanation what had been observed. Therefore, the developed learning format is composed by 4 components that are 1) learning format principle 2) learning objective 3) learning process and 4) the evaluation. In addition the learning process is including 3 steps as 1) learning preparation 2) learning and teaching activities and 3) evaluation. Moreover the learning and teaching activities comprise by 6 activities such as 1) experimental proposal 2)

82

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

experimental planning 3) conduct the experiment 4) conclusion 5) presentation and 6) evaluation. Suggestion 1. To effectively use the developed blended learning model, researchers recommend: 1.1 Teacher must prepare enough computers for all students. Every PC must be in working condition and be linked to the Internet. Teacher must supervise, suggest and give advice how to use PC effectively. 1.2 Students must be capable of using mouse and keyboard efficiently and must know how to use basic applications including Internet. 1.3 Teacher should introduce new technology as part of learning activities so that students would enjoy study and not get bored, for example, instant messaging apps (Line, Whatsapp, Wechat) so that students can exchange ideas and opinions.


Reference Torres Valdes RM, Nunez Gomez P, Irene Hanninen L. Participative and transversal projects as a learning base for acquiring a critical and socially responsible view of communication. Historia Y Comunicacion Social. 2014 Jan;19:443-56. Miles. The Seven Faces of the Early Childhood Educator. wwwearlychildhoodcom. 1997. Guilford JP. Cognitive psychology’s ambiguities: Some suggested remedies. Psychological Review. 1988;89:48-59. Torrance EP. Rewarding Creative Behavior: Experiment in Classroom Creativity. Englewood Cliffs NJ: Prentice Hall. 1971. Yeo S, Eom W. Developing a Design Model for Project-based Learning in Accordance with Primary School Curriculum. Journal of Educational Technology. 2014 2014;30(2):259-83. Clark D. Instructional System Design-Analysis Phase. wwwnwlinkcom/hrd/ sat2htmlComputing in Childhood Educational Technology & Society. 2003;1. Thorne K. Blended learning : how to integrate online and traditional learning. . London: Kogan 2003. Horne R. Blended Learning. European Sociological Review. 2003;19(4):335-43. Carman JM. Blended Learning Design : Five Key Ingredients, Knowledge Net. http:// wwwknowledgenetcom/pdf/Blended Learning Design 1028pdf. 2005. Katz, Chard F. The Importance of Projects In The Project Catalog ERIC Clearinghouse on Elementary and Early Childhood Education. 1994. Baert. The Project Approach. http://wwwualbertaca/schard/projectshtm. 1999. Hyosook J, Woochun J, Le Gruenwald. The Design and Implementation of a WebBased Teaching-Learning Model for Information Communication Technology Application Education. 2008. เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

83


Srisa-ard B. Statistic method for analysis of data collection instrument Statistic method for research (3rd published) Suviriyasan Bangkok 2009. Srisa-ard B. The assessment of data collection instrument Statistic method for research (5th published) , Suviriyasan Bangkok 2003. Phrompan I. A development of a WEB-based instructional model based on BrainBased learning process in design course to enhance creative thinking of undergraduate students. Ph.D. Major Educational Communications and Technology. Chalalongkorn University. 2007. Joe FR. George. Essentials of Systems Analysis and Design, 3rd Edition. .PrenticeHall. 2006. Reissmann DR, Sierwald I, Berger F, Heydecke G. A Model of Blended Learning in a Preclinical Course in Prosthetic Dentistry. Journal of Dental Education. 2015 Feb;79(2):157-65. Nellman SW. A Formative Evaluation of a High School Blended Learning Biology Course. Dissertation Abstract International. 2008. Liamthaisong K. Developing a web-based Instruction Blended Learning Model Using the Creative Problem – solving Process for Developing Creative Thinking and Problem-solving Thinking of Undergraduate Students. . PhD Major Educational Technology and Communications Mahasarakham University 2011. Charunsawaphakit C. Comparisos of Integrated Science Process Skills, Analytical Thinking, and Scientific Attitudes of Matthayomsueksa 4 Students who Learned Using Project Activities and Inquiry Learning Activites. . MEd Major Curriculum and Instruction Mahasarakham University 2007. Mittlefehldt DW, Grotze rM. Using Metacognition to facilitate the transfer of causal models in learning density and pressure. Journal of Research in Science Teaching 2003.

84

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


Silverstein TP. Integrated, instrument intensive project-based biochemistry laboratory for enhanced student learning and research. Abstracts of Papers of the American Chemical Society. 2012 Aug 19;244. Rye J, Landenberger R, Warner TA. Incorporating Concept Mapping in Project-Based Learning: Lessons from Watershed Investigations. Journal of Science Education and Technology. 2013 Jun;22(3):379-92. Khonsue C. The Development of Blended Leaning Model of Activities for System Analysis and Design in Rajamangala University Isaan Sakhonnakhon Campus. . PhD Computer Education King Mongkut’s University of Technology North Bankok. 2010. Robroo I. Deveiopment of a Blended Instruction Model for Enhancing Self-Knowledge Acquisition. . PhD Technical Educational TechnologyKing Mongkut’s University of Technology North Bangkok. 2010. Rovai AP, Jordan HM. Blended Learning and Sense of Community A Comparative Analysis with Traditional and Fully Online Graduate Course. [Online] 2004 [Cited 2010, September 5] Available from : URL : http://irrodlorg/content/ v52/rovai-jordanhtml 2004.

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

85


การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการแบบเธรด (Threaded) เพื่อพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเอกชน The Development of Threaded Integrated Instructional Model to Enhance Information Technology Skill for Nursing Students of Private University. ชญาชล สิริอัครบัญชา * ไพโรจน์ เบาใจ**

บทคัดย่อ

การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ 1) เพือ่ พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการ แบบเธรด (Threaded) เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษาพยาบาล ศาสตร์มหาวิทยาลัยเอกชน 2) เพือ่ ประเมินทักษะ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศหลังการเรียนด้วยรูปแบบ การเรียนการสอนฯ 3) เพื่อศึกษาความคงทน ในการเรียนรูข้ องผูเ้ รียนหลังการเรียนด้วยรูปแบบ การเรียนการสอนฯ 2 สัปดาห์ 4) เพื่อศึกษา ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการพัฒนารูปแบบ การเรียนการสอนฯ กลุ่มตัวอย่างเป็นการเลือก

* **

แบบเจาะจงจากนั ก ศึ ก ษาพยาบาลศาสตร์ จ�ำนวน 30 คน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มี วิ ธี ด� ำ เนิ น การวิ จั ย แบ่ ง เป็ น 10 ขั้ น ตอน ประกอบด้วย ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาข้อมูลและ เอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่อก�ำหนดนวัตกรรมทาง การศึกษาทีจ่ ะท�ำการวิจยั และพัฒนา ขัน้ ตอนที่ 2 พัฒนารูปแบบขัน้ ต้น (ร่าง) รูปแบบการเรียนการสอน ขัน้ ตอนที่ 3 การหาคุณภาพร่างรูปแบบการเรียน การสอน ขัน้ ตอนที่ 4 ทดลองใช้รปู แบบการเรียน การสอน ครั้งที่1ทดลองแบบเดี่ยว ขั้นตอนที่ 5

นักศึกษาปริญญาเอก คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประธานที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

86

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


ปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอนครัง้ ที่ 1 ขัน้ ตอน ที่ 6 ทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนครั้งที่ 2 ทดลองแบบกลุ่ม ขั้นตอนที่ 7 ปรับปรุงรูปแบบ การเรียนการสอนครัง้ ที่ 2 ขัน้ ตอนที่ 8 ทดลองใช้ รูปแบบการเรียนการสอนครัง้ ที่ 3 ทดลองภาคสนาม ขั้นตอนที่ 9 สรุปผลและอภิปรายผล ขั้นตอน ที่ 10 รับรองรูปแบบการเรียนการสอนโดยผูท้ รง คุณวุฒิ สถิตใิ นการวิจยั ใช้ t-test แบบ dependent group ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการเรียน การสอนแบบบูรณาการแบบเธรดเพื่อพัฒนา ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษา พยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเอกชน มีองค์ประกอบ ทัง้ สิน้ 4 องค์ประกอบหลัก 15 ขัน้ ตอนย่อย ดังนี้ องค์ประกอบที1่ การวิเคราะห์และออกแบบ มี 8 ขัน้ ตอนย่อย องค์ประกอบที่ 2 การด�ำเนินการสอน มี 4 ขั้นตอนย่อย องค์ประกอบที่ 3 ผลลัพธ์ และองค์ ป ระกอบที่ 4 การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ย้อนกลับมี 3 ขั้นตอนย่อย 2) ผลการประเมิน ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศหลังการเรียน ด้วยรูปแบบการเรียนการสอนฯ สูงกว่าก่อนการ เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนฯ ที่ระดับ นัยส�ำคัญ.05 3) ผลการประเมินความคงทน ในการเรี ย นพบว่ า คะแนนประเมิ น ทั ก ษะ หลังเรียนแตกต่างจากคะแนนประเมินทักษะ หลังเรียน 2 สัปดาห์ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ .05 4) ความพึงพอใจต่อรูปแบบการเรียน การสอนแบบบูรณาการแบบเธรดอยู่ในระดับ มากที่สุดคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.69

ค�ำส�ำคัญ : รูปแบบการเรียนการสอน / การ บูรณาการแบบเธรด / ทักษะด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ

Abstract

The purposes of this research were to: 1) develop the threaded integrated instructional model to enhance information technology skill for nursing students of private university; 2) evaluate information technology skills after implementing learning and teaching with the threaded integrated instructional model; 3) identify the retention rate of students after the threaded integrated instructional model had been completed for two weeks ; and 4) determine the student’s satisfaction in the threaded integrated instructional model to enhance information technology skills for nursing students of private university. The sample of this research was thirty nursing students who were chosen by applying purposive sampling technique. There were ten processes for developing research design. Firstly, the researcher acquired related literature and previous research to support the research hypotheses. Secondly, the composites เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

87


of the threaded integrated instructional model were developed. Thirdly, the quality of threaded integrated instruction model was explored. Fourthly, one-to-one testing of the threaded integrated instruction model was implemented. Fifthly, the first revision of the instructional model was completed. Sixthly, the focus group for testing the threaded integrated instruction model was set up. Seventhly, the second revision of the instructional model was done. Eighthly, the threaded integrated instructional model was implemented for the field testing. Ninthly, the results from implementation of the threaded integrated instructional model was concluded and discussed. Lastly, the threaded integrated instructional model was validated by the experts. After the processes have completed, the inferential statistical analysis in a form of dependent sample t-test was utilized for hypothesis testing. The results have yield six conclusions, which revealed that 1) the threaded integrated instructional model for developing the information technology skills of nursing students of a private university comprised of 4 main components with 15 steps. The first 88

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

component is the analysis and design with 8 steps. The second component is teaching with 4 steps. The third component is the result, while the fourth component is the feedback with 3 steps; 2) The results of the information technology skills assessment posttest scores was statistically significant different than the pretest scores (p < .05); 3) The results of learning retention posttest at the end of semester was statistically significant different from the posttest scores when they completed the posttest at the two weeks period (p < .05); and 4) The mean of satisfaction of the sample group was at a 4.69, which was rated as the extremely satisfaction.

บทน�ำ

ปั จ จุ บั น โลกได้ วิ วั ฒ นาการเข้ า สู ่ ยุ ค สารสนเทศ (Information age) อย่างเต็มตัว การเพิ่ ม จ� ำ นวนข้ อ มู ล ข่ า วสารสารสนเทศ โดยเฉพาะด้ า นธุ ร กิ จ และการบริ ก ารมี ม าก ท�ำให้ผคู้ นต้องหันมาพึง่ พาเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง เทคโนโลยี ส ารสนเทศ มี ค วามสามารถที่ จ ะช่ ว ยในการปฏิ บั ติ ท าง การพยาบาล (Levett-Jones et al., 2009) กระทรวงสาธารณสุ ข ได้ มุ ่ ง เน้ น การพั ฒ นา สารสนเทศโดยได้ มี ก ารออกกรอบนโยบาย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวง


สาธารณสุข ปี 2556 - 2565 ที่มุ่งเน้นพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบ สุ ข ภาพของประเทศ รวมไปถึ ง การพั ฒ นา ระบบข้ อ มู ลข่ าวสารสุข ภาพ การสร้างเสริม นวัตกรรมบริการ และการวิจัยระบบเครื่องมือ และอุปกรณ์ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพระบบบริการ สาธารณสุข โดยเน้นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ในกระบวนการจัดการ การให้บริการ และการ เผยแพร่งานสาธารณสุข (กระทรวงสาธารณสุข, 2555) ทั้งนี้ผู้ที่เลือกเรียนสายวิชาชีพพยาบาล ไม่คาดคิดว่าตนเองต้องใช้ความสามารถด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศในการท�ำงานด้วย และ ประกอบกับการพัฒนาอย่างรวดเร็วและมีการ ปรับเปลีย่ นตลอดเวลาของเทคโนโลยีสารสนเทศ ภายในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามามีบทบาทในการพยาบาลเป็นอย่างมาก เพือ่ เตรียมความพร้อมอย่างเพียงพอของพยาบาล ในปั จ จุ บั น และอนาคตการพั ฒ นาคณาจารย์ และการเรี ย นการสอนในการใช้ เ ทคโนโลยี เพื่อวิชาชีพพยาบาลจึงเป็นสิ่งจ�ำเป็นอย่างมาก (Diane N. Nguyen ,2011) นักศึกษาพยาบาล ศาสตร์จะต้องมีทกั ษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อยู ่ ใ นระดั บ ดี เนื่ อ งจากผู ้ ป ระกอบการหรื อ ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชามี ค วามคาดหวั ง ในบั ณ ฑิ ต ไทย ยุ ค ศตวรรษนี้ จ ะต้ อ งสามารถท� ำ งานโดยใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศได้เป็นอย่างดี สามารถ ท�ำงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครือ่ งมือ ได้อย่างบูรณาการและมีประสิทธิภาพ ถึงแม้ว่าสถาบันการศึกษาในปัจจุบัน มีรายวิชาศึกษาทั่วไปให้นักศึกษาเรียนเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ แต่เหล่านั้นไม่ส่งผลดี เท่าที่ควรต่อนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ พวกเขา ไม่ ส ามารถน� ำ ความรู ้ ที่ ไ ด้ รั บ ไปปฏิ บั ติ ง าน วิชาชีพได้ (Eley et al., 2008) นักศึกษาพยาบาล ศาสตร์มักประสบปัญหาเมื่อไปปฏิบัติงานจริง ไม่สามารถน�ำความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทีเ่ รียนมาไปใช้ได้และยังประสบปัญหาขาดความ คงทนในการเรียนรู้อีกด้วย (Barry Ip, 2007) สรุ ป ได้ ว ่ า ปั ญ หาหลั ก ที่ ส� ำ คั ญ คื อ นั ก ศึ ก ษา พยาบาลไม่สามารถเชื่อมโยงความรู้ที่เรียนมา กั บ การในไปใช้ ใ นวิ ช าชี พ ได้ แ ละยั ง มี ป ั ญ หา ความคงทนในการเรียนรู้อีกด้วย การเรี ย นการสอนแบบบู ร ณาการ แบบเธรดสามารถเรียงร้อยสาระความรูห้ ลากหลาย มารวมกั น รวมถึ งเรีย งร้ อยทัก ษะสัง คมหรือ ทักษะทางวิชาชีพร่วมกับสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ โดยจัดล�ำดับและแทรกสอดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผเู้ รียนเกิดทักษะตามทีก่ ำ� หนดเป้าหมายหลัก ไว้ ไ ด้ ซึ่ ง เป็ น คุ ณ สมบั ติ ข องการบู ร ณาการที่ แตกต่างจากการบูรณาการแบบอืน่ ๆ ดังทีแ่ สดง ในตารางที่1

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

89


ตารางที่ 1 ความแตกต่างของการบูรณาการทางการศึกษาแบบต่าง ๆ แบบ Webbed

แบบ Threaded

แบบ Networked

เสมือนการมองผ่านกล้องดูดาว

เสมือนการมองผ่านแว่นขยาย

เสมือนการมองผ่านปริ ซึม

เป็ นการมองภาพกว้างของหัวเรื่ อง Theme

เป็ นการใช้ทกั ษะเป็ นตัวกาหนด เนื้อหา

เป็ นการยึดความสนใจของผูเ้ รี ยนเป็ น หลัก

หัวเรื่ องต้องมีความทันสมัยหรื อตาม เทศกาล

ทักษะต้องเป็ นไปตามความต้องการ ของกลุ่มเป้ าหมาย

หัวเรื่ องต้องมีความเชื่อมโยงได้หลาย มิติ

ตัวอย่างหัวข้อ: วันพ่อ

ตัวอย่างทักษะหลัก: ทักษะคานวณ สาหรับพยาบาล

ตัวอย่างหัวข้อ: ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ข้อดี: สามารถนาไปใช้ในการสอน ปกติได้เลย

ข้อดี: สามารถเชื่อมโยงได้หลายๆวิชา ข้อดี: ผูเ้ รี ยนเป็ นผูเ้ ชื่อมโยงความรู ้เอง โดยไม่มีขอ้ จากัด ผ่านผูเ้ ชี่ยวชาญ

ข้อเสี ย: หัวเรื่ องต้องมีความใหญ่และ น่าสนใจเพียงพอดึงดูดผูเ้ รี ยน

ข้อเสี ย: ไม่สามารถแทรกในการเรี ยน ตามปกติได้ทนั ที

ข้อเสี ย: ผูเ้ รี ยนต้องมีความมุ่งมัน่ ใน การเรี ยนและหาคาตอบ

ฒนารู แบบการเรี ่อพัฒนาทักษะ วัตถุประสงค์รณาการแบบเธรดเพื การวิจัย ดัดังงนันั้ น้ นหากสามารถพั หากสามารถพั ฒปนารู ป แบบยนการสอนแบบบู ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศของนั กศึกษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิท1) ยาลัยเพืเอกชนแห่ ่ งได้ จะเป็ยนแนวทาง อ่ พัฒนารูงปหนึแบบการเรี นการสอน การเรี ย นการสอนแบบบู ร ณาการแบบเธรด ฒนาทักกษะด้ ษะด้าานเทคโนโลยี เพืร่อณาการแบบเธรด(Threaded)เพื ให้นกั ศึกษาพยาบาลศาสตร์ เป็ นที่ยอ่ อมรั แบบบู พัฒบนา เพืในการพั ่ อ พั ฒ นาทั นเทคโนโลยีสารสนเทศที ส ารสนเทศ่เหมาะสม และเป็กนศึบุกคษาพยาบาลศาสตร์ ลากรที่มีประสิ ทธิภาพขององค์ รสาธารณะสุ ยุคใหม่ ต่อไป านเทคโนโลยี สารสนเทศของนักศึกษา ของนั ม หาวิ ทกยาลั ย ทักขษะด้ เอกชนแห่งหนึ่งได้จะเป็นแนวทางในการพัฒนา พยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเอกชน ถุประสงค์ การวิจัย ส ารสนเทศที่ เ หมาะสม 2) เพื่ อ ศึ ก ษาคะแนนทั ก ษะด้ า น ทัวักตษะด้ านเทคโนโลยี เพื่อพัฒนารู ปแบบการเรี รณาการแบบเธรด(Threaded)เพื พัฒวนาทั ษะ สารสนเทศหลังการเรีย่อนด้ ยรูปกแบบ เพื่อให้นักศึ1)กษาพยาบาลศาสตร์ เป็นยนการสอนแบบบู ที่ยอมรับ เทคโนโลยี ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศของนั ศึกษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิยทนการสอนแบบบู ยาลัยเอกชน ร ณาการแบบเธรด และเป็ นบุคลากรที ่มีประสิทธิภกาพขององค์ กร การเรี 2) เพื่อศึกษาคะแนนทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศหลังการเรี ยนด้วยรู ปแบบการเรี ยนการ (Threaded) เพื่อพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยี สาธารณะสุขยุคใหม่ต่อไป สอนแบบบูรณาการแบบเธรด(Threaded) เพื่อพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีส ารสนเทศของนัก ศึกษา พยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเอกชน

90

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


สารสนเทศของนั ก ศึ ก ษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอกชน 3) เพื่อศึกษาความคงทนในการเรียนรู้ ของผู้เรียนหลังการเรียนด้วยรูปแบบการเรียน การสอนแบบบูรณาการแบบเธรด (Threaded) เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ของนั ก ศึ ก ษาพยาบาลศาสตร์ ม หาวิ ท ยาลั ย เอกชน 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียน ต่อการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบ บูรณาการแบบเธรด (Threaded) เพื่อพัฒนา ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษา

พยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเอกชน

กลุ่มตัวอย่าง

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในขั้นตอนการทดลอง ภาคสนามประกอบด้วยนักศึกษาระดับปริญญาตรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 สาขาวิชา พยาบาลศาสตร์ จ�ำนวน 30 คน โดยใช้วิธีการ เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) คือ นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนเรียนในรายวิชา หลั ก สู ต รภาษาไทยทั้ ง หมด มี เรี ย นเฉพาะ วิ ท ยาเขตนครปฐม และไม่ มี ก ารฝึ ก ปฏิ บั ติ นอกสถานที่

กรอบแนวการคิดการวิจัย หลักการวิเคราะห์สภาพปัจจุบันและความคาดหวัง (gap analysis) ของการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากรในกลุ่มสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ หลักการเรียนการสอนแบบบูรณาการแบบเธรด Lake (2000), Fogarty(1991), ทิศนา แขมมณี (2547) การเรียนการสอนที่ใช้ในการฝึกทักษะอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยก�ำหนด เนื้อหาสาระหรือกิจกรรมการเรียนการสอน ในแต่ละกลุ่มสาระให้สัมพันธ์กับทักษะที่ก�ำหนดขึ้น ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งได้มาจากผลการวิเคราะห์สถานะสภาพและความคาดหวัง ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบหลัก หลักการออกแบบระบบการเรียนการสอนวิธีระบบ Klausmeir (1971), Gerlach & Ely (1980), Brown, Lewis & Harcleroad (1985), Gagné, Briggs, & Wager (2005).

รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์

ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ, ความคงทนในการเรียนรู้, ความพึงพอใจของผู้เรียน

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

91


ขั้นตอนในการวิจัยและพัฒนา

ในการท�ำวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการ ตามหลักการขัน้ ตอนของการวิจยั และการพัฒนา ของ Borg and Gall (1979 : 626-637) สุพกั ตร์ พิบลู ย์ (2549:43-46) และบุญชม ศรีสะอาด (2549) ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาข้อมูลและเอกสาร ที่เกี่ยวข้องเพื่อก�ำหนดนวัตกรรมทางการศึกษา ที่จะท�ำการวิจัยและพัฒนา ขั้นตอนที่ 2 พัฒนารูปแบบขั้นต้น (ร่าง) รูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการแบบเธรด (Threaded) เพื่อพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยี สารสนเทศของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ขัน้ ตอนที่ 3 การหาคุณภาพร่างรูปแบบ การเรี ย นการสอนแบบบู ร ณาการแบบเธรด (Threaded) เพื่อพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยี สารสนเทศของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ขั้นตอนที่ 4 ทดลองใช้รูปแบบการเรียน การสอนแบบบูรณาการแบบเธรด (Threaded) เพือ่ พัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของ นักศึกษาพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเอกชน ครั้งที่ 1 ทดลองแบบเดี่ยว ขั้นตอนที่ 5 ปรับปรุงรูปแบบการเรียน การสอนครั้งที่ 1 ขั้นตอนที่ 6 ทดลองใช้รูปแบบการเรียน การสอนแบบบูรณาการแบบเธรด (Threaded) เพือ่ พัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของ นักศึกษาพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเอกชน ครั้งที่ 2 ทดลองแบบกลุ่ม ขั้นตอนที่ 7 ปรับปรุงรูปแบบการเรียน การสอนครั้งที่2 92

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

ขั้นตอนที่ 8 ทดลองใช้รูปแบบการเรียน การสอนแบบบูรณาการแบบเธรด (Threaded) เพือ่ พัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของ นักศึกษาพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเอกชน ครั้งที่ 3 ทดลองภาคสนาม ขั้นตอนที่ 9 สรุปผลและอภิปรายผล ขั้นตอนที่ 10 รับรองรูปแบบการเรียน การสอนโดยผู้เชี่ยวชาญ

ผลการวิจัย

ผลการศึ ก ษาเอกสารต� ำ รา งานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง จากแนวคิ ด และหลั ก การของ นักวิชาการ และนักการศึกษา จากการวิ เ คราะห์ แ ละสั ง เคราะห์ องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนแบบ บูรณาการแบบเธรด และได้สรุปองค์ประกอบ ของรูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการ แบบเธรด ดังนี้ 1. การออกแบบระบบการเรียนการสอน ของ Klausmeir (1971), Gerlach and Ely (1980), Smith and Ragan (1999) , Gerlach and Ely (1980), Knirk and Gustafson (1986), Gagné, Briggs and Wager (1992), Kemp, Morrison and Ross (1994) , Dick and Carey (2001) , สงัด อุทรานันท์ (2525, หน้า 5) และฉลอง ทับศรี (2539 : 90) 2. การจั ด การเรี ย นการสอนแบบ บูรณาการของ Lake (2004, p.4), Fogarty (1991), Schnellert, Butler and Higginson (2007), สิริพัชร์ เจษฎาวิโรจน์ (2546, หน้า 27),


ธีระชัย ปูรณโชติ (2544), ส�ำลี รักสุทธี และคณะ (2544) , สิรชิ ยั นัยกองศิริ (2554) , สุวทิ ย์ มูลค�ำ (2544) และหทัยกาญจน์ ส�ำรวจหันต์ (2549) 3. การจั ด การเรี ย นการสอนแบบ บูรณาการแบบเธรด (Threaded) ของ Fogarty (1991), พูนสุข อุดม (2548), จิราภรณ์ หนูสวัสดิ์ (2554) และเพราพรรณ โกมลมาลย์ (2541) 4. การจั ด การเรี ย นการสอนวิ ช าชี พ พยาบาล ของ Murphy and Timmius (2008), พี ร ะนั น ท์ จี ร ะยิ่ ง มงคล (2551) และภาวิ นี เสาะสืบ (2551) 5. การจั ด การเรี ย นการสอนวิ ช า เทคโนโลยีสารสนเทศ ของ ทิพเนตร ขรรค์ทพั ไทย (2554), วรัท พฤกษากุลนันท์ (2552) และ สายสุรีย์พร เวหะชาติ (2555) ผลการสังเคราะห์หาองค์ประกอบ ขัน้ ตอน หรือกิจกรรมการเรียนการสอนที่จ�ำเป็นในการ พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการ แบบเธรด พบว่ามีขนั้ ตอนหรือกิจกรรมการเรียน การสอนที่ส�ำคัญ คือมีความถี่มากสุดทั้งหมด 6 ขั้นตอนหรือกิจกรรมการเรียนการสอนคือ 1) การก�ำหนดจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ 2) การวิเคราะห์ขอ้ มูลย้อนกลับ 3) การจัดเตรียม ทรัพยากร วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือต่าง ๆ 4) การทดสอบหรือประเมินวัดสัมฤทธิผ์ ล 5) การ

จัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ 6) การก�ำหนด กิจกรรมที่จะใช้ในการเรียนการสอน องค์ประกอบหรือขั้นตอนด�ำเนินการ ของรูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาจ�ำเป็น ต้องค�ำนึงถึงการน�ำไปใช้จริง วิธีการสอน และ บริบทของทักษะ สาระและเนื้อหาที่ใช้ในการ พั ฒ นาอี ก ด้ ว ย จึ ง ต้ อ งน� ำ หลั ก การแนวคิ ด ที่ สอดคล้องกัน มาก�ำหนดเป็นองค์ประกอบหรือ ขั้นตอนด�ำเนินการเพิ่มเติม

ผลการตรวจสอบคุ ณ ภาพด้ า นความ เหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอน ที่พัฒนาขึ้น ประเมิ น ความเหมาะสมและความ เป็นไปได้ของรูปแบบการเรียนการสอนทีพ่ ฒ ั นาขึน้ ผู้วิจัยท�ำการปรับปรุงและน�ำร่างต้นแบบของ รู ป แบบการเรี ย นการสอนแบบบู ร ณาการ แบบเธรดเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศของนั ก ศึ ก ษาพยาบาลศาสตร์ ที่พัฒนาขึ้นเสนอผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ จ�ำนวน 7 ท่าน โดยการสนทนากลุม่ เมือ่ อภิปราย และวิพากษ์รปู แบบการเรียนการสอนแล้ว ได้ทำ� การประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ ของรู ป แบบการเรี ย นการสอนที่ พั ฒ นาขึ้ น ซึ่งปรากฏผลดังตารางที่ 2

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

93


ตารางที่ 2 ผลการประเมินคุณภาพร่างรูปแบบการเรียนการสอนด้านความเหมาะสมและ ความเป็นไปได้ ระดับความเหมาะสมในการปฏิบัติ รายการประเมิน S.D. แปลความหมาย ส่วนที่ 1 Input

1) วิเคราะห์สถานะสภาพ 2) วิเคราะห์เนื้อหา 3) การก�ำหนดกลวิธีการน�ำเสนอและวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 4) เลือกและจัดอันดับเนื้อหาวิชา 5) ก�ำหนดมาตรฐานผู้สอน 6) ก�ำหนดความรู้พื้นฐานผู้เรียน 7) การก�ำหนดเกณฑ์การวัดผล 8) เตรียมสื่อและกิจกรรมการเรียนการสอน

ส่วนที่ 2 Process 9) ขั้นน�ำ 10) ขั้นปฏิบัติการ 11) ขั้นกิจกรรมสรุป 12) ขั้นประเมินผล

ส่วนที่ 3 ผลลัพธ์

13) ค่าประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนการสอน (E1/E2) 14) คะแนนทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

ส่วนที่ 4 ขั้นตอนข้อมูลย้อนกลับ

15) การวิเคราะห์ผลการประเมินทักษะ 16) การประเมินการสอน 17) การติดตามผลความคงทนในการเรียนรู้

เฉลี่ยรวม จากตารางที่ 2 ค่าประเมินของความ คิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อรูปแบบการเรียน การสอนในแต่ละข้อมีคา่ อยูร่ ะหว่าง 3.71 - 4.86 ซึง่ อยูใ่ นระดับมากและมากทีส่ ดุ ในรายการประเมิน 94

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

4.71 4.86 4.71 4.71 4.57 4.86 4.86 4.71

0.76 0.38 0.49 0.49 0.53 0.38 0.38 0.49

เหมาะสมมากที่สุด เหมาะสมมากที่สุด เหมาะสมมากที่สุด เหมาะสมมากที่สุด เหมาะสมมากที่สุด เหมาะสมมากที่สุด เหมาะสมมากที่สุด เหมาะสมมากที่สุด

4.71 4.86 4.57 4.57

0.49 0.38 0.79 0.53

เหมาะสมมากที่สุด เหมาะสมมากที่สุด เหมาะสมมากที่สุด เหมาะสมมากที่สุด

3.71 0.49 3.71 0.49

เหมาะสมมาก เหมาะสมมาก

4.57 0.53 4.71 0.49 4.71 0.49

เหมาะสมมากที่สุด เหมาะสมมากที่สุด เหมาะสมมากที่สุด

4.57 0.38

มากที่สุด

แสดงว่ารูปแบบการเรียนการสอนทีพ่ ฒ ั นามีความ เหมาะสม โดยมีผเู้ ชีย่ วชาญได้ให้ขอ้ เสนอแนะไว้ ผู ้ วิ จั ย ได้ ร วบรวมเพื่ อ น� ำ ไปปรั บ ปรุ ง รู ป แบบ การเรียนการสอนให้สมบูรณ์ขึ้นจากนั้นผู้วิจัย


ได้ เ สนอร่ า งรู ป แบบการเรี ย นการสอนต่ อ คณะ ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการควบคุมดุษฎี กรรมการควบคุ มดุษฎีนิพนธ์ ปรุงแก้ พนธ์อ เสนอแนะของคณะกรรมการควบคุ จึงได้เป็นรูปแบบการเรียนการสอนตาม คณะกรรมการควบคุ มดุ ษและปรั ฎีนิพนธ์ บและปรั บปรุไขงแก้ไนิขตามข้ มดุษฎี ่ 1 นิพนธ์ จึงได้เป็ นรู ปแบบการเรี ยนการสอนตามภาพทีภาพที ่1

องค์ประกอบที่1.การวิเคราะห์ และออกแบบ 1) วิเคราะห์สถานะสภาพ 2) วิเคราะห์ผังความคิดโดยใช้ทักษะ เป็นแกน 3) การกาหนดกลวิธีการนาเสนอ และวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 4) เลือกและจัดอันดับเนื้อหาวิชา 5) กาหนดมาตรฐานผู้สอน 6) กาหนดความรู้พื้นฐานผู้เรียน 7) การกาหนดเกณฑ์การวัดผล

8) เตรียมสื่อและกิจกรรมการเรียน การสอนตามแนวทางการเรียน

องค์ประกอบที่2 การดาเนินการสอน ดาเนินการสอนตามแนวทางการเรียนแบบบูรณาการ 9) ขั้นนา

10) ขั้นปฏิบัติการ

11) ขั้นกิจกรรมสรุป

12) ขั้นประเมินผล

องค์ประกอบที่3 ผลลัพธ์ - ค่าประสิทธิภาพของรูปแบบการ จัดการเรียนการสอน (E1/E2) - คะแนนทักษะด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ

ภาพที่1 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการแบบเธรด เพื่อพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

95


96

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา รู ปแบบการเขียนรายงาน แผนการพยาบาล

การสร้างตาราง

การจัดการข้อความ

การตกแต่งเอกสาร

การกาหนดเค้าโครง หน้ากระดาษ

ภาพที่2 2 แผนผั แผนผังความคิ ดโดยใช้ นแกนโดยผู เ้ ชี่ย้เวชาญ ภาพที งความคิ ดโดยใช้ทกั ทษะเป็ ักษะเป็ นแกนโดยผู ชี่ยวชาญ การจัดรู ปแบบความ สวยงาม

การป้องกันและกาจัดไวรัส

การเสริมสร้ างสุ ขภาพชุมชน

การออกแบบงาน นาเสนอ

การสร้างงาน นาเสนอ

การเผยแพร่สื่องาน สาธารณสุ ข

การจัดการหน้าต่าง windows

หน้าที่ของ ระบบปฏิบตั ิการ

การจัดระเบียบข้อมูลใน

การควบคุมอุปกรณ์ การจัดการอุปกรณ์ การค้นหา File

ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

บทบาทหน้าที่ของไอทีก บั พยาบาล

ประโยชน์ เมือ่ ประยุกต์ใช้กบั งานพยาบาล

ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับงานพยาบาล

การ formatler

การใช้งานปุ่ม start และ toolbar

การสื บค้นข้อมูล

นาข้อมูลจากอินเตอร์ เน็ ต มาใช้งานได้

การใช้งานอินเตอร์ เน็ ต เพื่อเผยแพร่ความรู ้

การใช้ งานอินเตอร์ เนตเพือ่ การพยาบาล

การใช้งานอีเมลล์

การเลือกแหล่งข้อมูล

การใช้อินเตอร์ เน็ ตเพื่อ บริ การทางพยาบาล

การประสานงานกับ user

ความสาคัญ

การจัดสรรทรัพยากร

ทักษะด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศของ นักศึกษาพยาบาลศาสตร์

การตั้งค่า Browser

ประโยชน์

การตั้งค่า Fire wall

การสร้างสื่ อนาเสนอ

การใช้ภาพนิ่ งและ วัตถุเคลื่อนไหว

นวัตกรรมการพยาบาลอนามัยชุมชน

การให้ความรู ้แก ่ชุมชน

การจัดการข้อมูล

งานด้ านเอกสารทางการพยาบาล

การคานวณโดยฟั งก์ชนั่

การสร้างแผ่นพับความรู ้

การสร้างกราฟและ แผนภูมิ

การใช้ตารางเพื่อสร้าง แบบฟอร์ ม

การบันทึกทางการ พยาบาล

ปรับปรุ ง/อัพเดทโปรแกรม

ตรวจสอบ Handy Drive

ภาพที่1 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการแบบเธรดเพื่อพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของ นักศึกษาพยาบาลศาสตร์


ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพของรูปแบบ การเรียนการสอนแบบบูรณาการแบบเธรด เพือ่ พัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ส�ำหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์

ในการวิจัยครั้งนี้ได้มีการก�ำหนดเกณฑ์ ของประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอน แบบบูรณาการแบบเธรด คือ 85/85 ซึ่งในการ วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียน การสอนแบบบูรณาการแบบเธรด โดยการน�ำ ผลของการทดสอบท้ า ยหน่ ว ยการเรี ย นของ กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 30 คนจากทั้ง 9 หน่วย การเรียน และการประเมินทักษะเมือ่ เรียนทุกหน่วย การเรียนเสร็จสิ้นแล้ว (Posttest) ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของ รูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการแบบเธรด ระหว่างกระบวนการเรียน ของแต่ล ะหน่วย การเรียน (E1) พบว่า ประสิทธิภาพของรูปแบบ การเรี ย นการสอนแบบบู ร ณาการแบบเธรด ระหว่างกระบวนการเรียน (E1) มีคา่ เท่ากับ 84.76 และประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอน แบบบูรณาการแบบเธรดหลังกระบวนการเรียน (E2) มีค่าเท่ากับ 84.63 ดังนั้นผลการทดลอง หาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอน แบบบู ภาพทีย่ 3นการสอนแบบบู แผนภาพเชิงมโนทั ศน์ นภาพเชิงมโนทัศน์ของการเรี รณาการแบบเธรดเพื ่อพัรฒณาการแบบเธรดเพื นาทักษะด้าน ่อพัฒนาทักษะด้าน ของการเรี ยนการสอนแบบบู เทคโนโลยี สารสนเทศของนั กศึรกณาการแบบเธรด ษาพยาบาลศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศส�ำหรับนักศึกษาพยาบาล เพื่อพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ศาสตร์ มีค่าเท่ากับ (E1/E2) คือ 84.76 /84.63 หาประสิ ทธิภาพของรู ปของนั แบบการเรี ยนการสอนแบบบูรณาการแบบเธรดเพื อ่ พัฒนาทัก่กษะ�ำหนดไว้ คือ 85/85 เป็นไปตามมาตรฐานที กศึกษาพยาบาลศาสตร์ สารสนเทศสาหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ วิจยั ครั้งนี้ได้มีการกาหนดเกณฑ์ของประสิ ทธิภาพของรู ปแบบการเรี ยนการสอนแบบ เธรด คือ 85/85 ซึ่งในการวิเคราะห์หาประสิ ทธิภาพของรู ปแบบการเรี ยนการสอนแบบ เธรด โดยการนาผลของการทดสอบท้ายหน่วยการเรี ยนของกลุ่มตัวอย่าง จานวน 30 คน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา 97 การเรี ยน และการประเมินทักษะเมื่อเรี ยนทุกหน่วยการเรี ยนเสร็ จสิ้ นแล้ว(Posttest)


ผลการประเมิ น ทั ก ษะหลั ง การเรี ย น 2 สัปดาห์ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ด้วยรูปแบบการเรียนการสอน น�ำผลการประเมินทักษะทีไ่ ด้มาวิเคราะห์ ผลระดับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง เปรียบเทียบผลต่างของผลการประเมินทักษะ ที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอน หลังเรียน (Posttest) กับ ผลการประเมินทักษะ ก่อนเรียน (Pre-test) พบว่าคะแนนประเมิน ทักษะก่อนเรียนเฉลีย่ คือ 16.03 คะแนนประเมิน ทักษะหลังเรียนเฉลี่ยคือ 67.70 ผู้วิจัยท�ำการ ทดสอบความแตกต่างของคะแนนดังกล่าว ผลการ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติทีคู่ (dependent t-test) พบว่ า ผลการประเมิ น ทั ก ษะด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศหลังการเรียนด้วยรูปแบบการเรียน การสอนฯ สูงกว่าก่อนการเรียนด้วยรูปแบบ การเรียนการสอนฯที่ระดับนัยส�ำคัญ.05

หลั ง จากที่ ผู ้ เรี ย นท� ำ การทดสอบเพื่ อ ประเมินทักษะหลังเรียน (Posttest) เสร็จเรียบร้อย ผู้วิจัยได้แจกแบบสอบถาม เพื่อหาระดับความ พึ ง พอใจของผู ้ เรี ย นที่ มี ต ่ อ รู ป แบบการเรี ย น การสอนแบบบูรณาการแบบเธรดฯ พบว่า โดยรวม กลุม่ ตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการเรียน การสอนแบบบูรณาการแบบเธรดอยู่ในระดับ ค่อนข้างมาก (คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.69) และ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้ว พบว่าทุกข้อ อยู่ใน ระดับความพึงพอใจค่อนข้างมากทั้งหมด โดยมี ค่าเฉลี่ยในแต่ละส่วนอยู่ในช่วง 4.33 - 4.83

ผลการประเมินความคงทนในการเรียนรู้ หลังการเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอน อภิปรายผล ให้ผู้เรียนท�ำการทดสอบเพื่อประเมิน ทักษะหลังเรียน (Posttest) เมือ่ ผูเ้ รียนเรียนครบ ทุกหน่วยการเรียนแล้ว ให้ผเู้ รียนท�ำการทดสอบ เพือ่ ประเมินทักษะหลังเรียนโดยใช้วธิ กี ารปฏิบตั ิ ตามแบบประเมิน มีการประเมินทัง้ หมด 85 คะแนน ซึ่งผลการประเมินทักษะหลังเรียน เมื่อท�ำการ ทดสอบเพื่อประเมินทักษะหลังเรียนเรียบร้อย แล้วจากนัน้ 2 สัปดาห์ ท�ำการประเมินซ�ำ้ อีกครัง้ โดยแบบประเมินทักษะชุดเดิม พบว่าคะแนน ประเมินทักษะหลังเรียนเฉลี่ยคือ 67.70 และ คะแนนประเมินทักษะหลังเรียน 2 สัปดาห์เฉลี่ย คือ 65.53 ดังนัน้ คะแนนประเมินทักษะหลังเรียน มากกว่ า คะแนนประเมิ น ทั ก ษะหลั ง เรี ย น 98

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

1. คะแนนประเมิ น ทั ก ษะหลั ง เรี ย น มากกว่าคะแนนประเมินทักษะก่อนเรียนเป็นไป ตามสมมติฐานการวิจัยที่ก�ำหนดไว้ ที่เป็นเช่นนี้ เพราะรูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการ แบบเธรดเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศของนั ก ศึ ก ษาพยาบาลศาสตร์ มีพัฒนาเครื่องมือตามหลังการวิจัยของ Borg และเครื่องมือได้ผ่านกระบวนการหาคุณภาพ และประสิ ท ธิ ภ าพ จึ ง ท� ำ ให้ ผู ้ เรี ย นเมื่ อ เรี ย น ผ่ า นรู ป แบบการเรี ย นการสอนที่ พั ฒ นาขึ้ น นี้ จะมีคะแนนประเมินทักษะหลังเรียนมากกว่า คะแนนประเมินทักษะก่อนเรียน และกิจกรรม การเรียนการสอนเน้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ


ด้วยตนเองโดยมีครูผสู้ อนเป็นผูแ้ นะน�ำ โดยภายใน กิจกรรมจะบูรณาการทฤษฎี ทักษะด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ กับงานทางการพยาบาลไว้ด้วยกัน เมื่อผู้เรียนเกิดการปฎิบัติจริงในชั้นเรียนแล้ว จะท�ำให้เห็นถึงการเชื่อมโยงความรู้กับงานใน วิชาชีพของตนเองได้ (ไพโรจน์ ตีรณธนากุล, 2545) 2. ผลการประเมินความคงทนในการ เรียนรูห้ ลังการเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอน แบบบูรณาการแบบเธรดเพื่อพัฒนาทักษะด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษาพยาบาล ศาสตร์ พบว่าคะแนนประเมินทักษะหลังเรียนคือ 67.70 มากกว่าคะแนนประเมินทักษะหลังเรียน 2 สัปดาห์ คือ 65.53 เนือ่ งจากอาจมีปจั จัยภายนอก รบกวนเพราะในช่ ว งที่ ผู ้ วิ จั ย ท� ำ การประเมิ น เพื่อหาความคงทนในการเรียนรู้นั้น เป็นช่วงที่มี การจัดงานฉลองเทศกาลปีใหม่ บรรยากาศและ กิจกรรมต่าง ๆ ไม่เอื้ออ�ำนวยต่อการตั้งสมาธิ เพือ่ ระลึกถึงความรูเ้ ดิม อย่างไรก็ตามเมือ่ พิจารณา จากค่าเฉลีย่ ของคะแนนประเมินทักษะหลังเรียน คือ 67.70 และคะแนนประเมินทักษะหลังเรียน 2 สัปดาห์คือ 65.53 พบว่ามีค่าคะแนนแตกต่าง กันเพียง 2.17 หรือมีการลดลงประมาณร้อยละ 3.20 ของคะแนนประเมินทักษะหลังเรียนทันที ซึง่ จะเห็นได้วา่ มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยเท่านัน้ แสดงว่าผู้เรียนยังสามารถระลึกถึงความรู้ได้ ในระดับดี 3. การเรียนการสอนแบบบูรณาการ แบบเธรดเน้นการเรียนการสอนทักษะที่จ�ำเป็น ในยุคหรือในช่วงสมัยนั้น ๆ การเรียนการสอน จะเน้นให้เกิดทักษะที่ก�ำหนดเป็นส�ำคัญโดยให้

ผูเ้ รียนสามารถเชือ่ มโยงทักษะทีไ่ ด้รบั กับวิชาชีพ ของตนเองได้ ไม่เน้นทฤษฎีตามต�ำรา ท�ำให้ผเู้ รียน รู้สึกไม่น่าเบื่อและอยากที่จะเรียนรู้เพื่อพัฒนา ทักษะของตนเอง (Fogasty,1991) ผูเ้ รียนสามารถ สร้างความรูค้ วามเข้าใจร่วมกันในการอภิปรายย่อย อภิปรายใหญ่และการสรุป จะท�ำให้ผเู้ รียนเกิดการ กระตือรือร้นในการเรียนและยังท�ำให้ผู้เรียน เห็ น ถึ ง ความเชื่ อ มโยงของสิ่ ง ที่ เรี ย นกั บ สิ่ ง ที่ เกิดขึน้ จริงในการท�ำงาน (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกั ดิ,์ 2546: 36 - 46) (Shoemaker, 2006:797, อ้างอิงใน วนิดา เจียระนัย, 2550)

ข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะทั่วไป 1. รู ป แบบการเรี ย นการสอนแบบ บู ร ณาการแบบเธรดเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะด้ า น เทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษาพยาบาล ศาสตร์ จ�ำเป็นต้องใช้ทรัพยากรในการเรียน การสอนหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิง่ คอมพิวเตอร์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผูว้ จิ ยั ต้องประสานงาน กับส�ำนักคอมพิวเตอร์สม�ำ่ เสมอเพือ่ ให้ทรัพยากร พร้อมใช้งาน แต่จะมีบางครั้งที่เกิดเหตุฉุกเฉิน ท�ำให้การเรียนการสอนล่าช้าออกไป 2. จ�ำนวนกลุ่มตัวอย่างควรมีจ�ำนวน เป็น 2 ใน 3 ของจ�ำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ ทัง้ หมดในห้องปฏิบตั กิ าร เนือ่ งจากหากมีปญ ั หา ที่ทรัพยากรหรือสื่อการเรียนการสอนผู้เรียน สามารถปรับเปลี่ยนใช้งานได้ ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. การจัดการเรียนการสอนแบบเธรด เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

99


มีคุณค่าและความส�ำคัญสามารถในไปจัดการ เรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะต่าง ๆ ที่วิชาชีพ ทางการพยาบาลต้องการ เช่น ทักษะการวิจัย ทักษะการคิดเชิงระบบ เป็นต้น 2. รู ป แบบการเรี ย นการสอนแบบ บู ร ณาการแบบเธรดเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะด้ า น

เทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษาพยาบาล ศาสตร์ สามารถน�ำไปวิจัยในวิชาชีพอื่น ๆ ได้ โดยผู้วิจัยสามารถส�ำรวจหาสถานะสภาพและ ความคาดหวังในวิชาชีพอื่น ๆ เพื่อน�ำมาพัฒนา ให้เหมาะสมกับแต่ละวิชาชีพต่อไป

บรรณานุกรม

กระทรวงสาธารณสุข. (2556). กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวง สาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๕๖–๒๕๖๕. [ออนไลน์]. สืบค้นเมือ่ วันที่ : 16 เมษายน 2556, จาก http:// www.nno.moph.go.th/downloads/policy/ict_master_plan_2556_2565.pdf. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546). การคิดเชิงบูรณาการIntergrative thinking. กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย จิราภรณ์ หนูสวัสดิ์. (2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ผ่านเว็บตามแนว ทฤษฎีการขยายความคิดเพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ความสามารถในการแก้ ปัญหา และการถ่ายโยง การเรียนรูข้ องผูเ้ รียนในระดับอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎี บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ฉลอง ทับศรี. (2539). จิตวิทยาพุทธิปัญญาเพื่อการออกแบบการเรียนการสอน. ชลบุรี: ภาควิชา เทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา. ทิพเนตร ขรรค์ทัพไทย. (2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานเพื่อการเรียน รู้รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัย ราชภัฏ. ปริญญาดุษฎีนิพนธ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตร์การสอน องค์ความรูเ้ พือ่ การจัดกระบวนการเรียนรูท้ มี่ ปี ระสิทธิภาพ. กรุงเทพมหานคร: ด่านสุทธาการพิมพ์. ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2548). รูปแบบการเรียนการสอน: ทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์. พีระนันท์ จีรพยิ่งมงคล. (2551). “แบบจ�ำลองการเรียนการสอนแบบบูรณาการ”. วารสารพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข. 19(1): 93-101. ไพโรจน์ ตีรณธนากุล. (2545). วิธีสอนทักษะปฎิบัติ. กรุงเทพฯ: ศูนย์สือเสริม. 100

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


วนิดา เจียระนัย. (2550). “การบูรณาการรายวิชาในหลักสูตรการอุดมศึกษา”. วารสารวิชาการ ศึกษาศาสตร์, 8(3): 8-17. ส�ำลี รักสุทธี ปราณี วรรณปะเก สนั่น แสงโทโพธิ์ พิกุล พรรณศิลป์ และอภิสิทธิ์ กิจเจริญศิลป์. (2544). เทคนิควิธีการพัฒนาหลักสูตรแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ: พัฒนาการศึกษา. สุพักตร์ พิบูลย์. (2549). การวิจัยและพัฒนาส�ำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา. นนทบุรี : จตุพร ดีไซด์. สุมาลี ชัยเจริญ และคณะ. (2547). การพัฒนารูปแบบการสร้างความรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. ขอนแก่น : โครงการวิจยั ประเภททุนอุดหนุนทัว่ ไป คณะศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแก่น. สิริชัย นัยกองศิริ.(2554). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี โดยบูรณาการสอนในสถานประกอบการ. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. หทัยกาญจน์ ส�ำรวจหันต์. (2549).การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยใช้แหล่งการ เรียนรู้ เรื่อง ถลกบาตร ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2รูปแบบ. วิทยานิพนธ์ศึกษา ศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร. Barry Ipa, Steve Jones and Gabriel Jacobs. (2007). Retention and application of information technology skills among nursing and midwifery students. Innovations in Education and Teaching International. 44(2): 199–210. Borg, Walter R. & Merigith, D. Gall. (1979). Educational Research: An Introduction. 5th ed., New York: Longman, Inc. Diane Nguyen . (2011). A Survey of Nursing Faculty Needs for Training in Use of New Technologies. Journal of Nursing Education. 50(4). Dick, W., Carey, L., & Carey, J. O. (2001). The Systematic Design of Instruction.(5th ed.). New York : Addison-Wesley, Longman. Eley, R., Fallon, T., Soar, J., Buikstra, E., & Hegney, D. (2008). “The status of training and education in information and computer technology of Australian nurses: A national survey”. Journal of Clinincal Nursing, 17 (20), 2758–2767. Fogarty, Robin. (1991). The Mindful School : How to Integrate the Curricula. Illinois : IRI/SkyLight Training and Publishing. Gagné, R. M., Briggs, L. J., & Wager, W. W. (1992). Principles of instructional design. เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

101


Fort Worth, TX: Harcourt, Brace Jovanovich College Publishers. Gerlach, V. S., & Ely, D. P. (1980).Teaching & media: A systematic approach. 2nd ed. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall. Glasser, W. (1998). Choice theory in the classroom. New York, NY: Harper Collins. Kemp, Morrison, & Ross (1994), Designing effective instruction. New York: Merrill, Macmillan collage. Klausmeier, H. J. & Ripple, R. E. (1971). Learning and human abilities. New York: Harper & Row. Knirk & Gustafson (1986), Instructional Design model. Retrieved June 20, 2015, from https://www.youtube.com/watch?v=3B33rirBd_g Levett-Jones, T., Kenny, R., Bourgeois, S., Hazelton, M., Kable, A., & Van Der Riett, P. (2009). Exploring the information and communication technology competence and confidence of nursing students. Nurse Education Today, 29(6): 612–616. Murphy and Timmius (2008), “Experience based learning (EBL): Exploring professional teaching through critical reflection and reflexivity”. Nurse Education Practice. 9(1):72-80. Schnellert, L., Butler. D., & Higginson, S. (2007). “Co-constructors of data, co-constructors of meaning: Teacher professional development in an age of accountability”. Teaching and Teacher Education, 24 (3): 725-750.

