DEGREE-PROJECT_SURVIVOR-BOOK_PART03

Page 1


2

ช่ ว งเริ่ ม ต้ น ท� ำ ธี สิ ส เป็ น ช่ ว งที่ จ ะมี ป ั ญ หา ทีไ่ ม่คาดคิดเกิดขึน้ อยูม่ าก อย่างเช่นความเครียดความกดดัน หรือการที่เรา “ตัน” หรือคิดงานไม่ออก ซึ่งเราต้องทราบถึง วิ ธี ก ารเตรี ย มตั ว หรื อ วิ ธี ก ารรั บ มื อ กั บ ปั ญ หาต่ า งๆ ที่สามารถเกิดขึ้นได้ในระหว่างการท�ำธีสิส


3




ท�ำไมเราถึงต้องมีแผนการในการด�ำเนินงาน เพราะ ว่าเราต้องท�ำงานในระยะเวลาที่มีจ�ำกัด และระยะยาว หากเราไม่มีเป้าหมาย หรือแผนการ เราจะเริ่มท�ำงานใน ช่ ว งท้ า ยๆ ซึ่ ง จะท� ำ ให้ เ กิ ด ปั ญ หาในเรื่ อ งของเวลา ทีเ่ ป็นปัญหาทีค่ รอบคลุมการท�ำงานทัง้ หมด เพราะจะมีผล กับชิ้นงาน เช่นได้ปริมาณงานที่น้อย หรือไม่ครบถ้วน ตามที่อาจารย์ก�ำหนดไว้ จนถึงการเผางานท�ำให้คุณภาพ ของงานทีไ่ ด้ออกมาไม่ดี ทัง้ หมดนีเ้ ป็นปัญหาทีต่ อ่ เนือ่ งกัน เพราะฉะนัน้ การขาดแผนการในการท�ำงานเป็นปัญหาหลัก ของการท�ำธีสิส เราจึงต้องรู้วิํธีการวางแผนการท�ำงาน 6

STEP 0001 STEP 0002 STEP 0003 STEP 0004 STEP 0005 STEP 0006 06 STEP TEP 0007 0007 STEP 008 P


การท� ำ งานต้ อ งมี แ ผนการในการท� ำ งาน ซึ่ ง จะบ่ ง บอก สิ่งที่เราต้องท�ำทั้งหมด เพื่อให้เราทราบถึงทางที่จะบรรลุเป้าหมาย เพื่อให้งานส�ำเร็จ ซึ่งจะช่วยท�ำให้การท�ำงานของเรามีกระบวนการ ที่ครบถ้วนไม่ขาดตก หรือลืมท�ำอะไรซักอย่างไป

1. ถ้าเราจดบันทึกทุกอย่าง เราอาจพบว่า สิ่งที่จดไว้สามารถ ช่วยในการจัดการสิง่ ทีต่ อ้ งท�ำต่างๆ เป็นหมวดหมู่ได้ - สิ่งที่คิดหรือสิ่งที่จดต่างๆ - ตารางประจ�ำวัน - ตารางประจ�ำเดือน - ขั้นตอนและระยะเวลา - การศึกษาค้นคว้า - การติดตามผล - ผู้ที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่ต้องติดต่อ

2. ถ้าเราไม่รู้อย่างชัดเจน ว่าเราต้องการทีจ่ ะท�ำอะไร เราก็จะ ไม่สามารถก�ำหนดขั้นตอนในการ ท�ำงานได้ เพราะเราไม่รู้ถึงสิ่งที่ ต้องการจะท�ำ เราก็ไม่สามารถทีจ่ ะ รู้ถึงวิธีการท�ำให้เกิดผลส�ำเร็จได้ และหากเราไม่รู้ว่าสิ่งที่เราต้องการ คืออะไรแผนการด�ำเนินงานทีว่ างไว้ ก็อาจใช้ไม่ได้ผล เราจึงต้องพยายาม ก�ำหนดให้ชัดเจนว่าตัวเราต้องการ ที่จะท�ำอะไรให้ส�ำเร็จบ้าง

ก�ำหนดขัน้ ตอนการท�ำงาน และระยะเวลาเพือ่ วัดความคืบหน้า ขั้ น ตอนและระยะเวลาเป็ น สิ่ ง ที่ ช่วยบอกว่าเหลือระยะทางอีกเท่าไร งานของเราถึงจะบรรลุเป้าหมาย การก�ำหนดขั้นตอนและระยะเวลา ต่างๆ ไม่ใช่เรื่องยาก ตัวอย่างเช่น ท�ำโครงการ ออกแบบหนั ง สื อ ภาพประกอบ ไม่ ค วรก� ำ หนดขั้ น ตอนเป็ น บท ในหนังสือ แต่วางแผนเป็นระยะ สัน้ ๆ ปลายทางทัง้ หมดจะต้องวาด กี่ภาพ เราอาจจะวาดภาพให้ได้วัน ควรก�ำหนดให้เร็วทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็น ละสองหรือสามภาพ ไปได้ก่อนที่จะเริ่มการท�ำงาน และ แผนการท�ำงานต้องเฉพาะเจาะจง และเป็นไปตามความจริง เป็นไป ตามความจริงในที่นี้หมายถึงการที่ เราท�ำงานตามแผนการท�ำงานนั้น และสามารถบรรลุ เ ป้ า หมาย ตามที่วางไว้ได้

