DEGREE-PROJECT_SURVIVOR-BOOK_PART02

Page 1


2

ช่ ว งก่ อ นที่ จ ะเริ่ ม ต้ น ทำ � ธี สิ ส เพราะบางอย่ า งไม่ ส ามารถคิ ด เราต้องทำ�อะไรบ้าง เราไม่จ�ำ เป็นต ในการทำ�ธีสสิ และในการตัง้ หัวข้อก ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นสิ่งที่เราต้องมีก่อนท


ก่ อ นที่ เ ราจะทำ � ธี สิ ส เราควรมี เ วลาในการเตรี ย มตั ว ก่ อ น ด หรื อ ทำ � ในเวลาอั น สั้ น ได้ และในเมื่ อ เราทราบอยู่ แ ล่้ ว ว่ า ต้องรอให้อาจารย์สงั่ ให้ท�ำ เราจะต้องเตรียมมาก่อนเลย เช่นหัวข้อ ก็ตอ้ งมีเรือ่ งเกีย่ วกับความสนใจ และความถนัดของตัวเราตามมา ที่จะเริ่มต้นทำ�ธีสิส

3




นั ก ศึ ก ษาต้ อ งตั้ ง หั ว ข้ อ ศึ ก ษาเอง โดยไม่ มี อ าจารย์ ม ากำ � หนด โจทย์ให้เหมือนตอนเรียน ซึ่งมักจะมีปัญหาว่าจะทำ�อะไรดี ส่งหัวข้ออะไรไปก็ไม่ผ่าน หรือไม่ร้เู ลยว่าจะทำ�อะไรได้บ้าง และถ้ า ใกล้ ถึ ง เวลาต้ อ งเลื อ ก แล้ ว ไม่ มี หั ว ข้ อ ที่ ส นใจ อยากจะทำ� แล้วมั่วๆเลือกได้ หรืออาจารย์แนะนำ� แล้วไม่ได้หวั ข้อทีเ่ ราสนใจจริงๆ ก็จะทำ�ให้เกิดปัญหา ตามมาในระหว่างการทำ�งาน นักศึกษาจะต้อง พอรู้คร่าวๆ ว่าหัวข้อที่จะศึกษาสามารถ

6

สามารถมาจากอะไรได้บ้าง แล้วหัวข้อ ศึ ก ษาที่ ไ ด้ จ ะต้ อ งเกิ ด จากความสนใจ และ ความถนั ด ของเราด้ ว ย สิ่ ง เหล่ า นี้ จ ะมี ผ ลช่ ว ย ระหว่ า งการทำ � งาน เพราะการทำ � สิ่ ง ที่ ช อบจะช่ ว ย ทำ � ให้ เ ราอยู่ กั บ มั น ได้ น าน เพราะการทำ � ธี สิ ส เป็ น การทำ � โปรเจคระยะยาว ถ้าหากได้ทำ�หัวข้อที่ไม่ชอบ จะทำ�ให้เราเกิด ความรู้ สึ ก ไม่ อ ยากทำ � และมี ผ ลกั บ การทำ � งานต่ อ ไป การตั้ ง หั ว ข้ อ ที่พอเป็นไปได้คร่าวๆ มีทั้งหมด 4 อย่างดังนี้