102

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


การพัฒนาบทเรียนตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การพัฒนาบุคลิกภาพในงานอาชีพ คหกรรมศาสตร์ ส�ำหรับนักศึกษาที่บกพร่องทางการได้ยิน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต Development of Lesson on e-Learning Environment on Personality Development for Home Economics Careers for Hearing Impaired Undergraduates Students of Rajabhat Suandusit University บทคัดย่อ

การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ 1) ศึกษา องค์ประกอบสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่งส�ำหรับ นักศึกษาที่บกพร่องทางการได้ยิน 2) พัฒนา บทเรียนตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง ส�ำหรับ นักศึกษาระดับปริญญาตรีที่บกพร่องทางการ ได้ยิน เรื่อง การพัฒนาบุคลิกภาพในงานอาชีพ คหกรรมศาสตร์ ให้มีประสิทธิภาพไม่ต�่ำกว่า เกณฑ์ 80/80 3) หาค่าดัชนีประสิทธิผลของ บทเรียนอีเลิร์นนิ่งที่พัฒนาขึ้น 4) ศึกษาความ พึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนจากบทเรียน อีเลิร์นนิ่งที่พัฒนาขึ้น 5) ศึกษาความคงทนในการ เรียนรู้ เมือ่ เรียนจากบทเรียนอีเลิรน์ นิง่ ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ หลังทดสอบครั้งแรก และผ่านไป 1 เดือน *

ฉัตรชัย บุษบงค์*

การด�ำเนินการวิจยั แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบสภาพแวดล้อม อีเลิร์นนิ่ง ส�ำหรับนักศึกษาที่บกพร่องทางการ ได้ยิน โดยการวิเคราะห์ และสังเคราะห์เอกสาร ระยะที่ 2 การพัฒนาบทเรียนตามสภาพแวดล้อม อีเลิรน์ นิง่ ทดลองกลับกลุม่ ตัวอย่าง กลุม่ เล็ก 3 คน แล้วปรับปรุง แล้วไปทดลองเป็นกลุม่ ย่อย จ�ำนวน 7 คน และปรับปรุง ระยะที่ 3 ทดลองใช้บทเรียน ตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่งกับกลุ่มตัวอย่าง 23 คน เพื่อหาประสิทธิภาพ ดัชนีประสิทธิผล ความพึงพอใจ และความคงทนในการเรียนรู้ ประชากรเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีทบี่ กพร่อง ทางการได้ยิน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

การศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

103


จ�ำนวน 70 คน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองมีจ�ำนวน 33 คน เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ได้แก่ 1) บทเรียน อีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การพัฒนาบุคลิกภาพในงานอาชีพ คหกรรมศาสตร์, ศึกษาองค์ประกอบของบทเรียน ตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง 2) แบบทดสอบ วั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น จ� ำ นวน 30 ข้ อ เป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก มีค่าความเชื่อมั่น ของแบบทดสอบทั้งฉบับที่ 0.80 3) แบบฝึกหัด ระหว่างเรียน 4) แบบประเมินคุณภาพด้านเนือ้ หา 5) แบบประเมิ น คุ ณ ภาพบทเรี ย นอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง และ 6) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ในการวิจัยคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบของ บทเรี ย นตามสภาพแวดล้ อ มอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง เรื่ อ ง การพัฒนาบุคลิกภาพในงานอาชีพคหกรรมศาสตร์ ส� ำ หรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ บ กพร่ อ งทางการได้ ยิ น มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ประกอบด้วย 13 องค์ประกอบ แบ่งเป็นองค์ประกอบสภาพ แวดล้อมอีเลิร์นนิ่งทั่วไป คือ (1) แนวการสอน หรื อ แผนการสอน ให้ นั ก ศึ ก ษาดาวน์ โ หลด (2) กระดานข่าว และห้องสนทนา (3) แบบทดสอบ ก่อนเรียนออนไลน์ (4) ต�ำรา หรือเอกสารการสอน ให้นกั ศึกษาดาวน์โหลด (5) สไลด์ หรือสือ่ ประกอบ การสอนให้นักศึกษาดาวน์โหลด (6) กิจกรรม ที่ นั ก ศึ ก ษาไปร่ ว มท� ำ นอกสถานที่ เ ป็ น วิ ดี โ อ หรือ เว็บลิงค์ และช่องทางให้นักศึกษาแสดง ความคิดเห็น (7) แบบทดสอบหลังเรียนออนไลน์ (8) การบ้านออนไลน์ (9) การประเมินผลทีผ่ สู้ อน 104

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

ตรวจออนไลน์ และมีชอ่ งทางให้นกั ศึกษารับรูไ้ ด้ ทางออนไลน์ องค์ประกอบสภาพแวดล้อมอีเลิรน์ นิง่ ส�ำหรับนักศึกษาที่ปกพร่องทางการได้ยิน คือ (1) การปฐมนิเทศเป็นวิดีโอคลิปในสัปดาห์แรก มีล่ามภาษามือ (2) คลิปวิดีโอการเรียนการสอน ประกอบด้วย หน้าจอภาษามือ ตัวอักษรบรรยาย สือ่ การสอนหรือรูปภาพขึน้ ขณะบรรยาย สามารถ คลิกเพื่อไปสู่การอธิบายเพิ่มเติม หรือ เชื่อมโยง ไปยังเว็บไซต์เพื่ออธิบายเพิ่มเติม (3) เอกสาร ที่บันทึกค�ำบรรยายในสัปดาห์นั้นให้นักศึกษา ดาวน์โหลด (4) วิดีโอ การปัจฉิมนิเทศออนไลน์ ในสัปดาห์สุดท้าย มีล่ามภาษามือ 2) บทเรียน ตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การพัฒนา บุคลิกภาพในงานอาชีพคหกรรมศาสตร์ ทีพ่ ฒั นาขึน้ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.72/81.16 ซึ่งเป็นไป ตามเกณฑ์ทกี่ �ำหนด เนือ้ หาในบทเรียนประกอบ ด้วย (1) การพัฒนาบุคลิกภาพ (2) มารยาท และการสมาคม และ (3) การแสดงความเคารพ 3) ค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรือ่ ง การพัฒนาบุคลิกภาพในงานอาชีพคหกรรมศาสตร์ที่พัฒนาขึ้นเท่ากับร้อยละ 70 4) ความ พึ ง พอใจของนั ก ศึ ก ษาต่ อ บทเรี ย นอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับมาก และ 5) นักศึกษา มีความคงทนในการเรียนรู้โดยผลการเรียนรู้ หลังทดสอบครั้งแรกและเมื่อเว้นช่วงไป 1 เดือน ไม่แตกต่างกัน สรุปได้ว่า บทเรียนตามสภาพแวดล้อม อีเลิรน์ นิง่ เรือ่ ง การพัฒนาบุคลิกภาพในงานอาชีพ คหกรรมศาสตร์ ส�ำหรับนักศึกษาที่บกพร่อง ทางการได้ยนิ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสติ เป็น


บทเรียนที่มีประสิทธิภาพสูงและมีประสิทธิผลดี ดังนั้นมหาวิทยาลัยที่มีนักศึกษาที่บกพร่องทาง การได้ยิน ควรน�ำแนวทางการพัฒนาบทเรียน ในลักษณะนี้ไปใช้ในการส่งเสริมให้นักศึกษา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และมีความ คงทนในการเรียนรู้ ค�ำส�ำคัญ: วิธีสอนแบบอีเลิร์นนิ่ง การพัฒนา วิ ธี ส อนแบบอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง นั ก ศึ ก ษาที่ บ กพร่ อ ง ทางการได้ยิน ระดับอุดมศึกษา

Abstract

The objectives of this study were 1) to study components of e-Learning for hearing impaired students, 2) develop an e-Learning environments model for hearing impaired undergraduates on Personality Development for Home Economics Careers to meet the 80/80 efficiency criterion, 3) examine the effectiveness index of the developed e-Learning model, 4) investigate students’ satisfaction towards the developed e-Learning model and 5) study learning retention after completing the course fromthe developed e-Learning model after one month. The research procedure was divided into three phases. The first phase was the development of A Lesson on e-Learning Environment by analyzing

and synthesizing related documents. The second phase trial Lesson on e-Learning Environment to small group 3 people and improve then try to a group of 7 people and improve. The third Phase trial Lesson on e-Learning Environment to sample 23 people for performance, effectiveness Index, satisfaction and learning retention. The populations were 70 first year hearing impaired undergraduates on Personality Development for Home Economics Careers in the academic year 2012 at Suandusit University. Samples of 33 students were derived from purposive sampling method. The research instruments were 1) the e-learning courseware for hearing impaired undergraduates on Personality Development for Home Economics Careers, investigating components by analyzing and synthesizing related documents; 2) an achievement test which included 30 items of 4 alternative choices with reliability (r) at 0.80; 3) Exercises between classes; 4) a quality assessment of courseware content; 5) an educational technology quality evaluation form of the developed courseware and 6) a questionnaire used to explore students’ satisfaction. The statistics used in this เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

105


current research were means, percentages, and standard deviations and t-test dependent samples. The results revealed as follows: 1) the e-learning environment on personality development for home economics careers for hearing impaired undergraduates of Rajabhat Suandusit University is comprised of 13 components was divided into: The e-learning environment in general are comprised of 9 components: (1) Teaching plan for download; (2) Web board and Chat Room; (3) A pretest online; (4) Text book and document for teaching for download; (5) Slide or media teaching for download; (6) Student activity video and comment; (7) Posttest online; (8) Homework online and (9) Online evaluation which students can check. The e-learning environment for Hearing Impaired Undergraduate Students are comprised of 4 components: (1) In the first week with an orientation video with sign language interpreters; (2) Video teaching: Screen Language Interpreter, Scrolling Subtitles, Picture or media, Hypertext or Hyperlink; (3) Lecture notes weekly for download and (4) Post-Training last week with sign 106

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

language interpreters. 2) The efficiency of the e-Learning environments model for hearing impaired undergraduates on Personality Development for Home Economics Careers was 80.72/81.16 which meets the setting criterion, Development of the content follows (1) Personality Development, (2) gaffe and association and (3) Homage 3) The effectiveness index of the developed e-Learning model was 70%. 4) the students’ satisfaction towards the developed e-learning model was high level and 5) the result of learning retention revealed that no statistically significant difference were found after one month retest. In conclusion, a lesson on e-learning environment on personality development in home economics careers for hearing impaired undergraduates, At Suandusit University was achieved high efficiency and effectiveness. It was encourage hearing impaired undergraduates to earn higher achievement and better retention. Keywords: E-Learning, Development Teaching Methods of e-Learning, Hearing impaired students, Higher Education


บทน�ำ

กระทรวงศึ ก ษาจึ ง ได้ จั ด ให้ ค นพิ ก าร ทางหูมโี อกาสได้รบั การศึกษาในหลาย ๆ รูปแบบ โดยเน้นผลส�ำเร็จในเชิงคุณภาพในการให้บริการ การศึกษาในคนพิการทั้งในและนอกระบบการ ศึกษา รวมทัง้ การศึกษาตามอัธยาศัย จัดให้มกี าร เรียนร่วม มีศูนย์การศึกษาพิเศษเขต มีโรงเรียน โสตศึกษาเฉพาะผู้พิการทางหู และจัดสถาบัน อุดมศึกษา (วิทยาลัยราชสุดา) ให้กับผู้ที่มีความ ต้องการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาปริญญาตรี (ฉัตรชัย บุษบงค์, 2548: 79) การสือ่ สารอย่างหนึง่ ทีก่ ลุม่ คนหูหนวกใช้และเปลีย่ นข้อมูลข่าวสารกัน และเป็ น ช่ อ งทางหนึ่ ง ในการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร ระหว่างคนทั่วไปกับคนหูหนวก คือ ภาษามือ (Sign Language) การพัฒนาระบบการศึกษา ของนักเรียนหูหนวกจากอดีตถึงปัจจุบัน พบว่า นักเรียนกลุ่มนี้มีสิทธิ์ในการรับบริการทางการ ศึ ก ษาตามกฎหมายประเทศไทยจากอดี ต ถึ ง ปัจจุบนั (จงกลนี วีระเศรษฐกุล และคณะ, 2552: 2) ในเรื่องปัญหาอุปสรรคของคนหูหนวก พบว่า “...คนหูหนวกจะมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องการอ่าน การเขียนภาษาไทย...” (อารีลักษณ์ คีมทอง, 2544: 3) “...มีปัญหาเรื่องเวลาที่ใช้ในการเรียน วิชาต่าง ๆ ในเนื้อหาเดียวกันแต่ใช้เวลามากกว่า เด็ ก ปกติ และสื่ อ คนหู ห นวกที่ มี อ ยู ่ ยั ง ขาด ข้อพิสูจน์เรื่องประสิทธิภาพของสื่อนั้น ๆ ...” (ศรียา นิยมธรรม, 2538: 142) “...คนหูหนวก ต้ อ งใช้ ต าในการรั บ รู ้ ข ้ อ มู ล ข่ า วสาร ซึ่ ง แตก ต่างกับคนที่มีการได้ยินที่ใช้ทั้งหูและตาในการ รับข้อมูลข่าวสาร การที่คนหูหนวกใช้ตาเป็น

ช่องทางในการรับรู้ข้อมูลต่าง ๆ นั้น สื่อที่คน หู ห นวกจะรั บ รู ้ ไ ด้ ดี ค วรจะต้ อ งเป็ น สื่ อ ที่ เ ป็ น ภาพ...” (Sri-on, 2001: 133) การพั ฒ นาการศึ ก ษาให้ มี คุ ณ ภาพ จ�ำเป็นต้องมีการจัดกระบวนการเรียนการสอน ที่บูรณาการวิธีต่าง ๆ หลากหลายวิธีเพื่อพัฒนา ผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ มีความรู้ความสามารถ ท�ำงานอย่างเป็นอิสระ และมีทักษะที่จ�ำเป็น ในการด�ำเนินชีวติ (ฐิตยิ า เนตรวงษ์ และบุญลักษม์ ต�ำนานจิตร, 2555: 8) การพัฒนาบทเรียน ตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การพัฒนา บุคลิกภาพในงานอาชีพคหกรรมศาสตร์ ส�ำหรับ นักศึกษาที่บกพร่องทางการได้ยิน เพื่อเป็นการ ส่งเสริมในรายวิชาทีน่ กั ศึกษาทีบ่ กพร่องทางการ ได้ ยิ น จ� ำ นวนไม่ น ้ อ ยมี ค วามสนใจที่ จ ะเรี ย น เพราะเป็นสาขาวิชาที่ใช้การท�ำงานทางด้าน ทักษะ ทีน่ กั ศึกษาได้ใช้ความสามารถทางสายตา ในการเรี ย นรู ้ อี ก ทั้ ง บทเรี ย นอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง นั้ น เป็นสือ่ ทีป่ ระกอบไปด้วสือ่ ประสมในหลากหลาย รูปแบบทั้งตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน์ และในปัจจุบันยังมีเทคนิคต่าง ๆ ที่ ท�ำให้มีภาพเคลื่อนไหวอย่างน่าสนใจมากขึ้น จึงท�ำให้นกั ศึกษาอ่าน หรือดูแล้วเกิดความเข้าใจ สนใจ ไม่เบื่อหน่ายต่อการเรียน และประสบ ความส� ำ เร็ จ ในการเรี ย นต่ อ ไป แนวคิ ด ของ e-Learning คื อ การเรี ย นการสอนที่ มี อ ยู ่ สองรูปแบบ รูปแบบแรก คือ การสอนในชัน้ เรียน ที่ ใช้ เ ครื่ อ งมื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ต ่ า ง ๆ มาเป็ น สื่อกลางในการเรียนการสอน เช่น ใช้เครื่องมือ ทางโสตทัศนศึกษาต่าง ๆ ทีอ่ ยูใ่ นจ�ำพวกฮาร์ดแวร์ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

107


ทัง้ หลาย เป็นต้น ส่วนรูปแบบทีส่ อง คือการสอน บนเครือข่ายทีห่ ลายคนเรียกว่า “การสอนบนเว็บ” นัน่ เอง (สาโรช โศภีรกั ข์, 2559: 2) และเนือ่ งจาก เอกสารการสอนคนหูหนวกในปัจจุบนั ยังมีอยูน่ อ้ ย ในหนังสือส่วนใหญ่จะมีแต่ตัวอักษรกับรูปภาพ เวลาสอนก็ จ ะต้ อ งใช้ ภ าษามื อ ในการอธิ บ าย ประกอบการสอน ซึ่งถ้าไม่เข้าใจวิธีการและการ สือ่ สารออกมาไม่ชดั เจนและไม่ถกู ต้องอาจท�ำให้ ความหมายนั้นผิดเพี้ยนไปจากความต้องการ ที่ จ ะสื่ อ ความหมายกั น การพั ฒ นาบทเรี ย น ตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การพัฒนา บุคลิกภาพในงานอาชีพคหกรรมศาสตร์ ส�ำหรับ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่บกพร่องทางการ ได้ยิน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จะสามารถใช้ ในการเรียนการสอนอย่างมีระบบ เพื่อให้มีการ สื่อความหมายได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน เนื้อหา ตรงกับความต้องการ และสอดคล้องกับวิถีชีวิต ของคนหูหนวก และมีประสิทธิภาพสามารถใช้ ในการเรียนการสอนได้ นอกจากนั้นคนหูหนวก ยังสามารถเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง สามารถเลือกเรียน ได้อย่างเสรี ทุกที่ ทุกเวลาทีต่ อ้ งการ และเพือ่ เป็น แนวทางการพัฒนาสือ่ ส�ำหรับคนหูหนวกในเรือ่ ง อื่น ๆ อีกต่อไปในอนาคตให้แพร่หลาย และมี ประสิทธิภาพมากขึน้ ด้วย อันจะน�ำไปสูก่ ารเรียน โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในอนาคต ดังนัน้ ผูว้ จิ ยั จึงสนใจทีจ่ ะพัฒนาบทเรียน ตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การพัฒนา บุคลิกภาพในงานอาชีพคหกรรมศาสตร์ ส�ำหรับ

108

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

นักศึกษาที่บกพร่องทางการได้ยิน มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต

วัตถุประสงค์

1. ศึกษาองค์ประกอบสภาพแวดล้อม อีเลิรน์ นิง่ ส�ำหรับนักศึกษาทีบ่ กพร่องทางการได้ยนิ 2. พัฒนาบทเรียนตามสภาพแวดล้อม อีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การพัฒนาบุคลิกภาพในงาน อาชีพคหกรรมศาสตร์สำ� หรับนักศึกษาทีบ่ กพร่อง ทางการได้ยนิ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสติ ให้มี ประสิทธิภาพไม่ต�่ำกว่าเกณฑ์ 80/80 3. เพื่ อ หาค่ า ดั ช นี ป ระสิ ท ธิ ผ ลของ บทเรียนตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การ พัฒนาบุคลิกภาพในงานอาชีพคหกรรมศาสตร์ ส� ำ หรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ บ กพร่ อ งทางการได้ ยิ น มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 4. เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของผูเ้ รียน ทีม่ ตี อ่ การเรียนด้วยบทเรียนตามสภาพแวดล้อม อีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การพัฒนาบุคลิกภาพในงาน อาชีพคหกรรมศาสตร์สำ� หรับนักศึกษาทีบ่ กพร่อง ทางการได้ยิน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ที่พัฒนาขึ้น 5. เพื่อศึกษาความคงทนในการเรียนรู้ เรื่ อ ง การพั ฒ นาบุ ค ลิ ก ภาพในงานอาชี พ คหกรรมศาสตร์ ส� ำ หรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ บ กพร่ อ ง ทางการได้ยิน หลังเรียนด้วยบทเรียนตามสภาพ แวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง ระหว่างสอบหลังเรียนกับ ผ่านไปแล้ว 1 เดือน


กรอบแนวคิด ตัวแปรต้น 1. ปัญหาเด็กบกพร่องทางการได้ยนิ 2. แนวคิดในการพัฒนาบทเรียน ตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง

ตัวแปรตาม 1. องค์ประกอบของบทเรียนตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง 2. ประสิทธิภาพของบทเรียนตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง 3. ดัชนีประสิทธิผล ของบทเรียนตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง 4. ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง 5. ความคงทนในการเรียนรู้จากรูปแบบอีเลิร์นนิ่งส�ำหรับนักศึกษา ที่บกพร่องทางการได้ยิน

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

ระเบียบวิธีวิจัย

ที่มาของตัวชี้วัด 1. ประสิทธิภาพของบทเรียน ชุดฝึก อบรมใด ๆ ก็ตาม เมื่อสร้างขึ้นมาแล้วจ�ำเป็น อย่างยิ่งต้องน�ำไปหาประสิทธิภาพ เพื่อเป็นการ ประกันว่าจะมีคุณภาพจริง (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2520: 134) 2. ดัชนีประสิทธิผล แสดงถึงความส�ำเร็จ หรือล้มเหลวในการเรียน (เยาวดี วิบูลย์ศรี, 2545) 3. ความพึงพอใจ เป็นเครื่องบ่งชี้หนึ่ง ของพฤติกรรมของนักศึกษา ที่เป็นแนวทางใน การจัดการเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษาบรรลุ ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร (ประหยัด ทีทา, 2555: 39) 4. ความคงทนในการเรี ย น มี ค วาม จ� ำ เป็ น และส� ำ คั ญ มากในการเรี ย นรู ้ เ นื้ อ หา ในระดับสูงที่มีความต่อเนื่องกันไปตามล�ำดับ และจดจ�ำสิ่งต่าง ๆ ได้ และสามารถน�ำไปใช้

แก้ปัญหาในชีวิตประจ�ำวันที่พบอยู่เสมอได้เป็น อย่างดี (รักษ์สิริ แพงป้อง, 2554: 50) ประชากรที่ ใช้ ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ คื อ นักศึกษาระดับปริญ ญาตรี ที่เป็นผู้บกพร่อง ทางการได้ยิน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จ�ำนวน 70 คน ที่ก�ำลังศึกษาใน ปีการศึกษา 2555 กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 33 คน น�ำไปใช้ พัฒนาเครือ่ งมือ 10 คน ซึง่ จ�ำแนกเป็นการทดลอง รายบุคคล 3 คน และกลุ่มย่อย 7 คน โดยการเลือก แบบเจาะจง ให้ได้นักศึกษา เก่ง ปานกลาง อ่อน ทีเ่ หลืออีก 23 คน น�ำไปทดลองหาประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความพึงพอใจ และความคงทน ในการเรียนรู้ วิธีด�ำเนินการวิจัย 1. ศึ ก ษาเอกสาร และงานวิ จั ย ที่ เกี่ยวข้อง ด้านอินเทอร์เน็ต ด้านการออกแบบ เว็บไซต์ เว็บเพจ ทฤษฎีการเรียนรู้ และความ ส�ำคัญของอินเทอร์เน็ตต่อการศึกษา เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

109


2. ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติที่ดี และ ข้อบกพร่องของบทเรียนอีเลิร์นนิ่งซึ่งที่มีอยู่เดิม 3. ศึ ก ษาระบบ LMS ที่ มี เ ผยแพร่ และให้บริการ วิเคราะห์สังเคราะห์คุณลักษณะ และเลือกระบบ LMS ที่เหมาะสมที่สุดส�ำหรับ งานวิจัยนี้ 4. การสังเคระห์และวิเคราะห์การเรียน จากเอกสารและงานวิจัยต่าง ๆ และน�ำมาสร้าง เป็นรูปแบบใหม่ที่ใช้ในงานวิจัย 5. สร้างบทเรียนตามสภาพแวดล้อม อีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การพัฒนาบุคลิกภาพในงาน อาชีพคหกรรมศาสตร์ ด้วยโปรแกรม MOODLE 6. น� ำ บทเรี ย นตามสภาพแวดล้ อ ม อีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การพัฒนาบุคลิกภาพในงาน อาชีพคหกรรมศาสตร์ ไปให้อาจารย์ที่ปรึกษา ตรวจสอบและปรับปรุง 7. น� ำ บทเรี ย นตามสภาพแวดล้ อ ม อีเลิร์นนิ่ง ที่ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะที่ปรึกษา ไปให้ ผู ้ เชี่ ย วชาญประเมิ น คุ ณ ภาพและให้ ข ้ อ เสนอแนะ เพื่อการปรับปรุง ความสมบูรณ์ และ ความถูกต้องของด้านเนื้อหา และด้านอีเลิร์นนิ่ง แล้วน�ำมาปรับปรุงแก้ไข 8. น� ำ บทเรี ย นตามสภาพแวดล้ อ ม อีเลิร์นนิ่ง ที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว กลับมา ท�ำการแก้ไขปรับปรุง และน�ำไปทดลองใช้กับ กลุม่ ตัวอย่าง กลุม่ เล็ก จ�ำนวน 3 คน จากนักศึกษา ที่บกพร่องทางการได้ยิน มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต โดยทดลองทีละคน และได้ปรับปรุง โดยเพิ่ม ตัวหนังสือไว้ใต้ภาพเพื่อจะให้เข้าใจ มากขึ้น 110

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

9. น� ำ บทเรี ย นตามสภาพแวดล้ อ ม อีเลิร์นนิ่ง ไปทดลองเป็นกลุ่มย่อย จ�ำนวน 7 คน และปรับปรุงแก้ไข มีการปรับแก้ตามข้อเสนอของ ผู้เรียน คือ นักศึกษาต้องการให้มีภาพกิจกรรม ทีไ่ ปท�ำเพิม่ เติม เพือ่ การปรับปรุงบุคลิกภาพของ ตนเอง 10. น� ำ บทเรี ย นตามสภาพแวดล้ อ ม อีเลิร์นนิ่งที่ได้รับการปรับปรุงเพิ่มเติมหลังจาก ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเล็กเรียบร้อยแล้ว หลั ง จากนั้ น จึ ง น� ำ ไปทดลองกั บ กลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง 23 คน เพื่อหาประสิทธิภาพ ดัชนีประสิทธิผล ความพึงพอใจ และความคงทนในการเรียนรู้ ต่อไป เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. บทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การพัฒนา บุคลิกภาพในงานอาชีพคหกรรมศาสตร์ทสี่ ร้างขึน้ 2. แบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท าง การเรียนของอีเลิร์นนิ่ง 3. แบบประเมิ น คุ ณ ภาพบทเรี ย น ส�ำหรับผู้เชี่ยวชาญ 4. แบบประเมิ น ความพึ ง พอใจของ นักศึกษา

การวิเคราะห์ข้อมูล

1. สถิ ติ พื้ น ฐานที่ ใ ช้ ส� ำ หรั บ การ วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อบทเรียน ตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง ประกอบด้วย 1.1 ค่าเฉลี่ย ∑x = N


n แทน

จานวนนักศึกษาในกลุ่มตัวอย่าง

แทน ผลรวมของคะแนนในกลุ จานวนนักศึกษาในกลุ่มตั่มวทัอย่้งหมด าง  xn แทน  x แทน ผลรวมของคะแนนในกลุ่มทั้งหมด แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตัวกาลังสอง 2. สถิ ติ ที่ ใ ช้ ห าประสิ ท ธิ ภ าพของ x  2

โดยที่

2 แทน ค่าคะแนนเฉลี่ย แทน ยผลรวมของคะแนนแต่ ละตัวกาลังสอง 2. สถิติที่ใช้หบทเรี าประสิยทนธิภาพของบทเรี น ∑x แทน ผลรวมของคะแนน สถิตติทิที่ใี่ใช้ช้วหิเาประสิ ภาพของบทเรี ยน หาประสิ สถิ ติทที่ใช้ธิภวาพของบทเรี ิเคราะห์ ในกลุ่มทั้งหมด2. สถิ คราะห์ทหธิาประสิ ยนอีเลิรท์นธินิภง าพของ คิดเป็นค่าร้อยละ คาน ยนอีเลิร์นทนิธิภ่งาพของบทเรี คิดเป็นค่าร้อยละ ค�านวณ 1414 N แทน จ�านวนนักศึกษาสถิติที่ใช้วบทเรี จากสูตร E1/E2 ดังนี้ (สัิเงคราะห์ คม ภูมหิพาประสิ ินธ์,2538: 14-17) ยนอีเลิร์นนิง คิดเป็นค่าร้อยละ คาน ได้จากสูตร E1/E2 ดังนี้ (สังคม ภูมิพินธ์,2538: ในกลุ่มตัวอย่าง ร E1/E2 ้ (สังคม ประสิ ภูมิพินทธ์ธิ,ภ2538: 14-17)ยน E1/E2 าพของบทเรี เกณฑ์การแปลผลค่าเฉลีจากสู ย่ มีรตายละเอี ยดัดงนีแทน 14-17) E1/E2 แทน แทน ประสิ าพของบทเรี ดังนี้ แทนงเบนมาตรฐาน ประสิ โดยที SD แทน ส่ธิววภนเบี งเบนมาตรฐาน โดยที ่ ่ าหนดเกณฑ์ SD โดยก ไว้Eท1ที่ ส่/E 80/80 ่ ยนทธิภาพของบทเรียน 2นเบี่ย่ยโดยที โดยก�าหนดเกณฑ์ ไว้ที่ 80/80 โดยที่ ค่าเฉลี่ย 4.50 - 5.00 หมายถึง พึงพอใจ โดยกาหนดเกณฑ์ ไว้ที่ จ80/80 โดยที ่ ษาในกลุ n แทน แทน จงานวนนั านวนนั างง าแบบฝึกหัดขณะเรียน กกศึศึกกษาในกลุ ่ม่มตั่นตัวักวอย่ 80 ตัวnแรก หมายถึ คะแนนโดยเฉลี ศึอย่กาษาท 80 ตัวแรก หมายถึ่ยง ทีคะแนนโดยเฉลี ่ย มากทีส่ ดุ x x ตัวแรก 80 ง80าแบบฝึ คะแนนโดยเฉลี ่ยที่น่มย่มักทันจบ ษาท3 าแบบฝึ แทน ผลรวมของคะแนนในกลุ ทัศึ้ง้งกหมด หมด ผลรวมของคะแนนในกลุ หน่วยการเรี น น าไปคิ ดทีเป็่นแทน อกยละ ขึ้นไป กหัดขณะเรี ักนร้ศึหมายถึ ษาท� หน่วยกหัดขณะเรียน ค่าเฉลี่ย 3.50 - 4.49 หมายถึ ง พึงยพอใจ 22 xxการเรี  น น�ผลรวมของคะแนนแต่ 80 ้นาลั ไป มาก หน่วยการเรี ย80 น นาไปคิ ดเป็งแทน นร้หมายถึ อยยละ ขึ้นดไปเป็นร้อยละ่ยลทีละตั แทน ผลรวมของคะแนนแต่ สอง งงสอง ตัวหลั งา80ไปคิ คะแนนโดยเฉลี ่นะตั​ักววศึกขึกกาลั ษาท าแบบทดสอบหลังเรีย 80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนโดยเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย 2.50 - 3.49 หมายถึง พึงพอใจ 80 ตั ว หลั ง หมายถึ คะแนนโดยเฉลี ศึกษาทาแบบทดสอบหลังเรีย สถิ ต ท ิ ใ ่ ี ช้ ห าประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี 2.2. เรีสถิ ต ท ิ ใ ่ ี ช้ ห าประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ยนจบทุกปานกลาง หน่วยการเรีทียนน่ กั คิศึดกเป็ษาท� นร้ยยอนงนยละ 80 ขึ้นไป ่ยงทีเรี่นยักนเมื าแบบทดสอบหลั อ่ เรียนจบ เรีสถิ ยตนจบทุ วยการเรี นร้อยละยน80ยยนอี ขึด้นเเป็ ไป สถิ ติทิที่ใงี่ใช้ช้ววกพึิเคราะห์ ิเหน่ าประสิ ภวาพของบทเรี าพของบทเรี นอี ยละคคานวณได้ านวณได้ หหาประสิ ทคิทธิดธิภเป็ ลิเลิรร์น์นนินิงงคิคิดดเป็เป็นนค่ค่าาร้ร้ออยละ ทุยนกหน่ ยการเรี ค่าเฉลี่ย 1.50 - 2.49 หมายถึ งคราะห์ พอใจ x / nนร้อยละ 80 ขึ้นไป คิ     100  น้งองคม ย ภูภูมมิพิพินินธ์ธ์,2538: จากสูตตรรE1/E2 E1/E2ดัดังงนีนี้ ้(สั(สั คม ,2538:14-17) 14-17)E   Ax / n  จากสู   E  A 100 ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.49 หมายถึง พึงพอใจ E1/E2แทน แทน ประสิ ประสิทธิภาพของบทเรียน E1/E2 น้อยทีส่ ดุ ทธิภาพของบทเรียน   F / n    โดยกวาหนดเกณฑ์ าหนดเกณฑ์ 80/80โดยที โดยที่ ่ E   FB / n   100 โดยก 1.2 สถิตใิ ช้สา� หรับหาส่ นเบีย่ งเบนไไว้ว้ทที่ ี่80/80      100  E E มาตรฐาน หมายถึ ง ประสิ ท ธิกกภหัหัดาพของ B 1 80 ตั ว แรก หมายถึ ง คะแนนโดยเฉลี ่ ย ที ่ น ั ก ศึ ก ษาท าแบบฝึ ดขณะเรี ขณะเรียยนจบ นจบ 33 80 ตัวแรก หมายถึง คะแนนโดยเฉลี่ยที่นักศึกษาทาแบบฝึ ยนทีทธิว่ ภดั าพของกระบวนการเรี ได้ในบทเรียนคิดเป็ยนนทีร้อ่วยัดได้ในบทเรียนค E1 กระบวนการเรี หมายถึง ประสิ หน่ ว ยการเรี ย น น าไปคิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 80 ขึ น ้ ไป หน่วยการเรียน นาไปคิดเป็นร้อยละ ละจากคะแนน 80 ขึ้นไป แบบฝึ หัยดนจาก 3 หน่วยการเรี ประสิ ทธิภกาพของกระบวนการเรี ยนทีย่วนัดได้ในบทเรียนค 1 ร้อยละจากคะแนน Eแบบฝึ กหัหมายถึ ดจาก 3ง หน่ วยการเรี E หมายถึ ทธิภาพของบท 80 ตัตัววหลั หลังง หมายถึ หมายถึงง คะแนนโดยเฉลี คะแนนโดยเฉลี ษาทาแบบทดสอบหลั าแบบทดสอบหลั นเมื่อ่อ 80 ่ย่ยทีที่น่นักักงศึศึกกประสิ ษาท งงเรีเรียยนเมื ร้อยละจากคะแนน แบบฝึกหัดจาก2 3 หน่วยการเรียน โดยที่ SD เรีแทน ส่วนเบี ่ยยการเรี งเบนยยนนคิคิดดเป็เป็นนร้ร้อเรีอยละ ยนหลั80งขึเรีขึ้น้นยไปไปนจบ 3 หน่วยการเรียน โดยคิดเป็น เรียยนจบทุ นจบทุกกหน่ หน่ววยการเรี ยละ80 มาตรฐาน ร้อยละ   xx/ /nnหมายถึ    n แทน จ�านวนนักศึกษา ง คะแนนรวมของผู้เรียน  100  EE  AA 100 ในกลุ่มตัวอย่าง จากการท�าแบบฝึกหัดหลังการเรียน แต่ละหน่วย แทน ผลรวมของคะแนน การเรียน     FF/ / nnหมายถึ ในกลุ่มทั้งหมด ง คะแนนรวมของผู้เรียน   100  100  EE B งเรียนเมื่อเรียนครบ แทน ผลรวมของคะแนน จากการท�าBแบบทดสอบหลั แต่ละตัวก�าลังสอง ทุกหน่วยเรียน n

1

i 1 n

i 1

1

n

2

i 1 n

i 1

2

nn

i i11

11

nn

i i11

22

EE11

หมายถึงงประสิ ประสิททธิธิภภาพของกระบวนการเรี าพของกระบวนการเรียยนที นที่ว่วัดัดได้ได้ใในบทเรี นบทเรียยนคิ นคิดดเป็เป็นน หมายถึ

สื่อสารการศึกษา ยละจากคะแนนแบบฝึ แบบฝึกกหัหัดดจาก จาก33หน่ หน่ววยการเรี ยการเรียยเทคโนโลยี ร้ร้ออยละจากคะแนน นน

111


n

F i 1

หมายถึง คะแนนรวมของผู้เรียนจากการทาแบบทดสอบหลังเรียนเมื่อ

n กหมายถึ เรียนครบทุ หน่วยเรีง ยจ�นานวนผู้เรียน ผลการวิจัย A หมายถึง คะแนนเต็มของแบบฝึกหัด การศึกษาวิจยั ครัง้ นีม้ งุ่ การพัฒนาบทเรียน n หมายถึ ง จ านวนผู เ ้ รี ย น หลังเรียนจบ 3 หน่วยการเรียน ตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การพัฒนา B หมายถึAง คะแนนเต็ ม ของแบบ คลิกภาพในงานอาชี ส�าหรัยนบ หมายถึ ง คะแนนเต็มบุของแบบฝึ กหัดหลังเรีพยคหกรรมศาสตร์ นจบ 3 หน่วยการเรี ทดสอบหลังเรียนจบบทเรียน นักศึกษาที่บกพร่องทางการได้ยิน มหาวิทยาลัย ง คะแนนเต็มราชภั ของแบบทดสอบหลั ยนจัย ดังนี้ 3. หาค่าดัชBนีประสิทหมายถึ ธิผลโดยการหา ฏสวนดุสิต ผู้วิจงัยเรีได้ยนจบบทเรี สรุปผลการวิ พัฒนาการที ่มขึ้นาดัของนั ศึกทษาโดยอาศั ยการ ฒนาการที1.่เพิ่มผลการสั องค์ประกอบการ 3.่เพิหาค่ ชนีปกระสิ ธิผลโดยการหาพั ขึ้นของนังกเคราะห์ ศึกษาโดยอาศั ยการหาค่า หาค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness Index : จัดสภาพแวดล้อมอีเลิรน์ นิง่ ได้ 13 องค์ประกอบ ดัชนี(เผชิ ประสิ ล (Effectiveness E.I) ญ ทกิธิจผระการ, 2544: 1-6) Index มีสูตรดั:งนีE.I)้ (เผชิญ กิจระการ, 2544: 1-6) มีสูตรดังนี้

ค่าดัชนีประสิทธิผล =

ผลรวมของคะแนนหลังเรียน – ผลรวมของคะแนนก่อนเรียน (จานวนนักเรียน x คะแนนเต็ม) – ผลรวมของคะแนนก่อน

เรียนทุกคน 4. สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน เพื่อศึกษาความแตกต่างของคะแนนจากการทาแบบทดสอบ หลัง 4. สถิตทิ ใี่ ช้ในการทดสอบสมมติฐาน เพือ่ ศึกษาความแตกต่างของคะแนนจากการท�าแบบ ทดสอบ หลัง้งเรีช่ยวนงเวลาผ่ และทิา้งนไป ช่วงเวลาผ่ 1 เดือนจากสู ค�านวณได้ จากสูแบบ ตร t-test แบบ Dependent เรียน และทิ 1 เดือานนไป คานวณได้ ตร t-test Dependent Samples Samples

เมื่อ D เมื่อ D D= ∑D = ∑D2 = n =

112

√ ∑

(∑ )

= ผลต่างของคะแนนแต่ละคู่ ผลต่างของคะแนนแต่ละคู่ = าความแตกต่ างของคะแนนแต่ ผลรวมค่ าผลรวมค่ ความแตกต่ างของคะแนนแต่ ละคู่ ละคู่ ผลรวมค่าความแตกต่างของคะแนนแต่ละคู่ยกก�าลังสอง จ�านวนคู่ของกลุ่มตัวอย่าง โดยมี df = n-1

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


1.1 การปฐมนิเทศ เป็นวิดโี อคลิปใน สัปดาห์แรก มีล่ามภาษามือ 1.2 แนวการสอน หรือแผนการสอน ให้นักศึกษาดาวน์โหลด 1.3 กระดานข่าว และห้องสนทนา 1.4 แบบทดสอบก่อนเรียนออนไลน์ 1.5 คลิปวิดีโอการเรียนการสอนที่ ประกอบด้วย 1.5.1 หน้ า จอส� ำ หรั บ ล่ า ม ภาษามือ 1.5.2 ตัวอักษรค�ำบรรยายวิง่ ส�ำหรับภาพเคลื่อนไหว 1.5.3 สื่อการสอน (Power Point) หรือรูปภาพประกอบขึ้นบนจอ ขณะ บรรยาย 1.5.4 Hypertext หรื อ Hyperlink เพือ่ ทีจ่ ะคลิกไปสูก่ ารอธิบายเพิม่ เติม 1.6 เอกสารที่บันทึกค�ำบรรยาย

ในสัปดาห์นั้นให้ดาวน์โหลด 1.7 ต�ำรา หรือเอกสารการสอน ให้นักศึกษาดาวน์โหลด 1.8 PowerPoint หรือสือ่ ประกอบ การสอนให้นักศึกษาดาวน์โหลด 1.9 กิจกรรมที่นักศึกษาไปร่วมท�ำ นอกสถานที่ เป็นวิดีโอ หรือ เว็บลิงค์ และ ช่อง ทางให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น 1.10 แบบทดสอบหลังเรียน Online 1.11 การบ้านออนไลน์ 1.12 การประเมินผลที่ผู้สอนตรวจ ออนไลน์ และให้นักศึกษารับรู้ได้ทางออนไลน์ 1.13 วิดโิ อการปัจฉิมนิเทศออนไลน์ ในสัปดาห์สุดท้าย 2. ประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย นตาม สภาพแวดล้อมอีเลิรน์ นิง่ ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มีคา่ เท่ากับ 80.72/81.16 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80

ตารางที่ 1 ค่าประสิทธิภาพผลสัมฤทธิ์การพัฒนาสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง ประสิทธิภาพของอีเลิร์นนิ่ง กระบวนการ (E-1) ผลลัพธ์ (E-2)

n คะแนนเต็ม คะแนนรวม ประสิทธิภาพ 23 30 24.22 80.72 23 30 24.35 81.16

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

113


3. ประสิทธิผลของบทเรียนตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่งที่พัฒนาขึ้น มีค่าเท่ากับ 0.6912 หรือมีอัตราการเรียนรู้เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 69 ตารางที่ 2 ประสิทธิผลของการพัฒนาสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง นักศึกษาคนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 รวม 114

คะแนน คะแนน คะแนน ค่าดัชนีประสิทธิผล เต็ม (30) ก่อนเรียน (30) หลังเรียน (30) 30 7 24 0.7391 30 20 27 0.7000 30 15 24 0.6000 30 11 25 0.7368 30 16 24 0.5714 30 19 27 0.7273 30 13 25 0.7059 30 9 23 0.6667 30 13 24 0.6471 30 17 22 0.3846 30 13 24 0.6471 30 14 23 0.5625 30 23 27 0.5714 30 18 25 0.5833 30 15 27 0.8000 30 16 24 0.5714 30 13 22 0.5294 30 2 23 0.7500 30 5 23 0.7200 30 2 24 0.7857 30 3 25 0.8148 30 2 24 0.7850 30 3 24 0.7778 690 เฉลี่ย 560 0.6912

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


4. นักศึกษามีความพึงพอใจต่อบทเรียนอีเลิร์นนิ่งอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.61

ตารางที่ 3 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนความพึงพอใจของนักศึกษา ที่บกพร่องทางการได้ยินที่มีต่อรูปแบบการเรียนแบบอีเลิร์นนิ่ง (n=23) รูปแบบการเรียนการสอน

1. ระยะเวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเรียน 2. ระยะเวลาของแต่ละกิจกรรม 3. การน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน 4. บรรยายกาศการเรียนรู้ในช่วงปฐมนิเทศ 5. บรรยายกาศการเรียนรู้ในช่วงปัจฉิมนิเทศ 6. จ�ำนวนสมาชิกในกลุ่มย่อย รวมเฉลี่ย

S.D.

ระดับความพึงพอใจ

3.60 3.55 3.50 3.60 3.85 3.55 3.61

1.47 1.57 1.43 1.57 1.60 1.50 1.52

มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก

5. ความคงทนในการเรียนเมื่อเรียนจากบทเรียนตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่งที่พัฒนา ขึ้นหลังเรียน และเว้นช่วง 1 เดือน มีผลไม่แตกต่างกัน แสดงว่าการเรียนด้วยวิธีนี้มีประสิทธิภาพ นักศึกษาสามารถจดจ�ำเนื้อหาสาระได้ดี ตารางที่ 4 เปรียบเทียบคะแนนความคงทนในการเรียนของนักศึกษาที่บกพร่องทางการได้ยิน หลังเรียนจบ และเว้นช่วงเวลาไว้ 1 เดือน หลังทดสอบ ผ่านไปแล้ว 1 เดือน คะแนนด้าน n t p S.D. S.D. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 23 24.35 1.50 23.43 1.44 10.32 2.756

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

115


อภิปรายผลการวิจัย

จากการวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียน ตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การพัฒนา บุคลิกภาพในงานอาชีพคหกรรมศาสตร์ ส�ำหรับ นักศึกษาที่บกพร่องทางการได้ยิน มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต ผู้วิจัยได้อภิปรายผลการวิจัย ดังนี้ 1. ผลการสังเคราะห์องค์ประกอบของ สภาพแวดล้อมอีเลิรน์ นิง่ น�ำมาจัดสภาพแวดล้อม อีเลิรน์ นิง่ เรือ่ ง การพัฒนาบุคลิภาพในงานอาชีพ คหกรรมศาสตร์ ส�ำหรับนักศึกษาทีบ่ กพร่องทาง การได้ยนิ ได้ 13 องค์ประกอบ ซึง่ เป็นองค์ประกอบ ที่ใกล้เคียงและสอดคล้องกับ องค์ประกอบของ บทเรียนอีเลิรน์ นิง่ ของนักวิจยั ดังต่อไปนี้ อินทิรา พรมพันธุ์ (2550) ได้ท�ำการวิจัยเรื่อง การพัฒนา รูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บโดยใช้กระบวนการ เรียนรู้แบบเบรนเบสด์ ในวิชาการออกแบบเพื่อ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนิสิตนักศึกษา ในระดับปริญญาบัณฑิต กนกพร ฉันทนารุง่ ภักดิ์ (2548) ได้ท�ำการวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบ การเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสานด้วย การเรียนการสอนแบบร่วมมือ ในกลุม่ การเรียนรู้ คณิ ต ศาสตร์ ข องนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษา ตอนปลาย จิรศักดิ์ อุดหนุน (2550) ได้ทำ� การวิจยั เรือ่ ง การน�ำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนแบบ ร่วมมือบนเว็บ วิชาการประพันธ์เพลง ส�ำหรับนิสติ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ต่างสถาบัน สิริสุมาลย์ชนะมา (2548) ได้ท�ำการ วิจยั เรือ่ ง การพัฒนารูปแบบการเรียนผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต วิชาสังคมศึกษาส�ำหรับนักเรียนชั้น 116

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

ประถมศึกษาปีที่ 6 โดยทัว่ ไปแล้วองค์ประกอบหลัก ของสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้อีเลิร์นนิ่งของ นักวิจยั ทีก่ ล่าวมาข้างต้น จะมีลกั ษณะใกล้เคียงกัน ได้แก่ มีการวิเคราะห์ปญ ั หา วัตถุประสงค์ ผูเ้ รียน เนื้อหา บริบท มีการออกแบบการเรียนการสอน มีแหล่งสนับสนุนการเรียนรู้ มีแหล่งสนับสนุน การเรียนรู้ มีปฏิสัมพันธ์ผ่านเคลื่อข่าย เช่น กระดานข่าว กระดานสนทนา อีเมล์ มีการ จัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ เป็นต้น ซึ่งผู้วิจัย ได้สังเคราะห์องค์ประกอบมาได้องค์ประกอบ ที่สอดคล้องและใกล้เคียงกัน ที่แตกต่างกันคือ เป็นการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้แบบ อีเลิร์นนิ่งส�ำหรับผู้ที่บกพร่องทางการได้ยินจึงมี องค์ประกอบที่สังเคราะห์มาได้เพิ่มขึ้นส�ำหรับ ผูท้ บี่ กพร่องทางการได้ยนิ คือ 1) หน้าจอส�ำหรับ ล่ามภาษามือ 2) ตัวอักษรค�ำบรรยายวิ่งส�ำหรับ ภาพเคลื่อนไหว 3) สื่อการสอน (PowerPoint) หรือรูปภาพ ประกอบขึ้นบนจอ ขณะบรรยาย 4) Hypertext หรือ Hyperlink เพื่อที่จะคลิก ไปสู ่ ก ารอธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม หรื อ เชื่ อ มโยงไปยั ง เว็บไซต์ที่อธิบายเพิ่มเติม 5) มีเอกสารที่บันทึก ค�ำบรรยายในสัปดาห์นั้นให้ดาวน์โหลด 2. ประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย นตาม สภาพแวดล้ อ มอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง ที่ พั ฒ นาขึ้ น มี ค ่ า เท่ากับ 80.72/81.16 ทีเ่ ป็นเช่นนีเ้ พราะการสร้าง บทเรียนตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง เกิดจาก การวิเคราะห์และสังเคราะห์จากเอกสารและงาน วิจยั ต่าง ๆ จากนัน้ จะผ่านทีป่ รึกษา และผูเ้ ชีย่ วชาญ ทั้งด้านเนื้อหา และด้านอีเลิร์นนิ่ง ตลอดจน การน�ำไปทดลองใช้กับนักศึกษา เป็นรายบุคคล


กลุ ่ ม เล็ ก และกลุ ่ ม ใหญ่ เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง แก้ ไข จะเห็นว่าการพัฒนาได้ทำ� อย่างเป็นระบบ จึงท�ำให้ ได้บทเรียนอีเลิรน์ นิง่ มีประสิทธิภาพสูง นอกจากนี้ ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ สอดคล้องกับงาน วิจัยของ กนกทิพย์ ไชยศิริ (2551) ที่ท�ำวิจัย เรือ่ ง ผลการใช้บทเรียนบนเว็บ วิชา คอมพิวเตอร์ เพื่อการเรียนการสอน (ET105) เรื่องเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิ ท ยาลั ย รามค� ำ แหง มี ผ ลการวิ จั ย ได้ ประสิทธิภาพเท่ากับ 80.16/80.83 และยัง สอดคล้องกับ สมภพ ทองปลิว (2556) ที่ท�ำ วิ จั ย เรื่ อ ง การพั ฒ นารู ป แบบสภาพแวดล้ อ ม การเรียนรูแ้ บบอีเลิรน์ นิง่ บนเครือข่ายทางสังคม เรื่องอินทิเกรต วิชาคณิตศาตร์ ส�ำหรับนักศึกษา ปริญญาตรี มีผลการวิจยั ได้ประสิทธิภาพเท่ากับ 84.73/84.88 และ ประหยัด ทีทา (2555) ที่ท�ำ วิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่งแบบ ผสมผสาน วิชาพฤติกรรมการสอนคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับนักศึกษาปริญญาตรี มีผลการวิจัยได้ ประสิทธิภาพ เท่ากับ 87.89/89.33 ซึ่งเป็นไป ตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด 3. ประสิทธิผลของบทเรียนตามสภาพ แวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การพัฒนาบุคลิกภาพ ในงานอาชีพคหกรรมศาสตร์ ส�ำหรับนักศึกษา ที่บกพร่องทางการได้ยิน มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต มีค่าเท่ากับ 0.6912 หรือร้อยละ 69 ที่เป็นเช่นนี้เพราะบทเรียนมีประสิทธิภาพสูง จึงส่งผลต่อการเรียนรู้ ท�ำให้ผู้เรียนมีอัตราการ เรียนรู้เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 70 ซึ่งสอดคล้องกับ งานวิจัยของ ประหยัด ทีทา (2555) ที่ท�ำวิจัย

เรือ่ ง การพัฒนาบทเรียนอีเลิรน์ นิง่ แบบผสมผสาน วิชาพฤติกรรมการสอนคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับ นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาตรี มี ผ ลการวิ จั ย มี ค ่ า ดั ช นี ประสิทธิผลเท่ากับ 0.795 แสดงว่านักศึกษา มีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 80 มีดัชนีประสิทธิผล สูงขึ้นเช่นนี้ อาจเป็นเพราะว่า 1) การพัฒนา บทเรี ย นตามสภาพแวดล้ อ มอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง เรื่ อ ง การพัฒนาบุคลิกภาพในงานอาชีพคหกรรมศาสตร์ ส� ำ หรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ บ กพร่ อ งทางการได้ ยิ น มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสติ มีกระบวนการสร้าง โดยยึ ด หลั ก การและวิ ธี ร ะบบ ผู ้ วิ จั ย ได้ จั ด ประสบการณ์การเรียนรู้สอดคล้องกับเนื้อหา จัดรูปแบบให้เหมาะสมกับผูบ้ กพร่องทางการได้ยนิ ท�ำให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น อยากเรียนรู้ 2) การพัฒนาบทเรียนตามสภาพแวดล้อมอีเลิรน์ นิง่ เรือ่ ง การพัฒนาบุคลิกภาพในงานอาชีพคหกรรม ศาสตร์ ส� ำ หรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ บ กพร่ อ งทางการ ได้ยิน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้ผ่านการ ตรวจสอบคุ ณ ภาพและประเมิ น คุ ณ ภาพจาก ผู้เชี่ยวชาญ ทั้งในด้านเนื้อหาด้านการใช้ภาษา เพื่ อ หาข้ อ บกพร่ อ งของบทเรี ย นอี เ ลิ ร ์ น นิ่ ง และน�ำข้อบกพร่องมาปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง ซึง่ สอดคล้องกับแนวคิดของ เสาวนีย์ สิกขาบัณฑิต (2528: 292–293) ทีก่ ล่าวว่าการพัฒนาบทเรียน อีเลิร์นนิ่งแบบผสมผสานต้องมีการตรวจสอบ ทุกขั้นตอนและทุกอย่างในบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง แบบผสมผสาน ต้องมีความสอดคล้องกันเป็น อย่างดี มีการปรับปรุงจนมีประสิทธิผลอยูใ่ นเกณฑ์ มาตรฐานเป็นที่เชื่อถือได้ก่อนน�ำไปใช้จริง 4. ผลการวัดความพึงพอใจของนักศึกษา เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

