DEGREE-PROJECT_SURVIVOR-BOOK_PART04

Page 1


หลังจากดี ไซน์ ช่วงหลังจากการทำ�ดีไซน์ทั้งหมดเสร็จ แล้ว ในช่วงนี้หลายคนคิดว่าจะไม่พบปัญหา หรือ ไม่มีอะไรสำ�คัญมากแล้ว ทำ�ให้เกิดความชะล่าใจ และจะพบปัญหาในช่วงนี้เพราะว่าในการทำ�ธีสิส เราจะต้องส่งเป็นชิน้ งาน จึงต้องมีขนั้ ตอนการจัดทำ� Production และยังต้องนำ�ชิ้นงานนั้นๆ ไปเผยแพร่ สู่สาธารณะโดยการจัด Exhibition


1

Production

Exhibition

3

Benefit

2




Production

การจัดทำ� Production ของชิ้นงาน เป็นส่วนสุดท้ายของ การทำ�ผลงานออกแบบ ซึ่งนักศึกษามักจะชะล่าใจในช่วงนี้ เพราะ เป็นส่วนทีง่ านดีไซน์ของเราเสร็จสิน้ ไปแล้ว ซึง่ การจัดทำ� Production ต้องใช้เวลา และอาจมีความผิดพลาดเกิดขึ้นได้ ทั้งในเรื่องของ สื่อสิ่งพิมพ์ และงานที่ต้อง Render อย่างเช่น การพิมพ์โรงพิมพ์ ต้องใช้เวลาในการพิมพ์ บางครั้งก็คิวเยอะเพราะทุกมหาวิทยาลัย ก็ตอ้ งส่งช่วงเดียวกัน หรือช่วงปิดเทศกาล ก็อาจจะเกิดการพิมพ์เลท หรืออาจจะเลทจากตัวโรงพิมพ์เอง แล้วถ้าเกิดการพิมพ์แล้วไม่ได้ อย่างที่คิด ก็ต้องแก้ไขกันใหม่อีก

der n e r า ล ะใชเ้ ว er ทำ�ให้ จ จ า งทกี อ็ ว่าง rend ถทำ�ได้ า บ r ende ีปัญหาระห ทีที่สามาร R า ล ว อ้ งใชเ้ ดาห์ หรือม วรรีบทำ�ทัน ่ ี ต ท อ นวดี โี มด 2 สัป ะวัง และค า ง ะ ล ห แ ียวทั้ง ที่ต้องควรร ด เ ง า ่ อย ็เป็นช่วง ี้ก ช่วงน



เลือกโรงพิมพ์อย่างไรดี?

เลือกโรงพิมพ์สำ�คัญอย่างไร? ทำ�ไมถึงต้องรู้วิธีการ เลือกโรงพิมพ์ เพราะสำ�หรับคนที่ทำ�สื่อสิ่งพิมพ์ จะต้องมีการ ส่งต่อโรงพิมพ์หลังจากทำ�ดีไซน์เสร็จแล้ว ซึ่งเป็นการส่งงานต่อให้ โรงพิมพ์ท� ำ จึงทำ�ให้เกิดปัญหาทีไ่ ม่สามารถควบคุมได้ แตกต่างจาก สื่ออื่นที่สามารถ Render หรือ Export ออกมาให้จบได้ด้วยตัวเอง


วิธีที่ดีที่สุดในการสรรหาโรงพิมพ์คือ เลือกโรงพิมพ์ที่ ได้รับการแนะนำ�จากผู้ที่เคยมีประสบการณ์ หากท่านรู้จักใครที่ ต้องเกีย่ วข้องกับงานพิมพ์และใช้บริการจากโรงพิมพ์บอ่ ยๆ หรือรุน่ พี่ อาจารย์ ลองสอบถามว่าเค้าใช้โรงพิมพ์ไหน และงานประเภทใด ทีเ่ ค้าจัดส่งให้โรงพิมพ์ สิง่ เหล่านีจ้ ะเป็นตัวช่วยในการเลือกโรงพิมพ์ ให้เหมาะสมกับงาน แต่หากไม่รู้จักใครเลย ท่านควรประเมินถึงความยาก ง่ายของชิ้นงาน (สี, กระดาษ, การเข้าเล่ม, ฯลฯ) และจำ�นวน ที่ต้องการพิมพ์ จากนั้นจึงหาโรงพิมพ์ที่ตรงกับความต้องการ โดยลองสอบถามถึงความชำ�นาญของโรงพิมพ์ เช่นอาจถามถึง ประเภทของงานที่โรงพิมพ์นั้นทำ� จากนั้นขอตัวอย่างมาดู หรือเรา อาจลองดูว่าตัวแทนของโรงพิมพ์ที่เราคุยด้วยนั้น มีความรู้พอเพียง ที่จะตอบคำ�ถามของเราได้รึเปล่า