7


แบ่ ง งานใหญ่ อ อกเป็ น งานย่อยทีส่ ามารถจัดการได้งา่ ยขึน้ สาเหตุที่ต้องท�ำแบบนี้เพราะงาน หรือขั้นตอนบางอย่างอาจท�ำให้ ส� ำ เร็ จ ยากกว่ า งานอื่ น ถ้ า เห็ น ว่ า งานส่ ว นนั้ น เป็ น อะไรที่ ห นั ก ส�ำหรับเรา ให้แตกงานใหญ่นนั้ ออก ตัวอย่างเช่น เราอาจแบ่ง เป็นงานย่อยทีเ่ ราสามารถจัดการได้ งานเขียนบทเอกสารที่ เกี่ ยวข้ อ ง ง่ายมากขึ้น ออกเป็นสามส่วนนั่นคือ หาข้อมูล วิเคราะห์ และเขียนแทนทีจ่ ะมองว่า เป็นบทอย่างเดียว 8

เขียนรายการสิง่ ทีต่ อ้ งท�ำ ให้สำ� เร็จพร้อมก�ำหนดระยะเวลาเขียน แค่สิ่งที่ต้องท�ำอย่างเดียวไม่เพียง พอ เราต้องเขียนระยะเวลาในการ ท�ำลงไปพร้อมกับระบุการท�ำงาน ให้ชัดเจน ถ้าไม่มีก�ำหนดเวลาหรือ เส้นตายที่ชัดเจน สุดท้ายงานนั้น ก็จะไม่ส�ำเร็จทันเวลาที่ก�ำหนดไว้ และบางงานอาจไม่ มี ท างที่ จ ะ ส�ำเร็จได้เลย ไม่ว่าเราจะเลือก ท�ำงานอะไรในช่วงเวลาไหนก็ตาม เราต้องมีกำ� หนดเวลาในการท�ำงาน ของแต่ละส่วน


พอได้ เ ขี ย นรายการ สิ่งที่ต้องท�ำและก�ำหนดระยะเวลา ในการท� ำ งานแต่ ล ะส่ ว นแล้ ว ขัน้ ตอน ต่อไปคือการสร้างแผนภาพ การท�ำงานขึน้ มาอาจวาดเป็นแผนผัง แสดงขั้ น ตอนการท� ำ งาน หรื อ แผ่นตารางท�ำการ

ตรวจดูสวิ า่ ตนเองท�ำอะไร เสร็จไปบ้างแล้ว จะช่วยเป็นการ ทบทวนดูวา่ เราลืมท�ำอะไรไป หรือ มีอะไรตกหล่นหรือไม่

ปรั บ เปลี่ ย นก� ำ หนด เวลาถ้าจ�ำเป็น บางครั้งเหตุการณ์ ที่ ไ ม่ ค าดคิ ด อาจเกิ ด ขึ้ น ท� ำ ให้ เกิดอุปสรรค์ และท�ำให้งานของเรา เสร็ จ ล่ า ช้ า ไปอี ก เราอาจต้ อ ง ปรับระยะเวลา และลงมือท�ำงาน ส่ ว นต่ า งๆ จนกว่ า จะเสร็ จ สิ้ น จนบรรลุ เ ป้ า หมายตามที่ เ รา ได้ตั้งเอาไว้

9


การจัดเวลาจะช่วยท�ำให้การท�ำงานทั้งหมดบรรลุ ทั น เวลาที่ ก� ำ หนดไว้ ไ ด้ และจะช่ ว ยจั ด ตารางสิ่ ง ที่ ต ้ อ งท� ำ ในแต่ ล ะวั น อี ก ด้ ว ย ซึ่ ง ในการท� ำ ธี สิ ส เวลาทั้ ง หมดมี อ ยู ่ 4 เดือน และในแต่ละวันตลอดทั้งวันเราก็มีกิจวัตรประจ�ำวัน หรือธุระต่างๆ ซึ่งเราต้องจัดสรรเวลาเหล่านี้ให้ดี เพื่อให้มีเวลา ในการท�ำงาน เพราะถ้าหากลืมค�ำนึงถึงสิ่งเหล่านี้ อาจจะส่งผล ให้การท�ำงานไม่สามารถส�ำเร็จลุล่วงตามแผนงานที่วางไว้ได้

10

เราต้องมีสมุดจดบันทึก ตารางเวลา เราจะได้วางแผนว่า ในแต่ละชั่วโมงและแต่ละวันเรา ต้องท�ำอะไรบ้าง สมุดจดบันทึก ตารางเวลาควรอ่ า นและใช้ ง ่ า ย ไม่อย่างนั้นเราอาจไม่อยากใช้ก็ได้

เรามี สิ่ ง ที่ ต ้ อ งท� ำ มากมายก็จริง แต่เราจะเริ่มลงมือ ท�ำสิ่งเหล่านี้เมื่อไร รายการงานที่ ต้องท�ำอาจช่วยให้เราท�ำงานส�ำเร็จ ได้ไม่มากเท่ากับการก�ำหนดว่าจะ เริ่มท�ำงานเมื่อไร เมื่อเราจัดเวลา ในการท�ำงาน เราก็ได้ก�ำหนดเวลา การก� ำ หนดระยะเวลา ที่จะท�ำงานให้เสร็จแล้ว จะช่วยให้เรารู้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า ที่จริงแล้วในวันหนึ่งเราใช้เวลาไป มากเท่าไรกันแน่ อย่างน้อยควรรูว้ า่ งานหลักทีต่ นเองท�ำในหนึง่ เดือนนัน้ มีอะไรบ้าง