117


ทีม่ ตี อ่ การเรียน จากบทเรียนตามสภาพแวดล้อม อีเลิรน์ นิง่ เรือ่ ง การพัฒนาบุคลิกภาพในงานอาชีพ คหกรรมศาสตร์ ส�ำหรับนักศึกษาทีบ่ กพร่องทาง การได้ยิน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ในการ ประเมินพบว่ารูปแบบการเรียนการสอน เฉลีย่ แล้ว อยูใ่ นระดับความพึงพอใจมาก โดยมีความพึงพอใจ มากทุกเรื่อง เรื่องที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ บรรยากาศการเรียนรู้ในช่วงปัจฉิมนิเทศ ( = 3.85) และมีคะแนนเฉลี่ยต�่ำที่สุด คือการน�ำ เทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน ( = 3.50) ทัง้ นีอ้ าจเป็นเพราะ 1) บทเรียนตามสภาพแวดล้อม อีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การพัฒนาบุคลิกภาพในงาน อาชีพคหกรรมศาสตร์ ส�ำหรับนักศึกษาทีบ่ กพร่อง ทางการได้ยิน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ที่พัฒนาขึ้นมีการจัดกิจกรรมที่เน้นให้นักศึกษา ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง มีแหล่งการเรียนรู้ที่ หลากหลาย มีอิสระในความคิด เป็นกิจกรรม ที่ท�ำให้นักศึกษาที่บกพร่องทางการได้ยินเกิดการ เรี ย นรู ้ บรรยากาศการเรี ย นการสอนท� ำ ให้ นักศึกษาทีบ่ กพร่องทางการได้ยนิ มีความพึงพอใจ 2) บทเรียนตามสภาพแวดล้อมอีเลิรน์ นิง่ ทีผ่ วู้ จิ ยั พัฒนาขึน้ เป็นการเรียนการสอนทีส่ ง่ เสริมให้ผเู้ รียน มีความเป็นตัวของตัวเอง เกิดความภาคภูมใิ จใน ผลงาน มีความรับผิดชอบในหน้าที่ตามที่ได้รับ มอบหมาย นักศึกษามีความกระตือรือร้นและ สนุกสนานกับบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เป็นอย่างมาก จากความรู้สึกของนักศึกษาจากที่วิเคราะห์ได้ คือ นักศึกษามีความประทับใจจากการได้เรียนรู้ มีความรู้สึกดีที่ได้มีโอกาสในการเรียนรู้ แสดง ความคิดเห็นกับสื่อการเรียนการสอนแบบใหม่ 118

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

ที่ มี ผ ลต่ อ การเปลี่ ย นแปลงทางการศึ ก ษาใน อนาคต ทีเ่ ป็นระบบออนไลน์ มีการเรียนพร้อมล่าม ภาษามือ ค�ำอธิบายค�ำพูดหน้าจอติดมาไว้ให้อา่ น รูส้ กึ ดีมาก ช่วยให้เข้าใจดีขนึ้ มากกิจกรรมการเรียน การสอนน่าสนใจมาก และทีส่ ำ� คัญท�ำให้มโี อกาส ที่แสดงน�้ำใจช่วยเหลือเพื่อนทางอินเทอร์เน็ตได้ จากเหตุผลดังกล่าวจึงเป็นการสนับสนุนบทเรียน ตามสภาพแวดล้อมอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การพัฒนา บุคลิกภาพในงานอาชีพคหกรรมศาสตร์ ส�ำหรับ นักศึกษาที่บกพร่องทางการได้ยิน มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิตมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ สุเมธา ปานพริ้ง (2556) ซึง่ ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษา ที่มีต่อการเรียนแบบอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง หลักการ ออกแบบ การสร้างวิดที ศั น์เพือ่ การเรียนการสอน วิชา คอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดียเพือ่ การศึกษา อยูใ่ น ระดับมาก ( = 4.24) ศิริรัตน์ ปลั่งเกียรติยศ (2547) ได้ศึกษาความคิดเห็นของนิสิตนักศึกษา คหกรรมศาสตร์ที่มีต่อการน�ำอีเลิร์นนิ่งมาใช้ ในการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา พบว่า นักศึกษา 41.7% เห็นด้วยอย่างยิ่งว่า การจัด เนื้อหาของอีเลิร์นนิ่งควรจะต้องมีความสมบูรณ์ นักศึกษา 41.9 % เห็นด้วยว่าสถานศึกษา จัดรูปแบบ การเรียนการสอนแบบปกติรว่ มกับแบบอีเลิรน์ นิง่ ได้เหมาะสมกับการเรียนรู้ของนิสิต 5. นักศึกษาที่บกพร่องทางการได้ยิน ที่เรียนจากบทเรียนที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น พบว่า มีคะแนนความคงทนในการเรียนหลังทดสอบ ครั้งแรกและทดสอบผ่านไป 1 เดือนไม่แตกต่าง กัน ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ผู้วิจัยได้ตั้ง ทั้งนี้


อาจเป็นเพราะบทเรียนตามรูปแบบสภาพแวดล้อม อีเลิรน์ นิง่ ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ นอกจากจะมีกรอบล่าม ภาษามืออธิบายตามกิจกรรมการเรียนการสอนแล้ว ยังมีตวั หนังสือประกอบวิง่ ผ่านหน้าจอตามค�ำพูด ของอาจารย์ที่บรรยาย นอกจากนั้นยังมีไฟล์ ประกอบการบรรยายให้ดาวน์โหลด มี PowerPoint ประกอบการสอนให้ดาวโหลดได้เช่นกัน นั ก ศึ ก ษาสามารถกลั บ มาทบทวนซ�้ ำ ได้ ทุ ก ที่ ทุกเวลา นอกจากนั้นยังมีกระดานข่าว และ ห้องสนทนาสามารถสอบถาม หรือทิ้งข้อความ ไว้ ไ ด้ จึ ง เป็ น กระบวนการสอนที่ เ น้ น ผู ้ เรี ย น เป็ น ส� ำ คั ญ เป็ น การจั ด ประสบการณ์ เรี ย นรู ้ ให้ผู้เรียนได้เลือกและสร้างกระบวนการเรียนรู้ ด้วยตนเอง นักศึกษาจึงมีคะแนนความคงทน ในการเรียนไม่แตกต่างกัน สอดคล้องกับงาน วิจัยของ ประหยัด ทีทา (2555) ที่ท�ำการวิจัย เรือ่ ง การพัฒนาบทเรียนอีเลิรน์ นิง่ แบบผสมผสาน วิชาพฤติกรรมการสอนคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งผลการวิจัยในการ จัดการเรียการสอน มีความคงทนในการเรียนรู้ ของกลุม่ ทดลองหลังทดสอบครัง้ แรก และเว้นช่วง 2 สัปดาห์ มีผลการเรียนรู้ไม่แตกต่างกัน และ สอดคล้องกับ ศิวกร แก้วรัตน์ (2546) ที่ท�ำการ วิ จั ย เรื่ อ ง การเปรี ย บเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ ท าง การเรียนเรื่องพื้นฐานไมโครโปรเซสเซอรโดยใช การสอนผานเว็บกับการสอนปกติสาหรับนักศึกษา ปริญญาตรี สถาบันราชภัฏเลย ผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนและความคงทนในการเรียนรูข องนักศึกษา ที่เรียนโดยใชการสอนผานเว็บกับการสอนปกติ

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ข้อเสนอแนะจากงานวิจัย

1. ข้อเสนอแนะเพือ่ น�ำผลการวิจยั ไปใช้ 1.1 การจั ด การเรี ย นการสอน ด้วยบทเรียนอีเลิร์นนิ่งควรศึกษาความพร้อม และรายละเอียดของบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เพื่อจะ ได้ให้ค�ำแนะน�ำกับนักศึกษาได้อย่างถูกต้องและ เกิดประสิทธิภาพในการเรียนการสอนมากยิง่ ขึน้ 1.2 การน�ำบทเรียนอีเลิรน์ นิง่ ไปใช้ ครูควรจัดเป็นกลุ่มประกอบด้วย นักศึกษาเก่ง ปานกลาง และอ่อน คละกัน เพื่อให้นักศึกษา กลุ่มเก่งช่วยเหลือนักศึกษากลุ่มอ่อน ท�ำให้การ ปฏิบัติกิจกรรมประสบความส�ำเร็จมากยิ่งขึ้น 2. ข้ อ เสนอแนะเพื่ อ การท� ำ วิ จั ย ครั้งต่อไป 2.1 ควรท�ำการวิจยั โดยใช้บทเรียน อีเลิร์นนิ่ง ในเนื้อหารายวิชาต่อ ๆ ไป ควรใช้ รูปแบบการจัดการเรียนรูท้ หี่ ลากหลาย ในลักษณะ ต่าง ๆ มาผสมผสานเพื่อให้ผู้ที่บกพร่องทาง ด้านต่าง ๆ สามารถมีการเรียนรูท้ มี่ ปี ระสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น 2.2 ควรท�ำการวิจยั โดยใช้บทเรียน อีเลิร์นนิ่ง โดยอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น แท็บเล็ท สมาร์ทโฟน เวอร์ชวลคลาสรูม สมาร์ทคลาสรูม เพื่อให้มีการใช้เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ที่มีประสิทธิภาพในการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

119


เอกสารอ้างอิง

กนกทิพย์ ไชยศิริ. (2551). ผลการใช้บทเรียนบนเว็บ วิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน (ET 105) เรื่อง เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการศึกษา), มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง. กนกพร ฉันทนารุง่ ภักดิ.์ (2548). การพัฒนารูปแบบการเรียนบนเว็บแบบผสมผสานด้วยการเรียนการสอน แบบร่วมมือในกลุม่ การเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จงกลนี วีระเศรษฐกุล และคณะ. (2552). รายงานการประเมิน โครงการโรงเรียนตนแบบ: การทดลองสอน แบบสองภาษาสําหรับเด็กหูหนวก. กรุงเทพฯ: สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกับวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล. จิรศักดิ์ อุดหนุน. (2550). การน�ำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือบนเว็บ วิชาการประพันธ์ เพลงส�ำหรับนิสิต นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ระดับอุดมศึกษาต่างสถาบัน. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ฉัตรชัย บุษบงค์. (2548). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ค�ำศัพท์ ภาษามือทางการศึกษา พิเศษ ส�ำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 โปรแกรมวิชาการศึกษาพิเศษ คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏ สวนดุสิต. วารสารวิจัย มสด สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 1(1), 79. ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2520). ระบบสือ่ การสอน. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ฐิติยา เนตรวงษ์ และบุญลักษม์ ต�ำนานจิตร. (2555). การเรียนร่วมกันแบบผสมผสานและใช้โครงงาน เป็นฐานทีส่ ง่ ผลต่อการสร้างความรู้ และผลสัมฤทธิท์ างการเรียน. วารสารวิจยั มสด สาขามนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์, 8(3), 4. ประหยัด ทีทา. (2555). การพัฒนาบทเรียนอีเลิรน์ นิงแบบผสมผสานวิชาพฤติกรรมการสอนคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. ดุษฎีนิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี การศึกษาและการสื่อสาร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. เผชิญ กิจระการ. (2544). การหาค่าดัชนีประสิทธิผล. มหาสารคาม: ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. เยาวดี วิบูลย์ศรี. (2545). การวัดผลและการสร้างแบบสอบผลสัมฤทธิ์. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. รักษ์สริ ิ แพงป้อง. (2554). การศึกษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้ เรือ่ ง สิง่ มีชวี ติ กับกระบวนการด�ำรงชีวิต ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีความบกพร่อง ทางการได้ยิน ระดับ หูหนวก จากการสอนแบบ POSSE ร่วมกับสื่อวีดิทัศน์. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาพิเศษ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 120

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


ศรียา นิยมธรรม. (2538). ความบกพร่องทางการได้ยิน: ผลกระทบทางจิตวิทยาการศึกษาและสังคม. กรุงเทพฯ: ร�ำไทยเพรส. ศิริรัตน์ ปลั่งเกียรติยศ. (2547). ความคิดเห็นของนิสิตนักศึกษาคหกรรมศาสตร์ที่มีต่อการน�ำอีเลิร์นนิ่ง มาใช้ในการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขา คหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ศิวกร แก้วรัตน์. (2546). การเปรียบเทียบทางการเรียนเรื่องพื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์ โดยการใช้ การสอนผ่านเว็บกับการสอนปกติ ส�ำหรับนักศึกษาปริญญาตรี สถาบันราชภัฏเลย.วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สมภพ ทองปลิว. (2556). การพัฒนารูปแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบอีเลิร์นนิง บนเครือข่ายทาง สังคมเรือ่ งอินทิเกรต วิชาคณิตศาตร์ ส�ำหรับนักศึกษาปริญญาตรี. ปริญญาการศึกษาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. สังคม ภูมิพินธ์. (2538). การวิเคราะห์ค่าดัชนีประสิทธิผล. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สาโรช โศภีรักข์. (2559). จาก Electronic-learning สู่ Ubiquitus-learning. วารสารวิจัย มสด สาขา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 12(1), 2. สิริสุมาลย์ ชนะมา. (2548). การพัฒนารูปแบบการเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชาสังคมศึกษา ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต. (เทคโนโลยีการ ศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สุเมธา ปานพริ้ง. (2556). การพัฒนาบทเรียบอีเลิร์บนิ่ง เรื่อง การสร้างวีดิทัศน์เพื่อการเรียนการสอน ส�ำหรับนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. การค้นคว้าอิสระนี้เป็นส่วนหนี่ง ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิขาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. เสาวนีย์ สิกขาบัณฑิต. (2528). เทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ โรงพิมพ์สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ. อารีลักษณ์ คีมทอง. (2544). กรณีศึกษาเกี่ยวกับการเลี้ยงดูบุตรของครอบครัวที่มีลูกหูหนวก. ปริญญา นิ พ นธ์ ป ริ ญ ญาศิ ล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช างานบริ ก ารฟื ้ น ฟู ส มรรถภาพคนพิ ก าร. วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล. อินทิรา พรมพันธุ์. (2550). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ แบบเบรนเบสต์ ใ นวิ ช าการออกแบบ เพื่ อ พั ฒ นาความคิ ด สร้ า งสรรค์ ข องนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา ในระดับปริญญาบัณฑิต. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา ภาควิชาหลักสูตรการสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

121


Development of Web-based Learning Environment Model to Enhance Cognitive Skills for Undergraduate Students in the Field of Electrical Engineering Thongmee Lakonpol1, ChaiyotRuangsuwan2, Pradit Terdtoon2 Educational Technology and Communications, Faculty of Education, Mahasarakham University, Thailand 2 Faculty of Education, Mahasarakham University, Thailand

1

Abstract

This research aimed to develop a web-based learning environment model for enhancing cognitive skills of undergraduate students in the field of electrical engineering. The research is divided into 4 phases: 1) investigating the current status and requirements of web-based learning environment models. 2) developing a web-based learning environment model. 3) reporting the results of the web-based learning environment model from. 4) validation of a web-based learning environment model and its role in the development of cognitive skills of the students. The results revealed the following: 1) The current status 122

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

and requirements of a web-based learning environment model revealed that the model can be expressed in aspects of its structure, web-based instruction and web-based instruction for developing cognitive based skills. Its current operating status is at a moderate level , and the user’s requirement is at the highest level. 2) The developed web-based learning environment model consists of 4 main elements: principles, objectives, processes and activities, and the measurement and the evaluation of three sub-elements: web-based learning environment, web-based learning and development of cognitive skills. The webbased learning environment consists of


4 elements: introduction to the context, data sources, instruments, and base of help. Web-based learning consists of 3 elements: lessons, communication, and activities. In term of the development of cognitive skills, there are 4 elements: encouragement of cognitive structure, encouragement of cognitive balance, encouragement of the expansion of cognitive structure, and encouragement and support of knowledge construction. 3) The results of model implementation efficiency: The students who studied by using the developed web-based learning environment model received pre-and post-points of – achievement (52.37% and 92.40%). The learning achievement and the cognitive skills increased at the .01 statistical significant level. Learning achievement was related to the cognitive skills at the .01 statistical significant level. The more points students earned on their achievement, the more points they received on their cognitive skills evaluation. The mean value of an overview of all aspects and each individual aspect of undergraduate students’ satisfaction towards the model was at a high level. 4) An overview of all aspects and each individual aspect of

the quality evaluation model evaluated by the experts was at the highest level. It could be assumed that the web-based learning environment model had its quality at the highest level and persons concerned could used it as a pedagogical tool for undergraduate students. Keywords: Web-based learning environment , Cognitive skills

Introduction

In a world with so much technology advancement, cognitive skills are vital because they show how developed humans are. Cognitive skills are also important for living a life in the modern world as the more people with cognitive skills, the more harmonized the society is. (Thitsana Khaemmani et al. 2000). This is because cognitive skills are tools to enhance us all to keep pace with and enable us to solve problems appropriately. Understanding this aspect, scholars have been suggesting that cognitive skills be taught together with academic lessons. Cognitive skills are essential for education because they are something that can be practiced. Regularly solving problems will sharpen your brain, motivate you to view the เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

123


problems from various perspectives, and the existing knowledge can be applied to tackle new problems. Presently, it is believed that education teaches people how to think. Cognitive skills produce students, the product of education, with quality by teaching them cognitive skills together with academic lessons in class. (Suwikrom Mapranit. 1996, Luang Wichit Wathakan. 1992) Higher education institutes today under the higher education standard have shifted the focus to the desirable qualifications of their graduates. Some of them have established a learning standard that mirrors cognitive skills as one of the desirable qualifications of the graduates. To explain, a graduate needs to have satisfying cognitive skills and be able to integrate, research, analyze, and summarize the problems, and solve them systematically. The students are also expected to utilize the available data to make an effective decision, be imaginative, and flexible to properly apply their knowledge to develop innovations or extend the knowledge beyond their current capacity in a creative manner. More important, it is desirable that they be able to research for new knowledge 124

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

on their own for the goal of lifelong learning and to keep pace with the ever changing body of knowledge and new technology (The Council of Engineering Deans of Thailand. 2009) Today, higher education institutes offer a wide range of education systems. Some teach students in the traditional way in classroom while others have introduced more advanced technologies. Education in the engineering field focuses on producing graduates with theoretical and practical knowledge, enabling them to think, analyze, and synthesize systematically, and apply the knowledge appropriately, for further studies and for being brought to the labor market in the industrial sector. The purpose of education to equip people with the skills to live a happy life is highlighting the higher level skills or the task for technology users in a creative way. Such skills require cognitive skills as the basics. Cognitive skills are important for learning: learners are able to logically apply their knowledge in real situations which are different from those they learned from school. Teachers have the responsibility to develop such skills for learners so that they have the tools for living a good life in


the society. A person, who lacks cognitive skills, facing problems or challenges, will not be able to choose an appropriate solution. In contrast, those with cognitive skills will not be easily fooled and can solve problems better. The solutions in the references indicated that “environment” plays an important role in learning and development of cognitive skills. Hannafin (1999) presented the principles for designing a learning environment called Open Learning Environment: OLEs, with the focus on enhancing and developing divergent thinking, depends on each individual to give definition, set the intention to learn, specify the learning purpose, and create the learning activity. All these have to go in line with the design principles with student-centered learning where the ideas of each individual will be used to explain, define the meanings, and understand a situation. Students will learn from the actual contexts and their own interest using their own knowledge and experience to solve problems (Sumali Chaicharoen, 2003) As mentioned above, it is seen that the cognitive skills development process is vital for improving, solving,

and initiating the progress in all types of work and professions, as well as a living of everyone in the society. Academic institutes produce graduates to satisfy the needs of society and community. Electrical engineering is one of the most popular fields for continuing education after a vocational degree. It has been observed that the majority of applicants each year choose to study in electrical engineering. This may be because the students expect that after graduation, the degree in this field will earn them a good salary. To learn well in electrical engineering, the students should be knowledgeable and possess the desirable graduate qualifications as defined by the standard. The philosophy of electrical engineering says “aim to produce graduates who have both theoretical and practical knowledge, ability to analyze and synthesize, plan systematically, and ability to apply the knowledge appropriately.” Therefore, in order to produce the quality graduates as defined in the desirable qualifications of graduates, expected learning standard, and qualification framework of higher education in term of knowledge, it is necessary to provide a wider range เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

125


of instruction, learning environment, and teaching methods that facilitates learning. Students are also expected to have the ability to do research, understand, and be able to process the data, experiment on new concepts and proofs from an extensive database, and apply the conclusions to solve many different problems and arguments without guidance from outside. They should be able to understand the complicated problems and suggest new and creative solutions considering relevant theoretical knowledge, practical experience, and the consequences of the decision made. The graduates should also be able to apply their skills and indepth understandings in the academic field and professions related to their specialty. They are expected to use the regular working process appropriately and identify the situations that require innovative solutions by also applying theoretical and practical knowledge to tackle the problems. Therefore, it is important that everyone involved plays a part in this development. The researcher, as education personnel, realizes the importance of this and is interested in developing a model for 126

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

web-based learning environment to develop cognitive skills for students in electrical engineering by using the network technology as the media to transfer the suggestions, workshop, and lesson content according to the cognitive skills development. This will be used as a guideline for the learning process that focuses on students’ learning lessons together with developing their cognitive skills, fundamentals of technology which will allow them to learn by themselves and transfer knowledge and experience in solving problems effectively. It is considered that students of this age are able to use the experiment tools and the research results will be used as the guideline for promoting and developing other abilities which will be useful for teaching in other fields of studies in higher education in the future. Research objectives This research aimed to 1. investigate the current contexts and demand for a web-based learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students 2. develop the web-based learning environment to enhance


1.2 Investigate the current implementation and the demand for a the model for web-based learning environment to enhance cognitive skills from related parties. The possible research questions were administered on two sample groups from the Faculty of Engineering, Public University in the north-east of Thailand: lecturers (n=65) and students (n=180). The sampling was selected by fifty percent technique, Research methodology This research was meant for including 33 lecturers and 90 students developing the web-based learning (123 persons in total). environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students. The Research tools 1. Document synthesis. research was divided into 4 phases of 2. The questionnaire focusing on the research and development method 2 phases: 1) the current implementation as follows: context with reliability of 0.825, Phase 1: investigate the current discrimination index between .251 contexts and demand for a web-based .759, 2) the demand for the model for learning environment to enhance a web-based learning environment with cognitive skills for electrical engineering reliability of 0.845, discrimination index between .442 - .745. students 1.1 Review literatures including related documents, books, researchs, Data collection and analysis 1. All related documents, books, frameworks, and theories such as 1) Open Learning Environments: OLEs, 2) Constru- and researchs to form the model for ctivist Learning Environments: CLEs, and a web-based learning environment to 3) Situated Learning Environments: SLEs enhance cognitive skills for electrical cognitive skills for electrical engineering students 3. investigate the result of using the web-based learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students 4. confirm the web-based learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

127


engineering students were synthesized. To do this, the researcher used the synthetic record in the form of content analysis. 2. The current context and the demand for the web-based learning environment were surveyed. The researcher used a questionnaire created and qualified to collect the data from the sample group, analyze the data using basic statistics (such as average, percentage, and standard deviation). Phase 2: develop the web-based learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students 2.1 The web-based learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students was developed. It started with the interviews of 9 experts to determine the elements of the model, including 3 educational technology and communication experts, 3 electrical engineering curriculum experts, and 3 teaching experts.The pilot model of the web-based learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students was developed. The pilot model of the web128

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

based learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering was evaluated by 5 qualified experts, including the qualifications with the minimum academic rank of associate professor and expert in educational technology and communication. 2.2 The web-based learning environment according to the principle, objectives, elements, procedure, and activity was developed. After that, the web-based learning environment was evaluated by the 9 experts before the experimental use with 30 electrical engineering students. The 30 sample students were chosen with simple random sampling from top, average, and bottom groups, 10 in each group, to find the effectiveness of the lesson from the criteria of 80/80. Research tools 1. Interviews consisted of 6 topics: 1) infrastructure, 2) enabling contexts, 3) resources, 4) tools, 5) scaffolding, and 6) other suggestions 2. Pilot model evaluation form consisted of 1) related theories, 2) principles, 3) elements, 4) procedures, 5) web-based class activities, and 6)


cognitive skills for engineering students was evaluated by experts. Acceptable average of each item was above 3.51. 3. Suitability of web-based learning environment/web-based lesson was evaluated by expert in 3 different fields (electrical engineering, webbased media, and web-based learning environment) and the data were analyzed with basic statistics (average and standard deviation). 4. Field trial was conducted with 30 electrical engineering students. The 30 sample students were chosen with simple random sampling from top, average, and bottom groups, 10 in each group. After completing the lesson, the students were asked to respond to the survey and give comments and suggestion for improvement to actual use. 5. The Web-based learning environment was analyzed for its quality Data collection and analysis 1. Experts were interviewed. according to E1/E2 and 80/80 criteria. The data derived from the interviews were used to design the pilot model of Phase 3: investigate the result of using the web-based learning environment the web-based learning environment to enhance cognitive skills for electrical to enhance cognitive skills for electrical engineering students engineering students 2. The model of web-based The developed web-based learning environment to enhance learning environment to enhance assessment. 3. Web-based learning environment/web-based lesson consisted of media content on the web and webbased learning environment 4. Cognitive skills evaluation form according to higher education’s qualification standard in engineering consisted of 1) ability to think with cognitive skills, 2) ability to compile, research, analyze, and summarize the problems, 3) ability to think, analyze, and solve engineering issues, 4) imaginativeness and flexibility to apply knowledge, and 5) ability to research for data and additional knowledge 5. L e a r n i n g a c h i e v e m e n t evaluation form consisted of difficulty index (P) between 0.20 – 0.80 and discrimination index of at least 0.20.

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

129


cognitive skills for electrical engineering students was used in the trial mode. The environment was developed according to the principles, objectives, elements, procedure, and activity of the web-based learning environment model. Researcher administered the model on the sample size by purposive sample of 30 students majoring in electrical engineering, Faculty of Engineering, Mahasarakham University, who registered in the course 0307303 Supply and Distribution of Electric Power in the first semester, academic year 2013 by employing the research design called “one group pretest–posttest”.

students in the sample groups responded to the academic achievement evaluation form and cognitive skills evaluation form. 2. The web-based learning environment/web-based lesson was used in the field trial mode. The wedbased lesson was developed according to the principles, objectives, element, procedures, and activities of the webbased learning environment model. It was used with undergraduate students majoring in electrical engineering at the Faculty of Engineering, Mahasarakham University for 15 weeks, from June to September 2013 as showed in Table 1. Table 1: The actual field trial period

Research tools 1. Web-based learning environment/web-based lesson 2. Cognitive skill evaluation form 3. Academic achievement evaluation form 4. Students’ satisfaction questionnaire

1 2-4 5-7 8-11 12-16 17

Data collection and analysis 1. Pretest was conducted by using the academic achievement form after the students had understood the instructions from the researcher. All

3. Posttest was conducted by using the same academic achievement form and cognitive skills evaluation form as the pretest. The results of posttest were compared with the pretest, both

130

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

Week

Lesson

Pretest Unit1 Unit2 Unit3 Unit4 Posttest


in term of academic achievement and cognitive skills. 4. The relationship between the post-lesson academic achievement and post-lesson cognitive skills of the students was analyzed. 5. Student’s satisfaction after learning all units was surveyed and analyzed to find their satisfaction with the web-based learning environment. Phase 4: confirm the web-based learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students The 5 experts were asked to confirm the web-based learning environment model with reference to the data from the field trial. Research tools 1. The model of the webbased learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students 2. The evaluation form to confirm the model of the web-based learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students.

Data collection and analysis 1. The manuals of the model of web-based learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students were distributed to 5 experts. 2. The data in the evaluation Form received as the feedback were collected and checked thoroughly before analyzing with basic statistics (average and standard deviation). Results 1. The investigation of the current contexts and demand for a webbased learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students revealed that the structure, web-based learning, and web-based learning to enhance cognitive skills were implemented at the intermediate level ( Χ =2.56-3.50) and the demand was high ( Χ = 3.51-4.50). 2. The model of the web-based learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students derived from this development consisted of 4 major elements: 1) principles, 2) objectives, 3) procedures/ activities, and 4) evaluation. There were เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

131


also 3 minor elements. The first minor element was a web-based learning environment which consisted of 4 subelements: introduction to context, source of data, tools, and help base. The second minor element was web-based learning which consisted of 3 sub-elements: lesson, communication, and activities. The third minor element was the

132

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

development of cognitive skills, which consisted of 4 sub-elements: motivation of cognitive structure, promotion of cognitive balance, promotion of cognitive structure expansion, and promotion and support in knowledge creation. The model can be summarized as in Illustration 1.


8

1. Principles

1.1 web-based learning environment1.2 cognitive skills1.3development of cognitive skills 1.4curriculum 1.5 students

To use the model of the web-based learning environment as a guideline for teaching, and as the activity that enhance cognitive skills according to the higher education standard in electrical engineering in terms of desirable graduate qualifications, learning standard, and cognitive skills development

Input

2. Objectives

3. Web-based learning environment (web-based learning procedures/activities) Curriculum

Development of cognitive skills

Web-based environment Situation

Introduction to context

Simulation

Staticdata sources

Source Factor

Step2 Promotion of cognitive balance

Dynamic data sources

Communication tools

Process

Step3 promotion of cognitive structure expansion

Step4 Promotion and support in knowledge creation

Tools

Factor

Research tools

Learning activity tools

Knowledge categorization tools

Factor

Feedback

Factor

Step1 Motivation of cognitive structure

Knowledge creation support tools

Advice/help

Advisor Experts

Output

4. Evaluation 4.1 cognitive skills 4.2academic achievement 4.3 satisfaction

Illustration 1: The model of web-based learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

133


3. Investigation of the results of using the web-based learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students revealed that 3.1 students learning with the web-based learning environment model had an academic pretest score of 52.37 percent and posttest of 92.40 percent, indicating that their academic achievements increased with the significance level of .01 3.2 students learning with the web-based learning environment model had the pretest cognitive skills of 28.26 percent and posttest of 56.60 percent, indicating that their cognitive skills were developed with the significance level of .01. 3.3 academic achievements had a relationship with cognitive skills with the significance level of .01. 3.4 students were satisfied with the web-based learning environment model, by overall and by single item at the high level ( Χ = 4.05 - 4.23). 4. The experts evaluated the quality of the web-based learning environment model by the overall and by single item to be the highest ( Χ = 4.63 S.D. = 0.80) and it can be concluded that 134

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

the model of the web-based learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students was the most suitable and could be used for teaching students effectively. Discussion The findings of the research on development of the model of webbased learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students worth discussing are as follows: 1. The model of the webbased learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students consisted of 4 major elements: 1) principles, 2) objectives, 3) procedures and activities, 4) evaluation. This agreed with the concept of model development by Thitsana Khaemmani (2000), Khacha kritLiamthaisong (2011), Anderson (1999), Arends (2001), and Joyce and Weil (2004). There were also 3 minor elements. The first minor element was a web-based learning environment which consisted of 4 sub-elements: introduction to context, source of data, tools, and help base. This agreed with the explanation of Phichai Thongdiloet (2003), Kittiphong Buaphan (2003), Sumali Chaicharoen (2007),


Charuni Samat (2009), Itsara Kanchak (2009), Suchat Watthanachai (2010), and Michael Hannafin (1999). The second minor element was web-based learning which consisted of 3 sub-elements: lesson, communication, and activities. This agreed with the discussion of Chaiyot Rueangsuwan (2011), Kidanan Malithong (2000), Chaithip Na Songkhla (1999), Wichuda Rattanaphian (1999) Hannum (1998), and Camplese and Camplese (1998). The third minor element was the development of cognitive skills, which consisted of 4 sub-elements: motivation of cognitive structure, promotion of cognitive balance, promotion of cognitive structure expansion, and promotion and support in knowledge creation. This agreed with Sumali Chaicharoen et al (2007). 2. The web-based environment was of the very high quality. The developed environment was effective with the score of 81.40/82.35, higher than the defined standard of 80/80. The effectiveness index was .8725, indicating that students learning in the web-based learning environment had more academic achievements by 87.25 percent. This may be because the researcher designed the

web-based learning environment exactly as the design principle, considering the best benefit of learners. The researcher developed the web-based learning environment systematically. The outcome learning environment was used through the learning management system (LMS), which has been accepted and applied widely for web-based learning and evaluated by experts in content, web media, and web-based learning environment design. The overall quality was very good. According to the study on the field trial with students, the advantages were as follows: 2.1 Students had more cognitive skills evaluation scores after learning than before learning with the significance level of .01. The research result suggested that the developed model of web-based learning environment contributed to higher cognitive skills development and student’s academic achievement had a positive relationship with cognitive skills with the significance level of .01. That is to say, when students learned in the web-based learning environment, their academic achievements increased, making their cognitive skills develop better as a result. เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

135


This findings agreed with Charuni Samat (2009), who conducted research on the development of a model of web-based learning according to the constructivist theory that promotes creative thinking among undergraduate students. Charuni’s study revealed that creative thinking had a positive relationship with students’ academic achievement, as in the second and third phases of the study the correlation coefficients were 0.71 and 0.74 respectively. The results also accorded with Suchat Watthanachai (2010) who investigated the development of the model of web-based learning environment according to the constructivist theory that promotes problem solving and knowledge transferring. Suchat’s research revealed that problem solving had a positive relationship with students’ academic achievements as in the second and third phases of the study the correlation coefficients were 0.81 and 0.70 respectively. 2.2 The students had higher academic achievements after learning than before learning with the significance level of .01. The findings indicated that the developed model of a web-based learning environment contributed to 136

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

higher academic achievements, which agreed with ItsaraKanchak (2004) who conducted a study on web-based learning environment developed according to the theory of constructivism: open learning environment: OLEs. Itsara found that academic achievements of students learning in the web-based developed with constructivist theory was higher than before learning. 2.3 Student’s academic achievements and cognitive skills after learning in the web-based environment showed a relationship with the significance level of .01. That is to say, when academic achievements increased, cognitive skills developed accordingly. The outcome also agreed with CharuniSamat (2009) who conducted research on the development of a model of web-based learning according to the constructivist theory that promotes creative thinking among undergraduate students. Charuni’s study revealed that creative thinking had a positive relationship with students’ academic achievement, as in the second and third phases of the study the correlation coefficients were 0.71 and 0.74 respectively.The results also accorded with Suchat


Watthanachai (2010) who investigated the development of the model of a webbased learning environment according to the constructivist theory that promotes problem solving and learning connection. Suchat’s research revealed that problem solving had a positive relationship with students’ academic achievements as in the second and third phases of the study the correlation coefficients were 0.81 and 0.70 respectively. 2.4 The students were satisfied with the web-based learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering both by overall and by single item at high level ( = 4.13 S.D. = 0.76). This may be because the webbased learning environment allows students to learn and review the lessons online at any time, do activities, and ask questions. This agreed with Charuni Samat (2009) who conducted research on the development of a model of web-based learning according to the constructivist theory that promotes creative thinking of undergraduate students. Charuni found that students thought the lesson content, network media, and the design were suitable and could promote students’ ability

to learn and creativity. This research was also in accordance with Suchat Watthanachai (2010) who investigated the development of the model of webbased learning environment according to the constructivist theory that promotes problem solving and learning connection. Suchat’s research revealed that students thought the lesson content, network media, and the design were suitable and could promote students’ ability to learn, solve problems, and transfer knowledge better. Suggestion 1. General suggestion Management, lecturers, as well as related personnel should emphasize on student development in cognitive skills together with academic lessons. Cognitive skills are considered the important part of education because they are trainable and beneficial in solving problems by looking at them from many different perspectives. Moreover, the old knowledge can be applied to solve new problems in the future. 2. Suggestions for further research 2.1 Web-based learning environment should be developed เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

137


to support new technologies such as tablets and mobile phone. Since the 21st century is the age of IT and communication, students should be able to use technologies tools for learning at their maximum potential and efficiency. 2.2 The model of a webbased learning environment to enhance cognitive skills for electrical engineering students should be applied with other universities such as those in the northern and central regions, including private universities. In addition, other models should also be improved to satisfy

the need of language development in preparation for AEC during which webbased learning will be an important tool that will minimize the gap in the face-toface communication. Conflict of Interests The authors have not declared any conflict of interests. Acknowledgement The authors thanks to Mahasarakham University for financial support.

References Kidanan Malithong. (2000). Educational Technology and Innovation. Bangkok. Chulalongkorn University. Kittiphong Buaphan. (2004). Results of Using Web-Based Learning Environment Developed According to Situated Learning Theory with Course 212700 Educational Technology and Teaching System Development for Graduate Students. Master of Education Thesis in Educational Technology.Graduate School KhonKaen University, KhonKaen. Khachakrit Liamthaisong (2011). Development of the Model of Integrated Web-Based Learning Environment Using the Creative Solution to Enhance Creativity and Problem Solving Skills for Doctoral Students Majoring in Technology and Education Communication. PhD Thesis, Mahasarakham University, MahaSarakham. 138

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


Charuni Samat. (2009). Development of Model of Web-Based Learning Environment According to Constructivist Theory that Promotes Undergraduate Students’ Creativity by Doctoral Students Majoring in Educational Technology. PhD Thesis, Graduate School KhonKaen University, KhonKaen. Chaithip Na Songkhla. (1999). “Teaching Through World Wide Web”. Education Journal. 27(3): 18-2. Chaiyot Rueangsuwan. (2011). Design and Development of Lesson and Web-Based Lesson, 14th Edition, MahaSarakham, Mahasarakham University. Thitsana Khaemmani et al. (2000). Thinking and Teaching Thinking: Learning Innovation for Teachers in Education Reform Era. Bangkok: Faculty of Education Chulalongkorn University. Phichai Thongdilet. (2004). Presentation of Shared Learning on the Computer Network for Undergraduate Students with Different Learning Format by Doctoral Students. PhD Thesis. Chulalongkorn University. Bangkok. Witchuda Rattanaphian. (1999). “Web-Based Learning: New Alternative of Educational Technology”, Education. The Council of Engineering Deans of Thailand. (2009). Research Report on Establishment of Higher Education Qualification Standard in Engineering: photocopy. Suchat Watthanachai. (2010). Development of Model of Web-Based Learning Environment according to Constructivist Theory that Promotes Problem Solving Skill and Knowledge Transferring by Doctoral Students Majoring in Educational Technology, PhD Thesis, Graduate School, KhonKaen University, KhonKaen. Sumali Chaicharoen. (2003). Handout in Contemporary Technology Course.Department of Educational Technology, Faculty of Education, KhonKaen University. Sumali Chaicharoen. (2007). Development of Model of Web-Based Learning Environment according to Constructivist Theory that Promotes Knowledge Creation. เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

139


Sumali Chaicharoen. (2007). Constructivist.(Photocopy).KhonKaen.Department of Educational Technology. Suwikrom Mapranit. (1996). A Study of Thinking Skill in Learning Thai Language of Middle School Students at Schools under Ministry of University Affairs by Graduate Students Majoring in Thai Language Teaching, Master’s Degree Thesis, Graduate School, Chulalongkorn University, Bangkok. Luang WichitWathakan. (1992). Mental Capacity.14th Edition. Bangkok. Media Focus. Itsara Kanchak. (2004). Result of Web-Based Learning Environment according to Constructivism: Open Learning Environment (OLEs) for Graduate Students Majoring in Educational Technology by Doctoral Students Majoring in Educational Technology. Master’s Degree Thesis, Graduate School KhonKaen University, KhonKaen. Anderson, R. and Gardner, D.E. (1999). An evaluation of the wilt causing bacterium Ralstoniasolanacearum as a potential biological control agent for the alien kahili ginger (Hedychiumgardnerianum) in Hawaiian forests. Biological Control 15: 89-96 Arends, R.L. (October 9, 2001). Learning to teach (5th). New york: Mcgraw – Hill, Inc. Camplese C. and CampleseK.Web-based Education. Retrieved, from http://www. higherweb.com, 1998. Hannafin Michel, Susan Land, Kevin Oliver. (1999). Open Learning Environments : Foundations, Methods, and Models. In Charles M.Reigeluth (Ed) Instructional Desing Theories And Models : A New Paradigm of Instructional Theory. Volume II New Jersey, Lawrence Erlbaum Associates. Joyce, B and Well, M. (2000).Models of Teaching. 6th ed. USA: Allyn and Bacon.

140

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยใช้สถานการณ์ปัญหาเป็นฐาน เพื่อสร้างเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เรื่อง มงคลชีวิต วิชาพระพุทธศาสนา ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 A Development of Computer Assisted Instruction by Problem Based For Encourage Analytical Thinking on Sacred Life In Buddhism Subject For Pratomsuksa VI Students ประภาทิพย์ อัคคะปัญญาพงศ์ * ไพโรจน์ เบาใจ์ ** อุทิศ บำ�รุงชีพ์ ***

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา 1) เพื่ อ พั ฒ นาและหาประสิ ท ธิ ภ าพบทเรี ย น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยใช้สถานการณ์ปัญหา เป็นฐาน เรื่อง มงคลชีวิต วิชาพระพุทธศาสนา ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 ให้มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 85/85 2) เพื่อศึกษา ประสิทธิผลของการเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่อง มงคลชีวิต 3) เพื่อเปรียบเทียบ คะแนนความสามารถใน การคิดวิเคราะห์ก่อน และหลังเรียน เรื่อง มงคลชีวิต วิชาพระพุทธ

ศาสนา ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ การเรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ทีส่ ร้างขึน้ กลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั เป็นนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จ�ำนวน 35 คน ใช้การสุ่ม แบบกลุม่ โดยมีเครือ่ งมือในการวิจยั ได้แก่ บทเรียน คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรือ่ ง มงคลชีวติ แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ เรื่อง มงคลชีวิต แบบทดสอบ วัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แบบประเมิน ความพึงพอใจในการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์

นิสิตหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก *** อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม *

**

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

141


ช่วยสอน เรื่อง มงคลชีวิต และแบบประเมิน คุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนส�ำหรับ ผู้เชี่ยวชาญ ผลการวิจยั พบว่า 1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน โดยใช้สถานการณ์ปัญหาเป็นฐาน เพื่อสร้างเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เรื่อง มงคลชีวิต วิชาพระพุทธศาสนา ส�ำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพ 88.23/85.86 2) มีค่าประสิทธิผลของการเรียน จากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง มงคล ชีวิต เท่ากับ 0.68 3) เปรียบเทียบคะแนน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เรือ่ งมงคลชีวติ หลั ง เรี ย นสู ง กว่ า ก่ อ นเรี ย นอย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิติที่ระดับ .01 และ 4) ความพึงพอใจ ของนั ก เรี ย นที่ มี ต ่ อ การเรี ย นโดยใช้ บ ทเรี ย น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เฉลี่ยในภาพรวมอยู่ใน ระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.59 ค�ำส�ำคัญ : บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน/ สถานการณ์ปัญหาเป็นฐาน/ มงคลชีวิต/การคิด วิเคราะห์

ABSTRACT

The purpose of this research were to 1) develop and engage efficiency of computer assisted instruction by problem based situation for encourage analytical thinking on sacred life in budhism subject for pratomsuksa VI students base on 85/85 efficience scale 2) study effective of 142

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

computer assisted instruction by problem based for encourage analytical thinking on sacred life in budhism 3) compare the result of analytical thinking on sacred life in budhism subject for Pratomsuksa VI students before – after studied 4) study the satisfaction of students toward computer assisted instruction. The samples for this research were 35 pratomsuksa VI students that studing in Anubarn Muangmai Chonburi School academic year 2556 B.E. by cluster random sampling. The results of the research found that 1) the efficiency of computer assisted instruction by problem based for encourage analytical thinking on sacred life in budhism subject for pratomsuksa VI students were 88.23/85.86 2) the effective of computer assisted instruction by problem based for encourage analytical thinking on sacred life in budhism were 0.68 3) comparison of the result of analytical thinking on sacred life in budhism subject for pratomsuksa VI students before – after studied were significant level at .01 and 4) the satisfaction of students toward computer assisted instruction were in the highest level and mean = 4.59


ั นา การศึกษานัน้ แบ่งเป็น KEYWORDS : computer assisted instruc- ทรัพยากรบุคคลได้พฒ tion/problem based learning/Sacred Life สองส่วน คือ การศึกษาด้านวิชาการส่วนหนึ่ง กับการอบรมบ่มนิสยั ให้เป็นผูม้ จี ติ ใจใฝ่ดใี ฝ่เจริญ In Budhism/analytical thinking มีปกติละอายชั่วกลัวบาปส่วนหนึ่ง การพัฒนา ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา บุ ค คลจะต้ อ งพั ฒ นาให้ ครบถ้ ว นทั้ง สองส่ ว น สภาพการณ์ปจั จุบนั ประเทศไทยมีความ เพือ่ ให้บคุ คลได้มคี วามรูไ้ ว้ใช้ประกอบการ (พระบาท เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วทางด้านวัตถุ แต่ส่ง สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช, 2534) ผลกระทบให้มีความเสื่อมโทรมทางด้านจิตใจ การศึกษาที่จะช่วยแก้ปัญหาสภาพสังคมไทย ค่านิยมรวมถึงสภาพสังคม สิ่งที่แสดงให้เห็น ปัจจุบันจึงควรพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ทั้งทาง ถึงความเสื่อมทางจิตใจและ ความถดถอยของ ร่ า งกายและจิ ต ใจให้ เ กิ ด คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม สภาพสังคม เช่น คนชราถูกลูกหลานทอดทิ้ง อันดีงามขึน้ ในจิตใจ เพือ่ ให้คนในสังคมอยูร่ ว่ มกัน ให้อยู่อย่างยากล�ำบาก คนในสังคมขาดระเบียบ ได้อย่างมีความสุข สอดคล้องกับแนวคิดของ วินัย ขาดความรับผิดชอบ ไม่รู้จักหน้าที่ของ อัมพร สาระพันธ์ (2547,หน้า 2) และไทยภูษา ตนเอง การรวมกลุม่ กันของวัยรุน่ ก่อความวุน่ วาย สุวรรณพันธ์ (2550, หน้า 2) ที่ได้กล่าวไว้ว่า เดือดร้อนให้แก่ผู้อื่น เป็นต้น เหล่านี้เกิดจาก การให้การศึกษานั้นต้องค�ำนึงถึงทั้งทางร่างกาย ความเสื่อมทางจิตใจที่มีมากขึ้น สภาพปัญหา อารมณ์ สั ง คมและสติ ป ั ญ ญาควบคู ่ กั น ไป ดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงคุณภาพประชากรไทย เพราะถ้าผู้เรียนมีความรู้สูงแต่ขาดความเจริญ ในปัจจุบันได้เป็นอย่างดี (ส�ำนักงานเลขาธิการ ทางด้านจิตใจก็จะท�ำให้เกิดปัญหาขึน้ ได้ กระทรวง สภาการศึกษา, 2551) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ศึกษาธิการเห็นความส�ำคัญของปัญหาการขาด และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 – 2559) วินัยของคนในชาติตั้งแต่ระดับอนุบาล ระดับ ยังชีใ้ ห้เห็นสภาพปัญหาทางสังคม ปัญหาคุณภาพ ประถม และระดับการศึกษาขัน้ สูงขึน้ ไป เพราะเป็น การศึกษา ซึ่งจะส่งผลต่อการผลิตคุณภาพคน รากฐานส�ำคัญของการศึกษาทางด้านคุณธรรม อีกทั้งสังคมไทยยังต้องเผชิญกับความเสื่อมถอย จริยธรรมให้มคี ณ ุ ค่า โดยก�ำหนดไว้ในคุณลักษณะ ทางด้านคุณธรรมจริยธรรม และการเปลีย่ นแปลง อันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ทางวัฒนธรรมอีกด้วย (ส�ำนักงานคณะกรรมการ ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่พยายามมุ่งเน้น พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�ำนัก ให้ผู้เรียนสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ นายกรัฐมนตรี, 2554) ซึ่งแนวทางส�ำคัญในการ อย่ า งมี ค วามสุ ข ในฐานะพลเมื อ งไทยและ ฟืน้ ฟูสภาพสังคมไทยในปัจจุบนั สิง่ ส�ำคัญนัน่ คือ พลเมืองโลก มีดว้ ยกัน 8 ประการ ได้แก่ 1. รักชาติ “การศึกษา” ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 3. มีวินัย “การศึกษา” เป็นปัจจัยที่จะช่วยให้ 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

143


ท�ำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ ซึ่งตรงกับมงคลที่ 9 มีวินัย ในหลักธรรม มงคล ชีวิต 38 การอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคม โลกอย่างสันติสุข การเป็นพลเมืองที่ดี มีความ ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา ตระหนักรูค้ ณ ุ ค่า ของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม มีความรักชาติ และภูมิใจในความเป็นไทย เหล่านี้เป็นทักษะ ส�ำคัญและคุณลักษณะซึ่งผู้เรียนทุกคนจ�ำเป็น ต้องมีและได้ถกู บรรจุอยูใ่ นสาระการเรียนรูส้ งั คม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เป็นหนึง่ ในแปดกลุม่ สาระการเรียนรู้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) มงคลชี วิ ต เป็ น ธรรมะที่ เ ป็ น หนทาง ไปสู่ความสุข ความเจริญในชีวิต (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542) เป็นธรรมะ ที่เข้าใจง่าย สามารถน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ได้อย่างจริง โดยเนือ้ หามงคลชีวติ นัน้ ได้ถกู บรรจุ อยู่ในวิชาพระพุทธศาสนา ในระดับชั้นประถม ศึ ก ษาปี ที่ 1 – 6 ตามหลั ก สู ต รแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผู้วิจัย ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการพัฒนาคุณธรรม จริ ย ธรรมของผู ้ เรี ย น อี ก ทั้ ง ได้ อ ภิ ป รายและ สอบถามจากครูผสู้ อนวิชาพระพุทธศาสนา และ รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในปีการศึกษา 2555 (กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนอนุบาลเมืองใหม่ชลบุรี, 2555) พบว่ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนอนุบาล เมืองใหม่ ชลบุรี ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 มงคล ชีวติ ทีส่ ำ� คัญและจ�ำเป็นต้องปลูกฝังให้กบั ผูเ้ รียน โดย 5 อันดับแรก ได้แก่ มงคลที่ 1 ไม่คบคนพาล 144

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

มงคลที่ 9 มีวินัย มงคลที่ 14 การงานไม่คั่งค้าง มงคลที่ 25 มี ความกตัญญู และมงคลที่ 28 เป็นผู้ว่าง่าย โดยนักเรียนในระดับประถมศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นักเรียนในระดับชั้นประถม ศึกษาปีที่ 6 เป็นวัยที่ก�ำลังจะก้าวเข้าสู่วัยรุ่น เริ่มเรียนรู้ สังเกตสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ด้วยตนเอง ครูจึงควรส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม นอกเหนือ จากการส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการ เพื่อให้ เด็ ก ในวั ย นี้ ก้ า วเข้ า สู ่ วั ย รุ ่ น และวั ย ผู ้ ใ หญ่ อย่างมีคณ ุ ภาพ (สถาบันแห่งชาติเพือ่ การพัฒนาเด็ก และครอบครัว, 2555) มงคลชีวิตดังกล่าวนั้น ผูส้ อนถ่ายทอดโดยเน้นความรูค้ วามจ�ำ อาจส่งผล ให้ผเู้ รียนไม่สามารถน�ำไปปฏิบตั ไิ ด้ดงั นัน้ จึงต้อง มีการถ่ายทอดความรู้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะ กระบวนคิดที่เรียกว่า “การคิดวิเคราะห์” การคิ ด วิ เ คราะห์ เ ป็ น ทั ก ษะการคิ ด เป็นความสามารถในการหาความสัมพันธ์ของ สิ่งของ เหตุการณ์ การคิดหาเหตุผล แยกแยะ องค์ประกอบ เพื่อให้เกิดความเข้าใจ เป็นทักษะ ทีเ่ ป็นตัวชีว้ ดั คุณภาพผูเ้ รียน ตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ซึง่ ผลการประเมิน การปฏิรูปการศึกษา พบว่านอกจากผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนแล้ว การคิดวิเคราะห์เป็นทักษะ อีกด้านหนึง่ ทีส่ ำ� คัญและต้องเร่งพัฒนา ปรับปรุง ซึง่ ราชบัณฑิตยสถาน (2546, หน้า 251) กล่าวว่า การคิดวิเคราะห์ เป็นการใคร่ครวญ ตรึกตรอง อย่างละเอียดรอบคอบแยกเป็นส่วน ๆ ในเรือ่ งราว ต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล โดยหาจุดเด่น จุดด้อยของ เรื่องนั้น ๆ และเสนอแนะสิ่งที่เหมาะสมอย่างมี ความเป็นธรรมและเป็นไปได้ ดังนั้นการพัฒนา


