Proceedings_10-11_August

Page 1

The proceedings of

การประชุมวิชาการระดับชาติดา นอีเลิรน นิง 2553 National e-Learning Conference 2010 “Enhancing the Quality of e-Learning”

วันที่ 10-11 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมวินเซอร สวีทส กรุงเทพฯ

จัดโดย



สารบัญ หนา

1. โครงการการประชุมวิชาการระดับชาติดานอีเลิรนนิง 2553

1

2. กําหนดการ

3

3. บทความโดยวิทยากร e-Learning Challenges for the Future Dr. Steve Zlotolow

13

Inspiring Learning: Delivering Quality at Scale Ms. Anne Howells

14

Issues and Concepts for 21st Century Teaching and Learning Asst. Prof. Dr. Daniel Churchill

15

Students' Activities in On & Off Campus Learning Environments Prof. Dr. Yoshida Masami

16

Learning Theory and Instructional Design for Using Learning Activity Management System (LAMS) Mr. Frank van ‘t Hoog

26

4. บทความวิชาการ นวัตกรรมระบบการสอบออนไลน

29

Innovation of Online Test System Sompan Chansilp Kacha Chansilp

หองเรียนอีเลิรนนิงคลองตัวพรอมใชจาก มทส. Suranaree University of Technology Instant Flexible e-Learning Class room Sompan Chansilp Prach Pongpanich

37


Computer and the Cloud- Can eLearning Continue Expanding Higher Education? Kuldeep Nagi Srisakdi Charmonman

43

Integrate Web Accessibility Enhance Quality of e-Learning Poonsri Vate-U-Lan

51

Enhancing Students’ e-Culture in e-Learning Class Using Web2.0 Technology Maturos Chongchaikit

59

Development of Physics Learning Resources Enhancing e-Learning in High School Sirirat Srisa-ard

63

Harness Your E-Teaching with Free Apps: Interesting Review of Open Source VS Commercial Software Piyapot Tantaphalin Jintavee Khlaisang

67

ผลของการชวยเสริมศักยภาพในการเรียนแบบใชปญหาเปนหลักบนเว็บที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร

77

Effects of Scaffoldings in Problem-based Learning on Web upon Science Subject Learning Achievement Sasiwan Chamniyon Praweenya Suwannatthachote 4M และ KM เพื่อการเรียนการสอนออนไลน 4M & KM for e-Learning Songkram Meeboonya Pornpimon Rodkroh Poggade Chanayotha

87

ปจจัยการเรียนการสอนแบบผสมผสานที่สงผลตอการเรียนรูแบบนําตนเองของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต

93

Blended Learning Instruction Factors Affecting Self-Directed Learning of Undergraduate Students Samoekan Sophonhiranrak Praweenya Suwannatthachote

กลยุทธการออกแบบเว็บไซตสถาบันอุดมศึกษาตามแนวทางเว็บโอเมทริกซ: การเขาถึง การใชประโยชน และการ ปรากฏของเว็บไซต Strategies of Higher Education Web Sites Design on Webometrics Approach: Accessibility, Visibility, and Usability Ua-aree Janthon Watcharapol Wiboolyasarin

103


การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนผานเว็บไซต วิชาองคประกอบศิลปะไทย

113

Development Teaching and Learning Aided Web-based Instruction Media for Composition of Thai Art Subject Chatchai Siripant

การบูรณาการสารสนเทศเพื่อการจัดการความรูในสถาบันอุดมศึกษา

119

Integration of Information Technology for Knowledge Management in Higher Education Werayut Pimpaporn

ระบบสนับสนุนการเรียนรูเพื่อการออกแบบขั้นตอนวิธี

127

A Learning Support System for Algorithm Design Oraya Preechapanich Rotifah Taosatu

การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบลดภาระทางปญญาโดยใชเทคนิคการแกปญหาเชิงสรางสรรคที่มีตอ การรูคิดและความคิดสรางสรรคของนักศึกษาระดับปริญญาตรี

135

Development of Cognitive Load Reduction Web-based Instruction on Creative Problem Solving Techniques Model upon Cognition and Creativity of Undergraduate Students Wilawan Jinwan Namon Jeerungsuwan

การพัฒนาและหาประสิทธิภาพเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสรางเว็บเพจรวมกับการเรียนรูแบบรวมมือ ดวยการใชเว็บบล็อก

143

Development of Web-based Instruction for Web Design and Construction Course with Collaborative Learning Using Blogs Saipin Ngamsanga Jiraphan Srisomphan

การพัฒนาและหาประสิทธิภาพเว็บชวยสอนวิชา การเขียนโปรแกรมดวยภาษาปาสคาล โดยใชทฤษฎีการคิด แกปญหาผานเครือขายอินเทอรเน็ต

151

Web-based Instruction on Pascal Programming by Using Problem Solving Thinking Theory Siripron Poungpist Jiraphan Srisomphan

การพัฒนาระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของผูเ รียน A Development of Learning System Using Think-Pair-Share without Students Appearance Oratai Saeout Jiraphan Srisomphan

159


การพัฒนา WBI แบบทบทวนรวมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD วิชาการวิเคราะหและออกแบบระบบ

167

The Web-based Instruction Development for Review Using the Data Flow Diagram Writing Check Program in System Design and Analysis Wisanlaya Thongthub Krich Sintanakul

การพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนสําหรับการเรียนแบบอีเลิรนนิง เพื่อเสริมสรางจริยธรรมดานความ รับผิดชอบตอการเรียนสําหรับนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี

175

The Development of an Instructional Design Model for an Electronic Learning to Enhance Ethics in Learning Responsibility for Undergraduate Students Eknarin Bangthamai

การพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนอีเลิรนนิง ระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

185

Development of an e-Learning Instructional Design Model for Master Degree Programs of Sukhothai Thammathirat Open University Smaksmorn Phakdeeteva

การพัฒนารูปแบบกิจกรรมโครงงานแบบผสมผสานตามหลักการ APEC Edutainment Exchange Program ดวยวิธีการเรียนแบบรวมมือเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารและทักษะการทํางานรวมกันของนักเรียนไทย และเกาหลี

193

The Develop Model of Collaborative Project-Based and Blended Learning Based on APEC Edutainment Exchange Program to Enhance Communicative and Collaborative Skills of Thai and Korean Students Nammon Ruangrit

การพัฒนาบทเรียนอีเลิรนนิงเรื่องการประดิษฐคิดคน สาขาวิศวกรรมและอุตสาหกรรมวิจัย สําหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

199

The Development of e-Learning in Inventive of Engineering and Industrial Research for Undergraduate Students’ King Mongkut’s University of Technology North Bangkok Pallop Piriyasurawong Prachyanun Nilsook Panita Wannapiroon

การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนผานเว็บแบบผสมผสาน เพื่อความคิดสรางสรรคตามแนวคอนสตรัคชันนิซึม ของผูเรียน The Development Web-based instruction of Blended Leaning Model for Creative Thinking Using the Constructionism Parinya Bunnapasut Surasak Mungsing

207


การพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง

215

The Development of Computer-Assisted Instruction (CAI) for Angkalung Teaching Jiraphan Srisomphan Sureepron Ounaim

การนําเสนอแนวทางการประกันคุณภาพสําหรับหลักสูตรอีเลิรนนิงในระดับอุดมศึกษา Proposed Guidelines for Quality Assurance of e-Learning Programs in Higher Education Panuwat Butriang Praweenya Suwannatthachote Chawalert Lertchalolarn

223



โครงการการประชุมวิชาการระดับชาติดานอีเลิรนนิง 2553 National e-Learning Conference 2010

หลักการและเหตุผล การจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง ถือเปนนวัตกรรมทางการศึกษาที่สําคัญในปจจุบัน การนําอีเลิรนนิงมาใชในการ จัดการศึกษาในรูปแบบและระดับที่เหมาะสมจะชวยเพิ่มคุณภาพการศึกษาไดอยางมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ความรูเกี่ยวกับการจัดการศึกษาอีเลิรนนิงครอบคลุมทั้งแนวกวางและแนวลึก ซึ่งครอบคลุมตั้งแต นโยบายและ ยุทธศาสตรขององคกรการศึกษาในการบูรณาการอีเลิรนนิงเขาสูวิถีการจัดการเรียนการสอน การประกันคุณภาพ การศึกษาอีเลิรนนิง การบริหารโครงการอีเลิรนนิง การบริหารศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อการใหบริการ การออกแบบและผลิตอีเลิรนนิงคอรสแวร เทคนิคและวิธีการสอนและการประเมินผลในระบบอีเลิรนนิง ฯลฯ ในปจจุบันเทคโนโลยี แนวคิด และนวัตกรรมที่ใชในการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิงไดรับการพัฒนาอยาง ตอเนื่องและรวดเร็วในทุกดาน โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีพันธกิจที่สําคัญที่จะสงเสริมการจัด การศึ ก ษาอีเ ลิรน นิ ง ให ก ว างขวาง โดยการสรางความรว มมื อกั บองคก ร สถาบั นการศึก ษาทั้งในประเทศและ ตางประเทศ เห็นถึงความสําคัญในการจัดการความรูดานอีเลิรนนิง เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจที่ชัดเจน จึงไดจัด การประชุมวิชาการระดับชาติดานอีเลิรนนิง 2553 ระหวางวันที่ 10-11 สิงหาคม 2553 โดยมีหัวขอหลักของงานคือ “Enhancing the Quality of e-Learning” เพื่อเปนตัวกลางในการระดมผูรู ผูเชี่ยวชาญทั้งในระดับชาติและ นานาชาติมารวมกันประมวลความรู เพื่อสรางความรูในวิทยาการอีเลิรนนิง วิเคราะห และสังเคราะหแนวทางการใช อีเลิรนนิงเพื่อเพิ่มคุณภาพการศึกษาของประเทศ ดําเนินการจัดทําเปนคลังความรูสําหรับการศึกษาและอางอิง ของนักวิชาการการศึกษา นักวิจัย คณาจารย และนิสิตนักศึกษาตอไป วัตถุประสงค 1) เพื่อใหสถาบันการศึกษาไทยและผูเกี่ยวของไดรับความรูดานอีเลิรนนิงที่ทันสมัยจากผูทรงคุณวุฒิ ทั้งในและตางประเทศ 2) เพื่อเปดโอกาสใหนักวิชาการไทยและนักศึกษาไดมีเวทีเผยแพรแลกเปลี่ยนเรียนรู ดานอีเลิรนนิงที่ ครอบคลุม และงานวิจัยเพื่อพัฒนาอยางกวางขวาง 3) เพื่อสรางความรวมมือทางการศึกษาในระดับชาติและนานาชาติ กิจกรรมภายในงาน 1) การสัมมนาวิชาการโดยเชิญวิทยากรผูทรงคุณวุฒิเฉพาะดานจากตางประเทศและในประเทศ ใหเปนผูประมวลความรู และเปนผูนําเสนอหลักในการบรรยายและเสวนาความรู 2) การนําเสนอผลงานวิจยั ดานอีเลิรนนิง 1



กําหนดการ

การประชุมวิชาการระดับชาติดานอีเลิรนนิง National e-Learning Conference “Enhancing the Quality of e-Learning”

วันที่ 10-11 สิงหาคม 2553 โรงแรมวินเซอร สวีทส สุขุมวิท กรุงเทพฯ Day 1: August 10, 2010 Main Session Venue: Petch Pailin Room 11th Floor

7.30 - 8.30 น.

ลงทะเบียน

8.30 - 9.00 น.

พิธีเปด กลาวเปดงานโดย นายสุเมธ แยมนุน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา

9.00 - 9.40 น.

Keynote Speaker 1 e-Learning Challenges for the Future Dr. Steve Zlotolow San Jose State University, United States

9.40 - 10.20 น.

Keynote Speaker 2 Inspiring Learning: Delivering Quality at Scale Ms. Anne Howells The Open University, United Kingdom

10.20 - 10.50 น.

พักรับประทานอาหารวาง

10.50 - 11.30 น.

Keynote Speaker 3 New Trends of e-Learning, New Meanings of Quality Prof. Dr. Insook Lee Sejong University, South Korea

11.30 - 12.10 น.

Keynote Speaker 4 Issues and Concepts for 21st Century Teaching and Learning Asst. Prof. Dr. Daniel Churchill The University of Hong Kong, Hong Kong

12.10 - 13.30 น.

พักรับประทานอาหารกลางวัน ณ หองเพทาย ชั้น 14

3


Day 1: Breakout Sessions Session A1: Paper Presentation Venue: Petch Room 11th Floor Chairperson: Asst. Prof. Dr. Kobkul Sunphakitjumnong

13.30 - 13.50 น.

นวัตกรรมระบบการสอบออนไลน

A1_1

Innovation of Online Test System Sompan Chansilp Kacha Chansilp

13.50 - 14.10 น.

14.10 - 14.30 น. 14.30 - 14.50 น. 14.50 - 15.10 น. 15.10 - 15.30 น. 15.30 - 15.50 น.

หองเรียนอีเลิรนนิงคลองตัวพรอมใชจาก มทส. Suranaree University of Technology Instant Flexible e-Learning Class room Sompan Chansilp Prach Pongpanich Computer and the Cloud- Can e-Learning Continue Expanding Higher Education? Kuldeep Nagi Srisakdi Charmonman

A1_2

A1_3

พักรับประทานอาหารวาง Integrate Web Accessibility Enhance Quality of e-Learning Poonsri Vate-U-Lan Enhancing Students’ e-Culture in e-Learning Class Using Web2.0 Technology Maturos Chongchaikit Development of Physics Learning Resources Enhancing e-Learning in High School Sirirat Srisa-ard

A1_4

A1_5

A1_6

Session B1: Paper Presentation Venue: Pailin Room 11th Floor Chairperson: Dr. Sukanya Nimanandh

13.30 - 13.50 น.

Harness Your E-Teaching with Free Apps: Interesting Review of Open Source VS Commercial Software Piyapot Tantaphalin Jintavee Khlaisang

B1_1

13.50 - 14.10 น.

ผลของการชวยเสริมศักยภาพในการเรียนแบบใชปญหาเปนหลักบนเว็บ ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร

B1_2

Effects of Scaffoldings in Problem-based Learning on Web upon Science Subject Learning Achievement Sasiwan Chamniyon Praweenya Suwannatthachote

4


14.10 - 14.30 น.

4M และ KM เพื่อการเรียนการสอนออนไลน 4M & KM for e-Learning Songkram Meeboonya Pornpimon Rodkroh Poggade Chanayotha

14.30 - 14.50 น. 14.50 - 15.10 น.

พักรับประทานอาหารวาง ปจจัยการเรียนการสอนแบบผสมผสานที่สงผลตอ การเรียนรูแบบนําตนเองของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต

B1_3

B1_4

Blended Learning Instruction Factors Affecting SelfDirected Learning of Undergraduate Students Samoekan Sophonhiranrak Praweenya Suwannatthachote

15.10 - 15.30 น.

กลยุทธการออกแบบเว็บไซตสถาบันอุดมศึกษาตามแนวทางเว็บโอเมทริกซ: การเขาถึง การใชประโยชน และการปรากฏของเว็บไซต

B1_5

Strategies of Higher Education Web Sites Design on Webometrics Approach : Accessibility, Visibility, and Usability Ua-aree Janthon Watcharapol Wiboolyasarin

15.30 - 15.50 น.

การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนผานเว็บไซต วิชาองคประกอบศิลปะไทย Development Teaching and Learning Aided Web-based Instruction Media for Composition of Thai Art Subject Chatchai Siripant

5

B1_6


Day 2: August 11, 2010 Main Session Venue: Petch Pailin Room 11th Floor

8.00 - 9.00 น.

ลงทะเบียน

9.00 - 9.40 น.

Keynote Speaker 5 e-Learning in Thailand’s Perspective Asst. Prof. Dr. Thapanee Thammetar Thailand Cyber University Project, Thailand

9.40 - 10.20 น.

Keynote Speaker 6 Assoc. Prof. Dr. Daniel Tan Nanyang Technological University, Singapore

10.20 - 10.50 น.

พักรับประทานอาหารวาง

10.50 - 11.30 น.

Keynote Speaker 7 Students' Activities in On & Off Campus Learning Environments Prof. Dr. Yoshida Masami Chiba University, Japan

11.30 - 12.10 น.

Keynote Speaker 8 Learning Theory and Instructional Design for Using Learning Activity Management System (LAMS) Mr. Frank van ‘t Hoog Nanyang Technological University, Singapore

12.10 - 13.30 น.

พักรับประทานอาหารกลางวัน ณ หองเพทาย ชั้น 14

Day 2: Breakout Sessions Session A2: Paper Presentation Venue: Petch Room 11th Floor Chairperson: Dr. Praweenya Suwannatthachote

13.30 - 13.50 น.

การบูรณาการสารสนเทศเพื่อการจัดการความรูในสถาบันอุดมศึกษา

A2_1

Integration of Information Technology for Knowledge Management in Higher Education Werayut Pimpaporn

13.50 - 14.10 น.

ระบบสนับสนุนการเรียนรูเพื่อการออกแบบขั้นตอนวิธี A Learning Support System for Algorithm Design Oraya Preechapanich Rotifah Taosatu

6

A2_2


14.10 - 14.30 น.

การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบลดภาระทางปญญาโดยใชเทคนิค การแกปญหาเชิงสรางสรรคที่มีตอการรูคิดและความคิดสรางสรรคของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี

A2_3

Development of Cognitive Load Reduction Web-based Instruction on Creative Problem Solving Techniques Model upon Cognition and Creativity of Undergraduate Students Wilawan Jinwan Namon Jeerungsuwan

14.30 - 14.50 น. 14.50 - 15.10 น.

พักรับประทานอาหารวาง การพัฒนาและหาประสิทธิภาพเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสราง เว็บเพจรวมกับการเรียนรูแบบรวมมือดวยการใชเว็บบล็อก

A2_4

Development of Web-based Instruction for Web Design and Construction Course with Collaborative Learning Using Blogs Saipin Ngamsanga Jiraphan Srisomphan

15.10 - 15.30 น.

การพัฒนาและหาประสิทธิภาพเว็บชวยสอนวิชา การเขียนโปรแกรมดวยภาษา ปาสคาล โดยใชทฤษฎีการคิดแกปญหาผานเครือขายอินเทอรเน็ต

A2_5

Web-based Instruction on Pascal Programming by Using Problem Solving Thinking Theory Siripron Poungpist Jiraphan Srisomphan

15.30 - 15.50 น.

การพัฒนาระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของผูเรียน

A2_6

15.50 - 16.10 น.

A Development of Learning System Using Think-PairShare without Students Appearance Oratai Saeout Jiraphan Srisomphan การพัฒนา WBI แบบทบทวนรวมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD

A2_7

วิชาการวิเคราะหและออกแบบระบบ The Web-based Instruction Development for Review Using the Data Flow Diagram Writing Check Program in System Design and Analysis Wisanlaya Thongthub Krich Sintanakul

7


Session B2: Paper Presentation Venue: Pailin Room 11th Floor Chairperson: Dr. Anirut Satiman

13.30 - 13.50 น.

การพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนสําหรับการเรียนแบบอีเลิรนนิง เพื่อเสริมสรางจริยธรรมดานความรับผิดชอบตอการเรียนสําหรับนิสิตนักศึกษา ระดับปริญญาตรี

B2_1

The Development of an Instructional Design Model for an Electronic Learning to Enhance Ethics in Learning Responsibility for Undergraduate Students Eknarin Bangthamai

13.50 - 14.10 น.

14.10 - 14.30 น.

การพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนอีเลิรนนิง ระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Development of an e-Learning Instructional Design Model for Master Degree Programs of Sukhothai Thammathirat Open University Smaksmorn Phakdeeteva การพัฒนารูปแบบกิจกรรมโครงงานแบบผสมผสานตามหลักการ APEC

B2_2

B2_3

Edutainment Exchange Program ดวยวิธีการเรียนแบบรวมมือเพื่อ

พัฒนาทักษะการสื่อสารและทักษะการทํางานรวมกันของนักเรียนไทยและเกาหลี The Develop Model of Collaborative Project-Based and Blended Learning Based on APEC Edutainment Exchange Program to Enhance Communicative and Collaborative Skills of Thai and Korean Students Nammon Ruangrit

14.30 - 14.50 น. 14.50 - 15.10 น.

พักรับประทานอาหารวาง การพัฒนาบทเรียนอีเลิรนนิงเรื่องการประดิษฐคิดคน สาขาวิศวกรรมและ อุตสาหกรรมวิจัย สําหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ

B2_4

The Development of e-Learning in Inventive of Engineering and Industrial Research for Undergraduate Students’ King Mongkut’s University of Technology North Bangkok Pallop Piriyasurawong Prachyanun Nilsook Panita Wannapiroon

15.10 - 15.30 น.

การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนผานเว็บแบบผสมผสาน เพื่อความคิดสรางสรรคตามแนวคอนสตรัคชันนิซึมของผูเรียน The Development Web-based instruction of Blended Leaning Model for Creative Thinking Using the Constructionism Parinya Bunnapasut Surasak Mungsing

8

B2_5


15.30 - 15.50 น.

การพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง

B2_6

The Development of Computer-Assisted Instruction (CAI) for Angkalung Teaching Jiraphan Srisomphan Sureepron Ounaim

15.50 - 16.10 น.

การนําเสนอแนวทางการประกันคุณภาพสําหรับหลักสูตรอีเลิรนนิงใน ระดับอุดมศึกษา Proposed Guidelines for Quality Assurance of e-learning Programs in Higher Education Panuwat Butriang Praweenya Suwannatthachote Chawalert Lertchalolarn

9

B2_7


10


บทความโดยวิทยากร

11


12


e-Learning Challenges for the Future Dr. Steve Zlotolow San Jose State University Steve.Zlotolow@sjsu.edu

E-Learning Challenges for the Future is a discussion of the components necessary for educational institutions to be successful in the delivery of and outcomes for education. The ingredients for success include a strong infrastructure with a foundation in research and pedagogy, a deep knowledge of technology and its attributes, and an understanding of change, change process and change agents. These components help create the environment for powerful teaching and learning to occur.

Â

13


Inspiring Learning: Delivering Quality at Scale Anne Howells The Open University a.l.howells@open.ac.uk

This presentation will cover the design, development, production and delivery of materials for students studying at a distance and without entry requirements for study. The presentation will use the model of The Open University in the UK as a case study to demonstrate how to delivery quality and distance eLearning at scale. The presentation will focus on the types of methods and processes used to develop courses and the support provided to students during their study. Whilst covering the Open University in general the presentation will also focus on the detail of design and development and also highlight areas around delivery of materials to meet different student needs and expectations.

14


E-learning: Issues and Concepts for 21st Century Teaching and Learning Asst. Prof. Dr. Daniel Churchill The University of Hong Kong dchurch@hku.hk

Educational institutions around the World are reforming their pedagogical practices and embracing technology as means of producing graduates who are well prepared to face the challenges of the modern world, developing contemporary-literate societies and advancing economies. E-learning is now widely seen as an imperative strategy in these reforms. Reflecting upon the presenter’s decade of experience in application of e-learning, this presentation addresses some critical issues and outlines certain recommendations that may prove useful to policy-makers and teachers. Particular attention is given to emerging technologies such as Web 2.0, social networking, g-learning and mlearning, and how these transform traditional e-learning. The presentation will feature some pioneering educational applications of emerging technologies supporting teaching and learning models promoted by the 21st century learning, and address issues such as learning objects and professional development of teachers.

15


Students' Activities in On & Off Campus Learning Environments Prof. Dr. Masami YOSHIDA Professor of Chiba University Faculty of Education, Graduate School of Humanities & Science yoshida-m@faculty.chiba-u.jp

Paper Presented at the National e-Learning Conference 2010, Thailand Cyber University Project (TCU), Ministry of Education Thailand, Windsor Suite Hotel, Sukhumvit Rd., Bangkok, 10-11 August, 2010 Keywords Blended Education, College Education, Lesson Management Abstract This study aims to draw effects managed by blended education of a university course through deliberate monitoring. Monitored course had some ordinal issues in management restrictions and level of learners’ achievement seen in worldwide universities. The most problem was difficulties to improve students’ autonomous activities in depth and extension. Then, the author have introduced Interactive/intervention model, and recorded executed measures with effects. The interactive/intervention model that involves both behaviorist and constructivist approach is investigated to improve learning including activities in greatly varying cyberspace. Through intentional facilitation and guide, quality of autonomous learning of students was improved in terms of its depth and extension. Effects of site information, skill training and data management tool were reported. 1. Target Course Course name: “Method of Informatics Education”

Figure 1: Students’ Activities during a Lesson The course framework is, •

Compulsory course: This course is one of compulsory lessons of teacher education.

16


• •

License requirement course: this course is required for Informatics Teacher License1. Open course for all faculties: The informatics education is arranged only in upper-secondary school and technical high school level. Then, attendances of this course spread not only students of faculty of education, but also students from other faculties, such as faculty of science, faculty of engineering. The author takes in charge of this course more than 5 years, and introduced e-learning from the beginning. Initially, e-learning was used to assist absent students who went teaching practice. In fact, their teaching practices spread to fully semester and each spends one months. This means 4 times of e-learning lessons were used as substitute of F2F for each student. In addition, sometimes, business trips of teacher in charge were replaced e-learning mode. Developed e-learning course instruction is available any place where there are students – or even only one student –whether or not there are a teacher at the same place or at the same time. Blended education in this study was based on this developed fully covered, designed for independent access, asynchronous mode, e-learning. And, developed blended education is managed as, • • • •

Students should attend F2F lessons as long as possible. All F2F lessons are executed in a computer room. The e-learning is used in both F2F and online lesson. Used LMS is modified (Japanese version) TCU-LMS (Yoshida, Lavansiri, Sombuntham, & Inoue, 2003)

• Used functions of LMS involve lesson materials, streaming videos of instructions, message boards to apply exercises, message board to exchange opinions, gateway to ICQ, and short tests. • As a basic policy, all instructions and course materials are prepared in e-learning beforehand • A teacher offers mediated facilitation and guide to students in F2F lessons. • A teacher in F2F does not offer instruction, but provides teaching. 2.Lesson Style The initial e-learning mode was designed to take compatibility to F2F, however, the utilization of e-learning was modified in this blended education. Present e-learning is used for • To support learner autonomy throughout the lesson, where Wedemeyer’s (1971) idea, learners may be independent to carry on self-directed learning,” is embodied. ・ All students can freely do netsurfing even during F2F • To link knowledge with other areas or mode of knowledge. ・ Students from difference faculties have different preceding experiences (incl. preceding knowledge) of teacher education. Then, rich links enable immediate accesses to related knowledge of subject matters to cover leaner’s’ diversity even in F2F. Thus, e-learning preserves and enhances opportunities for adaptation to diversity among students. 1

All applicants to be school teachers are required to have bachelor degree and teacher license in Japan.

17


Figure 2: Front Screen of a Computer Room is used to Display a Conceptual Map viewed by Touchgraph • The teaching and facilitation should use, as appropriate, media and methods so that the course is taught in the most effective way. ・ Students do not need to copy whiteboard (prepared instructions). ・ A teacher use network and access servers to use proper materials. ・ Sometimes, LCD screen is used to present activity that enables to conceptualize of discussion (as a communication transducer). • To give chances of rich authentic learning tasks to students, even in F2F. 3. Observed Limitation Table 1: Observed Activities of Students Activity Search Academic Resource Academic Portal

Observation Google and Wikipedia are major selections. Some use Hatena Keyword, but others are leaded to this through googling. Some use Eric. Many do not know Google Scholar, CiNii and Scopus.

University offers comprehensive academic portal in a HP of library, but only some use this. University offers free of charge service of “Endnote Web” and Referencing “Reference Works,” but no student knows in this year. No student knows the service. They use image retrieval of Google if Learning need. Object Thus, the lesson style permits students’ autonomy. However, unfortunately, the author has not been able to observe variety of their activities in cyberspace. First, students’ activities were limited in websites. Mainly, uses of Google and Wikipedia had been monitored commonly across students. If the author did not offer introduction of sites and guide toward extension of activities, they would not expand their own way to access information. Second, their Web search operation was appeared as only simple keyword search and menu selection without use of optional functions. Students would require a greater depth of skills to be able to create, modify and refine searches to suit their target information. Then, the author trained them to improve retrieval skills in accordance

18


with module in Bloom’s Digital Taxonomy (Churches, 2009). Third, the author analyzed their visiting sites and those service categories, and comprehended the following characteristics of students’ activities.

Figure 3: Web Surfing Activities Enhancing Learner Autonomy •

Important sites are isolated in each category and cover no related links to other sites of same category as well.

Some sites have many links to other sites. However, links are usually arranged to invite to different categories.

Frequently, an important site for autonomous learning is not a higher ranking site of accessibilities in a service category. This popularity paradox makes confusion, and leads mis-operation in an action of students. e.g. Citation Data download from Google Scholar is more valuable than Google Search, in the following autonomous learning for reporting.

• •

Generally, students do not favorable to public sites. Use of learning objects was quite limited. This means that both their learning experience to make a product (not same as documentation level) and an expression chance have been limited. Figure 3 shows selected sites and service categories for autonomous learning in this course. Sites

19


and categories are colored by bilateral levels, and overall view shows expecting standard visiting sites. And, shown sites and grouping concept of this figure and relation with learning tasks were taught by a teacher concretely to students. Indeed, this view does not involved ICT related sites, education sites, and other sites of direct relevance to lesson subject contents. Actually, convenient these links were already embedded in e-learning content. Besides, the course does not require searching any developed product for “informatics education� as exercises. All exercises are designed to produce activities of students in their autonomous learning. Thick lines shows frequent access of students. And connected lines show site affiliating link relations. 4. Improve Operation Structure Idea of guide by a teacher that extends and deepens the experience of students was examined, and introduces them into meaningful operation within the action that dominates learner autonomy. This concept was originated from Activity Theory (Engestrom, 2001) and modified here to elaborate formation of logical operation into activity. Here, activity systems realize and reproduce themselves by generating actions and operations. 4.1 Interactive/Intervention Model Interactive/Intervention model (II Model) explains the complex cognitive activity in cyberspace as involving both top-down (constructivist approach) and bottom-up (behaviorist approach) reasoning (Manzo, Manzo, & Thomas, 2005). Actually, this principle include both constructivist theory and behaviorist theory in front, however, governed idea is based on schema activation (Manzo & Manzo, 1995). Here, effective learning is recognized to begin with students quickly scanning some or all of the selection, consciously calling to mind what they know about the topic, and making some initial predictions about the content and the difficulty level of the selection.

20


Figure 4: Relation of II Model with 5E & Bloom Manzo postulates that the more information and experience that students have related to a topic (the more finely woven the net), the better able they will be to learn, or catch, the new information. 4.2 5E Lesson Planning This well known, the 5E (Engage, Exploration, Explain, Elaboration and Evaluate) model is based on a constructivist philosophy of learning (Trowbridge & Bybee, 1990). First, problem or asking pointed questions can be used to focus the learners' attention on the tasks that will follow. 4.3 Bloom Digital Taxonomy The conventional Bloom's taxonomy in 1950s of behaviorist theory approach was revised as Bloom’s Digital Taxonomy. This attempt to account for the new behaviors and actions in technology becomes more ubiquitous. This Bloom’s Taxonomy involves netsurfing, the traditional educational practices, behaviors and actions. Outcomes on rubrics are measured by competence of use and most importantly the quality of the process or product. For example, bookmarking a resource is no value if the resource is inappropriate or worthless. Churches (2009) has mapped these to Bloom’s categories shown in Table 2 below. Obviously, present online activities will cross these boundaries – blogging, for example, is an activity which can be carried out at many different levels, and today’s popular tools will evolve and change. But this is a very welcome framework for us to re-think how students improve depth of their learning activities.

21


Table 2: Digital Taxonomy Bloom’s category Remembering Understanding Applying Analyzing Evaluating Creating

Digital applications social networking, social bookmarking, favoriting, searching subscribing, tweeting, tagging, commenting, annotating uploading, editing, sharing, hacking linking, validating, mashing reviewing, blogging, networking, moderating programming, podcasting, vodcasting, animating, wiki-ing

4.4 Improved Events by Blended Way

Knowledge Acquisition

Discussion Questioning

Tools

Information

Instruction Teaching Test

2

Table 3: Observed Benefits by Blended Education Ordinal Classroom Blended Education Activity Builders rich from e-learning, links, online various search limit within a textbook retrievals including engines, portals, and a white board self selected database knowledge seated positions limit rich among students message board communication open question spends all questions are open time question board questions limit chances or targets online tools, Web a notebook page management WeBOX tools give meaning to limited rich distributed knowledge facilitation by give all info at follow lesson outline supplemental beginning teaching exploring and follow lesson outline access servers expanding difficult management easy management security management

The results of blended education in terms of educational events were compared with ordinal classroom. Clarified factors to improve activity were summarized as activity builders shown in

2

teaching works for overall development while instruction works for skill development....

teaching arouse critical thinking while instruction arouse only thinking.... teaching produce new product while instruction aims for producing carbon copy or photocopy.... (cited from http://wiki.answers.com/Q/What_is_the_difference_between_teaching_and_instruction)

22


Table 3. Remarkable features of Blended Education is, • •

All exercises are open questions Summarizing and reporting distributed knowledge are more valuable than searching example of presented knowledge in the course content. Also, the author should mention that F2F with e-learning processes paperless lesson management drastically. So all exercises and short-tests with privacy data are managed by a server, a teacher does not need to bring any data storage, such as USB memory, even a teacher need to mark these data from outside the university. 5. Tools Students must handle rich distributed information in cyberspace and database, where in-depth analysis on both small and large volumes of data is required. Usually, the following general ways are used. • Save an internet shortcut on desktop or use online bookmark • Save web page as html or pdf However, these measures do not allow continuous works for analysis, such as tagging, keyword search across documents, and marking. 5.1 QDA

Figure 5: Sample of QDA, NVIVO (cited from http://www.qsrinternational.com/products_nvivo.aspx) Quality Data Analysis (QDA) software removes many of the manual tasks associated with analysis, classifying, sorting and arranging information. QDA can manage complex data of a project involving large numbers of documents combined with numerical as well as categorical information. QDA software also enables a wide range of exploratory investigation to identify patterns in codings and relationships between assigned codes and other numerical or categorical properties. Documents are usually stored in one file. Unfortunately, QDA is rather expensive and costs over B30,000/user even under academic/educational license. Then, it would be available only in University Lab. 5.2 WeBox For data collection of web pages, the author introduces Web management software, freeware, Webox at the beginning of the lesson. This freeware was developed by a university academic in

23


Japan. This software has a function of Web browsing, and enables to store accessed data as same data format as source Web page without any transformation. It also allows classification of Web sites by folders. Three ways of recording are prepared, URL, page download, and site (with links seeking) download. Remarkable feature is the strong retrieval function that searches keywords from recorded documents in all folders, and leads retrieved bookmarks to a search folder. It is also possible to put a marker line in a document record. This means some basic functions of ODA is equipped even in this freeware.

Figure 6: View of WeBOX (download available from http://webox.sakura.ne.jp/software/webox/index.html) This freeware is small sized, just 860KB, and it can install program into USB memory. Then, all students in this Blended Education carry this program and data with their personal USB memory. This method is also beneficial to use a computer room where any additional program does not allow installing. 6. Depth and Extension

Figure 7: Faster Search by RedZ Though facilitation and teaching with intentional guide, activity towards a goal that was carried out by students was improved. Rapid search skills realized proper conceptualization of a case field. When a student may not be conscious social and personal meaning of a target field, WHY question was used often to increase their operations at initial stage. After they foster a specific goal, learning activity carried out by an autonomous or a group. Here, WHAT question is required to elaborate their works. After then, a student engages open question, where operation structure of activity automated already and executing an action in according with the specific conditions surrounding the goal. Here, HOW question would be effective to confirm their quality of learning product.

24


The innovating environment of cyberspace in near future would allow SaaS and Cloud Computing, and also it will enables to exchange not only fragments of information or opinions, but also a lump of knowledge with context, such as exchange bookmarks data or digital portfolio developed through autonomous learning. Then, effects of knowledge base communication outside LMS would be investigated to explore next stage of Blended Education. 6.1 What should be done in a F2F part? Actually, this course is designed to be compatible between e-learning and F2F in terms of instruction. The settings of this Blended Education could lead effects on F2F in its characteristics. The following statements are impression of the author. • • • •

Instruction in e-learning realized equality of a chance to access education. Facilitation is basically to manage the course process by controlling students’ learning pace. Facilitation in F2F is better than online, because other students glance at. F2F can impress an important principle of “students must select learning” in emotional level to enhance their motivation.

Conceptualization in F2F is better then online, because synchronous mode tells many personal cues to construct personal concept of a student through the discussing process.

• •

Brainstorming in F2F is better than online, because each student should act something. Guide in F2F is better than online, because a teacher recognize personal feedback of a student.

7. References Churches, A. (2009). Bloom's Digital Taxonomy [Electronic Version] from http://edorigami.wikispaces.com/file/view/bloom%27s+Digital+taxonomy+v3.01.pdf. Engestrom, Y. (2001). Expansive learning at work: Toward an activity-theoretical reconceptualization. Journal of Education and Work, 14(1), 133-156. Manzo, A. V., & Manzo, U. C. (1995). Teaching children to be literate: A reflective approach: Wadsworth Pub Co. Manzo, A. V., Manzo, U. C., & Thomas, M. M. (2005). Content area literacy: Strategic teaching for strategic learning. Hoboken: Wiley, Hoboken, NJ. Trowbridge, L. W., & Bybee, R. W. (1990). Becoming a secondary school science teacher (5th edition ed.). Columbus: Merrill Pub. Co. . Wedemeyer, C. A. (1971). Independent study. In R. Deighton (Ed.), Encyclopedia of Education IV (pp. p. 548-557). New York: McMillan. Yoshida, M., Lavansiri, D., Sombuntham, S., & Inoue, S. (2003, June 31). A Study on Promoting Free of Charge LMS and near Future Strategies for eLearning. Paper presented at the Computer and Advanced Technology in Education including the IASTED International Symposium on Web-Based Education, Rodos, Greece.

25


Learning Theory and Instructional Design for Using the Learning Activity Management System (LAMS*) Frank van ‘t Hoog Nanyang Technological University frank.vanthoog@ntu.edu.sg

Today’s students have grown up with digital technology. This makes digital technology a highly relevant and usable tool in modern day classrooms. Technology based learning (e-learning, blended learning, CALL) will have a considerable impact on teaching methodology (Rogers, 2001). It is likely to shape, if not change, the instructional settings of any educational environment in the next decade. Ideally, it allows educators to effectively select and create educational materials while at the same time providing engaging educational experiences for learners. Ideally, lessons, courses and instructional programs using web based technology will improve learning conditions that in turn increase the learners’ motivation and efficiency. However, before getting started with the tools provided by LAMS – or any other learning management system – it is important to understand the learning environment, the people involved (learners and educators) and the specifics of the lesson or course that is to be designed. These, in turn, determine the pedagogical underpinning of any course design. Pedagogy refers to the strategies, methods and styles of instruction. The adoption of technology adds another element in course design to consider. To produce effective online learning and teaching requires understanding of the processes by which students learn and interact with technology. Before creating new online courses it is recommended that educators acquire an understanding of the pedagogy and learning theories relevant for online course design. This presentation is directed at educators, researchers and administrators wanting to gain insight in the pedagogical issues related to the evolving practices of technology based learning. The presentation will focus on the pedagogical and organizational opportunities, challenges and examples provided by learning management systems, in particular LAMS. *LAMS, the Learning Activity Management System, is an open source Learning Design system for designing, managing and delivering online collaborative learning activities. It provides teachers with an intuitive visual authoring environment for creating sequences of learning activities. These activities can include a range of individual tasks, small group work and whole class activities based on both content and collaboration. LAMS is developed in collaboration with LAMS Foundation Ltd, LAMS International Pty Ltd, and the Macquarie E-learning Centre Of Excellence (MELCOE), all based in Sydney, Australia, in affiliation with Macquarie University.

26


บทความวิชาการ

27


28


นวัตกรรมระบบการสอบออนไลน Innovation of Online Test System สมพันธุ ชาญศิลป1 และ คะชา ชาญศิลป2 1 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2

(sompan@sut.ac.th)

สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (kacha@sut.ac.th)

1) บทนํา

ABSTRACT Learning through network called “e-Learning” is the direction of Thai education committed to reach. What will follow is an online test that will happen inevitably. The researcher conducts a research and develop an online test system called "SUT-MOTS: SUT-Mobile Online Test System" which is an innovative new online test system that never exists before. The evolution of the examination from traditional style using paper, pencil and pen to a fully online test called “e-Testing” start to arise from occurrence of the ready-to-use SUTMOTS.

ในยุ ค ดิ จิ ทั ล (Digital) เช น ทุ ก วั น นี้ ใครๆ ก็ ก ล า วถึ ง เรื่ อ ง อี เ ลิ ร น นิ ง (e-Learning) ถ า สถานศึ ก ษาใดไม มี ร ะบบ อีเลิรนนิงดูจะลาหลัง โบราณ ไมมีความกาวหนา โดยเฉพาะ ความรูในเรื่องวิทยาการตางๆ คงจะสูที่อื่นไมได ทั้งๆ ที่ยัง ไมไดรับทราบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของสถาบันแหงนั้น เลยว า ดี เ พี ย งไร ในเบื้ อ งต น นี้ ผู วิ จั ย ขอตั้ ง สมมุ ติ ฐ านว า อีเลิรนนิ่ง เปนสิ่งที่ชวยเพิ่มพูนประสิท ธิผลทางการศึก ษา สามารถชวยใหการศึกษาทําไดทุกเวลา ทุกโอกาส และทุก สถานที่ ในวันหนึ่งขางหนาจะกลายเปนสิ่งที่ทุกสถานบัน การศึกษา ไมวาระดับประถม มัธยม หรืออุดมศึกษา ตางตอง หั น มาใช อี เ ลิ ร น นิ ง เพื่ อ ช ว ยเสริ ม การเรี ย นการสอนอย า ง แพรหลาย กลายเปนเรื่องธรรมดาที่มีอยูทุกแหงหน ปริมาณ เครื่องคอมพิวเตอรจะมีมากขึ้นอยางรวดเร็ว นักเรียนทุกคน จะถือเครื่องโน็ตบุคซึ่งเปรียบเสมือนสมุดหรือหนังสือสักเลม ในปจจุบัน เมื่อความพรอมเชนนั้นนั้นมาถึง ความตองการใน การวัดผลแบบออนไลนหรือการสอบออนไลนก็จะตามมา อยางเหลีกเลี่ยงไมไดประกอบกับผูสอนมักใชการประเมินผล เปนจุดเริ่มตนของกิจกรรมการเรียนการสอนดวยเชื่อวาการ ประเมิ น ผลคื อ สิ่ ง ที่ ขั บ เคลื่ อ นกิ จ กรรมการเรี ย นการสอน (Naidu, 2009)

Keywords: e-Learning, Suranaree University of Technology, SUT-MOTS: SUT Mobile Online Test System, e-Testing

บทคัดยอ การเรียนรูผานระบบเครือ ข ายที่เรียกวาอีเลิรนนิงนั้น เปน ทิศทางที่การศึกษาของไทยกําลังมุงมั่นที่จะไปใหถึง สิ่งที่จะ ตามมาก็ คื อ การสอบออนไลน ซึ่ ง จะต อ งเกิ ด ขึ้ น อย า ง หลี กเลี่ยงไมได ผูวิจัย ไดทําการวิจัยและพัฒนาระบบสอบ ออนไลนขึ้นมาเรียกวา “ระบบสอบออนไลนเคลื่อนที่จาก มทส.” ที่ นั บ ได วา เป น นวั ต กรรมใหม ข องระบบสอบ ออนไลน ที่มีความสามารถหลายประการซึ่งไมเคยมีมากอน การปฏิวัติการสอบจากแบบดั้งเดิมที่ใชกระดาษ ปากกา และ ดินสอ มาเปนการสอบแบบออนไลนที่เรียกวา อีเทสติง อยาง เต็มรูปแบบไดเริ่มเกิดขึ้นแลวจากการปรากฏขึ้นของระบบ สอบออนไลนเคลื่อนที่จาก มทส. ที่พรอมใชนี้

ในปจจุบันการสอบออนไลนเริ่มมีการใชงานกันมากขึ้น เชน เวลาเรียนแบบทางไกลผานทางหนาเว็บ หรือการเรียนแบบ อีเลิรนนิงที่ใชโปรแกรมมูเดิ้ล (Moodle.org, 2010) ตางก็ สามารถกําหนดใหมีการสอบหรือการทดสอบแบบออนไลน ผ า นทางหน า เว็ บ อยู แ ล ว แต ก ารสอบแบบนี้ มั ก มี คํ า ถาม ตามมาเสมอวา ความปลอดภัยมีแคไหน ผูเขาสอบจะลอกกัน

คําสําคัญ: อีเลิรนนิง, มทส., ระบบสอบออนไลนเคลื่อนที่ จาก มทส., อีเทสติง

29


เพิ่ ม โปรแกรมส ง ภาพหน า จอของเครื่ อ งเซิ ร ฟ เวอร ไ ปยั ง เครื่องลูกขาย เปนตน

หรือไม ทราบอยางไรวาใครเปนคนทําขอสอบ มีการสอบ แทนกันหรือไม มีการทําสําเนาขอสอบเก็บไวในระหวางการ ทําขอสอบหรือเปลา เปนตน ปญหาทางดานเทคนิคที่หนักยิ่ง ไปกวานั้นอีกคือ โปรแกรมมูเดิ้ลกินทรัพยากรของระบบมาก เวลาเราเรียนผานทางโปรแกรมนี้มักพบวาการเขาถึงขอมูลชา ลงเรื่อยๆ สถานศึกษาตองเปลี่ยนเครื่องเซิรฟเวอรใหเร็วขึ้น เปนระยะๆ เนื้อหาของแตละวิชาก็เพิ่มสวนที่จะใชทรัพยากร ระบบมากขึ้ น เช น ส ว นที่ เ ป น เสี ย ง ภาพเคลื่ อ นไหว และ มัลติมีเดีย เปนตน ทั้งนี้เพื่อทําใหเนื้อหานาสนใจและเขาใจ งายขึ้น เมื่อเปนเชนนี้ เครื่องเซิรฟเวอรที่ทําอีเลิรนนิงเอง ซึ่ง รับภาระหนักมากขึ้นอยูแลว ยังถูกนํามาใชสําหรับการสอบ แบบออนไลน อีก ยิ่ งถาเปนการสอบจริ งและตอ งสอบกั น หลายๆ วิชา จะเกิดปญหาตามมาอยางแนนอน เพื่อเปนการ แกปญ หาเหลานี้ ทางหนวยวิจัยและพัฒนาโอเพนซอรส ที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.) จึงไดพัฒนาระบบ สอบออนไลนเ คลื่อ นที่ เพื่อ รองรับ การสอบออนไลนเพื่ อ ขจัดปญหาดังกลาวอยางเต็มรูปแบบ

2) ที่มาของ SUT-MOTS เมื่อระบบอีเลิรนนิงมีอยูในทุกสถานศึกษา จํานวนเครื่อง คอมพิวเตอรก็ตองมีมากขึ้น เพียงพอตอการใชงาน และเมื่อ ถึงตอนนั้น การวัดผลที่รวดเร็วกวาการสอบแบบปกติจะเริ่ม ถูกถามหามากขึ้นเรื่อยๆ ผูวิจัยเห็นวาเรื่องนี้จะเกี่ยวของกับ งบประมาณจํานวนมากของประเทศที่จะตองใชจายในเรื่องนี้ ไมวาจะเปนในเรื่องของซอฟตแวรหรือฮารดแวรก็ตาม เมื่อ สถาบันการศึกษาสนใจ ที่จะจัดใหมีการสอบแบบออนไลน จะตองใชเงินจํานวนมากในการจัดการ โดยสวนแรกจะตอง ใช ใ นการเลื อ กซื้ อ เครื่ อ งเซิ ร ฟ เวอร ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง (Vugt, 2009) เพื่อรองรับการสอบที่เปนแบบ Realtime สอบ หลายๆ วิชาพรอมๆ กัน ซึ่งการสอบดังกลาวจะลมไมได จะ ชาไมได เพราะการสอบมีระยะเวลาและชวงของเวลาที่ แนนอน ดังนั้นเครื่องเซิรฟเวอรสําหรับการสอบออนไลนจึง ตองเปนเครื่องที่มีประสิทธิภาพสูงและราคาสูง สวนที่สอง ของเงินที่จะตองใชไปคือ การหาโปรแกรมสําหรับการสอบ ออนไลน ซึ่งจะมีราคาถูกหรือแพงก็ขึ้นกับความสามารถและ อาจรวมไปถึงจํานวนผูเขาสอบพรอมๆ กันดวย แตละ สถาบันการศึกษาตองจายเงินจํานวนนี้ ซึ่งเมื่อรวมกันทั้ง ประเทศแล ว ไม ใ ช เ งิ น จํ า นวนน อ ยๆ อย า งแน น อน ด ว ย เหตุผลเหลานี้ ระบบสอบออนไลนเคลื่อนที่จาก มทส. จึงถูก พัฒนาขึ้นมา ดวยการออกแบบทั้งระบบใหเปนระบบ ปฏิบัติการโอเพนซอรสที่ทุกคนใชไดฟรี ไมตองเสียเงิน ใช งานงาย ผูใชไมจําเปนตองเปนผูชํานาญเกี่ยวกับโอเพนซอรส มากอน ไมตองใชเครื่องเซิรฟเวอรพิเศษราคาแพง อาจใช เครื่องธรรมดาที่ใชกันอยูในหองเรียน หรืออาจใชเครื่อง โนตบุคที่ตนมีอยู ก็สามารถรองรับการสอบพรอมๆ กัน หลายรอยคนได

ในขณะที่ระบบการศึกษาของประเทศไทย ไดมุงเนนไปใน ทิศทางของการใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรมาเปนเครื่องมือใน การสื่อสารและถายทอดบทเรียน ในกาวตอไปคงหนีไมพนที่ จะต อ งมี ก ารสอบผ า นระบบเครื อ ข า ยที่ เ รี ย กว า อี เ ทสติ ง (e-Testing) ซึ่ ง ในป จ จุ บั น นี้ เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร ไ ด ถู ก พั ฒ นาขึ้ น มาอย า งต อ เนื่ อ ง เพื่ อ ให มี ส มรรถนะและ ความสามารถที่สูงขึ้นและมีราคาถูกลง ผูวิจัยจึงไดมองเห็น ชองทางที่จะใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรมาชวย ในการจัดการ เรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยมุงเนนไปที่ การออกแบบและพัฒนาตอยอดจาก “ระบบสอบออนไลน เคลื่อนที่จาก มทส. เวอรชัน 2.0” ซึ่งประกอบไปดวย โปรแกรมในการจัดการสอบ ระบบฐานขอมูล MySQL ที่ใช ในการจั ด เก็ บ ข อ มู ล ต า ง ๆ เช น เก็ บ ผลของการสอบ เก็ บ พฤติ ก รรมในการทํ า ข อ สอบ เป น ต น และระบบแม ข า ยที่ พัฒนาบนระบบปฏิบัติการลินุกซ ซึ่งระบบที่ถูกพัฒนาตอ ยอดขึ้นมาใหมนี้เรียกวา “ระบบสอบออนไลนเคลื่อนที่จาก มทส. เวอรชัน 5306 (SUT-MOTS 5306)” โดยเพิ่มขีดความ สามารถ ในการใสเสียงและภาพเคลื่อนไหวลงในตัวขอสอบ

30


SUT-MOTS ATutor Moodle LearnSquare Hot Potatoes

หัวขอ การใชงานแบบเคลื่อนที่ สุมสลับขอคําถามและตัวเลือก ขอสอบแบบปรนัย ขอสอบแบบจับคู ขอสอบแบบถูกผิด ขอสอบแบบเติมคํา การสอบแบบ Drag and Drop ตอบแบบแนใจ/ไมแนใจ ตรวจจับการทุจริตในการทําขอสอบใหกัน คูมือการใชงานรูปแบบเท็กซไฟล คูมือการใชงานรูปแบบมัลติมีเดีย จัดการการสอบแบบรีโมท ไฟลผลคะแนน Excel แสดงคาเฉลี่ยในการทําขอสอบ ดูเฉลย และ จํานวนครั้งในการเปลี่ยนคําตอบ แสดงความกาวหนาในการทําขอสอบ แสดงกราฟผลคะแนน ใชงานไดฟรีสําหรับหนวยงานของรัฐ ใชงานไดฟรีสําหรับหนวยงานของเอกชน เปนระบบที่มีทั้งระบบปฏิบัติการที่เปน เซิรฟเวอรและโปรแกรมจัดการการสอบ

รูปที่ 1: รูปแผนดีวีดีบรรจุระบบ SUT-MOTS 5306

3) ผลงานที่เกี่ยวของ จากการสํารวจพบวา มีระบบสอบออนไลนที่อยูในรูปแบบ ของซอฟตแวรธุรกิจที่ทําขึ้นในเชิงพาณิชยเพื่อการคา เชน Blackboard, WebCT เปนตน สวนโปรแกรมที่เปนโอเพน ซอร ส ที่ ส ามารถดาวน โ หลดใช ง านได ฟ รี ก็ มี เช น LearnSquare (http://www.learnsquare.com), Hot Potatoes (http://www.halfbakedsoftware.com),ATutor (http://www.atutor.ca), Moodle (http://www.moodle.org) เปนตน และเพื่อใหเห็นความสามารถที่โดดเดนและความ แตกต า งที่ เ ด น ชั ด ตารางต อ ไปนี้ จ ะเป น การเปรี ย บเที ย บ ลักษณะการใชงานและคุณสมบัติของ SUT-MOTS กับระบบ สอบออนไลนอื่น ๆ ที่ใชไดฟรี ซึ่งประกอบไปดวย ATutor, Moodle, LearnSquare และ Hot Potatoes

ตารางที่ 1: เปรียบเทียบระหวาง SUT-MOTS กับระบบตางๆ ใช Hot Potatoes แลว Import เขามาใน LearnSquare

สวนระบบสอบและระบบคลังขอสอบที่พบวาใชกันอยูใน เมืองไทยมีระบบที่นาสนใจดังตอไปนี้ ระบบสอบผานเครือขายอินเทอรเน็ต (Web-based Exam System, 2553) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ก็เปน ระบบสอบชนิดหนึ่ง ที่มีขอแนะนําใหผูเขาสอบวา “ในการ ทําขอสอบเสร็จแลวในแตละหนา นักศึกษาควรจําการบันทึก คําตอบ เพื่อปองกันกระแสไฟฟาขัดของ” ระบบคลังขอสอบและการสอบออนไลน (2553) เปนระบบ ที่ เ อื้ อ อํ า นวยให นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 4 ป การศึกษา 2550 ที่อ ยูในเขตพื้นที่ ไดเขามาทดสอบความรู

31


จิภากาณจน รัตนกิจตระกูล (2550) จากสถาบันเทคโนโลยี นานาชาติสิรินธร ม.ธรรมศาสตร ก็มีผลงานการสรางคลัง ขอสอบที่มีชื่อวา “vExam ระบบคลังขอสอบออนไลน” ที่ ผูใชทั่วไปสามารถเขาไปฝกทําขอสอบและออกขอสอบได ซึ่งสวนใหญเปนขอสอบเอ็นทรานซวิชาตาง ๆ เชน ฟสิกส คณิตศาสตร ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ จึงเหมาะสําหรับ นักเรียนที่กําลังเตรียมตัวสอบเอ็นทรานซ

ติดตั้งที่เครื่องโนตบุค นําไปสอบไดทุกสถานที่หรืออาจนํา แผนโปรแกรมไปติดตั้งที่เครื่องหนึ่งเครื่องใดในหองสอบ แลวใชเครื่องนั้นเปนเซิรฟเวอรสําหรับการสอบ จึงทําใหการ เปนเซิรฟเวอรสําหรับสอบเคลื่อนที่ไปอยูในที่ใดๆ หรือที่ ไหนๆ ได อ ย า งสะดวก ไม จํ า เป น ต อ งใช เ ครื่ อ งที่ มี ประสิท ธิภาพสูงเพื่อรองรับ การสอบหลายๆ หอง หลายๆ วิชาพรอ มกัน สามารถกระจายติดตั้งเครื่องเซิรฟเวอรเพื่อ สอบไปในแตละหองไดอยางอิสระและดวยความสะดวก ตัว ขอสอบสามารถประกอบไปดวย รูปภาพ เสียง และมัลติมีเดีย ยิ่งกวานั้น ยังเปนระบบสอบออนไลนระบบเดียวที่ใหผูสอบ สามารถทําสอบแบบแนใจหรือไมแนใจได (ดังรูปที่ 2)

ระบบตาง ๆ ที่กลาวมาแล วขางตนนั้น ตางก็ตองใชเครื่อ ง คอมพิวเตอรที่ทําหนาที่เปนเครื่องเซิรฟเวอร ที่มีศักยภาพสูง ทําใหมีคาใชจายที่สูงตามไปดวย อีกทั้งเรื่องของคลังขอสอบ ก็ยังไมมีความสามารถในการจัดการเกี่ยวกับการจัดลําดับ ความยาก, ปานกลาง และงายของขอสอบ จึงยังไมเปนระบบ ที่สมบูรณเพียงพอ

รูปที่ 2:การทําขอสอบแบบเลือกตอบ

ความสามารถ โดยมี ก ลุ ม สาระวิ ช า 5 กลุ ม คื อ ภาษาไทย, สั ง คมศึ ก ษา ศาสนาและวั ฒ นธรรม, ภาษาอั ง กฤษ, วิทยาศาสตร และคณิตศาสตร

การเลือกตอบแบบ แนใจ/ไมแนใจ นั้น จะเปนประโยชน สําหรับผูเขาสอบ ที่จะสามารถกลับมาทบทวนดูอีกครั้งถามี เวลา ยิ่งกวานั้น ยังสามารถในการสงหนาจอของเครื่องผูสอน (เซิรฟเวอร) ไปยังเครื่องผูเรียน (ลูกขาย) โดยการสง ระบบปฏิบัติการเล็กๆ ไปรันที่เครื่องลูกขาย ทําใหสะดวก สําหรับการเรียนการสอนในหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร ซึ่ง จะใหภาพที่คมชัดกวาภาพที่ไดจากเครื่องฉายภาพ (Projector)

4) นวัตกรรมของ SUT-MOTS ระบบสอบออนไลนเคลื่อนที่จาก มทส. ใชชื่อภาษาอังกฤษ คํ า ย อ ว า SUT-MOTS ซึ่ ง ย อ มาจากคํ า ว า Suranaree University of Technology - Mobile Online Test System เปน ซอฟตแวร ที่ ไดรับ การสนับ สนุนการวิจัย จาก กองทุน นวัตกรรมและสิ่งประดิษ ฐ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทั้งในป พ.ศ. 2548 และในป พ.ศ. 2550 ใช ร ะบบปฏิ บั ติ ก ารลิ นุ ก ซ ติ ด ตั้ ง เป น เซิ ร ฟ เวอร ใช ภ าษา สั่งงาน PHP และใชฐานขอมูล MySQL (Gerner, 2006) และ ยังมี การพัฒนา ปรั บปรุง มาจนถึงปจ จุบันเปนรุนที่ 13 ซึ่ง เรียกวา SUT-MOTS 5306 ที่ออกเมื่อกลางเดือนมิถุนายนป พ.ศ. 2553 นี้ โดยในรุนปจจุบันไดมีความสามารถหลายอยาง จนอาจถือไดวา เปนนวัตกรรมชิ้นเอกของวงการการศึกษา ของไทย ที่นาภาคภูมิใจ นั่นคือ นอกจากจะเปนของฟรี ที่ไม ตองเสียเงินซื้อแลว ความสามารถ ที่จะใชติดตั้งลงบนเครื่อง ใดๆ เพื่ อ ใช เ ป น เครื่ อ งเซิ ร ฟ เวอร สํ า หรั บ การสอบ ยั ง กลายเปนที่มาของคําวา “เคลื่อนที่” ซึ่งหมายถึงตัวระบบอาจ

รูปที่ 3:การสงหนาจอเครื่องผูสอนไปยังเครื่องผูเรียนทั้งหอง

32


ด วย อาจารยผูอ อกขอ สอบสามารถกํ าหนดได วา เมื่อ สอบ เสร็ จ จะแสดงเฉลย จะบอกคะแนน จะแสดงกราฟเปรีย บ เที ย บคะแนนของผู เ ข า สอบทั้ ง ชั้ น ให ผู เ ข า สอบได ท ราบ หรือไม โดยอาจเลือกเปนบางอยางหรือทั้งหมดได เชน เลือก ที่จะบอกคะแนนหลังสอบอยางเดียวโดยไมเฉลย ไมแสดง กราฟคะแนนก็ได สามารถนําผลของการสอบออกในรูปของ ไฟล Excel หรือไฟลของ Open Office สามารถแสดงการทํา ขอสอบของผูเขาสอบเปนรายคน ซึ่งจะมีประโยชนมากเมื่อมี ปญหาในเรื่องของคะแนนที่ไดในภายหลัง ในสวนของการ วิเคราะหผลการสอบนั้น สามารถแสดงสถิติการทําขอสอบ ไดทั้งแบบรายคนหรือเปนแบบรวมดังรูปที่ 4

เมื่ อ สอนหรื อ อบรมเสร็ จ แล ว ที่ เ ครื่ อ งลู ก ข า ยสามารถใช โปรแกรมเว็บเบราวเซอร เชื่อมตอมายังเครื่องเซิรฟเวอรเพื่อ ทํ า การสอบได ทั น ที โดยผู เ ข า สอบจะไม ส ามารถทํ า การ บั น ทึ ก หน า จอเพื่ อ เก็ บ ข อ สอบ ไม ส ามารถติ ด ต อ กั บ ฮารดดิสกหรืออุปกรณ USB ได จึงทําใหเกิดความปลอดภัย ในการรักษาความลับของขอสอบและไมตองกังวลเรื่องการ ติดไวรัสอีกดวย นอกจากนี้ระบบสอบออนไลนเคลื่อนที่จาก มทส. ยังถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใหติดตั้งไดงายและใชเวลาในการ ติดตั้งประมาณ 10 นาที ก็จะไดเครื่องเซิรฟเวอรที่พรอมใช งาน ซึ่งเร็วกวาการติดตั้งระบบปฏิบัติการใด ๆ

รูปที่ 3:แสดงเวลาที่ใชในการติดตั้ง 4.1) ความสามารถพิเศษอื่นของ SUT-MOTS ระบบสอบออนไลน เ คลื่ อ นที่ จ าก มทส. มี ค วามสามารถ หลายอยาง บางอยางมีอ ยูในซอฟตแวร การสอบออนไลน อื่นๆ เชนกัน แตหลายๆ อยางถือเปนเอกลักษณเฉพาะของ SUT-MOTS เอง เชน สามารถเพิ่ม/ลดเวลาการสอบใหแตละ คนหรือทั้งหอง สามารถระงับการสอบของผูที่พบวากําลัง ทุ จ ริ ต การสอบ มี ร ะบบตรวจสอบการทํ า ข อ สอบให ผู อื่ น เครื่องเซิรฟเวอรและเครื่องลูกขาย มีการเชื่อมตอตลอดเวลา ของการสอบ หนาจอการสอบนิ่งเพราะจะดึงเฉพาะสวนที่ เปลี่ยนแปลงมาแสดงแทนของเดิมเทานั้น ไมดึงทั้งหนาจอมา ใหม เมื่อกดปุมตอบ ขอมูลจะถูกสงไปยังเครื่องเซิรฟเวอร ทันที ไมตองทําการบันทึกอีก ผูเขาสอบและผูควบคุมการ สอบสามารถทราบความกาวหนาในการสอบ เชน ทําไปกี่ขอ แลว ยังไมทํากี่ขอ ทําแบบแนใจกี่ขอ สอบเสร็จหรือยัง เปน ตน โดยแสดงที่หนาจอตลอดเวลา และเมื่อจะหมดเวลา จะมี รูป เคลื่อ นไหวเปนสีแดง ในสวนของการแสดงเวลาเตือ น

รูปที่ 4:แสดงการวิเคราะหผลการสอบ 4.2) การติดตั้งที่เหนือกวาของ SUT-MOTS ระบบติดตั้งสามารถบรรจุอยูบนแผนดีวีดีหรือ Thumb Drive เมื่ อ บู ต คอมพิ ว เตอร ผ า นทางอุ ป กรณ นั้ น แล ว จะเข า สู ตั ว ติดตั้งซึ่งมีเมนูในรูปแบบหนาเว็บเปนสองภาษา เลือกไดวา จะให แ สดงเป น ภาษาไทยหรื อ อั ง กฤษ ผู ใ ช ส ามารถเลื อ ก ติ ด ตั้ ง ไ ด ทั้ ง แ บ บ 32 บิ ต ห รื อ แ บ บ 64 บิ ต ซึ่ ง เ ป น ระบบปฏิบัติการที่ไดพัฒนามาจาก Ubuntu Server 10.04 ที่มี การอัพเดทลาสุด ผูใชสามารถเลือกรูปแบบของการติดตั้งได

33


ประมาณ 5 - 10 นาที ทั้งนี้ขึ้นอยูกับอุปกรณบรรจุตัวติดตั้ง และความเร็วของฮารดดิสกที่จะตองทําการฟอรแมต

ซึ่งมีใหเลือก 2 รูปแบบ ดังรูป

5) การเผยแพรและใชงาน SUT-MOTS ระบบสอบออนไลน เ คลื่ อ นที่ จ าก มทส. ได รั บ รางวั ล Inventor Awards ระดับดี ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ในงาน “วัน นักประดิษฐ” และ “วันนักประดิษฐนานาชาติ ครั้งที่ 2” ประจําป 2552 และเทาที่มีการรายงานเขามายังผูวิจัย ในขณะ นี้มีสถานศึกษาไดใชงาน SUT-MOTS โดยบางแหงใชสอบ หลายวิ ช า บางแห ง เพี ย งเริ่ ม ใช ส อบสํ า หรั บ บางวิ ช า ซึ่ ง มี จํานวนรวมประมาณ 10 แหง ประกอบไปดวย มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี อ.เมือง จ.นครราชสีมา, โรงเรียนบานโปง แดงน้ําฉาสามัคคี อ.ขามทะเลสอ จ.นครราชสีมา, โรงเรียน อรพิมพวิทยา อ.ครบุรี จ.นครราชสีมา, โรงเรียนบุรีรัมย พิทยาคม อ.เมือง จ.บุรีรัมย, โรงเรียนวัดราชาธิวาส แขวง วชิระ เขตดุสิต กทม. , โรงเรียนบานสะพานหิน อ.เทพารักษ จ. นครราชสี ม า, โรงเรี ย นบ า นกํ า ป ง อ.โนนไทย จ. นครราชสีมา, โรงเรียนบุญวัฒนา อ.เมือง จ.นครราชสีมา, และโรงเรี ย นเทศบาล อํ า เภอบั ว ใหญ จ.นครราชสี ม า ซึ่ ง ในชวงเดือนมิถุนายนและตนเดือนกรกฏาคม 2553 นี้ไดมี การอบรมให กับ ผู ที่ส นใจกวา 200 ท า น จึ งคาดว า จํา นวน สถานศึ ก ษาอี ก จํ า นวนหนึ่ ง จะได นํ า ระบบสอบออนไลน เคลื่อนที่จาก มทส. ไปใชประโยชนอยางแนนอน

รูปที่ 5:แสดงการเลือกรูปแบบในการติดตั้ง 4.2.1) การติดตั้งแบบไดเร็กทอรี่ เปนการติดตั้งสําหรับการ ออกข อ สอบและการประเมิ น ผลและยั ง เหมาะต อ การ ฝ ก อบรมและทดลองใช ง าน การติ ด ตั้ ง แบบนี้ ผู ใ ช ไ ม จําเปนตองเตรียมฮารดดิสกเปนพิเศษ เพียงจัดใหมีไดรวหนึ่ง ที่มีเนื้อที่วางประมาณ 10 GB ก็สามารถติดตั้งได เมื่อเลือก การติดตั้งแบบนี้ จะมีการสรางไดเร็กทอรี่ dsutubtx ในไดรว ปลายทางที่ถูกเลือก แลวนําระบบบรรจุไวในนั้น โดยไดรว ปลายทางจะตองเปน NTFS, ext3 หรือ ext4 ซึ่งการติดตั้งดวย วิธีนี้จะไมมีการเปลี่ยนแปลงขอมูลเดิมที่มีอยูในไดรวนั้น ซึ่ง จากการทดลองที่ ผ า นมานั้ น พบว า เครื่ อ งโน ต บุ ค ใหม ที่ มี RAM 2 GB สามารถติดตั้งแบบนี้เพื่อใชในการสอบจริงเมื่อมี จํานวนผูเขาสอบ 105 คนไดอยางไมมีปญหา 4.2.2) การติดตั้งแบบเต็มไดรว เหมาะตอการติดตั้งสําหรับใช ในการสอบจริง หรือเมื่อตองการความเร็วสูงสุดของระบบ เชน ตองการใชโหมดสงหนาจอของเครื่องผูสอนไปยังเครื่อง ผูเรียน ตองการสงระบบปฏิบัติการไปรันที่เครื่องลูกขายเพื่อ ใชในการสอบ เปนตน การติดตั้งแบบนี้ ผูใชจําเปนตอง เตรียมฮารดดิสกเปนพิเศษ โดยจัดเตรียมทําใหมีไดรวหนึ่งที่ วางและมีเนื้อที่ประมาณ 10 GB การติดตั้งแบบนี้ ไดรว ปลายทางที่ถูกเลือกจะถูกฟอรแมตเปน ext4 ขอมูลเดิมที่มีอยู ในไดรวนั้นจะหายไปและจะถูกแทนที่ดวยระบบใหมนี้

6) บทสรุป ในขณะนี้ วงการศึ ก ษาได มี ร ะบบสอบออนไลน ที่ มี ก าร พัฒนามาอยางตอเนื่อง มีการใชงานมานานหลายป ที่ทุกคน สามารถนํ า ไปใช ไ ด ฟ รี เป น ระบบสอบออนไลน ที่ มี ความสามารถหลายอยางที่ไมมีระบบสอบออนไลนใดมีมา กอน

การติดตั้งทั้ง 2 แบบนั้นยังคงใชเวลาในการติดตั้งที่เร็วกวา การติ ด ตั้ ง ระบบปฏิ บั ติ ก ารอื่ น โดยใช เ วลาในการติ ด ตั้ ง

34


7) เอกสารอางอิง จิภากาณจน รัตนกิจตระกูล. (2553). vExam ระบบคลังขอสอบ ออนไลน [ออนไลน] http://researchers.in.th/blog/jipakan/232 ระบบคลังขอสอบและการสอบออนไลน. (2553). ศูนยทดสอบ กลาง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดเชียงใหม [ออนไลน] http://www.chiangmaiexam.net/ ระบบสอบผานเครือขายอินเทอรเน็ต. (2553). มหาวิทยาลัย ราชภัฏพิบูลสงคราม [ออนไลน] http://202.29.80.4/~tes/master/exam/ Jason Gerner, Elizabeth Naramore, Morgan Owens (2006). Professional LAMP: Linux, Apache, MySQL and PHP5 Web Development. Wiley Publishing, Inc.10475 Crosspoint Boulevard, Indianapolis, IN 46256 Naidu S. (2009). Afterword: Learning-Centred Focus to Assessment Practices. Chapter XVI on E-learning technologies and evidence-based assessment approaches, Christine Spratt and Paul Lajbcygier, editors. Information Science Reference. 701 E. Chocolate Avenue,Hershey PA. Moodle.org, (2010). [ออนไลน] http://www.moodle.org/ (2010, July 23). Vugt, S. (2009). Pro Ubuntu Server Administration. Apress. 2855 Telegraph Avenue, Suite 600,Berkeley, CA 94705.

8) กิตติกรรมประกาศ ผูวิจัยขอขอบคุณกองทุนนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ สมเด็จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ที่ ไ ด ใ ห ก าร สนับสนุนการวิจัยถึง 2 ครั้งและขอขอบคุณผูอํานวยการ โรงเรียนบานโปงแดงน้ําฉาสามัคคี (ผอ.คมสรณ นิธิปรีชา) อ.ขามทะเลสอ จ.นครราชสีมา ที่ไดนําผลงานไปใชตั้งแต เวอรชัน 2.0 เปนตนมา พรอมกับใหขอเสนอแนะที่เปน ประโยชนมาโดยตลอด ประกอบกับกําลังใจที่ไดจากการเห็น ความสํ า คั ญ ของท า น เมื่ อ ท า นได ใ ห ท างที ม งานเพิ่ ม ความสามารถในการแนบไฟลมัลติมีเดียเขากับตัวขอสอบ

35



หองเรียนอีเลิรนนิงคลองตัวพรอมใชจาก มทส. Suranaree University of Technology Instant Flexible e-Learning Class room สมพันธุ ชาญศิลป1, ปรัชญ พงษพานิช2 1 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (sompan@sut.ac.th) 2 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (prachpub@gmail.com) ติ ด ตั้ ง ลงบนเครื่ อ งเด ส ก ท็ อ ปทั่ ว ไป หรื อ แม ก ระทั่ ง นํ า มา ติดตั้งลงบนเครื่องโนตบุคของผูสอนและพร อมใชงานใน เวลาประมาณ 10-20 นาที เปนเสมือนหองเรียนอีเลิรนนิงที่ สามารถเคลื่อนที่ไปที่ใดๆ ดวยความคลองตัว เพียงนําเนื้อหา ใสเพิ่มเขาไป ผูเรียนสามารถใชเบราวเซอรตอเขามาเรียนได ทั น ที ยิ่ ง กว า นั้ น ยั ง มี ค วามคล อ งตั ว ในการบริ ห ารจั ด การ เครื่องลูกขายหลายอยางใหเลือกใชตามความเหมาะสม เชน เครื่องลูกขายสามารถใชในโหมด Thin client, Local app, Fat client, Auto web install เปนตน มาพรอมกับระบบสอบ ออนไลนเคลื่อนที่จาก มทส. รวมไปถึงความสามารถในการ สงหนาจอของเครื่องผูสอนไปแสดงยังเครื่องลูกขายทั้งหมด ในหองเรียน งานวิจัยนี้เสร็จเรียบรอยแลวเปนโอเพนซอรส ผูสนใจสามารถดาวนโหลดไปใชงานไดฟรี

ABSTRACT This paper will present a work of SUTinsFEC: Suranaree University of Technology instant Flexible eLearning Class room research which is granted by Princess Sirindhorn's Innovation and Inventions Fund for year 2010. This product aims to change traditional e-Learning where installation and configuration would take many hours on an expensive real big Server class computer sitting on a low temperature room to installation on a normal Desktop class computer or even on a teacher notebook spending 10-20 minutes installation time and it will become a moveable eLearning class room when a learning content is added. This new server is also flexible where it can be used to provide client with many modes, i.e., Thin Client, Local App, Fat client, Auto web install and it comes with SUT Mobile Online Test System and has ability to send the server screen to display on all clients in the same rooms at the same time. The work is finished, open source, free and ready for download by anyone who is interested.

คําสําคัญ: อีเลิรนนิง, มทส., ระบบสอบออนไลนเคลื่อนที่ จาก มทส., อีเทสติง

Keywords: e-Learning, Suranaree University of Technology, SUT-MOTS: SUT Mobile Online Test System, e-Testing

1) บทนํา

บทคัดยอ

การศึ ก ษาของไทย ตั้ ง แต ร ะดั บ โรงเรี ย นไปจนถึ ง ระดั บ มหาวิทยาลัยมีการตื่นตัว ในการที่จะนําการเรียนการสอนให ไปอยูในรูปดิจิทัล (Digital) ทั้งนี้อาจเปนเพราะความคลองตัว กวาระบบเดิม พรอมคุณสมบัติพิเศษตางๆ มากขึ้น (Cole & Foster, 2008) เชน การเขาถึงบทเรียนไดทุกเวลา ทุกโอกาส และทุกสถานที่ เปนตน โดยอาจรวมไปถึงความทันสมัย ที่ ตองมีการนําเทคโนโลยีมาใชใหเหมาะสมตามกาลเวลา ที่ เปลี่ ย นไป และทุ ก คนเข า ใจกั น ดี ว า การนํ า อี เ ลิ ร น นิ ง มาใช ใ นการเรี ย นการสอนจํ า เป น ต อ งมี เ ครื่ อ ง

บทความนี้ จ ะกล า วถึ ง ผลงานวิ จั ย ห อ งเรี ย นอี เ ลิ ร น นิ ง คลองตัวพรอมใชจาก มทส. ซึ่งไดรับเงินสนับสนุนจาก กองทุ น นวั ต กรรมและสิ่ ง ประดิ ษ ฐ ส มเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีประจําป 2553 เปน ผลงานที่คาดหวังจะนําระบบอีเลิรนนิง จากที่ตองมีการติดตั้ง ระบบปฏิบัติการและโปรแกรมตางๆ พรอมดวยการคอนฟก ระบบ ดวยการใชเวลาหลายชั่วโมง ลงบนเครื่องเซิรฟเวอร เครื่องใหญราคาแพงเก็บอยูในหองทําความเย็น มาเปนการ

37


ป 2547 จนถึงปจจุบัน ทําใหมีองคความรูและผลงานใน รูปแบบตางๆ เชนระบบปฏิบัติการที่เปนเดสกท็อป ที่เปน เซิ รฟ เวอรแ ละที่เ ป น เซิร ฟ เวอร เ ฉพาะทางเชน ระบบสอบ ออนไลนเปนตน ไดพบวาสถาบันการศึกษาเกือบทั้งหมด กําลังขวนขวายที่จะนําระบบอีเลิรนนิงมาใช ซึ่งระบบการ เรี ย นการสอนแบบนี้ ไม ง า ยนั ก สํ า หรั บ คุ ณ ครู ใ นระดั บ โรงเรียน ทั้งๆ ที่กระทรวงศึกษาไดพยายามผลักดันอยางเติม ที่ก็ตาม ผูวิจัยคิดวาถาสามารถมีซอฟตแวรที่ใชเวลาติดตั้งไม นาน มี พ ร อ มใช ใ นลั ก ษณะอี เ ลิ ร น นิ ง สู ง โดยผู ใ ช ไ ม จําเปนตองมีความชํานาญเรื่องการบริหารจัดการ ติดตั้งและ คอนฟกระบบเซิรฟเวอรมากอน จะเปนผลดีตอวงการศึกษา อยางมาก ประกอบกับ ถาการติดตั้ ง สามารถกระทําไดบ น เครื่องใดๆ รวมทั้งบนเครื่องโนตบุคของคุณครูผูสอนก็จะยิ่ง มีความคลองตัวสูง และเพื่อใหเกิดประโยชนมากขึ้นไปอีก ระบบที่ไดไมนาเพียงแตจะสามารถใชทําอีเลิรนนิงเทานั้น ควรมีระบบสอบออนไลนเคลื่อนที่จาก มทส. เวอรชันลาสุด ติ ด ตั้ ง มาด ว ยสํ า หรั บ ใช ส อบออนไลน และยั ง ควรมี ความสามารถ ที่จะนําหนาจอของเครื่องเซิรฟเวอรไปแสดง บนเครื่องลูกขาย ในหองเดียวกัน เพื่อชวยการสอน

เซิรฟเวอรอยางนอยหนึ่งตัว สําหรับติดตั้งระบบปฏิบัติการที่ เปนเซิรฟเวอร แลวติดตั้งโปรแกรมทําอีเลิรนนิง ในประเทศ ไทยเราขณะนี้ สถาบั น การศึ ก ษาส ว นใหญ หั น มาใช โปรแกรมมูเดิ้ ล (Moodle.org, 2010) และใชร ะบบ ปฏิบัติการลินุกซ (Linux) ซึ่งเปนซอฟตแวรโอเพนซอรสที่ทุก คนใชไดฟรี และสามารถนํามาตอยอดเปนของตนได การติดตั้งและการคอนฟกระบบเซิรฟเวอรดังกลาวเปนเรื่อง ไมงายนัก (Vugt, 2009) ผูติดตั้งจําเปนตองผานการอบรม ฝ ก ฝน จนมี ค วามชํ า นาญ เพี ย งพอและสิ่ ง นี้ ไ ด ก ลายเป น อุปสรรคอยางใหญหลวง สําหรับคุณครูตามโรงเรียนทั่วไป จะดําเนินการติดตั้งและคอนฟกระบบตางๆ ดวยตนเอง ทั้งนี้ เพราะความรับผิดชอบตอการเรียนการสอนประจํามีมากอยู แลว ครั้นจะตองมาศึกษาหาความรูดานลินุกซเซิรฟเวอรอีกก็ เกิ น กว า แรง ประกอบกั บ ความเข า ใจว า การติ ด ตั้ ง ระบบ เซิรฟเวอรจํ าเป นตองติ ดตั้งลงบนเครื่อ ง ระดั บ เซิรฟเวอร (Server Class Computer) ที่มีการออกแบบเปนอยางดีสําหรับการ ทําเปนเครื่องเซิรฟเวอรโดยเฉพาะ ที่มีราคาแพง เทานั้น จึง ทําใหตองมีการใชเงินจํานวนมากซื้อเครื่องระดับเซิรฟเวอร มาใช ทําใหเกิดความไมคุมคาของการลงทุน เนื่องจากใน ชวงแรกยังไมมีขอบงชี้วาจะตองใชเครื่องที่ดี และเร็ว เพื่อ รองรั บ การใช ง านแต อ ย า งใด งานวิ จั ย เชิ ง ประยุ ก ต ชิ้ น นี้ จุดประสงคจะใหไดมาซึ่งซอฟตแวรที่สามารถติดตั้งไดงาย รวดเร็ว ลงบนเครื่องใดๆ แมกระทั่งเครื่องโนตบุคของครู แล ว ทํ า ให เ ครื่ อ งนั้ น กลายเป น เครื่ อ งเซิ ร ฟ เวอร (Gerner et al., 2006) สําหรับการเรียนการสอนในรูปแบบอีเลิรนนิง ดวยเพียงการเพิ่มเนื้อหาวิชาเขาไป ผูเรียนก็จะสามารถตอเขา มาเรียนดวยการใชเบราวเซอร คือมีความพรอมใชทันทีโดย ไม จํ า เป น ต อ งเรี ย นรู ก ารคอนฟ ก ระบบมาก อ น เป น อี ก หนทางหนึ่งที่จะกระจายระบบอีเลิรนนิงจากเครื่องเซิรฟเวอร ใหญ มาไวในเครื่องของผูสอนเพื่อเพิ่มความคลองตัว

ยิ่งกวานั้นเพื่อความคลองตัวและความสามารถที่หลากหลาย ขึ้น ผู ใช ค วรสามารถเลื อ กบริห ารจัด การเครื่ อ งลูก ขา ยใน หองเรียนไดความตองการ ตามความเหมาะสม และความเร็ว ของระบบฮารดแวรที่ใชอยู โดยสามารถกําหนดรูปแบบของ เครื่องลูกขายไดหลากหลาย เชน Thin Client (Richards, 2007), Local App, Fat Client รวมไปถึงการติดตั้ง ระบบปฏิ บั ติก ารที่ เ ครื่อ งลู ก ข า ยอั ต โนมั ติ ดว ยโหมด Auto Web Install เปนตน ดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงเขียนโครงการขอการ สนั บ สนุ น จากกองทุ น นวั ต กรรมและสิ่ ง ประดิ ษ ฐ ส มเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีประจําป 2553 ดวยการพัฒนาตอยอดซอฟตแวรทั้งหมดที่เปนโอเพนซอรส คือ Puppy Linux และ Ubuntu Server Linux ทุกคนสามารถใชได ฟรีและสามารถนําไปพัฒนาตอยอดเปนของตนไดดวย

2) ที่มาของหองเรียนอีเลิรนนิงคลองตัวพรอมใชจาก มทส. ผู วิ จั ย ในฐานะหั ว หน า หน ว ยวิ จั ย และพั ฒ นาโอเพนซอร ส มทส. ไดทําการวิจัยและพัฒนาทางดานโอเพนซอรสมาตั้งแต

38


รูปที่ 3: รูปแสดงหนาตางโปรแกรมสอบออนไลน รูปที่ 1: รูปแสดงหนาจอล็อกอินเขาระบบ

3) ความสามารถพื้นฐาน 4) ความสามารถพิเศษอื่นๆ เนื่องจากเปนระบบที่โตมาก (อานเพิ่มเติมเรื่องความสามารถ พิเศษอื่นๆ) ผลงานที่ไดจําเปนตองบรรจุลงบนแผนดีวีดีถึง สองแผน เปนระบบที่หลังทําการติดตั้งดวยเวลาอันรวดเร็ว (10 ถึง 20 นาที) แลวเมื่อบูตขึ้นมา เว็บเซิรฟเวอร ดาตาเบส มายเอสคิวแอล (MySQL) และโปรแกรมมูเดิ้ลจะเริ่มทํางาน ทันที เพียงนําเนื้อหาวิชาที่จะสอนเพิ่มเขาสูโปรแกรมมูเดิ้ล และทําการกําหนดคาโปรแกรมมูเดิ้ลอีกเพียงเล็กนอย ผูเรียน ก็ จ ะสามารถใช เ บร า วเซอร ต อ เข า มาเรี ย นได ทั น ที บาง โรงเรี ย นอาจนํ า ระบบไปติ ด ตั้ ง ไว บ นเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร ธรรมดา ที่มีราคา 2-3 หมื่นบาท ตั้งไวในหองเรียนเพื่อใชเปน เครื่องเซิรฟเวอรสําหรับอีเลิรนนิงก็ได และเพื่อความสมบูรณ เมื่อมีอีเลิรนนิงแลว ก็ควรมีอีเทสติง (e-Testing) ดวย ผูวิจัยจึง ไดนําระบบสอบออนไลนเคลื่อนที่จาก มทส. เวอรชันลาสุด คือ 5306 มาบรรจุไวใหพรอมใชดวย จึงถือไดวาผลงานนี้เปน ระบบที่มีทั้งระบบ อีเลิรนนิงและอีเทสติงพรอมใชอยูในที่ เดียวกันไดอยางลงตัว

นอกจากความสามารถหลักในการใชทําอีเลิรนิงและอีเทสติง แลว ระบบนี้ยังมาพรอมกับความสามารถอื่นๆ อีกหลาย อยาง เพียงผูใช ทําการกําหนดโหมดการใชงานที่เครื่อง เซิรฟเวอรใหเหมาะสม แลวบูตเครื่องลูกขายอื่นๆ ผานแลน 1. สามารถสงหนาจอของเครื่องเซิรฟเวอร (ผูสอน) ไปยังเครื่องลูกขาย (ผูเรียน) อื่นๆ ในหองเรียนได 2. สามารถสงระบบปฏิบัติการเล็กๆ ไปรันใน หนวยความจําที่เครื่องลูกขายทั้งหองได 3. สามารถสงระบบปฏิบัติการเล็กๆ ที่มี OpenOffice ที่มีความสามารถคลายโปรแกรม MS Office และโปรแกรม ตกแตงภาพ Gimp ที่มีความสามารถคลาย Photoshop ไปรัน ในหนวยความจําที่เครื่องลูกขายทั้งหองได 4. สามารถกําหนดใหมีการติดตั้งระบบปฏิบัติการ ลินุกซที่เครื่องลูกขาย ทั้งหอง อัตโนมัติพรอมกันได 5. สามารถใชโหมด Thin Client (Arauzo-Azofra, 2010) ที่จะทําใหเครื่องลูกขายใชทรัพยากรนอย งานทั้งหมด มารันที่เครื่องเซิรฟเวอร 6. สามารถใชโหมด Local App (Suares, 2010) ที่จะ ทําใหเครื่องลูกขายใชทรัพยากรปานกลาง บางโปรแกรมจะ รันที่เครื่องลูกขายและโปรแกรมอื่นๆ จะรันที่เครื่อง เซิรฟเวอร 7. สามารถใชโหมด FAT Client (Georgopoulos, 2010) ที่ระบบปฏิบัติการ SUTinsDesktop 5306 บนเครื่อง เซิรฟเวอร จะถูกสงไปรันที่เครื่องลูกขายพรอมๆ กันทั้งหอง

รูปที่ 2: รูปแสดงหนาตางโปรแกรมมูเดิ้ล

39


ความสามารถพิเศษเหลานี้ จะทํางานไดดี เมื่อมีสิ่งประกอบ ดังนี้คือ ประการแรก ในหองเรียนควรใชอุปกรณเน็ตเวิรก เปน Gigabit Switch ซึ่งในปจจุบันราคาถูกลงมาก ยกตัวอยางเชนที่เปนแบบ Unmanaged ขนาด 24 พอรท (Port) สามารถซื้อหาไดในราคาประมาณ 6,000 บาท ประการที่สองคือ ความเร็วของซีพียูและขนาดหนวยความจํา ของเครื่องเซิรฟเวอร ซึ่งสิ่งนี้จะมีผลมากสําหรับการเลือกใช ความสามารถพิเศษในขอ 5 และ 6 แตทั้งนี้ก็ขึ้นอยูกับ จํ า นวนของเครื่ อ งลู ก ข า ยด ว ย อย า งไรก็ ต าม เท า ที่ เ คย ทดสอบมา เครื่องโนตบุคที่มีหนวยความจํา 2 GB สามารถ รองรับการสงหน าจอไปแสดงยังเครื่ องลูกขายจํานวน 50 เครื่องในหองเดียวกัน ดวยความเร็วในการแสดงผลเปนที่นา พอใจเมื่อเลือกใช ความสามารถพิเศษในขอ 1

รูปที่ 5: รูปแสดงเมนูเรียกใชโหมดตางๆ สําหรับการจัดการ กับเครื่องลูกขายในหองเรียน

5) การติดตัง้ ที่งายและรวดเร็ว ระบบที่ จ ะใช ติ ด ตั้ ง สามารถบรรจุ อ ยู บ นแผ น ดี วี ดี ห รื อ Thumb Drive เมื่อบูตคอมพิวเตอรผานทางอุปกรณนั้นแลว จะเขาสูตัวติดตั้ง ซึ่งมีเมนูในรูปแบบหนาเว็บเปนสองภาษา เลื อ กได ว า จะเป น ภาษาไทยหรื อ ภาษาอั ง กฤษ ระบบ ปฏิ บั ติ ก ารที่ ใ ช ทํ า เซิ ร ฟ เวอร ไ ด จ ากการพั ฒ นาต อ ยอด Ubuntu Server 10.04 ที่มีการอัพเดทลาสุด สวนโปรแกรมตัว ติดตั้งระบบนั้นไดพัฒนาตอยอด Puppy Linux 4.31 โดยผูใช สามารถเลือกรูปแบบของการติดตั้งไดสองรูปแบบคือการ ติดตั้งแบบไดเร็กทอรี่และแบบเต็มไดรว ดังรูปที่ 6

ความสามารถพิเศษเหลานี้ เมื่อมีรวมอยูกับระบบจะทําให ตองการเนื้อที่ในการติดตั้งบนฮารดดิสกมากขึ้น แตก็จะไม สงผลกระทบ ตอประสิทธิภาพการทํางานของอีเลิรนนิงแต ประการใด ยกเวนวาจะใชงานหลายความสามารถพรอมกัน เชน ใชทําเปนเซิรฟเวอรสําหรับอีเลิรนนิง ในขณะที่ กําหนดใหเครื่องลูกขายทํางานในโหมด Thin Client เปนตน

รูปที่ 4: รูปแสดงการสงหนาจอจากเครื่องเซิรฟเวอร(เปน เครื่องโนตบุคที่มีหนวยความจํา 2 GB)ไปยังเครื่องลูกขาย พรอมกันทั้งหองจํานวน 50 เครื่อง

รูปที่ 6: รูปแสดงการใหเลือกรูปแบบการติดตั้ง การติดตั้งทั้งสองรูปแบบมีรายละเอียดดังนี้ 1. การติดตั้งแบบไดเร็กทอรี่ เปนการติดตั้งที่เหมาะ ตอการฝกอบรมและทดลองใชงาน การติดตั้งแบบนี้ ผูใชไม จําเปนตอง เตรียมฮารดดิสกเปนพิเศษ เพียงจัดใหมีไดรว

40


หลากหลายและสมบูรณเที่สุดผลงานหนึ่ง

หนึ่งที่มีเนื้อที่วางประมาณ 15 GB ก็สามารถติดตั้งได เมื่อ เลือกการติดตั้งแบบนี้ จะมีการสรางไดเร็กทอรี่ dsutubtx ใน ไดรวปลายทางที่ถูกเลือก แลวนําระบบบรรจุไวในนั้น โดย ไดรวปลายทางอาจเปน NTFS, ext3 หรือ ext4 และการ ติดตั้งดวยวิธีนี้จะไมมีการเปลี่ยนแปลงขอมูลเดิมที่มีอยูใน ไดรวนั้น 2. การติดตั้งแบบเต็มไดรว เหมาะตอการการติดตั้ง สําหรับการใชงานจริง เมื่อตองการความเร็วสูงสุดของระบบ เช น ต อ งการใช โ หมดส ง หน า จอของเครื่ อ งผู ส อนไปยั ง เครื่องผูเรียนหรือการสงระบบปฏิบัติการไปรันที่เครื่องลูก ขายในโหมดตางๆ เปนตน การติดตั้งแบบนี้ ผูใชจําเปนตอง เตรียมฮารดดิสกเปนพิเศษ โดยจัดเตรียมทําใหมีไดรวหนึ่งที่ วางและมีเนื้อที่ประมาณ 15 GB นําขอมูลที่สําคัญหรือขอมูล ที่ ตอ งการออกไปเก็บ ไว ที่อื่น ใหห มด เมื่อ เลื อ กการติดตั้ ง แบบนี้ ไ ดรว ป ลายทางที่ ถู ก เลื อ กจะถู ก ฟอร แ มตเป น ext4 ขอมูลที่อยูภายในนั้นจะหายไปหมด แลวระบบจะถูกนําไป บรรจุไวแทน ซึ่งไมวาจะติดตั้งแบบไหน การติดตั้งยังคงเร็ว กวาการติดตั้งระบบปฏิบัติการอื่น ซึ่งอาจใชเวลาไมถึง 10 นาทีหรืออาจไมเกิน 20 นาที ทั้งนี้ ขึ้นกับอุปกรณที่บรรจุตัว ติดตั้งและความเร็วของฮารดดิสกที่จะตองทําการฟอรแมตใน ระหวางการติดตั้ง

7) เอกสารอางอิง Arauzo-Azofra, A. (2010). ThinClientHowto. [ออนไลน] https://help.ubuntu.com/community/ThinClientHowto Cole, J. & Foster, H. (2008). Using Moodle, Second Edition. O’Reilly Media, Inc., 1005 Gravenstein Highway North, Sebastopol, CA 95472 Georgopoulos, A. (2010). LTSPFatClients. [ออนไลน] https://help.ubuntu.com/community/UbuntuLTSP/LTSP FatClients. Gerner, J. [et al.]. (2006). Professional LAMP: Linux, Apache, MySQL and PHP5 Web Development. Wiley Publishing, Inc.10475 Crosspoint Boulevard, Indianapolis, IN 46256 Moodle.org. (2010). [ออนไลน] http://www.moodle.org/ (2010, July 23). Richards, D. (2007). Linux Thin Client Networks Design and Deployment. Packt Publishing Ltd.32 Lincoln Road,Olton, Birmingham, B27 6PA, UK Suares, A. (2010). Ltsp-Local-Apps. [ออนไลน] https://wiki.ubuntu.com/Ltsp-Local-Apps Vugt, S. (2009). Pro Ubuntu Server Administration. Apress. 2855 Telegraph Avenue, Suite 600,Berkeley, CA 94705.

6) บทสรุป ผลงานชิ้นนี้ ไดถูก ออกแบบเพื่อการติดตั้งและใชงานงาย ผูใชไมจําเปนตองมีความรูเรื่องโอเพนซอรสอยางดีมากอน ก็ สามารถใช ง านได สามารถติ ด ตั้ ง ใช ง านบนเครื่ อ ง คอมพิวเตอรแบบเดสกท็อปทั่วไป หรือจะติดตั้งบนเครื่อง โนตบุคของครูก็สะดวกคลองตัว มาพรอมกับความสามารถ ในการทําอีเลิรนนิงและอีเทสติง เหมาะตอการใชสําหรับชวย การสอนในหองเรียนดวยการใชโหมดสงหนาจอผูสอน ไป ยั ง เครื่ อ งอื่ น ๆ ในห อ ง และเมื่ อ เกิ ด ความเหมาะสมของ ฮารดแวรที่มีอยู ก็สามารถใชโหมดตางๆ จัดการกับเครื่องลูก ขายไดอยางหลากหลาย เชน Thin Client, Local APP และ Fat Client เปนตน นอกจากนี้ยังสามารถกําหนดการติดตั้งลิ นุกซไปที่เครื่องทุกเครื่องในหองพรอมกันอัตโนมัติอีกดวย จึ ง นั บ ว า ผลงานชิ้ น นี้ เป น ผลงานที่ มี ค วามสามารถ

8) กิตติกรรมประกาศ คณะผู วิ จั ย ขอขอบคุ ณ กองทุ น นวั ต กรรมและสิ่ ง ประดิ ษ ฐ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ไดให การสนับสนุนการวิจัยในครั้งนี้

41



Computer and the Cloud- Can e-Learning Continue Expanding Higher Education? Kuldeep Nagi1 and Prof. Dr. Srisakdi Charmonman2 1

College of Internet Distance Education, Assumption University (knagi@au.edu) 2 College of Internet Distance Education, Assumption University (charm@ksc.au.edu) 1) INTRODUCTION- THE COMPUTER AND THE EXPANDING CLOUD

ABSTRACT Frantic growth in Internet technologies and increasing interconnectedness of colleges and universities is expanding the globalization of higher education. This ever-increasing ability to access the Internet or the cloud from portable and mobile devices is also resulting in the expansion of eLearning, an evolution that is changing the scope and reach of universities unprecedented in the history of higher education. Growing demand for technology enabled quality education is creating increasing pressure for changing the age old assumptions and characteristics of existing traditionally organized universities

Globalization of higher education is the result of increased interconnectedness enabled by Internet technologies. Thanks to the Internet, students all over the world can now find best places to have their education as well as jobs. This ever-increasing ability to connect to the Internet or the cloud is also resulting in the expansion of eLearning, which in turn is making higher education more competitive. However, many universities in ASEAN still believe in the traditional purpose of a university education, namely job training. Students, as well as parents, look to a university simply as a place to help them gain professional and material advancement. Because of their historical evolution and government control, most ASEAN university programs have been narrowly vocational, training students for specific professions. Once in the university, students are only interested in graduating as soon as possible, and are prepared to accept the status quo of the existing hierarchical system. As a consequence majority of students are liable to be more materialistic and selfish because of the privileged environment in the university. This historical vocational focus has resulted in a very slow integration of Internet technologies in higher education, and liberal or general education. Therefore, most, if not all, many ASEAN universities are slow to expand eLearning.

Greater outsourcing of learning from face-toface (F2F) classroom teaching to the Internet or the cloud is a natural consequence of globalization. New models of delivery driven by the Internet offer the prospect of rapidly changing where, when, how and for what purpose higher education is organized within ASEAN universities. This paper examines the increasing prospects of eLearning in higher education including eReadiness of universities in ASEAN for ubiquitous learning by using portable and mobile devices and current trends in virtualization of learning and its effects on quality of higher education in ASEAN. Keywords: ASEAN, Cloud Computing, eLearning, eReadiness, Face-to-Face (F2F) learning, Globalization, Google, Higher Education, Internet

43


There are lots of additional costs related with on-campus Face-to-Face (F2F) teaching and learning. In addition to tuition costs, there are expenses related to commuting by cars and other means of transportation, parking fees plus other miscellaneous expenses such as stationery, food and drinks. A visit to the campus to attend can add a hefty amount to a student expanse. eLearning can mitigate some of these additional and unnecessary expenses. eLearning has made tremendous strides in Western societies. With an open system and high quality on-line curriculum any student irrespective of their financial capabilities can acquire higher education. In this sense, eLearning has also become a great equalizer. There are few other important differences between F2F learning and eLearning. They are briefly discussed in the next section.

iii. Blended/Hybrid- Proportion of content delivered on-line- 30%-79% A course that blends online and F2F delivery. In a blended course substantial proportion of the content is delivered online, typically uses online discussions and has a reduced number of F2F meetings. iv. Online- Proportion of content delivered on-line- 80 + % An eLearning course where most or all of the content is delivered online. Typically it does not have face-to-face (F2F) meetings. 1.2) Relevance of eLearning in Higher Education The relevance of eLearning in higher education cannot be doubted or debated anymore. Today the students learn continuously from their environment and day-to-day living in a digital world. The mobile phones, televisions, computers, multimedia appliances in some way or the other touch their lives on a daily basis.