7


8


เราอาจจะมองเห็ น ปั ญ หาต่ า งๆในทุ ก ๆ เรื่ อ งในชี วิ ต ประจำ � วั น หรือ ปัญหาอะไรก็ได้ แล้วคิดต่อว่าจะนำ�สิง่ ทีเ่ รียนมาใช้แก้ปญั หาได้อย่างไร บ้าง อย่างเช่นนักท่องเทีย่ วทีไ่ ปเทีย่ วเกาะรัตนโกสินทร์ ทีจ่ ะเดินทางเทีย่ ว โดยการใช้รถเมล์ แต่มักจะเกิดการหลงทาง หรือไม่รู้ว่ารถเมล์เบอร์ไหน วิง่ ไปไหนบ้าง เราก็สามารถนำ�กราฟิกมาช่วยแก้ปญั หาโดยการทำ�ไกด์บคุ๊ หรืออินโฟกราฟิก ทีส่ ามารถช่วยนำ�ทางนักท่องเทีย่ วเหล่านัน้ ได้ซงึ่ ปัญหาที่ กล่าวมาสามารถใช้ได้ทกุ ประเด็นปัญหา เช่น ปัญหาในเรือ่ งของการใช้งาน การสือ่ สาร หรือปัญหาทีเ่ กิดขึน้ กับกลุม่ เป้าหมายโดยตรง แล้วเราทำ�เพือ่ แก้ไขปัญหานั้นๆ หรือปัญหาอื่นๆ อีกก็ได้ อาจจะเป็ น การตั้ ง ประเด็ น สนั บ สนุ น หรื อ ขั ด แย้ ง กั บ ธี สิ ส ที่เคยมีมาก่อนได้เช่นกัน หรือเป็นการตั้งหัวข้อศึกษาเดียวกัน แต่วัตถุประสงค์ของงานที่แตกต่างกัน อย่างเช่น โรคซึมเศร้า ธี สิ ส ที่ เ คยมี ม าก่ อ นอาจจะเป็ น การทำ � สื่ อ ให้ ผู้ อื่ น เกิ ด ความ เข้าใจเกี่ยวกับโรคนี้ ซึ่งเราสามารถตั้งประเด็นศึกษาเดียวกัน แต่เราอาจจะทำ�เป็นสื่อที่ช่วยรักษาบุคคลเหล่านี้ก็ได้ 9

อย่างเช่น เรามีข้อมูลว่าจำ�นวนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้น เราก็สามารถใช้ข้อมูลตรงนั้น มาทำ � งานได้ อาจจะเป็ น การทำ � แมกกาซี น เพื่ อ ผู้ สู ง อายุ ก็ ถื อ เป็ น โอกาส ที่เรามองเห็นจากข้อมูล โดยไม่ต้องรอให้เกิดปัญหาขึ้นมาก่อน ซึ่งเราสามารถ ดูเทรนด์ล่วงหน้าได้ เพราะการทำ�งานในระยะยาวนี้ หากเราทำ�เรื่องที่กำ�ลังเป็น ทีส่ นใจในปัจจุบนั ผ่านกระบวนการต่างๆ จนถึงตอนเผยแพร่ อาจไม่ได้เป็นทีส่ นใจ แต่ ถ้ า ดู เ ทรนด์ ล่ ว งหน้ า พอผ่ า นกระบวนการทั้ ง หมดแล้ ว ขั้ น ตอนเผยแพร่ ก็จะเป็นเรื่องปัจจุบัน ซึ่งเทรนด์เราอาจจะดูจากหนังสือของทาง TCDC ก็ได้ เพราะ TCDC ได้จัดทำ�หนังสือวิเคราะห์กระแสโลกประจำ�ทุกปี โดยมีเนื้อหาใน เรือ่ งของอุตสาหกรรมต่างๆ ความต้องการของตลาด มีหลากหลายประเด็น เช่น วัสดุ เทคโนโลยี สี พื้นที่ และไลฟ์สไตล์ของเจเนอเรชั่นต่างๆ และยังมีเนื้อหา ที่เกี่ยวกับหนังสือรวบรวมเทรนด์โลก เช่น Pantone View, Carlin, Nelly Rodi ที่เคยทำ�มาแล้ว จะทำ�ให้เราเห็นถึงความเป็นไปได้อีกหลายอย่างที่ เราคิดไม่ถึง ว่าเรื่องแบบนี้ก็สามารถนำ�มาเป็นธีสิสได้ด้วยเหรอ? หรือ ดูกระบวนการคิด การทำ�งานของเขาว่า เขาเริ่มต้นศึกษาจากอะไร แล้วดูวา่ ทำ�ไมถึงออกมาเป็นผลงานชิน้ นี้ ก็จะเป็นอีกหนึง่ ทางทีจ่ ะทำ�ให้ เรารู้ถึงความเป็นไปได้ในการตั้งหัวข้อธีสิสขึ้นมา