ผู ้ เ ชี่ ย วชาญหลายท่ า น แนะน� ำ ว่ า ควรนั่ ง วางแผนว่ า จะท�ำอะไรบ้างตั้งแต่เริ่มสัปดาห์ รู้ว่าควรใช้เวลาแต่ละวันให้ดีที่สุด อย่างไรเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย จัดตารางเวลาให้กบั งาน หรือกิจกรรมทางสังคมทีเ่ ราต้องท�ำ ถ้ า เห็ น ว่ า ตารางแน่ น อาจต้ อ ง ตัดภารกิจบางอย่างที่ส�ำคัญน้อย กว่าออกไปก่อน การตัดภารกิจที่ ไม่ ส� ำ คั ญ ออกไปไม่ ไ ด้ ห มายถึ ง การตั ด กิ จ กรรมทางสั ง คมออก การรักษาเพื่อนที่ดีเอาไว้และการ เอาใจใส่บคุ คลใกล้ชดิ เป็นสิง่ ส�ำคัญ

ผลการศึ ก ษาได้ แ สดง ให้ เ ห็ น ว่ า แม้ แ ต่ เ วลาว่ า งก็ ช ่ ว ย เพิ่ ม ความพึ ง พอใจกั บ ชี วิ ต ได้ ผลการศึ ก ษายั ง ได้ พิ สู จ น์ อี ก ว่ า ในความเป็ น จริ ง แล้ ว ชั่ ว โมงการ ท�ำงานที่ยาวนาน (50 ชั่วโมงขึ้นไป ต่อสัปดาห์) จะท�ำให้ประสิทธิภาพ ในการท�ำงานลดลง การนอนไม่ เ ต็ ม อิ่ ม จะ ท�ำให้เราท�ำงานได้ลดลง ฉะนั้น คนในวัยผู้ใหญ่ควรนอนหลับวันละ 7 ชั่วโมงและวัยรุ่นควรนอนหลับ อย่างน้อยวันละ 8.5 ชั่วโมง

11


12

รู ้ ว ่ า ในวั น หนึ่ ง ต้ อ ง ท�ำอะไรบ้าง จากตัวอย่างในกรณี มี ภ ารกิ จ ต้ อ งเขี ย นวิ ท ยานิ พ นธ์ ตารางในหนึ่งวันควรเป็นรูปแบบนี้ (ตัวอย่าง) 7.00 น. ตื่นนอน 8.30 น. อาบน�้ำและแต่งตัว 9.15 น. ทานอาหารเช้า 10.00 น. ท�ำธีสิส 12.15 น. ทานอาหารกลางวัน 14.00 น. วิเคราะห์ข้อมูลธีสิส 19.00 น. ทานอาหารเย็น

เราอาจเปลี่ ย นไปท� ำ อย่างอื่น แค่สัก 1 หรือ 2 วัน ต่อสัปดาห์ บางครั้งการเปลี่ยน ไปท� ำ อย่ า งอื่ น บ้ า งก็ ช ่ ว ยให้ เ รา สามารถกลับมาท�ำ งานหลักด้วย สมองที่แจ่มใส

มีการเผือ่ เวลาให้กบั ทุกๆ การท�ำงาน หากเกิดความล่าช้า หรือเหตุไม่คาดคิดระหว่างท�ำงาน นั้น หลักการง่ายๆ คือเพิ่มเวลา ในการท�ำงานแต่ละงานเป็นสองเท่า จากที่คาดไว้

รู้จักยืดหยุ่น โดยเฉพาะ ถ้ า เราเพิ่ ง เริ่ ม ลองท� ำ ตามแผน การท�ำงาน ขณะที่ก�ำลังพยายาม ท�ำตามแผนการท�ำงาน อาจมีเหตุ ให้ตอ้ งปรับเปลีย่ นตารางทีก่ ำ� หนดไว้ การปรับเปลีย่ นตามความเหมาะสม เป็นส่วนหนึง่ ของการเรียนรู้ หากว่า จะต้องมีการปรับเปลี่ยนเกิดขึ้น

ในแต่ละวันให้กำ� หนดเวลา เช็คอีเมลหรือสื่อสังคม เช็คอีเมล และสื่อสังคมตามเวลาที่ก�ำหนด อย่าเสียเวลาเช็คอีเมลทุกๆ 2-3 นาทีตลอดเวลา หรือลดการเช็ค อีเมลและเล่นโซเชียล


อีกปัญหาทีม่ กั พบระหว่างการท�ำธีสสิ คือการหมดไฟในการท�ำงาน เราอาจจะอยู่กับการท�ำงานระยะยาวแล้ ว เกิ ด ความเบื่ อ หน่ า ย หรื อ ท้อแท้ จากปริมาณงานที่มาก ความกดดันต่างๆ หรือปัญหาต่างๆ ที่ ต ้ อ งพบเจอตลอดการท� ำ งาน เราจึ ง ต้ อ งรั ก ษาแรงบั น ดาลใจ ในการท�ำงานไว้ เพื่อให้การท�ำงานสามารถด�ำเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง จนส�ำเร็จลุล่วงตามที่วางไว้