1.1) Traditional teaching vs. eLearning In recent years lots of progress has been achieved in on-line education. Many eLearning programs are now setup for a Virtual Learning Environments (VLEs). Based on the current trends higher education can be divided in four major categories of teaching and learning. This classification is based on the Sloan Consortium papers and is briefly described below. While there is a great deal of diversity among course delivery methods used by individual instructors, the four categories illustrate the prototypical classification used for higher education. i. Traditional- Proportion of content delivered on-line- 0% A course with no online technology usedcontent is delivered in writing or orally. ii. Web Facilitated- Proportion of content delivered on-line- 1%-29% A course that uses web-based technology to facilitate what is essentially a F2F course. It may use a Course Management System (CMS) or web pages to post the syllabus and assignments.

Steven D. Levitt and Stephen J. Dubner (2005) in their best selling book Freaknomics emphasize the importance of information in this digital era. According to these authors “Information is beacon, a cudgel, an olive branch, a deterrent- all depends on who wields it and how. Information is so powerful that the assumption of information, even if the information actually does not exit, can have a sobering effect.� The Internet has proven particularly fruitful in situation F2F encounters in which an expert might actually exacerbate the problem of asymmetrical information- situations in which an expert uses his/her information to make others feel lesser. For centuries this has been at the core of F2F learning in a university environment. eLearning has tremendous capability to remove such a asymmetry that has been a part of traditional F2F instruction. eLearning can bring information and data in various formats and can be easily interpreted with click of a mouse.

44


computer sciences classes at Ohio University and the University of Washington, Seattle, USA. Students who participated in this research indicated that their gaming experiences in Second Life (SL) improved not only the fundamentals of software specification activities but also principles of software development. The majority of research and case studies prove that using a VLE increases student’s motivation since the activities are comparable and close to real world and require more effective interaction during studying.

eLearning, if instructionally designed by an expert team, can support learning objectives and outcomes in a more scientific manner than the F2F teaching. What is essential and important to understand is that eLearning is not just complimentary or a stand alone solution. eLearning addresses different learning styles and provides an opportunity for immediate assessment. eLearning if properly used in teaching-learning process can enable students to develop high order thinking skills and prepare them for lifelong learning.

Interestingly, moving from Information Age to the Age of Interaction in a VLE is not a global phenomenon. There are pockets of excellence and innovation in the usage of 3-D VLEs and they mostly exist in the Western countries which created these technologies. The rest of the world is still struggling to enter the Information Age, especially the academia and higher education in particular.

2) LEARNING IN A VIRTUAL CLASSSROOM- TECHNOLOGIES AND TRENDS Basically, a Virtual Learning Environment (VLE) is an integration of more flexible, comprehensive and dynamic (2-D/3-D) communication technology used for education purposes. It is also referred as a software system designed to support teaching and learning through the Internet. A good example of a successful multi-user VLE is Second life (SL), an open-source online virtual world introduced in 2003. The opportunities created by Second Life (SL) are expanding in every field, especially education where its usage with another open-source course management application, Moodle, has created what is called as “Sloodle,” a powerful learning system for virtual environments. Sloodle provides a range of teaching and learning tools in the immersive virtual world. For example, the Dubai-Korea Virtual Cultural Exchange Project used Sloodle as a Learning Management System (LMS) and Second Life virtual space for all the related learning activities. Three dimensional VLEs using Second Life have also been successfully used for innovative collaboration and communication, both inside and outside of the classroom to help facilitate teamwork and interactions among student team members in software engineering and

2.1) Expanding Quality

Communication

and

In an ideal situation, whenever VLEs are developed it should involve content experts and other stakeholders in higher education. It should serve the objectives of meeting student needs and cater to their individual differences.

Figure-1 A typical VLE scenario

45


performing well in exams. It also contains the list of top universities, colleges, secondary education boards as well as career options. While the educational portal is an IVR based service, it also offers SMS alerts on subscription for exam preparation, performance and tips for de-stressing to enhance performance during exams. The service is made available to both prepaid and post paid subscribers. With adoption of 3G/4G services in Thailand in 2010-11 the services for mobile learning may also expand drastically.

A typical lecture video (Figure-1) is a common component of a eLearning courseware. If properly designed, eLearning can help in overcoming language barriers by providing multi-lingual access, it can also help in inculcating organization and monitor the workflow, it can possibly provide for data management and data security along with institutional control, it can also help overcome the barriers of demography and access, provide quality with equity. A well crafted eLearning course can encourage learning beyond the traditional talk-and-chalk method which have stagnated the higher education in many ASEAN universities.

2.2) Cloud Computing The concept of cloud computing is based on a new paradigm in which of data and applications reside in the network, not in the devices owned by a users. There are three key drivers of change shaping the new landscape of higher education. These new drivers have lead to the creation of what experts call as “cloud computing.” A brief discussion of the three major developments is given below. i. Production of new content- In recent years there has been a tremendous shift in the ways new knowledge is produced. Democratized tools of production have given birth to millions of personal blogs and web sites. It has also enabled global collaboration to create new content on Internet sites such as Wikis and social networking services like Facebook, MySpace, Twitter, U-Tube and Second Life. Recent expose of secret documents by WikiLeaks is a perfect example of the power of Internet in the ways new knowledge is created and distributed. ii. Access to new content- Anyone with a connection to the Internet can now access vast reservoir of knowledge residing in the cloud.

At the same time “learning for anyone, at any time and at any place” also imposes a new technogical framework required by the universities. As mentioned earlier, mLearning with mobile devices is now recognized as a subset of eLearning and provides another flexible delivery option for students enrolled in the universities. There are radical changes being brought in the use of mobile devices in higher education in USA. The Penn State University in USA recently adopted a web based system called e2Campus for creating a revolutionary new wireless campus news service to be offered to students, faculty and staff. Penn State Live now sends instant SMS text messages of news and emergency information to subscribers’ mobile devices using the e2Campus web-based communication system. Similar developments are happening in Asia also. For example, the future direction of mobile learning in Taiwan includes academicindustry cooperation, enhanced value added services through useful mobile learning programs by integrating mobile networks and expanding mLearning communities. Reliance Communications based in India has launched an exclusive educational portal on Reliance mobile phones, that offers a bouquet of useful information on exam results, college admissions, and event calendar of exams, admission deadlines, mock tests and tips for

46


Internet Users in Asia Asia vs. Rest of the World

42.40% 57.60%

Asia

Rest of the World

Figure 3 Cloud Computing

Figure-2 Internet Users in 2009 (Source: WorldStat.com) With increasing ubiquitous 3G and 4G and other broadband capabilities the ease of access has led to a dramatic increase in the number of users in Asia. There is also an exponential growth in broadband penetration world-wide. Figure-2 given above depicts the dramatic rise in the population of Internet users in Asia in 2010. It now amounts to about 42.40% of the global share. iii. New mode of storage of content Increasing use of portable storage devices such as flash USB sticks and mobile phones is changing the ways we store and retrieve information. The falling cost of storage is shifting the mode of storage from individually owned devices to the network or the cloud.

Various web enabled technologies are now moving from the periphery to the center of student’s lives. One of the most influential trends is lead by Google. Google is not about search. This Internet based service is integrating commerce, communication, advertising, publishing, entertainment and education in one space. Incorporating Google into the learning ecology of higher education is happening in a big way in the universities in the USA and Europe. According to Wang and Lim (2008) the transformation of technology also have other risky affects on traditional library online public access catalog (OPAC) since network-level search engines becoming relevant as more and more users rely on Google and Google Scholar. Figure-4 depicts a list of Google applications that are available for integration with today’s eLearning systems. A similar service has recently been introduced by Microsoft MSN.Live services.

Much of the newly created knowledge (Figure-3) is now residing in the Internet infrastructure. In addition to Google applications and Window Live services other repositories such as Facebook, You Tube and Second Life allow user to create and store huge amounts of content in the cloud without any cost.

47

Figure-4 Google Applications


3) eREADINESS- AN ESSENTIAL FOR EXPANDING eLEARNING

2.3) Apple- iTunes-U, iPhones and iPads From fancy portable computers and mobile devices to software and services such as iTunes-U, Apple makes all the technology for mobile learning a reality for the university students all over the world.

Internet statistics are a fascinating tool for studying and understanding the dynamics of globalization in the seven continents that divide the world. According to Worldstat.com as of June 2010, more than a quarter of the population of the world, 26.6% to be exact is already connected to the Internet. In Asia China leads other nations in terms of total internet users. As Information and Communications Technologies (ICT) advance and reach all corners of the world the Internet user estimates are increasing everywhere. Technology diffusion and speed is also improving for each region and influencing the ways in which the students learn. Penetration Rate (% of the population that uses Internet Technologies) has grown steadily in the last fifteen years in all parts of the world.

Figure-5 iTune-U As shown in Figure-5 iTunes-U brings the power of the iTunes Store to education, making it simple to distribute information to university students and faculty as well as to lifelong learners all over the world. With an iTunes-U site, a university can have single home for all the digital content created or curated by educators, which can then be easily downloaded and viewed on any Mac, PC, Laptop, iPod, iPhone and iPad.

Thailand Malaysia Pakistan Veitnam Philippine Indonesia S. Korea India Japan China 0

Apple’s iTunes-U is home to more than 300,000 free lectures, videos, readings, and podcasts from universities all over the world. Universities such as Yale, Stanford, UC Berkeley, Oxford, Cambridge, and MIT, as well as broadcasters such as Public Broadcasting Corporation (PBS) offer free content on iTunes-U. Content ranges from lectures and presentations to syllabi and campus maps. Unfortunately, iTune-U is still not available in every member nation of ASEAN which brings us to issue of eReadiness of universities in ASEAN.

50

100

150

200

250

300

350

400

450

Figure-6 Internet Asia- Top 10 Countries (Source: WorldStat.com) As shown in Figure-7 more and more people are now connected to the Internet which increases the opportunities for expansion of eLearning as an alternative for higher education.

48


In another report published by World Economic Forum (WEF) the Global Competitiveness Report 2009-2010 Country Profile Highlights indicates that Thailand’s overall technological readiness (63rd) is slightly lagging behind. Although mobile telephony penetration is among the densest in the world at 124 mobile subscriptions per 100 population, the use of the Internet (21 users per 100) and computers (6 per 100) remains scarce. Besides technology, there are other important cultural and language issues factors that hamper the expansion of eLearning in ASEAN.

Rest of World

World Average

Asia

0.00% 5.00% 10.00% 15.00% 20.00% 25.00% 30.00% 35.00% 40.00%

Figure-7 Internet Penetration in Asia -Year 2009 End- (Source: WorldStat.com)

At the same time, the IMD scoreboard shown in Table-2 below indicates that there are many differences in terms of deployment of various technologies in Asia and ASEAN. The IMD World Competitiveness Scoreboard presents the 2010 overall rankings for the 58 economies covered by the World Competitiveness Center (WCY). The IMD WCY has been a pioneer in the field of competitiveness of nations and enterprises since 1989. It is dedicated to the advancement of knowledge on world competitiveness by gathering the latest and most relevant data on the subject and by analyzing the policy consequences.

4) INTERNATIONALIZATION OF HIGHER EDUCATION AND LANGUAGE ISSSUES With technology becoming a great equalizer, the major differences in language and culture remain critical factors in making eLearning a real borderless solution. If there is anything that may hamper the future growth and expansion of eLearning in ASEAN it will mainly be due to the language and the local and regional differences in their educational standards and practices. The de-facto language of the Internet is English. Figure-8 shown below depicts the top 10 languages of the Internet.

A partial list of ASEAN is shown in Table-2 given below. The economies are ranked from the most to the least competitive and the results from the previous year’s scoreboard (2009) are shown in brackets. Table-2 World (ASEAN) Competitiveness Scoreboard-2010 Score 2009 Country 2010 100.00 (3) SINGAPORE 1 87.228 (18) MALAYSIA 10 73.233 (26) THAILAND 26 60.745 (42) INDONESIA 35 56.526 (43) PHILIPPINES 39

Top 10 Languages in the Internet All the Rest Korean Russian French Arabic German Portugese Japanese Spanish Chinese

The Scores shown to the left are actually indices (0 to 100) generated for the unique purpose of constructing charts and graphics. The most spectacular movements are seen for Indonesia, rising from 51st in 2008 place to 35th.

English $0

$100

$200

$300

$400

$500

$600

Millions of Users

Figure-8 Top 10 Languages in the Internet Source 2009: Worldstat.com

49


Chou, S and Liu, S. (2005). Learning Effectiveness in Web-based Technology-mediated Virtual Learning Environment. Proceedings of the 38th Hawaii International Conference on System Sciences, Hawaii, USA Vol. 171-4, 54-60 Lam, M. Khalifa and R. (2002). Web-based learning: Effects on learning process and outcome, Vol. 45: IEEE, Transactions on Education, 350-356 Sener, J. (2003) Improving Access to Online Learning: Current Issues, Practices, and Directions. In: Bourne, J., and Moore, J. (Eds.), Elements of Quality Online Education: Practice and Direction. Sloan-C, Needham, MA, USA Steven D. Levitt, Stephen J. (2005) Freakonomics: A rogue economist explores the hidden side of everything, William Morrow, NY, USA Wang, J, & Lim, A (2008). Local Touch and Global Reach.-The Next generation of Information Discovery & Delivery Services in a Digital landscape. Library Management, Vol. 30, 25-34.

For eLearning to expand the standardization of curriculum, courseware and language of instruction is very critical. The future of ASEAN lies on creating a new framework to deal with these critical issues. Language of instruction in an eLearning program is a key factor in expanding higher education beyond the borders of a nation. The number of overseas student in university is an indicator of quality of its programs. The increasing number of international students is a guarantee to some extent that that the hosting institution provide a quality education and gain international recognition in the market of borderless education. 5) CONCLUSION Internationalization of higher education is one of the ways a country responds to the impact of globalization. To be prepared for the changing pattern of international student recruitment and diversification of deliver modes such as eLearning is not only critical but also essential to participating in the expanding market of higher education. Benchmarking eLearning programs with leading universities is one way to improve the quality of curriculum and courses. Other steps include creating quality programs and courseware that takes full advantage of the expanding Internet technologies and broadband capabilities. REFRENCES Allen. E. J. Seaman, (2005). Growing by degrees: Online education in the United States, Sloan Consortium, www.sloan.com Biggs, J. (1999). Teaching for quality learning at university, Society for Research into Higher Education and Open University Press, Buckingham Charmonman S. (2005) University-level eLearning in ASEAN. Special issue if IJCIM , Volume 13, No. SP1. 11.11.6

50


Integrate Web Accessibility Enhance Quality of e-Learning Poonsri Vate-U-Lan College of Internet Distance Education, Assumption University (poonsri.vate@gmail.com) facilities or political and security difficulties in the three provinces of the southern part of Thailand. Thus, the Integration of web accessibility in electronic learning material will surely offer a better opportunity not only for normal students but also for students with special needs in Thailand.

ABSTRACT The potential of e-Learning relies on many factors such as the readiness of Internet connectivity and accessibility of on-line content. E-Learning opportunities need to be extended for all, thus it seems necessary that the web administrator, instructional designer and e-Learning producer should learn, develop and disseminate web accessibility design rules for all electronic learning material. This paper will present the current opportunities that students with disabilities have in accessing e-Learning in a selected developing country, namely Thailand, where assistive technology is still limited. The study has collected information which described different projects implemented to support students with disabilities: list of existing resources for university students with disabilities, the policies and plans of both the government and private sectors in Thailand for supporting students with disabilities. It also includes a report on the responses of web administrators who have created e-Learning opportunities in secondary schools and universities in Thailand for these students. In theory web accessibility needs to be introduced and improved, especially regarding e-Learning; however in practice, there is no research studying web accessibility for disabled students and actual planning and practice available in Thailand. The Thai Government is promoting many projects to encourage people to access the Internet which means including people with disabilities. It is very obvious that assistive technology is in high demand in Thailand; the reasons for this are that computer technology and the Internet will play an important role for improving and enhancing quality of education for students with disabilities in developing countries like Thailand. Distance education can reduce barriers for people who live in rural area and have less opportunity to access knowledge in the traditional mode because of limited

Keywords e-Learning, e-Learning production, Instructional Designer, Learning Management System (LMS), Moodle, students with disabilities, students with special need, Internet-based survey, Thailand, web accessibility 1) INTRODUCTION “Do the job right the first time.” is an ideal to defect prevention and upgrade the quality of product (Crosby & Weiss, 2010). Higher education institutions where e-Learning already adopted into the system were very much concerned about quality of e-Learning. Integrate web accessibility to e-Learning definitely added value of education. The terms of ‘quality through e-Learning’ referred to potential of e-Learning which was able to increase educational opportunities for all (Ehlers, Goertz, Hildebrandt, & Pawlowski, 2005). Accessibility of e-Learning contents or in the other words, on-line course material was an important aspect of e-Learning quality (the Swedish National Agency for Higher Education, 2008). The reason for this was the concept of web accessibility itself that emphasized on the equal right of people to access to all available on-line information. The web accessibility procedure focused about how to create, design and develop web sites that usable by all people, which included people with disabilities. Therefore, it seems necessary that the web administrator, instructional designer and e-Learning producer should learn, develop and

51


conditions and the environment in the multidimensional concept. It includes impairment of mind or body structure/functions which cause limitation in activities, a restriction in participation such as involvement in life situations such as work, social interaction and education, and the affected person’s physical and social environment.

disseminate web accessibility design rules for all electronic learning materials. In theory web accessibility needs to be introduced and improved, especially regarding e-Learning; however in practice, there was no research studying web accessibility for disabled students and actual planning and practice available in Thailand. The Thai Government is promoting e-Learning projects to offer variety options to educate people through the Internet which means including students with disabilities. The number of Thai Internet users who were seeking e-Learning courses was increasing dramatically. Thailand Cyber University, is an organization who response to provide on-line education for higher education in Thailand, have more than 44,318 members applied to participate in on-line courses in July 2008. Two years later, in July 2010, the numbers of members has been increased 64.5 per cent per year approximately, as recorded that there were 101,574 members applied (Thailand Cyber University, 2008, 2010). Interestingly, there was none of a study to record about how many Thai people with disabilities access to e-Learning and what kind disabilities. Thus, the Integration of web accessibility in electronic learning material will surely offer a better opportunity not only for normal students but also for students with special needs in Thailand.

Web accessibility has been introduced to be a standard across nations (Thompson, Burgstahler, Moore, Gunderson, & Hoyt, 2007), thus it was necessary to implicate to be a standard of e-Learning. The statistic indicated less than 15 per cent of people were born with their disability, later in life there are hundreds of different kinds of disabilities (Weir, 2010). The numbers of people with learning disabilities were increasing by many reasons. The form of learning disability can be derived from characters of students which categorized into 3Ds groups (Robson, 2007): “A/Disabilities” refers to disabilities or impairments viewed in medical terms as organic disorders of students attributable to organic pathologies, “B/Difficulties” refers to behavioral or emotional disorders, or specific difficulties of students in learning and “C/Disadvantages” refers to disadvantages arising primarily from socio-economic, cultural, and/or linguistic factors of students. Situation of assistive technology in Thailand was similar to other developing countries; there were both web accessibility policy and assistive technology support projects. Ministry of Information and Communication Technology Thailand (2008) for example, conducted ‘Web Accessibility Contest’ as a part of ICT Equitable Society Project which introduced and encouraged web masters to concerned web accessibility. There was also an annual contest for innovative technologies and applications for people with disabilities in Thailand (NECTEC, 2008). Disabilities rights have been provisioned on the section 55 of Thailand’s former constitution; however, most people with disabilities did not yet have full benefits from the law (Anantho, 2007). Education has been concerned as one of top five social risks among

This paper will present the current opportunities that students with disabilities have in accessing e-learning in a selected developing country, namely Thailand, where assistive technology was still limited. It includes a report on the responses of web administrators who have created e-Learning opportunities in secondary schools and universities in Thailand for these students. 2) LITERATURE REVIEWS The consequence of web accessibility occurred by the fact that all people include people with disability, have equal right to access to all kinds of information. According to the Australian Institute of Health and Welfare (2010) ‘disability’ covers an interaction between health

52


Thai people with disabilities since most people with disabilities were undereducated, especially the blind (Anantho, 2007). A strong need for better opportunity in education from Thai people with disability reflected from a better job required a better education (Anantho, 2007). In Thailand, people with disabilities were limited of job opportunities, health care, and adaptive equipments (Simchareon, 2005). There were only 20.39 per cent of people with disabilities employed after completed degrees in vocational education (Mahidol University, 1998 cited in Simchareon, 2005).

Bureau of Special Education Administration within Ministry of Education in Thailand (2008a), is the main department of the Thai Government that aims to serve basic education to people with disabilities and tailored special needs to fit individuals. This office provided 169 special education schools and centers that can be categorized into three groups: special education schools (43 schools in 35 provinces), special education centers (76 centers) and Suksasongkhro Schools for disadvantages students (50 schools in 42 provinces) (Bureau of Special Education Administration, 2008a). This bureau provided only two reports on Key Performance Indicator of Students Quality; 43 special education schools and 50 Suksasongkhro Schools but special education centers (76 centers). According to Bureau of Special Education Administration (2008b), in 2006 only 36.8 per cent (111 students) of students with disabilities in 43 special education schools were enrolled in post secondary education in Thailand. Thus, approximately three fifths (63.2% or 191) of students with disabilities in 43 special education schools were neither continue their education nor working. On the contrary, in 2006 almost nine tenths or 87.8 per cent (2,194 students) of students in 50 Suksasongkhro Schools were enrolled in post secondary education in Thailand (Bureau of Special Education Administration, 2008c). Thus only 12.2 per cent (304 students) in 50 Suksasongkhro Schools were neither continue their education nor working (Bureau of Special Education Administration, 2008c). According to this information, approximately three fifths or more than half of students under the service of Bureau of Special Education Administration continued study in Thai education system. Therefore, the demand of integrate web accessibility into e-Learning will be obviously benefit to students with special need since they were in the education system.

The evidences of students with disability in Thailand according to the Office of the Basic Education Commission, Ministry of Education of Thailand (2006) report, there were 3,023 students in K-12 who were people with disabilities. Students with disabilities in Thailand included nine groups of disabilities: motor disabilities, blind or vision impairments, deaf or hard of hearing, attention deficit hyperactivity disorders, autistic disorder, cognitive disabilities, verbal and linguistics disabilities, mental retardation and multiple disabilities (Office of the Basic Education Commission: Ministry of Education of Thailand, 2007). In Thailand, hill tribe students have been categorized into one of student group who had limited opportunities. Students with limited opportunities in Thailand included 11 kinds: youth forced to work, youth in sexual business, abandoned youth, youth in detention center, homeless youth, youth who affected from AIDS, hill tribes youth, youth who was mistreat, poor youth, youth who was addict to drugs and others (Office of the Basic Education Commission: Ministry of Education of Thailand, 2007). The Office of the Basic Education Commission, Ministry of Education of Thailand (2006) reported only 513 students in K-12 who were hill tribes. There was none of report, paper or study of how many hill tribe students were enrolled in post secondary education in Thailand. However, in practice, it might be only few or none of students with limited opportunities in Thailand pass through the post secondary education level since the demand of work force in agriculture field.

The Commission on Higher Education of Thailand became aware of importance and right of people with disabilities in higher education levels since they need to have opportunities for

53


learning material. In theory web accessibility need to be implemented especially in e-Learning section, however in practice, there is only few studies start to focus about situations of web accessibility in Thailand. Even though, the biggest groups or about seven tenths of Internet users in Thailand were in institutions (Vate-U-Lan, 2007). In summary, web accessibility is the global standard which extended its scope to cover e-Learning. In Thailand, there were approximately three fifths of students with special need enrolled into the formal education system. Moreover, 65 per cent of universities in Thailand had students with disabilities but only a small portion or one tenth of university had some responsible units for service these students.

education and facilities. In 2007, the first survey that gathering data regarding to support and develop service systems to serve students with disabilities in higher education had been conducted; this was to prepare necessary information for institutes in Thailand to improve education quality. According to the Commission on Higher Education of Thailand (2007), there were 1,928 university students with disabilities, male 60.3 per cent and female 39.7 per cent. These data were derived from 187 higher education institutes under the jurisdiction of the Commission on Higher Education of Thailand. Approximately three fifths (61.50% or 115 institutes) of institutes in Thailand participated to the survey. The summary of this report were 64.35 per cent of higher education institutes in Thailand had university students with disabilities. The majority of institutes in Thailand who participated in this survey also disclosed that approximately seven tenths (68.75%) had none administrative center responded to serve university students with disabilities. Remarkably, only one tenth of universities included services for students with disabilities in Student Affairs, Disability Support Service Office and Office of Educational Services (10.72, 9.82 and 9.82 % respectively). The Commission on Higher Education of Thailand indicated nine types of disabilities as same as Office of the Basic Education Commission, Ministry of Education of Thailand which differ from general kinds of disabilities that can affect access to on-line information. The university students with motor disabilities were the biggest group (28.3 %) followed by blind or vision impairments (17%), deaf or hard of hearing (15.1%), attention deficit hyperactivity disorders (10.7%), autistic disorder (10.3%), cognitive disabilities (9%), verbal and linguistics disabilities (4.4%), mental retardation (3.3%) and multiple disabilities (2.1%) respectively.

3) RESEARCH METHODOLOGY Web administrators for e-Learning might be the most importation sectors who respond to create and provide accessible e-Learning. Thus the pioneer project using an on-line questionnaire which investigate situation of the usage of web accessibility features for e-Learning in Thailand has been conducted. The objective of this survey was to investigate opinion of e-Learning web administrator in Thailand about the usage of web accessibility. This current survey gathered data via on-line questionnaire in Thai. It was conducted during December 2007- February 2008. The invitation employ for this survey was a message posted on web sites where e-Learning web administrators visit regularly such as the resources web sites in open source of learning management systems, thai.moodle.net and similar on-line communities such as Thai educational technologist web sites. 4) RESULT AND DISCUSSION Participant’s profiles, there were 118 participated, 58.5 per cent were female and 41.5 per cent were male. Majority or seven tenths of the participants were web administrators for e-Learning who work in Bangkok, only three tenths lived in other

e-Learning opportunity need to be opened for all, thus web administrator, instructional designer and e-Learning production officers should educate, consider and perform web accessibility design rules for all electronic

54


provinces (72.9% and 27.1% respectively). Similarly, majority or seven tenths (72%) of the participants were working in higher education institutions, only three tenths (28%) of participants working in a school level.

Use web accessibility 3%

Know web accessibility 30%

The questionnaire included questions regarding to the usage of Learning Management System (LMS) of Thai Internet-based instructional designers and web administrators of institutions. LMS is an on-line application management system which plays a role as a simulation of on-line virtual environment for on-line learners. LMS comprises of wide range of systems that provides access to Internet-based learning facilities such as deliver the learning materials, track and report results of on-line learning activities and communicate among learning communities. Typically, LMS is an on-line learning space constructed by web administrators for students and teachers use in academic purposes (Education Resources, 2006; Massachusetts Institute of Technology Open Knowledge Initiative, 2009; Ostyn Consulting, 2007). The demographic information of this survey found that half of participants (51%) have experiences in using LMS approximately one-three years. About two fifths (37.3%) of participants have experiences in using LMS less than one year. The last group about one fifth (19.5%) of participants have experiences in using LMS more than three years. Thus, it might be assumed that majority of participants have involved in product process of e-Learning sufficiently. Majority (54.2%) of participants indicated as MOODLE users, one fourth (25.4%) of participants used Blackboard and only few (5.1%) used ATutor. All the rest, which about one fifth of participants were using other kinds of LMS. The key finding of this survey is revealing in Figure 1, majority of participants did not know about web accessibility (67%). Only three tenths indicated that knew about web accessibility. Less than one fifth stated used web accessibility before. Remarkably, more than four fifths (83.1%) stated never used web accessibility before.

Do not know web accessibility 67%

Figure 1: Current situation of Web Accessibility The future directions of web accessibility of e-Learning in Thailand still not clear as shown in Figure 2. This is because slightly more than half of the web administrators working for e-Learning projects (55.9%) indicated that they will use features of web accessibility in LMS in the future. However, 43.2 per cent indicate not sure to use it and less than one per cent (0.8%) indicate will not use it. The influences of web administrator who indicated not sure about the usage of web accessibility on their work might affect situation of e-Learning contents to educate people with special need. Will not use 1%

Not sure 43% Will use 56%

Figure 2: Future situation of web accessibility The participants have been asked to describe about their experiences regarding to web accessibility. Majority (61.9%) stated clearly that they lack of knowledge of web accessibility. Almost half (48.3%) stated that it is very interesting but their lack of knowledge. About two fifths (39%) stated lack of time spend to learn what is web accessibility. 34.7 per cent indicated lack of understanding of web

55


accessibility. About 16 per cent of participants indicated rationales that why they ignore web accessibility such as only few students were students with disabilities and misunderstood that applied web accessibility rule in the on-line projects required more time than usual. Almost 12 per cent stated that they lack of motivation to use it. Less than one tenth (8.5%) understood that web accessibility was complex. Interesting that only few per cent (3.4%) thought web accessibility was meaningless. Participants who indicated their own reasons were quite positive for example ‘it is very interesting to learn more but depending on time consuming and opportunity’.

open-ended question. The answer of the open-ended question can be categorized into three main groups; • There is a high demand of training in web accessibility for e-Learning • Students with disabilities have a right equal to all • On-line information of web accessibility should be developed and distributed. This should be implied that web accessibility for e-Learning was needed and should get support from both public and private sectors in Thailand. The implementation will be very useful to students with disability in Thailand.

The survey also included questions asked what will be the possible way to deliver knowledge on web accessibility for e-Learning to web administrator. Referring to Table 1, the most interesting option was a training follow by on-line self learning and onsite training plus help center (34.7, 33.9 and 21.2 % respectively). Less than one tenth (8.5%) preferred to attend seminar and workshop. These reasons reflected that web accessibility knowledge in Thailand was need and it should be provided in the blended mode which included both traditional training and on-line training.

5) CONCLUSION In conclusion, integrate web accessibility implementation will surely enhance quality of e-Learning and benefit to students with disabilities not only in Thailand but also other developing countries where similar situation occurred. However, many projects and supported policies might not enough since it is still in the early stage and lack of reliable data. Additionally, features of people with disabilities, types of disability and the usage of web accessibility for e-Learning in Thailand were not clear. This paper has been reported an on-line survey result of Thai web administrator who working for e-Learning projects. The finding indicated that knowledge of e-Learning production teams which included web administrators, instructional designers affect directly to integrate web accessibility to enhance the quality of e-Learning. The distribution of web accessibility training in both traditional and on-line method was the most important need to be considered. The connection between knowledge and attitudes of e-Learning production teams will play the significant role to expand better qualify of e-Learning.

Table 1: Delivery web accessibility method Options A training On-line self learning Onsite training plus help center Seminar and workshop

Percentage 34.7 33.9 21.2 8.5

All web administrators have been asked to indicate the factors that most influence to use web accessibility guideline to produce e-Learning projects in future. This question was a five-scale-rating. It has been found that the most influence factors was a moral support toward students with special need since society should not ignore students with disability (3.8 out of 5), and follow by commercial concern since it will extend more opportunity (3.6 out of 5). Then, the last influence was legal issue with punishment (2.9 out of 5).

REFERENCES Anantho, S. (2007). The Perception of Risk

The last question on the survey was the

56


Society in Thailand. Retrieved Oct 19, 2008, from http://siriwan.info/SRA1.pdf Bureau of Special Education Administration. (2008a). History of Bureau of Special Education Administration. Retrieved Oct 19, 2008, from http://special.obec.go.th/history_sss/eng lish.html Bureau of Special Education Administration. (2008b). Information of 2007 on June 10, 2007 and Key Performance Indicator of Students Quality in 2006 Academic Year of 43 Special Education Schools. Bangkok: Bureau of Special Education Administration. Bureau of Special Education Administration. (2008c). Information of 2007 on June 10, 2007 and Key Performance Indicator of Students Quality in 2006 Academic Year of 50 Suksasongkhro Schools. Bangkok: Bureau of Special Education Administration. Commission on Higher Education of Thailand. (2007). A Report of Survey Result: A Data Regarding to Support and Develop Service Systems to Serve University Students with Disabilities in Higher Education belong to Commission on Higher Education of Thailand in 2007 Academic Year. Bangkok: Sahamitr Printing and Publishing Company Limited. Crosby, P., & Weiss, K. (2010). Some Excerpts from Quality Is Free. Retrieved July 26, 2010, from http://www.philipcrosby.com/25years/re ad.html Education Resources. (2006, April). E-Learning glossary. Retrieved July 31, 2009, from http://www.thecatalyst.org/resource/200 6/04/21/E-learning-glossary/ Ehlers, U.-D., Goertz, L., Hildebrandt, B., & Pawlowski, J. M. (2005). Quality in e-learning Use and dissemination of quality approaches in European e-learning A study by the European Quality Observatory. Retrieved July 26, from

http://www2.trainingvillage.gr/etv/publi cation/download/panorama/5162_en.pdf . Massachusetts Institute of Technology Open Knowledge Initiative. (2009). Learning Management System. Retrieved July 31, 2009, from http://web.mit.edu/oki/learn/gloss.html Ministry of Information and Communication Technology Thailand. (2008). ICT Equitable Society Project. Retrieved Oct 19, 2008, from http://www.equitable-society.com/about us.aspx NECTEC. (2008). 2nd International Convention on Rehabilitation Engineering and Assistive Technology. Retrieved Nov 8, 2008, from http://astec.nectec.or.th/i-create2008/ind ex.php Office of the Basic Education Commission: Ministry of Education of Thailand. (2006). Data Statistics in Education. Bangkok: Office of The Basic Education Commission: Ministry of Education of Thailand. Office of the Basic Education Commission: Ministry of Education of Thailand. (2007). Approval Calendar of Government Practice for 2007 Budget. Retrieved Oct 19, 2008, from www.udesa2.go.th/web_udesa2/rubram erubrong50/patitin(20-56).doc Ostyn Consulting. (2007). Glossary. Retrieved July 31, 2009, from http://www.ostyn.com/ostynglossary.ht m Robson, C. (2007). Students with Disabilities, Learning Difficulties and Disadvantages:Statistics and Indicators. France: Organisation for Economic Co-Operation and Development. Simchareon, T. (2005). Taxation Barrier of People with Disabilities. Unpublished Master Degree, Ramkamhaeng University, Bangkok. Thailand Cyber University. (2008, Oct 31). Members Statistic Summary of Thailand Cyber University. Retrieved Nov 8, 2008, from

57


http://www.thaicyberu.go.th/ Thailand Cyber University. (2010, July 2010). Members Statistic Summary of Thailand Cyber University. Retrieved July 27, 2010, from http://www.thaicyberu.go.th/ the Australian Institute of Health and Welfare. (2010). Australia's health 2010. Retrieved July 27, from http://www.aihw.gov.au/publications/au s/ah10/11374-x00.pdf. the Swedish National Agency for Higher Education. (2008). E-learning quality Aspects and criteria for evaluation of e-learning in higher education. from http://www.hsv.se/download/18.8f0e4c9 119e2b4a60c800028057/0811R.pdf. Thompson, T., Burgstahler, S., Moore, E., Gunderson, J., & Hoyt, N. (2007). International Research on Web Accessibility for Persons with Disabilities [Electronic Version]. Managing Worldwide Operations and Communications with Information Technology. Retrieved July 27, 2010 from http://staff.washington.edu/tft/research/i nternational/. Vate-U-Lan, P. (2007). Internet-based Survey Design: Principles from a Thai Experimental Study. Paper presented at the Seventh IEEE International Conference on Advanced Learning Technologies (ICALT 2007), Niigata, Japan. Weir, J. (2010). Disability Statistics. Retrieved July 27, 2010, from http://codi.buffalo.edu/graph_based/.de mographics/.statistics.htm

58


Enhancing Students’ e-Culture in e-Learning Class Using Web2.0 Technology Associate Professor Dr. Maturos Chongchaikit Faculty of Education, Kasetsart University (maturos.c@ku.ac.th) ABSTRACT

1) INTRODUCTION

The purpose of this research was to study the effects of using Web2.0 Technology to enhance students’ e-culture in e-learning class. The research tools were the WebQuest Learning Resources; the application, Hot Potatoes; the Web2.0 services, Blogger.com and YouTube. com; the questionnaire and the self- evaluation form. The samples consisted of 3 groups of 42 Master Degree Program Students that were purposively selected from the registered group for 162531 and 162533 courses from 2007 to 2009. The data were analyzed through the use of the percentage and the descriptive writing. The project-Based and collaborative learning activities were used in both courses. The Web 2.0 services: Blogger.com and YouTube.com were added as learning tools for the 162533 course. The students of the 162531course had, as their project tools, only the Web Quest Learning Resources and theWeb1.0 Technology for Web creation. The sample group had filled in the questionnaire and self-evaluation form at the end of the course. Their products had been evaluated using the positive e-culture types and personality dimensions. The findings were as follows: The 2 sample groups who took only the162531course had the same types of e-culture which are motivation and use. Their personality dimensions were dominantly decision and responsibilities. The other group who took both the 162531 and 162533 courses had 2 more types of e-culture: possession and skills. Their personality dimensions were dominantly the creativity and the leadership.

The ICT technologies are causing new forms of information access, finding the results and knowledge. Van Dijk (2001) has pointed the conditions for e-culture as four different types of access to information and communication technology: 1) motivation-physical access to ICT, the interest in it, the will to use it, the lack of fear of new technology; 2) possessionavailability of equipment and Internet connection at home or at work, school or university; 3) use- actual use that people make of available possibilities; and 4) skills - the possession of digital skills. The motivation of individuals high in need-achievement and dominance to posses, use electronic products and acquire the required digital skills might be felt as accomplishment enabling them to feel superior to others who lack it. J.M.Asgarali Patel and K. Rajendran (2006) explored the relationship of e-culture with cultural determination and sensation seeking behaviors using the following tools:1) e-culture inventory; 2) brief sensation seeking behavior scale, and 3) cultural determination scale. The findings indicated that e-culture is not influenced by culture, culture conformity and culture rebellious behavior are not related to the use of electronic products. E-culture appears as a Tran cultural phenomenon, it seems to influence people irrespective of their cultural background. J.M.Asgarali Patel and K.Rajendran(2007) had explored the relationship of e-culture with personality dimensions and found that e-culture is positively and significantly related to two personality dimensions, need-achievement and dominance.The people high in personality traits of ‘need-achievement’ and ‘dominance’ tend to make more use of electronic products. Their increased indulgence in electronic culture may be a symbolic indication of their achievements and also an effort to dominate others.

Keywords E-culture, cyberculture, e-resources, curriculum and instruction, e-learning materials

59


project on ICT integrating in their teaching activities. At the end of the courses, they had been asked to fill in the self-evaluation form and answer the questionnaire.

Hence, it is interesting to search out if the new ICT tools and services integrated in teaching and learning might enhance the positive personality dimension and then the e-culture of the students. 2) RESEARCH METHODOLOGY

2.3.2. One group of 11 Master Degree Program students took both the 162531 blended course in 2007 and 2008 academic year. They had been asked to fill in the self-evaluation form and answer to the questionnaire at the end of both courses.

2.1) Population and Sample 2.1.1. Population: • Students in higher education level. 2.1.2. Samples (purposively selected): • 1 group of 11 students registering for 2 courses:162531 and 162533 during the academic years 2007 – 2008 • 2 groups of 23 and 8 students registering for 1 course, 162531 during the academic year 2008

2.3.3. The researcher collected the data and analyzed them using the percentage and the descriptive writing. The interpretation of the results was based on the applied criteria from J.M.Asgarali Patel and K. Rajendran (2006, 2007) and Van Dijk (2001). 2.4 Results and Discussion

2.2) Research Tools 2.4.1 The findings showed that: • The 2 sample groups who took only the 162531 course had the same types of e-culture which are motivation and use. • Their personality dimensions were dominantly decision and responsibilities. • The other group who took both the 162531 and 162533 courses had 2 more types of e-culture: possession and digital skills. Their personality dimensions were dominantly the creativity and the leadership.

2.2.1. Web2.0 Technology Tools and Services: • WebQuest Learning Resources • YouTube.com • Blogger.com 2.2.2. Web1.0 Technology Application for Web Creation • Macromedia Dreamweaver • Ulead Photoimpact 2.2.3. Questionnaire and Self Evaluation Form adapted from E-culture Inventory, Brief Sensation Seeking Behavior Scale, and Multi-variable Personality Inventory. (Van Dijk, 2001; J.M.Asgarali Patel and K. Rajendran, 2006, 2007)

2.4.2. Since there are 2 sample groups who will take soon the 162533course using the web 2.0 technology,it is quite interesting to continue the research and see whether the findings would be confirmed or not. The other research using different types of web2.0 technology or different sample group i.e.teachers should be conducted to see more effects on e-culture development.

2.3) Research Procedures 2.3.1. Three groups of 11, 23 and 8 Master Degree Program students took the 162531 blended courses consecutively in 2007, 2008 and 2009 academic years. Only one groups of 11 Master Degree Program students had also taken the 162533 online courses using web2.0 tools and services at the moment of the research on 2008 academic year. The students were generally assigned to plan and develop the

60


3) REFERENCES AND APPENDICES 3.1) References Muthayya,B.C. (1973). Manual for Multivariable Personality Inventory (MPI). Agra: Agra Psychological Research Cell. Patel, J. M. A and Rajendran, K. (2005) E-culture Inventory. SCOPE Annamalai Psychology Journal, Vol. I, pp. 1-11

Patel, J. M. A and Rajendran, K. (2006) Patel, J. M. A and Rajendran, K.(2007). E-culture and Personality Dimensions Among the University Students. Journal Of Indian Academy Of Applied Psychology, January 2007, Vol. 33, No.1, p:129-132.

preservation and (re)utilization of cultural expression.(Netherlands council for culture, 2004) The diffusion of new technology, its application for various avenues such as information and communication in addition to shifts effected in related attitudes, values and norms (De Haan and Huysmans , 2002) Increased use of electronic goods by individuals in various areas. (Patel and Rajendran , 2005)

Three Guises of E-Culture: 1) Within the context of the ‘digitizing society,’ e-culture should be seen as the integration of ICT into the primary processes of production, distribution, presentation, preservation and(re)utilization of cultural expression. 2) In addition to processes relating to cultural expression and reflection, e-culture also encompasses the provision of information on culture and, in the case of libraries and the public broadcasting organizations, the more general provision of information. 3) In terms of scope, the Council’s outlook differs from that of the State Secretary for Education, Culture and Science, as outlined in his 2002 paper on e-culture (see note 1), which is restricted to a description of the role of e-culture in various sectors; digital arts and design, digitalization of heritage collections, access to information, and new services offered by the public broadcasting sector.

Van Dijk, J. (2001). ICTs and the quality of infrastructure and levels services. In: Ministry of Transport, Public Works and Water Management of the Netherlands. Wikipedia.(2010).available at: http://fr.wikipedia.org/wiki/Eculture 3.2) Appendices Appendix A: E-Culture Glossary Cyberculture: the culture that has emerged, or is emerging,from the use of computer networks for communication, entertainment and business. It is also the study of various social phenomena associated with the Internet and other new forms of network communication, such as online communities,online multi-player gaming, and email usage. The study of Cyberculture is typically accomplished through cultural criticism or a textual approach to the material. E-Culture: New digital media culture or digitalization of culture. • Within the context of the digitizing society, e-culture should be seen as the integration of ICT into the primary processes of productivity, distribution, presentation,

61



Development of Physics Learning Resources Enhancing e-Learning in High School Sirirat Srisa-ard Department of Education Faculty of Education Kasetsart University (sirirat.sr@ku.ac.th) solving are very important for Physics. Many situations and events in Physics were difficult for teachers to set the experiments for their students in the laboratories because of some conditions like the lack of instruments, safety and techniques, etc. All of these problems had stuck students’ imagination and understanding in Physics, making them think that Physics is too difficult to learn. Nowadays, there are a large number of Physics event examples, simulated in hypermedia forms on the Internet thanks to the progress of the Information and Communication Technology. Physics teachers can easily search for the suitable resources and pick up the examples that help them in explaining Physics to their students in the classroom. Students, themselves, can search for that interesting Physics contents to enrich their experiences and imagination. Developing Physics Learning Resources will be the way to help both teachers and students to reach or have at hands the attractive medias for Physics understandings in e-Learning situations before and after class at high school level. They may enhance Thai students’ interests in Physics and motivate them more to learn and also enhance Thai teachers in teaching Physics with appropriate tools and medias.

ABSTRACT The purposes of this research were to develop and evaluate the quality of Physics Learning Resources Enhancing e-Learning in High School. Physics is one branch of Science that needs explanation and problem solving using Mathematics formulas and basic skills, as well as the experiments in the laboratories, for its quite abstract contents and concepts. Since the ICT nowadays can provide large number of electronic resources on Physics learning contents and activities in hypermedia forms which enrich the imagination and understanding of Physics, the developed Physics Learning Resources will support the e-Learning situations before and after class and enhance Thai students’ interest and motivation in learning Physics. The Physics Learning Resources Enhancing e-Learning in High School were developed in form of website comprising of 8 main menus and 6 submenus for searching and browsing the physics topics: Simulation, Picture, Lesson Plan, Exercise, Virtual Labs and Link Resources. The quality of academic contents was accepted at the high to highest level by the content and technology experts, teachers and students. Their satisfaction for the presentation and content usability were also at the high level.

PURPOSE

Keywords Physics, Learning Resources, e-learning materials, hypermedia

The purposes of this research were to develop and evaluate the quality of Physics Learning Resources Enhancing e-Learning in High School

1. INTRODUCTION

2. METHODOLOGY

Physics is one of Science branches that school teachers generally explain its knowledge with math formulas. Physics content is so abstract that the basic concepts and skills in mathematic like reasoning, analyzing process and problem

2.1 Population and Sample 2.1.1. Population: Physics teachers and students in High School. 2.1.2 Sample Groups: three sample groups

63


6. Sound 7.AtomicPhysics 8. Nuclear

were purposively selected from 3 high schools in Bangkok as follows • a sample group of 10 teachers • a sample group of 238 students with 3 achievement level: high, medium and low • a sample group of 5 experts, 3content experts and 2 technology experts

Table 2: Needs on types of Physics Learning Resources of teachers and students

2.2 Research Tools 2.2.1. Physics documents and media resources on the Internet. 2.2.2. Application for Web Creation 2.2.3. Web Hosting 2.2.4. Two Questionnaires: one for teachers and one for students

2.3.1. Study and research on related documents and resources. 2.3.2 Need assessment study from teachers and students on Physics Topics and Learning Resources Topics. 2.3.3 Development of the learning resources: • Searching and collecting the websites • Sitemap and Web Pages design • Web Pages and Website creation • Learning resources evaluation by the experts, the teachers and the students

1. 2. 3. 4. 5.

Model Simulation Exercises Content Enrich content 6. experiment 1. testing 2. measurement & evaluative 3. evaluation activities

List of Learning Resources Themes Model Simulation Exercise Content Enrich content Experiment Picture Lesson Plan Web Link

1. 2. 3. 4.

Simulation Exercises Content Enrich content 5. experiment 1. testing 2. measurement & evaluative 3. evaluation activities

Held

Conclusion Added Omitted 3

3 3 3 3 3 3 3 3

Table4: Conclusion on Physics Topics

2.4.1. Need Assessment Study Table 1: Needs on Physics topics of teachers and students for Physics Learning Resources

The Less Needed

The Most Needed

Table3: Conclusion on Learning Resource Themes

2.4 Findings and Discussion

The Most Needed

Types of Physics Learning Resources Teachers Students

The Less Needed

2.3 Research Procedures

Results

Results of Need Assessment

Physics Topics Teachers Students 1. Equilibrium 1.Equilibrium 2.Two dimensions motion 2.Two dimensions 3.Rotation motion 4.Magnetic & Reduce 3.Rotation Current 4.Heat& 5.Alternating Current Thermodynamic 5.Atomic Physics 1.Linear motion 2.Work& Energy 1.Linear motion 3.Substance 2. Electrostatic 4.Heat& Thermodynamic 5. Electrostatic

64

Results of Physics Topics From need assessment From extras searching 1. Equilibrium 1.Newton’s Law 2.Two dimensions 2.Linear Motion motion 3.Work & Energy 3.Rotation 4.Impulse& Momentum 4.Magnetic&Reduce 5.Substance Current 6.Electrostatic 6.Alternating Current 7.Current 8.Wave 7.Heat 9.Light &Thermodynamic 10.Sound 8.Atomic Physics 11. Nuclear 12.Electromagnetic Wave

So there were 6 Learning Resources Themes and 19 Physics topics as follows:


Learning Resources Themes: 1. Simulation 2. Exercises 3. Experiment 4. Pictures 5. Lesson Plan 6. Web Link Physics Topics

1.Equilibrium 2.Two dimensions motion 3.Rotation 4.Magnetic&Reduce Current 6.Alternating Current 7.Heat &Thermodynamic 8.Atomic Physics 9.Newton’s Law 10.Linear Motion 11.Work & Energy 12.Impulse& Momentum 13.Substance 14.Electrostatic Current 15.Wave 16.Light 17.Sound 18.Nuclear 19.Electromagnetic Wave

Figure2 Learning Resources Storyboard On User Manual

Figure 3 Icons of Search Menu

2.4.2. Examples of Physics Learning Resources Design and Development were presented on the following figure 1 to figure 4

Figure4 Simulation Page

2.4.3. Evaluation of Physics Learning Resources Website by the experts, the teachers and the students. Part1: Academic Domain Content: The agreement of the experts, the teachers and the students were at high level for 73.2%, 90.3% and 100% respectively. Usage: The agreement of the experts was at the highest level for 100% . The agreement of the teachers and students was at high level for 71.4% and 100% respectively

Figure1 Learning Resources Sitemap

65


em/ICPE/Bl.html Kerlinger, F. (1988). Foundation of Behavioral Research. Hong Kong: Holt Rinehart and Winston, Inc. Khim, K.C.(1978). Integration of Secondary Level Physics and Technology Education. Physics Curriculum Development In Asia Report of Regional Seminar Penang Malaysia, 5–14 January. Moore, K. D. (1992). Classroom Teaching Skills. Singapore: McGraw-Hill. Wallace, P. R.(1992). Physics: Imagination and Reality. Available at: http://www.wspc.com/books/physics/08 07html

Advantage: The agreement of the experts was at the highest level for 100% . The agreement of the teachers and students was at high level for 88.9 % and 100% respectively Part 2: Technological Domain Presentation: The agreement of the experts, the teachers and the students were at high level for 62.5 %, 75.0 % and 100% respectively. Usage: The agreement of the content experts, the technology experts, the teachers and the students were at high level for 83.3 %, 66.7 %, 66.7% and 100 % respectively. 2.4.4 Discussion Developing this kind of instructional media, the Learning Resources, needs much expertise on usability design: for web content as well as for user interface and content presentation. The ones who want to develop this kind of e-media can use a team of experts to fulfill their lack of some necessary expertise. The pre-research or survey on content and web topic menus existed on the Internet happens to be very helpful for the success of the developed product. The development of this kind of instructional medias can also be the preparation for the real e-learning situations in high school coming in the near future. 3. REFERENCES Belikov, B. S.(1989). General Method for Solving Physics Problem. Moscow: Mir Publishers. Wooddridge, C. (1967).Fundamental Principles of Physics. Massachusetts: Adison-Wesley Publishing Company. Ericson, C. W. (1971). Adminstering Instructional Program Media Programs. New York: Macmillan. Eskow, J. (2002). Physics. Available at: http://www.walrus.com/~gibralto/physi cs.html Fowler, S. (1964). Secondary School Science Teaching Practices. New York: The Center of Applied Research in Education, Inc. French, A. P. (1998). The Nature of Physics. Available at: http://www.Physics.ohio-state.edu/~joss

66


Harness Your E-Teaching with Free Apps: Interesting Review of Open Source VS Commercial Software Piyapot Tantaphalin1 and Assist. Prof. Dr. Jintavee Khlaisang 2 1 Faculty of Education, Chulalongkorn University (kurokemo@gmail.com) 2 Faculty of Education, Chulalongkorn University (jinmonsakul@gmail.com) ABSTRACT Presently, free software and open source have gained popularity since they have more efficiency with its’ capacity are almost equivalent to license software or commercial software. Although, freeware and free software sound similar, these two terms have different definitions. “Free” from freeware mean free for cost But “Free” from free software it means anyone can use, copy, and even access to the source code for further develop the software. Definition of free software is more related to open source software when compared to freeware. In other words, it can substitute or interchangeable with each other. Even though these software is distribute for free using and any users can also able to develop software. But these software have copyleft for first developers too. Currently, there are many licenses to protect copyleft for free/open source software but the most famous license is “GNU General Public License” Definition of GNU General Public License is “Free” that mean freedom for users in 4 aspects as follows: (1) Freedom in using for any objective, (2) process of program study and code editing, (3) distributing program and modify, and (4) open for anybody to use and further develop. Many free/open source software can be found form the website called SourceForge (http://sourceforge.net), Freshmeat (http://freshmeat.net) and Osalt (http://www.osalt.com) where they are the largest virtual open source software community. Thus far, Free/Open source software is not alternative rather it is the first choice for software users who are well aware of copyright and software piracy concerns. Also, because of they are beneficial, compatible, easy to use, and most importantly it is “free”.

Keywords Free Software, Open Source Software, GNU 1) INTRODUCTION Nowadays, free software and open source software have played vital role rather than the past. Because of, these software have more efficiency with its’ capacity are almost equivalent to license software or commercial software. Since such software have a wide range of ability, compatibility, user friendliness and flexibility, they have grown rapidly and widely distribute among software users and especially in virtual community at this moment. 2) WHAT IS FREE/OPEN SOURCE SOFTWARE? Even though, freeware and free software sound like similar, these two terms have different definitions. “Free” from freeware mean free for cost. It is downgrade program for trial; however, it is not a full program that have time limit or a program with limited function. In that case, that is called “shareware”. Freeware have full function completely to use without any limited but it is also have another full version of program to purchase. The example of freeware is iSpring1. it is the program to convert PowerPoint presentations to flash media. In free version, it can insert flash and youtube to PowerPoint presentations. It can also only publish to fixed style of flash media and cannot configuration anything. But in commercial version, it can insert narration, 1

67

(http://www.ispringsolutions.com/)


video, and narrator with various templates when publish to flash media. It can also configuration quality of video and picture, and types of publish metadata, and etc.

The source code must be the preferred form in which a programmer would modify the program. Deliberately obfuscated source code is not allowed. Intermediate forms such as the output of a preprocessor or translator are not allowed. 3. Derived Works - The license must allow modifications and derived works, and must allow them to be distributed under the same terms as the license of the original software. 4. Integrity of The Author's Source Code The license may restrict source-code from being distributed in modified form only if the license allows the distribution of "patch files" with the source code for the purpose of modifying the program at build time. The license must explicitly permit distribution of software built from modified source code. The license may require derived works to carry a different name or version number from the original software. 5. No Discrimination Against Persons or Groups - The license must not discriminate against any person or group of persons. Some countries, including the United States, have export restrictions for certain types of software. An OSD-conformant license may warn licensees of applicable restrictions and remind them that they are obliged to obey the law; however, it may not incorporate such restrictions itself. 6. No Discrimination Against Fields of Endeavor - The license must not restrict anyone from making use of the program in a specific field of endeavor. For example, it may not restrict the program from being used in a business, or from being used for genetic research. 7. Distribution of License - The rights attached to the program must apply to all to whom the program is redistributed without the need for execution of an additional license by those parties. 8. License Must Not Be Specific to a Product - The rights attached to the program must not depend on the program's being part of a particular software distribution. If the program is extracted from that distribution and used or distributed within the terms of the program's license, all parties to whom the program is

Figure 1: iSpring Free Indeed, “Free” from free software is “freedom” not “no value” or “no cost”. It means anyone can use software, copy, distribute software and even access to the source code for further development of such software. Definition of free software is related to open source software than freeware. In fact, it can substitute or interchangeable each other. Regarding the definition of open source software, Open Source Initiative (2010) 2 describes the definition of open source software (or short called “open source”) that open source does not mean only accessibility to the source code. The distribution terms of open-source software must comply with the following criteria: 1. Free Redistribution - The license shall not restrict any party from selling or giving away the software as a component of an aggregate software distribution containing programs from several different sources. The license shall not require a royalty or other fee for such sale. 2. Source Code - The program must include source code, and must allow distribution in source code as well as compiled form. Where some form of a product is not distributed with source code, there must be a well-publicized means of obtaining the source code for no more than a reasonable reproduction cost preferably, downloading via the Internet without charge. 2

(http://www.opensource.org/)

68


Definition of GNU General Public License is “Free” that mean freedom for users contains 4 aspects as follows: • Freedom in using for any objective. • Freedom in process of program study and code editing (source code access is necessary for this aspect) • Freedom in distributing program.

redistributed should have the same rights as those that are granted in conjunction with the original software distribution. 9. License Must Not Restrict Other Software - The license must not place restrictions on other software that is distributed along with the licensed software. For example, the license must not insist that all other programs distributed on the same medium must be open-source software. 10. License Must Be Technology-Neutral No provision of the license may be predicated on any individual technology or style of interface.

Freedom in modify and open for anybody to use and develop later. (source code access is necessary for this aspect)

GNU General Public License is the license that the most use in free software and open source software. In April, 2004, there is software used GNU General Public License 75% from 23,479 software that develop in Freshmeat and 68% form software that develop in SourceForge

3) WHY FREE/OPEN SOURCE SOFTWARE? By choosing free/open source software, users obtain numbers of advantages compared to commercial products. Besides, the fact that open source is always available for free, it is a transparent application, in that you are invited exclusively behind the scenes to view all source code and thereby to suggest improvements to the product. Furthermore, every software is covered by a large dedicated network, or community, who is more than willing to answer any questions that you may have.

5) WHERE CAN I FIND FREE/OPEN SOURCE SOFTWARE? SourceForge (http://sourceforge.net) is the world's largest open source software development web site. It provides free services that help people build nice works and share them with audiences globally. As of February, 2009, more than 230,000 software projects have been registered to use our services by more than 2 million registered users, making SourceForge.net the largest collection of open source tools and applications on the net. (SourceForge, 2010)

4) FREE/OPEN SOURCE SOFTWARE WITH COPYLEFT Even though, these software will distribute for free using and any users can further develop such software too, these software have copyleft for the first developer. There are many licenses to protect copyleft for free/open source software, but the most famous license is “GNU General Public License”

Freshmeat (http://freshmeat.net) maintains the largest web index of Unix and cross-platform software, themes and related "eye-candy", and Palm OS software. Thousands of applications, which are preferably released under an open source license, are meticulously cataloged in the freshmeat database. Also, links to new applications are added daily. Each entry provides a description of the software, links to download it and to obtain more information, and a history of the project's releases, so readers can keep up-to-date on the latest developments. (freshmeat, 2010)

GNU General Public License (GNU GPL, GPL) is the most popular license for free software in the present. The first license wrote by Richard Stallman for used in GNU Project in 1991. The present license is the third license. Moreover, there is GNU Lesser General Public License (LGPL) that develops for library software too.

69


work. I will suggest GIMP (http://www.gimp.org). GIMP is open source photo editing software that efficient same as Adobe Photoshop. Among its features you find: powerful painting tools, layers and channels support, multiple undo/redo, editable text layers. Gimp as a plug-in architecture and a scripting engine that allow easy extension of it's functionality. More than a 100 plug-ins and scripts are already available. Also Gimp imports files from Photoshop (psd) and can also read scalable vector graphics (svg) files.

Osalt (http://www.osalt.com) is the website to find open source software alternatively to well-known commercial software. Their mission is to provide an easy access to high quality open source alternatives to well-known commercial products. And remember that open source software is also a freeware alternative. You can find open source alternatives to your favorite commercial software by browse through software categories in their website and compare pros and cons of both commercial products as well as open source software. (Osalt, 2010) 6) EXPAMPLE FREE/OPEN SOURCE SOFTWARE? 6.1) Image Editing and Graphic Drawing Tools Photoscape (http://www.photoscape.org) is fun and easy photo editing software that enables you to fix and enhance photos. Photoscape is simple photo editing software but not simple function. It have various features for making amazing photo easily such as photo editor (resizing, brightness and color adjustment, white balance, backlight correction, frames, balloons, adding text, drawing pictures, cropping, filters, red eye removal, blooming and etc.), batch editor, merge multiple photos on the page frame, easy combine and splitter photo, screen capture, color picker, batch rename and raw converter. But it not supports multi-layer function. You can’t save as layer supported file format.

Figure 3: GIMP’s Interface If you work with printing media and looking for software supported your work Inkscape (http://www.inkscape.org) is your answer. It’s an Open Source vector graphics editor, with capabilities similar to Illustrator, CorelDraw, or Xara X, using the W3C standard Scalable Vector Graphics (SVG) file format. Inkscape supports many advanced SVG features (markers, clones, alpha blending, etc.) and great care is taken in designing a streamlined interface. It is very easy to edit nodes, perform complex path operations, trace bitmaps and much more. We also aim to maintain a thriving user and developer community by using open, community-oriented development.

Figure 2: Photoscape’s Interface If you think Photoscape isn’t enough for your

70


mind-mapping software written in Java. The recent development has hopefully turned it into high productivity tool. Operation and navigation of FreeMind is faster than that of MindManager because of one-click "fold / unfold" and "follow link" operations. Freemind have various features like fully functional following of HTML links, fast one-click navigation smart drag'n drop, smart copying pasting into and past form and export of map to HTML. However, the support of pictures in nodes is in preliminary stage. When you want to carry a map around with you, you have to take care that you take the image files with you and limited support for fancy graphics. You can use it to keeping track of projects, workplace for internet research, keeping a collection of small or middle sized notes, essay writing and brainstorming.

Figure 4 Inkscape’s Interface 6.2) Graphic Organizer Tools Graphic Organizers, Mind Maps and Concept Maps are pictorial or graphical ways to organize information and thoughts for understanding, remembering, or writing about. Graphic organizers, mind maps and concept maps are powerful tools that can be used to enhance learning and create a foundation for learning (http://www.graphic.org/) Dia (http://projects.gnome.org/dia/) is the vector drawing software that develops for drawing diagram rapidly and easily. Dia have many ready-use diagrams such as ER-Diagram, UML diagram, flowchart, network diagram, electronic circuits and other diagrams for use to create organization charts or learning graphic organizer. Moreover, you can create your own diagram for using in the future and it can apply to create mind mapping or concept mapping in classroom too.

Figure 6: Freemind’s Interface 6.3) Office Tools OpenOffice 3 (http://www.openoffice.org/) is the leading open-source office software suite for word processing, spreadsheets, presentations, graphics, databases and more. It is available in many languages and works on all common computers. It stores all your data in an international open standard format and can also read and write files from other common office software packages. Open Office Suit is effective similar as Microsoft Office Suite. Table 1 show comparison between software in Open Office.org and Microsoft Office

Figure 5: Dia’s Interface

Table 1: Comparison between Open Office.org and MS-Office

If you are looking for specific software for create mind mapping, Freemind (http://freemind.sourceforge.net/) is the best answer for yours. FreeMind is free

Open Office.org MS-Office Writer Microsoft Word

71

Operation Word Processer


Calc Draw Impress Base

Microsoft Excel Microsoft Visio Microsoft PowerPoint Microsoft Access

Spreadsheets Drawing&Diagram Presentation Database

Figure 10: Impress

Figure 7: Writer

Figure 11: Base If you would like to convert your documents to PDF files, you can use PDFCreator (http://www.pdfforge.org/) to convert it. PDFCreator is one of the best known free/open source software to create PDF files from any application. Just install PDFCreator, then orter to print. Next, Select the PDFCreator printer, select target to save and name files. You will have PDF documents immediately.

Figure 8: Calc

Figure 9: Draw

Figure 12: PDFCreator’s Options Window

72


6.4) Courseware Authoring Tools CourseLab (http://www.courselab.com/) is the software that rewarded the Best of E-Learning Award 2007. It’s a tool for creating and developing e-courseware. CourseLab has various functions for making interactive courseware such as, insert hyperlink, insert sound, create motion, insert animation, insert flash media and use scripts for control object in slide. Furthermore, CourseLab has several good looking templates with auto menu that completely to use and supported SCORM and AICC for sync with supported learning management system (LMS).

Figure 14: Example courseware created by eXe 6.5) Website Creating and e-Learning Supported Tools At present, how to create website is changing from code editing and WYSIWYG editor like Adobe Dreamweaver or Kompozer (Open source) to content management system (CMS) and learning management system (LMS) because users don’t have to advanced knowledge about website creating but they can create complex website so quick and easily.

Figure 13: Example courseware created by CourseLab’s

Next, eXe (http://exelearning.org/) is open source software for creating e-courseware online and offline. The eXe project developed a freely available Open Source authoring application to assist teachers and academics in the publishing of web content without the need to become proficient in HTML or XML markup. Resources authored in eXe can be exported in IMS Content Package, SCORM 1.2, or IMS Common Cartridge formats or as simple self-contained web pages. Objective of eXe is to develop easy use tools and facilitated environment for online learning system. Important tools of this software are “Instructional Devices” or “iDevices” that can help users to create various forms in your courseware easily.

Figure 15: Kompozer Mambo (http://mambo-foundation.org/) and Joomla! (http://www.joomla.org/) are one of the most popular content management system (CMS). You do not know about page design or web design because you can use many interesting free templates on internet to create your own website and can configuration your website easily by many tools in system for example user management, media management, content management, menu management, component management, module management and plug-in management to create log-in, article, menu, poll, search engine, banner and etc. in your imagine website. Moreover, you can install other extensions for improve

73


efficiency of your website according to your wants.

Figure 18: e-Learning website created by Moodle (http://e-learning.thaihealth.or.th/ e-learning/) Figure 16: Website created by Mambo (http://www.windsiam.com/)

7) SUMMARY All the above demonstrates the important role of current free/open source software that can be used substitutable to the commercial software. Sometime, Free/Open Source Software not alternative rather it is the first choice for software users who are well aware of copyright and software piracy concerns. Also, because of its’ advantages, compatibility, easy to use, and most importantly it is “free” (freedom for use, freedom for develop, and freedom for distribute). Nevertheless, list of software described in this article is just small example of free/open source software in the world, though they are popular and famous among software users globally. Last but not least, you may find other software that can be serve your needs more in the mentioned virtual community websites.

Figure 17: Website created by Joomla! (http://www.bangkokplanetarium.com/) As for learning management system (LMS) is look similar to content management system but CMS is one element of LMS. LMS have some functions more than CMS as user log-in logs, gradebook, course management system, ready to use online activity (blog, wiki, discussion board, chatroom, glossary, etc.) and support e-Learning standard like SCORM. LMS is suitable for create e-Learning website or virtual classroom or virtual learning environment (VLE) than CMS. In many open source LMS, Moodle (http://moodle.org) is the most popular one.

REFERENCES CourseLab – free e-Learning authoring tool. Retrieved from http://www.courselab.com/ Deek, F.P. and McHugh, J.A.M. (2008) Open source: technology and policy. New York: Cambridge University Press. Dia a drawing program. http://projects.gnome.org/dia/ eXe eXeLearning. http://exelearning.org/ Free Photo Editing Software (Photo Editor). http://www.photoscape.org Free Software Foundation (2007). GNU

74


General Public License. Retrieved from http://www.gnu.org/copyleft/gpl.html Freemind – free mind mapping software. http://freemind.sourceforge.net/ freshmeat. http://freshmeat.net/ GIMP – The GNU Image Manipulation Program. http://www.gimp.org/ Graphic Organizers. http://www.graphic.org/ Inkscape: Draw Freely. http://www.inkscape.org/ iSpring Free PowerPoint to Flash converter. http://www.ispringsolutions.com/ Joomla! – the dynamic portal engine and content management system. http://www.joomla.org/ Koch, S. (2005). Free/open source software development. Hershey: Idea Group. Mambo – open source content management system. http://mambo-foundation.org/ Meeker, H.J. (2008) The open source alternative : understanding risks and leveraging opportunities. Hoboken, N.J.: Wiley. Moodle.org: open-source community-based tools for learning. http://moodle.org/ OpenOffice.org – The Free and Open Productivity Suite. http://www.openoffice.org/ Opensource.org (2010). The Open Source Definition (Annotated). Retrieved from http://www.opensource.org/docs/definit ion.php Osalt.com: open source as alternative. http://www.osalt.com/ Pdfforge.org: The free PDF Creator and Converter. http://www.pdfforge.org/ SourceForge: Find and develop open source software. http://sourceforge.net/ Wikipedia. Open Source. http://en.wikipedia.org/wiki/Open_sour ce

75



ผลของการชวยเสริมศักยภาพในการเรียนแบบใชปญหาเปนหลักบนเว็บ ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร Effects of Scaffoldings in Problem-Based Learning on Web upon Science Subject Learning Achievement ศศิวรรณ ชํานิยนต 1, ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ 2 1 ค.ม. (โสตทัศนศึกษา) 2

(sasiwan_c@hotmail.com)

อาจารยประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชาหลักสูตร การสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (praweenya@gmail.com)

บนเว็บ ที่มีการชวยเสริมศักยภาพที่แตกตางกันในรายวิชา วิทยาศาสตร 2) ศึกษาความคิดเห็นของผูเรียนจากการเรียน แบบใชปญหาเปนหลักบนเว็บ ที่มีการชวยเสริมศักยภาพที่ แตกตางกันในรายวิชาวิทยาศาสตร ผลการวิจัยพบวา 1) นักเรียนที่เรียนดวยการเรียนแบบใชปญหาเปนหลักบนเว็บที่ มีการชวยเสริมศักยภาพที่แตกตางกัน มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรี ย นหลั ง เรี ย นไม แ ตกต า งกั น อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .05 2) นักเรียนที่เรียนดวยการเรียนแบบใชปญหาเปน หลักบนเว็บที่มีการชวยเสริมศักยภาพที่แตกตางกัน มีความ คิดเห็นตอการเรียนแบบใชปญหาเปนหลักที่มีการชวยเสริม ศักยภาพในภาพรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ ร ะดั บ .05 แต มี ค วามคิ ด เห็ น ต อ การใช ห อ งสนทนา แตกต า งกั น อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 และ นั ก เรี ย นมี ค วามคิ ด เห็ น ต อ ประโยชน ข องการช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพแบบปรั บ เปลี่ ย นซึ่ ง จั ด ให มี ป ฏิ สั ม พั น ธ ร ะหว า ง ผูสอนกับผูเรียน นักเรียนมีความคิดเห็นเรียงตามลําดับ ดังนี้ (1) ตอบสนองความต อ งการของนั ก เรี ย นได ม ากที่ สุ ด (2) ชวยใหการเรียนเปนไปไดงายยิ่งขึ้น (3) ชวยใหนักเรียน แกปญหาไดงายยิ่งขึ้น อยูในระดับมากตามลําดับ สวน ประโยชน ข องการช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพแบบคงที่ ซึ่ ง ได จัดเตรียมไวใหบนเว็บ นักเรียนมีความคิดเห็นเรียงตามลําดับ ดังนี้ (1) แหลงเรียนรูออนไลนเพิ่มเติมและรูปภาพที่เกี่ยวของ กั บ เนื้ อ หาสาระช ว ยให ก ารเรี ย นเป น ไปได ง า ยยิ่ ง ขึ้ น (2) รูปภาพที่เกี่ยวของกับเนื้อหาสาระและแหลงเรียนรูออนไลน

ABSTRACT The purposes of this research were to 1) compare the science subject learning scores between the students studied in problem-based learning on web with different types of scaffolding 2) study the opinions of students about using problem-based learning and scaffolding on web. The major findings were as follows: 1) there was no statistically significant difference between students who studied using soft scaffolding and hard scaffolding in problem-based learning on web towards science learning achievement at the .05 level, 2) there was no statistically significant difference between opinions of students who studied with different types of scaffolding in problem-based learning on web at the .05 level, however, only chat room found statistically significant difference at the .05 level. And the opinions of students about the advantages of soft scaffolding provided online learnerinstructor interaction were ordered as follows: (1) responding to the students’ learning needs, (2) making process of problem-based learning on web easier, and (3) helping students to solve problems easier. While the opinions about the advantages of hard scaffolding were (1) the learning resource and related content pictures made process of problem-based learning on web easier, (2) the related content pictures and learning resource responded to the students’ learning needs, and (3) the learning resource and related content pictures helped students to solve problems easier. Keywords: Problem-based learning, Soft scaffolding, Hard scaffolding

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนจากการเรียนแบบใชปญหาเปนหลัก

77


แลกเปลี่ยนแนวคิดกับผูอื่นทําใหมีความรูกวางขวางมากขึ้น ซึ่งเปนการพัฒนาทักษะทางสังคมและเพิ่มแรงจูงใจในการ เรียน เนื่องจากผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนรู (Hmelo and Evensen, 2000) ในงานวิจัยครั้งนี้ไดศึกษาโดยการนํา แผนการสอนวิชาวิทยาศาสตรชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 มาพัฒนา ออกแบบการเรียนการสอนแบบใชปญหาบนเว็บ โดยพัฒนา กระบวนการเรียนจากแนวคิดของ Hmelo-Silver (2004) ที่มี การเรียนจํานวน 6 ขั้นตอนการเรียนดังนี้ 1. ขั้นนําเสนอปญหา 2. ขั้นสรางประเด็นระบุถึงปญหา ขอเท็จจริง 3. ขั้นตั้งสมมุติฐานการใหผูเรียนไดวิเคราะหถึงปญหาที่ จะไดมาซึ่งความคิด มีการเชื่อมโยงในโครงสรางของปญหา โดยอาศัยความรูเดิมของผูเรียน 4. ขั้นคนหาคําตอบ เสนอแนวทางแกไขปญหา เปนการ จัดลําดับความสําคัญของสมมติฐาน จากสมมติฐานตางๆที่ ได ม า มาพิ จ ารณาจั ด ลํ า ดั บ ความสํ า คั ญ อี ก ครั้ ง โดยอาศั ย ข อ สนั บ สนุ น จากข อ มู ล ความจริ ง พิ จ ารณาหาข อ ยุ ติ จาก สมมติฐานที่ไดคัดเลือกไว 5. ขั้นการนําความรูที่ไดนํามาประยุกตใชแกปญหาการ นําขอมูลที่ไดมาทําการวิเคราะหเพื่อพิสูจนสมมติฐานที่วาง ไว 6. ขั้ น สรุ ป และประเมิ น ผล เมื่ อ สามารถหาข อ มู ล ครบถวนตอการพิสูจนขอสมมุติฐานทั้งหมดได และสามารถ สรุปถึงหลักการตางๆที่ไดจากการศึกษาปญหา

เพิ่มเติมตอบสนองความตองการของนักเรียนได และ (3) แหลงเรียนรูออนไลนเพิ่มเติมและรูปภาพที่เกี่ยวของกับ เนื้อหาสาระชวยใหนักเรียนแกปญหาไดงายยิ่งขึ้น คําสําคัญ: การเรียนแบบใชปญหาเปนหลักบนเว็บ, การชวย เสริมศักยภาพแบบปรับเปลี่ยน, การชวยเสริมศักยภาพแบบ คงที่

1) บทนํา การศึ ก ษาของไทยในปจ จุ บั น ได จัด การศึ ก ษาที่ มุ ง เน น ให ผู เ รี ย นมี ค วามสามารถทั้ ง ในด า นความรู แ ละทั ก ษะ ก ร ะ บ ว น ก า ร โ ด ย ก า ร ยึ ด ห ลั ก ที่ ว า ผู เ รี ย น ทุ ก ค น มี ความสามารถในการเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวา ผู เ รี ย นมี ค วามสํ า คั ญ ที่ สุ ด กระบวนการจั ด การศึ ก ษาต อ ง ส ง เสริ ม ให ผู เ รี ย นสามารถพั ฒ นาตามธรรมชาติ แ ละเต็ ม ศักยภาพ นอกจากนี้ควรมุงเนนใหผูเรียนคิดเปน ทําเปน และ แกปญหาเปน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2545) การเรียนโดยใช ปญหาเปนหลัก (Problem-based Learning; PBL) เปนการ เรี ย นที่ ใ ห ผู เ รี ย นมี โ อกาสได เ รี ย นรู ด ว ยตนเอง ใน ขณะเดียวกันยังคงรักษารูปแบบของการเรียนในชั้นเรียนที่มี ประสิทธิภาพเหมาะสมกับการจัดหองเรียนในโรงเรียนทั่วไป ในปจจุบันที่แตละหองเรียนจัดคละกันทั้งนักเรียนเกง ปาน กลาง ออน นักเรียนที่มีความสามารถแตกตางกันสามารถ ร ว มกั น เรี ย นรู ไ ด เ ลื อ กป ญ หาวิ ธี ก ารเรี ย นบนพื้ น ฐานของ พัฒนาการและความสนใจ (Greenwald, 2000)

การนํ า เอาเทคโนโลยี ม าใช เ ป น สื่ อ ในการเรี ย นการสอน สามารถนําเสนอบทบาทที่สําคัญในกระบวนการแกปญหาได เปนอยางดี ในการเรียนแบบใชปญหาเปนหลักบนเว็บตองมี การผสมผสานกันระหวางกลวิธีการเรียนแบบใชปญหาเปน หลักและการเรียนบนเว็บที่กอใหเกิดการเขาถึง การเรียนรู ร ว มกั น ที่ มี ก ารจั ด กิ จ กรรมที่ มี นั ก เรี ย นเป น ศู น ย ก ลาง สนับสนุนใหนักเรียนมีสวนรวมอยางเต็มที่ (Gooding, 2001 อางถึงในจักรพันธ เรืองนุภาพขจร, 2546) การนําการเรียน โดยใชปญหาเปนหลักมาทําการเรียนบนเว็บเปนการนําเอา เทคโนโลยีมาประยุกตใชในการเรียนการสอน ไมวาจะเปน การนํ า เสนอป ญ หา การให ค วามช ว ยเหลื อ การช ว ยเสริ ม ศัก ยภาพ การสง เสริม ให นัก เรี ย นได มีส วนรว มกั น ในการ

ขอดีของการเรียนแบบใชปญหาเปนหลักกลาวโดยสรุป คือ ผูเรียนจะไดรับความรูในเนื้อหาวิชาที่เปนการบูรณาการ และ สามารถนําความรูไปประยุกตใชเปนเครื่องมือในการจัดการ ปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาความสามารถ ในการแกปญหา ฝกทักษะในการแกปญหา การใชเหตุผลใน การคิดวิเคราะห และตัดสินใจ พัฒนาทักษะในการเรียนรูดวย ตนเอง การให ผู เ รี ย นมี ส ว นร ว มในการอภิ ป ราย มี วิ ธี ก าร แสวงหาความรู แ ละไตร ต รองทรั พ ยากรการเรี ย น ซึ่ง เป น กระบวนการที่มีความหมายสําคัญ ชวยใหผูเรียนเรียนรูดวย ตนเอง พัฒนากระบวนการทํางานเปนทีม การเรียนเปนกลุม ย อ ยทํ า ให ผู เ รี ย นได มี โ อกาสแสดงความคิ ด เห็ น และ

78


ทํ า ภาระงาน ซึ่ ง การช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพแบบนี้ ส ามารถ สอดแทรกอยูในซอฟตแวรมัลติมีเดียและไฮเปอรมีเดียเพื่อ ชวยสนับสนุนผูเรียนขณะใชซอฟตแวร

ทํางานกลุมโดยผานทางเครื่องมือติดตอ เชน กระดานเสวนา (Web board) หองสนทนา (Chat room) ในการเรียนการสอนแบบใชปญหาเปนหลักในกระบวนการ แกปญหานั้นนักเรียนบางกลุมอาจตองการความชวยเหลือใน ระหวางการเรียนแบบใชปญหาเปนหลัก ซึ่งจากการศึกษา พบวาการนําการชวยเสริม ศักยภาพ (Scaffolding) มาใชใน กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน การช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพในการ เรียนแบบใชปญหาเปนหลัก เปนการที่ผูสอน เพื่อน หรือผูที่ มีความสามารถมากกวาใหความชวยเหลือในการปฏิบัติงาน แก นั ก เรี ย นในรู ป แบบต า งๆ โดยมุ ง ให นั ก เรี ย นสามารถ แกปญหา หรือปฏิบัติไดดวยตนเอง ไปสูความสามารถใน การปฏิบัติงานนั้นใหสําเร็จไดดวยตนเองอยางอิสระ (Eggen and Kauchack, 1997; Mclnerney and Mclnerney, 1998; Wu, 2001 อางถึงในกมล โพธิเย็น, 2547) การเรียนแบบใชปญหา เปนหลักโดยมีชวยการชวยเสริมศักยภาพทําใหกระบวนการ แกปญหาสามารถแกปญหาสามารถแกไดถูกทาง โดยอาศัย การชวยเหลือจากการชวยเสริมศักยภาพ (Simons and Klelin, 2007) จะเห็ น ได ว า การช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพจั ด เป น องคประกอบหนึ่งที่มีความสําคัญที่สงผลตอความสําเร็จใน การเรียนการสอนของนักเรียนทั้งในชั้นเรียน และการเรียน การสอนบนเว็ บ ขณะเดี ย วกั น การเรี ย นการสอนแบบใช ปญหาเปนหลั กเปนวิ ธีการเรียนการสอนที่สามารถนําการ ช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพมาใช เ พื่ อ ส ง เสริ ม ให นั ก เรี ย นสามารถ แกไ ขปญหาได (สุจิตรา เขียวศรี, 2550) งานวิจัย นี้ได พิจารณาการชวยเสริมศักยภาพทั้ง 2 รูปแบบ (Brush และ Saye, 2002) มาเปนกรอบแนวคิดในการวิจัย คือ 1. การช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพแบบปรั บ เปลี่ ย น (Soft Scaffolding) หมายถึงความชวยเหลือที่สามารถปรับเปลี่ยน ไดเหมาะสมตามสถานการณ ซึ่งจัดโดยผูสอนหรือเพื่อนชวย เพื่อน ในกระบวนการเรียน การชวยเสริมศักยภาพประเภทนี้ ผู ส อนจะต อ งมี ก ารวิ นิ จ ฉั ย ความเข า ใจของผู เ รี ย นอย า ง ตอเนื่องและจัดการชวยเหลือโดยดูจากการตอบสนองของ ผูเรียน 2. การชวยเสริมศักยภาพแบบคงที่ (Hard Scaffolding) หมายถึงการชวยเหลือที่คงที่ซึ่งไดมีการวางแผนไวลวงหนา แลวโดยมีพื้นฐานอยูบนปญหาที่กลุมผูเรียนทั่วไปพบในการ

จากลั ก ษณะของการเรี ย นแบบใช ป ญ หาเป น หลั ก และ ความสําคัญของการชวยเสริม ศักยภาพผูเรียนระหว างการ เรี ย น ผู วิ จั ย จึ ง ต อ งการศึ ก ษาผลของการใช ก ารช ว ยเสริ ม ศักยภาพ (Scaffolding) แบบปรับเปลี่ยนและแบบคงที่ในการ เรียนแบบใชปญหาเปนหลักบนเว็บ วิชาวิทยาศาสตร โดย ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน และความคิดเห็น ในการเรียน เพื่อเปนประโยชนสําหรับการนําไปใชพัฒนาใน การเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร หรือรายวิชาอื่นๆ ตอไป

2) วัตถุประสงคการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน จากการเรียนแบบใชปญหาเปนหลักบนเว็บ ที่มีการชวยเสริม ศั ก ยภาพแบบปรั บ เปลี่ ย น และแบบคงที่ ในรายวิ ช า วิทยาศาสตรชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผูเรียนที่มีตอการเรียนแบบ ใช ป ญ หาเป น หลั ก บนเว็ บ ที่ มี ก ารช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพแบบ ปรับเปลี่ยน และแบบคงที่

3) สมมุติฐานในการวิจัย ผู เ รี ย นที่ ไ ด รั บ การช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพในการเรี ย นแบบ ปรับ เปลี่ย น และแบบคงที่ ในการเรียนแบบใชปญ หาเปน หลั ก บนเว็ บ มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นแตกต า งกั น อย า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

4) ประชากรและกลุมตัวอยางในการวิจัย 1. ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้น มัธ ยมศึก ษาตอนต น ของโรงเรีย นในสังกัดสํ านัก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 2. กลุมตัวอยางในการวิจัย การคัดเลือกโรงเรียนที่เปน ตัวแทนของประชากรในการวิจัยใชวิธีการเลือกแบบเจาะจง

79


- เว็บที่ใชการเรียนแบบใชปญหาเปนหลักที่มีรูปแบบ การชวยเสริมศักยภาพแบบคงที่ เปนเว็บที่มีเครื่องมือรองรับ การชวยเสริมศักยภาพแบบคงที่ประกอบไปดวยการใหการ ชว ยเสริ ม ศัก ยภาพโดยมี ก ารจั ด เครื่อ งมื อ ไว ให บ นเว็ บ อั น ไดแก เอกสารความรูเพิ่มเติม แหลงเรียนรูออนไลนเพิ่มเติม คํ า ถามชวนคิ ด คํ า สํ า คั ญ ในการค น หาข อ มู ล (Keywords) รูปภาพที่เกี่ยวของกับเนื้อหาสาระ ซึ่งการชวยเสริมศักยภาพ ทั้งหลายนี้มีการจัดเตรียมไวใหนักเรียนไวบนเว็บอยางคงที่ แล ว คื อ มี ก ารจั ด เตรี ย มไว ใ ห ล ว งหน า และไม มี ก ารแก ไ ข ระหวางทดลอง ตัวอยางการชวยเสริมศักยภาพแบบคงที่

(Purposive sampling) ซึ่งมีเกณฑในการพิจารณาคัดเลือก โรงเรียนดังนี้ เปนโรงเรียนขนาดใหญ และเปนโรงเรียนใน โครงการโรงเรียนในฝนจากจํานวนทั้งหมด 2,500 โรงเรียน (พ.ศ. 2552) ที่ มีค วามพร อ มทางดา นอุป กรณค อมพิ วเตอร อินเทอรเน็ต ดานบุคคลากรและนักเรียนมีความรูพรอมใน ทางดานคอมพิวเตอรและการใชอินเทอรเน็ตในการเรียนการ สอน สุมกลุมตัวอยางนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 จากโรงเรียนวัด พุทธบูชา ซึ่งเปนโรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพเขต 3 ปการศึกษา 2552 จํานวน 38 คน

5) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

รูปที่ 1: คําถามชวนคิด

การวิจัยครั้งนี้มีเครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3 ประเภท เพื่อเก็บ รวบรวมขอมูล ดังนี้ 1. แผนการเรียนแบบใชปญหาเปนหลัก แบงออกเปน 2 รูปแบบคือแผนการเรียนแบบใชปญหาเปนหลักที่มีรูปแบบ การชวยเสริม ศัก ยภาพแบบปรับ เปลี่ยนและแผนการเรีย น แบบใชป ญ หาเป น หลั ก ที่มี รูป แบบการช วยเสริม ศั ก ยภาพ แบบคงที่ เนื้อหารายวิชาวิทยาศาสตรชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เกี่ย วกั บชีวิตกับสิ่งแวดลอ ม เรื่อ งสภาวะโลกรอน จากนั้น นํ า ไปให ผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ ด า นเนื้ อ หาตรวจสอบความตรงเชิ ง เนื้อหาและความเหมาะสมของการออกแบบการสอน จํานวน 3 ทาน มีคําแนะนําใหปรับปรุงแผนโดย เพิ่มสาระสําคัญ การ จัดกิจกรรม เวลาที่ใชในการเรียนการสอน และการใชภาษา 2. เว็ บ ที่ ใ ช ก ารเรี ย นแบบใช ป ญ หาเป น หลั ก แบ ง ออกเปน 2 รูปแบบ ดังนี้ - เว็บที่ใชการเรียนแบบใชปญหาเปนหลักที่มีรูปแบบ การชวยเสริมศักยภาพแบบปรับเปลี่ยน เปนเว็บที่มีเครื่องมือ รองรับการชวยเสริมศักยภาพแบบปรับเปลี่ยนอันประกอบ ไปดวย หองสนทนา (Chat room) ระหวางนักเรียนดวยกัน และระหวางนักเรียนและผูสอน เพื่อใหนักเรียนสามารถ พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการแกปญหา และกระดาน เสวนา (Web board) เพื่อใหนักเรียนไดเขาไปเขียนขอความรู ที่ไดคนควา

รูปที่ 2: คําสําคัญในการคนหาขอมูล (Keywords)

รูปที่ 3: รูปภาพที่เกี่ยวของกับเนื้อหาสาระ การพัฒนาเว็บทั้ง 2 แบบมีขั้นตอนการพัฒนาที่เหมือนกันคือ ศึกษาเนื้อหารายวิชาวิทยาศาสตรชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ใน สวนของเนื้อหาชีวิ ตกับ สิ่งแวดลอ ม เรื่องสภาวะโลกรอ น ขั้นตอนการเรียนแบบใชปญ หาเปน หลัก และรูปแบบการ ชวยเสริมศักยภาพ ทําการออกแบบและพัฒนา จากนั้นนําไป ใหผูเชี่ย วชาญการเรีย นการสอนบนเว็บ โดยใชป ญ หาเป น หลั ก จํ า นวน 3 ท า น เพื่ อ ตรวจสอบ ผลการพิ จ ารณา แบบสอบถามความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญขอคําถามทุกขอมี

80


กลุมยอย โดยแตละกลุมใหสมาชิกมีความคละกันระหวาง นักเรียนที่มีผลการเรียนตางๆ เพื่อใหทุกกลุมมีความสามารถ ที่เทาเทียมกันเปนการควบคุมความแปรปรวนที่อาจจะเกิด ขึ้นกั บ งานวิ จัย จากนั้ นทํ า การสุ ม อยา งงา ยเขา กลุม รับ การ ทดลองโดยการเรียนแบบใชปญหาเปนหลักแบบใชการชวย เสริมศักยภาพแบบปรับเปลี่ยน และแบบคงที่ กลุมละ 5 กลุม ยอยจํานวน 19 คน 2. ขั้ น การทดลองครั้ ง นี้ ใ ช ร ะยะเวลาในการทดลอง ทั้งสิ้น 4 สัปดาห 16 คาบเรียน นักเรียนทั้ง 2 กลุมทดลองทํา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์กอนเรียนจํานวน 30 ขอ ใชเวลา 50 นาที หลังจากการเรียนสัปดาหสุดทายนักเรียนทุกคนทํา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียนจํานวน 30 ขอใชเวลา 50 นาที และทํ า แบบสอบถามความคิ ด เห็ น เก็ บ รวบรวม ขอมูลโดยนําแบบทดสอบที่กลุมตัวอยางทั้งกอนและหลังการ ทดลองมาตรวจให ค ะแนน โดยใหค ะแนนขอ ที่ ตอบถูก 1 คะแนน ข อ ที่ ต อบผิ ด หรื อ ไม ต อบให 0 คะแนน และเก็ บ ขอมูลแบบสอบถามความคิดเห็นจากการเรียนแบบใชปญหา เปนหลักบนเว็บที่มีการชวยเสริมศักยภาพแบบปรับเปลี่ยน และแบบคงที่ แลวนําคะแนนที่ไดมาทําการวิเคราะหขอมูล ดวยวิธีทางสถิติ 3. ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ข อ มู ล ผู วิ จั ย ไ ด นํ า ข อ มู ล จ า ก แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์และแบบสอบถามความคิดเห็นที่ ไดรวบรวมมาทําการวิเคราะหคาทางสถิติโดยใชโปรแกรม สํ า เร็ จ รู ป ในการวิ เ คราะห ข อ มู ล อั น ได แ ก การวิ เ คราะห ค า เ ฉ ลี่ ย ( ) ส ว น เ บี่ ย ง เ บ น ม า ต ร ฐ า น (S.D) แ ล ะ เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของคะแนนในการทําแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์กอนและหลังเรียนของกลุมทดลองทั้ง 2 กลุม โดยนํา ขอมูลมาวิเคราะหเปรียบเทียบ (t-test Independent) และ (ttest Dependent) การวิเคราะหความคิดเห็นเกี่ยวกับความ คิดเห็นตอการเรียนแบบใชปญหาเปนหลักบนเว็บโดยการ ชวยเสริมศักยภาพแบบปรับเปลี่ยน และแบบคงที่นําเสนอ ขอมูลโดยทําการแปลขอมูลจัดเปนกลุมๆ สรุปใจความสําคัญ ของขอคําตอบ

คา IOC เกินกวา 0.5 และมีขอเสนอแนะในสวนของการ เอกสารแนบ, แนวทางในการคัดเลือกปญหา, การคัดกรอง เว็บไซต 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลัง เรี ย น พั ฒ นามาจากเนื้ อ หารายวิ ช าวิ ท ยาศาสตร ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 3 ในส ว นของเนื้ อ หาชี วิ ต กั บ สิ่ ง แวดล อ ม เรื่องสภาวะโลกรอน นําขอสอบที่ผานผูเชี่ยวชาญตรวจสอบ ความตรงเชิงโครงสรางแลวไปทดสอบกับกลุมตัวอยาง เพื่อ หาค า ความยากง า ย และค า อํ า นาจจํ า แนกจนได ข อ สอบ จํานวน 30 ขอ ที่มีคาความยากงายระหวาง 0.2-0.8 คาอํานาจ จําแนกตั้งแต 0.2 ขึ้นไป และไดคาความเที่ยงของแบบสอบ ฉบับนี้เทากับ 0.86 4. แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนตอการเรียน แบบใช ปญ หาเปน หลั ก บนเว็ บ โดยการชวยเสริม ศั กยภาพ พัฒนาจากศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของกับหลักเกณฑ การสรางแบบสอบถาม ประกอบไปดวย 3 ตอนคือ ตอนที่ 1 ขอ มู ลทั่ ว ไป เป นข อ คํ า ถามเกี่ ย วกับ สถานภาพของผูเ รี ย น ประกอบไปดว ย อายุ เพศ ผลการเรี ย น พฤติก รรมการใช เครื่องมือบนเว็บ เปนแบบสอบถามประเภทแบบตรวจสอบ รายการ (Check list) ตอนที่ 2 ความคิดเห็นตอการเรียนแบบ ใชปญ หาเปนหลัก บนเว็บ โดยการช ว ยเสริ ม ศัก ยภาพแบบ ปรั บ เปลี่ ย น และแบบคงที่ เ ป น แบบสอบถามประเภท ปลายเปด และตอนที่ 3 ความคิดเห็นในการเรียนแบบใช ป ญ หาเป น หลั ก บนเว็ บ และ การช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพแบบ ปรับเปลี่ยน และแบบคงที่ เปนแบบสอบถามประเภทมาตรา สวนประมาณคา (Rating scale) 5 ระดับ ผลการพิจารณา แบบสอบถามความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 ทาน ขอ คําถามทุกขอมีคา IOC เกิน 0.5 และมีขอเสนอแนะปรับปรุง ในส วนของการใช ภ าษา จากนั้ น นํา เว็ บ ที่ ไ ด แ ละแผนการ เรี ย นรู ที่ ได ไ ปทดลองใช จ ริ งทั้ ง ระบบเป น เวลา 4 สั ป ดาห และนําผลที่ไดมาปรับปรุงแกไขอีกครั้ง

6) วิธีดําเนินการวิจัย 1. จัดกลุม ตัวอยางเขากลุมทดลอง โดยแบงตามระดับ ความสามารถทางการเรียนตามคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนในปการศึกษา 2551 ดวยคาเปอรเซ็นตไทล คัดเลือกเขา

81


เสริ ม ศั กยภาพจะช วยลดโอกาสของการล ม เหลวในงานที่ นักเรียนกําลังทํา ทําใหนักเรียนสามารถทํางานที่ตัวเองไม สามารถทําไดดวยตนเองสําเร็จ นั่นคือการชวยเสริมศักยภาพ สง ผลให นั ก เรี ย นมี ค วามรู ค วามสามารถในการเรี ย น การ ทํ า งานมากขึ้ น กว า การที่ นั ก เรี ย นไม ไ ด รั บ การช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพเลย การช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพให แ ก นั ก เรี ย นทํ า ให นักเรียนมีผลการเรียนที่ดีขึ้นมากกวานักเรียนที่ไมไดรับการ ชวยเสริ ม ศัก ยภาพ ในการพิ จารณาสาเหตุที่ ทํา ใหค ะแนน ความสามารถผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุมทดลองทั้ง 2 กลุ ม ไม แ ตกต า งกั น พิ จ ารณาจากการวิ เ คราะห ผ ลการมี ปฏิ สั ม พั น ธข องผู ส อนกั บ ผู เ รี ย นระหว า งการใหก ารเสริ ม ศักยภาพแบบปรับเปลี่ยน และการจัดการชวยเสริมศักยภาพ แบบคงที่ ซึ่ ง ออกแบบไว ล ว งหน า นั้ น พบว า การช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพแบบปรั บ เปลี่ ย นที่ จั ด ให ต ามความต อ งการของ ผูเรีย นมีความคลายคลึงกันกับ การชวยเสริม ศักยภาพแบบ คงที่ที่ไดจัดเตรียมไวใหโดยมีการออกแบบและพิจารณาถึง กระบวนการเรียนในแตละขั้นไวลวงหนา เมื่อพิจารณาคะแนนผลสัมฤทธิ์กอนเรียนและหลังการเรียน พบวา ทั้ง 2 กลุมทดลองมีคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังการเรียนสูง กวากอนการเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่ง แสดงให เ ห็ นว า การช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพในการเรี ย น ส ง ผล ใหผลการเรียนของนักเรียนดีขึ้น สอดคลองกับการวิจัย ที่ พบวา การใชกลวิธีชวยเสริมศักยภาพ ผูเรียนที่ไดรับการชวย เสริม ศัก ยภาพมีผ ลการเรี ย นดีก วา กลุ ม ที่ ไม ได รับ การช ว ย เสริมศักยภาพ (สุจิตรา เขียวศรี, 2550; Petsangsri Sirirat, 2002; Cho, 2001; Li, 2001) และการเรียนแบบใชปญหาเปน หลั ก บนเว็ บ ทํ า ใหผู เ รีย นมี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นที่ดี ขึ้ น (อุดม รัตนอัมพรโสภณ, 2544; วิไลพร สุตันไชยนนท, 2546; ฉัตรลดา สุน ทรนนท, 2549) ทํา ใหผู เรีย นเกิ ด การเรี ยนรู ที่ เพิ่ ม ขึ้ น ทั้ ง เนื่ อ งมาจากการค น คว า ด ว ยตั ว เองและจากการ ไดรับคําแนะนําจากแหลงตางๆ 2. ความคิดเห็นของผูเรียนที่เรียนดวยการเรียนแบบใช ปญหาเปนหลักบนเว็บที่มีการชวยเสริมศักยภาพที่แตกตาง กัน ผูเรียนสวนใหญมีความคิดเห็นตอการเรียนแบบใชปญหา เป น หลั ก บนเว็ บ ที่ มี ก ารช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพไม แ ตกต า งกั น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีความคิดเห็นอยู ในระดั บ มาก แสดงให เ ห็ น ว า ผู เ รี ย นมี ค วามคิ ด เห็ น ใน

7) ผลการวิจัย 1. นักเรียนที่เรียนดวยการเรียนแบบใชปญหาเปนหลัก บนเว็บที่มีการชวยเสริมศักยภาพที่แตกตางกัน มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียนไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 ดังแสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ผลการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของคะแนนในการทํา แบบทําสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียนของทั้ง 2 กลุมทดลอง Scaffold ปรับเปลี่ยน คงที่

