สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
หน้า ๒
สารจากนายกสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
หน้า ๓
จากยุคกระดานชนวนถึงยุคกระดานอิเล็กทรอนิกส์ดิจิตอล : ปัญหาสังคม เศรษฐกิจ การศึกษามีไว้ให้แก้ไข ปรับปรุงและพัฒนา
หน้า ๙
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่แนวใหม่
หน้า ๑๓
การวิจั ยการประเมินคุณ ภาพการศึกษาภายในหน่วยศึกษาอบรมของสานักงาน ตารวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘ ลักษณะเฉพาะของแบบวัด (Test specification)
หน้า ๓๒ หน้า ๕๙
“การประชุ มทางวิ ชาการ และเผยแพ ร่ ผ ลงานวิ จั ยคั ดสรรระดั บชาติ : ปฏิรูปประเทศไทย : สู่ประเทศไทย 4.0 กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน”
ISSN 2351-0145
๒
สารจากนายกสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย สารสมาคมวิ จั ย สั งคมศาสตร์แ ห่ งประเทศไทย ฉบั บ นี้ เป็ น ปี ที่ ๓ ฉบั บ ที่ ๒ (พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙) สาหรับสมาชิกของสมาคมและผู้ที่สนใจทุกท่านครับ สารฉบับนี้จัดทาเป็นแบบ e-Book เพื่อใช้ในการสื่อสารกับสมาชิกของสมาคมวิจัย สังคมศาสตร์ แห่ งประเทศไทยทุกท่ านถึงกิจกรรมทางวิช าการที่ส าคัญ ที่ ส มาคมฯ ได้ ดาเนินการเพื่อสาธารณะประโยชน์และได้สรุปสาระสาคัญของการเตรียมการประชุมทางวิชาการและเผยแพร่ ผลการวิจัยระดับชาติและการประชุมใหญ่สามัญประจาปี ๒๕๕๙ ในวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๙ ณ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งจะมีกิจกรรมดังต่อไปนี้ ๑) การบรรยายพิเศษเรื่อง ปฏิรูปประเทศไทย: สู่ประเทศ ไทย ๔.๐ กับการพัฒนาที่ยั่งยืน ๒) การบรรยายพิเศษเรื่อง ก้าวสู่ประเทศไทย ๔.๐ ที่ยั่งยืน ๓) การบรรยาย พิเศษเรื่อง การพัฒนาที่ยั่งยืนในยุคประเทศไทย ๔.๐ และการประชุมใหญ่สามัญประจาปี ๒๕๕๙ ของสมาคม วิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย โดยจะมีวาระการประชุมคือ วาระที่ ๑ เรื่องรับรองรายงานการประชุมใหญ่ สามัญประจาปี ๒๕๕๘ วาระที่ ๒ เรื่องรายงานผลการดาเนินงานในรอบปี (แถลงกิจการของสมาคม รายรับ รายจ่าย และบัญชีงบดุลของสมาคม) วาระที่ ๓ เรื่องเสนอพิจารณา (การเลือกตั้งผู้ตรวจบัญชี การตรวจสอบ ระเบียนสมาชิก) นาเสนอผลการวิจัยรับเชิญ ๓ เรื่อง ได้แก่ ๑) การค้าระหว่างประเทศเพื่อลดความเหลื่อมล้า และการเติบ โตอย่ างสมดุล สาหรับ ประเทศไทย ๒) การพัฒ นาระบบการทดสอบแบบปรับเหมาะออนไลน์ สาหรับการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพของบุคลากรสาขาไอที และ ๓)การสังเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพ การศึกษาไทย (รอบ๓ : ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘) และจะมีการนาเสนอผลการวิจัยคัดสรร ประมาณ ๖ เรื่อง ตามผู้ที่ สนใจส่งงานวิจัยมาให้พิจารณา บทความในสารฉบับนี้ได้รับความอนุเคราะห์จากนักเขียนหลายท่าน ประกอบด้วย ๑) จากยุคกระดาน ชนวนถึงยุคกระดานอิเล็กทรอนิกส์ดิจิตอล: ปัญหาสังคม เศรษฐกิจ การศึกษามีไว้ให้แก้ไข ปรับปรุงและพัฒนา โดยรศ. ศิลปชัย บูรณพานิช ๒) การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่แนวใหม่ โดยดร. คมศร วงษ์รักษา ๓) การ วิจัยการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในหน่วยศึกษาอบรมของสานักงานตารวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘ โดย กิจพิณิฐ อุสาโห ๔) ลักษณะเฉพาะของแบบวัด (Test specification) โดยรศ.ดร.โชติกา ภาษีผล การจัดทาสารสมาคมฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ขอขอบคุณรองศาสตราจารย์ ศักดา บุญยไวโรจน์ ที่ ช่วยประสานงานกิจกรรมต่างๆ ของสมาคมได้อย่างยอดเยี่ยม และอาจารย์อังค์วรา วงษ์รักษา ที่ช่วยเป็น บรรณาธิการฉบับนี้จนมีเนื้อหาสาระครบถ้วนสมบูรณ์ ท้ายสุดนี้ ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลก โปรดดลบันดาลให้ คณะกรรมการและสมาชิ กทุก ท่าน เจริญ ด้ว ยอายุ วรรณะ สุ ขะ พละ และประสบความส าเร็จในสิ่ งที่คิ ด สัมฤทธิผลในสิ่งที่ปรารถนาทุกประการเทอญ
ด้วยความเคารพรัก ศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๓
จากยุคกระดานชนวนถึงยุคกระดานอิเล็กทรอนิกส์ดิจิตอล : ปัญหาสังคม เศรษฐกิจ การศึกษามีไว้ให้แก้ไข ปรับปรุงและพัฒนา รศ. ศิลปชัย บูรณพานิช ใครที่เกิดก่อนกึ่งพุทธกาล(พ.ศ. ๒๕๐๐) คงมีโอกาสได้ใช้กระดานชนวนที่จัดเป็นนวัตกรรมทางด้าน วัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษาอย่างหนึ่งในสมัยนั้น เป็นอุปกรณ์ประจากายของนักเรียนบ้านนอกอย่างผม ตัว กระดานชนวนมีรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดประมาณ Ipad ยุคดิจิตอล สะดวกในการเขียนด้วยดินสอหินปลาย แหลม เมื่อเขียนผิดหรือต้องการแก้ไขสามารถลบได้ด้วยน้า เมื่อปลายดินสอทู่ก็นาปลายดินสอไปฝนกับก้อนหิน ผิ ว หยาบ ๆ หรื อ ที่ ช อบใช้ กัน มาก ๆ ก็ คื อ บริเวณอ่ างซี เมนต์ ล้ างเท้ าขึ้ น อาคารเรี ยน เส้ น ทางการพั ฒ นา การศึกษาไทยจากยุคกระดานชนวน ดินสอหินจนถึงการใช้ปลายนิ้วหรือดินสออิเล็กทรอนิกส์ในอุปกรณ์หรือ เครื่องมือยุคดิจิตอลใช้เวลากว่าหกสิบปีที่ส่งผลให้สังคม เศรษฐกิจ การศึกษาในประเทศของเราเป็นเช่นทุกวันนี้ ที่เรากาลังก้าวเข้าสู่แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔กรอบทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ และการดาเนินนโยบาย “ประเทศไทย ๔.๐” ที่เชื่อมต่อกับ”ยุทธศาสตร์ ๒๐ ปี” โดยภาครัฐและประชาสังคมเชื่อว่าจะสามารถนาพาประเทศไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนอย่างแท้จริง แนวทางของ(ร่าง)กรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔โดยส านั ก งานเลขาธิ ก ารสภา การศึ ก ษาในฐานะหน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบการจั ด ท า แผนการศึ กษาแห่ งชาติ ดาเนิ นการในการจัด ทาแผน ยุทธศาสตร์ระยะยาวส าหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ การศึ ก ษาทั้ ง ที่ อ ยู่ ในกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารและนอก กระทรวงศึกษาธิการ เป็นกรอบและแนวทางการพัฒนา การศึกษาและการเรียนรู้สาหรับพลเมืองทุกช่วงวัยตั้งแต่เกิดจนตลอดชีวิตให้บรรลุผลตามเป้าหมายของแผนฯ โดยจุดมุ่งหมายที่สาคัญของแผนคือการมุ่งเน้นการประกันโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาการพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและการศึกษาเพื่อการมีงานทาและสร้างงานได้ภายใต้บริบทเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศและของโลกที่ขับ เคลื่อนด้วยนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์รวมทั้งมีความเป็นพลวัต ภายใต้ สั งคมแห่ งปั ญ ญา (Wisdom-Based Society) สั งคมแห่ งการเรีย นรู้ (Lifelong Learning Society) และการสร้ างสภาพแวดล้ อ มที่ เอื้ อต่ อการเรียนรู้ (Supportive Learning Environment) เพื่ อให้ พ ลเมื อ ง สามารถแสวงหาความรู้และเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตเพื่อให้ประเทศไทยสามารถก้าวข้าม กับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วในอีก๑๕ปีข้างหน้า สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๔
ตาม(ร่าง)กรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ได้ระบุถึงปัญหาและวิเคราะห์ ปัญหาเกี่ยวกับวิกฤตการศึกษาว่า วิกฤตของการศึกษาไทยสะสมมานาน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาความแตกต่างของ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาระหว่างสถานศึกษาปัญหาการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ปัญหาความเหลื่อมล้าใน โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาปัญหาสถานศึกษาขนาดเล็กในชนบทปัญ หาการรวมศูนย์อานาจเข้าสู่ ส่วนกลางแม้กระทั่งการกระจายอานาจไปสู่สถานศึกษาแต่ก็บริหารและจัดการที่ขาดความรับผิดชอบต่อผู้เรียน มุ่งผลิตในเชิงปริมาณมากกว่าคุณภาพและผลิตกาลังคนไม่สนองตอบความต้องการของตลาดแรงงานและการ พัฒนาประเทศผู้สาเร็จการศึกษาขาดทักษะการคิดวิเคราะห์การใช้เหตุผลและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑และสมรรถนะในการปฏิบัติงานซึ่งส่งผลกระทบต่อผลิตภาพของกาลังแรงงานภายใต้ระบบเศรษฐกิจและ สังคมที่ประเทศไทยกาลังเผชิญในขณะนี้ประเทศไทยยังต้องเผชิญกับความท้าทายที่เป็นพลวัตของโลกศตวรรษ ที่๒๑ซึ่งเป็นแรงกดดันภายนอกจากกระแสโลกาภิวัตน์อาทิกระแสการเปลี่ยนแปลงจากศตวรรษแห่งอเมริกาสู่ ศตวรรษแห่งเอเชียแรงขับ เคลื่อนในระดับ ภูมิภ าคซึ่งเกิดจากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจภายใต้กรอบความ ร่วมมือทวิภาคีและพหุภาคีอาทิการรวมกลุ่มของประชาคมอาเซียนการรวมกลุ่มของเอเชียตะวันออกรวมทั้ง กระแสการเปลี่ยนแกนอานาจจากภาครัฐและเอกชนสู่ภาคประชาชนซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญที่เกิดขึ้น บนโลกภายใต้ทุนนิยมโลกที่ประเทศไทยไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้รวมทั้งแรงกดดันจากภายในประเทศที่เป็น ปัญหาวิกฤตเช่นกันอาทิความเหลื่อมล้าของโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาที่ส่งผลต่อความเหลื่ อมล้า ของการกระจายรายได้ปัญหาวิกฤตด้านความมั่นคงปัญหาการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรและครัวเรือน รวมทั้งปัญหาการก้าวข้ามกับดักประเทศรายได้ปานกลางตลอดจนการเปลี่ยนแปลงไปตามพลวัตแบบก้าว กระโดดของเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมใหม่ ตาม(ร่าง)กรอบทิศทางแผนการศึกษาฯ ได้วิเคราะห์ว่า ปัญหาของการศึกษาที่เกิดขึ้นดังกล่าวเป็น ปัญหาเชิงโครงสร้างและระบบการบริหารจัดการที่ขาดประสิทธิภาพติดยึดกับระบบความคิดแบบเดิมไม่คิด ออกนอกกรอบทาให้โครงสร้างและระบบการศึกษาก้าวไม่ทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นพลวัตและไม่ สามารถวิวัฒน์ตนเองให้พัฒนาไปสู่ระบบการศึกษาและการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals:SDGs) ภายใต้แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Growth) ที่พลเมืองส่วนใหญ่มีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียมและทั่วถึงและบริบทของการจัดการศึกษาเพื่อความเท่า เทียมและทั่วถึง (Inclusive Education) เพื่อให้พลเมืองสามารถแสวงหาความรู้และเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิตรวมทั้งสามารถยกฐานะและชนชั้นทางสังคมอันนาไปสู่การสร้างความผาสุกร่วมกันในสังคม ของชนในชาติและลดความเหลื่อมล้าในการกระจายรายได้ของชนชั้นต่างๆในสังคมให้มีความทัดเทียมกันมาก ขึ้นเพื่อให้ประเทศไทยสามารถก้าวพ้นกับดักประเทศรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศพัฒนาใน๑๕ปีข้างหน้าโดย (ร่าง) กรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่ งชาติฉบั บนี้จะเป็น เสมือนหนึ่งแผนที่นาทางให้ ระบบการศึกษาไทย สามารถพั ฒ นาศั ก ยภาพและขี ด ความสามารถของทุ น มนุ ษ ย์ ที่ มี อ ยู่ในตั ว ตนของแต่ ล ะบุ คคลให้ เต็ ม ตาม ศักยภาพสาหรับประชากรทุกช่วงวัยตั้งแต่เกิดจนตลอดชีวิตที่ประชาชนสามารถแสวงหาความรู้และเรียนรู้ได้ ด้ ว ยตนเองอย่ างต่ อ เนื่ อ งตลอดชี วิ ต โดยมี เป้ าหมายของการพั ฒ นาการศึ ก ษา๕ประการได้ แ ก่ ก ารเข้ าถึ ง (Access) ความเท่าเทียม (Equity) คุณภาพ (Quality)ประสิทธิภาพ (Efficiency) และการตอบโจทย์บริบทที่ สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๕
เปลี่ยนแปลง(Relevancy) ภายใต้บริบทเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลกที่เป็นพลวัตซึ่งกาหนด วิสัยทัศน์จุดมุ่งหมายความคาดหวังเป้าหมายสุดท้ายของแผนดังนี้ ๑. วิสัยทัศน์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ (Vision)ให้ความสาคัญกับการสร้างระบบการศึกษาที่มี คุณภาพและมีประสิทธิภาพเพื่อเป็นกลไกหลักของการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของทุนมนุษย์และ รองรับการศึกษาการเรียนรู้และความท้าทายที่เป็นพลวัตของโลกศตวรรษที่๒๑ ๒. จุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษา(Goals)การศึกษาเป็นเครื่องมือ/กลไกในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มี ความเป็ น พลเมือง (เป็ นคนดีมีวินัยเป็ นพลเมืองที่ดีและมีคุณ ภาพของสังคมประเทศและของโลก) มีทักษะ ความรู้ความสามารถและสมรรถนะในการปฏิบัติงานที่ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานและการ พัฒ นาประเทศ(สามารถเรียนรู้ได้ตามความถนัดความสนใจ) และดารงชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุข (มีงานทามี อาชีพมีรายได้รวมทั้งสามารถปรับตัวและดารงชีวิตในสังคมได้อย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและ สังคมพหุวัฒนธรรมที่เป็นพลวัตในโลกศตวรรษที่๒๑ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) ๓.ความคาดหวังของแผนการศึกษาแห่งชาติ (Aspiration) ลดความแตกต่างในคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาระหว่างสถานศึกษา - สถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนสามารถจัดการศึ กษาที่มีคุณภาพไม่ต่ากว่ามาตรฐานขั้น ต่าที่รัฐกาหนด - สถานศึ ก ษามี ค วามเชี่ ย วชาญและความเป็ น เลิ ศ ในการผลิ ต และพั ฒ นาก าลั ง คนที่ สนองตอบความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒ นาประเทศรวมทั้งความท้าทายที่เป็นพลวัตของโลก ศตวรรษที่๒๑ เพิ่ ม โอกาสและความเสมอภาคในการเข้ า ถึ ง บริ ก ารการศึ ก ษาที่ มี คุ ณ ภาพและ มาตรฐาน - ประชากรทุ ก คนที่ อ ยู่ ในวัย เรี ย นได้ รับ การศึ ก ษาไม่ ต่ ากว่า การศึ ก ษาภาคบั งคั บ ที่ มี คุณภาพและมาตรฐานเพื่อพัฒนาขีดความสามารถให้เต็มตามศักยภาพที่มีอยู่ในตัวตนของแต่ละบุคคล - ประชากรที่ อ ยู่ ในก าลั ง แรงงานได้ รั บ การพั ฒ นาทั ก ษะความรู้ ค วามสามารถและ สมรรถนะที่ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศผ่านระบบการทดสอบวัดและ ประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcome) ทั้งการเรียนรู้จากการศึกษาในระบบโรงเรียนการศึกษา นอกระบบโรงเรียนการศึกษาตามอัธยาศัยและประสบการณ์จากการทางานผ่านการสะสมหน่วยการเรียนและ การเทียบโอนเพื่อยกระดับคุณวุฒิตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ กระจายอานาจและความรับผิดชอบไปสู่สถานศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน - สถานศึกษาที่มีคุณภาพมาตรฐานมีศักยภาพและความพร้อมสามารถเปลี่ยนสถานะเป็น สถานศึกษานิติบุคคลในกากับเพื่อความเป็นอิสระคล่องตัวและรับผิดชอบต่อคุณภาพการศึกษาของผู้เรียน - สถานศึกษาที่มีคุณภาพมาตรฐานแต่ขาดศักยภาพและความพร้อมได้รับการพัฒนาและ เตรียมความพร้อมในการเปลี่ยนสถานะเป็นสถานศึกษานิติบุคคลในกากับเพื่อความเป็นอิสระคล่องตัวและ รับผิดชอบต่อคุณภาพการศึกษาของผู้เรียน สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๖