การทีม่ สี ง่ิ ทีส่ นใจเป็นพิเศษ จะช่วยให้งา่ ยต่อการตัง้ หัวข้อศึกษา และการได้ทำ�ในเรื่องที่สนใจ จะทำ�ให้เราทำ�งานออกมาได้ดี และอยูก่ บั มันได้นาน เพราะการทำ�ธีสสิ เป็นการทำ�โปรเจคระยะยาว หากได้เรือ่ งทีไ่ ม่ได้มี Passion ในการทำ� จะทำ�ให้เรารูส้ กึ ไม่อยากทำ� อยู่กับมันได้ไม่นาน ทำ�ให้ผลงานออกมาได้ไม่ดีเท่าทำ�สิ่งที่ชอบ หรือถนัด และวิธกี ารทีจ่ ะช่วยค้นหาความสนใจและความถนัดมีอยู่ 4 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้

12

ระหว่างปิดเทอมเราอาจจะจดบันทึกอยูเ่ รื่อยๆ รวบรวมความคิดที่น่าสนใจ หนัง เทคโนโลยี อะไรก็ได้ที่สร้างแรงบันดาลใจให้สามารถ จดได้ทั้งที่เป็นข้อความสั้นๆ เป็น Keywords หรื อ เป็ น ข้ อ ความที่ จ ะบอกถึ ง ความคิ ด ที่ เรามองว่าน่าสนใจในตอนนั้น เมื่อคิดอะไร ไม่ อ อกก็ ใ ห้ ก ลั บ มาอ่ า นที่ จ ดเอาไว้ จะ ทำ � ให้ เ ราเห็ น ว่ า มี อ ะไรบ้ า งที่ เ ราสนใจใน ตอนนั้นที่เราอาจจะลืมมันไป เราอาจจะ รวมมันเข้าด้วยกัน ขยายความน่าจะเป็น ออกไป ให้ได้มากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะทำ�ได้ ถ้าไม่มี อะไรจะเขียน ลองหาสิ่งที่ถนัดดู ถ้าสามารถ หาได้หนึง่ อย่างแล้ว มันอาจจะสามารถทำ�ให้ เจออีกอย่างนึงได้เมือ่ มารวมกัน ให้ลองคิดให้ดๆี ว่าสามารถทำ�อะไรกับมันได้บ้าง

เราต้ อ งรู้ ว่ า เราชอบอะไร ไม่ ช อบอะไร ถนั ด อะไร หรื อ ไม่ ถ นั ด อะไร เราต้ อ งรู้ สิ่งเหล่านี้ก่อน โดยเราอาจจะหยิบกระดาษ แผ่นใหญ่ๆ ขึ้นมาแผ่นหนึ่ง แบ่งเป็นสองซีก ซีกแรกให้เขียนสิ่งที่ตัวเองชอบลงไปให้หมด เช่ น ชอบวาดรู ป ชอบเที่ ย ว ชอบคุ ย กั บ คนชอบคิดเพ้อฝัน ฯลฯ ส่วนอีกซีกก็เขียนในสิง่ ที่ตรงข้ามกัน เช่น ไม่ชอบการอยู่ในระเบียบ ไม่ชอบทำ�งานออฟฟิศ ฯลฯ


13

หลังจากรู้จักความ ชอบ-ไม่ชอบ ของตัวเอง เสร็จแล้ว ก็หยิบกระดาษขึ้นมาอีกแผ่นหนึ่ง แล้วแบ่งเป็นสองซีกเช่นเดียวกัน ซีกแรกเขียน สิ่งที่เราถนัดทั้งหมดลงไป เราทำ�สิ่งไหนได้ดี มีคนชมก็เขียนลงไป ส่วนอีกซีกก็ตรงข้ามกัน คือเขียนสิ่งที่ไม่ถนัดลงไป นี่คิดขั้นแรกของ การรู้จักตัวเอง