สิ่งที่เราควรคำ�นึงถึงอีกอย่างคือวัสดุที่จะใช้ในการพิมพ์ เพราะกระดาษมีให้เลือกหลากหลายแบบ มีหลายยีห่ อ้ ซึง่ การเลือก ใช้กระดาษจะมีผลต่อราคาของสิง่ พิมพ์ ดังนัน้ จึงควรเลือกกระดาษ ให้เหมาะสมกับงาน โดยไม่ลมื ว่างานพิมพ์ทดี่ ยี อ่ มต้องการคุณภาพ กระดาษที่ดีด้วย เมื่อเราเลือกโรงพิมพ์ได้แล้ว ก่อนเริ่มงานพิมพ์อย่าลืม สอบถามขั้นตอนในการพิมพ์ทั้งหมด และสอบถามให้แน่ใจว่าเรา จะสามารถแก้ไขหรือเปลีย่ นแปลงในขัน้ ตอนใดได้บา้ งและจะมีการ เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมหรือไม่




Exhibition การจัดเตรียมอุปกรณ์ในการจัด Exhibition ก็ ควรวางแผนให้ชัดเจนล่วงหน้า เพื่อไม่ให้เกิด ปั ญ หาว่ า หาของจั ด ไม่ ทั น หรื อ ต้ อ งรี บ จั ด ทำ � Production ของชิน้ งานหากยังต้องแก้ Design หรือ แก้ไขผลงาน Production ใหม่


เพื่อไม่ให้เกิดความไม่พร้อมของการจัดบูธก่อนการแสดง และพอเริ่มจัดแสดง เราต้องสือ่ สารกับคนทีเ่ ข้ามาชมผลงาน เพือ่ สร้างความเข้าใจถึงตัวผลงาน และกระบวนการคิด การทำ�งานของเราให้กับผู้ที่เข้ามารับชม เพราะบางทีผู้ที่มาชมผลงานอาจจะไม่เข้าใจ กระบวนการทำ�งานของเรา ทำ�ให้ไม่รู้ว่าเราทำ�อะไร บางทีการสื่อสารกับผู้ที่มาชมหรือ สร้างความเข้าใจกับชิ้นงานให้ผู้ที่เข้ามาชมจะช่วยทำ�ให้ชิ้นงานของเราดูหน้าสนใจยิ่งขึ้น เพราะผลงานที่น่าสนใจไม่ได้มีเพียงแต่ผลงานที่สวยที่สุดเพียงอย่างเดียว


Exhibition Team Work

ในการจัด Exhibition อาจจะมีความเห็นทีแ่ ตกต่างในการ ทำ�งานร่วมกันเป็นกลุ่มใหญ่ และยังมีปัญหาเกี่ยวกับการสื่อสาร กับคนทีเ่ ข้ามาชมงาน เพราะเป็นการเผยแพร่งานสูส่ าธารณะ ซึง่ เราต้องอาศัยการสื่อสารที่ชัดเจนกันในกลุ่ม ทั้งในเรื่องของการ ตกลงแบ่งหน้าที่ การวาง Concept สถานที่ ค่าใช้จ่ายทั้งหมด เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาเรื่องของความไม่เข้าใจกันภายหลัง เพราะ ปัญหาหลักของการทำ�งานของคนกลุ่มใหญ่คือการสื่อสารกันไม่ ทั่วถึง ทำ�ให้เข้าใจไม่ตรงกัน และถ้าหากเกิดการขัดแย้งมากจะ ส่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอีกด้วยซึ่งเป็นอีกปัญหา ใหญ่ ซึง่ การบริหารหรือรักษาความสัมพันธ์ระหว่างเพือ่ นร่วมงาน เป็นอีกเรื่องที่สำ�คัญเช่นกัน



DEGREE_RUN01.exe Run - - > DEGREE_PROJECT Loading . . DEGREE_COMPLETE.exe E_CO PLETE.exe Complete

DEGREE_PROJECT.exe เ ร า จ ะ ไ ด้ ป ร ะ โ ย ช น์ อ ะ ไ ร บ้ า ง ใ น ก า ร ทำ � ธี สิ ส โดยกลุ่ ม เป้ า หมายที่ เ ราตั้ ง ไว้ จ ะเกิ ด ประโยชน์ จ ากงานของ เราอยู่แล้ว สิ่งที่เราจะได้อีกอย่างคือการทำ�งานโปรเจคใหญ่ ระยะยาว ที่มีกระบวนการทำ�อย่างมีแบบแผน หรือเราอาจจะ ลองตั้งคำ�ถามกับตัวเราเองว่าเราได้อะไรอีกบ้าง เพราะสิ่งที่ได้ จากการทำ�ธีสสิ มีมากมายตลอดการทำ�งาน ประโยชน์ทไี่ ด้จะอยูใ่ น ทุ ก กระบวนการระหว่ า งการทำ � ธี สิ ส ตั้ ง แต่ ก ารศึ ก ษาตั ว เอง การตั้ ง หั ว ข้ อ การทำ � เอกสารในส่ ว นของเล่ ม ดำ � การนำ � เสนอ การหาข้อมูล การติดต่อสือ่ สารกับผูอ้ นื่ จนถึงการทำ�งานร่วมกันกับ ผูอ้ นื่ กับสือ่ สารกับคนอืน่ การจัดแสดงผลงาน สูส่ าธารณะ ในช่วง ของการจัด Exhibition