N

19 19

23.42 24.00

SD

t-test

p

2.22 1.91

.861

.395

2. นักเรียนที่เรียนดวยการเรียนแบบใชปญหาเปนหลัก บนเว็ บ ที่ มี ก ารช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพที่ แ ตกต า งกั น มี ค วาม คิดเห็นตอการเรียนแบบใชปญหาเปนหลักที่มีการชวยเสริม ศักยภาพในภาพรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ ร ะดั บ .05 โดยมี ค า เฉลี่ ย ของคะแนนความคิ ด เห็ น ของ นั ก เรี ย นที่ เ รี ย นแบบใช ป ญ หาเป น หลั ก ที่ มี ก ารช ว ยเสริ ม ศักยภาพแบบปรับเปลี่ยน อยูในระดับมาก และคาเฉลี่ยของ คะแนนความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนแบบใชปญหาเปน หลักที่มีการชวยเสริมศักยภาพแบบคงที่ อยูในระดับมาก แต มีความคิดเห็นตอการใชหองสนทนาซึ่งเปนเครื่องมือหนึ่ง ของการชวยเสริมศักยภาพ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05

8) อภิปรายผลการวิจัย 1. นักเรียนที่เรียนดวยการเรียนแบบใชปญหาเปนหลัก บนเว็บ ที่มีการชวยเสริมศักยภาพที่แตกตางกัน มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ย นไม แ ตกต า งกั น อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .05 ผลการวิจัยนี้สอดคลองกับงานวิจัยของ Schwarz (2003) ที่ไดศกึ ษาการชวยเสริมศักยภาพ 2 รูปแบบคือ การให คําแนะนําแบบเลือกได และขอมูลพิเศษที่กําหนดมาให ได ทดลองกั บ กลุ ม ทดลอง 4 กลุ ม พบว า ทั้ ง 4 กลุ ม ทดลองมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ และ สอดคลองกับแนวคิดของ McLoughlin (2002) ที่วาการชวย

82


ผูสอนควรใหความสําคัญกับการออกแบบรูปแบบการชวย เสริมศักยภาพ 2. จากวิจัยครั้งนี้ พบวา นักเรียนมีความคิดเห็นตอการ เรียนแบบใชปญหาเปนหลักและการชวยเสริมศักยภาพอยูใน ระดับมากทั้ง 2 แบบ ในการศึกษาครั้งตอไปอาจนํารูปแบบ การชวยเสริมศักยภาพทั้ง 2 รูปแบบมาผสมผสานกันในการ เรีย น แตทั้งนี้บางความชวยเหลือ สามารถจัดเตรี ย มไว ลวงหนาไดเชน แหลงเรียนรูออนไลน คําถามชวนคิด ขึ้นอยู กับผูสอนตองวิเคราะหและออกแบบการสอน รวมทั้งมีการ วิเคราะหผูเรียนถึงลักษณะเฉพาะของผูเรียนไวลวงหนา และ เมื่อพิจารณาความคิดเห็นของผูเรียนจากการเสริมศักยภาพ แบบปรับเปลี่ยนจากหองสนทนา พบวาสามารถตอบสนอง ความตองการของผู เรียนไดมากที่สุด ซึ่งหมายความวาใน กระบวนการเรียนการสอนผูสอนจะตองคอยดูแล ควบคุม การเรียนของผูเรียนโดยตลอด เพื่อใหสามารถตอบสนอง ความตองการของผูเรียนไดอยางเต็มที่ 3. จากการวิ จั ย การช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพแบบคงที่ กลุ ม ตัวอยางใหความเห็นในระดับดี ตอเครื่องมือคือในการชวย เสริมศักยภาพไดแก แหลงเรียนรูออนไลนเพิ่มเติม รูปภาพที่ เกี่ยวของกับเนื้อหาสาระ คําถามชวนคิด และเอกสารความรู เพิ่ ม เติ ม และให ค วามเห็ น ในระดั บ ดี เ ช น กั น ต อ ช อ งทาง ติดตอสื่อสารในการชวยเสริม ศักยภาพที่จัดไวใหคือ หอ ง สนทนา และกระดานเสวนา ดั ง นั้ น จึ ง สามารถนํ า ไปเป น แนวทางในการออกแบบการเรียนแบบใชปญหาเปนหลักบน เว็บที่มีการชวยเสริมศักยภาพ สําหรับการจัดการเรียนการ สอนกลุมสาระอื่นๆ ในชวงชั้นมัธยมศึกษาตอนตนได

ทางบวกตอวาการเรียนโดยแบบใชปญหาเปนหลัก ทั้งนี้การ เรียนโดยใชปญหาเปนหลักชวยสรางแรงจูงใจในการเรียนแก นักเรียนมากกวาการเรียนแบบปกติ (Barrows and Tamblyn , 1980; Spencer, 1999; Hmelo and Evensen, 2000; Pedersen, 2000; อาภรณ แสงรัศมี, 2543) ความคิดเห็นของผูเรียนตอการเรียนแบบใชปญหาเปนหลัก บนเว็บที่มีการชวยเสริมศักยภาพที่แตกตางกัน ผูเรียนสวน ใหญเห็นวาการเรียนแบบใชปญหาเปนหลักบนเว็บที่มีการ ชวยเสริมศักยภาพ สงเสริมใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดวย ตนเอง และการช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพสามารถช ว ยให ผู เ รี ย น ทํางานไดงายยิ่งขึ้น หากไมมีการชวยเสริมศักยภาพผูเรียน อาจทํางานออกมาไดไมดีเทาที่ควรหรืออาจหลงทางในการ หาข อ มู ล ส ว นความคิ ด เห็ น ของรู ป แบบในการช ว ยเสริ ม ศักยภาพ นักเรียนที่เรียนดวยการเรียนแบบใชปญหาเปนหลัก บนเว็บที่มีการชวยเสริมศักยภาพแบบปรับเปลี่ย น มีความ คิ ด เห็ น ในการช ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพอยู ใ นระดั บ มากทุ ก ด า น สวนนักเรียนที่เรียนดวยการเรียนแบบใชปญหาเปนหลักบน เว็บที่มีการชวยเสริมศักยภาพแบบคงที่ มีความคิดเห็นในการ ชวยเสริมศักยภาพอยูในระดับมากทุกดานเชนกัน แสดงให เห็นวาการเรียนโดยมีการชวยเสริมศักยภาพนี้ทําใหผูเรียน สามารถเรียนรูไดดวยตัวเองไดดียิ่งขึ้น สามารถแก ปญ หา ทํางานไดดวยตนเองและทําใหการเรียนเปนไปไดงายยิ่งขึ้น (Simons and Klelin, 2007; Petsangsri Sirirat, 2002; สุจิตรา เขียวศรี, 2550)

9) ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช

10) ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป

1. ผลการวิจัยครั้งนี้ พบวา นักเรียนที่เรียนแบบใชปญหา เปนหลักบนเว็บที่มีการชวยเสริมศักยภาพที่แตกตางกัน กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 กลุมทดลองมีคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกวาคะแนน ผลสัมฤทธิ์กอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้ง 2 กลุม จะเห็นไดวา การเรียนแบบใชปญหาเปนหลักที่มี การชวยเสริมศักยภาพทั้ง 2 แบบเปนวิธีการสอนแบบหนึ่งที่ มีประสิทธิภาพสามารถนําไปใชในการจัดการเรียนการสอน ในกลุ มสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรของนักเรียนได ทั้งนี้

1. ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยศึกษาผลของการเรียนโดยใช ปญหาเปนหลักบนเว็บที่มีการชวยเสริมศักยภาพที่แตกตาง กันที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและศึกษาความคิดเห็นตอ การเรียนแบบใชปญหาเปนหลักบนเว็บและการชวยเสริม ศักยภาพไมไดศึกษาในสวนของกระบวนการแกปญหาจึง ควรมีการศึกษาถึงกระบวนการปญหาของนักเรียนในการ เรียนแบบใชปญหาเปนหลักในการทําวิจัยครั้งตอไป

83


ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาโสตทัศนศึกษา คณะครุ ศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อาภรณ แสงรัศมี. (2543). ผลของการเรียนแบบใชปญหาเปน หลักตอลักษณะการเรียนรูดวยตนเองผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม และ ความพึงพอใจตอการเรียนการสอนของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาคมัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. อุดม รัตนอัมพรโสภณ. (2544). ผลของการสื่อสารในเวลา เดียวกันและตางเวลากันในการเรียนรูบนเว็บโดย ใชปญหาเปนหลักที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วิทยานิพนธ ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาโสตทัศนศึกษา คณะครุ ศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Barrows, H. S., & Tamblyn, R. M. (1980). Problem-based learning- An approach to medical education. New York: Springer. Brush, T. & Saye, J. (2000). Design, implementation, and evaluation of student centered learning: A case study. Educational Technology Research and Development 48(2): 79–100. Brush, T. & Saye, J. (2002). A Summary of Research Exploring Hard and Soft Scaffolding for Teachers and Students Using a Multimedia Supported Learning Environment . The Journal of Interactive Online Learning Volume1, November 2. Cho, K. (2001). The effects of argumentation scaffolds on argumentation and problem solving in an online collaborative group problem-solving environment. Doctoral dissertation. The Pennsylvania State University [online] Available from: http://www.lib.umi.com/dissertations. [2009, December 15]

2. หากนํา การเรีย นแบบใช ปญ หาเปน หลักบนเว็บ ที่ มี การชวยเสริมศักยภาพไปใชกับนักเรียนระดับชั้นต่ํากวาชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3 ควรพิจารณาความเหมาะสมใหสอดคลอง กับระดับการเรียนรู และระดับความสามารถของนักเรียนใน การชวยเสริมศักยภาพใหมากยิ่งขึ้น

เอกสารอางอิง กมล โพธิเย็น. (2547). รูปแบบการพัฒนาความคิดอยางเปน ระบบเพื่อสรางเสริมความสามารถดานทักษะการ เขียนภาษาไทยของนักศึกษาระดับปริญญาตรีโดย ใชแนวคิดทฤษฎีไตรอารขิกและวิธีการแบบสแกฟ โฟลด. วิทยานิพนธปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขา จิตวิทยา ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะ ครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). สาระและ มาตรฐานการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. พิมพครั้งที่ 1: กรุงเทพมหานคร. จักรพันธ เรืองนุภาพขจร. (2546). ปฏิสัมพันธของติวเตอร และวิธีการมอบหมายภาระงานในการเรียนโดยใช ปญหางายและยากเปนหลักบนเว็บที่มีตอลักษณะ การเรียนรูดวยตนเองของนักศึกษาวิทยาลัยพล ศึกษา.วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาโสต ทัศนศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ฉัตรลดา สุนทรนนท. (2549). ผลของการเรียนโดยใชปญหา เปนหลักบนเว็บที่มีผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่มีแบบการเรียนตางกัน. วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาโสตทัศนศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549. สุจิตรา เขียวศรี.(2550). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน แบบสืบสอบบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร โดยใชการ ชวยเสริมศักยภาพเพื่อพัฒนาทักษะการแกปญหา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน. วิทยานิพนธ

84


http://www.lib.umi.com/dissertations. [2009, January 29] Saye, J.W. & Brush, T. (2002). Scaffolding critical reasoning about history and social issues in multimedia-supported learning environments. Educational Technology Research and Development 50(3): 77–96. Spencer, A. John. (1999). Learner centred approaches in medical education. Medical Education, Faculty of Medicine, University of Newcastle.[online] Available from: http://www.bmj.com/cgi/eletters /318 /7193/1280#3455. [2009, January 29]

Cindy E. Hmelo-Silver. (2004). Problem-Based Learning: What and How Do Students Learn. Educational Psychology Review, Vol. 16, No. 3, September. Eggen, P., and Kauchak, D. (1997). Educational Psychology: Windows on Classrooms. 3rded. New Jersey: Merrill, an imprint of Prentice Hall. Hmelo, Cindy E. (eds.). (2000). Problem-Based Learning A Research Perspective on Learning Interactions, pp. 33-41. Mahwah, New Jersey : Lawrence Erlbaum Associates. Krista D. Simons, & James D. Klein. (2007). The Impact of Scaffolding and Student Achievement Levelsin a Problem-based Learning Environment. Instructional Science 35:41–72. Larkin, M. J. (2002). Using Scaffold instruction to optimize learning. ERIC Digests [online] Available from: http://www.ericdigests.org/ 20035/ optimize.htm, 2002. [2009, December 17] Li, S. (2001). Contingent scaffolding strategies in computer-based learning environment. Doctoral dissertation Indiana University.[online] Available from: http://www.lib.umi.com/disseration.[ 2009 December 15] McLoughlin, C. (2002). Learner support in distance and networked learning environment: Ten dimensions for successful design. Distance Education 23(2): 149-162. Pederson Jane. (2000). Cognitive modeling during problem-based learning: The effects of a hypermedia expert tool. Doctoral dissertation. The University of Texas at Austin, Dissertation Abstract international: 61-08A. Petsangsri, Sirirat. (2002). The effects of embedded scaffolding strategy on knowledge acquisition in a cognitive flexibility-based computer training environment. Doctoral dissertation. University of Pittsburgh [online]. Available from:

85



4M และ KM เพื่อการเรียนการสอนออนไลน 4M & KM for e-Learning สงคราม มีบุญญา1, พรพิมล รอดเคราะห2, ปกเกศ ชนะโยธา3 1 นิสิตดุษฎีบัณทิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2 3

(Songkram@tu.ac.th, S_meebonya@hotmail.com)

นิสิตดุษฎีบัณทิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (pumpim_myria@hotmail.com)

นิสิตดุษฎีบัณทิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (power-raisin@hotmail.com)

แบบออนไลนเขามาใชเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากเปนระบบการ เรี ย นการสอนที่ ส อดคล อ งกั บ เทคโนโลยี ซึ่ ง ได มี ก าร พั ฒ นาขึ้ น อย า งรวดเร็ ว โดยใช เ ครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต เป น ชองทางในการถายทอดเนื้อหาใหไปสูผูเรียนไดทุกคน ทุกที่ ทุ ก เวลา แบบเน น ผู เ รี ย นเป น ศู น ย ก ลางด ว ยการจั ด ให มี ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับผูสอน ผูเชี่ยวชาญ และเพื่อนๆ ผูเรียนสามารถเลือกเนื้อหาวิชาไดตามความตองการผานสื่อ มัลติมีเดียตางๆ ทั้ง วีดิทัศน เสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว แบบอนิเมชั่น ตลอดจนการเขาถึงขอมูลอื่นๆ ที่มีอยูทุกมุม โลกไดอยางงายดาย เพื่อให การเรียนแบบออนไลนมีประสิท ธิ ผลได นั้น ตองมี กระบวนการที่มีประสิทธิภาพ ผูเขียนจึงขอเสนอรูปแบบ 4M & KM ซึ่งมีองคประกอบที่สําคัญ ดังนี้ Man ผูสอน ผูเรียน เจาหนาที่พัฒนาซอฟตแวร เจาหนาที่ฝกอบรมและพัฒนา Money งบประมาณตางๆ Management การวางแผนการ จัดการเรียนการสอนผานระบบบริหารจัดการเรียนการสอน (LMS) Material วัสดุ อุปกรณคอมพิวเตอร เทคโนโลยี สารสนเทศ อาคารสถานที่ และKnowledge Management การจัดการความรู

ABSTRACT Nowadays, Thailand’s major educational method of teaching is to transfer content of knowledge from teachers to students. In addition to using such teaching method, we then have tried to apply a method of studying online by employing a learning system that complies with the rapid developed technologies. With the utilization of the Internet as a main medium of transferring content to learners everywhere and any time, the focus of “child-centered” that provides interaction among students, instructors, specialists, and classmates are emphasized beneficially. Besides, students can choose course contents as needed through various types of multimedia, such as audio, video slides, animation, as well as accessibility to existing information around the world advantageously. In order to gain a success of e-learning, effective process must be initialized. Therefore, this study proposes a model of 4M & KM which includes the 4 major components as follows: (1) Man refers to teachers, learners, software developers, and training staffs, (2) Money refers to all budget allocated to the project, budget, (3) Management refers to a planning of instruction via Learning Management System (LMS) (4) Material refers to computer supplies, information technology, and facilities, and (5) Knowledge Management. Keywords: e-Learning, 4M, Knowledge Management, technology

บทคัดยอ

คําสําคัญ: การเรียนการสอนออนไลน, รูปแบบ 4M, การ จัดการความรู, เทคโนโลยี

ปจ จุบันการศึกษาของประเทศไทยมีรูปแบบการเรียนการ สอนคือ วิธีการถายทอดเนื้อหาความรูจากผูสอนไปสูผูเรียน เปนหลัก นอกจากการใชวิธีการสอนดังกลาวแลวไดมีการนํา รูปแบบการเรียน

ปจจุบันการเรียนแบบออนไลนนับวาเปนรูปแบบการเรียน การสอนที่กําลังไดรับความนิยมจากสถาบันการศึกษาในทุก ระดับชั้นตั้งแตอนุบาลจนถึงอุดมศึกษา เนื่องจากเปนระบบ การเรียน การสอนที่สอดคลองกับเทคโนโลยีโดยเฉพาะอยาง

87


ภาพตาง ๆ โปแกรมเวิรด และองคประกอบดานขอมูล ไดแก ขอมูลผูสอน ขอมูลผูเรียน ขอมูลเนื้อหารายวิชา เปนตน จากองคประกอบที่กลาวมาจะเห็นวา e-Learning จะตองประกอบไปดวยองคประกอบที่สําคัญคือ 3 อยาง แต หากมองในแง ข องการบริ ห ารจั ด การเพื่อ ให ก ารเรี ย นการ สอนออนไลนเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล e-Learning ควรจะประกอบดวยรูปแบบ 4M & KM ซึ่งมีองคประกอบที่ สําคัญ ไดแก Man ผูสอน ผูเรียน เจาหนาที่พัฒนาซอฟตแวร เจาหนาที่ฝกอบรมและพัฒนา Money งบประมาณตางๆ Management การวางแผน การจัดการเรียนการสอนผาน ระบบบริหารจัดการเรียนการสอน (LMS) Material วัสดุ อุปกรณคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที่ และ Knowledge Management การจัดการความรู แตใน การดําเนินงานเกี่ยวกับการเรียนการสอนแบบออนไลนนั้น จะพบวาไดมีปญหาในดานตางๆ เกิดขึ้นมากมาย เชน 1. Man คือ ทรัพยากรบุคคล ประกอบไปดวย ผูสอน ผูเรียน เจาหนาที่พัฒนาซอฟตแวร เจาหนาที่ฝกอบรม และพัฒนา ปญหาในดานดังกลาว เชน จํานวนบุคลากรมี จํ า นวนไม เ พี ย งพอต อ การปฏิ บั ติ ห น า ที่ ต ามโครงสร า งที่ กํ า หนดไว หรื อ อาจจะมี จํ า นวนบุ ค ลากรเพี ย งพอแต ไ ม มี คุณภาพในการปฏิบัติหนาที่ทําใหไมสามารถปฏิบัติงานได สําเร็จตามเปาหมายที่กําหนดไวไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. Money งบประมาณตางๆ ปญหาในดาน ดังกลาว เชน มีงบประมาณสําหรับการดําเนินการไมเพียงพอ หรื อ อาจจะมี เ พี ย งพอแต ข าดจากบริ ห ารจั ด การทางด า น การเงินที่ดี 3. Management การวางแผนการจัดการเรียนการ สอนผานระบบบริหารจัดการเรียนการสอน (LMS) ปญหา ในดานดังกลาว เชน การวางแผนการออกแบบระบบที่ไม สอดคลองกับการอํานวยความสะดวกใหกับผูใชงานทั้งกับ ผูสอนและผูเรียนอยางดีพอ 4. Material วัสดุ อุปกรณคอมพิวเตอร เทคโนโลยี สารสนเทศ อาคารสถานที่ ปญหาในดานดังกลาว เชน การมี วัสดุ อุปกรณคอมพิวเตอรที่ไมเพียงพอ หรือมีเพียงพอแตมี คุณลักษณะการประมวลผลที่ต่ําสงผลตอประสิทธิภาพใน การทํางาน เปนตน

ยิ่งการใชเครือขายอินเทอรเน็ตเปนชองทาง ในการถายทอด เนื้อหาใหไปสูผูเรียนไดทุกคน ทุกที่ ทุกเวลา เปลี่ยนรูปแบบ การเรียนการสอน จากเดิมที่ผูสอนเปนผูรอบรูหนาชั้นเรียน มาเป นผู ค อยสนั บ สนุ น ใหผู เ รี ย นได ค นคว า ความรู ข อ มู ล ตางๆ ดวยตนเอง เพิ่มความกระตือรือรนและความมีชีวิตชีวา ใหกับ ผูเรีย น ผูเรียนสามารถเลือกเนื้อหาวิชาไดตามความ ตองการผานสื่อมัลติมีเดียรูปแบบตางๆ เชน วีดิทัศน เสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวแบบอนิเมชั่น ตลอดจนการเขาถึง ขอมูลอื่นๆ ที่มีอยูทุกมุมโลกไดอยางงายดาย อีกทั้งสามารถ มี ป ฏิ สั ม พั น ธ ร ะหว า งผู เ รี ย นกั บ ผู ส อน ผู เ ชี่ ย วชาญ และ เพื่อนๆ รวมชั้น ซึ่งจากการศึกษาในระบบ e-Learning พบวา ยังมีขอไดเปรียบและขอจํากัดในหลายประการ ไดแก ชวย สงเสริม ใหผูเรียนเกิดทักษะการเรี ยนรูใหมๆ ในเนื้อหาที่ ทันสมัย และตอบสนองเรื่องราวตางๆในปจจุบันไดอยาง ทันที ชวยใหการเรียนการสอนมีความหลากหลายมากขึ้น ไดแก ภาพ ภาพเคลื่อนไหว วีดิโอ แอนนิเมชั่น เปนตน ทํา ใหการเรียนการสอนเกิดวงกวางมากขึ้น เพราะไมมีขอจํากัด ในเรื่องการเดินทางมาศึกษาในเวลาใดเวลาหนึ่ง และสถานที่ ใดสถานที่หนึ่ง จึงเปนการเรียนที่สนับสนุนการเรียนรูตลอด ชีวิต และชวยใหผูเรียนสามารถศึกษาและทบทวนบทเรียน ด ว ยตั ว เองตามต อ งการ ส ว นในข อ เสี ย เปรี ย บของ e-Learning จากการศึกษาพบวา e-Learning มีขอเสีย เปรียบหลายประการ ไดแก ปญหาในการเรียนการสอนจาก พื้นฐานทางคอมพิวเตอรที่ไมเทาเทียมกันของทั้งผูสอนและ ผูเรียนทําใหการนํา e-Learning มาใชนั้นไมสามารถใชได อยางเต็มที่ และระบบ e-Learning มีขอจํากัดชัดเจนทาง ทางดานอุปกรณคอมพิวเตอรที่จําเปนอยางยิ่งที่จะตองพรอม และเพียงพอที่จะรองรับความตองการของผูสอนและผูเรียน ในการเรียนการสอนออนไลนจะประกอบไปดวย องคประกอบหลักที่สําคัญ 3 อยาง ไดแกองคประกอบดาน ฮารดแวร ไดแก คอมพิวเตอรแมขาย(Computer Server) อุ ป กรณ ร ะบบเครื อ ข า ยคอมพิ ว เตอร (Network Accessories) องคป ระกอบดานซอฟตแวร ไดแ ก ซอฟตแวรที่ใชในการบริหารจัดการระบบ e-Learning ซอฟตแ วรที่ใชในการสรางหรือ ผลิตสื่อการสอน เชน โปรแกรมสรางงานนําเสนอ, โปรแกรมสําหรับการตกแตง

88


5. Knowledge Management การจัดการความรู ป ญ หาในด า นดั ง กล า ว เช น ไม มี ก ารจั ด การความรู ใ น หนวยงาน เนื่องจากไมมีองคความรู ไมเห็นคุณคาและไมเห็น ประโยชน ที่ จ ะได รั บ หรื อ มี ก ารจั ด การความรู แ ต ไ ม ไ ด มี จุ ด ประสงค เ พื่ อ การพั ฒ นาบุ ค ลากร พั ฒ นางาน และการ พัฒนาองคกรตามจุดประสงคของการจัดการความรูที่แทจริง แต มี จุด ประสงคอื่ น ๆ เช น เพี ย งเพื่ อ การที่จ ะได ชื่ อ วา เป น องคกรที่มีการจัดการความรู หรือเพื่อการโออวดกันเทานั้น เปนตน จากปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นภายในองคประกอบทั้ง 5 นั้ น ได ส ง ผลกระทบต อ การจั ด การเรี ย นการสอนแบบ ออนไลนเปนอยางมาก ผูเขียนขอเสนอแนวทางในการแกไข ปญหาในดานตางๆ ดังนี้ ดาน Man คือ ทรัพยากรบุคคล ทรั พ ยากรบุ ค คลประกอบไปด ว ย ผู ส อน ผู เ รี ย น เจาหนาที่พัฒนาซอฟตแวร เจาหนาที่ฝกอบรมและพัฒนา ใน การใชทรัพยากรบุคคลนั้น สําคัญที่สุดตองวางตําแหนงงาน ใหเหมาะสมกับความสามารถของแตละบุคคล (put the right man on the right job) ถาบุคคลนั้นยังขาดความสามารถดาน หนึ่งดานใดที่สามารถชวยเพิ่มประสิทธิภาพใหกับบทเรียน ออนไลน ก็ อ าจจะพั ฒ นาเขาให มี ค วามสามารถขึ้ น มาด ว ย กระบวนการต า งๆ เชน การฝก อบรมใหกั บ บุ ค ลากรส ว น ต า งๆ ให รู บ ทบาทหน า ที่ ข องตนเองตลอดจนวิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ ถูกตอง แตในบางกรณีการพัฒนาดวยกระบวนการฝกอบรม ดังกลาว อาจไมทันกับเวลาที่มีอยู การจัดจางโดยใชบริษัท ภายนอก (outsource) ก็เปนวิธีการที่ดีวิธีการหนึ่ง ดาน Money งบประมาณตางๆ เมื่ อ เราได ส ร า งทรั พ ยากรบุ ค คลส ว นต า งๆ ที่ เกี่ยวของใหมีความรู ความสามารถที่จะปฏิบัติหนาที่อยางมี ประสิทธิภาพแลว จะตองมีการกําหนดงบประมาณการ ดําเนินการไวอยางเพียงพอ เหมาะสมกับปริมาณงานตามที่ กํ า หนดไว กรณี ห น ว ยงานราชการอาจมี ก ารจั ด ตั้ ง งบประมาณประจําปใหค รอบคลุมการดํ าเนินงานในทุกๆ สวนที่เกี่ยวของ เชน คาวัสดุ อุปกรณคอมพิวเตอร คาใชจาย ในการฝกอบรมและพัฒนา เปนตน ดาน Management การวางแผนการจัดการเรียน การสอนผานระบบบริหารจัดการเรียนการสอน (Learning

การวางแผนระบบการจัดการเกี่ยวกับการบริหาร การเรียนการสอนมีความสําคัญในการเรียนแบบออนไลน เปนอยางมาก เพราะชวยอํานวยความสะดวกใหกับผูสอน ผูเรียน และผูดูแลระบบ มีจุดเดนที่สําคัญคือ ชวยใหผูสอน สามารถติดตามความกาวหนาของผูเรียนไดเปนอยางดี ระบบ จะมีก ารบัน ทึกขอ มูล การทํากิ จ กรรมการเรี ย นรู พร อ มทั้ ง วิเคราะหและประเมินผลผูเรียนได นอกจากนี้ในปจจุบันไดมี หนวยงานเอกชนในหลายๆ แหงไดนําระบบดังกลาวไปใช ภายในองคกรของตนเองในลักษณะของการจัดฝกอบรมแบบ ออนไลน ด า น Material วั ส ดุ อุ ป กรณ ค อมพิ ว เตอร เทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารสถานที่ ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ใ น เ รื่ อ ง ข อ ง วั ส ดุ อุ ป ก ร ณ คอมพิ ว เตอร เทคโนโลยี ส ารสนเทศ และอาคารสถานที่ จะตองมีการวางแผนการดําเนินการเพื่อใหมีวัสดุ อุปกรณ ต า งๆ อย า งเพี ย งพอ มี ก ารเลื อ กใช เ ทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย สอดคล อ งในแต ล ะยุ ค สมั ย โดยคํ า นึ ง ถึ ง ความคุ ม ค า และ ประโยชน ที่ จ ะได รั บ กลั บ คื น มา การมี อ าคารสถานที่ ที่ เหมาะสมสําหรับการติดตั้งวัสดุ อุปกรณตางๆ เปนตน ดาน Knowledge Management การจัด การ ความรู การจัดการความรู กําลังไดรับความนิยมเปนอยาง มากทั้ ง หน ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน เนื่ อ งจากเป น กระบวนการที่นําเอาความรู ความสําเร็จจากการปฏิบัติงาน ของผูปฏิบัติงานมาแลกเปลี่ยนกัน เพราะมีความเชื่อวาความรู ความสามารถที่มีอยูในผูปฏิบัติงานเปนสิ่งมีคาอยางสูง จึงมี ความจํ า เป น ในการที่ จ ะดึ ง เอาความรู เ หล า นั้ น ออกมาใช หนวยงานตางๆ ดังกลาวไดมีการจัดการความรูในเรื่องตางๆ อยางมากมายโดยใชเครื่องมือในลักษณะของการออนไลน สําหรับการจัดเก็บ ถายทอด และแลกเปลี่ยนเรียนรูกัน แตยัง ไมไดมีการจัดการความรูในเรื่องของการเรียนการสอนแบบ ออนไลนโดยเฉพาะ ซึ่งการเรียนการสอนแบบออนไลนก็ เปนเรื่องหนึ่งที่จะตองมีการจัดการความรู การจัดการความรู จึงเปนสิ่งที่นาสนใจในการนํามาใชรวมกับการจัดการเรียน การสอนแบบออนไลน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียน การสอนใหมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น

Management System: LMS)

89


บริบทของการจัดการเรียนรูที่ทําใหการจัดการความรูประสบ ผลสําเร็จ การจะทํ า ให ก ระบวนการจั ด การความรู ป ระสบ ผลสําเร็จ จําเปนตองอาศัยบริบทที่สําคัญ โดยกรอบของ บริบทนี้นําเสนอถึงสิ่งที่องคกรหรือสถานศึกษาควรคํานึงถึง ประกอบดวย บริบททางดานตัวแปรขององคกร ซึ่งมีผลอยาง มากเนื่อ งจากเป น การกําหนดแนวทางการจั ด การเรี ยนรู ที่ สอดคลองกับยุทธศาสตรขององคกรที่มีการตั้งเปาหมายไว จ า ก ก ล ยุ ท ธ ข อ ง อ ง ค ก ร นี้ เ อ ง ส ง ผ ล ถึ ง ก า ร กํ า ห น ด องคประกอบทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้งสองสวนขางตน เปนสวนสําคัญในการสนับสนุนใหเกิดความรู โดยเปนการ สรางความรู การจัดเก็บความรู การประยุกตใชความรู รวมถึง แหลงความรู ซึ่งองคประกอบเหลานี้เปนผลกระทบที่เกิดขึ้น โดยตรงจากองค ป ระกอบทางด า นสิ่ ง แวดล อ ม เช น วั ฒ นธรรม โครงสร า งพื้ น ฐานทางด า นสั ง คม จากป จ จั ย ทางดานตัวแปรขององคกร และเทคโนโลยีส ารสนเทศ มี อิทธิพลตอกระบวนการความรู ในขณะเดียวกันประเภทของ ความรูที่ตองการจะสราง มีผลตอการกําหนดคุณลักษณะของ เทคโนโลยีสารสนเทศที่จะใช และเปนตัวแปรที่ตองการให องคกรปรับเปลี่ยนการจัดการความรูที่มีประสิทธิภาพซึ่งจะ สงผลทําใหก ระบวนการจัดการความรูเกิดการพัฒนาเป น แหลงความรูที่มีประสิทธิภาพ (Okunoye & Bertaux, 2006) ดังแสดงในแผนภาพที่ 1

ความสัมพันธระหวาง 4M และ KM กับ e-Learning เมื่อวิเคราะหถึงความสัมพันธระหวางกลยุทธ 4M และ KM กับ e-Learning จากองคประกอบของกระบวนการจัดการ ความรู ใ ห ป ระสบผลสํ า เร็ จ จะเห็ น ได ว า ตัว แปรทางด า น องคกร รวมถึงเปาหมายขององคกรหรือสิ่งที่สถานศึกษา ต อ งการให เ กิ ด ขึ้ น ซึ่ ง กระบวนการดั ง กล า วสามารถ ขับเคลื่อนไปดวยปจจัยทั้ง 4M คือ Man ทรัพยากรบุคคลกร ที่มีความรูความสามารถเหมาะสมกับงานที่ไดรับมอบหมาย Money การสนับสนุนทางดานงบประมาณ Management การวางแผนการจั ด การเรี ย นการสอนผ า นระบบบริ ห าร จัดการเรียนการสอน (LMS) และ Material วัสดุ อุปกรณ ตางๆ ที่เอื้ออํานวยใหเกิดการจัดการเรียนรู ซึ่งสอดคลองกับ องคประกอบทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะอยาง ยิ่งในยุคปจจุบันที่การเรียนรูสามารถเกิดขึ้นไดทุกที่ทุกเวลา ผ า นเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต สื่ อ การเรี ย นการสอนประเภท e-Learning จึงเปนสื่อที่เขามามีบทบาทสําคัญทั้งทางดาน การจัดการเรียนการสอนและการอบรม เพื่อเอื้ออํานวยใหแก กลุ ม ผู เ รี ย นที่ มี ค วามแตกต า งกั น และสามารถกํ า หนดการ เรียนรูไดดวยตนเอง ดังนั้นเมื่อมีการนํากลยุทธ 4M มา ร ว มกั บ การสร า งกระบวนการจั ด การความรู ที่ ป ระสบ ผลสําเร็จ ในการออกแบบบทเรียน e-Learning ผูเขียนจึงได นําเสนอแนวทางเพื่อสงเสริมกระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพ ของการเรียนการสอนออนไลน โดยมีองคประกอบสําคัญคือ 4M และ KM ซึ่งสามารถเขียนเปนวงจรของความสัมพันธ ไดดังนี้

Organization Variables

Knowledge Processes

Environmental Factors

Knowledge Resources

Information Technology

แผนภาพที่ 1 บริบทพื้นฐานของการจัดการความรู (Okunoye & Bertaux, 2006)

90


และคณะไดออกแบบการเรียนรูออนไลนที่ เหมาะสมกั บ สภาพบริ บ ทร ว มกั บ การจั ด การความรู ใ น มหาวิ ท ยาลั ย ฟ ล าเดเฟ ย เพื่ อ การเก็ บ ความรู ข องครู ห รื อ ผูเชี่ยวชาญที่ตอ งเกษียณอายุ เพื่อเปนแหลงทุนทางปญญา ใหแ กม หาวิ ท ยาลัย โดยความรูนั้น เป น ความรู ที่ไ ดรับ การ รับรอง และชวยสงเสริมความสามารถทางการแขงขันใหกับ มหาวิทยาลัย เมื่อมองในมุมของการสรางสังคมและเครือขาย การเรียนรูพบวา เปนการสรางเครือขายระหวางอาจารย หรือ ผู ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญในด า นเนื้ อ หาที่ เ ข า ร ว มสนทนาและ นําเอาความรูทางดานเนื้อหาเพื่อนํามาสูความรูภายนอก โดย ใช e –Learning สนับสนุนการจัดเก็บความรูนั้นนํามาสูกลุม ผูเรียน 2. การสรางเครือขายการเรียนรูของกลุมผูเรียน หรือกลุมผูใชงานจาก e-Learning เมื่อมองดานการใช กระบวนการจั ด การความรู เ พื่ อ สนั บ สนุ น ให ผู เ รี ย นหรื อ สมาชิกในกลุมเปาหมายเกิดการสรางเครือขายการเรียนรูของ ตนเองพบวา ความรวมมือทางการเรียนรูเขามามีบทบาทใน การสนับสนุนใหเกิดการเรียนรู จากการศึกษาของ Brian และคณะ (2000) พบว า การนํ า การจั ด การความรู เ ข า มา ส ง เสริ ม ให เ กิ ด ชุ ม ชนแลกเปลี่ ย นการเรี ย นรู knowledgebuilding community (KBC) ของครู มื อ ใหม ใ นระดั บ ประถมศึกษา ผานสื่อออนไลนและสงเสริมใหมีการสนทนา ระหวางสมาชิกในกลุมโดยใชกระบวนการของปญหาเปน ฐานพบวา ผูใชมีการสรางชุมชนแหงการเรียนรูไดดวยกลุม ของเขาเองและนําขอมูลดานการแกปญหาในการจัดการเรียน การสอนที่ แ ต ล ะคนไดพ บจากประสบการณ จ ริ ง ถ า ยทอด ออกมาเป น ความรู ที่ ส มาชิ ก ทุ ก คนสามารถเข า ถึ ง และนํ า ความรูไปใชแกปญหาในลักษณะที่คลายคลึงกันได Other (2008)

ผูเรียน

เจาหนาที่ พัฒนา ซอฟตแวร เจาหนาที่ ฝกอบรม และพัฒนา

ผูสอน

วัสดุ

อุปกรณ คอมพิวเตอร เทคโนโลยี สารสนเทศ

อาคาร สถานที่

แผนภาพที่ 2 องคประกอบ 4M & KM for e-Learning

แนวทางการนํา 4M และ KM ไปใชรวมกับ e-Learning ในการจัดการศึกษา จากการสังเคราะหงานวิจัยทางดานการนํา 4M และ KM ไป ใชรวมกับ e-Learning ในการจัดการศึกษาสามารถสรุปเปน ประเด็นไดดังนี้ การส ง เสริ ม การสร า งเครื อ ข า ยการเรี ย นรู หรื อ ชุ ม ชนการเรีย นรู ให เกิ ดขึ้น เนื่อ งจาก การจัดการเรี ย นรู (KM) เขามามีบทบาทสําคัญในการสงเสริมใหองคกรหรือ สถาบันการศึกษา ไดปรับเปลี่ยนกระบวนการการจัดเก็บ ความรู โดยการเปลี่ ย นถ า ยความรู ที่ มี อ ยู ใ นตั ว ของบุ ค คล หรือความรูที่อยูในสภาพที่ไมถาวร มาสูการจัดเก็บอยางเปน กระบวนการ และมีความคงทนมากยิ่งขึ้น (Murray E. Jennex, 2008) ซึ่งจากการศึกษางานวิจัย ไดแบงมิติของการ สรางสังคมแหงการเรียนรูได 2 มิติ คือ 1. การสรางเครือขายการเรียนรูของผูที่มีความรู ความสามารถหรือผูเชี่ยวชาญเพื่อถายทอดองคความรูมาสู กลุมผูเรียน ดังจะเห็นไดจากงานวิจัยของ Issa Shehabat and

เอกสารอางอิง Ferry, B., Kiggins, J., Hoban, G. and Lockyer, L.(2000). Using computer-mediated communication to form a knowledge-building community with beginning teachers: Educational Technology & Society 3(3) Bertaux, N., Okunoye, A., & Abu-Rashed, J. (2006). Information technology education for woman in developing coumtries: Benefits, barriers, and policies. Global Business & Economics Review, 8(1)

91


Jennex, M.E.(2008). Current Issues in Knowledge Management. New York: Information Science Reference (an imprint of IGI Global) Shehabat, I. and Other (2008) e-Learning as a knowledge management approach for intellectual capital utilization: Turkish Online Journal of Distance Education-TOJDE . January 9(14)

92


ปจจัยการเรียนการสอนแบบผสมผสานที่สงผลตอ การเรียนรูแบบนําตนเองของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต Blended Learning Instruction Factors Affecting Self-Directed Learning of Undergraduate Students เสมอกาญจน โสภณหิรัญรักษ 1, ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ 2 1 คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2

(moetoonisia@gmail.com)

คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (praweenya@gmail.com)

ส ง ผ ล ต อ ก า ร เ รี ย น รู แ บ บ นํ า ต น เ อ ง ข อ ง ผู เ รี ย น ระดับอุดมศึกษา และ 2) ตรวจสอบความสอดคลองของ โมเดลเชิ ง สาเหตุ ข องป จ จั ย การเรี ย นการสอนแบบ ผสมผสานที่สงผลตอการเรียนรูแบบนําตน เองของผูเรียน ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา กลุ ม ตั ว อย า งเป น ผู เ รี ย นระดั บ ปริ ญ ญา บัณฑิต จํานวน 382 คน ตัวแปรที่ใชในการวิจัยมี 14 ปจจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนแบบสอบถาม วิเคราะห ขอมูลโดยใชสถิติภาคบรรยาย การวิเคราะหสหสัม พันธ แบบเพียรสัน และการวิเคราะหความสัม พันธเชิงสาเหตุ ดวยโปรแกรม LISREL ผลการวิจัยพบวา โมเดลมีความ สอดคลองกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 โดยพิจารณาไดจากคาไค – สแควรมี คาเทากับ 28.94 ระดับนัยสําคัญ 0.98 คาองศาอิสระเทากับ 47 คาดัชนีวัดความกลมกลืน (GFI) มีคาเทากับ 0.99 ดังชนี วัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแกแลว (AGFI) มีคาเทากับ 0.98 ดัชนีรากของคาเฉลี่ยกําลังสองของเศษที่เหลือ (RMR) มีคาเทากับ 0.015 แสดงวาโมเดลตามระดับสภาพที่เปนจริง ในปจจุบันและตามระดับความคาดหวังที่ตองการใหเกิดขึ้น สอดคลองกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษ โดยปจจัยการ เรียนการสอนแบบผสมผสานที่สงผลตอการเรียนรูแบบนํา ตนเอง ได แ ก การมอบหมายงานการเรี ย น การกํ า หนด วัตถุประสงคการเรียน และกิจกรรมการเรียนรู ในขณะที่ องค ป ระกอบการเรี ย นการสอนแบบผสมผสานด า น

ABSTRACT The purposes of this research were 1) to develop and validate the causal model of blended learning on selfdirected learning of undergraduate students and 2) to examine the goodness of fit of a causal model of blended learning on self-directed learning of undergraduate students. The samples consisted of 382 undergraduate students. Variables consisted of fourteen variables. Data were collected by means of questionnaires and analyzed employing descriptive statistics, coefficient of variation, Pearson’s product– moment correlation coefficient, and structural equation modeling by LISREL program. The causal model of blended learning on self–directed learning was also well fitted with the imperical data. (Chi – square = 28.94, df = 47, p = 0.98, GFI = 0.99, AGFI = 0.98) The research was summarized as follows: the factors directly influencing of self–directed learning are assignment, objective, and learning. On the other hand, learner experience, instructor experience, student– instructor interaction, student–content interaction, feedback, formative evaluation, and summative evaluation indirectly influenced on self–directed learning. However, guidance, student–student interaction, and resources were uninfluenced on self– directed learning. Keywords: Blended learning instruction, self-directed learning

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาและพัฒนาโมเดล เชิงสาเหตุของปจจัยการเรี ยนการสอนแบบผสมผสานที่

93


ในสภาพการเรียนการสอนแบบผสมผสานนี้ผูสอนและผูเรียน ตองปรับตัวกับกระบวนการเรียนการสอนที่แตกตางกันออกไป โดยเฉพาะผูเรียนที่มีอิสระทางการเรียนมากขึ้น จึงสงผลให ผูเรียนตองมีความรับผิดชอบในการเรียนและมีคุณลักษณะการ เรียนรูแบบนําตนเอง ดังนั้นผูสอนจําเปนตองจัดการเรียนการ สอนที่สงเสริมการเรียนรูแบบนําตนเอง อันเปนคุณลักษณะ อยางหนึ่งที่สงผลใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ สูงสุด ถึงแมวามีขอคนพบบางประการที่ชี้ใหเห็นวาปจจัยแต ละปจจัยในการเรียนการสอนแบบผสมผสานมีความสัมพันธ ระหว า งกั น แต ยัง ไมมี ง านวิ จัย ใดแสดงใหเ ห็ นว า ปจ จั ย การ เรี ย นการสอนแบบผสมผสานส ง ผลต อ การเรี ย นรู แ บบนํ า ตนเองโคยตรง ดังนั้นจึงควรศึกษาปจจัยในการเรียนการสอน แบบผสมผสานที่ส งผลต อการเรียนรูแ บบนําตนเอง เพื่อ นํ า ปจจัยดังกลาวมาพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน แบบผสมผสานให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น และเป น การ วิเคราะหปจจัยเพื่อเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนใน อนาคต

ประสบการณเดิม ของผูเรีย น ดา นประสบการณเดิม ของ ผู ส อน ด า นปฏิ สั ม พั น ธ ร ะหว า งผู เ รี ย น–ผู ส อน ด า น ปฏิ สั ม พั น ธ ร ะหว า งผู เ รี ย น–บทเรี ย น ด า นการให ผ ล ปอนกลับ ดานการประเมินผลระหวางเรียน และดานการ ประเมินผลหลังเรียน มีอิทธิพลทางออมตอการเรียนรูแบบ นําตนเอง ในสวนการใหคําแนะนํากอนการเรียน แหลงการ เรียนรู และปฏิสัมพันธระหวางผูเรียน–ผูเรียน ไมมีอิทธิพล ตอการเรียนรูแบบนําตนเอง

1) บทนํา ปจจุบันนี้เทคโนโลยีและการสื่อสารมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง และรวดเร็ว ซึ่งสงผลตอการจัดการเรียนการสอน ทําใหศาสตร ดานเทคโนโลยีการศึกษาไดรับความสนใจมากขึ้น จึงเกิดการ ประยุกตศาสตรดานเทคโนโลยีเพื่อชวยแกปญหาและสงเสริม ดานการศึกษา (กิดานันท มลิทอง, 2543) ดังนั้นการศึกษาใน อนาคตจึงเปนการศึกษาที่เกิดขึ้นทั้งในหองเรียน (face to face) และการเรียนออนไลน (online learning) จากการศึกษางานวิจัย ที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (blended learning) พ บ ว า ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น แ บ บ ผ ส ม ผ ส า น มี ความสัมพันธกับการกํากับตนเอง (self – regulation) และการ นําตนเอง (self – direction) การเรียนการสอนแบบผสมผสาน จําเปนตองอาศัยคุณลักษณะนําตนเอง (self – directed) ประกอบการเรียนเพื่อใหการเรียนบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว จากงานวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรูแบบนําตนเองและการเรียนการ ส อ น แ บ บ ผ ส ม ผ ส า น ที่ ศึ ก ษ า แ ล ะ วิ เ ค ร า ะ ห พ บ ว า มี องคประกอบในการเรียนการสอนแบบผสมผสานที่จะสงผล ตอการเรียนรูแบบนําตนเอง ดังนี้ 1) ประสบการณเดิมของ ผูเรียน 2) ประสบการณการสอน 3) การกําหนดวัตถุประสงค การเรียน 4) การใหคําแนะนํา 5) การมอบหมายงานการเรียน 6) กิจกรรมการเรียนรู 7) ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียน – ผูเรียน 8) ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียน – บทเรียน 9) ปฏิสัมพันธระหวาง ผูเรียน – ผูสอน 10) แหลงการเรียนรู 11) การใหผลปอนกลับ 12) การประเมินผลระหวางเรียน 13) การประเมินหลังเรียน

2) วัตถุประสงค 2.1) เพื่อศึกษาและพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของปจจัยการ เรีย นการสอนแบบผสมผสานที่ส งผลต อ การเรีย นรู แ บบนํ า ตนเองของผูเรียนระดับอุดมศึกษา 2.2) เพื่อตรวจสอบความสอดคลองของโมเดลเชิงสาเหตุ ของปจ จั ย การเรี ย นการสอนแบบผสมผสานที่ สง ผลตอ การ เรียนรูแบบนําตนเองของผูเรียนระดับอุดมศึกษา

3) วิธีดําเนินการวิจัย 3.1) ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.1.1 ประชากร ประชากรที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษาครั้ ง นี้ คื อ ผู เ รี ย น ระดับอุดมศึกษา หลักสูตรปริญญาบัณฑิต 3.1.1 กลุมตัวอยาง ผูเรียนระดับอุดมศึกษาของรัฐ ในเขตกรุงเทพฯ ที่มี นโยบายการใช ICT และ E – learning ในการเรียนการสอน

94


การเก็บรวบรวมขอมูลดวยแบบสอบถามดําเนินการ

และ/หรือมี ระบบบริหารจัดการเรียนรู (LMS) บริการแก คณาจารย จํานวน 382 คน ที่ศึกษาในภาคตน ปการศึกษา 2552 (ตามการกําหนดกลุมตัวอยางของ Bentler & Chou, 1987 ที่ กําหนดกลุมตัวอยาง 10 เทาของตัวแปรที่ตองการศึกษา 28 ตัว แปร ประกอบดวย ตัวแปรสังเกตไดภายนอก 2 ตัวแปร ตัวแปร สังเกตไดภายใน 12 ตัวแปร ตัวแปรแฝงภายนอก 2 ตัวแปรและ ตัวแปรแฝงภายใน 12 ตัวแปร) การสุมกลุมตัวอยางเปนการสุม ตัวอยางแบบเฉพาะเจาะจง 3.2) ตัวแปรที่ใชในการวิจัย ตัวแปรที่ใชในการวิจัยการวิเคราะหปจจัยที่สงผลตอ การเรียนรูแบบนําตนเองในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน มีดังนี้ 3.2.1 ตัวแปรภายนอก ไดแก 1) ประสบการณ เดิมของผูเรียนและ 2) ประสบการณการสอน 3.2.2 ตัวแปรภายใน ไดแก ตัวแปรการจัดการ เรียนการสอนแบบผสมผสาน สามารถจําแนกปจจัยตางๆ ได ดังนี้ 1) การกําหนดวัตถุประสงคการเรียน 2) การใหคําแนะนํา 3) การมอบหมายงานการเรียน 4) กิจกรรมการเรียนรู 5) ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียน – ผูเรียน 6) ปฏิสัมพันธระหวาง ผูเรียน – บทเรียน 7) ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียน – ผูสอน 8) แหลงการเรียนรู 9) การใหผลปอนกลับ 10) การประเมินผล ระหวางเรียน 11) การประเมินหลังเรียน และตัวแปรการเรียนรู แบบนําตนเอง 3.3) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ มีเครื่องมือในการวิจัย ประกอบดวย แบบสอบถาม จํานวน 4 ตอน ซึ่งผานการตรวจสอบความตรง เชิ ง เนื้ อ หาจากผู เ ชี่ ย วชาญด า นการเรี ย นการสอนแบบ ผสมผสานและการทดลองใช โดยแบบสอบถามองคประกอบ ในการเรียนการสอนแบบผสมผสานที่สงผลตอการเรียนรูแบบ นําตนเอง มีคาความเที่ยง 0.881 และแบบวัดการเรียนรูแบบนํา ตนเอง ซึ่ ง พั ฒ นาจากแบบสอบถามความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ ลักษณะการเรียนรูแบบนําตนเองตามการรับรูของครู ของ ศิ รินันท สามัญ (2547) มีคาความเที่ยง 0.956 3.4) การเก็บรวบรวมขอมูล

ดังนี้ 3.4.1 ส ง หนั ง สื อ ขอความร ว มมื อ ในการ อนุเคราะหขอมูลระบบจัดการเรียนรู (LMS) จากสาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อเสนอผูอํานวยการศูนยท่ีมีหนาที่ดูแลระบบจัดการเรียนรู (LMS) และติดตามขอมูลระบบจัดการเรียนรู (LMS) และขอ ความอนุเคราะหในการเก็บ รวบรวมขอ มูลจากผูเรียนที่เปน กลุมตัวอยาง จํานวน 440 คน จาก 3 สถาบัน ไดแก 1) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และ 3) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 3.4.2 ติด ต อ อาจารย ป ระจํ า รายวิ ช าที่ มี ก ารใช ระบบจัดการเรียนรู (LMS) เพื่อขอความอนุเคราะหในการเก็บ ขอมูลจากแบบสอบถามเพื่องานวิจัย โดยสงแบบสอบถามเพื่อ งานวิ จั ย ให อ าจารย ป ระจํ า วิ ช าแต ล ะพิ จ ารณาก อ น จากนั้ น ติดตอเรื่องวัน-เวลาในการเก็บขอมูล โดยมีผูตอบแบบสอบถาม ทั้งสิ้นจํานวน 382 คน คิดเปนรอยละ 86.82 3.5) การวิเคราะหขอมูล การวิ จั ย ครั้ ง นี้ ดํ า เนิ น การวิ เ คราะห ข อ มู ล ดั ง รายละเอียด ดังนี้ 3.5.1 การวิ เ คราะห ค า สถิ ติ พื้ น ฐานของกลุ ม ตัวอยาง เพื่อใหทราบลักษณะการแจกแจงของกลุมตัวอยางดวย สถิติเชิงบรรยาย โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปวิเคราะหคาทาง สถิติ 3.5.2 การวิ เ คราะห ค วามสั ม พั น ธ ร ะหว า งตั ว แปร ดวยการวิเคราะหหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียร สัน (Pearson’s product – moment correlation coefficient) ระหวางตัวแปรเพื่อใหเห็นความสัมพันธระหวางตัวแปรตางๆ โดยการรวมคาที่ไดจากขอคําถามตางๆ ที่เปนคําถามในตัวบงชี้ ของแตละตั ว แปรคิด หาอัตราสวนและนํ าไปวิเ คราะหหาค า สั ม ประสิ ท ธิ์ ส หสั ม พั น ธ ต อ ไป การวิ เ คราะห ใ นส ว นนี้ ใ ช โปรแกรมสําเร็จรูปวิเคราะหคาทางสถิติ 3.5.3 การตรวจสอบความสอดคลองของโมเดล เชิ ง สาเหตุ แ ละผลของป จ จั ย ที่ ก อ ให เ กิ ด การเรี ย นรู แ บบนํ า

95


มีการส งอิ ท ธิพลทางออ มต อ ปจ จัยการเรียนรู แ บบนําตนเอง โดยมีการสงอิทธิพลทางออม ดังนี้ ป จ จั ย ประสบการณ ข องผู เ รี ย น (LEXP) เป น ปจจัยที่สงอิทธิพลตอปจจัยการกําหนดวัตถุประสงคการเรียน (OBJT) และการใหคําแนะนําทางการเรียน (GUID) มีคาเทากับ 1.05 และ 0.15 ตามลําดับ สําหรับปจจัยประสบการณของ ผูสอน (INXP) เปนปจจัยที่สงอิทธิตอปจจัยกิจกรรมการเรียนรู (LNAC) มีคาเทากับ 0.33 ปจจัยการติดตอสื่อสารระหวางผูเรียน – ผูสอน (INAC) เปนปจจัยที่สงอิทธิพลตอปจจัยการมอบหมายงานการ เรียน (ASSG) มีคาเทากับ 0.37 ป จ จั ย การติ ด ต อ สื่ อ สารระหว า งผู เ รี ย น – บทเรียน (CTAC) เปนปจจัยที่สงอิทธิพลตอปจจัยการให คําแนะนําทางการเรียน (GUID) และปจจัยการติดตอสื่อสาร ระหวางผูเรียน – ผูสอน (INAC) มีคาเทากับ 0.17 และ 0.63 ตามลําดับ ปจจัยการใหผลปอนกลับ (FEEB) เปนปจจัยที่ สงอิทธิพลตอปจจัยการมอบหมายงานการเรียน (ASSG) และ ปจจัยการติดตอสื่อสารระหวางผูเรียน – ผูสอน (INAC) มีคา เทากับ 0.27 และ 0.29 ตามลําดับ ป จ จั ย การประเมิ น ผลระหว า งเรี ย น (FORM) เปนปจจัยที่สงอิทธิพลตอปจจัยปจจัยการประเมินผลหลังเรียน (SUMM) มีคาเทากับ 0.28 ปจจัยการประเมินผลหลังเรียน (SUMM) เปน ปจจัยที่สงอิทธิพลตอปจจัยการใหผลปอนกลับ (FEEB) มีคา เทากับ 0.14

ตนเองในการเรี ย นการสอนแบบผสมผสาน ที่ ส ร า งขึ้น จาก ทฤษฎี แ ละงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ข อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ โดย ตรวจสอบทฤษฎี ห รื อ ตรวจสอบความตรงของโมเดลและ วิเคราะหแยกคาสหสัมพันธตามโมเดลแสดงรูปแบบอิทธิพล ให ไ ด อิ ท ธิ พ ลทางตรงและอิ ท ธิ พ ลทางอ อ ม เพื่ อ อธิ บ าย ความสัมพันธเชิงสาเหตุระหวางตัวแปร ดวยโปรแกรมสําหรับ รูปวิเคราะหคาทางสถิติ

4) ผลการวิจัย จากการวิ เ คราะห ต รวจสอบความตรงของโมเดล ความสั ม พั น ธ เ ชิ ง สาเหตุ ข องการจั ด การเรี ย นการสอนแบบ ผสมผสานที่สงผลตอการเรียนรูแบบนําตนเอง พบวา โมเดลมี ความสอดคล อ งกลมกลื น กั บ ข อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ อ ย า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยพิจารณาไดจากคาไค – สแควรมีคาเทากับ 28.94 ระดับนัยสําคัญ 0.98 คาองศาอิสระ เทากับ 47 คาดัชนีวัดความกลมกลืน (GFI) มีคาเทากับ 0.99 ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแกแลว (AGFI) มีคาเทากับ 0.98 ดัชนีรากของคาเฉลี่ยกําลังสองของเศษที่เหลือ (RMR) มี คาเทากับ 0.015 แสดงวาโมเดลตามระดับสภาพที่เปนจริงใน ป จ จุ บั น และตามระดั บ ความคาดหวั ง ที่ ต อ งการให เ กิ ด ขึ้ น สอดคลองกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษ จากแผนภาพที่ 1 เมื่อพิจารณาอิทธิพลทางตรงที่ ปจจัยการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานสงผลตอปจจัย การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานตัวอื่นๆ และที่สงผล ต อ การเรี ย นรู แ บบนํ า ตนเอง พบว า ป จ จั ย การกํ า หนด วัตถุประสงค ก ารเรี ย น (OBJT) การมอบหมายงานการเรีย น (ASSG) และกิจกรรมการเรียนรู (LNAC) สงอิทธิพลทางตรง ตอปจจัยการเรียนรูแบบนําตนเอง มีคาเทากับ 0.18 0.21 และ 0.19 ตามลําดับ อยางไรก็ดีปจจัยการจัดการเรียนการสอนแบบ ผสมผสานปจจัยอื่นๆ ไดแก ประสบการณของผูเรียน (LEXP) ประสบการณ ข องผู ส อน (INXP) การติ ดต อ สื่อ สารระหว า ง ผู เ รีย น – ผู ส อน (INAC) การติ ดต อ สื่ อ สารระหวา งผูเ รี ย น – บทเรียน (CTAC) การใหผลปอนกลับ (FEEB) การประเมินผล ระหวางเรียน (FORM) และการประเมินผลหลังเรียน (SUMM)

5) อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 5.1 อภิปรายผล จากการวิเคราะหองคป ระกอบการเรียนการสอนแบบ ผสมผสานที่สงผลตอการเรียนรูแบบนําตนเองของนักศึกษา ปริญาบัณฑิต พบวา ปจจัยในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน มีอิทธิพลตอการเรียนรูแบบนําตนเองมี 10 ปจจัย โดยพบปจจัย ที่มีอิทธิพลทางตรงตอการเรียนรูแบบนําตนเอง 3 ปจจัย ไดแก

96


1) การมอบหมายงานการเรียน 2) กิจกรรมการเรียนรู และ 3) การกํ า หนดเป า หมายทางการเรี ย น ทั้ ง นี้ มี ป จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ล ทางออมตอการเรียนรูแบบนําตนเอง 7 ปจจัย ซึ่งเปนปจจัยที่ สงผานไปยัง 3 ปจจัยแรก ไดแก 1) ประสบการณเดิมของ

97


ประสบการณ ของผูเรียน

ประสบการณ การสอน

1.05*

0.33

**

0.15

**

0.65** 0.58

**

0.35**

0.51**

0.37**

0.17**

การมอบหมาย งานการเรียน

*

0.95**

ประเมิน ระหวางเรียน

0.85**

ปฏิสัมพันธ ผูเรียน-ผูสอน

0.08**

0.53**

0.28

**

0.45**

0.29**

0.70**

0.27*

0.14*

0.17**

0.19*

ปฏิสัมพันธ ผูเรียน-บทเรียน

ประเมินหลัง เรียน

0.63**

0.21*

การใหคําแนะนํา ทางการเรียน

Chi – square = 28.94, df = 47, P – value = 0.98232, RMRSEA = 0.000

กิจกรรมการ เรียนรู

0.55**

2.83

การกําหนด วัตถุประสงคการเรียน

0.07*

การใหผล ปอนกลับ

แผนภาพที่ 1 ความสัมพันธของตัวแปรและคาสหสัมพันธของตัวแปรการเรียนการสอนแบบผสมผสานที่สงผลตอการเรียนรูแบบนําตนเอง

ปฏิสัมพันธ ผูเรียน-ผูเรียน

0.18**

*

p <.05, **p <.01

การเรียนรูแบบ นําตนเอง

แหลงการเรียนรู


ตามความเหมาะสมและสอดคลองกับเนื้อหาและบริบทการ เรียน (Akkoyunlu, 2004) กิจกรรมการเรียนรู (learning activities) เปนปจจัย สําคัญที่อีกปจจัยหนึ่งที่กอใหเกิดกลไกทางการเรียนรู เนื่องจาก การเรียนเปนการแปรเปลี่ยนพฤติกรรมอันเกิดจากการที่ผูเรียน ไดป ระสบหรือ พบกับ เหตุก ารณอ ยา งใดอยา งหนึ่ง และเกิ ด พฤติ ก รรมบางอย า งกั บ สถานการณ นั้ น กิ จ กรรมการเรี ย นรู ส ง ผลต อ การคั ด เลื อ กแหล ง การเรี ย นรู ที่ เ หมาะสมกั บ กั บ กิ จ กรรมการเรี ย นที่ จั ด ขึ้ น เพื่ อ ให ส อดคล อ งกั บ หลั ก สู ต ร รายวิชา เปาหมาย และเนื้อหาที่ผูสอนตองการนําเสนอ (Huang, 2008) สิ่ ง ที่ ค วรปฏิ บั ติ ใ ห ส อดคล อ งกั บ กิ จ กรรมและการ ปฏิบัติงานการเรียนของผูเรียน คือ การใหผลปอนกลับ เพื่อให ผู เ รี ย นทราบว า การปฏิ บั ติ กิ จ กรรมการเรี ย นรู ใ นส ว นใดที่ เหมาะสม ถูกตอง และสวนใดที่ตองปรับปรุงแกไข ดังนั้นการ ใหผลปอนกลับโดยผูสอน จึงตองอาศัยประสบการณการสอน ของผูสอน (Orhan, 2008; Nel, 2006) นอกจากการใหผล ปอนกลับแลว การประเมินผลระหวางเรียนและการประเมินผล หลังเรียนเปนองคประกอบที่ไดรับอิทธิพลจากกิจกรรมการ เรียนรู เพื่อประเมินผลไดสอดคลองกับกิจกรรมการเรียนรูที่ วางไว การประเมินผลระหวางเรียน (formative evaluation) เป น การประเมิ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น อย า งต อ เนื่ อ งระหว า งการดํ า เนิ น กิจกรรม (Alshwiah, 2008; Stacey & Gerbic, 2007; Lim, 2006) จากองคประกอบตางๆ ในกิจกรรมการเรียนรู สะทอน ใหเห็นวากิจกรรมการเรียนรูเปนกลไกที่ขับเคลื่อนใหผูเรียน เกิดความกระตือรือรนและมีแรงจูงใจทางการเรียน ดังนั้นการ เรี ย นรู ที่ เ กิ ด ขึ้ น อย า งต อ เนื่ อ งและมี ค วามหมาย จึ ง ส ง ผลให ผูเรียนตองมีคุณลักษณะนําตนเองในการเรียนเสมอ (Roberson, 2004; Kim, 2002)

ผูเรียน 2) ประสบการณการสอน 3) ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียน – ผูสอน 4) ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียน – บทเรียน 5) การใหผล ปอนกลับ 6) การประเมินระหวางเรียน และ 7) การประเมิน หลังเรียน ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานจึง จําเปนตองพิจารณาองคประกอบตางๆ การ กํ า ห น ด วั ตถุ ป ร ะ ส งค ก า ร เ รี ย น (learning objective) ถือเปนปจจัยเบื้องตนในการจัดการเรียนการสอน แบบผสมผสานที่ผูสอนหรือผูออกแบบการเรียนการสอนตอง พิจารณา เนื่องจากเปาหมายทางการเรียนถือเปนแนวทางหรือ แผนการดําเนินงานที่กําหนดไวเพื่อใหไดมาซึ่งผลลัพธทางการ เรียนที่มีประสิทธิภาพ (Huang, 2008; Allan, 2007) เมื่อผูเรียน มี เ ป า หมายในการเรี ย นแล ว ย อ มส ง ผลให ผู เ รี ย นเห็ น คุ ณ ค า ทางการเรี ย น และเกิ ด พฤติ ก รรมนํ า ตนเองในการเรี ย นรู (Knowles, 1975; Watson, 1985; Roberson, 2004; จิดาภา สุวรรณฤกษ, 2546) การมอบหมายงานการเรียน (assignment) ถือเปน ปจจัยสําคัญที่ผูจัดการเรียนการสอนตองพิจารณา เนื่องจากการ จัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานเปนการจัดการเรียนการ สอนที่ประกอบดวยการเรียนในหองเรียน (face to face) และ การเรี ย นการสอนที่ เ ป น การเรี ย นแบบออนไลน (online learning) สงผลใหผูเรียนจําเปนตองไดรับการแนะนํากิจกรรม การเรี ย น เพื่ อ ป อ งกั น ความผิ ด พลาดอั น เกิ ด ในการดํ า เนิ น กิจกรรม นอกจากนี้ยังเปนการกระตุนความสนใจทางการเรียน (Yoakam, 1952) จากแนวทางการมอบหมายงานการเรียน ดังกลาวสะทอนใหเห็นวาการมอบหมายงานการเรียนใหผูเรียน เปรียบเสมือนการใหคําแนะนํากอนการเรียน (Yoakam, 1952) ดังนั้นการมอบหมายงานการเรียนแตละครั้งผูสอนจําเปนตอง ใหคําแนะนําในการเรียน (Nel, 2006) เพื่อชี้แจงใหผูเรียนเขาใจ ถึ ง กระบวนการในการดํ า เนิ น กิ จ กรรม ขั้ น ตอนการดํ า เนิ น กิจกรรม รวมทั้งหลักการประเมินผล อยางไรก็ดีการมอบหมาย งานการเรียนจะเกิดขึ้นได ผูสอนจําเปนตองพิจารณาเปาหมาย ทางการเรียนและกิจกรรมการเรียนรู เนื่องจากกิจกรรมที่ผูสอน กํ า หนดเป น ไปตามเป า หมายที่ ว างไว ผู ส อนจํ า เป น ต อ ง จัดลําดับการนําเสนอและการมอบหมายงานการเรียนใหผูเรียน

5.2) ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช จากผลการวิจัยครั้งนี้แสดงใหเห็นวาการจัดการเรียน การสอนแบบผสมผสานที่ตองการสรางผูเรียนใหมีลักษณะนํา ตนเองในการเรียนรู ผูสอนจําเปนตองพิจารณากระบวนการ จั ด การเรี ย นการสอนแบบผสมผสานด า นการกํ า หนด

99


3) กิจกรรมการเรียนรู เปนขั้นตอนที่มี ความสําคัญในการจัดการเรียนการสอน เพื่อใหกระบวนการ จั ด การเรี ย นการสอนดํ า เนิ น ไปอย า งต อ เนื่ อ ง การกํ า หนด กิจกรรมการเรียนรู จึงมีผลทําใหเกิดการมอบหมายงานการ เรียน ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียน-ผูเรียน ปฏิสัมพันธระหวาง ผูเรียน-ผูสอน การกําหนดแหลงการเรียนรู การใหผลปอนกลับ การประเมิ น ระหว า งเรี ย น การประเมิ น หลั ง เรี ย น และการ เรี ย นรู แ บบนํ า ตนเอง ทั้ ง นี้ ผู ส อนจํ า เป น ต อ งพิ จ ารณา ประสบการณเดิมของผูเรียนและการกําหนดวัตถุประสงคการ เรียน เพื่อออกแบบกิจกรรมการเรียนรูที่เหมาะสม การกําหนดแหลงการเรียนรู เปนกระบวน หนึ่งที่เปนสวนประกอบในการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อให กิจ กรรมการเรีย นรู ดํ าเนิน ไปอยา งสมบูร ณ ทั้ง นี้ผูส อนตอ ง พิจารณาวัตถุประสงคการเรียนและกิจกรรมการเรียนรู เพื่อการ กําหนดแหลงการเรียนรูที่เหมาะสม ในดา นปฏิ สั ม พั นธ 3 รูป แบบ ได แ ก ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียน-ผูเรียน เปนปฏิสัมพันธที่เกิดจาก กิจกรรมการเรียนรู ที่ผูสอนกําหนด ดังนั้นผูสอนจําเปนตอ ง พิจารณากิจกรรมการเรียนรูที่เหมาะสม เพื่อ ปฏิสัมพันธที่มี ประสิทธิภาพ ในขณะที่ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียน-บทเรียน เปนปฏิสัมพันธที่เกิดจากกิจกรรมการเรียนรูและการกําหนด วัตถุประสงคทางการเรียน ดังนั้นผูสอนจําเปนตองพิจารณา และกําหนดวัตถุประสงคทางการเรียนและกิจกรรมการเรียนรู ที่ เ หมาะสม เพื่ อ ปฏิ สั ม พั น ธ ร ะหว า งผู เ รี ย น-ผู ส อนที่ มี ประสิทธิภาพ ซึ่งจะสงผลตอปฏิสัมพันธระหวางผูเรียน-ผูสอน ตองพิจารณาการใหผลปอนกลับ ซึ่งสงผลตอการมีปฏิสัมพันธ ระหวางผูเรียน-ผูสอนดวย การให ผ ลป อ นกลั บ เป น ขั้ น ตอนในการ จัดการเรียนการสอนที่เกิดขึ้นตอเนื่องจากกิจกรรมการเรียนรู ซึ่ ง ก อ ให เ กิ ด ปฏิ สั ม พั น ธ ร ะหว า งผู เ รี ย น-ผู ส อนและการ มอบหมายงานการเรียน ทั้งนี้ผูสอนควรพิจารณาวัตถุประสงค การเรียน กิจกรรมการเรียนรู และการประเมินหลังเรียน เพื่อ ใหผลปอนกลับถูกตองและเหมาะสม

วั ต ถุ ป ระสงค ก ารเรี ย น การมอบหมายงานการเรี ย น และ กิจกรรมการเรียนรู เปนสําคัญ ซึ่งกระบวนการทั้ง 3 ดาน ผูสอนจําเปนตองพิจารณาองคประกอบอื่นๆ เชนกัน 1) การกํ า หนดวั ต ถุ ป ระสงค ก ารเรี ย น ผูออกแบบการเรียนการสอนจําเปนตองพิจารณาประสบการณ การสอนของผูสอน เพื่อใหวัตถุประสงคการเรียนสอดคลองกับ ประสบการณที่ผูสอนมี ทั้งนี้วัตถุประสงคการเรียนเปนปจจัยที่ มี ผ ลต อ การมอบหมายงานการเรี ย น กิ จ กรรมการเรี ย นรู ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียน-บทเรียน แหลงการเรียนรู การใหผล ปอนกลับ และสงผลใหเกิดการเรียนรูแบบนําตนเอง ดังนั้นการ ที่ผูสอนสามารถมอบหมายงานการเรียน จัดกิจกรรมการเรียนรู สรางปฏิสัมพันธระหวางผูเรียน-บทเรียน จัดแหลงการเรียนรู และใหผลปอนกลับ ไดเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ผูสอน ต อ งพิ จ ารณาวั ต ถุ ป ระสงค ก ารเรี ย นเป น หลั ก หากตั้ ง วัตถุประสงคไดชัดเจนและครอบคลุม กระบวนการเรียนการ สอน ไมวาจะเปนการมอบหมายงานการเรียน การจัดกิจกรรม การเรียนรู หรือกระบวนการอื่นๆ ยอมมีประสิทธิภาพเชนกัน 2) การมอบหมายงานการเรียน เปนขั้นตอน การจัดการเรียนการสอนที่มีผลทําใหเกิดการประเมินระหวาง เรียน การใหคําแนะนําทางการเรีย น และการเรียนรูแบบนํา ตนเอง หากผูสอนตองการใหผูเรียนมีพฤติกรรมนําตนเองใน การเรีย น ผูสอนจําเปนตองออกแบบการมอบหมายงานการ เรียนใหเหมาะสม ทั้งนี้การออกแบบการมอบหมายงานการ เรียนที่ดี จําเปนตองพิจารณาวัตถุประสงคการเรียน กิจกรรม การเรียนรู ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียน-ผูสอน และการใหผล ปอนกลับ ซึ่งเปนปจจัยที่สงผลตอการมอบหมายงานการเรียน การใหคําแนะนําทางการเรียน เปนกระบวนการหนึ่งที่ควรจัด กระทํ า ตามการมอบหมายงานการเรี ย นและการกํ า หนดให ผูเรียนมีปฏิสัมพันธระหวางผูเรียน-บทเรียน โดยพิจารณาจาก ประสบการณ ก ารสอนของผู ส อน ถึ ง เม ก ารให คํ า แนะนํ า ทางการเรียนจะไมกอใหเกิดการเรียนรูแบบนําตนเอง แตการ ใหคําแนะนํ าจะมีผลในการปฏิ บัติตามงานการเรียนที่ไดรั บ มอบหมาย เนื่องจากการใหคําแนะนําทางการเรียน เปนปจจัย หนึ่งของการมอบหมายงานการเรียน

100


การประเมิ นระหวางเรีย น เปนขั้ น ตอนที่ สงผลตอการประเมินหลังเรียน ซึ่งผูสอนตองพิจารณาจากการ มอบหมายงานการเรียนและกิจกรรมการเรียนรูที่ออกแบบ เพื่อ ประเมินถูกตองตามกระบวนการและเหมาะสมตามบริบทการ เรียน การประเมินหลังเรียน เปนขั้นตอนสุดทาย ในกระบวนการเรียนการสอน แตเปนขั้นตอนที่มีผลตอการ ใหผลปอนกลับ อยางไรก็ดีการประเมินผลที่เหมาะสมผูสอน ตองพิจารณาจากการประเมินผลระหวางเรียนและกิจกรรมการ เรียนรูที่ออกแบบ

Environment. Turkish Online Journal of Distance Education. 7, 3, 43 – 56. Allan, B. (2007) Blended Learning: tools for teaching and training. Great Britain: Facet Publishing. Alshwiah, A.A.S. (2009). The Effects of Blended Learning Strategy in Teaching Vocabulary on Premedical Students’ Achievement, Satisfaction and Attitude Toward English. Master’s Thesis, Distance Teaching and Training, College of Graduate Studies, Arabian Gulf University. Bentler, P.M. and Chou, C.P. (1987). Practical Issue in Structural Modeling. Sociological Methods & Research. 16, 1, 78-117. Huang, R., Ma, D., and Zhang, H. (2008). Towards a Design Theory of Blended Learning Curriculum. Lecture Notes In Computer Science, Proceedings of the 1st international conference on Hybrid Learning and Education, pp. 66 – 78. Berlin Heidelberg: Springer. Kim, K.J. (2004). Motivational Influences in Self – Directed Online Learning Environments: A Qualitative Case Study. pp.460 – 467, Chicago: Association for Educational Communications and Technology. Lim, D.H., Morris, M.L., and Kupritz, V.W. (2006). Online vs. Blended Learning: Difference in Instructional Outcomes and Learner Satisfaction. The Academy of Human Resource Development International Conference (AHRD), pp.809 – 816. Nel, L. and Wikinson, A. (2006). Enhancing Collaborative Learning in a Blended Learning Environment: Applyinh a Process Planning Model. Systemic Practice and Action Research. 19, 6, 553 - 576. Orhan, F. (2008). Redesigning a course for blended learning environment. Turkey Online Journal of Distance Education. 9, 1, 54 – 66. Roberson, D.N., JR. (2004). The Nature of Self – Directed Learning in Older Rural Adults. Ageing International. 29, 2, 199 – 218. Stacey, E. and Gerbic, P. (2007). Teaching for blended learning – Research perspectives from on – campus and distance students. Educational Information Technology. 12, 3, 165 – 174. Thorne, K. (2003). Blended learning: how to integrate online and traditional learning. Great Britain: Kogan Page Limited. Watson, D.L. and Tharp, R.G. (1985). Self – directed behavior: self – modification for personal adjustment. 4th edition Monterey, Calif.: Brook/Cole Pub.

5.3 ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป 1. การวิจัยครั้งตอไปควรศึกษาองคประกอบใน การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานที่มีอิทธิพลตอทัศนคติ ในการเรียนเพื่อ นํา ไปปรับใชในการจัดการเรีย นการสอนที่ สรางทัศ นคติที่ดีใ นการเรีย น เนื่อ งจากทั ศ นคติที่ ดีสงผลต อ ความตองการในการเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น 2. การวิจัยครั้งตอไปสามารถศึกษาองคประกอบ เฉพาะ ในการเรียนการสอนแบบออนไลนที่สงผลตอการกํากับ ตนเองในการเรียนและการเรียนรูแบบนําตนเอง เพื่อนําไปใช กับผูเรียนที่เรียนแบบออนไลน

6) เอกสารอางอิง กิดานันท มลิทอง (2543). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. พิมพครั้งที่2. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ศิรินันท สามัญ (2547). การพัฒนากระบวนการสงเสริม ความสามารถในการเรียนรูแบบนําตนเองของครู : การวิจัยแบบพหุกรณีศึกษา. วิทยานิพนธปริญญา ดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ภาควิชาหลักสูตร การสอน และเทคโนโลยี การศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Akkoyunlu, B. and Soylu, M.Y. (2006). A Study on Students’ Views about Blended Learning

101


Yoakam, G. and Simpson, R.G. (1952). Modern Methods and Techniques of Teaching. New York: The Macmillan Company.

102


กลยุทธการออกแบบเว็บไซตสถาบันอุดมศึกษาตามแนวทางเว็บโอเมทริกซ : การเขาถึง การใชประโยชน และการปรากฏของเว็บไซต Strategies of Higher Education Web Sites Design on Webometrics Approach : Accessibility, Visibility, and Usability เอื้ออารี จันทร1, วัชรพล วิบูลยศริน2 1 นิสิตปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อาจารยมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 2

(utongkeo@gmail.com)

นิสิตปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (watcharapol.wib@gmail.com)

สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาโลกโดยเว็ บ โอเมทริ ก ซ (Webometric Ranking of World University : WRWU) ถือเปนตัวชี้วัด ภาพสะท อ นของการวิ เ คราะห เ ชิ ง ปริ ม าณในการวั ด ประสิทธิภาพของเว็บไซตสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งมีแนวโนมที่ จะเปนตัวชี้วัดรวมกับตัวชี้วัดการศึกษาแบบดั้งเดิมในอนาคต อันใกล กลยุทธการออกแบบเว็บไซตสถาบันอุดมศึกษาตาม แนวทางเว็บโอเม- ทริกซ จึงเปนวิธีการใหนักออกแบบและ พั ฒ นาเว็ บ ไซต ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษามี ทิ ศ ทางการทํ า งานที่ ชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยในบทความนี้ไดกลาวถึงกลยุทธที่ชวย เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการเข า ถึ ง การใช ป ระโยชน และการ ปรากฏ ของเว็ บ ไซต ตั้ ง แต ก ารวิ เ คราะห ก ลุ ม เป า หมาย รวมถึงเครื่องมือในการวิเคราะหพฤติกรรมการใชเว็บไซตที่ ชวยใหสามารถทําเอสอีโอ (SEO : Search Engine Optimization) เพื่อใหเว็บไซตติดอันดับตนๆ ในการคนหา ของเสิรชเอนจิน ผลลัพธที่ไดนอกเหนือจากการไดเว็บไซตที่ มีประสิทธิภาพแลว ยังสงผลตอการจัดอันดับของเว็บไซต สถาบันอุดมศึกษาที่สูงขึ้นดวย

ABSTRACT Web site is a significant instrument for institution of education. Not only is it a scholarly communication tool, but it also refers a channel to access a large number of target group as well as a reflection of institution of education’s overall operation toward target group and anonymous persons. Webometric Ranking of World University is an indicator of quantitative analysis for measuring the efficiency of higher education web sites that has a tendency to be an indicator with other traditional ones in the near future. Strategies of higher education web sites on Webometrics approach, consequently, help the designers have an obvious directionality to develop higher education web sites. This article discusses about strategies to gain more effectiveness of Accessibility, Usability and Visibility of web sites since target group analysis, behavior analytic tools that help the designers make SEO improve the firstly visibility of web sites in search engine. Apart from the effectiveness of web sites, it is become the better top ranked world higher education web site as a result. Keywords: Strategies of Web Sites Design, Webometrics, Accessibility, Usability, Visibility

บทคัดยอ

คําสําคัญ: กลยุทธการออกแบบเว็บไซต, เว็บโอเมทริกซ, การ เขาถึง, การปรากฏ, การใชประโยชน

เว็บไซตถือเปนเครื่องมือที่สําคัญของสถาบันอุดมศึกษาไม เพียงแตเปนเครื่องมือสื่อสารทางวิชาการ แตยังหมายรวมถึง ชองทางในการเขาถึงกลุมเปาหมายขนาดใหญ และเปนภาพ สะท อ นผลการดํ า เนิ น งานของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาไปสู กลุ ม เป า หมายและบุ ค คลทั่ ว ไป การจั ด อั น ดั บ เว็ บ ไซต

1) บทนํา กลยุทธการออกแบบเว็บไซตสถาบันอุดมศึกษาเปนกลยุทธ ระดั บ องค ก ารที่ สํ า คั ญ เนื่ อ งจากเว็ บ ไซต ส ามารถเข า ถึ ง

103


วิเคราะหการเชื่อมโยง (Link analysis) โดยดัชนี WIF หรือ Web Impact Factor เปนตัวชี้วัดเว็บ (Web Indicator) ประกอบดวยตัวชี้วัดเชิงปริมาณที่พิจารณาจากเสิรชเอนจิน 4 ตัว คือ 1. ขนาด (Size : S) พิจารณาจํานวนเว็บเพจที่มีการสืบคน โดยเสิ ร ช เอนจิ น ภายใต โ ดเมนเดี ย วกั น คื อ กู เ กิ ล (Google) ยาฮู (Yahoo) ไลฟเสิรช (Live Search) และ เอ็กซหลีด (Exalead) คิดคาน้ําหนักรอยละ 20 2. การปรากฏของเว็บไซต (Visibility : V) พิจารณา จํานวนรวมของการเชื่อ มโยงภายนอก (External inlinks) คิดคาน้ําหนักรอยละ 50 3. ริชไฟล (Rich Files : R) พิจารณาปริมาณการแผยแพร กิ จ กรรม เอกสารบทความทางวิ ช าการที่ เ ผยแพร ใ น รูปแบบตอไปนี้ ไดแก Adobe Acrobat (.pdf), Adobe PostScript (.ps), Microsoft Word (.doc) และ Microsoft Powerpoint (.ppt) ขอมูลเหลานี้พิจารณา จากการสกั ด ข อ มู ล โดยใช กู เ กิ ล ยาฮู ไลฟ เ สิ ร ช และ เอ็กซหลีด คิดคาน้ําหนักรอยละ 15 4. ความเปนวิชาการ (Scholar : Sc) พิจารณาจํานวน เอกสารและการอางอิงทางวิชาการของแตละโดเมนผาน กูเกิลสกอลาร (Google Scholar) จากฐานขอมูลที่เปน เอกสาร รายงานและรายการทางวิชาการอื่นๆ คิดคา น้ําหนักรอยละ 15 นอกจากนี้ เว็บโอเมทริกซยังไดเสนอแนวทางปฏิบัติที่เปน ประโยชนตอการพัฒนาเว็บไซตสถาบันอุดมศึกษา 10 ขอ ดังนี้ 1. ชื่อที่อยู (URL naming) เลือกชื่อโดเมนที่เหมาะสมและ

กลุ ม เป า หมายได ใ นระดั บ กว า ง เป น เครื่ อ งมื อ สื่ อ สารที่ มี ประสิทธิภาพ รวมถึงเปนชองทางในการแสดงศักยภาพทาง วิชาการและเผยแพรผลงานโดยใชตนทุนต่ําสุดเมื่อเทียบกับ การสื่อสารในรูปแบบอื่น นอกจากนี้ยังมีปจจัยจากภายนอกที่ มี ค วามสํ าคั ญ กั บ ตอ การวางกลยุ ท ธ การออกแบบเว็ บ ไซต ไดแก การจัดอันดับเว็บไซตสถาบันอุดมศึกษาโลกโดยเว็บ โอเมทริกซ (Webometric Ranking of World University : WRWU) แมวาการจัดอันดับดังกลาวจะไมแสดงถึงการวัด คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาก็ตาม แตก็เปนเครื่องยืนยัน ตั ว ตนของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาบนโลกไซเบอร ใ นฐานะ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาที่ เ ป ด สู ค วามเป น สากลและความเป น “มหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส (e-University)” เว็บโอเมทริ ก ซ จึ ง เปน เครื่ อ งมื อ สํ า หรั บ ผู บ ริ ห าร นั ก ออกแบบและ พัฒนาเว็บไซตของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อใชเปนแนวทาง สําคัญในการทบทวนนโยบาย กําหนดกลยุทธ และวางแผน การปรั บ ปรุ ง เว็ บ ไซต ใ ห มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพตามมาตรฐานที่ ทัดเทียมกับสถาบันอุดมศึกษาในระดับโลก

2) เว็บโอเมทริกซ การจัดอันดับเว็บไซตสถาบันอุดมศึกษาโลกโดยเว็บโอเมทริกซ เริ่มดําเนินการตั้งแตป พ.ศ. 2547 ไซเบอรเมทริกซ (Cybermetrics) หรือเว็บโอเมทริกซ กลายเปนเครื่องมือที่ใช ในการวิเคราะหเนื้อหาและการปรากฏตัวของเว็บไซตบ น อินเทอรเน็ต โดยการวิ เคราะหเชิงปริ ม าณ ตามหลักการที่ สอดคล อ งกั บ ตั ว ชี้ วั ด ไซเอนโทเมทริ ก (Scientometric Indicator) และตัวชี้วัดไบบลิโอเมทริก (Bibliometric Indicator) แบบเดิม (Bj et al., 2001) โดยการจัดอันดับจะ ดําเนินการปละ 2 ครั้ง คือ เดือนมกราคม และกรกฎาคมของ ทุกป วัตถุประสงคเพื่อสงเสริมการเผยแพรผลงานทาง วิชาการของสถาบันอุดมศึกษาบนเว็บไซตที่เขาถึงผูใชเปน จํ า นวนมากและยั ง คงรั ก ษามาตรฐานของกระบวนการ ตรวจสอบทางวารสารวิชาการ (Peer Review) ของเอกสาร อิเล็กทรอนิกส การจัดอันดับเว็บไซตสถาบันอุดมศึกษาโลก ของเว็ บ อเมทริ ก ซ นี้ เ ป น การวั ด ความสามารถในฐานะ “มหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส” ทําใหการจัดอันดับดังกลาว กําลังไดรับความสนใจจากสถาบันอุดมศึกษาทั่วโลก การ

ครอบคลุมทั้งสถาบัน ควรใสสถานที่ตั้งหรือคําอธิบาย อื่นๆ ลงไปในชื่อโดเมน หลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงชื่อ โดเมน 2. การสรางเนื้อหา (Contents

: Create) สนับสนุนให

บุคลากรชวยกันเพิ่มเนื้อหาในเว็บไซตใหมากขึ้น 3. การแปลงเนื้อหา

(Contents : Convert) แปลงเอกสาร

สํา คั ญ ต า งๆให ก ลายเป น เอกสารอิ เ ล็ก ทรอนิ ก ส และ นําไปเผยแพรบนเว็บไซตตามที่เห็นสมควร

104


(2009) กลาวถึง แนวคิด หลักการ และรูปแบบการออกแบบ เว็บไซตทางการศึกษาในประเด็นของความสามารถในการ เขาถึงเว็บไซต 2 ประเด็น ไดแก ประเด็นที่ 1 การวิเคราะหกลุมผูใชเว็บไซตสถาบันอุดมศึกษา นอกจากกลุมผูใชปกติโดยทั่วไปแลว กลุมผูใชอีกสวนหนึ่งที่ อาจถูกละเลยเนื่องจากมีขอจํากัด คือ 1. กลุมผูพิการ แตละกลุมมีขอจํากัดในการเขาถึงเว็บไซตที่ แตกต า งกั น โดยผู พิ ก ารด า นสายตามี ป ญ หาการเข า ถึ ง ข อ มู ล ด า นภาพ แฟลช วี ดิ โ อ ผู พิ ก ารด า นการรั บ ฟ ง มี ป ญ หาการเข า ถึ ง ข อ มู ล ประเภทเสี ย ง ผู พิ ก ารด า นการ เคลื่อนไหวบางประเภทจะมีปญหาการควบคุมเมาสและ การใชคียบอรด ผูพิการดานการเรียนรูจะเขาใจเนื้อหาที่ อยูบนเว็บไซตไดชา หรือบางครั้งอาจไมเขาใจเลย 2. กลุมผูใชที่เชื่อมตอระบบเครือขายจากอุปกรณประเภท ต า ง ๆ เ ช น พ ว ก ที่ เ ชื่ อ ม ต อ ร ะ บ บ เ ค รื อ ข า ย ผ า น โทรศัพทมือถือ พีดีเอ หรืออุปกรณชนิดอื่นๆ เชน เครื่อง อานหนาจอ (Screen Reader) หรือผูใชเบราวเซอรตางๆ เชน Firefox, Lynx, MyIE, Anvant เปนตน 3. กลุมผูที่มีทักษะการใชอินเทอรเน็ตต่ําหรือผูเริ่มใชงาน ควรเพิ่มทักษะพื้นฐานดานการใชงาน การใหคําแนะนํา และสภาพแวดล อ มที่ พ ร อ มให ก ารช ว ยเหลื อ หากเกิ ด ปญหาการใชงาน 4. กลุ ม ผู สู ง อายุ การเข า ถึ ง เว็ บ ไซต มี อุ ป สรรคเนื่ อ งจาก สภาพรางกายที่เสื่อมไปตามวัย โดยเฉพาะในเรื่องของ สายตา ประเด็นที่ 2 การออกแบบโดยคํานึงถึงการใชงานหลัก ไดแก การใหบริการขอมูลสารสนเทศและบริการที่จําเปน สําหรับ ผูเขาใช จึงเกี่ย วของโดยตรงกับการบริห ารจัดการ ขอมูลสารสนเทศของสถาบันอุดมศึกษา Pei yan และ Jiao Guo (2010) กลาวถึง ทฤษฎีการออกแบบ ที่เนนผูใชเปนศูนยกลาง (User Centered Design) และ หลักการใชประโยชนทางวิศวกรรม โดยสรุปดังนี้ 1. การออกแบบสถาปตยกรรมสารสนเทศ (Information

4. การเชื่อมโยงรวม (Interlinking) มีการเชื่อมโยงกับเว็บ พันธมิตร เชน เว็บทาทางการศึกษา (Educational Web Portal) เปนตน

5. การใช ภ าษาโดยเฉพาะภาษาอั ง กฤษ especially

English)

( Language,

ควรมีการใชภาษาอังกฤษทั้งใน

หนาหลักและเอกสารขอมูลทางวิชาการที่เผยแพร 6. ริชไฟลและมีเดียไฟล (Rich

and Media files)

เผยแพรขอมูลในรูปแบบเอกสาร

.pdf

ควร

หรือ .doc ให

มากขึ้น และควรเก็บสื่อตางๆ ไวในคลังเว็บไซต เชน วีดิโอ เอกสารนําเสนอผลงาน รูปภาพดิจิทัล เปนตน 7. การออกแบบที่เปนมิตรกับเสิรชเอนจิน (Search engine friendly designs) (Java)

หลีกเลี่ยงการใชแฟลช (Flash) จาวา

หรือ จาวาสคริปต (JavaScript) หลีกเลี่ยงการ

เชื่อมตอที่ซับซอนหรือใชสคริปตในการเชื่อมโยงขอมูล มากเกินความจําเปน 8. ความนิยมและสถิติ (Popularity and Statistics) การ วิเคราะหแหลงที่มาของผูเขาใชเว็บไซต ควรเลือกใช โปรแกรมวิเคราะหล็อก (Log) ที่มีตัวเลือกในการแสดง พฤติกรรมของผูใช 9. การเก็ บ ข อ มู ล และความคงอยู (Archiving

and

Persistence) ควรมีจัดเก็บรักษาเอกสารขอมูลเกาไว

10. มาตรฐานความสมบูรณของเว็บไซต Enriching

(Standard for

Sites) ตั้งชื่อไทเทิลแทกและเมทาแทกที่

เหมาะสม ใสขอมูลมาตรฐานอยางดับลินคอร (Dublin Core)

เช น ข อ มู ล ผู แ ต ง คํ า สํ า คั ญ และข อ มู ล อื่ น ๆ

เกี่ยวกับเว็บไซต เปนตน

3) ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ การออกแบบเว็บไซตสถาบันอุดมศึกษาในปจจุบันเปลี่ยน จากการขับเคลื่อนโดยเทคโนโลยีมาเปนการขับเคลื่อนโดย ผูใช การออกแบบเว็บไซตจึงเนนความสามารถในการเขาถึง ของกลุมผูใช จากงานวิจัยของ Zhenxiang Sun และ Jianian Z

Architecture Design) มุงเนนที่โครงสราง เครื่องมือนําทาง

เนื่องจากเปนสวนสําคัญในการจัดประสบการณบนเว็บไซต เพราะเปนสวนจัดเตรียมการเขาถึงขอมูลที่มีขนาดใหญและ ระบบการคนหา เนื่องจากสถาปตยกรรมสารสนเทศอยูคูกับ

105


หลักการออกแบบสวนตอประสาน (User

Interface)

ระบบ

การปรากฏตัวของเว็บไซตบนอินเทอรเน็ต เปนกลยุทธทาง อิ น เทอร เ น็ ต ที่ ก ล า วถึ ง การทํ า งานของเสิ ร ช เอนจิ น ดั ง ที่ Chambers (2005) ไดกลาวถึงในงานวิจัยเกี่ยวกับกลยุทธของ เสิรชเอนจินโดยออกแบบแนวคิดในการเพิ่มการปรากฏตัว ของเว็บไซตบนเครือขาย สําคัญสําหรับธุรกิจในประเด็นของ การเพิ่ ม รายได แ ละกลยุ ท ธ ท างการตลาดอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ผลการวิ จั ย พบว า เสิ ร จ เอนจิ น ที่ แ ตกต า งกั น มี อั ล กอริ ทึ ม (Algorithm) ที่ แ ตกต า งกั น การเพิ่ ม ค า การปรากฏของ เว็บไซตตองทําการวิเคราะหอัลกอริทึมของเสิรชเอนจิน เพื่อ ทํ า ความเข า ใจร ว มกั บ หลั ก การจั ด อั น ดั บ นอกจากนี้ Chambers (2005) ยังไดเ สนอขอ คน พบเกี่ยวกับ การเพิ่ม ค า การปรากฏของเว็บไซตไว ดังนี้ 1. ถาคาการคนพบของเสิรชเอนจินสูง คาการปรากฏของ เว็บไซตบนอินเทอรเน็ตจะสูงขึ้นดวย 2. ควรเพิ่ ม การใช ง านที่เ ป น มิ ต รกับ ซอฟต แ วร ร วบรวม ขอมูลโดยยังคงใหความสําคัญกับผูใชงานดวยเชนกัน 3. การเพิ่มเนื้อหาที่เปนริชไฟลจะเปนประโยชนสําหรับทั้ง เสิรชเอนจินและผูใช 4. เว็บไซตที่สามารถดาวนโหลดขอมูลไดอยางรวดเร็วจะ เปนประโยชนกับผูใชงานที่มีความเร็วในการเชื่อมตอ อินเทอรเน็ตต่ํา 5. อํานวยความสะดวกใหกับผูใชงานที่เปนผูพิการโดยการ ใชขอความและคําอธิบายภาพ 6. เพิ่มการใชงานแผนที่เว็บไซต (Site Map) เพื่อใหผูใช สามารถเลือกเปลี่ยนการใชงานผานทางแผนที่เว็บไซต ได จากการวิเคราะหทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของขางตนจะเห็น ไดวา การออกแบบและพัฒนาเว็บไซตในปจจุบันไดเปลี่ยน แนวคิ ด ในการออกแบบโดยมุ ง เน น ที่ ก ลุ ม ผู ใ ช มากกว า เ ท ค โ น โ ล ยี ดั ง นั้ น ก า ร อ อ ก แ บ บ เ ว็ บ ไ ซ ต สํ า ห รั บ สถาบันอุดมศึกษาจึงควรใหความสําคัญกับ 3 ประเด็นหลัก ไดแก ประเด็นการเขาถึง ประเด็นการใชประโยชน และ ประเด็นการปรากฏของเว็บไซตบนอินเทอรเน็ต

โครงสรางสถาปตยกรรมสารสนเทศเปนสวนสําคัญที่เปรียบ ไดกับโครงสรางขององคการ 2. การออกแบบที่เอื้อตอการอาน (Readability

Design)

เนนการใชงานและความชัดเจน ใชเว็บไซตเปนกลยุทธใน การคนหาขอมูล วิเคราะหการออกแบบใหสอดคลองกับ พฤติ ก รรมของมนุ ษ ย หลี ก เลี่ ย งการใช ภ าษาเฉพาะกลุ ม อั ก ษรย อ คํ า พู ด ที่ ไ ม เ หมาะสม และการเล น คํ า เมื่ อ เลื อ ก ลั ก ษณะอั ก ษรใดก็ ต ามแล ว ต อ งแน ใ จว า ใช ไ ด กั บ คอมพิวเตอรและเบราซเซอรของผูใชดวย และองคประกอบ ศิลปก็นับเปนอีกปจจัยสําคัญสวนหนึ่งนอกเหนือจากเนื้อหา 3. การออกแบบการคนหา (Search

Design) เปนแนวทาง

แรกในการออกแบบหนาการคนหา คือ การเลียนแบบหนา แสดงผลลัพธการคนหาของเครื่องมือคนหาหลัก เรียงลําดับ ผลการคนหาตามความเกี่ยวของ หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะกอใหเกิด ความสับสน เพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องมือคนหาซึ่งเปน สวนสําคัญที่สุดสวนหนึ่งของกลยุทธทางอินเทอรเน็ตโดยใช เทคนิคการทําเอสอีโอแบบ “White Hat” 4. การออกแบบหนาเว็บ (Page Design) ประกอบไปดวย 2 สวน คือ สวนของกราฟก มุงเนนที่การแสดงผล และสวน ของเอชทีเอ็มแอล (HTML) มีความสําคัญตอการสนับสนุน มาตรฐานของเว็ บ ไซต แ ละความสามารถในการทํ า งาน รวมกันกับเบราซเซอร โดยใชมาตรฐานของเว็บไซต W3C เพื่ อ สร า งและอธิ บ ายเกี่ ย วกั บ เนื้ อ หาและโครงสร า งของ เว็บไซตดวยภาษามาตรฐาน เชน XHTML หรือ XML เว็ บ เบราซ เ ซอร ใ นป จ จุ บั น มี ห ลายแพลตฟอร ม ถื อ เป น ประเด็ นสํ า คั ญ ที่นั ก ออกแบบเว็ บ ไซต ต อ งให ค วามสํ า คั ญ เพื่อใหผูใชสามารถเขาถึงและใชประโยชนจากเว็บไซตไดใน ทุกๆ แพลตฟอรม จากการวิเคราะหสถิติการใชเบราซเซอร โดย w3school.com ในเดือนมิถุนายน 2552 พบวา ผูใช IE8 คิดเปนรอยละ 15.7 IE7 คิดเปนรอยละ 8.1 IE6 คิดเปน รอยละ 7.2 Firefox คิดเปนรอยละ 46.6 Chrome คิดเปน รอยละ 15.9 และ Safari คิดเปนรอยละ 3.6