ปั ญ ก า ร ห า อี ก ข้อม ทำ�ส อย่า หรือ ูลใน ิ่งที่เดิ งที่มัก ไม่แ หัวข เรื่องต มๆ ไ พบใ ที่ห ปลก ้อที่แป ่างๆ ม่แป นการ ผู้คน ลากห ใหม่ ลกใ ทั้งใน ลกให ทำ�ธีส ทั้งโ ลาย ซึ่งใ หม่ เรื่อง ม่เก ิสท่ีจ ลกม ทั้ง นส และ ขอ ิดจา ะท ีการ ในว ายงา ในแ งควา กกา ำ�ให้เ ทำ�ง งกา นอ ง่ขอ มรู้ร รที่น กิดห านอ รออ อกแ งงา อบ ักศ ัวข อกแ กแบ บบ นออ ตัวท ึกษา ้อซำ้� บบ บขอ ยัง กแบ ี่ซึ่งท ไม่ม หร ที่แต งไ มีร บ ำ�ให ี In ือ กต่า ทย ูปแบ ที่ออ ้ไม่ม put งกัน และ บงา กมา ีเรื่อง ของ นอ ทั่วไ ต่าง อกแ ป ประ บ บ เทศ 14

ซึง่ เราไม่จ�ำ เป็นต้อง แบกเป้ อ อกเดิ น ทาง เราสามารถนั่ ง อยู่ กั บ บ้ า น แล้ ว เดิ น ทางไปพร้ อ มๆกั บ การดู ง านตามอิ เ ทอร์ เ น็ ต ได้ หรื อ บทสั ม ภาษณ์ ผู้ ค นก็ เ ป็ น อี ก อย่ า งที่ จ ะ ช่วยนำ�ทาง ให้เราเห็นการทำ�งานออกแบบของคนที่ หลากหลาย ทำ�ให้รู้ว่าบนโลกนี้มันมีอะไรมากกว่า ทีเ่ ราคิดมากมายนัก เมื่อเห็นทางที่หลากหลายแล้ว ขั้นตอน ต่ อ ไปก็ คื อ เลือกว่ารูปแบบไหนที่จะเหมาะกับเรา ระหว่างที่หา ประสบการณ์ ใ หม่ ๆ เราก็ ต้ อ งหมั่ น สั ง เกตตั ว เองว่ า เรารู้ สึ ก กั บ งานออกแบบต่างๆ ที่ได้รู้จักนั้นอย่างไร งานแบบไหนที่เราเห็นแล้วรู้สึก ตื ่ น เต้ น ถ้ า สั ง เกตตั ว เองชั ด ๆ จะทำ � ให้ ไ ด้ ร ู ป แบบงานที ่ ส นใจจำ � นวนหนึ ่ ง


เมื่อเจอเรื่องที่สนใจ หรือรูปแบบงานที่สนใจเราต้องหาข้อมูล เพื่อให้รู้จักกับเรื่องนั้นๆ ให้เรารู้ว่าเนื้อหา หรือรายละเอียด ของมันจริงๆเป็นยังไง บางครัง้ เรามองจากแง่มมุ ของเรา เพียงด้านเดียว แต่เราไม่รวู้ า่ กลุม่ เป้าหมาย ผูเ้ ชี่ยวชาญ ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลนั้นๆ หรือบุคคลอื่นๆ มีความคิดมุมมองอย่างไร ถ้าหากเรา สามารถอยูก่ บั ข้อมูลเหล่านัน้ ได้แปลว่า เราเจอเรื่องที่สนใจจริงๆแล้ว