DEGREE_RUN02.exe Topic - - > Success Research - - > Success Presentation - - > Success

Benefit

Design Loading . . Benefit.exe

rror - Advisor (1669) Debug Advisor . . .

Design - - > Success Grade Loading . . Score (99) Grade (A)

หากได้มีโอกาสลองจดบันทึกสิ่งที่เราทำ�ตลอดการทำ�ธีสิสดูว่า เราได้ท�ำ อะไรไปบ้าง จุดเริม่ ต้นของงานเราคืออะไรผ่านกระบวนการ หรื อ พบเจออะไรมาบ้ า งจนทำ � ให้ ไ ด้ ผ ลงานชิ้ น นี้ ขึ้ น มา ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะมีประโยชน์กับตัวเรามากกว่าการที่มองว่าธีสิส คือโปรเจคงานออกแบบที่ทำ�พอผ่านไปทีเพื่อให้จบๆไป




< Interview >

< Advisor > - ผศ.ดร.พรรณี วิรุณานนท์ - ดร.ภัทรวุฒิ ทรัพย์เย็น - ดร.เขมิกา ธีรพงษ์ - ดร.มนน ธรานุรักษ์ - อ.จักรกฤษณ์ อนันตกุล

< BU > - คุณวุฒิ เกิดในมงคล - อทิตยา คลังผา - ฉัตรชัย สุเทพากุล - สถิตย์ เชื้อพรรณงาม - ฐานิต ลิขิตธรรมรักษ์ - ธีรวัฒน์ ธนติพุนนท์ - จิตรภาณุ ไทยประเสริฐ - วัชราภรณ์ ทองอร่ำ� - นฤมล ยิ้มฉวี - ชัยวัฒน์ ชัยศรีประเสริฐ - กัลยรัตน์ เเก้วสุทัศน์ - ธนภัทร สิทธิชัยวิจิตร

< / Advisor >


< / BU >

- ทวีชัย วงษ์ ไพศาล - ศรัณยู พงษ์พิทักษ์ - กชมล ทวิภาคธีรโชติ - ปัญจทรัพย์ ทองผลา - ชนาพร พัฒนเลิศรัตนไชย - พีรพล พิมพาภรณ์ - วรภร กันคล้อย - อภิวัจน์ ฉ่ำ�เฉื่อย - ชินกฤต เมืองช้าง - พสธร สุกใส - ธนพล วงค์ ใจแก้ว - ธวัชชัย คติทองเอก - กิตติกร วงศ์พิมล - กนกวรรณ ตรีพัฒนกุล - ลิปปกร ดวงเพชร - ณัช บุญรอด - สุภัทร ไชยสิโน - ศัลชัย วงศ์คำ� - ศุภกาญจ์ ฐาปนาชัยนุกูล - พิชารีย์ เลิศชัยประเสริฐ - สุภารัตน์ แก้ววงษา - อัฐวุฒิ รอบคอบ - ศศิชา กองแสน - ศรีสุดา มหิธิธรรมธ - สุริศรา เตชะนันท์นภัส - วรรณฎา ติปยานนท์ - ภูริริน ดลชวานนท์ - รวิวรรณ เภาพันธ์ - กุลธินี สันติวงศ์ - ฐาปกรณ์ นักเสียง

< SU > - ศิขพัทธ์ วิเชียร - แทนขวัญ ทรงพานิช - สรชา อ่างหิน - ทัชชญา ธีระธนะโชติ - กรศริน ภัทรโสภาคย์ - ขวัญนภา อนันรัตน์ - ปัณณพร ถาศักดิ์ < / SU >

< / Interview >

< Data > - ณัฐภัทร เหลืองรุ่งทิพย์. (2560). โครงการ ออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ “THES?S” . จาก https://isthisthesis.com/ - วิธีรับมือกับความกดดัน. (2560). สืบค้น 28 ธันวาคม 2560, จาก https://th.wikihow.com/รับมือกับความ กดดัน - วิธีการวางแผนการทำ�งานอย่างมี ประสิทธิผล. (2560). สืบค้น 28 ธันวาคม 2560, จาก https://th.wikihow.com/วางแผนการทำ�งาน อย่างมีประสิทธิผล < / Data >




DEGREE PROJECT

S U RV IV O R B O O K


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.