คุณภาพการคิดวิเคราะห์จึงสามารถกระท�ำได้ โดยการฝึกทักษะการคิดและให้นกั เรียนมีโอกาส ได้คิดวิเคราะห์ สามารถเสนอความคิดของตน และอภิปรายร่วมกันในกลุม่ อย่างต่อเนือ่ งสม�ำ่ เสมอ โดยครูและนักเรียนต่างยอมรับเหตุผลและความคิด ของแต่ละคน โดยเชื่อว่า ไม่มีค�ำตอบที่ถูกต้อง เพียงค�ำตอบเดียว ซึ่งความสามารถในการคิด วิเคราะห์ดา้ นการคิดวิเคราะห์เกีย่ วกับมงคลชีวติ ของผูเ้ รียนนัน้ สามารถส่งเสริมและพัฒนาได้จาก ประสบการณ์และสือ่ ทีห่ ลากหลาย รวมทัง้ เทคนิค การถ่ า ยทอดเนื้อหาของผู้สอนที่จะส่ง ผลต่อ การคิดวิเคราะห์ของผู้เรียน ซึ่งสื่อ “บทเรียน คอมพิ ว เตอร์ ช ่ ว ยสอน” เป็ น สื่ อ หนึ่ ง ที่ ช ่ ว ย ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ได้ (ปริยาภรณ์ ตั้งคุณานันต์, 2557) บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช ่ ว ยสอน (Computer Assissted Instruction) นับเป็น สื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ น ่ า สนใจที่ ส ามารถช่ ว ย ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ได้ เนื่องจาก บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถน�ำเสนอ เนื้ อ หาความรู ้ แ ก่ ผู ้ เรี ย นสามารถท� ำ ได้ ห ลาย รูปแบบ ท�ำให้ผเู้ รียนเกิดความกระตือรือร้นทีจ่ ะ เรียนและสนุกสนานกับการเรียนตามแนวคิดของ การเรียนรู้ในปัจจุบันที่ว่า “Learning Is Fun” การเรียนรู้เป็นเรื่องสนุก (ขวัญตา ดิสริยะกุล, 2547, หน้า 14) นอกจากนีบ้ ทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนยังส่งเสริมผูเ้ รียนสามารถศึกษาบทเรียน ด้วยตัวเองได้โดยไม่จ�ำกัดเวลา โดยไม่ต้องรอครู หรื อ เข้ า ชั้ น เรี ย นหากไม่ เข้ า ใจสามารถดู ห รื อ เรี ย นซ�้ ำ ได้ นอกจากนี้ บ ทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์

ช่วยสอนนัน้ ต้องได้รบั การออกแบบและสอดแทรก เทคนิคอื่น ๆ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการ ถ่ายทอดเนื้อหา ซึ่งเทคนิคการถ่ายทอดเนื้อหา วิธีหนึ่ง ได้แก่ การใช้สถานการณ์ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) การเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ ส ถานการณ์ ป ั ญ หา เป็นฐาน (PBL) เป็นแนวคิดที่สามารถน�ำไปใช้ ในการจัดการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพ เป็นการเรียนที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (นิรดา ปัตนวงศ์, 2552 ,หน้า 50) ผูส้ อนจะต้องน�ำปัญหา มาให้ผู้เรียนได้ศึกษาก่อน แล้วจึงมอบหมายให้ ผู ้ เรี ย นไปค้ น คว้ า หาความรู ้ เ พิ่ ม เติ ม เพื่ อ หา แนวทางแก้ไขปัญหา ท�ำให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ การคิดแก้ปัญหา การเรียนรู้ด้วยตนเอง ฝึกการ ค้นคว้าและได้ความรู้ (ศิริพันธุ์ ศิริพันธุ์ และ ยุพาวรรณ ศรีสวัสดิ์, 2554, หน้า 105) ผู้เรียน จะเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง การสร้างความ รู้เกิดจากการเรียนรู้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และเกิดจากการซึมซับประสบการณ์ใหม่ และปรับ โครงสร้างสติปัญญาให้เข้ากับประสบการณ์ใหม่ และสอดคล้องทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยการค้นพบ ของบรูเนอร์ (Bruner) ซึ่งเชื่อว่าการเรียนรู้ที่ แท้จริงมาจากการค้นพบของแต่ละบุคคล (วันดี ต่อเพ็ง, 2553, หน้า 3) สถานการณ์ปญ ั หาดังกล่าว ต้องมีความสอดคล้องกับสิ่งใกล้ตัวของผู้เรียน จะช่วยให้สามารถเกิดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น จากเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยเห็นว่าการใช้ สือ่ บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนทีม่ ปี ระสิทธิภาพ จะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น ในการเรียนรู้ และท�ำความเข้าใจในหลักธรรม เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

145


อีกทัง้ การเรียนรูแ้ บบใช้ปญ ั หาเป็นฐานจะช่วยให้ ผู้เรียนได้ฝึกคิดและเรียนรู้ด้วยตนเอง ส่งผล ให้เกิดแรงจูงใจในการน�ำไปสู่การปฏิบัติในชีวิต ประจ�ำวัน ผู้วิจัยจึงมีความประสงค์ที่จะพัฒนา บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนโดยใช้สถานการณ์ ปัญหาเป็นฐานให้มีประสิทธิภาพและสามารถ พัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะห์ เรือ่ ง มงคลชีวติ วิชาพระพุทธศาสนา ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 6 ได้อย่างยั่งยืน

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

งานวิ จั ย เรื่ อ ง การพั ฒ นาบทเรี ย น คอมพิ ว เตอร์ ช ่ ว ยสอนโดยใช้ ส ถานการณ์ ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง มงคลชีวิต วิชาพระพุทธ ศาสนา ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังนี้ 1. เพื่ อ พั ฒ นาและหาประสิ ท ธิ ภ าพ บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนโดยใช้สถานการณ์ ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง มงคลชีวิต วิชาพระพุทธ ศาสนา ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 85/85 2. เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการเรียน จากบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรือ่ ง มงคลชีวติ 3. เพือ่ เปรียบเทียบคะแนนความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ก่อนและหลังเรียน เรื่อง มงคล ชีวิต วิชาพระพุทธศาสนา ส�ำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 4. เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ที่ มี ต ่ อ การเรี ย นโดยใช้ บ ทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่วยสอนที่สร้างขึ้น 146

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

สมมติฐานการวิจัย

1. ประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเรื่อง มงคลชีวิต มีค่าสูงกว่า 0.70 2. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ จากการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทาง สถิติ ที่ระดับ .01 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้น อยู่ในระดับมาก

ขอบเขตของการวิจัย

1. ขอบเขตของเนื้อหา การศึกษาครั้ง นี้ ผู้วิจัยได้สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพื่อใช้เป็นสื่อเสริมการสอน เรื่อง มงคลชีวิต ในวิชาพระพุทธศาสนา ส�ำหรับนักเรียนชัน้ ประถม ศึกษาปีที่ 6 เนื้อหาที่ใช้ในการสร้างบทเรียน คอมพิ ว เตอร์ ช ่ ว ยสอนครั้ ง นี้ มี ลั ก ษณะใช้ สถานการณ์ปัญหาเป็นฐาน มีเนื้อหาเกี่ยวกับ มงคลต่าง ๆ โดยคัดเลือกมาจ�ำนวน 5 มงคล จาก 38 มงคลชีวิต ได้แก่ ตอนที่ 1 มงคลที่ 1 เรื่อง ไม่คบคนพาล ตอนที่ 2 มงคลที่ 9 เรื่อง ความมีวินัย ตอนที่ 3 มงคลที่ 14 เรือ่ ง ท�ำงานไม่คงั่ ค้าง ตอนที่ 4 มงคลที่ 25 เรือ่ ง มีความกตัญญู ตอนที่ 5 มงคลที่ 28 เรือ่ ง เป็นคนว่าง่าย 2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2.1 ประชากร ได้แก่ นักเรียนระดับ ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียน อนุบาลเมืองใหม่ชลบุรี สังกัดองค์การบริหาร


ส่วนจังหวัดชลบุรี มี 5 ห้อง จ�ำนวน 153 คน โดยจั ด ชั้ น เรี ย นแบบคละความสามารถของ นักเรียนทั้งเก่ง ปานกลาง และอ่อน 2.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียน ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนอนุบาลเมืองใหม่ชลบุรี สังกัดองค์การ บริหารส่วนจังหวัดชลบุรี จ�ำนวน 1 ห้องเรียน 35 คน ได้จากการสุ่มโดยใช้การสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) 3. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา 3.1 ตั ว แปรต้ น ได้ แ ก่ การเรี ย น ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง มงคล ชีวิต โดยใช้สถานการณ์ปัญหาเป็นฐาน 3.2 ตั ว แปรตาม ได้ แ ก่ ค่ า ดั ช นี ประสิทธิผล คะแนนความสามารถในการคิด วิเคราะห์ และความพึงพอใจ

ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย

1. ได้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรือ่ ง มงคลชีวติ เพือ่ น�ำไปใช้ในการเรียนการสอน ส�ำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งมี ประสิทธิภาพและส่งผลต่อความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ 2. เป็นแนวทางในการสร้างบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องอื่น ๆ ต่อไป

ขั้นตอนการวิจัย

ก่อนเรียน (Pre-test) เพื่อวัดพื้นฐานความรู้ เรื่อง มงคลชีวิต และท�ำแบบทดสอบวัดความ สามารถในการคิดวิเคราะห์ 3. ท�ำการทดลอง โดยใช้ผู้เรียน เป็น นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน อนุ บ าลเมื อ งใหม่ ช ลบุ รี ปี ก ารศึ ก ษา 2556 จ� ำ นวน 35 คน เรี ย นบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่วยสอนทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ ก�ำหนดให้กลุม่ ตัวอย่าง นั่งเรียนจากคอมพิวเตอร์ 1 คน ต่อ 1 เครื่อง ผู ้ วิ จั ย อธิ บ ายวิ ธี ก ารใช้ บ ทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่วยสอนให้กลุ่มตัวอย่างฟัง จากนั้นเริ่มทดลอง เรียนจากคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน และท�ำกิจกรรม ตามที่ก�ำหนดไว้ในบทเรียน โดยใช้เวลาทดลอง เรียนครั้งละ 1 ชั่วโมง ต่อวัน เป็นเวลา 1 สัปดาห์ 4. เมื่ อ กลุ ่ ม ทดลองศึ ก ษาบทเรี ย น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเสร็จ ท�ำแบบทดสอบ หลังเรียน (Post-test) และแบบทดสอบวัด ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 5. น� ำ แบบประเมิ น ความพึ ง พอใจ ทดสอบนั ก เรี ย นกลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง เพื่ อ วั ด ความ พึงพอใจที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 6. เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดแล้วน�ำ ผลการทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน แบบฝึกหัด ไปวิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีทางสถิติต่อไป

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรือ่ ง 1. อธิ บ ายขั้ น ตอนและวิ ธี เรี ย นจาก มงคลชีวิต 2. แบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ เรื่ อ ง บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2. ให้ ก ลุ ่ ม ตั ว อย่ า งท� ำ แบบทดสอบ มงคลชีวิต เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

147


3. แบบทดสอบวัดความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ 4. แบบประเมินความพึงพอใจในการ ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรือ่ ง มงคลชีวติ 5. แบบประเมิ น คุ ณ ภาพบทเรี ย น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนส�ำหรับผู้เชี่ยวชาญ

สรุปผลการวิจัย

1. ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง บ ท เ รี ย น คอมพิ ว เตอร์ ช ่ ว ยสอน เรื่ อ ง มงคลชี วิ ต มีประสิทธิภาพ E1 = 88.23 และ E2 = 85.86 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 85/85 2. การหาประสิ ท ธิ ผ ลของการเรี ย น จากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง มงคล ชีวิต มีค่าประสิทธิผล เท่ากับ 0.68 3. การหาผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น เรื่ อ ง มงคลชี วิ ต หลั ง เรี ย นสู ง กว่ า ก่ อ นเรี ย น อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. การหาความสามารถในการคิ ด วิเคราะห์ เรื่อง มงคลชีวิต หลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 5. นั ก เรี ย นมี ค วามพึ ง พอใจที่ มี ต ่ อ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง มงคลชีวิต วิชาพระพุทธศาสนา ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึ ก ษาปี ที่ 6 โดยภาพรวมอยู ่ ใ นระดั บ ดี ม าก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.59 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.54

อภิปรายผลการวิจัย

การวิจัยเริ่มจากวางแผนและก�ำหนด

148

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

ขั้ น ตอนในการพั ฒ นาบทเรี ย น ศึ ก ษาและ วิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเอกสาร ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เข้าใจสาระส�ำคัญ โครงสร้าง เนื้อหา ก�ำหนดเนื้อหาและรูปแบบของบทเรียน ให้สัมพันธ์กับจุดประสงค์ศึกษาค้นคว้าวิธีการ สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเขียนบท รวมถึงรายละเอียดเกี่ยวกับการวัดประเมินผล หาคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยน� ำ บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช ่ ว ยสอนไปให้ ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา และด้านเทคนิคตรวจ และปรับปรุงแก้ไข พบว่าผลการประเมินคุณภาพ บทเรียน มีประสิทธิภาพ E1 = 88.23 และ E2 = 85.86 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 85/85 คุณลักษณะ ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผู้วิจัยได้ ศึกษาเนื้อหาและนิทานให้สอดคล้องกับเนื้อหา ของมงคลชีวิตทั้ง 5 มงคล อีกทั้งมีแบบทดสอบ ระหว่างเรียนทุกหน่วย ท�ำให้ผเู้ รียนสามารถเรียน รู้เนื้อหาต่างๆ ตามความถนัดและความสามารถ เกิดการเรียนรู้ในแบบรายบุคคล ในการเรียนรู้ เนือ้ หาผูเ้ รียนจะมีปฏิสมั พันธ์กบั เนือ้ หาบทเรียน โดยตรง และท�ำแบบทดสอบระหว่างบทเรียน ที่ อ ยู ่ ท ้ า ยเรื่ อ งแต่ ล ะเรื่ อ ง เพื่ อ ให้ ผู ้ เ รี ย น เกิดความเข้าใจ สามารถจดจ�ำเนื้อหาได้ดียิ่งขึ้น นอกเหนือจากการศึกษาจากนิทานในแต่ละหน่วย ซึ่งสอดคล้องกับ Heinich และคณะ (1999, pp.212 – 215 อ้างถึงใน ราตรี พิชยั พงค์, 2552, หน้า 22) ได้กล่าวว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน รู ป แบบการสอน (Tutorial instruction)


บทเรี ย นลั ก ษณะนี้ จ ะเสนอเนื้ อ หาความรู ้ เป็นเนื้อหาย่อย ๆ ในรูปแบบข้อความ ภาพ เสียงหรือทุกรูปแบบรวมกัน บทเรียนลักษณะนี้ จะเป็ น บทเรี ย น ขั้ น พื้ น ฐานของการสอน โดยใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ช ่ ว ยสอน ใช้ ใ นการสอน ได้เกือบทุกรายวิชา เหมาะสมในการเสนอเนือ้ หา ข้ อ มู ลเพื่ อ การเรียนรู้ด ้านกฎเกณฑ์ห รือด้าน วิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ และยังสอดคล้องกับ ลัดดา ศุขปรีดี (2548, หน้า 35) ที่ได้กล่าวว่า คอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดีย มีคณ ุ สมบัตเิ ด่นทีส่ ามารถ รวบรวมสือ่ ทีเ่ ป็นข้อความ รูปภาพ ภาพเคลือ่ นไหว เสี ย งและการจ� ำ ลองสถานการณ์ ท� ำ ให้ สื่ อ ความหมายได้อย่างชัดเจน โดยผู้เรียนสามารถ รั บ ข้ อ มู ล ผ่ า นช่ อ งทางการรั บ รู ้ ด ้ ว ยการมอง และการฟังเสียง การฝึกปฏิบัติหรือโต้ตอบได้ เป็นการเพิ่มพูนช่องทางการรับรู้ที่ท�ำให้เข้าใจ เนื้อหาสาระได้มากยิ่งขึ้น 2. ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องมงคลชีวิต พบว่าผล การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ E1 = 88.23 และ E2 = 85.86 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 85/85 ที่ก�ำหนด การหาประสิทธิภาพบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่วัดออกมาพิจารณาจาก ร้อยละการท�ำแบบทดสอบระหว่างเรียน กับ ร้อยละการท�ำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียน ถ้าตัวเลขเข้าใกล้ 100 มาก ยิ่งถือว่า มีประสิทธิภาพมาก ทั้งนี้บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนน�ำเสนอในลักษณะของนิทาน ท�ำให้ ผูเ้ รียนได้คดิ และเข้าใจบทเรียนได้ดยี งิ่ ขึน้ โครงสร้าง

บทเรียนมีลกั ษณะเนือ้ หาทีเ่ ข้าใจง่าย แบบทดสอบ ระหว่างบทเรียนและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นมี ค วามชั ด เจนในค� ำ ถามและมี จ�ำนวนข้อของแบบทดสอบระหว่างบทเรียน และแบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น มี ค วามเหมาะสม ดั ง นั้ น ผู ้ เ รี ย นจะมี ค วาม แตกต่างกันก็สามารถเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่อง มงคลชีวิต ได้ ผู้เรียนสามารถ เลือกเรียน ทบทวนด้วยตนเองตามความสนใจ และความสามารถ และสามารถออกจากบทเรียน ได้ ต ลอดเวลาตามความต้ อ งการ นอกจากนี้ ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของวัชระ เยียระยงค์ (2549, หน้า 94 - 95) ที่ได้ศึกษาการพัฒนา บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช ่ ว ยสอน กลุ ่ ม สาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับนักเรียน ช่วงชั้นที่ 2 ได้ค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 80.83/ 81.58 ซึ่งมีค่าสูงกว่าเกณฑ์ เนื่องจาก การสร้าง และพั ฒ นาบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช ่ ว ยสอน ได้ด�ำเนินไปตามวิธีการสร้างและพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนอย่างเป็นระบบ มีการ วิเคราะห์และศึกษาเนื้อหา น�ำไปใช้กับกลุ่ม ตั ว อย่ า งเพื่ อ หาข้ อ บกพร่ อ งต่ า ง ๆ อี ก ทั้ ง ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความสามารถ และความสนใจของแต่ละคน จัดล�ำดับเนื้อหา เป็นล�ำดับขัน้ ตอนย่อย ๆ ตัวบทเรียนมีทงั้ ข้อความ รูปภาพ เสียงและแบบฝึกหัด ช่วยให้ผู้เรียน เกิดความสนใจและความอยากรู้อยากเห็น 3. ประสิทธิผลของการเรียนจากบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง มงคลชีวิต มีค่า เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

149


เท่ากับ 0.68 หมายความว่า หลังจากที่ผู้เรียน ได้เรียนรู้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแล้ว มี ค ะแนนหลั ง เรี ย นเพิ่ ม มากขึ้ น ที่ เ ป็ น เช่ น นี้ เพราะผู ้ วิ จั ย ได้ พั ฒ นาบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่วยสอน เรื่อง มงคลชีวิต ตามหลักการสร้าง และพั ฒ นาบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช ่ ว ยสอน ผสมผสานรูปแบบการน�ำเสนอ ไม่ว่าจะเป็น ตัวอักษร ภาพนิง่ เสียง ภาพเคลือ่ นไหว มาท�ำงาน ร่วมกันมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน ทบทวนบทเรียน หรือเนือ้ หาได้ดว้ ยตนเองจากแบบทดสอบระหว่าง บทเรียน ท�ำให้ผู้เรียนสนุกสนานกับการเรียนรู้ เกิดความกระตือรือร้น สนใจในการเรียน และ ผลของประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์มคี า่ เท่ากับ E1 = 88.23 และ E2 = 85.86 สอดคล้องกับ งานวิจัยของพิกุล ปักษ์สังคะเนย์, เนตรชนก จันทร์สว่าง และ สุรทิน นาราภิรมย์ (2554, หน้า 29 - 37) ที่ได้ศึกษา การพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ชีวิตพืชและสัตว์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 2 ซึ่งได้ค่าประสิทธิผลเท่ากับ 0.55 แสดงว่านักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียน เพิม่ ขึน้ และยังสอดคล้องกับงานวิจยั ของ ณรงค์เลิศ โภควัตร (2550, หน้า 105) ที่ได้พัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดีย บนซีดี – รอม เรือ่ ง เอกภพ ส�ำ หรั บ นั ก เรี ย นชั้นมัธ ยมศึกษาปีที่ 3 สัง กัด ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาชั ย นาท ได้ ค ่ า ประสิทธิผลเท่ากับ 0.67 จากเหตุผลดังกล่าว จึงท�ำให้ผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมีความรู้มากขึ้น 4. ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น เรื่ อ ง 150

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

มงคลชีวิต หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณา จากค่าเฉลีย่ หลังเรียนมีคา่ เท่ากับ 17.17 ซึง่ สูงกว่า ก่อนเรียนที่มีค่าเท่ากับ 11.06 เนื่องจากว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนทีผ่ วู้ จิ ยั พัฒนาขึน้ ซึง่ ประกอบด้วยตัวอักษร ภาพนิง่ ภาพเคลือ่ นไหว และเสี ย ง มี ผ ลท� ำ ให้ ผู ้ เรี ย นเกิ ด ความสนใจ ตอบสนองต่อสิง่ เร้า ดึงดูดความสนใจของผูเ้ รียน มากขึ้ น และบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช ่ ว ยสอน มีค่าประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ท�ำให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเ้ รียนสูงขึน้ สอดคล้องกับงาน วิจัยของอังคณา เบ็ญโส๊ะ (2551, หน้า 53 - 58) ได้ศึกษาการสร้างชุดการสอนพัฒนาทักษะการ อ่านคิดวิเคราะห์จากหนังสือเรียนภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เพื่อสร้างชุดการสอน พัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์จากหนังสือ เรียนภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งมี ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของนั ก เรี ย นหลั ง ใช้ ชุดการสอนสูงกว่าก่อนใช้ชุดการสอนอย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นอกจากนี้ยัง สอดคล้องกับวิไล เกรัมย์, พรพิมล พงศ์สุวรรณ, สมหมาย ปะติตงั โข และ สมศักดิ์ จีวฒ ั นา (2554, หน้า 844 - 849) ที่ได้วิจัยเรื่อง การใช้บทเรียน คอมพิ ว เตอร์ ช ่ ว ยสอนเรื่ อ งดาราศาสตร์ แ ละ อวกาศระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึง่ ผลการวิจยั พบว่า นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนมีผลสัมฤทธิ์ทางการหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 5. การหาความสามารถในการคิ ด วิเคราะห์ เรื่อง มงคลชีวิต หลังเรียนสูงกว่า


ก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณาจากคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนมีค่า เท่ากับ 15.97 ซึ่งสูงกว่าก่อนเรียนที่มีค่าเท่ากับ 10.51 โดยในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องมงคลชีวิตจะมีนิทานใช้กระตุ้นความสนใจ ใคร่รู้ เป็นเรือ่ งราวทีท่ ำ� ให้ผเู้ รียนเชือ่ มโยงความรู้ ทีไ่ ด้จากนิทาน ไปสูเ่ นือ้ หาบทเรียน และสามารถ น� ำ ความรู ้ จ ากบทเรี ย นไปประยุ ก ต์ ใช้ ใ นชี วิ ต ประจ� ำ วั น อี ก ทั้ ง ยั ง มี แ บบทดสอบระหว่ า ง บทเรียนเพื่อช่วยทบทวนและเชื่อมโยงเนื้อหา กับเหตุการณ์ในชีวิตประจ�ำวัน ซึ่งสอดคล้องกับ ดลยา แตงสมบูรณ์ (2551, หน้า 27) ที่ได้สรุป ความหมายของการคิดวิเคราะห์ ว่าหมายถึง ความสามารถในการจ�ำแนก แยกแยะองค์ประกอบ ของสิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง ซึ่ ง อาจจะเป็ น วั ต ถุ สิ่ ง ของ เรื่องราว เหตุการณ์ หรือเชื่อมโยงความสัมพันธ์ ของข้อมูลว่าประกอบด้วยอะไร มีความส�ำคัญ ความสัมพันธ์ และหลักการอย่างไร เพื่อให้ได้ ข้อมูลที่เพียงพอในการตัดสินใจและแก้ปัญหา และสุมาลี หมวดไธสง (2554, หน้า 25) ยังได้ กล่าวว่า การคิดเชิงวิเคราะห์นั้นมีความจ�ำเป็น ต่อการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันอย่างมาก การคิด เชิงวิเคราะห์เป็นทักษะการคิดทีส่ ามารถพัฒนาได้ ตั้ ง แต่ วั ย เด็ ก เล็ ก ไปจนถึ ง ระดั บ มหาวิ ท ยาลั ย เพือ่ ให้นกั เรียนสามารถคิดได้ดว้ ยตัวเอง เกิดความ ส�ำเร็จในการเรียนรู้ เพราะการเรียนรูท้ ดี่ ตี อ้ งเป็น เรื่องของการรู้จักคิด นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับ งานวิจัยของสุจิตรา วภักดิ์เพชร (2555) ซึ่งได้ ศึกษา การเปรียบเทียบความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา

และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ 4 MAT ร่วมกับการ คิดแบบอริยสัจ 4 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 พบว่า ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ รูปแบบการสอนแบบ 4 MAT ร่วมกับการคิด แบบอริยสัจ 4 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 6. การศึ ก ษาความพึ ง พอใจที่ มี ต ่ อ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง มงคลชีวิต โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ระดับมากที่สุด มีค่า เฉลี่ยเท่ากับ 4.59 ทั้งนี้เป็นเพราะว่าบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องมงคลชีวิต ที่ผู้วิจัย ได้พัฒนาขึ้นนี้ มีลักษณะการน�ำเสนอเนื้อหาที่ ผสมกับภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว มีนิทานที่ช่วย เร้ า ความสนใจของผู ้ เรี ย น ดึ ง ดู ด ความสนใจ ช่วยให้ผู้เรียนกระตือรือร้นในการศึกษาเนื้อหา บทเรี ย น เรื่ อ งมงคลชี วิ ต ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ เพียงพร ยะสะนพ (2552, หน้า 11) ที่กล่าวถึง คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนไว้วา่ คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน คือการน�ำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดกระบวนการ เรียนการสอนประกอบด้วยบทเรียนและการวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากคอมพิวเตอร์ซึ่งมี รูปแบบตัวหนังสือสีและภาพกราฟิกสวยงาม ผูเ้ รียนสามารถเรียนรูด้ ว้ ยตนเองผูเ้ รียนมีปฏิสมั พันธ์ กับคอมพิวเตอร์และสามารถทราบผลการเรียน ของนักเรียนว่าบรรลุถึงเกณฑ์ที่ตั้งหรือไม่มีการ เสริมแรงจูงใจในการเรียนให้กับผู้เรียน บทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง มงคลชีวิตนี้เน้น การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง เมือ่ นักเรียนท�ำแบบทดสอบ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

151


ระหว่างเรียนจะสามารถตรวจค�ำตอบได้ทันที ซึ่งการท�ำแบบทดสอบระหว่างเรียนได้ถูกต้อง จะช่วยเสริมแรงให้แก่นักเรียน แต่หากผู้เรียน ตอบผิด ก็สามารถย้อนกลับไปเรียนเนือ้ หาได้ใหม่ เพื่อสร้างความเข้าใจมากขึ้น ด้วยเหตุนี้ผู้เรียน จึ ง มี ค วามพึ ง พอใจต่ อ บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่วยสอน เรื่อง มงคลชีวิต อยู่ในระดับมากที่สุด ทั้งนี้สอดคล้องกับ วรวรรณ ส�ำอางค์ (2553, หน้า 9) ทีไ่ ด้พฒ ั นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้ศึกษา ค่าความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน ส�ำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับมากที่สุด

ข้อเสนอแนะ

1. ข้อเสนอแนะทั่วไป 1.1 การออกแบบและพัฒนา 1.1.1 ออกแบบหน้าเมนูหลัก ให้มีสัญลักษณ์แสดงให้ผู้เรียนทราบว่าได้เรียน บทเรียนใดไปแล้วบ้าง เพื่ออ�ำนวยความสะดวก ให้ผู้เรียน 1.1.2 ควรเพิ่ ม เติ ม ภาพนิ่ ง ภาพเคลื่ อ นไหวที่ใช้ในบทเรียนคอมพิว เตอร์

152

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

ช่วยสอน ให้สอดคล้องกับเนือ้ หา รวมถึงสีตวั อักษร และสีพื้นหลังใช้สีสบายตาเพื่อช่วยให้ผู้เรียน เกิดความเข้าใจในเนื้อหามากยิ่งขึ้น 1.2 ด้านการน�ำไปใช้ 1.2.1 ในการให้ผเู้ รียนศึกษาบท เรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ครูผู้สอนต้องคอย ดูแลความเรียบร้อย เป็นผูใ้ ห้คำ� แนะน�ำเมือ่ ผูเ้ รียน เกิดข้อสงสัย 1.2.2 การศึ ก ษาบทเรี ย น คอมพิ ว เตอร์ ช ่ ว ยสอนควรให้ ผู ้ เรี ย นศึ ก ษา บทเรียนด้วยตนเอง 1 คนต่อ 1 เครื่อง เพื่อให้ ผูเ้ รียนได้ศกึ ษาท�ำความเข้าใจบทเรียน น�ำความรู้ ที่ได้จากเนื้อหาบทเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจ�ำวันได้ 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ควรมี ก ารส่ ง เสริ ม ให้ ค รู ผู ้ ส อนใน รายวิชาต่าง ๆ หรือวิชาที่มีเนื้อหาค่อนข้างมาก เช่น หน้าที่พลเมือง ประวัติศาสตร์ เป็นต้น ได้วิจัยพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในลักษณะน�ำเสนอเนื้อหาและมีแบบทดสอบ ระหว่างเรียน รวมถึงมีแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดแรงบันดาลใจ กระตือรือร้นในการเรียน ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงขึ้นตามล�ำดับ


บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: องค์การ รับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. (2555). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. ชลบุรี : โรงเรียนอนุบาลเมืองใหม่ ชลบุรี ขวัญตา ดิสริยะกุล. (2547). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการผลิตกระดาษ จากเยื่อใบสับปะรด. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยบูรพา. ณรงค์เลิศ โภควัตร. (2550). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย บนซีดี – รอม เรื่อง เอกภพ ส�ำหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาชัยนาท. ส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ดลยา แตงสมบูรณ์. (2551). การศึกษาผลการพัฒนาการคิดวิเคราะห์โดยใช้กิจกรรมการแสวงหา และค้ น พบความรู ้ ด ้ ว ยตนเองประกอบการประเมิ น ตามสภาพจริ ง ส�ำหรั บ นั ก เรี ย น ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการวัดผลการศึกษา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ไทยภูษา สุวรรณพันธ์. (2550). ศึกษาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียน อนุบาลวัดโคกท่าเจริญ สังกัดส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาชลบุรี เขต 2. งานนิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยบูรพา. นิรดา ปัตนวงศ์. (2552). เปรียบเทียบผลการใช้วิธีสอนโดยการใช้ปัญหาเป็นฐานกับวิธีสอน แบบสืบเสาะหาความรูท้ มี่ ตี อ่ ทักษะชีวติ และผลสัมฤทธิท์ างการเรียนในกลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์การ ศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยทักษิณ. ปริยาภรณ์ ตั้งคุณานันต์. (2557). การจัดการห้องเรียนและแหล่งเรียนรู้. กรุงเทพฯ : มีน เซอร์วิส ซัพพลาย. พิกุล ปักษ์สังคะเนย์, เนตรชนก จันทร์สว่าง และสุรทิน นาราภิรมย์. (2554). การพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ชีวิตพืชและสัตว์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 2. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 5(1), 29 – 38. เพียงพร ยะสะนพ. (2552). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง Local Festivals วิชา อ031204 ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

153


การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ. โรงเรียนเมืองนครศรีธรรมราช อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช, ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12, ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน. ภูมพิ ลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั . (2534). สุนทรพจน์ในวันรับปริญญา. มหาวิทยาลัย เชียงใหม่. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : นานมี บุคส์พับลิเคชั่นส์. ราตรี พิชัยยงค์. (2552).การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจ�ำวิชาหลักภาษา ไทยโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบการ์ตูน เรื่องชนิดภาพเคลื่อนไหวที่มีรูปแบบ การสรุปเนื้อหา 2 แบบ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา. ลัดดา ศุขปรีดี. (2548). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง แสงและสี. วารสาร ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 17(1), 27-38. วรวรรณ ส�ำอางค์. (2553). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องแรง และการเคลื่อนที่ส�ำหรับนักเรียนชั้นปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิจัยและประเมินผลทางการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร. วัชระ เยียระยงค์. (2549). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชีพและเทคโนโลยี เรือ่ ง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับนักเรียนช่วงชัน้ ที่ 2. สารนิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย ศิลปากร. วันดี ต่อเพ็ง. (2553). ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการมัธยมศึกษา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วิไล เกรัมย์, พรพิมล พงศ์สวุ รรณ, สมหมาย ปะติตงั โข และสมศักดิ์ จีวฒ ั นา. (2554). การใช้บทเรียน คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรือ่ งดาราศาสตร์และอวกาศ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3. ใน การประชุม วิ ช าการเสนอผลงานวิ จั ย ระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ครั้ ง ที่ 23 (หน้ า 844-849). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. ศิรพิ นั ธุ์ ศิรพิ นั ธุ์ และยุพาวรรณ ศรีสวัสดิ.์ (2554). การจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็นส�ำคัญ : วิธีการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. (หน้า 154

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


104 – 112). 3(1), 104 – 112. สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว. (2555). แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ 2555 – 2559. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2551). รายงานการติดตามความก้าวหน้าในการจัดการ แหล่งเรียนรู้ ปี 2549 – 2550. กรุงเทพฯ : เพลิน สตูดิโอ จ�ำกัด. ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ.2555-2559. กรุงเทพฯ: ส�ำนักนายกรัฐมนตรี. สุจิตรา วภักดิ์เพชร. (2555). การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ความสามารถ ในการคิดแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบการสอน แบบ 4 MAT ร่วมกับการคิดแบบอริยสัจ 4 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร. สุมาลี หมวดไธสง. (2554). ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยทีไ่ ด้รบั การจัดกิจกรรม กระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อังคณา เบ็ญโส๊ะ. (2551). การสร้างชุดการสอนพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์จากหนังสือ เรียนภาษาพาที ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษา ไทย, มหาวิทยาลัยทักษิณ. อัมพร สาระพันธ์. (2547). ศึกษาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาในโรงเรียน ประถมศึกษา อ�ำเภอเมืองชลบุรี สังกัดส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาชลบุรี เขต 1. งานนิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยบูรพา.

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

155


การพัฒนามัลติมีเดีย เรื่อง การใช้แท็บเล็ตเพื่อการฝึกอบรมครู ระดับชั้นประถมศึกษา ในโรงเรียนเขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร A Development of Multimedia Lesson on Using Tablet for Teacher Training in Primary School in Chomthong District Bangkok Metropolis. ปณิตา ปานทอง * รองศาสตราจารย์ ดร.วารินทร์ รัศมีพรหม**

บทคัดย่อ

การวิจยั ครัง้ นี้ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ (1) พัฒนา บทเรียนมัลติมเี ดียเรือ่ งการใช้แท็บเล็ตเพือ่ การฝึก อบรมครู ในโรงเรียนประถมศึกษา เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ให้มปี ระสิทธิภาพไม่ตำ�่ กว่าเกณฑ์ 80/80 (2) หาประสิทธิผลการเรียนรู้จากการ ฝึกอบรมด้วยบทเรียนมัลติมเี ดียทีพ่ ฒ ั นาขึน้ และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของครูต่อการฝึกอบรม จากบทเรียนมัลติมเี ดียทีพ่ ฒ ั นาขึน้ กลุม่ ประชากร ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นครูที่สอนระดับชั้น ประถมศึกษาในโรงเรียนเขตจอมทอง กรุงเทพ มหานคร จ�ำนวน 40 คน ได้มาโดยการสุม่ อย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีดังนี้ (1) บทเรียน มัลติมีเดียเรื่องการใช้แท็บเล็ตเพื่อการฝึกอบรมครู ในโรงเรียนประถมศึกษา เขตจอมทอง กรุงเทพ * **

มหานคร (2) แบบประเมินส�ำหรับผู้เชี่ยวชาญ ด้านมัลติมีเดีย มี 2 ด้าน ได้แก่ แบบประเมิน ส�ำหรับผูเ้ ชีย่ วชาญด้านเนือ้ หา และ แบบประเมิน ส�ำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษา (3) แบบทดสอบก่อนอบรม ระหว่างอบรม และ แบบทดสอบหลังการอบรม เรือ่ งการใช้แท็บเล็ต เพือ่ การฝึกอบรมครูทพี่ ฒ ั นาขึน้ (4) แบบสอบถาม ความพึงพอใจของครูหลังการอบรมด้วยบทเรียน มัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้น ผลการวิจัยพบว่า (1) ประสิทธิภาพ บทเรียนมัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพ 81.16/91.67 แสดงว่ า บทเรี ย นมั ล ติ มี เ ดี ย มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ที่ก�ำหนด (2) ดัชนีประสิทธิผลการฝึกอบรมด้วยบทเรียน

สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม อาจารย์ที่ปรึกษา

156

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


The results of the research were as fallow (1) The efficiency index of the multimedia was 81.16/91.67 (2) Its effectiveness index was 0.78 and (3) teachers’ satisfaction were on high level. ( = 4.55, ค� ำ ส� ำ คั ญ : มั ล ติ มี เ ดี ย , ประสิ ท ธิ ภ าพ, ดั ช นี S.D. = 0.14) ประสิทธิผล, ความพึงพอใจ Keywords: Multimedia, The efficiency, The effectiveness, Satisfaction Abstract The objectives of this research were to (1) develop a multimedia lesson ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา on using tablet for a teacher training in ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามา Primary school in Chomthong District มีบทบาทต่อชีวติ และการศึกษาของมนุษย์มากขึน้ Bangkok Metropolis with its expected ef- ท� ำ ให้ แ นวความคิ ด ของการเรี ย นรู ้ เ ปลี่ ย นไป ficiency index at 80/80 (2) find out learn- ไม่ยดึ ติดกับรูปแบบการสอนเดิมในชัน้ เรียนทีต่ อ้ ง ing effectiveness index (3) investigate มีครูสอนด้วยวิธีการเดิมอย่างเดียว แต่สามารถ teacher’s satisfaction with a multimedia ปรับระบบการเรียน การสอน วิธสี อน สือ่ การสอน lesson on using tablet. The sample in รวมทัง้ ระบบบริหารหรือจัดการสิง่ ใหม่ ๆ มาช่วย this research were 40 teachers in primary สร้างรากฐานที่เป็นรูปธรรมขึ้นในความคิดของ schools in Chomthong District Bangkok ผูเ้ รียน เพือ่ ให้สงิ่ ทีเ่ ป็นนามธรรมเกิดเป็นรูปธรรม selected by simple random sampling. ขึ้นในความคิด แต่ส�ำหรับสิ่งที่ยุ่งยากซับซ้อน The research instruments consisted of (1) ผู้เรียนย่อมไม่มีความสามารถจะท�ำได้ การใช้ a multimedia lesson on using tablet for อุปกรณ์เข้าช่วยจะท�ำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจ The teacher Training in Primary schools และสร้างรูปธรรมขึ้นในใจได้ สื่อการสอนช่วยเร้า in Chomthong District Bangkok (2) evalu- ความสนใจของผู้เรียน เพราะผู้เรียนสามารถใช้ ation tools for multimedia experts on ประสาทสัมผัสได้ด้วยตา หู และการเคลื่อนไหว contents and multimedia experts on จับต้องได้แทนการฟังหรือดูเพียงอย่างเดียว technology. (3) pre–test, embedded-test เป็นรากฐานในการพัฒนาการเรียนรู้และช่วย and post–test. (4) A set of questionnaires ความทรงจ�ำอย่างถาวร ผู้เรียนจะสามารถน�ำ on teachers’ satisfaction. ประสบการณ์เดิมไปสัมพันธ์กับประสบการณ์ มัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้น เท่ากับ 0.78 (3) ความ พึงพอใจของครูต่อการฝึกอบรมจากบทเรียน มัลติมเี ดียทีพ่ ฒ ั นาขึน้ อยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ ( = 4.55, S.D. = 0.14)

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

157


ใหม่ ๆ ได้ เมื่อมีพื้นฐานประสบการณ์เดิมที่ดี อยูแ่ ล้ว ผูเ้ รียนได้มพี ฒ ั นาการทางความคิดต่อเนือ่ ง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ท�ำให้เห็นความสัมพันธ์ เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น เวลา สถานที่ วัฏจักร ของสิ่งมีชีวิต ช่วยเพิ่มทักษะในการอ่านและ เสริมสร้างความเข้าใจในความหมายของค�ำใหม่ ๆ ให้มากขึ้น ผู้เรียนที่อ่านหนังสือช้าก็จะสามารถ อ่านได้ทันพวกที่อ่านเร็วได้ เพราะได้ยินเสียง และได้เห็นภาพประกอบกัน (ไชยยศ เรืองสุวรรณ) (ออนไลน์. 2555) สื่อการสอนเกิดขึ้นได้ด้วย การน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาเป็นปัจจัยส�ำคัญ ทีจ่ ะท�ำให้เกิดการพัฒนาก้าวหน้าในระบบการเรียน การสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งมีหลายรูปแบบ (บุญเกื้อ ควรหาเวช, 2542) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์แท็บเล็ตเป็น อุปกรณ์ทไี่ ด้รบั ความนิยมใช้ในสังคมสารสนเทศ ระบบเปิดในปัจจุบันที่ถูกน�ำมาใช้ประโยชน์ใน ทุกกลุ่มอาชีพรวมทั้งการศึกษาและการเรียนรู้ ของผู้เรียนทุกระดับ เนื่องมาจากสมรรถนะทาง เทคโนโลยีที่สร้างความสะดวกและมีประสิทธิภาพ สูง (สุรศักดิ์ ปาเฮ, 2554) จุดเด่นของคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ตคือ สามารถแสดงสิ่งที่ไม่สามารถแสดง ได้ในกระดาษ เช่น ภาพ วีดิทัศน์ หรือ เสียง จึงเป็นเทคโนโลยีทกี่ อ่ ให้เกิดการเรียนรูไ้ ด้อย่างมี ความหมาย สามารถจ�ำลองสถานการณ์เพือ่ การ เรียนรู้และการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น นอกจาก นั้นคอมพิวเตอร์แท็บเล็ตเครื่องหนึ่งสามารถ บรรจุเนื้อหาข้อมูลเท่ากับหนังสือหลายพันเล่ม และเชือ่ มต่อข้อมูลในอินเทอร์เน็ตผ่านเครือข่าย การสื่อสารแบบไร้สาย (Wireless Network) 158

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

ท�ำให้สะดวกในการที่จะเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ได้ อย่างรวดเร็วมากขึ้น ปัจจุบันปัญหาของครูผู้สอนในระดับ ประถมศึกษาในการใช้เครือ่ งคอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต) มีอยู่หลายประการ เช่น ครูใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต) ไม่เป็น และไม่รู้ วิ ธี เ ก็ บ รั ก ษาว่ า จะท� ำ อย่ า งไร (ศู น ย์ วิ จั ย เพื่ อ สร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บ ในเด็ก) (ออนไลน์. 2556) และ (กองเทคโนโลยี เพือ่ การเรียนการสอน ส�ำนักการศึกษา) (ออนไลน์. 2556) พบว่าครูผู้สอนมีปัญหาการใช้แท็บเล็ต ในระดับปานกลาง (เฉลิมชัย บุญยะลีพรรณ) (ออนไลน์. 2556) ได้กล่าวว่าพฤติกรรมการสอน ของครู ยังต้องพึ่งผู้ช่วยด้านเทคนิคระหว่าง การสอนที่ใช้แท็บเล็ต เพราะหากครูไม่ช�ำนาญ การใช้แท็บเล็ต การเรียนการสอนก็จะยุติ ต้องกลับ ไปใช้หนังสือสอนแทน และส�ำนักงานข่าวอิศรา (ออนไลน์. 2556) กล่าวว่าครูรุ่นเก่าไม่ชอบ การสอนด้วยแท็บเล็ตเนื่องจากใช้ไม่เป็น ท�ำให้ หลายโรงเรียนไม่น�ำแท็บเล็ตมาใช้ในการเรียน การสอน จากหลักการและเหตุผลดังกล่าวผู้วิจัย สนใจที่จะพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดียเรื่องการใช้ แท็บเล็ตเพือ่ การฝึกอบรมครู ในโรงเรียนประถม ศึกษา เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ เสริ ม สร้ า งทั ก ษะในการใช้ แ ท็ บ เล็ ต ประกอบ การเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และยังเป็นการสร้างเจตคติที่ดี เกี่ยวกับการใช้แท็บเล็ต ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่จะ ช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกับการใช้แท็บเล็ตของครู


ให้สามารถใช้แท็บเล็ตเพื่อการเรียนการสอน 1) รายบุคคล ใช้กลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 3 คน โดยการเลือกแบบเจาะจงคือ อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ครูที่มีความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ได้ ดีมาก ปานกลาง และน้อย อย่างละ1 คน วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2) กลุ่มย่อย ใช้กลุ่มตัวอย่าง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ คือ 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง จ�ำนวน 7 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย การใช้แท็บเล็ตเพื่อการฝึกอบรมครู ในโรงเรียน 3) กลุ่มใหญ่ ใช้กลุ่มตัวอย่าง ประถมศึกษา เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 30 คน เพื่อหาประสิทธิภาพของสื่อ มัลติมีเดีย E1 / E2 หาค่าดัชนีประสิทธิผล และ ให้มีประสิทธิภาพไม่ต�่ำกว่าเกณฑ์ 80/80 2. เพือ่ หาดัชนีประสิทธิผลการฝึกอบรม ความพึงพอใจ จากบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง การใช้แท็บเล็ต 2. ขอบเขตด้านเนื้อหา เพื่อการฝึกอบรบครู ในโรงเรียนประถมศึกษา เพื่อให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร อธิบายเกี่ยวกับการใช้แท็บเล็ตเบื้องต้น และ 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของครูต่อ สามารถน�ำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันโดยมี การฝึกอบรมด้วยบทเรียนมัลติมีเดียเรื่องการใช้ เนื้อหาแบ่งออก ดังนี้ แท็บเล็ตเพือ่ การฝึกอบรมครู ในโรงเรียนประถม 2.1 ท� ำ ความรู ้ จั ก กั บ แท็ บ เล็ ต ศึกษา เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร (ลักษณะทั่วไปและส่วนประกอบของแท็บเล็ต) 2.2 พื้นฐานการใช้งานแท็บเล็ต 2.3 การติดตั้งโปรแกรมประยุกต์ ขอบเขตของการวิจัย 1. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่ม (Application Android) 2.4 การถ่ า ยโอนข้ อ มู ล ระหว่ า ง ตัวอย่าง 1.1 ประชากร ได้แก่ ครูในโรงเรียน แท็บเล็ตกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ประถมศึกษา เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร 2.5 ข้อควรระวังในการใช้งานและ การแก้ปัญหาแท็บเล็ตเบื้องต้น จ�ำนวน 128 คน 3. ขอบเขตด้านเวลา 1.2 กลุม่ ตัวอย่าง ได้แก่ ครูระดับชัน้ ประถมศึกษาในโรงเรียนเขตจอมทอง กรุงเทพ ด�ำเนินการวิจยั ในปีการศึกษา 2557 มหานคร จ�ำนวน 40 คน โดยวิธกี ารสุม่ อย่างง่าย 2559 4. ขอบเขตด้านสถานที่ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม โรงเรี ย นในเขตจอมทอง กรุ ง เทพ มหานคร เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

159


กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น การฝึ ก อบรมด้ ว ย บทเรียนมัลติมีเดีย เรือ่ งการใช้แท็บเล็ต เพือ่ การฝึกอบรมครู ในโรงเรียนประถม ศึกษา เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร

ตัวแปรตาม 1. ดั ช นี ป ระสิ ท ธิ ผ ลการ เรียนรูจ้ ากการฝึกอบรม ด้วยบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่ อ ง การใช้ แ ท็ บ เล็ ต เพื่ อ การฝึ ก อบรมครู ในโรงเรี ย นประถม ศึ ก ษา เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร 2. ความพึงพอใจต่อการ ฝึกอบรมจากบทเรียน มัลติมีเดียเรื่องการใช้ แ ท็ บ เ ล็ ต เ พื่ อ ก า ร ฝึกอบรมครู ในโรงเรียน ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า เข ต จอมทอง ก รุ ง เทพ มหานคร

นิยามศัพท์เฉพาะ

การวิจยั และพัฒนา หมายถึง กระบวนการ สร้ า งสรรค์ สื่ อ การเรี ย นการสอนที่ ใช้ ใ นการ ฝึกอบรมอย่างเป็นระบบและมีการทดลองใช้ เพื่อตรวจสอบและปรับปรุงบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่ อ งการใช้ แ ท็ บ เล็ ต เพื่ อ การฝึ ก อบรมครู ในโรงเรียนประถมศึกษา เขตจอมทอง กรุงเทพ มหานคร ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ก�าหนด บทเรียนมัลติมีเดีย หมายถึง บทเรียน สื่อประสม ประกอบไปด้วย ข้อความ เสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน์ และค�าถาม เพื่อใช้ในการฝึกอบรมครู ในโรงเรียนประถม ศึกษา เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร 160

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

ประสิทธิภาพ หมายถึง ผลการฝึกอบรม ครู ในโรงเรี ย นประถมศึ ก ษา เขตจอมทอง กรุ ง เทพมหานคร โดยใช้ บ ทเรี ย นมั ล ติ มี เ ดี ย ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประกอบไปด้วย ข้อความ เสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน์ และค�าถาม พัฒนาจนมีประสิทธิภาพไม่ตา�่ กว่าเกณฑ์ 80/80 80 ตัวแรก (E1) หมายถึง คะแนน เฉลี่ยของผู้รับการฝึกอบรมทุกคนที่ได้จากการ ท�าแบบฝึกหัดระหว่างการฝึกอบรม ร้อยละ ไม่ต�่ากว่า 80 80 ตัวหลัง (E2) หมายถึง คะแนน เฉลี่ ย ของผู ้ รั บ การฝึ ก อบรมทุ ก คนที่ ไ ด้ จ าก การท�าแบบทดสอบหลังการฝึกอบรม ร้อยละ ไม่ต�่ากว่า 80 ดั ช นี ป ระสิ ท ธิ ผ ล หมายถึ ง อั ต รา ความก้าวหน้าของคะแนนผลสัมฤทธิท์ างการเรียน จากการฝึกอบรมด้วยบทเรียนมัลติมเี ดียเรือ่ งการ ใช้ แ ท็ บ เล็ ต เพื่ อ การฝึ ก อบรมครู ในโรงเรี ย น ประถมศึกษา เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร โดยเปรียบเทียบจากคะแนนก่อนการฝึกอบรม และหลังการฝึกอบรม ก�าหนดค่าดัชนีประสิทธิผล โดยค�านวนจากสูตร E.I. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่ดี ความรู้สึกชอบ และความต้องการมากหรือน้อย ของครู ที่ เข้ า รั บ การฝึ ก อบรมที่ มี ต ่ อ บทเรี ย น มัลติมีเดียเรื่องการใช้แท็บเล็ตเพื่อการฝึกอบรม ครู ในโรงเรี ย นประถมศึ ก ษา เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร แท็ บ เล็ ต หมายถึ ง คอมพิ ว เตอร์ ส่วนบุคคลชนิดหนึง่ ทีม่ ขี นาดเล็กกว่าคอมพิวเตอร์