การมองโลกในแง่ ดี จะเป็นหลักที่น�ำเราไปสู่การบรรลุ เป้าหมาย เชื่อมั่นในตนเอง และ ผู้คนรอบข้าง

ให้ ร างวั ล กั บ ตนเอง แต่ ล ะครั้ ง ที่ ท� ำ ภารกิ จ เสร็ จ ตามระยะเวลาที่ก�ำหนด ให้รางวัล กั บ ตนเองในแบบที่ เ ป็ น รู ป ธรรม ตัวอย่างเช่น ท�ำอะไรก็ได้ทที่ ำ� ให้เรา เกิดความสุข เมื่อสามารถท�ำตาม แผนการท�ำงานได้สำ� เร็จ และไม่ควร ให้ ร างวั ล ตั ว เองบ่ อ ยจนเกิ น ไป เพราะมันจะกลายเป็นเรือ่ งธรรมดา

การมีเพือ่ นและครอบครัว คอยให้กำ� ลังใจนัน้ ส�ำคัญ เพราะการ อยูก่ บั ผูค้ นทีม่ เี ป้าหมายเดียวกับเรา ก็ ส� ำ คั ญเพราะเราจะได้ ส ามารถ ตรวจสอบความก้ า วหน้ า ของ กันและกันได้

ผลการวิจัยแสดงให้เห็น ว่าความก้าวหน้าเป็นแรงบันดาลใจ ที่ ดีที่ สุ ด เราสามารถติ ดตาม ความก้ า วหน้ า ได้ ด ้ ว ยการขี ด เครื่ อ งหมายถู ก หน้ า ภารกิ จ ที่ ท�ำเสร็จสิน้ ไปแล้ว

13


การได้ ห ยุ ด พั ก บ้ า ง ก็เป็นการรักษาแรงบันดาลใจถ้า เราท� ำ งานอยู ่ ต ลอดเวลา ก็ จ ะ ลงเอยด้วยความอ่อนล้าหมดแรง การหยุดพักจะช่วยป้องกันไม่ให้ ตนเองเหนื่อยจนหมดแรง อย่างเช่น การงีบกลางวัน หรือ Take a nap เป็นการนอน พักเรียกพลังในช่วงบ่ายหลังจาก รับประทานมือ้ เทีย่ งแล้ว โดยเฉพาะ เวลาที่เหมาะสมคือ ตั้งแต่ 13.0015.00 น. จะมี ห ลายแบบตาม ระยะเวลาดังนี้ 14

- 20 นาที แบบนีเ้ รียกว่า Power Nap ใช้เวลาสั้นแต่ได้ผลดี ช่วย ท�ำให้คุณรู้สึกกระปรี้กระเปร่า และ เพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงาน

- 30-60 นาที ช่วยเพิม่ ความทรงจ�ำ เช่น การจ�ำค�ำศัพท์ตา่ งๆ และทิศทาง รวมถึ ง เพิ่ ม ความคิ ด สร้ า งสรรค์ และ ช่วยท�ำให้เกิดทักษะในการ ตัดสินใจดีขนึ้ - 60-90 นาที เข้าสู่โหมดการนอน หลับ REM หรือ ท�ำให้การแก้ปญั หา ต่างๆ เป็นไปอย่างรอบคอบมากขึน้ เราควร Nap อย่ า งสม�่ ำ เสมอ ในระยะเวลาเดียวกัน และการ Nap ในห้ อ งที่ มื ด จะช่ ว ยท� ำ ให้ ห ลั บ เร็ ว ขึ้ น หรื อ ใส่ ที่ อุ ด หู ป ้ อ งกั น เสียงรบกวน เพื่อท�ำให้การนอน ระยะเวลาสั้ น ๆ เป็ น ไปอย่ า งมี ประสิทธิภาพมากที่สุด และเพื่อ หลี ก เลี่ ย งการหลั บ ลึ ก จึ ง ไม่ ค วร นอนราบ แต่ ค วรนอนยกตั ว ขึ้ น เล็กน้อยและผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ด้วยการหายใจเข้าออกช้าๆ

บางครัง้ เราอาจต้องใช้เวลาสักสอง สามนาทีนึกถึงเป้าหมายของตน และความรูส้ กึ เมือ่ ท�ำตามเป้าหมาย ได้ส�ำเร็จ การนึกภาพความส�ำเร็จ จะช่วยให้เราผ่านพ้นช่วงเวลาที่ ยากล�ำบากซึง่ อาจเกิดขึน้ ระหว่างที่ ก�ำลังไล่ตามเป้าหมาย


ในการท� ำ งาน ระยะยาวเราอาจจะ ท� ำ งานจากจุ ด หนึ่ ง ไป ยั ง อี ก จุ ด หนึ่ ง จนหลงลื ม ว่ า วัตถุประสงค์ในการท�ำงานของเรา คืออะไร บางคนอาจจะหลงทางกับสิ่ง ที่ก�ำลังท�ำอยู่ จนเกิดรู้สึกว่าสิ่งที่ท�ำอยู่ไม่ใช่ สิ่งที่เราต้องการจะท�ำจริงๆ ท�ำให้เกิดปัญหาที่จะ ท�ำให้งานไม่สามารถคืบหน้าไปต่อได้ เราจึงต้อง ทราบถึงเป้าหมายของตนเองอย่างชัดเจน ว่าสิ่งที่ เราท�ำอยู่เราท�ำเพราะอะไร วัตถุประสงค์ของเรา จริงๆ คืออะไร เพือ่ ไม่ให้เกิด ความสับสนกับ อุปสรรค์ทสี่ ามารถเจอได้ตลอดระหว่าง การท�ำธีสสิ