เพิ่มประสิทธิภาพและลดความสูญเปล่าของการบริหารจัดการเพื่อรองรับการแข่งขัน อย่างเป็นธรรมภายใต้การกากับของรัฐ - ลดบทบาทอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบและขนาดของหน่วยงานส่วนกลางและส่วน ภูมิภาคจากการเป็นผู้จัดการศึกษาเป็นหลักมาเป็นผู้กากับนโยบายแผนมาตรฐานส่งเสริมสนับสนุนติดตาม ประเมินผลควบคู่กับการกระจายอานาจการจัดการศึกษาไปสู่สถานศึกษา - ควบรวมสถานศึกษาที่มีขนาดและจานวนผู้เรียนต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานและไม่อยู่ใน สภาพและสถานะของความเป็นโรงเรียนมีครูไม่ครบชั้นไม่ได้คุณภาพมาตรฐานและประสิทธิภาพการบริหาร จัดการเพื่อให้มีจานวนและขนาดสถานศึกษาที่เหมาะสมภายใต้บริบทของโครงสร้างประชากรที่ลดลงอย่าง ต่อเนื่องในอีก๓๐ปีข้างหน้าโดยเปลี่ยนสถานภาพเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนตามความต้องการจาเป็น - ส่ งเสริมสนั บ สนุ น สถาบัน อุดมศึกษาผลิ ตบัณ ฑิ ตในคณะ/สาขาวิช าที่ ส ถาบัน มีความ เชี่ยวชาญเพื่อความเป็นเลิศหรือเป็นความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศและลดการผลิต บัณฑิตในคณะ/สาขาวิชาที่เกินความต้องการของตลาดแรงงาน - ควบรวมสถาบันอุดมศึกษาเพื่อให้มีจานวนและขนาดที่เหมาะสมกับการผลิตกาลังคน เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศในอนาคต สร้างการมีส่วนร่วมในการระดมทุนและการสนองทุนเพื่อการศึกษาจากทุกภาคส่วน ของสังคม - ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนของสังคมที่มีศักยภาพและความพร้อมเข้ามามีส่วนร่วม ในการระดมทุนและสนองทุนเพื่อการศึกษาโดยเฉพาะสถานประกอบการสถาบัน /องค์กรต่างๆในสังคมและ ผู้เรียน ๔. เป้าหมายสุดท้ายของแผนการศึกษาแห่งชาติ (Ends) ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพสามารถเป็นกลไกในการพัฒ นาศักยภาพ และขี ด ความสามารถของทุ น มนุ ษ ย์ (Productivity) ที่ ต อบสนองความต้ อ งการของ ตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศเพื่อให้ประเทศสามารถก้าวข้ามกับดับของประเทศที่ มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างยั่งยืนภายใต้พลวัตของโลกศตวรรษที่๒๑ ประชากรทุกช่ วงวัย สามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาคทางการศึ กษาและการ เรียนรู้จากระบบการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นหลากหลายและสนองตอบความต้องการของ ผู้เรียนเพื่อยกระดับ ชนชั้นของสังคมภายใต้ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ (KnowledgeBased Economy) ที่เอื้อต่อการสร้างสังคมแห่งปัญญาและการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ที่ประชาชนสามารถแสวงหาความรู้และเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ผู้เรียนแต่ละระดับการศึกษาได้รับการพัฒนาขีดความสามารถเต็มตามศักยภาพที่มีอยู่ใน ตัวตนของแต่ล ะบุ คคลและมี คุณ ลั กษณะนิสั ย /พฤติกรรมที่พึ งประสงค์มีองค์ความรู้ที่ สาคัญและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่๒๑ รวมทั้งทักษะการดารงชีวิตและทักษะความรู้ สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๗
ความสามารถและสมรรถนะในการปฏิบัติงานที่ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ภาคการศึ ก ษามี ท รั พ ยากรและทุ น ที่ เพี ย งพอส าหรั บ การจั ด การศึ ก ษาที่ มี คุ ณ ภาพ มาตรฐานจากการมีส่วนร่วมในการระดมทุนและสนองทุนเพื่อการศึกษาจากทุกภาคส่วน ของสั งคมผ่ านการเสี ย ภาษี ต ามสิ ท ธิ และหน้ าที่ ของพลเมื อ งการบริจาคและการร่ว ม รับภาระค่าใช้จ่ายทางการศึกษา สถานศึกษามีระบบการบริหารและการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพด้วยคุณภาพและ มาตรฐานระดับสากลสามารถให้บริการการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของบริบทเชิง พื้ น ที่ ร ะดั บ ประเทศและระดั บ ภู มิ ภ าคในฐานะที่ เป็ น ศู น ย์ ก ลางของการบริ ก ารด้ า น การศึก ษาในภู มิ ภ าคอาเซี ยน (Hub for Education) และเป็ น ภาคเศรษฐกิจ หนึ่ งของ ระบบเศรษฐกิจของประเทศและของภูมิภาคที่สร้างรายได้ให้กับประเทศไทย จาก(ร่าง) กรอบทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ได้กาหนดยุทธศาสตร์ ๑๐ยุทธศาสตร์ไว้ในแผนฯ ฉบับที่ ๑๒ดังนี้ ยุทธศาสตร์ท๑ี่ การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่๒การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้าในสังคม ยุทธศาสตร์ที่๓การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่๔การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่๕การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่๖ การบริหารจัดการในภาครัฐการป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลใน สังคมไทย ยุทธศาสตร์ที่๗การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ ยุทธศาสตร์ที่๘การพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีวิจัยและนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่๙การพัฒนาภาคเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ที่๑๐ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๘
การจั ด ท า(ร่ า ง) กรอบทิ ศ ทางของแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ ๑๒ เมื่อวิเคราะห์โดยภาพรวมแล้วจะมีความสอดรับกับกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) ดังวิสัย ทัศน์ ที่กาหนดว่า “ประเทศมีความมั่น คงมั่งคั่งยั่งยืน เป็น ประเทศพั ฒ นาแล้วด้วยการพั ฒ นาตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”นาไปสู่การพัฒ นาให้คนไทยมีความสุขและตอบสนองตอบต่อการบรรลุซึ่ง ผลประโยชน์แห่งชาติซึ่งกาหนดด้วยยุทธศาสตร์ ๖ยุทธศาสตร์ คือ ความมั่นคง การสร้างความสามารถในการ แข่งขันการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคมการ สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ภาครัฐ โดยภาครั ฐ จะด าเนิ น การขับ เคลื่ อนปฏิ รูปประเทศผ่ านโมเดล “ประเทศไทย ๔.๐” ที่ เชื่อ มต่อกั บ “ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ปี” ผ่าน ๓ กลไกสาคัญ คือ ๑. การขับเคลื่อนประเทศด้วยนวัตกรรม ปัญญา เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์เพื่อแข่งขันได้ในเวทีโลก ๒. การกระจายรายได้ โอกาสและความมั่งคั่งอย่างเท่าเทียม และ ๓. การพัฒนาและใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในการดาเนินการพัฒ นาและแก้ปัญหาสังคม เศรษฐกิจ การศึกษาปัจจัยความสาเร็จสาคัญก็คือการดาเนินการอย่างต่อ เนื่องตามแผนและยุทธศาสตร์ที่ผ่าน การวิเคราะห์ สังเคราะห์ด้วยกระบวนการวิจัยและพัฒนาเป็นฐานสาคัญ
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๙
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่แนวใหม่ ดร. คมศร วงษ์รักษา
เมื่ อ พู ด ถึ ง การป ระเมิ น คุ ณ ภ าพ การศึ กษานั้น เป็ นระบบย่อยระบบหนึ่งของ การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของไทยที่ มี ความเป็นระบบ จากพระราชบัญญัติการศึกษา แห่ งชาติ ฉ บั บ ปี พ.ศ.๒๕๔๒ แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม พ.ศ.๒๕๔๕ ในหมวด ๖ ว่าด้วยมาตรฐานและ การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา มี ม าตราที่ เกี่ยวข้องคือมาตรา ๔๗-๕๑ โดยสรุปมาตรา ๔๗ คื อ ก าหนดให้ มี ก ารประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษาของไทย ๒ แบบ คือการประกัน คุณ ภาพภายใน และการประกันคุณ ภาพภายนอก มาตรา ๔๘ กาหนดให้ การประกันคุณ ภายภายในเป็ น หน้าที่ของบุคลากรของสถานศึกษาให้ ถือว่าการประกันคุณ ภาพ ภายในเป็ น เครื่องมือของผู้ บ ริห ารสถานศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องและรายงานให้ ต้นสั งกัดและ สาธารณชนได้ทราบทุกปี มาตรา ๔๙ กาหนดให้มีสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) เรียกโดยย่อว่า สมศ. เป็นองค์กรภายนอกที่ทาหน้าที่ประเมินสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อย ๑ ครั้งในทุ ก ๕ ปี มาตรา ๕๐ ให้ ส ถานศึกษาทุกแห่ งให้ ความร่ว มมือในการเตรียมบุคลากร หรือร่องรอย หลักฐานเพื่อรับการประเมินจาก สมศ. และมาตรา ๕๑ กาหนดให้สถานศึกษาที่ยังไม่ได้มาตรฐานเมื่อได้รับ คาแนะนาจากการประเมินของ สมศ. ในช่วงเวลาที่กาหนดแล้ว ถ้าสถานศึกษาไม่ดาเนินการให้ สมศ. รายงาน ให้คณะกรรมการบริหารองค์กรหลักหรือต้นสังกัดได้ทราบเพื่อทาให้เกิดการพัฒนาต่อไป การเริ่มการประกันคุณภาพการศึกษาของไทยเรามิได้เริ่มจากการประกันคุณภาพภายในให้เข้มแข็ง เสี ย ก่อนตั้งแต่ช่วงเริ่มต้น บุ คลากรทางการศึกษายังไม่เข้าใจระบบประกันคุณ ภาพการศึกษาอย่างชัดเจน โดยเฉพาะการประกัน คุณภาพภายในซึ่งเป็นหัวใจสาคัญที่ทาให้เกิดผลกับผู้เรียนโดยตรง ส่วนการประกัน คุณภาพภายนอกเป็นหน้าที่ของ สมศ. ที่จ ะสะท้อนความสาเร็จของการประกันคุณ ภาพภายใน การเริ่มต้น ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของไทยเราเริ่มเดินหน้าอย่างเป็นระบบด้วยการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ.ความไม่เข้มแข็งของการประกันคุณภาพภายในที่หลายคนยังไม่รู้ว่าการประกันคุณภาพการศึกษาคืออะไร ต้องทาไปเพื่ออะไร และประเด็นสาคัญต้องทาอย่างไร จึงทาให้เกิดการเข้าใจผิดต่อๆ มาว่า การประกันคือการ ประเมิน ประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาคือ การทาเอกสารสรุปผลงานของสถานศึกษาหรือรายงาน การประเมิ น ตนเอง (Self-Assessment Report) ให้ เสร็ จ ก็ ใช้ ไ ด้ แ ล้ ว หรื อ เข้ า ใจว่ า การประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษาของสถานศึกษาเป็นหน้าที่ของบุคลากรบางคนที่มีคาสั่งมอบหมายให้จัดเตรียมเอกสารหลักฐานเพื่อ สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๑๐
รับการประเมินเท่านั้น คนอื่นไม่เกี่ยวข้อง การประเมิน คุณภาพภายนอกของ สมศ. ก็เป็นการให้ผู้ประเมินแต่ ละระดับไปตรวจสอบเอกสารหลักฐานของสถานศึกษา ซึ่งทาให้บุคลากรของสถานศึกษาต้องมาจัดเตรียม เอกสารเพื่อรับการประเมินจาก สมศ. ทาให้เกิดการร้องเรียนว่าทาให้เสียเวลาไปกับการทาเอกสาร ครูไม่ได้ทา การสอนตามแผน ส่งผลให้คุณภาพการศึกษาต่าลง การประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สมศ. มอบหมายให้หน่วยประเมินเป็นผู้จัดผู้ ประเมินภายใต้ระเบียบปฏิบัติของ สมศ. ทุกประการ ส่วนการ ประเมินด้านการอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สมศ. บริหารจัดการเองโดยเชิญผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะสาขาเป็นผู้ ประเมิน ความเข้าใจที่ถูกต้องของการประกันคุณภาพการศึกษาคือกระบวนการในการปฏิบัติหน้าที่ของตนเอง ตามระบบประกัน คุ ณ ภาพการศึก ษาของคนสองกลุ่ ม คือ ประกัน คุณ ภาพภายใน เป็ น หน้ าที่ ของทุ กคนที่ เกี่ย วข้องกับ การจั ด การศึกษาของสถานศึกษาทุกระดับ ได้แก่ บุ คลากรจากต้นสั งกัด สถานศึกษา ชุ มชน ครอบครัว โดยเฉพาะในสถานศึกษาได้แก่ ผู้บริหาร ครู อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และตัวผู้เรียน กลุ่มที่สองคือกลุ่ม ประกันคุณภาพภายนอกได้แก่ บุคลากรของ สมศ. ซึ่งรวมถึงผู้ประเมินของ สมศ. ทั้งหมดด้วย หลักการประกัน คุณภาพการศึกษาที่นามาเป็นแนวปฏิบัติของระบบประกันคุณภาพการศึกษาของกลุ่มคนสองกลุ่มนี้คือ ๑. การควบคุมคุณภาพ(Quality Control ) ๒. การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) ๓. การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) ทุ ก คนท าตามหน้ า ที่ ข องตนเองโดยยึ ด หลั ก ประกั น คุณภาพการทาหน้าที่ของตนเองคือควบคุม ตรวจสอบ ประเมิน ถ้ า ทุ ก คนยึ ด หลั ก การนี้ อ ย่ า งสม่ าเสมอก็ จ ะไม่ เสี่ ย งกั บ ความ ผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นจากการจัดการศึกษา และการประเมินคุณภาพการศึกษา ที่ผ่านมากับผู้เรียนส่วนใหญ่ สถานศึกษาไม่เคยแจ้งให้นักเรียนนักศึกษาเข้าใจถึงการเรียนอย่างประกันคุณภาพ คือการควบคุมคุณภาพการ เรียน การตรวจสอบคุณภาพการเรียน และการประเมินคุณภาพการเรียนของนักเรียนแต่ละคนของทุกครั้ง ในขณะที่ครู อาจารย์ สอนอย่างประกันคุณภาพก็จะมีการควบคุมคุณภาพการสอน ตรวจสอบคุณภาพการสอน และประเมินคุณภาพการสอนของตนเองทุกครั้ง ผู้บริหารและบุ คลากรอื่นได้ปฏิบัติในลักษณะเดียวกับทุกคน อย่างสม่าเสมอทั้งปี จึงเรียกว่าสถานศึกษาแห่งนั้นจัดการศึกษาอย่างประกันคุณภาพ ถ้าทุกคนทาเช่นนี้ จะไม่ ต้องวิตกกังวลกับการประเมินของ สมศ. เพราะการทางานปกติทุกคนก็ประเมินตนเองทุกวันอยู่แล้วเพียงแต่ รายงานความจริงที่ ทุ กคนทาอยู่ จ ากเริ่ม ต้น จนประสบความส าเร็จพร้อมร่อ งรอยหลั กฐานประกอบอย่าง ละเอียดครบถ้วน ผู้ประเมินของ สมศ. ก็จะบอกความสาเร็จของการทางานพัฒนาการศึกษาต่ อบุคลาการทุก คนในสถานศึกษาได้ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงพร้อมทั้งการให้ ข้อเสนอแนะที่ตรงประเด็นปัญ หาอย่าง แท้จริง แต่การประเมินในอดีตยังอาจมีความคลาดเคลื่อนอันเกิ ดจากบุคลากรของสถานศึกษาและผู้ประเมิน ของ สมศ. ดังนั้นจากปัญหาในอดีตที่ผ่านมาจึงนาไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับการประเมินภายนอกรอบสี่แนวใหม่ คือ
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๑๑
- มาตรฐานและตัวบ่งชี้หรือประเด็นการประเมินจะใช้เป็นตัวเดียวกันกับการประกันคุณภาพภายในซึ่ง ในอดีตจะมีทั้งส่วนที่เหมือนและต่างกัน ทาให้เกิดปัญหาในการประเมินเกี่ยวกับการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อรับการ ประเมิน - ในอดีตผู้ประเมินระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดหน่วยประเมิน ผู้ประเมินระดับอาชีวศึกษาและ อุดมศึกษาเป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่ สมศ. ประสานเชิญเอง แต่ ในรอบสี่ผู้ประเมินระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งหมด จะอยู่ในความดูแลของ สมศ. ไม่มีหน่วยประเมิน โดยผู้ประเมิน ๑ ท่านได้รับการแต่งตั้งจะมาจากต้นสังกัดและ อีกส่วนหนึ่งเป็นผู้ประเมินจาก สมศ. โดยผู้ประเมินจะได้รับการอบรมพัฒนาจาก สมศ. อย่างเข้มข้นเกี่ยวกับวิธี ประเมินแนวใหม่ - วิธีการประเมินจะเป็นการตรวจสอบเอกสารหลักฐานตามมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ที่สถานศึกษาเตรียมไว้ แต่ในรอบสี่จะใช้การประชุมปรึกษาหารือร่วมกัน ซักถามประเด็นปัญหาของการดาเนินการของสถานศึกษา โดยไม่เน้นการศึกษาเอกสาร รวมทั้งมีการพบปะพูดคุยกับผู้เรียน ผู้ปกครอง สังเกตความพร้อมของสถานที่ และสิ่งแวดล้อมโดยในการไปประเมินแต่ละสถานศึกษานั้น สมศ. จะไม่แจ้งให้สถานศึกษาทราบล่วงหน้า - ระยะเวลาการประเมินที่ผ่านมาจะทาการประเมินโดยใช้เวลา ๓ วัน ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่วนระดับอาชีวศึกษา อุดมศึกษาในระดับคณะและสถาบัน ใช้เวลาตั้งแต่ ๓-๑๕ วัน ตามขนาดของสถาบัน แต่ ในการประเมินรอบสี่ระดับสถานศึกษาของการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษาจะมีตั้งแต่ไม่ต้องเข้าประเมิน โดยพิจารณาจากข้อมูลรายงานการประเมินตนเองสาหรับสถานศึกษาที่มีผลประเมินในรอบสองและรอบสาม อยู่ในในระดับดีมากทั้งสองรอบ หรืออาจจะมีการสุ่มลงไปประเมินเพียง ๑ วัน นอกจากนี้จะใช้เวลาประเมิน แตกต่างกันไปตามแบบการประเมินในรอบสองและรอบสามจานวนวันจะเป็น ๑-๓ วัน - เกณฑ์การประเมินจะมีการรับรองมาตรฐานระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๔ ระดับ ด้านอาชีวศึกษา และอุดมศึกษาจะเป็น ๕ ระดับ โดยไม่มีการระบุไม่รับรองมาตรฐาน ดังนั้นจึงไม่มีการประเมินซ้า การพัฒนา คุณภาพของสถานศึกษาจะเป็นหน้าที่ของต้นสังกัด - การติดตามผลในการประเมินรอบสองและรอบสามจะมีการประเมินซ้าสาหรับสถานศึกษาที่ประเมิน แล้วมีผลไม่รับรองมาตรฐาน โดยไม่มีการติดตามผลแต่การประเมินรอบสี่จะมีการออกไปติดตามผลสถานศึกษา หลังการประเมินด้วย โดยเน้นสถานศึกษาที่มีการรับรองมาตรฐานที่ระดับพอใช้ลงไปในช่วงเวลา ๖ เดือนถึง ๑ หรือ ๒ ปี หลังการประเมินภายนอกไปแล้ว - การใช้ ร ะบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ในการประเมิ น รอบสองและรอบสามจะไม่ เน้ น เทคโนโลยี สารสนเทศ แต่ การประเมินรอบสี่จะเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศระบบ Online ในการส่งข้อมูลผลการ ประกันคุณภาพภายในมายัง สมศ. ตามระบบที่กาหนด - ระยะเวลาการส่งผลการประเมินกลับไปยังสถานศึกษาที่รับการประเมินรอบสอง รอบสามใช้เวลา ๖-๙ เดือน แต่ในการประเมินรอบสี่จะรายงานสถานศึกษาทราบในเวลาไม่เกิน ๓ เดือน ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่จะเริ่มต้นเมื่อสถานศึกษาที่มีรอบการประเมินครบห้าปีแล้ว ส่ง รายงานการประเมินตนเองมายัง สมศ. โดยเน้นระบบ Online เพื่อมาจัดกลุ่มสถานศึกษา และก่อนที่จะทาการ ประเมิน สมศ. จะทาการศึกษาวิจัยนาร่องกับกลุ่มตัวอย่างสถานศึกษาจานวนหนึ่งก่อนโดยครอบคลุมทุกระดับ สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๑๒