4. น�ำบทเรียนมัลติมีเดียให้ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบประเมิ น คุ ณ ภาพ โดยผู ้ เชี่ ย วชาญ ด้านเนื้อหาจ�ำนวน 3 ท่าน และผู้เชี่ยวชาญ ด้านมัลติมเี ดียจ�ำนวน 3 ท่าน ประเมินคุณภาพของ บทเรียน โดยใช้แบบประเมินคุณภาพมัลติมีเดีย และท�ำการปรับปรุงแก้ไขตามค� ำแนะน�ำของ ผู้เชี่ยวชาญ 5. น� ำ บ ท เรี ย น มั ล ติ มี เ ดี ย เข ้ า สู ่ กระบวนการพัฒนา 5.1 ทดลองรายบุ ค คลแบบ 1:1 กับกลุม่ ตัวอย่าง จ�ำนวน 3 คน แล้วปรับปรุงแก้ไข 5.2 ทดล องกลุ ่ ม เล็ ก กั บ กลุ ่ ม ตัวอย่าง จ�ำนวน 7 คน แล้วปรับปรุงแก้ไข 5.3 ทดลองกลุ ่ ม ใหญ่ กั บ กลุ ่ ม ตัวอย่าง จ�ำนวน 30 คน และหาค่าประสิทธิภาพ 6. น� ำ บ ท เ รี ย น มั ล ติ มี เ ดี ย ที่ ไ ด ้ วิธีด�ำเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ เป็นการพัฒนาบทเรียน ประสิทธิภาพแล้ว ไปหาดัชนีประสิทธิผล และ มั ล ติ มี เ ดี ย เรื่ อ ง การใช้ แ ท็ บ เล็ ต เพื่ อ การฝึ ก ความพึงพอใจ ใช้กลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 30 คน 7. สรุป อภิปรายผล อบรมครู ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการดังนี้ 1. ศึกษาข้อมูลจากเอกสาร ต�ำรา สื่อ ออนไลน์ ที่เกี่ยวกับแท็บเล็ต มัลติมีเดีย และ ผลการวิจัย งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. ผลการหาประสิ ท ธิ ภ าพบทเรี ย น 2. จัดท�ำ Flowchart และ Story- มัลติมีเดีย board ของมัลติมเี ดีย โดยมัลติมเี ดียทีพ่ ฒ ั นาขึน้ ผู ้ วิ จั ย ได้ น� ำ บทเรี ย นมั ล ติ มี เ ดี ย ไป ประกอบด้วย จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา ทดลองใช้ โดยบันทึกคะแนนจากแบบทดสอบ บทเรียน และแบบทดสอบ เสนอให้อาจารย์ทปี่ รึกษา ระหว่างอบรมและหลังอบรม น�ำมาหาประสิทธิภาพ วิทยานิพนธ์ได้ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข บทเรียนมัลติมเี ดีย โดยใช้สตู รหาค่าประสิทธิภาพ 3. ด�ำเนินการสร้างบทเรียนมัลติมีเดีย (E1/E2) ผลการทดสอบระหว่างอบรมของครู โดยใช้โปรแกรม Autroware 7 ให้อาจารย์ทปี่ รึกษา ในโรงเรียนประถมศึกษา เขตจอมทอง กรุงเทพ มหานคร จ�ำนวน 30 คน ได้คะแนนเฉลี่ย 16.23 ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข โน้ตบุ๊ค พกพาง่าย น�้ำหนักเบา มีคีย์บอร์ดในตัว หน้าจอเป็นระบบสัมผัส ปรับหมุนจอได้อตั โนมัติ แบตเตอรี่ใช้งานได้นานกว่าคอมพิวเตอร์พกพา ทั่วไป ระบบปฏิบัติการมีทั้งที่เป็น iOS Android และ Windows การฝึกอบรม หมายถึง การจัดกิจกรรม การเรียนรูใ้ ห้ครูได้ฝกึ อบรมจากบทเรียนมัลติมเี ดีย เรือ่ งการใช้แท็บเล็ตเพือ่ การฝึกอบรมครู ในโรงเรียน ประถมศึกษา เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ซึ่งแบ่งเนื้อหาการเรียนรู้ออกเป็น 5 หัวข้อหลัก มีการท�ำแบบทดสอบก่อนฝึกอบรม ระหว่าง อบรม และแบบทดสอบหลังอบรม เพื่อพัฒนา ทักษะ ความช�ำนาญ ความสามารถ และทัศนคติ ของครู ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดไว้

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

161


จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 81.16 แสดงว่าบทเรียนมัลติมเี ดียมีประสิทธิภาพ ระหว่างเรียน (E1) เท่ากับ 81.16 และผลการ ทดสอบหลังอบรมได้คะแนนเฉลี่ย 18.33 จาก คะแนนเต็ม 20 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.67 แสดงว่ า บทเรี ย นมั ล ติ มี เ ดี ย มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ หลังเรียน (E2) เท่ากับ 91.67 มัลติมเี ดียทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.16/91.67 เป็นไปตาม เกณฑ์ 80/80 2. ผลการหาค่ า ดั ช นี ป ระสิ ท ธิ ผ ล จากการอบรมโดยใช้บทเรียนมัลติมีเดีย ผูว้ จิ ยั ได้นำ� บทเรียนมัลติมเี ดียไปทดลอง ใช้ ใ นการอบรมกั บ กลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง โดยบั น ทึ ก คะแนนจากแบบทดสอบก่ อ นและหลั ง การ ฝึกอบรม เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผล โดยใช้ สูตรดัชนีประสิทธิผล (E.I.) ได้คา่ ดัชนีประสิทธิผล ของมัลติมีเดีย เป็น 0.78 สูงกว่าเกณฑ์คือ 0.5 ตรงตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ 3. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของ ครูที่มีต่อบทเรียนมัลติมีเดีย หลังจากกลุ่มทดลอง กลุ่มใหญ่ จ�ำนวน 30 คน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียในการอบรม ตามขั้นตอนที่ผู้วิจัยได้ก�ำหนดไว้ และได้แจก แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการใช้บทเรียน มัลติมเี ดีย น�ำผลการตอบแบบสอบถามมาวิเคราะห์ หาค่าเฉลี่ยและแปลผลความพึงพอใจของครู ในโรงเรียนประถมศึกษา เขตจอมทอง กรุงเทพ มหานคร ที่ ไ ด้ รั บ การฝึ ก อบรมด้ ว ยบทเรี ย น มัลติมีเดียมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด คือ สามารถเรียนซ�ำ้ ได้ ( = 4.97 ) รองลงมาคือ สามารถ 162

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

น�ำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ( = 4.87) และ มีความพึงพอใจในระดับน้อยที่สุด คือตัวอักษร ชัดเจน อ่านง่าย ( = 3.9) โดยภาพรวมผูร้ บั การอบรม มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ( = 4.55)

สรุปผลการวิจัย

1. ประสิทธิภาพของบทเรียนมัลติมเี ดีย เรื่อง การใช้แท็บเล็ตเพื่อการฝึกอบรมครูใน โรงเรียนประถมศึกษา เขตจอมทอง กรุงเทพ มหานคร มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.16/91.67 สูงกว่าเกณฑ์คือ 80/80 เป็นไปตามสมมุติฐาน ที่ก�ำหนด 2. ค่าดัชนีประสิทธิผลการเรียนรู้จาก การฝึกอบรมด้วยบทเรียนมัลติมเี ดียทีพ่ ฒ ั นาขึน้ เท่ากับ 0.78 สูงกว่าเกณฑ์ 0.5 เป็นไปตาม สมมุติฐานที่ก�ำหนด 3. ความพึ ง พอใจของครู ใ นโรงเรี ย น ประถมศึกษา เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ในการใช้บทเรียนมัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้นมีความ พึงพอใจอยู่ในระดับ มากที่สุด

การอภิปรายผล

1. บทเรี ย นมั ล ติ มี เ ดี ย เรื่ อ งการใช้ แท็บเล็ตเพือ่ การฝึกอบรมครู ในโรงเรียนประถม ศึกษา เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ที่พัฒนา ขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.16/91.67 ทั้งนี้ เพราะบทเรียนมัล ติมีเดียที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นนี้ ได้ผ่านกระบวนการพัฒนาอย่างเป็นระบบ คือ มีการศึกษาข้อมูล และเนื้อหา มีการวิเคราะห์ เนือ้ หาแบ่งเนือ้ หาออกเป็นส่วนย่อย ๆ ตามล�ำดับ


ขัน้ ตอน ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง 3 ขัน้ ตอน ทัง้ รายบุคคล กลุม่ ย่อย และกลุม่ ใหญ่ ซึง่ สอดคล้อง กับงานวิจยั ของ มินตรา ใจดี (2556) ศึกษาการใช้ แท็บเล็ตเพื่อการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียน สังกัดส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา สิ ง ห์ บุ รี แ ละเพื่ อ เปรี ย บเที ย บการใช้ แ ท็ บ เล็ ต เพื่ อ การจั ด การเรี ย นรู ้ ข องครู โรงเรี ย นสั ง กั ด ส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสิงห์บรุ ี ผลการศึกษาพบว่า มีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.68/ 87.76 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ยังเป็นไปทางเดียวกับ ประภาศรี แสงอนุศาสน์ (2557) การพัฒนาบทเรียนมัลติมเี ดียบนแท็บเล็ต โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบการสร้าง องค์ ค วามรู ้ ด้ ว ยตนเอง รายวิ ช าเทคโนโลยี สารสนเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผลการศึกษา พบว่า มีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.68/87.76 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2. ค่ า ดั ช นี ป ระสิ ท ธิ ผ ลของบทเรี ย น มัลติมีเดียเรื่องการใช้แท็บเล็ตเพื่อการฝึกอบรม ครู ในโรงเรี ย นประถมศึ ก ษา เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ที่พัฒนาขึ้นมีค่าเท่ากับ 0.78 หมายความว่า หลังการฝึกอบรมด้วยบทเรียน มัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้น ครูมีความรู้เพิ่มขึ้นจาก ความรู้เดิมร้อยละ 78 ที่เป็นเช่นนี้เพราะว่านอก จากมีกระบวนการพัฒนาดังกล่าวแล้ว บทเรียน มัลติมีเดียมีรูปแบบการน�ำเสนอน่าสนใจ มีการ แบ่งเนื้อหาออกเป็นหัวข้อย่อย ประกอบค�ำถาม เพื่อทบทวนความจ�ำของครู มีทั้งตัวอักษร เสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และวีดิทัศน์ ท�ำให้ครู สนุกสนานไปกับการอบรม ไม่รสู้ กึ เบือ่ หน่าย ครู

สามารถดูและฟังทบทวนเนื้อหาโดยไม่จ�ำ กัด เวลา มีขอ้ มูลย้อนกลับเพือ่ การเสริมแรง ซึง่ ข้อมูล ย้อนกลับนีจ้ ะช่วยเสริมพฤติกรรมการตอบสนอง ของครู (ไชยยศ เรืองสุวรรณ. 2533 : 533-65) และสอดคล้องกับทฤษฎีแรงจูงใจของมาโลน ที่ว่าบทเรียนได้ออกแบบให้มีกิจกรรมที่ท้าทาย ให้ ค รู ไ ด้ ฝ ึ ก อบรมอย่ า งมี เ ป้ า หมายที่ ชั ด เจน และเหมาะสม ครูเกิดจินตนาการเป็นตัวกระตุ้น การสร้างภาพของตนเองในสถานการณ์ต่าง ๆ การน�ำเสนอทีแ่ ปลกใหม่ สามารถดึงดูดความสนใจ อยูต่ ลอดเวลา สอดคล้องกับงานวิจยั ของ ปรัชญา เนียมทอง (2557) การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ บนแท็บเล็ตเรื่อง ตัวต้านทานและการอ่านค่าสี สํ า หรั บ นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 ผลการศึ ก ษาพบว่ า ค่ า ดั ช นี ป ระสิ ท ธิ ผ ลมี ค ่ า เท่ากับ 0.77 3. ความพึงพอใจของครูทมี่ ตี อ่ บทเรียน มัลติมีเดียเรื่องการใช้แท็บเล็ตเพื่อการฝึกอบรม ครู ในโรงเรี ย นประถมศึ ก ษา เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร พบว่าภาพรวมพอใจในระดับ มากทีส่ ดุ ( = 4.55, S.D. = 0.14) โดยมีความพึง พอใจมากทีส่ ดุ คือ สามารถเรียนซ�ำ้ ได้ ( = 4.97) รองลงมา คือสามารถน�ำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ได้ ( = 4.87) และพึงพอใจน้อยที่สุด คือตัวอักษร ชัดเจน อ่านง่าย ( = 3.90) ตามล�ำดับ แสดงว่า บทเรียนมัลติมีเดียสะดวกต่อการใช้ ครูสามารถ ท� ำ ความเข้ า ใจกั บ บทเรี ย นมั ล ติ มี เ ดี ย ได้ ด ้ ว ย ตนเอง โดยการศึกษาเนื้อหาที่ถ่ายทอดผ่าน ตัวอักษร เสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และ วีดทิ ศั น์ทสี่ วยงาม สามารถทบทวนความรูไ้ ด้ตาม เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

163


ความต้องการ ทัง้ ยังเริม่ ฝึกอบรม หรือเลิกฝึกอบรม ควรใช้ภาษาทีช่ ดั เจน สามารถท�ำความเข้าใจได้งา่ ย เมือ่ ไรก็ได้ ท�ำให้ครูสนุกสนานไปกับการฝึกอบรม 1.4 การพั ฒ นามั ล ติ มี เ ดี ย ควร และสามารถน�ำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ออกแบบให้สอื่ มีจดุ เด่น มีความน่าสนใจเพือ่ กระตุน้ ให้ผู้อบรมอยากเรียนรู้ 2. ข้ อ เสนอแนะส� ำ หรั บ การวิ จั ย ข้อเสนอแนะ ครั้งต่อไป 1. ข้อเสนอแนะทั่วไป 1.1 ในการพัฒนาบทเรียนมัลติมเี ดีย 2.1 ผู ้ ที่ จ ะพั ฒ นาและผลิ ต สื่ อ ควรออกแบบแบบฝึกหัดและข้อสอบในบทเรียน มัลติมีเดีย ควรพัฒนาและผลิตสื่อมัลติมีเดีย มัลติมีเดียให้มีความหลากหลาย เช่น มีทั้งแบบ เพื่ออบรมผู้สูงอายุเพื่อขยายโอกาสให้ผู้สูงอายุ สามารถเรียนรูเ้ ทคโนโลยีไปพร้อมกับคนรุน่ ใหม่ เลือกตอบ เติมค�ำ 1.2 ในการพัฒนาบทเรียนมัลติมเี ดีย 2.2 ผู ้ ที่ จ ะพั ฒ นาและผลิ ต สื่ อ ควรมีความยืดหยุ่นด้านเวลาให้ตอบสนองความ มัลติมีเดีย ควรพัฒนาและผลิตสื่อมัลติมีเดียให้ สามารถน�ำเสนอผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต แตกต่างระหว่างบุคคล 1.3 ในการพัฒนาบทเรียนมัลติมเี ดีย เพื่อเผยแพร่ให้กับผู้สนใจทั่วไป

บรรณานุกรม

ทศพร ดิษฐ์ศริ .ิ (2541). การพัฒนาแอปพลิเคชัน่ บนอุปกรณ์แท็บเล็ตเรือ่ งการบวก ด้วยเทคนิค ซีคริท อ๊อฟ เมนเทิล แมธ เพื่อสร้างเสริมทักษะการคิดเลขเร็ว ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ภาควิชาโสตทัศนศึกษา. ครุศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ประภาศรี แสงอนุศาสน์. (2557). การพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดียบนแท็บเล็ต โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ แบบการสร้างองค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2. สาขาเทคโนโลยี. วิทยาศาสตร์ศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. ปรัชญา เนียมทอง. (2557). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์บนแท็บเล็ตเรือ่ ง ตัวต้านทาน และการอ่านค่าสี สาํ หรับ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. สาขาเทคโนโลยีการศึกษา. ศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. รุจิรัตน์ บวรธรรมศักดิ์. (2556). การใช้แท็บเล็ตของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-2 ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4. สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย. ศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชธานี. มินตรา ใจดี. (2556). ศึกษาการใช้แท็บเล็ตเพือ่ การจัดการเรียนรูข้ องครู โรงเรียนสังกัดส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ประถมศึกษาสิงห์บุรี. ครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. ณัฐพร ทองศรี. (2555). ความตั้งใจใช้แท็บเล็ตของครูผู้สอนสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราชเขต 3 การประยุกต์ใช้ตัวแบบการยอมรับเทคโนโลยี. วิทยาการคอมพิวเตอร์และระบบ สารสนเทศ. วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

164

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


การพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 Development of A Multimedia Lesson on Basic Electronic Circuit for Prathomsuksa 6 Students. ศิรินภา จันทร์ลา * รองศาสตราจารย์ ดร.วิริยะ วงศ์เลาหกุล**

บทคัดย่อ

การวิจยั ครัง้ นีม้ จี ดุ ประสงค์เพือ่ 1) พัฒนา บทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ส� ำ หรั บนั กเรี ย นชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มี ประสิทธิภาพไม่ต�่ำกว่าเกณฑ์ 80/80 2) หาค่า ดัชนีประสิทธิผลการเรียนรู้จากการเรียนด้วย บทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี อ่ การเรียน จากบทเรียนมัลติมเี ดีย เรือ่ ง วงจรไฟฟ้าเบือ้ งต้น กลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั เป็นนักเรียน ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชุมชนบ้าน ปะโค จังหวัดหนองคาย จ�ำนวน 50 คน แบ่งเป็น กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม กลุ่มแรกใช้พัฒนาบทเรียน มัลติมีเดีย จ�ำนวน 25 คน แบ่งเป็น การทดลอง รายบุคคล จ�ำนวน 3 คน การทดลองกลุ่มเล็ก

* **

จ�ำนวน 7 คน และการทดลองกลุ่มใหญ่ จ�ำนวน 15 คน เพือ่ หาประสิทธิภาพของบทเรียนมัลติมเี ดีย กลุ่มที่สอง จ�ำนวน 25 คน ใช้ทดลองหาค่าดัชนี ประสิ ท ธิ ผ ลและความพึ ง พอใจของนั ก เรี ย น ทีเ่ รียนจากบทเรียนมัลติมเี ดีย เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการ วิจยั มีดงั นี้ 1) บทเรียนมัลติมเี ดีย เรือ่ ง วงจรไฟฟ้า เบือ้ งต้น 2) แบบประเมินคุณภาพของผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านเนื้อหาและด้านมัลติมีเดีย 3) แบบทดสอบ ก่อนเรียน ระหว่างเรียนและหลังเรียน 4) แบบ สอบถามความพึงพอใจของนักเรียน สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ขอ้ มูลคือ ค่าเฉลีย่ ( ) ส่วนเบีย่ งเบน มาตรฐาน (S.D.) ดัชนีความสอดคล้องระหว่าง ข้อค�ำถามกับวัตถุประสงค์ (IOC) ประสิทธิภาพ (E1 / E2) และดัชนีประสิทธิผล (E.I.)

สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม อาจารย์ที่ปรึกษา

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

165


Electrical Circuit for Prathomsuksa 6 students with its expected efficiency criterion index not less than 80/80, 2) to find out its effectiveness index of the multimedia lesson and 3) to investigate students’ satisfaction with the multimedia lesson. The samples were 50 prathomsuksa 6 students from Chumchonbanpaco School, Nong Khai province. The 25 samples used for develop a multimedia lesson on Basic Electrical Circuit to find the Efficiency Index, divided into 3 groups: Group 1 as an individual tryout, Group 2 as a small group tryout and Group 3 as a large group tryout. The other 25 samples were used to tryout the Effectiveness Index of the multimedia lesson and to find students’ satisfaction. The research instruments consisted of 1) a multimedia lesson on Basic Electrical Circuit, 2) a quality assessment questionnaire for content experts and multimedia experts, 3) pretest, unit test and posttest ค� ำ ส� ำ คั ญ : บทเรี ย นมั ล ติ มี เ ดี ย , วงจรไฟฟ้ า and 4) a set of questionnaire on students’ satisfaction. Statistic used in this research เบื้องต้น, ประสิทธิภาพ, ดัชนีประสิทธิผล were means ( ), standard deviation (S.D), Index of Items – Objective Congruence Abstract The aims of this research were 1) to (IOC), Efficiency criterion Index (E1 / E2) develop a multimedia lesson on Basic and Effectiveness Index (E.I.). ผลการวิจยั พบว่า 1) บทเรียนมัลติมเี ดีย เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น มีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.67/86.33 2) มี ค ่ า ดั ช นี ป ระสิ ท ธิ ผ ลการ เรียนรู้เท่ากับ 0.70 3) นักเรียนมีความพึงพอใจ ต่อการเรียนจากบทเรียนมัลติมีเดียอยู่ในระดับ พึงพอใจมากที่สุด ( = 4.51) สรุปได้ว่า บทเรียนบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ส�ำหรับนักเรียนระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่พัฒนาขึ้นเป็นบทเรียน ที่น�ำไปใช้ในการเรียนการสอนได้จริง นักเรียน สามารถศึกษาด้วยตนเองและสามารถเรียนซ�้ำได้ เพราะมีทั้งตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และภาพวีดิทัศน์ ข้อเสนอแนะที่ได้จาก การวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ 1) การสร้างบทเรียน มัลติมีเดีย ผู้วิจัยจะต้องศึกษา วิเคราะห์และ สั ง เคราะห์ เ นื้ อ หาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ บทเรี ย นให้ ละเอียดก่อน ถึงจะเริ่มสร้างบทเรียนมัลติมีเดีย จะช่วยให้การสร้างบทเรียนง่ายและราบรื่นขึ้น 2) การสร้างบทเรียนมัลติมีเดีย ผู้วิจัยควรจะ ศึกษาโปรแกรมส�ำหรับสร้างบทเรียนมาเป็น อย่างดี เพราะปัจจุบันมีโปรแกรมส�ำหรับสร้าง บทเรียนเป็นจ�ำนวนมาก แต่ละโปรแกรมจะมี ข้อจ�ำกัดที่แตกต่างกันไป

166

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


The results of the research were as follows: 1) The efficiency index of the multimedia was 83.67/86.33, 2) its effectiveness index was 0.70 and 3) the students were highly satisfied with the multimedia lesson. ( = 4.51) The teachers can used this multimedia lesson on Basic Electrical Circuit consisted of text, still Image, animation, sound and video for teaching in the class effectively. The students can study on their own in many times. Recommendations to researchers were: 1) The researcher should analyses and synthesize the contents detailed and 2) study the appropriated program before creating the lesson to avoid problem because each program has different limitations. Keywords: Multimedia, Electronic Circuit, The efficiency, The effectiveness

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา

วิทยาศาสตร์มบี ทบาทส�ำคัญยิง่ ในสังคม โลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ทุ ก คนทั้ ง ในชี วิ ต ประจ� ำ วั น และ การงานอาชี พ ต่ า ง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือเครื่องใช้และผลผลิตต่าง ๆ ที่มนุษย์ ใช้เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกในชีวติ และการท�ำงาน

สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อนื่ ๆ วิ ท ยาศาสตร์ ช ่ ว ยให้ ม นุ ษ ย์ ไ ด้ พั ฒ นาวิ ธี คิ ด ทั้ ง ความคิ ด เป็ น เหตุ เ ป็ น ผล คิ ด สร้ า งสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทกั ษะส�ำคัญในการค้นคว้า หาความรู ้ มี ค วามสามารถในการแก้ ป ั ญ หา อย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่ หลากหลายและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ ซึง่ เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (knowledge-based society) ดังนัน้ ทุกคนจึงจ�ำเป็นต้องได้รบั การพัฒนา ให้รวู้ ทิ ยาศาสตร์ เพือ่ ทีจ่ ะมีความรูค้ วามเข้าใจใน ธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น สามารถน�ำความรูไ้ ปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม (ส�ำนักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา. 2551 : 1) ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ท�ำให้มนุษย์สามารถคิดค้นพลังงานจากแหล่ง ต่าง ๆ รวมทั้งการผลิตไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าเป็น ปัจจัยส�ำคัญที่สุดปัจจัยหนึ่งส�ำหรับการด�ำรง ชีวิตประจ�ำวันของเรา ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสาร การคมนาคม จะมีประสิทธิภาพไม่ได้ถ้าขาด “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” เนื้อหาเรื่อง วงจรไฟฟ้า เป็นส่วนหนึ่ง ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ 5 เรื่อง พลังงาน ตามมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชีว้ ดั ทีก่ ำ� หนดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 เนือ่ งจากเนือ้ หาวิชา ในกลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์มมี าก ท�ำให้ ครูตอ้ งใช้การสอนแบบบรรยายมากกว่าการสอน แบบอื่น ๆ ทั้ง ๆ ที่วิชาวิทยาศาสตร์ควรสอน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

167


ด้วยวิธกี ารทดลอง สาธิต หรือฝึกปฏิบตั ิ การสอน เรื่องไฟฟ้าจากการปฏิบัติจริง อาจก่อให้เกิด อันตรายจากการเรียนได้ และหนังสือประกอบ การเรียนในปัจจุบันมีรายละเอียดค่อนข้างน้อย และขาดสื่ อ การสอนที่ มี คุ ณ ภาพและตรงกั บ เนื้อหาที่ต้องการ ส่งผลให้เกิดปัญหาในด้าน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ท�ำให้ผลการเรียนของ นักเรียนอยู่ในระดับต�่ำ จากสภาพการณ์ดังกล่าว จึงจ�ำเป็นต้องใช้สอื่ การสอนมาช่วย เพือ่ ให้นกั เรียน ได้ศกึ ษาเรือ่ งวงจรไฟฟ้าเบือ้ งต้นด้วยตนเอง ซึง่ จะ ช่ ว ยแบ่ ง เบาภาระครู ท� ำ ให้ ค รู มี เวลาตรวจ แบบฝึกหัดมากขึ้น และครูยังมีเวลาในการสอน เรื่องอื่นเพิ่มขึ้น สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia) เป็นการ รวมสื่อหลายประเภท ประกอบด้วย ตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดิทัศน์ โดยสือ่ เหล่านีท้ ำ� งานประสมประสานกัน เพือ่ ให้ สื่อ ที่ ออกมาเป็ น สื่อที่สามารถตอบสนองการ เรียนรูไ้ ด้หลากหลาย รวมทัง้ สามารถปฏิสมั พันธ์ หรือโต้ตอบได้ เป็นเทคนิควิธกี ารทีเ่ ป็นตัวกระตุน้ และการเสริ ม แรงที่ ส� ำ คั ญ ที่ จ ะท� ำ ให้ ผู ้ เรี ย น เกิดการเรียนรู้และเกิดความสนใจ นอกจากนี้ ยังช่วยส่งเสริมการใช้คอมพิวเตอร์ในการเรียน การสอนมากขึน้ เพือ่ การเรียนรูท้ มี่ ปี ระสิทธิภาพ เนื่องจากการผลิตสื่อมัลติมีเดียนั้นได้ผลิตตาม ขัน้ ตอนของการผลิตอย่างมีระบบ เพือ่ ความสะดวก ของผู้สอนและผู้เรียนในการน�ำไปใช้ ซึ่งผู้เรียน สามารถเรียนด้วยตนเองหรือเรียนรายกลุ่มก็ได้ สื่อมัลติมีเดียจึงเป็นสื่อที่เหมาะสมในการสอน เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น 168

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

ดังนัน้ ผูว้ จิ ยั จึงสนใจทีจ่ ะพัฒนาบทเรียน มัลติมีเดีย เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น เพื่อให้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนเรื่องนี้ เกิดการเรียนรู้ได้อย่างกระตือรือร้น สนุกสนาน และสามารถน�ำไปประยุกต์ในการต่อวงจรไฟฟ้า ทั้งแบบอนุกรมและแบบขนาน และยังเป็นการ สร้างเจตคติที่ดีเกี่ยวกับการเรียนวิทยาศาสตร์ อีกทางหนึง่ ซึง่ เป็นปัจจัยหนึง่ ทีจ่ ะช่วยแก้ปญ ั หา เกี่ ย วกั บ เนื้ อ หาบทเรี ย นในหน่ ว ยการเรี ย นที่ ท�ำความเข้าใจได้ยากให้ง่ายขึ้น อีกทั้งยังเป็น ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนและการพัฒนา บทเรียนมัลติมีเดียให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นไป

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. เพื่อพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 6 ให้มปี ระสิทธิภาพไม่ตำ�่ กว่าเกณฑ์ 80/80 2. เพือ่ หาค่าดัชนีประสิทธิผลการเรียน รูจ้ ากการเรียนด้วยบทเรียนมัลติมเี ดีย เรือ่ ง วงจร ไฟฟ้าเบื้องต้น 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ทีม่ ตี อ่ การเรียนจากบทเรียนมัลติมเี ดีย เรือ่ ง วงจร ไฟฟ้าเบื้องต้นยิ่งขึ้นไป

สมมุติฐานการวิจัย

1. บทเรียนมัลติมเี ดีย เรือ่ ง วงจรไฟฟ้า เบื้องต้น ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพไม่ต�่ำกว่าเกณฑ์ 80/80 2. มี ค ่ า ดั ช นี ป ระสิ ท ธิ ผ ลการเรี ย นรู ้ ไม่ต�่ำกว่า 0.60


1.2 กลุ่มตัวอย่างส�ำหรับใช้หาดัชนี 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียน จากบทเรียนมัลติมเี ดีย เรือ่ ง วงจรไฟฟ้าเบือ้ งต้น ประสิทธิผล และความพึงพอใจ ใช้กลุ่มตัวอย่าง จากนักเรียนห้องที่เหลือคือห้อง ป.6/2 จ�ำนวน ในระดับพึงพอใจมากขึ้นไป 25 คน 2. ขอบเขตด้ านเนื้อ หาของบทเรีย น ขอบเขตของการวิจัย 1. ขอบเขตด้ า นประชากรและกลุ ่ ม มัลติมีเดีย เนือ้ หาเกีย่ วกับไฟฟ้าสถิต ไฟฟ้ากระแส ตัวอย่าง ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั เป็นนักเรียน ตัวน�ำไฟฟ้า ฉนวนไฟฟ้า วงจรไฟฟ้า และการต่อ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนชุมชน วงจรไฟฟ้า สามารถน�ำความรูไ้ ปใช้ในชีวติ ประจ�ำ บ้านปะโค ต�ำบลปะโค อ�ำเภอเมือง จังหวัด วันได้ โดยแบ่งเป็นหัวข้อดังนี้ 2.1 ไฟฟ้า เนือ้ หาเกีย่ วกับไฟฟ้าสถิต หนองคาย สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หนองคาย เขต 1 จ�ำนวน 2 ห้องเรียน ห้องเรียน และไฟฟ้ากระแส ใช้เวลาในการศึกษา 15 นาที ละ 25 คน รวมทั้งหมด 50 คน แบ่งประชากร มีหัวข้อดังนี้ (1) ไฟฟ้าสถิต เป็นกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม โดยการจับฉลาก (2) ไฟฟ้ากระแส ห้องเรียนละ 1 กลุ่ม ดังนี้ 2.2 สมบั ติ ข องตั ว น� ำ ไฟฟ้ า และ 1.1 กลุ่มตัวอย่างส�ำหรับใช้พัฒนา บทเรียนมัลติมีเดีย 1 ห้องเรียน จับฉลากได้ห้อง ฉนวนไฟฟ้า เนื้อหาเกี่ยวกับตัวน�ำไฟฟ้าและ ป.6/1 จ�ำนวน 25 คน แบ่งเป็น 3 กลุ่มย่อย ดังนี้ ฉนวนไฟฟ้า ใช้เวลาในการศึกษา 15 นาที 2.3 วงจรไฟฟ้ า เนื้ อ หาเกี่ ย วกั บ (1) ก ลุ ่ ม ส� ำ ห รั บ ท ด ล อ ง รายบุคคลแบบ 1:1 ใช้กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า เขียนแผนภาพและ 3 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง คือ นักเรียน ทิศทางของกระแสในวงจรไฟฟ้า และอธิบาย ที่เรียนเก่ง เรียนปานกลาง เรียนอ่อน (จากผล เกี่ยวกับวงจรปิดและวงจรเปิด ใช้เวลาในการ ศึกษา 30 นาที มีหัวข้อดังนี้ การเรียนวิชาวิทยาศาสตร์) อย่างละ 1 คน (1) วงจรปิด (2) ก ลุ ่ ม ส� ำ ห รั บ ท ด ล อ ง (2) วงจรเปิด กลุ่มเล็ก ใช้กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 7 คน โดยวิธี 2.4 การต่ อ วงจรไฟฟ้ า อย่ า งง่ า ย การสุ่มอย่างง่าย โดยการจับฉลากจากนักเรียน เนือ้ หาเกีย่ วกับการต่อวงจรไฟฟ้าทัง้ แบบอนุกรม ที่เหลือจากข้อ (1) (3) ก ลุ ่ ม ส� ำ ห รั บ ท ด ล อ ง และแบบขนาน ใช้เวลาในการศึกษา 25 นาที กลุ ่ ม ใหญ่ ใช้ ก ลุ ่ ม ตั ว อย่ า งจ� ำ นวน 15 คน มีหัวข้อดังนี้ (1) การต่อแบบอนุกรม ใช้นักเรียน ป.6/1 ที่เหลือจากข้อ (1) และข้อ (2) เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

169


พัฒ นา ป.6/1

ยบุคคล กแบบ นอ่อน

ลุ่มเล็ก าย โดย

มใหญ่ ที่เหลือ

าดัช นี างจาก

4 2.4 การต่อวงจรไฟฟ้ าอย่างง่าย เนื้ อหา เกี่ ย วกับ การต่ อ วงจรไฟฟ้ าทั้ง แบบอนุ ก รมและแบบ ขนาน ใช้เวลาในการศึ (2) กษา 25การต่ นาที อมีหแบบขนาน วั ข้อดังนี้ (1) การต่ อแบบอนุกรม จัย 3. ขอบเขตด้ านเวลาในการวิ การต่จอยั แบบขนาน ด�าเนิ(2) นการวิ ในปีการศึกษา 2558 3. ขอบเขตด้านเวลาในการวิจยั 4. ดาเนิ ขอบเขตด้ านสถานที่ นการวิจยั ในปี การศึกษา 2558 4. โรงเรี ยนชุามนสถานที ชนบ้านปะโค ต� าบลปะโค ขอบเขตด้ ่ ย นชุดมหนองคาย ชนบ้า นปะโคสังตกัาบลปะโค อ�าเภอเมือโรงเรี ง จังหวั ดส�านักงาน อาเภอเมื้นอทีง่กจัารศึ งหวัดกหนองคาย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ เขตพื ษาหนองคาย เขต 1 การศึกษาหนองคาย เขต 1

กรอบแนวคิ ดในการวิจัย กรอบแนวคิดในการวิจยั สาระการเรี ยนรู ้ วิทยาศาสตร์ ชั้น ป.6

ทเรี ยน

การสร้างบทเรี ยน มัลติมีเดีย

กระแส การต่ อ าวันได้

โปรแกรมที่ใช้ในการ สร้างบทเรี ยนมัลติมีเดีย

ย ว กั บ ทิศทาง งจรปิ ด อดังนี้

สร้างบทเรี ยนมัลติมีเดีย เรื่ อง วงจรไฟฟ้ าเบื้องต้น

จิตวิทยาที่เกี่ยวข้อง

บทเรี ยนที่มี ประสิ ทธิภาพไม่ต่า กว่า 80/80

หาค่าดัชนีประสิ ทธิผล

หาความพึงพอใจ

งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

ฟาสถิ ต มีหัวข้อ

าและ นไฟฟ้ า

ดาเนินการวิจยั และพัฒนา

รูป 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย รู ป 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

นิยามศัพท์เฉพาะ

นิยามศัพท์ เฉพาะ การวิจยั และพัฒนา หมายถึง กระบวนการ การวิ จั ย และพั ฒ นา หมายถึ ง กระบวนการ สร้ งและพัฒฒนาบทเรี นาบทเรียนมั ยนมั ง วงจรไฟฟ้ สร้าางและพั ล ติลมติี เ ดีมยเี ดีเรืย่ อ เรืง อ่ วงจรไฟฟ้ า า เบื งต้นนแล้ แล้ วน�าไปทดลองใช้ เพื่อตรวจสอบ เบื้ อ้องต้ วน าไปทดลองใช้ เพื่ อตรวจสอบคุ ณภาพ ยนมัลติมีเดียยนมัลติมีเดีย คุบทเรี ณภาพบทเรี บทเรี ยนมั ลติมลีเดีติยมหมายถึ บทเรี ยนที นสื่ อ ยน บทเรี ยนมั ีเดีย งหมายถึ ง ่เป็บทเรี ประสม นาเสนอเนื้ อหาสาระเรื่ อง ไฟฟ้ า ตัวนาไฟฟ้ า ทีฉนวนไฟฟ้ เ่ ป็นสือ่ ประสม น� าเสนอเนือ้ หาสาระเรือ่ ง ไฟฟ้า า การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม และการต่อ ตัวงจรไฟฟ้ วน�าไฟฟ้ า ฉนวนไฟฟ้ า การต่อวเตอร์ วงจรไฟฟ้ าแบบขนาน ผ่านทางคอมพิ โดยใช้าสแบบ ื่ อ อนุ กรม และการต่ าแบบขนาน ผ่ ประสม ได้แก่ ตัวอักอษรวงจรไฟฟ้ ภาพนิ่ ง ภาพเคลื ่อนไหว เสีานทาง ยง และวีดิทวศั เตอร์ น์ สามารถโต้ คอมพิ โดยใช้ตอบ สื่อ(Interaction) ประสม ได้กัแบผูก่เ้ รี ยตันได้ วอักษร

ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดิทัศน์ 170

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

สามารถโต้ตอบ (Interaction) กับผู้เรียนได้ การพัฒนาบทเรียนมัลติมเี ดีย หมายถึง กระบวนการสร้างบทเรียนมัลติมเี ดีย เรือ่ ง วงจร ไฟฟ้าเบือ้ งต้น น�าไปทดลองใช้ และปรับปรุงแก้ไขซ�า้ จนได้ประสิทธิภาพไม่ต�่ากว่าเกณฑ์ 80/80 ประสิทธิภาพ หมายถึง ค่าเฉลี่ยของ คะแนนท�าแบบทดสอบผลการเรียนรูข้ องนักเรียน จากการเรียนด้วยบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง วงจร ไฟฟ้าเบื้องต้น ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 หมายถึง ค่าเฉลี่ยของคะแนนจากการท�าแบบทดสอบ ระหว่างเรียน (E1) และค่าเฉลี่ยคะแนนจากการ ทดสอบภายหลังการเรียนจากบทเรียนมัลติมเี ดีย (E2) 80 ตัวแรก (E1) หมายถึง ร้อยละ ของคะแนนเฉลีย่ ของนักเรียนทุกคนทีไ่ ด้จากการ ทดสอบระหว่างเรียน 80 ตัวหลัง (E2) หมายถึง ร้อยละ ของคะแนนเฉลีย่ ของนักเรียนทุกคนทีไ่ ด้จากการ ทดสอบหลังเรียน ดั ช นี ป ระสิ ท ธิ ผ ล หมายถึ ง อั ต รา ความก้าวหน้าของคะแนนผลสัมฤทธิท์ างการเรียน โดยเปรียบเทียบจากคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน จากการเรียนด้วยบทเรียนมัลติมเี ดีย โดยก�าหนด ค่าดัชนีประสิทธิผลการเรียนรู้ไม่ต�่ากว่า 0.60 คุณภาพของบทเรียนมัลติมเี ดีย หมายถึง ผลการประเมินจากแบบประเมินโดยผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านเนือ้ หาและด้านมัลติมเี ดีย ซึง่ แบ่งเป็น 5 ระดับ คือ เหมาะสมในระดับดีมาก ระดับดี ระดับปานกลาง ระดับน้อย และระดับน้อยที่สุด


ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูส้ กึ ชอบ ของผู้เรียน ที่ผู้เรียนมีต่อการเรียนจากบทเรียน มัลติมีเดีย เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ชั้นประถม ศึกษาปีที่ 6

วิธีด�ำเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ เป็นการพัฒนาบทเรียน มัลติมีเดีย เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ผู้วิจัยได้ ด�ำเนินการดังนี้ 1. ศึ ก ษาข้ อ มู ล จากเอกสาร ต� ำ รา เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ มัลติมีเดีย และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. ก�ำหนดหัวข้อส�ำคัญและเนือ้ หาของ บทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น คือ ไฟฟ้า ตัวน�ำไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า วงจรไฟฟ้า และการต่อวงจรไฟฟ้า 3. เขียน Flowchart บทเรียนมัลติมเี ดีย โดยการจั ดล� ำ ดับในการศึกษา ได้แ ก่ ศึกษา ค�ำแนะน�ำมัลติมเี ดีย ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ ท�ำแบบทดสอบก่อนเรียน ศึกษาเนือ้ หาบทเรียน และท�ำแบบทดสอบหลังเรียน เสนอให้อาจารย์ ทีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์ได้ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข 4. เขียน Storyboard โดยออกแบบ แผนภาพตามล�ำดับของ Flowchart ให้อาจารย์ ที่ปรึกษาตรวจสอบ 5. ด�ำเนินการสร้างบทเรียนมัลติมีเดีย โดยใช้โปรแกรม Adobe Flash และโปรแกรม Adobe Illustrator ให้อาจารย์ทปี่ รึกษาตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข 6. น�ำบทเรียนมัลติมเี ดียให้ผเู้ ชีย่ วชาญ

ตรวจสอบประเมิ น คุ ณ ภาพ โดยผู ้ เชี่ ย วชาญ ด้านเนื้อหาจ�ำนวน 3 ท่าน และผู้เชี่ยวชาญ ด้านมัลติมเี ดียจ�ำนวน 3 ท่าน ประเมินคุณภาพของ บทเรียน โดยใช้แบบประเมินคุณภาพมัลติมีเดีย และท�ำการปรับปรุงแก้ไขตามค�ำแนะน�ำของผู้ เชี่ยวชาญ 7. น� ำ บ ท เรี ย น มั ล ติ มี เ ดี ย เข ้ า สู ่ กระบวนการพัฒนา 7.1 ทดลองรายบุ ค คลแบบ 1:1 กับกลุม่ ตัวอย่าง จ�ำนวน 3 คน แล้วปรับปรุงแก้ไข 7.2 ทดลองกลุม่ เล็กกับกลุม่ ตัวอย่าง จ�ำนวน 7 คน แล้วปรับปรุงแก้ไข 7.3 ทดลองกลุม่ ใหญ่กบั กลุม่ ตัวอย่าง จ�ำนวน 15 คน และหาค่าประสิทธิภาพ 8. น� ำ บ ท เ รี ย น มั ล ติ มี เ ดี ย ที่ ไ ด ้ ประสิทธิภาพแล้ว ไปหาดัชนีประสิทธิผล และ ความพึงพอใจ ใช้กลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 25 คน 9. สรุป อภิปรายผล

สรุปผลการวิจัย

ผลการวิจัยการพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่ อ ง วงจรไฟฟ้ า เบื้ อ งต้ น ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีดังนี้ 1. ประสิทธิภาพของบทเรียนมัลติมเี ดีย เรื่ อ ง วงจรไฟฟ้ า เบื้ อ งต้ น ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.67/86.33 สูงกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนดคือ 80/80 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดไว้ 2. ค่าดัชนีประสิทธิผลการเรียนรู้จาก การเรียนด้วยบทเรียนมัลติมเี ดีย เรือ่ ง วงจรไฟฟ้า เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

171


เบื้องต้น ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ค่าดัชนีประสิทธิผลการเรียนรู้ เท่ากับ 0.70 สูงกว่าเกณฑ์คือ 0.60 เป็นไปตามสมมุติฐาน ที่ก�ำหนด 3. ความพึ ง พอใจของนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชุมชนบ้านปะโค ทีม่ ตี อ่ การเรียนจากบทเรียนมัลติมเี ดีย เรือ่ ง วงจร ไฟฟ้าเบื้องต้น อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด

การอภิปรายผล

1. ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียน มัลติมีเดีย เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ส�ำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 83.67/86.33 ซึง่ สูงกว่าเกณฑ์ทกี่ ำ� หนดไว้ คือ 80/80 ทั้งนี้เนื่องจากบทเรียนมัลติมีเดีย ได้สร้างและพัฒนาตามกระบวนการของการ วิจัยและพัฒนาจนมีคุณภาพในระดับดี โดยผ่าน การประเมิ น คุ ณ ภาพจากผู ้ เชี่ ย วชาญทั้ ง ด้ า น เนื้ อ หาและด้ า นมั ล ติ มี เ ดี ย และด� ำ เนิ น การ ทดลองและปรั บ ปรุ ง ทั้ ง รายบุ ค คล กลุ ่ ม เล็ ก และกลุ ่ ม ใหญ่ จึ ง ท� ำ ให้ บ ทเรี ย นมั ล ติ มี เ ดี ย มีประสิทธิภาพสูง ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัย ของ สุรชัย ไชยยนต์ (2549) ได้ศึกษาเพื่อพัฒนา บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ มั ล ติ มี เ ดี ย เรื่ อ งวงจร ไฟฟ้า กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ส�ำหรับ นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 มีคุณภาพด้านเนื้อหาและ ด้านเทคโนโลยีอยูใ่ นระดับดี และมีประสิทธิภาพ 90.67/92.13 และสอดคล้องกับ ชงโค บัวระพันธ์ (2550) ได้ทำ� การศึกษาพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย เรื่อง ชีวิตสัตว์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ส�ำหรับนักเรียนช่วงชัน้ ที่ 3 มีคณ ุ ภาพ 172

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

จากการประเมิ น ของผู ้ เชี่ ย วชาญด้ า นเนื้ อ หา อยู่ในระดับดีมาก มีคุณภาพจากการประเมิน ของผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษาอยู่ใน ระดับดี และมีประสิทธิภาพ 93.17/96.67 และ สอดคล้องกับ ปรียะมาท แก้วระดี (2552) การ พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดียกลุม่ สาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งแวดล้อมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 3 (พินิจ พิทยานุสรณ์) อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครพนม ผลการวิจยั พบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดีย ที่ได้สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 80.54/82.40 2. ผลการหาค่าดัชนีประสิทธิผลการ เรี ย นรู ้ จ ากการเรี ย นด้ ว ยบทเรี ย นมั ล ติ มี เ ดี ย เรื่ อ ง วงจรไฟฟ้ า เบื้ อ งต้ น ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย น ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 ค่ า ดั ช นี ป ระสิ ท ธิ ผ ล การเรียนรู้ เท่ากับ 0.70 ซึง่ สอดคล้องกับสมมุตฐิ าน ทีต่ งั้ ไว้ คือไม่ต�่ำกว่า 0.6 สอดคล้องไปกับผลการ หาค่าประสิทธิภาพ เนือ่ งจากบทเรียนมัลติมเี ดีย มีประสิทธิภาพสูง ผู้วิจัยได้สร้างบทเรียนที่ใช้ สะดวก มีการผสมผสานสื่อประเภทข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน์ และเสียง เข้าด้วยกัน ให้ผเู้ รียนได้โต้ตอบกับบทเรียน ท�ำให้ นั ก เรี ย นไม่ รู ้ สึ ก เบื่ อ หน่ า ย ส่ ง ผลให้ บ ทเรี ย น มีความน่าสนใจ ช่วยกระตุ้นให้นักเรียนสนใจ บทเรียนมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัย ของ ปรียะมาท แก้วระดี (2552) การพัฒนาบทเรียน คอมพิ ว เตอร์ มั ล ติ มี เ ดี ย กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งแวดล้อมศึกษา ชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 3 (พินิจ พิทยา นุสรณ์) อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครพนม มีค่าดัชนี ประสิทธิผลเท่ากับ 0.69


3. ด้ า นความพึ ง พอใจของนั ก เรี ย น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชุมชนบ้านปะโค ทีม่ ตี อ่ การเรียนจากบทเรียนมัลติมเี ดีย เรือ่ ง วงจร ไฟฟ้าเบื้องต้น อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.51 ทั้งนี้ผลการวิจัยยืนยัน ว่าผู้เรียนเห็นความส�ำคัญในการน�ำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ได้ เนือ้ หาเข้าใจง่าย สามารถเรียนซ�ำ้ ได้ ซึง่ สอดคล้องกับงานวิจยั ของ ปรียะมาท แก้วระดี (2552) ความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี อ่ บทเรียน คอมพิ ว เตอร์ มั ล ติ มี เ ดี ย กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งแวดล้อมศึกษา ชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 3 (พินิจ พิทยา นุสรณ์) อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครพนม โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด จึงสรุปได้วา่ บทเรียนมัลติมเี ดีย เรือ่ ง วงจร ไฟฟ้าเบื้องต้น ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นในครั้งนี้มีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด สามารถน�ำไปใช้ ในการเรียนการสอนได้จริง

ข้อเสนอแนะ

จากการพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 6 ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะมีดังนี้ 1. ข้อเสนอแนะทั่วไป 1.1 การสร้ า งบทเรี ย นมั ล ติ มี เ ดี ย ผูว้ จิ ยั จะต้องศึกษาเนือ้ หาทีเ่ กีย่ วข้องกับบทเรียนให้ ละเอียดก่อน ซึง่ จะช่วยให้การสร้างบทเรียนง่ายขึน้ 1.2 ในการสร้างบทเรียนมัลติมีเดีย ผูว้ จิ ยั ควรจะศึกษาโปรแกรมส�ำหรับสร้างบทเรียน มาเป็นอย่างดี เพราะปัจจุบนั มีโปรแกรมส�ำหรับ สร้างบทเรียนเป็นจ�ำนวนมาก แต่ละโปรแกรม จะมีข้อจ�ำกัดที่แตกต่างกันไป 2. ข้ อ เสนอแนะส� ำ หรั บ การวิ จั ย ครั้งต่อไป 2.1 ควรมี ก ารวิ จั ย และพั ฒ นา บทเรียนมัลติมีเดียวิชาอื่น ๆ ต่อไป 2.2 ค ว ร มี ก า ร ศึ ก ษ า ค ้ น ค ว ้ า เปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนจากบทเรียน มัลติมีเดียกับการเรียนการสอนในแบบอื่น ๆ

บรรณานุกรม

ชงโค บัวระพันธ์. (2550). การพัฒนาบเทรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดีย เรือ่ ง ชีวติ สัตว์ กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ส�ำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 3. โรงเรียนนครนนท์วิทยา 4 วัดบางแพรกเหนือ อ.เมือง จ.นนทบุรี. ปรียะมาท แก้วระดี. (2552). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรือ่ ง สิง่ แวดล้อมศึกษา ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 3 (พินจิ พิทยานุสรณ์) อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์ คณะครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. สุรชัย ไชยยนต์. (2549). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มลั ติมเี ดีย เรือ่ ง วงจรไฟฟ้า กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ส�ำหรับนักเรียนช่วงชัน้ ที่ 2. สารนิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด.