15


ในวันทีเ่ ราพบความสนใจของเรานัน้ คือช่วงเวลา ที่เรากำ�ลังดูงานของศิลปิน ระหว่างที่เราดูเราก็ เกิดรูส้ กึ ว่าเราชอบงานชิน้ นีม้ ากๆ เราจึงต้องหยุด แล้วถามกับตัวเองว่า เพราะอะไรเราถึงชอบงานนัน้ ๆ คำ�ตอบที่เข้ามาแรกๆ ก็จะเกิดจากเรารู้สึกอิจฉา เราอยากทำ�แบบนั้นบ้าง อยากเท่ห์ แล้วก็จะมี ความคิ ดที่ ว่ า สิ่ ง นั้ น เราจะทำ � ได้ จ ริ ง ๆเหรอ ซึ่งเราต้องย้อนกลับไปถามตัวเองว่าเราสนใจ เรื่องนี้จริงๆ รึเปล่าถ้าหากใช่ ก็แปลว่าเราค้นพบ สิ่งที่เราสนใจแล้ว ให้ทิ้งคำ�ว่าเป็นไปไม่ได้ 16


17

เพราะหลายครัง้ ทีค่ �ำ ว่าเป็นไปไม่ได้ ทำ�ให้เรามอง ข้ามสิง่ ทีเ่ ราสนใจจริงๆออกไป อย่าถามตัวเองว่า “เราจะทำ � ได้ เ หรอ” แต่ ใ ห้ เ ราถามตั ว เองว่ า “อยากทำ�มันหรือเปล่า” และอาจจะมีคำ�พูดจาก เพื่อนหรือคนรอบข้างที่จะทำ�ให้เราไม่กล้าทำ� เช่นคำ�ว่า “ยากไปรึเปล่า” หรือ “จะทำ�ไหวเหรอ” ถ้าเราอยากทำ�จริงๆ เราก็ต้องเชื่อว่า ความยาก ไม่ใช่อุปสรรค์ของเรื่องที่เราสนใจ ถึงเรื่องที่ทำ� จะดูยากมันอาจจะดูเกินความสามารถของเรา แต่ถ้าหากมันเป็นสิ่งที่เราอยากจะทำ� ความยาก ก็ไม่ใช่ปัญหา




20

เครื่ อ งมื อ ด้ า นความคิ ด ที่ อ อกแบบโดย เลี ย นแบบการทำ � งานของสมอง ซึ่ ง เป็ น “ภาษาของสมอง” เป็นวิธีเดียวกับที่สมองคิด ใช้ได้ทั้งการนำ�ข้อมูลเข้า (จดบันทึก) และ ออกจากสมอง (แสดงความคิ ด ) โดยมี ลักษณะสำ�คัญคือ มีการเชือ่ มโยง จากไอเดีย หลักตรงกลาง แตกกิ่งออกไปเรื่อยๆ ประกอบไปด้วย “คำ�สำ�คัญ” หรือ “รูปภาพ” โดยจะมีการเชื่อมโยงถึงกันด้วย “เส้น” และ มีการกระตุ้นด้วยการใช้ “สี“ จำ�เป็นภาพ เห็นเป็นสีมกี ารเชือ่ มโยงสิง่ ต่างๆ สามารถคิด และจินตนาการได้ สมองเราสองซีกทำ�งาน ไม่เหมือนกัน ไม่ใช่ซีกไหนดีกว่ากัน แต่เรา ควรใช้ทั้งสองซีก


การ เ ขี ย น Mind Mapping เป็นวิธีที่จะช่วยวิเคราะห์ อะไรหลายๆ อย่างได้ ทั้งสิ่งที่ เรากำ�ลังศึกษา จนถึงความสนใจ และ ความถนัดของตัวเราเองได้ แต่หลายๆคน ยังไม่เข้าใจถึงในการเขียน Mind Mapping ที่ถูกต้องหลายคนเขียนทุกๆ อย่างออกไป เรื่ อ ยๆมั น จะไม่ ต่ า งจากการโน๊ ต ทุกๆ อย่างที่เราคิดออกเลย ซึ่งจริงๆ แล้ว Mind Mapping คือ

21


เตรียมกระดาษเปล่า A3 - A4 ให้เอาแบบไม่มี เส้ น และวางในแนวนอน เหตุ ผ ลที่ ไ ม่ ใ ช้ กระดาษแบบมีเส้นเพราะเส้นจะทำ�ให้เกิดการ ตีกรอบ กัน้ ความคิด และการอ่านแนวนอนนัน้ ง่ายกว่าแนวตั้ง