ประเภท แล้วนาผลการวิจัยมาปรับปรุงระบบการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ให้เหมาะสมมากที่สุด ซึ่งต้อง ได้ รั บ ความเห็ น ชอบจากทุ ก ฝ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ งก่ อ นได้ แ ก่ คณ ะกรรมการบริ ห าร สมศ. รั ฐ บาลโดย กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา และต้นสังกัด ระยะเวลาการศึกษาวิจัยจะใช้เป็น ๓๖ เดื อ น และ สมศ. จะต้ อ งพั ฒ นาผู้ ป ระเมิ น อย่ างเข้ ม ข้ น ทั้ ง ภาคทฤษฎี แ ละภาคปฏิ บั ติ ที่ จ ะส่ ง ผลต่ อ ความสาเร็จในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่อย่างดีที่สุด
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๑๓
การวิจัยการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในหน่วยศึกษาอบรม ของสานักงานตารวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘ กิจพิณิฐ อุสาโห* ความเป็นมาและความสาคัญ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ กาหนด จุดมุ่งหมายและหลักการของการจัดการศึกษาที่มุ่งคุณภาพและมาตรฐานได้กาหนดรายละเอียดไว้ในหมวด ๖ มาตรฐานและการประกัน คุ ณ ภาพการศึ กษา ซึ่งประกอบด้ วย “ระบบการประกัน คุณ ภาพภายใน” และ “ระบบการประกันคุณภาพภายนอก” และให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา โดยมีการจัดทารายงานประจาปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกัน คุณภาพภายนอก เพื่อให้ การประกันคุณภาพภายในเป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๕๓ และประกาศสานักงานตารวจแห่ง ชาติ เรื่องนโยบายและหลักการใน การประกันคุณภาพการศึกษาของสานักงานตารวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖ สานักการศึกษาและประกันคุณภาพ กองบัญชาการศึกษา ในฐานะหน่วยงานรับรองมาตรฐาน และประเมิน คุณภาพการศึกษาภายในให้แก่หน่วยศึกษาอบรมที่รับผิดชอบด้า นการศึกษา อบรมหลักสูตรประจา ประจาปี งบประมาณ ๒๕๕๗ จึงจาเป็นต้องทาการวิจัยเรื่องการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในหน่วยศึกษาอบรมของ สานักงานตารวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๘ (ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๗) เพื่อกระตุ้นให้หน่วยศึกษาอบรมเกิด ความกระตื อรื อร้ น ในการพั ฒ นาการศึ กษา ยกระดับ มาตรฐานให้ เป็ นไปตามเกณฑ์ ของส านั กงานตารวจ แห่งชาติ และเตรียมการรองรับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกในรอบสี่ต่อไป วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินการดาเนินงานของหน่วยศึกษาอบรม สานักงานตารวจแห่งชาติ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๗
*พลตารวจตรี ดร.กิจพิณิฐ อุสาโห ผู้บังคับการสานักการศึกษาและประกันคุณภาพ กองบัญชาการศึกษา สานักงานตารวจ
แห่งชาติ สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๑๔
วิธีการวิจัย ๑. ศึกษาและวิเคราะห์ รายงานการประเมินผลตนเอง (Self Assessment Repost : SAR) ของ หน่ วยศึกษาอบรมของสานั กงานตารวจแห่ งชาติ ๒๐ หน่วย และประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมการตรวจ ประเมิน ๒. รวบรวมหลักฐานเพิ่มเติม ๒.๑ ศึกษาเอกสารอ้างอิงการดาเนินงาน ๒.๒ สั ม ภาษณ์ ผู้ บ ริ ห าร ข้ าราชการตารวจสายงานสนับ สนุ น ศิ ษ ย์ปั จจุบั น ศิษ ย์ เก่า ครู อาจารย์ ครูฝึก ประชาชนในชุมชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมหน่วยการศึกษาอบรมหน่วยละ ๑๔ คน ๒.๓ เยี่ยมชมหน่วยงานและสังเกตการณ์ ๓. สรุป ผลการวิจั ย การประเมิน คุณ ภาพการศึ กษาภายในหน่ว ยศึกษาอบรม ส านักงานตารวจ แห่งชาติ ประเมินด้วยวาจาสาหรับหน่วยศึกษาอบรม และรายงานเป็นลายลักษณ์อักษรเสนอต่อสานั กงาน ตารวจแห่งชาติ ระยะเวลาดาเนินการ มกราคม – กรกฎาคม ๒๕๕๘ รวมระยะเวลา ๗ เดือน งบประมาณ งบประมาณของสานักการศึกษา และประกันคุณภาพ กองบัญชาการศึกษา สานักงานตารวจ แห่งชาติ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งล้านบาท) หลักสูตรที่ใช้ในการวิจัยและประเมิน ๑. ศูน ย์ฝึกอบรมตารวจภูธร ภาค ๑ – ๘ ศูนย์ฝึกอบรม ศูนย์ปฏิบัติการตารวจ จังหวัดชายแดน ภาคใต้ และกองบังคับการฝึกอบรมตารวจกลาง รวม ๑๐ แห่ง ใช้ทุกหลักสูตรที่มี ระยะเวลาในการฝึกอบรม ๘ สัปดาห์ขึ้นไป ๒. กองกากับการ ๑ กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน ใช้หลั กสูตร ตารวจตระเวนชายแดน ระดับผู้บังคับหมวด ๓. กองก ากั บ การ ๒ – ๘ กองบั งคั บ การฝึ ก พิ เศษ รวม ๙ แห่ ง กองบั ญ ชาการต ารวจตระเวน ชายแดน ใช้หลักสูตรตารวจตระเวนชายแดนประจาปี ๔. กองกากับการ ๔ กองบังคับการสนับสนุนทางอากาศ กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน ใช้ หลักสูตรการฝึกโดดร่มแบบสายกระตุกคงที่ การรวบรวมข้อมูล ๑. รวบรวมข้อมูลจากเอกสารรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ของหน่วยศึกษาอบรม สานักงานตารวจแห่งชาติ สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๑๕
๒. รวบรวมข้อมูลจากเอกสารรายงานจากคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน หน่วยศึกษาอบรม สานักงานตารวจแห่งชาติ ๓. เก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมโดยผู้วิจัยเอง เกี่ยวกับการตรวจเยี่ยมและตรวจเชิงประจักษ์ของ หน่วยศึกษาอบรม สานักงานตารวจแห่งชาติ การสัมภาษณ์ผู้บริหาร นักเรียนนายสิบตารวจ ปัจจุบันและศิษย์ เก่า ครู อาจารย์ และประชาชนในชุมชน โดยใช้เครื่องมือแบบสัมภาษณ์เชิงโครงสร้าง ตามกรอบแนวคิดและ คู่มือในการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในหน่วยศึกษาอบรม สานักงานตารวจแห่งชาติ ประจาปี ๒๕๕๘ การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลตามตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน สานักงานตารวจแห่งชาติ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ซึ่งครอบคลุมด้ านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ด้านงานวิจัยและนวัตกรรมด้านการ บริการวิชาการแก่สังคมด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายในด้านอัตลักษณ์ด้านมาตรการส่งเสริม สถิติที่ใช้ การหาค่าเฉลี่ย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ผลการวิจัย การประเมิน คุณ ภาพการศึกษาภายในหน่วยศึกษาอบรม สั งกัดส านักงานตารวจ แห่งชาติ ทาให้หน่วยศึกษาอบรม สามารถพัฒนาต่อยอดเป็นไปตามเกณฑ์และมาตรฐานของสานักงานตารวจ แห่งชาติ และเป็นการเตรียมความพร้อมในการรองรับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกในรอบที่สี่ ของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) องค์การมหาชนต่อไป กรอบแนวคิด กรอบแนวคิดในการประเมินคุณภาพภายในหน่วยศึกษาอบรมของสานักงานตารวจแห่งชาติ ครอบคลุมกลุ่มตัวบ่งชี้ และตัวบ่งชี้ ดังแสดงในตารางที่ ๑
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๑๖
ตารางที่ ๑ กลุ่มตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้และน้าหนักคะแนนสาหรับการประเมินคุณภาพภายในหน่วยศึกษาอบรม ของสานักงานตารวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘ น้าหนัก กลุ่มตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ ชนิดตัวบ่งชี้ คะแนน ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๑. ผู้ผ่านการทดสอบตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาการ ๕ ผลลัพธ์ ๒. ความพึงพอใจของผู้บังคับบัญชาหน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้อง ๕ ผลลัพธ์ ๓. ผลการจัดการศึกษาอบรมที่เน้นผู้ศึกษาอบรมเป็นสาคัญ ๕ กระบวนการ ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๔. จานวนงานวิจัยและหรือนวัตกรรมและหรือสิ่งประดิษฐ์ ๕ ผลลัพธ์ ๕. จานวนงานวิจัยและหรือนวัตกรรมและหรือสิ่งประดิษฐ์ที่นาไปใช้ ๕ ผลลัพธ์ ประโยชน์ทางวิชาการหรือวิชาชีพ ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๖. ผลของการด าเนิ น โครงการบริ ก ารทางวิ ช าการและวิ ช าชี พ ที่ ๕ ผลลัพธ์ ตอบสนองความต้ องการ พั ฒ นาและเสริมสร้างความเข้ มแข็งของ ชุมชน สังคม ประเทศ ๗. ผลของการดาเนินงานของจุดที่ให้บริการทางวิชาการและวิชาชีพที่มี ๕ ผลลัพธ์ กลุ่ม ผลต่อชุมชน สังคม ประเทศ ตัวบ่งชี้ ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม พื้นฐาน ๘. การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม ๕ ผลลัพธ์ ๙. การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม ๕ กระบวนการ ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๑๐. ผลการพัฒนาครู/อาจารย์ และครูฝึก ๕ กระบวนการ ๑๑. ผลการพัฒนาบุคลากรของหน่วยศึกษาอบรม ๕ กระบวนการ ๑๒. ผลการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารหน่วยศึกษาอบรม ๕ ผลลัพธ์ ๑๓. ระบบการบริ ห ารบุ ค ลากรเพื่ อ การพั ฒ นาและธ ารงรั ก ษาไว้ ซึ่ ง ๕ กระบวนการ บุคลากรที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ๑๔. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน ๕ กระบวนการ ๑๕. ผลการประเมินการประกันคุณภาพภายในของหน่วยศึกษาอบรม ๕ ผลลัพธ์ ๑๖. การนาผลการประเมินคุณภาพภายในไปพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๕ กระบวนการ รวมน้าหนัก ๘๐ สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๑๗
กลุ่มตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้
กลุ่ม ด้านอัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ ๑๗. ความส าเร็ จ ของการพั ฒ นาผู้ ศึ กษาอบรมตามอั ตลั ก ษณ์ ที่ ห น่ ว ย อัตลักษณ์ ศึกษาอบรมกาหนด รวมน้าหนัก ด้านมาตรการส่งเสริม ๑๘. ความส าเร็ จ ของโครงการหรือ กิจ กรรมที่ ห น่ ว ยศึ ก ษาอบรมชี้ น า ป้องกัน หรือแก้ปัญหาของสังคม รวมน้าหนัก รวมน้าหนักทั้ง ๑๘ ตัวบ่งชี้
น้าหนัก ชนิดตัวบ่งชี้ คะแนน ๑๐
กระบวนการ
๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐๐
สรุปผลการวิจัย ๑. ตารางสรุปผลการวิจัยของหน่วยศึกษาอบรม สานักงานตารวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
กระบวนการ
ตารางที่ ๒
สรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในหน่วยศึกษาอบรม สานักงานตารวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘
ตัวบ่งชี้ 1. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม 2. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม 3. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม 4. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม 5. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม 6. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน 7. ด้านอัตลักษณ์ 8. ด้านมาตรการส่งเสริม เฉลี่ยรวม
บก. ผรก
ศูนย์ฝึกอบรมตารวจภูธร/ ๑
๒
๓
๔
๕
๖
ศชต. ๗
กองกากับการ/บก.กฝ และ
๘
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
กอง กากับ บก. สอ
ดีมาก
ดีมาก
ดี
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดี
ดีมาก
ดีมาก
ดี
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดี
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดี
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดี
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดี
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดี
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดี
ดี
ดี
ดีมาก
ดี
ดีมาก
ดี
ดี
ดี
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดี
ดีมาก
ดีมาก
ดี
พอใช้
ดีมาก
พอใช้
พอใช้
พอใช้
ดีมาก
ดี
ดี
ดีมาก
ดีมาก
ดี
พอใช้
ดี
ดีมาก
ดีมาก
พอใช้
ดีมาก
ดี
ดี
พอใช้
พอใช้
ดี
พอใช้
ดั
ดีมาก
ดี
ดี
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดี
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดี
ดี
ดีมาก
ดี
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
๑๙
๒. สรุ ป ภาพรวมผลการวิจั ย จุ ดเด่ น และจุดที่ ควรพั ฒ นาของหน่ ว ยศึ กษาอบรม ส านั กงานตารวจ แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘ สรุปภาพรวมของกองบังคับการฝึกอบรมตารวจกลาง (บก.ฝรก.) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๖. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ๗. ด้านมาตรการส่งเสริม จุดที่ควรพัฒนา ๑. ด้านอัตลักษณ์ ถึงแม้ในภาพรวมตามตัวบ่งชี้ สามารถทาคะแนนในระดับดีมากก็ตาม สิ่งที่ ควรพัฒนา คือ ควรวางแผนและดาเนินการประชาสัมพันธ์ให้บุคลากร และผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับทราบและทา ความเข้าใจเกี่ยวกับอัตลักษณ์ของหน่วยศึกษาอบรม ๒. การให้ ค วามรู้ ในการด าเนิ น การตามวงจรคุ ณ ภาพ PDCA ให้ กั บ ข้ าราชการต ารวจและ บุคลากรในหน่วยศึกษาอบรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยศึกษาอบรม สรุปภาพรวมของศูนย์ฝึกอบรมตารวจภูธรภาค ๑ (ศฝร.ภ. ๑) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๖. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ๗. ด้านมาตรการส่งเสริม สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๒๐
จุดที่ควรพัฒนา ๑. ควรให้ ค วามรู้ แ ละสร้ างความเข้ าใจเกี่ ย วกั บ วงจร PDCA แก่ ข้ า ราชการต ารวจ เพื่ อ ให้ สามารถพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล ทั้งในด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และความสาเร็จ ของโครงการ ๒. ด้านอัตลักษณ์ ควรระบุพฤติกรรมด้านวินัยที่สามารถวัดได้เป็นรูปธรรม เช่น การตรงต่อ เวลา ความซื่อสัตย์ และการเคารพอาวุโส เป็นต้น สรุปภาพรวมของศูนย์ฝึกอบรมตารวจภูธรภาค ๒ (ศฝร.ภ. ๒) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๔. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๕. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ๖. ด้านอัตลักษณ์ จุดที่ควรพัฒนา ๑. ด้านมาตรการส่งเสริมควรพัฒนารูปแบบของโครงการ เพื่อนาไปสู่ความสาเร็จได้รับการยก ย่อง ในระดับกองบังคับการ กองบัญชาการ สานักงานตารวจแห่งชาติ หรือนานาชาติ ๒. ควรให้ความรู้แก่ข้าราชการตารวจในเรื่องวงจรคุณภาพ PDCA มาใช้ในการปฏิบัติงานของ หน่วยงาน เพื่อให้ผลลัพธ์ของการดาเนินงานเกิดประสิทธิผลอย่างแท้จริง ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ควรกาหนดวัตถุประสงค์ของโครงการในแต่ละจุดบริการให้ ชัดเจน ควรจัดทาสถิติผู้ใช้บริการและประเมินผลการดาเนินงานโครงการทุกจุดบริการ สรุปภาพรวมของศูนย์ฝึกอบรมตารวจภูธรภาค ๓ (ศฝร.ภ. ๓) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๒๑
๕. ๖. ๗. ๘.
ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ด้านอัตลักษณ์ ด้านมาตรการส่งเสริม
จุดที่ควรพัฒนา ด้านการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะห้องเรียน ๑ ห้องเรียน ต่อจานวนนักเรียนนายสิบตารวจ ๕๙๘ นาย สัดส่วนของจานวนนักเรียนต่อห้อง นักเรียนมีปริมาณมากเกินไป อาจส่งผลต่อการเรียนของนักเรียน นายสิบตารวจ โดยเฉพาะการเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สรุปภาพรวมของศูนย์ฝึกอบรมตารวจภูธรภาค ๔ (ศฝร.ภ. ๔) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๖. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ๗. ด้านอัตลักษณ์ ๘. ด้านมาตรการส่งเสริม จุดที่ควรพัฒนา ควรมีการกากับ ดูแล ติดตาม เจ้าหน้าที่ผู้รับผิ ดชอบในแต่ล ะตัวบ่งชี้ห รือตัวชี้วัดอย่างใกล้ ชิด ต่อเนื่อง ทั้งในเรื่องการจัดทาเอกสาร การเก็บเอกสาร เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบบางส่วนยังไม่เข้าใจหรือยังหาเอกสาร ไม่พบหรือการจัดทาเอกสารยังไม่ถูกต้อง ยังมีอยู่บ้าง ผู้ตรวจประเมินได้ชี้แจงให้ คาแนะนา ข้อสังเกต เพื่อนาไป ปรับปรุง แก้ไข หรือหาเอกสารเพิ่มเติมไปส่วนหนึ่งแล้ว
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๒๒
สรุปภาพรวมของศูนย์ฝึกอบรมตารวจภูธรภาค ๕ (ศฝร.ภ. ๕) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๖. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ๗. ด้านอัตลักษณ์ ๘. ด้านมาตรการส่งเสริม จุดที่ควรพัฒนา การมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบในการจัดทาเอกสาร ยังมีเจ้าหน้าที่บางส่วนยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องข้อมูล หลักเกณฑ์ในการพิจารณา และความถูกต้อง ความครบถ้วนสมบูรณ์ของเอกสารยังมีอยู่ บ้าง ผู้ตรวจประเมินได้แนะนาไปส่วนหนึ่งแล้ว สรุปภาพรวมของศูนย์ฝึกอบรมตารวจภูธรภาค ๖ (ศฝร.ภ. ๖) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน จุดที่ควรพัฒนา ๑. ด้านอัตลักษณ์ บุคลากรและผู้เข้ารับการฝึกอบรมบางส่วนยังไม่ทราบ และไม่เข้าใจเกี่ยวกับ คาว่าอัตลักษณ์ ควรมีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ รวมทั้งสร้างความร่วมมือใน การปฏิบัติตามกลยุทธ์ที่กาหนดไว้และควรกาหนดนิยามและตัวชี้วัดแห่งความสาเร็จของอัตลักษณ์ให้ชัดเจน ๒. ด้านมาตรการส่งเสริม ควรพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้เรื่องการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๒๓
๓. ควรพัฒ นาครู อาจารย์ และครูฝึกให้ มีความรู้ ความเข้าใจ มีการติดตามและประเมินผล อย่างต่อเนื่อง สรุปภาพรวมของศูนย์ฝึกอบรมตารวจภูธรภาค ๗ (ศฝร.ภ. ๗) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๖. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ๗. ด้านอัตลักษณ์ จุดที่ควรพัฒนา ๑. ด้านมาตรการส่งเสริม ควรพัฒนารูปแบบของโครงการ เพื่อนาไปสู่การได้รับการยกย่องทั้ง ระดับกองบังคับการ กองบัญชาการ สานักงานตารวจแห่งชาติ ภูมิภาค ชาติหรือนานาชาติ ๒. ด้านสถานที่ ศฝร.ภ.๗ ได้ใช้อาคารสถานที่ในการปฏิบัติงานร่วมกับตารวจภูธรภาค ๗ ทาให้ การบริหารจัดการไม่เป็นเอกภาพ ถึงแม้ผู้บริหาร ศผร.ภ.๗ ได้บูรณาการการใช้อาคารสถานที่ ในส่วนที่รับผิดชอบ ให้สามารถจัดฝึกอบรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุประสิทธิผลก็ตาม การที่จะทาให้เกิดเอกภาพในเรื่องสถานที่ เกิน ขีดความสามารถของผู้บ ริห าร ศฝร.ภ.๗ เรื่องนี้ฝ่ายนโยบายในระดับสานักงานตารวจแห่ งชาติ ควรจัดหา สถานที่กองบัญชาการตารวจภูธรภาค ๗ หรือ ศฝร.ภ.๗ ให้เป็นเอกภาพ สรุปภาพรวมของศูนย์ฝึกอบรมตารวจภูธรภาค ๘ (ศฝร.ภ. ๘) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๖. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ๗. ด้านมาตรการส่งเสริม สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๒๔
จุดที่ควรพัฒนา ๑. ด้านอัตลักษณ์ ควรกาหนดคานิยามและตัวชี้วัดแห่งความสาเร็จของอัตลักษณ์ให้ชัดเจน เพื่อ พัฒนาให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลอย่างแท้จริง ๒. การจัดเจ้าหน้ าที่อานวยความสะดวกในการจัดหาเอกสาร ผู้ตรวจประเมินไม่พบเอกสาร และเอกสารบางส่วนยังไม่สมบูรณ์มีอยู่บ้าง ผู้ตรวจประเมินได้แนะนาและให้ข้อสังเกตไปส่วนหนึ่งแล้ว เพื่อการ ปรับปรุงและแก้ไขให้ถูกต้องในโอกาสต่อไป สรุปภาพรวมของศูนย์ฝึกอบรม ศูนย์ปฏิบัติการตารวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศฝร.ศชต) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ ในระดับดี จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๖. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน จุดที่ควรพัฒนา ๑. ด้านอัตลักษณ์ ควรมีการวางแผน การประชาสัมพันธ์อัตลักษณ์ที่กาหนดไว้ให้เป็นที่ทราบทั่ว กันทั้งภายในและภายนอกหน่วยศึกษาอบรม ๒. ด้านมาตรการส่งเสริม ควรเปิดโอกาสให้ผู้ศึกษาอบรม มีส่วนร่วมในการแสดงศักยภาพใน ด้านต่าง ๆ ที่เกี่ย วข้อง และควรจัดหาเวทีให้ ผู้ ศึกษาอบรมได้มีส่ วนร่วมในการแสดงศักยภาพให้ กับหน่วยงาน ภายนอก เพื่อสร้างโอกาสให้ผู้ศึกษาอบรม และบุคลากรได้มีโอกาสได้รับรางวัล ๓. ควรส่ งเสริม สนั บ สนุ น ให้ ความรู้และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ PDCA ให้ กับข้าราชการ ตารวจ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบและบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล ในการดาเนินงาน ทั้งในด้านการ ประกันคุณภาพและการปฏิบัติงาน ๔. ด้านสถานที่ ศูนย์ฝึกอบรม ศูนย์ปฏิบัติการตารวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศฝร.ศชต) ได้ใช้ อาคารสถานที่บางส่วนร่วมกับ ศชต. ทาให้การบริหารจัดการในเรื่องอาคารสถานที่ไม่เกิดความคล่องตัวแต่ผู้บริหาร ศฝร.ศชต สามารถใช้ อ าคารสถานที่ ในส่ ว นที่ รับ ผิ ด ชอบจัด การฝึ กอบรมได้พ อสมควรในระดั บ หนึ่ ง อุ ป กรณ์ โสตทัศนูปกรณ์มีสภาพเก่า และจอภาพชารุดเป็นบางส่วน สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๒๕
สรุปภาพรวมของกองกากับการ ๑ กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน (กก.๑ บก.กฝ.บช.ตชด.) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๖. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ๗. ด้านมาตรการส่งเสริม จุดที่ควรพัฒนา ๑. ด้านอัตลักษณ์ ควรมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์อัตลักษณ์ที่กาหนดไว้ให้เป็นที่ทราบทั่วกัน ทั้งภายในและภายนอกหน่วยศึกษาอบรม โดยใช้สื่อต่าง ๆ อย่างเต็มความสามารถ ๒. ศิษย์เก่าได้ให้ข้อคิดเห็นหลังจากสาเร็จการศึกษาไปแล้วไปปฏิบัติงาน เห็นความสาคัญของ วิชากฎหมาย เห็นควรเพิ่มวิชากฎหมายเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน สรุปภาพรวมของกองกากับการ ๒ กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญ ชาการตารวจตระเวนชายแดน (กก.๒ บก.กฝ.บช.ตชด.) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๖. ด้านอัตลักษณ์ ๗. ด้านมาตรการส่งเสริม
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๒๖
จุดที่ควรพัฒนา ๑. ในส่วนระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ควรกาหนดนโยบายด้านการ ประกันคุณภาพให้ชัดเจน เพื่อทาให้ระบบประกันคุณภาพภายในมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล ตลอดจน ส่งเสริม สนับสนุนบุคลากรให้ร่วมมือ ร่วมใจกันทางาน เพื่อให้ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ได้ขับเคลื่อนและพัฒนาทั้งระบบในหน่วยศึกษาอบรม ๒. เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบด้านประกันคุณภาพยังขาดความเข้าใจ ทาให้การจัดเก็บเอกสารยังไม่ สมบูรณ์ ซึ่งผู้ตรวจประเมินได้แนะนาและให้ข้อสังเกตไปส่วนหนึ่งแล้ว ๓. ควรพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ และความเข้าใจในเรื่องวงจรคุณภาพ PDCA สรุปภาพรวมของกองกากับการ ๓ กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน บก.กฝ.บช.ตชด.) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๖. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน
(กก.๓
จุดที่ควรพัฒนา ๑. การเขียนรายงานประเมินตนเอง (SAR) ยังไม่สื่อถึงผลการดาเนินงาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลใน การปรับปรุง แก้ไขในสิ่งที่บกพร่อง รวมถึงใช้เป็นเอกสารในการรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ๒. การให้ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องอัต ลักษณ์แก่ราชการตารวจในสังกัด ควรมีการวางแผน ประชาสัมพันธ์เรื่องอัตลักษณ์ที่กาหนดไว้ ควรประเมินความสาเร็จของอัตลักษณ์ทุก ๆ ๓ เดือน ๓. ควรให้ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องมาตรการส่งเสริม การเขียนเป้าหมายของโครงการและ ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ ควรให้สอดคล้องและสัมพันธ์กัน
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๒๗
สรุปภาพรวมของกองกากับการ ๔ กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน บก.กฝ.บช.ตชด.) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๖. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน
(กก.๔
จุดที่ควรพัฒนา ๑. ควรกาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จของอัตลักษณ์ เพื่อวัดผลจากความสาเร็จของผู้ศึกษาอบรม ตามอัตลักษณ์ที่กาหนดไว้ ๒. ควรพัฒนาโครงการเกี่ยวกับมาตรการส่งเสริม ให้สามารถได้รับรางวัลหรือยกย่องในระดับ กองบังคับการ กองบัญชาการ หรือสานักงานตารวจแห่งชาติ ระดับภูมิภาค ชาติหรือนานาชาติ สรุปภาพรวมของกองกากับการ ๕ กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน (กก.๕ บก.กฝ.บช.ตชด.) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๖. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ๗. ด้านอัตลักษณ์ ๘. ด้านมาตรการส่งเสริม
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๒๘
จุดที่ควรพัฒนา ควรจัดฝึกอบรมให้ความรู้ในด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะผู้ ได้รับมอบหมายในการจัดทาแฟ้มเอกสารประกอบตัวบ่งชี้ สรุปภาพรวมของกองกากับการ ๖ กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน (กก.๑ บก.กฝ.บช.ตชด.) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๖. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ๗. ด้านมาตรการส่งเสริม จุดที่ควรพัฒนา ๑. ถึงแม้ว่าด้านอัตลักษณ์สามารถทาคะแนนได้ดีมากก็ตาม ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึงใน เรื่องเกี่ยวกับอัตลักษณ์ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ทั้งผู้ปฏิบัติงานและผู้เข้าศึกษาอบรม ๒. ควรพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้เรื่องการดาเนินงาน ตามวงจรคุณภาพ PDCA สรุปภาพรวมของกองกากับการ ๗ กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน (กก.๗ บก.กฝ.บช.ตชด.) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๖. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ๗. ด้านมาตรการส่งเสริม สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๒๙
จุดที่ควรพัฒนา ๑. ควรมีการอบรมให้ความรู้ในด้านการจัดทาเอกสารให้ถูกต้อง ครบถ้วน กรณีผู้ตรวจประเมิน ตรวจไม่พบในส่วนของเอกสารที่ยังไม่สมบูรณ์ ผู้ตรวจประเมินได้แนะนาไปบางส่วนแล้ว ๒. ควรพัฒ นาอัต ลักษณ์และกระบวนการฝึกที่เอื้อต่อการพัฒ นาผู้ศึกษาอบรมให้ มีอัตลักษณ์ ตามที่กาหนดไว้ รวมถึงการประชาสัมพันธ์อัตลักษณ์ให้ผู้ปฏิบัติงานและผู้เข้าศึกษาอบรมได้มีความรู้และความ เข้าใจในทิศทางเดียวกัน สรุปภาพรวมของกองกากับการ ๘ กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน (กก.๘ บก.กฝ.บช.ตชด.) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๖. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ๗. ด้านมาตรการส่งเสริม จุดที่ควรพัฒนา ด้านอัตลั กษณ์ ควรพัฒ นาบุคลากรให้ มีความรู้ ความเข้าใจและเรื่องการดาเนินงานตามวงจร คุณภาพ PDCA เพื่อให้ผลลัพธ์เกิดประสิทธิผล และการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์อัตลักษณ์ที่กาหนดไว้ ให้ทราบทั่ว กันทั้งภายในและภายนอกหน่วยศึกษาอบรม สรุปภาพรวมของกองกากับการ ๙ กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน (กก.๙ บก.กฝ.บช.ตชด.) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๓๐