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

173


การพัฒนาบทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บเรื่อง การใช้งานห้องสมุด ส�ำหรับนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา THE DEVELOPMANT OF WEB-BASED INSTRUCTION FOR TRAINING ON USING LIBRARY FOR UNDERGRADUATE STUDENTS OF KASETSART UNIVERSITY SRIRACHA CAMPUS พรพรรณ เกิดจั่น* รศ.ดร.ทิพย์เกสร บุญอำ�ไพ**

บทคัดย่อ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ 1) เพื่อพัฒนาบทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บ เรื่อง การใช้งานห้องสมุดส�ำหรับนิสิตมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชาให้มปี ระสิทธิภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 2) เพื่อศึกษาความ ก้าวหน้าทางการเรียนของผู้ใช้บทเรียนฝึกอบรม ผ่านเว็บ 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้ใช้ บทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บ เรือ่ งการใช้งานห้องสมุด ส�ำหรับนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต ศรีราชา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วิทยาเขตศรีราชา จ�ำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ได้แก่ 1. บทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บ เรือ่ งการใช้งานห้องสมุด ส�ำหรับนิสติ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 2. แบบทดสอบ ก่อนเรียน-หลังเรียน 3. แบบสอบถามความคิดเห็น ของผูใ้ ช้บทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บ เรือ่ งการใช้งาน ห้องสมุดส�ำหรับนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล คือค่าร้อยละและค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนฝึกอบรม ผ่านเว็บ เรื่องการใช้งานห้องสมุดส�ำหรับนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

นิสิตหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ** รองศาสตราจารย์ประจำ�ภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา *

174

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


มีประสิทธิภาพเท่ากับ 90.25/90.42 ซึ่งเป็นไป ตามเกณฑ์ ม าตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard) 2) ผู้ใช้บทเรียนฝึกอบรมมีความ ก้าวหน้าทางการเรียน อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ.05 3) ความคิดเห็นของผู้ใช้บทเรียน ฝึกอบรมผ่านเว็บ เรือ่ งการใช้งานห้องสมุดส�ำหรับ นิ สิ ต มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ วิ ท ยาเขต ศรีราชา โดยภาพรวมอยู่ในระดับเหมาะสมมาก

Abstract

The objective of this research were to 1) develop web-based training course in using library for undergraduate students of Kasetsart University Sriracha campus to meet the 90/90 efficiency criteria, 2) study the learning achievement of students who used web-based training course, and 3) study the students’ opinion towards web-based training course in using library for undergraduate students of Kasetsart University Sriracha campus. The samples of this research were 40 students of undergraduate students of Kasetsart University Sriracha campus. The research instruments were 1) the web-based training course in using library for undergraduate students of Kasetsart University Sriracha campus, 2) the achievement test; pretest and posttest,

and 3) the opinions survey for students who used web-based training course in using library for undergraduate students of Kasetsart University Sriracha campus. The statistics devices used to analyze data were percentage and means. The results of this research were as the followings: 1) the web-based training course in using library for undergraduate students of Kasetsart University Sriracha campus was at the 90.25/90.42, that met the 90/90 efficiency criteria, 2) students who used web-based training course had progressively learning achievement at .05 significant level, and 3) the opinions of students towards web-based training course in using library for undergraduate students of Kasetsart University Sriracha campus were at high appropriate level. Keywords: Web-Based Training Course/ Library using

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา

การฝึ ก อบรม นั บ ว่ า เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่นิยมน�ำมาใช้ในการพัฒนาองค์การ โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ส�ำหรับนิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิ ท ยาเขตศรี ร าชา คนถื อ ว่ า เป็ น หั ว ใจส� ำ คั ญ ขององค์การ และตามที่แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (2540-2544) เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

175


ได้กล่าวถึง การพัฒนาประเทศ คือ การพัฒนา คนโดยคนเพราะคนเป็นทรัพยากรที่มีค่าสูงสุด ขององค์การจ�ำเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้มี คุ ณ ภาพอยู ่ เ สมออั น เป็ น จุ ด ส� ำ คั ญ ที่ น� ำ ไปสู ่ การจัดกิจกรรมวิชาการเสริมการเรียนการสอน นอกหลักสูตรให้กบั นักศึกษาการพัฒนานักศึกษา ในแต่ละคณะส่งเสริมด้วยวิธีจัดการฝึกอบรม ซึ่ ง เป็ น รู ป แบบหรื อ เทคนิ ค ที่ ส ามารถน� ำ มา ใช้พฒ ั นาความรูอ้ ย่างเป็นระบบให้กบั นักศึกษาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ ให้นกั ศึกษามีคณ ุ ลักษณะ ความรู้ ความสามารถตามจุดมุ่งหมายที่ก�ำหนด ไว้ในหลักสูตรและเป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ตาม ที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 1 มาตรา 6 และหมวด 24 (4) ได้กล่าวถึง การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ทสี่ มบูรณ์ทงั้ ร่างกาย จิตใจ สติปญั ญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม ในการด�ำรงชีวติ สามารถอยูร่ ว่ มกับผูอ้ นื่ ได้อย่าง มี ค วามสุ ข จึ ง ต้ อ งจั ด การเรี ย นการสอนโดย ผสมผสานสาระความรู้ต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วน สมดุ ล กั น รวมทั้ ง ปลู ก ฝั ง คุ ณ ธรรม ค่ า นิ ย มที่ ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้ทุกวิชา ทั้งความรู้ในสาขาวิชาการและวิชาชีพ โดยการ พัฒนากระบวนการเรียนการสอนและกิจกรรม เสริมต่าง ๆ ที่เสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้เร็ว (นุชตรียา ผลพานิชย์, 2553) ในปั จ จุ บั น มี เ ทคโนโลยี ก ารฝึ ก อบรม ผ่านเว็บซึ่งเป็นรูปแบบการฝึกอบรมที่ช่วยให้ องค์ ก ารลดค่ า ใช้ จ ่ า ยต่ า ง ๆ ในการจั ด การ ฝึกอบรมแบบเดิมที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการ 176

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

จัดสถานที่และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ และเสียเวลาในการท�ำงานปกติของพนักงาน อีกด้วย การฝึกอบรมผ่านเว็บเป็นเทคโนโลยี ที่ท�ำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถเข้าศึกษา บทเรียนทีต่ อ้ งการได้จากสถานทีต่ า่ ง ๆ ไม่จำ� เป็น ว่าจะต้องเป็นที่ท�ำงานของตนเสมอไปจึงเป็น แนวทางที่ ดี ใ ห้ พ นั ก งานในองค์ ก ารที่ จ ะได้ แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ อยู่ตลอดเวลา นอกจากนี้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมยังสามารถควบคุมบทเรียน ได้ตามความต้องการและความสามารถท�ำให้ เหมาะสมกับความแตกต่างในการเรียนรู้ของ พนักงานแต่ละคนซึง่ ไม่เท่าเทียมกันบทเรียนยังมี รูปแบบในการน�ำเสนอเนือ้ หาทีส่ ร้างความดึงดูดใจ ให้กบั ผูเ้ รียนไม่ให้รสู้ กึ เบือ่ หน่าย (Relan&Gillani, 1997 ,pp. 41-46) ดังนั้น การฝึกอบรมผ่านเว็บ จึงเป็นที่น่าจับตามองว่าในอนาคตจะมีบทบาท และความส� ำ คั ญ มากขึ้ น ในการน� ำ มาใช้ เ พื่ อ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การให้ก่อเกิด ประโยชน์สูงสุด(จรัสศรี รัตนะมาน, 2551) การฝึกอบรมออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต ได้ แ พร่ ก ระจายเข้ า ไปมี บ ทบาทในวิ ท ยาลั ย และมหาวิทยาลัยเป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งลักษณะ การเรียนการสอนแบบนี้จะสนองตอบต่อความ แตกต่างระหว่างบุคคล อีกทั้งได้มีการออกแบบ และพั ฒ นาบทเรี ย นให้ ส ามารถมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ระหว่างผูเ้ รียนกับผูส้ อนได้อย่างดี ผูเ้ รียนสามารถ ติดต่อสื่อสารกับผู้คนทั่วโลกได้อย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นในลักษณะการปฏิสัมพันธ์โต้ตอบ ทันทีทันใด เช่น สามารถออนไลน์ หรือการใช้ บริการอืน่ ๆ เช่น e-mail WWW FTP และอืน่ ๆ


ผูเ้ รียนสามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศได้ทวั่ โลก โดยไม่จำ� เป็นว่าข้อมูลนัน้ จะมาจากส่วนใด เครือข่าย คอมพิวเตอร์เป็นแหล่งรวบรวมขุมทรัพย์ทาง ปัญญาอย่างมากมาย ในลักษณะทีส่ อื่ ประเภทอืน่ ไม่สามารถกระท�ำได้ผเู้ รียนจะมีความสะดวกต่อ การค้นหาข้อมูลในลักษณะใดก็ได้ เช่นการค้นหา หนังสือหรืออ่านบทคัดย่อจากห้องสมุดออนไลน์ การเข้าไปอ่านหนังสือนิตยสารต่าง ๆ วรรณกรรม ต�ำรา วารสาร หรือเอกสารทางวิชาการบนเครือข่าย ไม่วา่ จะอยูใ่ นสถานทีใ่ ดก็ตาม ไม่วา่ จะเป็นโรงเรียน ในต่างจังหวัด โรงเรียนในเมือง หรือโรงเรียน ในต่างประเทศก็สามารถเข้าไปใช้เครือข่ายได้ อย่ า งเท่ า เที ย มกั น เกิ ด ทั ก ษะการคิ ด อย่ า งมี ระบบ (High-order thinking skills) โดยเฉพาะ ทักษะการวิเคราะห์แบบสืบค้น (Inquiry-based analytical skills) การคิดเชิงวิเคราะห์ (Critical thinking) การวิเคราะห์ขอ้ มูล การแก้ปญ ั หาและ การคิดอย่างอิสระ (สุวัฒน์ชัย จันทร์เฮง, 2553) ความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ทางเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารที่ขยายตัวมากขึ้น ผู้ใช้บริการมีความต้องการใช้สารสนเทศอย่าง สะดวกสบายและที่ส�ำคัญห้องสมุดมีขุมความรู้ มากมายมหาศาลที่ จั ด เก็ บ ในรู ป เล่ ม สิ่ ง พิ ม พ์ อย่างเดียวไม่ได้อีกต่อไปจึงจ�ำเป็นต้องจัดเก็บ ในรูปสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ ดังนัน้ การเข้าถึงทรัพยากร สารสนเทศจึงเป็นสิง่ จ�ำเป็นและส�ำคัญยิง่ การใช้ เทคโนโลยีและการน�ำนวัตกรรมต่าง ๆ เข้ามา ใช้ในห้องสมุดท�ำให้การเข้าถึงทรัพยากรต่าง ๆ กระท�ำได้งา่ ย กว้างขวาง และรวดเร็วขึน้ ห้องสมุด จึงกลายเป็นองค์กรใหม่แห่งการเรียนรู้ที่เข้าใช้

ได้อย่างสะดวกสบายดังนัน้ ห้องสมุดจึงเป็นสถานที่ ที่มีบทบาทส�ำคัญ ในการจัดเก็บรวบรวมและ เผยแพร่สารสนเทศทุกประเภท ได้แก่ สือ่ สิง่ พิมพ์ สือ่ โสตทัศน์และสือ่ อิเล็กทรอนิคส์ไปสูผ่ ใู้ ช้บริการ เพือ่ ให้ผใู้ ช้บริการได้รบั ความรู้ รวมทัง้ ให้การศึกษา ต่อเนื่องตลอดชีวิตและการที่ห้องสมุดจะเป็น แหล่งการเรียนรู้ได้นั้น จะต้องมีบทบาทหลักอยู่ 2 ประการ คือ การเข้าถึงและการน�ำเสนอวิธกี าร ถ่ายทอดความรูท้ คี่ มุ้ ค่าคือจะต้องรูว้ า่ ผูใ้ ช้บริการ มีวตั ถุประสงค์อะไรในการใช้หอ้ งสมุด (ศิรกิ าญจน์ โพธิ์เขียว, 2550) ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา มีหน้าทีเ่ พือ่ สนับสนุนการศึกษา ค้นคว้าและการวิจัยถ้าผู้ใช้ต้องการข้อมูลทาง ด้านใด ผูใ้ ห้บริการต้องรูจ้ กั ประยุกต์ความต้องการ ของผู้ใช้ และสิ่งที่มีในห้องสมุดเข้าด้วยกันให้ได้ รวมทัง้ สามารถวิเคราะห์ความต้องการ และจัดหา ข้อมูลเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับห้องสมุดของตนเอง ห้องสมุดหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต ศรีราชา ยังเป็นหน่วยงานสนับสนุนการเรียน การสอน การวิ จั ย และบริ ก ารวิ ช าการของ มหาวิทยาลัยซึ่งให้บริการฐานข้อมูลทรัพยากร สารสนเทศและฐานข้อมูลออนไลน์ ซึง่ ฐานข้อมูล ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ จัดเป็นฐานข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ มีระบบการสืบค้นและการเข้าถึงโดยผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต เปิดโอกาสให้ผู้ใช้สามารถเข้าใช้ได้ ตลอดเวลา การใช้งานห้องสมุดมีความส�ำคัญอย่างมาก เพราะห้ อ งสมุ ด เป็ น แหล่ ง รวบรวมขุ ม ทรั พ ย์ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

177


ความรู ้ ม ากมาย ถ้ า ไม่ รู ้ เ กี่ ย วกั บ การใช้ ง าน ห้องสมุดเบื้องต้นจะท�ำให้เข้าถึงบริการต่าง ๆ และทรัพยากรต่าง ๆ ที่ห้องสมุดมีไว้ให้บริการ ไม่ครบถ้วนตามความต้องการของผู้ใช้บริการ อย่างเต็มทีก่ ารใช้งานห้องสมุดของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จึงมีความส�ำคัญ ที่ผู้ใช้บริการควรจะทราบเบื้องต้นปัญหาในการ ใช้ ง านห้ อ งสมุ ด คื อ นั ก ศึ ก ษาเข้ า มาศึ ก ษา ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา เป็นจ�ำนวนมากในทุกปีและจะต้องมีการใช้งาน ห้องสมุดในทุกปีเช่นกัน มีนักศึกษาบางส่วนที่ ไม่ได้เข้ารับการอบรมการใช้งานห้องสมุดจึงท�ำให้ ไม่ทราบข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดและ ไม่สามารถหาทรัพยากรสารสนเทศที่อยู่ในชั้น ทีม่ ใี ห้บริการในห้องสมุดได้ จึงท�ำให้ใช้ประโยชน์ ที่ห้องสมุดมีให้บริการต่าง ๆ ได้อย่างไม่เต็มที่ การใช้งานห้องสมุด แต่ละปีต้องใช้เจ้าหน้าที่ หลายท่าน และต้องใช้สถานที่อบรมหลายวัน ท�ำให้เจ้าหน้าที่ ให้บริการส่วนงานอืน่ ๆ ไม่เพียงพอ กับผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด และงดใช้สถานที่ ในส่วนที่อบรมท�ำให้ผู้ใช้บริการท่านอื่นเสียสิทธิ์ ในการใช้ ส ถานที่ การฝึก อบรมผ่ านเว็ บท� ำ ให้ นักศึกษาทุกท่านสามารถเข้าการใช้งานห้องสมุด ได้ทุกที่ ทุกเวลาที่ต้องการทราบข้อมูลเบื้องต้น เกี่ยวกับการใช้งานห้องสมุดและอบรมผ่านเว็บ ใช้เจ้าหน้าที่ในการอบรมจ�ำนวนไม่มาก ท�ำให้ เจ้าหน้าที่ให้บริการในส่วนงานอื่นได้อย่างทั่วถึง ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนา บทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บ เรือ่ งการใช้งานห้องสมุด ส�ำหรับนิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต 178

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

ศรี ร าชา เพื่ อ น� ำ ไปใช้ ฝึ ก อบรมให้ กั บ นิ สิ ต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ซึ่ ง ผู ้ วิ จั ย หวั ง ว่ า จะสามารถตอบสนองความ ต้องการในการใช้หอ้ งสมุดได้อย่างมีประสิทธิภาพ และผู้เข้าใช้งานห้องสมุดสามารถที่จะศึกษา ทบทวนได้ด้วยตนเองบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลได้ทุกที่

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. วัตถุประสงค์ทั่วไป 1.1 เพื่ อ พั ฒ นาบทเรี ย นฝึ ก อบรม ผ่านเว็บ เรื่องการใช้งานห้องสมุดส�ำหรับนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 2. วัตถุประสงค์เฉพาะ 2.1 เพื่ อ พั ฒ นาบทเรี ย นฝึ ก อบรม ผ่านเว็บ เรื่องการใช้งานห้องสมุดส�ำหรับนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 2.2 เพื่อศึกษาความก้าวหน้าทาง การเรียนของผู้ใช้บทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บ 2.3 เพื่ อ ศึ ก ษาความคิ ด เห็ น ของ ผู้ใช้บทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บ เรื่องการใช้งาน ห้องสมุดส�ำหรับนิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

สมมติฐานการวิจัย

1. บทเรี ย นฝึ ก อบรมผ่ า นเว็ บ เรื่ อ ง การใช้งานห้องสมุดส�ำหรับนิสิตมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชามีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard)


2. ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของนิ สิ ต ที่ เรี ย นจากบทเรี ย นฝึ ก อบรมผ่ า นเว็ บ เรื่ อ ง การใช้งานห้องสมุดส�ำหรับนิสิตมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา หลังฝึกอบรม มีคะแนนสูงกว่าคะแนนก่อนฝึกอบรมอย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ศึ ก ษ า ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ผู ้ ใช ้ บทเรี ย นฝึ ก อบรมผ่ า นเว็ บ เรื่ อ งการใช้ ง าน ห้องสมุดส�ำหรับนิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชาอยู่ในระดับเหมาะสมมาก

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1. บทเรี ย นฝึ ก อบรมผ่ า นเว็ บ เรื่ อ ง การใช้งานห้องสมุด ส�ำหรับนิสิตมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 2. เป็นแนวทางในการพัฒนาบทเรียน ฝึกอบรมผ่านเว็บที่ใช้ในเรื่องอื่น ๆ ต่อไป

ขอบเขตการวิจัย

การวิจัยได้ก�ำหนดขอบเขตไว้ ดังนี้ ประชากรและกลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการ วิจัย 1. ประชากรที่ ใช้ ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ ได้แก่ นิสิตปริญญาตรีที่ศึกษาอยู่มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จ�ำนวน 10,114 คน 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ นิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จ�ำนวน 40 คน โดยใช้วิธี

การสุ ่ ม ตั ว อย่ า งแบบบั ง เอิ ญ (Accidental sampling) ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตั ว แปรอิ ส ระ (Independent Variable) ได้แก่ บทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บ เรือ่ ง การใช้งานห้องสมุดส�ำหรับนิสิตมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์วิทยาเขตศรีราชา 2. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ 2.1 ประสิทธิภาพบทเรียนฝึกอบรม ผ่านเว็บ เรื่องการใช้งานห้องสมุดส�ำหรับนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตศรีราชา ที่ ส ร้ า งขึ้ น ตามเกณฑ์ 90/90 (The 90/90 Standard) 2.2 ความคิดเห็นของผู้เข้ารับการ อบรมที่มีต่อบทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บ เรื่อง การใช้งานห้องสมุดส�ำหรับนิสิตมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์วิทยาเขตศรีราชา 3. เนื้อหาการวิจัยในครั้งนี้ 3.1 แนะน�ำบริการของห้องสมุด 3.2 ระเบียบและข้อปฏิบัติการใช้ ห้องสมุด 3.3 การสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ WebOPAC

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

1. บทเรี ย นฝึ ก อบรมผ่ า นเว็ บ เรื่ อ ง การใช้งานห้องสมุดส�ำหรับนิสิตมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 2. แบบวัดผลสัมฤทธิก์ ารฝึกอบรมเรือ่ ง เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

179


การใช้งานห้องสมุดส�ำหรับนิสิตมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ เป็นแบบปรนัย เลือกตอบ 4 ตัวเลือกโดยมีการ ทดสอบก่อนและหลังการฝึกอบรมจ�ำนวน 3 หน่วย การเรียนรู้ ข้อค�ำถามหน่วยละจ�ำนวน 10 ข้อ มีข้อค�ำถามทั้งหมดจ�ำนวน 60 ข้อ 2.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แนะน�ำ บริการของห้องสมุด 2.2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระเบียบ และข้อปฏิบัติการใช้ห้องสมุด 2.3 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 3 การสืบค้น ทรัพยากรสารสนเทศ WebOPAC 3. แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้ใช้ บทเรี ย นฝึ ก อบรมผ่ า นเว็ บ เรื่ อ งการใช้ ง าน ห้องสมุดส�ำหรับนิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 4. ทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพบทเรี ย น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

วิธีด�ำเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้มีลักษณะเป็นการวิจัย และพัฒนา (Research & Development : R & D) ซึ่งผู้วิจัยได้ด�ำเนินการดังนี้ 1. บทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บ เรื่อง การใช้งานห้องสมุดส�ำหรับนิสิตมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 1.1 ศึ ก ษาเอกสารและงานวิ จั ย ที่ เกี่ยวข้อง เพื่อก�ำหนดคุณลักษณะของบทเรียน ฝึ ก อบรมผ่ า นเว็ บ เรื่ อ งการใช้ ง านห้ อ งสมุ ด ส� ำ หรั บ นิ สิ ต มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ 180

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

วิทยาเขตศรีราชา ผู้วิจัยศึกษาหนังสือ เอกสาร วารสาร และงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒ นา บทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บ เพื่อใช้เป็นแนวทาง ส� ำ หรั บ การพั ฒ นา ซึ่ ง คุ ณ ลั ก ษณะบทเรี ย น ฝึกอบรมผ่านเว็บทีผ่ วู้ จิ ยั ออกแบบมีลกั ษณะดังนี้ 1.1.1 การเข้าสู่เนื้อหาบทเรียน ผู้เรียนสามารถที่เลือกบทเรียนได้ตามที่ต้องการ การสอนจะเป็นการสอนแบบน�ำเสนอเนื้อหา โดยมีการน�ำ ข้อความ รูปภาพ และภาพเคลือ่ นไหว เข้ า มาใช้ ใ นการสอน เพื่ อ ให้ นิ สิ ต สนใจและ เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.1.2 เนื้ อ หาเกี่ ย วกั บ การ ใช้ ง านห้ อ งสมุ ด ส� ำ หรั บ นิ สิ ต มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชาแบ่งเป็น 3 หน่วย การเรียน ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แนะน�ำ บริการของห้องสมุด มีเนือ้ หาเกีย่ วกับระบบการ จัดเก็บหนังสือ เวลาการท�ำการ และบริการต่างๆ ของห้องสมุด หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระเบียบ และข้อปฏิบัติการใช้ห้องสมุด มีเนื้อหาเกี่ยวกับ การใช้ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด สิทธิในการ ยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด ข้อปฏิบตั ิ ในการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศ ความรับผิดชอบ ต่อทรัพยากรสารสนเทศ ข้อปฏิบตั กิ ารใช้บริการ ห้องสมุด หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 3 การสืบค้น ทรัพยากรสารสนเทศ WebOPAC มีเนื้อหา เกี่ยวกับวิธีการสืบค้นข้อมูล การจองหนังสือ ด้วยตนเอง การยืมต่อด้วยตนเอง การตรวจสอบ


ข้อมูลตนเอง น�ำเนื้อหาได้ 3 หน่วยการเรียนรู้ให้ ผู้ที่เป็นวิทยากรตรวจสอบความถูกต้อง เพื่อให้ เนื้อหาที่น�ำขึ้นเว็บมีถูกต้องและมีคุณภาพ 1.1.3 มีการแจ้งวัตถุประสงค์ ของบทเรียนฝึกอบรม 1.1.4 มีการทดสอบก่อนการ ฝึกอบรม เพื่อวัดระดับความรู้ความเข้าใจของ ผู้เข้าฝึกอบรม ซึ่งผู้เข้าฝึกอบรมสามารถเลือก จากหน่วยการเรียนรู้ที่ต้องการวัด โดยมีแบบ ทดสอบแบบปรนัย จ�ำนวน 4 ตัวเลือก ตอบถูก ได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน และระบบ มีการแสดงผลคะแนนให้แก่ผู้เรียนทราบ 1.1.5 มีแบบทดสอบหลังเรียน เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเนื้อหาแต่ละหน่วยการเรียน รู้ เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์การเรียน โดยมีแบบทดสอบ แบบปรนัย จ�ำนวน 4 ตัวเลือก ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน และระบบมีการแสดงผล คะแนนให้แก่ผู้เรียนทราบ 1.1.6 ผูเ้ รียนสามารถเลือกย้อน กลับไปทบทวนเนื้อหาได้ 1.2 การออกแบบและพัฒนาบทเรียน ผ่านเว็บ ผู ้ วิ จั ย ศึ ก ษาการออกแบบ และพั ฒ นาบทเรี ย นผ่ า นเว็ บ ตามแนวคิ ด การ ออกแบบบทเรียนผ่านเว็บของกาเย่ 9 ขั้นตอน ดังนี้ (Gagne และ Briggs, 1974) ขั้นตอนที่ 1 เร่งเร้าความสนใจ (Gain Attention) ในบทเรียนน�ำเสนอเนื้อหา ด้วยข้อความ รูปภาพ เพื่อดึงดูดให้ผู้ฝึกอบรม

เกิดความสนใจกับบทเรียนและเนือ้ หาทีจ่ ะเรียน ซึ่งจะท�ำให้เกิดผู้ฝึกอบรมสามารถเข้าในเนื้อหา บทเรียนได้ดียิ่งขึ้น ขั้นตอนที่ 2 บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objective) ในบทเรียนบอกจุดประสงค์ การเรียนรู้ก่อนที่จะเริ่มบทเรียนที่มีการชี้แนะ เพื่อให้ผู้ฝึกอบรมทราบถึงประเด็นส�ำคัญของ เนื้อหา เพื่อให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพ ขัน้ ตอนที่ 3 ทบทวนความรูเ้ ดิม (Activate Prior Knowledge) เมื่อผู้ฝึกอบรม เข้ า ไปศึ ก ษาบทเรี ย นแต่ ล ะหน่ ว ยการเรี ย น และเรียนรู้จบในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ จะมี แบบทดสอบหลังเรียนให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เมื่อผู้เรียนท�ำแบบทดสอบเสร็จจะมีการเฉลย ค�ำตอบ พร้อมค�ำอธิบายเพื่อให้ผู้ฝึกอบรมมี ความเข้าใจเนื้อหาเพิ่มขึ้น อีกทั้งยังเป็นการ ทบทวนเนื้อหา ก่อนจะเริ่มบทเรียนใหม่ ขัน้ ตอนที่ 4 น�ำเสนอเนือ้ หาใหม่ (Present New Information) บทเรียนมีการ น�ำเสนอด้วยข้อความ ภาพ การอาศัยภาพประกอบ จะท�ำให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาง่ายขึ้น และมีความ คงทนในการจดจ�ำได้ดีกว่าใช้ค�ำพูดหรืออ่าน เพียงอย่างเดียว ขั้ น ตอนที่ 5 ชี้ แ นะแนวทาง การเรียนรู้ (Guided Learning) ในบทเรียน มีการออกแบบให้บทเรียนมีความสัมพันธ์กัน ของเนื้อหาความรู้และมีการเรียงล�ำดับเนื้อหา อย่างเป็นระบบ มีคู่มือประกอบการใช้บทเรียน ท�ำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้บทเรียนได้ถูกต้อง ขัน้ ตอนที่ 6 กระตุน้ การตอบสนอง เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

181


(Elicit Responses) ในบทเรียนจัดให้ผู้เรียน มีโอกาสร่วมกันคิดและร่วมกันฝึกปฏิบัติให้เกิด ทักษะ มีการแลกเปลีย่ นความคิดเห็นผ่านเว็บบอร์ด ขั้นตอนที่ 7 ให้ข้อมูลย้อนกลับ (Provide Feedback) เมือ่ ผูเ้ รียนท�ำแบบทดสอบ และส่ ง แบบฝึ ก หั ด ในแต่ ล ะหน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ระบบจะประมวลผลการทดสอบให้ผู้ฝึกอบรม ได้ทราบคะแนนทันที ขั้ น ตอนที่ 8 ทดสอบความรู ้ (Testing) การทดสอบความรูค้ วามสามารถผูเ้ รียน เป็นขัน้ ตอนทีส่ ำ� คัญอีกขัน้ ตอนหนึง่ เพราะท�ำให้ ทั้งผู้เรียนและผู้สอนได้ทราบถึงระดับความรู้ ความเข้าใจทีผ่ เู้ รียนมีตอ่ เนือ้ หาในบทเรียนนัน้ ๆ การทดสอบความรู้ในบทเรียนบนเว็บสามารถ ท�ำได้หลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นข้อสอบแบบ ปรนัยหรืออัตนัย การจัดท�ำกิจกรรมการอภิปราย กลุ่มใหญ่หรือกลุ่มย่อยเป็นต้น ซึ่งการทดสอบนี้ ผู้เรียนสามารถท�ำการทดสอบบนเว็บผ่านระบบ เครือข่ายได้ ขั้นตอนที่ 9 จ�ำและน�ำไปใช้ (Promote Retention and Transfer) หลังจาก ผูฝ้ กึ อบรมท�ำแบบทดสอบแล้ว ในบทเรียนน�ำเสนอ ข้อมูลและสรุปเนือ้ หาประเด็นส�ำคัญให้แก่ผเู้ รียน รวมทั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้มี โอกาสทบทวนความรู้ของตนเองหลังจากศึกษา เนื้อหาผ่านมาแล้ว และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียน ซักถามปัญหาก่อนจบบทเรียน และสามารถ น�ำไปใช้งานได้ ซึง่ สอดคล้องกับผลการวิจยั ของเขมณัฏฐ์มงิ่ ศิรธิ รรมและศุภนิตา สุดสวาท (2555) ทีก่ ล่าวว่า 182

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

คุณภาพเนื้อหาในการออกแบบจะต้องค�ำนึงถึง ความต่อเนือ่ งของเนือ้ หา ความยากง่ายของภาษา ต้องให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน น�ำเสนอ ข้อมูลครบถ้วน ตรงตามวัตถุประสงค์ และความ ถูกต้องของการใช้ภาษา การใช้ตัวสะกดและ การใช้เครือ่ งหมายวรรคตอนต่าง ๆ และสอดคล้อง กับศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์ (2555) ที่กล่าวว่า เนื้อหาในการฝึกอบรมที่มีล�ำดับขั้นตอนของ การฝึกอบรมเหมาะสมและสะดวก มีการแก้ไข ให้เหมาะสมก่อนน�ำไปใช้จริง ปริมาณของเนือ้ หา ได้ปรับให้มีความเหมาะสมช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น และการเลือกวิทยากรที่มีความสามารถในการ ถ่ายทอด ท�ำให้ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสอดคล้องกับการวิจัย ของจรัสศรี รัตตะมาน (2551) ทีพ่ ฒ ั นา ชุดฝึกอบรม บนเครือข่าย โดยมีการวางแผนอย่างเป็นระบบ โดยมีการส�ำรวจความต้องการของผู้เข้ารับการ อบรมภายใต้คำ� แนะน�ำของผูเ้ ชีย่ วชาญ หาคุณภาพ ของชุดฝึกอบรมและมีการติดตามความ พึงพอใจ ที่มีต่อการใช้ชุดฝึกอบรม ท�ำให้ชุดฝึกอบรม บนเครือข่ายมีประสิทธิภาพตรงกับความต้องการ ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม 1.3 ศึ ก ษาโปรแกรมที่ ใช้ ส� ำ หรั บ พัฒนาบทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บ ได้แก่ โปรแกรม การสร้างเนื้อหาบทเรียน รูปภาพ แบบทดสอบ การจัดการฐานข้อมูล ซึ่งโปรแกรมที่ใช้ส�ำหรับ การพัฒนาบทเรียนผ่านเว็บครัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั ใช้โปรแกรม AppServ PHPNuke Moodle Macromedia Flash MX 2400 Adobe Photoshop และ PowerPoint


1.4 การรั บ รองคุ ณ ภาพบทเรี ย น ฝึกอบรมผ่านเว็บเรือ่ ง การใช้งานห้องสมุด ส�ำหรับ นิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา โดยผูเ้ ชีย่ วชาญจ�ำนวน 3 คน ซึง่ ผูว้ จิ ยั ได้ดำ� เนินการ ประเมิน 2 ส่วน ได้แก่ 1.4.1 ประเมิ น คุ ณ ภาพของ บทเรียนผ่านเว็บด้านการออกแบบผลิตสื่อ 1.4.2 ประเมิ น คุ ณ ภาพของ บทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บด้านเนื้อหา 2. การสร้างแบบทดสอบ 2.1 แบบวัดผลสัมฤทธิก์ ารฝึกอบรม เรือ่ ง การใช้งานห้องสมุดส�ำหรับนิสติ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ผู้วิจัยสร้าง แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย เลือกตอบ 4 ตัวเลือก ตอบถูกได้คะแนน 1 ตอบผิดได้คะแนน 0 โดยมี การทดสอบก่อนและหลังการฝึกอบรมจ�ำนวน 3 หน่วยการเรียนรู้ จ�ำนวนหน่วยละ 10 ข้อ มีข้อค�ำถามทั้งหมดจ�ำนวน 60 ข้อ 2.1.1 หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ที่ 1 แนะน�ำบริการของห้องสมุด วัดความรูค้ วามเข้าใจ เกีย่ วกับการจัดเก็บหนังสือ เวลาการท�ำการ และ บริการต่างๆ ของห้องสมุด 2.1.2 หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ที่ 2 ระเบียบและข้อปฏิบตั กิ ารใช้หอ้ งสมุด วัดความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุด สิทธิในการยืม-คืน ข้อปฏิบัติในการ ยืม-คืน ความรับผิดชอบต่อทรัพยากรสารสนเทศ และข้อปฏิบัติการใช้บริการห้องสมุด 2.1.3 หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ ที่ 3 การสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ WebOPAC

วัดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสืบค้นข้อมูล การจองหนังสือด้วยตนเอง การยืมต่อด้วยตนเอง และการตรวจสอบข้อมูลตนเอง 2.2 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนทีค่ รอบคลุมวัตถุประสงค์และเนือ้ หา ของแต่ ล ะหน่ ว ยการเรี ย นรู ้ โดยวิ เ คราะห์ วัตถุประสงค์ของเนื้อหาแต่ละเรื่อง เพื่อน�ำไป ก�ำหนดสัดส่วนการสร้างแบบทดสอบ 2.3 สร้างแบบทดสอบที่สอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ของแต่ละเรือ่ ง สร้างแบบทดสอบ เป็นแบบปรนัย เลือกตอบ 4 ตัวเลือก ตอบถูก ได้คะแนน 1 ตอบผิดได้คะแนน 0 แบบทดสอบ ก่อนและหลังการฝึกอบรมจ�ำนวน 3 หน่วย การเรียนรู้ หน่วยละ 10 ข้อ มีข้อค�ำถามทั้งหมด จ�ำนวน 60 ข้อ 3. การสร้างแบบสอบถามความคิด เห็นของผู้ใช้บทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บเรื่อง การใช้งานห้องสมุดส�ำหรับนิสิตมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ผูว้ จิ ยั สร้างแบบสอบความคิดเห็นจาก ผู้ใช้บทเรียน เพื่อประเมินผลบทเรียนฝึกอบรม ผ่านเว็บซึ่งจะประเมินผลทั้ง 4 ด้านดังนี้ 3.1 ด้านความน่าสนใจ 3.2 ด้านความง่ายต่อการใช้งาน 3.3 ด้านการน�ำเสนอเนื้อหา 3.4 ด้านข้อความ ขนาดตัวอักษร และสี 4. การทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพและ ปรับปรุง 4.1 น�ำแบบทดสอบก่อนและหลัง เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

183


การฝึกอบรมทั้ง 3 หน่วยการเรียนรู้ มีข้อค�ำถาม ทัง้ หมดจ�ำนวน 60 ข้อ ให้ผเู้ ชีย่ วชาญจ�ำนวน 3 คน ตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างข้อค�ำถามกับ วัตถุประสงค์หรือเนื้อหา พบว่า แบบทดสอบ ทัง้ 3 หน่วยการเรียนรู้ มีคะแนนความสอดคล้อง กับเท่ากับ 1 4.2 น�ำแบบทดสอบไปทดสอบกับ นิสติ ทีเ่ ข้าใช้หอ้ งสมุดทีไ่ ม่ใช้กลุม่ ตัวอย่างจ�ำนวน 30 คน 4.3 น�ำผลการทดสอบมาตรวจให้ คะแนน แล้ววิเคราะห์หาความยากง่าย (p) และ ค่าอ�ำนาจจ�ำแนกของข้อสอบ (r) เป็นรายข้อ และคัดเลือกแบบวัดผลสัมฤทธิท์ มี่ คี วามยากง่าย (p) ระหว่าง .20-.08 และค่าอ�ำนาจจ�ำแนกของ ข้อสอบ (r) .20 ขึ้นไป จ�ำนวนข้อค�ำถาม 60 ข้อ ไว้ ใช้ ใ นการทดลอง ซึ่ ง จากผลการวิ เ คราะห์ เป็นรายข้อเป็นไปตามเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด ตามความ ยากง่ายและค่าอ�ำนาจจ�ำแนก 4.4 หาความเชือ่ มัน่ ของแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งฉบับ โดยวิธีของ คูเดอร์ ริชาร์ดสัน ใช้สูตร KR-20 ได้ค่าความเชื่อ มั่นของแบบทดสอบอยู่ที่ 0.92

4.5 น�ำแบบทดสอบไปใช้กับกลุ่ม ตัวอย่าง คือ นิสติ ปริญญาตรีจำ� นวน 40 คน โดยใช้ วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental sampling)

การวิเคราะห์ข้อมูล

1. การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของ บทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บ เรื่องการใช้งานห้อง สมุดส�ำหรับนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard) (เปรื่องกุมุท, 2519, หน้า 129) 2. การวิเคราะห์การเปรียบเทียบคะแนน ที่ได้จากการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ของบทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บ เรื่องการใช้งาน ห้องสมุดส�ำหรับนิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิ ท ยาเขตศรี ร าชา มาวิ เ คราะห์ ท างสถิ ติ เ พื่ อ เปรี ย บเที ย บความแตกต่ า ง โดยใช้ t-test (dependent) 3. การศึ ก ษาความคิ ด เห็ น ของผู ้ ใช้ บทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บ เรือ่ งการใช้งานห้องสมุด ส�ำหรับนิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต

ตารางที่ 4 ค่าความยากง่าย (p) และค่าอ�ำนาจจ�ำแนก (r) ที่ได้จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการฝึกอบรม แบบทดสอบ ค่าความยากง่าย (p) ค่าอ�ำนาจจ�ำแนก (r) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ก่อนเรียน 0.53 - 0.83 0.20 – 0.53 หลังเรียน 0.53 - 0.83 0.20 – 0.53 184

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


1. บทเรี ย นฝึ ก อบรมผ่ า นเว็ บ เรื่ อ ง ศรีราชาในรูปแบบของมาตรประมาณค่า (Rating การใช้งานห้องสมุดส�ำหรับนิสิตมหาวิทยาลัย Scale) 5 ระดับ เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ที่ผู้วิจัยพัฒนา ขึ้นมีประสิทธิภาพ 90.42/90.33 ซึ่งเป็นไปตาม สรุปผลการวิจัย การวิ จั ย ครั้ ง นี้ พ บว่ า นิ สิ ต ที่ เรี ย นด้ ว ย เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard) บทเรี ย นฝึ ก อบรมผ่ า นเว็ บ เรื่ อ งการใช้ ง าน ที่ ก� ำ หนดไว้ สอดคล้ อ งกั บ สมมุ ติ ฐ านที่ ตั้ ง ไว้ ห้องสมุดส�ำหรับนิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผูว้ จิ ยั ได้นำ� แนวคิดการออกแบบบทเรียนผ่านเว็บ ของกาเย่ 9 ขั้นท�ำให้บทเรียนของผู้วิจัยมีความ วิทยาเขตศรีราชา สรุปผลการวิจัยไว้ดังนี้ 1. บทเรี ย นฝึ ก อบรมผ่ า นเว็ บ เรื่ อ ง น่าสนใจและได้ประสิทธิภาพตามที่ตั้งไว้ 2. ผลการเปรี ย บเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ การใช้งานห้องสมุดส�ำหรับนิสิตมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา มีประสิทธิภาพ ทางการเรียน ผลการวิ จั ย พบว่ า ผลสั ม ฤทธิ์ ข อง เท่ า กั บ 90.42/90.33 ซึ่ ง เป็ น ไปตามเกณฑ์ นิสิตก่อนการใช้บทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บ และ มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard) 2. คะแนนจากแบบทดสอบก่อนเรียน หลัง การใช้บทเรียนผ่านเว็บ มีความแตกต่างกัน และหลังเรียนของผู้เรียนด้วยบทเรียนฝึกอบรม อย่างมีนยั ส�ำคัญโดยหลังการใช้บทเรียนผ่านเว็บ ผ่านเว็บ เรื่องการใช้งานห้องสมุดส�ำหรับนิสิต นิสิตมีการเรียนรู้ที่สูงขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญทาง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สถิติที่ ระดับ .05 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากวิธีการ ฝึ ก อบรมผ่ า นเว็ บ ที่ มี คุ ณ ภาพจะท� ำ ให้ นิ สิ ต อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความคิ ด เห็ น ของผู ้ ใ ช้ บ ทเรี ย น มีความสนใจ ตื่นตัวที่จะรับความรู้จากบทเรียน ฝึกอบรมผ่านเว็บ เรือ่ งการใช้งานห้องสมุด ส�ำหรับ อีกทัง้ ในการฝึกอบรมผ่านเว็บยังเพิม่ ศักยภาพและ นิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ความรูใ้ นการใช้งานคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต โดยภาพรวมอยู่ในระดับเหมาะสมมาก เป็นสิง่ กระตุน้ ให้นสิ ติ มีความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ การค้นหาความรู้ด้วยตนเองจึงจะส่งผลให้เกิด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดี ซึ่งสอดคล้องกับ การอภิปรายผล จากผลการวิจัย สามารถอภิปรายผล ผลการวิจัยของโอภาส เกาไศยาภรณ์ (2547, หน้า 1) ที่ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียน ในประเด็นต่อไปนี้ จากการวิจยั เพือ่ พัฒนาบทเรียนฝึกอบรม การแสวงรู้บนเว็บ หน่วยการจัดพิพิธภัณฑ์ใน ผ่านเว็บ เรื่องการใช้งานห้องสมุด ส�ำหรับนิสิต สถานศึกษา ทีพ่ บว่าผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ผู้เรียน ที่เรียนด้วยบทเรียนการแสวงหารู้บนเว็บ สามารถอภิปรายได้ดังนี้ หน่วยการจัดพิพธิ ภัณฑ์ในสถานศึกษาหลังเรียน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

185


สู ง กว่ า ก่ อ นเรี ย นอย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .05 3. ความคิ ด เห็ น ของผู ้ ใ ช้ บ ทเรี ย น ฝึกอบรมผ่านเว็บ เรือ่ งการใช้งานห้องสมุด ส�ำหรับ นิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา นิสิตที่ฝึกอบรมจากบทเรียนฝึกอบรม ผ่านเว็บ มีความคิดเห็นบทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บ เรือ่ งการใช้งานห้องสมุด ส�ำหรับนิสติ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิ ท ยาเขตศรี ร าชามี ค ่ า อยู ่ ใ น ระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ4.33 ทั้งนี้เนื่องจาก การเรียนด้วยบทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บผู้เรียน สามารถเรียนได้ตามอัธยาศัย นอกจากผู้เรียน สามารถทบทวนเนื้อหาในบทเรียนซ�้ำได้จนกว่า จะเข้าใจ ท�ำให้ผเู้ รียนมีความกระตือรือร้นในการ ติ ด ตามบทเรี ย น และเรี ย นด้ ว ยความสนใจ ไม่เบือ่ หน่ายต่อการเรียน ซึง่ สอดคล้องกับ กัลยา แข็งแรง (2552) ที่กล่าว สื่อออนไลน์ เป็นสื่อ ที่ผู้เรียนสามารถเข้าใจเนื้อหาได้ง่ายและเข้าใจ สิ่งที่เรียนได้รวดเร็ว อีกทั้งเป็นสื่อเทคโนโลยีที่ ทันสมัย ท�ำให้ผู้เรียนมีความสนใจกระตือรือร้น ในการเรียน และเรียนด้วยความสนุกสนาน และ เขมณัฏฐ์มิ่งศิริธรรม (2555) ที่กล่าวว่าการฝึก อบรมโดยใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมสามารถเข้าถึงการฝึกอบรมจากที่ใด ก็ได้ที่สามารถเชื่อต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ ไม่ว่าจะเป็นที่บ้านหรือที่ท�ำงาน และสามารถ เข้ า รั บ การฝึ ก อบรมในเวลาใดก็ ไ ด้ ซึ่ ง ท� ำ ให้ ไม่รบกวนเวลาในการท�ำงาน อีกทั้งยังมีรูปแบบ ของการน�ำเสนอทีน่ า่ ดึงดูดความสนใจเพราะการ ใช้สอื่ ประสมทีป่ ระกอบด้วยภาพและเสียง ท�ำให้ 186

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

ผูเ้ รียนทบทวนบทเรียนใหม่ได้ตลอดเวลา สามารถ ควบคุมการเรียนได้ดว้ ยตนเองว่าจะหยุดพักเมือ่ ใด หรือจะศึกษาบทเรียนเรือ่ งนีใ้ ห้มากเป็นพิเศษได้ และรังสรรค์ สุกันทา (2546) ที่กล่าวว่า การฝึก อบรมออนไลน์ทมี่ กี ารจัดหาข้อมูลและสารสนเทศ ให้กับผู้เข้าอบรมในลักษณะที่เป็นสื่อประสม ง่ายต่อการใช้งาน เรียนรูโ้ ดยไม่จำ� กัดเวลา สถานที่ ท�ำให้เกิดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมของการ เรียนรู้ที่ดีส�ำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม

ข้อเสนอแนะ

1. ข้อเสนอแนะเพือ่ น�ำผลการวิจยั ไปใช้ 1.1 บทเรียนการฝึกอบรมผ่านเว็บ ผูเ้ รียนสามารถเรียนรูแ้ ละทบทวนความรูไ้ ด้ดว้ ย ตนเองโดยไม่ต้องใช้วิทยากรให้การฝึกอบรม 1.2 ควรมี ก ารพั ฒ นาบทเรี ย น ฝึกอบรมผ่านเว็บในเนื้อหาวิชาอื่น ๆ ที่เพื่อให้ ผูเ้ รียนสามารถทบทวนเนือ้ หาของวิชานัน้ ๆ และ มองเห็นภาพได้ชัดเจนกว่าการฝึกอบรมที่มีการ บรรยายเพียงอย่างเดียว 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการติดตามผลของผู้เข้า รับการฝึกอบรม หลังการฝึกอบรมผ่านไปแล้ว 2.2 ควรมีการเปรียบเทียบการฝึก อบรมด้วยบทเรียนฝึกอบรมผ่านเว็บกับการฝึก อบรมด้วยวิธีต่าง ๆ 2.3 ควรมีการศึกษาถึงปัญหาและ อุปสรรคในการใช้งานของเว็บฝึกอบรม ทั้งด้าน เครือข่ายและด้านผู้เข้ารับการฝึกอบรม


บรรณานุกรม

กัลยา แข็งแรง. (2552). การสร้างสือ่ อิเล็กทรอนิกส์เพือ่ ฝึกทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทยส�ำหรับนักเรียน ชาวเขา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เขมณัฏฐ์มิ่ง ศิริธรรมและศุภนิตา สุดสวาสดิ์. (2555). การพัฒนาชุดฝึกอบรมออนไลน์เพื่อการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ส�ำหรับครูในเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช. จรัสศรี รัตตะมาน. (2551). การพัฒนารูปแบบฝึกอบรมผ่านเว็บ. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง นุชตรียา ผลพานิชย์. (2553). รายงานการวิจัยแนวทางในการพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมของนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา. นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยราชภัฎ นครราชสีมา. เปรื่อง กุมุท. (2519). เทคนิคการเขียนบทเรียนโปรแกรม. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. รังสรรค์ สุกันทา. (2546). การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมผ่านเว็บแบบมีส่วนร่วม ตามแนวคิดการเรียนรู้ ด้วยการน�ำตนเอง ส�ำหรับบุคลากรขององค์กรธุรกิจ. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการ ศึกษาผู้ใหญ่. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ. ศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์. (2555). การพัฒนาชุดฝึกอบรมผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง หลักการออกแบบ บทเรียนออนไลน์ส�ำหรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษา แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา สาขาวิชา ศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต. 6(2).หน้า 56-71. (กรกฎาคม-ธันวาคม 2555). ศิรกิ าญจน์ โพธิเ์ ขียว. (2550). ห้องสมุดมหาวิทยาลัยไทยในทศวรรษหน้า : มิตใิ หม่ในการการเข้าถึงข้อมูล. วารสาร สารสนเทศ, 6(1).หน้า 23-29. สุ วัฒ น์ ชั ย จั น ทร์เ ฮง. (2553). การพัฒ นารูป แบบการฝึกอบรมแบบผสมผสานส�ำหรับครูผู้ฝ ึกนักศึกษา พิการทางสายตาเพื่อพัฒนาทักษะด้านการท�ำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ภาควิชาหลักสูตรและวิธสี อน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. โอภาส เกาไศยาภรณ์. 2547. การพัฒนาบทเรียนการแสวงรู้บนเว็บหน่วยการจัดพิพิธภัณฑ์ในสถานศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์. (ส�ำเนา) Gagne, R.M., Briggs, L. J., & Wager, W.W. (1992) Principles of instructional design (4th ed.) For Worth, TX: Harcourt, Brace Jovanovich College Publishers. Relan, A., & Gillani, B.B. (1997). Web-based instruction and the traditional classroom : Similarities and differences. In B.H. Khan (Ed.), Web-based instruction (pp.41-46).

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

187


การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 Development of Mobile Appication on Welcome to ASEAN for Pratomsuksa 5 Students ณัฐวิภา หงส์เจริญกุล (Natthawipha.H@gmail.com) 1* สาโรช โศภีรักข์ (sarochap@yahoo.com) 2

บทคัดย่อ

การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ พัฒนาโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 90/90 เพื่อหา ดัชนีประสิทธิผลทางการเรียนทีเ่ รียนด้วยโมบาย แอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่สร้างขึ้น และ เพือ่ ส�ำรวจความพึงพอใจของนักเรียนชัน้ ประถม ศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน กลุ่มทดลองที่ใช้ในการวิจัย ครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนอนุบาล สงขลา จังหวัดสงขลา จ�ำนวน 40 คน เครื่องมือ

ที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ โมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 5 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลัง เรียนด้วยโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ี ต่อโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล คือ ค่าเฉลีย่ และส่วนเบีย่ ง เบนมาตรฐาน ผลการวิ จั ย พบว่ า 1) โมบายแอพ พลิ เ คชั่ น เรื่ อ ง เวลคั ม ทู อาเซี ย น ส� ำ หรั บ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพ

* นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ** อาจารย์ประจำ�ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

188

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


91.25/91.35 ซึง่ เป็นไปตามเกณฑ์ 90/90 2) ค่า ดัชนีประสิทธิผลทางการเรียนทีเ่ รียนด้วยโมบาย แอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน เท่ากับ 0.86 และ 3) ความพึงพอใจของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.62 อยู่ในระดับมากที่สุด ค�ำส�ำคัญ : โมบายแอพพลิเคชั่น. แอพ พลิเคชั่น.

Abstract

The objectives of this research were 1) to developed mobile application on Welcome to ASEAN for Pratomsuksa 5 students which met the efficiency criterion 90/90, 2) to analyze the effectiveness index of the mobile application on Welcome to ASEAN for Pratomsuksa 5 students and 3) to survey the students’ satisfaction toward mobile application on Welcome to ASEAN for Pratomsuksa 5 students. Experimental group of this research consisted of 40 Pratomsuksa 5 students from AnubanSongkhla School. The research tools were mobile application on Welcome to ASEAN for Pratomsuksa 5 students, pretest, achievement test and questionnaire. The data were analyzed using mean and standard deviation.