106


6. ทดสอบการใชเว็บไซตผานชองทางและอุปกรณตางๆ

4) กลยุทธการออกแบบเว็บไซตสถาบันอุดมศึกษา

ที่สามารถเชื่อ มต อ เขากับ ระบบอิน เทอรเน็ตได เช น โทรศัพทมือถือ พีดีเอ เปนตน

กลยุ ท ธ ก ารออกแบบเว็ บ ไซต ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษา เป น การ เสนอแนวทางที่ ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาควรนํ า มาใช ใ นการ กําหนดทิศทางการออกแบบเว็บไซต เพื่อเปนกรอบแนวทาง ในการดําเนินงานที่ชัดเจน ดังนี้ 4.1 กลยุทธการเขาถึงเว็บไซต เนนความเปนสากลและการ ใชงานที่งายสําหรับผูใช โดยยึดหลักที่วาคนสวนใหญเปน ผูใชระดับธรรมดา และควรคํานึงถึงผูใชที่อยูในกลุมผูพิการ ดังนั้น ทุกภาพควรมีคําอธิบายภาพกํากับ เทคโนโลยีที่ใชใน การพัฒนาเว็บไมซับซอน ออกแบบเว็บไซตใหสามารถใช งานไดงาย ผูใชสามารถเรียนรูการใชงานไดอยางรวดเร็ว ตัวชี้วัดความสําเร็จ : สถิติผูใชเว็บไซตที่เพิ่มขึ้นในแตละ เดือน ขอเสนอแนะแนวทางปฏิบัติ 1. แตงตั้งคณะกรรมการกําหนดแนวทางวิเคราะห จัดทํา

7. ทดสอบการใชงานบนเบราซเซอรในทุกๆ แพลตฟอรม 8. เพิ่มการเชื่อมโยงในแผนที่เว็บไซต 9. เพิ่ ม ความช ว ยเหลื อ ให กั บ ผู ใ ช ทั้ ง คู มื อ ให คํ า แนะนํ า หรือวีดิโอแนะนําการใชงาน รวมทั้งมีชองทางติดตอ กับนักออกแบบและพัฒนาเว็บไซตหรือผูเกี่ยวของใน กรณีที่เกิดปญหาการใชงาน ที่สําคัญตองนําปญหาและ ข อ เสนอแนะที่ ไ ด ม าปรั บ ปรุ ง การดํ า เนิ น งานอย า ง ตอเนื่อง การประเมินผล : ประเมินโดยใชเกณฑการพัฒนาเว็บไซต TWCAG 2009 4.2 กลยุทธการใชประโยชนเว็บไซต คือ ความสามารถใน การใชงาน ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ความพึง พอใจในการใชงานเว็บไซต โดยสามารถใชงานไดงาย มี ข อ มู ล ส า ร ส น เ ท ศ ที่ ผู ใ ช ค า ด ห วั ง ต า ม พั น ธ กิ จ ข อ ง สถาบันอุดมศึกษา ตัวชี้วัดความสําเร็จ : สถิติผูที่ดาวนโหลดเอกสาร ผูที่ใชงาน ริชไฟลและมีเดียไฟล และระดับความพึงพอใจของผูใช ขอเสนอแนะแนวทางปฏิบัติ 1. เพิ่มมาตรการสนับสนุนการตีพิมพเอกสารวิชาการใน

มาตรการออกแบบเว็บไซตภายในสถาบันอุดมศึกษา และหน ว ยงานในสั ง กั ด ทั้ ง นี้ ร วมถึ ง การควบคุ ม ติ ด ตามและตรวจสอบการดํ า เนิ น งานให เ ป น ไปใน แนวทางเดียวกัน 2. วิ เ คราะห พ ฤติ ก รรมการใช เ ว็ บ ไซต ข องกลุ ม ผู ใ ช โดยเฉพาะในเรื่องของคําสําคัญที่ใช หนาเว็บที่เขาถึง และหนาเว็บที่ออกจากเว็บไซตของสถาบัน

ระดับชาติและนานาชาติ โดยนํามาเผยแพรเปนเอกสาร

3. ตรวจสอบและปรับปรุงการออกแบบเว็บไซตใหเอื้อ

อิเล็กทรอนิกสบนเว็บไซตของสถาบัน

สําหรับผูใชทุกกลุม โดยอิงเกณฑการพัฒนาเว็บไซต TWCAG 2009 (Thailand Accessibility Guidelines 2009)

Web

2. เพิ่มมาตรการสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิชาการ และ

Content

การทํ า กิ จ กรรมบนเว็ บ ไซต ข องคณาจารย นั ก วิ จั ย

4. ตรวจสอบและปรั บ ปรุ ง การออกแบบเว็ บ ไซต ที่

บุคลากรและนิสิต นักศึกษา

สามารถเขาถึงไดงายและรวดเร็ว หลีกเลี่ยงการพัฒนา

3. รวบรวมสถิติผูที่เขามาใชเอกสารอิเล็กทรอนิกสตางๆ

เว็บไซตที่เปนไดนามิก (Dynamic) คํานึงถึงผูที่ใชงาน

4. พัฒนาเว็บไซต ของสถาบันอุดมศึกษาในลักษณะของ

ที่มีความเร็วในการใชเครือขายต่ําเปนปจจัยพื้นฐานใน

เว็บ ทา (Web

การออกแบบ

ร ว บ ร ว ม แ ล ะ เ ผ ย แ พ ร ผ ล ง า น วิ ช า ก า ร ที่ เ ป น

Portal) เพื่ อ เป น คลั ง ข อ มู ล สํ า หรั บ

5. เพิ่ ม การเผยแพร เ ว็ บ ไซต แ ละเอกสารวิ ช าการใน

ลักษณะเฉพาะของสถาบัน อีกทั้งเปนแหลงคนควาทาง

รูป แบบภาษาอั ง กฤษใหค รบทุ กหน า และภาษาอื่ น ๆ

วิ ช าการสํ า หรั บ บุ ค ลากรภายในและบุ ค คลภายนอก

เพิ่มเติมถาเปนไปได

ทั่วไป

107


5. วิเ คราะหแ ละออกแบบสถาปต ยกรรมสารสนเทศให

3. ตั้ ง ชื่ อ ไทเทิ ล แทก และเมทาแทกของเว็ บ ไซต ใ ห สื่ อ

สอดคลองกับพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา ตรวจสอบ

ความหมายเกี่ ย วกั บ สถาบั น ศึ ก ษาและนํ า มาตรฐาน

ความถูกตองและความทันสมัยของขอมูลสารสนเทศ

ดับลินคอรมาใช

ทั้งนี้ใหระบุวันที่ของการสรางขอมูลดวย

4. ศึกษากระบวนการทํางานอัลกอริทึมของเสิรชเอนจิน

6. จั ด ทํ า แผนการป อ งกั น ข อ มู ล เสี ย หาย ทั้ ง การสํ า รอง

เพื่อใชเปนเทคนิคการเพิ่มคาการปรากฏของเว็บไซต

ข อ มู ล และการวางแผนบริ ห ารความเสี่ ย งของข อ มู ล

การประเมิ น ผล : ประเมิ น จากการจั ด อั น ดั บ เว็ บ ไซต สถาบันอุดมศึกษาโลกโดยเว็บโอเมทริกซ

สารสนเทศทั้งระบบ 7. สร า งเครื อ ข า ยความรว มมื อ ในการแลกเปลี่ย นข อ มู ล สารสนเทศทางวิ ช าการผ า นเว็ บ ไซต ข องสถาบั น

การปรากฏตัว

อุดมศึกษา การเขาถึง เว็บไซต

8. ส ง เสริ ม การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนและการ แลกเปลี่ยนทางวิชาการโดยใชลักษณะของเครือขายทาง สังคม (Social Network)

การใช ประโยชน เว็บไซต

9. ถาเปนไปไดการจัดทําเอกสารที่เปน .pdf ใหสรางไฟล โดยการแปลงจาก .doc แทนการสแกน เนื่องจากเครื่อง

รูปที่ 1: ความสัมพันธของกลยุทธการออกแบบเว็บไซต

อานของผูพิการทางสายตาจะไมสามารถอานไฟลที่ได จากการสแกน

จากรูปที่ 1 จะเห็นไดวา กลยุทธทั้ง 3 สวนไมสามารถแยก ออกจากกั น ได อ ย า งเด็ ด ขาด เนื่ อ งจากมี ส ว นของการ ดําเนินงานที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน ไดแก กลยุทธการ เขาถึงเว็บไซตเนนความสะดวกในการเขาถึง ในขณะที่กลยุทธการใชประโยชนเนนการนําไปใชงานที่งาย ซึ่งหากผูใช ไมสามารถเขาถึงขอมูลสารสนเทศที่มีอยูได ก็จะไมสามารถ นําขอมูลสารสนเทศไปใชประโยชนได ในขณะเดียวกันการ ปรากฏตัวของเว็บไซตบนอินเทอรเน็ตจะทําใหผูใชสามารถ เขาถึงและนําขอมูลสารสนเทศในเว็บไซตไปใชประโยชนได สวนกลยุทธในการใชเทคนิคที่แตกตางกัน คือ กลยุทธการ เขาถึงเนนการการออกแบบโครงสรางเว็บไซต กลยุทธการ ใชป ระโยชน เนน การออกแบบสถาปต ยกรรมสารสนเทศ สําหรับกลยุทธการปรากฏตัวบนเว็บไซตสวนหนึ่งเปนผล จากการเข า ถึ ง และการใช ป ระโยชน โ ดยตรง กลยุ ท ธ ก าร ปรากฏตั ว บนเว็ บ ไซต เ น น ใช เ ทคนิ ค การทํ า เอสอี โ อแบบ

การประเมินผล : ประเมินผลความพึงพอใจของผูใช สถิติผูที่ เข า ใช ข อ มู ล สารสนเทศ หรื อ ใช เ กณฑ ก ารประเมิ น HHS (Health and Human Services)

4.3 กลยุทธการปรากฏตัวของเว็บไซต ใชกลยุทธการเปน มิตรกั บเครื่องมือที่ใชในการคนหา กลุมผูใช และองคการ หรือหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของกับสถาบันอุดมศึกษา ตัวชี้วัดความสําเร็จ : อันดับเว็บไซตสถาบันอุดมศึกษาโลก โดยเว็บโอเมทริกซที่สูงขึ้นเมื่อเทียบกับการจัดอันดับในป กอนหนา ขอเสนอแนะแนวทางปฏิบัติ 1. กํ า หนดและประกาศนโยบายในการใช โ ดเมนของ สถาบันอุดมศึกษาใหอยูภายในโดเมนเดียวกัน รวมถึง เว็บไซตสวนบุคคลของบุคลากรและนิสิต นักศึกษา 2. ตรวจสอบการเชื่ อ มโยงเว็ บ ไซต ข องหน ว ยงานที่ เกี่ยวของ และวิเคราะหหาสาเหตุ เพื่อวางแผนปรับปรุง

“White Hat”

หากพบวาไมไดรับการเชื่อมโยง

สําหรับการขับเคลื่อนกลยุทธตองเกิดจากความรวมมือของ กลุมบุคคลที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้

108


1. ผูบริหาร ทําหนาที่เปนผูสนับสนุน กํากับ และติดตามการ ดําเนินงานใหการขับเคลื่อนไปตามนโยบายที่กําหนด 2. นั ก ออกแบบเว็ บ ไซต ออกแบบและติ ด ตามเทคโนโลยี ใหมๆเพื่อนํามาใชปรับปรุงประสิทธิภาพของเว็บไซต 3. หน ว ยงานหรื อ บุ ค ลากรเจ า ของข อ มู ล ส ง ข อ มู ล เข า สู เว็บไซต ตรวจสอบความถูกตองและปรับปรุงขอมูลใหเปน ปจจุบันอยูเสมอ หรือแจงแกไขขอมูลในกรณีที่ไมสามารถ ดําเนินการเองได 4. บุคลากรภายในมหาวิทยาลัย เขาใชเว็บไซตและสะทอน ปญหาที่เกิดจากการใชงาน เพื่อใหสถาบันนําขอเสนอแนะ ดั ง กล า วไปใช ใ นการปรั บ ปรุ ง เว็ บ ไซต ใ ห ต รงตามความ ตองการของผูใชงานมากยิ่งขึ้น แนวปฏิบัติที่ดี

การ เขาถึง 9

กลยุทธ การใช ประโยชน 9 9 9

5) เครื่องมือที่ชวยในการวิเคราะหประสิทธิภาพของ เว็บไซต ป จ จุ บั น นั ก ออกแบบเว็ บ ไซต มี เ ครื่ อ งมื อ ที่ ช ว ยในการ วิเคราะหประสิทธิภาพของเว็บไซต เครื่องมือหลานี้ไดรับ ความนิยมในการใชงานอยางแพรหลายและไมมีคาใชจายใน การวิเคราะห เหมาะสําหรับนักออกแบบเว็บไซตที่ยังขาด ทิศทางในการติดตามประสิทธิภาพเว็บไซต 5.1 กูเกิล แอนนาไลทิกซ1 (Google Analytics) เปน เครื่ อ งมื อ สํ า หรั บ เก็ บ สถิ ติ แ ละพฤติ ก รรมของผู เ ยี่ ย มชม เว็บไซต จํานวนคนเขาเว็บแบบนับจํานวนคน ทําใหทราบวา คําสําคัญใดที่ไดรับความสนใจและมีประสิทธิภาพมากที่สุด ผูเขาชมเว็บไซตออกจากเว็บไซตที่จุดใด โดยมีวัตถุประสงค การใชงาน คือ รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับผูที่เขามาชมเว็บไซต แสดงชองทางในการเขาถึงเว็บไซต วิเคราะหวิธีที่ผูใชงาน เขาถึงขอมูลภายในเว็บไซต อัตราที่ระบุโอกาสที่ผูที่เคยเขา เยี่ยมชมจะกลับมาเขาใชงานอีกในภายหลัง อัตราการเขาชม ของผูเยี่ยมเขาชมกลุมใหม จํานวนเวลาเฉลี่ยในการเขาชม นักออกแบบเว็บไซตสามารถนําผลการวิเคราะหมาใชในการ วางแผนบริหารจัดการและปรับปรุงเว็บไซตใหสอดคลองกับ พฤติกรรมของผูใชไดอยางมีประสิทธิภาพ

การ ปรากฏ 9 9 9 9

1. ชื่อที่อยู 2. การสรางเนื้อหา 3. การแปลงเนื้อหา 4. การเชื่อมโยง 5. ภาษาที่ใชโดยเฉพาะ 9 9 ภาษาอังกฤษ 6. ริชไฟลและมีเดียไฟล 9 9 7. การออกแบบที่เปนมิตร 9 9 9 กับเสิรชเอนจิน 8. ความนิยมและสถิติ 9 9 9 9. การเก็บขอมูลและความ 9 9 คงอยู 10. มาตรฐานเพื่อความ 9 9 สมบูรณของเว็บไซต ตารางที่ 1 : แสดงการเทียบเคียงแนวปฏิบัติที่ดีของการจัดอันดับ เว็บไซตสถาบันอุดมศึกษาโลกโดยเว็บโอเมทริกซกับกลยุทธการเขาถึง การใชประโยชน และการปรากฏของเว็บไซต

รูปที่ 2 : หนาจอการวิเคราะหสถิติและพฤติกรรมผูใชเว็บไซต โดย กูเกิลแอนนาไลทิกซ

เมื่อเทียบเคียงกับแนวปฏิบัติที่ดีของการจัดอันดับเว็บไซต สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาโลกโดยเว็ บ โอเมทริ ก ซ จะเห็ น ได ว า กลยุทธการออกแบบเว็บไซตในเบื้องตนครอบคลุมกับแนว การจัดอันดับเว็บไซต ดังตารางที่ 1

5.2 กูเกิล เว็บมาสเตอรทูลซ2 (Google Webmaster Tools) เป น เครื่ อ งมื อ ของผู ดู แ ลเว็ บ ไซต ช ว ยในการทํ า เอสอี โ อ 1 2

109

http://www.google.com/analytics http://www.google.com/webmasters/tools


เพื่อใหเว็บไซตนั้นติดอันดับตนๆ ในการคนหาของเสิรชเอนจินของกูเกิลไดอ ยางสะดวกรวดเร็วและแมนยํามากยิ่งขึ้น ชวยในการวิเคราะหพฤติกรรมของกูเกิลที่มีตอเว็บไซตนั้นๆ รวมถึ ง ระบุ สิ่ ง ที่ กู เ กิ ล ต อ งการให แ ก ไ ข เมื่ อ พบว า มี ขอผิดพลาดภายในเว็บไซต

การเข า ถึ ง และการใช ป ระโยชน เ ว็ บ ไซต ห ลายตั ว ได แ ก ISO/IEC 10779, ISO 9241-20 สวนที่ 20, ISO 9241-171 สวนที่ 171 และ HHS (Health and Human Service) Guideline

6) บทสรุป กลยุทธการออกแบบเว็บไซตสถาบันอุดมศึกษาตามแนวทาง เว็บโอเมทริกซ ประกอบดวยกลยุทธการเขาถึง กลยุทธการ ใชประโยชน และกลยุทธการปรากฏของเว็บไซต ถือเปน แนวทางการวางกลยุทธการออกแบบเว็บไซตโดยคํานึงถึง มุมมองและพฤติกรรมของผูใชเปนสําคัญ ในการออกแบบ และพัฒนาเว็บไซต สถาบันอุดมศึกษาสามารถดําเนินการเอง หรือ ใหห น ว ยงานภายนอกเปน ผูดําเนิน การก็ไ ดขึ้น อยู กั บ นโยบายของสถาบัน แตการวางกลยุทธการออกแบบเว็บไซต ควรเปนไปในแนวทางเดียวกันไมวาผูดําเนินงานจะเปนคน กลุมใด และเนื่องจากสถาบันอุดมศึกษามีหนวยงานในสังกัด หลายหน ว ยงานและต า งก็ มี เ ว็ บ ไซต เ ป น ของตน การ ออกแบบและพั ฒ นาเว็ บ ไซต ก็ ค วรเป น ไปในแนวทาง เดี ย วกั น เพื่ อ ให เ ว็ บ ไซต มี ค วามเป น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น บรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค ห ลั ก ขององค ก าร และผลของการจั ด อันดับเว็บไซตของสถาบันอุดมศึกษาโลกผานเว็บโอเมทริกซ จะเปนเพียงเครื่องมือนําทางและผลพลอยไดที่เกิดจากการ บริหารจัดการเว็บไซตที่มีประสิทธิภาพนั่นเอง

รูปที่ 3 : หนาจอการวิเคราะหเว็บไซตโดย กูเกิล เว็บมาสเตอรทูลซ

5.3

TWCAG 20093 (Thai Web Content Accessibility

เปนแนวทางการพัฒนาเว็บไซตที่ทุกคนเขาถึง ได สามารถใชง านและเข า ใจเนื้ อ หา ตามมาตรฐานสากล WCAG 2.0 โดยกําหนดแนวทางที่เหมาะสมสําหรับการ ออกแบบ การนํ า เสนอเนื้ อ หาและข อ มู ล บนเว็ บ ไซต 4 หลักการ คือ ความสามารถในการรั บ รู (Perceivable) ความสามารถในการใช งาน (Operable) ความสามารถใน การเข า ใจ (Understandable) และความคงทนต อ การ เปลี่ ย นแปลง (Robust) มี เ กณฑ ค วามสํ า เร็ จ (Success Criteria) 3 ระดับในการทดสอบความเขากันไดของเว็บไซต เพื่อตอบสนองความตองการที่หลากหลายของคนหลายกลุม หลายกรณี ซึ่งกําหนดระดับในการเขาถึงไว 3 ระดับ คือ ระดับ A ระดับ AA ระดับ AAA Guide 2009)

7) เอกสารอางอิง Aminzadeh, N. & Salim, S. S., (2010). Detecting and visualizing web design patterns. IEEE. 100103. Bj, ouml, et al. (2001). Perspective of webometrics. Scientometrics. 50: 65-82. Petrie, H. (2009). The evaluation of accessibility, usability and user experience. CRC. Priyandari, Y., Iftadi, I., & Fitriawan, S. P. (2009). Redesigning website by considering the usibility aspects using parsipatory design. Proceedings of International Seminar on Industrial Engineering and Management, 5661. Sun, Z. & J. Zhang (2009). On Accessibility of Concept, Principle and Model of Educational Web Sites Design.IEEE. 730-733.

รูปที่ 4 : โลโกแสดงผลเมื่อผานเกณฑทดสอบทั้ง 3 ระดับ

5.4 มาตรฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ สามารถนํามาพิจารณาใน การออกแบบเพิ่ ม เติ ม รวมทั้ ง ใช เ ป น แนวทางในการ ประเมินผลการออกแบบเว็บไซตในประเด็นของการประเมิน 3

http://www.tab.or.th/tabradio/download/twcag2009.doc

110


Yan, P. (2010). The Research of Web Usability Design. IEEE. 480-483. http://www.google.com/analytics http://www.google.com/webmasters/tools http://www.tab.or.th/tabradio/download/twcag2009.doc http://www.w3schools.com/browsers/browsers_stats.asp

111



การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนผานเว็บไซต วิชาองคประกอบศิลปะไทย Development Teaching and Learning Aided Web Based Instruction Media for Composition of Thai Art Subject ฉัตรชัย ศิริพันธุ วิทยาลัยเพาะชาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร (dekorlaku@hotmail.com, dekorlaku@gmail.com)

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร พื้นที่เพาะ ชาง ซึ่งไดมาจากการเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง จํานนวน 22 คน เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ในครั้ ง นี้ ป ระกอบด ว ย 1) สื่อการเรียนการสอนผานเว็บวิชาองคประกอบศิลปะไทย ที่ ผู วิ จั ย ไ ด พั ฒ น า ขึ้ น ใ น ลั ก ษ ณ ะ เ ว็ บ ไ ซ ต ที่ มี ชื่ อ http://www.thaiartonline.com 2 ) แ บ บ ท ด ส อ บ วิ ช า องคประกอบศิลปะไทย 3) แบบสอบถามความคิดเห็นตอการ ใช สื่ อ การเรี ย นการสอนผ า นเว็ บ ไซต สถิ ติ ที่ ใ ช ใ นการ วิเ คราะหขอ มูล ไดแ ก ค ารอ ยละ คา เฉลี่ ยและคา เบี่ย งเบน มาตรฐาน t- test โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows ในการวิจัยครั้งนี้ผลการวิจัยปรากฏวา 1) ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนผานเว็บไซต วิชา องคประกอบ ศิ ล ปะไทยของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร พื้นที่เพาะชาง หลังเรียน สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลรั ตนโกสิ น ทรพื้น ที่เพาะช างมี ความพึ งพอใจตอ การ เรียนการสอนผานเว็บวิชาองคประกอบศิลปะไทยที่ผูวิจัยได พัฒนาขึ้นในระดับมาก

ABSTRACT The objectives of this reseach were 1. to develop teaching and learning media via web based instruction on the course of “Composition of Thai Art” 2. to compare the students’ learning achievement between the pretest and posttest , and 3. to study the students’ satisfaction towards the web based instruction. The sample consisted of 22 students purposively selected in Rajamangala University of Technology Rattanakosin, Poh Chang College. The research instrument were 1) web based instruction at adderss http://www.thaiartonline.com 2) achievement test of Composition of Thai Art, and 3) a learner satisfaction survey of teaching and learning via web based instruction. The data were analyzed using statistical Percentage, Mean ,Standard Deviation And T-Test The result showed that 1) The leaning achievement after learning through web based instruction was significantly higher than the pretest at the .05 level 2) the satisfaction of the students using this learning via web based instruction was at high level. Keywords: Teaching and Learning Via Web Based Instruction, web based instruction, Composition of Thai Art

บทคัดยอ

คําสําคัญ: การเรียนการสอนผานเว็บ, องคประกอบศิลปะ ไทย

วัตถุประสงคของงานวิจัยครั้งนี้คือ เพื่อพัฒนาสื่อการเรียน การสอนผ า นเว็ บ ไซต วิ ช า องค ป ระกอบศิ ล ปะไทย มี วัตถุประสงคหลักเพื่อเปนสื่อเสริมการเรียนวิชาองคประกอบ ศิลปะไทย เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของคะแนนกอน และหลังเรียนวิชาองคประกอบศิลปะไทย เพื่อศึกษาความ พึงพอใจของผูสอนและผูเรียนที่มีตอใชสื่อการเรียนการสอน ผานเว็บไซต กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ไดแก นักศึกษา ระดับปริญญาตรีที่ศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2551

1) บทนํา ปจจุบันเครือขายอินเทอรเน็ตไดเขามามีบทบาทในการเรียนรู เปนอยางมาก เนื่องดวยเครือขายอินเทอรเน็ตเปนแหลง รวบรวมองคความรูในรูปแบบของเอกสาไฮเปอรเท็กซบน เครือขายเวิลด ไวด เว็บ (Web Based Instruction) ที่มีการเก็บ

113


ข อ มู ล จํ า นวนมหาศาลและเป น ช อ งทางสื่ อ สารที่ ส ะดวก รวดเร็วประหยัดเวลาและคาใชจายในการติดตอสื่อสารอีกทั้ง ผูใชสามารถโตตอบและมีปฏิสัมพันธไดหลากหลารูปแบบ ทําใหเครือขายอินเทอรเน็ตกลายเปนเครื่องมือที่สําคัญในการ เรียนการสอนและการเรียนรู ซึ่งสามารถใชในการเสริมการ เรียนการสอนในชั้ นเรี ย นปกติได หรือใชเปนรูปแบบการ เรียนระหวางบุคคล เปนการเรียนรูโดยอาศัยเทคโนโลยีการ สื่อสารและเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนสําคัญ ที่สุด ใหนักเรียนเปนผูแสวงหาความรูดวยตนเองโดยมีครู เป น ผู ใ ห ก ารสนั บ สนุ น นวั ต กรรมการเรี ย นการสอนผ า น เว็บไซตเปนวิวัฒนาการทางเทคโนโลยีการสื่อสาร ที่นํามา เป น ทางเลื อ กหนึ่ ง ของการจั ด การเรี ย นการสอนของไทย เพื่อใหเกิดความเทาเทียมกันไมวาผูเรียนจะอยูที่ใดก็ตาม อีก ทั้งยังสนับ สนุนใหเกิดสภาพแวดลอมที่สงเสริมใหผูเรีย น ใฝหาความรูไดมากยิ่งขึ้นที่สามารถตอบสนองการเรียนรูโดย ไมจํากัดเวลาและสถานที่ จากเหตุผลดังกลาว ผูวิจัยมี ตระหนักวา การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนผานเว็บไซตจะมี ประโยชน ต อ การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนและช ว ย สงเสริมใหผูเรียนเกิดความสนใจ และมีความพึงพอใจในการ เรียนมากยิ่งขึ้น

4) ประชากร ประชากรที่ใชในการวิจัยในครั้งนี้ ไดแก นักศึกษาระดับ ปริ ญ ญาตรี ในมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล รัตนโกสินทร พื้นที่เพาะชาง

5) กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ใชในการทดลองเพื่อศึกษาความความคิดเห็น ที่ มี ต อ การใช สื่ อ การเรี ย นการสอนผ า นเว็ บ ไซต วิ ช า องคประกอบศิลปะไทย ไดแก นักศึกษาระดับปริญญาตรีที่ ศึ ก ษา ภาคเรี ย นที่ 2 ในป ก ารศึ ก ษา 2551 มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร พื้นที่เพาะชาง ซึ่งไดมา จากการเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง เพื่อใชในการทดลอง ขั้นภาคสนาม จํานนวน 22 คน

6) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีเครื่องมือดังนี้ 1. สื่อการเรียนการสอนผานเว็บไซตที่ผูวิจัยไดพัฒนาขึ้น 2. แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน 3. แบบสอบถามความคิดเห็นตอการใชสื่อการเรียนการสอน ผานเว็บไซต

7) การเก็บรวบรวมขอมูล

2) วัตถุประสงคของโครงการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอนผานเว็บไซต เพื่อเปนสื่อ เสริมการเรียนวิชา องคประกอบศิลปะไทย ในระดับปริญญา ตรี 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของคะแนนกอนและหลังเรียน วิชา องคประกอบ-ศิลปะไทย ในระดับปริญญาตรี 3. เพื่อการศึกษาความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอการใชสื่อ การเรียนการสอนผานเว็บไซต

ผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดังนี้ 1. ผูวิจัยนัดหมายกับกลุมตัวอยางเพื่อทดลองใชสื่อการเรียน การสอนผานเว็บไซต 2. ผูวิจัยใหกลุมตัวอยางทําแบบสอบถามความเห็นคิดเห็น ใหกลุมตัวอยาง 3. ผูวิจัยรวบรวมขอมูลทั้งหมดไปวิเคราะหขอมูล

3) สมมุติฐานของการวิจัย

เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของคะแนนกอนและหลังเรียน ผาน เว็บไซตวิชา องคประกอบศิลปะไทย ในระดับปริญญาตรี

8) ผลการวิจัย

1. นักศึกษาที่เรียนผานเว็บไซต วิชา องคประกอบศิลปะไทย มีผลสัมฤทธิ์ของคะแนนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน 2. นักศึกษาที่เรียนผานเว็บไซต วิชา องคประกอบศิลปะ ไทย มี ค วามพึ ง พอใจต อ การใช สื่ อ การเรี ย นการสอนใน ระดับมาก

ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของคะแนนกอนเรียน และหลังเรียนผานเว็บไซต วิชา องคประกอบศิลปะไทย ใน ระดับปริญญาตรี

114


ออกแบบ

คะแนน n x S.D df t p กอนเรียน 22 19.70 3.1271 หลังเรียน 22 49.55 2.2725 21 16.965 0.00*

7.

1.

2

3.

4.

5.

6.

เนื้อหา เนื้อหาที่นํามาใชในการเรียนการ สอนผานเว็บไซตตอ งมีความ หลากหลายและนาสนใจ การเรียนผานเว็บไซตในวิชา ตางๆ มีขอมูลมากเพียงพอตอการ เรียนรูและคนควาเพิ่มเติม เฉพาะวิชาภาคทฤษฎีเทานั้นที่ เหมาะจะนํามาใชในการเรียนผาน เว็บไซต เฉพาะวิชาภาคปฏิบัติเทานั้นที่ เหมาะจะนํามาใช ในการเรียน ผานเว็บไซต สวนประกอบดานโปรแกรม ออกแบบหนาจอเหมาะสม งาย ตอการใช สัดสวนเหมาะสม สวยงาม มีความคิดสรางสรรคในการ

S.D.

มาก

4.35

71

มาก ที่สุด

4.59

.58

มาก ที่สุด

4.74

.71

การคนหาขอมูล (search)

4.68

.76

แบบฝกหัดหรือแบบทดสอบ รายชื่อเว็บไซตที่ใชเชื่อม(link) ไปสืบคนขอมูลอืน่ ๆ 14 . การเรียนผานเว็บไซตนาสนใจ

4.15 4.84

.67 .58

4.55

.56

15.

การเรียนผานเว็บไซตไดพัฒนา ความสามารถและความรูของตน มากขึ้น การเรียนผานเว็บไซตรูสึกยุงยาก กับการเรียน การเรียนผานเว็บไซตนาเบื่อ หนาย การเรียนผานเว็บไซตนาน ๆ ทํา ใหรูสึกไมคอยสบาย ตองการเรียนผานเว็บไซตในกลุม วิชาอื่น ๆ ดวย

4.17

.67

มาก ที่สุด มาก ที่สุด มาก มาก ที่สุด มาก ที่สุด มาก

11.

2.84

1.01

2.42

1.02

2.73

.99

4.75

.58

โดยรวมการเรียนการสอนผาน เว็บไซตมีประโยชนตอการเรียน การสอนของผูเรียน เฉลี่ย

4.65

.56

มาก ที่สุด

4.08

0.74

มาก

12. 13.

ตารางที่ 2 แสดงผลการศึกษาความพึงพอใจของผูเรียนกลุม ตัวอยาง จํานวน 22 คน ที่มีตอ การเรียนการสอนผาน เว็บไซต วิชา องคประกอบศิลปะไทย x

.88

9.

ความพึงพอใจของผูสอนและผูเรียนที่มีตอใชสื่อการเรียน การสอนผานเว็บไซต วิชา องคประกอบศิลปะไทย

ขอความ

4.15

8.

n =22 * มีนัยสําคัญทางสถิติ .05 จากตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของ คะแนนก อ นเรี ย นและหลั ง เรี ย นผ า นเว็ บ ไซต วิ ช า องค ป ระกอบศิ ล ปะไทย ในระดั บ ปริ ญ ญาตรี นั้ น พบว า ผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนกอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงวาการเรียนการสอนผานเว็บไซตทําใหนักศึกษามีผล การเรียนที่สูงขึ้น

ลํา ดับ

10.

ลักษณะของขนาด สี ตัวอักษร ชัดเจนอานงายเหมาะสมกับ ผูเรียน ออกแบบเมนูใหเว็บไซตใชงาย สะดวก ไมกอใหเกิดความสับสน ของเสนทางเดิมเว็บไซตและ สามารถยอนกลับไปยังจุดตางๆ ไดงาย ความตองการใชบริการการเรียน ผานเว็บไซตกระดานขาวตั้ง กระทูถาม (webbaord) การสงงาน ติดตอผูสอน (E-mail)

ตีความ 16.

4.42

.53

มาก ที่สุด

4.36

.82

มาก ที่สุด

3.47

.89

17. 18. 19.

มาก 20.

3.42

.99

4.25

.65

4.1

.65

มาก

ปาน กลาง นอย ปาน กลาง มาก ที่สุด

จากตารางที่ 2 แสดงใหเห็นวานักศึกษาสวนใหญ มีระดับความพึงพอใจตอการเรียนการสอนผานเว็บไซต วิชา องคประกอบศิลปะไทย ที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น เฉลี่ย ระดับมาก

มาก ที่สุด มาก

115


อิสระในการเลือก เนื้อหา เลือกเวลาศึกษา เลือกกิจกรรมที่ ตนสนใจโดย ไมมีเงื่อนไขการเรียงลําดับกอนหลัง ผูเรียน สามารถกลับไปเรียนซ้ําในเนื้อหาที่ยังไมเขาใจไดจนกวาจะ เขาใจ แลวจึงศึกษาในหนวยตอไปไดอยางเปนอิสระขึ้นอยู กับสามารถเฉพาะบุคคล มีอิสระในการประเมินผลการเรียน และสามารถทราบความกาวหนาในการเรียนของตน ซึ่งการ เรียนดวยเว็บไซตสามารถตอบสนองความแตกตางระหวาง บุคคล มุงเฉพาะรายบุคคลเปนสําคัญ 5. รูปแบบการเรียนการสอนผานเว็บไซตควรมีความยืดหยุน ในเรื่องเวลาและสถานที่ ผูเรียนตองมีความรับผิดชอบสูงใน การศึ ก ษาเรี ย นด ว ยตนเองและแสวงหาความรู มี ค วาม กระตือรือรนในการเรียนเพิ่มมากยิ่งขึ้น มีความตั้งใจใฝหา ความรู และครูเปนผูอํานวยความสะดวก ใหแนะนํา เปนที่ ปรึกษาในกรณีที่ติดขัด จัดหาแหลงความรูใหพรอม พรอม ทั้งแนะนําแหลงขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวของ 6. ควรระมัดระวังมารยาทในการใชงานอินเทอรเน็ต ไมนํา ขอมูลผูอื่นมาใชในนามของตน โดยไมไดรับอนุญาตเปนการ ละเมิดลิขสิทธิ์ของผูอื่น ซึ่งนับวาเปนการกระทําที่ผิด กฎหมาย ดังนั้นควรจะอางอิงเว็บไซตที่เปนแหลงที่มาของ ขอมูล

9) สรุปผลการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนผานเว็บไซต วิชา องคประกอบ ศิลปะไทย ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร พื้นที่เพาะชาง หลัง เรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลรัตนโกสินทร พื้นที่เพาะชาง มีความพึงพอใจตอการ เรียนการสอนผานเว็บไซต วิชา องคประกอบศิลปะไทย ที่ ผูวิจัยพัฒนาขึ้นในระดับมาก

10) ขอเสนอแนะ 10.1) ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช ผูวิจัยขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใชดังนี้ 1. ผลการวิจัยสามารถนําไปใชประโยชนสําหรับผูสอน และนักออกแบบระบบการเรียนการสอน โดยการออกแบบ การเรียนการสอนดวยเว็บไซต ควรออกแบบใหมีเชื่อมโยง ทุกหนา ในทุกเรื่อง ทุกหัวขอ และคําสําคัญตาง ๆ ภายใน เนื้อหา ใหเชื่อมโยงแตละเรื่องใหมากและครอบคลุม เพื่อให ผูเรียนไดเขาถึงขอมูลไดในทันที อยางสะดวกรวดเร็วตามที่ ตองการ อันจะสงผลใหผูเรียนสามารถจดจําและระลึกถึง ขอมูลไดดี 2. การเรียนการสอนดวยเว็บเปนการศึกษาดวยตนเอง เนน ผู เ รี ย นเป น สํ า คั ญ การออกแบบเนื้ อ หาภายในเว็ บ เพจ ผูสอนและผูสรางเว็บควรออกแบบใหมีการเชื่อมโยงในเว็บ เพจใหมากเพียงพอโดยการวิเคราะหเนื้อหาใหผูเรียนสามารถ ควบคุมการเรียนรูไดดวยตนเอง ผูเรียนคนควาศึกษาเนื้อหา ไดอยางอิสระ การเชื่อมโยงและรูปแบบเว็บเพจมีความ สอดคลองกับกระบวนการเรียนรูของผูเรียน 3. ควรมี การจั ดเตรี ยมความพรอมดานอุป กรณและระบบ เครือขายอินเทอรเน็ต หากอุปกรณและระบบเครือขายไมมี ประสิทธิภาพ อาจสงผลใหเกิดความลาชาในการเขาสู บทเรียนสงผลใหความสนใจเรียนและตั้งใจเรียนลดลง 4. การเรียนการสอนผานเว็บไซต วิชา องคประกอบศิลปะ ไทย นั้น ผูเรียนสามารถเรียนผานจอคอมพิวเตอร ผูเรียน สามารถรับขอมูลอยางไมจํากัดเวลา ไมจํากัดสถานที่ ผูเรียน ไมจําเปนตองเขาชั้นเรียน หองเรียนจะถูกแทนดวยเว็บเพจ เนื้อหาในหนังสือจะถูกแทนดวยเว็บเพจเนื้อหา ผูเรียนมี

10.2) ขอเสนอแนะสําหรับการทําวิจัยครั้งตอไป ผูวิจัยขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไปดังนี้ 1. ควรมีก ารศึ กษากระบวนการเรี ย นรู การเชื่ อ มโยงและ รู ป แบบเว็ บ ไซต ใ นการเรี ย นการสอนด ว ยเว็ บ ไซต ที่ มี ต อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการแกปญหา และผลการถายโยง การเรียนรูสําหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษาเพื่อศึกษาผลที่จะ เกิดขึ้นกับผูเรียนในระดับที่แตกตางกัน 2. ควรมีก ารศึ กษากระบวนการเรี ย นรู การเชื่อ มโยงและ รูปแบบเว็บไซต ในการเรียนการสอนดวยเว็บไซตในวิชาอื่น สาขาตาง ๆ ทั้งสายสังคมศาสตร และสายวิทยาศาสตร ที่ ตองคนควาเนื้อหาปริมาณมาก ๆ ในระดับอุดมศึกษา เพื่อ ศึกษาผลที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การแกปญหา และ การถายโยงการเรียนรู 3. ควรมีการศึกษารูปแบบการเรียนการสอนดวยเว็บไซต การออกแบบ การจัดวางหนา การใชอุปกรณการเชื่อมโยง ตาง ๆ การชี้นํา การใชแผนภาพมโนทัศ น การใชกราฟก

116


เชื่ อ มโยงที่ มี ต อ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของนั ก เรี ย นที่ มี กระบวนการเรียนรูแตกตางกัน 4. ควรมีการศึกษารูปแบบการเรียนการสอนดวยเว็บไซตใน การจัดการศึกษาทางไกล โดยออกแบบใหมีการเชื่อ มโยง แบบอิสระกับการเชื่อมโยงแบบควบคุมโดยโปรแกรม ที่มี ตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การแกปญหา และการถายโยง การเรียนรูของนักเรียนระดับตาง ๆ

วรัท พฤกษากุลนันท .ม.ป.ป. การเรียนการสอนผานเว็บ (Web-Based Instruction) (ออนไลน) แหลงที่มา http://www.thaicyberu.go.th, 27 สิงหาคม 2551. สําเริง จันทรสุวรรณ และสุวรรณ บัวทวน. (2544). ระเบียบวิธวี ิจัยทางสังคมศาสตร. ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร, มหาวิทยาลัยขอนแกน สุรางค โควตระกูล. (2533). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. เอกภพ อินทรภู. (2547) . การพัฒนาบทเรียนผานเว็บ เรื่อง “การผลิตสไลด” สําหรับนักศึกษาคณะครุศาสตร สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธปริญญาโท มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร. อนุชัย ธีระเรืองไชยศรี .(2551). การออกแบบระบบการเรียน การสอน:หลักสูตรผูเชี่ยวชาญอีเลิรนนิง วิชา ความรูพื้นฐานอีเลิรนนิง. โครงการมหาวิทยาลัยไซ เบอรไทย สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ(ออนไลน) แหลงที่มา http://www.thaicyberu.go.th, 27 สิงหาคม 2551. Hirumi, A., and Bermudez, A. Interactivity. (1996). distance education and instructional systems design converge on the information superhighway. Journal of Research on Computing in Education,29(1) (1996): 1-16. Khan, Badrul H. (1997). Web-Based Instruction. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall.

เอกสารอางอิง กิดานันท มลิทอง. (2540) เทคโนโลยีการศึกษาและ นวัตกรรม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. จิตเกษม พัฒนาศิริ. (2539) เริ่มสรางโฮมเพจดวย HTML. กรุงเทพฯ : วิตตี้ กรุป, โททศ อัคคพงษพันธุ. (2545). บทเรียนบนเครือขาย อินเตอรเน็ต วิชา ทฤษฎีออกแบบพาณิชยศิลป. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีเจาคุณลาดกระบัง ธนา เทศทอง. (2545). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอนวิชาเลือกเสรี ศ 016 จิตรกรรม 2 เรื่องจัด องคประกอบศิลปกับงานจิตรกรรม ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนราชินีบูรณะ จังหวัด นครปฐม . กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยศิลปากร. ประกอบ โพธิ์ทองคํา.(2548). การพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ เรื่องทฤษฎีสี ชั้นประถมศึกษาปที่4. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยศิลปากร. พรทิพย รินนาศักดิ์. (2547). รายงานการวิจัยเรื่อง การ พัฒนาสื่อการเรียนการสอนผานเว็บ เรื่อง สังคมกับ เศรษฐกิจ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลกรุงเทพ. มธุรส จงชัยกิจ. (2544). การจัดเก็บขอมูล Web เพื่อ นํามาใชแบบ Off Line. ภาควิชาการศึกษา คณะ ศึกษาศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. (อัดสําเนา)

117



การบูรณาการสารสนเทศเพื่อการจัดการความรูในสถาบันอุดมศึกษา Integration of Information Technology for Knowledge Management in Higher Education วีระยุทธ พิมพาภรณ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม (werayut2002@hotmail.com)

ละบุคคล ซึ่งในบทความนี้จะนําเสนองานวิจัยเชิงพัฒนา ใน การบู ร ณาการสารสนเทศเพื่ อ จั ด การความรู (ITSchool Solution) โดยเนนดานการออกแบบระบบการจัดการแบบ บูรณาการ (Integrated Management System) และการบูรณา การองคความรู (Integration of knowledge)

ABSTRACT Presently, Thailand focuses on the “Lifelong Learning”. The human resource is a main factor to drive the country to the right way by emphasizing the efficiency of educational system that appropriate to the individual ability. This article presents the developmental studies in “Integration of Information Technology for Knowledge Management (ITSchool Solution)” by focusing on the Integrated Management System and Integration of knowledge.

แนวคิด ITSchool Solution มีจุดประสงคเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ โดยมุงเนนที่การพัฒนาอยางตอเนื่อง ซึ่งตองมีการบูรณาการ และการจัดทํากลยุท ธ เพื่ อใหมั่น ใจวาโครงการริเริ่ม ตาง ๆ ภายใตแนวคิด ITSchool Solution ไดมีการบูรณาการและมี ทิ ศ ทางไปในแนวทางเดี ย วกั น ในป จ จุ บั น ภายใต แ นวคิ ด ITSchool Solution ไดมีการจัดทําระบบบริหารจัดการ สารสนเทศ 4 สวนดังนี้ 1) ระบบจัดการขอมูลขาวสาร (ITSchool Web) พัฒนาภายใตแนวคิดของระบบบริหารจัดการ ขอมูลขาวสารครบวงจร (Content Management System : CMS) 2) ระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน (ITSchool eLearning) พัฒนาภายใตแนวคิดของระบบบริหารจัดการการ เรียนรู (Learning Management System) 3) ระบบแจงความ เคลื่อนไหวของ ITSchool Solution (ITSchool Blog) และ 4) ระบบวิเคราะหสถิติ (ITSchool Analytics) พัฒนาภายใต แนวคิ ด การวิ เ คราะห พ ฤติ ก รรมต า ง ๆ ของผู ใ ช ง านในโลก ออนไลน ซึ่งขณะนี้ ITSchool Solution มีการติดตั้งใชงานที่ http://itschool.siam.edu

The purpose of “ITSchool Solution Concept” is to increase the effectiveness through continuous development and strategic formulation in order to progress in the same way. The ITSchool Solution Concept is divided into 4 parts as follows: 1) ITSchool Web : developed under the concept of Content Management System (CMS), 2) ITSchool eLearning: developed under the concept of Learning Management System, 3) ITSchool Blog: developed for notifying the information, and 4) ITSchool Analytics: developed for analyzing the cyber user’s behavior. Now, The ITSchool Solution has been installed at http://itschool.siam.edu. Keywords: Lifelong Learning, Integration of Information Technology, Knowledge management, Higher Education.

บทคัดยอ

คําสําคัญ: การเรียนรูตลอดชีวิต, การบูรณาการสารสนเทศ, การจัดการความรู, สถาบันอุดมศึกษา

ปจจุบันประเทศไทยใหความสําคัญกับการเรียนรูตลอดชีวิต (L3 – Life Long Learning) ทั้งนี้ปจจุบันบุคลากรถือไดวาเปน กําลังสําคัญ ในการขับ เคลื่อนประเทศใหกาวไปในทิศทางที่ ถูก ต อ ง โดยมี ก ารให ค วามสํ าคั ญ กับ การจั ด การศึก ษาที่ เ ป น ระบบ มีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับความสามารถของแต

119


1) บทนํา

ที่ไดมีการติดตั้งใชงานจริง และในสวนสุดทาย จะเปนการสรุป และกลาวถึงแผนงานที่จะมีการพัฒนาในอนาคต

เศรษฐกิจฐานความรู (Knowledge-based Economy : KBE) เป น แรงขั บ เคลื่ อ นหลั ก ของการพั ฒ นาระยะยาวและยั่ ง ยื น (สรุปผลการปรับปรุงวิทยาศาสตรโลก, http://www.nrct.go.th, 2553, ออนไลน) จะเห็นไดวาความแตกตางของคุณภาพ ปริ ม าณในการเข า ถึ ง และการใช ค วามรู เ ป น สิ่ ง ซึ่ ง ชี้ วั ด ความสามารถในการแขงขัน ความทาทายที่สําคัญที่สุดอยาง หนึ่ ง สํ า หรั บ สถานศึ ก ษาในป จ จุ บั น คื อ การให มี ก ารเข า ถึ ง ความรู อ ย า งรวดเร็ว ถู กต อ ง และจั ดหาแหล งความรู เพื่ อ ลด ความแตกตางทางการเรียนรู ดังนั้น การปฎิวัติเทคโนโลยีดาน ขอมูลและการสื่อสารทําใหการเขาถึง ถายโอน และผลิตขอมูล เปนไปไดอยางสะดวกและรวดเร็ว จากเหตุผลขางตนจึงถือเปน หลั ก คิ ด พื้ น ฐานในการพั ฒ นาแนวคิ ด ในการบู ร ณาการ สารสนเทศเพื่อการจัดการความรู (ITSchool Solution) ซึ่งถือ ไดวาเปนแนวคิดพื้นฐานของการบริหารจัดการในทุกขั้นตอน ของการปฏิบัติ ไมวาจะเปนการสื่อสารขอมูลของหนวยงานไป ยังภายนอก การจัดการเรียนการสอนภายในหนวยงาน รวมถึง การวิเคราะหพฤติกรรมตาง ๆ เพื่อปรับปรุงองคประกอบของ ITSchool Solution

2) สถาปตยกรรม เทคโนโลยีและสารสนเทศที่เกี่ยวของ ในส ว นนี้ จ ะเริ่ม ต น ด วยการอธิ บ ายแนวคิ ด ที่สํ า คั ญ ของการ จัดการในลักษณะการทํางานรวมกัน และเนื่องจากงานวิจัยนี้ใช ซอฟต แ วร โ อเพนซอร ซ สถาป ต ยกรรมเอ็ ม วี ซี เทคโนโลยี Framework และSCORM 2004 เปนเครื่องมือในการพัฒนา ซอฟตแวร ดังนั้นจะกลาวถึงเครื่องมือดังกลาว โดยเฉพาะใน สวนที่ เกี่ยวของกับการพัฒนาซอฟตแวร จากนั้นจะกลาวถึง ขอมูลสารสนเทศที่มีการใชงานอยู ซึ่ง ITSchool Solution ไดมี การนํามาใชบริหารจัดการ 2.1) ซอฟตแวรโอเพนซอรซ (open source software) ในป จ จุ บั น การพั ฒ นาซอฟต แ วร ป ระยุ ก ต (Application Software) ไมจําเปนจะตองเขียนโปรแกรมใหมทั้งหมด แต สามารถเลือกใชซอฟตแวรในลักษณะของซอฟตแวรโอเพน ซอร ซ ที่ ส ามารถนํ า มาประยุ ก ต ใ ช กั บ การบริ ห ารจั ด การ สารสนเทศ โดยซอฟต แ วร โ อเพนซอร ซ จะเป ด โอกาสให ผูพัฒนาสามารถเขียนโปรแกรมที่อยูในรูปของคอมโพเนนต จากนั้ น นํ า มาประกอบรวมกั น ขึ้ น เป น ซอฟต แ วร ป ระยุ ก ต (Application) เพื่อสามารถบริหารจัดการสารสนเทศไดตรง ตามความตองการ วิธีการพัฒนาซอฟตแวรแบบคอมโพเนนตนี้ จะช ว ยลดค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาซอฟต แ วร ไ ด เนื่ อ งจาก สามารถพัฒนาซอฟตแวรไดรวดเร็วขึ้น และการบํารุงรักษา ซอฟตแวรทําไดโดยงาย

บทความนี้จะนํ าเสนองานวิจัยเชิงพัฒนาแนวคิดรวมถึงการ พัฒนาซอฟตแวรที่เปนสวนประกอบของ ITSchool Solution เริ่ ม ตั้ ง แต ป ระสบการณ แ ละเทคโนโลยี ที่ ใ ช ใ นการพั ฒ นา แนวคิด ITSchool ซึ่งยอมาจาก Information Technology School Solution เปนแนวคิดในการพัฒนาระบบสารสนเทศ ภายในคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม โดยมี วัตถุประสงคเพื่อใหผูที่มีสวนเกี่ยวของใชเปนแนวทางในการ พัฒนาระบบสารสนเทศใหเหมาะสมและสอดคลองทั้งระบบ การจัดเรียงเนื้อหาในบทความนี้ ประกอบดวย

2.2) สถาปตยกรรมเอ็มวีซี (Model-View-Controller) สถาปตยกรรมเอ็มวีซี (MVC: Model-View-Controller) เปน สถาปตยกรรมซอฟแวร (Software Architecture) (John Daecon, “Model-View-Controller (MVC) Architecture”, http://www.jdl.co.uk/briefings, 2553, Online) ที่มีการแบง ระบบออกเปน 3 สวนหลักๆ ไดแก Data Model, User Interface, and Control Logic ในสวนของ Data Model เปนสวนที่ทําหนาที่ติดตอกับ

สวนที่สองกลาวถึงสถาปตยกรรม เทคโนโลยีและสารสนเทศที่ เกี่ยวของ ในสวนที่สามอธิบายโครงสรางแนวคิดพื้นฐานของ ITSchool Solution และสวนประกอบของระบบบริหารจัดการ สารสนเทศแบบบรูณาการในปจจุบัน สวนที่สี่เปนการนําเสนอ การใชงานในมุมมองของผูใชงานแตละกลุม ภายใต ITSchool Solution และแสดงตัวอยางการทํางานที่สําคัญของระบบตาง ๆ

120


Database จัดการขอมูลเขา – ออก เพื่อนําไปประมวลผล User Interface เปนสวนของการแสดงผลทาง Web Browser อยูใน รูปแบบของ HTML ซึ่งนําขอมูลที่ไดมาจาก Data Model มา แสดงผล Control Logic เปนสวนของการประมวลผลหลัก ติดตอกับ Web Browser เพื่อสงตอให Data Model หรือ User Interface

2.4) SCORM 2004 มาตรฐาน SCORM ของ e-Learning มีการแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ มาตรฐานดาน Content Package มาตรฐานนี้ กําหนดใหรวบรวมขอมูลหรือการ Package ขอมูล เชน Text, Image, Multimedia เขาเปนกอน หรือเปน Unit ดวยกัน เพื่อ ป อ งกั น ความถู ก ต อ งของข อ มู ล และมาตรฐานด า น API (Application Program Interface) มาตรฐานนี้จะหมายถึง ข อ กํ า หนดต า ง ๆ ของข อ มู ล ต อ งเหมื อ นกั น เพื่ อ ให ข อ มู ล บทเรี ย นมี ก ารส ง และการเข า ถึ ง ได ถู ก ต อ งจากโปรแกรมที่ แตกตางกัน

การพัฒนาระบบจัดการขอมูลขาวสาร (ITSchool Web) ไดใช ประโยชน จ ากสถาป ต ยกรรมเอ็ ม วี ซี ในการสร า งส ว นการ แสดงผลข อ มู ล ข า วสารเพื่ อ ติ ด ต อ กั บ ผู ใ ช ง าน ซึ่ ง มี ก าร เปลี่ ย นแปลงบ อ ยเพื่ อ ให ต รงกั บ ความต อ งการของผู ใ ช ง าน รวมถึงการปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจ (Business Logic) ของคอมโพเนนต ที่ ใ ช ใ นการจั ด การสารสนเทศให มี ค วาม สอดคลองกับกระบวนการของหนวยงาน

ใน SCROM 2004 มีความสามารถในการปรับลําดับกิจกรรม การเรี ย นให เ หมาะสมกั บ เนื้ อ หาบทเรี ย นของผู เ รี ย น และ ความสามารถในการใชเนื้อหารวมกัน เพื่อใหมีความสามารถ ในการทํางานระหวางระบบ (Interoperability)

2.3) Software Framework ซอฟตแวรเฟรมเวิรค หรือ โครงรางซอฟตแวร เปนรูปแบบที่ นํ า ก ลั บ ม า ใ ช ใ ห ม ไ ด สํ า ห รั บ ร ะ บ บ ย อ ย ( Subsystem) (“Framwork Design: Role Modeling Approach”, http://en.wikipedia.org/wiki/Software_framework, 2553, Online) ในที่นี้หมายถึงชุดของ Libraries หรือ Classes สําหรับ ใชในการพัฒนาโปรแกรม ผูพัฒนาซอฟตแ วรเฟรมเวิรค จะ กํา หนดมาตรฐานการใช ง านเฟรมเวิ ร ค เพื่ อ ให ผู ใ ช ส ามารถ เรียกใชความสามารถตาง ๆ ของเฟรมเวิรคไดอยางถูกตอง ซึ่ง จะทําใหผูพัฒนาโปรแกรมประหยัดเวลาในการสรางงานได มาก เฟรมเวิรคที่นิยมในปจจุบันมีอยูหลาย Platform ซึ่งมีความ แตกตางกันตามภาษาคอมพิวเตอรที่ใชในการสราง เชน Java Framework พัฒนาโดยภาษา Java หรือ .NET Framework พั ฒ นาโดยภาษา C# ในบทความนี้ มี ก ารพั ฒ นาระบบ สารสนเทศดวยภาษา PHP ซึ่งมีการเรียกใชงาน Framework ที่ พัฒนาดวยภาษา PHP เชน Joomla Framework เปนตน

ระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน (ITSchool e-Learning) เปนระบบสารสนเทศที่รองรับการทํางานของ SCROM 2004 เพื่อใชประโยชนจากการใชเนื้อหารวมกันในรายวิชาที่ตางกัน (Share Content) ทําใหการพัฒนาเนื้อหาในรายวิชาทําได รวดเร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น นอกจากนี้ ยั ง ลดค า ใช จ า ยในการบํ า รุ ง รั ก ษา บทเรียน (Content Maintenance) ซึ่งถือวาเปนการสนับสนุน การสรางรูปแบบการบูรณาการองคความรูที่เปนรูปธรรม 2.5) ขอมูลสารสนเทศภายใน ITSchool Solution ในส ว นนี้ จ ะเป น การนํ า เสนอแนวทางการบริ ห ารข อ มู ล สารสนเทศภายใตระบบสารสนเทศที่เปนสวนประกอบของ ITSchool Solution โดยมีสวนประกอบดังนี้ 2.5.1 Content Management System : CMS ITSchool Web เปนระบบบริหารจัดการสารสนเทศ ซึ่งนํามา บริหารจัดการ ขอมูลตาง ๆ ของหนวยงาน เชน ขอมูลเกี่ยวกับ คณะ บุคลากร และหลักสูตร ที่มีการจัดการเรียนการสอน ซึ่ง ขอมูลที่นําเสนอมีการจัดระบบภายใตโครงสรางของเว็บไซต (Site Structure) ซึ่งมีการจัดการโครงสรางเพื่อรองรับการ

ในงานวิจัยนี้มีการเรียกใชงาน Framework ที่หลากหลายตาม รูปแบบของโปรแกรมประยุกต เชน กรณี ITSchool Web พัฒนาขึ้นดวย Joomla จึงมีการเรียนใชงาน Joomla Framework เพื่อสามารถทํางานไดอยางสะดวกและรวดเร็วเปนตน

121


เพิ่มเติมของขอมูลใหม ๆ ได ภายใตระบบ ITSchool Web จะมี การบริ ห ารจัดการขอ มูลซึ่งเปนธุร กรรมเกี่ยวกับการจัดการ อบรมสัมมนาของหนวยงาน ซึ่งสามารถจัดใหมีการลงทะเบียน เขารวมอบรมออนไลนผานทางเว็บไซตได 2.5.2 Web blog ITSchool Blog เปนการพัฒนาระบบเพื่อบริหารจัดการขอมูล ขาวสารของ ITSchool Solution เพื่อใหเกิดพื้นที่สําหรับการ แลกเปลี่ยนเรียนรู (Share and Learn) ซึ่งจะทําใหผูพัฒนาใน ส ว นต า ง ๆ สามารถติ ด ตามข า วสารความเคลื่ อ นไหว สารสนเทศภายใต ITSchool Solution ไดอยางครบถวน เชน การพัฒนาความสามารถใหม ๆ ของการจัดการเรียนการสอน ผานระบบ ITSchool e-Learning หรือประสบการณในรูปแบบ การจัดการเรียนการสอน เพื่อนําไปพัฒนาจนเปนการปฏิบัติที่ดี ที่สุด (Best Practice) ของหนวยงาน เปนตน

ขอ มูลที่มีการนํามาวิเคราะห อาทิ ขอ มูลเวลาการเขาใชงาน สู ง สุ ด ของผู เ รี ย น เพื่ อ วิ เ คราะห ห าช ว ยเวลาที่ ดี ที่ สุ ด ในการ จั ด การเรี ย นการสอนนอกห อ งเรี ย น ซึ่ ง เป น การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการเรี ย นการสอนแบบทุ ก ที่ ทุ ก เวลา (Anywhere Anytime) ซึ่งจะทําใหผูสอนเพิ่มคุณภาพของการ จัดการ (Quality of Management) ของการจัดการเรียนการสอน แบบตางเวลา (Asynchronous Learning)

3) แนวคิดโดยรวมและสวนประกอบของ ITSchool Solution แนวคิดโดยรวมของ ITSchool Solution จะรวมถึงการ ออกแบบและพั ฒ นาระบบบริ ห ารจั ด การสารสนเทศที่ เ ป น สวนประกอบของ ITSchool Solution ดังนี้

2.5.3 Learning Management System : LMS ITSchool e-Learning ระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน โดยสารสนเทศในระบบคื อ องค ค วามรู ต า ง ๆ ของแต ล ะ รายวิ ช า เช น เอกสารประกอบการสอน เอกสารนํ า เสนอ แบบทดสอบเพื่อประเมินตนเอง และแบบทดสอบกอนเรียน หลั ง เรี ย นที่ ผู ส อนจะประเมิ น ผู เ รี ย น เป น ต น โดยหลั ก การ สําคัญในการจัดการสารสนเทศสวนนี้คือ การจัดองคความรู อย างเป นระบบผ า นหลั ก การพั ฒนาสื่ อ การเรีย นในลั ก ษณะ เลิรนนิง ออบเจ็ค (Learning Object: LO) เพื่อใหผูสอนสามารถ สรางกระบวนการจัดการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพ เชนการสราง LO ที่สอดคลองกับผลการเรียนรูที่คาดหวัง (Learning Objective) ซึ่งมีความสอดคลองกับผลการเรียนรูที่ คาดหวังในรายวิชาอื่น ผูสอนจึงสามารถเลือกสรร LO มาใช ผสมผสานกับการจัดการเรียนการสอนแบบอื่น ๆ ในชั้นเรียน ไดอยางหลายหลาย ซึ่งถือเปนการสรางทุนความรู (Knowledge Capital) ภายในหนวยงานและนํามาใชเพื่อใหเกิดการบูรณา การความรู (Knowledge Integration)

3.1) แนวคิดโดยรวมของ ITSchool Solution ITSchool Solution เปนการวางระบบคุณภาพของการจัดการ ข อ มู ล สารสนเทศเชิ ง บู ร ณาการ เพื่ อ การจั ด การความรู ใ น สถาบันอุดมศึกษา จะเห็นไดวาวิธีการหรือเครื่องมือตาง ๆ ดังที่ ไดก ลา วมาขา งตน สามารถนํา มาเสริ ม และบู ร ณาการเข ากั บ ระบบการจัดการความรูเดิมไดเปนอยางดี ไมวาจะเปนระบบ การจัดทําโครงสรางหลักสูตร การกําหนดวัตถุประสงครายวิชา (Learning Objective) และการประเมินผลรายวิชา ดังนั้นการ ออกแบบระบบการจั ด การแบบบู ร ณาการ (Integrated Management System) จึงเนนการทําความเขาใจองคประกอบที่ สําคัญที่ทําใหระบบสามารถดําเนินการไดและมีความเชื่อมโยง ซึ่งกันและกัน ดังรูปที่ 1

2.5.4 Web Analytics ITSchool Analytics เปนระบบวิเคราะหสถิติออนไลน เนนการ วิ เ คราะห ข อ มูล สารสนเทศบนระบบออนไลน ซึ่ ง เป น ส ว น สําคัญในการเลือกกลยุทธการจัดการเรียนการสอน ตัวอยาง

122


Ma Con na ten Sy gem t ste en m t

Information Management

Kn ow

สอนสามารถแสดงไดดังรูปที่ 2 led ge

Le arn ing M Sy ana ste ge me m

Ma

na ge

me nt

nt

+ log b b tics e y l W na A

Te

n ch

olo

gy

M

e ag an

me

nt

รูปที่ 2: การจัดการสื่อการเรียนการสอน

รูปที่ 1: ITSchool Solution Model องคประกอบสําคัญ 3 สวนไดแก 1) องคความรู (Knowledge) 2) สารสนเทศ (Information) และ 3) เทคโนโลยี (Technology) ถือเปนสวนประกอบหลักที่เปนตัวขับเคลื่อนหนวยงานดังนั้น ใน ITSchool Solution จึงไดนําองคประกอบทั้ง 3 สวนมา บริ ห ารจั ด การ ให เ กิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลสู ง สุ ด ในการบรู ณ าการ สารสนเทศ

จากรูปจะเห็นไดวากอนการพัฒนารายวิชาไดมีการจัดทํา แผน ที่องคความรู (Knowledge Mapping) ซึ่งเปนการวิเคราะหองค ความรูที่อยูในรายวิชาตาง ๆ จากนั้นหาความเชื่อมโยงของแต ละองคความรู เมื่อสรางแผนที่องคความรูแลวจึงนํารายวิชาที่มี การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรมาวิเคราะหเพื่อเลือก LO ไปใชในการสรางและพัฒนารายวิชาที่จัดการเรียนการสอน ผาน ITSchool e-Learning โดยมีการเลือก LO ใหตรงกับ วัตถุประสงครายวิชา (Learning Object)

3.2) การจัดการความรู (Knowledge Management)

จะเห็นไดวา การบริหารจัดการองคความรูในลักษณะนี้จะทํา ใหผูสอนที่ดูแล LO สามารถพัฒนา LO ของตนเองไดอยาง อิสระ และสามารถนํา LO ของตนเองไปใชกับรายวิชาอื่น ๆ ที่ มีวัตถุประสงครายวิชาเดียวกัน ทําใหการบริหารจัดการองค ความรู ใ นลัก ษณะนี้ เป นการใชป ระโยชน จ ากการใช เนื้ อ หา รวมกันในรายวิชาที่ตางกัน (Sharable Content) ทําใหการ พัฒนาเนื้อหาในรายวิชาทําไดรวดเร็วยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังลด คาใชจายในการบํารุงรักษาบทเรียน (Content Maintenance) ซึ่ง ถือวาเปนการสนับสนุนการสรางรูปแบบการบูรณาการองค ความรูที่เปนรูปธรรม

ในสถาบันการศึกษาภารกิจหลักคือการถายทอดความรู ความ เชี่ยวชาญ จากผูสอนไปยังผูเรียน ดังนั้นการจัดการความรูจึง เนนกระบวนการ 3 สวนคือ 1) การพัฒนาสื่อการเรียนใน ลักษณะ เลิรนนิง อ็อบเจกต (Learning Object: LO) ซึ่งใชตัวยอ วา LO ภายใตมาตรฐาน SCROM การจัดการหลักสูตรและ รายวิชาโดยการจัด LO ตามวัตถุประสงครายวิชา (Learning Objective) 2) การกระจายความรูไปยังผูเรียน (Content Delivery) และ 3) การวัดและการประเมินผลการเรียนรู (Testing and Evaluation) โดยพัฒนาระบบการจัดการการเรียน การสอน (ITSchool e-Learning) เพื่อสนับสนุนการแลกเปลี่ยน ความรูและใชขอมูลรวมกันระหวางบุคลากรภายในหนวยงาน สนั บ สนุ น การใช ข อ มู ล ร ว มกั น ให เ กิ ด ประโยชน ภายใต แนวความคิ ด การใช เ นื้ อ หาร ว มกั น ในรายวิ ช าที่ ต า งกั น (Sharable Content) โดยภาพรวมของการปรับสื่อการเรียนการ

รวมถึ ง การสร า งสร า งสภาพแวดล อ มการเรี ย นรู ใ หม ใ ห กั บ ผูเรียนและผูสอน โดยใชชื่อวา ระบบบริหารจัดการการเรียน การสอน (ITSchool e-Learning) พัฒนาภายใตแนวคิดของ ระบบบริ ห ารจั ด การการเรี ย นรู (Learning Management

123


เลิรนนิง อ็อบเจกต (Learning Object: LO) ในรายวิชาตาง ๆ วิธีการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ เปนตน ปจจุบันไดมี การพัฒนาระบบวิเคราะหสถิติ (ITSchool Analytics) เพื่อชวย ในการวิ เ คราะห พ ฤติ ก รรมผู ใ ช ง านของ ผู เ รี ย นและ บุคคลภายนอก โดยมีการนําขอมูลการใชงานมาวิเคราะหในมิติ ตาง ๆ เชน การวิเคราะหชวงเวลาการเขาใชระบบ ITSchool eLearning เพื่อหาชวงเวลาการเรียนดวยตนเอง เปนตน ถือไดวา เปนเครื่องมือในการสนับสนุนการใชขอมูลที่มีอยูเพื่อชวยใน การตัดสินใจ แหลงขอ มูลอางอิงในการวิจัย และใชกําหนด แนวทางในการพัฒนาสวนอื่น ๆ ตอไป

System) สามารถแสดงภาพรวมของระบบไดดังดังรูปที่ 3

รูปที่ 3: ภาพรวมระบบการจัดการเรียนการสอน (ITSchool eLearning)

4) การใชงานระบบสารสนเทศ

3.3) การจัดการสารสนเทศ (Information Management)

ITSchool Solution มีสวนประกอบของสารสนเทศและผูที่ เกี่ยวของดังนี้

จากการวิเคราะหสารสนเทศ ของสถาบันการศึกษาทําใหเห็น วา สารสนเทศที่ ต อ งการสื่ อ สารไปยั ง ภายนอก และภายใน หนวยงานเองมีจํานวนมาก ดังนั้นจึงไดพัฒนาระบบจัดการ ขอมูลขาวสาร (ITSchool Web) เพื่อเปนเครื่องมือในการ บริหารจัดการสารสนเทศ เชน ขอมูลทั่วไปและขาวสารตาง ๆ เกี่ยวกับหนวยงาน เปนตน เนื่องจากระบบที่พัฒนาเปนระบบ บริ ห ารจั ด การข อ มู ล ข า วสารแบบครบวงจร (Content Management System : CMS) ซึ่งไมจํากัดเพียงการจัดการ ข า วสารเท า นั้ น แต มี ก ารติ ด ตั้ ง ส ว นประกอบพื้ น ฐาน (Component) เพื่อเพิ่มความสามารถในการจัดการธุรกรรมตาง ๆ ของหนวยงาน อาทิ ปฏิทินกิจกรรม และการจัดการอบรม สัมมนา เปนตน

4.1) ระบบจัดการขอมูลขาวสาร (ITSchool Web) ปจจุบันมีการติดตั้ง ITSchool Web ไวที่เครื่องแมขายของคณะ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ย า ม http://itschool.siam.edu ซึ่งสามารถเขาใชงานผานทางหนา เว็บไซตของมหาวิทยาลัยสยาม http://www.siam.edu โดย เว็บไซตหนาแรกของ ITSchool Web ปรากฏดังรูปที่ 4

3.4) การจัดการสารสนเทศ (Information Management) จากคํากลาวที่วา “ความรูสามารถพัฒนาใหเกิดการบูรณาการ ได” ดังนั้นการจัดการเทคโนโลยีภายใตแนวคิด ITSchool Solution จึงเนนการสรางความเขาใจถึงความสัมพันธระหวาง ข อ มู ล สารสนเทศและความรู เพื่ อ เป น เครื่ อ งมื อ สํ า หรั บ สนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยการพั ฒ นาระบบแจ ง ความเคลื่ อ นไหวของ ITSchool Solution (ITSchool Blog) ซึ่งเปนระบบที่ทําหนาที่ในการ นําเสนอพัฒนาการในดานตาง ๆ ของ ITSchool Solution เชน

รูปที่ 4: เว็บไซตคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ (ITSchool Web)

124


เมื่อผูใชเขามายัง ITSchool Web แลว ผูใชงานทั่วไปสามารถดู ข อ มู ล ข า วสารต า ง ๆ ของหน ว ยงานภาพใต โ ครงสร า งของ เว็ บ ไซต ที่ ไ ด จั ด เตรี ย มไว อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถเชื่ อ มโยงไปยั ง ระบบภายใต ITSchool Solution ได ผาน Banner ในสวนของ ผูดูแลระบบ ITSchool Web สามารถเขาระบบเพื่อบริหาร จัดการขอมูลขาวสารตาง ๆ ไดผานระบบจัดการ Back Office 4.2) ระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน (ITSchool Learning)

สามารถประเมิ น ตนเองได ทั้ ง นี้ ผู ส อนยั ง สามารถเข า มา ตรวจสอบสถิติตาง ๆ อาทิ การเขาใช ทรัพยากร และผลการ สอบ ซึ่งสามารถใชเปนเครื่องมือในการปรับปรุงรูปแบบการ เรียนการสอน โดยผูสอนสามารถเขาใชระบบ ITSchool eLearning เพื่อจัดการเรียนการสอน ดังแสดงดังรูปที่ 6

e-

การจั ด การเรี ย นการสอนในคณะเทคโนโลยี ส ารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม มีการใชระบบบริหารจัดการการเรียนการ สอน (ITSchool e-Learning) ซึ่งติดตั้งบนเครื่องแมขายที่ ใหบริการอินเทอรเน็ตตลอด 24 ชั่วโมง โดยผูสอนและผูเรียน ส า ม า ร ถ เ ข า ใ ช ร ะ บ บ เ พื่ อ ทํ า กิ จ ก ร ร ม ไ ด ผ า น http://itschool.siam.edu/it-elearning ฟงกชั่นการทํางานของ ITSchool e-Learning แบงออกเปนสวนของผูเรียนและผูสอน โดยสวนของผูเรียนมีการแสดงผลดังรูปที่ 5

รูปที่ 6: ระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน (ITSchool eLearning)

ผู ส อนมี ห น า ที่ จั ด รู ป แบบการเรี ย นการสอน ผ า นระบบ ITSchool e-Learning ซึ่งประกอบไปดวยฟงกชั่น 3 สวนดังนี้ 1) การจัดการทรัพยากรการเรียนการสอนผานฟงกชั่น จัดการ หลักสูตรและทรัพยากร (Course and Resource Management) 2) การสรางเนื้อหาในระหวางเรียนเชน การทํา Wiki ของ รายวิ ช า ผ า นฟ ง ก ชั่ น การสร า งเนื้ อ หาและถ า ยทอดความรู (Content Creation and Delivery) และ 3) การวัดผลการเรียน ของผูเรียนเพื่อการประเมินตนเองของผูเรียน และนํามาเปน ขอมูลเพื่อเตรียมการเรียนการสอนของผูสอน ผานฟงกชั่น การ วัดและการประเมินผล (Testing and Evaluation) 4.3) ระบบแจงความเคลื่อ นไหวของ ITSchool (ITSchool Blog)

รูปที่ 5: หนารายวิชาของผูเรียน ในสวนของผูเรียนจะเริ่มตั้งแตการนําขอมูลผูเรียนเขาสูระบบ ผานทางฟงกชั่น การจัดการผูเรียน (Student Management) โดย ทางฟงกชั่นถายโอน (Import) หรือใหผูเรียนสมัครเรียนเอง จากนั้ น ผู ส อนจะนํ า ผู เ รี ย นเข า สู ร ายวิ ช าที่ ไ ด มี ก ารจั ด ทํ า ขึ้ น เพื่อใหผูเรียนสามารถเขาเรียนใชทรัพยากร และทํากิจกรรม การเรียนการสอน ที่ผูสอนจัดเตรียมไวในรายวิชาได

Solution

หลังจากมีการพัฒนาสารสนเทศในสวนตาง ๆ ITSchool Blog ถือเปนพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนเรียนรูพัฒนาการภายใตที่เกิดขึ้น เช น เมื่ อ มี ก ารจั ดทํ า ลั ก ษณะ เลิ ร นนิ ง อ็ อ บเจกต (Learning Object: LO) ขึ้นมาใหมเพื่อใชในการเรียนการสอนในรายวิชา หนึ่ง ผูสอนในรายวิชาอื่นสามารถเขามาคนหาขอมูล LO ที่ สอดคลองกับวัตถุประสงครายวิชาของตน เพื่อนําไปจัดการ เรียนการสอน โดยสามารถเขาใชไดที่ http://itschool.siam.edu/itblog

หลังจากผูเรียนเขาใชงานทรัพยากรการเรียนรูตาง ๆ การทํา กิจกรรมการเรียน เชน การทดสอบกอนเรียน การทดสอนหลัง เรี ย น ระบบจะเก็ บ ข อ มู ล สถิ ติ และสรุ ป ผลให กั บ ผู เ รี ย น

125


4.4) ระบบวิเคราะหสถิติ (ITSchool Analytics)

5) บทสรุปและแผนพัฒนาในอนาคต

ITSchool Analytics เปนระบบในการเก็บขอมูลและวิเคราะห สถิ ติ ข องผู ใ ช ง านทางอิ น เทอร เ น็ ต ทํ า ให ส ามารถทราบถึ ง จํานวนผูเขาใชงาน ระยะเวลาในการเขาใชงาน รวมถึงชวงเวลา ที่ผูใชเขามาใชงาน ซึ่งระบบวิเคราะหสถิตินี้ สามารถเชื่อมโยง เพื่อเก็บสถิติของระบบไดหลายระบบ จึงทําใหเมื่อมีการขยาย ระบบเพิ่มเติมจะสามารถรองรับได ฟงกชั่นการทํางานของ ระบบวิเคราะหสถิติ จะเปนการเก็บรวบรวมขอมูลและนํามา ประมวลผล และแสดงในรูปแบบของผลสรุป (Summary)

การนําแนวทางการบูรณาการสารสนเทศเพื่อการจัดการองค ความรูในสถาบันอุดมศึกษามาใชนั้น เปนการพัฒนาความเปน เลิศดานการจัดการศึกษา และสนับสนุนการจัดการเรียนการ สอนใหมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยกุญแจสําคัญของความสําเร็จ ในการนําแนวทางนี้มาใชคือ การบริหารจัดการองคประกอบที่ สําคัญของการจัดการองคความรูในสถานศึกษาทั้ง 3 สวน ไดแก องคความรู (Knowledge) สารสนเทศ (Information) และ เทคโนโลยี (Technology) ซึ่งแตละองคประกอบหากแยกกัน ดําเนินการจะทําใหการบริหารจัดการเกิดประโยชนไดไมเต็มที่ ดังนั้นจึงตองมีความเชื่อมโยงระหวางกันในแตละสวน รวมถึง การที่ในแตละองคประกอบจะตองมีการพัฒนาระบบจัดการที่ เหมาะสม ดวยเหตุนี้ ITSchool Solution จึงมุงเนนใหความสําคัญไปที่ ผูที่ มี ส ว นเกี่ ย วข อ ง (Stakeholder) ทุ ก ส ว น รวมถึ ง การให ความสําคัญกับการเรียนรูของผูเรียน ผูสอนและบุคลากรที่มี ความเชี่ยวชาญ สนับสนุนการตัดสินใจที่ใชขอมูลจริง และการ พัฒนาของหนวยงานเปนไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งจะทําให การบูรณาการสารสนเทศเพื่อการจัดการองคความรู เกิดการ พัฒนาอยางตอเนื่อง

รูปที่ 7: กราฟแสดงผลสรุปการเขาใชระบบ สถิ ติ ที่ แ สดงถึ ง เทคโนโลยี ใ นป จ จุ บั น ที่ มี ก ารใช ง าน เช น ระบบปฏิบัติการ การตั้งคาหนาจอ โปรแกรมเสริม (Plug-in) ระบบสามารถเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อนําเสนอไดดังรูปที่ 8

เอกสารอางอิง “Knowledge-based Economy”, Online: http://www.nrct.go.th/index.php?mod=contents &req=download&id=224&did=228 John Daecon, “Model-View-Controller (MVC) Architecture”,Online :http://www.jdl.co.uk/briefi ngs “Framwork Design: Role Modeling Approach”, Online :http://en.wikipedia.org/wiki/Software_fr amework

รูปที่ 8: กราฟแสดงผลสรุปการเขาใชระบบ ข อ มู ล สถิ ติ ต า ง ๆ ที่ ไ ด จ ะเป น ข อ มู ล เพื่ อ การวิ เ คราะห ประกอบการนําเสนอ เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาระบบใน สวนอื่น ๆ ตอไป

126


ระบบสนับสนุนการเรียนรูเพื่อการออกแบบขั้นตอนวิธี A Learning Support System for Algorithm Design อรยา ปรีชาพานิช1, รอตีฟะห เตาะสาตู2, สุดา แสงเดือน3 1 สาขาคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ 2, 3

(oraya@tsu.ac.th)

หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ (lbluecyber@gmail.com, sd.cyber@hotmail.com)

สนั บ สนุ น การเรี ย นรู ที่ มี ส ว นปฏิ สั ม พั น ธ กั บ ผู เ รี ย นแบบ กราฟ ก โดยใช โ จทย ป ญ หาที่ ห ลากหลายเป น เครื่ อ งมื อ ให ผูเรียนฝกทักษะในการออกแบบขั้นตอนวิธีโดยใชรหัสเทียม ซึ่งระบบจะทําการแปลงแตละคําสั่งของรหัสเทียมใหอยูใน รูป แบบผัง งานโปรแกรมที่ส อดคลอ งกันเพื่ อใหผูเ รีย นได เขาใจถึงความสัมพันธของการนําเสนอขั้นตอนวิธีในรูปแบบ ที่ แ ตกต า งกั น ได จากนั้ น ระบบจะสรุ ป ผลการประเมิ น ประสิทธิภาพของผูเรียนโดยวัดจากเวลาที่ใชไปและความถูก ตองของขั้นตอนวิธีเพื่อใหผูเรียนสามารถใชเปนแนวทางใน การพัฒนาทักษะใหดียิ่งขึ้น ผลการประเมินประสิท ธิภาพ ของระบบโดยใชแบบสอบถามเกี่ยวกับความสอดคลองของ ระบบกั บ ความต อ งการใช ง าน ความถู ก ต อ ง และความ สะดวกในการใชงานระบบ สรุป ไดวาระบบที่พัฒนาขึ้นมี ประสิ ท ธิ ภ าพอยู ใ นระดั บ น า พึ ง พอใจและสามารถนํ า ไป ประยุกตใชงานไดจริง

ABSTRACT One of key factors for the software development is the skill of algorithmic thinking. Recently, most of computer science and information technology students lack of this skill. Therefore, they are unable to indicate related components such as inputs, processing, outputs and control structures to design a proper computerized algorithm to solve each problem. In this study we purpose a learning support system using graphical interactive environment for acquiring algorithmic thinking skill. Students must design an algorithm using pseudo code to present their solution. The system shows step by step of how to convert their pseudo code to the compatible program flowchart. Finally, the algorithm design is concluded with efficiency evaluation, by using the operating time and the algorithm correctness, enable students to improve their algorithmic thinking skill. This system was assessed using a questionnaire examining functional requirement, validation, and ease of use. The result of the questionnaires shows that the efficiency of this system is satisfied and it is possible to deploy this system for our students practically.

คําสําคัญ: ระบบสนับสนุนการเรียนรู, การออกแบบขั้นตอน วิธี, รหัสเทียม, ผังงานโปรแกรม

Keywords: Learning Support System, Algorithm Design, Pseudo Code, Program Flowchart

บทคัดยอ

1) บทนํา

หนึ่งในปจจัยสําคัญของการพัฒนาซอฟตแวรคือ ทักษะใน การคิดอยางเปนลําดับขั้นตอน ปจจุบันนิสิตจํานวนมากใน สาขาคอมพิ ว เตอร แ ละเทคโนโลยี ส ารสนเทศขาดทั ก ษะ ดังกลาว ทําใหไมสามารถกําหนดองคประกอบที่สัมพันธกัน ไดแก ขอมูลนําเขา การประมวลผล ขอมูลที่เปนผลลัพธ และ โครงสรางควบคุมการทํางานของโปรแกรม เพื่อนํามาใชใน การออกแบบขั้น ตอนวิ ธี ที่ เ หมาะสมในการแก ป ญ หาด ว ย คอมพิ ว เตอร งานวิ จั ย นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ พั ฒ นาระบบ

การผลิ ต บั ณ ฑิ ต ในสาขาคอมพิ ว เตอร แ ละเทคโนโลยี สารสนเทศมีวัตถุประสงคหลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู ความสามารถในการออกแบบและพัฒนาซอฟตแวรไดอยาง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ดั ง นั้ น การกํ า หนดเนื้ อ หาในหลั ก สู ต รจึ ง มุงเนนใหนิสิตไดศึกษาคนควาและพัฒนาทักษะดานตางๆ ที่ เกี่ยวของกับการออกแบบและพัฒนาซอฟตแวรอยางตอเนื่อง ได แ ก ทั ก ษะในการแก ป ญ หาโดยใช ขั้ น ตอนวิ ธี ท าง

127


คอมพิวเตอร ทักษะในการใชภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอรที่ หลากหลาย ทักษะการออกแบบซอฟตแวร และการแกไข ขอผิดพลาดที่เกิดขึ้นระหวางการพัฒนาซอฟตแวร เปนตน ตั้งแตชั้นปที่หนึ่งจนกระทั่งจบการศึกษาตามที่หลักสูตรได กําหนดไว

2) ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1) ขั้นตอนวิธี (Algorithm) ในที่ นี้ จะกล าวถึ ง ขั้ น ตอ น วิ ธี ใ น ก า ร แ ก ป ญ หา ด ว ย คอมพิวเตอร ซึ่งเปนวิธีการทํางานเพื่อแกปญหาหนึ่ง ๆ โดย ใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือดําเนินการและมีลําดับขั้นตอน การทํางานที่ชัดเจน แตละปญหาอาจออกแบบขั้นตอนวิธีได มากกวาหนึ่งขั้นตอนวิธีที่แตกตางกัน ดังนั้นการตัดสินใจ เลื อ กใช ขั้ น ตอนวิ ธี ใ ดขึ้ น อยู กั บ ความเหมาะสมใน สถานการณนั้น ๆ (Weiss, 1993) โดยทั่วไปการออกแบบ ขั้นตอนวิธีในการแกปญหาดวยคอมพิวเตอรมักใชรูปแบบที่ งายตอการสื่อความหมายรวมกันระหวางนักพัฒนาโปรแกรม และยังเอื้อตอการนําไปพัฒนาเปนโปรแกรมคอมพิวเตอรใน ขั้นตอนถัดไป ไดแก

ป จ จุ บั น พบว า ผู เ รี ย นส ว นใหญ ใ นสาขาคอมพิ ว เตอร แ ละ เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาดานการโปรแกรมใน ระดับปานกลางคอนไปทางต่ํา เนื่องจากผูเรียนขาดทักษะใน การแก ป ญ หาโดยใช ขั้ น ตอนวิ ธี ท างคอมพิ ว เตอร จึ ง ไม สามารถกําหนดองคประกอบหลักของโปรแกรมทั้งในสวน ของตัวแปรที่ใชในการรับคา ตัวแปรที่ใชในการประมวลผล และตัวแปรที่ใชในการจัดเก็บคาผลลัพธ รวมไปถึงวิธีการ ประมวลผลเพื่ อ ให ไ ด ผ ลลั พ ธ ต ามที่ ต อ งการ ซึ่ ง นอกจาก อาศัยการคํานวณขั้นพื้นฐานและการเปรียบเทียบคาในเชิง ปริมาณแลว ผูเรียนยังตองกําหนดโครงสรางควบคุมการ ทํางานของโปรแกรมอีกดวย ปญหาดังกลาวจึงสงผลกระทบ โดยตรงกับผูเรียนในดานความสําเร็จในการเรียนทุกรายวิชา ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การโปรแกรม ซึ่ ง ท า ยที่ สุ ด แล ว จะส ง ผล กระทบตอการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยใน ดานคุณภาพของบัณฑิตที่จะสําเร็จการศึกษา

y ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) เปน รู ป แบบหนึ่ ง ในการนํ า เสนอขั้ น ตอนวิ ธี โ ดยใช แผนภาพซึ่ ง ประกอบด ว ยสั ญ ลั ก ษณ ต า ง ๆ ที่ มี ความหมายเฉพาะตั ว เช น การนํ า เข า ข อ มู ล การ ประมวลผล และการแสดงผลลัพธ เปนตน และใช แสดงลําดับขั้นตอนการทํางานของโปรแกรมตั้งแต เริ่มตนจนกระทั่งสิ้นสุดการทํางานของโปรแกรม นั้น (ธีราวุธ ปทมวิบูลย, 2545)

ผูวิจัยจึงมีแนวความคิดที่จะพัฒนาระบบที่มีสวนปฏิสัมพันธ กับผูเรียนในรูปแบบกราฟกเพื่อใหผูเรียนไดใชฝกทักษะใน การออกแบบขั้นตอนวิธีเพื่อแกปญหาดวยคอมพิวเตอรใน รูปแบบของรหัสเทียม โดยระบบจะทําการแปลงแตละคําสั่ง ของรหัสเทียมไปเปนผังงานโปรแกรมที่สอดคลองกันเพื่อให ผู เ รี ย นสามารถเชื่ อ มโยงความสั ม พั น ธ ข องการนํ า เสนอ ขั้นตอนวิธีในรูปแบบที่แตกตางกันได จากนั้นระบบจะทํา การประเมินประสิทธิภาพของผูเรียนเพื่อเปนผลสะทอนกลับ ให ผู เ รี ย นได นํ า ไปใช ใ นการพั ฒ นาทั ก ษะการออกแบบ ขั้นตอนวิ ธีใหดียิ่ ง ขึ้น ซึ่ง ผูเรีย นสามารถใชร ะบบดังกลา ว ประกอบการเรียนในแตละรายวิชาที่เกี่ยวของไดจนกระทั่ง จบหลักสูตร

y รหัสเทียม (Pseudo Code) เปนรูปแบบหนึ่งในการ นําเสนอขั้นตอนวิธีโดยใชประโยคภาษาอังกฤษที่ ใกลเคียงกับภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร แตรหัส เทียมไมมีการกําหนดหลักไวยากรณ (Syntax) ที่ เป น มาตรฐาน ดั ง นั้ น รหั ส เที ย มที่ ส ร า งขึ้ น จาก ผูเขียนแตละคนจึงมีความแตกตางกันได (โอภาส เอี่ยมสิริวงศ, 2549) 2.2) โครงสรางควบคุมการทํางาน (Control Structure) โครงสรา งควบคุม การทํา งานของโปรแกรมคอมพิ วเตอร (วาสนา สุขกระสานติ, 2545) มีรูปแบบพื้นฐาน 3 ลักษณะคือ

128


y โครงสรางควบคุมการทํางานแบบลําดับขั้น เปน โครงสรางที่มีการทํางานตามลําดับเริ่มจากคําสั่งที่ 1 แลวจึงทําคําสั่งที่ 2 ไปจนหมดชุดคําสั่ง

2.3) งานวิจัยที่เกี่ยวของ ปจจุบันไดมีการพัฒนาระบบเพื่อชวยสนับสนุนการเรียนการ สอนที่เกี่ยวของกับการออกแบบขั้นตอนวิธีไดแก Program ALGORITHMS เปนโปรแกรมที่ชวยใหผูเรียนสามารถพิมพ ขั้ น ตอนวิ ธี ใ นการแก ป ญ หาผ า นทางหน า จอ จากนั้ น โปรแกรมจะแสดงผลลัพธที่ไดจากการแทนคาตัวแปรตามที่ กําหนดไวในแตละขั้นตอน พรอมทั้งจะแสดงขอผิดพลาดที่ เกิดขึ้นเพื่อแจงใหผูเรียนทราบ ระบบถัดมาคือ ALGDS Web Application ไดแบงการฝกทักษะออกเปน 3 สวนหลักคือ การเติ ม คํ า ในช อ งว า งของรหั ส เที ย ม การจั ด เรี ย งลํ า ดั บ ขั้ น ตอนวิ ธี ที่ ร ะบบได กํ า หนดไว แ ล ว ให ถู ก ต อ ง และการ คํ า นวณค า ผลลั พ ธ ที่ จั ด เก็ บ ไว ใ นแต ล ะตั ว แปร (Milkova, 2007) นอกจากนี้ยังมีงานวิจัย www Based Learning Environment for C Programming. An Algorithm Learning Support System with PAD Editor เปนระบบชวยออกแบบ ขั้นตอนวิธีโดยใช Problem Analysis Diagram (PAD) จากนั้ น ระบบจะแปลงขั้ น ตอนวิ ธี เ ป น โปรแกรมภาษาซี (Masaki and Masayuki, 2000) เปนตน การพัฒนาระบบที่ กล า วมาแล ว ข า งต น มี ค วามแตกต า งจากระบบที่ ผู วิ จั ย ได พัฒนาซึ่งมุงเนนการฝกทักษะใหผูเรียนไดออกแบบขั้นตอน วิธีเพื่อแกปญหาดวยคอมพิวเตอรในรูปแบบของรหัสเทียม ซึ่งสรางจากกลองเครื่องมือที่ระบบไดจัดเตรียมไวแลว ทั้งนี้ เพื่อเตรียมความพรอมใหผูเรียนสามารถนํารหัสเทียมที่ไดไป ใช เ ป น แนวทางในการพั ฒ นาซอฟต แ วร ใ นลํ า ดั บ ถั ด ไป พรอมกันนั้นระบบจะทําการแปลงรหัสเทียมที่ไดใหอยูใน รูปแบบของผังงานโปรแกรมที่สอดคลองกัน

รูปที่ 1 โครงสรางควบคุมการทํางานแบบลําดับขั้น y โครงสรางควบคุมการทํางานแบบทางเลือก เปน โครงสร า งที่ มี ก ารตรวจสอบเงื่ อ นไขและมี ทางเลือกใหเลือกทํางาน โดยทั่วไปจะกลาวถึงกรณี มี ท างเลื อ กสองทางให เ ลื อ กทางใดทางหนึ่ ง ถ า เงื่อนไขเปนจริงใหทําคําสั่งที่ 1 แตถาเงื่อนไขเปน เท็จใหทําคําสั่งที่ 2 จากนั้นจึงทําคําสั่งถัดไป

รูปที่ 2 โครงสรางควบคุมการทํางานแบบทางเลือก y โครงสร า งควบคุ ม การทํ า งานแบบทํ า ซ้ํ า เป น โครงสรางที่มีการทําชุดคําสั่งยอยภายใตเงื่อนไขที่ เปนจริงไปเรื่อยๆ จนกวาเงื่อนไขจะเปนเท็จ จึงจะ ทําคําสั่งถัดไปที่อยูนอกเงื่อนไขดังกลาว

3) วิธีดําเนินการวิจัย ผูวิจัยไดดําเนินการวิจัยโดยใชแนวคิดในการพัฒนาแบบเชิง วัตถุ (Object Oriented Model) และใชภาษายูเอ็มแอล (Unified Modeling Language: UML) ในการวิเคราะหและ ออกแบบระบบ โดยแบ ง วิ ธี ดํ า เนิ น การวิ จั ย ออกเป น 4 กระบวนการหลักดังนี้

รูปที่ 3 โครงสรางควบคุมการทํางานแบบทําซ้ํา

129


ฟงกชันหลักคือการทําแบบทดสอบและการเรียกดูผลการ ประเมิน ดังรูปที่ 4

3.1) การรวบรวมขอมูลความตองการใชงานระบบ ผูวิจัยไดเก็บรวบรวมขอมูลความตองการใชงานระบบจาก อาจารย แ ละผู เ รี ย นในสาขาคอมพิ ว เตอร แ ละเทคโนโลยี สารสนเทศ และไดจัดทําขอกําหนดของความตองการใชงาน ซอฟตแวร (Software Requirement Specification: SRS) เพื่อ ใชในการวิเคราะหและออกแบบระบบในขั้นตอนถัดไปดังนี้ y ระบบจะตองมีสวนติดตอกับผูใชในรูปแบบกราฟก ที่ ใ ช ง านง า ยและช ว ยอํ า นวยความสะดวกแก ผูใชงานทั้งอาจารยและผูเรียน y ระบบสามารถจัดการคลังแบบทดสอบที่สามารถ นํ า กลั บ มาใช ไ ด ใ หม พร อ มทั้ ง สามารถนํ า โจทย ปญหาเดิมมาดัดแปลงแกไขใหมีความซับซอนขึ้น ไดตามความตองการ

รูปที่ 4 Use Case Diagram ของระบบสนับสนุนการเรียนรู เพื่อการออกแบบขั้นตอนวิธี

y ระบบจะทําการสุมโจทยปญหาใหแ กผูเรีย นโดย อั ต โนมั ติ ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให ผู เ รี ย นได ฝ ก ทั ก ษะที่ หลากหลายเหมือนการปฏิบัติงานจริงในอนาคต

จากนั้นจึงไดทําการออกแบบกระบวนการทํางานในแตละ Use Case โดยใช Sequence Diagram ซึ่งแสดงถึงขั้นตอนการ ทํ า งานและลํ า ดั บ ของข อ ความที่ ส ง ผ า นระหว า งคลาสที่ มี ปฏิสัมพันธกัน ดังรูปที่ 5 เปนการอธิบายขั้นตอนในการทํา แบบทดสอบของผูเรีย นโดยเริ่มจากการสุม โจทยจากคลัง แบบทดสอบ จากนั้นผูเรียนจะกําหนดองคประกอบตาง ๆ เพื่ อ แก โ จทย ป ญ หาในรู ป แบบของรหั ส เที ย ม และมี ก าร เรี ย กใช ข อ มู ล จากคลั ง แบบทดสอบเป น ระยะ ๆ เพื่ อ ตรวจสอบความถูกตองกับเฉลยที่อาจารยไดกําหนดไวแลว โดยระบบจะทํ า การแปลงรหั ส เที ย มที่ ผ า นการตรวจสอบ ความถูกตอ งแลวไปเปนผังงานโปรแกรมที่ส อดคลองกั น และกอนจบการทดสอบแตละขอระบบจะทําการสรุปผลการ ประเมินประสิทธิภาพของผูเรียน

y ระบบจะตองสรางเครื่องมือเพื่อชวยอํานวยความ สะดวกในการออกแบบรหัสเทียม และสามารถ ตรวจสอบความถูกตองของการสรางรหัสเทียมใน แตละขั้นตอน พรอมทั้งแจงเตือนใหผูเรียนทราบ ในกรณีที่พบขอผิดพลาดที่เกิดขึ้น y ระบบสามารถแปลงรหั ส เที ย มไปเป น ผั ง งาน โปรแกรมที่สอดคลองกัน เพื่อใหผูเรียนเขาใจถึง ความสัมพันธระหวางการนําเสนอขั้นตอนวิธีทั้ง 2 รูปแบบ 3.2) การวิเคราะหและออกแบบระบบ ผูวิจัยไดวิเคราะหและออกแบบระบบโดยใช Use Case Diagram ซึ่งเปนแผนภาพที่แสดงฟงกชันการทํางานของ ระบบที่ ต อบสนองต อ การกระทํ า ของผู ใ ช ง านในที่ นี้ ประกอบดว ยอาจารย แ ละผู เ รีย น โดยในส วนของอาจารย สามารถใช ง านระบบได 3 ฟ ง ก ชั น หลั ก คื อ การจั ด การ แบบทดสอบ การจัดการผูเรีย น และการเรียกดูผลการ ประเมิ น ในส ว นของผู เ รี ย นสามารถใช ง านระบบได 2

130

รูปที่ 5 Sequence Diagram ของการทําแบบทดสอบ


ดํ า เนิ น การตามขั้ น ตอนต า ง ๆ ที่ ไ ด ก ล า วมาแล ว อี ก ครั้ ง จนกระทั่งไดแบบทดสอบที่เหมาะสมจึงกดปุมบันทึกอีกครั้ง เพื่อยืนยันการสรางแบบทดสอบขอดังกลาว ดังรูปที่ 7

3.3) การพัฒนาระบบ ผูวิจัยไดพัฒนาระบบตามที่ไดวิเคราะหและออกแบบไวแลว โดยใช Microsoft Visual Basic 6.0 เปนเครื่องมือในการ พัฒนาระบบ และใช Microsoft Access เปนระบบจัดการ ฐานขอมูล ในสวนการใชงานของอาจารยสามารถจัดการ ขอมูล 3 สวนหลักคือการจัดการขอมูลผูเรียนที่สามารถใช งานระบบ การติ ด ตามผลการประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพของ ผูเรียนแตละคน และการสรางแบบทดสอบซึ่งประกอบดวย โจทยปญหา ประเภทของโครงสรางควบคุมการทํางานของ โปรแกรม เวลาสู ง สุ ด ที่ ผู เ รี ย นสามารถใช ใ นการทํ า แบบทดสอบขอนี้ พรอมทั้งขอมูลตัวแปรทั้งหมดที่ตองใช งาน ในขั้ น ตอนนี้ อ าจารย ส ามารถสร า งตั ว แปรลวงเพื่ อ ทดสอบความเขาใจในการวิเคราะหปญหาของผูเรียน จากนั้น อาจารยจะทําการสรางเฉลยในรูปแบบของรหัสเทียมเพื่อใช เป น ข อ มู ล ในการตรวจสอบความถู ก ต อ งในการทํ า แบบทดสอบของผูเรียน ดังรูปที่ 6

รูปที่ 7 หนาจอแสดงผลการสรางผังงานโปรแกรม การใชงานระบบในสวนของผูเรียนเมื่อเขาสูระบบแลวจะ ปรากฏหน า จอการทํ า แบบทดสอบเพื่ อ ฝ ก ทั ก ษะในการ ออกแบบขั้ น ตอนวิ ธี ซึ่ ง แบ ง หน า จอออกเป น 6 ส ว น เรียงลําดับจากซายไปขวาและบนลงลางไดดังนี้คือ สวนของ ปุ ม ที่ ใ ช ใ นการสุ ม โจทย จ ากคลั ง แบบทดสอบ ส ว นแสดง โจทยปญหา สวนแสดงระยะเวลาที่ผูเรียนสามารถใชในการ ทําโจทยขอนี้ พรอมทั้งเวลาที่ใชไปแลวและเวลาที่คงเหลือ สวนของเครื่องมือในการออกแบบรหัสเทียม สวนของพื้นที่ ที่ใชออกแบบรหัสเทียม และสวนแสดงผังงานโปรแกรมที่ ระบบจะทําการแปลงจากรหัสเทียมที่ผูเรียนไดออกแบบไว ซึ่งในขั้นตอนการออกแบบรหั สเทียมเมื่อผูเรียนคลิกเมาส เพื่อเลือกคําสั่งจากกลองเครื่องมือ ระบบจะแสดงหนาตาง ยอยใหผูเรียนกําหนดรายละเอียดการทํางานของคําสั่งนั้น ๆ ใหสมบูรณ ดังรูปที่ 8

รูปที่ 6 หนาจอการสรางแบบทดสอบ เมื่อกดปุมบันทึกแลวระบบจะทําการตรวจสอบความถูกตอง ของรหั ส เที ย มที่ อ อกแบบไว ว า ตรงกั บ ประเภทของ โครงสรางควบคุมการทํางานของโปรแกรมหรือไม ถาไม ตรงกันระบบจะแจงใหอาจารยปรับแกขอมูลใหถูกตองกอน จะแสดงผลการสร า งผั ง งานโปรแกรม ซึ่ ง ในขั้ น ตอนนี้ สามารถยอนกลับไปปรับแกรายละเอียดของแบบทดสอบที่ ไดกําหนดไวแลวโดยกดปุมปดหนาจอผังงานโปรแกรม และ รูปที่ 8 หนาจอทําแบบทดสอบ

131


เมื่อผูเรียนทําแบบทดสอบเสร็จแลวสามารถเรียกดูผลการ ประเมินไดโดยการกดปุม “ผลการประเมิน” ระบบจะแสดง หน า จอซึ่ ง แบ ง ออกเป น 3 สว นหลั ก คื อ ส ว นแสดงผลการ ประเมินประสิทธิภาพในการแกโจทยปญหาขอนี้ สวนแสดง แสดงผลการประเมินประสิทธิภาพในการแกโจทยปญหาทุก ขอที่ผานมา และสวนสรุปผลการประเมินประสิทธิภาพโดย เฉลี่ยของผูเรียน โดยแบงการประเมินประสิทธิภาพเปน 2 ด า นคื อ ประสิ ท ธิ ภ าพด า นเวลาที่ ใ ช ไ ปในการออกแบบ ขั้ น ตอนวิ ธี และประสิ ท ธิ ภ าพด า นความถู ก ต อ งของการ ออกแบบขั้นตอนวิธี ดังรูปที่ 11

ในกรณีที่ผูเรียนคลิกเมาสเลือกคําสั่งที่ไมถูกตองหรือกําหนด องค ป ระกอบของคํ า สั่ ง ไม ถู ก ต อ ง ระบบจะแจ ง เตื อ นให ผูเรียนทราบเพื่อใหทําการแกไขขอผิดพลาดจนกวาจะถูกตอง ดังรูปที่ 9

รูปที่ 9 หนาจอการทําแบบทดสอบในกรณีที่มีขอผิดพลาด เมื่อรหัสเทียมแตละคําสั่งไดผานการตรวจสอบความถูกตอง แล ว ระบบจะทํ า การแปลงรหั ส เที ย มคํ า สั่ ง นั้ น ๆ ไปเป น สัญลักษณของผังงานโปรแกรมที่สอดคลองกัน โดยระบบจะ ทํ า การคํ า นวณหาจุ ด พิ กั ด ในการจั ด วางตํ า แหน ง ของ สัญลักษณที่มีความหมายเดียวกันกับรหัสเทียมใหเหมาะสม กั บ พื้ น ที่ ใ ช ง าน เนื่ อ งจากในการสื่ อ สารด ว ยแผนภาพ จําเปนตองมีแบบแผนการสื่อสารที่เปนสากลดังที่ไดสรุปไว แลวในหัวขอ 2.2 เพื่อใหผูที่เกี่ยวของทุกคนสามารถเขาใจ ขั้นตอนวิธีที่ออกแบบไวไดอยางชัดเจน จนกระทั่งไดรหัส เทียมและผังงานโปรแกรมที่สมบูรณ ดังรูปที่ 10

รูปที่ 11 หนาจอสรุปผลการประเมินประสิทธิภาพของผูเรียน 3.4) การประกันคุณภาพระบบ ผูวิจัยไดดําเนินการประกันคุณภาพของระบบที่พัฒนาขึ้นตาม วงจรการพัฒนาระบบ (อรยา ปรีชาพานิช, 2548) โดย ทบทวนกิจกรรมที่เกิดขึ้นและตรวจสอบผลผลิตที่ไดรวมกับ ผูที่เกี่ยวของในแตละกระบวนการประกอบดวย y การรวบรวมขอมูลความตองการใชงาน ผูวิจัยได นําเสนอ SRS แกผูใชหลักทั้ง 2 กลุมเพื่อตรวจสอบ ความครบถ ว นของระบบก อ นดํ า เนิ น การใน ขั้นตอนถัดไป y การวิเคราะหระบบ ผูวิจัยไดนําเสนอองคประกอบ ข อ ง โ ค ร ง ส ร างข อ มู ลที่ จํ าเป น ต อ งใ ช ง า น กระบวนการทํางานของระบบ รวมไปถึงเทคนิค ต า ง ๆ ที่ ใ ช ใ นขั้ น ตอนของการตรวจสอบความ ถู ก ต อ งในการออกแบบขั้ น ตอนวิ ธี เพื่ อ ให

รูปที่ 10 หนาจอการทําแบบทดสอบที่สมบูรณแลว

132


ผู เ ชี่ ย วชาญตรวจสอบความเหมาะสมก อ นเข า สู ขั้นตอนการออกแบบระบบ

ชวงคะแนน 3.41-4.20 4.21-5.00

y การออกแบบระบบ ผู วิ จั ย ได พั ฒ นาโปรแกรม ต น แบบให ผู เ ชี่ ย วชาญร ว มกั น ตรวจสอบความ ครบถวนของระบบและการสื่อสารผานสวนติดตอ กับ ผู ใช ที่ โ ต ต อบกั บ ผู เ รีย นก อ นจะทํ า การพั ฒ นา ระบบ ทั้ ง นี้ เ พื่ อ รวบรวมผลสะท อ นกลั บ และ นํามาใชปรับปรุง/เพิ่มเติมฟงกชันการทํางานของ ระบบให ส อดคล อ งกั บ การความตอ งการใช ง าน มากที่สุด

ความหมายเชิงคุณภาพ ประสิทธิภาพดี ประสิทธิภาพดีมาก

ตารางที่ 2 สรุปผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบ ผูเชี่ยวชาญ ผูเรียน รายการประเมิน Mean S.D. Mean S.D. ค ว า ม ส อ ด ค ล อ ง ข อ ง 4.40 0.48 4.53 0.50 ระบบกั บ ความต อ งการ ใชงาน ความถูกตองของระบบ 4.60 0.48 4.67 0.44 ความสะดวกในการใช 4.00 0.00 4.20 0.32 งานระบบ

y การพัฒนาระบบ ผูวิจัยไดทดสอบระบบทางดาน เทคนิ ค เพื่ อ หาข อ บกพร อ งและแก ไ ขปรั บ ปรุ ง ระบบอยางตอเนื่องจนกระทั่งไดระบบที่สามารถ ทํางานไดถูกตองและสอดคลองกับความตองการ ใชงานตามที่กําหนดไวใน SRS

จ า ก ต า ร า ง ที่ 2 ส รุ ป ไ ด ว า ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ประสิทธิภาพของระบบโดยผูเชี่ยวชาญและผูเรียนในรายการ ประเมินดานตาง ๆ อยูในระดับดีถึงดีมาก เมื่อพิจารณาแยก ตามรายการประเมินในเรื่องความสอดคลองของระบบกับ ความตองการใชงาน และความถูกตองของระบบ พบวาอยูใน ระดับดีมาก สวนรายการประเมินเรื่องความสะดวกในการใช งานพบวาอยูในระดับดี จากผลสะทอนกลับโดยผูประเมิน พบวา ระบบยังมี ขอ จํา กัดในการใชง านบางสว นเชน รหั ส เทียมที่สรางจากเครื่องมือที่จัดเตรียมไวยังไมมีการยอหนาใน ตํ า แหน ง ที่ เ หมาะสมให โ ดยอั ต โนมั ติ ทํ า ให ผู เ รี ย นต อ ง เสียเวลาในการรูปแบบของรหัสเทียมใหเหมาะสมดวยตนเอง นอกจากนั้นแลวผังงานโปรแกรมที่สรางขึ้นจากระบบยังขาด ความสวยงาม เนื่องจากระบบไมไดทําการคํานวณขนาดของ รูปสัญลักษณที่จะแสดงในผังงานโปรแกรมตามความยาว ของคําสั่งที่จัดวางไวภายในสัญลักษณนั้น ๆ ทําใหเกิดความ ไมสมดุลในการใชพื้นที่ของผังงานโปรแกรม เปนตน

4) ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบ จากการทดลองใชงานระบบโดยผูเชี่ยวชาญจํานวน 5 คนและ ผูเรียนในสาขาคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะ วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณจํานวน 15 คนซึ่งไดมาจาก การใช วิ ธี ก ารสุ ม ตั ว อย า งอย า งง า ย และใช ก ารตอบ แบบสอบถามเกี่ยวกับความสอดคลองของระบบกับความ ตองการใชงาน ความถูกตอง และความสะดวกในการใชงาน ระบบ เพื่ อ ประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพของระบบโดยมี ก ารให คะแนนตั้งแต 1 – 5 คะแนน จากระดับนอยที่สุดไปหาระดับ มากที่สุ ด ตามลํา ดับ ผูวิจั ยไดกํา หนดเกณฑใ นการสรุป ผล คะแนนจากแบบสอบถามดังตารางที่ 1 และสรุปผลการ ประเมินประสิท ธิภาพระบบแยกตามกลุม ผูป ระเมินได ดัง ตารางที่ 2

5) บทสรุปและขอเสนอแนะ

ตารางที่ 1 เกณฑการสรุปผลคะแนนจากแบบสอบถาม ชวงคะแนน ความหมายเชิงคุณภาพ 1.00-1.80 ประสิทธิภาพต่ํา (ตองปรับปรุง) 1.81-2.60 ประสิทธิภาพนอย 2.61-3.40 ประสิทธิภาพปานกลาง

งานวิจัยนี้เปนการพัฒนาระบบสนับสนุนการเรียนรูเพื่อการ ออกแบบขั้นตอนวิธี โดยมีแนวความคิดที่จะหาวิธีการให ผูเรียนสามารถสรางกระบวนการคิดอยางเปนลําดับขั้นตอน โดยใชรหัสเทียมซึ่งใกลเคียงกับภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร

133


Information Technology Interfaces, (765-770). June 25-28, 2007. Cavtat. Croatia. Masaki, Ishida., Masayuki, Kuwata. (2000). www Based Learning Environment for C Programming. An Algorithm Learning Support System with PAD Editor, Joho Shori Gakkai Kenkyu Hokoku. vol. 2000, no. 117, 41-48. Weiss, Mark Allen. (1993). Data Structure and Algorithm Analysis in C. California: The Benjamin / Cummings Publishing Company,Inc.