๕. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๖. ด้านมาตรการส่งเสริม จุดที่ควรพัฒนา ๑. บุคลากรยังขาดความรู้ ความเข้าใจในระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ควรมี การจัดประชุม หรือสัมมนา เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา ๒. ควรส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนโครงการ การกาหนดวัตถุประสงค์ เขียนให้ ชัดเจน สามารถวัดความสาเร็จได้ เพื่อการติดตามและประเมินผลในเรื่องของอัตลักษณ์ ๓. ควรพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล สรุปภาพรวมของกองกากับการ ๔ กองบังคับการสนับสนุนทางอากาศ กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน (กก.๔ บก.สอ.บช.ตชด.) ค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก จุดเด่น ๑. ด้านคุณภาพผู้ศึกษาอบรม ๒. ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม ๓. ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ๔. ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ๕. ด้านการบริหารและพัฒนาหน่วยศึกษาอบรม ๖. ด้านการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน ๗. ด้านอัตลักษณ์ จุดที่ควรพัฒนา ๑. ด้านมาตรการส่งเสริม ควรกาหนดมาตรการส่ งเสริมให้ มีความชัดเจน และสะท้อนความ พร้อมของหน่วยศึกษาอบรม ในส่วนที่ดาเนินการในปัจจุบันเป็นการดาเนินการให้บริการวิทยากร ทั้งสถานที่และ อุปกรณ์การฝึกอบรมให้แก่หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนต่าง ๆ ที่รองรับการสนับสนุนการฝึก
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๓๑
ข้อเสนอแนะ หน่วยศึกษาอบรมทุกหน่วย สังกัดสานักงานตารวจแห่งชาติ มีการพัฒนาดีขึ้นทุกหน่วย ทั้งศูนย์ฝึกอบรม เป็นระดับ กองบังคับการและกองกากับการเป็นระดับ กองกากับการ สังกัดกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน การพัฒนาเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น เนื่องมาจากความร่วมแรงร่วมใจ ความร่วมมือของบุคลากรในหน่วยศึกษา อบรม และโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บริหารของหน่วยศึกษาอบรมมีความตื่นตัว มีภาวะผู้นา สามารถใช้ทรัพยากรบุคคล และทรัพยากรด้านสื่อการเรียนการสอน แก้ปัญหาเชิงบูรณาการร่วมกัน ทาให้ประสบความสาเร็จ ทุกหน่วยศึกษา อบรม ข้อที่เป็นปัญหาร่วมกันที่เด่นชัดคือปัญหาขาดเครื่องช่วยฝึกทางยุทธวิธี จึงจาเป็นที่หน่วยศึกษาอบรมต้อง จัดทาคาของบประมาณและเสนอต่อสานักงานตารวจแห่งชาติเพื่อขอรับการสนับสนุนตามลาดับต่อไป ส่วนปัญหาที่หน่วยศึกษาอบรม สานักงานตารวจแห่งชาติที่เป็นปัญหาร่วมกันทุกหน่วย ที่หน่วยศึกษา อบรม สานักงานตารวจแห่งชาติสามารถแก้ปัญหาและพัฒนาได้เอง ได้แก่ ปัญหาข้าราชการตารวจ บุคลากรใน สังกัดหน่วยศึกษาอบรมยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องวงจรคุณภาพ P D C A เห็นควรให้ทุกหน่วยศึกษาอบรม จัดอบรมถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งให้กับข้าราชการตารวจและบุคลากรของหน่วย เพื่อการปรับปรุง พัฒนาให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผล สมความมุ่งหมายของทางราชการ สืบไป รายการอ้างอิง กิจพิณิฐ อุสาโห, พลตารวจตรี. (๒๕๕๘). รายงานผลการวิจัย การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในหน่วยศึกษา อบรมของสานักงานตารวจแห่งชาติ. ผู้เขียน พลตารวจตรี ดร.กิจพิณิฐ อุสาโห ผู้บังคับการสานักการศึกษาและประกันคุณภาพกองบัญชาการศึกษา สานักงานตารวจแห่งชาติ
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๓๒
ลักษณะเฉพาะของแบบวัด(Test specification) รศ.ดร.โชติกา ภาษีผล การสร้างเครื่องมือเป็นกระบวนการที่สาคัญของการวัดผลการศึกษา การวิจัยในศาสตร์สาขาวิชาการวัด และประเมินผล มีงานวิจัยไม่น้อยที่สนใจพัฒนาเครื่องมือที่ใช้วัดคุณลักษณะของผู้เรียนในลักษณะต่างๆที่เกี่ยวข้อง กับความสามารถทางสติปัญญา หรือวัดลักษณะนิสัย นอกเหนือจากการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยมีการ นาเสนอแบบวัดและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือหรือคุณสมบัติทางจิตมิติ แต่ถ้ามองในด้านของการนาผลวิจัยไปใช้ ประโยชน์ พบว่า แบบวัดที่ได้รับการเผยแพร่ในงานวิจัยจะไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ เนื่องจาก อาจมีปัญหาเรื่องการใช้แบบวัดที่ได้รับการเปิดเผย (exposed)ดังนั้น แนวทางหนึ่งที่จะช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวคือ การพัฒนาลักษณะเฉพาะของแบบวัด (Test specification)ซึ่งเป็นการสร้างเอกสารที่มีการกาหนดรูปแบบการ พัฒนาแบบวัดที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน มีการกาหนดโครงสร้างของแบบวัด เนื้อหาและบริบทที่อยู่บนมาตรฐาน เดียวกัน หรือใกล้เคียงกัน เพื่อเป็นแนวทางสร้างแบบวัดที่สามารถนาไปต่อยอดแบบวัดได้มากกว่า 1 ฉบั บ ดังนั้น เพื่ อให้ ผู้ อ่ านเข้ าใจเกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะเฉพาะของแบบวัด ที่ ชั ด เจนมากขึ้ น จึ งขอน าเสนอเนื้ อหาที่ เกี่ย วข้ อ งกั บ ลักษณะเฉพาะของแบบวัด ได้แก่ ความหมาย องค์ประกอบ ขั้นตอนการสร้างและตัวอย่างของลักษณะเฉพาะของ แบบวัดที่พัฒนาจากการวิจัย ดังมีรายละเอียด ดังนี้ ความหมายลักษณะเฉพาะของแบบวัด จากการศึกษาความหมายของลักษณะเฉพาะของแบบวัด มีผู้อธิบายความหมายของลักษณะเฉพาะของ แบบวัดไว้ ดังนี้ Alderson et al. (2001) กล่าวว่า ลักษณะเฉพาะของแบบวัดคือ การออกแบบการทดสอบและแบบวัด ต่าง ๆ รวมทั้งตรวจสอบความคลอบคลุมของบริบทของแบบวัดและผู้สอบ Fulcher and Davidson (2007) ได้ ให้ ค วามหมายของลั ก ษณะเฉพาะของแบบวัด ว่ าเป็ น การสร้า ง แผนงานหรือออกแบบเอกสารสาหรับแบบวัด ผู้ออกแบบวัดสามารถจัดทารูปแบบแบบวัดที่มีความเหมาะสมได้ จากลั กษณะเฉพาะ และผู้ ออกข้อคาถามสามารถออกข้อคาถามหรือภาระงานใหม่ ๆ ที่ มีความสอดคล้ องกับ ลักษณะเฉพาะ Green (2014) กล่าวว่า ลักษณะเฉพาะของแบบวัด เป็นเอกสารที่ให้สารสนเทศเกี่ยวกับเนื้อหาสาระที่ใช้ ในการประเมินและให้แนวทางในการประเมิน ดังนั้นความหมายของลักษณะเฉพาะของแบบวัดสรุปได้ว่า เป็นเอกสารที่ให้สารสนเทศเกี่ยวกับเนื้อหา สาระในการสอบ การออกแบบแบบวัด รูปแบบของข้อคาถาม การประเมินผล และการตรวจสอบบริบทที่เกี่ยวข้อง สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๓๓
ของแบบวัดและผู้สอบ เพื่อเป็นแนวทางสาหรับผู้ออกข้อคาถามและผู้ตรวจในการกาหนดเนื้อหา วิธีการสร้างและ ตรวจข้อคาถาม องค์ประกอบของลักษณะเฉพาะของแบบวัด จากการศึกษาองค์ประกอบของลักษณะเฉพาะของแบบวัด มีผู้อธิบายองค์ประกอบของลักษณะเฉพาะของ แบบวัดไว้ ดังนี้ Rueckert (1998)กล่าวว่า ลักษณะเฉพาะของแบบวัดประกอบด้วยเนื้อหาสาระ (การปฏิบัติ รายละเอียด ของเนื้อหา โครงสร้างและคาศัพท์) โครงสร้างของแบบวัด (จานวนข้อคาถาม ระยะเวลา เทคนิคที่ใช้) รูปแบบของ ข้อคาถาม เกณฑ์ในการประเมิน (ความถูกต้อง ความแม่นยา ความยืดหยุ่น ) และกระบวนการให้คะแนน (ระดับ การประเมิน ผู้ประเมิน) Alderson et al. (2001)กล่ า วถึ งองค์ ป ระกอบของลั ก ษณะเฉพาะของแบบวั ด ทางด้ านภาษา ได้ แ ก่ วัตถุป ระสงค์ของการทดสอบ (การจั ดตาแหน่ ง การวินิ จฉัย การพั ฒ นาการ) คุณ สมบัติ ของผู้ ส อบ (อายุ เพศ ระดับชั้น วัฒนธรรม ประเทศ) โครงสร้างของแบบวัด (ระยะเวลา ประเภทแบบวัด จานวนข้อคาถาม จานวนแผ่น ข้อคาถาม) เนื้อหาสาระระดับความซับซ้อน (ความยาก) ทักษะที่กาหนดรูปแบบของข้อคาถาม (การใช้ตัวเลือก การจับคู่ การเติมคาตอบสั้น การบรรยายภาพ) ตัวอย่างข้อคาถาม และเกณฑ์ในการประเมิน (ความแม่นยา ความ เหมาะสม การสะกดคา) O. D. o. (2011)อธิ บ ายว่ า Test Specifications: American Government เป็ น เอกสารที่ ใ ห้ ข้ อ มู ล สารสนเทศในการประเมินผลจากการประชุมของรัฐบาลของสหรัฐอเมริกา เอกสารนี้เป็นประโยชน์สาหรับนัก การศึกษาและประชาชนทั่วไป เพื่อให้เข้าใจถึงการออกแบบการทดสอบการพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และสังคม ของรัฐโอไฮโอ ประกอบด้วย วัตถุ ประสงค์ของการทดสอบ ทักษะที่กาหนด เนื้อหาสาระ ข้อจากัดของเนื้อหา โครงสร้างของแบบวัด หลักการสร้างข้อคาถาม รูปแบบของข้อคาถาม ลักษณะการตอบ ตารางวิเคราะห์ข้อคาถาม และคุณสมบัติของผู้สอบ F. D. o. (2012)อธิบายว่าFCAT 2.0 READING Test Item Specifications Grades 9–10 เป็ น เอกสาร ที่ให้ รายละเอียดในการกาหนดเนื้อหาสาระและรูปแบบของการทดสอบการอ่านของนักเรียนเกรด 10-9ในรัฐ Florida ลักษณะเฉพาะนี้จะประกอบด้วย วัตถุประสงค์ของการทดสอบ เนื้อหาสาระ ลักษณะเฉพาะของข้อคาถาม ทักษะที่กาหนด โครงสร้างของแบบวัด รูปแบบของข้อคาถาม ความสามารถที่ วัด ข้อจากัดของเนื้อหา หลักการ สร้างข้อคาถาม ลักษณะการตอบ การพัฒนาข้อคาถาม ตัวอย่างข้อคาถาม และเกณฑ์การในการประเมิน O. S. D. o. (2014)อ ธิ บ า ย ว่ า OKLAHOMA SCHOOL TESTING PROGRAM OKLAHOMA CORE CURRICULUM TESTS เป็นเอกสารที่ให้รายละเอียดในการกาหนดการทดสอบการอ่านของนักเรียนเกรด 8 ของ รัฐ Oklahoma นักเรียนจะต้องมีความสามารถในการอ่าน การตอบสนองต่อลักษณะข้อสอบที่หลากหลายและมี ความเชื่อมโยงกับมาตรฐานการศึกษาของ Oklahoma (OAS) ได้ ดังนั้น เอกสารนี้จึงประกอบด้ วย วัตถุประสงค์ สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๓๔
ของการทดสอบ มาตรฐานการเรียนรู้ นิยามศัพท์ เนื้อหาสาระ ลักษณะเฉพาะของข้อคาถาม ทักษะที่กาหนด โครงสร้างของแบบวัด หลักการสร้างข้อคาถาม รูปแบบของข้อคาถาม ข้อจากัดของเนื้อหา หลั กการสร้างข้อ คาถาม ลักษณะการตอบ ระดับความซับซ้อนของข้อคาถาม ตัวอย่างข้อคาถาม และเกณฑ์การในการประเมิน M. D. o. (2014) อธิบ ายว่า Reading Test Specifications for MCA-IIIเป็ น เอกสารที่ ให้ รายละเอีย ด เกี่ยวกับการทดสอบการอ่าน เป็นการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน Minnesota เมื่อนาผลสัมฤทธิ์ นั้นมาเทียบกับมาตรฐานการเรียนรู้ ผลการประเมินที่ได้นั้นจะนามาพัฒนาและปรับปรุ งหลักสูตรภายในโรงเรียน พร้อมทั้งแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าทางด้านวิชาการของนักเรียนในแต่ละปี โดยลักษณะเฉพาะนี้ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ของการทดสอบ นิยามศัพท์ เนื้อหาสาระ ลักษณะเฉพาะของข้อคาถาม ทักษะที่กาหนด โครงสร้าง ของแบบวัด รูป แบบของข้อคาถาม หลั กการสร้างข้ อคาถาม การพัฒ นาข้อคาถาม ระดับความซับซ้อนของข้อ คาถาม และตัวอย่างข้อคาถาม สรุปองค์ประกอบที่สาคัญของลักษณะเฉพาะของแบบวัดที่ควรระบุไว้ในเอกสารลักษณะเฉพาะของแบบ วัดได้ดังนี้ เนื้อหาสาระ หรือ คุณลักษณะที่มุ่งวัด โครงสร้างของแบบวัด หลักการสร้างข้อคาถาม รูปแบบของข้อ คาถาม วัตถุประสงค์ของการทดสอบ ทักษะที่กาหนด ลักษณะเฉพาะของข้อคาถาม เกณฑ์ในการประเมินและ ตัวอย่างข้อคาถาม ในการพัฒนาลักษณะเฉพาะของแบบวัดมีองค์ประกอบที่สาคัญคือ ลักษณะเฉพาะของข้อคาถาม(Item specification) เป็นการสร้างกฎเกณฑ์สาหรับการเขียนข้อคาถามที่เป็นระเบียบรัดกุม รอบคอบ ชัดเจน สมบูรณ์ มีเหตุผล เป็นปรนัย ยึดจุดหมายของแบบทดสอบและขอบเขตความรู้ที่กาหนดจากการวิเคราะห์ตัวชี้วัด วัดในสิ่งที่ ต้องการจะวัดได้ซึ่งลักษณะเฉพาะของข้อคาถามมีผู้อธิบายความหมายของลักษณะเฉพาะของข้อคาถามไว้ ดังนี้ A. S. D. o. (2007)ได้อธิบายว่า ลักษณะเฉพาะของข้อคาถาม เป็นข้อกาหนดรายละเอียดของข้อคาถาม ซึ่งมีจุดประสงค์ที่แตกต่างกันและให้ข้อมูลที่จาเป็นเกี่ยวกับเนื้อหาของการทดสอบมาตรฐาน F. S. A. (2015)ได้ให้ความหมายว่า ลักษณะเฉพาะของข้อคาถาม คือ แหล่งข้อมูลที่อธิบายเกี่ยวกับเนื้อหา สาระและรูปแบบของการสอบและข้อคาถามสาหรับผู้ออกข้อคาถามและผู้ตรวจข้อคาถาม สรุ ป ได้ว่า ลั ก ษณะเฉพาะของข้ อค าถาม (Item specification) เป็ น เอกสารที่ ให้ ส ารสนเทศเกี่ย วกั บ เนื้อหาสาระและรูปแบบของข้อคาถาม ตามแต่จุดประสงค์ของแต่ละข้อ เพื่อเป็นแนวทางสาหรับผู้ออกข้อคาถาม ในการสร้างข้อคาถาม การสั ง เคราะห์ อ งค์ ป ระกอบของลั ก ษณะเฉพาะของข้ อ ค าถาม ได้ มี ก ารศึ ก ษาองค์ ป ระกอบของ ลักษณะเฉพาะของข้อคาถาม ซึ่งมีรายละเอียด (อ้างถึงใน สุเทพ สันติวรานนท์ (2533) และ บุญชม ศรีสะอาด (2540)) ดังนี้ 1) องค์ประกอบที่ต้องการวัด เป็นส่วนที่ระบุพฤติกรรมหลักที่วิเคราะห์จากเนื้อหารายวิชาที่จะสร้าง ข้อคาถาม สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๓๕
