DEGREE-PROJECT_SURVIVOR-BOOK_PART01

Page 1

E

N

T

E

R




โครงการนี้จัดทำ�ขึ้นเพื่อรวบรวม ปัญหาและแนะนำ�วิธีการเตรียมตัว ก่อนการทำ�ศิลปนิพนธ์ < / >

<>

โดยรวมโครงการนี้จ ะนำ� ไปสู่ การเตรียมตัวก่อนการทำ�ศิลปนิพนธ์ ทำ � ให้ นั ก ศึ ก ษามี ค วามพร้ อ มและ สามารถรั บ มื อ หรื อ เลี ่ ย งปั ญ หา ที่สามารถเกิดขึ้นได้ < / > <>


โครงการออกแบบหนังสือเรื่อง “วิธีการเอาตัวรอดในธีสิส” < / > <>

จัดทำ�ขึ้นเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ในระหว่างการจั ด ทำ � ศิ ล ปนิ พ นธ์ ที่ส่งผลให้เกิดนักศึกษาตกค้าง หรือ ไม่ผา่ นในรายวิชานี้ ซึง่ จากการศึกษา ถึงปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นจากหลายๆ ปัจจัยพบว่านักศึกษามีป ัญหาอยู่ ทุกขั้นตอนในการดำ�เนินงาน < / >

<>

เพื ่ อ ให้น ั ก ศึ ก ษาสามารถ รับมือกับปัญหาที่สามารถเกิดขึ้นได้ โดยทำ�การสำ�รวจจากผูท้ ม่ี ปี ระสบการณ์ ในการทำ�ศิลปนิพนธ์ เพือ่ ค้นหาปัญหา ที่สามารถเกิดขึ้นได้ หาแนวทางการ แก้ปัญหา และการเตรียมตัว < / > <>


<Topic> <STAGE 1> :

ช่วงทำ�ความรู้จักกับธีสิส -ที่มาของโครงการออกแบบ -ความหมายของศิลปนิพนธ์ -ปัญหาเบื้องต้นที่พบ

<STAGE 2> :

ช่วงก่อนเริ่มต้นทำ�ธีสิส -วิธีตั้งหัวข้อศึกษา -ความสนใจความถนัด -Mind Mapping

<STAGE 3> :

ช่วงการเริ่มต้นทำ�ธีสิส - การวางแผนการทำ�งาน - การนำ�เสนอ - ความกดดัน - คิดงานไม่ออก

<STAGE 4> :

ช่วงหลังจากทำ�ดีไซน์เสร็จ - Production - Exhibition - ได้อะไรจากการทำ�ธีสิส


<Pages>

.......................A ......................A . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 03 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 09 </STAGE1>

....................... B . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 18 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 24 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 32 </STAGE2>

...................... C . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 46 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 58 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 60 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 66 </STAGE3>

................ D . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 72 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 78 . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 84 </STAGE4> </Topic> </Pages>




ธีสิส ในที่นี้จะเป็นศิลปนิพนธ์ของ ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คือ การทำ� โครงการออกแบบที่มีกระบวนการทำ� อย่างมีแบบแผน และละเอียด < / > < > ซึ่ ง เป็ น โครงการสำ � หรั บ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ โดยแตกต่างจากการทำ�ธีสิส ในภาควิชาอื่นๆ ตรงที่การทำ� ศิลปนิพนธ์ จะมีงานอยูส่ องส่วน คือส่วนเอกสาร และส่วนของ ผลงานออกแบบ < / > <>

03


04

สำ�หรับนักศึกษาในมหาวิทยาลัย ศิลปนิพนธ์ เป็นเอกสารบังคับในการ จบการศึ ก ษาในระดั บ ปริ ญ ญาตรี รู ป แบบของธี สิ ส จะเป็ น SelfProject หรือ Individual Project เป็นงาน ทีอ่ อกมาจากตัวนักศึกษาเอง < / > < > ซึ่ ง สามารถสะท้ อ น ทัศนคติของนักศึกษาออกมาได้ หรือเป็นรายวิชาที่ใช้วัดผล การเรียนรูต้ ลอดหลักสูตร โดย ที่นักศึกษาจะต้องตั้งโจทย์ และเห็ น ปัญหาด้วยตัวเอง และแก้ไขมันด้วยตัวเอง แตก ต่างจากรายวิชาอื่นตรงที่มี อาจารย์เป็นผู้กำ�หนดโจทย์ ปัญหาให้เราแก้ < / > <>


05

ภาคเอกสาร หรือทีเ่ รียกกันว่าเล่ม ดำ� ซึง่ ทัง้ หมดจะต้องเขียนเป็นภาษา เขียน จะเป็นการเขียนกระบวนการ ศึ ก ษาค้ น คว้ า ทั้ ง หมดอย่ า งมี แบบแผน ซึ่ ง แต่ ล ะมหาวิ ท ยาลั ย อาจจะมีรูปแบบการเขียนเอกสาร ที่แตกต่างกัน < / >

<>


06

จะเริม่ ตัง้ แต่วตั ถุประสงค์ ของโครงการ การหาเอกสาร ข้อมูลที่ เ กี่ ย วข้ อ ง วิ ธี ก าร ดำ�เนินงาน การวิ เ คราะห์ ข้อมูลทั้งหมด เราต้องนำ�ไป สู่การออกแบบ คือ ในส่วน ของผลงาน และผลงานที่ได้ จะต้องอ้างอิงข้อมูลทั้งหมด จากภาคเอกสารหรือเล่มดำ� ของเรานั่นเอง < / > <>