ในการออกแบบขั้นตอนวิธีเพื่อแกปญ หาที่มีความยากงาย และความซับซอนที่แตกตางกัน โดยระบบจะทําการสุมโจทย ปญหาใหโดยอั ตโนมัติ จากนั้นระบบจะทําการแปลงรหัส เที ย มที่ ผู เ รี ย นออกแบบไว ใ ห อ ยู ใ นรู ป แบบของผั ง งาน โปรแกรม เพื่อใหผูเรียนเขาใจถึงความสัมพันธระหวางการ นําเสนอขั้นตอนวิธีในรูปแบบที่แตกตางกันได และทายที่สุด ระบบจะทําการประเมินประสิทธิภาพของผูเรียนเพื่อที่ผูเรียน จะไดใชเปนขอมูลในการพัฒนาทักษะในการคิดอยางเปน ลําดับขั้นตอนใหดียิ่งขึ้น ซึ่งจากการประเมินประสิทธิภาพ ของระบบโดยผู เ ชี่ ย วชาญและผู เ รี ย นพบว า ระบบมี ประสิท ธิภาพในระดับ ที่น าพึงพอใจ แตยังมีข อเสนอแนะ เพิ่ ม เติ ม จากผู ป ระเมิ น ในเรื่ อ งความสะดวกในการใช ง าน ระบบทั้งในสวนของรหัสเทียมที่สรางจากเครื่องมือที่ระบบ จั ด เตรี ย มไว ยั ง ไม มี ก ารจั ด ย อ หน า ของแต ล ะคํ า สั่ ง โดย อัตโนมัติ และผังงานโปรแกรมที่ระบบสรางขึ้นยังขาดความ ยื ด หยุ น ในการสร า งสั ญ ลั ก ษณ ใ ห มี ข นาดเหมาะสมกั บ ขอความที่ปรากฏอยูภายในสัญลักษณนั้น ๆ ซึ่งผูวิจัยจะไดนํา ข อ มู ล ดั ง กล า วไ ปใช เ ป น แนวทางในการปรั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพของระบบใหดียิ่งขึ้นตอไป

6) เอกสารอางอิง ธี ร าวุ ธ ป ท มวิ บู ล ย . (2545). ความรู เ บื้ อ งต น เกี่ ย วกั บ คอมพิวเตอร. กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น. วาสนา สุ ข กระสานติ . (2545). โลกของคอมพิ ว เตอร สารสนเทศ และอินเตอรเน็ต. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อรยา ปรีชาพานิช. การประกันคุณภาพซอฟตแวร: กุญแจ สําคัญของความสําเร็จ. วารสารวิทยาศาสตรทักษิณ ปที่ 2, ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2548). หนา 10-17. โอภาส เอี่ ย มสิ ริ ว งศ . (2549). โครงสร า งข อ มู ล (Data Structures) เ พื่ อ ก า ร อ อ ก แ บ บ โ ป ร แ ก ร ม คอมพิวเตอร. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. Milkova, Eva. (2007). Algorithms: The Base of Programming Skills, ITI 2007 29Th Int. Conf. on

134


การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บ แบบลดภาระทางปญญา โดยใชเทคนิคการ แกปญหาเชิงสรางสรรคที่มีตอการรูคิดและความคิดสรางสรรค ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี Development of Cognitive Load Reduction Web-based Instruction Using Creative Problem Solving Techniques Model upon Cognition and Creativity of Undergraduate Students วิลาวัณย จินวรรณ1, ณมน จีรังสุวรรณ2 1 นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 2

(wila_jw@hotmail.com)

ผูชวยศาสตราจารย ดร., คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (namon9@hotmail.com)

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษากรอบแนวคิดของ รูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบลดภาระทางปญญาโดย ใช เ ทคนิ ค การแก ป ญ หาเชิ ง สร า งสรรค ที่ มี ต อ การรู คิ ด และ ความคิดสรางสรรคของนักศึกษาระดับปริญญาตรี 2) พัฒนา รูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบลดภาระทางปญญาโดย ใช เ ทคนิ ค การแก ป ญ หาเชิ ง สร า งสรรค ที่ มี ต อ การรู คิ ด และ ความคิดสรางสรรคของนักศึกษาระดับปริญญาตรี 3) ประเมิน รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น กลุมตัวอยางที่ใชใน การประเมินรูปแบบไดแก ผูทรงคุณวุฒิจํานวน 10 คน สถิติที่ ใชคือคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เครื่องมือที่ ใชไดแก คูมือประกอบการใชรูปแบบฯ และเครื่องมือประเมิน ความเหมาะสมของรูปแบบฯ ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้ 1. รู ป แบบการเรี ย นการสอนฯที่ พั ฒ นาขึ้ น ประกอบด ว ย รายละเอี ย ดจํ า นวน 2 ขั้ น ได แ ก ขั้ น แรกคื อ ขั้ น เตรี ย ม ประกอบดวย การปฐมนิเทศ การจัดกลุมผูเรียน การฝก ปฏิบัติ การทดสอบการรูคิดและความคิดสรางสรรคกอนเรียน และขั้นที่สอง คือขั้นเรียน ประกอบดวย 1) ขั้นศึกษาเนื้อหา 2) ขั้นลงมือปฏิบัติ ประกอบดวย 6 ขั้นตอนยอยคือ การคนพบ ความยุงเหยิง การคนหาขอเท็จจริง การคนพบปญหา การ คนพบแนวคิด การคนพบคําตอบ การยอมรับผลการคนพบ 3) ขั้นสรุปและประเมินผล และ4) ขั้นการทดสอบการรูคิดและ ความคิดสรางสรรคหลังเรียน 2. ผลการประเมินรูปแบบการเรียนการสอนฯ ที่พัฒนาขึ้นโดย ผูทรงคุณวุฒิจํานวน 10 คน พบวารูปแบบมีความเหมาะสมใน

ABSTRACT The purposes of the study were:1) to study conceptual framework of cognitive load reduction web-based instruction using creative problem solving techniques model upon cognition and creativity of undergraduate students , 2) to develop a cognitive load reduction web-based instruction using creative problem solving techniques model upon cognition and creativity for undergraduate student, 3) to verify the developed model by the experts. The sample group of the study consisted of 10 experts. Research instruments were a manual for using the model and a model evaluation form. Data were analyzed by using arithmetic mean and standard deviation. The research findings reveal that: 1. The development of cognitive load reduction webbased instruction using creative problem solving techniques model comprised of two stages. The first stage was the preparation stage which included orientation, learner grouping, practice and pre-test on cognition and creativity.The second stage was learning stage which included 1)study of content, 2)performing comprised of 6 steps, which were : constructing opportunities, exploring data, framing problems, generating ideas, developing solutions and building acceptance, 3) summarizing and Evaluating and 4) posttest on cognition and creativity. 2. The developed model evaluation was done by 10 experts. All experts agreed in highest level ( x =4.63, S.D.=0.13). It confirms that the model was effective and suitable for undergraduate students. Keywords: Web-based Instruction, Cognitive Load, Creative Problem Solving, Cognition, Creativity.

บทคัดยอ

135


รบกวนขอจํากัดการจุความจําขณะทํางานของผูเรียนและนั่น คือ ภาระทางปญญามีอิทธิพลตอผลลัพธการเรียนรู ซึ่งใน ปจ จุ บันนี้ การเรีย นการสอนในระดั บ อุด มศึก ษาไดมุง เนน ที่ มาตรฐานผลการเรี ย นรู ข องบั ณ ฑิ ต มากขึ้ น เป น ไปตาม มาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 ดังนั้น ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบการ เรียนการสอนเพื่อใหผูเรียนมีความสามารถในการคิดที่เปนการ รูคิดระดับสูงคือการคิดสรางสรรคและการประเมินคาตามหลัก แนวคิ ด ของบลู ม (Bloom) นั้ น จะเป น การเพิ่ม ทัก ษะการ แกปญหาใหกับผูเรียนดวยเชนกัน (Dewey, J., 1938) และ สอดคลองกับผลงานวิจัยที่เปนการสนับสนุนวา การใหผูเรียน ไดเรียนตามวิธีการแกปญหาเชิงสรางสรรคที่เปนลําดับขั้นตอน จะเปนการเพิ่มทักษะการแกปญหา ผนวกกับการประยุกตการ ออกแบบการเรียนการสอนบนเว็บใหมีการลดภาระทางปญญา ดวยนั้นจะเปนการเพิ่มความสามารถในการเรียนรูของผูเรียน ใหเพิ่มมากยิ่งขึ้น นั่นคือในการแกปญหาจะใชระยะเวลาสั้น และมีความผิดพลาดนอยลง สิ่งที่สําคัญเปนพิเศษในการ ประยุกตใชทฤษฎีการลดภาระทางปญญาในการออกแบบการ เรียนการสอนก็คือสามารถเพิ่มความสามารถในการปฏิบัติการ แกปญหาของผูเรียนได ซึ่งแสดงวาการเรียนรูเปนผลมาจากแต ละส ว นของระดั บ การทํ า ความเข า ใจอย า งแท จ ริ ง ซึ่ ง ทํ า ให ผู เ รี ย นสามารถมี วิ ธี ก ารแก ป ญ หาหลากหลายและมุ ม มองที่ กว า งกว า การใช เ ครื่ อ งมื อ การเรี ย นการสอนแบบเดิ ม ๆ (Cooper, G., 1998)

ระดับมากที่สุด ( x =4.63, S.D.=0.13)และสามารถนําไปใชกับ นักศึกษาในระดับปริญญาตรีได คําสําคัญ: การเรียนการสอนบนเว็บ, ภาระทางปญญา, การ แกปญหาเชิงสรางสรรค, การรูคิด, ความคิดสรางสรรค

1) บทนํา จากกระแสการพั ฒ นาแห ง การขั บ เคลื่ อ นโดยใช เ ศรษฐกิ จ ความคิดสรางสรรค(Creative Economy) เริ่มไดรับการยอมรับ และเปนนวัตกรรมของการพัฒนา "รากความคิด" ที่มีอิทธิพล ตอการแขงขันในเวทีโลก ซึ่งการคิดหรือความสามารถคิด แกปญหาไดสําเร็จเปนลักษณะหนึ่งของความคิดสรางสรรค และเปนความสามารถของบุคคลในการผสมผสานความรูและ ประสบการณที่มีอยูมาใชในการแกปญหาดวยวิธีการที่แปลก ใหม ไมซ้ําแบบเดิม การคิดหลายแงหลายมุมประสม ประสานกั น จนได ผ ลิ ต ผลใหม นั้ น เป น กระบวนการคิ ด สรางสรรคที่เกิดขึ้น เมื่อคนเรามุงคิดไปสูจุดหมายที่แปลกและ ใหม (กรมวิชาการ, 2539) และจากการศึกษาพบวา เทคนิคการ แก ป ญ หาเชิ ง สร า งสรรค เ ป น วิ ธี ที่ ส ามารถพั ฒ นาความคิ ด สรางสรรคไดอีกวิธีหนึ่งซึ่งเปนแนวคิดที่กําลังนิยมในปจจุบัน เทคนิคการแกปญหาเชิงสรางสรรค (Creative Problem Solving : CPS)ไดรับการพิสูจนแลววาเปนหนึ่งในโมเดลการ แกปญหาหลายๆ ตัวที่มีประสิทธิผล การออกแบบการเรียนการสอนในปจจุบนั มุงเนนดานหลักการ ออกแบบสูการเรียนรูแบบยืดหยุน(Richey, R. C., & Nelson, W., 1996) และ การเปลี่ยนกระบวนการเชิงระบบของหลักการ เรียนรูและการสอนเขาสูรูปแบบของสื่อการสอนและกิจกรรม มากขึ้น (Smith, P. L., & Ragan, T. J., 1993) ซึ่งกลยุทธการ ออกแบบการเรี ย นการสอนที่ สํ า คั ญ เป น การเน น ด า นพุ ท ธิ ปญญาซึ่งเปนสิ่งที่เกี่ยวของกับกระบวนการคิด การจํา และการ เรียนรู ซึ่งมีสวนสัมพันธโดยตรงกับทฤษฎีภาระทางปญญา และจากการสังเคราะหงานวิจัยพบวา การนําทฤษฏีภาระทาง ปญญาประยุกตสูการออกแบบการเรียนการสอนบนเว็บจะทํา ใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการเรียนรูดียิ่งขึ้นและ เหตุผลตางๆของทฤษฎีภาระทางปญญาที่ถูกออกแบบในการ เรียนการสอนก็คื อ เพื่อ ไมใหเกิดภาระทางปญญาอันเปนผล

การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดศึกษาและวิเคราะหเอกสารจาก งานวิจัยที่ผานมาเพื่อประยุกตทฤษฎีสูการปฏิบัติ (Clark, R.C., etc.,2005,Morrison,G.R.,etc.,2005)โดยเฉพาะการออกแบบ การเรียนการสอนที่ประยุกตสูการเรียนรูแบบออนไลน โดย การออกแบบสื่อเว็บแบบลดภาระทางปญญา อันเกิดจากภาระ แทรกซ อ นโดยการลดผลกระทบหลั ก ทั้ ง สามประการของ ทฤษฎีภาระทางปญญา(cognitive load)เพื่อสงเสริมใหเกิดการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และการประยุกต เทคนิคการแกปญหาเชิงสรางสรรคเขามาใชในการเรียนการ สอนเพื่อสงเสริมผูเรียนใหเกิดความคิดสรางสรรคเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นผูวิจัยจึงสนใจพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บ แบบลดภาระทางป ญ ญาโดยใช เ ทคนิ ค การแก ป ญ หาเชิ ง

136


จากรูปกรอบแนวคิดประกอบดวย 3 องคประกอบหลัก ดังนี้ องคประกอบที่ 1 การออกแบบการเรียนการสอนบนเว็บ (Pershing & Molenda, 2002, Rhonda, 2001) ประกอบดวย 1. เปาหมายของการเรียนการสอน 2. สมรรถภาพของผูเรียน 3. เนื้อหาการเรียนการสอน 4. ออกแบบเนื้อหา 5. กิจกรรมการเรียนการสอน 6. การจัดสภาพแวดลอมทางการเรียน 7. บทบาทผูเรียน 8. บทบาทผูสอน 9. การดําเนินการเรียน 10. ประเมินการเรียนการสอน องคประกอบที่ 2 ทฤษฎีภาระปญญา(Cognitive Load Theory) (Sweller, Van Merrienboer, & Paas, 1998) เปนการออกแบบ บทเรียนบนเว็บใหลดผลของภาระทางปญญาจากปจจัย ภายนอก ประกอบดวย 1. การแยกความสนใจ (Split-Attention Effect) 2. การซ้ําซอน (Redundancy Effect) 3. สื่อผสม (Modality Effect) องคประกอบที่ 3 การแกปญหาเชิงสรางสรรค (Creative Problem Solving ฉบับ 6.1™) (Treffinger, Isaksen,& Dorval , 2003)ประกอบดวย 6 ขั้นตอน ดังนี้ การเขาใจในตัวปญหา 1. ขั้นการคนพบความยุงเหยิง (Mess-Finding) 2. ขั้นการคนหาขอเท็จจริง (Data-Finding) 3. ขั้นการคนพบปญหา (Problem-Finding) การคิดสรางสรรคเพื่อหาทางออกของปญหา 4. ขั้นการคนพบแนวคิด (Idea-Finding) การเตรียมการสําหรับภาคปฏิบัติ 5. ขั้นการคนพบคําตอบ (Solution-Finding) 6. ขั้นการยอมรับผลการคนพบ (Acceptance-Finding)

สร า งสรรคที่มีตอการรู คิด และความคิดสรางสรรคข อง นักศึกษาระดับปริญญาตรี และผลการศึกษาวิจัยในครั้งนี้จะ เปนแนวทางในการออกแบบการเรียนการสอนที่มุงหวังใน เกิดผลลัพธการเรียนรู เพื่อใหบัณฑิตสามารถดํารงอยูในโลก อนาคตได ตลอดจนเพื่อเสริมสรางคนและสังคมไทยให สามารถพึ่งพาตนเองได แขงขันได และรวมมือไดอยาง ทัดเทียมและยั่งยืนในสังคมยุคเศรษฐกิจเชิงสรางสรรคตอไป

2) วัตถุประสงคของงานวิจัย การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1. ศึกษากรอบแนวคิดของรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็ บ แบบลดภาระทางป ญ ญาโดยใช เ ทคนิ ค การแก ป ญ หาเชิ ง สร า งสรรค ที่ มี ต อ การรู คิ ด และความคิ ด สร า งสรรค ข อง นักศึกษาระดับปริญญาตรี 2. พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบลดภาระทาง ปญญาโดยใชเทคนิคการแกปญหาเชิงสรางสรรคที่มีตอการรู คิดและความคิดสรางสรรคของนักศึกษาระดับปริญญาตรี 3. ประเมิ น รู ป แบบการเรี ย นการสอนที่ พั ฒ นาขึ้ น โดย ผูทรงคุณวุฒิ

3) กรอบแนวคิดในการวิจัย กรอบแนวคิดในการวิจัยครั้งนี้ประกอบดวยองคประกอบที่ใช ในการสรางรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบลดภาระทาง ปญญาโดยใชเทคนิคการแกปญหาเชิงสรางสรรค (CLCPS Model) ดังรูปที่ 1 การเรียนการสอน บนเว็บ (WBI)

การลดภาระทาง ปญญา (CLT)

การแกปญหาเชิง สรางสรรค(CPS)

รูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบลดภาระทางปญญา โดยใชเทคนิคการแกปญ  หาเชิงสรางสรรค (CLCPS MODEL) การรูคิด (COGNITION)

ความคิดสรางสรรค (CREATIVITY)

4) วิธีดําเนินการวิจัย

รูปที่ 1: กรอบแนวคิดของรูปแบบ CLCPS

ประชากรที่ใชในการวิจัย คือ ผูทรงคุณวุฒิทางดานเทคโนโลยี การศึกษา การออกแบบการเรียนการสอน การแกปญหาเชิง สรางสรรค และ ความคิดสรางสรรค

137


4.2.สร า งเครื่ อ งมื อ ประเมิ น ความเหมาะสมของรู ป แบบการ เรียนการสอน ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบคุณภาพรูปแบบโดยผูทรงคุณวุฒิ ขั้นตอนที่ 4 ปรับปรุงแกไขรูปแบบเปนฉบับสมบูรณ

กลุมตัวอยาง คือผูทรงคุณวุฒิจํานวน 10 คนจาก 6 มหาวิทยาลัย ขั้นตอนดําเนินการวิจัย แบงเปน 4 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษากรอบแนวคิดของรูปแบบโดยการศึกษา วิเคราะห และสังเคราะหขอมูลพื้นฐานขององคประกอบตางๆ ที่เกี่ยวของกับการสรางรูปแบบ CLCPS ขั้นตอนที่ 2 สรางรูปแบบฯ ตามกรอบแนวคิด ในขั้นตอนนี้ แบงเปน 4 ขั้น ดังนี้ 1. การออกแบบโครงรางรูปแบบ CLCPS 2. การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูรูปแบบ CLCPS 3. ตรวจสอบโครงรางรูปแบบการเรียนการสอน โดยใช ผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 คน 4. การสรางเครื่องมือประกอบการใชรูปแบบการเรียนการสอน 4.1. สรางคูมือประกอบการใชรูปแบบการเรียนการสอน

5) สรุปผลการวิจัย 5.1) องคประกอบของรูปแบบ CLCPS ผลการสรางรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบลดภาระทาง ปญญาโดยใชเทคนิคการแกปญหาเชิงสรางสรรคที่มีตอการรู คิดและความคิดสรางสรรคของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ดัง รูปที่ 2 และขั้นตอนการเรียนการสอนของรูปแบบฯ ดังรูปที่ 3

1. ขั้นเตรียม (preparation stage) 1.1 ปฐมนิเทศ

1.2 จัดกลุม

1.3 ฝกปฏิบัติ

1.4 ทดสอบการรูคิดและความคิดสรางสรรคกอนเรียน

2. ขั้นเรียน (learning stage) 2.1 ขั้นศึกษาเนื้อหา (study of content) 2.2 ขั้นลงมือปฏิบตั ิ (performing)

เว็บ แบบ ลด ภาระ ทาง ปญญา

4.คนพบ แนวคิด 1.คนพบ ความยุงเหยิง

5.คนพบ คําตอบ

2. คนหา ขอเท็จจริง

3.คนพบปญหา

6.ยอมรับผล การคนพบ

ภาระงาน

Formative evaluation : ประเมินตามสภาพจริง

2.3 ขั้นสรุปและประเมินผล (summarizing and evaluating) 2.4 ขั้นทดสอบหลังเรียน (post-test)

รูปที่ 2: รูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบลดภาระทางปญญาโดยใชเทคนิคการแกปญหาเชิงสรางสรรคที่มีตอการรูคิดและ ความคิดสรางสรรคของนักศึกษาระดับปริญญาตรี(CLCPS model)

138


Instructional process of CLCPS model

1. ขั้นเตรียม

บทบาทผูสอน

1.1 ปฐมนิเทศ

บทบาทผูเรียน (เดี่ยว)

บทบาทผูเรียน (กลุม)

อานคูมือการใชงานเว็บ อานคําชี้แจงเกี่ยวกับวัตถุประสงค กิจกรรม วิธีการเรียน วันและเวลาเรียน การประเมินผล กลุมละ 4 คน โดยจัดใหแตละกลุมมีความเทาเทียมกัน เลือกหัวหนาและเลขากลุม

1.2 จัดกลุม 1.3 ฝกปฏิบัติ

ลงทะเบียน การเขาเรียนเนื้อหาบทเรียน การใชเครื่องมือบนเว็บ การสงงาน

1.4 ทดสอบการรูคิดและความคิด สรางสรรคกอนเรียน

อานคําชี้แจง - ทําแบบทดสอบวัดการรูคิดและความคิดสรางสรรคกอนเรียน

2. ขั้นเรียน ลักษณะความคิด สรางสรรค

2.1 ขั้น ศึกษา เนื้อหา

เว็บ แบบ ลด ภาระ ทาง ปญญา

2.2 ขั้น ลงมือ ปฏิบัติ

ศึกษาเนื้อหาวิชา แบบมัลติมีเดียบน เว็บเพจ

Web Page, Chat room Web board, E-mail

กําหนดภาระงาน เปนกรณีศึกษา บนเว็บเพจ

Web Page Online Resources

เรียนรูและเชื่อมโยง เขาใจในตัวปญหา 1.คนพบความยุงเหยิง

กระตุนใหผูเรียนสังเกต Online Resources(Material, people) สถานการณและตั้งคําถาม Discussion board, Wiki และตอบใหไดมากที่สุด

2.คนหาขอเท็จจริง

ถามนําแลวใหผูเรียนตั้ง สมมติฐานโดยวิเคราะห จําแนก จัดลําดับปญหา

3.คนพบปญหา

Chat room, Discussion board, Wiki

คิด หาทางออกของปญหา ใหผูเรียนคาดคะเนคําตอบ ของปญหาโดยวิธีChecklist,

Chat room, Discussion board, Wiki

4.คนพบแนวคิด

Attribute analysis,SCAMPER

ถามนําใหผูเรียนกําหนด เกณฑคัดเลือกบอก ขอดี-ขอเสีย แนะนําใหผูเรียนอธิบาย รายละเอียดของวิธีแก ปญหาและบอกผลที่เกิด

2.3 ขั้น สรุปและ ประเมิน ผล

แนะนําใหผูเรียน สรุปผลการเรียนรู

2.4 ขั้นทดสอบหลังเรียน

e-Portfolio, Discussion board

Online Resources, e-Portfolio Discussion board E-Portfolio, Web log E-mail

ความคิดคลอง (Fluency)

ประ เมิน ตาม สภาพ จริง

ความคิดยืดหยุน (Flexibility)

ความคิดริเริ่ม (Originality)

เตรียมการปฏิบัติ 5.คนพบคําตอบ

6.ยอมรับผลการคนพบ

ความคิดยืดหยุน (Flexibility)

ความคิด ละเอียดลออ (Elaboration)

ประเมินผลงานและผลการแกปญหาเชิงสรางสรรค

สังเกตความสนใจ การเขารวมกิจกรรม และการตรงตอเวลาในการสงงาน ทดสอบการรูคิดและความคิดสรางสรรคหลังเรียน (Examination)

รูปที่ 3: ขั้นตอนการเรียนการสอนของรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบลดภาระทางปญญาโดยใชเทคนิคการแกปญหาเชิง สรางสรรคที่มีตอการรูคิดและความคิดสรางสรรคของนักศึกษาระดับปริญญาตรี

139


แนะนําใหผูเรียนตั้งคําถาม-คําตอบใหไดปริมาณมากที่สุดเพื่อ พัฒนาความคิดสรางสรรคดานความคิดคลอง 2.3 การคนพบปญหา ผูสอนใหคําแนะนําเพื่อกระตุนให ผูเรียนนําคําถาม-คําตอบที่ตั้งขึ้นจากการคนหาขอเท็จจริง มา ใชวิเคราะหหาสาเหตุของปญหา และใชคําถามนําโดยคําถาม ตองนําผูเรียนไปสูการตั้งสมมติฐาน และคิดวิเคราะหถึงสาเหตุ ของปญหาแลวใหนําสาเหตุของปญหามาจัดลําดับความสําคัญ จําแนกสาเหตุใหญ-สาเหตุยอย รวมทั้งเลือกสาเหตุที่ตองการ แก ไ ขเป น อั น ดั บ แรกพร อ มให เ หตุ ผ ล เพื่ อ พั ฒ นาความคิ ด สรางสรรคดานความคิดยืดหยุน 2.4 การคนพบแนวคิด ผูสอนใหคําแนะนําเพื่อใหผูเรียน ร ว มกั น ระดมความคิ ด หาวิ ธี แ ก ป ญ หาที่ มี ค วามหลากหลาย แปลกใหม และเป น ไปได และผู ส อนแนะนํ า ให ผู เ รี ย นใช เทคนิค Idea Checklists,Morphological analysis,Camper และ Brainstorm ที่นําผูเรียนไปสูการแสวงหาหรือคาดคะเนคําตอบ ที่ ต อ งการหลายๆแนวทาง โดยไม มี ก ารประเมิ น ความ เหมาะสม หรือถูกผิดในขั้นนี้ เพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรค ดานการคิดริเริ่ม 2.5 การคนพบคําตอบ ผูสอนใหคําแนะนําเพื่อใหผูเรียนไดใช ความคิด วิเคราะหขอมูล ความเปนไปได ผลดี ผลเสีย ของแต ละแนวทางรวมทั้งกระตุนใหใชเกณฑในการตัดสินใจ และใช คําถามเพื่อนําไปสูการทดสอบวิธีการแกปญหาที่ไดจากการ ค น พบแนวคิ ด โดยเกณฑ ที่ ใ ช ต อ งเป น เกณฑ ที่ มี ค วาม สรางสรรค สามารถแกปญหาไดเหมาะสม นําไปใชไดจริงและ แกไขปญหาไดดีกวาวิธีการเดิมๆ รวมทั้งใหผูเรียนตัดสินใจ เลือกวิธีการแกปญหาที่เหมาะสมที่สุด เปนการพัฒนาความคิด สรางสรรคดานความคิดยืดหยุน 2.6 การยอมรับผลการคนพบ ผูสอนใหคําแนะนําเพื่อให ผู เ รี ย นค น คว า หาข อ มู ล มาอธิ บ ายวิ ธี ก ารแก ป ญ หา และใช คําถามนําเพื่อกระตุนใหผูเรียนบอกขั้นตอนการแกปญหา และ ผลที่เกิดขึ้นจากการแกปญหาในแตละขั้น เพื่อพัฒนาความคิด สรางสรรคดานการคิดละเอียดลออ 3. ขั้นสรุปและประเมินผล : เปนกระบวนการที่ผูเรียนรวมกัน อภิปราย สรุปสิ่งที่ไดจากการเรียนรูรวมกันในกลุมยอยและ กลุมใหญ และทั้งหมด นักเรียนไดรับฟงการนํา เสนอแนวคิด ของกลุ ม แล ว นํ า มาเชื่ อ มโยงกั บ แนวคิ ด ของตนเองแล ว

5.2) ขั้นตอนการเรียนการสอนของรูปแบบ CLCPS 5.2.1 ขั้นเตรียม 1. การปฐมนิเทศผูเรียนเพื่อเตรียมความพรอมกอนการเรียนรู ให คํ า แนะนํ า การเรี ย นการสอนบนเว็ บ และรายละเอี ย ด กิจกรรมการเรียนการสอน วัตถุประสงค วันและเวลาเรียน การประเมิ น ผลการเรี ย น การสอบ วิ ธี ก ารเรี ย นโดยใช กระบวนจัดการเรียนการสอนตามขั้นตอนการแกปญหาเชิง สรางสรรค 2. จัดกลุมผูเรียน และมอบหมายความรับผิดชอบของสมาชิก ในกลุม โดยผูเรียนแตละกลุมใชโปรแกรมสนทนาเพื่อคนพบ ความยุ ง เหยิ ง และร ว มกั น วิ เ คราะห ใ นขั้ น ค น หาข อ เท็ จ จริ ง วิเคราะหหาสาเหตุของปญหา จัดลําดับความสําคัญของสาเหตุ จําแนกสาเหตุเปนปญหาใหญ-ปญหายอยในขั้นคนพบปญหา และร ะดมค วาม คิ ด ห า วิ ธี ก ารแก ป ญ ห า ที่ แ ป ล ก ใ ห ม หลากหลาย และเปนไปไดในขั้นคนพบแนวคิด 3. ฝกปฏิบัติ โดยใหผูเรียนลงทะเบียนเรียนบนเว็บ เพื่อกําหนด ชื่อเรียก(Username) และรหัสผาน (Password) สําหรับเขาสู ระบบสําหรับการเรียน และใหผูเรียนฝกทักษะการใชเครื่องมือ สื่อสารบนเว็บ ไดแก discussion board, e-mail, Assignment และ chat room ฝกการทํากิจกรรมและการสงงานผานเว็บ 4. ทดสอบการรูคิดและความคิดสรางสรรคกอนเรียน 5.2.2 ขั้นเรียน 1. ขั้นศึกษาเนื้อหา เขาสูบทเรียนบนเว็บแลวศึกษาเนื้อหา บทเรียนแบบมัลติมีเดียบน Web page 2. ขั้นลงมือปฏิบัติ ประกอบดวยกิจกรรมการเรียนการสอน 6 ขั้นตอน คือ 2.1 การคนพบความยุงเหยิง ผูสอนเสนอสถานการณปญหาให ผูเรียนอานกรณีศึกษา เพื่อกระตุนใหผูเรียนเกิดขอสงสัย และมี ความตองการในการแกปญหาจากสถานการณปญหา ใหผูเรียน รวมกันลําดับเหตุการณ โดยใชความรูเดิมหรือสิ่งที่เคยเรียนรู มาตอกลุมเพื่อใชเปนขอมูลในการพิจารณาปญหาของกลุม 2.2 การคนหาขอเท็จจริง ผูสอนใหคําแนะนําที่ทําใหผูเรียน นําไปสูการสังเกตขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นจากกรณีศึกษา เพื่อ กระตุนผูเรียนคิดตั้งคําถามพรอมตอบคําถามที่ตั้งขึ้น รวมทั้ง

140


เชนนี้จะทําอยางไร ผูเรียนไดเรียนรูผานกระบวนการคิด แกปญหาอยางสรางสรรคไดแก ครูใชคําถามกระตุน ยั่วยุให นักเรียนไดคิดวิเคราะหขอมูลรวมกัน มีการบันทึกขอมูลการ นําเสนอผลงาน ชวยกันสรุปและประเมินผล รวมทั้งการนําเอา ความรู ไ ปประยุ ก ต ใ ช ไ ด ทํ า ให ผู เ รี ย นได มี ป ฏิ สั ม พั น ธ ที่ เหมาะสม และไดเรียนรูอยางมีจุดมุงหมายดวยเนื้อหาที่ฝกคิด และการประยุกตการออกแบบการเรียนการสอนบนเว็บใหมี การลดภาระทางป ญ ญาด ว ยนั้ น จะเป น การลดการใช ค วาม พยายามทางความคิด(mental effort)ใหนอยลงซึ่งเปนผลให ผูเรียนมีความสามารถในการเรียนรูเพิ่มมากขึ้นดวย

สังเคราะหสรางองคความรูไดดวยตนเอง ซึ่งกระบวนการ เหลานี้เปนการฝกการคิดสรางสรรคขั้นสูง 4. ขั้นทดสอบหลังเรียน : ทดสอบการรูคิดและความคิด สรางสรรคหลังเรียน 5.3) ผลการตรวจสอบคุณภาพโดยผูทรงคุณวุฒิ ตารางที่ 1: ผลการประเมินรูปแบบโดยผูทรงคุณวุฒิ องคประกอบ N x 1.ขั้นเตรียม 1.1 ปฐมนิเทศ 10 4.73 1.2 จัดกลุมผูเรียน 10 4.35 1.3 ฝกปฏิบัติ 10 4.60 1.4 ทดสอบกอนเรียน 10 4.90 ผลรวมขั้นเตรียม 10 4.63 2. ขั้นเรียน 2.1 ศึกษาเนื้อหา 10 4.48 2.2 ลงมือปฏิบัติ 10 4.63 2.3 สรุปและประเมินผล 10 4.7 2.4 ทดสอบหลังเรียน 10 4.9 ผลรวมขั้นเรียน 10 4.63 ผลรวมทั้งหมด 10 4.63

S.D. 0.13 0.19 0.16 0.32 0.16

7) เอกสารอางอิง กรมวิชาการ. (2539). บรรยากาศในการเรียนการสอน. กรุงเทพ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. Richey, R. C., & Nelson, W. (1996). Developmental

0.01 0.13 0.12 0.32 0.12 0.13

research. InD. Jonassen(Ed.),Handbook for research in educational communications and technology. New York : Simon &Schuster Macmillan. Smith, P. L., & Ragan, T. J. (1993). Instructional design. New York : Macmillan. Dewey, J. (1938). Experience and Education. NewYork: Touchstone. Cooper, G., (1998). Research into cognitive load theory andinstructional design at UNSW. Available online at http://www.arts.unsw.edu.au/education/ CLTETAug_97.HTML. Clark, R. C., Nguyen,F., & Sweller,J. (2005). Efficiency in learning: Evidence- based guidelinesto manage cognitive load. San Diego, CA: Pfeiffer. Morrison, G. R., & Anglin, G. J. “Research on cognitive load theory: Application to e-Learning. Educational Technology.” Research and Development. 53(2005) : 94. Treffinger, D. J., Isaksen, S. G., & Dorval, K. B. (2003). Creative problem solving(CPS Version 6.1) A contemporary framework for managing change [Brochure].Available online at www. creative learning.com. Pershing and Molenda, Michael. 2002. Instructional Systems Technology. Available online Online at http://education.indiana.edu/ist/admin/facphone. html. Rhonda, McClure R. (2001). Learning Center. In The Best Resources for Discovering Your Family Story. Available online at http://www.genealogy. com/genehelp.html. Sweller, J., van Merrienboer, J.J.G., & Paas, F. “Cognitive architecture and instructional design.” Educational Psychology Review. 10(1998) : 251-296.

จากตารางพบวารูปแบบมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด ( x =4.63, S.D.=0.13) และสามารถนําไปใชกับนักศึกษาใน ระดับปริญญาตรีได

6) อภิปรายผล ผลการสรางรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบลดภาระทาง ป ญ ญาโดยใช เ ทคนิ ค การแก ป ญ หาเชิ ง สร า งสรรค ( CLCPS model) ประกอบดวยหลักการของการออกแบบการเรียนการ สอนบนเว็ บ การลดภาระทางป ญ ญาและการแก ป ญ หาเชิ ง สรางสรรค ซึ่งขั้นตอนการเรียนการสอนของรูปแบบ CLCPS ประกอบดวย 2 ขั้นตอนใหญคือขั้นเตรียมและขั้นเรียน จาก การวิจัยพบวารูปแบบที่พัฒนาขึ้นนี้จะเปนเครื่องมือที่สามารถ พั ฒ นาผู เ รี ย นให มี ค วามสามารถในการคิ ด ที่ เ ป น การรู คิ ด ระดับสูง นั่นคือความคิดสรางสรรค และไดฝกคิดวิเคราะห ศึกษาจากกรณีศึกษา รวมกันระดมสมองคิดวิเคราะหถึงผลดี ผลเสีย การดําเนินชีวิตและแกไขปญหาวาเมื่อเกิดเหตุการณ

141



การพัฒนาและหาประสิทธิภาพเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสรางเว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือดวยการใชเว็บบล็อก Development of Web-Based Instruction for Web Design and Construction Course with Collaborative Learning Using Blogs สายพิน งามสงา1, จิรพันธุ ศรีสมพันธุ2 1 โรงเรียนปากเกร็ด 2

(saipin_pk@hotmail.com)

คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (jpp@kmutnb.ac.th)

ทดลองครั้ งนี้คือ เว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสราง เว็ บเพจ ร วมกั บการเรี ยนรู แบบร วมมื อ ด วยการใช เว็ บบล็ อก ที่ประกอบดวย บทเรียน แบบทดสอบกอนเรียน แบบทดสอบ ระหวางเรียน แบบทดสอบหลังเรียน กิจกรรมเว็บบล็อก และ แบบสอบถามวัดความพึงพอใจของผูเรียน กลุมตัวอยางที่ใชใน การวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียน ปาก เกร็ด จํานวน 50 คน เลือกมาดวยวิธีการโดยการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) วิธีดําเนินการวิจัย เริ่มจากศึกษาขอมูล และหลักสูตรรายวิชา กําหนดประชากรและกลุมตัวอยาง กําหนด แบบแผนการทดลอง สรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย โดยใหผูเรียน เรียนผานเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสรางเว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือดวยการใชเว็บบล็อก จากนั้นนํา คะแนนที่ไดมาวิเคราะหขอมูลตามหลักสถิติ

ABSTRACT The purpose of this research were to develop improve the efficiency in teaching web design and construction with collaborative learning using blogs. The instrument used in the study included web-based instruction, pretest, quizzes, posttest, blog activates, and a questionnaire asking about the students’ satisfaction. The sample group was 50 students in Matayom 3 at Pakkred Secondary School. These students were randomly selected using the simple random sampling technique. The research methods started from studying the curriculum and course information, determining population and sample, designing the study plan, as well as preparing the research instruments. In this research, student learned about web design and construction through the web-based instruction with collaborative learning using blogs. The student’scores in the course were statistically analyzed to find the efficiency of the web-based instruction program. The finding show a quite high efficiency value of 84.96/80.92 obtained from the web-based instruction and this value is definitely higher than the standard value of 80/80. The research also found that the posttest score of the students are significantly higher than their pretest scores. Considering the students’ satisfaction, the mean level of the satisfaction is 3.34 reflecting the high satisfaction level of the students in the study group. According to these findings, the web-based instruction developed in this research was found to be highly efficient and capable to be applied in the course of web design and construction with collaborative learning using blogs.

ผลการวิจัยพบวาเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและ การสรางเว็บ เพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือดวยการใชเว็บบล็อกที่สรางขึ้น มีประสิทธิภาพ 84.96/80.92 ซึ่งสูงกวาเกณฑ 80/80 ที่ตั้งไว ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนพบวา คะแนนการทดสอบหลัง เรียนสูงกวากอนเรียนที่นัยสําคัญทางสถิติ .05 และผลการประเมิน หาความพึงพอใจของผูเรียนอยูในระดับมาก ( x = 3.94) แสดงใหเห็นวา เว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสรางเว็บ เพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือดวยการใชเว็บบล็อก ที่สราง ขึ้นสามารถนําไปใชในการเรียนการสอนได

Keywords: Web-Based Instruction, Web Design and Construction Course, Collaborative Learning Using Blogs.

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อพัฒนาและ หาประสิทธิภาพของ เว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสรางเว็บเพจ รวมกับการ เรี ยนรู แบบร วมมื อด วยการใช เว็ บบล็ อก เครื่ องมื อที่ ใช ในการ

คําสําคัญ : เว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสรางเว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือ ดวยการใชเว็บบล็อก

143


1) บทนํา

2) ทฤษฎีที่เกี่ยวของ

การใหการศึกษาที่เปนพื้นฐานเบื้องตนที่ดีแกผูเรียนใหมีความ เข าใจในเนื้อหาทั้งทางดานทฤษฎีแ ละปฏิบัติ เปนรากฐานที่ นําไปสูการมีศักยภาพในการพัฒนาเทคโนโลยีชั้นสูง เพื่อการ พัฒนาประเทศตอไป ปจจุบันปญหาการ เพิ่มจํานวนประชากร นับเปนอุปสรรคสําคัญในดานการเรียนการสอน ผูสอนตอง รับ ผิดชอบผูเรียนในแตละหองมีจํ านวนมากและรับ ผิดชอบ คาบสอนในแตละสัปดาหมากเกินไป นอกจากนี้ยังตองสอน เนื้ อ หาซ้ํ า กั น ในแต ล ะสั ป ดาห การที่ ผู ส อนต อ งรั บ ผิ ด ชอบ ผูเรียนที่มีจํานวนมากในแตละหอง เกิดผลกระทบทําใหผูเรียน ละเลยที่จะทํากิจกรรม ในชั้นเรียน ไมกลาแสดงออก ผูเรียนไม สามารถจดจําคําสั่งภาคทฤษฏี และนําไปปฏิบัติได

2.1) การเรียนการสอนดวยเว็บชวยสอน แนวโนมของการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในอนาคต อันใกลนี้คาดการณกันไววาจะเปลี่ยนแปลงจากระบบที่ใชงาน โดยลําพัง(Standalone Based System)ไปเปนระบบที่ใชงาน ผานเครือขายคอมพิวเตอร (Net-Based System) เนื่องจากอัตรา การขยายตัวการใชงานทางดานเครือขายคอมพิวเตอรมีจํานวน มากขึ้นทุกนาที โดยเฉพาะอยางยิ่งเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่งมี การประมาณการไววาจํานวนผูใชอินเทอรเน็ตปจจุบันทั่วโลก มีเกินกวา 15,000 ลานคน โดยมีอัตราการเพิ่มขึ้น 1 คน ทุกๆ 2 วิ น าที พั ฒ นาการของบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน จึ ง ปรั บ เปลี่ ย นรู ป แบบการนํ า เสนอใหม ไ ปเป น บทเรี ย นที่ นําเสนอบนเครือขายคอมพิวเตอร เพื่อใหสอดคลองกับการใช งานซึ่ง ไดแ กบ ทเรี ย นคอมพิว เตอรช วยสอนที่นํ าเสนอผา น เครือขายคอมพิวเตอร (WBI/WBT) เปนตน นอกจากบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายคอมพิวเตอร(Web Based Instruction:WBI) แล ว ยัง มี บ ทเรี ย นอื่ น ๆที่ นํ า เสนอผ า น เครือขายคอมพิวเตอรตัวอยาง เชน IBT (Internet-Based Training) NBI (Net-Based Instruction) NBL (Net-Based Learning) และ OT (Online Training) เปนตน บทเรียน สมัยใหมดังกลาวนี้พัฒนาขึ้นมาเพื่อสนับสนุนการเรียนการ สอนผานเครือ ขายที่นั บ วันจะยิ่งมี บทบาทมากขึ้น เชน การ เรียนทางไกล (Distance Learning) และมหาวิทยาลัยเสมือน (Virtual University) [1]

การนํานวัตกรรม และเทคโนโลยีดานคอมพิวเตอร Web Blog เขามาใชในระบบการศึกษา จะทําใหผูเรียนสามารถนําความรูที่ ได ไ ปใช ใ ห เ กิ ดประโยชน ใ นด า นการเรี ย น เป น วิ ธี ก ารหนึ่ ง ในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ผูวิจัย ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของการนํา เทคโนโลยีทางการศึกษา มาใช ใ ห เ หมาะสมโดยเฉพาะใน วิ ช าคอมพิ ว เตอร 3 (การออกแบบและการสร า งเว็ บ เพจ) ซึ่ ง มี ร ายละเอี ย ดของ เนื้อหารายวิชาเกี่ยวกับการสรางเว็บเพจ การตกแตงเว็บเพจให สวยงามและการศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ขั้ น การทํ า งานคํ า สั่ ง ต า ง ๆ นอกจากนี้ การนํา Web Blog มาใชกับการเรียนการสอนใน หองเรียนที่มีผูเรียนจํานวนมากทําใหชวยดึงดูดความสนใจให ทํากิจกรรม ในชั้นเรียนกลาแสดงออก เพิ่มการจดจําคําสั่ง และ สามารถนําไปปฏิบัติไดอยางถูกตอง การประยุกตใช Blog เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนไดโดยผูสอนควรปรับแตง Blog ใหนาสนใจ ดึงดูดผูเรียน ใหอยากเขามาอานและรวม แสดงความคิ ด เห็ น และเนื้ อ หาที่ นํ า เสนอก็ ไ ม น า เบื่ อ Blog ยังใหโอกาสผูเรียน ในการเขาถึงแหลงเรียนรูไดทุกที่ทุกเวลา เพียงแคมีเครื่องคอมพิวเตอรที่สามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ตได เทานั้น ผูเรียนก็จะสามารถเขาถึงบทเรียนไดตลอด อีกทั้งยัง เป น การเพิ่ ม ทั ก ษะด า นคอมพิ ว เตอร ผู เ รี ย นสามารถสร า ง ปฏิ สั ม พั น ธ ร ะหว า งผู เ รี ย น หรื อ ระหว า งผู ส อน และ ทํ า กิจกรรม ที่หลากหลายไดมากกวาการเรียนในหองเรียนปกติ

2.2) การเรียนรูแบบรวมมือ การเรียนรูแบบรวมมือ (Cooperative and Collaborative Learning) เปนวิธีการ จัดการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่ง ที่เนน ใหผูเรียน ลงมื อ ปฏิ บั ติ ง านเป น กลุ ม ย อ ย โดยมี ส มาชิ ก กลุ ม ที่ มี ความสามารถที่แตกตางกัน เพื่อเสริมสรางสมรรถภาพการ เรียนรูของแตละคน สนับสนุนใหมีการชวยเหลือซึ่งกันและ กัน จนบรรลุตามเปาหมายที่วางไว นอกจากนี้ การเรียนรูแบบ รวมมือ ยังเปนการสงเสริม การทํางานรวมกันเปนหมูคณะ หรือทีม ตามระบอบประชาธิปไตย เปนการพัฒนาความฉลาด

144


กลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษาครั้ ง นี้ เ ป น นั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาปที่ 3 ที่กําลังเรียนอยูในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2552 โรงเรี ย นปากเกร็ ด อํ า เภอปากเกร็ ด จั ง หวั ด นนทบุ รี จํ านวน 50 คน ซึ่งเลือ กมาดวยวิธี การสุม อยา งง าย (Simple Random Sampling )

ทางอารมณ สามารถปรับตัวใหอยูกับผูอื่นไดอยางมีความสุข [2] 2.3) เว็บบล็อก ความหมายของบล็ อ ก เป น คํ า รวมมาจากคํ า ว า เว็ บ ล็ อ ก (weblog) เปนรูปแบบเว็บไซตประเภทหนึ่ง ซึ่งถูกเขียนขึ้นใน ลํา ดับ ที่เ รีย งตามเวลาในการเขีย น ซึ่ง จะแสดงขอ มูล ที่เ ขีย น ลาสุดไวแรกสุด บล็อกโดยปกติจะประกอบดวย ขอความ ภาพ ลิ ง ก ซึ่ ง บางครั้ ง จะรวมสื่ อ ต า งๆ ไม ว า เพลง หรื อ วิ ดี โ อใน หลายรูปแบบได จุดที่แตกตางของบล็อกกับเว็บไซตโดยปกติ คื อ บล็ อ กจะเป ด ให ผู เ ข า มาอ า นข อ มู ล สามารถแสดงความ คิดเห็นตอทายขอความที่เจาของบล็อกเปนคนเขียน ซึ่งทําให ผูเขียนสามารถไดผลตอบกลับโดยทันที คําวา "บล็อก" ยังใช เปนคํากริยาไดซึ่งหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผูที่ เขียนบล็อกเปนอาชีพก็จะถูกเรียกวา "บล็อกเกอร" บล็อกเปน เว็ บ ไซต ที่ มี เ นื้ อ หาหลากหลายขึ้ น อยู กั บ เจ า ของบล็ อ กโดย สามารถใชเปนเครื่องมือสื่อสาร การประกาศขาวสาร การแสดง ความคิดเห็น การเผยแพรผลงาน ในหลายดานไมวา อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรือขาวปจจุบัน นอกจากนี้บล็อกที่ถูก เขียนเฉพาะเรื่องสวนตัวหรือจะเรียกวาไดอารีออนไลน ซึ่งได อารีออนไลนนี่เองเปนจุดเริ่มตนของการใชบล็อกในปจจุบัน [3]

3.2) กําหนดแบบแผนการทดลอง การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลองเบื้องตน ใชแบบแผนการ ทดลองแบบ One-Group Pretest-Posttest Design คือ รูปแบบ ที่มีกลุมทดลองกลุมเดียว มีการทําการทดสอบกอนที่จะทําการ ทดลอง ทําการทดลองกับกลุมตัวอยาง แลวทดสอบหลังการ ทดลองทันที ตารางที่ 1 : แบบแผนการทดลองแบบกลุมเดียว (One-Group Pretest-Posttest Design) กลุมตัวอยาง การทดสอบกอนเรียน การทดลอง การทดสอบหลังเรียน E

T1

X

T2

3.3) สรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3.3.1 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย • แบบทดสอบกอนและหลังเรียน จากการเรียนดวยเว็บชวย สอน วิชา การออกแบบและการสรางเว็บเพจ รวมกับการ เรียนรูแบบรวมมือดวยการใชเว็บบล็อก • แบบทดสอบระหวางเรียนจากการเรียนดวยเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสรางเว็บเพจ รวมกับการเรียนรู แบบรวมมือดวยการใชเว็บบล็อก • แบบประเมินดานคุณภาพเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบ และการสรางเว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือดวย การใช เ ว็ บ บล็ อ ก โดยผู เ ชี่ ย วชาญจํ า นวน 2 ฉบั บ คื อ แบบสอบถามความคิดเห็นสําหรับผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา และ แบบสอบถามความคิดเห็นสําหรับผูเชี่ยวชาญดาน เทคนิค

3) วิธีดําเนินการวิจัย 3.1) กําหนดประชากร และคัดเลือกกลุมตัวอยาง 3.1.1 ประชากร ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 3 โรงเรียนปากเกร็ด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ที่ กําลังเรียนอยูในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2552 จํานวน 580 คน จํานวน 12 หองเรียน ซึ่งจัดหองเรียนแบบคละนักเรียนที่มี ระดับความสามารถทางการเรียน สูง ปานกลาง และต่ํา 3.1.2 กลุมตัวอยาง

145


• การสรางเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสราง เว็ บ เพจ ร วมกั บ การเรี ย นรู แ บบรว มมือ ด วยการใชเ ว็ บ บล็อก มัธยมศึกษาปที่ 3

• แบบสอบถามวัดความพึงพอใจของผูเรียน จากการเรียน ดวยเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสราง เว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือดวยการใชเว็บบล็อก • เว็ บ ช ว ยสอนวิ ช า การออกแบบและการสร า งเว็ บ เพจ รวมกับการเรียนรู แบบรวมมือดวยการใชเว็บบล็อก

รูปที่ 2 : รูปแบบการพัฒนาเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบ

3.3.2 การสรางเครื่องมือในการวิจัย • ผูวิจัยไดศึกษาและวิเคราะหหลักสูตรรายวิชา เพื่อใหได หนวยเรียนรู หัวเรื่อง และวัตถุประสงคการเรียนรูโดย พิจารณาใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของหลักสูตร และ นํ า มาสร า งเป น แบบทดสอบก อ น-หลั ง เรี ย นและ แบบทดสอบระหวางเรียน ซึ่งมีขั้นตอนดังตอไปนี้

และการสรางเว็บเพจ รวมกับการเรียนรู แบบรวมมือดวยการใชเว็บบล็อก 3.4) ดําเนินการการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล การทดลองครั้ ง นี้ กั บ กลุ ม ตั ว อย า ง คื อ นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น มัธ ยมศึกษาปที่ 3 โรงเรี ยนปากเกร็ด จังหวัด นนทบุรี ภาค เรี ย นที่ 2 ป ก ารศึ ก ษา 2552 โดยการสุ ม อย า งง า ย (Simple Random Sampling ) จํานวน 50 คน ซึ่งไมใชกลุมทดลองเพื่อ หาประสิทธิภาพของ เว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการ สรางเว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือดวยการใชเว็บ บล็ อ ก และดํ า เนิ น การทดลองด ว ย เว็ บ ช ว ยสอน วิ ช า การ ออกแบบและการสรางเว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือ ดวยการใชเว็บบล็อก ประกอบดวยเนื้อหารวมทั้งสิ้น 2 เรื่อง โดยได ม าจากวิ ช าเพิ่ ม เติ ม หลั ก สู ต รการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุทธศักราช 2544 ใชเวลา ใชเวลา 16 สัปดาห สัปดาหละ 1

รูปที่ 1 : การสรางและหาประสิทธิภาพของแบบทดสอบ • แบบประเมินดานคุณภาพเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบ และการสราง เว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือดวย การใชเว็บบล็อกและแบบสอบถามวัดความพึงพอใจของ ผูเรียน สรางโดยการศึกษาจากตํารางานวิจัยและตัวอยาง แบบสอบถามตางๆ ที่เกี่ยวของ

146


คาบ คาบละ 60 นาที รวมทั้งสิ้น 16 คาบแลวเก็บคะแนนเพื่อ นํามาวิเคราะหขอมูล โดยเก็บคะแนนเฉลี่ยแบบทดสอบกอน เรียนและหลังเรียน นําไปวิเคราะหขอมูล

การวิ เ คราะห ห าประสิ ท ธิ ภ าพของเว็ บ ช ว ยสอน วิ ช า การ ออกแบบและการสรางเว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือ ดวยการใชเว็บบล็อก ใชกลุมตัวอยางจํานวน 50 คน โดย ทํา การวัดการเรียนรูจากการทําแบบทดสอบระหวางเรียนในแต ละหนวย และวัดความรูจากการทําแบบทดสอบ หลังเรียนเพื่อ หาประสิทธิภาพของเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการ สราง เว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือดวยการใชเว็บ บล็ อ ก ตามเกณฑ 80/80 ที่ กํ า หนดซึ่ ง ผู เ รี ย นสามารถทํ า แบบทดสอบระหวางเรียนคะแนนเฉลี่ย คิดเปนรอยละ 84.96 สวนคะแนนการทําแบบทดสอบหลังเรียนเฉลี่ย คิดเปน รอย ละ 80.92 แสดงว า การเรี ย นด ว ยเว็ บ ช ว ยสอน วิ ช า การ ออกแบบและการสรางเว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือ ดวยการใชเว็บบล็อก ที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีประสิทธิภาพ เทากับ 84.96 / 80.92 4.2) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยเว็บชวย สอน วิ ช า การออกแบบและการสร า งเว็ บ เพจ ร ว มกั บ การ เรียนรูแบบรวมมือดวยการใชเว็บบล็อก

รูปที่ 3 : ขั้นตอนการเรียนดวยเว็บชวยสอนเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสรางเว็บเพจ รวมกับ การเรียนรูแบบรวมมือดวยการใชเว็บบล็อก

จากการเปรียบเทียบระหวางคะแนนแบบทดสอบกอนเรียน และคะแนนแบบทดสอบหลั ง เรี ย นของผู เ รี ย น โดยการ ทดสอบดวยคา t-test แบบ Dependent Sample Group ผล ปรากฏวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

3.5) สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล • • • • • • • •

วิเคราะหหาคาเฉลี่ย ( X ) วิเคราะหหาคาเบี่ยงเบนมามาตรฐาน (S.D.) วิเคราะหหาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) คาความยากงาย (p) คาอํานาจจําแนก (r) คาความเชื่อมั่น KR-20 (ของคูเดอร ริชารดสัน) คํานวณหาประสิทธิภาพ E1/E2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนดวยสถิติคาที (t-test)

4.3) ผลการประเมินหาความพึงพอใจของผูเรียนที่เรียนดวย เว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสรางเว็บเพจ รวมกับ การเรียนรูแบบรวมมือดวยการใชเว็บบล็อก ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง ผู เ รี ย น ที่ ไ ด จ า ก แบบสอบถาม วัดความพึงพอใจของผูเรียนโดยใหผูเรียน ทํา แบบสอบถามจํ า นวน 50 คน ซึ่ ง แบบสอบถามเน น คุณลักษณะเฉพาะของบทเรียน 4 ดาน ไดแก ดานคําแนะนํา ในการใชบทเรียน ดานเนื้อหาบทเรียน ดานการออกแบบการ สอน และด านการเก็ บ บั นทึ กขอ มูล และการจั ดการ ผลการ ประเมินความพึงพอใจของผูเรียนอยูในระดับมาก( x = 3.94 )

4) ผลการดําเนินงาน 4.1) ผลการหาประสิ ท ธิ ภ าพของเว็ บ ช ว ยสอน วิ ช า การ ออกแบบและการสรางเว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือ ดวยการใชเว็บบล็อก

147


5) สรุปผล

6) อภิปรายผลการวิจัย

หลังจากไดดําเนินการวิจัยเพื่อการสรางและหาประสิทธิภาพ ของการเรียนดวยเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสราง เว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือดวย การใชเว็บบล็อก ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 จนเสร็จสิ้น ผูวิจัยไดนําขอมูลมา สรุปผลการวิจัยไดดังนี้

ผลจากการทําวิจัย เรื่อง การเรียนดวยเว็บชวยสอน วิชา การ ออกแบบและการสรางเว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือ ดวยการใชเว็บบล็อก ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนปาก เกร็ด สามารถนํามาอภิปรายผลการวิจัยไดดังตอไปนี้ 6.1) ดานประสิทธิภาพของการเรียนดวยเว็บชวยสอน

5.1) ประสิทธิภาพของการเรียนดวยเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสรางเว็บเพจ รวมกับการเรียนรู แบบ รวมมือดวยการใชเว็บบล็อก โดยคิดจากคะแนนเฉลี่ยของกลุม ตัวอยางผูใชบทเรียน ไดคะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบระหวาง เรียนและแบบทดสอบหลังเรียน 84.96/80.92 สูงกวาเกณฑ 80/80 ที่กําหนดไว

วิชา การออกแบบและการสรางเว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบ รวมมือดวยการใชเว็บบล็อกที่พัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพสูง กวาเกณฑที่กําหนดไว เมื่อคิดคะแนนเฉลี่ยรอยละของการทํา แบบทดสอบระหวางเรียนแตละบท กับแบบทดสอบหลังเรียน ที่ผูเรียนทําได มีคา 84.96 / 80.92 สูงกวาเกณฑ 80 / 80 ที่ตั้ง ไว ซึ่งผลการวิจัยสอดคลองกับงานวิจัยของ งานวิจัยของ มนต ชัย (2539) เรื่อ ง การพั ฒ นาบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช วยสอน ระบบมัลติมีเดีย สําหรับฝกอบรมครูอาจารยและนักฝกอบรม เรื่ อ ง การสร า งบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน ปรากฏว า บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้น จํานวน 2 สวน มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ 88.23/85.64 ซึ่ ง ค า สู ง กว า เกณฑ 85/85 ที่ กําหนดไว [1]

5.2) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แสดงใหเห็นวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนหลังเรียนสูง กวากอนเรียนดวยเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสราง เว็บ เพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือ ดวยการใชเว็บบล็อ ก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5.3) ผลการประเมินหาความพึงพอใจของผูเรียนที่เรียนดวย เว็บชวยสอน

6.2) ดานการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน ที่เรียนดวยเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสรางเว็บ เพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือดวยการใช เว็บบล็อก สูงกวากอนเรียนที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 ซึ่งผลการวิจัย สอดคล อ งกั บ งานวิ จัย ของ ป ย วรรณ (2550) ว า ผลการ เปรียบเทีย บผลสัม ฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนที่เรียนดวย บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนวิ ช าการจั ด การฐานข อ มู ล สําหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ชวงชั้นที่ 4 เรื่อง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับขอมูลและฐานขอมูล สูงกวากอนเรียน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 [4]

วิชา การออกแบบและการสรางเว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบ รวมมือดวยการใชเว็บบล็อก อยูในเกณฑเฉลี่ย 3.94 แสดงวา ผลการประเมินหาความพึงพอใจ ของผูเรียน อยูในระดับมาก จากผลการวิจัย สามารถสรุปไดวา การเรียนดวยเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสรางเว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบ รวมมือ ดวยการใชเว็บบล็อกที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตาม เกณฑและมีความเหมาะสมของบทเรียน อยูในระดับดี ดังนั้น จึงสามารถนํา การเรียนดวยเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบ และการสรางเว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบรวมมือดวยการใช เว็บบล็อกไปใชในการเรียนการสอนได

148


7.1.4 ควรเพิ่ ม วิ ดี โ อบรรยายในเนื้ อ หาแต ล ะบท ควบคู กั บ ขอความใหมากขึ้นเพื่อเปนทางเลือกในการศึกษาและบททวน บทเรียน

6.3) ดานการนําเทคโนโลยีเว็บบล็อกมาใชกับการเรียนการสอน ดวยเว็บชวยสอน วิชา การออกแบบและการสรางเว็บเพจ รวมกับการเรียนรูแบบ ร วมมือ ด วยการใชเว็บ บล็ อ ก ที่พั ฒนาขึ้นผลการประเมินหา ความพึงพอใจของผูเรียนอยูในเกณฑเฉลี่ย 3.94 แสดงวาผล การประเมินหาความพึงพอใจของผูเรียนอยูในระดับมาก และ ความเห็ น มี แ นวโน ม ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น สามารถนํ า เว็ บ บล็อกมาใชรวมกับเว็บชวยสอน ซึ่งเปนเครื่องมือที่ชวยในการ จัดการเรียนการสอน ขอแตกตางของเว็บชวยสอนแบบเดิมกับ การนําเว็บบล็อกมาใชรวมกับเว็บชวยสอน คือ เปดโอกาสให ทั้งผูสอนและผูเรียนมีสิทธิ์ที่จะเผยแพรขอมูลและความรูตาง ๆ รวมทั้งขอคําถามที่ตองการ ทําใหเกิดความนาสนใจสามารถ ดึงดูดผูเรียนการทํากิจกรรมการเรียนการสอนรวมกันทั้งภายใน และนอกชั้ นเรีย น เปนการเพิ่ม ประสิท ธิ ภาพของการจัดการ เรียนการสอน ทําใหผูเรียนสนใจที่จะเขามาใชงานระบบมาก ขึ้นกลาแสดงออกและแสดงความคิดเห็นของตนเอง เนื่องจาก ผูเรียนก็มีสวนรวมในการนําเสนอเนื้อหาเชนเดียวกับผูสอน ทํา ใหเกิดการเรียนแบบแบงปนความรูใหแกกันและกัน กอใหเกิด สังคมออนไลนทางดานการศึกษา [5] ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัย ของ ปรัชญานันท (2550) วา เจตคติและความพึงพอใจในการ จัด การความรู ด วยมั ลติ เ ว็บ บล็อ กของอาจารย แ ละเจ า หน า ที่ พบวาอยูในระดับมาก [6]

7.2) ขอเสนอแนะการวิจัยครั้งตอไป เนื่องจากกลุมตัวอยางเปนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ควรหากิจกรรมที่เปนที่สนใจในระดับชวงวัยและทันตามยุค สมัยปรับใชกับการเรียนการสอนมากขึ้น ดังตัวอยางที่ผูวิจัยได นํากิจกรรมเว็บบล็อกมาใชในการทดลอง แตผลการวิจัยพบวา ผู เ รี ย น ที่ เ ข า ร ว มกิ จ กรรมเว็ บ บล็ อ กจะทํ า กิ จ กรรม นอกเหนือจากที่ผูสอนกําหนด จึงควรหาวิธีที่จะดึงผูเรียนกลับ เขาสูการรวมกิจกรรมใหตรงกับเนื้อหาของกิจกรรมมากที่สุด โดยใชวิธีการดังนี้ 7.2.1 ผูสอนเขาไปรวมกิจกรรมในแตละกลุมมากขึ้น 7.2.2 แสดงคะแนนใหผูเรียนทราบเปนระยะๆ ในทุกกิจกรรม 7.2.3 จั ด หารางวั ล ในแต ล ะกิ จ กรรมย อ ยเพื่ อ กระตุ น ความ สนใจในการทํากิจกรรมกลุมเปนการเพิ่มประสิทธิภาพ ดาน การเรียนการสอน

เอกสารอางอิง 7) ขอเสนอแนะ [1] มนตชัย เทียนทอง. (2539).การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอนระบบมัลติมีเดียสําหรับฝกอบรม ครู-อาจารยและนักฝกอบรม เรื่องการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรสอน.วิทยานิพนธ.ครุศาสตร อุตสาหกรรมดุษฎี บัณฑิ ต สาขาวิชาวิ จัยและพัฒนาหลั กสูตร ภาควิชาบริหารเทคนิคศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ. [2] สุภณิดา ปุสุรินทรคํา. (2549).การพัฒนารูปแบบการแบงปนความรู ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารดวยวิธีการเรียนแบบ รวมมือเพื่อพัฒนาความเปนชุมชนนักปฏิบัติของครู ในโรงเรียนที่ เข า ร ว มในโครงการหนึ่ ง อํ า เภอหนึ่ ง โรงเรี ย นในฝ น ของ กรุ ง เทพมหานคร.วิ ท ยานิ พ นธ ค รุศาสตรดุ ษฎี บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. [3] วิกิพีเดีย. (2553)บล็อก.[ออนไลน].ไดจาก :http://th.wikipedia.org

7.1) ขอเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ 7.1.1 การออกแบบกิจกรรม การวัด และประเมินผลใหมี รูปแบบที่หลากหลายทั้งแบบปรนัย และอัตนัย เพื่อใหผูเรียนไม รูสึกเหมือนการถูกบังคับใหทําแบบทดสอบ 7.1.2 ลําดับการเขาเรียนและรวมกิจกรรม ใหงายขึ้นโดยเขาสู ระบบครั้งเดียวใหครบตามลําดับขั้นตอนการเรียนการสอน 7.1.3 การออกแบบหน าเนื้ อหาบทเรี ยน ให มี ภาพเป น ภาพเคลื่อนไหว เพื่อใหผูเรียนเกิดความสนใจมากขึ้น

149


[4] ปยวรรณ อินทานนท. (2550).การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน วิชาการจัดการฐานขอมูล สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย ชวงชั้นที่ 4. วิทยานิพนธครุศาสตรอุตสาหกรรมดุษฎี บัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ. [5] ธนาธร ทะนานทอง. (2551).การพัฒนาระบบการจัดการเรียน การสอนโดยใชเทคโนโลยีเว็บบล็อก.วิทยานิพนธวศิ วกรรมศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี. [6] ปรัชญนันท นิลสุข และ ตวงรัตน ศรีวงษคล. (2550).การพัฒนา มัลติเว็บบล็อกเพื่อการจัดการความรูสําหรับสถาบันอุดมศึกษาไทย. งานวิจัยทุนสนับสนุนการวิจัยประเภทนักวิจัยทั่วไป มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ.

150


การพัฒนาและหาประสิทธิภาพเว็บชวยสอนวิชา การเขียนโปรแกรมดวยภาษาปาสคาล โดยใชทฤษฎีการคิดแกปญหาผานเครือขายอินเทอรเน็ต Web based Instruction on Pascal Programming by Using Problem Solving Thinking Theory ศิริพร พวงพิศ 1, จิระพันธุ ศรีสมพันธุ2 1

2

โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย

(Benpook55@hotmail.com)

ภาควิชา ครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (jpp@hotmail.com)

ABSTRACT The purpose of this research were to develop improve the efficiency to compare the achievement before and after taking of Web-Based Instruction on Pascal programming by using problem solving thinking theory. The instrument used in the study include pretest,quizzes,Solving exercises,and a questionnaire asking about the students’ satisfaction The sample group in this study as students in Class 3 Semester 1/2009 at Rittiyawannalai School. These students were randomly started from studying the curriculum and course information, determining population and sample, designing the study plan, as well as preparing the research instruments Problem-solving exercises. WBI created on 3 units after learning exercise and posttest questionnaire and content of technical experts and a questionnaire the student’ scores in the course were statistically analyzed to find the efficiency of the Web-Based Instruction. The results showed a quite high efficiency value of 82.79/80.38, which is higher than the assumptions on 80/80. The research also found that the posttest score of the students are significantly higher than their pretest scores. Considering the students’ satisfaction, the mean level of the satisfaction is .05 level of specialists' According to these findings, Programming with Pascal by using theory to problems solving thinking through the Internet over the Internet can be generated to the target properly. Keywords: Web Based Instruction, Pascal Programming, Problem Solving Thinking Theory

บทคัดยอ

ผูเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาการเขียน โปรแกรมดวยภาษาปาสคาลโดยใชทฤษฎีการคิดแกปญหา ผานเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่งผูวิจัยไดทําการทดลองกับ กลุมตัวอยางจริง โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย จํานวน50 คน ดวยวิธีการสุมอยางงาย ผลการวิจัยพบวา ประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอนวิชาการเขียนโปรแกรมดวยภาษาปาสคาลผาคเรือขาย อินเทอรเน็ตที่ผูวิจัยสรางขึ้น มีประสิทธิภาพ 82.79/80.38 สูงกวาเกณฑ 80/80 ที่ตั้งไว นักเรียนที่เรียนดวยบทเรียน คอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนที่ ผู วิ จั ย สร า งขึ้ น มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดั บ .05 และผู เ รี ย นมี ค วามพึ ง พอใจในบทเรี ย น คอมพิวเตอรชวยสอนวิชาการเขียนโปรแกรมดวยภาษา ปาสคาลโดยใช ท ฤษฎี ก ารคิ ด แก ป ญ หาผ า นเครื อ ข า ย อินเทอรเน็ต ที่ผูวิจัยสรางขึ้น อยูในระดับมาก คําสําคัญ : ทฤษฎีการคิดแกปญหา, การเขียนโปรแกรม ดว ยภาษาปาสคาล, บทเรีย นคอมพิ วเตอรชว ยสอนผา น เครือขายอินเทอรเน็ต

1) บทนํา

การวิจัย ครั้งนี้เปนการวิจัยเชิ งทดลอง โดยมีวัตถุประสงค เพื่อ สรา งและหาประสิท ธิ ภ าพของบทเรีย นคอมพิวเตอร ชว ยสอน วิชาการเขียนโปรแกรมดวยภาษาปาสคาลโดยใชทฤษฎีการคิด แกปญหาผานเครือขายอินเทอรเน็ต และศึกษาความพึงพอใจของ

151

กระบวนการเปนกระบวนการเรียนรูที่เนนใหผูเรียนไดเรียน “วิธีการเรียนรู”อยางเปนขั้นตอนหรือเปนกระบวนการโดย ใหผูเรียนเปนผูคิด ผูลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนไดและรับรู ขั้นตอนทั้งหมด จนสามารถนําไปใชไดอยางอัตโนมัติและ


นําไปใชไดจริงในสถานการณตางๆ วัตถุประสงคเพื่อฝกใหผูเรียน ไดเรียนรู “วิธีการเรียนรู” อยางเปนขั้นตอนและเปนกระบวนการ โดยลงมือปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนตาง ๆ และใหผูเรียนสามารถ นํ า วิ ธี ก ารหรื อ กระบวนการที่ ไ ด เ รี ย นรู ไปใช ไ ด จ ริ ง ใน ชีวิตประจําวัน การคิดแกปญหา เปนการจัดการเรียนการสอนที่จะตองพิจารณา หาเทคนิคที่นํามาใชในการแกปญหาเพื่อใหบรรลุเปาหมายตามที่ ตองการ การหาวิธีการตางๆ เพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้น โดยมีการ วางแผนและดํ าเนิ น การแก ป ญ หา ซึ่ ง เป น การคิ ด อย า งมี ร ะบบ ผูเรียนสามารถเรียบเรียงลําดับขั้นตอนการเขียนโปรแกรมได ผู วิ จั ย เล็ ง เห็ น ความสํ า คั ญ ดั ง กล า วจึ ง มี แ นวความคิ ด ที่ จ ะสร า ง บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาการเขียนโปรแกรมดวยภาษา ปาสคาลโดยใชทฤษฎีการคิดแกปญหาผานเครือขายอินเทอรเน็ต เพื่ อ นํ า เสนอเนื้ อ หาบทเรี ย นให มี ค วามน า สนใจและเน น ให นั ก เรี ย นรู จั ก การคิ ด แก ป ญ หารวมทั้ ง สามารถปฏิ สั ม พั น ธ กั บ ผูเรียนไดเปนอยางดี

2) ทฤษฎีที่เกี่ยวของ

แบบฝ ก หั ด หรื อ แบบทดสอบหลั ง บทเรี ย นได บ รรลุ วัตถุประสงคในระดับเกณฑขั้นต่ําที่กําหนดไว 2.3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นเป น ตั ว ที่ แ สดงถึ ง การประสบ ผลสําเร็จทางการศึกษา นั่นคือเกิดการเรียนรูเปนไปตาม วั ต ถุ ป ระสงค ที่ ผู ส อนต อ งการ ผู วิ จั ย ให ค วามสํ า คั ญ กั บ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเนื่องจากการจัดการเรียนการสอน ทุ ก รู ป แบบล ว นมี จุ ด มุ ง หมาย คื อ พั ฒ นาการเรี ย นรู ข อง ผูเรียนใหเปนไปตามวัตถุประสงคที่ตองการ การวิจัยครั้งนี้ เปนการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาการเขียน โปรแกรมดวยภาษาปาสคาลโดยใชทฤษฎีการคิดแกปญหา ผา นระบบเครือ ขายอิน เทอรเน็ต ซึ่งใชส ถานการณแ ละ ภารกิจ ในแบบฝกหัด มีการประเมินผลสั ม ฤทธิ์ท างการ เรียนโดยใชแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ในแบบที่ผูสอนเปน ผูสรางขึ้นเอง เพื่อใชวัดตามวัตถุประสงคการเรียนรู และ วั ต ถุ ป ระสงค เ ชิ ง พฤติ ก รรมที่ ไ ด กํ า หนดไว เนื่ อ งจาก ตองการนําไปเปรียบเทียบระดับความรูในดานเนื้อหาที่ได ศึกษาของผูเรียนแตละคน

2.1) ทฤษฎีการคิดแกปญหา (Problem Solving Thinking) เปนการนําเอาประสบการณเดิมมาใชในการแกปญหาที่ประสบ ใหม โดยมีแบบแผนพฤติกรรมมีวิธีการและขั้นตอนในการศึกษา ปญหาตางๆ ใหบรรลุจุดมุงหมายที่ตองการดวยกระบวนการคิดที่ ตองใชสติปญญาในการแกปญหา ขั้นตอนการคิดแกปญหาแบง ออกเปน 4 ขั้นตอน คือ 2.1.1 ทําความเขาใจปญหา 2.1.2 วางแผนแกปญหา 2.1.3 ดําเนินการตามแผน 2.1.4 ตรวจสอบผลเฉลยที่ได 2.2) ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน ( Efficiency) หมายถึง ความสามารถของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในการสราง ผลสัมฤทธิ์ใหผูเรียนมีความสามารถทําแบบทดสอบระหวางบทเรียน

152

2.4)

Learning Management System

เป น ระบบที่ ใ ช บ ริ ห ารจั ด การการเรี ย นรู ที่ อํ า นวยความ สะดวกในการจัดกลุมเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู การ สื่อสารโตตอบระหวางผูสอน (Instructor/Teacher) กับ ผูเรีย น (Student) รวมทั้งการสรางแบบทดสอบ การ ทดสอบและการประเมินผลบนเครือขายอินเทอรเน็ต

3) วิธีดําเนินการวิจัย 3.1) ศึกษาขอมูลและหลักสูตรรายวิชา ศึกษาหลักสูตรคอมพิวเตอรรายวิชาการเขียนโปรแกรมดวย ภาษาปาสคาล รหัสวิชา ง33201 ซึ่งมีคําอธิบายรายวิชา ดังนี้ ศึกษาลักษณะของภาษาคอมพิวเตอร ความรูเบื้องตน ความ เปนมาของภาษาปาสคาล สวนประกอบและโครงสรางของ ปาสคาล การใชงานและคําสั่งที่จําเปนในการเขียนโปรแกรม


ขอมูลในภาษาปาสคาลและนิพนธ การแสดงผลและการรับขอมูล คําสั่งเลือกทํา คําสั่งในการวนรอบการทํางานหรืออการทํางานซ้ํา Procedure และ Function มาตรฐาน จากคําอธิบายรายวิชาสามารถ สรุปเปนขอบเขตเนื้อหาบทเรียนที่จะทดลองไดดังนี้ บทที่ 1 หลักการคํานวณ บทที่ 2 กระบวนการแกปญหา บทที่ 3 การพัฒนาโปรแกรม บทที่ 4 โครงสรางภาษาปาสคาล บทที่ 5 โปรแกรมภาษาปาสคาล บทที่ 6 คําสั่งรับและแสดงผล บทที่ 7 การทํางานแบบเลือกทํา บทที่ 8 การทํางานแบบทําซ้ํา 3.2) แบบแผนการทดลอง

จับฉลาก (Sample Random Sampling) ได 1 หองเรียน มี จํานวน 50 คน 3.3) สังเคราะหรูปแบบการเรียนการสอนโดยใชทฤษฎีการคิด แกปญหา ผูวิจัยไดศึกษากระบวนการคิดแกปญหาของโพลยา (Polya ,1957 : 5 - 6 )โดยมีกระบวนการ ดังนี้ 1. ขั้นทําความเขาใจกับปญหา 2. การหาขอมูลหรือศึกษา จากแหลงขอมูล 3. การดําเนินการแกปญหา 4. การ ประเมินผล

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) ผูวิจัยไดกําหนดแบบแผนการทดลองเปนแบบกลุมเดียวสอบกอน – สอบหลัง (One – Group Pretest – Posttest Design) เพื่อเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกอนเรียน และหลังเรียนบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง การเขียนโปรแกรมดวยภาษาปาสคาล โดยใชทฤษฎีการแกปญหา ผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่งมี ลักษณะการทดลองครั้งนี้ ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 : แบบแผนการทดลอง 3.3) การกําหนดประชากรและเลือกกลุมตัวอยาง ประชากรที่ใชในการอางอิงผลการวิจัยครั้งนี้ เปนนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2 ที่เรียนวิชาการเขียนโปรแกรมดวยภาษาปาสคาล กลุมตัวอยางที่ใช ในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียน ฤทธิยะวรรณาลัย ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาการเขียนโปรแกรม ดวยภาษาปาสคาล ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2552 ไดมาโดย วิธีการสุมเลือกหอง ซึ่งมีทั้งหมด 15 หอง โดยแบงเปน หองเกง 4 หองและหองปานกลาง 11 หอง ซึ่งผูวิจัยทําการสุมแบบเจาะจงโดย เลือกหองปานกลาง หลังจากนั้นผูวิจัยใชวิธีสุมอยางงายดวยวิธีการ

153

ภาพที่ 2 กระบวนการคิดแกปญหา ทางดานซายมือเปนกระบวนการคิดแกปญหาของโพล ยา ( Polya , 1957 : 5 - 6 )ซึ่งมี 4 ขั้นตอนและ ทางดานขวามือเปนเครื่องมือที่ผูวิจัยไดส รางขึ้นมาซึ่งมี รายละเอียดดังตอไปนี้ 3.3.1 โจทยปญหาที่เนนกระบวนการคิดแกปญหา 3.3.1.1 ศึกษารวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับรายวิชาการ เขี ย นโปรแกรมด ว ยภาษาปาสคาลจากหลัก สูต รเพื ่ อ เขียนวัตถุประสงคเชิงพฤติก รรม 3.3.1.2 นํ า วั ต ถุ ป ระสงค ที่ ผ า นการประเมิ น ค า ความ สอดคล อ งจากผู เ ชี่ ย วชาญแล ว มาสร า งโจทย ป ญ หาให สอดคลองกับวัตถุประสงค ซึ่งได 9 วัตถุประสงคและได โจทยปญหาทั้งหมด 11 ขอ 3.3.2 ขั้นตอนการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบน อินเทอรเน็ต ผูวิจัยไดนําเนื้อหามาสรางความสัมพันธของเนื้อหาโดย ใชวิธีแบบแผนภูมิปะการัง (Coral – Pattern Method) แล ว ได ทํ า แบบสอบถามอาจารย ที่ ส อนวิ ช าการเขี ย น โปรแกรมด ว ยภาษาปาสคาลในระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษา


ตอนตนในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2 จํานวน 39 แหง โดยมีเพียง 4 แหง ที่สอนวิชาการเขียนโปรแกรม ดวยภาษาปาสคาล ไดขอสรุปออกมาวาเห็นสมควรใหเลือกบทที่ 4 โครงสรางภาษาปาสคาล บทที่ 7 การทํางานแบบเลือกทํา และ บทที่ 8 การทํางานแบบทําซ้ํา เพื่อนํามาสรางบทเรียนคอมพิวเตอร ช ว ยสอนและนํ าเนื้ อ หาไปขอคํา ปรึ ก ษาและขอคํ า แนะนํ า จาก ผู เ ชี่ ย วชาญด า นเนื้ อ หา นํ า ข อ เสนอแนะนํ า ของผู เ ชี่ ย วชาญมา ปรับปรุงแกไขใหเหมาะสม 3.3.2.1 สรางแบบทดสอบตามวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม ดังนี้ ก) สรางแบบทดสอบใหครอบคลุมวัตถุประสงค แบบ ปรนัย 4 ตัวเลือก โดยมีคําตอบที่ถูกเพียงขอเดียว ข) นําแบบทดสอบที่สรางเสนอผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาเพื่อ ตรวจสอบและพิจารณาดวยการหาคา IOC ผูเชี่ยวชาญไดทําการ ประเมินแลว ในกรณีที่แบบทดสอบมีความไมเหมาะสมผูวิจัยได ทําการปรับปรุง แลวนํากลับไปใหผูเชี่ยวชาญประเมินจนเปนที่นา พอใจหรือนําไปใชได ค) นําแบบทดสอบที่ผานการประเมินจากผูเชี่ยวชาญแลว ไปทดลองใชกับกลุมทดลองที่ผานการเรียนวิชาการเขียนโปรแกรม ภาษาดวยภาษาปาสคาล จํานวน 30 คน จากนั้นนําผลมาวิเคราะหหา คุณภาพ ง) การหาค าความยากง ายและค าอํ านาจจํ าแนก คั ดเลื อก แบบทดสอบที่มีคาระดับความยากงายอยูระหวาง 0.20 – 0.80 และคา อํานาจจําแนกตั้งแต 0.20 ขึ้นไป ตามเกณฑมาใช จากนั้นนําผลที่ ไดมาเรียงลําดับจากคะแนนสูงไปคะแนนต่ํา แลวทําการแบงกลุมผูที่ มีคะแนนสูงและคะแนนต่ําโดยใชเกณฑ 33% ไดผูมีคะแนนสูง 9 คน เรียกวากลุมคะแนนสูง (RH) และผูมีคะแนนต่ํา 9 คน เรียกวากลุม คะแนนต่ํา (RL) ทําใหไดแบบทดสอบที่ผานเกณฑ 54 ขอ

ภาพที่ 3 คาความยากงาย คาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบ จ) การหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) ดวยสูตร คูเดอร – ริ ชารดสัน KR 20 โดยคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบที่ดีควรมีคา มากกว า 0.75 ขึ้ นไป ซึ่ งผลการวิ เคราะห ค าความเชื่ อมั่ นของ แบบทดสอบทั้งฉบับมีคาเทากับ 0.85 แสดงวาแบบทดสอบนี้มีคา ความเชื่ อมั่ นในระดั บที่ เหมาะสม ดั งนั้ นจึ งสามารถนํ าไปใช ใน แบบทดสอบกอนเรียน แบบทดสอบทายบทเรียนและแบบทดสอบ หลังเรียนไดตอไป

154

ฉ) นําแบบทดสอบที่หาคุณภาพดังกลาว มาคัดเลือก เพื่อทําการสรางเปนแบบทดสอบกอนเรียน แบบทดสอบทาย บทเรี ยน และแบบทดสอบหลั งเรี ยน ในแต ละหน วยของ บทเรียน 3.4) การสรางเครื่องมือที่ใชประเมินบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน เครื่องมือที่ใชในในการประเมินบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน เรื่องการเขียนโปรแกรมดวยภาษาปาสคาล โดย ใชทฤษฎีการคิดแกปญหา ผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต โดยมีรายละเอียดดังนี้ 3.4.1 แบบทดสอบวัด ผลสั ม ฤทธิ์ท างการเรี ย น แบ ง อ อ ก เ ป น แ บ บ ท ด ส อ บ ก อ น เ รี ย น ( Pretest) แ ล ะ แบบทดสอบหลั ง เรี ย น (Posttest) ซึ่ ง เป น ข อ สอบชุ ด เดียวกัน ผูวิจัยทําการสุมขอสอบมาจากคลังขอสอบที่ผาน การประเมินเรียบรอยแลว โดยเลือกมาวัตถุประสงคเชิง พฤติกรรมละ1 ขอ 3.4.2 แบบทดสอบวัดประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 มี ดังนี้ 3.4.2.1 แบบทดสอบเมื่อเรียนจบในแตละบทเรียนเปน แบบปรนัย 4 ตัวเลือก ที่มีคําตอบที่ถูกเพียงขอเดียว และ คะแนนจากการตรวจแบบฝกหัดการคิดแกปญหาในแตละ บทเรียน สําหรับหาประสิทธิภาพตามเกณฑ 80 ตัวแรก 3.4.2.2 แบบทดสอบรวมหลังเรียนครบทุกหนวยการเรียน เปนทดสอบที่ใชหาประสิทธิภาพตามเกณฑ 80 ตัวหลัง ซึ่ง เปนแบบทดสอบเดียวกับแบบทดสอบกอนเรียน (Pretest) 3.4.3 แบบประเมินดานคุณภาพของการเรียนดวยบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน วิชาการเขียนโปรแกรมดวยภาษา ปาสคาล โดยใช ท ฤษฎี ก ารคิ ด แก ป ญ หา ผ า นระบบ เครือขายอินเทอรเน็ต โดยผูเชี่ยวชาญจํานวน 2 ฉบับ คือ แบบประเมิ น คุ ณ ภาพด า นเนื้ อ หา และแบบประเมิ น คุณภาพดานเทคนิค 3.4.4 แบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียน จากการ เรี ย นด ว ยบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน วิ ช าการเขี ย น โปรแกรมด ว ยภาษาปาสคาล โดยใช ท ฤษฎี ก ารคิ ด แก ป ญ หา ผ า นระบบเครื อ ข ายอิ น เทอร เ น็ต ซึ่ ง ผู วิ จั ย ได


อางอิงจากงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน บนเครือขายอินเทอรเน็ตโดยใชเทคนิค STAD วิชาการเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงของนางสาว วลัยพร ดวงดี: 2551 3.6) การดําเนินการทดลองและเก็บขอมูล นําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่อ งการเขียนโปรแกรม ดวยภาษาปาสคาล โดยใชทฤษฎีการแกปญหาที่สรางขึ้นไปทํา การติดตั้งที่เว็บเซิรฟเวอร (http://rittiya.ac.th)ของโรงเรียนฤทธิ ยะวรรณาลัย จังหวัดกรุงเทพมหานคร ผูวิจัยจัดฝกอบรมการใช บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้นใหแกกลุมตัวอยางทราบ โดยการศึ ก ษาบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนเรื่ อ งการเขี ย น โปรแกรมดวยภาษาปาสคาล โดยใชท ฤษฎีการคิดแกปญหา ที่ สรางขึ้น กําหนดทําการทดลองวันจันทร – วันศุกร ตั้งแต วันที่ 26 – 30 มกราคม 2553, 1 – 5 และ 8 – 12 กุมภาพันธ 2553 โดยใช เวลา 09.00 –17.00 น.