เขียนความต้องการของ ตนเองลงในบั น ทึ ก หรื อ กระดาษ การเขียนจะช่วยได้มากโดยเฉพาะ อย่างยิ่งเมื่อเราไม่แน่ใจว่าตนเอง ต้องการอะไรกันแน่ การเขียนความต้องการ ของตนเองลงในบันทึกเป็นประจ�ำ จะช่วยให้เราได้พูดคุยกับตนเอง และรู้ว่าตอนนี้ตัวเรารู้สึกอย่างไร หลายคนบอกว่าการเขียนออกมา ช่วยให้เข้าใจความรู้สึกของตัวเอง และรู้ว่าตัวเราต้องการอะไร

รูว้ า่ สิง่ ทีต่ นเองต้องการท�ำ คืออะไร ให้ค้นคว้าหาวิธีการท�ำให้ ส�ำเร็จ การค้นคว้าวิธีการท�ำตาม เป้ า หมายจะช่ ว ยให้ เ ราได้ วิ ธี ที่ ดีที่สุดในการบรรลุเป้าหมายนั้น เราอาจหาเว็ บ บอร์ ด ที่ แ ลกเปลี่ ย นความคิ ด ในเรื่ อ ง ต่างๆ ก็ได้ ถ้าอยากได้มุมมอง จากผู้อื่นต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ตน สนใจหรือสงสัย ถ้าโชคดีอาจมี ผู้เชี่ยวชาญเข้ามาตอบปัญหาของ เราก็ได้ตัวอย่างเช่น ขณะก�ำลัง ท� ำ ธี สิ ส เราเริ่ ม สงสั ย ว่ า ตนเอง จะได้อะไรเมือ่ ท�ำเสร็จ เราอาจลอง อ่านความคิดเห็นของคนที่ก�ำลัง ท�ำเช่นเดียวกันกับเรา เมื่อได้อ่าน มุมมองของคนเหล่านี้ต่อการท�ำ ศิลปนิพนธ์แล้ว อาจช่วยให้เรามี แรงบันดาลใจที่จะท�ำธีสิสต่อให้ เสร็จ และเมื่อทราบถึงวิธีต่างๆ อย่ า งละเอี ย ดและรู ้ ผ ลลั พ ธ์ ข อง แต่ละวิธีแล้ว เราก็จะรู้ว่าตนเอง ต้ อ งเลื อ กวิ ธี ว ่ า ทางไหนถึ ง จะ บรรลุเป้าหมายตามที่ต้องการ

เราอาจเจอปัจจัยที่อาจ ขัดขวางไม่ให้เราบรรลุเป้าหมาย ในกรณีการท�ำธีสิส ปัจจัยที่เป็น อุ ป สรรคต่ อ การเขี ย นอาจได้ แ ก่ จิตใจเหนื่อยล้า ขาดการค้นคว้า อย่างละเอียด หรือเรื่องอื่นๆ

15




PRESENTATION ERROR การน�ำเสนอเป็นการสื่อสารที่ทําให้คนอื่นได้เห็นมุมมองของเรา ว่าทําไมเราถึงสนใจ มันน่าสนใจอย่างไร ถ้าหากสิ่งที่เรานําเสนอเต็มไปด้วยข้อมูลที่เป็นตัวเลข มันจะไม่ต่างจากการที่เราส่งรายงานให้เขาอ่าน โดยสมองคนเรามีสองซีก ซีกขวาทํางานเกีย่ วกับความรูส้ กึ ซีกซ้ายทํางานด้านการคิดวิเคราะห์ ผูฟ้ งั จะใช้สมอง ซีกขวา ในการตัดสินวิธีการที่พูด การแต่งกายและภาษากาย ถ้่าหากเราให้แต่ข้อมูลจะทําให้การสื่อสารในการ น�ำเสนอเราต้องเล่าเรือ่ งสิง่ ทีเ่ ราท�ำทัง้ หมด ในระยะเวลาทีจ่ ำ� กัดเพราะฉะนัน้ เราอาจจะตัดส่วนทีไ่ ม่จำ� เป็นออกไป เช่นประวัติความเป็นมาทั้งหมด เราอาจจะเล่าแค่ว่าเราศึกษาเรื่องอะไร เราไปท�ำอะไรมาบ้าง และเรา เจออะไรมาบ้าง และผลออกมาเป็นอย่างไรให้กรรมการฟัง อย่างกระชับและเข้าใจง่าย เพราะกรรมการ ต้องท�ำความเข้าใจกับสิ่งที่เราจะท�ำในระยะเวลาที่สั้นเช่นเดียวกัน