2) ตัวบ่งชี้ เป็นส่วนที่ระบุพฤติกรรมที่ย่อยมาจากพฤติกรรมหลัก 3) ความสามารถที่วัด เป็ น ส่ วนขยายตัวบ่งชี้ โดยการเขียนในรูปของจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ สมบูรณ์ เป็นกรอบในการเขียนข้อคาถาม โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งที่กาหนดให้ผู้สอบพิจารณาเป็นสิ่งเร้า การ กระท าที่ มุ่งหวังให้ ผู้ ส อบกระท าตอบต่ อ สิ่ งเร้านั้ น ๆ และขอบเขตของสถานการณ์ เพื่ อ ให้ ข้ อค าถามมี ค วาม หลากหลาย 4) ลักษณะคาถาม เป็นส่วนที่กาหนดลักษณะหรือรูปแบบของการตั้งคาถาม 5) ลักษณะคาตอบ เป็นส่วนที่กาหนดลักษณะหรือรูปแบบของคาตอบ ซึ่งอาจจะเป็นแบบเลือกตอบ การจั ดเรียง หรือเป็ น รูป แบบปลายเปิ ด วิธีเขียนตัวลวง เกณฑ์การให้ คะแนน และการระบุ เกณฑ์ การกาหนด คาตอบถูก 6) ตัวอย่างข้อคาถาม ยกตัวอย่างข้อคาถามหนึ่งข้อหรือมากกว่าหนึ่งข้อ ในตัวบ่งชี้ ๆ หนึ่งข้ออาจจะ เขียนข้อคาถามได้หลายข้อ โดยจะต้องมีความเป็นเอกพันธ์กัน คือ เป็นการวัดตัวบ่งชี้เดียวกัน มีลักษณะคาถาม และคาตอบเป็นแนวเดียวกัน ขั้นตอนการสร้างลักษณะเฉพาะของแบบวัด Hendrickson, Huff, and Luecht (2010) ได้กล่าวถึงขั้นตอนการพัฒนาลักษณะเฉพาะของแบบวัดไว้ดังนี้ 1. ระบุ คุณ ลั กษณะ ตัวแปรที่ เป็ น กุญ แจส าคั ญ เช่น เนื้อหา ทั กษะ ระดับ ผลสั มฤทธิ์ และมีการนิยาม ความหมายโดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านเนื้อหา 2. กาหนดคุณลักษณะย่อย หรือตัวแปรย่อย ของคุณลักษณะที่ต้องการจะวัดลงในลักษณะเฉพาะของแบบ วัด โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านเนื้อหา 3. รวมคุณลักษณะที่ต้องการวัดของคุณลักษณะ ทักษะ และระดับผลสัมฤทธิ์เพื่อร่างลักษณะเฉพาะของ แบบวัด 4. แบบร่างลักษณะเฉพาะที่สร้างขึ้นมาต้องได้รับการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถวัด คุณลักษณะที่ต้องการได้ แล้วทาการแก้ไขปรับปรุง 5. สร้างข้อคาถามที่วัดคุณลักษณะ ทักษะ และระดับผลสัมฤทธิ์ตามลักษณะเฉพาะของแบบวัดที่ได้สร้าง ขึ้น 6. เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ด้ ว ยแบบวั ด ที่ ส ร้ า งขึ้ น และใช้ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ รั บ จากแบบวั ด น ามาปรั บ ปรุ ง ลักษณะเฉพาะของแบบวัด และพัฒนาข้อคาถามต่อไป ในขั้นตอนของการกาหนดลักษณะเฉพาะของข้อคาถามจะช่วยให้ผู้ออกข้อคาถามสามารถออกข้อคาถาม ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของการสอบ โดยมีขั้นตอนในการกาหนดลักษณะเฉพาะของข้อคาถาม(สานักทดสอบทาง การศึกษา สพฐ. หน่วยที่ 5, 2558) ดังนี้ สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๓๖
1) เลือกมาตรฐานและตัวชี้วัดที่ต้องการสร้างข้อคาถาม 2) วิเคราะห์เนื้อหาตัวชี้วัดออกเป็นประเด็นหลัก 3) กาหนดประเภทของพฤติกรรมที่จะสร้างข้อคาถาม โดยจัดทาเป็นตารางวิเคราะห์ 4) กาหนดระดับองค์ประกอบที่ต้องการวัดและตัวบ่งชี้ 5) นาตัวบ่งชี้มาสร้างลักษณะเฉพาะของข้อคาถาม ดังนั้น การจัดทาลักษณะเฉพาะของแบบวัดเป็นเรื่องที่ดี มีประโยชน์อย่างมากต่อโครงสร้างการทดสอบ สามารถนาไปใช้ติดตาม กากับมาตรฐานการสร้างข้อสอบ โดยเฉพาะแบบทดสอบหรือแบบวัดที่เป็นเครื่องมือกลาง ที่ต้องมีการจัดสอบทุกปีอย่างต่อเนื่อง มีงานวิจัยในประเทศไทยที่ได้ให้ความสนใจในการพัฒนาลักษณะเฉพาะของ รายวิชา เช่น อนัน ดา สัณฐิติวณิชย์ (2557)ได้พัฒ นาลักษณะเฉพาะของแบบสอบที่บูรณาการระหว่างตัวชี้วัด ความสามารถด้านการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และการเขียน กับตัวชี้วัดการประเมินสาระการเรียนรู้ นอกจากนี้ ยังมี งานวิจัยที่สนใจพัฒ นาลักษณะเฉพาะของแบบวัดที่วัดสมรรถนะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 อยู่หลายเรื่อง แต่ เพื่อให้เห็นภาพของลักษณะเฉพาะที่ชัดเจนขึ้น จึงขอยกตัวอย่างลักษณะเฉพาะของแบบวัดที่มีรายละเอียดและ ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้ว ดังแสดงในหัวข้อต่อไป ตัวอย่างของลักษณะเฉพาะของแบบวัดที่พัฒนาจากการวิจัย ตัวอย่างลักษณะเฉพาะของแบบวัดที่นาเสนอ เป็นงานวิทยานิพนธ์ของ มุกทราย บวรนิธิกุล (2559) เรื่อง การพัฒนาลักษณะเฉพาะของแบบวัดทักษะการสื่อสารแห่งศตวรรษที่ 21 ของนิสิตนักศึกษาปริญญาบัณฑิตโดยได้ คัดสรรเนื้อหาที่สาคัญ มีรายละเอียด ดังนี้ ลั ก ษณะเฉพาะของแบบวัด ทั ก ษะการสื่ อ สารแห่ งศตวรรษที่ 21 ของนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาปริญ ญาบั ณ ฑิ ต ประกอบด้วย 1. ทักษะการสื่อสารแห่งศตวรรษที่ 21 ของนิสิตนักศึกษาปริญญาบัณฑิต 2. หลักการสร้างแบบวัด ตามลักษณะเฉพาะ และรูปแบบของแบบวัด 3. โครงสร้างของแบบวัดทั กษะการสื่อสารแห่งศตวรรษที่ 21 ของ นิสิตนักศึกษาปริญญาบัณฑิต และลักษณะเฉพาะของข้อคาถาม และ 4. การคานวณคะแนน และเกณฑ์การตัดสิน คะแนน 1.ทักษะการสื่อสารแห่งศตวรรษที่ 21 ของนิสิตนักศึกษาปริญญาบัณฑิต จากการศึกษาเอกสาร ผู้วิจัยวิเคราะห์และนิยามองค์ประกอบของทักษะการสื่อสารแห่งศตวรรษที่ 21 ออกเป็น 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1. การใช้ภ าษาในการสื่อสารหมายถึง ความสามารถในการใช้ภ าษาในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อสื่อสารให้ ประสบความสาเร็จในการสื่อสาร ทั้งการใช้วัจนภาษา ทางด้านทักษะการพูด การอ่าน และการเขียน และการ ใช้อวัจนภาษา ในรูปแบบอาการภาษา เทศภาษา กาลภาษา สัมผัสภาษา และปริภาษา ในบริบทของภาษาไทย สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๓๗
2. การสื่อสารด้วยการฟังหมายถึง กระบวนการรับรู้ความหมายจากเสียงที่ได้ยินในบริบทของภาษาไทย แบ่งออกเป็นการฟังเพื่อจับใจความ และการฟังเพื่อสร้างคุณค่า ได้แก่ การฟังเพื่อจับใจความสาคัญ การฟังเพื่อจับ ใจความโดยละเอียด การฟังเพื่อแสดงเหตุผล การฟังเพื่อให้เกิดสุนทรียะ การฟังเพื่อส่งเสริมจินตนาการและ ความคิดสร้างสรรค์ 3. การสื่อสารตามจุดประสงค์หมายถึง ความสามารถในการสื่อสารได้ถูกต้องตามจุดประสงค์ของการ สื่อสาร ซึ่งประกอบด้วยการสื่อสารเพื่อสาระความรู้และการสื่อสารเพื่อความบันเทิง อันได้แก่ การสื่อสารเพื่อแจ้ง ให้ทราบ การสื่อสารเพื่อให้การศึกษา การสื่อสารเพื่อชักจูงหรือโน้มน้าว และการสื่อสารเพื่อให้ความบันเทิง 4. การใช้สื่อและเทคโนโลยีในการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการเลือกใช้สื่อและเทคโนโลยีใน การสื่อสารที่มีอยู่อย่างหลากหลายได้ถูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ในการสื่อสาร ด้วยสื่อกล่าวถึงรูปแบบ ของข้อมูลข่าวสาร ยกตัวอย่าง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น ส่วนเทคโนโลยี คือ เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการ ทางานด้วยวิทยาการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน 5. การสื่อสารในสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน หมายถึง ความสามารถในการสื่อสารผ่านการใช้วัจนภาษา และอวัจ นภาษาระหว่ างบุ ค คลหรื อ กลุ่ ม คนที่ อ ยู่ ภ ายใต้ ส ภาพแวดล้ อ ม ภาษาและวั ฒ นธรรมที่ ต่ างกั น เพื่ อ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร โดยที่แต่ละฝ่า ยจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในภาษา (ภาษาอังกฤษ) และวัฒนธรรมซึ่ง กันและกัน 2. หลักการสร้างแบบวัดตามลักษณะเฉพาะ ผู้เขียนข้อคาถามควรสร้างแบบวัดทักษะการสื่อสารแห่งศตวรรษที่ 21 ของนิสิตนักศึกษาปริญญาบัณฑิต ตามลักษณะเฉพาะฯ ดังนี้ 1. เข้าใจองค์ประกอบของทักษะการสื่อสารแห่งศตวรรษที่ 21 ผู้เขียนข้อคาถามจาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในรายละเอียดของแต่ละตัวบ่งชี้และองค์ประกอบของ ทักษะการสื่อสารแห่งศตวรรษที่ 21 ของนิสิตนักศึกษาปริญญาบัณฑิต 2. เขียนข้อคาถามตามโครงสร้างของแบบวัดทักษะการสื่อสารฯ ผู้เขียนข้อคาถามศึกษารูปแบบของข้อคาถามทั้ง 4 แบบตามที่ลักษณะเฉพาะฯ กาหนด และเขียนข้อ คาถาม ที่ผ่านการตรวจสอบของผู้ทรงคุณวุฒิ รูปแบบของข้อคาถาม แบบวัดทักษะการสื่อสารแห่งศตวรรษที่ 21 ของนิสิตนักศึกษาปริญญาบัณฑิต มีรูปแบบของข้อคาถามที่ หลากหลาย เนื่องจากเป็นแบบวัดที่วัดความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง ดังนั้น รูปแบบการวัดแบบเลือกตอบและแบบ เสนอคาตอบจึงไม่เพียงพอที่จะวัดความสามารถในการสื่อสารที่แท้จริงได้ แบบวัดทักษะการสื่อสารนี้ จึงเป็นแบบ วัดที่มีรูปแบบการวัดที่หลากหลาย ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๓๘
1. แบบเลือกตอบ เป็นแบบของข้อคาถามที่กาหนดให้ผู้ตอบเลือกคาตอบจากตัวเลือกที่กาหนดให้ โดยมีส่วนประกอบของข้อ คาถามแบบเลือกตอบที่สาคัญ 2 ส่วน ประกอบด้วยตัวคาถาม (Stem) เป็นข้อความที่ถามให้ผู้ตอบคิดหาคาตอบ 4 ตัวเลื อก (Alternative) เป็ น ข้อความที่กาหนดให้ผู้ ตอบเลือก นิยมใช้ 4 – 5 ตัวเลื อก ตัวเลือกยังประกอบด้วย ตัวเลือกที่เป็นคาตอบถูก (Best Answer) 1 ตัว ส่วนที่เหลือเป็นตัวเลือกที่ผิด หรือเรียกว่าตัวลวง (Distracters) 2. แบบเขียนตอบ เป็นแบบของข้อคาถามที่ต้องการให้ผู้ตอบอธิบายหรือบรรยายเรื่องราว ผู้ตอบจะต้องใช้วิธีเขียนตอบเป็น ข้อความหรื อความเรีย ง ในแบบวัดทั กษะการสื่ อสารนี้ แบบเขี ยนตอบจะเป็ นแบบไม่ จากัด คาตอบ แต่จากั ด องค์ประกอบหรือรูปแบบการตอบ และเกณฑ์ในการประเมินจึงเป็นการให้คะแนนจากจานวนองค์ประกอบและ รูปแบบการตอบที่ถูกต้อง 3. แบบจับคู่ เป็ น แบบของข้ อ ค าถามที่ ให้ ผู้ ต อบจั บ คู่ ข องค า วลี ข้ อ ความหรื อ ประโยคที่ ก าหนดให้ กลุ่ ม หนึ่ ง มี ความสัมพันธ์กับอีกกลุ่มหนึ่ง จัดเรียงเป็น 2 คอลัมน์ โดยทั่วไปข้อความทางซ้ายมือจะเป็นตัวยืนของคาถาม ส่วน ข้อความทางขวาเป็นตัวคาตอบหรือตัวเลือก ผู้ตอบต้องเลือกข้อความทางขวามือมาเติมหน้าข้อความทางซ้ายมือ ที่ มีความหมายสอดคล้องสัมพันธ์กัน จานวนข้อความคาตอบทางขวามือ ควรมีมากกว่าทางซ้ายมือ 3-5 ข้อความ 4. แบบวาดภาพ เป็นแบบของข้อคาถามที่กาหนดสถานการณ์ ผู้ตอบต้องตอบคาถามด้วยการวาดภาพ เป็นการตอบคาถาม ด้วยอวัจนภาษา และเกณฑ์ในการประเมินจึงเป็นการให้คะแนนจากจานวนองค์ประกอบหรือความเป็นเหตุเป็นผล ของภาพวาดตามที่สถานการณ์กาหนด 3. นาแบบวัดทักษะการสื่อสารฯ ไปใช้ ผู้เขียนข้อคาถามดาเนินการนาแบบวัดทักษะการสื่อสารฯ ไปใช้ จากนั้นนามาตรวจให้คะแนน เพื่อความ สะดวกในการคานวณคะแนน ควรใช้โปรแกรม Microsoft Office Excel และนาผลมาพัฒนาและปรับปรุงแบบวัด ทักษะการสื่อสารแห่งศตวรรษที่ 21 ของนิสิตนักศึกษาปริญญาบัณฑิต 4. วิเคราะห์คุณภาพของแบบวัดทักษะการสื่อสารฯ ผู้เขียนข้อคาถามควรนาคะแนนของแบบวัดทักษะการสื่อสารฯ ที่ได้ มาศึกษาและทาการวิเคราะห์เพื่อ ทราบคุณภาพของแบบวัด ทางด้านสถิติ โดยใช้โปรแกรม SPSS ในด้านความเทีย่ ง 5. ปรับปรุงแบบวัดทักษะการสื่อสารฯ ผู้เขียนข้อคาถามดาเนินการปรับปรุงแบบวัดตามข้อบกพร่องที่พบ เพื่อนามาแก้ไข เพื่อใช้กับกลุ่มอื่นหรือ เก็บไว้ในคลังข้อคาถามต่อไป สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๓๙
3.โครงสร้างของแบบวัดทักษะการสื่อสารแห่งศตวรรษที่ 21 ของนิสิตนักศึกษาปริญญาบัณฑิต นาเสนอในรูปตาราง ดังนี้ ตาราง โครงสร้างของแบบวัดทักษะการสื่อสารแห่งศตวรรษที่ 21 ของนิสิตนักศึกษาปริญญาบัณฑิต
การใช้ภาษาในการ สื่อสาร
การใช้วัจนภาษา
10
3
2
การใช้อวัจนภาษา
10
3
1
เพื่อจับใจความ
10
4
เพื่อสร้างคุณค่า เพื่อสาระความรู้ เพื่อความบันเทิง
10 10
2 2
1 1
10
2
1
การใช้สื่อ
10
3
การใช้เทคโนโลยี การสื่อสารด้วยภาษาที่ต่างกัน การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม รวม
10 10 10 100
1 3 2 25
การสื่อสารด้วยการฟัง การสื่อสารตาม จุดประสงค์ การใช้สื่อและเทคโนโลยี ในการสื่อสาร การสื่อสารใน สภาพแวดล้อมที่ต่างกัน
วาด ภาพ
ตัวบ่งชี้
จับคู่
องค์ประกอบ
เขียน ตอบ
น้าหนัก (ร้อยละ)
รวม (ข้อ)
รูปแบบของข้อคาถาม เลือกต อบ
ทักษะการสื่อสารแห่งศตวรรษที่ 21 ของนิสิตนักศึกษาปริญญาบัณฑิต
5 1
5 4
1
4 3 3 3
2 1 1 10
1 1
2
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
3 4 4 38
๔๐
ตัวอย่างลักษณะเฉพาะของข้อคาถาม องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ ความสามารถที่วัด วัตถุประสงค์ในการวัด รูปแบบข้อคาถาม