The research results found that: 1) the developed mobile application on Welcome to ASEAN for Pratomsuksa 5 students has the efficiency at 91.25/91.35 which met the 90/90 standard criteria. 2) The effectiveness index of mobile application on Welcome to ASEAN for Pratomsuksa 5 Students was 0.86 which indicated that after learning from mobile application on Welcome to ASEAN, learning progressed 86 percentage. And 3) the students satisfactions toward tablet mobile application on Welcome to ASEAN for Pratomsuksa 5 students were at the highest level. Keywords: mobile application, application

บทน�ำ

การเรียนการสอนในปัจจุบันได้มีการน�ำ เทคโนโลยีมาช่วยเป็นตัวกลางการเรียนการสอน ร่วมกับ การเรียนการสอนแบบอื่นๆ ได้มากมาย และหลากหลายยิ่งขึ้นท�ำให้เกิดการช่องทางใน การเรียนรู้ที่เพิ่มเติมของผู้เรียน เนื่องจากการ พัฒนาเทคโนโลยีดา้ นต่างๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology หรือ ICT) เป็น ไปอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องส่งผลให้เกิดการน�ำ เทคโนโลยีต่างๆ เหล่านี้เข้ามาประยุกต์ใช้ใน การจัดการศึกษาเพือ่ ให้การศึกษามีคณ ุ ภาพและ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

189


ประสิทธิภาพมากขึ้น (ปัทมา นพรัตรน์, 2548) และด้ ว ยนโยบายภาครั ฐ โดยเฉพาะด้ า นการ พัฒนาการใช้เทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา มีการกระ จายโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้นกั เรียนทุก ระดับชั้นใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ตเพื่อ การศึกษา แท็บเล็ตจึงมีบทบาทที่มีความส�ำคัญ มากขึน้ และส่งผลให้สอื่ ทีใ่ ช้ในการเรียนการสอน ต้องมีการพัฒนาและหลายหลากมากขึ้นด้วย เพื่อให้การศึกษา ประสบผลส�ำเร็จและบรรลุ เป้าหมายในการเรียนการสอนได้เพิ่มมากยิ่งขึ้น อย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ ยังสามารถประยุกต์และ พัฒนาได้อย่างต่อเนื่องอย่างไม่มีที่สิ้นสุด กิ ด านั น ท์ มลิ ท อง (2543) กล่ า วว่ า เทคโนโลยีการศึกษาเป็นสิ่งส�ำคัญยิ่งอย่างหนึ่ง ในการช่วยในการแก้ปัญหาทางด้านการศึกษา ส�ำเร็จลุลว่ งไปได้ ไม่วา่ จะเป็นในด้านการบริหาร การจัดการเรียนการสอน และโดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในการน�ำเทคโนโลยีทันสมัยมาใช้เพื่อเพิ่มพูน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเรียนรู้แก่ผู้ เรียน รัฐบาลในหลายประเทศจึงได้ตระหนักถึง ความส�ำคัญและสนับสนุนการน�ำเทคโนโลยีการ ศึกษามาใช้ในวงการศึกษา จะเห็นได้ชดั เจนว่าแนวนโยบายของการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การศึกษาเป็นปัจจัย และเป็นมิติส�ำคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การจั ด การศึ ก ษาให้ ก ้ า วสู ่ ป ระสิ ท ธิ ภ าพการ เรียนรูข้ องสังคมโดยรวม และจะเป็นมิตขิ องการ สร้างกระบวนทัศน์เพื่อน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลง ของระบบการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็น ส�ำคัญภายใต้การศึกษาในยุคปฏิรปู ในทศวรรษที่ 190

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

สองในปัจจุบัน ในขณะเดียวกันกับแนวนโยบาย ของการจัดการศึกษาโดยภาครัฐที่กล่าวในเบื้อง ต้นนั้น “แท็บเล็ตเพื่อการศึกษา (Tablet for Education)” จึงกลายเป็นเครื่องมือด้านสื่อ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาที่ส�ำคัญและมีอิทธิพล ค่อนข้างมากต่อการปรับใช้ในการสร้างมิติแห่ง การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการจัดการศึกษา ไทยในปั จ จุ บั น ในยุ ค สั ง คมสารสนเทศและ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง (สุรศักดิ์ ปาเฮ, 2554) เทคโนโลยีทางการศึกษาจะช่วยปรับ เปลีย่ นบทบาทของครูจากผูส้ อนให้เป็นทีป่ รึกษา หรื อ ผู้ แนะแนวทาง และส่ง เสริม ให้ ผู้ เรีย นมี โอกาสได้เรียนรู้ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองมาก ขึ้น สื่อและวัสดุอุปกรณ์ที่น�ำมาใช้จะช่วยให้ นักเรียนเข้าใจเนื้อหาต่างๆ ในกระบวนการสอน สื่อการสอนนั้นเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญเพราะ จะเป็นส่วนท�ำให้กระบวนการการสอนประสบ ผลส�ำเร็จ เมื่อเป็นเช่นนี้ การใช้สื่อเข้ามามีส่วน ร่วมในการเรียนการสอนจึงจ�ำเป็นจะต้องใช้สื่อ ที่ท�ำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในหลายๆ ด้าน ซึ่งในการศึกษาพบว่าสถิติจาก British Audio Visual Association พบว่า คนสามารถจ�ำเรื่อง ที่เรียนได้ 80% ถ้าทั้งได้ยินและได้ท�ำ แต่ถ้า ได้ยินอย่างเดียวจะจ�ำได้เพียง 20% และถ้าได้ เห็นหรืออ่านจะจ�ำได้เพียง 10% (สุรชัย สิกขา บัณฑิต, 2544) การใช้แอพพลิเคชั่นบนอุปกรณ์แท็บเล็ ตนั้นเป็นสิ่งที่ช่วยเพิ่มมิติในการเรียนการแล้ว ยังถือเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการจัดการเรียน การสอนได้เป็นอย่างดี โดยกล่าวได้ว่า คุณค่า


ของ แท็บเล็ตเป็นการใช้อปุ กรณ์ทมี่ คี วามสะดวก ในการพกพา รวมไปถึงสามารถบรรจุแอพพลิ เคชั่นต่างๆ ที่มีส่วนช่วยในการจัดการเรียนการ สอนได้เป็นอย่างดี นอกจากจะท�ำให้เกิดความ สะดวกสบายต่อตัวผู้เรียนที่ไม่จ�ำเป็นต้องพก สมุดหนังสือในการเรียนแล้ว การใช้แอพพลิ เคชั่นยังเป็นวัสดุทางการสอนที่ท�ำให้การสอน มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากกว่ า การใช้ วั ส ดุ ธ รรมดา เนื่องจากสามารถน�ำเสนอเนื้อหา รายละเอียด รวมไปถึงภาพเคลื่อนไหวหรือใช้วีดิทัศน์ ท�ำให้ การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ในปัจจุบนั ภาษาอังกฤษมีความส�ำคัญต่อ ชีวิตประจ�ำวัน ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา การ ท�ำงาน สังคม เศรษฐกิจ ล้วนมีการใช้ทกั ษะภาษา อังกฤษ ดังนัน้ การปลูกฝังให้มเี จตคติทดี่ ตี อ่ ภาษา อังกฤษจึงจ�ำเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะปัจจุบันที่ ก�ำลังจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ภาษาอังกฤษ ยิ่งมีบทบาทมากยิ่งขึ้นเป็นทวีคูณ การเรี ย นรู ้ ภ าษาอั ง กฤษจึ ง เป็ น ความ จ�ำเป็นส�ำหรับคนไทย การเรียนการสอนภาษา อั ง กฤษจึ ง ควรมี เ ป้ า หมายเพื่ อ ให้ ส ามารถน� ำ ความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจ�ำ วั น และเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการติ ด ต่ อ ระหว่ า ง ชนชาติต่างๆ (บัญชา อึ๋งสกุล. 2541:63) สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ตาม หลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) ได้ก�ำหนดกรอบ เนือ้ หาในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ซึง่ แบ่งออกเป็น 4 สาระ คือ ภาษาเพือ่ การสือ่ สาร (Communication) ภาษาและวั ฒ นธรรม

(Culture) ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระ การเรียนรู้อื่น (Connection) และภาษากับ ความสั ม พั น ธ์ กั บ ชุ ม ชนโลก (Community) ซึ่งสาระทั้งหมดที่ได้ก�ำหนดไว้ สะท้อนถึงเป้า หมายเพื่ อ ให้ ผู ้ เรี ย นได้ เรี ย นรู ้ ภ าษาทุ ก ด้ า น พัฒนาสมรรถภาพทางภาษาในลักษณะที่ก้าว ไปตามความต่อเนื่องของกระบวนการเรียนรู้ และเพื่อมุ่งให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อภาษาต่าง ประเทศ สามารถใช้ภาษาต่างประเทศสื่อสาร ในสถานการณ์ต่างๆ แสวงหาความรู้ ประกอบ อาชีพและศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งมี ความรู้ความเข้าใจในเรื่องราวและวัฒนธรรม อันหลากหลายของประชาคมโลก และสามารถ ถ่ายทอดความคิดและวัฒนธรรมไทยไปยังสังคม โลกได้อย่างสร้างสรรค์ เนื่ อ งจากความส� ำ คั ญ ของการเรี ย นรู ้ ภาษาอังกฤษมีความจ�ำเป็นมากยิง่ ขึน้ จึงจ�ำเป็น ต้องหาแนวทางและวิธีการพัฒนาทักษะภาษา อังกฤษมากยิ่งขึ้น เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดทั้ง ในด้านการเรียน การท�ำงาน สังคม เศรษฐกิจ การให้ความส�ำคัญต่อการเรียนรู้ภาษา อังกฤษยังมีน้อย เด็กนักเรียนยังขาดความสนใจ และแรงจูงใจในการเรียนรู้ จึงท�ำให้เด็กนักเรียน ไม่สนใจในค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ ท�ำให้การเรียน รู้ภาษาอังกฤษยังไม่เกิดประสิทธิภาพหรือไม่ได้ ประสิทธิภาพสูงสุดตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ จากผล การประเมินคุณภาพทางการศึกษา ปีการศึกษา 2555 ของส�ำนักทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ พบว่า ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนทั่วประเทศ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

191


36.99 อยูใ่ นเกณฑ์ทตี่ อ้ งปรับปรุง ร้อยละ 32.71 จากปัญหาดังกล่าว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการ เรียนรูภ้ าษาอังกฤษจึงพยายามค้นหา วิธี เทคนิค การเรียนรูแ้ ละเทคโนโลยีนำ� มาประยุกต์ใช้แก้ไข ปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ ในการเรี ย นรู ้ ช่ว ยให้บรรยากาศน่าเรียน มี ประสบการณ์แบบใหม่ เกิดความน่าสนใจในการ เรียนรู้มากยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้ ผู้วิจัยจึงได้คิดพัฒนาโมบาย แอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 5 เพื่ อ เป็ น สื่ อ เสริมและสนับสนุนการเรียนการสอนวิชาภาษา อังกฤษ เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพกับผูเ้ รียนต่อไป

วัตถุประสงค์ของวิจัย

1. เพือ่ พัฒนาโมบายแอพพลิเคชัน่ เรือ่ ง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 90/90 2. เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลทางการ เรียนด้วยโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่สร้างขึ้น 3. เพือ่ ส�ำรวจความพึงพอใจของนักเรียน ที่ มี ต ่ อ โมบายแอพพลิ เ คชั่ น เรื่ อ ง เวลคั ม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่สร้างขึ้น

ทดลองที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลสงขลา จังหวัดสงขลา โดยการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง มา 1 ห้องเรียน จ�ำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 1. โมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2. แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนด้วย สื่อโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 3. แบบสอบถามความพึ ง พอใจของ นักเรียนที่มีต่อสื่อโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 5

การเก็บรวบรวมข้อมูล

ในการทดลองครั้ ง นี้ ผู ้ วิ จั ย ท� ำ การเก็ บ รวบรวมข้อมูลด้วยตนเองกับนักเรียนชัน้ ประถม ศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 ใน กลุ่มโรงเรียนขนาดใหญ่ในอ�ำเภอเมือง จังหวัด สงขลา โดยด�ำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลดังนี้ 1. ผูว้ จิ ยั น�ำหนังสือจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถึงผู้อ�ำนวยการ โรงเรียนอนุบาลสงขลา เพื่อขอความอนุเคราะห์ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยในหนังสือได้ชี้แจง ถึงรายละเอียดของชื่อผู้วิจัย วิธีด�ำเนินการวิจัย ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ข้อมูลที่ผู้วิจัยต้องการและ โครงร่างงานวิจัย วิธีการวิจัย 2. เมือ่ ได้รบั อนุญาตแล้ว ผูว้ จิ ยั จึงติดต่อ การวิจยั ในครัง้ นีเ้ ป็นการวิจยั เชิงทดลอง เบื้องต้น (Pre-Experimental Design) กลุ่ม ประสานงานกับกลุ่มตัวอย่างผ่านครูประจ�ำชั้น 192

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


ประถมศึกษาปีที่ 5 ด้วยตนเองเพื่อนัดวันและ เวลาทีจ่ ะเข้าไปด�ำเนินการทดลอง พร้อมทัง้ ชีแ้ จง วัตถุประสงค์ และประโยชน์ที่เกิดจากการวิจัย 3. ผูว้ จิ ยั ด�ำเนินการจัดการเรียนการสอน โดยใช้ โ มบายแอพพลิ เ คชั่ น เรื่ อ ง เวลคั ม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ดังนี้ 3.1 จั ด เตรี ย มสถานที่ อุ ป กรณ์ ไอแพดและสภาพแวดล้อมให้พร้อมเรียน 3.2 ผู้วิจัยชี้แจงวัต ถุประสงค์ให้ผู้ เรียนทราบ แจ้งให้ผู้เรียนน�ำหูฟังมาด้วยส�ำหรับ การเรี ย นด้ ว ยสื่ อ โมบายแอพพลิ เ คชั่ น เรื่ อ ง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 5 3.3 ผู้วิจัยให้ผู้เรียนจ�ำนวน 40 คน ท�ำแบบทดสอบก่อนเรียน จ�ำนวน 20 ข้อ เวลา 30 นาที พร้อมกันทั้งหมดในครั้งเดียว เพื่อวัด ความรู้เบื้องต้นและเก็บเป็นข้อมูล 3.4 เว้นระยะหลังจากผูเ้ รียนท�ำแบบ ทดสอบก่อนเรียน 1 สัปดาห์ ให้ผู้เรียนศึกษา โมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้ เวลาในการโหลดแอพพลิเคชั่น พร้อมแนะน�ำ การใช้งาน 10 นาที จากนั้นเรียนด้วยโมบาย แอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จ�ำนวน 20 นาที 3.5 เมื่อศึกษาโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 เรียบร้อยแล้ว ให้ผู้เรียนท�ำ แบบทดสอบหลังเรียน จ�ำนวน 20 ข้อ เวลา 30

นาที ทันที 4. การเก็บรวบรวมข้อมูลความพึงพอใจ ให้เวลาผู้เรียนในการท�ำแบบประเมิน 5 นาที หลังจากการท�ำแบบทดสอบหลังเรียนที่เรียน ด้วยโมบายแอพพลิเคชัน่ เรือ่ ง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ทันที

ผลการวิจัย

ผลจากการวิ จั ย เรื่ อ ง โมบายแอพพลิ เคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. โมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพ 91.25/91.35 ซึ่งสอดคล้องตาม เกณฑ์ประสิทธิภาพสื่อ 90/90 ที่ตั้งไว้ 2. ค่าดัชนีประสิทธิผลทางการเรียนจาก โมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5 เท่ากับ 0.86 แสดงว่า ผู้เรียนมีคะแนนหลังเรียนเพิ่มขึ้นจาก คะแนนก่อนเรียนตามวัตถุประสงค์ ร้อยละ 86 3. กลุ ่ ม ทดลองที่ ผ ่ า นการเรี ย นรู ้ ด ้ ว ย โมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีความ พึงพอใจโดยรวมต่อโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.62 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด

อภิปรายผลการวิจัย

1. ผลการหาประสิ ท ธิ ภ าพสื่ อ โมบาย แอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

193


นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 พบว่า มีประ สิทธิภาสือ่ 91.25/91.35 ซึง่ สอดคล้องกับเกณฑ์ ประสิทธิภาพ 90/90 ที่ก�ำหนดไว้ แสดงว่าสื่อ การเรียนการสอนโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 5 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ สามารถ น�ำไปใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนได้ ทั้งนี้การที่ สื่อมีประสิทธิภาพนั้น มีการตรวจสอบคุณภาพ จากคณะกรรมการที่ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญในด้าน เนือ้ หาและสือ่ ท�ำให้โมบายแอพพลิเคชัน่ ทีน่ ำ� มา ใช้มปี ระสิทธิภาพตามทีก่ ำ� หนดไว้ นอกจากนีย้ งั มี การด�ำเนินการทดลองทีเ่ ป็นไปตามกระบวนการ ของการวิจยั มีการแก้ไข ปรับปรุงโมบายแอพพลิ เคชั่นให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น และสามารถน�ำ ไปใช้เป็นสื่อการสอนได้ โดยการใช้ไอแพดนั้น ช่วยท�ำให้ผเู้ รียนได้เกิดกระบวนการเรียนรู้ เข้าใจ ในบทเรียน นอกจากนี้ผู้เรียนยังสามารถโต้ตอบ กับอุปกรณ์ไอแพดได้อีกด้วย การใช้ไอแพดจึง ส่งผลให้การเรียนรูม้ ปี ระสิทธิภาพ (เปรือ่ ง กุมทุ , 2519) สอดคล้องกับงานวิจัยของ พนิดา สังฆ รักษ์ (2557) ได้พฒ ั นาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์บน แท็บเล็ต เรื่อง ระบบร่างกายของมนุษย์ ส�ำหรับ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล วัดป่าโค จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบว่า มีค่า ประสิทธิภาพสือ่ เท่ากับ 82.17/81.83 ซึง่ เป็นไป ตามเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ 2. ผลการหาค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness Index) เพื่อประเมินความก้าวหน้า ทางการเรียนของผู้เรียนโดยใช้สื่อโมบายแอพ พลิ เ คชั่ น เรื่ อ ง เวลคั ม ทู อาเซี ย น ส� ำ หรั บ 194

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งได้จากการน�ำ เอาคะแนนผลการทดสอบก่อนเรียนและหลัง เรียน มาท�ำการค�ำนวณหาค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.) เพื่อประเมินความก้าวหน้าทางการเรียน ของผู้เรียนได้ค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.86 คิดเห็นร้อยละ 86 แสดงว่า ผู้เรียนมีคะแนน หลังเรียนมากขึ้นกว่าคะแนนก่อนเรียน ตาม วัตถุประสงค์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า โมบายแอพพลิเคชั่นนั้น ส่งเสริมการเรียนการสอนได้เป็น อย่างดี ท�ำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สอดคล้อง กับงานวิจัยของ พระคุณ จาตกะวร (2556) ได้ พัฒนาแอพพลิเคชั่น เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง บนไอแพด ส�ำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนหอวัง กรุงเทพมหานคร พบว่ามีค่าดัชนี ประสิทธิผลเท่ากับ 0.67 ถือว่านักเรียนมีความรู้ เพิ่มขึ้น 0.67 คิดเป็นร้อยละ 67 และอุษญาณีย์ ดีพรม (2556) ได้พฒ ั นาแอพพลิเคชัน่ บนไอแพด วิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง สุขภาพของฉัน ส�ำหรับ นักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 2 พบว่ามีค่าดัชนี ประสิทธิผลเท่ากับ 0.82 ถือว่านักเรียนมีความรู้ เพิ่มขึ้น 0.82 คิดเป็นร้อยละ 82 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่ม ตัวอย่างจ�ำนวน 40 คน ทีม่ ตี อ่ สือ่ โมบายแอพพลิ เคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จ�ำนวน 13 หัวข้อ พบ ว่า กลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน 40 คน มีความคิดเห็น เกี่ยวกับความพึงพอใจโดยรวมทั้งหมด 4.62 ซึ่ง อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด อันเนื่องมา จากโมบายแอพพลิเคชัน่ เรือ่ ง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สามารถ


เรียนได้ทุกที่ทุกเวลา สามารถเร้าความสนใจได้ ดี ท�ำให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ เรียนรู้ได้ เร็วขึ้น และอีกทั้งสามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก สามารถทบทวนเนื้อหาได้ตลอดเวลาตามความ ต้องการของผู้เรียนได้อีกด้วย กล่ า วโดยสรุ ป ได้ ว ่ า โมบายแอพพลิเคชัน่ เรือ่ ง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นมี คุณภาพอยู่ในระดับดีมาก และมีประสิทธิภาพ อยู่ในเกณฑ์ประสิทธิภาพ 90/90 ที่ก�ำหนดไว้ ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีความสนใจในการเรียนรู้เพิ่มขึ้น และนักเรียน สามารถเรียนรู้หรือทบทวนซ�้ำได้ตามต้องการ มีความสะดวกและรวดเร็วขึ้น สามารถเรียนได้ ทุกที่ทุกเวลา สามารถเร้าความสนใจได้ดี ท�ำให้ ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ เรียนรู้ได้เร็ว ขึ้น ดังนั้น โมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จึงสามารถน�ำไปใช้ในการเรียนการสอนได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ทั้งยังสามารถน�ำไปปรับใช้กับ วิชาอื่นๆ ได้อีกด้วย

ประสิทธิภาพส�ำหรับน�ำไปใช้เป็นสื่อการสอนได้ ผู ้ วิ จั ย จึ ง เสนอว่ า ควรจะมี ก ารพั ฒ นาโมบาย แอพพลิเคชั่น ในรายวิชาอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น ภาษาไทย สังคม คณิตศาสตร์ เป็นต้น หรืออาจ จะเป็นรายวิชาภาษาต่างประเทศในเรื่องอื่นๆ เพิ่มเติม และสามารถน�ำไปปรับใช้กับผู้เรียนใน ระดับชัน้ อืน่ ๆ ได้อกี ด้วย เพือ่ ช่วยให้เกิดการเรียน รู้ที่เพิ่มมากขึ้นต่อผู้เรียน 2. ในการสร้ า งโมบายแอพพลิ เ คชั่ น ให้เกิดความคุ้มค่า ควรน�ำไปเผยแพร่ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด ให้กับผู้ที่สนใจหรือต้องการ เรียนรู้เพื่อเป็นทางเลือกในการเพิ่มความรู้หรือ เป็นเครื่องมือประกอบการเรียนการสอนได้อีก ช่องทางหนึ่ง

ข้อเสนอแนะส�ำหรับการวิจัยครั้งต่อไป

1. ผู ้ วิ จั ย ในอนาคตสามารถใช้ เ ป็ น แนวทางในการสร้างโมบายแอพพลิเคชั่นเพื่อ ใช้ในการศึกษาเนื้อหาอื่นๆ หรือเรื่องอื่นๆ ได้ 2. ผู้วิจัยในอนาคตมีการศึกษาเพิ่มเติม เกี่ยวกับ กิจกรรมหรือเทคนิค เช่น การสร้าง สถานการณ์จ�ำลอง ที่สามารถน�ำมาใช้บนโม บายแอพพลิเคชั่นที่สามารถกระตุ้นให้ผู้เรียน ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย ในการวิจัยเรื่อง โมบายแอพพลิเคชั่น เกิดความต้องการที่จะท�ำการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน ส�ำหรับนักเรียนชั้น มากขึ้น หรือ มีความคิดที่อยากเรียนให้บ่อยครั้ง มากขึ้น เป็นต้น ประถมศึกษาปีที่ 5 ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังนี้ 1. จากการสังเกตพบว่า ผูเ้ รียนเกิดความ สนุก ในการที่จะเรียนรู้ด้วยสื่อโมบายแอพพลิ เคชั่นต่างๆ ค่อนข้างมาก และผลจากการวิจัย ครั้งนี้ชี้ว่า โมบายแอพพลิเคชั่นเป็นอีกสื่อที่มี เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

195


เอกสารอ้างอิง กิดานันท์ มลิทอง. 2548. เทคโนโลยีและการสือ่ สารเพือ่ การศึกษา. กรุงเทพมหานคร: อรุณการพิมพ์. กรณิการ์ ชูตระกูลธรรม. 2555. การพัฒนาโปรแกรมเล่น ดนตรีไทยบนแท็บเล็บระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์ . วิ ท ยานิ พ นธ์ วิ ท ยาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าเทคโนโลยี ส ารสนเทศ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. บุญชม ศรีสะอาด.2535. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: อักษรเจริญทัศน์. ปรีชา วิหคโต. 2547. เทคโนโลยีและสื่อสารการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช. พระคุณ จาตกะวร. 2556. การพัฒนาแอพพลิเคชั่น เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรงบนไอแพด ส�ำหรับ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนหอวัง กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ไพฑูรย์ ศรีฟ้า. 2555. เอกสารประกอบการบรรยาย “แท็บเล็ต (Tablet) กับการจัดการศึกษา ส�ำหรับนักเรียนในยุคศตวรรษที่ 21.” วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2555 ณ ภาควิชาเทคโนโลยีการ ศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสนามจันทร์. ภาสกร เรืองรอง. 2556. การพัฒนาบทเรียนบน Tablet PC. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พรทิชา. มนต์ชัย เทียนทอง. 2545. การออกแบบและพัฒนาคอร์สแวร์ส�ำหรับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ผลิตต�ำราเรียน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติส�ำนัก นายกรัฐมนตรี. 2542. พระราชบัญญัติการศึกษา. กรุงเทพมหานคร. Alessi, S. M. & Trollip, S. R. 1991. Computerbased instruction: Methods and development. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall Fang, Chen, James, Sager, Gail, Corbitt and Kent, Sandoe. 2008. The Effects o Using a Tablet PC on Teaching and Learning Processes. (Online). http://aisel. aisnet.org/amcis2008/262/, December 5, 2012. Galligan, Linda, Loch, Birgit, McDonal, Christine and Taylor, Janet A. 2010. The Use of Tablet and Related Technologies in Mathematics Teaching (Online). https:// eprints.usq.edu.au/8371/2/Galligan_Loch_McDonald_Taylor_ASMJ_2010_PV.p df, December 5, 2014.

196

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


การกีฬากับสันติภาพ โดย : รองศาสตราจารย์ ชม ภูมิภาค1

เรื่องการกีฬากับสันติภาพนี้ คงจะต้อง พิจารณากันถึงว่า การกีฬานั้นจะสร้างคุณธรรม อันจ�ำเป็นต่อการสร้างสันติภาพอย่างไร คงจะ ต้องมองย้อนไปถึงความพยายามในอดีตที่ได้ใช้ การกีฬาเพื่อให้เกิดสันติภาพ และหันมาดูว่าใน ปัจจุบันนี้จะใช้การกีฬาเพื่อให้เกิดสันติภาพได้ อย่างไร การกีฬากับสันติภาพ นั้นเริ่มจากความ พยายามของชาวกรีก นัน่ คือกีฬาโอลิมปิค ค�ำว่า โอลิมปิคนั้น มีความเป็นมาจากภูเขาลูกหนึ่งใน ประเทศกรีก ทีเ่ รียกกันว่า ภูเขาโอลิมปิค แล้วเอา ชื่อของภูเขาลูกนี้มาตั้งชื่อ สถานศักดิ์สิทธิ์ว่า โอลิมเปีย ในภาษากรีก และต่อมาเป็นชือ่ การแข่งขัน กีฬา ณ ที่นี้เรียกว่า โอลิมปิคเกม ในสมั ย โบราณ ประเทศกรี ก ซึ่ ง เป็ น แหล่งก�ำเนิดของกีฬาโอลิมปิค แต่เดิมมิได้เป็น ประเทศหรื อ ประชาชาติ ใ ด เพราะชนกรี ก เรียกตัวเองว่า เฮลลีน ได้กระจัดกระจายไป ตามผืนแผ่นดินใหญ่และเกาะต่าง ๆ มากมาย การตั้งถิ่นฐานบนผืนแผ่นดินใหญ่มีพื้นที่ราบ 1

ในหุบเขาและภูเขาสูง ๆ แบ่งแยกอาณาเขต เป็ น พวก ๆ แต่ ล ะถิ่ น ฐานมี ช นบทล้ อ มรอบ เป็นรัฐ ๆ หนึ่งซึ่งเรียกว่า นครรัฐ มีอาณาเขต ไม่มาก แต่ต่างพยายามรักษาอิสรภาพของตัว

กรีกแยกเป็น 4 สาขา สาขาใหญ่คือ สาขาโตเรียน ได้แก่พวกที่ตั้งอาณาจักรอยู่ที่ เอเธนส์ และสปาร์ตา นอกนี้ก็มีสาขาเคแอน สาขาอีโอเลียน และอีโอเนียน พวกสปาร์ตา เป็นนักรบ อดทน และรบชนะนครรัฐต่าง ๆ มากมาย การก่อก�ำเนิดกีฬาโอลิมปิคนัน้ มีเรือ่ งราว เกี่ยวกับเทพนิยายว่าประมาณ 1,500 ปี ก่อน

นายกสมาคมการศึกษาแห่งประเทศไทย

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

197


คริสต์ศตวรรษคือ เมื่อประมาณ 3,400 กว่าปี มาแล้ ว กษั ต ริ ย ์ อั ฟ เจี ย สแห่ ง อี ลิ ส ประกาศ เสนอรางวัลอย่างมหาศาลแก่ผู้ที่สามารถล้าง คอกวัวของพระองค์ที่ขังไว้ 3,000 ตัว โดยมิได้ ท�ำความสะอาดช�ำระล้างมา 30 ปี และหมักหมม สกปรก เฮอคิวลิสรับอาสาและใช้พลังหันเห ทางน�้ำของแม่น�้ำสายหนึ่งให้ไหลผ่านคอกวัว จนล้างหมดส�ำเร็จในวันเดียว แต่กษัตริยไ์ ม่รกั ษา สัญญา ไม่ยอมให้รางวัลตามสัญญา เฮอคิวลิส จึงปลงพระชนม์เสีย และจัดงานฉลองโดยการ จัดวิ่งแข่งในสนามรูปวงรี เส้นชัยปลายสนาม อยู่ที่แท่นบูชาชูส ผู้ชนะได้กิ่งโอลีพครอบศรีษะ หลังจากนัน้ ก็จดั ต่อมา กษัตริยอ์ อคซิลอสจัดเป็น ครัง้ สุดท้าย แล้วไม่มอี กี หลังจากนัน้ 500 ปีตอ่ มา ได้ เ กิ ด โรคระบาดขึ้ น ในอี ลิ ส กษั ต ริ ย ์ อิ ฟ ิ ต อส จึ ง ทรงตั ด สิ น พระทั ย เสด็ จ ไปยั ง เมื อ งเดลฟี เพือ่ ขอพรจากเทพเจ้าอาพอลโล ซึง่ เป็นเทพบุตร ที่เกิดจากเทพเจ้าซูสและพระนางเลโต การที่ ต้องไปทีเ่ มืองนีเ้ พราะถือกันว่าเป็นเมืองศักดิส์ ทิ ธิ์ เมืองหนึ่งที่มีเทพเจ้าคอยให้ค�ำพยากรณ์ ใครมี ความทุกข์เดือดร้อนก็มาขอพรจากเทพเจ้าทีน่ ไี่ ด้ ในความทุกข์ของกษัตริยอ์ ฟิ ติ อสเทพเจ้าอาพอลโล ซึง่ มีชอื่ อีกชือ่ หนึง่ ว่า ฟิวอส ตามชือ่ ของพระอัยยิกา ฟี วี พยากรณ์ แ ละกล่ า วว่ า เทพเจ้ า ทั้ ง หลาย พร้อมจะช่วยขจัดภัยแห่งโรคระบาดนั้นให้ หากพระองค์จะรื้อฟื้นการแข่งขันกีฬา โอลิมเปียขึ้นมา เพื่อจะได้บวงสรวงบูชาเทพเจ้า ไปในตัว แต่ระยะเวลาตอนนั้นยังไม่เหมาะที่จะ จัดแข่งขันกีฬา เพราะพวกสปาร์ตาก�ำลังสปาร์ตา ก�ำลังตีเมืองต่าง ๆ อยู่ ทั้งกษัตริย์ที่ชื่อ ลีคูร์กอส 198

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

ของชนเผ่าสปาร์ตาก็ก� ำลังหมายตาพื้นที่ราบ อันอุดมสมบูรณ์ของโอลิมเปียอยู่ อิฟติ อสทรงพระราชด�ำริคดิ หาทางออก โดยเพทุบายให้กษัตริย์แห่งสปาร์ตาและปิชา ท� ำ สนธิ สั ญ ญาไม่ รุ ก รานกั น และประกาศให้ โอลิ ม เปี ย เป็ น สถานที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ โ ดยแท้ จ ริ ง เพื่ อ เป็ น ที่ สั ก การะทางศาสนา ซึ่ ง ใครจะท� ำ อั น ตรายหรื อ ล่ ว งล�้ ำ มิ ไ ด้ ดั ง นั้ น ในปี 776 ก่ อ นคริ ส ต์ ศั ก ราช กษั ต ริ ย ์ อิ ฟ ิ ต อสแห่ ง อิ ลิ ส จึงสามารถสนองโองการของเทพเจ้าและรื้อฟื้น การแข่งขันกีฬาโอลิมปิคขึ้นมาได้ ตามเกร็ ด ประวั ติ ศ าสตร์ ปรากฎว่ า อิฟิตอสเป็นกษัตริย์ที่ทรงพระปรีชาสามารถ พระองค์มีพระราชด�ำริที่จะให้การฉลองตาม พิธีทางศาสนาและการแข่งขันกีฬามีลักษณะที่ แผ่ไพศาล เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาประเทศ ของพระองค์ โดยเชิญประเทศต่าง ๆ ในแว่นแคว้น ปลอปอนเนซอส ซึง่ มีรฐั ทีส่ ำ� คัญ ๆ รวมทัง้ รัฐบาล ของชาวเมืองสปาร์ตาที่เป็นนักรบเข้มแข็งมา ร่ ว มฉลองกั น ที โ อลิ ม เปี ย โดยมี ค วามตกลง หยุดรบระหว่างการฉลองและแข่งขันกีฬาใน ทุก ๆ 4 ปี จากนัน้ เป็นต้นมา กรีกนับเวลาเป็นห้วงปี ซึ่งเรียกว่า โอลิมเปียต คือนับเวลาเป็นห้วงสี่ปี


กล่าวคือปีที่มีการฉลองกีฬาโอลิมปิคเป็นปีแรก แล้วนับไป 4 ปี ปีที่ 5 คือหีการฉลองครั้งต่อไป หมายความว่าเว้นระยะ 4 ปี ระหว่างงานฉลอง ครั้ ง หนึ่ ง กั บ งานฉลองครั้ ง ต่ อ ไป โอลิ ม เปี ย ต สมัยใหม่ก็นับเวลาอย่างเดียวกัน การจัดการแข่งขันกีฬาทีก่ ษัตริยอ์ ฟิ ติ อส แห่งอีลิสได้จัดขึ้นมาใหม่ ท�าให้สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ แห่งโอลิมเปียได้เริม่ พัฒนาและค่อย ๆ เพิม่ ความ ส� า คั ญ เป็ น ที่ เ ลื่ อ งลื อ ไปทั่ ว แว่ น เคว้ น แดนดิ น ของชนชาวเฮสลีน (กรีก) จากนั้นเป็นต้นมา การแข่งขันกีฬาโอลิมปิคซึ่งจัดที่โอลิมเปียก็มี เรือ่ ยมาทุกสีป่ โี ดยไม่ขาดตอน การจัดการแข่งขัน ได้มีการปรับปรุงและเพิ่มกีฬาต่าง ๆ ขึ้นมาด้วย ความจริ ง การฉลองการแข่ ง ขั น กี ฬ า โอลิมปิคที่มีขึ้น ก็เพื่อบูชาเทพเจ้าซูส ซึ่งเป็น เทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ของชนชาวกรีกทั้งมวล และ เท่ากับประมวลความส�าคัญทางศาสนาเกี่ยวกับ การบูชาเทพเจ้าไว้โดยสิ้นเชิง สถานศักดิ์สิทธิ์ แห่งโอลิมเปียซึ่งเป็นที่เคารพสักการะจะต้อง ด�ารงไว้ซึ่งความศักดิ์สิทธิ์ และจะต้องไม่มีการ กระท�าใด ๆ ทีล่ บหลูค่ วามศักดิส์ ทิ ธิน์ ี้ ตามความ เชื่อถือของชนชาวกรีกที่มีต่อเทพเจ้าของเขา เช่น การให้รางวัลแก่ผชู้ นะในการแข่งขัน จะไม่ให้ เป็นเงินเป็นทอง แต่จะให้เป็นเสมือนการ “ครอบ

มงกุฎ” อันเป็นสุดยอดของการแข่งขันกีฬาที่จัด ถวายแด่เทพเจ้า เมื่อชาวประมงแห่งนครรัฐอีลิสได้เป็น ผู้ครอบครองสถานศักดิ์สิทธิ์แล้ว และได้ก�าหนด ให้มีการฉลองการแข่งขันกีฬาโอลิมปิคทุก 4 ปี การฉลองนีบ้ างทีกเ็ รียกว่า ฉลองโอลิมปิค ตามชือ่ สถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ ์ การจัดการแข่งขันตกเป็นหน้าที่ ของชาวเมืองอีลสิ ซึง่ รับผิดชอบในการจัดประเภท กีฬาและพิธบี ชู าเทพเจ้า ตลอดจนการตระเตรียม สนามแข่งขัน และอ�านวยความสะดวกแก่ฝูงชน ที่มาแน่นขนัดกันที่สถานโอลิมเปีย นครอี ลิ ส เป็ น เมื อ งโบราณ สร้ า งอยู ่ ทางฝังซ้ายของแม่น�้าพีนีออส ห่างจากโอลิมเปีย 50 กิโลเมตร ทางการแต่งตัง้ พระนักบวชไปประจ�า ที่สถานศักดิ์สิทธิ์ กับมีสภาประชาชนที่เรียกว่า วูลี เป็นคณะกรรมการจัดการแข่งขัน และใน ระหว่ า งการแข่ ง ขั น มี ก ารประชุ ม กั น ที่ ส ถาน วู เ สฟติ ริ อ อน ที่ โ อลิ ม เปี ย และเรี ย กสถานนี้ ว่า สภาโอลิมปิค (ออลิมปิอากี วูลี) สภานี้มี คณะกรรมการคณะหนึ่งประกอบด้วยบุคคลที่ คัดเลือกแล้ว 10 นาย ชือ่ เอลลานอธิเคส ซึง่ ได้รบั มอบหมายให้การด�าเนินการแข่งขันเป็นไปอย่าง ราบรื่น คณะกรรมการนี้ก็เท่ากับคณะกรรมการ เทคนิ ค ที่ ค วมคุ ม การแข่ ง ขั น และการใช้ ก ฎ

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

199


ข้อบังคับทีเ่ ข้มงวดต่าง ๆ และมีเจ้าหน้าทีห่ ลายฝาย ช่วยเหลือ ในการประกาศจัดการแข่งขันทีโ่ อลิมเปีย ได้ถือกันเป็นขนบธรรมเนียมว่าจะต้องมีการ พักรบตามสนธิสัญญา ที่มีระหว่างสามกษัตริย์ คือ อิฟิตอสแห่งอีลิส ลีคูร์กอสแห่งสปาร์ตา และเคสออสเธนีสแห่งปิชา ไม่เป็นทีท่ ราบแน่ชดั ว่าการพักรบมีนานเท่าใด ทีแรกคงจะหนึ่งเดือน ต่อมาเป็นสามเดือน ในระหว่างการพักรบ นักกีฬา ญาติพี่น้องและบุคคลทั่วไปจะเดินทางมาดูการ แข่งขันกีฬาโดยไม่ต้องเกรงกลัวอันตราย และ เดินทางกลับไปยังถิน่ ฐานของตนอย่างปลอดภัย ศัพท์การพักรบในภาษากรีกว่า อานาโคชิ ตรงกับค�าอังกฤษ truce แต่ภาษากรีกโบราญว่า เอเคซิเรียตามตัวแปลว่า “การจับมือถือแขน” ข้อตกลงในการพักรบไม่ปรากฎแน่ชัด แต่พอ จะหาหลักเกณฑ์ได้จากเหตุการณ์ทลี่ ะเมิดพักรบ 1. ระหว่างการพักรบ การเป็นปฏิปักษ์ และสูร้ บกันยุตหิ มด และการเข้ามาในอาณาจักร อีลสิ จะมาได้โดยเสรี นอกจากนีก้ ารเดินทางผ่าน ดินแดนต่าง ๆ ที่เป็นศัตรูกันก็ผ่านไปได้อย่าง อิสระ 2. บุ ค คลที่ ถื อ อาวุ ธ หรื อ หน่ ว ยก� า ลั ง ทหารห้ามเข้าอีลิสโดยเด็ดขาด 3. ห้ า มมิให้มีการลงโทษถึง ประหาร ชีวิตตลอดเวลาที่มีการพักรบ ความส� า คั ญ ของการพั ก รบอยู ่ ที่ ว ่ า ได้ยอมรับกันเป็นขนบธรรมเนียมกันถ้วนหน้า และชนชาวกรี ก ทั้ ง หมดถื อ ปฏิ บั ติ ด ้ ว ยความ เคารพต่อความศักดิส์ ทิ ธิข์ องสถานทีแ่ ละเทพเจ้า ตลอดเวลา 1,200 ปี ทีม่ กี ารแข่งขันกีฬาโอลิมปิค 200

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

การละเมิดการพักรบมีน้อยครั้งและเกือบจะไม่ สลักส�าคัญ ประวัติศาสตร์บอกว่า นับเป็นเวลา 12 คศตวรรษที่การแข่งขันกีฬาแห่งโอลิมเปียได้ ด�าเนินการตามก�าหนดการแห่งพิธกี รรมโดยปกติ และสม�่าเสมอตลอดเวลา ก่อนเริ่มงานฉลองเมื่อถึงฤดูการแข่งขัน ซึ่งเป็นหน้าร้อน บรรดาทูตสันติจะออกเดินทาง จากอีลสิ ไปแพร่ขา่ วแก่ชนชาวกรีกทัว่ สารทิศว่า การแข่ ง ขั น กี ฬ าโอลิ ม ปิ ค ใกล้ จ ะถึ ง เวลาแล้ ว ส่วนใครจะไปบอกข่าวที่ใดก็แบ่งหน้าที่กันเอง กลุม่ หนึง่ ไปซิซลิ แี ละผืนแผ่นดินใหญ่ อีกกลุม่ หนึง่ ไปเอเซียไมเนอร์ และหมู่เกาะในทะเลอีเจียน ส่วนกลุ่มที่สามเดินทางไปทางเหนือ ทูตสันติ ทีท่ า� หน้าหน้าทีเ่ หล่านีต้ า่ งก็ปา วประกาศการพักรบ ชั่วคราวจนถึงเวลาการแข่งขัน เมืองส�าคัญ ๆ ของกรีกทุกเมืองเปลีย่ นเป็นสถานทีอ่ นั พึงเคารพ และสัง่ เปิดพรหมแดนหมดทุกแห่งเพือ่ ให้นกั กีฬา และคนดูผา่ นเข้าออกได้โดยเสรี สูส่ ถานโอลิมเปีย อันเป็นที่ศักดิ์สิทธิ์


ท่านที่เคารพ ที่น�ำเรื่องความเป็นมา ของกีฬาโอลิมปิคในสมัยโบราณมาพูดกันนั้น ก็เพียงเพื่อแสดงให้เห็นว่าการกีฬาโอลิมปิคนั้น ความหมายประการหนึง่ ทีจ่ ดั ขึน้ นัน้ ก็คอื ต้องการ ยุติสงคราม ต้องการสันติภาพนั้นเอง การกีฬานัน้ เป็นเครือ่ งมือปลูกฝังสันติภาพ ในใจของมนุษย์ และจะน�ำไปสูก่ ารเกิดสันติภาพ ระหว่างชาติดว้ ยโดยเฉพาะกีฬาระหว่างประเทศ ซึ่ ง ถื อ ได้ ว ่ า กี ฬ าโอลิ ม ปิ ค เป็ น กี ฬ าระดั บ โลก ย่อมจะเป็นเครื่องมือประการหนึ่งในการสร้าง ความเข้าใจระหว่างชาติ การกีฬานัน้ ไม่วา่ จะเป็น รูปใดก็ตาม นับได้วา่ เป็นส่วนหนึง่ ของวัฒนธรรม การกีฬาถือได้วา่ เป็นสายเชือ่ มความสัมพันธ์ของ มนุษยชาติในโลก ในปัจจุบนั นีก้ ารกีฬามีบทบาท ส�ำคัญในการศึกษาพื้นฐานของเยาวชนทั่วโลก มีหน่วยงานแห่งชาติและระหว่างชาติมากมาย ที่พยายามส่งเสริมการกีฬาใหม่ ๆ และปรับปรุง กีฬาที่มีอยู่ให้ดีขึ้น

การกี ฬ านั้ น หากได้ ถู ก น� ำ มาใช้ อ ย่ า ง ถูกต้องแล้ว ย่อมเป็นสื่อการศึกษาที่ส�ำคัญยิ่ง ในการพัฒนาบุคคลทั้งในด้านร่างกาย สมอง อารมณ์ สังคม และศีลธรรม การอยากเป็นเด่น ทางการกีฬานับว่าเป็นแรงส�ำคัญประการหนึ่ง

ทีผ่ ลักดันให้คนพยายามอย่างจริงจังในการพัฒนา และก�ำลังของตนเอง และนอกจากนั้นการเข้า แข่งขันในการกีฬาแต่ละครัง้ ก็เป็นเครือ่ งทดสอบ ความปรารถนาและความส�ำเร็จของคน จะเป็น ทางน�ำไปสูค่ วามพอใจในการออกก�ำลังกาย และ ความแข็งแรงของร่างกาย นอกจากนี้ การกีฬายังเป็นการฝึกหัด การท�ำงานร่วมกัน ประสานงานกันเพื่อให้บรรลุ เป้ า หมายร่ ว มกั น ได้ ฝ ึ ก หั ด เรี ย นรู ้ ก ารปฏิ บั ติ ตามกฎเกณฑ์ แ ละกติ ก ารต่ า ง ๆ ด้ ว ยความ ยุติธรรม การเล่นกีฬาย่อมท�ำให้อคติทั้งหลาย หายไปได้ การกีฬาย่อมท�ำให้นกั เรียนสามารถใช้ เวลาว่างให้เกิดประโยชน์เพื่อสุขภาพร่างกาย หากเด็กมีเวลาว่างมาก และขาดการแนะแนวทาง ทีถ่ กู ต้องแล้ว อาจจะใช้พลังไปในทางทีไ่ ม่ถกู ต้องได้ บุคคลทีจ่ ะออกจากสถานศึกษาไปปฏิบตั ิ หน้าที่ในฐานะผู้น�ำในสังคมด้านต่าง ๆ นั้น คือ นิสิตนักศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

201


ด้ ว ยเหตุ นี้ มหาวิ ท ยาลั ย จึ ง มี ห น้ า ที่ รับผิดชอบในการที่จัดให้มีการน�ำทางกีฬาที่มี ความช� ำ นาญพอ จั ด สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวก ทางการกีฬาให้เพียงพอ เพื่อเปิดโอกาสให้นิสิต นั ก ศึ ก ษาได้ มี โ อกาสเล่ น กี ฬ าตามความถนั ด ของตน เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาที่สมบูรณ์ โครงการกีฬาในมหาวิทยาลัยทีจ่ ดั ขึน้ นัน้ ควรจะกระท�ำเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ดังนี้ 1. จั ด โอกาสทางกิ จ กรรมพลศึ ก ษา ให้นักศึกษาทุกคนได้มีส่วนร่วมตามความสามารถ ความสนใจ และความต้องการของแต่ละคน 2. ยกระดับความสามารถของแต่ละคน เพือ่ ให้มสี ว่ นร่วมในกิจกรรมทางกีฬา ทัง้ ในขณะ ศึกษาในมหาวิทยาลัยและเพื่อออกไปประกอบ อาชีพ 3. พัฒนาพละก�ำลังของร่างกายระบบ ต่าง ๆ เพื่อต่อสู้กับกิจกรรมหนัก ๆ 4. ให้ทกุ คนมีทางลดความเครียดในชีวติ ประจ�ำวัน 5. จัดประสบการณ์การเรียนทางกีฬา ให้กา้ วหน้า เพือ่ นักศึกษาจะได้เกิดความพึงพอใจ ในสัมฤทธิ์ผลที่เขาได้รับ 6. พัฒนาความเป็นผู้น�ำของนักศึกษา ด้ ว ยการให้ เขามี ป ระสบการณ์ ใ นการจั ด การ บริหารการกีฬาภายในสถาบัน และระหว่างสถาบัน 7. ให้นิสิตนักศึกษาและสมาชิกอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยได้มีโอกาสเข้าร่วมในกิจกรรม กีฬาในแบบต่าง ๆ รวมทั้งการสันทนาการด้วย เพื่ อ ให้ ไ ด้ ใช้ เวลาว่ า งส่ ง เสริ ม ความสมบู ร ณ์ แก่ชีวิต 202

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

8. ส่งเสริมให้คณาจารย์และเจ้าหน้าที่ เกิดความรักภักดีต่อมหาวิทาลัย ด้วยการอาศัย การกีฬาเป็นเครื่องสร้าง การส่ ง เสริ ม กี ฬ าและพลศึ ก ษาใน มหาวิทยาลัยนั้น ย่อมเกี่ยวข้องกับปัจจัยต่าง ๆ อย่างน้อย 4 ประการด้วยกันคือ 1. นโยบายมหาวิ ท ยาลั ย ต้ อ งมี นโนบายแน่วแน่ทจี่ ะส่งเสริมการกีฬาและพลศึกษา ในมหาวิทยาลัย ซึง่ ในเรือ่ งนีเ้ ข้าใจว่ามหาวิทยาลัย ต่าง ๆ ในประเทศไทยคงจะสนับสนุนแนวนโยบาย ของรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เนื่องจากเห็นได้ว่าทุกมหาวิทยาลัยได้ตั้งคณะ กรรมการกีฬาของมหาวิทยาลัย และระหว่าง มหาวิทยาลัยก็มคี ณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัย แห่งประเทศไทยเป็นผู้รับผิดชอบ และระหว่าง ประเทศก็มคี ณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยโลก เป็นผู้รับผิดชอบ ปัญหาที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยของไทย ในขณะนี้ก็เห็นจะได้แก่การขาดแนวนโยบาย ที่แน่นอนของมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับการจัดการ ส่งเสริมการกีฬาและพลศึกษาในมหาวิทยาลัย แต่ละแห่ง ซึง่ เรือ่ งนีค้ ณะกรรมการกีฬามหาวิทยาลัย แห่งประเทศไทย ได้เคยจัดให้มีการสัมมนาเรื่อง การพัฒนาการกีฬาและพลศึกษาในมหาวิทยาลัยขึน้ เรือ่ งทีจ่ ดั สัมมนามีอยู่ 4 เรือ่ งใหญ่ ๆ คือ การสอน พลศึกษาในมหาวิทยาลัย การจัดการแข่งขันกีฬา ภายในมหาวิทยาลัย การจัดการแข่งขันกีฬาระหว่าง มหาวิทยาลัยและการจัดหาสิง่ อ�ำนวยความสะดวก เกี่ยวกับการกีฬาในมหาวิทยาลัย แนวนโยบายการส่งเสริมการกีฬาและ


พลศึกษาในมหาวิทยาลัยนัน้ น่าจะได้ครอบคลุม แนวนโยบายดังที่ได้กล่าวมาแล้ว 8 ประการ ข้างต้น 2. บุ ค ลากร เมื่ อ มี แ นวนโยบายที่ แน่ น อนแล้ ว ปั จ จั ย ประการที่ ส องที่ จ ะต้ อ ง พิจารณาก็คือตัวบุคคลที่จะปฏิบัติงานให้บรรลุ ตามแนวนโยบายนั้น มหาวิทยาลัยจะต้องจัดให้มีหน่วยงาน ทางกี ฬ าและพลศึ ก ษา เพื่ อ รั บ ผิ ด ชอบงาน ด้านนี้ หน่วยงานที่จะท�าหน้าที่ด�าเนินการและ ประสานงานทางกีฬาของมหาวิทยาลัย บุคลากร ที่ท�าหน้าที่สอนและบริการทางด้านกีฬาและ พลศึกษาจะต้องมีเพียงพอ และมีความสามารถ ทีจ่ ะปฏิบตั งิ านได้ตามความต้องการของโครงการ ทุ ก คนที่ เ กี่ ย วข้ อ งต้ อ งเข้ า ใจนโยบายของ มหาวิทยาลัยเป็นอย่างดี ปฏิบัติงานด้วยความ รับผิดชอบและความเสียสละอย่างยิ่ง

3. โครงการ โครงการทางกี ฬ าและ พลศึกษา สันทนาการ ต้องเป็นโครงการที่คลุม กิจกรรมต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง ซึ่งสามารถจะ แบ่งออกเป็นด้าน ๆ ดังนี้คือ ก. การสอนพลศึ ก ษาเบื้ อ งต้ น มหาวิทยาลัยทั่วไปในเมืองไทยส่วนใหญ่บังคับ ให้เรียนทางพลศึกษาอย่างน้อย 3 หน่วยกิต ส�าหรับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บั ง คั บ ให้ นิ สิ ต ปริ ญ ญาตรี ต ้ อ งเรี ย นพลศึ ก ษา อย่างน้อย 3 หน่วยกิต เป็นกีฬา 3 ประเภท ๆ ละ 1 หน่วยกิต ข. โครงการกีฬาภายในมหาวิทยาลัย เช่น การจัดการแข่งขันกีฬาภายในของมหาวิทยาลัย ค. การจัดการแข่งขันกีฬาภายนอก มหาวิทยาลัย เช่นแข่งขันกีฬาประเภทต่าง ๆ ทีส่ มาคมกีฬาต่าง ๆ เป็นผูจ้ ดั ขึน้ หรือเข้าแข่งขัน กีฬาระหว่างมหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

203


ง. จั ด แข่ ง ขั น กี ฬ าแต่ ล ะประเภท ในโอกาสต่าง ๆ จ. โครงการกีฬาของคณาจารย์ 4. สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกทางการ กีฬาและพลศึกษา มหาวิทยาลัยจ�ำเป็นต้องสร้างสิง่ อ�ำนวย ความสะดวกทางกีฬาและพลศึกษาให้มากเพียง พอที่ จ ะเอื้ อ อ� ำ นวยให้ น โยบายและโครงการ ทางด้านกีฬาและพลศึกษาของมหาวิทยาลัยได้ ส�ำเร็จประสงค์ให้ได้ หากเป็นไปได้ควรจะมีศูนย์ กีฬามาตรฐาน ต่อไปนี้คงพอจะเป็นแนวทางใน การจัดสิ่งอ�ำนวยความสะดวกทางการกีฬาและ พลศึกษาในมหาวิทยาลัยได้บ้าง ก. สิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่จ�ำเป็น กีฬากลางแจ้งและสันทนาการ เนื้อที่ทั้งหมด 100 ตารางฟุต ต่อคนต่อนักศึกษา ต่อคนต่อนักศึกษาทั้งหมด ส�ำหรับใช้เป็นสนามกีฬาทุกประเภทเพื่อสอน พลศึกษา จัดการแข่งขันกีฬาภายในและกิจกรรม สันทนาการอื่นๆ สนามกีฬาฟุตบอล รักบี้ ฮอกกี้ ซอฟต์บอล และอืน่ ๆ จะกินเนือ้ ทีป่ ระมาณ 60% สนามเทนนิส สนามวอลเล่ยบ์ อล สนามบาสเกตบอล

204

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

สนามตะกร้อ และอื่น ๆ จะกินเนื้อที่ประมาณ 15% ส่วนเนื้อที่ของลู่วิ่งและกีฬาประเภทลาน จะกินเนื้อที่ประมาณ 25% ข. สิง่ อ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับกีฬา และสันทนาการในร่ม ต้องการเนือ้ ที่ 8 ตารางฟุต ต่อคนต่อนักศึกษาปริญญาตรีทั้งหมด ซึ่งจะใช้ เป็นโรงยิมสระว่ายน�ำ ้ และอืน่ ๆ ควรจะมีโรงยิมใหญ่ และโรงยิมเล็ก โรงยิ ม ใหญ่ นั้ น ใช้ ส� ำ หรั บ แบดมิ น ตั น บาสเกตบอล วอลเล่ย์บอล ยิมนาสติคและอื่น ๆ ซึง่ จะกินเนือ้ ทีป่ ระมาณ 50 % ของเนือ้ ทีส่ ำ� หรับ กีฬาในร่มทึ้งหมด โรงยิมใหญ่นี้ควรจะมีเพดาน สูงอย่างน้อย 22 ฟุต ส่วนโรงยิมเล็กนัน้ ใช้สำ� หรับมวย เต้นร�ำ ยกน�้ำหนัก ปิงปอง และอื่น ๆ ซึ่งจะกินเนื้อที่ ประมาณ 25 % ของเนื้อที่กีฬาในร่มทั้งหมด ส�ำหรับโรงยิมเล็กนี้เพดานสูงอย่างน้อย 12 ฟุต ส่ ว นเนื้ อ ที่ ส� ำ หรั บ กี ฬ าทางน�้ ำ นั้ น เช่น ว่ายน�้ำและโปโลน�้ำ จะกินเนื้อที่ทั้งหมด ประมาณ 25 % เพื่อให้การส่งเสริมกีฬาและพลศึกษา ในมหาวิทยาลัยได้ผลอย่างจริงจัง มหาวิทยาลัย ต่างๆ และรัฐบาลจะต้องช่วยกันด�ำเนินงาน ให้บรรลุแนวนโยบายแห่งรัฐในเรื่องการกีฬา มหาวิทยาลัย เป็นแหล่งผลิตชนชั้นน�ำของชาติ ต้องผลิตคนชั้นน�ำที่มีคุณภาพ เพื่อความเจริญ ก้าวหน้าของทุกด้าน ดังนี้ 1. มหาวิ ท ยาลั ย ต้ อ งถื อ เป็ น หน้ า ที่ และความรับผิดชอบในการให้การพลศึกษาแก่ นิสติ นักศึกษาของมหาวิทยาลัย เพือ่ เป็นแนวทาง