เตรียมปากกาสี 1 Set เราสามารถวาด Mind Map ได้ด้วยดีสอแท่งเดียวก็จริง แต่ ห ลายสี จ ะช่ ว ยกระตุ้ น ความคิ ด ได้มากกว่า 22

วาดภาพหรือเขียนหัวข้อหลัก ที่ต้องการจะคิด (Central Idea) ตรงกลางหน้ากระดาษ

ให้วาดภาพ ขนาดไม่เล็กเกินไป และไม่ใหญ่จนไม่มี ที่ ใ ห้ แ ตกกิ่ งออกมาเพิ่ ม พยายามอย่ าล้ อมกรอบ ซึ่งจะไปปิดกั้นความคิด ถ้าหากไม่วาดรูปอาจจะใช้วิธีการ หารูปมาแปะ

ถ้าหารูปไม่ได้ ก็เขียนเป็นคำ�ก็ได้ แต่ต้องทำ�ให้เด่น

ทำ � ให้ สิ่ ง ที่ อ ยู่ ต รงกลางโดดเด่ น เพื่อสร้างความจดจำ� และกระตุ้น ความคิด


วาดกิ่ ง ใหญ่ แตกแขนงออกมาจากภาพ ตรงกลาง ซึ่งกิ่งใหญ่นี้ จะเป็นตัวแทนของ หัวข้อหลักที่เกี่ยวกับ Central Idea ตรงกลาง

แรกเริ่มยังไม่ต้องคิดมากกว่า จะแตกกิ่งอะไรดี จะถูกหรือไม่ ให้ใช้หลักการ Brainstorming คือ ให้พยายามคิดออกมา เยอะๆ คื อ เน้ น ปริ ม าณก่ อ น จากนั้ น ค่อยมาคัดทีหลัง

แต่ ล ะกิ่ ง ใหญ่ ค วรใช้ สี แ ยกกั น และกิ่ ง ย่ อ ยที่ แ ตกจากสี ไ หน ก็ให้ใช้สเี ดียวกัน เพือ่ ให้เกิดการ จัดกลุ่ม และเส้นกิ่งใหญ่ให้วาด เป็นเส้นหนาๆ โค้งๆ รูปตัว s

การคัดเลือก ให้รวบรวมกิ่งที่คล้ายคลึงกันเข้าด้วยกัน โดยให้มี อย่างมากไม่เกิน 9 กิ่งใหญ่ (หลักการจำ�ของสมอง Short-Term ได้แค่ 7+2 สิ่ง)

เทคนิ ค ของการแตกหั ว ข้ อ กิ่ ง ใหญ่ คื อ Concept ที่ เ รี ย กว่ า No Gap, No Overlap ซึ่งหมายถึง แต่ละหัวข้อควร เป็นประเด็น ทีไ่ ม่ซ�้ำ กัน และเมือ่ ทุกหัวข้อรวมกัน จะทำ�ให้เราเห็นทุกประเด็น ของ Central Idea การที่ จ ะมองว่ า หั ว ข้ อ ที่ เ ราเขี ย นมั น ซ้ำ � ประเด็ น กั น หรื อ ไม่ ให้ลองคิดแบบย้อนกลับ คือ Zoom Out ออกไปว่าสิ่งที่เราเขียน อยู่ใน Category ใหญ่กว่าชื่อว่าอะไร ถ้า Category ใหญ่กว่า ซ้ำ�กัน เราก็ควรใช้อันนั้นเป็นกิ่งใหญ่ หรือ Central Idea ไปเลย

23


ถ้ายังคิดเรือ่ งได้ไม่ครบ ให้แตกกิง่ เปล่าทิ้งไว้ สมองจะหาอะไรมา เติมให้ทีหลัง

ให้ ว าดภาพหรื อ เขี ย น Keyword หรือของหัวข้อกิ่งใหญ่ใน ตำ�แหน่งเหนือกิ่งแต่ละอันให้กง่ิ ทำ�ตัวเหมือนเป็นการขีดเส้นใต้ และห้ามเขียนหัวข้อไว้ตำ�แหน่ง ที่ปิดปลายกิ่ง เพราะจะเป็นการ ปิดกัน้ ไอเดีย และตรงหัวข้อตรง กิ่งใหญ่ เราสามารถแตกกิ่งออก เป็นสิ่งเหล่านี้ได้ในสถานการณ์ ต่างๆ กัน เช่น