18

การน� ำ เสนอถ้ า หาก นักศึกษาไม่ได้เตรียมตัว ในการ น�ำเสนอทัง้ ในเรือ่ งของการท�ำความ เข้ า ใจของข้ อ มู ล เรื่ อ งที่ เ ราจะ น�ำเสนอ หรือเตรียมการน�ำเสนอ ได้ไม่ชัดเจน จะท�ำให้การสื่อสาร กับกรรมการผิดพลาด หรือท�ำให้ กรรมการเข้าใจได้ไม่ชัดเจน ซึ่ ง มี ผ ลต่ อ การด� ำ เนิ น งานได้ ในขั้นต่อๆ ไปเช่นบางอย่างเรา ได้ท�ำการค้นคว้ามาแล้ว แต่เรา น�ำเสนอให้กรรมการเข้าใจไม่ได้ กรรมการก็จะติดแล้วให้เรากลับ ไปท�ำกระบวนการนั้นใหม่ ท�ำให้ ไม่เกิดการด�ำเนินงานในขั้นถัดไป เพราะ กรรมการยังติดในจุดนัน้ ๆ อยู่


และอาจเกิดการสับสนที่เกิดจาก กรรมการในห้องสอบ หรืออาจารย์ ทีป่ รึกษา มักเกิดจากการทีอ่ าจารย์ เห็นถึงปัญหา หรือความเป็นไปได้ ที่จะท�ำให้งานของเราสมบูรณ์ขึ้น โดยอาจจะมีมุมมองที่ว่าสิ่งที่เรา น�ำเสนอไม่สามารถท�ำได้ หรือไม่ เหมาะสม อาจท�ำให้ตัวนักศึกษา

เกิดความสับสนได้ อย่างเช่นเรา มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ แ น่ ชั ด แล้ ว ว่ า ศึกษาเรื่องเด็กติดโซเชียล แต่เรามี ความสนใจที่จะท�ำ Book Design และอาจารย์อาจมองเห็นว่ากลุ่ม เด็กที่ติดโซเชียลเขาจะอ่านหนังสือ หรือเปล่า ถ้าหากเรายืนยันที่จะท�ำ

19

เราจะต้ อ งมี ข ้ อ มู ล ที่ วิ เ คราะห์ กลุ ่ ม เป้ า หมายอย่ า งละเอี ย ด มาสนับสนุน เพราะฉะนั้นก่อนจะ ท� ำ การน� ำ เสนอ เราต้ อ งมี ก าร เตรียมตัวท�ำความเข้าใจกับข้อมูล และงานของเราให้ชัดเจนมากที่สุด และซ้อมน�ำเสนอก่อนการน�ำเสนอ เพื่อไม่ให้ตื่นเต้นจนเกินไปในเวลา ที่ต้องน�ำเสนอจริง




ความรูส้ กึ กระวนกระวาย หายใจเร็ว เวียนหัว และอารมณ์โกรธที่ระเบิด ออกมาเป็นแค่สัญญาณบางอย่าง ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ว่ า ความเครี ย ด ก�ำลังส่งผลต่อตัวคุณทั้งทางด้าน ร่างกายและจิตใจ สัญญาณของ ความเครียด

- ป่วยบ่อยขึ้น - รู้สึกกดดัน - รู้สึกปวดเมื่อย - ระบบย่อยอาหารมีปัญหา - ประสิทธิภาพในการท�ำงานลดลง - ตัดสินใจแบบหุนหันพลันแล่น - ปลีกตัวจากคนอื่น - รับประทานอาหารมากเกินไป หรือน้อยเกินไป - นอนมากเกินไปหรือน้อยเกินไป

22

ความกดดัน ความกดดันเป็นปัญหาที่เราจะพบได้ตลอดการท�ำธีสิส ซึ่งจะเป็นอุปสรรค์ อย่างใหญ่หลวงกับการท�ำงาน มันจะส่งผลท�ำให้เราไม่อยากท�ำงาน อาจจะท�ำให้เรา ท�ำงานได้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ หรือผลลัพธ์ของการท�ำงานออกมาได้ไม่ดี จนถึงท�ำให้ โรคต่างๆ เกี่ยวกับความเครียดเข้ามาได้เป็นอีกอุปสรรค์ได้


สาเหตุ ข องความเครี ย ดที่ เ รา สามารถควบคุมได้คือ สาเหตุของ ความเครียดที่เราสามารถท�ำอะไร สักอย่างเพื่อบรรเทาได้ในทันที ให้ จดจ่ออยู่แต่กับสาเหตุที่ควบคุมได้ เพราะการพยายามควบคุ ม สิ่ ง ที่ เราไม่สามารถควบคุมได้มีแต่จะ ท�ำให้เราเครียดมากขึ้น เมื่อเราหา ส่วนที่จะสามารถควบคุมได้ เราก็ จะสามารถหาหนทางในการก�ำจัด ความกดดันนั้นไปได้

23

เมื่ อ คุ ณ สามารถแยกปั ญ หาที ่ แก้ ไ ขได้ อ อกจากปั ญ หาที่ แ ก้ ไ ข ไม่ได้แล้ว ให้ระดมสมองเพื่อหา วิธีแก้ไขปัญหา ใช้วิธีการต่อไป นี้เพื่อให้คุณแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

เราต้องรู้ว่า อะไรคือสาเหตุของ ความเครี ย ดที่ ส ่ ง ผลกระทบต่ อ ตัวเราเองมากที่สุด เพือ่ ทีค่ ณุ จะได้ สร้างการเปลี่ยนแปลงในแง่บวกได้ สาเหตุของความเครียดอาจจะเป็น ปัจจัยภายนอก เช่น การเครียด กับการท�ำงานครอบครัว อาจารย์ หรือปัจจัยภายใน เช่น การเป็น