ในการใช้ เวลาว่ า งทางกี ฬ าให้ เ กิ ด ประโยชน์ ทัง้ ในระหว่างการศึกษา และเมือ่ ส�ำเร็จการศึกษา ไปแล้ว 2. มหาวิ ท ยาลั ย พึ ง ส่ ง เสริ ม ให้ นิ สิ ต นักศึกษาได้ออกก�ำลังกาย โดยเข้าร่วมในกิจกรรม ทางกี ฬ าและพลศึ ก ษาเพื่ อ ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ และความเข้มแข็งทางกาย เพราะสิ่งนี้จะน�ำผล ไปสู่ความสัมฤทธิ์ทางวิชาการด้วย 3. ผูบ้ ริหารและอาจารย์ของมหาวิทยาลัย ทุกคนควรตระหนักในคุณค่าของการกีฬาและ พลศึกษา อันจะสร้างคนให้เป็นคนสมบูรณ์ 4. มหาวิ ท ยาลั ย พึ ง สร้ า งสิ่ ง อ� ำ นวย ความสะดวกทางการกี ฬ าและพลศึ ก ษาให้ เพียงพอ ทั้งกีฬาในร่มและกลางแจ้ง

5. รัฐบาลควรจะจัดสรรเงินงบประมาณ สร้างสิ่งอ�ำนวยความสะดวกทางการการกีฬา และพลศึ ก ษาให้ แ ก่ ม หาวิ ท ยาลั ย ตามความ จ�ำเป็น 6. สนั บ สนุ น การจั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ า ภายในมหาวิทยาลัย กีฬาระหว่างมหาวิทยาลัย ทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ การใช้การกีฬาผลิตคนชั้นน�ำแก่สังคม ซึ่งมีอุปลักษณะนิสัยอันเอื้อต่อสันติภาพเช่นนี้ ย่อมจะท�ำให้โลกเกิดสันติภาพได้ด้วยการกีฬา ที่กล่าวเช่นนี้มิได้หมายความว่า กีฬา ของประชาชนนั้นไม่มีความส�ำคัญต่อสันติภาพ หากจะกล่ า วโดยอุ ด มคติ แ ล้ ว พลเมื อ งทุ ก คน ควรจะได้มีโอกาสเล่นกีฬา เพื่อพัฒนาคุณธรรม อันจะก่อให้เกิดสันติภาพ รัฐบาลควรจะจัดสร้าง สิ่งอ�ำนวยความสะดวกทางการกีฬาให้ขยายไป อย่างกว้างขวาง จัดบริการให้ประชาชน

ขอขอบคุณภาพประกอบจาก เว็บเพจคมชัดลึก, สมาคมกีฬายกน�้ำหนักสมัครเล่นแห่งประเทศไทย และ คณะพลศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

205


การวิจัยและพัฒนา R&D ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ เบาใจ

โลกปั จ จุ บั น มี ค วามก้ า วหน้ า ทาง เทคโนโลยีมาก ช่วยให้เกิดความสะดวกสบาย ในการด�ำรงชีวิต สิ่งใดมีความทันสมัยมักจะใช้ ค�ำว่า Smart น�ำหน้า เช่น Smart Phone, Smart Building เป็ น ต้ น นวั ต กรรม ต่ า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น นั้ น มาจากการวิ จั ย และ พั ฒ นาเพื่ อ ให้ สิ น ค้ า หรือแนวคิดได้พัฒนา ดีขึ้นกว่าเดิม เป็นที่น่าเชื่อถือส�ำหรับผู้ใช้ งานมี ประสิทธิภาพสูงโดยใช้งานวิจยั เป็นตัวยืนยันออก มาเป็นค่าร้อยละ เช่น 90/90 มาตรฐาน ความหมาย ค�ำว่า การวิจัยและพัฒนา ซึง่ มาจากค�ำว่า Research and Development ซึ่งหมายถึงงานวิจัยที่ใช้การทดลองหลายๆ ครั้ง เพื่อปรับปรุงให้งานนวัตกรรมต่างๆ ดีขึ้นเป็น ล�ำดับ จนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 90/90 มาตรฐาน การวิจัยและพัฒนาได้ใช้ในวงการ อุตสาหกรรมมานานจนถึงปัจจุบนั โดยใช้แนวคิด 206

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

ของ Walter R. Borg และ Joyce gall ซึ่งมี จ�ำนวน 10 ขั้น หลังจากนั้นวงการศึกษาจึงได้ น�ำมาใช้เพื่อพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา ใน ส่วนของเทคโนโลยีการศึกษาก็ได้น�ำ มาใช้เช่นกัน เพื่อใช้พัฒนาสื่อการสอน หรือพัฒนา Model การศึกษาต่างๆ ผู ้ เ ขี ย นขอให้ ค วามคิ ด เห็ น ในเรื่ อ ง การวิ จั ย และพั ฒ นาไว้ ก ล่ า วคื อ ใน วงการเทคโนโลยีการศึกษาเมื่อสร้าง สื่อ เช่น CAI, E-learning Model หรือ Model อื่นๆ ก็จ�ำเป็นต้องน�ำมา พิสูจน์ว่ามีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่สามารถ จะน�ำไปใช้ได้หรือไม่ จึงต้องมีการพัฒนา (D = Development) หลั ก การพั ฒ นาก็ ใ ช้ ต าม แนวคิดของบอร์ก และแกล ที่มี 10 ขั้น แต่ เราปรับแต่งให้เหลือ 3 ขั้นตอนใหญ่ๆ เพื่อให้ เหมาะสมกับงานทางเทคโนโลยีการศึกษา ใน การพัฒนาสื่อการสอนหรือ Model ต่างๆ ต้อง ด�ำเนินการเป็นขั้นๆ 3 ขั้น ดังนี้ ขั้นที่ 1 การสร้างชิ้นงาน และผ่านการ ตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญเพื่อรับรองสื่อว่ามี


คุณภาพเหมาะสมที่จะน�ำไปพัฒนาหรือไม่ ซึ่ง ผู้เชี่ยวชาญจะมี 2 ด้าน คือ ด้านเนื้อหา และ ด้านเทคโนโลยีการศึกษา ในขัน้ นี้ ถ้าผูเ้ ชีย่ วชาญ รับรองว่ามีคณ ุ ภาพเหมาะสมระดับมากขึน้ ไปให้ ถือว่าใช้ได้ สามารถน�ำไปพัฒนาต่อไปได้ แต่ถ้า ไม่ผ่าน ให้ปรับปรุง และน�ำไปให้ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจใหม่เป็นการรับรองสื่อ ขั้นนี้เป็นขั้นการ รับรองจากผู้เชี่ยวชาญ หลังจากนั้นจึงน�ำไป ท�ำในขั้นที่ 2 ขัน้ ที่ 2 การพัฒนาเพือ่ หาประสิทธิภาพ ขั้นนี้เป็นขั้นส�ำคัญ เพราะเป็นการพัฒนา ซึ่งได้ น�ำไปใช้กบั กลุม่ ตัวอย่างทีเ่ ตรียมไว้พฒ ั นาเครือ่ ง มือ (สือ่ หรือ Model) ขัน้ ตอนการพัฒนา มี 3 ขัน้ ย่อย คือ 1. การทดลองเป็ น รายบุ ค คล และ ปรับปรุงแก้ไข (Individual Try out and Revised) นิยมใช้ 3 คน คือ เก่ง กลาง และอ่อน ขั้นนี้ ต้องทดลองทีละคน เพื่อสังเกตพฤติกรรมการ เรียน เพือ่ น�ำมาปรับปรุงสือ่ การสอนให้ดขี นึ้ หลัง จากนั้นจึงน�ำข้อมูลจากผู้เรียนมาปรับปรุงสื่อก็ จะได้สื่อที่ดีขึ้นกว่าเดิม 2. การทดลองเป็นกลุ่มย่อย และปรับ ปรุงแก้ไข ( Group Try out and Revised) ใช้กลุม่ ทดลองจ�ำนวน 7-10 คน โดยแบ่งเป็น เก่ง-กลาง-

อ่อน (พอๆ กัน) เช่น 2-3-2 หรือ 3-4-3 ทดลอง ใช้พร้อมๆ กัน และจดพฤติกรรมการเรียนและ ข้อสงสัยต่างๆ ไว้ใช้ปรับปรุงแก้ไขครั้งที่ 2 เมื่อ ปรับปรุงแก้ไขครั้งที่ 2 แล้ว สื่อก็จะดีขึ้นเป็น ล�ำดับ

3. การทดลองกับสภาพจริง หรือภาค สนาม และปรับปรุงแก้ไข (Field Try out and Revised) ใช้จ�ำนวน 30 คน หรือเป็นไปตาม สภาพกลุ่มตัวอย่างที่มีจ�ำนวนจ�ำกัด ในขั้นนี้จะ น�ำไปสู่การหาประสิทธิภาพ โดยใช้สูตร E1/E2 นิยมใช้เกณฑ์ 90/90 Standard หรือ 85/85 ตามลักษณะของสื่อแต่ละชนิด เช่น ชุดการสอน ใช้ 85/85 CAI ใช้ 90/90 Standard

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

207


รศ.ดร.เปรื่อง กุมุท

การคิด E1/E2 มี 2 แนวทางคือ 1. แนวคิ ด ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เปรื่อง กุมุท ใช้ 90/90 Standard E1 เป็นคะแนนร้อยละเฉลีย่ หลังเรียน (Post test) E2 เป็นคะแนนร้อยละเฉลีย่ หลังเรียน ผ่านทุกวัตถุประสงค์ 2. แนวคิดของ ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ใช้ 85/85 E1 เป็นคะแนนร้อยละเฉลี่ยระหว่าง เรียน (Exercise) E2 เป็นคะแนนร้อยละเฉลีย่ หลังเรียน (Post test)

ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์

จะใช้ แ นวคิ ด ของท่ า นใดก็ ขึ้ น อยู ่ กั บ ลักษณะเด่นของสือ่ ทีจ่ ะพัฒนา เช่น CAI ก็เหมาะ 208

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

กับ 90/90 Standard แต่ถ้าเป็นชุดการเรียนก็ เหมาะกับ 85/85 เป็นต้น เมือ่ สือ่ ผ่านการทดลองขัน้ นีแ้ ล้ว และเป็น ไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด ก็ถือว่ามีประสิทธิภาพ เป็นไปตามขั้นการพัฒนา แต่ถ้าไม่ผ่านก็ต้อง พัฒนาต่อไปอีกจนกว่าจะได้คา่ ตามเกณฑ์ E1/E2 หลังจากนั้นจึงจะไปท�ำการวิจัยในขั้นต่อไป ขั้นที่ 3 การวิจัย (Research) เมือ่ สือ่ ได้ผา่ นขัน้ ที่ 2 มาแล้ว กระบวนการ พัฒนา (Development) ก็จบสิ้น แต่การวิจัย ยังไม่ได้ท�ำ จึงต้องท�ำการวิจัยเพื่อยืนยันผลว่า สามารถน�ำไปใช้ได้จริงหรือไม่ ส�ำหรับขั้นตอนนี้ เป็นการทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้ นิยมใช้กลุ่ม ทดลอง และกลุ่มควบคุม เพื่อเปรียบเทียบผล การเรียน ทางสถิติถือว่าดีกว่าการใช้กลุ่มเดียว แล้วเปรียบเทียบ Pretest กับ Post test เมื่อได้ท�ำครบ 3 ขั้นตอนดังกล่าวแล้ว งานวิจัยจึงเรียกว่า R&D เพราะมีขั้นการพัฒนา เป็นระบบ และมีการวิจัยเพื่อทดสอบสมมติฐาน อีกเรื่องหนึ่งมักมีข้อโต้แย้งกันเสมอ คือ การ รับรองรูปแบบ หรือรับรองสือ่ ผูเ้ ขียนคิดว่า หลัง จากวิจัยแล้ว หรือหลังจากหาค่า E1/E2 แล้วก็ไม่ จ�ำเป็นต้องให้ผู้เชี่ยวชาญรับรองซ�้ำอีก เพราะผู้ เชี่ยวชาญได้ผ่านการประเมินมาแล้วในขั้นตอน หาคุณภาพ เป็นการท�ำงานซ�้ำซ้อน ผู้เขียนเชื่อ ว่า ผูถ้ กู ทดลองเป็นผูใ้ ห้ขอ้ มูลส�ำคัญทีส่ ดุ เพราะ เราจะน�ำไปใช้กับคนกลุ่มนี้ ส่วนผู้เชี่ยวชาญที่มี ประสบการณ์จะช่วยเสริมให้งานมีคุณภาพก่อน ทดลองหาประสิทธิภาพก็นับว่าเป็นเหตุเป็นผล สามารถน�ำไปใช้ได้ต่อไป


รถทัศนศึกษาดาวอังคาร: เทคโนโลยีที่เหนือกว่าความจริงเสมือน ดร.พูลศรี เวศย์อุฬาร1

Lockheed Martin Corporation เป็นบริษัทผู้ผลิตเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการทหาร อันดับต้น ๆ ของประเทศสหรัฐอเมริกา ผลงานของบริษัทในปัจจุบันครอบคลุมยวดยานทั้ง 5 มิติ คือ บนพืน้ ใต้นำ �้ ผิวน�ำ ้ อากาศ และอวกาศ หนึง่ โครงการทีน่ า่ สนใจที่ Lockheed Martin Corporation ด�ำเนินการในปี ค.ศ. 2016ได้แก่การก่อตัง้ และด�ำเนินงานจัดงาน the USA Science & Engineering Festival ซึ่งนับเป็นมหกรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ยิ่งใหญ่ ส�ำหรับ STEM (science, technology, engineering, mathematics) ระดับชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อเป็นแรงบันดาลใจแก่นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรรุ่นใหม่ ในงานดังกล่าวมีการแสดงผลงาน มากกว่า 1,000 โครงการและมีกิจกรรมด้านวิทยาศาสตร์ที่ใช้เทคโนโลยีระดับสูง ส�ำหรับผู้สนใจ ทุกวัย (Lockheed Martin, 2016) 1

อาจารย์ประจำ� Ph.D. in eLearning Methodology Graduate School of eLearning มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

209


งานดังกล่าวนี้จัดขึ้นและเปิดให้สาธารณชนเข้าชมงานเมื่อวันที่ 16-17 เมษายน 2559 ณ ศูนย์แสดงนิทรรศการ Walter E. Washington กรุง Washington D.C. โครงการเด่นในมหกรรม ดังกล่าวคือ โครงการรถทัศนศึกษาดาวอังคารซึ่งใช้เทคโนโลยีที่เหนือกว่าความจริงเสมือน นั้นคือ การพาผูโ้ ดยสารเดินทางไปเทีย่ วชมดาวอังคารได้โดยการนัง่ รถบัสพิเศษทีภ่ ายในมีระบบเทคโนโลยี หลากมิติ ซึง่ ผูโ้ ดยสารจะรูส้ กึ เสมือนหนึง่ ได้นงั่ รถทีข่ บั เคลือ่ นไปบนดาวอังคารจริง ๆ ความหลากมิติ ที่เพิ่มขึ้นมานี้คือ การสร้างให้ผู้ชม “รู้สึกราวกับสัมผัสของจริง” ซึ่งท�ำให้ได้รับอรรถรสและเกิด ความรูส้ กึ ตืน่ เต้นประทับใจมากกว่าการสวมอุปกรณ์ เช่น Goggle หรือ Headset แบบ Virtual Reality (ความเป็นจริงเสมือน) เสียอีก (Lockheed Martin, 2016a) ดังนั้นรถทัศนศึกษาดาวอังคารนี้ จึงน่าจะเป็นนวัตกรรมที่มีความน่าสนใจอย่างยิ่งในด้านการใช้เทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนา คุณภาพของการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับรถทัศนศึกษาดาวอังคารมากขึ้น จึงขอใช้ ภาพประกอบค�ำบรรยายสั้น ๆ โดยจัดแบ่งเนื้อหาเป็น3 ส่วนหลักได้แก่ 1. บรรยากาศภายในรถทัศนศึกษาดาวอังคาร 2. เทคโนโลยีเบื้องหลังการสร้างรถทัศนศึกษาดาวอังคาร 3. แนะน�ำทีมงานผู้ผลิต

ส่วนที่ 1 บรรยากาศภายในรถทัศนศึกษาดาวอังคาร

เริ่มจากรถทัศนศึกษาดาวอังคารเปิดประตูรับผู้โดยสาร 210

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


เมื่อรถเคลื่อนออกไป กระจกใสของรถทั้งคัน จะค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นภาพของดาวอังคาร

ผู้โดยสารจะเห็นวิวทิวทัศน์ของดาวอังคารเสมือนจริงปรากฏขึ้นเมื่อมองออกไปยังกระจกรถ

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

211


ผู้โดยสารจะเห็นภาพเสมือนรถก�ำลังเลี้ยวบนดาวอังคาร ขณะที่รถเลี้ยวอยู่จริง ๆ

ภาพที่ปรากฎบนกระจกรถและเสียงจะท�ำให้ผู้โดยสารรู้สึกราวกับรถก�ำลังขับอยู่บนดาวอังคารจริง ๆ

212

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


รถได้ใส่โปรแกรมเพื่อให้ผู้โดยสารรู้สึกว่าก�ำลังขับผ่านหลุมหรือ บ่อเหมือนจริงบนดาวอังคาร

บนกระจกรถยังแสดงข้อมูลต่าง ๆ ของภาพที่ปรากฏขึ้นด้วยเพื่อเป็นการให้ความรู้

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

213


ผู้โดยสารจะได้ยิน และรู้สึกราวกับอยู่บนดาวอังคาร เช่นการสั่นสะเทือนของรถ ขณะที่รถวิ่งผ่านพายุทราย พร้อมกับเสียงพายุที่ดังมาก

ภาพที่ผู้โดยสารได้เห็นเมื่อรถออกวิ่งไป ซึ่งแสดงถึงโครงการที่ก�ำลังด�ำเนินการอยู่บนดาวอังคาร 214

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


ส่วนที่ 2 เทคโนโลยีเบื้องหลังการสร้างรถทัศนศึกษาดาวอังคาร

ข้อมูลจากเว็บไซต์ของโครงการนีม้ ี Video แสดงแนวคิดและอธิบายเทคโนโลยีทนี่ ำ� มาสร้าง โครงการดังกล่าวอย่างคร่าว ๆ ในบทสัมภาษณ์ได้เน้นให้ทราบว่าโครงการนีต้ อ้ งการสร้างนวัตกรรม ที่เหนือกว่าการเป็นความจริงเสมือน (Virtual Reality) ที่ผู้ใช้ต้องสวม Goggle หรือ Headset อยู่ตลอดเวลา (Lockheed Martin, 2016b) โดยสิ่งที่เสริมเข้าไปในโครงการนี้คือการที่ผู้โดยสาร ได้รู้สึกถึงการเดินทางเมื่อรถเคลื่อนที่ออกไป

โครงการนี้ต้องการให้ผู้ชมได้รับอรรถรสเสมือนจริงมากกว่าเทคโนโลยีแบบ Virtual Reality เพราะผู้โดยสารจะเห็นสภาพของดาวอังคารเมื่อรถแล่นออกไป

Main board ที่ใช้ คือ “ASUS Z170 PRO GAMING” เพื่อให้การ Render ภาพรวดเร็วราวกับสถานการณ์จริง เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

215


การสร้างจะต้องออกแบบ และค�ำนวณเพื่อให้ได้ภาพที่ครอบคลุมทั้งคันรถ

ทีมงานมีการประชุมและระดมความคิดเพื่อให้โครงการนี้ล�้ำหน้ากว่าโครงการที่เคยท�ำมาก่อน

ขั้นตอนของการติดตั้งบนรถต้นแบบแล้วน�ำไปทดลองวิ่ง 216

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


สังเกตในจอคอมพิวเตอร์จะเห็นว่า ขณะที่รถวิ่งไปบนถนนโปรแกรมจะแสดงภาพบนดาวอังคารขึ้นมา

หลากหลายเทคโนโลยีน�ำมาใช้ร่วมกัน เช่น ระบบก�ำหนดต�ำแหน่งบนโลก โดยอาศัยสัญญาณดาวเทียม (Global Positioning System-GPS) อุปกรณ์วัดความเร่งแบบ 3 แกน (3 axis accelerometer) ร่วมกับ เครื่องวัดความเข้มข้นของสนามแม่เหล็ก (Magnetometer) เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

217


มีการติดตั้ง เครื่อง Laser Surface Velocimeter เพื่อวัดระยะทางรถเคลื่อนที่ด้วยแสงเลเซอร์ ที่สัมผัสกับพื้นผิว

การติดตั้งเครื่อง Laser Surface Velocimeter กับรถต้นแบบขณะทดลอง 218

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


กระจกรถที่ใช้ในโครงการนี้คือจอคอมพิวเตอร์แบบใส ซึ่งยังไม่มีจ�ำหน่ายในท้องตลาดทั่วไป

ขั้นตอนการติดตั้งกระจกที่เป็นจอคอมพิวเตอร์บนรถต้นแบบ

ในตอนแรกผู้โดยสารจะเห็นกระจกใสเหมือนรถปรกติ แต่เมื่อรถเคลื่อนออกไปกระจกจะเปลี่ยนเป็น ภาพบนดาวอังคาร ซึ่งย่อมจะส่งผลต่อการรับรู้ที่ดีกว่าการสวม Goggle หรือ Headset เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

219


คุณภาพของเสียงในรถทัศนศึกษาดาวอังคาร เป็นส่วนส�ำคัญ ที่ท�ำให้ผู้โดยสารรู้สึกได้ราวกับสัมผัสของจริง

รถทัศนศึกษานี้ได้ผสมผสานเทคโนโลยีล�้ำยุคที่หลากหลายเพื่อเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่น่าสนใจ 220

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


ส่วนที่ 3 แนะน�ำทีมงานผู้ผลิต

ประธานคือ Mr. Jon Collins

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายจัดการ Mr. Jonathan Shipman เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

221


หัวหน้าฝ่ายสร้างสรรค์เทคโนโลยี Mr. Alexander Rea

นักพัฒนาระดับอาวุโส Mr. Gary MarShall 222

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงการนี้สามารถเข้าชมได้ที่ www.generation-beyond.com

สรุป

รถทัศนศึกษาดาวอังคารนับเป็นนวัตกรรมที่ยอดเยี่ยมด้านเทคโนโลยีการศึกษาที่ต้องใช้ ศาสตร์ด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ล�้ำยุค ผสานกับศิลป์ด้านการออกแบบขั้นสูงที่ท�ำให้ผู้โดยสาร ได้ประสบการณ์การเรียนรู้เสมือนจริงราวกับเดินทางอยู่บนดาวอังคาร ผลการสัมภาษณ์ผู้โดยสาร ของรถคันดังกล่าวท�ำให้ทราบว่าเทคโนโลยีทใี่ ช้ในโครงการนีส้ ร้างความประทับใจเป็นแรงบันดาลใจ และเป็นประสบการณ์ที่ตราตรึงอยู่ในความทรงจ�ำไปอีกนาน ซึ่งน่าจะคุ้มค่ากับงบประมาณในการ สร้างผลงานที่มีค่านับไม่ได้นี้

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

223


บรรณานุกรม

Lockheed Martin. (2016a). Mars Experience. Retrieved June 27, 2016, from http:// generation-beyond.com/mars-experience Lockheed Martin. (2016b, May). How to Take a Field Trip to Mars on Vimeo (Video). Retrieved June 27, 2016, from https://vimeo.com/168253795 Lockheed Martin. (2016). USA Science & Engineering Festival by Lockheed Martin. Retrieved June 27, 2016, from http://www.lockheedmartin.com/us/news/ usa-science-engineering-festival.html

224

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


มหาวิทยาลัยไทยกับการแก้ปัญหาด้วยมาตรา 44 กับธรรมาภิบาลและมโนธรรมส�ำนึก The University of Thailand Problems Solving in Law 44 By Good Governnance and Consciences เกริ่น

กระแสการบริหารมหาวิทยาลัยทัง้ ภาครัฐ และเอกชน นับว่ามีปญ ั หาหลากหลาย โดยเฉพาะ ความขัดแย้งด้านการบริหารบุคลากร ทีก่ ล่าวถึง การบริหารขาดหลักธรรมาภิบาลและมโนธรรม จนถึงขั้น พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา (pttp:// www.matichon.co.th 2559: 1-8-) ออกมาใช้ มาตรา 44 แก้ปัญหามหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตามการบริหารมหาวิทยาลัย พบปั ญ หาการบริ ห ารขาดธรรมาภิ บ าลใน มหาวิ ท ยาลั ย จนมี ก ารเสนอใช้ ม าตรา 44 แก้ปมปัญหา ได้แก่ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรนิ ทร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี โดยมีปญั หาตัง้ แต่ สภาวิทยาลัยขัดแย้งกับอธิการบดี การร้องเรียน จากการสรรหาอธิการบดี และเรื่องคุณภาพใน การจัดการศึกษาโดยมีแผนให้รบั นักศึกษา 200 คน

ดร.พีระพงษ์ สิทธิอมร Ph.D *

แต่รบั จริง 2500 คน การบริหารจัดการไม่เทีย่ งธรรม ไม่จ่ายค่าสอน สารพัดปัญหา หลักการบริหารของมหาวิทยาลัยต้อง ค�ำนึงถึงหลักธรรมาภิบาลและมโนธรรม ควบคู่ กั น ไปในการพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คลภายใน มหาวิทยาลัย บทบาทในการบริหารจากผูบ้ ริหาร ควรมีการส่งเสริม ด้านวิชาการ ด้านการวิจัย ด้านการส่งเสริมเผยแพร่ศลิ ปวัฒนธรรม ตลอดจน มีความยุติธรรม ให้แก่บุคลากรตลอดจนให้ขวัญ และก�ำลังใจให้เกิดการท�ำงานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลอย่างมีสุข ความสามัคคี

สาระส�ำคัญ

จากกระแสข่าววันที่ 3 กรกฎาคม 2559 หนุน ม.44 ฟันมหาวิทยาลัยไร้ธรรมา ภิบาล

กรรมการและเลขานุการ มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล, กรรมการบริหาร สมาคมศึกษาแห่งประเทศไทย (EST), อุปนายกสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ *

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

225


เมื่ อ วั น ที่ 3 กรกฎาคม นายภาวิ ช ทองโรจน์ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (กกอ.) เปิดเผยกรณี พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษา ธิการ (ศธ.) เสนอให้ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐนมตรีและหัวหน้าคณะรักษาความ สงบแห่งชาติ (สคช.) ใช้อ�ำนาจในมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับ ชั่วคราว) พ.ศ. 2557 แก้ไขปัญหาธรรมา ภิ บ าลในมหาวิ ท ยาลั ย คาดว่ า จะมี ร ายชื่ อ มหาวิทยาลัยอยูใ่ นค�ำสัง่ ล็อตแรกไม่เกิน 4 แห่ง ว่ า หากดู แ ละจากสถานการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน มหาวิทยาลัยหลายแห่ง อาจมีความจ�ำเป็น ต้องใช้มาตรา 44 เข้ามาแก้ไข เพราะโดย หลักการแล้วมหาวิทยาลัยมีความเป็นอิสระ ในการบริหาร เนื่องจากมีกฎหมายของตัวเอง ท�ำให้ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ไม่สามารถเข้าไปจัดการได้หากเกิด ปัญหาขึน้ แต่เนือ่ งจากมหาวิทยาลัยใช้อำ� นาจ หน้าที่ที่มีตามกฎหมายไม่ถูกหลักการ อาทิ เมื่อฝ่ายบริหารมีปัญหา สภามหาวิทยาลัย กลับนั่งอยู่เฉย ๆ ไม่ดูแล ท�ำให้การบริหาร ระส�ำ่ ระสายแตกออกเป็น 2 ฝ่าย หรือฝ่ายบริหาร และสภาวิทยาลัยใช้ระบบสภาตั้งอธิการบดี และอธิการบดีตั้งสภาเป็นทีมเอื้อประโยชน์ กันและกัน และเข้ามาสร้างปัญหาทุจริตใน มหาวิทยาลัย เป็นปัญหาธรรมภิบาลท�ำให้ เสียหายหนักมาก ดังนัน้ รัฐบาลควรใช้มาตรา 44 จัดการเป็นกรณี ๆ ไป นายชู ศั ก ดิ์ ลิ่ ม สกุ ล อธิ ก ารบดี 226

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ม.อ.) และ สมาชิ ก สภานิ ติ บั ญ ญั ติ แ ห่ ง ชาติ (สนช.) กล่าวว่า ในทีป่ ระชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) และในคณะอนุกรรมาธิการอุดมศึกษา และอาชีวศึกษา ได้หารือเรือ่ งนี้ เห็นว่าหากจะ ใช้มาตรา 44 เพือ่ เข้าไปแก้ไขเฉพาะมหาวิทยาลัย ที่มีปัญหาที่มีปัญหาธรรมาภิบาล ก็เห็นด้วย แต่ ห ากจะใช้ ใ นกฎหมายเข้ า ไปก� ำ กั บ ดู แ ล มหาวิ ท ยาลั ย ในภาพรวมนั้ น ไม่ เ ห็ น ด้ ว ย เพราะมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ไม่ได้มีปัญหา ธรรมาภิบาล และหากใช้กฎหมายเข้ามาก�ำกับ ดูแลจะกระทบกับการพัฒนาการจัดการศึกษา ในอนาคต นายกิตติชัย ไตรรัตน์ศิริชัย อธิการบดี มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น (มข.) กล่ า วว่ า เดิมรัฐมนตรีว่าการ ศธ. จะขอใช้อ�ำนาจตาม มาตรา 44 เข้ามาแก้ไขปัญหามหาวิทยาลัย ทัง้ ระบบโดยให้อำ� นาจคณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) ก�ำกับดูแลมหาวิทยาลัยทัง้ ระบบได้ มหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วย โดยเสนอ ให้ใช้ อ�ำนาจดังกล่าวดูเฉพาะมหาวิทยาลัย ที่มีปัญหา มีเพียง 4-5 แห่ง จากมหาวิทยาลัย ทั้งหมด 170 แห่งทั่วประเทศ นางนงนิตย์ ธีระวัฒนสุข อธิการบดี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (มอบ.) กล่าวว่า หากมหาวิทยาลัยใดมีปัญหาและสามารถใช้ กฎหมายปกติ จั ด การได้ ก็ ค วรใช้ ก ฎหมาย ปกติ ส่วนมหาวิทยาลัยใดมีปัญหาใหญ่ และ ใช้กฎหมายปกติแก้ไขไม่ได้ หากมีความจ�ำเป็น ต้องใช้มาตรา 44 ก็ควรใช้


นายสมพษ์ จิตระดับ อาจารย์คณะ ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า หากใช้มาตรา 44 กับมหาวิทยาลัยที่มีปัญหา จริ ง ๆ จะเหมาะสม แต่ถ ้า น�ำไปใช้กับทุก มหาวิ ท ยาลั ย จะขั ด แย้ ง กั บ วั ฒ นธรรมของ มหาวิทยาลัย แต่มาตรา 44 จะหยุดปัญหานี้ ได้แค่ชั่วคราว ภาพรวมนอนาคตจะเกิดขึ้นอีก หลายมหาวิทยาลัย ดังนั้น ควรใช้ร่าง พ.ร.บ. การอุดมศึกษา เข้ามาเสริม และร่าง พ.ร.บ. ดังกล่าวควรเกิดในรัฐบาลชุดนี้ การพัฒนาตามเจตนารมณ์ของพระราช บัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ตามาตรฐานการอุดมศึกษา จะต้องพัฒนาความสมดุลระหว่างการบริหาร จัดการ 4 ด้าน ได้แก่ การพัฒนานักศึกษาผูม้ สี ว่ น ได้เสีย ด้านกระบวนการภายใน ด้านการเงิน และ บุคลากรการเรียนรู้และนวัตกรรม การพัฒนาการบริหารการจัดการจะมี ผลสัมฤทธิ์และความส�ำเร็จเกิดขึ้นได้จะต้องมี หลักธรรมาภิบาลและมโนธรรมส�ำนึก มีหลัก คุณธรรมที่น�ำมาแก้ปัญหาระหว่างความขัดแย้ง ระหว่ า งบุ ค ลากรกั บ สภามหาวิ ท ยาลั ย และ ผู้บริหารระดับสูง ทุกฝ่ายจะต้องลดมิจฉาทิฐิ และท�ำหลักพุทธปัญญามาใช้ในการแก้ปัญหา เพราะมหาวิ ท ยาลั ย จะต้ อ งสร้ า งความเจริ ญ งอกงาม ด้านกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ให้เกิดความเจริญอกงามต่อไป การขจัดปัญหา ด้านธรรมาภิบาลและมโนธรรมส�ำนึก เป็นผลรวม ของการบริหารจัดการด้านกายภาพ ความรู้สึก การรับรู้ อารมณ์ เจตคติ และมโนธรรมส�ำนึก

ความเจริญงอกงามด้านอารมณ์การขาดมโนธรรม ส�ำนึกในการน�ำหลักพุทธปรัชญามาแก้ปัญหา ด้านต่าง ๆ ของสถาบันอุดมศึกษา ท�ำให้เกิด ปั ญ หาหลายประการเป็ น ความส� ำ นึ ก ในการ รับเข้าเรียนในสถาบันอุดมศึกษา ความถูกต้อง ความเหมาะสม คุณภาพด้านพัฒนาศักยภาพ นักศึกษา นอกนัน้ ยังพบปัญหาการแย่งชิงต�ำแหน่ง ภายในสถาบันอุดมศึกษา เล่นพรรคพวก กลุ่ม แตกแยก แบ่งฝ่ายแต่ละฝ่าย ขาดความร่วมมือ ในกิจกรรมของสถาบันอุดมศึกษา จะเห็นได้วา่ การพัฒนามหาวิทยาลัยไทย ไปสู่ความเป็นเลิศด้านบริหารวิชาการความเป็น เอกภาพ และคุณภาพคู่คุณธรรม จะไกลเกินฝัน หรือใกล้ตัวในการใช้มาตรา 44 ในการแก้ปัญหา ด้านธรรมาภิบาลและมโนธรรมส�ำนึก จะส�ำเร็จ หรือสิ้นหวัง ส�ำหรับสภาพการบริหารที่แท้จริง ในมหาวิทยาลัยไทย

สรุป

การแก้ ป ั ญ หามหาวิ ท ยาลั ย ด้ ว ย กฎหมายระเบียบหรือเข้ายึดอ�ำนาจการบริหาร ไม่ใช่ทางออกที่มุ่งไปสู่ความส�ำเร็จ เพราะปัจจัย ของมหาวิทยาลัยนัน้ มีองค์ประกอบด้านบุคลากร สภาพแวดล้อม ปัจจัยทางอารมณ์ การยอมรับ เจตคติ ท�ำให้กระบวนการส่งเสริมต้องมีความ เข้าใจธรรมชาติ และเสริมสร้างกระบวนการ มโนธรรมหลั ก ธรรมาภิ บ าล ให้ เข้ า ใจในการ บูรณาการสาขาต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อนักศึกษาเป็น บูรณาการในวิชาศึกษาศาสตร์ เกษตรศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และแพทย์ศาสตร์ ให้สอดคล้อง เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

227


กั บ ความต้ อ งการทางสั ง คมและแผนพั ฒ นา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ควรเน้นหลัก พุทธปรัชญามาใช้ในการบริหารมหาวิทยาลัย ให้ เ กิ ด หลั ก พุ ท ธปั ญ ญาคู ่ คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม ภายใต้ ป ระโยชน์ สู ง สุ ด ของทุ ก ฝ่ า ยและให้

ความส�ำคัญของทรัพยากรมนุษย์ด้านอาจารย์ บุคลากร ทุกฝ่ายอย่างสอดคล้องกับสภาพจริง โดยการก� ำ หนดในโลกทั ศ น์ ท างพุ ท ธปั ญ ญา ปฏิบตั สิ ง่ เสริมความเข้าใจเรือ่ งคุณธรรมตามหลัก พุทธปฏิบัติตามแนวปัญญาอย่างแท้จริง

เอกสารอ้างอิง

http:www.matichon.co.th 5 กรกฎาคม 2559 สาโรช บัวศรี (2544). ปรัชญาการศึกษาส�ำหรับประเทศไทย. กรุงเทพ : สุวีริยาสาสน์ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2551). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพ : ภาพพิมพ์ Bruner Jerome S. (1962). The Process of Education Massachusetts : Harvard University Press.

228

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา


เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย...

เกี่ยวกับ ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล .....ตอนที่ 5 ดร.จันทร์ ชุ่มเมืองปัก*

เรื่ อ ง เกร็ ด เล็ ก เกร็ ด น้ อ ยเกี่ ย วกั บ ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล นี้ เกือบลืมแล้วว่า ผมมีหน้าที่เขียนให้ เทคโนโลยี สื่อสารการศึกษา ปีละหน หนละตอน เหตุที่ว่า เกือบลืม เพราะช่วงระยะเวลาทีห่ นังสือมีกำ� หนด ออกนั้นค่อนข้างยาวนาน ความยาวนานท�ำให้ ลืมได้ซิเนาะ อย่าว่ากันเลย ยังดีที่มีคุณชื่นชม... คอยเตือนจึงไม่มีวันลืมแน่ ๆ ที่เดียว ขอบใจนะ ชื่นมชม นะ วันหนึ่งราว ๆ ปี 2497 – 98 ฯพณฯ มีราชการเดินทางไปค้างคืนที่โคราช พอไปถึง ก็ เรี ย กหั ว หน้ า สถาบั น ใหญ่ ๆ ในตั ว จั ง หวั ด มาประชุม ตอนนัน้ ผูเ้ ขียนด�ำรงต�ำแหน่งครูใหญ่ โรงเรียนเมืองนครราชสีมา เป็นโรงเรียนเล็ก ๆ (ขณะนั้น) แต่บังเอิญตั้งอยู่แถวเดียวกับโรงเรียน ใหญ่ ๆ โดยเฉพาะโรงเรียนสุรนารีวิทยา ก็เลย ได้รับเชิญให้เข้าร่วมประชุมด้วย ผู้เขียนเลยเชิญ

ฯพณฯ และคณะรับประทานอาหารกลางวัน ที่โรงเรียนเมืองนครราชสีมานั้นเสียเลย ท�ำให้ คุณ(หญิง) ลาวัลย์ ถนองจันทร์ กระซิบผู้เขียน ว่า “นายจันทร์ เธอกล้าหาญมากนะ” จุ ด ส� ำ คั ญ หรื อ สารส� ำ คั ญ ที่ ฯพณฯ น�ำมาสู่ที่ประชุมคือ การพัฒนาการ ศึกษาในส่วนภูมิภาค ช่วงเวลานั้น กระทรวง ศึกษาธิการมีโครงการส�ำคัญอยู่ 2 โครงการ ชือ่ เกือบคล้ายกัน คือ โครงการพัฒนาการศึกษา ภาคศึกษาII กับ โครงการพัฒนาการศึกษา ในส่วนภูมิภาค ต่างกันตรงที่โครงการแรกไม่มี ค�ำว่า “ใน” แต่โครงการหลังมี และโครงการ หลังไม่ได้ระบุเฉพาะภาคหนึง่ ภาคใด เพราะเป็น โครงการที่มุ่งพัฒนาการศึกษาทุกแห่ง ในส่วน ภูมิภาคทั่วประเทศ ฯพณฯ บรรยายคนเดี ย วกว่ า 90 นาที ที่จ�ำได้แม่นเพราะก่อนจบ ฯพณฯ ย�้ำค�ำ

ที่ปรึกษา และกรรมการสภา มหาวิทยาลัยศรีปทุม กรรมการมูลนิธศิ าสตราจารย์หม่อมหลวงปิน่ มาลากุล ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (รองประธานกรรมการคนที่ 2) * กรรมการมูลนิธิศาสตราจารย์ด๊อกเตอร์สาโรช บัวศรี * *

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

229


ว่า “เอาละพูดมา 90 นาทีเศษแล้ว” ...เรื่องนี้ ถ้าใครช่างสังเกตจะทราบว่า ฯพณฯ ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น นั้น มักจะเน้นตัวเลข ท่านสนใจ และให้ความส�ำคัญ สถิติ มาก หนังสือเล่มเล็ก เล่มน้อย ที่ ฯพณฯ เขียนและน�ำมาพิมพ์แจก ถ้าใครช่างสังเกตจะเห็นว่า ส่วนมากเกีย่ วกับตัวเลข และสถิติ สามารถเอาไปอ้างอิงได้ โดยอุปนิสัย ฯพณฯ เป็นผูใ้ หญ่ใจดี แต่จริง ๆ แล้วภายในสมอง ฯพณฯ เป็นห่วงบ้านเมือง โดยเฉพาะในเรื่อง การศึกษา นีม้ ากจนสามารถจับเป็นข้อสังเกตได้ อ้ อ ในตอนต้ น ได้ เ อ่ ย ชื่ อ หนั ง สื อ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา วารสารฉบับนี้ เป็นสมบัตขิ องมูลนิธศิ าสตราจารย์หม่อมหลวง ปิน่ มาลากุล ในพระราชูปถัมถ์ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เลยท�ำให้มี ความจริงใจที่จะเขียนอะไรเล็ก ๆ น้อย ๆ ลงใน ทุ ก ฉบั บ (เว้ น แต่ จ ะแก่ เ กิ น กาลไปเสี ย ก่ อ น) แฮ่ะ ๆ เดีย๋ วนีย้ งั ไม่แก่นะ เพิง่ จะย่างเข้าปีที่ 91 ... ก็เท่านั้นเอง ครับ ผู้เขียนยังรับประทานอาหาร

230

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

อร่อยทั้ง 3 มื้อ อยู่นะครับ และยังมีความรัก อยู่ในหัวใจ โดยเฉพาะรักบ้าน รักงาน และรัก ที่ท�ำงาน อนึ่ง เนื่องจากเมื่อเล็ก ๆ นั้น บิดาของ ฯพณฯ ม.ล.ปิ่น นั้น คือเจ้าพระยาพระเสด็จ สุ เรนทราธิ บ ดี เ สนาบดี ก ระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ได้น�ำ ฯพณฯ ไปถวายตัวต่อพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ เรื่องนี้ผู้เขียนคิดว่า คงเป็นสาเหตุหนึ่งที่ ฯพณฯ หม่อมหลวงปิ่นนั้น มี ค วามเชี่ ย วชาญเรื่ อ งการศึ ก ษา เรื่ อ งของ คณิตศาสตร์ ต่าง ๆ และเขียนหนังสือที่ยาก จะหาผู ้ เ ปรี ย บเที ย บได้ (ในภู มิ ภ าคนี้ ร วมทั้ ง ทัว่ โลกเลยทีเดียวละ) โดยเฉพาะในเรือ่ ง คณิตศาสตร์ แต่เรื่องของคณิตศาสตร์ ที่ ฯพณฯ เขียนถึง มั ก จะเขี ย นด้ ว ยภาษาง่ า ย ๆ พอที่ ค นอย่ า ง พวกเรา ๆ จะอ่านเข้าใจได้ง่าย ครับ ฉบับนี้ ขอจบด้วยเวลาเพียงเท่านี้ ..........................................


องค์บรมครู ผู้เขียน : หม่อมหลวงหน่อย กมลาศน์ *

ในวาระมิ่งมหามงคลที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงครองราชย์ เถลิงถวัลย์ราชสมบัตยิ าวนาน ๗๐ ปีปวงพสกนิกร ชาวไทยได้ประจักษ์ใจว่าทรงเป็นอะไรยิง่ กว่าอะไร ในโลกนี้ ด้วยพระราชจริยาวัตร มิอาจจะสรรหา มาบรรยายได้น�้ำตาแห่งความจงรักภักดี ปลี้มปิติ จะเอ่อล้นปริ่มนัยน์ตา หัวใจตื้นตันแผ่สร้านใน กาย ชาวไทยจะก้มลงกราบถวายบังคมต่อหน้า พระบรมฉายาลักษณ์ ขอให้ได้เกิดเป็นข้ารองพระ บาททุกๆ ชาติไป ขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ได้โปรดคุ้มครอง พระองค์ ทรงพระชนมายุยิ่งยืนนานเทอญ ในฐานะที่ผู้เขียนเกิดมาเป็นหลานครูคือ หม่อมเจ้าหญิงมณฑารพ และหม่อมเจ้าหญิงนภ มณี กมลาศน์ อดีตพระอาจารย์ใหญ่วิทยาลัย พยาบาลจุฬาลงกรณ์ และยังเป็นลูกครูคือหม่อม ราชวงศ์จุรีพรหม และคุณจรูญ กมลาศน์ ได้พบ ได้เห็นสิง่ ต่างๆ มาตัง้ แต่เยาว์วยั จนปัจจุบนั อายุเพิง่ ๗๒ ปี ได้เห็นพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช มากมายตามสิง่ พิมพ์ ภาพยนตร์และโทรทัศน์ เห็นว่าพระองค์ทรงมี ราชภารกิจมากมาย ในฐานะพระเจ้าแผ่นดิน

องค์ประมุขของประเทศ แต่ยังทรงมีพระราช ภารส่วนพระองค์ในการคิดค้นคว้า หาแนวทาง ร่วมกับหน่วยราชการต่างๆ ไม่แต่ในประเทศไทย นานาชาติยังถวายรางวัลอันมีเกียรติแด่พระองค์ ท่าน เช่น หน่วยงานของ UN ถ้าจะน�ำมาพิเคราะห์ ในแง่การศึกษาก็พอจะทราบว่าพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีคณ ุ ลักษณะของความเป็นครู อยู่หลายประการ ข้อ ๑ ทรงศึกษามาจากสวิสเซอแลนด์ สมัยเมือ่ ยังพระเยาว์ จนเสด็จกลับมาครองราชย์ นับ ว่าเป็นวิทยาการที่ก้าวหน้าทันสมัย รู้ทันตามโลก ในขณะนั้น ประเทศไทยได้เปรียบกว่าเพื่อนบ้าน ตรงทีเ่ ราปกครองตนเองมานาน ไม่ได้ตกเป็นเมือง ขึ้นของต่างชาติ จะมีอุปสรรคตรงที่ราษฎร์ยังมี การศึกษาน้อย ยกตัวอย่างเช่น ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ต้ อ งทรงให้ พ ระสงฆ์ ล าอุ ป สมบท รั บ ราชการ พลเรือน ด้วยหาคนมีความรูย้ าก การศึกษาอยูท่ วี่ ดั ล่วงจนถึงรัชกาลาที่ ๖-๗ ก็ยังหายาก จนตั้งมหา วิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ ซึง่ ฝึกนิสติ ให้เป็นข้าราชการ คือสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ข้อ ๒ ทรงมีพระราชมารดาอันทรงคุณ ประเสริฐ ที่อบรมถวายการเลี้ยงดูอย่างเอาใจใส่

*กรรมการมูลนิธศิ าสตราจารย์ หม่อมหลวงปิน่ มาลากุล ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพฯ รัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี และกรรมการมูลนิธหิ ม่อมเจ้าพิจติ รจิราภา เทวกุล, รักษาการณ์ประธานชมรมหมูบ่ า้ นเสรี รามค�ำแหง ๒๔, ผูฝ้ กึ กลุม่ ผูบ้ ำ� เพ็ญ ประโยชน์แห่งประเทศไทย (Girl Guide Of Thailand)

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

231


เฉลียวฉลาด ถวายการคิดอย่างมีเหตุผลไม่ตาม พระทัย แม้แต่จะทรงซือ้ รถจักรยานก็ตอ้ งออมเงิน เอง แล้วผสมกับเงินพระราชทาน ข้อ ๓ ทรงมีพระวิรยิ ะบารมีหากจะทรง งานไม่ทรงย่อท้อ ดึกดื่นก็ยังทรงพระราชด�ำเนิน บนยอดเนินเขายอดแล้วยอดเล่า เพื่อปฏิบัติราช ภารกิจให้ส�ำเร็จ ฝนตกฟ้าร้องก็ยังมิได้เสวยพระ กระยาหารค�่ำ ทรงพระราชนิพนธ์เรื่องพระมหา ชนก ในเรื่องบ�ำเพ็ญเพียรการชนะตนเอง น�ำมา ซึ่งความส�ำเร็จเพื่อสอนคนไทยให้อดทน ข้อ ๔ ทรงใช้เทคนิคในการสอดแทรกใน พระราชภารกิจ เช่นการสัมภาษณ์การทดลองท�ำ โครงการ (Pilot Project) เมือ่ ส�ำเร็จจึงพระราชทาน ลงมาแก่ราษฎร์ เช่น เกษตรทฤษฏีใหม่ โครงการ ชัง่ หัวมัน มากมายกว่า ๔,๐๐๐ โครงการ การสัง่ สม ประสบการณ์ของพระเจ้าอยู่หัวตอนทรงเยาว์วัย เช่น เล่นการขุดดินท�ำคูคลองเล็ก ๆ เสด็จบรรทม หงายใต้รถยนต์ดูเครื่องยนต์ รถพระที่นั่งพร้อม พระเชษฐาในวังสระปทุม (คุณแม่จรูญเล่าให้ฟัง) ต่าง ๆ เหล่านี้ อยูใ่ นปรัชญาการศึกษาของท่านใน หลักการเรียนรู้ จากการย�ำ้ ท�ำย�ำ้ คิดเกิดประสบการณ์ ผลส�ำเร็จ (John Dewey) ซึ่งเคยเป็นที่ยึดถือของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเสมอมา ข้อ ๕ ทรงน�ำหลักพระพุทธศาสนามา ใช้ในการทรงงาน เช่นสมาธิ สติ อันจะเกิดปัญญา ยังพระราชทานค�ำแนะน�ำแก่ข้าราชบริพาร เช่น การเดินลมหายใจ ทรงนับหนึง่ เข้า หนึง่ ออก สองเข้า สองออก ฯลฯ ทรงศึกษาธรรมะ กับพระเกจิอาจารย์ หลายองค์ นอกจากทรงยึดถือหลักทศพิธราชธรรม

232

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

ข้อ ๖ ทรงปฏิบัติราชภารกิจอย่างเรียบ ง่าย มีพระราชด�ำรัชปลอบใจไม่ให้ราษฏร์เท็จทูล เวลาประหม่า ไม่ถอื พระองค์วา่ ทรงสูงส่ง บางครัง้ ทรงทรุดวรกายประทับนัง่ บนพสุธาข้าง ๆ มีราษฎร หมอบเฝ้าถวายงานตามพื้นที่ทรงงานจะหาภาพ เช่นนี้ในโลกไม่มีแน่ ข้อ ๗ พระจริยวัตรทีเ่ สนอมาก็ยงั ไม่พอ เพียงแต่ด้วยพระปัญญาและพระบารมีอันทรง คุณค่ามหาศาล ชาวไทยทัง้ ชาติได้ประจักษ์แก่ใจว่า เรามีพระมหากษัตริย์ผู้ทรงคุณมหาศาล เป็นหลัก ชัยด�ำเนินชีวิตในหลายๆ ด้าน ขอให้ใช้เวลาศึกษา พระราชกรณียกิจอันมีมากมายแล้ว เราจะรู้ว่า ทรงเป็นขวัญและหลักก�ำลังใจแก่คนไทยทั้งชาติ อย่างไร ขอคุ ณ พระศรี รั ต นตรั ย โปรดคุ ้ ม ครอง พระองค์ให้ทรงพระเจริญยิ่งยืนนานเทอญ ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า หม่อมหลวงจุฑามาตย์ (นีลเซ่น) กมลาศน์

อ้างอิง 1. พระมหากษั ต ริ ย ์ ย อดกตั ญ ญู ข อง ศูนย์ส่งเสริมพุทธศาสนาแห่งประเทศไทย 2. สมาธิในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั โดย พลต�ำรวจเอก วสิษฐ์ เดชกุญชร 3. นางจรูญ กมลาศน์ เล่าให้ผู้เขียนฟัง






แนะน�ำเว็บไซต์ 1. มูลนิ ธิศาสตราจารย์หม่อมหลวง ปิ่ น มาลากุล ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ขอเชิญเขา้ ชมเว็บไซต์ มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวง ปิ่ น มาลากุล ได้ท ่ี http://www.prof-ml-pinmalakul-foundation.org และติดตามข่าวสารได้ท ่ี facebook ของมูลนิธิฯ กองบรรณาธิการขอขอบคุณ ผศ.ธีร บุญฤทธิ์ ควรหาเวช ทีด่ า� เนินการสร้าง และประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ มา ณ โอกาสนี้

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา

237 159


2. eJournal วารสารเทคโนโลยีส่อื สารการศึกษา มูลนิ ธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ในพระ บรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี eJournal วารสารเทคโนโลยีส่อื สารการศึกษา สามารถเขา้ ชม อ่าน และ Download วารสารตัง้ แต่ ฉบับที่ 15 เป็ นต้นมา ที่ http://poonsri.weebly.com/journal.html ดังตัวอย่างขา้ งล่าง กองบรรณาธิการ ขอขอบคุณ ดร.พูลศรี เวศย์อฬุ าร ทีด่ า� เนินการสร้าง และประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ มา ณ โอกาสนี้

160 238

เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.