หากหาสิ่งที่เราสนใจ : เริ่มจากตัวเรา

24

หากทำ� Process ขั้นตอนต่างๆ : ให้เรียงจาก ก่อนไปหลัง - จะเริ่มจากทิศ 1-2 นาฬิกา ไปทิศทาง ตามเข็มนาฬิกา (ถ้าถนัดขวา) - จะเริ่มจากทิศ 10-11 นาฬิกา ไปทิศ ทวนเข็มนาฬิกา (ถ้าถนัดซ้าย)

ใช้ Framework จากเครื่องมืออื่นๆ : เช่น SWOT, 4Ps, หรืออื่นๆ


แตกกิง่ รายย่อยเป็นรายละเอียด ออกมาจากกิง่ ใหญ่ แตกออกมา ได้ไม่รจู้ บ โดยกิง่ ย่อยๆ ให้มขี นาด บางกว่ากิ่งใหญ่ และไม่ควรเอา อะไรไปปิดปลายกิ่ง และถ้ายัง คิดเรื่องที่จะแตกออกมาไม่ออก ให้แตกกิ่งเปล่าทิ้งไว้ - ให้เขียน 1 คำ�ที่เป็น Keyword ต่อ 1 กิ่ง ไม่ควรเขียนเป็นประโยค - ความยาวของเส้น ให้ยาวพอดีๆ กับคำ�ที่อยู่บนเส้น - เส้นไม่ต้องคดเคี้ยวมากเกินไป ให้อ่านง่าย

1.ให้เว้นช่องว่างระหว่างกิง่ ไว้ดว้ ย เผือ่ ความคิดใหม่ๆ จะโผล่มาอีก 2.การแตกกิง่ ตรงนีอ้ าจใช้หลักการ ได้ ทั้ ง คิ ดแบบมี ห ลั ก การ เช่ น มีลำ�ดับขั้น ประเทศ > ภาค > จังหวัด > เขต > อำ�เภอ และสามารถคิดแบบฟุ้งซ่านได้ หมายถึงหากกิ่งนั้นทำ�ให้นึกถึง อะไรก็เขียนเลย 3.เส้นต้องเชื่อมกันอย่าให้ขาด จะทำ�ให้ความคิดวิ่งไปไม่ถึง

25


MIND MAPPING TRICK

26

- ให้ลองคิดด้านลบ แล้วหาทางป้องกัน - ให้คิดแบบ Backward Thinking ลอง เปลี่ ย นจากเดิ ม ที่ คิ ดเหตุ ห าผล เปลีย่ นเป็น คิดจากผลลัพธ์ไปหาเหตุ - ใช้ Mind Map อันนึง เชื่อมต่อไปยัง Mind Map อันต่อไปเรื่อยๆ - หาข้อมูล Input เยอะ จะยิ่งรู้มาก จะทำ�ให้มีคลังข้อมูลความคิดเอาไว้ เชื่อมโยงได้มากขึ้น - ลองใช้ Mind Map คิดเชือ่ มโยงหาความ สัมพันธ์ของ 2 สิง่ ทีอ่ าจไม่เกีย่ วข้องกัน


ประโยชน์ของ Mind Mapping - ทำ�ให้เห็นภาพรวมของสิ่งต่างๆ - จำ�สิ่งต่างๆได้ดีขึ้น - สามารถค้นพบไอเดียใหม่ๆ - หาข้อบกพร่อง/จุดอ่อน - วางแผนการทำ�งาน - จัดลำ�ดับ Presentation ผลงาน / Story Board - ช่วยตัดสินใจ - คิดได้อย่างเป็นระบบ คิดครบ

27



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.