. ภาพที่ 4 ขั้นตอนการคิดแกปญหา จากภาพที่ 4 เปนขั้นตอนของการคิดแกปญหา นักเรียนตองดําเนิน ตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 3.6.1 ทําแบบฝกหัดการคิดแกปญหา 3.6.2 เขาสูระบบของบทเรี ยนคอมพิวเตอร ชวยสอนที่ สรางขึ้นเพื่อศึกษาเนื้อหาและทําแบบฝกหัดการคิดแกปญหา 3.6.3 ดําเนินการแกคิดแกปญหา โดยใชระบบสนับสนุน การเรียนการสอนหรือกระดานขาวในการปรึกษาหารือกับเพื่อนๆ ในชั้นเรียน

155

3.6.4 นักเรียนทําแบบฝกการคิดแกปญหาเสร็จแต ละหน ว ยแล ว ส ง ผู ส อนเพื่ อ ทํ า การตรวจจากเกณฑ ที่ ไ ด กําหนดไวและสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน 3.7) สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล หาคาเฉลี่ย ( X ), หาคาเบี่ยงเบนมามาตรฐาน (S.D.), หาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC), คาความยากงาย (p) ,คาอํานาจจําแนก (r) คาความเชื่อมั่น KR-20 (ของคูเดอร ริชารดสัน), หาประสิทธิภาพ E1/E2, การหาคาความแตกตางของคะแนนเฉลี่ยกอนเรีย น และหลังเรียน(t-test)

4) ผลการดําเนินงาน 4.1) การสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาการเขียน โปรแกรมดวยภาษปาสคาลโดยใชทฤษฏีการคิดแกปญหา ผานเครือขายอินเทอรเน็ต จากการใช บ ทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนที่ ส ร า งขึ้ น สามารถวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของผู เ รี ย น ผลการ ทดลองในการทําแบบทดสอบระหวางบทเรียนและแบบ ฝ ก การคิ ด แก ป ญ หา ทั้ ง 3 บทเรี ย น ซึ่ ง กลุ ม ตั ว อย า งทํ า คะแนนคิ ด เป น ร อ ยละ 79.48 ผลการทดลองในการทํ า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาการเขียน โปรแกรมดวยภาษาปาสคาล ซึ่งมีคะแนนเต็ม 21 คะแนน กลุ ม ตั วอย า งทํ า คะแนนได เ ฉลี่ย 16.88 คะแนน ค า ส ว น เ บี่ ย ง เ บ น ม า ต ร ฐ า น (S.D.)1 . 39 ซึ่ ง ค ะ แ น น ข อ ง แบบทดสอบวัดผลสัม ฤทธิ์ทางการเรียน คิดเปนรอยละ 80.38 4.2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนจากการเรียนดวย บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง การเขียนโปรแกรม ด ว ยภาษาปาสคาล โดยใช ท ฤษฎี ก ารแก ป ญ หาผ า น เครือขายอินเทอรเน็ต จากการเปรียบเทียบระหวางคะแนนสอบกอนเรียนและ หลังเรียนดวยบทเรีย นคอมพิวเตอรชวยสอนที่ส รางขึ้น โดยการทดสอบ คาที (t - test) ผลปรากฎดังตารางที่ 1


ตารางที่ 1 : ผลการหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนเรื่อง การเขียนโปรแกรมดวยภาษาปาสคาล โดยใชทฤษฎีการแกปญหาผานเครือขาย อินเทอรเน็ต

เมื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนหลังเรียนและ กอนเรียน ดวยสถิติคาที (t-test) เมื่อพิจารณาคา t คํานวณ (18.72) มากกวา tตาราง (1.677) แสดงใหเห็นวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ผูเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่ อ ง การเขี ยนโปรแกรมด วยภาษาปาสคาล โดยใช ทฤษฎี การ แก ป ญหาผ านเครื อข ายอิ นเทอร เน็ ต อย างมี นั ยสํ าคั ญทางสถิ ติ ที่ ระดับ .05 4.3) ผลการวิเคราะหความพึงพอใจของผูเรียน จากการวิ เ คราะห ค วามพึ ง พอใจของนั ก เรี ย นที่ มี ต อ บทเรี ย น คอมพิวเตอรชวยสอนเรื่อง การเขียนโปรแกรมดวยภาษาปาสคาล โดยใชทฤษฎีการคิดแกปญหาผานเครือขายอินเทอรเน็ตทั้งหมด 50 คน ปรากฎวา ความคิดเห็นของนักเรียนสวนใหญมีความพึง พอใจอยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.90 สวนเบี่ยงเบน มาตรฐานเทากับ 0.03 ซึ่งมีความคิดเห็นไปในทางเดียวกัน

5) สรุปผล การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสรางบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอนตามแนวทฤษฎีการคิดแกปญหาวิชาการเขียนโปรแกรม ดวยภาษาปาสคาล ผูวิจัยดําเนินการสรางบทเรียนและนําทฤษฎี การคิดแกปญหามาใชในการเรียนการสอนรายวิชานี้ ดวยบทเรียน คอมพิ ว เตอร ที่ ส ร า งขึ้ น เพื่ อ หาประสิ ท ธิ ภ าพและเปรี ย บเที ย บ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนกอนและหลังจากเรียนดวย บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้น และหาความพึงพอใจที่ มีตอการใชบทเรียน

156

5.1) สรุปผลการวิจัย 5.1.1 ผลการสํา รวจแบบสอบถามความคิ ด เห็น ของ ผูเชี่ย วชาญด านเทคนิ ค ที่ มี ต อ บทเรีย นคอมพิ วเตอรชว ย สอนที่ ส ร า งขึ้ น พบว า ระดั บ ความคิ ด เห็ น อยู ใ นเกณฑ ดี ( X = 4.22, S.D. = 0.07) และดานเนื้อหา พบวาระดับ ความคิดเห็นอยูในเกณฑดี ( X = 4.18, S.D. = 0.04) 5.1.2 ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรที่สรางขึ้น โดยคิดจากคะแนนเฉลี่ยของกลุมตัวอยางผูใชบทเรียนได คะแนนเฉลี่ ย ของแบบทดสอบระหว า งบทเรี ย นและ แบบทดสอบทายบทเรียน 82.79/80.38 สูงกวาเกณฑ 80/80 ที่กําหนดไว และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการเขีย น โปรแกรมดวยภาษาปาสคาล ของกลุมทดลองกอ นและ หลังเรียน โดยใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้น ใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 5.1.3 ผลการสํารวจจากแบบสอบถามความพึงพอใจของ นั ก เรี ย นต อ บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนที่ ส ร า งขึ้ น พบวาระดับความคิดเห็นอยูในเกณฑดี ( X = 3.90, S.D. = 0.03) 5.2) ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะเพื่อการทําวิจัยครั้งตอไป 5.2.1 ควรพัฒนาบทเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนให สามารถตรวจสอบผลการเขียนโปรแกรมผานเครือขายได แบบออนไลน** 5.2.2 ควรออกแบบบทเรียนใหมีกิจกรรมการเรียนแบบ รวมมือ (Cooperative Learning) เชน การแบงกลุม เพื่อ 5.2.3 อภิปรายและหาคําตอบจากขอคําถามที่ครูกําหนดให ควรศึกษารูปแบบการเรียนการสอนวิธีอื่น เพื่อเปรียบเทียบ กับ วิธีก ารสอนแบบปกติ และเปนแนวทางในการนํามา พั ฒ นาการเรี ย นการสอน ซึ่ ง ทํ า ให ผู เ รี ย นมี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนที่สูงขึ้น จากที่ ก ล า วมาข า งต น บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน สามารถนําไปใชในกลุมสาระการเรียนรูกลุมอื่นๆ ได ผูที่ จะพั ฒ นาบทเรี ย นในลั ก ษณะเช น นี้ จํ า เป น ต อ งมี ค วาม พยายามที่จะสรรคสรางผลงานที่ดีออกมา เพื่อนําผลงานที่


ไดมาใชในการพัฒนาบทเรียนตอไป ซึ่งผูที่จะไดรับประโยชน มากที่สุดก็คือ ผูเรียน

เอกสารอางอิง [1] ทุนมา ชินวงศ “การเปรียบเทียบวิธีสอนระหวาง วิธีสอนโดยใหผูเรียน

เกิดความคิดในการแกปญหากับวิธีการสอนปกติ ในการเรียนวิชา หลักการเขียนโปรแกรม” กรุงเทพฯ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกลาธนบุรี, 2547. 83 หนา. (วพ 167377) [2] ภราดร เสถียรไชยกิจ. “Problem Solving Model”.เทคโนโลยี เทคนิคศึกษา ภาควิชาครุศาสตร เทคโนโลยีคณะครุศาสตร อุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ,2548 [3] มานพ เถี้ยมแกว, “การพัฒนาแบบทดสอบวัดความสามารถในการ คิดแกปญหาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตนตามเกณฑ มาตรฐานโรงเรียน พ.ศ. 2541.” มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2545 [4] มานิช ถาอาย, “ความสามารถในการแกปญหาและความคิดเห็น ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนตนที่มีผลจากการเรียนรูโดยใชปญหา เปนฐาน”, วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตร และการสอน มหาวิทยาลัยเชียงใหม. (สําเนา) 2540. [5] Polya, Georgy, “How to Solve It. 2 nd ed.” New York : Doubleday & Company, Inc.,1957

[6] J. Kempa, “Problem Solving in Chemical” Chinese Academy of Sciences, 2002, pp. 88 – 89[2] กาญจนา อรุณ

157



การพัฒนาระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของผูเรียน A Development of Learning System Using Think-Pair-Share without Students Appearance นางสาวอรทัย แซเอา 1, ดร.จิรพันธุ ศรีสมพันธุ 2 1 โรงเรียนเทคโนโลยีสยาม 2

(nuchout@hotmail.com)

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (jpp@kmutnb.ac.th)

ผลการวิจัยพบวา การพัฒนาระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิด ที่ไมแสดงตัวตนของผูเรียนเปนไปตามขอบเขตที่กําหนดไว และผูเชี่ยวชาญไดประเมินความคิดเห็นอยูในระดับดีทุกดาน ( x = 3.84, S.D. = 0.17 ) ผูสอนมีความพึงพอใจตอการใช งานระบบการเรี ย นแบบเพื่ อ นคู คิ ด ที่ ไ ม แ สดงตั ว ตนของ ผูเรียน อยูในระดับมาก ( x = 3.91, S.D.= 0.25) และผูเรียน มีความพึงพอใจตอการใชงานระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิด ที่ไมแสดงตัวตนของผูเรียน อยูในระดับมาก ( x = 3.84, S.D.= 0.70) คําสําคัญ: ระบบการเรียน, เทคนิคเพื่อนคูค ิด

ABSTRACT The purposes of this research are to develop a Learning System using Think-Pair-Share without student’s appearance and to evaluate the lecturers and students satisfaction after using the developed system. The experiment was taken place during the 2nd semester of academic year 2009 at which the samples were selected from 2nd year vocational student at Siam Institute of Technology. The completed system was evaluated by 5 experts and it was highly approved for use in the experiments. The results from the experiment indicate that the lecturers and student satisfaction is at the high level

( x = 3.84, S.D. = 0.17 ), ( x = 3.91, S.D.= 0.25), ( x = 3.84, S.D.= 0.70). It is concluded that the system can be use

1) บทนํา

effectively in real classroom. Keywords: Learning System, Think-Pair-Share

ธรรมชาติของนักเรียนชอบการเรียนเปนกลุมในลักษณะการ เรียนแบบรวมมือกัน ในการเรียนบนเว็บ ทั้งในลักษณะแบบ เปดเผยหรือไมเปดเผยตัวที่ผูสอนตองใหผลปอนกลับ ซึ่งจะ ชวยใหนักเรียนรับทราบถึงความสามารถของตนเองและปรับ แนวทางการเรียนไดถูกตอง

บทคัดยอ ป ญ หาพิ เ ศษนี้ เ ป น การวิ จั ย เชิ งทดลอง มี วัต ถุ ป ระสงคเ พื่ อ พัฒนาระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของ ผูเรียน เพื่อหาความพึงพอใจของผูสอนและผูเรียนตอการใช งานระบบ กลุมตัวอยางของการวิจัยเปนนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2552 โรงเรียนเทคโนโลยีสยาม ที่ไดจากการเลือกแบบสุมอยางงาย จํานวน 66 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือระบบการเรียน แ บ บ เ พื่ อ น คู คิ ด ที่ ไ ม แ ส ด ง ตั ว ต น ข อ ง ผู เ รี ย น แ ล ะ แบบสอบถาม สถิติที่ใชในการวิเคราะห ขอมูลประกอบดวย คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

จากการสอนของผูวิจัย วิชาการใชโปรแกรมฐานขอมูลพบวา วิชาดังกลาวเปนวิชาที่เนื้อหามีปริมาณมาก มีความรูพื้นฐาน ที่ตางกัน การรับรูของเนื้อหาของผูเรียนแตละคนไมเทากัน ขาดความกระตื อ รื อ รน ที่จ ะแสดงความคิด เห็ น ไม กล าตั้ ง คํ า ถาม ไม ก ล า นํ า เสนอผลงาน ต า งคนต า งเรี ย นไม มี ก าร ชวยเหลือซึ่งกันและกัน จนทําใหบรรยากาศในการเรียนขาด ทั ก ษะในการสื่ อ สารที่ ดี ต อ กั น จึ ง ส ง ผลให ผ ลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนเทคโนโลยีสยาม (ชางกล สยาม, 2551) ที่เรียนวิชาการใชโปรแกรมฐานขอมูลในภาค

159


เรี ย นที่ 2 ป ก ารศึ ก ษา 2551 โดยเฉลี่ ย อยู ใ นเกณฑ ที่ ต่ํ า ดั ง แผนภูมิดังนี้

2.2) เทคนิคเพื่อนคูคิด (Think-Pair-Share) เทคนิคเพื่อนคูคิดเปนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดย ใหนักเรียนไดเรียนจากกลุมเล็กเสียกอน เพื่อใหนักเรียนได เรี ย นรู ด ว ยตนเอง คิ ด หาคํ า ตอบด ว ยตนเองก อ น (Think) หลั งจากนั้ นนํ าคํ า ตอบของตนไปอภิ ป รายกั บ เพื่ อ นอีก คน หนึ่งที่เปนคูของตน (Pair) เมื่อมั่นใจวาคําตอบของตนถูกตอง หรือดีที่สุดแลว จึงนําคําตอบนั้นมาอธิบายรวมกัน (Share) นั ก เรี ย นทุ ก คนได แ สดงความคิ ด เห็ น และมี โ อกาสได แลกเปลี่ ย นประสบการณ ก ารเรี ย นรู กั บ เพื่ อ นนั ก เรี ย นได ชวยเหลือเพื่อนนักเรียนที่เรียนออน นักเรียนที่เรียนออนจะ เขาใจคําอธิบายจากนักเรียนที่เรียนเกงและเปนการฝกความมี ระเบียบวินัยในการเรียน ซึ่งการจัดกิจกรรมใหนักเรียนได เรียนจากกลุมเล็กกอนนั้นมีประโยชนสอดคลองกับแนวคิด ของสลาวิน [2] การจัดการเรียนการสอน ใหผูเรียนไดทํางาน รวมกันเปนกลุมเล็กๆ ที่มีสมาชิกอยางนอยกลุมละ 4 คน ให สมาชิกกลุมมีความสามารถในการเรียนตางกัน สมาชิกใน กลุ ม จะรั บ ผิ ด ชอบและช ว ยเหลื อ เพื่ อ นสมาชิ ก กั น ได ใน ลักษณะการเรียนแบบมีสวนรวม [3]

ภาพที่ 1: แผนภูมิแสดงผลการเรียนวิชาการใชโปรแกรม ฐานขอมูล จากความสําคัญและปญหาดังกลาวขางตน ผูวิจัยจึงสนใจที่ จะพัฒนาระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของ ผูเรียน เพื่อใหกลุมการเรียนมีขนาดเล็กลง อันจะสงผลให ผูเรียนกลาแสดงความคิดเห็น มีทักษะในการสื่อสารที่ดีตอ กั น และส ง ผลให ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช าการใช โปรแกรมฐานขอมูลดีขึ้น

START

2) ทฤษฎีที่เกี่ยวของ 2.1) การเรียนรูรวมกัน (Collaborative Learning) คําวา “Collaborative Learning” ยังไมไดบัญญัติศัพทไวโดย ราชบัณฑิตยสถาน แตมีนักการศึกษาของไทยหลายทานได เรียกวา การเรียนรูรวมกั น และหลายทานก็ไดเรียกวาการ เรียนรูแบบมีสวนรวม ซึ่งสามารถสรุปความหมายไดวา การ เรียนรูแบบรวมมือเปนการจัดการเรียนที่แบงผูเรียนออกเปน กลุมเล็กๆ สมาชิกในกลุมจะมีความสามารถแตกตางกัน มี การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการชวยเหลือสนับสนุนซึ่งกัน และกั น มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบร ว มกั น ทั้ ง ในส ว นตนและ ส ว นรวม เพื่ อ ให ก ลุ ม ได รั บ ความสํ า เร็ จ ตามเป า หมายที่ กําหนด [1]

แบงกลุม

Classroom

มอบหมายงาน

Classroom

ผูเรียนสรุปสาระสําคัญ

Individual Thinking / www

จับคู-แลกเปลี่ยน

Pair

อภิปรายกลุมใหญ

Group

จัดทําผลงาน/สงงาน

www / LMS

STOP

ภาพที่ 2: แผนภาพขั้นตอนกิจกรรมเพื่อนคูคิด (Think-Pair-Share)[4]

160


2.3) การไมแสดงตัวตน

3.2.1 การพัฒนาระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดง ตัวตนของผูเรียน

การไมแสดงตัวตนของผูเรียน หมายถึง การไมแสดงตัวตน ในงานวิ จั ย นี้ หมายถึ ง การไม ร ะบุ ชื่ อ หรื อ เห็ น ข อ มู ล ที่ แทจริงของผูเรียนภายในกลุม

• จากภาพที่ 3-1 แสดงขั้นตอนการพัฒนาระบบการเรียน แบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของผูเรียน เริ่มจากการ ออกแบบระบบ และวิเคราะหขั้นตอนการทํางาน จากนั้นทําการวิเคราะหขอมูลของระบบและผลลัพธที่ ไดจากระบบ แลวนํามาสรางเปนฐานขอมูล เมื่อ วิเ คราะห ไ ดค รบทั้ ง หมดแล ว จึ ง ทํ า การออกแบบและ พั ฒ นาเป น ระบบการเรี ย นแบบเพื่ อ นคู คิ ด ที่ ไ ม แ สดง ตัวตนของผูเรียน ในลักษณะเปนเว็บแอพพลิเคชั่น

3) วิธีดําเนินการวิจัย 3.1) ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร คือ ผูเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.2) สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีสยาม (ชางกล สยาม) ที่เรียนในรายวิชาการใชโปรแกรมฐานขอมูล ภาค เรียนที่ 2 ปการศึกษา 2552 จํานวน 280 คน กลุ ม ตั ว อย า ง คื อ ผู เ รี ย นระดั บ ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ (ปวช.2) สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีสยาม (ชางกลสยาม) ที่เรียนในรายวิชาการใชโปรแกรมฐานขอมูล ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2552 ผูวิจัยไดใชวิธีการเลือกแบบ สุมอยางงาย (Simple Random Sampling) จํานวน 66 คน 3.2) สรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3.3.1 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย • •

ระบบการเรี ย นแบบเพื่ อ นคู คิ ด ที่ ไ ม แ สดงตั ว ตนของ ผูเรียน แบบสอบถามความคิดเห็นผูเชี่ยวชาญที่มีตอการใชงาน ระบบการเรี ย นแบบเพื่ อ นคู คิ ด ที่ ไ ม แ สดงตั ว ตนของ ผูเรียนจํานวน 3 ฉบับ คือ แบบสอบถามความคิดเห็น สําหรับผูเชี่ยวชาญดานเทคนิค แบบสอบถามเพื่อหาความพึงพอใจของผูสอนตอการใช งานระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของ ผูเรียนจํานวน 2 ฉบับ แบบสอบถามเพื่อหาความพึงพอใจของผูเรียนตอการใช งานระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของ ผูเรียนจํานวน 66 ฉบับ

ภาพที่ 3: ขั้นตอนการพัฒนาระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ ไมแสดงตัวตนของผูเรียน โดยขั้ น ตอนนี้ จ ะนํ า โปรแกรมที่ พั ฒ นามาตรวจสอบกั บ อาจารยที่ปรึกษา ผูสอน ผูเรียน พรอมทั้งผูเชี่ยวชาญ ทางดานเทคนิคของระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดง ตัวตนของผูเรียน ที่ผูวิจัยไดพัฒนาขึ้นถึงความเหมาะสมใน การใชงานและความถูกตองในหนาที่การทํางานของระบบ โดยเมื่ อ พั ฒ นาเสร็ จ สิ้ น แล ว จะต อ งจั ด ทํ า คู มื อ การใช ง าน ระบบ และนําไปใชในการประเมินความคิดเห็นที่ผูใชงานมี

161


ระดับ Pentium 4, หนวยความจํา (RAM) อยางนอย ไมนอยกวา 1 กิกะไบท (GB), หนวยความจํา สํารอง (Hard disk) อยางนอย 40 กิกะไบท (GB) เครื่องคอมพิวเตอรที่เปนลูกขาย (Client) มี คุณสมบัติดังตอไปนี้ เครื่องไมโครคอมพิวเตอร ไม นอยกวาเพนเทียมที (Pentium 3), หนวยความจํา (RAM) ไมนอยกวา 256 เมกะไบท (MB), ฮารดดิสก มีความจุไมนอยกวา 20 กิกะไบท (GB) ดานซอฟตแวร (Software) ที่ใชในการพัฒนาเว็บ แอพพลิเคชั่น มีดังนี้ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows XP, โปรแกรมสําหรับการพัฒนาเว็บ ใช ภาษา PHP ในการพัฒนาระบบ, ระบบการจัดการ ฐานขอมูล My SQL, โปรแกรมที่ใชในการพัฒนา ระบบ เชน Macromedia Dreamweaver, โปรแกรม ตกแตงภาพ ไดแก Adobe Photoshop, โปรแกรม เว็บเซิรฟเวอร (Web Server), โปรแกรม Browser ไดแก Internet Explorer • การออกแบบระบบ จากภาพรูปแบบระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ ไม แ สดงตั ว ตนของผู เ รี ย น นั้ น จะมี ก ารแบ ง กลุ ม โดยการจั บ คู โดยระบบจะแบ ง กลุ ม ให ห ลั ง จาก ลงทะเบียนเรียน ซึ่งในแตละกลุมจะมีสมาชิกใน กลุมแบบเกง ปานกลาง และออนคละกัน ซึ่งมีการ ทดสอบก อ นเรี ย นและหลั ง เรี ย น มี ก ารรายงาน คะแนนของแตละบุคคล

ตอระบบซึ่งการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยแบบทดลอง โดยมี ลักษณะการทํางานของระบบบนเครือขายอินเทอรเน็ต • จากภาพที่ 3-2 แสดงวงจรการพัฒนาระบบ (System Development LifeCycle: SDLCรายละเอียดขั้นตอนมี ดังนี้

ภาพที่ 4: วงจรการพัฒนาระบบ (System DevelopmentLife Cycle: SDLC) [5] การสํารวจเบื้องตน ดําเนินการศึกษาขั้นตอนการดําเนินงานและปญหา ของการทํ า งานในส ว นงานพั ฒนาการเรี ย นแบบ เพื่ อ นคูคิดที่ไมแ สดงตัวตน แลวทําการวิเคราะห การจัดการฐานขอมูลมีขั้นตอนอยางไร พิจารณาถึง ปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทํางาน และศึกษา คนควากระบวนการเรียนแบบเพื่อนคูคิด ที่มีการ นํามาใชในปจจุบัน • วิเคราะหระบบ โดยแบงในดานฮารดแวร และซอฟตแวรที่ตองใช ในการพัฒนาระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไม แสดงตัวตนของผูเรียน ดังนี้ ดานฮารดแวร (Hardware) ที่ใชในการพัฒนา มี ดังนี้ เครื่องคอมพิวเตอรแมขาย (Server) มี คุณสมบั ติดั งต อ ไปนี้ เครื่อ งไมโครคอมพิ วเตอร •

ภาพที่ 5: รูปแบบระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ ไมแสดงตัวตน

162


ขั้ น การจั ด กลุ ม ผู เ รี ย น เมื่ อ ผู เ รี ย นได ล งทะเบี ย น เรียบรอยแลว ระบบจะทําการจัดกลุมผูเรียนโดยยึด ตามเกรดเฉลี่ยสะสม 3 ภาคเรียนที่ผานมาที่ผูเรียน ทํ า การกรอกไว ระบบจะทํ า การจั ด กลุ ม ผู เ รี ย น กลุมๆ ละ 2-3 คน โดยมีคนเกง ปานกลางและออน คละกันอยูกลุมเดียวกัน

แผนภาพขอมูลระดับสูงสุด (Context Diagram) ใช แสดงภาพรวมการทํ า งานทุ ก ขั้ น ตอนของระบบ เปนการแสดงใหเห็นวาระบบมีความเกี่ยวของกับ บุคคลหรือระบบอื่นๆ อยางไรซึ่งแสดงดังภาพที่ 8

ภาพที่ 8: แผนภาพกระแสขอมูลระดับสูงสุด ภาพที่ 6: การจัดกลุมผูเรียน

ภาพที่ 9: แผนภาพกระแสขอมูลระดับที่ 1

ภาพที่ 7: ขั้นตอนระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดง ตัวตนของผูเรียน

163


ภาพที่ 10: แผนภาพแสดงความสัมพันธระหวางขอมูล

การนําระบบใหมไปใชและประเมินผล ผูวิจัยไดนําระบบที่พัฒนาขึ้น ติดตั้งลงในเครือขาย อินเทอรเน็ต ไดทําการประเมินระบบโดย 1) ประเมินโดยผูเชี่ยวชาญดานเทคนิค 3 คนที่มี ประสบการณ ความรู ความชํ า นาญเกี่ ย วกั บ การ จั ด ทํ า ระบบงาน และตรวจสอบขั้ น ตอนการ ประมวลผลการทํางานของระบบ 2) ผูสอน 2 คน ที่ เป น อาจารย ผู ที่ เ คยสอนวิ ช า การใช โ ปรแกรม ฐานขอมูล เพื่อประเมินความคิดเห็นของระบบที่ ผูวิจัยไดพัฒนาขึ้น 3) ผูเรียน 66 คน ที่เรียนวิชา การ ใช โ ปรแกรมฐานข อ มู ล ระดั บ ประกาศนี ย บั ต ร วิชาชีพ ปที่ 2

3.3) การเก็บรวบรวมขอมูล

การพัฒนาโปรแกรม ในการพั ฒ นาต น แบบของระบบการเรี ย นแบบ เพื่ อ นคู คิ ด ที่ ไ ม แ สดงตั ว ตนของผู เ รี ย นได พั ฒ นา โดยใชระบบปฏิบัติการไมโครซอฟทวินโดวเอ็กซ พี (Microsoft Windows XP) ในสวนของเว็บ เซิรฟเวอร (Web Server) ใชโปรแกรมที่ใหบริการ เว็บเซิรฟเวอรแอพเซิรฟ (Appserv win32-2.4.5) และใชโปรแกรมภาษาพีเอชพี (PHP) ในการสราง เว็บเพจสวนโปรแกรมจัดการฐานขอมูลใชมายเอส คิวแอล (My SQL) • การทดสอบระบบ ผูวิ จั ย ได แ บ ง ขั้น ตอนการทดลองใชร ะบบ 2 ขั้ น ตอน ได แ ก ก ารทดสอบระบบประกอบด ว ย วิธีการทดสอบ 3 วิธีคือ การทดสอบในขั้นแอลฟา (Alpha Stage) เพื่อทดสอบหาขอบกพรองของระบบโดยมีผูวิจัยเปน ผูทดสอบ การทดสอบในขั้นเบตา (Bata Stage) เพื่อ ทดสอบคุณภาพของระบบโดยทดลองจากผูใชงานนํา ผลการประเมิน มาสรุปเพื่อนําขอมูลมาปรับปรุงแกไข โดยนําระบบไปใหผูเชี่ยวชาญทดลองใชงานระบบ และประเมินความคิดเห็นตามแบบสอบถามที่ผูวิจัยได สรางไว •

ผูวิจัยไดดําเนินการเก็บ รวบรวมข อ มู ลเพื่ อนํามา ศึกษาความคิดเห็นที่มีตอระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไม แสดงตัวตนของผู เรีย น ของกลุม ตั วอยา งที่ ได ใชง าน โดย ดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ จัดเตรียมเอกสารคูมือการใชงานติดตั้งระบบที่ผูวิจัย ไดพัฒนาขึ้นที่ http://www.smtct51-n.com ขั้นแนะนําการใชงาน ผูวิจัยไดไปชี้แจงวัตถุประสงค ของการทําวิจัยในครั้งนี้พรอมแนะนําการใชงานของระบบ ใหกลุมตัวอยางทราบ โดยกําหนดระยะเวลาที่ทําการทดสอบ ระบบขึ้น ในชวงวันที่ 25-27 มีนาคม 2553 ขั้นรวบรวมขอมูล หลังจากผูวิจัยไดติดตั้งและแนะนํา การใชงานกับกลุมตัวอยางตามระยะเวลาที่กําหนด ผูวิจัยจึง นําแบบประเมินที่ไดสรางไว ไปสอบถามจากกลุมตัวอยางที่ ผานการใชงาน และนําผลจากแบบสอบถามที่ได ไปคํานวณ และวิเคราะหขอมูลทางสถิติตอไป 3.4) สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล • คาเฉลี่ย (Mean) เปนการวัดคากลางของขอมูล [6] • คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.) ใชหา ความแปรปรวนของขอมูลที่ใชในการวัด [6]

164


ความคิดเห็นในกลุมแบบจับคู (Pair Discuss) กําหนดให แสดงความคิดเห็นระหวางกลุมทั้งหอง (Share Discuss)

4) ผลการดําเนินงาน 4.1 ผลการพัฒนาระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดง ตัวตนของผูเรียน

5.2) การพัฒนาระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดง ตัวตนของผูเรียน ผลที่ไดจากการพัฒนาระบบการเรียนแบบเพื่อ นคูคิดที่ไม แสดงตัวตนของผูเรียนคือ ไดระบบตามที่ไดออกแบบไว ซึ่ง ผูวิจัยนําระบบไปใหผูเชี่ยวชาญประเมินโดยทดลองใชระบบ ที่พัฒนาขึ้น จากการสอบถามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญตอ การใชงานระบบ ผลการสอบถามผูเชี่ยวชาญเห็นดวยกับ ร ะ บ บ ที่ พั ฒ น า ขึ้ น ใ น ร ะ ดั บ ดี ( x =3.84,S.D.=0.17)

ผลการประเมินการใชงานระบบจากผูเชี่ยวชาญ เห็นดวยกับ ระบบที่พัฒนาขึ้นในระดับดี( x =3.84,S.D.=0.17) 4.2 ผลการหาความพึงพอใจของผูสอนตอการเรียนดวย ระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของผูเรียน ผลการหาความพึงพอใจของผูสอนตอการใชงานระบบการ เรี ย นแบบเพื่ อ นคู คิ ด ที่ ไ ม แ สดงตั ว ตนของผู ส อนแบ ง การ ประเมินทั้งหมด 5 ดาน มีความพึงพอใจในระดับมาก ( x =3.91,S.D.=0.25)

5.3) การหาความพึงพอใจของผูสอนตอการใชงานระบบการ เรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของผูสอน มีความพึงพอใจตอการใชงานระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิด ที่ ไ ม แ ส ด ง ตั ว ต น ข อ ง ผู ส อ น ใ น ร ะ ดั บ ม า ก ( x =3.91,S.D.=0.25)

4.3 ผลการหาความพึงพอใจของผูเรียนตอการใชงานระบบ การเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของผูเรียน

5.4) การหาความพึงพอใจของผูเรียนตอการเรียนดวยระบบ การเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของผูเรียน มีความพึงพอใจตอการเรียนดวยระบบการเรียนแบบเพื่อน คูคิดที่ไมแสดงตัวตนของผูเรียนในระดับมาก ( x = 3.84, S.D. = 0.70)

ผลการหาความพึงพอใจของผูเรียนตอการเรียนดวยระบบ การเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของผูเรียน แบงการ ประเมินทั้งหมด 6 ดาน มีความพึงพอใจในระดับมาก ( x = 3.84, S.D. = 0.70)

6) อภิปรายผลการวิจัย 5) สรุปผล 6.1) การพัฒนาระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดง ตัวตนของผูเรียน ผลที่ไดคือไดระบบตามที่ไดออกแบบไว ผูวิจัยนําระบบไป ให ผู เ ชี่ ย วชาญประเมิ น โดยทดลองใช ร ะบบที่ พั ฒ นาขึ้ น สอบถามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญตอการใชงานระบบ ผล การสอบถามผู เ ชี่ ย วชาญเห็น ด ว ยกั บ ระบบที่ พั ฒ นาขึ้ น ใน ระดับดี ( x = 3.84, S.D. = 0.17)

ระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของผูเรียนผล ที่ไดคือ ไดรูปแบบที่ประกอบดวยองคประกอบหลัก 2 สวน ไดแก สวนของผูสอน สวนของผูเรียน 5.1) ระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของ ผูเรียน ไดรูปแบบที่ประกอบดวยองคประกอบหลัก 2 สวน ไดแก สวนของผูสอน สวนของผูเรียนกําหนดกลุมผูเรียนเปนแบบ แสดงตัวตนหรือไมแสดงตัวตนได กําหนดใหแสดงความ คิดเห็นสวนบุคคล (Individual thinking) กําหนดใหแสดง

6.2) การหาความพึงพอใจของผูสอนตอการใชงานระบบการ เรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของผูเรียน ผู ส อนมี ค วามพึ ง พอใจต อ การใช ง านระบบในระดั บ มาก

165


เนื่องจากระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของ ผูเรียนมีเครื่องมือที่ชวยสรางปฏิสัมพันธใหผูเรียนกลาแสดง ความคิดเห็นมากขึ้น สงผลใหสภาพการเรียนการสอนดีขึ้น ผูสอนสามารถตรวจสอบเขาใจของผูเรียนไดโดยสังเกตจาก การแสดงความคิดเห็น

นาสนใจ โดยผูเรียนสามารถเลือก สี ชนิดของตัวอักษร ไอ คอน รูปแบบภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว (Wing) เพื่อเพิ่ม ความนาสนใจในการใชงาน

6.3) การหาความพึงพอใจของผูเรียนตอการเรียนดวยระบบ การเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของผูเรียน มี ความพึ ง พอใจต อการเรียนดวยระบบในระดับมาก ทั้ง นี้ เนื่องจาก ผูเรียนไดแสดงปฏิสัมพันธกับเพื่อนรวมชั้นเรียน ไดงาย กลาที่แสดงความคิดเห็น มีการชวยเหลือซึ่งกันและ กันมีความกระตือรือรน สงเสริมใหเปนไปตามกระบวนการ เรี ย นรู ผู เ รี ย นมี ข อ เสนอแนะเพิ่ ม เติ ม จากการตอบ แบบสอบถามพบวา ผูเรียนตองการแบบแสดงตัวตน ทั้งนี้ เนื่ องจากเกิ ด ความรูสึกอุนใจ และผูเรีย นตองการทราบว า กําลังสนทนากับใคร แตจากการสังเกตของผูสอนพบวา แบบ ไม แ สดงตัวตนผู เรี ย นจะสนทนาในประเด็นมากกวา แบบ แสดงตัวตน

[1] เนาวรัตน ศรีฉ่ํา. (2549).ผลการใชกิจกรรมการเรียนแบบรวมมือ โดยใชเทคนิคแบงกลุมคละผลสัมฤทธิ์ตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการแตงกลอนสุภาพ ของนักเรียนชวงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 2.วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรการ สอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. [2] Slavin, R.E. (1995). Cooperative Learning Second Edition. Allyn and Bacon. Boston. [3] ประภาพรรณ อินทรเพ็ญ. (2548).การศึกษาผลการสอนแบบ อริ ย สั จ โดยใช เ ทคนิ ค คู คิ ด คู ส ร า งในวิ ช าสั ง คมศึ ก ษา ที่ มี ต อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดวิเคราะหของ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาป ที่ 4. วิ ท ยานิ พ นธ ค รุ ศ าสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรการเรียนการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค.

เอกสารอางอิง

[4] สุรมัย รังษีธรรม. (2551). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอนแบบมีสวนรวมดวยเทคนิคแบงกลุมคละผลสัมฤทธิ์รวมกับ เทคนิ ค เพื่ อ นคู คิ ด ผ า นเครื อ ข า ยคอมพิ ว เตอร วิ ช า ระบบ สารสนเทศเพื่อการจัดการ.วิทยานิพนธครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. [5] ศิริลักษณ โรจนกิจอํานวย. (2545). การออกแบบและบริหาร ฐานขอมูล. กรุงเทพฯ: ดวงกมลสมัย. [6] มนตชัย เทียนทอง. (2545). การออกแบบและพัฒนาคอรสแวร สําหรับบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ.

7) ขอเสนอแนะ 7.1) ขอเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ 7.1.1 ระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของ ผูเรียนของผูเรียนที่พัฒนาขึ้นนี้ผูสอนสามารถพัฒนาระบบ ในรายวิชาอื่นผานระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดง ตัวตนของผูเรียนที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น เพื่อนําไปวิจัยในวิชาอื่น ตอไป 7.1.2 ระบบการเรียนแบบเพื่อนคูคิดที่ไมแสดงตัวตนของ ผูเรียนที่พัฒนาขึ้นนี้ สามารถใหผูเรียนสนทนาสื่อสารผาน ไมโครโฟนได 7.2) ขอเสนอแนะการวิจัยครั้งตอไป ระบบตองเพิ่มในสวนการสนทนา ในดานการออกแบบให

166


การพัฒนา WBI แบบทบทวนรวมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD วิชาการวิเคราะหและออกแบบระบบ The Web-based Instruction Development for Review Using the Data Flow Diagram Writing Check Program in System Design and Analysis วิศัลยา ทองทับ1, กฤช สินธนะกุล2 1 วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก 2

(wisanlaya_na@hotmail.com)

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมพระนครเหนือ (krich.sin@gmail.com)

ผูเรียนหลั งเรียนดวย WBI แบบทบทวนรวมกับโปรแกรม ตรวจสอบการเขียน Data Flow Diagram (DFD) วิชาการ วิเคราะหและออกแบบระบบ สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก มีแบบทดสอบเปนแบบ 4 ตัวเลือกใช ในการตรวจสอบความรูผูเรียนกอนการทบทวน เนื้อหานําเสนอ ดวยสื่อมัลติมีเดีย และผูเรียนสามารถใชโปรแกรมตรวจสอบ การเขียน DFD ในการวิเคราะหการเขียน DFD ได

ABSTRACT This research aims to develop Find and compare the effectiveness of the web-based instruction (WBI) learning achievement for review using the Data Flow Diagram (DFD) writing check program in system design and Analysis . For undergraduate student at the College of Southeast Bangkok. The test user the 4 multiple choice questions and the DFD writing check program containing multimedia contents including, tests, slides and animation. The samples in the study were the second-year students in business computer, at the College of South East Bangkok. The group of 20 students who already completed the course of system analysis and design were selected using the stratified sampling technique. The research tools included the WBI program for review and the developed Data Flow Diagram writing check programming system analysis and design, pretest, midterm test, practice test, posttest, and evaluation for students, Course experts and technical experts.

กลุมตัวอยางที่นํามาศึกษาในครั้งนี้เปนนักศึกษาวิทยาลัยเซาธ อีสทบางกอก สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ ชั้นปที่ 2 กําลังเรียน วิชาการวิเคราะหและออกแบบระบบ รวม 20 คน คัดเลือกโดย ใชวิธี ก ารแบบเจาะจง เครื ่อ งมือ ที่ใ ชใ นการวิจ ัย ไดแ ก WBI แบบทบทวนรวมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD ที่ พั ฒ นาขึ้ น แบบทดสอบก อ นเรี ย น แบบฝ ก หั ด ระหว า งเรี ย น โปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD และแบบทดสอบหลังเรียน แบบประเมินผลสําหรับผูเรียน ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาและดาน เทคนิค

The findings suggest the high effectively value of the program of 90.71/85.65 which is much higher than the standard value of 80/80. The learning achievement of students after the course as the .05 level. The students show the with satisfaction level for the course. In conclusion, the WBI program developed in this study can be effectiveness applied with the target group of students.

บทคัดยอ

ผลการวิจัยพบวา บทเรียนนี้มีประสิทธิภาพ 90.71/85.65 ซึ่งสูง กวาเกณฑที่ตั้งไวคือ 80/80 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน บทเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความพึงพอใจของผูเรียนอยูในเกณฑมาก ซึ่งสรุปไดวาบทเรียน ที่พัฒนาขึ้นสามารถนําไปประยุกตใชกับกลุมเปาหมายได

งานวิ จั ย นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ พั ฒ นา หาประสิ ท ธิ ภ าพและ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวมทั้งหาความพึงพอใจของ

คําสําคัญ: WBI แบบทบทวน, โปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD

Keywords: Drill and Practice WBI, DFD writing check program

167


แปนพิมพ การคลิกเมาส การสัมผัสหนาจอภาพ การใชปากกา แสง หรือการปฏิสัมพันธลักษณะอื่น

1) บทนํา เนื้อหาบทเรียนเปนเรื่องเกี่ยวกับความรูความเขาใจพื้นฐานใน ขั้นตอนการวิเคราะหและพัฒนาระบบ ซึ่งเปนการวางรากฐาน ที่สําคัญกอนพัฒนาระบบงาน เนื่องจากเนื้อหาบางตอนมีความ ซับซอนทําความเขาใจไดยาก ทําใหผูเรียนบางคนเขาใจไดไม ชัดเจน หรือระยะความสนใจของผูเรียนแตละคนแตกตางกัน อาจไมไดสนใจในการเรียนตลอดเวลา ทําใหไมเขาใจเนื้อหา บางสวน โดยรายวิชาที่เรียนจะตองมีการทําโครงงานเพื่อให ผูเรียนสามารถปฏิบัติงานได โดยวิชาการสอนจะใชการสอน แบบยกตัวอยางและใหผูเรียนปฏิบัติตามในการสอน มีการใช สื่อการสอนที่เปนเอกสารและ Power Point ซึ่งตัวอยางที่ให ผูเรียนศึกษาไมสามารถทําใหผูเรียนคิดและวิเคราะหไดเดนชัด ประกอบกับการสอนในวิ ชานี้เปน การสอนในเชิง ทฤษฎีแ ต ลักษณะการนําไปใชผูเรียนจะตองคิดและสรางงานออกมาได และโดยลักษณะการสอนของวิชานี้จะตองสอนใหผูเรียนคิด และวิเคราะห โดยที่ผูสอนตองพยายามสรางความเขาใจใหกับ ผูเรียน และเนื่องจากผูเรียนมีเวลาในการศึกษานอย โดยเรียน ในวันอาทิตยใชเวลา 5 ชั่วโมงตอหนึ่งวิชา จึงทําใหเวลาในการ คิดวิเคราะหของวิชานี้มีเวลาจํากัด ประกอบกับสวนใหญผูเรียน เปนผูที่มีพื้นฐานความรูแตกตางกัน จึงทําใหยากตอความเขาใจ ไดเร็ว

2) ทฤษฎีที่เกี่ยวของ 2.1 การเรียนการสอนดวยเว็บชวยสอน ปจจุบันคอมพิวเตอรไดเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันของ คนเรามากขึ้น โดยไดเขาไปมีบทบาทในทุกวงการอาชีพ เชน ทางดานการศึกษา ธุรกิจ การเงินการธนาคาร และบริการดาน ต า งๆ เป น ต น ในการด า นศึ ก ษาสามารถนํ า เทคโนโลยี สารสนเทศมาประยุกตใชกับการศึกษาในลักษณะตางๆ เชน การใชคอมพิวเตอรชวยสอน Web Based Instruction : WBI ซึ่ง คอมพิวเตอรชวยสอน คือ การเปดโอกาสใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธ กับ บทเรี ย นได ต ลอดเวลาตามต อ งการ โดยป จ จุ บัน บทเรี ย น คอมพิวเตอรชวยสอนมีมากมายบนเครือขายอินเตอรเน็ต ที่ทํา ใหผูเรียนสามารถศึกษาคนควาไดดวยตนเอง ผูเรียนสามารถ ทบทวนเนื้อหาสาระในบทเรียนบนเครือขายนั้นไดตามสะดวก โดยไมมีข อ จํากัด ทางดานเวลา ชวยในการตรวจปรับ ความรู ความเขาใจ ชวยในการทบทวนเนื้อหาเพื่อปองกันการเลือนหาย ไดเปนอยางดี โดยอาศัยสื่อการสอนที่เรียกวา WBI มาใชเปน เครื่องมือในการทบทวนเนื้อหาบทเรียนดวยตนเอง ที่มีรูปแบบ การปฏิสัมพันธระหวางบทเรียนและผูเรียน [1] ซึ่งวิทยาลัยเซาธ อี ส ท บ างกอก ได เ ป ด ทํ า การสอนในระดั บ อุ ด มศึ ก ษา คณะ บริ ห ารธุ ร กิ จ คณะนิ ติ ศ าสตร คณะศิ ล ปศาสตร และคณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยปรัชญาและวัตถุประสงคของ หลั ก สู ต รเพื่ อ ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ให มี ค วามรู แ ตกฉานในวิ ช าชี พ มี สมรรถนะในระดับสากล สามารถนําองคความรูที่ไดศึกษาเลา เรียนไปใชไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีจรรยาบรรณแหง วิชาชีพ มีจริยธรรม มุงมั่นในการสรางสรรคความเจริญใหแก องคกร เปนทรัพยากรบุคคลที่มีคาตอสังคมและประเทศชาติ

การพัฒนา WBI แบบทบทวนรวมกับโปรแกรมตรวจสอบการ เขียน Data Flow Diagram : DFD ของวิชาการวิเคราะหและ ออกแบบระบบ เรื่อง การวิเคราะหความตองการของผูใชโดย ใชแผนภาพการไหล (Data Flow Diagram) เปนแบบสอนเสริม หรื อทบทวน (Tutorial) ใหนักศึกษาภาคสมทบ (วัน อาทิตย) เพื่อตอเติมความรูใหผูเรียนไดมีความเขาใจในเนื้อหาบทเรียน มากยิ่ ง ขึ้ น ด ว ยเหตุ ผ ลที่ ว า โปรแกรมคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน สามารถนําเสนอตัวอักษรและภาพเคลื่อนไหว มีสีสันชวนอาน และเราใจ อีกทั้งการปฏิสัมพันธเปนการโตตอบกับบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน แมวาจะไมอยูในรูปแบบของสื่อก็ตาม แตเปนสวนที่ทําใหมัลติมีเดียสมบูรณขึ้น จนกลาวไดวาการ ปฏิสัมพันธเปนสวนสําคัญที่ทําใหผูใชเกิดความประทับใจ และ เกิดการเรียนรูดวยตนเอง จากการทดลอง ไดแก การใช

2.2 การมีปฏิสัมพันธ การปฏิสัมพันธที่เกิดจากคอมพิวเตอร (Computer Generated Interaction) เปนสวนที่เกิดจากสมรรถนะและความสามารถของ ระบบนิพนธบทเรียนที่ใชพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เปนหลัก ระบบนิพนธบทเรียนที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อใชพัฒนา บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนโดยตรง มั ก สนั บ สนุ น การ ปฏิสัม พันธหลากหลายรูป แบบนับ ตั้งแตการสรางปุม เพื่ อใช

168


3.1.2 กลุมตัวอยาง

เมาสคลิก การสรางปุมเพื่อใชเมาสลากผาน การกําหนดพื้นที่ วัตถุสําหรับคลิกเมาสไปจนถึงการกําหนดตัวอักษรหรือตัวเลข ของแปนพิมพ หรือการปอนขอความยาวๆ ในลักษณะของการ ตอบคําถามแบบอัตนัย การออกแบบบทเรียนสวนนี้จึงเปนการ พิจารณาถึงการปฏิสัมพันธ ที่ผูเรียนมีตอบทเรียนในลักษณะ ตางๆ ตั้งแตตอนตนจนจบบทเรียน ซึ่งจัดวาเปนกิจกรรมอยาง หนึ่ ง โดยใช บ ทเรี ย นหนึ่ ง ๆ ควรสร า งสรรค ใ ห มี กิ จ กรรมที่ หลากหลาย เพื่อลดความเบื่อหนายของผูเรียน โดยเฉพาะผูเรียน ระดับเล็ก

กลุ ม ตั ว อย า ง เป น นั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต รบริ ห ารธุ ร กิ จ สาขา คอมพิวเตอรธุรกิจ วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ที่ผานการเรียน วิชาการวิ เคราะหและออกแบบระบบ คั ดเลื อกโดยใชวิธีการ แบบเจาะจงกลุมตัวอยาง (Purposive Sampling) มีจํานวนทั้งสิ้น 20 คน 3.2) กําหนดแบบแผนการทดลอง การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) ผูวิจัยไดกําหนด แบบแผนการโดยใช รู ป แบบ One-Group Pretest-Posttest Design ตารางที่ 1 : แบบแผนการทดลองแบบกลุมเดียว (One-Group Pretest-Posttest Design) กลุม สอบกอนเรียน การทดลอง สอบหลังเรียน (Pretest) (Posttest) E (R) T1 X T2

การปฏิสัมพันธที่เกิดจากการผูเรียนเริ่ม (Learner Initiated Interactions) เปนการปฏิสัมพันธอีกขั้นหนึ่งที่เกิดจากการรอง ขอของผูเรี ยน เชน คํ าถามของผูเรียนเพื่อ ใหบทเรีย นเพื่อให บทเรียนแสดงรายละเอียดเนื้อหาที่เกี่ยวของ โดยสวนใหญเปน บทเรี ย นคอมพิว เตอร ช ว ยสอนระดับ สูง ที่บ ทเรีย นสามารถ สรา งสรรค เนื้อ หาบทเรี ยนไดตามความประสงคของผูเรีย น อยางละเอียด หลังจากนั้นจึงทําการสังเคราะหเนื้อหาบทเรียน เพื่ อ บั น ทึ ก ไว ใ นฐานข อ มู ล บทเรี ย นประเภทนี้ จึ ง มี เ นื้ อ หา เปลี่ยนแปลงได (Dynamic Information)

3.3) สรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย

2.3 โปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD โปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD เปนการเขียนโปรแกรม เพื่ อ ตรวจสอบการเขี ย น DFD โดยสร า งจากโปรแกรม Macromedia Flash 8 ที่เขียนขึ้นมาเพื่อตรวจสอบการเขียน DFD ของระบบลงทะเบียน

3.3.1 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย x บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน WBI แบบทบทวนรวมกับ โปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD วิชาการวิเคราะหและ ออกแบบระบบ เรื่อง การวิเคราะหความตองการของผูใช โดยใชแผนภาพการไหล x โปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD วิชาการวิเคราะหและ ออกแบบระบบ x แบบทดสอบ ประกอบด ว ย แบบทดสอบก อ นเรี ย น ระหวางเรียน และหลังเรียน x แบบประเมินผลสํา หรับ ผูเชี่ยวชาญด านเนื้อหาและดา น เทคนิค

3) วิธีดําเนินการวิจัย 3.1) กําหนดประชากร และคัดเลือกกลุมตัวอยาง 3.1.1 ประชากร ประชากรในการวิ จั ย ครั้ ง นี้ คื อ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี วิ ท ยาลั ย เซาธ อ ี ส ท บ างกอก ที ่ ล งทะเบี ย นเรี ย นวิ ช าการ วิ เ คราะห แ ละออกแบบระบบ คณะบริ ห ารธุ ร กิ จ สาขา คอมพิวเตอรธุรกิจ ภาคสมทบ(วันอาทิตย) ปการศึกษา 2552 ที่ ผานการเรียนวิชาการวิเคราะหและออกแบบระบบ

3.3.2 การสรางเครื่องมือในการวิจัย • ผูวิจัยไดศึกษาและวิเคราะหหลักสูตรรายวิชา เพื่อใหได หนวยเรียนรู หัวเรื่อง และวัตถุประสงคการเรียนรูโดย

169


• แบบประเมินดานคุณภาพของ WBI แบบทบทวนรวมกับ โปรแกรมตรวจสอบการเขี ย น DFD วิ ช า การวิ เ คราะห ออกแบบระบบและแบบสอบถามวัดความพึงพอใจของ ผูเรียน สรางโดยการศึกษาจากตํารางานวิจัยและตัวอยาง แบบสอบถามตางๆ ที่เกี่ยวของ

พิจารณาใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของหลักสูตร และ นํ า มาสร า งเป น แบบทดสอบก อ น-หลั ง เรี ย นและ แบบทดสอบระหวางเรียน ซึ่งมีขั้นตอนดังตอไปนี้ เริ่มตน

• การสราง WBI แบบทบทวนรวมกับโปรแกรมตรวจสอบ วิเคราะหเนื้อหา

การเขียน DFD วิชา การวิเคราะหออกแบบระบบ คา IOC

สรางและหาคุณภาพของแบบทดสอบ

เริ่มตน

คา P, D, r

สราง WBI แบบทบทวนรวมกับโปรแกรมตรวจสอบการ เขียน DFD วิชาการวิเคราะหและออกแบบระบบ

กําหนดใหคะแนน=0

ผูใชปอนชื่อ สรางแบบประเมินสําหรับผูเชี่ยวชาญ ผูใชทํากิจกรรม ไมผาน ที่ปรึกษา ตรวจ

สงคําตอบ

ปรับปรุง ผาน ตรวจสอบคะแนน มากกวา เกณฑที่กําหนดหรือไม

พัฒนา WBI แบบทบทวนรวมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD วิชาการวิเคราะหและออกแบบ

ไมผาน

ผาน

ผูเชี่ยวชาญตรวจ ปรับปรุง

ตรวจสอบจํานวนครั้งที่ทํา ขอสอบ>1

ผาน ไมผาน

พิจารณาผล ผาน

ปรับปรุง

ผาน

สรุปคะแนนและเก็บขอมูลลงฐานขอมูล

ไดบทเรียนที่ใชในการวิจัยที่พรอมนําไปใชกับกลุมตัวอยาง จบการทํางาน จบการทํางาน

รูปที่ 1 ขั้นตอนการพัฒนาเครื่องมือ

ไมผาน

รูปที่ 2 โครงสรางขั้นตอนการพัฒนาใชโปรแกรม

170

ไมผาน


ตรวจสอบการเขียน DFD วิชา การวิเคราะหและออกแบบระบบ ตามเกณฑ 80/80 ที่กําหนดซึ่งผูเรียนสามารถทําแบบทดสอบ ระหวางเรียนคะแนนเฉลี่ย คิดเปนรอยละ 85.65 สวนคะแนน การทําแบบทดสอบหลังเรียนเฉลี่ย คิดเปนรอยละ 90.71 แสดง วาการเรียนดวย WBI แบบทบทวนรวมกับโปรแกรมตรวจสอบ การเขียน DFD วิชา การวิเคราะหและออกแบบระบบ ที่ผูวิจัย สรางขึ้นมีประสิทธิภาพ เทากับ 85.65/90.71

3.4) ดําเนินการการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล การทดลองครั้งนี้กับกลุมตัวอยาง คือ นักศึกษาระดับปริญญา ตรี วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2552 จํานวน 20 คน เพื่อหาประสิทธิภาพของWBI แบบทบทวน ร ว มกั บ โปรแกรมตรวจสอบการเขี ย น DFD วิ ช า การออก วิเคราะหและออกแบบระบบ และดําเนินการทดลองดวย WBI แบบทบทวนรวมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD วิชา การออกวิเคราะหและออกแบบระบบ ประกอบดวยเนื้อหารวม ทั้ ง สิ้ น 1 เรื่ อ งโดยได ม าจากวิ ช าการวิ เ คราะห แ ละออกแบบ ระบบ ใชเวลา 7 สัปดาห สัปดาหละ 5 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 43 ชั่ ว โมง แล ว เก็ บ คะแนนเพื่ อ นํ า มาวิ เ คราะห ข อ มู ล โดยเก็ บ คะแนนเฉลี่ ย แบบทดสอบก อ นเรี ย นและหลั ง เรี ย น นํ า ไป วิเคราะหขอมูล

4.2) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวย WBI แบบ ทบทวนรวมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD วิชาการ วิเคราะหและออกแบบระบบ จากการเปรียบเทียบระหวางคะแนนแบบทดสอบกอนเรียน และ คะแนนแบบทดสอบหลังเรียนของผูเรียน โดยการทดสอบดวย คา t-test แบบ Dependent Sample Group ผลปรากฏวา ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นหลั ง เรี ย นสู ง กว า ก อ นเรี ย นอย า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

3.5) สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล • • • • • • • •

วิเคราะหหาคาเฉลี่ย ( X ) วิเคราะหหาคาเบี่ยงเบนมามาตรฐาน (S.D.) วิเคราะหหาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) คาความยากงาย (p) คาอํานาจจําแนก (r) คาความเชื่อมั่น KR-20 (ของคูเดอร ริชารดสัน) คํานวณหาประสิทธิภาพ E1/E2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนดวยสถิติคาที (t-test)

4.3) ผลการประเมิ นหาความพึงพอใจของผูเ รียนที่เรียนดว ย WBI แบบทบทวนรวมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD วิชาการวิเคราะหและออกแบบระบบ ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนที่ไดจากแบบสอบถาม วั ด ความพึ ง พอใจของผู เ รี ย นโดยให ผู เ รี ย นทํ า แบบสอบถาม จํานวน 20 คน ซึ่ง ผูเรียนใหคะแนนระดับความพึงพอใจ โดย เฉลี่ ย จากคํ า ถามทั้ ง หมดได X = 3.96, S.D. = 0.58 แปล ความวาผูเรียนมีความพึงพอใจในเกณฑมาก

(

4) ผลการดําเนินงาน 4.1) ผลการหาประสิทธิภาพของ WBI แบบทบทวนรวมกับ โปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD วิชา การวิเคราะหและ ออกแบบ

)

5) สรุปผล หลังจากไดดําเนินการวิจัยเพื่อการพัฒนา WBI แบบทบทวน รวมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD วิชาการวิเคราะห และออกแบบระบบ ระดับปริญญาตรี จนเสร็จสิ้น ผูวิจัยไดนํา ขอมูลมาสรุปผลการวิจัยไดดังนี้ 5.1) WBI แบบทบทวนรวมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน Data Flow Diagram วิชาการวิเคราะหและออกแบบระบบ สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอกนี้

การวิเคราะหหาประสิทธิภาพของ WBI แบบทบทวนรวมกับ โปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD วิชา การวิเคราะหและ ออกแบบระบบ ใชกลุมตัวอยางจํานวน 20 คน โดยทําการวัด การเรียนรูจากการทําแบบทดสอบระหวางเรียนในแตละหนวย และวั ด ความรู จ ากการทํ า แบบทดสอบหลั ง เรี ย นเพื่ อ หา ประสิทธิภาพของ WBI แบบทบทวนรวมกับโปรแกรม

171


เซาธ อี ส ท บ างกอก ที่ ส ร า งขึ้ น มี ค ะแนนเฉลี่ ย ที่ แ ตกต า งกั น กลา วคือ คะแนนเฉลี่ ย หลั งเรี ยนของผู เรีย นดว ยบทเรีย นฯ ที่ สรางขึ้นสูงกวาคะแนนเฉลี่ยกอนเรียน

มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ 90.71/85.65 ซึ่ ง สู ง กว า เกณฑ ที่ ตั้ ง ไว ใ น สมมติฐานคือ 80/80 5.2) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใชวิธีการ ทดลองทางสถิติ t-test dependent พบวาผูเรียน ( X = 19.70) สูงกวาคะแนนเฉลี่ยกอนเรียน ( X = 14.25) ซึ่งแสดงใหเห็น วา ความพึ ง พอใจของผู เรี ยนด วยบทเรีย นฯ ที่ส รา งขึ้น อยูใ น เกณฑระดับดี 5.3) ผลการประเมินความพึงพอใจของบทเรียนที่สรางขึ้นจาก ผูเรียนกลุมตัวอยางพบวาคาเฉลี่ยเทากับ 3.97 ( X = 3.97) ซึ่ง แสดงใหเห็นวาความพึงพอใจของผูเรียนดวยบทเรียนฯ ที่สราง ขึ้นอยูในเกณฑดี

6.3) ดานการหาประสิทธิภาพของ WBI แบบทบทวนรวมกับ โปรแกรมตรวจสอบการเขียน Data Flow Diagram วิชาการ วิเคราะหและออกแบบระบบ การหาประสิทธิภาพของ WBI แบบทบทวนรวมกับโปรแกรม ตรวจสอบการเขียน Data Flow Diagram วิชาการวิเคราะหและ ออกแบบระบบ สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี วิทยาลัยเซาธ อีสทบางกอก จะเห็นไดวา E1 มีคาสูงกวา E2 เกิดจากการวั ด ผลสัม ฤทธิ์ข องผูเรียนจากการทํา แบบทดสอบวั ดผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนหลังเรียน

6) อภิปรายผลการวิจัย ผลจากการทําวิจัย เรื่อง การเรียนดวย WBI แบบทบทวน รวมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD วิชา การวิเคราะห และออกแบบ สามารถนํามาอภิปรายผลการวิจัยไดดังตอไปนี้

7) ขอเสนอแนะ 7.1) ขอเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ 7.1.1 ขอเสนอแนะเพื่อการเรียนการสอน เนื่องจากในปจจุบัน แนวโนมการจัดการศึกษาผานระบบออนไลน ไดขยายตัวอยาง รวดเร็วมีชื่อเรียกหลากหลายกันไป เชน Cooperative Learning , Virtual University , Virtual Classroom , Distance Learning ฯลฯ ผู วิ จั ย จึ ง เสนอแนวความคิ ด ว า ผู พั ฒ นาเกี่ ย วกั บ บทเรี ย นที่ สนับสนุนระบบการศึกษาแบบนี้ควรจะใหความสําคัญในการ กระบวนการนําเสนอเนื้อหาบทเรียนใหมีการปฏิสัมพันธมาก ขึ้น มีสื่อเสริมและระบบสนับสนุนในการเรียนตางๆ เพื่อใหเกิด ประโยชนสูงสุดแกผูเรียน

6.1) ดานประสิทธิภาพของการเรียนดวย WBI แบบทบทวน รวมกับโปรแกรมตรวจสอบการเขียน DFD วิชา การวิเคราะห และออกแบบ การหาประสิทธิภาพของ WBI แบบทบทวนรวมกับโปรแกรม ตรวจสอบการเขียน Data Flow Diagram วิชาการวิเคราะหและ ออกแบบระบบ สําหรั บ นัก ศึ ก ษาระดั บ ปริญ ญาตรี วิท ยาลั ย เซาธอีสทบางกอก พบวา รอยละของคะแนนเฉลี่ยของคะแนน การทําแบบทดสอบระหวางเรียนแตละบทเรียน (E1) และมี คะแนนการทําแบบทดสอบวัดผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรีย นหลัง เรียน เพื่อประเมินผลหลังเรียน (E2) มีคา 90.71/86.65 ซึ่งสูง กวาเกณฑที่กําหนดไวคือ 80/80

7.2) ขอเสนอแนะเพื่อการศึกษาวิจัย ควรจั ด ทํ า เนื้ อ หาของรายวิ ช าการโปรแกรมอื่ น เพราะจะได ตกแต ง หรื อ ใช ลู ก เล น (Simulation)ให ดู ส วยงาม เพื่ อ ดึ ง ดู ด ความสนใจของผูเรียน 7.2.1 ควรมีการเฉลยคําตอบของแบบทดสอบระหวางเรียน เพื่อใหทราบใหผลลัพธที่ถูกตองของแบบทดสอบ 7.2.2 ควรใชระบบอื่นที่มีประสิทธิภาพในการจัดการบทเรียน ไดมากกวานี้ เนื่องจากในการติดตั้งโปรแกรมถาจําลองบทเรียน

6.2) ดานการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน จากผลการเปรียบเทียบกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน และหลังเรียนดวย WBI แบบทบทวนรวมกับ โปรแกรม ตรวจสอบการเขียน Data Flow Diagram วิชาการวิเคราะหและ ออกแบบระบบ สํ าหรั บ นัก ศึก ษาระดั บ ปริญ ญาตรี วิท ยาลั ย

172


ลงใน localhost เวอรชั่นใด ถาจํานําไปขึ้นเว็บก็ตองใชเวอรชั่น นั้น ไมเชนนั้นจะมีปญหากับฐานขอมูล

เอกสารอางอิง [1] มนตชัย เทียนทอง. (2544).เอกสารประกอบการสอนวิชา มัลติมีเดีย และไฮเปอร มี เ ดี ย . ภาควิ ช าคอมพิ ว เตอร ศึ ก ษา คณะครุ ศ าสตร อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ.

173



การพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนสําหรับการเรียนแบบอีเลิรนนิง เพื่อเสริมสรางจริยธรรมดานความรับผิดชอบตอการเรียนสําหรับนิสิตนักศึกษา ระดับปริญญาตรี The Development of an Instructional Design Model for an Electronic Learning to Enhance Ethics in Learning Responsibility for Undergraduate Students เอกนฤน บางทาไม นักศึกษาปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาหลักสูตรและวิธีสอน (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (eknarin.b@gmail.com)

เพื่อ เสริมสรางจริ ยธรรมดานความรับผิ ดชอบต อการเรีย น สําหรับนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี โดยมีวัตถุประสงค เฉพาะ 1) เพื่อสรางรูปแบบการออกแบบการเรียนการสอน สําหรับการเรียนอีเลิรนนิงฯ 2) เพื่อศึกษาผลการทดลองใช รูปแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิงฯ กลุมตัวอยางที่ใช ในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก 1) ผูเชี่ยวชาญดานการพัฒนารูปแบบ การเรียนการสอนจํานวน 10 คน เพื่อประเมินรูปแบบการ ออกแบบการเรีย นการสอนแบบอี เลิรน นิง ฯ 2) นั กศึกษา ระดั บ ปริ ญ ญาตรี จํ า นวน 18 คน เพื่ อ ทดลองใช รู ป แบบฯ เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ได แ ก 1) แบบสอบถามการวิ จั ย สํา หรั บ ผู เ ชี่ย วชาญ 2. แบบสอบถามการวิ จั ย สํ า หรั บ นิ สิ ต นักศึกษา 3) แบบประเมินรูปแบบการออกแบบการเรียนการ สอน ฯ 4) แบบประเมิ น บทเรี ย นอี เ ลิ ร น นิ ง ฯ 5) แบบ ประเมิ น ผลจริ ย ธรรม ผลการวิ จั ย พบว า 1) รู ป แบบการ ออกแบบการเรียนการสอนสําหรับการเรียนแบบอีเลิรนนิงฯ ที่พัฒนาขึ้นซึ่งประกอบดวย 8 องคประกอบหลัก โดยมีผล การประเมินในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด และคุณภาพ ของบทเรียนอีเลิรนนิงที่พัฒนาตามรูปแบบการออกแบบการ เรียนการสอนแบบอีเลิรนนิง ฯ โดยมีผลการประเมินอยูใน ระดับมาก 2) ผลการทดลองใชรูปแบบการออกแบบการเรียน การสอนแบบอีเลิรนนิง ฯ จากผูเรียนทั้ง 18 คน โดยมีผลการ ประเมิ น จริ ย ธรรมด า นความรั บ ผิ ด ชอบด า นความรู อ ยู ใ น ระดับมาก ดานทัศนคติอยูในระดับมากที่สุด ดานพฤติกรรม อยูในระดับมาก และผลการประเมินการกํากับตนเองในการ เรียนอยูในระดับมากที่สุด

ABSTRACT The study aims to develop an instructional design model for an electronic learning to enhance ethics in learning responsibility for undergraduate students. Specifically, its objectives are to (1) build an instructional design model for an electronic learning and (2) examine the effectiveness of the model. Ten professionals in this field were interviewed to evaluate the effectiveness of the Model developed. To investigate the effectiveness of the model, along with this, the interviews with eighteen undergraduate students were conducted. Tools being used as follows: (1) a survey for the professionals (2) a survey for the undergraduate students (3) self-evaluation on quality of the system (4) self-evaluation on core courses of the system (5) ethical evaluation. Research methods in this study encompasses (1) theoretically thoughts from affective domain in social cognitive theory, and set forth a self-regulation to explain a value-clarifications (2) an electronic survey of 134 undergraduate students (3) self-evaluation of 20 professionals (4) development of the framework (5) evaluation of the system (6) the testing on the samplings. The study revealed that to develop an instructional design model, it highly required eight main components. It also disclosed that the model designed was of high quality. Levels of effectiveness of the model developed were also varied as follows: high degrees of knowledge of and behavior of ethics in learning responsibility and highest ones of attitudes towards ethics in learning responsibility and self-regulation. Keywords: Ethics, Learning Responsibility, e-Learning, Instructional Design Model.

บทคัดยอ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค ห ลั ก คื อ พั ฒ นารู ป แบบการ ออกแบบการเรียนการสอนสําหรับการเรียนแบบอีเลิรนนิง

175


รับผิดชอบ” ใหถูกตอง ความรับผิดชอบ คือ หนาที่ที่ไดรับ มอบหมายให ทํ า จะหลี ก เลี่ ย ง ละเลยไม ไ ด (สํ า นั ก งาน คณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ , 2551) สอดคลองกับสํานักคณะกรรมการการอุดมศึกษา ที่ได กล า วถึ ง กรอบแนวคิ ด ด า นคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมเพื่ อ พั ฒ นา บัณฑิตอุดมคติไทย ในสวนขององคประกอบดานการเรียน การสอน ที่มุงเนนความรูคูคุณธรรม การกําหนดพฤติกรรม ดานคุณธรรม จริยธรรมเพื่อ เปนกรอบการดําเนินงานดาน การเรี ย นการสอนที่ ชั ด เจน (สํ า นั ก คณะกรรมการการ อุดมศึกษา, มปป.) ซึ่งสอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552, มปป. : 7-10 สามารถ กล า วโดยสรุ ป ได ว า ผู เ รี ย นในระดั บ อุ ด มศึ ก ษามี พื้ น ฐานความรู แ ละทั ก ษะ เพี ย งพอที่ จ ะเข า ศึ ก ษาต อ ใน ระดับอุดมศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีมาตรฐานผลการ เรียนรูทั้ง 5 ดานไดแก ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานความรู ด า นทั ก ษะทางป ญ ญา ด า นทั ก ษะความสั ม พั น ธ ร ะหว า ง บุคคลและความรับผิดชอบ และดานทักษะการวิเคราะหเชิง ตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งดาน ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ มี ความมุงหวังใหนิสิตนักศึกษา มีความรับผิดชอบในการเรียน และความประพฤติ ข องตนเอง สามารถที่ จ ะริ เ ริ่ ม และ พัฒนาการเรีย นรูทางวิชาการและการพัฒนาลักษณะอื่น ๆ ของตนเองได สามารถที่จะไววางใจใหทํางานไดอยางอิสระ และทํางานที่มอบหมายใหแลวเสร็จ สามารถทํางานกลุมได อยางมีประสิทธิภาพ สอดคลองกับ มนตรี แยมกสิกร, 2546: 34-37 ที่ ก ล า วถึ ง คุ ณ ลั ก ษณะของบั ณ ฑิ ต ที่ มุ ง พั ฒ นา คุ ณ ลั ก ษณะของบั ณ ฑิ ต ที่ พึ ง ประสงค คื อ การมี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมในตน ในวิ ช าชี พ และในสั ง คม สามารถทํ า งาน ร ว มกั บ ผู อื่ น ได อ ย า งสร า งสรรค เช น การมี วิ นั ย ในตนเอง เชื่อ มั่นในตนเอง มีความรับ ผิดชอบในบทบาทหนาที่ข อง ตนเอง จากที่กลาวมาขางตนสามารถสรุปไดวาจริยธรรมดาน ความรับผิดชอบเปนสิ่งที่จําเปนและควรพัฒนาใหกับบัณฑิต โดยมีการมีวิธีการสอนและสอดแทรกโดยใชวิธีการสอนใน รูปแบบตาง ๆ เพื่อใหบัณฑิตมีจ ริยธรรมและเขาใจบทบท ของตนเอง ซึ่งบทบาทที่สําคัญของบัณฑิต คือบทบาทของ ผูเรียนดังนั้นจริยธรรมของผูเรียนจึงหมายถึงบทบาท หนาที่ ของผูเรียนที่พึงประสงคสําหรับการเรียนที่ผูเกี่ยวของควร

คําสําคัญ: จริยธรรม, ความรับผิดชอบตอการเรียน, อีเลิรนนิง, การเรียนแบบอิเล็กทรอนิกส, รูปแบบการสอน

หลักการและเหตุผล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) ไดกลาวถึงยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ ไดมีการพัฒนาคุณภาพของคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิ ปญญาและการเรียนรู เพื่อพัฒนาคนใหมีคุณธรรมนําความรู เกิดภู มิ คุม กัน ส งเสริม ใหค นไทยมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกาย และใจและส ง เสริ ม ให ค นไทยอยู ร ว มกั น อย า งมี ค วามสุ ข (สรุปสาระสําคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10, 2551: ฝ-ฟ) สอดคลองกับ ทิศนา แขมมณี, 2546 : 1 ที่ ก ล า วว า สถานการณ แ ละสภาพบ า นเมื อ งของ ประเทศไทยในปจจุบันมุงพัฒนาเศรษฐกิจเปนอยางมาก โดย ขาดความสมดุลกับการพัฒนาดานจิตใจ คุณธรรม จริยธรรม และค า นิ ย ม การควบคุ ม พฤติ ก รรมของมนุ ษ ย จึ ง มี ค วาม จําเปนอยางยิ่ง ซึ่งสิ่งที่สามารถควบคุมพฤติกรรมมนุษยให อยูในทิศทางที่ถูกตองไดคือจริยธรรม สอดคลองกับแผนการ ศึกษาชาติ (พ.ศ.2545-2549) ที่มีการใหความสําคัญกับการ พัฒนาคนเปนศูนยกลางกลาวไดวา “การพัฒนาที่ยั่งยืนและ ความอยูดีมีสุขของคนไทย” โดยมุงเนนในการพัฒนาสังคม ใหเขมแข็งและมีคุณภาพ มีการพัฒนาคนอยางรอบดาน สราง สั ง คมคุ ณ ธรรมภู มิ ป ญ ญาและการเรี ย นรู และพั ฒ นา สภาพแวดลอมของสังคม ซึ่งสามารถสรุปไดวาแนวนโยบาย เพื่ อ ดํ า เนิ น การมี วั ต ถุ ป ระสงค เพื่ อ พั ฒ นาให ค นมี โ อกาส เข าถึ งการเรียนรู ปฏิ รู ปการเรี ยนรูเพื่อ ผูเรีย น ปลูกฝงและ เสริ ม สร า งศี ล ธรรม คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ค า นิ ย มและ คุณลักษณะที่พึงประสงค พัฒนากําลังคนดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีเพื่อพึ่งพาตนเอง พัฒนาสังคมแหงการเรียนรู เพื่อสรางความรู ความคิด ความประพฤติ ซึ่งจะเห็นไดวาจาก แนวนโยบายมุ งเน น ในดา นการสร า งภู มิป ญ ญาและการมี คุณธรรมจริยธรรมในการพัฒนาการศึกษา พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ได มี พ ระบรม ราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร เมื่ อ วั น ที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๑๙ เกี่ยวกับความรับผิดชอบของบัณฑิตโดยมีใจความ สํ า คั ญ ดั ง นี้ ต อ งเข า ใจความหมายของคํ า ว า “ความ

176


ผานเครื่องมือสื่อสารทางอินเทอรเน็ต รวมทั้งอาจใชชองทาง นี้เพื่อการวัดและประเมินผลการเรียนรูดวย จากที่ ก ล า วมาข า งต น การเรี ย นการสอนแบบ อีเลิรนนิงใหความสะดวกกับผูเรียนเปนอยางมาก แตสภาพ การจัดการเรียนการสอนในระบบอีเลิรนนิงยังมีอุปสรรคจาก งานวิจัยของคันนิงแฮม และคณะ (Cunningham, et.al. 1998) และ ฟลู (Flew. 1999) อางถึงใน กฤษณพล จันทร พรหม, 2548: 35-37, มันกาเนียร (Penina Mungania, 2003 : 11), ทอมสัน (Gary B. Thompson, 2002 : 224228) ที่กลาววาปญหาที่สําคัญสําหรับการเรียนในระบบอีเลิร นนิงคือ ผูเรียนสวนใหญยังขาดความรับผิดชอบในการเรียน ดวยตนเองซึ่งเปนลักษณะที่สําคัญในการเรียนการสอนแบบ หองเรียนเสมือนจริง ผูเรียนตองรับผิดชอบในการเรียนดวย ตนเอง ไม มี ต ารางสอนตารางเรี ย น บทเรี ย นจะอยู บ น อินเทอรเน็ต 24 ชั่วโมง ผูเรียนตองเรียนเอง พึ่งตนเองเปน หลัก ผูเรียนเปนผูกําหนดตารางเรียนดวยตนเอง สอดคลอง กับ โอลิเวอร (Ron Oliver, 2002), มันกาเนียร (Penina Mungania, 2003 : 9-10) ที่กลาววาผูเรียนในระบบอีเลิรนนิง จะตองมีความสามารถทางการเรียนในระดับสูงโดยฤติกรรม ที่สําคัญที่สุดทางการเรียนคือการมีความรับผิดชอบตอการ เรียนของตนเองอยางเหมาะสม ซึ่งสอด คลองกับงานวิจัยของ ดิเรก ธีระภูธร, 2546 : 7 ; ศิริชัย นามบุรี, 2549: 139 ได กลาวถึงการเรี ย นแบบอีเลิรน นิงไววา ผูเรี ยนจําเปนตอ งมี คุณลักษณะการนํา และรูจัก ปกครองตนเอง มีลักษณะการ เรียนการสอนที่ตื่นตัว มีวินัยในตนเอง รูจักบริหารเวลาของ ตนเอง มีค วามรับ ผิ ด ชอบ การมีส วนร วมในชั้ นเรี ย น การ ทํางานเปนทีม การเขาเรียน ความซื่อสัตย และมีความเขาใจ ถึงลิขสิทธิ์ทางปญญา เปนตน (ขาน Khan : 2005; พอรเตอร และเลวิส Porter and Lewis:2004; กันเนล Colnerud Gunnel : 1997) จึงจะประสบความสําเร็จทางการเรียนได ซึ่ง สอดคล อ งกั บ งานวิ จั ย ของ คานู ก าและแอนเดอร สั น (Heather Kanuka and Terry Anderson, 2007: 3-9) สามารถสรุปไดวาบทบาทของผูเรียนที่แสดงถึงจริยธรรมที่ สําคัญและสามารถสดงออกในลักษณะของความรับผิดชอบ ของผูเรียน การตัดสินใจสําหรับความรับผิดชอบ การแบงปน องค ค วามรู แ ก ผู อื่ น การมี ส ว นร ว มในชั้ น เรี ย น การมี ปฏิ สั ม พั น ธ ร ะหว า งผู ส อน นอกจากนี้ ผู วิ จั ย ยั ง ได เ คย

พั ฒ นาให กั บ ผู เ รี ย นอย า งสอดคล อ งและเหมาะสมต อ การ เปลี่ยนแปลงของสังคม ยุ ค เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ( Information Technology) ซึ่งมีการพัฒนาและมีการเปลี่ยนแปลงไป อยางรวดเร็ว สงผลใหการติดตอสื่อสารมีความสะดวก และมี ประสิทธิภาพมากขึ้นกวาในยุคอดีต เทคโนโลยีคอมพิวเตอร ไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่องมาโดยตลอด ในปจจุบันมีการ พัฒนาและมีการเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว คอมพิวเตอร ซึ่งเปนระบบพื้นฐานในการพัฒนาเทคโนโลยีทุก ๆ ดาน (อร จรีย ณ ตะกั่วทุง และคณะ, 2541: 90-101) การพัฒนาระบบ การเรียนการสอนโดยการนําเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตมาชวย ทําใหรูปแบบของการเรียนการสอนเปลี่ยนไป ชวยอํานวย ความสะดวกในการเขาถึงแหลงความรูตาง ๆ ชวยสามารถทํา ใหขยายเวลาเรียนไดทั้ง 24 ชั่วโมง ขยายสถานที่เรียนเปนที่ ใดก็ได ขยายขอบเตของเนื้อหาไมมีจํากัด ขยายการเรียนการ สอนไดตามความตองการของผูเรียน ในลักษณะที่เรียกว า เรี ย นได ทุ ก ที่ ทุ ก เวลา มี ก ารสร า งระบบการเรี ย นรู แ บบ ออนไลนในที่ตาง ๆ มากขึ้น (ยืน ภูวรวรรณและสมชาย นํา ประเสริฐชัย, 2546) ในปจจุบันนักศึกษานักศึกษาในประเทศ ไทยไดมีโอกาสรูจักและใชอินเทอรเน็ตมากขึ้น อีกทั้งการ เรี ย นการสอนในบางรายวิ ช าได ก ระทํ า ผ า นอิ น เทอร เ น็ ต เท า นั้ น ไม มี ก ารเข า ชั้ น เรี ย นตามปกติ แ ละต อ งขึ้ น อยู กั บ ความสามารถของผู เ รี ย นในการใช อิ น เทอร เ น็ ต จากการ สํา รวจผู ใช อิ น เทอรเ น็ ต ในประเทศไทย (ศูน ย เ ทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ, 2544) พบวา ประมาณรอยละ 81 ของผูใชที่กําลังศึกษาอยูเปนผูที่อยูใน ระดับปริญญาตรี ซึ่งสามารถกลาวไดวานักศึกษาในระดับ ปริญญาตรีในประเทศไทยจัดไดวาเปนกลุมผูใชที่มีสัดสวน สูงสุด การเรียนอีเลิรนนิง สําหรับการศึกษาในประเทศ ไทยจะช ว ยเสริ ม สร า งการเรี ย นรู ใ ห เ กิ ด ขึ้ น ได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ ฐาปนีย ธรรมเมธา, 2552: 82-83 ไดกลาวถึง บทบาทของผูเรียนและผูสอนแบบอีเลิรนนิง สามารถอธิบาย ไดดังนี้ บทบาทผูสอนคือผูสนับสนุน คอยชวยเหลือแนะนํา การเรียนแกผูเรียน ทั้งนี้ผูสอนอาจเปนผูออกแบบการสอน แบบอีเลิรนนิงหรืออิเล็กทรอนิกสจัดเตรียมไวใหกับผูเรียน หาแหล งเรี ย นรูที่เกี่ย วข อ ง มีปฎิ สัมพันธสื่อสารกับ ผูเรี ย น

177


รูปแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิงเพื่อสรางจริยธรรม ดานความรับผิดชอบสําหรับนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี ไดแก นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 2 ที่ลงทะเบียน เรี ย นในรายวิ ช า คอมพิ ว เตอร ศึ ก ษา คณะศึ ก ษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร จํานวน 18 คน ซึ่งไดมาจากการสุม อยางงาย (Simple Random Sampling) 3. การวิจัยนี้เปนการศึกษาการเสริมสรางจริยธรรม สําหรับนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่เรียนแบบอีเลิรนนิง ที่ครอบคลุมจริยธรรมในดานความรับผิดชอบตอการเรียน 4. การวิ จัย ครั้งนี้ ศึกษาพฤติ ก รรมจริ ย ธรรมดา น ความรับผิดชอบ เฉพาะพฤติกรรมที่สังเกตไดในรูปแบบการ เรียนแบบอีเลิรน นิงเทานั้น 5. การเสริมสรางจริยธรรมสําหรับนิสิตนักศึกษา ในการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิงพัฒนาโดยใชหลักการ พัฒนาจิตพิสัย (Affective Domain) หลักการกํากับตนเอง (Self Regulation) และการสรางความกระจางในคานิยม (Value Clarification)

ทําการศึกษาแนวทางการพัฒนาจริยธรรมสําหรับการเรียน การสอนในระบบอี เ ล็ ก ทรอนิ ก ส โดยผลการวิ จั ย พบว า จริยธรรมดานการเรียนแบบอีเลิรนนิงที่สําคัญดานหนึ่งคือ ความรับผิดชอบทางการเรียน (เอกนฤน บางทาไม Eknarin Bangthamai, 2008: 49) จากปญหาที่กลาวมาขางตนการ เรี ย นในระบบอี เ ลิ ร น นิ ง ที่ ใ ห ค วามอิ ส ระในการเรี ย นกั บ ผูเรียนเปนอยางมากและตองมีการเรียนดวยตนเอง จึงสงผล ตอจริยธรรมดานความรับผิดชอบทางการเรียนของผูเรียน ผู วิ จั ย จึ ง มี ค วามมุ ง หวั ง ในการการพั ฒ นารู ป แบบการออก แบบการเรียนการสอนสําหรับการเรียนอีเลิรนนิงเพื่อเสริม สรางจริยธรรมดานความรับผิดชอบตอสําหรับนิสิตนักศึกษา ในระดับปริญญาตรี เพื่อเปนประโยชนตอการเรียนการสอน ในหลักสูตรระดับอุดมศึกษาตอไป

จุดประสงคของการวิจัย 1. เพื่อสรางรูปแบบการออกแบบการเรียนการสอน สําหรับการเรียนอีเลิรนนิงเพื่อเสริมสรางจริยธรรมดานความ รับผิดชอบตอการเรียนสําหรับนิสิตนักศึกษาระดับปริญญา ตรี 2. เพื่อศึกษาผลการทดลองใชรูปแบบการเรียนการ สอนแบบอีเลิรนนิงเพื่อเสริมสรางจริยธรรมดานความ รับผิดชอบสําหรับนิสิตนักศึกษาในระดับปริญญาตรี

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. แบบสอบถามการวิ จั ย สํ า หรั บ ผู เ ชี่ ย วชาญ (Questionnaire) เพื่อศึกษาสภาพการเรียนการสอนและแนว ทางการออกแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิงที่สงเสริม จริยธรรมดานความรับผิดชอบตอการเรียน 2. แบบสอบถามการวิ จั ย สํ า หรั บ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา (Questionnaire) เพื่อศึกษาความคิดเห็นที่มีตอการเรียนการ สอนแบบอีเลิรนนิง 3. แบบประเมิน รูป แบบการออกแบบการ เรียนการสอนสําหรับการเรียนแบบอีเลิรนนิงเพื่อเสริมสราง จริ ย ธรรมด า นความรั บ ผิ ด ชอบต อ การเรี ย นสํ า หรั บ นิ สิ ต นักศึกษาระดับปริญญาตรี 4. แบบประเมินบทเรียนอีเลิรนนิงตามรูปแบบการ ออกแบบการเรียนการสอน ฯสําหรับผูเชี่ยวชาญ 5. แบบประเมินผลจริยธรรม ประกอบดวย 5.1 แบบประเมิ น ความรู ด า นจริ ย ธรรมความ รั บ ผิ ด ชอบโดยใช ส ถานการณ ตั ว อย า ง จํ า นวน 20 สถานการณ โดยใช แ บบวั ด เป น แบบคู ข นาน ( Parallel

ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากรที่ใชในการวิจัย ไดแก 1.1 อาจารย นักวิชาการหรือผูเชี่ยวชาญ ในสถาบันอุดมศึกษาที่มีการเรียนการสอนในระบบอีเลิรนนิง ไดแ ก ผูเชี่ย วชาญดานจริยธรรมสําหรับการเรียนการสอน ผูเชี่ยวชาญดานการจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิง 1.2 นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีของ รัฐที่เรียนดวยการเรียนแบบอีเลิรนนิง 2. กลุมตัวอยาง ไดแก 2.1 กลุมตัวอยางที่ใชในการ ประเมินรูปแบบ ฯ ไดแกผูเชี่ยวชาญในการประเมินรูปแบบ การออกแบบการเรียนการสอน ฯ จํานวน 10 ทาน ซึ่งไดมา จากการเลื อ กกลุ ม ตั ว อย า งแบบเจาะจง ( Purposive Sampling)

2.2 กลุมตัวอยางที่ใชในการทดลอง

Form)

178


การเชื่ อ มโยงเนื้ อ หานอกชั้ น เรี ย น ผ า นสถานการณ ต า ง ๆ หรือบางครั้งผูสอนอาจสมมติใหผูเรียนไดแสดงความคิดเห็น ผานกระดานสนทนา นอกจากนี้ผูสอนยังควรเปนตนแบบที่ดี ในการเรี ย นให ผูเ รี ย นไดเ ห็ น เป นตั ว อย า งเช น การเข า ร ว ม อภิ ป ราย การให ผ ลป อ นกลั บ และเอาใจใส ผู เ รี ย นอย า ง สม่ําเสมอ สําหรับการประเมินผลผูสอนควรประเมินรอบ ด านโดยสั งเกตการเขา ชั้น เรีย นและการมี สวนร ว มในการ อภิปรายความรู และใหผูเรียนไดมีการแสดงความคิดเห็น อยางเต็มที่ กําหนดกิจกรรมที่หลากหลายในแตละสัปดาห เพื่อสรางแรงจูงใจในการเรียนไดเปนอยางดี เปนตน 2.2 ผู วิ จั ย ในแบบสอบถามและการสั ม ภาษณ ผู เ ชี่ ย วชาญจํ า นวน 20 ท า น โดยแบ ง เป น ด า นจริ ย ธรรม จํานวน 10 ทาน และดานการจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิร นนิ ง จํ า นวน 10 ท า น นํ า มาวิ เ คราะห รู ป แบบการพั ฒ นา จริยธรรมดานความรับผิ ดชอบสําหรับการเรียนแบบอีเลิร นนิง และขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนํา องคประกอบของรูปแบบในลักษณะตาง ๆ มาเปนแนวคิดใน การสรางรูปแบบการออกแบบการเรียนการสอน สามารถ สรุปเปนประเด็นตาง ๆ ไดดังนี้ การออกแบบการเรียนการ สอนเพื่อพัฒนาจริยธรรมความรับผิดชอบในการเรียนแบบอี เลิรนนิงควรมีการจัดกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนไดทราบถึง บทบาททางการเรียนดวยตนเอง โดยมีครูผูสอนเปนตนแบบ นอกจากนี้ยังควรออกแบบกิจกรรมใหมีความสอดคลองกับ จริ ย ธรรมความรั บ ผิ ด ชอบ ควรมี เ นื้ อ หาที่ ส อดความ รับผิดชอบทางการเรียนโดยตรง และทางออม มีการกําหนด สถานการณตาง ๆ ใหผูเรียนไดแสดงความคิดเห็นและการ กระตุนเตือนผูเรียนผานระบบการทํางานแบบกลุม สิ่งที่ควร คํานึงถึงสําหรับการออกแบบการเรียนการสอนคือการบันทึก การเรี ย น เช น การตั้ ง เป า หมายทางการเรี ย น การอธิ บ าย วิธีการเรียน และการประเมินตนเองในการเรียน ซึ่งสิ่งตาง ๆ ควรจะแสดงผานเครื่องมือบนอินเทอรเน็ตใหผูเรียนรวมชั้น เรียนแลกเปลี่ยนรวมกัน เปนตน 3. พัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอน และนํารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอน 4. นํ า รู ป แบบการออกแบบการเรี ย นการสอน ฯ เสนอตอผูเชี่ยวชาญดานจริยธรรมสําหรับการเรียนการสอน ด า นการพั ฒ นารู ป แบบการเรี ย นการสอน ด า นจริ ย ธรรม

5.2 แบบวั ด ทั ศ นคติ ด า นจริ ย ธรรมความ รับผิดชอบ เปนแบบประเมินตนเองจํานวน 25 ขอ 5.3 แบบวัดการกํากับตนเองในการเรียนจากสมุด บันทึกการเรียนแบบอีเลิรนนิง เพื่อศึกษากระบวนการกํากับ ตนเองในการเรียน 5.4 แบบวัดพฤติกรรมและบันทึกพฤติกรรม จริยธรรมเพื่อศึกษาพฤติกรรมการความรับผิดชอบของผูเรียน ซึ่ง ผู วิ จัย ได กํา หนดเกณฑเ พื่ อ ให ผู ส อนไดทํ าการประเมิ น โดยแบงความรับผิดชอบเปน 3 ดานไดแก ความรับผิดชอบ ตอตนเอง ความรับผิดชอบตอการงาน และความรับผิดชอบ ตอผูอื่น

วิธีการดําเนินการวิจัย 1. ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด การออกแบบการเรียนการสอน การพัฒนาบทเรียนอีเลิรนนิง วิธีการสรางแบบประเมิน เพื่อเสริมสรางจริยธรรมดานความ รั บ ผิ ด ชอบสํ า หรั บ การเรี ย นการสอนแบบอี เ ลิ ร น นิ ง และ นํามาสังเคราะหเปนทฤษฏีสําหรับการพัฒนารูปแบบโดยนํา หลักการและทฤษฏีที่เกี่ยวของเพื่อพัฒนาแนวทางในการราง รู ป แบบ โดยรวบรวมเอกสารและงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ จริยธรรมสําหรับนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษาจริยธรรม และบทบาทสําหรับการเรียนแบบอีเลิรนนิง จริยธรรมดาน ความรับผิดชอบของบัณฑิต องคประกอบการเรียนการสอน แบบอีเลิรนนิง ขั้นตอนการเรียนการสอนในระบบอีเลิรนนิง การพั ฒ นารู ป แบบการเรี ย นการสอน องค ป ระกอบด า น จริยธรรม การพัฒนาจิตพิสัย (Affective Domain) ทฤษฎี การเรียนรูทางปญญาเชิงสังคม (Social Cognitive Theory) โดยใชการกํากับตนเอง (Self -Regulation) การสรางความ กระจางในคานิยม (Value Clarifications) 2. สร า งรูป แบบการสร า งจริ ย ธรรมสํ าหรับ นิสิ ต นักศึกษาในการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิง 2.1 ผูวิจัยจะทําการศึกษาความคิดเห็นและ พฤติ ก รรมการเรี ย นในระบบอี เลิ ร น นิ ง โดยผู วิ จั ย ใช แ บบ สอบแบบอี เ ลิ ร น นิ ง สอบถามจากผู เ รี ย น จํ า นวน 134 คน พบวา ผูเรียนสวนมากมีความมุงหวังในการเรียนโดยผูสอน ดําเนินการสอนโดยใชกิจกรรมที่สามารถใหผูเรียนมีอิสระ ในการตอบ การตั้งประเด็นคําถาม การกําหนดระยะเวลาการ สงงานไดดวยตนเอง มีระบบการทํางานที่เปนทีม และควรมี

179


ลงทะเบี ย นเรี ย นในรายวิ ช า 468102 คอมพิ ว เตอร เ พื่ อ การศึ ก ษาโดยดํ า เนิ น การทดลองเป น เวลา 4 สั ป ดาห มี ขั้นตอนดังนี้ 7.1 การทดลองรายบุ ค คลจํ า นวน 3 คน เพื่ อ ทดสอบคุณภาพเบื้องตน โดยการสังเกต สัมภาษณ และทํา แบบประเมินคุณภาพบทเรียน 7.2 ดําเนินการทดลองกับ ผูเรียนจํานวน18 คน เพื่อศึกษาผลจริยธรรมดานความรับผิดชอบจากการเรียนดวย รูปแบบการออกแบบการเรีย นการสอน ฯ และทําการเก็บ รวบรวมขอมูลตอไป

สําหรับการเรียนการสอน และดานเทคโนโลยีการศึกษา ดาน ละ 10 ทาน ประเมินความเหมาะสมขององคประกอบและ ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน 5. ผูวิจัยไดทําการออกแบบบทเรียนแบบอีเลิรนนิง เพื่อสงเสริมจริยธรรมดานความรับผิดชอบตามรูปแบบการ ออกแบบการเรี ย นการสอน ฯ โดยผู วิ จั ย เลื อ กวิ ช า คอมพิวเตอรศึกษา และนําไปประเมินคุณภาพบทเรียนจาก ผูเชี่ยวชาญดานการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิงจํานวน 5 ทาน ความคิ ดเห็ นเกี่ยวกับความเหมาะสมในขั้นตอนและ องคประกอบของการจัดกิจกรรมการ เรี ย นที่ พั ฒ นาจริ ย ธรรมด า นความรั บ ผิ ด ชอบที่ ผู วิ จั ย ได พัฒนาขึ้น 6. ผู วิ จั ย ดํ า เนิ น การสร า งเครื่ อ งมื อ ประเมิ น ผล จริ ย ธรรมด า นความรั บ ผิ ด ชอบ ประกอบด ว ย 1) แบบวั ด ความรู ด า นจริ ย ธรรมความรั บ ผิ ด ชอบ เป น สถานการณ ตั ว อย า ง จํ า นวน 20 สถานการณ โดยใช แ บบวัด เป น แบบ คูขนาน (Parallel Form) โดยมีคาความสอดคลองในทุกขอ มากกวา 0.5 ขึ้นไป และคาความเชื่อมั่นของแบบวัดทั้งฉบับ เท า กั บ 0.83 2) แบบวั ด ทั ศ นคติ ด า นจริ ย ธรรมความ รับผิดชอบ เปนแบบประเมินตนเอง จํานวน 25 ขอ โดยแบบ วัดทั้งสองชนิดนี้จะทําการวัดผลกอนและหลังจากการเรียน ดวยรูปแบบการออกแบบการสอนแบบอีเลิรนนิง ฯ ) โดยมี คาความสอดคลองในทุกขอมากกวา 0.5 ขึ้นไป และคาความ เชื่อมั่นของแบบวัดทั้งฉบับเทากับ 0.81 3) แบบวัดการกํากับ ตนเองในการเรี ย น ) โดยมี ค า ความสอดคล อ งในทุ ก ข อ มากกวา 0.5 ขึ้นไป และคาความเชื่อมั่นของแบบวัดทั้งฉบับ เทากับ 0.61 และ 4) แบบวัดพฤติกรรมและบันทึกพฤติกรรม จริ ย ธรรม เพื่ อ ศึ ก ษาพฤติ ก รรมการความรั บ ผิ ด ชอบของ ผู เ รี ย น ซึ่ ง ผู วิ จั ย ได กํ า หนดเกณฑ เ พื่ อ ให ผู ส อนได ทํ า การ ประเมิน โดยแบ งความรั บผิดชอบเปน 3 ดานไดแ ก ความ รับผิดชอบตอตนเอง ความรับผิดชอบตอการงาน และความ รั บ ผิ ด ชอบต อ ผู อื่ น ) โดยมี ค า ความสอดคล อ งในทุ ก ข อ มากกวา 0.5 ขึ้นไป และคาความเชื่อมั่นของแบบวัดทั้งฉบับ เทากับ 0.84 7. ทดลองใช รู ป แบบการออกแบบการเรี ย นการ สอน โดยดําเนินการหาประสิทธิภาพของบทเรียนกอนที่จะ นํ า ไปใช กั บ กลุ ม ตั ว อย า งจริ ง โดยทดลองกั บ นั ก ศึ ก ษาที่

ผลการวิจัย ผลการพั ฒ นารู ป แบบรู ป แบบการออกแบบการ เรียนการสอนสําหรับการเรียนแบบอีเลิรนนิงเพื่อเสริมสราง จริ ย ธรรมด า นความรั บ ผิ ด ชอบต อ การเรี ย นสํ า หรั บ นิ สิ ต นักศึกษาระดับปริญญาตรี สามารถอธิบายไดดังนี้ 1. รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนสําหรับ การเรียนแบบอีเลิรนนิงเพื่อเสริมสรางจริยธรรมดานความ รับผิดชอบตอการเรียนสําหรับนิสิตนักศึกษาระดับปริญญา ตรี ที่พัฒนาขึ้นซึ่งประกอบดวย 8 องคประกอบหลัก 1.1 ขั้นที่ 1 ปฐมนิ เ ทศการเรี ย นและวาง แผนการเรียนรูในภาพรวมดานการสอน โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.82 แปลผลอยูในระดับมากที่สุดดาน การเรียนโดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.78 แปลผลอยูในระดับมาก ที่สุด 1.2 ขั้นที่ 2 ผูสอนสรางแรงจูงใจในการเรียน และสนับสนุนใหมีการประเมินตนเองในภาพรวมดานการ สอนโดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.76 แปลผลอยูในระดับมากที่สุด ดานการเรียนโดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.70 แปลผลอยูในระดับ มากที่สุด 1.3 ขั้นที่ 3 ผูสอนทบทวนและเชื่อมโยง ความรู เ ดิ ม โดยการจั ด ระบบการเรี ย นรู โ ดยให ห ลั ก การ พิจารณาจากผลลัพธในภาพรวมดานการสอนโดยมีคาเฉลี่ย เทากับ 4.83 แปลผลอยูในระดับมากที่สุดดานการเรียนโดยมี คาเฉลี่ยเทากับ 4.70 แปลผลอยูในระดับมากที่สุด 1.4 ขั้นที่ 4 นําเสนอเนื้อหาและกิจกรรมที่ สงเสริมจริยธรรมดานความ

180


4. ผู วิ จั ย ได ทํ า ทดลองรู ป แบบการออกแบบการ เรียนการสอนฯ จากผูเรียนทั้ง 18 คน โดยมีผลการประเมิน ดานความรูเทากับ 3.02 ซึ่งแปลผลอยูในระดับมาก ผลการ ประเมินดานทัศนคติเทากับ 3.64 ซึ่งแปลผลอยูในระดับมาก ที่สุด ผลการประเมินดานพฤติกรรมเทากับ 2.54 ซึ่งแปลผล อยูในระดับมาก และผลการประเมินการกํากับตนเองเทากับ 3.56 ซึ่งแปลผลอยูในระดับมากที่สุด

รับผิดชอบในภาพรวมดานการสอนโดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.83 แปลผลอยูในระดับมากที่สุด 1.5 ขั้นที่ 5 สรางลักษณะนิสัยโดยสนับสนุน ให ผู เรี ย นแสวงหาความรู ในภาพรวมด านการสอนโดยมี คาเฉลี่ยเทากับ 4.76 แปลผลอยูในระดับมากที่สุดดานการ เรียนโดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.80 แปลผลอยูในระดับมากที่สุด 1.6 ขั้นที่ 6 สนับสนุนใหเกิดความรวมมือโดย พิจารณาทางเลือกอยางอิสระในภาพรวมดานการสอนโดยมี คาเฉลี่ยเทากับ 4.76 แปลผลอยูในระดับมากที่สุดดานการ เรียนโดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.77 แปลผลอยูในระดับมากที่สุด 1.7 ขั้นที่ 7 แนะนําใหขอมูลปอนกลับโดยการ แสดงปฏิ กิ ริ ย าต อ ตนเองในภาพรวมด า นการสอนโดยมี คาเฉลี่ยเทากับ 4.76 แปลผลอยูในระดับมากที่สุดดานการ เรียนโดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.75 แปลผลอยูในระดับมากที่สุด 1.8 ขั้นที่ 8 สงเสริมคุณลักษณะดานความ รับ ผิดชอบที่พึงประสงค แ ละประเมิน จริ ย ธรรมดา นความ รับผิดชอบในภาพรวมดานการสอนโดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.82 แปลผลอยู ใ นระดั บ มากที่ สุ ด ด า นการเรี ย นโดยมี ค า เฉลี่ ย เทากับ 4.82 แปลผลอยูในระดับมากที่สุด 2. คุณภาพบทเรียนอีเลิรนนิงที่พัฒนาตามรูปแบบ การออกแบบการเรี ย นการสอน ฯ โดยการประเมิ น จาก ผูเชี่ยวชาญผลปรากฏวาเว็บไซตที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ ตามเกณฑที่กําหนด โดยมีผลการประเมินคิดเปนคาเฉลี่ยรวม เทากับ 4.20 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.44 โดยแปลผล ระดับความคิดเห็นอยูในระดับมาก 3. ประสิ ท ธิ ภ าพบทเรี ย นอี เ ลิ ร น นิ ง ที่ พั ฒ นาตาม รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอน ฯ โดยการประเมิน จากผู เ รี ย นในขั้ น การทดลองแบบเดี่ ย ว ทั้ ง ในด า นความรู ทัศนคติ และพฤติกรรม ผลปรากฏวารูปแบบที่พัฒนาขึ้นมี ประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนดซึ่งพบวาผูเรียนทั้ง 3 คน สามารถเขาใจวิธีการเรียนและทํากิจกรรมการเรียนการสอน ไดเปนอยางดี โดยมีผลการประเมินดานความรูเทากับ 2.76 ซึ่ ง แปลผลอยู ใ นระดั บ มาก ผลการประเมิ น ด า นทั ศ นคติ เทากับ 3.88 ซึ่งแปลผลอยูในระดับมากที่สุด ผลการประเมิน ดานพฤติกรรมเทากับ 3.08 ซึ่งแปลผลอยูในระดับมากที่สุด และผลการประเมินการกํากับตนเองเทากับ 3.44 ซึ่งแปลผล อยูในระดับมาก

ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรมีการวิจัยรูปแบบการออกแบบการเรียนการ สอนแบบอีเลิรนนิงเพื่อสงเสริมจริยธรรมสําหรับการเรียน การสอนในหมวดวิ ช าอื่ น ๆ ที่ น อกเหนื อ จากหมวดวิ ช า คอมพิวเตอร 2. ควรมีการวิจัยการวัดและประเมินผลที่เกี่ยวของ กับ จริย ธรรมสํ าหรั บ การเรีย นแบบอี เลิรนนิ ง โดยกําหนด คุณลักษณะในลักษณะการประเมินผลรอบดานที่สอดคลอง กับการจัดการเรียนรู 3. ควรมี ก ารศึ ก ษาตั ว แปรที่ ส ง ผลต อ การพั ฒ นา จริ ย ธรรมที่ มี ต อ การเรี ย นในลั ก ษณะอื่ น ๆ รวมถึ ง สภาพแวดลอมในการเรียนในระบบอีเลิรนนิง

เอกสารอางอิง กฤษณพล จันทรพรหม. (2548). การศึกษารูปแบบ มหาวิทยาลัยเสมือนจริงที่เหมาะสมสําหรับ สถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย. ปริญญานิพนธ กศ.ด. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ฐาปนีย ธรรมเมธา. (2552). “การเรียนแบบอีเลิรนนิง” คูมือ อาจารยคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. นครปฐม: เพชรเกษมการพิมพ. ทิศนา แขมมณี. (2546). การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และ คานิยม : จากทฤษฎี สูการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : เสริมสิน พรีเพรส ซิสเท็ม. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ. (2551). แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10” เขาถึงเมื่อ 22 สิงหาคม 2551. เขาถึงได จากhttp://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=139 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม

181


นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต” วิทยานิพนธ ปริญญาดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

แหงชาติ. (2551). พระบรมราโชวาทในพิธี พระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร : ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๑๙. (ออนไลน).