คนแสวงหาความสมบู ร ณ์ แ บบ ลองพิจารณาว่าตัวอย่างสาเหตุของ ความเครียดที่เป็นปัจจัยภายนอก และปั จ จั ย ภายในที่ พ บได้ ทั่ ว ไป เหล่านี้ตรงกับสถานการณ์ของเรา หรือเปล่า

- ท้าทาย ตัวเองด้วยการค้นหา แต่ละส่วนของปัญหา ที่มาของ ปัญหาเหล่านี้ และผลลัพธ์ที่เรา คาดหวัง - เขียนรายการ ตัวเลือก ที่แก้ไข แต่ละปัญหา พิจารณาข้อดีและ ข้อเสียในแต่ละตัวเลือก ต่อมา เลือกตัวเลือกที่จะช่วยให้คุณไปถึง ผลลัพธ์ที่เราคาดหวัง - สร้าง แผน ปฏิบตั กิ ารเพือ่ ท�ำตาม วิธีแก้ไขปัญหาภายในระยะเวลา ที่ท�ำได้จริง - ประเมิน ความก้าวหน้าของ เราเอง พิจารณาว่าเราพอใจกับ ผลลัพธ์หรือเปล่า ถ้าไม่พอใจให้กลับไปที่รายการ ตั ว เลื อ กอี ก ครั้ ง และปรั บ ปรุ ง แผนปฏิบัติการ


เมื่อเราต้องอยู่ใต้ความกดดันมากๆ ก็มีแนวโน้มว่าเราจะบังคับตัวเองให้ ท�ำงานไม่หยุดเพือ่ ชดเชยเวลาทีเ่ สียไปหรือเพือ่ ให้ทนั ก�ำหนดส่ง แต่การพัก เบรกจะท�ำให้เรากระปรีก้ ระเปร่าขึน้ ทัง้ ในแง่ของสมาธิ ความคิดสร้างสรรค์ และส่งผลให้ทำ� งานได้มากขึ้น ตั้งนาฬิกาในมือถือให้สั่นเตือนและพักสัก 2 นาทีหลังจากท�ำงานทุก 1 ชั่วโมงจะท�ำอะไรช่วงพักเบรกสั้นๆ เราแค่ บิดขี้เกียจ ดื่มน�้ำ เดินไปตรงส่วนอื่นของที่ท�ำงาน หรือจะให้ดีกว่านั้น ให้ไปเดินข้างนอกสักพักและสูดอากาศที่สดชื่น

24

เรามั ก จะรู ้ สึ ก ว่ า ตั ว เองอยู ่ ภ าย ใต้ความกด ด ันมากๆ เพราะเรา มัวแต่ยงุ่ มากกว่าจะมัวแต่ทำ� งานให้ ได้มากขึน้ วิธที ชี่ ว่ ยลดความเครียด และท�ำให้งานเสร็จมากขึ้นวิธีหนึ่ง ก็คอื จัดตารางงานในแต่ละวันตาม ล�ำดับความส�ำคัญ - ทุกเช้าหรือคืนก่อนหน้า ให้เขียน สิ่ ง ที่ ต ้ อ งท� ำ เขี ย นงานทุ ก งานที่ คุณต้องท�ำให้เสร็จภายในวันนั้น - จากนั้นให้เลือกงานที่ใหญ่เป็น พิเศษและแบ่งเป็นขั้นตอนเล็กๆ - สุดท้ายให้ทำ� เครือ่ งหมายรายการ ตามล�ำดับความส�ำคัญโดย

- งานที่ ส� ำ คั ญ ต่ อ การเรี ย น และในอนาคต หรื อ การเติ บ โต ส่วนบุคคล งานที่ช่วยสนับสนุน คนส�ำคัญในชีวิตของตัวเรา หรือ งานที่ทั้งเร่งด่วน และส�ำคัญ B - งานอะไรก็ตามที่ส�ำคัญ แต่ ไม่ได้มีปัจจัยเร่งด่วน C - งานที่ ถ ้ า ท� ำ ก็ ดี แต่ ไ ม่ ไ ด้ ส�ำคัญอะไรมาก - สุดท้ายให้เริม่ ท�ำงานตามรายการ สิ่งที่ต้องท�ำในแต่ละวัน โดยท�ำ รายการทีอ่ ยูใ่ นล�ำดับ A ให้เสร็จก่อน A


ไม่ ใ ช่ ค นที่ ส มบู ร ณ์ แ บบหนึ่ ง ในสาเหตุ ห ลั ก ที่ ค นเรามั ก จะ ทุกข์ทรมานจากความเครียดภายในก็เนื่องมาจากการ แสวงหาความสมบูรณ์แบบ การมีมาตรฐานสูงมักจะ สร้างจริยธรรมการท�ำงานและบุคลิกทีด่ ี แต่คน ที่แสวงหาความสมบูรณ์แบบนั้นมักจะ ตั้งมาตรฐานที่สูงมาก มาตรฐาน ทีเ่ อือ้ มไม่ถงึ หรือเอือ้ มถึงแต่ การพู ด แย่ ๆ กั บ ตั ว เองน� ำ ไปสู ่ ต้องอาศัย ความกดดัน ความโกรธเคือง ความคับข้องใจ ที่มาก และความผิ ด หวั ง เปลี่ ย นค� ำ วิพากษ์วิจารณ์ตัวเองในแง่ลบให้ กลายเป็นความคิดที่เป็นบวก และ ท�ำให้รู้สึกดีขึ้น - ในแต่ละวันให้จดการวิพากษ์ วิจารณ์ตัวเอง - จดสถานการณ์หรือสิง่ เร้าทีท่ ำ� ให้ เกิดความคิดนั้น พฤติกรรมและ ความรู้สึกของคุณเป็นอย่างไร การแสวงหาความสมบูรณ์แบบยัง อาจท�ำให้คุณรู้สึกเหมือนว่าโลก จะแตกถ้าคุณท�ำผิดพลาด การถาม ตัวเองว่าความผิดพลาดนั้นจริงๆ แล้วร้ายแรงแค่ไหนอาจช่วยให้คุณ ตระหนักได้ว่า การท�ำผิดพลาดนั้น จริงๆ แล้วเป็นแค่เรื่องพื้นฐานและ อาจช่วยให้เราเติบโต