07

ปั ญ หาเบื้ อ งต้ น ที่ พบได้ในการทำ � ธี ส ิ ส เป็ น ปั ญ หาทั่ ว ไปที่ มั ก พบอยู่ ต ลอดใน งานธี สิ ส และในตั ว ของนักศึกษา < / >

<>


08

BASIC

PROBLEM


การจัดทำ�สิง่ ทีน่ า่ สนใจ โดยพื้ น ฐานของเราเอง อาจไม่ ใ ช่ ค วามสนใจใน เรื่ อ งของงานออกแบบ อาจจะเป็ น การสนใจใน เรื่องราวทั่วไป ซึ่งสิ่งนี้จะ นำ�มาสู่หัวข้อโครงการ < / >

<>

09

แต่เราต้องสำ�รวจตัวเอง ก่อนว่าเรานั้นกำ�ลังสนใจ ในเรือ่ งอะไรจริงๆ ซึง่ อาจ จะเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งส่ ว นตั ว เลยก็ยังได้ และสำ�รวจตัว เองต่อว่าเราถนัดอะไร < / >

<>


สิ่งที่เป็นปัญหากับการ กำ�หนดหัวข้อ คือ หัวข้อนัน้ ไม่นา่ สนใจ มักเกิดปัญหาจาก การเลือกทำ�เรื่องธรรมดาๆ ทำ�ให้ไม่เกิดความน่าสนใจ < / >

<>

10

เหตุมาจากเป็นการ Safe ตัวเองอยู่ตลอด โดยไม่ได้ ออกจาก Comfort zone ซึ่ ง หั ว ข้ อ ที่ น่ า สนใจจะมี ส่วนทำ�ให้ผลงานออกมา น่าสนใจ มันเป็นการแสดง ถึง Passion ส่วนตัวของผู้ ทำ�เป็นสิ่งที่ตัวเองจะไม่ได้ ทำ�อีกแล้วหลังเรียนจบ < / >

<>

เนือ่ งจากการทำ�งานจริง เราไม่ได้ เป็นคนกำ�หนดหัวข้อที่เราอยากทำ� ด้วยตัวเอง หรือสิ่งที่เราอยากทำ� แต่ทั้งนี้ผลงานทุกชิ้นมีคุณค่าในตัว ของมันเองอยู่แล้ว < / > <>


โดยนักศึกษามักจะคำ�นึงถึง เทคนิ ค หรื อ สื่ อ ที่ ใ ช้ ใ นการ ออกแบบที่ อ ยากจะทำ � ก่ อ น ไม่ ใ ช่ เ หตุ ซึ่ ง อาจทำ � ให้ เ กิ ด ปัญหาในส่วนของต้นทาง < / > <>

11

หรือในส่วนของการ ศึ ก ษาค้ น คว้ า หาข้ อ มู ล เนื่องจากนักศึกษาไม่ได้มี ความสนใจในเรื่องทีจ่ ะทำ� แต่ จ ะสนใจในส่ ว นของ เทคนิ ค หรื อ ปลายทาง ของงาน และสิ่ ง สำ � คั ญ ที่ เ ราควรจะเรี ย น คื อ การแก้ ปั ญ หา และการ สร้างข้อจำ�กัด < >

<>


เราอาจจะทำ�หัวข้อทีเ่ ราคิดว่าเรา จะไม่ได้ท�ำ อีกแล้วหลังเรียนจบ หรือ ทำ�งานทีเ่ ป็นประโยชน์ให้คนทีพ่ บเห็น สามารถรับเราเข้าทำ�งาน ต่อได้ < / >

<>

อาจจะทำ�สิง่ ทีต่ วั เองอยาก ทำ�ไว้ ก่ อ น จะให้ ห าความรู้ ใหม่ อ าจจะไม่ ทั น ในช่ ว ง ระยะเวลาการดำ � เนิ น งานสี่ เดือน เราอาจจะเลือกเรื่อง ที่เข้าใจได้ง่ายๆ แล้วนำ�มา ตีความให้มันแตกต่างได้ < / > <>

หรือเลือกเรือ่ งทีต่ ัวเอง ชอบมันจริงๆ จะทำ�ให้เรา อยู่กับมันได้นานอาจจะนำ� พอร์ ต ของตั ว เองมาดูว่า เ ร า ช อ บ ง า น ชิ้ น ไ ห น ประเภทอะไร เพื่อช่วยหา สิ่ ง ที่ ตั ว เองชอบพอพบ แล้ ว คิ ด หาวิ ธี ต่ อ ยอด มันได้อย่างไร แต่ทั้งนี้ทั้ง นั้ น ธี สิ ส ไม่ จำ � เป็ น ต้ อ งมี แรงบันดาลใจหรือความชอบ

<>

</>

เพราะธี สิ ส ด้ า นการออกแบบ มันเกี่ยวกับสิ่งที่เราเรียนมาตลอดใน ช่วงการศึกษาปริญญาตรี อยู่ที่เรา เลือกจะยกประเด็นที่เราคิดว่ามัน คือ ปัญหานำ�มาแก้ไข ก็สามารถเกิด ประโยชน์เช่นกัน < / >

<>

12



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.