Ann Lewis, Jill Porter. (2004). Interviewing children and young people with learning disabilities*: guidelines for researchers and multiprofessional practice. British Journal of Learning Disabilities. Vol, 32 (4) page: 191197. School of Education, University of Birmingham, Edgbaston, Birmingham, UK. Retrived January, 22 2010. form http://dx.doi.org/10.1111/j.14683156.2004.00313.x Colnerud, G. (1997). Ethical Conflicts in Teaching. Teaching and Teacher Education, 13 (6): 627–635.

เขาถึงเมื่อ 22 สิงหาคม 2551. เขาถึงไดจาก http://www.sufficiencyeconomy.org/mfiles/1072323 831/File%2014_K.pdf สํานักคณะกรรมการมาตรฐานอุดมศึกษา. (มปป.) กรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552. เอกสารอัดสําเนา. มปท. มนตรี แยมกสิกร. (2546). การพัฒนาหลักสูตรและการ ออกแบบการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการรายวิชา ศึกษาทั่วไปเพื่อกพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิตอุดม คติ. เอกสารการประกอบการประชุมวิชาการ “บัณฑิตอุดมคติไทยในระดับประเทศ : การพัฒนา เครือขายบัณฑิตอุดมคติไทยและการนําเสนอ ผลงานวิจัย” เนื่องในโอกาสครบรอบ 48 ป วัน สถาปนา มหาวิทยาลัยบูรพา วันที่ 6-7 กรกฎาคม 2546. ยืน ภูวรวรรณและสมชาย นําประเสริฐชัย. (2546). ไอซีที เพื่อการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (2544). กรอบนโยบายเทคโนโลยี สารสนเทศระยะ พ.ศ. 2544-2553 ของประเทศไทย. สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยี สารสนเทศแหงชาติ ศูนยเทคโนโลยี อีเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ. อรจรีย ณ ตะกั่วทุง สุกรี รอดโพธิ์ทอง และวิชุดา รัตนเพียร. (2541).“แนวทางการพัฒนาการสอนวิชา คอมพิวเตอรในโรงเรียนมัธยมศึกษา.” วารสารครุ ศาสตร ปที่ 27 ฉบับที่ 1 ก.ค. - ต.ค. : 90-101. ศิริชัย นามบุรี. (2549). “แนวทางการประเมินจริยธรรมที่ สนับสนุนความสําเร็จทางการเรียนของผูเรียนใน ระบบ e-Learning” วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏ ยะลา. ปที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม – ธันวาคม 2549 หนา 139-155. ดิเรก ธีระภูธร. (2546). “การใชกลวิธีการกํากับตนเองในการ เรียนบนเครือขายคอมพิวเตอรสําหรับ

Eknarin Bangthamai. (2008). “The Study of Guideline to Enhance Ethics of e-Learning among University Students” International e-Learning Conference 2008. Volume 1, No 3 (2008). Retrieved January 22, 2009 from http://ejournals.swu.ac.th/index.php/ictl/article/view File/374/369 Kanuka, H., & Anderson, T. (2007). Ethical issues in qualitative e-learning research. International Journal of Qualitative Methods, 6(2), Article 2.Retrieved January 22, 2010 fromhttp://www.ualberta.ca/~iiqm/back issues/6_2/kanuka.pdf Khan, B.H.(1997) . Web-Based Instruction. Englewood Cliffs, NJ: Prentice –Hall. Gary B. Thompson. (2002). Information Literacy Accreditation Mandates: What They Mean for Faculty and Librarians. Retrieved April 16, 2009, formhttps://www.ideals.uiuc.edu/bitstream/handle /2142/8462/librarytrendsv51i2h_opt.pdf?sequence =1 Penina Mungania. (2003). The Seven E-learning Barriers Facing Employees. University of Louisville. Ron Oliver. (2002). The role of ICT in higher education for the 21st century: ICT as a change agent for education. Retrieved April, 13 2009. From

182


http://elrond.scam.ecu.edu.au/oliver/2002/he21.pd f ภาคผนวก ก: รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนสําหรับ การเรียนแบบอีเลิรนนิงเพื่อเสริมสรางจริยธรรมดานความ รับผิดชอบตอการเรียนสําหรับนิสิตนักศึกษา ระดับปริญญาตรี

183



การพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนอีเลิรนนิง ระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Development of an e-Learning Instructional Design Model for Master Degree Programs of Sukhothai Thammathirat Open University สมัครสมร ภักดีเทวา นักศึกษาปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาหลักสูตรและวิธีสอน (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (smaksmorn@hotmail.com)

Keyword: e-Learning Instructional Design, development of e-Learning system (courseware), Webinar Interactive (activities interactions)

ABSTRACT The study of “The Development of an e-learning Instructional Design Model” for graduate studies at Sukhothai Thammathirat Open University represents an attempt to (1) study self-perception of professors and graduate students towards the e-Learning system (2) to collect thoughts of specialists towards the eLearning (3) to construct a framework to design a model of e-Learning (4) to test the constructed framework of e-Learning (5) to present a suitable eLearning system for graduate studies at Sukhothai Thammathirat Open University in which the samplings comprises of (1) Evaluation specialists in e-Learning system (2) Professors that are being used the eLearning system (3) Graduate students who encounters the e-Learning system through the researching tools of (1) A survey of professors (2) A survey of graduate students (3) An evaluation of e-Learning system framework (4) A post-evaluation of e-Learning system which steps of research methodologies have been taken in to an account were (1) the study of paradigms and its fundamental (2) the study of explicit and exceptional needs (3) the framework development (4) A suggestion survey from the specialists (5) A drafted framework (6) A testing and a guaranteed system of the framework (7) Re-define and re-evaluate the framework. The major findings that emerged were that the development of e-Learning system derived from 9 criterion as follows: (1) A concise vision and mission (2) A study of contemporary environmental needs of the e-Learning system (3) Evaluation of users (4) Evaluation of environmental affects (5) Management of its core (6) A system management (7) development of e-Learning system(courseware) and Webinar Interactive(activities interactions )(8) deploy the eLearning system (9) A post-evaluation of the eLearning system which has been evaluated as “HIGH” along with its framework.

บทคัดยอ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค ห ลั ก คื อ พั ฒ นารู ป แบบการ ออกแบบการเรียนการสอบอีเลิรนนิง ระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช โดยมีวัตถุประสงคเฉพาะ (1) ศึกษาความคิดเห็นของ อาจารย นักศึกษา เกี่ยวกับการ จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น อี เ ลิ ร น นิ ง ข อ ง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2) ศึกษาความคิดเห็นของ ผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง ของ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช (3) เพื่อสรางรูปแบบการ ออกแบบการเรีย นการสอนอีเลิร นนิง ระดับ บั ณฑิต ศึกษา ของมหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช (4) เพื่ อ ทดลองใช รูปแบบการออกแบบการเรีย นการสอนอีเลิรนนิง ระดับ บัณฑิตศึกษา ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (5) เพื่อ นําเสนอรูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนอีเลิรนนิง ระดับบัณฑิตศึกษาที่เหมา ะสมสําหรับมหาวิทยาลัย สุโขทัย ธรรมาธิ ร าช กลุ ม ตัว อย า งที่ ใ ช ใ นการวิจั ย ครั้ง นี้ ไ ด แ ก (1) ผูเชี่ยวชาญในการประเมินรูปแบบการออกแบบการเรียนการ สอนอีเลิรนนิง (2) อาจารยที่ใชรูปแบบการออกแบบการ เรียนการสอนอีเลิรนนิง (3) นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เพื่ อ ทดลองใช รู ป แบบการออกแบบการเรี ย นการสอนอี

185


อื่น ๆ ที่ผูเรียนสามารถศึกษาไดดวยตนเอง โดยไมตองเขา เรี ย นตามปกติ (27 ป มสธ., 2548)มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิราช ใช “แผน มสธ.” (2523) ซึ่งเปนระบบการสอน ทางไกล โดยมีสื่อสิ่งพิมพเปนสื่อหลักที่บรรจุเนื้อหาสาระ แนวคิด ประสบการณ ทักษะและเจตคติทั้งมวลตามหลักสูตร ลงในเอกสารสิ่ง พิม พ จั ด เปนชุ ด การสอนที่อ อกแบบและ พิมพ โดยคณะกรรมการกลุมผลิตชุดวิชา ทั้งนี้เนื่องจากสื่อ สิ่งพิมพเปนสื่อที่สามารถจัดสงไปถึงผูเรียนไดทุกทองถิ่น ทางไปรษณีย ผูเรียนสามารถเลือกเวลาศึกษาไดตามความ สะดวกและความเหมาะสมของตนเอง และสื่อเสริมที่เปนสื่อ ที่ขยายเนื้อหาสาระและประสบการณเพิ่มเติม เพื่อชวยให ผูเรียนเขาใจเนื้อหาสาระในสื่อหลักไดดีขึ้นในกรณีที่ผูเรียน ศึกษาจากสื่อหลักแลวสามารถศึกษาเพิ่มเติมจากสื่อเสริม สื่อ การสอนชุดวิชา ประกอบดวย สื่อหลักและสื่อเสริม สื่อหลัก ได แ ก เอกสารการสอน และแบบฝ ก ปฏิ บั ติ น อกจากสื่ อ สิ่งพิมพแลว สื่อหลักอาจประกอบดวย เทปเสียงและ/หรือวีดิ ทั ศ น ป ระจํ า ชุ ด วิ ช าที่ นั ก ศึ ก ษาใช ป ระกอบการศึ ก ษาของ ตนเอง หนังสือและเอกสารอานประกอบ ซึ่งมหาวิทยาลัยได จัดสงตามมุ ม มสธ. และศูนยวิทยพัฒนาของมหาวิทยาลัย สํ า หรั บ สื่ อ เสริ ม นั้ น เป น สื่ อ ที่ ข ยายเนื้ อ หาสาระและ ประสบการณเพิ่มเติม ชวยใหผูเรียนเขาใจเนื้อหาสาระในสื่อ หลักไดดีขึ้น สื่อเสริมที่จัดใหผูเรียนประกอบดวย รายการ วิทยุกระจายเสียง รายการวิทยุโทรทัศน เทปเสียง วีดิทัศน การสอนเสริ ม การสอนเสริ ม ทางไกลผ า นดาวเที ย ม และ คอมพิวเตอรชวยสอน (ชัยยงค พรหมวงศ : 2534, 27 ป มสธ., 2548) โดย “แผน มสธ.” (2523) ยังคงเปนระบบหลักที่ ใชอยูในระบบการเรียนการสอนทางไกลของมหาวิทยาลัย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช แม จ ะมี ก ารพั ฒ นาระบบการสอน ทางไกลสํ าหรับ บัณฑิ ตศึ ก ษาและระบบการสอนทางไกล “แผน มสธ. – 3” (2542) ซึ่งเปนระบบการสอนผานเครือขาย คอมพิวเตอรที่ยังไมไดมีการประกาศใช ระบบการเรียนการ สอนทางไกลของมหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช ถึงแมวา จะมี จุ ด แข็ ง คื อ การขยายโอกาสทางการศึ ก ษาให กั บ ประชาชนจํานวนมากทั่วประเทศ โดยมีคาใชจายที่ต่ํามากเมื่อ เปรียบเทียบกับคาใชจายในการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา อื่น ๆ ภายในประเทศ นอกจากนี้ยังมีจุดแข็งในดานกลไก

เลิ ร น นิ่ ง เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ ไ ด แ ก (1) แบบสอบถามอาจารย มสธ. (2) แบบสอบถามนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา (3) แบบประเมินรูปแบบการออกแบบการเรียน การสอนอีเลิรนนิง (4) แบบประเมินการจัดการเรียนการ สอนอีเลิรนนิง วิธีการดําเนินการวิจัย (1) ศึกษาองคความรู เกี่ยวกับตนแบบชิ้นงานดวยการวิเคราะห สังเคราะหขอมูล พื้นฐาน (2) ศึกษาความตองการเกี่ยวกับตนแบบชิ้นงาน (3) พัฒนากรอบแนวคิดของตนแบบชิ้นงาน (4) สอบถามความ คิดเห็นและขอเสนอแนะผูเชี่ยวชาญ (5) รางตนแบบชิ้นงาน (6) ทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพและรั บ รองต น แบบชิ้ น งาน (7) ปรับปรุงตนแบบชิ้นงาน ผลการวิจัยพบวา (1) รูปแบบการ ออกแบบการเรี ย นการสอนอี เ ลิ ร น นิ ง ที่ พั ฒ นาขึ้ น ประกอบดวย 9 ขั้นตอน ดังนี้ (1.0) กําหนดอุดมการณ ไดแก ปรัชญา วิสั ย ทัศ น (2.0) ศึกษาสภาพปจ จุ บัน ปญ หาความ ต อ งการในการเรี ย นการสอนอี เ ลิ ร น นิ ง (3.0) วิ เ คราะห ผูเรียน (4.0) วิเคราะหบริบทและสภาพแวดลอม (5.0) จัดการ เนื้อหาและประสบการณ (6.0) การออกแบบการเรียน การ สอน (7.0) พัฒนาชุดการเรียน (Courseware) อีเลิรนนิง และ กิจกรรมปฏิสัมพันธ (Webinar Interactive) (8.0) ดําเนินการ เรี ย นการสอนอี เ ลิ ร น นิ ง และกิ จ กรรมปฏิ สั ม พั น ธ (9.0) ประเมิ น การเรี ย นการสอนอิ เ ล็ ก ทรอนิ ส ก โดยมี ผ ลการ ประเมินในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด และรูปแบบการ จัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง มีผลประเมินอยูในระดับมาก คําสําคัญ : การออกแบบการเรียนการสอนอีเลิรนนิง , บทเรี ย นอี เ ลิ ร น นิ ง (e-Learning) , กิ จ กรรมปฏิ สั ม พั น ธ (Webinar Interactive)

1) บทนํา มหาวิ ทยาลัย สุโ ขทัย ธรรมาธิราช ในฐานะที่เปน มหาวิทยาลัยในระบบเปด ยึดหลักการศึกษาตลอดชีวิต มุง พัฒนาคุณภาพของประชาชนทั่วไปเพิ่มพูนวิทยฐานะแกผู ประกอบอาชี พ และขยายโอกาสทางการศึ ก ษาต อ สํ า หรั บ ผูสําเร็จมัธยมศึกษา เพื่อสนองความตองการของบุคคลและ สังคมดวยการจัดระบบการเรียนการสอนทางไกล ซึ่งใชสื่อ สิ่งพิมพ สื่อวิทยุกระจายเสียง สื่อวิทยุโทรทัศน และวิธีการ

186


ต อ งมี คุ ณ ลั ก ษณะที่ เ อื้ อ ต อ การเรี ย นรู สามารถเข า ถึ ง แหลงขอมูลไดงาย (Threlkerld, 1994) ดวยเหตุนี้ระบบการ สอนทางไกลของหาวิ ท ย า ลั ย สุ โ ข ทั ย ธ ร ร ม า ธิ ร า ช จึงเปลี่ยนแปลงตามความกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อ สาร เพื่ อ ให ม หาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช ยังคงเปนผูนําในดานการศึกษาทางไกล คณะกรรมการพัฒนา ระบบและสื่อสารการสอนทางไกลของมหาวิทยาลัย จึงไดมี การพัฒนาระบบการสอนทางไกลทั้งระดับปริญญาตรี และ ระดับบัณฑิตศึกษา คือ “แผน มสธ. 2543” ใหเปนแผนหลัก ทางวิชาการของมหาวิทยาลัย อันจะนําไปสูการพัฒนาระบบ สื่อการสอนทางไกล เพื่อใหทันความกาวหนาทางวิทยาการ และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป (ชัยยงค พรหมวงศ, 2544) “แผน มสธ. 2543” เป น แผนแม บ ทของระบบการสอน ทางไกล โดยมีแผนผลิตชุดการสอนทางไกล 2 แผน คูขนาน คื อ ชุ ด การสอนทางไกลอิ ง สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ และชุ ด การสอน ทางไกลอิงสื่อคอมพิวเตอร มีองคประกอบ 9 องคประกอบ ดัง นี้ 1. ปรั ช ญาและวิสั ย ทัศ น 2. สภาพ ป ญ หา และความ ต อ งการของสั ง คม 3. ธรรมชาติ นั ก ศึ ก ษาและมาตรฐาน บั ณ ฑิ ต 4. บริ บ ทการเรี ย นรู 5. หลั ก สู ต ร 6. ชุ ด การสอน ทางไกล 7. การถายทอดและเผชิญมวลประสบการณ 8. การ ประเมิน 9. การประกันคุณภาพ เพื่อให “แผน มสธ.2543” เปนไปตามที่ไดกําหนดไว อันจะนําไปสูการพัฒนาระบบ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ท า ง ไ ก ล อ ย า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ มหาวิทยาลัย สุ โ ขทัย ธรรมาธิ ราช จึงมีค วามมุงมั่นที่จ ะลด จุ ด อ อ นและพั ฒ นาจุ ด แข็ ง ของระบบการเรี ย นการสอน ทางไกล เพื่อตอบสนองผูเรียนใหไดรับประโยชนอยางเต็มที่ จากการศึกษาในระบบการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย โดยการเพิ่มทางเลือกการเรียนรูใหแกผูเรียนดวยการจัดการ เ รี ย น ก า ร ส อ น ใ น ร ะ บ บ e-Learning ผ า น เ ค รื อ ข า ย คอมพิวเตอรตาม “แผน มสธ.2543” ในการพัฒนาชุดการ สอนทางไกล ป พ.ศ.2547 มหาวิ ท ยาลั ย ได ป ระกาศ ยุทธศาสตรพัฒนามหาวิทยาลัยสูการเปน e-University หรือ มหาวิทยาลัยอีเลิรนนิง ที่ทันสมัย กาวทันวิทยาการที่รุดหนา และยืนหยัดอยางมั่นคงตอความเปลี่ยนแปลงของโลกและ สังคม ไดมีการพั ฒนาระบบ e-Learning ผานเครือ ขา ย คอมพิว เตอร เพื่อ ใชเปนสื่อ เสริม อีก สื่อ หนึ่ง ในระบบการ

พัฒนาเอกสารการสอนที่มีคุณภาพ โดยอาศัยผูทรงคุณวุฒิทั้ง ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย แตเอกสารการสอนของ มหาวิ ท ยาลั ย ก็ มี จุ ด อ อ นในด า นระยะเวลาที่ ใ ช ใ นการ ปรับปรุงที่คอนขางนาน ทําใหเอกสารการสอนจํานวนมากมี เนื้อหาสาระที่ลาสมัย ไมทันตอการเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้ ระบบการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยยังมีจุดออนในดาน ปฏิ สั ม พั น ธ ร ะหว า งผู เ รี ย นกั บ ผู ส อน และระหว า งผู เ รี ย น ดวยกันที่คอนขางนอยหรือแบบไมมีเลย (สุมาลี สังขศรี และ คณะ : 2533, ปยฉัตร สมบัติศิรินันท : 2540, กองแผนงาน : 2542, ป ท มาพร เย็ น บํ า รุ ง และคณะ : 2548) นอกจากนี้ อิทธิพลของความเจริญกาวหนาทางวิทยาการดานการสื่อสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีเครือขายโยงใย ไปทั่วโลก เชน ทางดวนขาวสารขอมูล (Information Superhighway) และระบบเครื อ ข า ยคอมพิ ว เตอร ที่ เ รี ย กว า อิ น เ ท อ ร เ น็ ต (internet) ทํ า ใ ห สั ง ค ม เ ป ลี่ ย น ไ ป เ ป น สังคมสารสนเทศ (information Society) ทําใหโลกกาวเขาสู ยุ ค โลกาภิ วั ฒ น อ ย า งรวดเร็ ว โลกถู ก หลอมเป น หนึ่ ง เดี ย ว เรียกวาโลกไรพรมแดน กิจกรรมทุกดานไมวาดานเศรษฐกิจ สั ง คม วั ฒ นธรรม การเมื อ ง การศึ ก ษา สิ่ ง แวดล อ มถู ก เชื่อมโยงใหเขาถึงกัน ทางดานการศึกษากอใหเกิดกระแส ข า วสาร ข อ มู ล ความรู การแสวงหาความรู การกระจาย ขาวสารขอมูลและการเรียนรู สะดวก งาย รวดเร็วในหลาย รูปแบบ (แผนการศึกษาแหงชาติฉบับที่ 8 : 2540-2544) การ เปลี่ ย นแปลงดั ง กล า วส ง ผลกระทบต อ สั ง คมไทยเกิ ด การ เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในดานวิถีชีวิตของคนในสังคมจะ เป ด กว า ง ความเจริ ญ ก า วหน า ด า นข อ มู ล ข า วสารเข า มามี อิทธิพลตอวิถีการดําเนินชีวิตของประชาชนอยางกวางขวาง เป น ยุ ค ของเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร (Information and Communication Technology : ICT) การ พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาจึงจําเปนตองเรงรัดใหทันตอ การเปลี่ยนแปลง และดวยเหตุที่การเรียนการสอนทางไกลมี พัฒนาการจากความกาวหนาของเทคโนโลยี (Moore, 1996) สื่อและเทคโนโลยีที่ใชถายทอดการเรียนการสอน จึงเปน แหลงรวมสารสนเทศที่ทั้งผูเรียนและผูสอนทางไกลสามารถ ศึกษาเนื้อหาไดมากเทาที่ตองการ หรือสามารถใชประโยชน ของเทคโนโลยีเพื่อการติดตอสื่อสาร สื่อและเทคโนโลยีจึง

187


วิธีการเรียนการสอนที่มีกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีความ สอดคลองเหมาะสมและเอื้ออํานวยตอรูปแบบของการเรียน การสอนบนเครื อ ข า ยคอมพิ ว เตอร จึ ง จะใช ศั ก ยภาพของ เทคโนโลยีของระบบเครือขายไดอยางเต็มประสิทธิภาพ และ ทําใหไดผลลัพธและคุณประโยชนตอการเรียนรูอยางสูงสุด (พิชัย ทองดีเลิศ, 2547 : 2) สําหรับประเทศไทยบทเรียน eLearning ยั ง เป น เรื่ อ งใหม สํ า หรั บ ผู ส อนส ว นใหญ ที่ ยั ง ไม คุนเคยกับการใชเทคโนโลยี และมีปญหาดานการประยุกตใช ในการเรียนการสอน ดังนั้นบทเรียน e-Learning จึงมักใชเปน ที่เก็บเนื้อหาการเรียนการสอน ซึ่งผูเรียนอาจใชหรือไมใช ประโยชนในการเรียนรูจากบทเรียน e-Learning (ธนิศ ภูศิริ, 2548 : 2) จากแผนพัฒนามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 5 ป (พ.ศ.2552-2556) เพื่ อ พั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย สู ก ารเป น eUniversity โดยการนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใช ใ นการส ง เสริ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการเรี ย นการสอนใน รูปแบบการศึกษาทางไกลผานเครือขายคอมพิวเตอรที่อยูใน รู ป ของบทเรี ย น e-Learning สภามหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิราช จึงไดมีมติเห็นชอบรูปแบบสื่อการสอนทางไกล ในระดับบัณฑิตศึกษาคือปริญญาโทและปริญญาเอก ในสวน ที่เปนสื่อเสริมในรูปของบทเรียน e-Learning online DVD ประกอบการสั ม มนาเสริ ม /เข ม MP3/ไฟล เ สี ย งทาง อินเทอรเน็ต สําหรับสื่อปฏิสัมพันธ ใหมีการจัด e-Seminar ที่ เนนปฏิสัมพันธระหวางคณาจารยกับนักศึกษา และนักศึกษา กั บ นั ก ศึ ก ษา โดยยั ง คงมี ก ารสั ม มนาเสริ ม /เข ม (แบบ เผชิญหนา) รอยละ 50 ของเวลาที่ใชปกติ (ทิศทางการจัดการ เรียนการสอนและบริหารงานมหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมา ธิราช ภายใตแผนพัฒนามหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช ระยะ 5 ป (พ.ศ.2552-2556) , 2551) ในการศึกษาเอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการพัฒนารูปแบบการออกแบบการ เรียนการสอนอีเลิรนนิง ของมหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมา ธิราช พบวาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของจะเปนการวิจัย เพื่ อ พั ฒ นาบทเรี ย น e-Learning ของมหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิราช โดยเปนการวิจัยพัฒนาบทเรียน e-Learning ผาน การประเมินจากผูเชี่ยวชาญ การวิจัยที่เกี่ยวของกับผลสํารวจ ความพึงพอใจในการใชสื่อของนักศึกษา การวิจัยที่เกี่ยวกับ ระบบการจัดการเรียนการสอน (LMS) ที่ใช A-TuTor และ

เรียนการสอนทางไกลของ มสธ. โดยผสมผสานศักยภาพ ของสื่อ e-Learning กับสื่ออื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยที่มีอยูเดิม เพื่อ พัฒนากระบวนการเรียนรูในระบบการเรีย นการสอน ทางไกลของมหาวิทยาลัยใหสอดคลองกับแนวทางการปฏิรูป การศึกษา ที่เอื้อตอกระบวนการเรียนรูอยางตอเนื่องตลอด ชีวิต จะเห็นไดจากการกําหนดนโยบายเกี่ยวกับการจัดการ เรี ย นการสอนในระบบ e-Learning ไว ใ นแผนพั ฒ นา มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช ระยะ 5 ป (พ.ศ.25472551) (มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช : 2548) และจาก แผนพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช 5 ป (พ.ศ. 2552-2556) ไดกําหนดวิสัย ทัศ น ใหมหาวิทยาลัย สุโขทัย ธรรมาธิ ร าช เป น มหาวิ ท ยาลั ย เป ด ที่ ใ ช ร ะบบการศึ ก ษา ทางไกลชั้นนําของโลก ใหการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับทุกคน และมีประเด็นยุทธศาสตรในการพัฒนา 7 ยุทธศาสตร โดย ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 คือ การพัฒนาระบบและเทคโนโลยี การเรียนการสอนอีเลิรนนิง ดวยเหตุที่การเรียนการสอนโดย ใชสื่อคอมพิวเตอรมีขอดีหลายประการในดานการสงเสริม การศึกษาทางไกล เปนการเรียนรูภายใตหลักการสําคัญคือ ยืดหยุนความสามารถในการเขาถึงประสิทธิภาพการเรียนรู และความสามารถในการรวบรวมขอมูล ผูเรียนสามารถเลือก เรียนวิชาที่ตนสนใจและตามศักยภาพของตนจากที่ไหนและ เวลาใดก็ไดตลอดเวลา นอกจากนี้ยังเพิ่มปฏิสัมพันธระหวาง ผูเรียนกับผูสอน และผูเรียนกับผูเรียนดวยกันไดมากขึ้นอยาง เปนอิสระและมีความเปนสวนตัว (Khan 2005, Chizmar และ คณะ 1999, Zhao 1998, Mclallan 1998, Relan and Gillini 1997, Budd 1997, ชัยยงค พรหมวงศ 2544, ยืน ภูวรวรรณ 2545, ถนอมพร เลาหจรัสแสง 2544 ) แมวาการจัดการเรียน การสอนบนเครือขายคอมพิวเตอรที่อยูในรูปของบทเรียน eLearning จะมี ข อ ดี ห ลายประการ แต ยั ง มี ข อ จํ า กั ด ในทาง ปฏิบัติอยูบาง เชน ความพรอมของโครงสรางพื้นฐานดาน ไอซีทีที่จําเปนสําหรับผูเรียนและผูสอน การออกแบบระบบ การเรี ย นการสอนที่ เ หมาะสมกั บ ลั ก ษณะ สภาพแวดล อ ม และปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับผูเรียน (สํานักงานเลขานุการ คณะกรรมการเทคโนโลยีส ารสนเทศแหงชาติ : 2545) นอกจากนี้ การเรียนการสอนบนเครือขายคอมพิวเตอรให ได ผ ลและเกิ ด ผลลั พ ธ ท างการเรี ย นรู อ ย า งสู ง สุ ด ต อ งใช

188


การวิ จั ย การเรี ย นการสอนผ า นระบบอี เ ลิ ร น นิ ง ชุ ด วิ ช า เศรษฐศาสตรระหวางประเทศ โดยใช T5 Model โดยปจจุบัน มหาวิทยาลัยยังไมมีการกําหนดรูปแบบที่ชัดเจนในการเรียน การสอนอีเลิรนนิ ง ทั้ง บทเรียน e-Learning ในระดับ ปริญญาตรี หรือบทเรียน e-Learning และ e-Seminar ใน ระดับปริญญาโท นอกจากนี้ “แผน มสธ 2543” ยังไมมีการ เปลี่ยนแปลงในรูปแบบการเรียนการสอนและเทคโนโลยี การศึกษาทางไกล...ปญหาที่ ตามคือ มสธ. ขาดการพัฒนา การศึกษาทางไกลอยางตอเนื่อง เปนเวลาถึง 20 ป นับตั้งแต ระบบการสอนทางไกล “แผน มสธ. 2523” ไม ไ ด มี ก าร พัฒนาระบบการสอนทางไกลที่เปนระบบ จนกระทั่ง พ.ศ. 2543 ผลที่เกิดขึ้นคือ มสธ. ประสบปญหาเกี่ยวกับการติดตาม เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา...โดยในส ว นของแนวคิ ด ของ มหาวิทยาลัยอีเลิรนนิง (e-University) (ชัยยงค พรหมวงศ, 2551:37-35) และดวยเหตุที่การเรียนการสอนอีเลิรนนิง ยัง ไมมีรูปแบบที่ชัดเจน ไมมีการจัดการเรียนการสอนอยางเปน ระบบ ทั้งในดานบทบาทของผูสอนและบทบาทของผูเรียน โดยสวนใหญยังคงใชรูปแบบเดิมที่สอนอยู เพียงแตในสวน ของบทเรียน e-Learning เปนการนําเสนอเนื้อหาบทเรียน โดยมีปฏิสัมพันธเพียงเล็กนอย นอกจากนี้ ยังไมมีการวิจัย พัฒนาระบบการเรียนการสอนอีเลิรนนิง ที่เหมาะสมสําหรับ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช ดั ง นั้ น เพื่อใหการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง เอื้อประโยชน สู ง สุ ด ต อ การเรี ย นของผู เ รี ย น อี ก ทั้ ง เพื่ อ ให “แผน มสธ. 2543” บรรลุวัตถุประสงคและเปนไปตามเปาหมายในการ พัฒนาชุดระบบการสอนทางไกล อันจะนําไปสูแผนพัฒนา มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช 5 ป (พ.ศ.2552-2556) ได อยางเปนรูปธรรม ดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะพัฒนา รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนบทเรียนอีเลิรนนิง ระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช ให มี ค วามเหมาะสมกั บ ผู เ รี ย นในระบบการเรี ย นการสอน ทางไกลของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีคุณลักษณะที่หลากหลายทั้ง ดานเพศ วัย อาชีพ ศาสนา พื้นความรูเดิม ประสบการณ และ ทัศนคติ เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและประสบผลสําเร็จใน การเรียน โดยผูวิจัยเลือกที่จะพัฒนารูปแบบการออกแบบการ เรียนการสอนบทเรีย นอีเลิรนนิ ง ในรูปบทเรีย นอีเลิรนนิ ง

และพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนอีเลิรนนิง สวนที่เปน กิ จ กรรมปฏิ สั ม พั น ธ ห รื อ e-Seminar ในรู ป แบบ Webinar Interactive ระดับบัณฑิตศึกษา ทั้งนี้การพัฒนารูปแบบการ ออกแบบการเรียนการสอนอีเลิรนนิง ระดับบัณฑิตศึกษา ของมหาวิ ท ยาสุ โ ขทัย ธรรมาธิ ร าชจะเป น แนวทางในการ พั ฒ นารู ป แบบการออกแบบการเรี ย นการสอนอี เ ลิ ร น นิ ง ระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ที่ใช ระบบการเรียนการสอนทางไกล อันจะนําไปสูการเรียนการ สอนอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ อี ก ทั้ ง ยั ง เป น แนวทางสํ า หรั บ สถาบัน อุดมศึกษาตาง ๆ ในการพัฒนารูปแบบการออกแบบ การเรียนอีเลิรนนิง ตอไปในอนาคต 2) วัตถุประสงคของการวิจัย 1. ศึกษาความคิดเห็นของผูบริหารอาจารยนักศึกษา เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง ของ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช 2. ศึกษาความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการ จัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 3. เพื่อสรางรูปแบบการออกแบบการเรียนการ สอนอีเลิรนนิง ระดับบัณฑิตศึกษาของ มหาวิทยาลัย สุโขทัย ธรรมาธิราช 4. เพื่อทดลองใชรูปแบบการออกแบบการเรียน การสอนอีเลิรนนิง ระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย สุ โข- ทัยธรรมาธิราช 5. เพื่ อ นํ า เสนอรูป แบบการออกแบบการเรี ย น การสอนอีเลิรนนิง ระดับบัณฑิตศึกษาที่เหมาะสมสําหรับ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 3) ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรที่ใชในการวิจัย ไดแก 1.1อาจารยระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัย สุโขทัย ธรรมาธิราช

189


6.ในการวิ จั ย ครั้ ง นี้ มุ ง ศึ ก ษาและเก็ บ ข อ มู ล ในแง ข อง ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของผู เ รี ย นที่ มี ต อ รู ป แบบการ ออกแบบการเรียนการสอนอีลิรนนิ่งจากบทเรียน e-Learning และ Webinar Interactive ที่ไดพัฒนาขึ้น

1.2 นั ก ศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย สุโขทัยธรรมาธิราช 2. กลุมตัวอยาง ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบดวย 3กลุม ไดแก 2.1 กลุ ม ตั ว อย า งที่ เ ป น ผู เ ชี่ ย วชาญด า นเนื้ อ หา จํานวน 4 ทาน ไดแก คณะกรรมการผลิตและบริหารชุดวิชา

7.ในการวิ จั ย ครั้ ง นี้ มุ ง ศึ ก ษาความพอใจของผู เ รี ย นที่ มี ต อ รู ป แบบการออกแบบการเรี ย นการสอนอี เ ลิ ร น นิ ง จาก บทเรียน e-Learning และ Webinar Interactive ที่พัฒนาขึ้น

2.2กลุมตัวอยางที่เปนผูเชี่ยวชาญดานการออก แบบ การเรียนการสอนอีเลิรนนิง 3 ทาน ซึ่งไดมาจากการเลือก แบบเจาะจง (Purposive Sampling)

4) วิธีดําเนินการวิจัย ขั้นตอนที่ 1ศึกษาองคความรูเกี่ยวกับตนแบบชิ้นงานดวยการ วิเคราะห และสังเคราะหขอมูลพื้นฐาน

2.3 กลุ ม ตั ว อย า งที่ เป น ผู เ รีย น โดยใช วิ ธีก ารสุ ม อยางงาย (Simple Random Sampling) โดยในการวิจัยครั้งนี้ ผู วิ จั ย สุ ม ได นั ก ศึ ก ษาสาขาวิ ช าส ง เสริ ม การเกษตรและ สหกรณระดับปริญญาโท ที่ลงทะเบียนเรียนในชุดวิชา 91720 การสงเสริมการเกษตรเพื่อการพัฒนา ภาคการศึกษาที่ 1 ป การศึกษา 2553 จํานวน 50 คน มาเปนกลุมตัวอยางในการ วิจัยครั้งนี้

ขั้นที่ 1 ศึกษาเอกสาร งานวิจัยองคความรูเกี่ยวกับตนแบบ ชิ้นงานระบบการเรียนการสอน ทางไกล ระบบสื่อการศึกษา ทางไกล,การเรียนการสอนอีเลิรนนิง , การเรียนรูรวมกัน , การเรียนแบบโครงงาน , ผูสอนออนไลน, ผูเรียนออนไลน ขั้นที่ 2 วิเคราะหสังเคราะหเพื่อนํามาพัฒนาเปนกรอบแนว คิดการจัดการเรียนการสอนทางไกลอีเลิรนนิง สําหรับ มสธ. ขั้นตอนที่ 2ศึกษาความตองการเกี่ยวกับตนแบบชิ้นงานขั้นที่ 1 สัมภาษณผูบริหาร อาจารย นักเทคโนโลยีการศึกษา เพื่อ ศึกษาสภาพปจจุบันปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะในการ จัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง มสธ. สอบถามความคิดเห็น นั ก ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ สภาพป จ จุ บั น ป ญ หา อุ ป สรรคและ ขอ เสนอแนะในการจั ด การเรี ย นการสอนอี เ ลิ ร น นิ ง ของ มสธ.ขั้ น ที่ 2 วิ เ คราะห สั ง เคราะห ผลการสั ม ภาษณ และ สอบถามเพื่อนํามาพัฒนากรอบแนวคิดแนวทางการจัดการ เรียนการสอนอีเลิรนนิง ขั้นที่ 3 นําผลสังเคราะหขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่ 2 มาพัฒนากรอบแนวคิด การเรียนการสอน อีเลิรนนิง สําหรับอาจารย ระดับบัณฑิตศึกษา มสธ.

3.ตั ว แปรที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ประกอบด ว ยตั ว แปรอิ ส ระ Independent Variableคือรูปแบบการออกแบบการเรีย น อีเลิรนนิง ระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยา ลัยสุโขทัยธรรมาธิ ราชตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนที่มีตอ รู ป แบบการออกแบบการเรี ย นการสอนอี เ ลิ ร น นิ่ ง ที่ ไ ด พัฒนาขึ้น 4.การพั ฒ นาแบบการออกแบบการเรี ย นอี เ ลิ ร น นิ ง ที่ ไ ด พั ฒ นาขึ้ น ในครั้ ง นี้ ใช ข อ มู ล เบื้ อ งต น จากการสื บ ค น จาก หลักการทฤษฎี แนวคิด เอกสารการวิจัย การสํารวจขอมูล จากเว็บไซตเกี่ยวกับการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิง และ จากผูเชี่ยวชาญเพื่อใชเปนขอมูลในการพัฒนารูปแบบการ ออกแบบการเรียนอีเลิรนนิง

ขั้นตอนที่ 3พัฒนากรอบแนวคิดของตนแบบชิ้นงาน ขั้นที่ 1 สร า งต น แบบชิ้ น งานการเรี ย นการสอนอี เ ลิ ร น นิ ง จาก ขั้ น ตอนที่ 1 และขั้ น ตอนที่ 2 ขั้ น ที่ 2 แก ไ ขปรั บ ปรุ ง ตาม ขอเสนอแนะของอาจารยที่ปรึกษา ขั้นที่ 3 ตนแบบชิ้นงาน การเรียนการสอนอีเลิรนนิง ที่ผานการแกไข ปรับปรุง

5. การวิจัยครั้งนี้มุงศึกษาเฉพาะการออกแบบการเรียนการ สอนอี เลิ รน นิง ในระดั บ บัณฑิ ตศึ กษา ชุด วิชา 91720 การ ส ง เสริ ม การเกษตรเพื่ อ การพั ฒ นาสาขาวิ ช าส ง เสริ ม การเกษตรและสหกรณ มหาวิทยา ลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เทานั้น

190


ขั้นตอนที่ 4 สอบถามความคิดเห็นและขอเสนอแนะผูเชี่ยว ชาญ ขั้ น ที่ 1 เสนอต น แบบชิ้ น งานการเรี ย นการสอน อีเลิรนนิง แกผูเชี่ยวชาญ ขั้นที่ 2 แกไข ปรับปรุง ตามความ คิดเห็นและขอเสนอแนะ ขั้นที่ 3 ตนแบบชิ้นงานการเรียน การสอนอีเลิรนนิง ที่ผานการแกไข ปรับปรุงจากผูเชี่ยวชาญ

1.ควรมี ก ารวิ จั ย รู ป แบบการออกแบบการเรี ย นการสอน อี เ ลิ ร น นิ ง ใ น ส า ข า วิ ช า อื่ น ๆ ข อ ง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2.ควรมีการศึกษาตัวแปรที่ สงผลตอการเรียนการสอนอีเลิรนนิง ในลักษณะอื่นๆรวมถึง สภาพแวดลอมในการเรียนการสอนอีเลิรนนิง

ขั้ น ตอนที่ 5 (ร า ง)ต น แบบชิ้ น งาน ขั้ น ที่ 1 รู ป แบบการ ออกแบบการเรียนการสอนอีเลิรนนิง สําหรับอาจารยระดับ บัณฑิตศึกษา มสธ. เพื่อไปทดสอบ

เอกสารอางอิง กิ ด านั น ท มลิ ท อง. เทคโนโลยี แ ละการสื่ อ สารเพื่ อ การศึ ก ษา. กรุ ง เทพฯ : การพิมพ. 2548

ขั้นตอนที่ 6 ทดสอบประสิท ธิภาพและรับรองตนแบบชิ้น งาน ขั้นที่ 1 ทดสอบคุณภาพ : การทดลองใชแบบหนึ่งตอ หนึ่ง จํานวน 1 คน ( เกง ปานกลาง ออน ) /กลุมเล็ก : 6 คน ขั้ น ที่ 2 แก ไ ข ปรั บ ปรุ ง ก อ นนํ า ไปทดลองใช จ ริ ง ขั้นที่ 3 ทดลองใชกับกลุมตัวอยาง ขั้นที่ 4 เก็บรวบรวมขอมูล และวิเคราะหขอมูลขั้นที่ 5 สรุปผลการทดลองใช ขั้นที่ 6 ผูทรงคุณวุฒิรับรองตนแบบชิ้นงาน

ห า งหุ น ส ว นจํ า กั ด อรุ ณ

คณะกรรมการพัฒนาระบบและสื่อการสอนทางไกล. ระบบ การสอนทางไกล แผน มสธ.2543.นนทบุรี : มหาวิทยา ลัย สุโขทัยธรรมาธิราช. 2544 คณะกรรมการการศึ ก ษาแห ง ชาติ สํ า นั ก นายกรั ฐ มนตรี รายงานการวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนามหาวิทยาลัยโทร สนเทศ (Virtual University) ของประเทศไทย กรุงเทพมหานคร:พริกหวานกราฟฟค 2544

ขั้นตอนที่ 7 ปรับปรุงตนแบบชิ้นงาน ขั้นที่ 1 นําผลที่ไดจาก ขั้นตอนที่ 6 มาแกไข ปรับปรุง เพื่อประเมินสรุปผล ขั้นที่ 2 นําเสนอรูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนอีเลิรน นิ่ง สําหรับอาจารยระดับบัณฑิตศึกษา มสธ.ผลการวิจัยพบวา (1) รู ป แบบการออกแบบการเรี ย นการสอนอี เ ลิ ร น นิ ง ที่ พั ฒ นาขึ้ น ประกอบด ว ย 9 ขั้ น ตอน ดั ง นี้ (1.0) กํ า หนด อุ ด มการณ ได แ ก ปรั ช ญา วิ สั ย ทั ศ น (2.0) ศึ ก ษาสภาพ ปจจุบัน ปญหาความตองการในการเรียนการสอนอีเลิรนนิง (3.0) วิ เ คราะห ผู เ รี ย น (4.0) วิ เ คราะห บ ริ บ ทและ สภาพแวดลอม (5.0) จัดการเนื้อหาและประสบการณ (6.0) การออกแบบการเรีย น การสอน (7.0) พัฒนาชุดการเรีย น (Courseware) อีเลิรนนิง และกิจกรรมปฏิสัมพันธ (Webinar Interactive) (8.0) ดําเนินการเรียนการสอนอีเลิรนนิง และ กิ จ กรรมปฏิ สั ม พั น ธ (9.0) ประเมิ น การเรี ย นการสอน อีเลิรนนิง โดยมีผลการประเมินในภาพรวมอยูในระดับมาก ที่สุด และรูปแบบการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง มีผล ประเมินอยูในระดับมาก

ครรชิต มาลัยวงศ. ปรับปรุงคนไทยใหเกง ไอที. วารสาร คอมพิวเตอร. ปที่ 2 ฉบับที่ 104 (25-31 กรกฎาคม 2538) ชัยยงค พรหมวงศ. แนวทางการดําเนินงานมหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราชตามนโยบายของสภามหาวิทยาลัย : อัด สําเนา : 2551 ชัยยงค พรหมวงศ. การผลิตชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพมหานคร. สํานักพิมพเอมพันธ.2546 ชัยยงค พรหมวงศ. การพัฒนาหลักสูตรและสื่อการเรียนการ สอน : สื่ออิเล็กทรอนิกสเพื่อการศึกษา.นนทบุรี. มหาวิทยา ลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2550 ถนอมพร เลาหจรัสแสง. Designing e-Learning : หลักการ ออกแบบและการสร า งเว็ บ เพื่ อ การเรี ย นการสอน. กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัด อรุณการพิมพ. 2545

ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป

191


ธนิ ศ ภู ศิ ริ . รายงานการวิ จั ย เรื่ อ งการพั ฒ นาบทเรี ย น eLearning ชุดวิชา 70205 วิทยาศาสตรคหกรรมศาสตร. 2548 บุปผชาติ ทัฬหิกรณ. เวิลดไวดเว็บ เครื่องมือในการสราง ความรู. การประชุมวิชาการทางวิทยาศาตรและเทคโนโลยี เรื่ อ ง การเรี ย นการสอนวิ ท ยาศาสตร ที่ เ น น นั ก เรี ย นเป น ศูนยกลาง. กรุงเทพมหานคร : สมาคมวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีการศึกษาไทย, 2541(อัดสําเนา) ป ท มาพร เย็ น บํ า รุ ง . การพั ฒ นาบเทรี ย น e-Learning ของ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : 2548 Clizmar and Others. (1999). Web-Base learning Environment Guided by Principle of Good Teacher Practice. Journel of Economic Educations. Summer 30(3) : 120-128 Khan, B.H. Web – Based Instruction. Engwood Cliffs, NJ: Prentice-Hall, 1997. Mcmanus, Thomas Fox. (1996). Delivering instruction on the world wide web. Onling). Available from : http://ccwf. Utexas.edu/mcmanus/wbi.html.(1999,November 1) Relan, A., and Gillani, B.B. Web-Based Information and the Traditional classroom:Similarities and Differences. In Badrul H.Khan (Ed.), Web-Based instruction(pp.43-45). Englewood Cliffs, New Jersey: Educational TechnologiesPublications, 1997.

192


การพัฒนารูปแบบกิจกรรมโครงงานแบบผสมผสานตามหลักการ APEC Edutainment Exchange Program ดวยวิธีการเรียนแบบรวมมือเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารและ ทักษะการทํางานรวมกันของนักเรียนไทยและเกาหลี The Develop Model of Collaborative Project-Based and Blended Learning Based on APEC Edutainment Exchange Program to Enhance Communicative and Collaborative Skills of Thai and Korean Students น้ํามนต เรืองฤทธิ์ นักศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (rnammon@gmail.com) ABSTRACT Keywords Edutainment, Blended Learning, Project-based Learning, Collaborative Learning, and International Exchange Program.

The purpose of this study was to develop a model of collaborative project-based learning and blended learning based on The APEC Edutainment Exchange Program to enhance communicative and collaborative skills of Thai and Korean students; and to apply the developed program to middle schools students in Thailand and South Korea. This study describes formative research conducted on the APEC Edutainment Exchange Program, which was developed to guide both the design and implementation of international exchange programs. Formative evaluation was conducted on the Thai-Korean Edutainment Exchange Program representing the designed instance of the APEC Edutainment Exchange Program theory. The instruments were document analysis of the edutainment documents, in-depth interviews, a focus group interview, written participant reflections, selfevaluation, project evaluation, and communicative & collaborative skill assessment. As a result of this study, Thai-Korean Edutainment Exchange Program was constructed with a theory-based format: project based learning, collaborative learning, blended learning, research studies on edutainment, and The APEC Edutainment Exchange Program. The Thai-Korean Edutainment Exchange program consisted of 3 phrases: 1) Preparative Activity; 2) Experiential Learning Activity; and 3) Evaluative Activity. In its design, three additional recommendations were considered: 1) school administrators and policy makers were the main factor of the successful program, 2) preparative activity was the key phrase that enhanced the communicative and collaborative skills, and 3) the budget and the project management were important thing to concern. The result reveals that the model achieved high score from the experts who evaluated the quality of the model and it could be implemented in an international student exchange program between Thailand and South Korea.

บทคัดยอ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ พั ฒ นารู ป แบบกิ จ กรรม โครงงานแบบผสมผสานตามหลักการAPEC Edutainment Exchange Program ดวยวิธีการเรียนแบบรวมมือเพื่อพัฒนา ทักษะการสื่อสารและทักษะการทํางานรวมกันของนักเรียน ไทยและนักเรียนเกาหลี ซึ่งการวิจัยครั้งนี้ใชรูปแบบการวิจัย Formative Research ตามหลักการและทฤษฏีของ APEC Edutainment Exchange Program การวิจัยกอรูปนี้เปนการ ออกแบบกรณีตัวอยางตามหลักการและทฤษฎีของ APEC Edutainment Exchange Program ดวยวิธีการวิเคราะห, สั ง เคราะห เ อกสารของหลั ก การและทฤษฎี ต า งๆ, การ สัมภาษณเชิงลึก, การสนทนากลุม, การวิเคราะหการเขียน บันทึกประจําวัน, การประเมินตนเอง, การประเมินโครงงาน, และการประเมิ น ทั ก ษะการสื่ อ สารและทํ า งานร ว มกั น ผลการวิจัยพบวา 1. องคประกอบและขั้นตอนของรูปแบบ กิ จ กรรมโครงงานแบบผสมผสานฯ ประกอบด ว ย 1) กิ จ กรรมเตรี ย มความพร อ ม 2) กิ จ กรรมการเรี ย นรู จ าก ประสบการณ และ 3) กิจกรรมประเมินผล โดยกิจกรรมทั้ง 3 สวนนี้ดําเนินการทั้งในรูปแบบออนไลนและออฟไลน 2. ผลการประเมินคุณภาพรูปแบบจากผูเชี่ยวชาญอยูในระดับดี

193


มาก 3) ปจจัยที่สงผลตอความสําเร็จของโครงการแลกเปลี่ยน นักเรียนระดับนานาชาติ 3 ประการคือ 1) ผูบริหารและ นโยบายของโรงเรียน 2) กิจกรรมเตรียมความพรอม เปน กิจกรรมหลักที่ตองมุงใหความสําคัญ และ 3) การบริหาร จัดการงบประมาณ

คุมคา และมีประสิทธิภาพ ภายใตเครือขายทางกายภาพและ เครือขายความรวมมือของประชาคมศึกษาและทองถิ่น ตาม กรอบนโยบายการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา ที่กาวหนาภายใตเงื่อนไขและขอจํากัดของระบบการศึกษา อยางมีพลวัต” โดยโลกยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว รวมทั้ ง การศึ ก ษานี้ ผู เ รี ย นในยุ ค แห ง ขา วสารไร พ รมแดน ตองการการเรียนรูสิ่งใหมๆที่ทันสมัยภายใตบรรยากาศของ ค ว า ม ส นุ ก ส น า น แ ม ก ร ะ ทั่ ง ใ น ก า ร ศึ ก ษ า อ ยู ใ น สถาบันการศึกษา ผูเรียนจึงจะสามารถเรียนรูไดอยางรวดเร็ว มีความสุขและสามารถสรางความหมายจากสิ่งที่เรียนรูได อยางมีประสิทธิภาพ จึงมีผูนําแนวคิด “ความบันเทิง” มาใช ในการจัดการเรียนการสอน ที่เรียกวา Edutainment ซึ่งมาจาก คําวา Education และ Entertainment ซึ่งหมายความถึง การศึกษาเชิงบันเทิง White (2004:1) กลาววา คําวา การศึกษา เชิงบันเทิงมาจากวงการอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร โดยเปน รายการที่จัดอยูในรูป CD-ROM ใหแกเด็กโดยเปนการ ออกแบบเพื่ อ การเรี ย นการสอนอย า งสนุ ก สนาน มี ค วาม บั น เทิ ง หรรษา ต อ มาคํ า นี้ ไ ด รั บ การยอมรั บ จากวงการ อุตสาหกรรมบันเทิงดานครอบครัว ซึ่งแนวคิดนี้ไมใช แนวคิดใหม เพราะกิจ กรรมตางๆที่ผูปกครอง บิดามารดา ปฏิ บั ติ กั น มานานในการทํ า กิ จ กรรมพั ก ผ อ นหย อ นใจ หา ความบันเทิงนอกบาน เชน การพาไปเที่ยวสวนสัตว สวน สนุก พิพิธภัณฑ สวนพฤกษศาสตร สวนน้ํา ทองฟาจําลอง การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เปนตน นั้นไดทํากันมานานแลว เพียงแตนักอุตสาหกรรมบันเทิง นํากิจกรรมเหลานี้มาจัดเปน การเรียนรูที่กอ ให เกิดความสนุกเพลิดเพลินและไดเรียนรู สารานุกรม Wikipedia ใหความหมายการศึกษาเชิงบันเทิงวา เป น รู ป แบบหนึ่ ง ของความบั น เทิ ง ซึ่ ง ออกแบบเพื่ อ ใช ใ น การศึกษา Radick (2004:3-4) แสดงทัศนะวา การนําความ บันเทิงเขามาใชในการจัดการศึกษาเริ่มมาตั้งแตศตวรรษที่ ผานมาและไดรับความนิยมมาจนถึงปจจุบัน วาเปนเครื่องมือ ทางการศึกษาที่มีอิทธิพลตอการเรียนรู การศึกษาเชิงบันเทิง จั ด ได ห ลายรู ป แบบ อาทิ ภาพยนตร รายการโทรทั ศ น พิพิธภัณฑ เกมส เวบไซต เปนตน ภาพยนตร แสง สี เสียง สามารถสะกดความรูสึกและสรางความสนใจเปนอยางมาก แกผูเรียน เชน Box Office, CNN News เปนตน Radick ยัง กลาวย้ําอีกวา การเรียนยุคใหมเปนการชวยใหผูเรียนเรียนรู

คํ า สํ า คั ญ : การศึ ก ษาบั น เทิ ง , การเรี ย นการสอนแบบ ผสมผสาน, การเรียนรูโดยใชโครงงาน, การเรียนรูรวมกัน, โครงการแลกเปลี่ยนนักเรียนระดับนานาชาติ

1) หลักการและเหตุผล ความเปลี่ ย นแปลงของเทคโนโลยี ทํ า ให โ ลก ปจจุบันกาวเขาสูยุคแหงสังคมสารสนเทศซึ่งสงผลตอความ เจริญ ก า วหนา ในวิ ท ยาการทุ กด าน ไม ว าจะเป น เศรษฐกิ จ สังคม การเมืองการปกครอง และการศึกษา อันสงผลตอ แนวคิดทัศนคติและพฤติกรรมของคนในสังคม ซึ่งในสวน ของการศึกษานั้นแนวการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ไดกลาวถึงการจัดกระบวนการ เรี ย นรูใ หส อดคล อ งกับ ความสนใจ ความถนัด ของผู เรี ย น โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลและจากแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ แหงชาติที่ไดใหความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ใน การที่จะนําเขามาเปนสวนหนึ่งของการแกปญหาปรับปรุง ประสิทธิภาพและพัฒนาระบบการศึกษาในสังคมเทคโนโลยี สารสนเทศนี้ แต เ นื่ อ งจากว า ธรรมชาติ ข องเทคโนโลยี สารสนเทศมี ก ารเปลี่ ย นแปลงรวดเร็ ว มี ข อ จํ า กั ด ในการ นํ า ไปใช ง าน จึ ง มี ค วามจํ า เป น อย า งยิ่ ง ในการที่ จ ะต อ ง วางแผนในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศกับระบบการศึกษา เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งป ญ หาและอุ ป สรรคต า งๆที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ได เ พื่ อ ใ ห สั ง ค ม ไ ด ป ร ะ โ ย ช น อ ย า ง คุ ม ค า แ ล ะ อ ย า ง มี ประสิทธิภาพ วิสัยทัศนของการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมา เอื้อประโยชนทางการศึกษา คือ “ความมุงมั่นของสังคมที่จะ นําพาประเทศชาติกาวเขาสูยุคสารสนเทศ ดวยระบบการ พั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย ที่ ใ ช ป ระโยชน จ ากเทคโนโลยี สารสนเทศเป น อย า งรู ป ธรรมเพื่ อ ให ก ารศึ ก ษาของชาติ มี ความเทาเทียมทั่วถึง มีคุณภาพ และมีความตอเนื่องเพื่อการ เรียนรูตลอดชีวิต โดยประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยาง

194


AEEP คือมุงเนนการพัฒนาโครงการแลกเปลี่ยนสําหรับ นักเรียนและครู โดยการผสมสานทั้งกิจกรรมออนไลนและ ออฟไลน โดยองคประกอบหลักคือประกอบไปดวยสมาชิก จากประเทศไทยและเกาหลี, ผูเขารวมโครงการตองไดรับ การอบรมในรูปแบบออนไลน อันประกอบดวยหัวขอที่ เกี่ยวของกับ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับภาษา วัฒนธรรม ระบบ การศึกษา ประวัติศาสตรและจริยธรรมของแตละประเทศ จากนั้ น ผู เ ข า ร ว มโครงการทุ ก คนจะต อ งเขี ย นโครงการ รวมกันเพื่อนําเสนอและเปนโครงการที่จะสามารถทํางาน ประสานกั น ได จ ริง ระหว า งทั้ง สองประเทศทั้ง ในรู ป แบบ ออนไลน แ ละออฟไลน จากนั้ น ดํ า เนิ น การ สรุ ป ผลและ รายงานผลการทําโครงงาน ในประเทศไทยยังไมมีการศึกษาเรื่ องการจัดการเรียนการ สอนในรูปแบบการศึกษาเชิงบันเทิงที่เปนรูปแบบที่ชัดเจน เนื่องจากวารูปแบบการจัดการเรียนสอนที่เนนการศึกษาเชิง บันเทิงนั้นมีนอยมาก หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน สวนใหญเนนวิธีการจัดการเรียนการสอนในเชิงวิชาการ เนน เนื้ อ หาสาระที่ เ ข ม ข น และเพื่ อ ให ต อบสนองต อ การ เปลี่ยนแปลงของโลกที่มุงเนนการเรียนการสอนที่ใหผูเรียน เรียนเพื่อใหเกิดความหมายตอชีวิต เรียนดวยความสุข ผูวิจัย ไดเล็งเห็นความจําเปนอยางยิ่งที่ตองมีการพัฒนารูปแบบการ เรียนการสอนที่สอดคลองกับหลักการดังกลาว เพื่อพัฒนา แนวทางในการจัดการศึกษาเชิงบันเทิงตอไป

จากประสบการณ ต รงที่ ป ระสบด ว ยตนเองมากกว า จาก บทความ The Dynamics of Teaching-part (2004:4) ให ความหมายของการศึกษาเชิงบันเทิงวา เปนวิธีสอนแบบหนึ่ง ที่ ดึ ง ดู ด ความสนใจ ความตั้ ง ใจของผู เ รี ย นและมี ค วาม สนุ ก สนานหรรษา ในขณะจั ด การเรี ย นการสอน Riley (2002:1-3) รายงานวา รายการ Sesame Street สรางความ สนใจให แ ก นั ก เรี ย นเป น อย า งมาก ทํ า ให ต ระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของกิ จ กรรมการศึ ก ษาที่ จ ะต อ งมี ค วาม สนุกสนานบันเทิงและไดเนื้อหาสาระ โดยที่ปจจัยที่ทําให การศึกษาเชิงบันเทิงมีคุณคาประกอบดวย 1) ผูสอนมีความ รอบรู แ ละแตกฉานในเนื้ อ หาที่ จ ะสอน 2)มี เ อกสาร ประกอบการคนควาอยางพอเพียง 3) ผูสอนมีความ สนุกสนานในการสอน 4)ผูเรียนประสบความสําเร็จในการ เรียนรู การนําแนวความคิดการศึกษาเชิงบันเทิงมาทดลองจัดการ เรียนการสอน ตางพบวา มีผลดีตอการเรียนรูของผูเรียน ดัง รายงานวิจัยของ Edgens, Nickel, and Morey (1984, 1-2) ที่ รายงานว า กิ จ กรรมการศึ ก ษาเชิ ง บั น เทิ ง จู ง ใจผู เ รี ย นให มี ความคิดวิเคราะหทบทวนความเชื่อ ความรูและการรับรูของ ตนในเชิงการวิเคราะหการวิจารณมากขึ้น ซึ่งสอดคลองกับ คํากลาวของ Wood (2004:1) ผูผลิตรายการ Teletubby ของ BBC โทรทัศ นและวิดีทัศน เปนสื่ อ ที่มีพลังในการจัด การศึกษาในยุคเทคโนโลยี มีความสําคัญในการพัฒนาทักษะ การคิดของเด็กในยุคปจจุบัน Kjos (2004:1) ซึ่งอางถึง บทความ The Transformation of Distance Learning to Distributed Learning ไววา เยาวชนมีธรรมชาติของความ อยากรูอยากเห็นและมีจินตนาการใหเด็กๆ เหลานี้ไดรับความ บันเทิงที่จัดโดยมืออาชีพในรูปความสนุก White (2004:2-3) สนับสนุนแนวคิดการจัดการศึกษาเชิงบันเทิงโดยการจัดการ เรีย นรูผานกิจกรรมพักผอ นหยอ นใจในยามวางผอ นคลาย เป น ช ว งเวลาหนึ่ ง ที่ ส ามารถจั ด การเรี ย นรู โ ดยผู เ รี ย นยั ง มี ความรู สึ ก ว า เป น พั ก ผ อ นและเป น การใช เ วลาว า ง ให เ ป น ประโยชน The APEC Edutainment Exchange Program (AEEP) เปน โครงการใหม ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ APEC Edutainment Park System (AEPS) โดยอยูภายใตขอเสนอแนะของ APEC Future Education Forum ในป 2005 ซึ่งภารกิจหลักของ

2) วัตถุประสงคของการวิจัย 2.1) วัตถุประสงคทั่วไป เพื่ อ พัฒ นารูป แบบกิ จ กรรมโครงงานแบบผสมผสานตาม หลักการ APEC Edutainment Exchange Program ดวยวิธีการ เรียนแบบรวมมือเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารและทักษะการ ทํางานรวมกันของนักเรียนไทยและนักเรียนเกาหลี 2.2) วัตถุประสงคเฉพาะ 1. เพื่อสรางรูปแบบกิจกรรมโครงงานแบบผสมผสานตาม หลักการ APEC Edutainment Exchange Program ดวยวิธีการ เรียนแบบรวมมือเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารและทักษะการ ทํางานรวมกันของนักเรียนไทยและนักเรียนเกาหลี

195


2. เพื่ อ ศึ ก ษาผลการใช รู ป แบบกิ จ กรรมโครงงานแบบ

4.3) แบบประเมินคุณภาพ (ราง) รูปแบบกิจกรรมโครงงาน

ผสมผสานตามหลักการ APEC Edutainment Exchange

แบบผสมผสาน

Program ดวยวิธีการเรียนแบบรวมมือเพื่อพัฒนาทักษะการ

4.4) แบบประเมินตนแบบกิจกรรมโครงงานแบบผสมผสาน

สื่อสารและทักษะการทํางานรวมกันของนักเรียนไทยและ

ฯ สําหรับผูเชี่ยวชาญ

นักเรียนเกาหลี

4.5) แบบประเมินทักษะการสื่อสารและการทํางานรวมกัน สําหรับนักเรียน

3) ขอบเขตการวิจัย 5) วิธีดําเนินการวิจัย

3.1) ประชากร ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก

ผูเชี่ยวชาญดาน

ผูวิจัยไดดําเนินการวิจัยตามหลักการ Formative Research

กิจกรรมโครงงานและทักษะการทํา

(YoungHwan Kim, 1999) โดยการนําทฤษฎีการเรียนการ

โครงงาน, การเรียนแบบรวมมือ, การเรียนแบบผสมผสาน

สอนของโครงการ APEC Edutainment Exchange Program

และ ผู บ ริ ห าร อาจารย แ ละครู ที่ เ ป น สมาชิ ก ของ APEC

มาวิเคราะห สังเคราะหและออกแบบเปนรูปแบบกิจกรรม

Learning Community Builders (ALCoB) และนักเรียนชั้น

โครงงานแบบผสมผสานฯ ดังนี้

มั ธ ยมศึ ก ษาที่ อ ยู ใ นโรงเรี ย นที่ เ ป น สมาชิ ก ของโครงการ

5.1) ศึกษาแนวคิดและหลักการของโครงการ APEC

APEC Learning Community Builders (ALCoB)

Edutainment Exchange Program

3.2) กลุมตัวอยาง

โดยการสังเคราะหเอกสาร หลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวของ

กลุ ม ตั ว อย า ง ที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ครั้ ง ได แ ก ผู เ ชี่ ย วชาญด า น

กับโครงการ APEC Edutainment Exchange Program

การศึกษาบันเทิง,

5.2) ออกแบบและพัฒนารูปแบบกิจกรรมโครงงานแบบ

การศึกษาบั นเทิง,

กิจกรรมโครงงานและทักษะการทํา

โครงงาน, การเรียนแบบรวมมือและการเรียนแบบผสมผสาน

ผสมผสานฯ ตามขั้นตอนดังนี้

และผู บ ริ ห ารอาจารย แ ละครู ที่ เ ป น สมาชิ ก ของ APEC

ขั้นที่ 1 สัมภาษณเชิงลึกผูเชี่ยวชาญไทยและเกาหลีจํานวน 10

Learning Community Builders (ALCoB) จํานวน 10 คน

ทาน เพื่อกําหนดรูปแบบกิจกรรมโครงงานแบบผสมผสานฯ

และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่อยูใน

ขั้นที่ 2 วิเคราะหและสังเคราะหขอมูลการสัมภาษณ เพื่อราง

โรงเรี ย นที่ เ ป น สมาชิ ก ของโครงการ APEC

รูปแบบกิจกรรมโครงงานแบบผสมสานฯ

Learning

Community Builders (ALCoB) จากประเทศไทย จํานวน 15

ขั้นที่ 3 สัมภาษณเชิงลึกกลุมผูเชี่ยวชาญไทยและเกาหลี (กลุม

คน และประเทศเกาหลีใต จํานวน 15 คน

เดิมจํานวน 10 ทาน) เพื่อตรวจสอบความคิดเห็นซ้ําและ ประเมิ น คุ ณ ภาพ (ร า ง) รู ป แบบกิ จ กรรมโครงงานแบบ

4) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

ผสมผสานตามหลักการAPEC Edutainment Exchange

4.1) แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ APEC

Program ดวยวิธีการเรียนแบบรวมมือเพื่อพัฒนาทักษะการ

Edutainment Exchange Program (AEEP) สําหรับผูเขารวม

สื่อสารและทักษะการทํางานรวมกันของนักเรียนไทยและ

โครงการ AEEP ณ ประเทศเกาหลีใต

นักเรียนเกาหลี

4.2) แบบสัมภาษณเชิงลึกสําหรับผูเชี่ยวชาญเพื่อศึกษาแนว

ขั้นที่ 4 ปรับแกไข (ราง) รูปแบบกิจกรรมโครงงานแบบ

ทางการออกแบบรูปแบบกิจกรรมโครงงานแบบผสมผสานฯ

ผสมผสานตามหลักการAPEC Edutainment Exchange

196


Program ดวยวิธีการเรียนแบบรวมมือเพื่อพัฒนาทักษะการ

การประเมินคุณภาพรูปแบบฯโดยผูเชี่ ยวชาญจากประเทศ ไทยจํ า นวน 5 คน และผู เ ชี่ ย วชาญจากประเทศเกาหลี ใ ต จํ า นวน 5 คน พบว า รู ป แบบกิ จ กรรมโครงงานแบบ ผสมผสานตามหลักการ APEC Edutainment Exchange Program ดวยวิธีการเรียนแบบรวมมือเพื่อพัฒนาทักษะการ สื่อสารและทักษะการทํางานรวมกันของนักเรียนไทยและ นักเรียนเกาหลี มีคุณภาพระดับดีมาก โดยคาเฉลี่ยรวมเทากับ 4.73 คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.33 6.3) ผลการประเมินคุณภาพตนแบบกิจกรรมโครงงานแบบ ผสมผสานตามหลักการ APEC Edutainment Exchange Program ดวยวิธีการเรียนแบบรวมมือเพื่อพัฒนาทักษะการ สื่อสารและทักษะการทํางานรวมกันของนักเรียนไทยและ นักเรียนเกาหลี การประเมิ น คุ ณ ภาพต น แบบฯ ตามรู ป แบบที่ ไ ด รั บ การ ประเมินแลว โดยผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 คน พบวา ตนแบบ กิ จ กรรมโครงงานแบบผสมผสานตามหลั ก การ APEC Edutainment Exchange Program ดวยวิธีการเรียนแบบ รวมมือ เพื่อ พัฒนาทั กษะการสื่อสารและทักษะการทํางาน รวมกันของนักเรียนไทยและนักเรียนเกาหลี มีคุณภาพระดับ ดี โดยคาเฉลี่ยรวมเทากับ 4.33 คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.57

สื่อสารและทักษะการทํางานรวมกันของนักเรียนไทยและ นักเรียนเกาหลี ขั้นที่ 5 พัฒนากิจกรรมตนแบบโครงงานแบบผสมผสานฯ ตาม (ราง) รู ปแบบที่ผานการปรับแกก ารประเมินคุณภาพ รู ป แบบกิ จ กรรมโครงงานแบบผสมผสานตามหลั ก การ APEC Edutainment Exchange Program ดวยวิธีการเรียน แบบร ว มมื อ เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการสื่ อ สารและทั ก ษะการ ทํางานรวมกันของนักเรียนไทยและนักเรียนเกาหลี

6) ผลการวิจัย 6.1) รูปแบบกิจกรรมโครงงานแบบผสมผสานตามหลักการ APEC Edutainment Exchange Program ดวยวิธีการเรียน แบบร ว มมื อ เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการสื่ อ สารและทั ก ษะการ ทํ า งานร ว มกั น ของนั ก เรี ย นไทยและนั ก เรี ย นเกาหลี ประกอบดวยกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรมไดแก 6.1.1 กิจกรรมเตรียมความพรอม (Preparative Activity) ประกอบดวยกิจกรรมยอย 8 ขั้นตอน ไดแก ขั้นที่ 1 การรับ สมัครออนไลน, ขั้นที่ 2 การปฐมนิเทศออนไลน, ขั้นที่ 3 การ เรียนออนไลน, ขั้นที่ 4 การประเมินผลกอนการทํากิจกรรม ออนไลน, ขั้นที่ 5 การเลือกหัวขอโครงงาน, ขั้นที่ 6 การสราง ทีม, ขั้นที่ 7 การวางแผนโครงงาน, ขั้นที่ 8 สงแผนโครงงาน 6.1.2 กิ จ กรรมประสบการณ ก ารเรี ย นรู (Experiential Learning Activity) ประกอบดวยกิจกรรมยอย 3 ขั้นตอน ไดแก ขั้นที่ 1 การปฐมนิเทศ ขั้นที่ 2 กิจกรรมกลุม (การทํา โครงงานกลุม) และขั้นที่ 3 กิจกรรมตรียมรายงานผล 6.1.3 กิ จ กรรมประเมิ น ผล (Evaluative Activity) ประกอบดวยกิจกรรมยอย 3ขั้นตอน ขั้นที่ 1 การนําเสนอและ ให ข อ เสนอแนะผลการดํ า เนิ น โครงงาน ขั้ น ที่ 2 การ ประเมินผลหลังการทํากิจกรรม และขั้นที่ 3 การติดผลการ ดําเนินโครงงาน 6.2) ผลการประเมินคุณภาพรูปแบบกิจกรรมโครงงานแบบ ผสมผสานตามหลักการ APEC Edutainment Exchange Program ดวยวิธีการเรียนแบบรวมมือเพื่อพัฒนาทักษะการ สื่อสารและทักษะการทํางานร วมกันของนักเรียนไทยและ นักเรียนเกาหลี

7) ขอเสนอแนะ 7.1) ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลวิจัยไปใช 7.1.1 ปจจัยที่สงผลตอความสําเร็จของโครงการแลกเปลี่ยน นักเรียนระดับนานาชาติ 3 ประการคือ 1) ผูบริหารและ นโยบายของโรงเรียน 2) กิจกรรมเตรียมความพรอม เปน กิจกรรมหลักที่ตองมุงใหความสําคัญ และ 3) การบริหาร จัดการงบประมาณ 7.1.2 ระยะเวลาที่ใชในการดําเนินกิจกรรมโครงงานฯตาม รูปแบบที่กําหนดไวนั้น สามารถปรับชวงระยะเวลาไดตาม สถานการณของการจัดการเรียนการสอน ณ ขณะดําเนินการ โครงการ แตใหอยูในกรอบระยะเวลาที่รูปแบบกําหนดไว 7.1.3 สามารถนํ า ผลการวิ จั ย นี้ ไ ปเป น ต น แบบในการ ดํ า เนิ น การโครงการแลกเปลี่ ย นสํ า หรั บ นั ก เรี ย นระดั บ มัธยมศึกษาระหวางประเทศไทยและเกาหลีใตไดตอไป

197


วัจนา พิพัฒนทศพล. “การเรียนรูจากการทําโครงการ”. วารสารการศึกษากทม. 26, 8 (พฤษภาคม 2546) 29-31. วัชรา เลาเรียนดี. (2549). เทคนิคและยุทธวิธีพัฒนาทักษะการ คิด การจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ. นครปฐม: โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร. เสาวพร เมืองแกว และคณะ. (2548). “การศึกษาเชิงหรรษา เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งทางวิชาการของครูใน อุดมคติ”. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

7.2) ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป 7.2.1 ควรมีการวิจัยที่ศึกษาตัวแปรดานอื่นๆ นอกเหนือจาก ทักษะการสื่อสารและการทํางานรวมกัน เชน ทักษะการคิด วิ เ คราะห แ ละการแก ป ญ หา, ทั ก ษะการใช เ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร เปนตน 7.2.2 อาจมีการวิจัยในกลุมตัวอยางอื่นๆ เชน นักเรียนไทย และนักเรียนสิงคโปร หรือวาชาติอื่นๆ เปนตน

8) เอกสารอางอิง 8.1) ภาษาไทย กาญจนา คุณารักษ. (2545). การออกแบบการเรียนการสอน. นครปฐม:โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร. กิ ด านั น ท มลิ ท อง.(2544). เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษาและ นวั ต กรรม. กรุ ง เทพมหานคร: สํ า นั ก พิ ม พ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย _________. (2548). เทคโนโลยี แ ละการสื่ อ สารเพื่ อ การศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพอรุณการ พิมพ. ทิศนา แขมมณี. (2545). กลุมสัมพันธเพื่อการทํางานและการ จัดการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: นิชินแอดเวอรไท ซิ่ง กรูฟ. _________. (2548). ศาสตรการสอนองคความรูเพื่อการจัด กระบวนการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ.กรุงเทพฯ: ดานสุทธาการพิมพ. พิมพันธ เดชะคุปต, พเยาว ยินดีสุข และ พันตรีราเชน มีศรี. (2548). การสอนคิดดวยโครงงาน. กรุงเทพฯ: โรง พิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. เยาวดี วิบูลยศรี. (2537). การประเมินโครงการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ลัดดา ภูเกียรติ. (2544). โครงงานเพื่อการเรียนรู: หลักการ และแนวทางการจัดกิจกรรม. กรุงเทพฯ: คณะครุ ศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วิมลรัตน สุนทรโรจน. (2544). กระบวนการเรียนรูโดย โครงงาน. ภาควิชาหลักสูตรและการสอน. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

8.2) ภาษาอังกฤษ Clark, D.,(2003).Blended Learning. Epic Group. Institute of APEC Collaborative Education. (2008). APEC Edutainment Exchange Program. http://www.apec-aeep.org Kim, Y., (2006). APEC Future Education toward the Edutainment Park in the APEC Region. Asia-Pacific Cyber education Journal. 3,1,69-78. Office of the National Education Commission Office of the Prime Minister Kingdom of Thailand. National Education Act of B.E. 2542. http://www/onec.go.th/publication/law2545/sa _law2545.htm Papert, S. (1993). The Children’s Machine: Rethinking School in the Age of the Computer. Basic Books. San Mateo County Office of Education. (1998). Project-Based and Problem-Based: The same or different? Prepared for the Challenge 2000 Multimedia Project. Smith, B., and MacGregor, J. (1992) What Is Collaborative Learning. Collaborative Learning: A Sourcebook for Higher Education. National Center on Teaching, Learning, and Assessment, University Park. Valiathan, P., (2002). Designing a Blended Learning Solution. http://www.learningcircuits.com/2002/aug2002 /valiathan.html.