- เขียนความคิดที่เข้ามาในหัวของ คุณเป๊ะๆ เช่น “เราคงท�ำธีสสิ ไม่ผา่ น” - เขียนว่าเกิดอะไรขึ้นหลังจาก เกิดความคิดนั้น เรารู้สึกอย่างไร การกระท�ำของเราเป็นอย่างไร - ตัดสินใจว่าคุณจะตอบโต้เรื่องนี้ กับเพื่อนอย่างไร เราจะแก้สิ่งที่เขา คิดไหม เราจะบอกจุดแข็งทั้งหมด ที่ เขามี ไหม ฝึ ก ท� ำ อย่ า งนี้ ให้ ได้ กับตัวเอง

25



คิดงานไม่ออกเป็นปัญหาอย่างมากตลอดการท�ำงาน ซึ่งจะมีผลท�ำให้การท�ำงานล่าช้า หรืออาจจะไม่สามารถ ส�ำเร็จลุล่วงได้ เพราะถ้าหากคิดงานไม่ออก จะท�ำให้เรา เกิดรู้สึกไม่อยากท�ำงานนั้นๆ ต่อไป และงานไม่สามารถ ด �ำเนินต่อไปได ้เมื่อเกิด ปัญหานี้ เพราะเป็นปัญหาที่เป็น จุดติด หรือปัญหาที่เมื่อเกิดจากส่งผลต่อเนื่องไปสู่การ ท�ำงานส่วนต่อๆ ไปได้

เวลาคิ ด อะไรไม่ อ อก สมองมันตีบมันตัน อาจเป็นเพราะ วิธีคิดเราผิด หรือไม่เข้าใจสิ่งที่จะ ต้องท�ำอย่างแท้จริง ก็ต้องทวนสิ่งที่ ต้องท�ำใหม่ อาจจะไปถามอาจารย์ ว่าจริงๆ แล้วเขาต้องการอะไรกันแน่ แล้วมาเรียงล�ำดับความคิดใหม่อีก ทีว่า ต้องใช้วิธีคิดอย่างไร จึงจะตี โจทย์แตก แล้วลองใหม่อีกครั้ง

ถ้ า สมองอ่ อ นล้ า มาก คิดต่อไปไม่ไหวแล้ว ก็ขอให้หยุด คิดจะดีกว่า ฝืนต่อไปก็คงคิดไม่ออก ลองเดินออกจากโต๊ะไปคุยกับเพื่อน แหล่งรวมของการเรียนรู้ ดูบา้ ง อาจเริม่ ด้วยการคุยบทสนทนา ทัว่ ๆไป เน้นเรือ่ งทีเ่ บาสมองเป็นหลัก และไอเดี ย ขนาดใหญ่ ส มั ย นี้ แล้วค่อยตบท้ายด้วยการถามหาไอ คงหนี ไ ม่ พ ้ น อิ น เทอร์ เ น็ ต และ เดียทีเ่ กีย่ วข้อง ทีค่ ณุ อาจเอามาต่อย โซเชี่ ย ลมี เ ดี ย ต่ า งๆที่ มี เ รื่ อ งราว อดความคิดในเรื่องที่ยังค้างคาอยู่ก็ มากมายดังนั้นถ้าหากเราสมองตัน ไม่เสียหาย หลายหัวช่วยกันคิด ดีกว่า ก็เลื่อนเม้าท์ไ ปเข้ า เน็ ต หาอะไร ดู เ พื่ อ ผ่ อ นคลาย หรื อ หาไอเดี ย นัง่ หมกมุน่ อยูค่ นเดียวอยูแ่ ล้ว ต่อยอดแนวคิดทีเ่ ราก�ำลังคิดอยูก่ ไ็ ด้ ลองโพสท์ถามไอเดียจากเพื่อนใน โซเชียลดูกไ็ ด้ อาจจะได้ความคิดใหม่ แบบทีค่ าดไม่ถงึ มาก่อน

เวลาคิดไม่ออกอย่าหมกมุน่ เวลาสมองตัน ก็ต้องพยายามท�ำให้ สมองโล่งๆ อย่าไปกดดันตัวเอง อะไรขนาดนั้น ยิ่งคิดวนไปวนมา ยิ่งคิดไม่ออก ถ้าเริ่มรู้สึกว่าใช้เวลา กับอะไรนานจนเกินไปให้หยุดคิด แล้วหันเหความสนใจไปท�ำอย่างอื่น สักพักค่อยกลับมาท�ำต่อจะท�ำให้ ได้ผลลัพธ์ทดี่ กี ว่า พักสักนิด



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.