198


การพัฒนาบทเรียนอีเลิรนนิงเรื่องการประดิษฐคิดคน สาขาวิศวกรรมและอุตสาหกรรมวิจัย สําหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ The Development of e-Learning in Inventive of Engineering and Industrial Research for Undergraduate Students’ King Mongkut’s University of Technology North Bangkok ผูชวยศาสตราจารย ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ 1, ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปรัชญนันท นิลสุข 2, อาจารย ดร. ปณิตา วรรณพิรุณ 3 1 ภาควิชาครุศาสตรเทคโนโลยี คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 2 3

(ppr@kmutnb.ac.th)

ภาควิชาครุศาสตรเทคโนโลยี คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (prachyanunn@kmutnb.ac.th)

ภาควิชาครุศาสตรเทคโนโลยี คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (panitaw@kmutnb.ac.th)

เรียนรูจากบทเรียนอีเลิรนนิงเรื่องการประดิษฐคิดคน สาขา วิศวกรรมและอุตสาหกรรมวิจัย กลุมตัวอยางเปนนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือจํานวน 30 คน เรียนโดยใชบทเรียนอีเลิรนนิงที่ประกอบดวยเนื้อหา 10 ตอน สถิติที่ใชในการวิจัย คือ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และ t-test dependent ผลการวิจัยพบวา 1. ผลการประเมินคุณภาพบทเรียนโดยผูเชี่ยวชาญ พบวา คุณภาพบทเรียนดานเนื้อหา ดานการออกแบบระบบ บริหารจัดการเรียนการสอน และดานระบบบริหารจัดการ เรียนการสอน มีความเหมาะสมมากที่สุด 2. ผลการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนกอนและหลังการทดลอง พบวา นักศึกษามี คาเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังทดลองสูง กวาคาเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนทดลอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

ABSTRACT The purposes of this study were to 1) develop eLearning in Inventive of Engineering and Industrial Research for Undergraduate Students’ King Mongkut’s University of Technology North Bangkok; and 2) compare learning achievement of students between pre-test and post-test. The sample in this study consisted of 30 undergraduate students from King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, learned by using e-Learning in Inventive of Engineering and Industrial Research in 10 modules. Data were analyzed by using arithmetic mean, standard deviation and t-test dependent. The results of study indicated that: 1. The experts agree that e-Learning in Inventive of Engineering and Industrial Research for Undergraduate Students’ King Mongkut’s University of Technology North Bangkok was appro- priateness in an excellent level. 2. The Undergraduate students’ post-test score for the learning achievement were significan- tly higher than the pre-test score in the learning achievement at .01 level. Keywords: e-Learning, Inventive of Engineering and Industrial Research

คําสําคัญ: อีเลิรนนิง, การประดิษฐคิดคนสาขาวิศวกรรม และอุตสาหกรรมวิจัย

บทคัดยอ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ 1) พั ฒ นา บทเรียนอีเลิรนนิงเรื่องการประดิษฐคิดคน สาขาวิศวกรรม และอุ ต สาหกรรมวิ จั ย สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า พระนครเหนื อ และ 2) ศึ ก ษา ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของนั ก ศึ ก ษาก อ นและหลั ง การ

1) บทนํา คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2549 ไดมีมติ เห็นชอบการทูลเกลาฯ ถวายพระราชสมัญญา “พระบิดา แหงการประดิษฐไทย” แดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ตามที่สํานักงานคณะกรรมการวิจัย แหงชาติ เ สนอ ทั้ง นี้

199


สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ รายงานวา จากการที่ คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2537 เห็นชอบ การกําหนดใหวันที่ 2 กุมภาพันธของทุกปเปน “วันนัก ประดิษ ฐ ” เพื่อ เฉลิมพระเกีย รติแ ดพ ระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัว ในการที่ไดทรงประดิษฐคิดคน “เครื่องกลเติม อากาศที่ผิวน้ําหมุนชาแบบทุนลอย” หรือกังหันน้ําชัยพัฒนา และทรงไดรับ การทูล เกลา ฯ ถวายสิท ธิบัต รการประดิษ ฐ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ 2536 นั้น สํานักงานคณะกรรมการ วิจ ัย แห ง ชาติ ไ ด รั บ มอบหมายจากนายกรั ฐ มนตรี ใ ห เ ป น หนวยงานกลาง ในการจัดงาน “วันนักประดิษฐ” สมาคมนัก ประดิ ษ ฐ แ ห ง ประเทศไทยได ข อความอนุ เ คราะห ใ ห สํ า นั ก งานคณะกรรมการวิ จั ย แห ง ชาติ เ ป น แกนในการ ดําเนินการทูลเกลาฯ ถวายพระราชสมัญญา “พระบิดาแหง การประดิษฐไทย” แดองคพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว โดยการสนั บ สนุ น และเห็ น ชอบของมู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดําริและสมาคมแขงเรือใบแหงประเทศ ไทยในพระบรมราชูปถัมภ เพื่อเฉลิมพระเกียรติและเผยแพร พระเกี ย รติ คุ ณ พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว และเพื่ อ ให ประชาชนเจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาท รวมทั้ง ปลูกฝง เสริมสรางและสงเสริมใหเยาวชนไทย ใหมีทุนทางสังคม ของความเป น นั ก ประดิ ษ ฐ คิ ด ค น พั ฒ นาและส ง เสริ ม นั ก ประดิษฐใหรวมมือรวมใจกันในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ความเจริญและความมั่นคงของประเทศชาติ (สํานักงาน คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, 2550) วิก ฤตการณที่ ป ระเทศไทยประสบเกิด จากการขาด ความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึ่งถาหากตองการ พั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมต อ ไปอย า งยั่ ง ยื น และต อ เนื่ อ ง จําเปนตองเรงผลักดัน ความสามารถดานนวัตกรรม ซึ่งจะ เปนปจจั ยสําคัญ การเพิ่มความสามารถในการผลิต เรียนรู และใชประโยชนแบบใหมใหเกิดผลทางพาณิชย นวัตกรรม เกิดขึ้นโดยสองแนวคิด แบบแรกคือ เกิดจากการพัฒนาทาง วิชาการที่ลึกซึ้งกวาเดิม ทําใหเกิดความใหม สิ่งใหมที่เดิม ยั ง ไม มี เ พราะไม มี เ ทคโนโลยี หรื อ เกิ ด จากการพั ฒ นา เชื่อมโยงผสมผสานวิทยาการพื้นฐานและวิศวกรรมศาสตร หลาย ๆ แขนง เขาดวยกัน แบบที่สองเกิดจากความคิดแบบ

แหวกแนว นํ า ผลผลิ ตและวิ ธี ก ารด านหนึ่ง ไปใช อี ก ด า น หนึ่ง (ยงยุทธ ยุทธวงศ, 2541) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ มี ป รั ช ญาหลั ก คื อ การพั ฒ นาคน พั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร แ ละ เทคโนโลยี มีคณะวิชาตาง ๆ ที่เปดสอนทางดานวิศวกรรม อุตสาหกรรม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีสิ่งประดิษฐ คิ ด ค น เกิ ด ขึ้ น จากโครงการต า ง ๆ มากมาย ในขณะที่ สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ไดจัดใหมีการ ประกวดผลงานประดิษฐ คิดคนตอเนื่องมากวา 20 ป โดย สาขาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมวิจัย ไดมีสวนรวม เปนสาขาหลักที่สําคัญในดานการพิจารณาผลงานประดิษฐ คิดคนที่เกี่ยวของกับสาขาฯ และคณะกรรมการสาขาฯ ที่ได เข าร ว มในการพิ จ ารณาผลงาน ได มี ขอ สัง เกตสรุ ป ได ว า ผลงานประดิษฐคิดคนที่สงเขาประกวดแตละป 100 กวา เรื่ อ งนั้ น เป น ผลงานสาขาวิ ศ วกรรมศาสตร แ ละ อุตสาหกรรมวิจัยประมาณ 40-60 % ของผลงานที่สงเขา ประกวดทั้งหมด ผลงานที่สงเขาประกวดมีความหลากหลาย และมี ค วามแตกต า งของพื้ น ฐานการประดิ ษ ฐ คิ ด ค น งบประมาณ บุคลากร ความพรอมดานวิชาการ ตลอดจนสิ่ง อํานวยความสะดวกเปนจํานวนมาก เชน บางผลงานอยูใน ระดับชาวบาน บางผลงานอยูในระดับนักเรียน บางผลงาน มาจากนักวิจัยหรือสถาบันที่มีความพรอมในหลาย ๆ ดาน แตยังขาดการรวบรวมและขาดองคความรูในการประดิษฐที่ นํ า ไปสู ก ารค า และการผลิ ต โดยเฉพาะในระดั บ มหาวิทยาลัย ที่ ยังไมมีการจัด การศึกษาใหเ ขาใจในการนํ า สิ่งประดิษฐคิดคนไปตอยอด วิบูลย ตั้งกิตติภาภรณ (2537) ไดกลาวถึงการ ประดิษ ฐที่ข อรับ สิท ธิบัตรไดตองประกอบด วยลักษณะ 3 ประการ ซึ่งคูมือการจดสิทธิบัตรและกฎหมายสิทธิบัตรได กําหนดไวคือ 1) การประดิษฐขึ้นใหม (Novelty) 2) การ ประดิษฐที่มีขั้นการประดิษฐสูงขึ้น (Inventive Step) และ 3) การประดิษฐที่สามารถประยุกตในทางอุตสาหกรรม (Industrial Applicability or Utilities)

การประดิษฐตองพบปญหาทั้งในเรื่องของการลงทุน เรื่องความรูที่จํากัด การเปนนักประดิษฐตองมีความพยายาม มาก คนที่ไมมีความพยายามเปนนักประดิษฐไมได ตอง ทุมเท มีการทดสอบ (เย็นใจ เลาหวณิช, 2544) ปญหาที่ พบในการประดิษฐก็คือผลงานสิ่งประดิษฐจํานวนมาก ขาด

200


กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2552 ไดจากการสุมอยางงาย จํานวน 30 คน

การพัฒนาอยางเปนระบบ มีจุดออนทางดานทฤษฎี วิชาการ การสืบคนขอมูล ประสิทธิภาพ ความปลอดภัย ผลงาน ประดิ ษ ฐ คิ ด ค น ที่ มี ศั ก ยภาพหลายผลงานประสงค จ ะ ดําเนินการดานการคุมครองทรัพยสินทางปญญา มีศักยภาพ ในการพั ฒ นาสู เ ชิ ง พาณิ ช ย แ ต ข าดการสนั บ สนุ น ต อ ยอด โดยเฉพาะในระดับมหาวิทยาลัยที่มีโครงงานตาง ๆ มากมาย แตขาดความรูความเขาใจที่จะนําสิงประดิษฐเหลานั้นไปทํา ใหเกิดมูลคา ดังนั้นการรวบรวมความรูพื้นฐานที่จําเปนและแนะนํา แหลงความรูเสริม ตลอดจนตัวอยางที่ดีและที่ควรปรับปรุง ในการประดิษฐคิดคน โดยการจัดทําเปนสื่อที่ทันสมัยและ เหมาะสมในการใชงานและเผยแพร ใหนักศึกษาของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ไดทํา ความเขาใจและสามารถเข ามาศึกษาหาความรูไดทุกที่ทุ ก เวลา การนําขอมูลเหลานั้นมานําเสนอในลักษณะของระบบ การจัดการเรียนรูที่เปนระบบและกระบวนการ จะชวยให นักศึกษาสามารถศึกษาขอมูลและเรียนรูจากตัวอยางตาง ๆ ไดเปนอยางดี อีกทั้งยังสามารถทดสอบความรูความเขาใจ ของตนเองไดอยางถูกตอง เพื่อการพัฒนานักประดิษฐไดมี แนวทางในการประดิษฐที่ดี และเปนการพัฒนาศักยภาพ ของประเทศดานการประดิษฐคิดคนตอไป

3.1) ตัวแปรที่ใชในการวิจัย ตัวแปรตน คือ บทเรียนอีเลิรนนิง เรื่อง การประดิษฐ คิดคน สาขาวิศวกรรมและอุตสาหกรรมวิจัย ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

4) วิธีดําเนินการวิจัย

2) วัตถุประสงคการวิจัย 2.1) เพื่อพัฒนาบทเรียนอีเลิรนนิงเรื่องการประดิษฐ คิดคน สาขาวิศวกรรมและอุตสาหกรรมวิจัยสําหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 2.2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษากอน และหลังการเรียนจากบทเรียนอีเลิรนนิงเรื่องการประดิษฐคิดคน สาขาวิศวกรรมและอุตสาหกรรมวิจัย

3) ขอบเขตการวิจัย 3.1) ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ จอมเกลาพระนครเหนือที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 2 ป การศึกษา 2552

201

4.1) ระยะที่หนึ่ง การวิเคราะหระบบงาน ประกอบดวย การจัดประชุมคณะทํางาน การประชุม ระดมสมองผู เ กี่ ย วข อ งในการประดิ ษ ฐ คิ ด ค น ท า ง วิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมวิจัย การประเมินผลของ ระบบงานและปญหาอุปสรรค และการสรุประบบงานที่ตอง ดําเนินการ 4.2) ระยะที่สอง การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู ประกอบด วย การวิ เคราะห เนื้ อหาบทเรี ยน อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส คณะทํ า งานออกแบบเนื้ อ หาตามกรอบ แนวคิดของเนื้อหา การกําหนดขอบเขตของเนื้อหา ปริมาณ เนื้ อ หา องค ป ระกอบของบทเรี ย นอี เ ลิ น นิ่ ง และรวบรวม เนื้อหา จัดทํารายละเอียด นําเสนอเนื้อหาใหผูเชี่ยวชาญ ผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ แ ละผู เ กี่ ย วข อ งทางวิ ศ วกรรมศาสตร แ ละ อุตสาหกรรมวิจัยไดทําการตรวจสอบแกไขเนื้อหาและรับฟง ขอเสนอแนะตาง ๆ ปรับปรุงแกไขเนื้อหาและจัดทําในรูป ของเอกสาร การวิ เ คราะห ร ะบบเครื อ ข า ยในการที่ คณะทํางานจะตองประสานในเรื่องของการติดตั้งระบบการ จัดการเรียนรูและเครือขายที่จะรองรับระบบ กําหนด คุณสมบัติขั้นตนสําหรับ การติดตั้งระบบการจัดการเรียนรู (LMS) เพื่อใหสามารถรองรับการทํางานได และการ ประเมินผลการออกแบบระบบการจัดการความรู 4.3) ระยะที่สาม การพัฒนาระบบ e-Learning ประกอบดวย คณะทํางานวิเคราะหองคประกอบที่ จําเปนสําหรับระบบอีเลิรนนิ่ง โดยกําหนดความตองการที่ จะตองใชในระบบเชน การออกแบบหนาจอภาพ การจัด องคประกอบภาพและกราฟก การเชื่อมโยงเนื้อหา การใช งานระบบ LMS การติดตั้งระบบ LMS โดยคณะทํางานจะ


http://202.44.43.230/invention/ แลวใหทําแบบทดสอบ หลังจากไดทดลองเรียน นําผลการเรียนของนักศึกษามาทําการวิเคราะหหาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนจากการเรียนดวยบทเรียนอี เลิรนนิ่งเรื่อ งการ ประดิษฐคนคน สาขาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมวิจัย ที่ไดพัฒนาขึ้น 4.5) ระยะที่หา การประเมินผลและสรุปโครงการ การประเมินผลโครงการจะทําการประเมินโครงการ ทั้งระบบตลอดระยะเวลาดําเนินโครงการตั้งแตขั้นตอนการ วิเคราะห การออกแบบ การพัฒนาและการนําไปใช โดยนํา ขอ มูลมาทํา การสรุป เปนรายงานในรูป แบบโครงการและ รายงานการวิจัย โดยจะมีผลงานปรากฏเปนรูปธรรมไดแก รายงานผลการดํ า เนิ น โครงการ รายงานผลการวิ จั ย การ พั ฒ นาระบบการจั ด การเรี ย นรู ก ารประดิ ษ ฐ คิ ด ค น สาขา วิศวกรรมและอุตสาหกรรมวิจัย เว็บไซต e-Learning ระบบ LMS ติดตั้งในระบบของคณะครุศาสตร อุตสาหกรรม

ทําการติดตั้งระบบการจัดการเรีย นรูโ ดยการใชโปรแกรม MOODLE พรอมทั้งกําหนดเงื่อนไขใหกับฐานขอมูล MySQL เพื่อรองรับการใชโปรแกรม MOODLE โดย เชื่ อ มโยงเข า กั บ ระบบเครื อ ข า ยของคณะครุ ศ าสตร อุตสาหกรรม เมื่อติดตั้งระบบ LMS ดวย MOODLE เรียบร อยแลว จะทําการสรางเว็บไซตเรื่อ ง การประดิษ ฐ คิดคนสาขาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมวิจัย ตาม การวิเคราะหและออกแบบเนื้อหาที่ไดดําเนินการมาในระยะ ที่หนึ่งและสอง องคประกอบของอีเลินนิ่งไดแ ก เนื้อหา แบบทดสอบกอนการเรียนรู แบบทดสอบหลังการเรียนรู กระดานขาว หองสนทนา กระทู แหลงคนควา อภิธาน ศัพท แหลงการเรียนรูท่ีเกี่ยวของ ระบบสมาชิก ระบบ ของผูดูแลระบบ ฯลฯ การสรางเนื้อหาเว็บไซตและติดตั้ง องคประกอบตาง ๆ ของอีเลินนิ่งเรียบรอยแลว ก็จะทําการ ทดสอบระบบอีเลินนิ่งไดแก การเขาสูเว็บไซต การเขาสู ระบบเนื้อ หา การสมัครสมาชิก การเชื่อมโยงในเว็บ ไซต ความเร็วในการเขาสูระบบ ฯลฯ เมื่อทดสอบระบบแลวทํา การประเมินเนื้อหาและระบบที่ติดตั้ง โดยผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับ การประดิษฐคิดคน เปนผูประเมินเพื่อหาขอบกพรองอันจะได ทําการแกไขกอนนําไปใชงานจริง 4.4) ระยะที่สี่ การนําไปใช เมื่อทําการพัฒนาระบบ LMS ดวย MOODLE โดย จัดทําเปนเว็บไซตเรียบรอยแลวจึงทําการนําไปทดสอบการ ใชงาน ดังตอไปนี้ การทดสอบการใชงานไดทําการทดสอบ โดยใหนักศึกษาที่กําลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2552 ไดเขาไปทําการศึกษาวิธีการในการคิดคนสิ่งประดิษฐ โดยประสานงานกับ นักศึกษาผานทาง e-mail และให นักศึกษาไดเรียนรูดวยตนเองผานระบบ LMS ที่ URL : http://202.44.43.230/invention/ ปรับปรุงแกไขขอบกพรอง ของระบบและปญหาอุปสรรคตาง ๆ ที่เกิดจากการนําไปใช นําเว็บไซตที่ไดปรับปรุงแกไขแลวไปทําการทดลองอีกครั้ง โดยใหนักศึกษาที่กําลังเรียนอยูในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2552 และยังไมเคยไดเรียนเรื่องการประดิษฐคนคน สาขา วิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมวิจัยไดทดลองเรียนโดย การประสานงานกับนักศึกษาผานทาง e-mail และให นักศึกษาไดเรียนรูดวยตนเองผานระบบ LMS ที่ URL:

5) สถิติที่ใชในการวิจัย ทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังเรียน เปรียบเทียบความแตกตางโดยใช t-test dependent และหา คุ ณ ภาพของบทเรี ย นอี เ ลิ ร น นิ่ ง โดยใช ค า เฉลี่ ย และส ว น เบี่ยงเบนมาตรฐาน

6) ผลการวิจัย 6.1) ผลการพัฒนาบทเรียนอีเลิรนนิ่งเรื่องการประดิษฐ คิ ด ค น สาขาวิ ศ วกรรมและอุ ต สาหกรรมวิ จั ย สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า พระนคร เหนือ บทเรียนอีเลิรนนิ่งเรื่องการประดิษฐคิดคน สาขา วิ ศ ว ก ร ร ม แ ล ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม วิ จั ย สํ า ห รั บ นั ก ศึ ก ษ า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ พัฒนา โดยใช โ ปรแกรมระบบการจั ด การเรี ย นรู แ บบ Learning Management System (LMS) ของ Moodle ซึ่งเปน โปรแกรมฟรี (Freeware) และเปดเผยซอรสโคด (Open Source) ประกอบดวยเนื้อหาดังตอไปนี้ ตอนที่ 1 พระบิดาแหงการประดิษฐไทย

202


ระบบบริ ห ารจั ด การเรี ย นการสอนในภาพรวมมี ค วาม เหมาะสมมาก ( x = 3.78, S.D. = 0.37) 6.3) ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษากอน และหลังการเรียนรูจากบทเรียนอีเลิรนนิ่งเรื่องการประดิษฐ คิดคน สาขาวิศวกรรมและอุตสาหกรรมวิจัย ผลการเปรี ย บเที ย บค า เฉลี่ ย ของคะแนนผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนกอนและหลังการทดลอง พบวา นักศึกษามี คาเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังทดลอง ( x = 33.20, S.D. = 4.706) สูงกวาคาเฉลี่ยของคะแนน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนทดลอง ( x = 20.03, S.D. = 8.858) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

ตอนที่ 2 การประดิษฐขึ้นใหม ตอนที่ 3 การประดิษฐที่มีขั้นการประดิษฐสูงขึ้น ตอนที่ 4 การประดิษฐที่สามารถประยุกตในทาง อุตสาหกรรม ตอนที่ 5 สิ่งประดิษฐคนรุนใหม ตอนที่ 6 สิ่งประดิษฐทางวิทยาศาสตร ตอนที่ 7 สิ่งประดิษฐสาขาวิศวกรรมและ อุตสาหกรรมวิจัย ตอนที่ 8 นักประดิษฐของไทยและของโลก ตอนที่ 9 การจดสิทธิบัตรและกฎหมายที่เกี่ยวของ ตอนที่ 10 เสนทางสูการเปนนักประดิษฐ ระบบบริหารจัดการเรียนการสอนของบทเรียนอีเลิร นนิ่ ง เรื่ อ งการประดิ ษ ฐ คิ ด ค น สาขาวิ ศ วกรรมและ อุตสาหกรรมวิจัยสําหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ ประกอบดวย 9 องคประกอบ ไดแ ก ระบบการเป น สมาชิก กระดานข าว หอ งสนทนา แบบฝ ก หั ด ระหว า งเรี ย น แบบทดสอบหลั ง เรี ย น แบบ สํารวจนักประดิษฐ อภิธานศัพท ปฏิทินกิจกรรม และวีดิ ทัศนการประดิษฐ

7) สรุปผลการวิจัย 7.1 คุณภาพของบทเรียนอีเลิรนนิ่ง เรื่องการประดิษฐ คิดคน สาขาวิศวกรรมและอุตสาหกรรมวิจัยสําหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ โดยรวม อยูในระดับเหมาะสมมาก 7.2 นักศึกษาที่เรียนโดยใชบทเรียนอีเลิรนนิ่งเรื่องการ ประดิษฐคิดคน สาขาวิศวกรรมและอุตสาหกรรมวิจัยที่ พัฒนาขึ้น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอน เรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

6.2) ผลการประเมินคุณภาพของบทเรียนอีเลิรนนิ่งเรื่องการ ประดิ ษ ฐ คิ ด ค น สาขาวิ ศ วกรรมและอุ ต สาหกรรมวิ จั ย สําหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระ นครเหนือ 6.2.1 การประเมินคุณภาพบทเรียนดานเนื้อหาโดย ผู เ ชี่ ย วชาญด า นเนื้ อ หา จํ า นวน 3 ท า น พบว า ความ เหมาะสมดานเนื้อหาในภาพรวมมีความเหมาะสมดีมาก ( x = 3.74, S.D .= 0.38) 6.2.2 การประเมินคุณภาพบทเรียนดานการออกแบบ ระบบบริหารจัดการเรียนการสอนโดยผูเชี่ยวชาญดานการ ออกแบบระบบบริหารจัดการเรียนการสอน จํานวน 5 ทานพบวา ความเหมาะสมดานการออกแบบระบบบริหาร จัดการเรียนการสอนในภาพรวมมีความเหมาะสมมาก ( x = 3.73, S.D. = 0.44) 6.2.3 การประเมินคุณภาพบทเรียนดานระบบบริหาร จัดการเรียนการสอนโดยผูเชี่ยวชาญดานระบบบริหารจัดการ เรียนการสอน จํานวน 5 ทาน พบวา ความเหมาะสมดาน

8) อภิปราย การวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิรนนิ่งเรื่องการ ประดิษฐคิดคน สาขาวิศวกรรมและอุตสาหกรรมวิจัยสําหรับ นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า พระนคร เหนือ มีวัตถุประสงคของการวิจัย มีประเด็นหลักที่นํามา อภิปรายผลการวิจัย 2 ประเด็น คือ 1) การประเมินคุณภาพ ของบทเรียน และ 2) การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักศึกษา ดังนี้ 8.1) ประเมินคุณภาพของบทเรียน ผลการประเมินคุณภาพของบทเรียนอีเลิรนนิ่งเรื่อง การประดิษฐคิดคน สาขาวิศวกรรมและอุตสาหกรรมวิจัย สําหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระ นครเหนือดานเนื้อหา ดานการออกแบบระบบบริหารจัดการ เรียนการสอน และดานระบบบริหารจัดการเรียนการสอน

203


โดยผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ดานการออกแบบระบบบริหาร จัดการเรียนการสอน และดานระบบบริหารจัดการเรียนการ สอน พบว า บทเรี ย นอี เ ลิ ร น นิ่ ง เรื่ อ งการประดิ ษ ฐ คิ ด ค น สาขาวิ ศ วกรรมและอุ ต สาหกรรมวิ จั ย สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า พระนครเหนื อ มี คุณภาพดานเนื้อหาในภาพรวมมีความเหมาะสมมาก ( x = 3.74, S.D .= 0.38) ดานการออกแบบระบบบริหารจัดการ เรียนการสอนในภาพรวมมีความเหมาะสมมาก ( x = 3.73, S.D. = 0.44) ดานระบบบริหารจัดการเรียนการสอนใน ภาพรวมมีความเหมาะสมมาก ( x = 3.78, S.D. = 0.37) เนื่องจากในการพัฒนาบทเรียนอีเลิรนนิ่งเรื่องการประดิษฐ คิ ด ค น สาขาวิ ศ วกรรมและอุ ต สาหกรรมวิ จั ย สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า พระนคร เหนือ มีการควบคุมความตรงภายใน (internal validity) ใน ทุกขั้นตอนของการของการวิจัย โดยวิธีการและขั้นตอนใน การพัฒนาที่แบงการดําเนินโครงการออกเปน 5 ขั้นตอน คือ ระยะที่หนึ่ง การวิเคราะหระบบงาน ระยะที่สอง การ ออกแบบระบบการจัดการเรียนรู ระยะที่สาม การพัฒนา ระบบอีเลินนิ่ง ระยะที่สี่ การนําไปใช และระยะที่หาการ ประเมินผลและสรุปโครงการ ในระหวางการพัฒนาไดผาน การพิจารณาความถูกตอ ง เหมาะสม และปรับปรุงแกไข ตามคํ า แนะนํ า และข อ เสนอแนะของผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ แ ละ ผูเชี่ยวชาญที่มีความรูความสามารถในดานเนื้อหา ดานการ ออกแบบระบบบริหารจัดการเรียนการสอน และดานระบบ บริห ารจัดการเรีย นการสอน ผลจากการประเมินคุ ณ ภาพ บทเรียนจึงพบวา ผูทรงคุณวุฒิและผูเชี่ยวชาญมีความคิดเห็น สอดคลองกันวาบทเรียนอีเลิรนนิ่งเรื่องการประดิษฐคิดคน สาขาวิ ศ วกรรมและอุ ต สาหกรรมวิ จั ย สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า พระนครเหนื อ มี คุณภาพดานเนื้อหา ดานการออกแบบระบบบริหารจัดการ เรียนการสอน และดานระบบบริหารจัดการเรียนการสอนมี ความเหมาะสมมาก

และอุตสาหกรรมวิจัยพบวา นักศึกษามีคาเฉลี่ยของคะแนน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังทดลอง ( x = 33.20, S.D. = 4.706) สูงกวาคาเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนทดลอง ( x = 20.03, S.D. = 8.858) อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 นั้น สอดคลองกับการวิจัยของ พัลลภ พิริยะสุรวงศ และ ปรัชญนันท นิลสุข (2551) ที่พบวา การ เรี ย นโดยใช บ ทเรี ย นอี เ ลิ ร น นิ่ ง สามารถพั ฒ นาคะแนน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรีย นของผูเรียนใหสูงขึ้นได และ สอดคลองกับแนวคิดของ Driscoll (2002) ที่กลาววา กิจ กรรมการเรีย นสอนการเรียนโดยใชบ ทเรียนอี เลิร นนิ่ ง สามารถพัฒนาใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่ทาทาย ตอบสนอง ตอความแตกตางระหวางบุคคลและศักยภาพทางการเรียนรู ของผูเรียน ทําใหผูเรียนสามารถพัฒนาความสามารถในการ เรียนรูของตนเองไดดีขึ้น สอดคลองกับแนวคิดของ Wilson, and Smilanich (2005). กลาววา กิจกรรมการเรียนสอนการ เรียนโดยใชบทเรียนอีเลิรนนิ่งทําใหผูเรียนสามารถเรียนรูได อยางอิสระ สงผลใหเกิดการเรียนที่กระฉับกระเฉง (active learning) ทําใหผูเรียนเปนผูที่มีความกระฉับกระเฉงในการ เรียนรู (active learner) และสามารถลดเวลาในการเขาชั้น เรียนได นอกจากนี้การเรียนโดยใชบทเรียนอีเลิรนนิ่งยังมี สวนสนับสนุนปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับผูเรียนดวยกัน และผูเรียนกับผูสอนโดยการติดตอแบบสวนตัว ชวยใหการ เรียนรูดีขึ้น (Thorne,2003) และชวยใหผูเรียนมีสวนรวมใน ชุมชนแหงการเรียนรูมากขึ้น (Rovai and Jordan, 2004)

9) ขอเสนอแนะ จากผลสรุ ป และการอภิ ป รายผลการวิ จั ย ผู วิ จั ย มี ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลการวิจัยไปใชประโยชน และ ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยในครั้งตอไป ดังนี้ 9.1) ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลการวิจัยไปใชประโยชน 9.1.1) ในการพัฒ นาบทเรี ยนอี เลิร นนิ่ง ควรมีก ารควบคุ ม ความตรงภายใน (internal validity) ในทุกขั้นตอนของการ ของการวิจัย วิธีการและขั้นตอนในการพัฒนาควรแบงการ ดําเนินโครงการออกเปน 5 ขั้นตอน คือ 1) การวิเคราะห ระบบงาน 2) การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู 3) การ พัฒนาระบบอีเลินนิ่ง 4) การนําไปใช และ 5) การ ประเมินผลและสรุปโครงการ

8.2) การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา จากผลการเปรี ย บเที ย บค า เฉลี่ ย ของคะแนน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังการทดลองเรียนโดยใช บทเรียนอีเลิรนนิ่งเรื่องการประดิษฐคิดคน สาขาวิศวกรรม

204


ปฏิสัมพันธทางการเรียนผานระบบบริหารจัดการเรียนรูของ บทเรียนอีเลิรนนิ่ง กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน

9.1.2) ในระหวางการพั ฒนาบทเรีย นอีเลิรนนิ่งควรมีการ ประเมินเพื่อพิจารณาความถูกตอง เหมาะสม และปรับปรุง แกไขตามคําแนะนําและขอเสนอแนะของผูทรงคุณวุฒิและ ผูเชี่ยวชาญที่มีความรูความสามารถในดานเนื้อหา ดานการ ออกแบบระบบบริหารจัดการเรียนการสอน และดานระบบ บริหารจัดการเรียนการสอน เพื่อใหไดบทเรียนที่มีคุณภาพ และความเหมาะสม 9.1.3) สถาบันการศึกษาที่นําบทเรียนอีเลิรนนิ่งไปใช ตองมี การเตรียมความพรอมทางดานเครื่องมือและระบบโครงสราง พื้นฐานที่จําเปนในการเรียนการสอนโดยใชบทเรียนอีเลิร นนิ่ง ไดแ ก หองปฏิบัติก ารคอมพิวเตอร ระบบเครือ ข าย อิ น เทอร เ น็ ต ควรมี ก ารพั ฒ นาทั ก ษะความสามารถทาง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใหกับผูเรียนกอนทํา การเรียนโดยใชบทเรียนอีเลิ รนนิ่ง ไดแก ความรูเบื้องตน เกี่ ย วกั บ การใช ง านคอมพิ ว เตอร การใช บ ริ ก ารบน อิ น เทอร เ น็ ต เช น การค น หาข อ มู ล สารสนเทศ การใช เครื่ อ งมือ ในการติ ดต อ สื่อ สาร ไปรษณียอิ เล็ ก ทรอกนิก ส กระดานสนทนา และกระดานขาว เปนตน 9.1.4) สถาบันการศึกษาที่นําบทเรียนอีเลิรนนิ่งไปใช ควรมี การประชุม ชี้แจง เกี่ยวกับวิธีการและรูปแบบการเรียนการ สอนบนเว็ บ แบบผสมผสานฯ และควรชี้ ใ ห ค ณาจารย นักศึกษาและผูที่เกี่ยวของ เห็นถึงประโยชนที่จะไดรับจาก การนําบทเรียนอีเลิรนนิ่ง ไปใช เพื่อเปนการสงเสริมใหผูที่ เกี่ยวของมีทัศนคติที่ดีตอวิธีการและการเรียนการสอนโดยใช บทเรี ย นอี เ ลิ ร น นิ่ ง เนื่ อ งจากการเรี ย นการสอนโดยใช บทเรี ย นอี เ ลิ ร น นิ่ ง ให เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล จําเปนตองไดรับความรวมมือและการมีสวนรวมอยางแทจริง จากผูที่เกี่ยวของทุกคน

10) เอกสารอางอิง ครรชิต มาลัยวงศ. “แนวทางไอทีไทย”. สาร NECTEC ศูนย เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ. 5(20), มกราคม-กุมภาพันธ 2541 : 11-17. จรรยา ทองดี . (2552). เกี ยรติ ประวั ติ และศั กดิ์ ศรี 50 ป มหาวิ ทยาลั ยเทคโนโลยี พระจอมเกล าพระนครเหนื อ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ. ถนอมพร เลาหจรัสแสง. “การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) นวัตกรรมเพื่อคุณภาพการเรียน การสอน.” วารสารศึกษาศาสตรสาร. ปที่ 28 ฉบับ ที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2544. หนา 87-94. ทวีศักดิ์ พึงลําภู. (2548). ใน 100 สิ่งประดิษฐเปลี่ยนโลก. ทอม พิลบิน เขียน. ญาณิณี พจนวิบูลยศิริ และคณะ แปล. กรุงเทพฯ : โครงการสรรพสาสน สํานักพิมพ มูลนิธิเด็ก. ปรัชญนันท นิลสุข. (2550). อีเลินนิ่งสําหรับอุดมศึกษาและ ฝกอบรม. วารสารรมโพธิ์ทองมหาวิทยาลัยเอเชี ย อาคเนย. ปที่ 17 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม –ธันวาคม พ.ศ. 2550 หนา 26-32. พั ล ลภ พิ ริ ย ะสุ ร วงศ และปรั ช ญนั น ท นิ ล สุ ข . (2551). รายงานการวิ จั ย การพั ฒ นาเว็ บ ฝ ก อบรมเรื่ อ งการ จัดการความรูสําหรับครูอาชีวศึกษา. คณะครุศาสตร อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพ ระจอม เกลาพระนครเหนือ. ยงยุทธ ยุทธวงศ. (2541). นวัตกรรม กุญแจสูวามสําเร็จของ ประเทศไทยในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : สํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ. เย็ น ใจ เลาหวณิ ช. (2544). “เทคโนโลยี กั บ การประดิ ษ ฐ ”. รายงานการสัมมนาทางวิชาการเรื่องแนวทางการเพิ่มคุ รภาพของสิ่ ง ประดิ ษ ฐ ที่ มี ศั ก ยภาพเชิ ง พาณิ ช ย . กรุงเทพฯ : คณะกรรมการสภา วิ จั ย แห ง ชาติ สาขา วิศวกรรมและอุตสาหกรรมวิจัย.

9.2) ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยในครั้งตอไป 9.2.1) ควรมี การวิ จั ยเพื่ อพั ฒนาบทเรี ยนอี เลิ ร นนิ่ งสํ าหรั บ สิ่งประดิษฐประเภทอื่น ๆ ตอไป 9.2.2) ควรมี ก ารศึ ก ษาความคิ ด เห็ น ของคณาจารย และ นักศึกษา ตอการเรียนโดยใชบทเรียนอีเลิรนนิ่ง 9.2.3) ควรมี ก ารศึ ก ษาความสั ม พั น ธ ร ะหว า งระยะเวลา ความถี่ในการเรี ยนโดยใชบทเรียน อีเลิรนนิ่ง และ

205


วิบูลย ตั้งกิตติภาภรณ. (2537). คูมือการจดสิทธิบตั รและ กฎหมายสิทธิบัตร. กรุงเทพฯ : สมาคมการประดิษฐ ไทย. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. (2550). โครงการจัด งาน วั น นั ก ป ร ะ ดิ ษฐ ป ร ะจํ า ป พ. ศ . 2550. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ เอนก วิทยะสิรินันท. (2539). “แนวทางการประดิษฐ ใน เสนทางสูการเปนนักประดิษฐ”. กรุงเทพฯ : สมาคม การประดิษฐ. Driscoll, M. (2002). Blended Learning: Let's get beyond the hype. Learning and Training Innovations Newsline. [Online]. Available from: http://www.ltimagazine. com/ltimagazine/article/articleDetail.jsp?id=1 1755 [2005, September 4] Rovai, A. and Jordan, M. (2004). Blended Learning and Sense of Community: A Comparative Analysis with Traditional and Fully Online Graduate Course. [Online].Available from: http://www.irrodl.org/content/v5.2/rovaijordan.html [2006, January 4] Thorne, K. (2003). Blended learning: how to integrate online and traditional learning. London: Kogan Page. Thorne, K. (2003). How to integrate online and traditional learning. London: Kogan Page. Wilson, D., and Smilanich,E. (2005). The other blended learning: a classroom-centered approach. San Francisco, Calif.: Pfeiffer.

206


การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนผานเว็บแบบผสมผสาน เพื่อความคิดสรางสรรคตามแนวคอนสตรัคชันนิซึมของผูเรียน The Development Web-based instruction of Blended Leaning Model For Creative Thinking Using the Constructionism ปริญญา บรรณเภสัช1, ดร. สุรศักดิ์ มังสิงห2 1 มหาวิทยาลัยศรีปทุม (parinyaspu@gmail.com) 2

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

(surasak.mu@spu.ac.th)

บทคัดยอ

ABSTRACT The research objectives are study, analyze, Development Web-based instruction of Blended Leaning Model for Creative Thinking Using the Constructionism. The proposed model is developed for instructors and students in order to teach and learn more effectively.

การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนผานเว็บแบบผสมผสาน มีจุดมุงหมายเพื่อทําการศึกษาและวิเคราะหรูปแบบการเรียน การสอนแบบผสมผสานพร อ มทั้ ง การออกแบบและทํ า รู ป แบบการเรี ย นการสอนเชิ ง อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส แ ละทํ า กา ประเมินความเหมาะสมในรูปแบบและเนื้อหาของการเรียน เชิงอิเล็กทรอนิกสโดยที่ตองการใหระบบที่จัดทําขึ้นสามารถ ชว ยดา นการเรี ย นการสอนของอาจารยแ ละนั ก ศึก ษาให มี ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น

The design and system development are based on software engineering concept which applied by the system development life cycle (SDLC) and its techniques such as Context Diagram and Dataflow Diagram (DFD). There are tools for the system design, for example, HTML, Active Service Pages (ASP) and Microsoft Access . In addition, data analyze is used ttest (Separated Variance). The statistical parameters are Mean,Standard Deviation, and Mode.This model consists of content in form of e-text with graphics, audio, video, and multimedia.The main features of Elearning model are e-tutoring, e-advisor,e-templete and e-evaluation,etc.There are e-Learning experts who work as evaluation committee in E-Learning content and Model.They found that the appropriated evaluation level was very high. The attitude and opinion of 100 students who used the content and program were in high level. It was also evaluated by instructors at Sripatum University and result was in high level.

ในการออกแบบและพัฒนาระบบไดใชหลักการวัฏจักรชีวิต การพัฒนาระบบตามแนวทางของวิศวกรรมซอฟตแวรและ ไดทําการวิเคราะหระบบตามแผนภาพบริบท และแผนภาพ กระแสขอมูล สําหรับเครื่องมือที่ใชในการวิจัยนั้นคือ ภาษา HTML, Active Server Page และโปรแกรม Access นอกจากนั้นในการวิเคราะห ขอมูลไดใช t-test (Separated Variance) และคาพารามิเตอรทางสถิติ ไดแก คาเฉลี่ย คา เบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาฐานนิยม รูปแบบของระบบที่ได พัฒนานั้นประกอบดวยบทเรียนในรูปของเอกสารคําสอน สื่อรูปภาพ กราฟก ภาพเคลื่อนไหว มีระบบการบริการเชิง อิเล็กทรอนิกส ระบบสอนเสริมอิเล็กทรอนิกส ระบบอาจารย ที่ปรึกษาอิเล็กทรอนิกส ระบบสรางโครงการสอนและระบบ การประเมินผลออนไลน

Its result is the E-Learning Model with completetly proof by the users at Sripatum University.The instructors can apply their teaching more effectively on this model.Students can prepare and review content before their classes.They can study anywhere and anytime at their convenience. This style of learning is a fully student-center approach.

207


จะศึกษาและวิเคราะหหารูปแบบการเรียนการสอนผานเว็บ แบบผสมผสานที่เหมาะสมสําหรับใชในมหาวิทยาลัยเสมือน จริง

ในการออกแบบรู ป แบบการเรี ย นและเนื้ อ หานั้ น ได มี คณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิทําการประเมินความเหมาะสม และผลการประเมิน พบวาอยูในระดับที่เหมาะสมมากที่สุด อยางไรก็ดี ในดานเนื้อหาและโปรแกรมนั้นไดนําไปทดลอง ใชกับกลุมนักศึกษาจํานวน 100 คน พบวาทัศนคติและความ คิ ดเห็น ตอ การเรี ย นการสอนเชิงอิเ ล็ก ทรอนิกสมีผ ลอยูใ น ระดับที่มาก นอกจากนั้นระบบดังกลาวยังไดถูกประเมินโดย อาจารยจากคณะตาง ๆในมหาวิทยาลัยและผลการประเมิน ดานทัศนคติและความคิดเห็นที่มีตอการเรียนการสอนผาน เว็บแบบผสมผสานเชิงอิเล็กทรอนิกสอยูในระดับที่มาก

2) วัตถุประสงค ในการทําวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดมีวัตถุประสงคหลัก ดังตอไปนี้ 1. เพื่อทําการศึกษาและวิเคราะหรูปแบบการเรียนการ สอนผานเว็บแบบผสมผสานทั้งในประเทศและตางประเทศ 2. เพื่อทําการพัฒนาจัดทํารูปแบบการเรียนการสอน แบบผสมผสานผานเว็บตามแนวคอนสตรัคชันนิซึม สําหรับ มหาวิทยาลัยเสมือน 3. เพื่อทําการประเมินความเหมาะสมในเนื้อหาและ รูปแบบของการเรียนการสอนแบบผสมผสานผานเว็บตาม แนวคอนสตรัคชันนิซึม 4. เพื่อทําการประเมินทัศนคติของอาจารยผูสอนและ นักศึกษาตอระบบกาเรียนการสอนผานเว็บแบบผสมผสาน สําหรับมหาวิทยาลัยเสมือน

ผลที่ ไ ด จ ากการวิ จั ย คื อ ได รู ป แบบการเรี ย นการสอนเชิ ง อิเล็กทรอนิกส โดยผูใชสามารถเขาใจระบบและเนื้อหาได โดยงาย ซึ่งระบบไดชวยใหอาจารยสามารถสอนนักศึกษาให เขาใจไดมากยิ่งขึ้นและ นักศึกษาสามารถเตรียมตัวกอนเรียน และทบทวนวิชาไดตลอดเวลา นอกจากนั้นยังสามารถเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพการเรี ย นรู แ ละเป น การใช ท รั พ ยากรด า น เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอยูในมหาวิทยาลัยไดอยางคุมคา และประหยัด

3) ขอบเขตดานเนื้อหา

1) บทนํา

ในการวิจัยการเรียนการสอนผานเว็บแบบผสมผสานผูวิจัย ไดใชรายวิชาในหลักสูตรการศึกษาของมหาวิทยาลัยศรีปทุม ซึ่ ง เป น วิ ช า ระบบคอมพิ ว เตอร แ ละวิ ท ยาการสารสนเทศ เบื้ อ งต น ในภาควิ ช าคอมพิ ว เตอร ธุ ร กิ จ คณะสารสนเทศ ศาสตร นอกจากนั้ น ยั ง ได ส ร า งระบบห อ งปฏิ บั ติ ก ารเชิ ง อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (e-Laboratory) วิ ช าระบบการจั ด การ ฐานขอมูลเรื่อง Microsoft Access ขอบเขตของเนื้อหา สนั บ สนุ น ให นั ก ศึ ก ษาสามารถเข า ถึ ง บทเรี ย นได ดั ง รายละเอียดตอไปนี้ 1.1 ผูเรียนสามารถศึกษาระบบการเรียนการสอนใน วิชาที่กําหนดผานอินเทอรเน็ตได 1.2 ผูเรียนสามารถศึกษาเรียนรูไดดวยตนเองผาน ระบบเครือขายอินเทอรเน็ต 1.3 ผูเรียนสามารถคนหากิจกรรมการเรียนการสอน ในแตละวิชาและแตละครั้งของบทเรียนได

การศึกษาในยุคโลกาภิวัตนจะเนนผูเรียนเปนสําคัญ และจะ เ ป น ก า ร ศึ ก ษ า แ บ บ ต ล อ ด ชี วิ ต ดั ง จ ะ เ ห็ น ไ ด จ า ก พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห ง ชาติ ป พ.ศ.2542 ซึ่ ง เน น กระบวนการจัดการศึกษาที่สงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนา ไดตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพของตนเอง นอกจากนั้น ตามยุ ท ธศาสตร ช าติ ด า นการศึ ก ษาที่ ส ง เสริ ม และพั ฒ นา การศึกษาเชิงอิเล็กทรอนิกส (e-Education) ที่เปนการสราง ความรูและความสามารถโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร (ICT) เปนเครื่องมือทั้งนี้เพื่อการกาวไปสูสังคม แ ห ง ภู มิ ป ญ ญ า แ ล ะ ก า ร เ รี ย น รู ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ป น สถาบั น การศึ ก ษาในระดั บ อุ ด มศึ ก ษาที่ พั ฒ นาความรู ความสามารถใหกับบุคคลไดมีการพัฒนาตนเองเพื่อนําไปสู การพั ฒ นาประเทศให มี ค วามเจริ ญ ก า วหน า ป จ จุ บั น มหาวิทยาลัยไดใหความสําคัญตอการเรียนการสอนผานสื่อ อิเล็กทรอนิกสเปนอยางมาก ดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงไดแนวคิดที่

208


1.4 ผู เ รี ย นสามารถสร า งปฏิ สั ม พั น ธ กั บ ผู ส อน ตลอดจนกิ จ กรรมต า งๆร ว มกั บ ผู เ รี ย นคนอื่ น ผ า นระบบ อินเทอรเน็ตได 1.5 มี ก ารให นั ก ศึ ก ษาได ท ดสอบความรู ก อ นและ หลังจากการจบบทเรียน 1.6 มี ก า ร ป ร ะ ม ว ล ผ ล ค ว า ม รู ห ลั ง จ า ก ที่ นักศึกษาเรียนจบบทเรียน 1.7 สรางระบบการประเมินออนไลน

การศึกษาทางไกล นิ ย ามจากการวางแผนการสอน การเรี ย น ด ว ยการใช เทคโนโลยี ที่ ห ลากหลายสํ า หรั บ การเข า ถึ ง ผู เ รี ย นที่ อ ยู หางไกล ซึ่งไมสะดวกในการเขาเรียนตามระบบหองเรียน แบบดั้ ง เดิ ม และสถานศึ ก ษาสํ า หรั บ การศึ ก ษาทางไกล นอกจากนั้นมีรูปแบบที่แตกตางกันของการศึกษาทางไกลมี 2 ลักษณะ คือ Synchronous การเรียนแบบถายทอดสด real time และ Asynchronous เปนการเรียนหลังจากการสอนสด โดยเรียนจากเครื่องบันทึกการสอน ซึ่งในวิทยานิพนธเลมนี้ อางถึงระบบการศึกษาทางไกลของ New York University, Knowledge Systems Institute, และ Wayne state "A Servey of Distance Learning"

4) ขอบเขตดานกลุมตัวอยาง

University

ในการวิจัยผูวิจัยไดวิเคราะหรูปแบบการเรียนการสอนผาน เว็บแบบผสมผสานทั้งในประเทศและตางประเทศ นําเสนอ เก็บขอมูลจากกลุมตัวอยาง 2 กลุม คือ กลุมแรกไดแกอาจารย ประจํ า มหาวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม ในคณะสารสนเทศศาสตร วิ ศ วกรรมศาสตร บั ญ ชี บริ ห ารธุ ร กิ จ ศิ ล ปศาสตร นิ เ ทศ ศาสตร นิติศาสตร เศรษฐศาสตรที่ตอบแบบสอบถามจํานวน 66 คน และกลุมตัวอยางที่สองไดแกนักศึกษามหาวิทยาลัยศรี ปทุมในสาขาบัญ ชี สารสนเทศศาสตร บริห ารธุร กิ จ ศิ ล ป ศาสตร นิเทศศาสตร นิติศาสตร เศรษฐศาสตร โดยนักศึกษา ตอบแบบสอบถามจํานวน 100 คน

ทิ พ ย เ กสร บุ ญ อํ า ไพ นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต ของ สถาบัน ภาควิชาโสตทัศนศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ มหาวิ ท ยาลั ย ได จั ด ทํ า การพั ฒ นาระบบการสอนเสริ ม ท า ง ไ ก ล ผ า น อิ น เ ท อ ร เ น็ ต ข อ ง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ซึ่งแสดงรูปแบบการเรียน การสอนทางไกลผานเครือขายอินเทอรเน็ตในรูปแบบการ เรียนโดยสามารถศึกษาไดจากทุกสถานที่ [8] บุญเรือง เนียมหอม นักศึกษาปริญญา ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต ภาควิ ช าโสตทั ศ นศึ ก ษา บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย จุ ฬ าลงกรณ มหาวิทยาลัย ไดทําวิทยานิพนธหัวขอเรื่อง " การพัฒนา ระบบการเรียนการสอนทางอินเทอรเน็ตในระดับอุดมศึกษา "โดยจัดทํารูปแบบกระบวนการเรียนการสอนผานเครือขาย ในระดับอุดมศึกษาเพื่อเปรียบเทียบศักยภาพรูปแบบการเรียน การสอนแบบเดิมและการนํามาพัฒนาโดยใชเทคโนโลยีมา ใชเปนสื่อในกระบวนการเรียนการสอน [9]

5) งานวิจัยที่เกี่ยวของ นักศึกษาปริญญาเอกคณะ วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย Griffith University ประเทศออสเตรเลี ย ได ทํ า วิ ท ยานิ พ นธ “Dynamic Planning for Flexible Tutoring” การศึกษา ทฤษฎีการสอนเสริมแบบยืดหยุนพบวา การสอนเสริมแบบ ยื ด หยุ น ที่ กํ า หนดวั ต ถุ ป ระสงค แ บบพลวั ต ช ว ยให ผู เ รี ย น สามารถเลือกทางที่ดีและถูกตองได โดยวิธีการปรับเปลี่ยน วั ต ถุ ป ระสงค ก ารเรี ย นรู ต ามผู เ รี ย นโดยอิ ง จากพฤติ ก รรม ผูเรียน[6] นายวินเซ็นโซ ดีวิโต (Vincenzo Devito) นักศึกษา ปริ ญ ญาโท ของสถาบั น โนว เ ลจซิ ส เต็ ม ส (Knowledge System Institute) ประเทศสหรัฐอเมริกา ไดทําวิทยานิพนธ James

David

Reye,2002

6) การจัดรูปแบบการเรียนการสอนผานเว็บแบบ ผสมผสานเชิงอิเล็กทรอนิกส(E-Learning) ปจจุบันมีการใชเทคโนโลยีมาชวย ดานการเรียน การสอน โดยมุงเนนผูเรียนเขาถึงผูเรียนไดทุกเวลาทุกสถานที่ โดย จัดระบบการเรียนการสอน ซึ่งมีการเปลี่ยนรูปแบบจากเดิม

209


โดยแบงการเรียนการสอนเปนแบบซิงโคนัส (Synchronous Learning) และอะซิงโคนัส (Asynchronous Learning) E-Learning มีคําที่ใชใกลเคียงกันอยูหลายคําเชน Distance Learning (การเรียนทางไกล) Computer based training (การ ฝ ก อบรมโดยอาศั ย คอมพิ ว เตอร หรื อ เรี ย กย อ ๆว า CBT) online learning (การเรียนทางอินเทอรเน็ต หรือการเรียนการ สอนออนไลน) และยังมีคําอื่นๆอีกหลายคํา ในที่นี้จะขอใช ความหมายของ e-Learning วา "เปนรูปแบบของการเรียนรู โดยอาศั ย เครื อ ข า ยคอมพิ ว เตอร ใ นการ ถ า ยทอดหรื อ สนับสนุน หรือการปฏิสัมพันธ (ในไมชานี้อาจจะไมตองใช คอมพิวเตอรแลว) เครือขายดังกลาวอาจจะเปนInternet หรือ LAN (การเชื่อมตอภายในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย) หรือ แมกระทั่ง WAN (การเชื่อมตอ ในวงกวางขึ้นเชนในองคกร หรือบริษัท) การเรียนแบบ e-Learning อาจเปนแบบเรียนเปน รายคน โดยอาศัยคอมพิวเตอร หรือ เรียนเปน หมูก็ได การ เรี ย นแบบออนไลน ดั ง กล า วนี้ จ ะมี ลั ก ษณะพิ เ ศษอยู สอง ประการคือ

รูปภาพที่ 1.1 โมเดลการเรียนการสอนแบบ ซิงโครนัส (Synchronous Learning) ตัวอยางรูปแบบการเรียน การสอน เชน การบันทึก รายการเรียน บันทึกการสอน การวัดผล การติดตามผล ชวย รับสงขอมูลขาวสาร และสามารถบันทึกกิจกรรมการสอน ทั้งหมดไว เชน เมื่อมีการเรียนการสอนทางไกล วีดีโอคอนฟ เรนซก็สามารถบันทึกการสอนทั้งหมดแลวใสไวใน วีดีโอ เซิรฟเวอรเพื่อเรียกดูภายหลังได กอใหเกิดบทเรียน เเบบอัธยาศัยตามมา 6.2 โมเดลแบบอะซิงโคนัส (Asynchronous) ระบบอะซิงโคนัส ปจจุบันนิยมการเรียนการสอนผาน เว็บโดยมีบทเรียนและเครื่องมือที่ชวยในการเรียนการสอน อยู บ นเว็ บ มี ก ารสรา งโฮมเพจประจํ าวิ ช า มี ก ารใหนิ สิ ต มี โฮมเพจของตนเพื่อเขามาเรียนรูแบบออนไลน เรียนรูตาม ความตองการอัธยาศัย (On demand) เครื่ อ งมื อ ที่ ช ว ยได แ ก ระบบอี เ มล ที่ ช ว ยในการ ติดตอสื่อสารระหวางอาจารยกับนิสิต และนิสิตกับนิสิตดวย กันเอง เว็บ บอรดกระดาน ที่ใชเปนประโยชนในเรื่องการ แลกเปลี่ ย นข า วสาร ข อ คิ ด เห็ น โฮมเพจเป น บทเรี ย นให นักศึกษาไดดวยตนเอง การเรียนรู การรับสงการบาน และ สามารถติดตออาจารยโตตอบไดทันที แสดงดังรูป

6.1 โมเดลแบบ ซิงโคนัส (Synchronous) เปนการเรียนการสอนที่มีการนัดเวลา นัดสถานที่ นัด ตั ว บุ ค คล เพื่ อ ให เ กิ ด การเรี ย นการสอน มี ก ารกํ า หนด ตารางเวลา หรื อ ตารางสอนซึ่ ง เป น รู ป แบบการโต ต อบ ทันทีทันใด เชนการเรียนในชั้นเรียน การพูดคุย (chat) การ เขียนขอความทาง Web board, การประชุม ทางไกล (teleconference, videoconference) หรือ MOOs หรือ MUDs ( การพูดคุยแบบเสมือนจริงโดยมีผูพูด รวมกันทีเดียวหลายๆ คน) เทคโนโลยีสารสนเทศที่เขามาชวยในเรื่องการนําเสนอ เนื้อหาบทเรียนของอาจารยผูสอน เครื่องมือชวย เชน ระบบ สไลด เพาเวอร พ อยด ระบบจํ า ลองรู ป ภาพ ระบบการนํ า เครื่องมือชวยสอน และจําลองสถานการณตาง ๆ มาใชให นิสิตเรียนรูไดงาย และสรางความกระตือรือรนในการเรียน การสอน (active) ขณะเดี ย วกั น ก็ ส ามารถลดเวลา ในการ เรียนรูไดมาก ดังแสดงดังรูป

210


4. 5. รูปภาพ 1.2 โมเดลการเรียนการสอนแบบ อะซิงโครนัส (Asynchronous Learning) แบบ Asynchronous (การโตตอบแบบทิ้งชวงเวลา เชน ผูเรียนติดตอกับ ผูสอนภายหลังโดยใช Email, Listservs (การติดตอผานผูจัดรายการเปนกลุม) Web Forums (การ อภิปรายผานทางเครือขาย) เปนตน

7) ผลการวิจัยและอภิปรายผล

6.

การจัดการเรียนการสอนผานเว็บ แบบผสมผสานสําหรับ มหาวิทยาลัยเสมือน การจัดการเรียนการสอนผานเว็บนั้น ผูสอนและผูเรียน จะตองมีปฏิสัมพันธกันโดยผานระบบเครือขายคอมพิวเตอร ที่ เ ชื่ อ มโยงคอมพิ ว เตอร ข องผู เ รี ย นเข า ไว กั บ เครื่ อ ง คอมพิวเตอรของผูใชบริการเครือขายและเครื่องคอมพิวเตอร ของผูใหบริการเว็บการจัดการเรียนการสอนทางอินเทอรเน็ต ที่เปนเว็บผูสอนจะตองมีขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน 1. กําหนดวัตถุประสงคของการเรียน 2. การวิเคราะหผูเรียน 3. การออกแบบเนื้อหารายวิชา • เนื้อหาตามหลักสูตรและสอดคลองตรงความ ตองการผูเรียน • จั ด ลํ า ดั บ เนื้ อ หา จํ า แนกหั ว ข อ ตามหลั ก การ เรียนรู • กําหนดระยะเวลาและตารางการศึกษาในแต ละหัวขอ • กําหนดวิธีการศึกษา • กํ าหนดสื่อ ที่ ใ ชป ระกอบการศึ กษาในแตล ะ หัวขอ

7.

211

• กําหนดวิธีการประเมินผล • กํ า ห น ด ค ว า ม รู แ ล ะ ทั ก ษ ะ พื้นฐานที่จําเปนตอการเรียน • สรางประมวลรายวิชา การกํ า หนดกิ จ กรรมการเรี ย นการสอนทาง อินเทอรเน็ต การเตรียมความพร อ มสิ่งแวดลอ ม การเรียนการ สอนทางอินเทอรเน็ต ไดแก • สํ า ร ว จ แ ห ล ง ท รั พ ย า ก ร ส นั บ ส นุ น ก า ร เรียนการสอน • กํ า ห น ด ส ถ า น ที่ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ ที่ ใ ห บริการและที่ตองใชในการติดตอ • ส ร า ง เ ว็ บ เ พ จ เ นื้ อ ห า ค ว า ม รู ต า ม หัวขอของการเรียนการสอน • ส ร า ง แ ฟ ม ข อ มู ล เ นื้ อ ห า วิ ช า เ ส ริ ม ก า ร เรียนการสอนสําหรับการถายโอน การปฐมนิเทศผูเรียน ไดแก • แจ ง วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค เนื้ อ ห า แ ล ะ วิ ธี ก า ร เรียนการสอน • สํารวจความพรอมของผูเรียน จัดการเรียนการสอนตามแบบที่กําหนดไวโดยใน เว็บเพจจะมีเทคนิคและกิจกรรมตาง ๆ ที่สามารถ สรางขึ้นไดแก • การใช ข อ ความเร า ความสนใจที่ อ าจเป น ภาพกราฟก ภาพเคลื่อนไหว • แจงวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของรายวิชา หรือหัวขอในแตละสัปดาห • สรุปทบทวนความรูเดิมหรือโยงไปหัวขอที่ ศึกษาแลว เสนอแนะแนวทางการเรียนรู เชน กิจกรรมสนทนา ระหว า งผู ส อนกั บ ผู เ รี ย นและระหว า ง ผู เ รี ย นกั บ ผู เ รี ย น กิ จ กรรมการอภิ ป รายกลุ ม กิ จ กรรมการ คนควาหาขอ มูลเพิ่มเติม กิจกรรมการตอบคําถาม กิจกรรมการประเมินตนเอง กิจกรรมการถายโอน ขอมูล


เ ส น อ กิ จ ก ร ร ม แ บ บ ฝ ก หั ด ห นั ง สื อ ห รื อ บทความ การบาน การทํารายงานเดี่ยว รายงาน กลุม ในแตละสัปดาห และแนวทางในการประเมินผลใน รายวิชานี้ • ผูเรียนทํากิจกรรม ศึกษา ทําแบบฝกหัดและการบาน สงผูสอนทั้งทางเอกสารทางเว็บเพจ และสงผลงาน ของตนเองเพื่อใหผูเรียนคนอื่น ๆ ไดรับทราบดวย • ผูสอนตรวจผลงานของผูเรียนสงคะแนนและขอมูล ยอนกลับเขาสูเว็บเพจประวัติของผู เรียนรวมทั้งการ ใหความคิดเห็น 8. การประเมิ น ผล ผู ส อนสามารถใช ก ารประเมิ น ผล ระหวางเรียนและการประเมินผลเมื่อสิ้น สุดการเรียน รวมทั้ ง การเรี ย นการประเมิ น ผลผู ส อนและการ ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนผานอินเทอรเน็ต

รูปภาพที่ 1.5 รูปแบบการเรียนการสอนเชิงอิเล็กทรอนิกส ผลที่ไดจากการวิจัยครั้งนี้คือรูปแบบการเรียนการ สอนผ า นเว็ บ แบบผสมผสานเชิ ง อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส สํ า หรั บ มหาวิทยาลัยเสมือนที่ประกอบไปดวยองคประกอบหลัก 8 สวนไดแก 1. E-Classroom เปนหองเรียนเชิงอิเล็กทรอนิกส หรือหองเรียนเสมือนซึ่งรายละเอียดภายในจะประกอบดวย บทเรียน แบบฝกหัด คําศัพทเสริมบทเรียน คําถามที่ถามบอย กระดานถามตอบอิเล็กทรอนิกส ขาวประชาสัมพันธ 2. E-Lab เปนการสรางระบบหองปฏิบัติการเชิง อิเล็กทรอนิกสโดยเนนใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติตามบทเรียน เสมือนที่อยูในหองปฏิบัติการจริงโดยนําเสนอในระบบการ จั ด การฐานข อ มู ล ด า น ซึ่ ง ผู เ รี ย นสามารถทบทวนได ตลอดเวลา 3. Course Template เปนรูปแบบการสรางโครงการ สอนในรายวิชาตางๆ สําหรับอาจารยผูสอนสามารถสราง โครงการสอนสําเร็จรูปไดโดยงายทั้งนี้ผูเรียนสามารถเขามา ศึกษาในแตละรายวิชาตามที่ไดกําหนดไวใน Course List ได 4. E-Advisor เปนระบบอาจารยท่ีปรึกษาเชิง อิเล็กทรอนิกส หมายถึงสวนผูเรียนที่เขามาปรึกษาอาจารยทั้ง

รูปภาพที่ 1.3 องคประกอบของการเรียน การสอนผานเว็บแบบผสมผสาน เชิงอิเล็กทรอนิกส

รูปภาพที่ 1.4 ลําดับแนวคิดหองเรียนเสมือน

212


เรื่องการเรียนและสวนตัว มีคําถามที่พบบอย กระดานถาม ตอบป ญ หาอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส สํ า หรั บ ผู เ รี ย น และอาจารย ที่ ปรึก ษาสามารถตรวจดูร ายชื่ อ นัก ศึก ษาภายใตก ารดูแ ลได นอกจากนั้นนักศึกษาสามารถนัดหมายเพื่อเขาพบอาจารยที่ ปรึกษาได 5. E-Tutoring เปนระบบหองสอนเสริมเชิง อิเล็กทรอนิกสโดยเนนรูปแบบหองเรียนเสริมในรายวิชา คอมพิวเตอรและวิทยาการสารสนเทศเบื้องตน โดยเริ่มการ สมัครสมาชิก มีแบบทดสอบกอนเรียน และการจัดลําดับ คะแนนสูงสุด 6. E-book/E-Library เปน ระบบห อ งสมุ ด อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ที่ ร วมหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส เอกสารทาง วิชาการ บทคัดยอที่เปนฐานขอมูลวิทยานิพนธ 7. E-Journal เป น วารสารและบทความ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ใ นเว็ บ ไซต ที่ กํ า หนดโดยระบบได ทํ า การ เชื่ อ มโยงไปยั ง วารสารที่ มี ก ารเผยแพร ตี พิ ม พ ผ ลงานทาง วิชาการทั้งภายในประเทศและตางประเทศ 8. E-Evaluation เปนระบบการประเมินผลการเรียน การสอนเชิ ง อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ที่ ป ระกอบด ว ย การประเมิ น อาจารยผูสอนในแตละรายวิชาและแสดงผลในรูปแบบสถิติ และกราฟ นอกจากนี้มีการสรางแบบสํารวจความคิดเห็นโดย สรางหัวขอที่นาสนใจ (E-Poll) โดยใหอาจารยผูสอนทําการ สรางโพลแบบสําเร็จรูปได การประเมินผลของระบบจากผูทรงคุณวุฒิจํานวน ผลการประเมินดานเนื้อหาและการออกแบบเว็บในภาพรวม 8 ดานพบวาอยูในเกณฑที่เหมาะสมมากที่สุด ( = 4.48) แสดงใหเห็นวาระบบที่ผูวิจัยไดพัฒนาขึ้นมีความเหมาะสม ในการนําไปใชงานจริงกับผูเรียน และผลการสํารวจทัศนคติ และความคิดเห็นของอาจารยมหาวิทยาลัยจํานวน 66 คนใน คณะต า งๆพบว า มี ทั ศ นคติต อ ระบบการเรี ย นการสอนเชิ ง อิเล็กทรอนิกสในภาพรวมอยูในระดับที่เห็นดวยมาก ( = 4.39)โดยมีความเห็นวาควรมีการเรียนการสอนควบคูภายใน หองเรียน และจากผลการประเมินทัศนคติและความคิดเห็น ของนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม จํานวน 100 คนพบวามี ระดับความคิดเห็นอยูในเกณฑระดับที่เห็นดวยมาก ( = 4.17) กับการนําการเรียนเชิงอิเล็กทรอนิกสมาประกอบการ เรียนการสอนควบคูภายในหองเรียนปกติ

8) สรุป ในการออกแบบและจัดทํารูปแบบการเรียนการสอนแบบ ผสมผสานเชิ ง อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส พบว า มี รู ป แบบที่ มี ค วาม เหมาะสมต อ การใช เ ป น อย า งมากดั ง จะเห็ น ได จ ากการ ประเมิ น ของผู เ ชี่ ย วชาญและการใช ง านของอาจารย แ ละ นั ก ศึ ก ษาในมหาวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม โดยเฉพาะผู เ รี ย นนั้ น สามารถเรียนไดตลอดเวลาและชวยใหการเรียนการสอนใน หองปกติมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ยังพบวาการเรียน การสอนในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสสามารถลดคาใชจายและ ประหยัดเวลาลงไดมากเมื่อ เทียบกับการเรียนในหองปกติ สรุปผลโดยรวมจะพบวาการเรียนการสอนเชิงอิเล็กทรอนิกส นั้น ประกอบไปด ว ยหลายองค ป ระกอบย อ ย และผู เ รี ย นมี โอกาสทบทวนบทเรียนหลังเลิกเรียนไดตามความตองการ แสดงใหเห็นวาการเรียนเชิงอิเล็กทรอนิกสนั้นสามารถใช เปนสวนประกอบหรือสื่อเสริมเพื่อทําใหการเรียนในรูปแบบ ปกติไดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น สิ่งสําคัญผูเรียนตองมีวินัยและ ความรับผิดชอบในตัวเองตอการเรียนเชิงอิเล็กทรอนิกส

เอกสารอางอิง [1] Porter Lynnette R.(1997). Creating the Virtual Classroom: Distance Learning with the Internet,Wiley Computer Publishing, USA. [2] Kenneth E., Kendall and Julie E . Kendall, (1996).System Analysis and Design, 4thed, NewYork, McGraw – Hill. [3] Rosenberg. Marc J.( 2001).e-Learning : Strategies for Delivering Knowledge in the Digital Age, McGraw-Hill. [4] B.H.Khan, ED.(1997). Web-Based Instruction. Englewood, Cliffs NJ.Educ.Technol.Pub. [5] James David Reye,(2002).Dynamic Planning for Flexible Tutoring. Doctor of Philosophy. Faculty of Science and Technology Griffith University. Australia.

213


[6] สาโรช โศภีรักข.(2551).ระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูง ทางเทคโนโลยีการศึกษา.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรสาสตร. [7] ยืน ภูวรรณ.2546.ไอซีทีเพื่อการศึกษาของ ไทย.ซีเอ็ดยูเคชั่น. [8] ทิพยเกสร บุญอําไพ.(2542).“การพัฒนาระบบการสอน ท า ง ไ ก ล ผ า น ร ะ บ บ อิ น เ ท อ ร เ น็ ต ข อ ง มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช”. วิ ท ยานิ พ นธ หลักสูตรปริญญาคุรุศาสตรดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาโสต ทัศนศึกษา. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. [9] บุญเรือง เนียมหอม.(2542) “การพัฒนาระบบการเรียน การสอนทางอิ น เทอร เ น็ ต ในระดั บ อุ ด มศึ ก ษา”. วิ ท ยานิ พ นธ ห ลั ก สู ต รปริ ญ ญาคุ รุ ศ าสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต ภาควิชาโสตทัศนศึกษา.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. [10]สํ า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า แ ห ง ช า ติ . พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ศึ ก ษ า แ ห ง ช า ติ พ.ศ.2542.(2542). พริกหวานการพิมพ จํากัด. [11]ถ น อ ม พ ร เ ล า ห จ รั ส แ ส ง . “ก า ร ศึ ก ษ า ผ า น ร ะ บ บ เ ค รื อ ข า ย e- Learning”. ว า ร ส า ร ด า น เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม ฉบับที่513 16-31 ตุลาคม 2543 หนา 25-38.

214


การพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง The Development of Computer-Assisted Instruction (CAI) for Angkalung Teaching ดร.จิรพันธุ ศรีสมพันธุ1 , สุรียพร อุนเอม2 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 2

(jpp@kmutnb.ac.th)

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (kroo_oum2122@hotmail.com)

เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สวนกลุมควบคุมเรียน แบบปกติ ผลการวิ จั ย ปรากฏว า ผู ที่ เ รี ย นโดยใช บ ทเรี ย น คอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน เรื่ อ ง อั ง กะลุ ง วิ ช า ดนตรี ไ ทย มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง กว า กลุ ม ควบคุ ม ซึ่ ง สรุ ป ได ว า บทเรี ย น คอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนการฝ ก ซ อ มวงอั ง กะลุ ง ที่ พั ฒ นาขึ้ น นี้ มีประสิทธิภาพในการใชเปนแนวทางสําหรับเสริมทักษะการ เรียนรูของนักเรียน

ABSTRACT The purposes of this research were 1) to develop and find the efficiency of Computer-Assisted Instruction (CAI) for Angkalung, a Thai traditional musical instrument, and 2) compare learning achievements between students who learned to play Angkalung with CAI and without CAI. In this research, the development criteria of CAI for Angkalung and pretest-and-posttest achievements were based on experts’ recommendations. The samples were students studying in pathom 4 to 6 (primary school, 4th to 6th grade) in the second semester of the academic year 2009 at Watmasong mittapap-55 school. In this experiment, the samples were divided into controlled and experimental groups, 15 students for each group. The controlled group studied with musical teacher while the experimental group studied with the developed CAI. The results showes that the learning achievement of the experimental group was higher than that of the controlled group. This verified that the CAI for Angkalung is an effective way for helping students practice playing skills.

คําสําคัญ: บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน , อังกะลุง

1) บทนํา ปจจุบันการอนุรักษและสงเสริมดนตรีไทยใหควบคูกับ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มีความสําคัญเปนอยางมาก ทั้ งในระดับ ประถมศึก ษา มั ธ ยมศึก ษา และอุ ดมศึกษา ทั้ง นี้ ได รับ การสนับ สนุ น อย า งต อ เนื่ อ งเรื่อ ยมาจากทั้ง หน ว ยงาน ภาครั ฐ และภาคเอกชนโดยมี จุ ด ประสงค เ พื่ อ การทํ า นุ บํา รุ ง รั ก ษาดนตรี ไ ทยอั น เป น มรดกทางวั ฒ นธรรมของชาติ ใหดํารงอยูคูชาติไทย มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานไดกําหนด คุณภาพดานผูเรียนไวในมาตรฐานที่ 8 วาดวย ผูเรียนมี สุนทรียภาพและลักษณะนิสัยดานศิลปะ ดนตรี และกีฬา โดยมี ตัวบงชี้ ดังนี้ (1) ชื่นชม รวมกิจกรรม และมีผลงานดานศิลปะ (2) ชื่นชมรวมกิจกรรม และมีผลงานดานดนตรี/นาฏศิลป (3) ชื่นชม รวมกิจกรรม และมีผลงานดานกีฬา/นันทนาการ ทุก โรงเรียนจึงมีการกําหนดยุทธศาสตรของโรงเรียนใหนักเรียน ไดเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางดนตรีนาฏศิลปไทยโดยเนน สภาพความสําเร็จของนักเรียนทุกคนจะตองเลนเครื่องดนตรี ไทย ไดอยางนอยคนละ 1 ชิ้น

Keywords : Computer-Assisted Instruction, Angkalung

บทคัดยอ การวิ จั ย ในครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ การพั ฒ นาและหา ประสิท ธิ ภาพบทเรี ย นคอมพิวเตอรชว ยสอน เรื่อ ง อังกะลุ ง วิชา ดนตรีไทย และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูของ ผูเรียนที่เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนกับผูเรียนที่ เรียนแบบปกติ โดยการวิจัยในครั้งนี้ใชบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน เรื่อง อังกะลุง และผลสัมฤทธิ์ของแบบทดสอบกอน เรี ย นหลั ง เรี ย นซึ่ ง อยู บ นพื้ น ฐานคํ า แนะนํ า ของผู วิ จั ย โดยกลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ในครั้ ง นี้ เป น นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปที่ 4 ถึง 6 โรงเรียนวัดมะสงมิตรภาพที่ 55 ภาค เรียนที่ 2 ปการศึกษา 2552 แบงกลุมผูเรียนออกเปน 2 กลุม คือ กลุมทดลอง และกลุมควบคุมกลุมละ 15 คน โดยกลุมทดลอง

215


จากขอมูลและปญหาที่ไดรับดังกลาว ผูวิจัยไดตระหนัก และเล็งเห็นคุณคาของอังกะลุง และมีความตองการที่อนุรักษ มิ ใหสูญเปลา หรือเก็บรักษาอังกะลุงไวโดยไมไดนํามาจัดการ เรียนการสอนใหกับผูเรียน ในเบื้องตนผูวิจัยไดทําการสํารวจ และสอบถามโดยวิธีการสัมภาษณจากครู ที่รับผิดชอบในการ สอนดนตรีไทยหรือครูผูสอนที่เกี่ยวของ (เฉพาะโรงเรียนขนาด เล็ก) พอสรุปปญหาในการจัดการเรียนการสอนที่เกิดขึ้นไดเปน ประเด็นดังนี้ ปญหาดานผูเรียน การเลนอังกะลุงใชผูเรียนที่อยูในชวง ชั้นที่ 2 คือ ระดับชั้นประถมศึกษา ปที่ 4 – 6 เนื่องจากการเลน อังกะลุงตองใชเด็กที่แข็งแรงเพราะจะตองใชกําลังในการเขยา อังกะลุง และการรวมวงอังกะลุงในแตละครั้งจะตองใชผูเลน ไมต่ํากวา 12 คน จึงจะสามารถบรรเลงเปนเพลงได แตปญหา ของผูเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กก็คือ จํานวนนักเรียนในแตละ ชั้นเรียนมีไมครบถึง 12 คน จึงมีความจําเปนตองใชผูเลนตั้งแต ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4-6 มาฝกซอมรวมกัน ทําใหเวลา วางในแตละชั้นไมตรงกัน ตองใชเวลาพักกลางวันหรือหลังเลิก เรี ย นในการฝ ก ซ อ ม แต ก็ ไ ม ส ามารถฝ ก ซ อ มได อ ย า งเต็ ม ที่ เพราะกิ จ กรรมอื่ น ๆ ของโรงเรี ย นก็ จ ะต อ งใช นั ก เรี ย นคน เดียวกัน เมื่ อ ต อเพลงในแตละเพลงจึงใชเวลานานเนื่อ งจาก ปจจัยหลาย ๆ อยาง เชน ผูจดจําโนตเพลงไมได ผูเรียนรองโนต ไมไดตามจังหวะ ผูเรียนเขยาอังกะลุงไมตรงกับตัวโนต เปนตน จึงเกิดเปนปญหาที่สําคัญกับผูสอนมาก ทําใหบางโรงเรียนหัน ไปฝ ก ซ อ มนั ก เรี ย นในเครื่ อ งดนตรี ช นิ ด อื่ น ๆ ที่ ไ ม มี ค วาม จําเปนจะตองใชผูเลนจํานวนมากแทน แนวทางในการแกปญหาจากปญหาในขางตน เพื่อให ทันตอความกาวหนาทางเทคโนโลยีสมัยใหมการนําบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนมาชวยในการจัดการเรียนการสอน เพื่อ ช ว ยแบ ง เบาภาระของครู ผู ส อนจึ ง เหมาะสมสํ า หรั บ การ แกปญหาจากที่กลาวในขางตน เพราะบทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอนสามารถนําเสนอสื่อประสมไดแก ขอความ ภาพนิ่ง กราฟก ที่ใกลเคียงกับการสอนจริงมากที่สุดโดยการนําเสนอเนื้อหาที่มี รูปแบบ แตกต างกันขึ้นอยูกั บธรรมชาติ และโครงสร างของ เนื้อหา โดยมีเปาหมายสําคัญ คือ สามารถดึงดูดความสนใจและ กระตุ น ให ผู เ รี ย นเกิ ด ความต อ งการที่ จ ะเรี ย นรู หรื อ CAI (Computer – Assisted Instruction) จึงเปน สื่อการศึกษายุคใหมที่ มีประสิทธิภาพมากและ ยังมีขอไดเปรียบเหนือสื่ออื่น ๆ ดวยกัน

สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดนตรีไทยใน ระดับประถมศึกษา ที่ตองการมุงเนนเพื่อการปลูกฝงนิสัยให เด็กเกิดความรัก ความเขาใจ และซาบซึ้งในคุณคาของดนตรี ไทยนั้น อาจจะจัดสอนเพื่อใหเด็กไดมีความรูขั้นพื้นฐาน รูจัก เครื่องดนตรีไทยและเพลงไทยงาย ๆ สามารถเลนเครื่องดนตรี ไทย ชนิดใดชนิดหนึ่งได อาจจะเปนขลุย ซอดวง ซออู หรือ อังกะลุง เปนตน อังกะลุง เปนเครื่องดนตรีไทยอีกชนิดหนึ่งที่ผลิตจาก วัสดุที่มีอยูทั่วไปในประเทศไทยนั่นก็คือไมไผ และยังมีเครื่อง ดนตรี อี ก หลายชนิ ด ที่ ผ ลิ ต จากไม ไ ผ แต อั ง กะลุ ง มี ลั ก ษณะ เฉพาะที่แตกตางกับเครื่องดนตรีอื่น ๆ คือมีการประสานเสียง ในตัวถึง 3 เสียง มีเสียงนุมนวลไพเราะ อังกะลุงจัดอยูใน ประเภทเครื่องตี เพราะการเกิดเสียงเกิดจากการกระทบของ กระบอกไมไผ 3 กระบอก ไดรับอิทธิพลมาจากชวา (อินโดนี เชีย) เดิมเรียกวา “อุงคะลุง” โดยหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ในสมัยรัชกาลที่ 5 เดิมใชไมไผ 2 กระบอก และมี ขนาดใหญ ไมสามารถเขยาไดใชวิธีการไกว ตอมาจึงไดมีการ พัฒนาใหมีขนาดเล็กและมี 3 กระบอก และใชการเขยาแทนซึ่ง ถือวาเปนภูมิปญญาของคนไทยที่พัฒนาขึ้นอยางเหมาะสมกับ วิถีชีวิตและวัสดุที่หาไดในประเทศไทยอันเปนเอกลักษณอยาง หนึ่ง (สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดปราจีนบุรี : 2550) การเลน อังกะลุงจะตองใชผูเลนไมต่ํากวา 12 คน (สวิต , 2548 : 9-11) ขึ้น ไป ในการรวมวงตองอาศัยความสามัคคีของผูเลนในวงเพื่อให เกิดความพรอมเพรียงและไดเสียงบรรเลงที่ไพเราะ จากการสั ม ภาษณ โ รงเรี ย นขนาดเล็ ก ในระดั บ ประถมศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2 จังหวัดนนทบุรี จํานวน 15 โรงเรียน ซึ่งเปนเขตพื้นที่การศึกษา ที่ผูวิจัยได ทําการสอนอยูผลปรากฏวาโรงเรียนที่มี อังกะลุง เพื่อใชในการจัดการเรียนการสอนใหกับนักเรียนทุกโรงเรียน คิดเปนรอยละ 100 ของโรงเรียน ในระดั บประถมศึก ษา ทั้ ง หมดของสํ า นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษานนทบุ รี เขต 2 จั ง หวั ด นนทบุ รี แต เ มื่ อ ผู วิ จั ย ทํ า การสอบถามกั บ ผู บ ริ ห าร โรงเรียนขนาดเล็ก ทั้ง 15 โรงเรียน แลวพบวามีโรงเรียนที่นํา อังกะลุงมาจัดในการเรียนการสอนในปจจุบันเพียง 3 โรงเรียน คิดเปนรอยละ 20 ของโรงเรียนขนาดเล็กในระดับประถมศึกษา ทั้ ง หมดของสํ า นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษานนทบุ รี เขต 2 จังหวัดนนทบุรี

216


หลายประการและสามารถตอบสนองความแตกตางระหวาง ผูเรียนซึ่งผูเรียนจะมีปฏิสัมพันธ หรือการตอบโต พรอมทั้ง ไดรับผลยอนกลับ (Feedback) อยางตอเนื่องกับเนื้อหาและ กิจกรรมตาง ๆ จึงงายตอการประเมินและตรวจสอบความเขาใจ ของผูเรียนไดตลอดเวลา ขณะเดียวกันผูเรียนสามารถนํา CAI ไปใชเรียนดวยตนเองโดยปราศจากขอจํากัดดานเวลา และ สถานที่ในการดําเนินการศึกษาคนควา CAI จึงเปนสื่อสําคัญที่ ชวยสงเสริมการเรียนรู ในลักษณะที่เนนนักเรียนเปนศูนยกลาง ไดเปนอยางดี จากปญหาในการจัดการเรียนการสอน วิชา ดนตรีไทย (อังกะลุง) เมื่อวิเคราะหสภาพการณดังกลาวแลวผูวิจัยจึงมีความ ส น ใ จ ที่ จ ะ พั ฒ น า บ ท เ รี ย น ช ว ย ส อ น ใ น รู ป แ บ บ ข อ ง สื่อคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง สําหรับนักเรียนระดับ ประถมศึกษาชวงชั้นที่ 2 ของโรงเรียนวัดมะสงมิตรภาพที่ 55 ที่คลอบคลุมเนื้อหาในคาบเรียนและกระบวนการสอนมากยิ่งขึ้น เป นการเป ดโอกาสให ผู เรี ยนได เรี ยนตามความสามารถของ ตนเอง ไดพัฒนาศักยภาพของตนเองอยางเต็มที่และสามารถที่จะ เรียนรูดวยตนเอง หลังจากที่หมดชั่วโมงเรียนตามปกติ ผูวิจัยจึง สนใจที่ พั ฒนาบทเรี ยนคอมพิ วเตอร ช วยสอน เรื่ อง อั งกะลุ ง สําหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาชวงชั้นที่ 2 เพื่อเปนแนว ทางการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น จากแนวคิดดังกลาว บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุงที่พัฒนาขึ้นมุงหวัง ที่จะลดปญหาคือ ผูเรียนสามารถ ฝกซอมไดดวยตนเองในเวลาวาง และทบทวนบทเรียนไดดวย ตนเอง โดยจุดเดนที่สําคัญของบทเรียนที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น คือ ใหผูเรียนสามารถฝกรองโนตใหตรงตามจังหวะเพื่อใหผูเรียน ท อ งจํ า โน ต เพลงและและผู เ รี ย นสามารถฝ ก ซ อ มการเขย า อั ง กะลุ ง ตามตั ว โน ต ที่ ผู เ รี ย นถื อ ในการปฏิ บั ติ จ ริ ง ได ด ว ย วิธีการกดแปนคียบอรดตามจังหวะเพลงที่ผูเรียนเลือกฝกซอม ทําใหลดระยะเวลาในการฝกซอมลง ผูเลนจดจําโนตเพลงและ รองโนตไดตรงตามจังหวะไดแมนยํามากยิ่งขึ้น และยังสามารถ นําแนวทางในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง สําหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาชวงชั้นที่ 2 นี้ไป เปนแนวทางในการพัฒนาในเครื่องดนตรีชนิดอื่นและเปนการ พัฒนารูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนอยางแพรหลาย ตอไป

2) วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องอังกะลุง สําหรับนักเรียนระดับประถม ศึกษาชวงชั้นที่ 2 2. เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษาชวงชั้นที่ 2 3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลัง เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่พัฒนาขึ้นของกลุม ควบคุมและกลุมทดลอง 4. เพื่อหาความพึงพอใจของผูเรียนที่เรียนดวยบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนที่พัฒนาขึ้น 5. เพื่อเปรียบเทียบผลการสอบของภาคปฏิบัติดวยบทเรีย น คอมพิวเตอรชวยสอนระหวางกลุมควบคุมและกลุมทดลอง

3) สมมุติฐานการวิจัย 1. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง สําหรับ สํ า หรั บ นั ก เรี ย นระดั บ ประถมศึ ก ษาช ว งชั้ น ที่ 2 มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของกลุมทดลองที่เรียน ดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง สูงกวากอน เรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .5 3. ผู ใช บ ทเรี ย น มี ค วามพึ ง พอใจต อ เรื่ อ ง อั ง กะลุ ง โดยใช บทเรียนที่พัฒนาขึ้นอยูในระดับมาก 4. ประสิทธิภาพผลการสอบภาคปฏิบัติของผูเรียนดวยบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนอยูในเกณฑดี

4) ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) เพื่อเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนที่เรียนดวย บทเรียนที่พัฒนาขึ้นกับผูเรียนที่เรียนดวยวิธีการสอนแบบปกติ และประสิ ท ธิ ภ าพของผลการสอบภาคปฏิ บัติ อ ยู ใ นเกณฑ ดี โดยใชแผนการทดลองแบบ Pre-test Post-test Control Group Design มีขอบเขตของการวิจัย ดังนี้ 1. ประชากร ที่ใชในการอางอิงของการวิจัยในครั้งนี้เปน นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 4 – 6 ในระดับชวงชั้นที่ 2 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนวัดมะสงมิตรภาพที่ 55 สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา นนทบุรี เขต 2 จํานวน 30 คน ที่เรียนวิชาดนตรีไทย

217


ฝกซอมเลนอังกะลุง เปนการฝกซอมการเลนอังกะลุงจากเพลง และตัวโนตที่ผูเรียนเลือกโดยการใชวิธีกดแปนคียบอรดเพื่อให เกิ ด เสีย งตั ว โน ต แทนการเขย า อั ง กะลุ ง นํ า เสนอในลั ก ษณะ ปฏิสัมพันธกับผูเรียน (Interactive Multimedia)

2. กลุมตัวอยาง ที่ใชในการอางอิงของการวิจัยในครั้งนี้เปนการ เลื อ กโดยวิ ธี ก ารสุ ม ตั ว อย า งอย า งง า ย (Simple Random Sampling) ดวยวิธีจับฉลากเขาสูกลุมทดลองและกลุมควบคุม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 – 6 ในระดับชวงชั้นที่ 2 โดย กลุมแรกเปนกลุมทดลองจํานวน 15 คน เรียนดวยบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง และกลุมที่สองเปนกลุม ควบคุมจํานวน 15 คน เรียนดวยวิธีการสอนแบบปกติ 3. ตัวแปรที่จะศึกษา คือ ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) การเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง วิชา ดนตรีไทย ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ประกอบดวย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของการเรียนดวย บทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน เรื่อง อังกะลุงและการเรียนดวยวิธีการสอนแบบปกติ , ความ พึงพอใจตอการใชงานบทเรียน , ผลของประสิทธิภาพการ เรียนภาคปฏิบัติของผูเรียน 4. เนื้อหาที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ วิชาดนตรีไทย อังกะลุง ซึ่ง มีเนื้อหาทั้งหมด 5 หนวยการเรียนรู คือ ความรูเบื้องตนการ อ า นโน ต และอั ต ราจั ง หวะ รู จั ก เพลงไทยเดิ ม ฝ ก ปฏิ บั ติ ขั้ น พื้นฐาน การฝกซอมอังกะลุง แตละหัวขอจะมีหัวขอยอยให ผูเรียนทําการเลือกเรียนตามตองการและแตละหนวยการเรียน จะมีแบบฝกหัดกอนเรียนและหลังเรียนใหนักเรียนทําถาการ เรียนบทเรียนในแตละบทเรียนไดเสร็จสิ้นลงแลว สามารถกลับ เขามาศึกษาบทเรียนหรือทําแบบฝกหัดเพื่อทบทวนได 5. ระยะเวลาในการนําเครื่องมือไปทดลองกับกลุมตัวอยาง คือ สัปดาหละ 2 ชั่วโมง ในรายวิชา ดนตรีไทย จํานวน 15 สัปดาห ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2552 6. ขอบขายการพัฒนาบทเรียน การนําเสนอเนื้อหาโดยมี โครงสรางแบบไมเชิงเสน (Branching Programming) เปน บทเรียนที่โยงระหวางหนวยถึงกันได มีรูปแบบการนําเสนอ เนื้อหา แยกออกเปนสวนของการนําเขาสูบทเรียน เปนสวน ของบทนํ า เรื่ อ งเพื่ อ กระตุ น ให ผู เ รี ย นเกิ ด ความสนใจในตั ว บทเรียนและแนะนําตัวบทเรียนรวมถึงบอกวัตถุประสงคใน การเรียนเพื่อใหผูเรียนทราบเปาหมายในการเรียนแตละหนวย การเรียนรู , สวนรายการใหเลือก เปนสวนแสดงหัวขอที่ผูเรียน จะเลือกรายการเพื่อศึกษาในแตละหนวยการเรียนรู , สวน เนื้อหาในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ นําเสนอในรูปแบบของ สื่ อ ประสม ให ผู เ รี ย นศึ ก ษา ซึ่ ง ประกอบไปด ว ย ข อ ความ ภาพนิ่ ง ภาพเคลื่ อ นไหว เสี ย งบรรยายประกอบ , ส ว นการ

5) วิธีดําเนินการวิจัย ขั้ น ตอนที่ 1 ศึ ก ษาข อ มู ล เพื่ อ เตรี ย มการวิ จั ย โดยการศึ ก ษา โครงสรางหลักสูตรรายวิชาดนตรีไทย สภาพรายวิชา คําอธิบาย รายวิชา เวลาเรียนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ และกําหนดเคาโครง ของเนื้อหา เปาหมาย และความตองการ กําหนดวัตถุประสงค ทั่ วไปเพื่ อเป นแนวทางในการจั ดกิ จกรรมการเรี ยนการสอน รายวิ ช าดนตรี ไ ทย ศึ ก ษาหลั ก การวิ เ คราะห เ นื้ อ หาวิ ช า หลั ก เกณฑ ก ารรวบรวมเนื้ อ หาที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ รายวิ ช า จาก แหลงขอมูลตาง ๆ เชน หนังสือ เอกสาร ตํารา ศึกษาการสราง แบบทดสอบ หลักการเขียนวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมเพื่อ วั ด พฤติ ก รรมผู เ รี ย นด า นพุ ท ธิ พิ สั ย และทั ก ษะพิ สั ย ศึ ก ษา หลักการออกแบบและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ศึกษาเครื่องมือสําหรับพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ศึกษาการประเมินผลบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่สรางขึ้น เพื่อตรวจสอบหาขอบกพรองและปรับปรุงแกไข ศึกษาวิธีการ หาประสิทธิ์ภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนและศึกษา วิ ธี เ ปรี ย บเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นตามแบบแผนการ ทดลองที่กําหนดไวซึ่งจะตองใชหลักสถิติเพื่อสรุปความหมาย ศึ ก ษาแบบแผนการทดลอง การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป น การวิ จั ย เชิ ง ทดลอง โดยใชแบบแผนการทดลองแบบ Pre-test Post-test Control Group Design ขั้นตอนที่ 2 ประชากรและกลุมตัวอยาง ขั้นตอนที่ 3 การพัฒนาเครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวย 6 สวนดังแสดงในรูปที่ 1 การสรางเครื่องมือในการวิจัย

แบบ ทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์

แบบ ประเมิน ภาคปฏิบัติ

สําหรับกลุมควบคุม

บทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน การซอมวงอังกะลุง

สําหรับกลุมทดลอง

แบบสอบ ถามความ พึงพอใจ

แบบ แบบ ประเมิน ประเมิน ดานเนื้อหา ดานเทคนิค

สําหรับผูเชี่ยวชาญ

รูปที่ 1 : แผนผังการสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย

218


จากตารางที่ 2 ผลการวิเคราะหขอมูลพบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของกลุมทดลองที่เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง มีคาเฉลี่ยเทากับ 26.20 และคาความแปรปรวนมี คา 2.6 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุมควบคุมที่เรียนแบบ ปกติมีคาเฉลี่ย 23.66 และคาความแปรปรวนเทากับ 4.52 และ เมื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดานความรูของผูเรียน ทั้งสองกลุมตามสมมติฐานที่ตั้งไววาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผู เ รี ย นที่ เ รี ย นด ว ยบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน เรื่ อ ง อังกะลุง สูงกวาผูเรียนแบบปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 โดยคา t ที่ไดจากการคํานวณมีคา 5.29 และคา t จาก การเปดตารางที่ df = 28 , α = 0.5 มีคา 1.701 ซึ่งคาที่ไดจาก การคํานวณมีคามากกวา นั้นหมายถึงยอมรับสมมติฐานของ การวิจัย ดังนั้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดานความรูของผูเรียนที่ เรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง สูงกวา ผูเรียนที่เรียนแบบปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานงานวิจัย

ขั้นตอนที่ 4 การดําเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอมูล ไดทําตามแบบแผนการวิจัย Pretest - Posttest control group design โดยทดลองกับกลุมตัวอยางจํานวน 2 กลุมดวยกันไดแก กลุมทดลองและกลุมควบคุมโดยมีการทดสอบกอนเรียนและ หลังเรียนทั้ง 2 กลุม ขั้นตอนที่ 5 วิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช ในการวิจัยใชสถิติ พื้นฐาน , การหาคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน , สถิติที่ใชในการ ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ , การหาคาดัชนี ความสอดคลอง ระหว า งคํ า ถาม กั บ จุ ด ประสงค ก ารเรี ย นรู ต ามวิ ธี ก ารของ Rowinelli & Hambleton , หาคาความยากงาย (p) ของ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ,หาคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน , หาคาความ เชื่อมั่น (reliability) , หาคาอํานาจจําแนกแบบวัดความพึงพอใจ ในการเรียน และ สถิติที่ใชในการทดสอบสมมติฐาน

6) ผลการวิจัย ผลของการวิเคราะหเพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียน ตารางที่ 1: ผลการวิเคราะหเพื่อหาประสิทธิภาพบทเรียนดาน ความรูและทักษะ คะแนนสอบ คะแนนระหวางเรียน (E1) คะแนนหลังเรียน (E2)

N คะแนน คะแนน รวม เฉลี่ย (X) 15 70 60.40 15 30 26.20

ผลของการวิ เ คราะห ค วามพึ ง พอใจของผู เ รี ย นบทเรี ย น คอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง ตารางที่ 3 : ผลวิเคราะหความพึงพอใจที่มีตอบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง จํานวน 15 คน เรื่องที่ประเมิน S.D. ความหมาย Χ 1. ดานเนื้อหา 4.34 0.20 มาก 2. ดานเทคนิค 4.42 0.24 มาก เฉลี่ยรวม 4.38 0.22 มาก

ประสิทธิ ภาพ 86.28 87.33

จากตารางที่ 1 แสดงใหเห็นวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุงที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ 86.28/87.33 ซึ่งสูง กวาเกณฑที่กําหนดไวคือ 80/80 แสดงวา บทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน มีประสิทธิภาพเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว

จากตารางที่ 3 ผลการวิเคราะหความคิดเห็นเพื่อสํารวจความ พึ ง พอใจของผู เ รี ย นที่ มี ต อ บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน เรื่อง อังกะลุง จํานวน 15 คน ในดานเนื้อหา ความพึงพอใจของ ผูเรียนอยูในระดับมาก และมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.34 สวนเบี่ยงเบน มาตรฐานเทากับ 0.20 และในดานเทคนิคความพึงพอใจของ ผูเรียนอยูในระดับมากและมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.42 สวนเบี่ยงเบน มาตรฐานเทากับ 0.24 สรุปไดวาความพึงพอใจของผูเรียนทั้ง สองดานอยูในระดับมากและมีคาเฉลี่ยรวม 4.38

ผลของการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุม ทดลองและกลุมควบคุม ตารางที่ 2 : ผลการวิเคราะหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหวาง กลุมทดลองและกลุมควบคุมดานความรู กลุม กลุมทดลอง กลุมควบคุม

N Χ 15 26.20 15 23.66 df = 28 , α = .05 , t =

S2 2.6 4.52 1.701

t 5.29

219


ภาคปฏิบัติของกลุมควบคุมที่เรียนโดยวิธีปกติมีคะแนนเฉลี่ย รวมของกลุ ม คิ ด เป น ร อ ยละ 86.66 ซึ่ ง ถื อ ว า คะแนนใน ภาคปฏิบัติของกลุมทดลองที่เรียนโดยใชบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน เรื่อง อังกะลุง มีประสิทธิภาพในการรวมวงบรรเลง เพลงลอยกระทงนอยกวากลุมควบคุมที่เรียนโดยการสอนแบบ ปกติคิดเปนรอยละ 6.66 เปอรเซ็นต ซึ่งคะแนนในภาคปฏิบัติ ในหัวขอของการใหคะแนนในเรื่องความพรอมเพรียงของกลุม ทดลองไดนอยกวากลุมที่เรียนปกติ เนื่องจากการฝกซอมรวม วงซึ่งกลุมทดลองมีเวลาในการฝกซอมนอยกวากลุมที่เรียนโดย การเรียนการสอนแบบปกติ

7) สรุปผลการวิจัย จากการดําเนินการวิจัย การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอน เรื่อง อังกะลุง รายวิชา ดนตรีไทย กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ในครั้งนี้พบวา 1. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง วิชา ดนตรี ไ ทย จากการนํ า บทเรี ย นผ า นการประเมิ น โดย ผู เ ชี่ ย วชาญด า นเนื้ อ หาและการประเมิ น ด า นเทคนิ ค วิ ธี ก าร ละ 3 ทานมีผลดังนี้ การประเมินจากผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.73 อยูในระดับดีมาก และการประเมินจาก ผูเชี่ยวชาญดานเทคนิคมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.36 อยูในระดับดี 2. การหาประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน เรื่ อ ง อั ง กะลุ ง ได ผ ลดั ง นี้ ประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย น คอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง จากการทําแบบทดสอบ ระหวา งเรีย นด านความรู แ ละทั กษะและแบบทดสอบวั ด ผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนดานความรูและทักษะเทากับ 86.28/87.33 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่ตั้งไว สรุปไดวา บทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอน เรื่อง อังกะลุง มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 3. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวยวิธีการวิเคราะห คาทางสถิติ t-test แบบ Independent Group โดยคะแนนเฉลี่ย ของผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นด า นความรู ข องกลุ ม ทดลองมี คาเฉลี่ยเทากับ 26.20 และคะแนนเฉลี่ยของกลุมควบคุมที่คา เทากับ 23.25 และเมื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดาน ความรูของผูเรียนทั้งสองกลุมพบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดานความรูข องผูเรียนที่เรีย นดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอน เรื่อง อังกะลุง สูงกวาผูเรียนที่เรียนที่เรียนแบบปกติที่ ระดับนัย สําคัญทางสถิติ .05 ดวยเหตุนี้ทําใหผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรีย นด านความรูข องผูเ รีย นกลุ ม ทดลองที่ เรี ย นด ว ย บทเรีย นคอมพิ วเตอร ช ว ยสอน เรื่ อ ง อั ง กะลุ ง มีผ ลสัม ฤทธิ์ ทางการเรียนสูงกวาผูเรียนกลุมควบคุม ที่เรียนดวยวิธีปกติที่ ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 เปนไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว 4. ผลการสํารวจความพึงพอใจของผูใชบทเรียนที่มีตอบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง ของกลุมทดลองจํานวน 15 คน ทั้งดานเทคนิคและดานเนื้อหามีคาเฉลี่ยรวมทั้งสองดาน เทากับ 4.38 ผูเรียนมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก 5. ผลการเปรี ยบเที ย บคะแนนภาคปฏิบัติข องกลุม ทดลองที่ เรี ย นจากบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน เรื่ อ ง อั ง กะลุ ง มี คะแนนเฉลี่ยรวมของกลุมคิดเปนรอยละ 80 สวนคะแนน

8) ขอเสนอแนะ 1. ดานผูเรียนผูเรียนควรมีพื้นฐานในดานของดนตรีไทยใน ระดับ พื้นฐาน เชน การตี การจับ การเขยา เปนตน จะทําให ผูเรียนเรียนรูไดเร็วยิ่งขึ้น 2. ดานการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง ควรมีการพัฒนา ในเครื่องดนตรีไทยในชนิดอื่นหรือการเพิ่ม เพลงไทยเดิมในการพัฒนาโดยใชบทเรียนชุดเดิมขึ้นอีก 3. ดานเทคนิค ควรจะพัฒนาในการนําเทคโนโลยีฮารดแวรเขา มาผสมผสานกั บ ตั ว บทเรี ย นให มี รู ป แบบการนํ า เสนอที่ นาสนใจมากยิ่งขึ้น เชนการใช ระบบสัมผัส ระบบเซนเซอร ระบบจับการเคลื่อนไหวการสั่นสะเทือนขณะที่ผูเรียนเขยา ทํา ใหบทเรียนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียนมากยิ่งขึ้น

9) ขอบกพรองของวิธีการดําเนินการทดลอง ดังนี้ 1. ควรกําหนดระยะเวลาในการทดลองใหเปนระยะเวลาที่ใชใน การเรี ย นการสอนจริ ง ตามระยะเวลาที่ เ หมาะสมจะทํ า ให บทเรี ยนที่ พัฒนาขึ้น ไดผ ลการทดลองที่ มีประสิท ธิภ าพมาก ยิ่งขึ้น 2. การจัดบรรยากาศในการสอบภาคปฏิบัติของผูเรียน ควร สรางบรรยากาศใหผูเรียนไดผอนคลายไมสรางแรงกดดันให ผูเรียนโดยสรางบรรยากาศโดยใชวิธีจัดเปนการแสดงโชวจะ ทําใหผูเรียนเขยาอังกะลุงดวยความเปนธรรมชาติมากยิ่งขึ้น

220


บัณฑิต สาขาวิชา ศึกษาศาสตรการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร , 2528. พรรณพิมล มีชัยมั่นจิต. “บทเรียนคอมพิวเตอรชวย สอนระบบมัลติมีเดีย เรื่อง วงดนตรีไทย กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ สําหรับนักเรียนชวงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปที่ 5”.[วารสารออนไลน] 2553.[สืบคนวันที่ 3 เมษายน 2553 ]. จาก http://www.krupunmai.com พีรวัฒน วงษพรม. สภาพการทําวิจัยชั้นเรียนของครูใน โรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการ ประถมศึกษาแหงชาติ เขตการศึกษา 10. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2533. ไพโรจน ตีรณธนากุล. สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนยสื่อเสริม. กรุงเทพฯ, 2530. มนตชัย เทียนทอง. การออกแบบและพัฒนาคอรสแวรสําหรับ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน. ภาควิชาคอมพิวเตอรศึกษา คณะ ครุศาสตรอุตสาหกรรม : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ, 2545. มานิตย นอมชอบ. การพัฒนาเอกสารประกอบการ เรียน เรื่อง อังกะลุง สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบานหนองมันปลา, 2542. (เปนบทคัดยอวิทยานิพนธ ออนไลน) สาระสังเขป [สืบคนวันที่ 3 เมษายน 2553] จาก http://www.kroobannok.com/board_view.php ลวน สายยศและอังคณา สายยศ. เทคนิคการวิจัย ทางการศึกษา. (พิมพครั้งที่ 5) กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน, 2538. วุฒิชัย ประสารสอย. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน นวัตกรรมเพื่อการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัด วี.เจ.พริ้นติ้ง, 2543. สวิต ทับทิมศรี. ดนตรีและนาฏศิลป 1. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช, 2544. องอาจ เชียงแขก. “การศึกษาผลของกิจกรรมดนตรี อังกะลุงตออาการดานลบของผูปวยจิตเภท, [lวารสาร ออนไลน] 2549. [สืบคนวันที่ 3 เมษายน 2553] จาก http://www.dmh.go.th/abstract/details.asp

10) ขอปรับปรุงพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง อังกะลุง 1. ระยะเวลาในการใชบทเรียนความเปนระยะเวลาที่เหมาะสม กับการเรียนการสอนจริง 2. เมื่อนําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไปใชในการจัดการ เรียนการสอนควรแบงเวลาใหผูเรียนไดฝกซอมจริงกับเพื่อน ร ว มวงเพื่ อ ฝ ก ความพร อ มเพรี ย งและเพิ่ ม ความไพเราะมาก ยิ่งขึ้น

เอกสารอางอิง การศึกษาแหงชาติ, สํานักงานคณะกรรมการ. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟค, 2542. ทักษิณา สวนานนท. คอมพิวเตอรเพื่อการศึกษา : องคการคาคุรุสภา, 2530. ธงชัย วิไลวิทย . ADDIE Model. [สืบคนเมื่อวันที่ 7 มกราคม 2553], จาก http://student.nu.ac.th/comed/webboard/ answer.asp?questID=6. บุญเกื้อ ควรหาเวช. นวัตกรรมการศึกษา. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : เอสอาพริ้นติ้ง, 2545. บูรณะ สมชัย. การสรางบทเรียนคอมพิวเตอร (CAI). กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่นจํากัด (มหาชน), 2538. บูรณะ สมชัย. การสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่นจํากัด. พรเทพ เมืองแมน. 2544. หลักการออกแบบและสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนดวย โปรแกรม Authorware Professional 5. ปตตานี : ภาควิชา เทคโนโลยีการศึกษาคณะศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร , 2538. ปภาอร แกวสวาง. รายงานการพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนมัลติมีเดีย เรื่อง การฝกดีดซึงลูก 4 เบื้องตน, 2553. (เปนผลงานวิชาการ) สาระสังเขป [สืบคนวันที่ 3 เมษายน 2553] จาก http://www.kroobannok.com ผลทาน ศรีณรงค. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การ เขียนเชิงสรางสรรค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ใน โรงเรียนสาธิตแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยใชดนตรี เปนสื่อการสอนแบบธรรมดา. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหา

221


อุษา หลีวิจิตร. “รายงานการสรางและหา ประสิทธิภาพชุดฝกทักษะการบรรเลงดนตรีอังกะลุงอยาง สรางสรรค สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนบานธรรมเถียร”. 2542. [lวารสารออนไลน] 2549. สาระสังเขป [สืบคนวันที่ 3 เมษายน 2553] จาก http://www.kns.ac.th/research/usa.pdf ADDIE Model. (2552). ADDIE Model. สืบคนเมื่อ วันที่ 7 มกราคม 2553, จาก http://en.wikipedia.org/wiki/ ADDIE_Model. Criswell, Eleanor L. The Design of Computer Base Instruction. New York : Macmillan,Inc., 1989. Chauhan, S.S. A Textbook of Programmed Instruction. New Delhi : Sterling Publisher(P) L.td., 1982. Gagne, R. Conditions of learning [Online]. Accessed 22 June 2001. Available From http://www.tip.psychology.org/gagne/html. Holland, James G. and Douglas Porter. “The Influence of Repetition of IncorrectlyAnswered Items in a Teaching Machine Program,” in Journal of the Experimental Analysis of Behavior. 4(4) : 305-7; 1961. Schwarz, Ilsa and Molly Lewis. “Basic Concept Micro Computer Courseware : A Critical Evaluation System for Educators,” in Educational Technology : 16-21; 1989. Sims, Roderick. Interactivity: A Forgotten Art. [Online] Available http://intro.base.org/docs/interact/, January 27, 1997.

222


การนําเสนอแนวทางการประกันคุณภาพสําหรับหลักสูตรอีเลิรนนิงในระดับอุดมศึกษา Proposed Guidelines for Quality Assurance of e-learning Programs in Higher Education ภานุวัฒน บุตรเรียง1 Panuwat Butriang Thailand Cyber University Project, Office of the Higher Education Commission panuwatlive@windowslive.com

ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ 2 Praweenya Suwannatthachote Faculty of Education, Chulalongkorn University praweenya@gmail.com

เชาวเลิศ เลิศชโลฬาร3 Chawalert Lertchalolarn Thailand Cyber University Project, Office of the Higher Education Commission chawalert@gmail.com

การวิจยั ครั้งนีม้ ีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาเอกสารที่คัดสรรเพื่อนําเสนอแนวทางการประกันคุณภาพ สําหรับหลักสูตร อีเลิรนนิงในระดับอุดมศึกษา และศึกษาความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญเพือ่ นําเสนอเกณฑการรับรองวิทยฐานะ หลักสูตรการเรียนอิเล็กทรอนิกส วิธีวจิ ัย ใชการวิเคราะหเอกสารคัดสรรที่เกี่ยวของทั้งในและตางประเทศ จํานวน 9 สถาบันได 195 ขอความ เมือ่ ผานการตรวจสอบจากผูทรงคุณวุฒิ 3 ทาน ได 128 ขอความ และการสอบถามความ คิดเห็นกลุมผูเชี่ยวชาญ จํานวน 7 ทาน พบวา เกณฑที่ไดรับการยอมรับจากผูเชี่ยวชาญ จํานวน 11 ดาน 106 เกณฑ แบงเปน 3 ดานหลัก คือ 1) ปจจัยนําเขา 51 เกณฑ 6 ดาน คือ (1) ดานพันธกิจ (2) ดานความพรอมในการดําเนินการ (3) ดานการคัดเลือกและรับผูเรียน (4) ดานการบริการ (5) ดานการสนับสนุน (6) ดานการจัดคณาจารยและบุคลากร 2) กระบวนการ 46 เกณฑ 4 ดาน คือ (1) ดานหลักสูตรและการสอน (2) ดานการปฏิสัมพันธและการสื่อสาร (3) ดานการ วัดและประเมินผล (4) ดานการประกันคุณภาพ 3)ผลลัพธและผลผลิต 9 เกณฑ 1 ดาน คือ ขอมูลการ ติดตามผูเรียน คําสําคัญ: การเรียนอิเล็กทรอนิกส, การรับรองวิทยฐานะ, เกณฑ, หลักสูตรการเรียนอิเล็กทรอนิกส, อุดมศึกษา

223


The purposes of research were to: 1) analyze the selected documents 2) study the opinions of a panel of experts and 3) propose the Guideliness for Quality Asssurance of e-learning Programs in Higher Education and accreditation criteria for e-Learning programs in higher education. The content analysis method was used to analyze the selected documents of nine institutions both local and abroad which produced 195 criteria, Three higher education policy makers reviewed and reduced this number to 128 criteria before the opinions of seven experts. This study found 106 criteria classified in 11 areas and it was that they be broken down into three main of Grouped : 1) Input There were 51 criteria grouped to six areas, namely (i) Mission (ii) Course Preparation, (iii) Admission and Selection, (iv) Service, (v) Support, and (vi) Staffing & Faculty 2) Process There were 46 criteria grouped into four areas, namely (i) Curriculum and Instruction,(ii) Communication and Interaction, (iii) Assessment and Evaluation, and (iv) Quality Assurance 3) Output &Outcomes There were nine criteria grouped in the area of monitoring of student information. Keywords: Quality Assurance, e-Learning, Accreditation, Criteria, Higher Education

224


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.