การใช้ภาษาในการสื่อสาร 1.การใช้วัจนภาษา ความสามารถในการสื่อสารด้วยวัจนภาษา นิสิตนักศึกษาสามารถสื่อสารด้วยวัจนภาษาได้อย่างเหมาะสม 1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ 2. ข้อคาถามแบบเขียนตอบ
1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ 1.1 ทักษะการพูด ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ ตัวถูก ตัวลวง
ตัวอย่างข้อคาถาม
เกณฑ์ในการประเมิน 1.2 ทักษะการอ่าน ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ ตัวถูก ตัวลวง
กาหนดสถานการณ์เกี่ยวกับการสื่อสารโดยการใช้วัจนภาษาและถามเกี่ยวกับทักษะการพูด เพื่อการสื่อสารที่เหมาะสมในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น การแสดงความยินดี การแสดงความ เสียใจ การอวยพร เป็นต้น โดยอาจจะคานึงถึงระดับความอาวุโสและกาลเทศะด้วย คาตอบมี 5 ตัวเลือกเป็นประโยคสนทนาในสถานการณ์นั้น ๆ เป็นประโยคสนทนาที่มีความเหมาะสมในสถานการณ์นั้นมากที่สุด เป็นประโยคสนทนาที่มีความหมายแอบแฝง แสดงถึงความรู้สึกต่าง ๆ ที่ไม่เหมาะสมต่อ สถานการณ์นั้น เมื่อเพื่อนร่วมงานที่สนิทของท่านได้เลื่อนขั้นเงินเดือน เพราะเขาตั้งใจทางานและมีผลงาน อย่างต่อเนื่อง ท่านจะกล่าวแสดงความยินดีอย่างไร ให้เหมาะสมที่สดุ ก. ยินดีด้วยนะคนเก่งก็อย่างนี้แหละ โชคดีเสมอ ข. ยินดีด้วยนะ คนโปรดของเจ้านายก็อย่างนี้แหละ ค. ยินดีด้วยนะ คุณนี่ก้าวเร็วนาหน้าคนอื่นตลอดเลย ง. ยินดีด้วยนะ คุณเข้าพบเจ้านายบ่อยขนาดนั้น ยังไงก็ไม่พลาดหรอก จ. ยินดีด้วยนะ คุณได้เลื่อนขั้นแล้ว อย่าลืมตอบแทนคนที่คอยช่วยด้วยนะ ตอบถูก ให้ 1 คะแนน ตอบผิด ให้ 0 คะแนน กาหนดสถานการณ์เกี่ยวกับการสื่อสารโดยการใช้วัจนภาษาและถามเกี่ยวกับทักษะการ อ่าน มีการกาหนดบทความ เช่น ข่าวสาร บทสนทนา ข้อความต่าง ๆ เป็นต้น เพื่อให้นา ข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ หรือสร้างสรรค์สิ่งใหม่ เช่น สานวน คาพังเพย กราฟ ภาพวาด เป็นต้น คาตอบมี 5 ตัวเลือกเป็นลักษณะข้อมูลตามที่ผู้ออกข้อคาถามต้องการ เช่น สานวน กราฟ ภาพวาด เป็นต้น เป็นลักษณะข้อมูลที่ถูกต้อง เป็นลักษณะข้อมูลที่ผิด แต่มีลักษณะหรือความหมายที่คล้ายคลึงกับลักษณะข้อมูลที่ถูกต้อง
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๔๑
ตัวอย่างข้อคาถาม
เกณฑ์ในการประเมิน 2. ข้อคาถามแบบเขียนตอบ
ลักษณะคาถาม
ลักษณะคาตอบ
ตัวอย่างข้อคาถาม
เกณฑ์ในการประเมิน องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ ความสามารถที่วัด วัตถุประสงค์ในการวัด รูปแบบข้อคาถาม
“ฉันไม่เคยรู้มาก่อนเลยว่า เขาจะเป็นคนอย่างนี้ เห็นตอนที่เขายังเป็นนายกสมาคมฯ ก็ ท างานแข็ งขั น ดู ซื่ อ สัต ย์ แต่ พ อเปลี่ ยนนายกสมาคมฯ คนใหม่ ความผิ ด ของเขาก็ เผย ออกมาทีละอย่ าง ทั้ งยักยอก แทรกแซง แถมยังโกงการเลื อกตั้งอี ก ” ส านวนในข้อใดมี ความหมายใกล้เคียงกับคาพูดข้างต้นมากที่สุด ก. เงาตามตัว ข. น้าลดตอผุด ค. ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว ง. ช้างตายทั้งตัวเอาใบบัวปิดไม่มิด จ. ข้างนอกสุกใส ข้างในต๊ะติ๊งโหน่ง ตอบถูก ให้ 1 คะแนน ตอบผิด ให้ 0 คะแนน กาหนดสถานการณ์เกี่ยวกับการสื่อสารโดยการใช้วัจนภาษา และถามเกี่ยวกับทักษะการ เขียนเพื่อการสื่อสารที่เหมาะสมในสถานการณ์ที่กาหนดให้ เช่น การเขียนบันทึก การเขียน จดหมาย การเขียนข้อความถึงผู้อื่น เป็นต้น ซึ่งการเขียนเหล่านี้ควรจะมีรูปแบบการเขียนที่ มีการกาหนดไว้อย่างชัดเจน เช่น การเขียนจดหมายราชการ จดหมายลากิจ จดหมายลา ป่วย เป็นต้น ข้อความที่เขียนจะต้องเป็นประโยคที่สุภาพและมีองค์ประกอบของรูปแบบของการเขียน สารนั้นครบถ้วน หากท่านต้องการขอคาแนะนาจากอาจารย์ เพื่อนามาทารายงาน แล้วพบว่าอาจารย์ไม่อยู่ที่ ห้องในขณะนั้น ท่านจึงต้องการเขียนข้อความ (จดหมายน้อย) ถึงอาจารย์ เพื่อขอนัดวัน เวลาที่อาจารย์สะดวกในการให้เข้าพบ ท่านจะเขียนข้อความนั้นอย่างไร ซึ่งท่านสามารถ เพิ่มเติมรายละเอียดได้เพื่อความเหมาะสม (ข้อความประกอบด้วย เรียน-ชื่อ-ธุระ-ขอนัดพบ-เบอร์โทรศัพท์ติดต่อ-ขอบคุณ-ลงชื่อ) การเขียนมีองค์ประกอบครบถ้วน องค์ประกอบละ 1 คะแนน การใช้ภาษาในการสื่อสาร 2.การใช้อวัจนภาษา ความสามารถในการสื่อสารด้วยอวัจนภาษา นิสิตนักศึกษาสามารถสื่อสารด้วยอวัจนภาษาได้อย่างเหมาะสม 1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ 2. ข้อคาถามแบบเขียนตอบ 3. ข้อคาถามแบบวาดภาพ
1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ ลักษณะคาถาม
กาหนดสถานการณ์เกี่ยวกับการสื่อสารโดยการใช้อวัจนภาษาและถามเกี่ยวกับการใช้อวัจน ภาษา แสดงถึ งความหมายแฝงของการเคลื่ อ นไหวร่ า งกาย ต าแหน่ ง ช่ ว งระยะห่ า ง ระยะเวลา การสัมผัสทางกาย หรือการใช้น้าเสียงประกอบการสื่อสาร สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๔๒ ลักษณะคาตอบ ตัวถูก ตัวลวง
คาตอบมี 5 ตัวเลือกเป็นการแสดงความหมายแฝงต่าง ๆ เป็นการแสดงความหมายแฝงที่ถูกต้อง เป็นการแสดงความหมายแฝงที่ผิด หากท่านได้เข้าร่วมชมการแสดงเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างดอกไม้กับวันสาคัญต่าง ๆ ของชมรมนักจัดดอกไม้ ซึ่งนักแสดงแต่ละคนถือดอกไม้ออกมาหลากหลายชนิด ท่านคิดว่า นักแสดงที่ถือดอกกล้วยไม้เป็นการสื่อถึงวันสาคัญวันใด
ตัวอย่างข้อคาถาม
เกณฑ์ในการประเมิน 2. ข้อคาถามแบบเขียนตอบ ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ ตัวอย่างข้อคาถาม เกณฑ์ในการประเมิน 3. ข้อคาถามแบบวาดภาพ ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ
ตัวอย่างข้อคาถาม
ก. วันพ่อ ค.วันแม่ จ. วันทหารผ่านศึก ตอบถูก ให้ 1 คะแนน
ข. วันครู ง. วันพระ ตอบผิด ให้ 0 คะแนน
ก าหนดสถานการณ์ เกี่ ย วกั บ การสื่ อ สารโดยการใช้ อ วั จ นภาษา และถามเกี่ ย วกั บ การ ใช้อวัจนภาษา แสดงถึงความหมายแฝงของการเคลื่อนไหวร่างกาย ตาแหน่ง ช่วงระยะห่าง ระยะเวลา การสัมผัสทางกาย หรือการใช้น้าเสียงประกอบการสื่อสาร โดยอาจจะใช้การ บรรยายหรือรูปภาพประกอบคาถาม เป็นการอธิบายถึงความหมายแฝงของการสื่อสารจากคาบรรยายหรือรูปภาพ ท่านคิดว่าผู้ชายในภาพมีความรู้สึกอย่างไร หรือเกิดเหตุการณ์ใด ขึ้นกับเขา จงอธิบาย (อธิบายถึงลักษณะอาการเจ็บป่วยหรือบุคคลที่กาลังใช้ความคิด เกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้น) อธิบายได้สอดคล้องกับคาบรรยายหรือรูปภาพที่กาหนดให้ ให้ 1 คะแนน ก าหนดสถานการณ์ เกี่ ย วกั บ การสื่ อ สารโดยการใช้ อ วั จ นภาษา และถามเกี่ ย วกั บ การ ใช้อวัจนภาษา โดยกาหนดสถานการณ์ที่จาเป็นต้องสื่อสารด้วยภาพวาด เช่น การสื่อสาร กับผู้ที่มีความบกพร่อง ผู้ที่ไม่ทราบภาษา เป็นต้น ภาพที่วาดนั้นจะต้องมีเงื่อนไขที่กาหนดในสถานการณ์อย่างครบถ้วน ขณะที่ท่านกาลังทางานด่วนที่คณะ และมีความจาเป็นต้องใช้ USB แฟลชไดรฟ์ซึ่งอยู่ที่ หอพัก ท่านจึงได้วานเพื่อนที่กาลังจะกลับไปเอาของที่หอพักเดียวกับท่าน ให้ไปหยิบ USB แฟลชไดรฟ์ที่เก็บไว้ในกล่องสี่เหลี่ยมในลิ้นชักล่างสุดของโต๊ะทางานในห้องพัก โดยท่านได้ วาดภาพตาแหน่งและรูปลักษณ์ของ USB แฟลชไดรฟ์นั้นลงบนกระดาษ ท่านจะวาดภาพ อธิบายอย่างไร หากท่านสามารถออกแบบโต๊ะทางาน กล่องสี่เหลี่ยมและ USB แฟลชไดรฟ์ ได้ตามความสะดวก
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๔๓
เกณฑ์ในการประเมิน องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ ความสามารถที่วัด วัตถุประสงค์ในการวัด รูปแบบข้อคาถาม 1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ ตัวถูก ตัวลวง
ตัวอย่างข้อคาถาม (ใช้การเปิดเทปให้ผู้สอบฟัง)
เกณฑ์ในการประเมิน
(ภาพวาดประกอบด้ วย โต๊ ะท างานที่ มี ลิ้ น ชั ก -กล่ อ งสี่ เหลี่ ย ม-USB แฟลชไดฟ์ และท า เครื่องหมายระบุตาแหน่ง) ภาพวาดประกอบด้วยองค์ประกอบตามที่สถานการณ์กาหนด องค์ประกอบละ 1 คะแนน การสื่อสารด้วยการฟัง 3. การฟังเพื่อจับใจความ ความสามารถในการจับใจความด้วยการฟัง นิสิตนักศึกษาสามารถจับใจความด้วยการฟังได้ 1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ กาหนดสถานการณ์ เกี่ยวกับการสื่อสารด้วยการฟังและถามเกี่ยวกับใจความสาคัญ ของ บทความที่ได้ฟัง รวมถึงการวิเคราะห์บทความนั้นได้ คาตอบมี 5 ตัวเลือกมีลักษณะเป็นใจความหรือสิ่งที่ได้จากบทความที่ฟัง เป็นใจความสาคัญหรือสิ่งที่ได้จากบทความที่ฟัง เป็นองค์ประกอบต่าง ๆ ของบทความที่ฟัง “โลกมี การเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาเมื่อมีการเปรียบเที ยบโลกของเราในอดีตและใน ปัจจุบัน นับว่ามีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ทั้งในด้านภูมิศาสตร์ สภาพอากาศ และ ปัจจัยการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ภายในโลก เช่น จานวนพื้นที่ป่าไม้ที่ลดน้อยลง การ เกิดภัยแล้งที่มีระยะเวลานานขึ้น การเปลี่ยนแปลงของสิ่งอานวยความสะดวกสบายรอบตัว เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ล้วนเกิดมาจากความรู้ความสามารถของมนุษย์ที่ได้รับการ สั่งสมและถ่ายทอดสืบต่อกันมาภายในครอบครัว ชุมชน หรือสังคมนั้น ๆ และเมื่อมีการ จั ด การการถ่ า ยทอดความรู้ ค วามสามารถนี้ อ ย่ า งเป็ น ระบบก่ อ ให้ เกิ ด สิ่ ง ที่ เรี ย กว่ า “การศึกษา” การศึกษาได้สร้างศาสตร์ความรู้และวิทยาการต่าง ๆ รวมทั้งเทคโนโลยีที่ สามารถทาเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ให้เป็นไปได้ เช่น การเหยียบดวงจันทร์, การติดต่อสื่อสารข้าม ทวีป, การคัดเลือกสายพันธุ์ของพืช เป็นต้น” ใจความสาคัญของบทความนี้ คือข้อใด ก.การส่งต่อความรู้ เรียกว่า การศึกษา ข.โลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ค.โลกของเราขับเคลื่อนด้วยการศึกษา ง.การเปลี่ยนแปลงสิ่งต่าง ๆ ล้วนเกิดจากมนุษย์ จ.ปัจจุบันสามารถทาเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ให้เป็นไปได้ ตอบถูก ให้ 1 คะแนน ตอบผิด ให้ 0 คะแนน
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๔๔
องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ ความสามารถที่วัด วัตถุประสงค์ในการวัด รูปแบบข้อคาถาม
การสื่อสารด้วยการฟัง 4. การฟังเพื่อสร้างคุณค่า ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ด้วยการฟัง นิสิตนักศึกษาสามารถคิดสร้างสรรค์ด้วยการฟังได้ 1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ 2. ข้อคาถามแบบเขียนตอบ 3. ข้อคาถามแบบวาดภาพ
1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ ตัวถูก ตัวลวง
ตัวอย่างข้อคาถาม (ใช้การเปิดเทปให้ ผู้สอบฟัง)
เกณฑ์ในการประเมิน 2. ข้อคาถามแบบเขียนตอบ ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ ตัวอย่างข้อคาถาม (ใช้การเปิดเทปให้ ผู้สอบฟัง)
กาหนดสถานการณ์เกี่ยวกับการสื่อสารด้วยการฟังและถามเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ของข้อความที่ได้ฟัง เช่น บทกลอน บทประพันธ์ บทความ เป็นต้น คาตอบมี 5 ตัวเลือกมีลักษณะเป็นสิ่งต่าง ๆ ของข้อความที่ได้ฟัง เป็นสิ่งที่ข้อความได้เอ่ยถึง เป็นสิ่งที่มีลักษณะคล้ายกับสิ่งที่ข้อความได้เอ่ยถึง “เฝ้าติดเฝ้าตามเฝ้าหา แม้นเป็นยักษายักษี เป็นเหตุลูกยารอรี คอยจ้องหลบลี้หนีหาย ลูกรักหลบหลีกขึ้นผา สวดมนต์ภาวนาพรางกาย แม่ทรุดใต้เนินฟูมฟาย ตัวตายทิ้งมนตร์ห่วงลูก” จากบทกลอนที่ท่านได้ฟัง ได้กล่าวถึงสิ่งใดต่อไปนี้ ก.ผีเสื้อสมุทร ข.นางพันธุรัต ค.นางสามนักขา ง.นางยักษ์สันตรา จ.นางยักษ์สนธมาร ตอบถูก ให้ 1 คะแนน ตอบผิด ให้ 0 คะแนน กาหนดสถานการณ์เกี่ยวกับการสื่อสารด้วยการฟังและถามเกี่ยวกับการนาสิ่งที่ได้ฟังมาต่อยอดหรือ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ มีลักษณะเป็นข้อความที่ต้องการการพัฒ นาหรือแก้ไขสิ่งใหม่ เพื่อให้เกิดการ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ เป็นการอธิบายถึงความคิดที่ได้วิเคราะห์และสังเคราะห์ขึ้นมาใหม่จากข้อความที่ได้ฟัง อาจจะเป็น ข้อความ หรือบทประพันธ์ “ภาวะการขาดแคลนน้าในปัจจุบัน เป็นเรื่องที่หลายประเทศให้ความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจาก น้าเป็ นปั จจัยสาคั ญ ในการดาเนิ นชีวิตของมนุษ ย์ ไม่ว่าจะเป็น การใช้น้ าในภาคการเกษตร และ ภาคอุตสาหกรรม ถึงแม้ว่าน้าจะครอบคลุมพื้นที่มากถึง 2 ใน 3 ของพื้นที่รวม แต่ประชากรโลก จานวน 1 ใน 5 กาลังประสบภาวะขาดแคลนน้า และทวีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบ
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๔๕
เกณฑ์ในการประเมิน 3. ข้อคาถามแบบวาดภาพ ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ
ตัวอย่างข้อคาถาม (ใช้การเปิดเทปให้ ผู้สอบฟัง)
เกณฑ์ในการประเมิน องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ ความสามารถที่วัด วัตถุประสงค์ในการวัด รูปแบบข้อคาถาม
ต่ อ เศรษฐกิ จ และความเป็ น อยู่ ข องประชาชนในประเทศเหล่ า นั้ น เช่ น ประเทศจี น อิ น เดี ย สหรัฐอเมริกา ไนจีเรีย เอธิโอเปีย เป็นต้น ซึ่งภาวะขาดแคลนน้าของโลกนี้เป็นมหันตภัยของมวล มนุษย์โลกที่ประเทศต่าง ๆ ที่เผชิญปัญหานี้จะต้องหาทางแก้ไขอย่างเร่งด่วน” จากปัญหาที่ท่านได้ฟัง ท่านจะมีวิธีการแก้ปัญหาดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรมอย่างไร จงอธิบาย (อธิบายถึงการทาฝนเทียม การจัดระบบแผนผัง การชลประทาน ฯลฯ) อธิบายถึงแนวทางการพัฒนาหรือการแก้ปัญหา ให้ 1 คะแนน กาหนดสถานการณ์เกี่ยวกับการสื่อสารด้วยการฟังและถามเกี่ยวกับการนาสิ่งที่ได้ฟังมาต่อยอดหรือ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ มีการกาหนดรูปแบบเป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ ระบบ หลักการ แนวทาง หรือกลไก ต่าง ๆ เป็นการอธิบายการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ด้วยภาพวาด “ภาวะการขาดแคลนน้าในปัจจุบนั เป็นเรื่องที่หลายประเทศให้ความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจาก น้าเป็นปัจจัยสาคัญในการดาเนินชีวิตของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการใช้นาในภาคการเกษตร ้ และ ภาคอุตสาหกรรม ถึงแม้ว่าน้าจะครอบคลุมพื้นที่มากถึง 2 ใน 3 ของพื้นที่รวม แต่ประชากรโลก จานวน 1 ใน 5 กาลังประสบภาวะขาดแคลนน้า และทวีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศเหล่านั้น เช่น ประเทศจีน อินเดีย สหรัฐอเมริกา ไนจีเรีย เอธิโอเปีย เป็นต้น ซึ่งภาวะขาดแคลนน้าของโลกนี้เป็นมหันตภัยของมวล มนุษย์โลกที่ประเทศต่าง ๆ ที่เผชิญปัญหานี้จะต้องหาทางแก้ไขอย่างเร่งด่วน” จากที่ท่านได้อธิบายวิธีการแก้ปัญหาดังกล่าว ท่านจะออกแบบเครื่องมือ/อุปกรณ์/ระบบนั้นอย่างไร จงวาดภาพประกอบ (ภาพวาดเป็นการอธิบายถึงเครื่องมือ เครื่องใช้ ระบบ หลักการ แนวทาง หรือกลไกต่าง ๆ ซึ่ง สามารถดาเนินการได้) กาหนดให้ภาพวาดนั้น มี 2 คะแนน คือ ความเป็นเหตุเป็นผล และความเป็นไปได้จริง การสื่อสารตามจุดประสงค์ 5. การสื่อสารเพื่อสาระความรู้ ความสามารถในการสื่อสารเพื่อสาระความรู้ได้ นิสิตนักศึกษาสามารถสื่อสารเพื่อสาระความรู้ได้ 1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ 2. ข้อคาถามแบบเขียนตอบ
1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ ลักษณะคาถาม
กาหนดสถานการณ์เกี่ยวกับการสื่อสารตามจุดประสงค์ และถามเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการ สื่อ สารของประโยคที่ ก าหนดให้ ซึ่ งมี ความแตกต่ างจากจุด ประสงค์ในการสื่อ สารของ ประโยคอื่นหรือมีการกาหนดข้อความให้ระบุว่าข้อความนั้นมีจุดประสงค์ใดในการสื่อสาร สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๔๖ ลักษณะคาตอบ ตัวถูก ตัวลวง
ตัวอย่างข้อคาถาม
เกณฑ์ในการประเมิน 2. ข้อคาถามแบบเขียนตอบ
คาตอบมี 5 ตัวเลือกมีลักษณะเป็นประโยคที่สื่อสารถึงจุดประสงค์ต่าง ๆ เป็นประโยคที่มีจุดประสงค์ในการสื่อสารในด้านหนึ่ง เป็นประโยคที่มีจุดประสงค์ในการสื่อสารคนละด้านกับตัวถูก ประโยคในข้อใดต่อไปนี้ มีจุดประสงค์ในการสื่อสารที่ต่างจากข้ออื่น ก.งานราตรีคืนนี้ เธอจะเด่นที่สุด ถ้าเธอใส่ชุดนี้ เชื่อฉันสิ ข.พอดีฉันติดธุระด่วนน่ะ แล้วเดี๋ยวจะแวะมาอีกทีตอนเย็นนะ ค.หนังสือเรียนเล่มนี้อ่านแล้วเข้าใจง่าย ฉันอ่านแล้วยังชอบเลย ง.เธอควรจะตั้งใจเรียนให้มากกว่านี้นะ เพื่ออนาคตของตัวเธอเอง จ.เราลงเรียนวิชาว่ายน้ากันดีกว่า จะได้ออกกาลังกายในอากาศร้อนแบบนี้ ตอบถูก ให้ 1 คะแนน ตอบผิด ให้ 0 คะแนน กาหนดสถานการณ์เกี่ยวกับการสื่อสารตามจุดประสงค์ และถามเกี่ยวกับสถานการณ์ที่ให้ สื่อสารเพื่อสาระความรู้ กาหนดสถานการณ์ ที่ต้องสื่อสาร โดยเป็นการอธิบายหรือสรุป ใจความสาคัญอย่างครบถ้วนและกระชับ เช่น การสอนหนังสือ การส่งสาร การประกาศ ข่าว การสนทนา การกาหนดรหัสลับ เป็นต้น เป็นการอธิบายหรือสรุปประเด็นเนื้อหาของข้อความ เป็นการส่งต่อสาระความรู้ได้อย่าง ถูกต้องและเหมาะสม หากเพื่อนของท่านมาไม่ทันตอนที่อาจารย์สอนเนื้อหาบนกระดานตามภาพและอาจารย์ได้ ลบทิ้งไปแล้ว ท่านจะอธิบายหรือสรุปเนื้อหานั้นอย่างไร เพื่อให้เพื่อนของท่านเข้าใจได้ง่าย
ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ
โมเดลการสื่อสาร โมเดลของอริสโตเติล
ตัวอย่างข้อคาถาม
ผู้พูด
เกณฑ์ในการประเมิน
ปฏิกิริยา
โอกาส
โมเดลของลาสเวลล์ ผู้ส่งสาร
ผู้ฟัง
คาพูด
สาร
สื่อ
ผู้รับสาร
ผล
(โมเดลของอริสโตเติลประกอบด้วย ผู้พูด คาพูด ผู้ฟัง และปฏิกิริยา ซึ่งต่างจากโมเดลของ ลาสเวลล์ที่มีสื่อเพิ่มขึ้นมาระหว่างคาพูดและผู้ฟัง) ลักษณะคาตอบมีองค์ประกอบตามที่กาหนด องค์ประกอบละ 1 คะแนน
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๔๗
องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ ความสามารถที่วัด วัตถุประสงค์ในการวัด รูปแบบข้อคาถาม
การสื่อสารตามจุดประสงค์ 6. การสื่อสารเพื่อความบันเทิง ความสามารถในการสื่อสารเพื่อความบันเทิงได้ นิสิตนักศึกษาสามารถสื่อสารเพื่อความบันเทิงได้ 1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ 2. ข้อคาถามแบบเขียนตอบ
1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ ตัวถูก ตัวลวง ตัวอย่างข้อคาถาม เกณฑ์ในการประเมิน 2. ข้อคาถามแบบเขียนตอบ ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ ตัวอย่างข้อคาถาม เกณฑ์ในการประเมิน
กาหนดสถานการณ์เกี่ยวกับการสื่อสารตามจุดประสงค์ และถามเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการ สื่อ สารของประโยคที่ ก าหนดให้ ซึ่ งมี ความแตกต่ างจากจุด ประสงค์ในการสื่อ สารของ ประโยคอื่นหรือมีการกาหนดข้อความให้ระบุว่าข้อความนั้นมีจุดประสงค์ใดในการสื่อสาร คาตอบมี 5 ตัวเลือกมีลักษณะเป็นรูปแบบการสื่อสารต่าง ๆ เป็นรูปแบบการสื่อสารในด้านหนึ่ง เป็นรูปแบบการสื่อสารคนละด้านกับตัวถูก ข้อใดต่อไปนี้มีจุดประสงค์ในการสื่อสารแตกต่างจากข้ออื่น ก. ละคร ข. โฆษณา ค. บทเพลง ง. นวนิยาย จ. หนังสือการ์ตูน ตอบถูก ให้ 1 คะแนน ตอบผิด ให้ 0 คะแนน กาหนดสถานการณ์เกี่ยวกับการสื่อสารตามจุดประสงค์ และถามเกี่ยวกับสถานการณ์ที่ให้ สื่อสารเพื่อความบัน เทิ ง กาหนดสถานการณ์ ที่ ต้องสื่อสาร โดยเป็นการเขียนเพื่ อความ บันเทิงหรือชักจูงใจ เช่น การเชิญชวนเข้าร่วมกิจกรรม การรณรงค์ การโฆษณา การเขียน ข่าวบันเทิง เป็นต้น เป็นการเขียนเพื่อความบันเทิงได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ในกิจกรรม ปั่นเพื่อพ่อ หากท่านเป็นหัวหน้าชมรมนักปั่นของมหาวิทยาลัย ท่านจะเขียน “ข้อความ”เชิญ ชวนให้นิสิตนักศึกษามาเข้าร่วมกิจกรรมกันอย่างไร(เขียนเชิญ ชวนร่วม กิจกรรมด้วยถ้อยคาสุภาพ หรือเขียนคาขวัญ) เป็นการเขียนเชิญชวน แบ่งเป็นความสุภาพ ความเหมาะสม และมีความชักจูง ให้ด้านละ 1 คะแนน รวม 3 คะแนน
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๔๘
องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ ความสามารถที่วัด วัตถุประสงค์ในการวัด รูปแบบข้อคาถาม 1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ ตัวถูก ตัวลวง
ตัวอย่างข้อคาถาม
เกณฑ์ในการประเมิน
องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ ความสามารถที่วัด วัตถุประสงค์ในการวัด รูปแบบข้อคาถาม
การใช้สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร 7. การใช้สื่อ ความสามารถในการเลือกใช้สื่อในการสื่อสาร นิสิตนักศึกษาสามารถเลือกใช้สื่อในการสื่อสารได้ 1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ กาหนดสถานการณ์ เกี่ ยวกับ การใช้สื่ อและเทคโนโลยีเพื่ อ การสื่ อสาร และถามเกี่ย วกั บ สถานการณ์ที่ใช้สื่อสารนั้น มีการกาหนดข้อจากัดหรือขอบเขตในการเลือกใช้สื่อ คาตอบมี 5 ตัวเลือกมีลักษณะเป็นสื่อประเภทต่าง ๆ เป็นสื่อที่มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ที่กาหนดให้ เป็นสื่อทั่วไป ที่ไม่เหมาะสาหรับการนามาใช้ในสถานการณ์ที่กาหนดให้ ท่านต้องการนาเสนอโครงการใหม่ในการประชุมครั้งหน้า ท่านจะนาเสนอด้วยโปรแกรมใด ถ้าหากโครงการใหม่ของท่านมีข้อมูลในรูปแบบของข้อความ ภาพนิ่ง ตาราง แผนภูมิ และ กระบวนการดาเนินงาน ก. Microsoft office Excel ข. Microsoft office Word ค. Microsoft office InfoPath ง. Microsoft office Publisher จ. Microsoft office PowerPoint ตอบถูก ให้ 1 คะแนน ตอบผิด ให้ 0 คะแนน
การใช้สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร 8. การใช้เทคโนโลยี ความสามารถในการเลือกใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร นิสิตนักศึกษาสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารได้ 1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ 2. ข้อคาถามแบบเขียนตอบ
1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ
กาหนดสถานการณ์ เกี่ ยวกับ การใช้สื่ อและเทคโนโลยีเพื่ อ การสื่ อสาร และถามเกี่ย วกั บ สถานการณ์ที่ใช้สื่อสารนั้น มีการกาหนดข้อจากัดหรือขอบเขตในการเลือกใช้เทคโนโลยี คาตอบมี 5 ตัวเลือกมีลักษณะเป็นเทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๔๙ ตัวถูก ตัวลวง
ตัวอย่างข้อคาถาม
เกณฑ์ในการประเมิน 2. ข้อคาถามแบบเขียนตอบ
เป็นเทคโนโลยีที่มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ที่กาหนดให้ เป็นเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสาหรับการนามาใช้ในสถานการณ์ที่กาหนดให้ ในขณะที่หัวหน้าสายงานของท่านกาลังติดต่อธุรกิจสาคัญที่ต่างจังหวัด ลูกค้าได้ทากาแฟหก ใส่เอกสารที่ต้องลงนามสัญญา หัวหน้าฯ จึงได้ติดต่อกลับมาที่สานักงานใหญ่ที่กรุงเทพฯ และให้ท่านส่งเอกสารนั้นไปให้โดยด่วน ท่านจะเลือกส่งเอกสารสาคัญนั้น ด้วยช่องทางใดจึง จะมีความเหมาะสมมากที่สุด ก.โทรสาร (FAX) ข.โทรศัพท์ (TELEPHONE) ค.จดหมายลงทะเบียน (EMS) ง.พนักงานส่งของ (MESSENGER) จ.จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-MAIL) ตอบถูก ให้ 1 คะแนน ตอบผิด ให้ 0 คะแนน กาหนดสถานการณ์เกี่ยวกับการใช้สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร และถามเกี่ยวกับการใช้ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างถูกต้อง หรือการกาหนดประเด็นในการค้นคว้าหรือเข้าถึง ข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เขียนข้อมูลรายละเอียดในการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างครบถ้วนและถูกต้อง หรือ อธิบายการเข้าถึงข้อมูลได้หลากหลายช่องทาง ท่ า น ต้ อ ง ก า ร ส่ ง ไ ฟ ล์ ง า น ชื่ อ “ร า ย ง า น .docx”ให้ กั บ เพื่ อ น ที่ ใ ช้ ชื่ อ ว่ า “Jellystar@hotmail.com” เพื่อให้เพื่อนของท่านตรวจทานและรวบรวมเป็นไฟล์เดียวกัน โดยการใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) ตามรายละเอียดที่กาหนดให้ ท่านจาเป็นต้อง กรอกรายละเอียดในส่วนใดบ้าง และทาเครื่องหมาย ในการกดส่ง E-mail
ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ
ตัวอย่างข้อคาถาม
To : __Jellystar@hotmail.com________________ Subject : __ส่งงาน__________________________ Attachments :
รายงาน.docx
Save Draft Send Cancel
Message : __ฝากตรวจทานและรวบรวมเป็นไฟล์เดียวกันด้วย_________
เกณฑ์ในการประเมิน
มีรายละเอียดถูกต้องและครบถ้วน นับส่วนละ 1 คะแนน ________________________________________________________ หากเป็ นการกาหนดประเด็นให้ตอบการค้นหา ต้องเป็นคาที่มีความเกี่ยวข้อง ครอบคลุม _____________ และสื ่อถึงประเด็นที่กาหนดให้ กาหนดให้จานวนคาต่อคะแนน ดังนี้ คาที่ศึกษา 1 – 3 คาให้ 1 คะแนน คาที่ศึกษา 4 – 6 คาให้ 2 คะแนน คาที่ศึกษา 7 คาขึ้นไปให้ 3 คะแนน
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๕๐
องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ ความสามารถที่วัด วัตถุประสงค์ในการวัด รูปแบบข้อคาถาม
การสื่อสารในสภาพแวดล้อมที่ตา่ งกัน 9. การสื่อสารด้วยภาษาที่ต่างกัน ความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ นิสิตนักศึกษาสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษได้ 1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ 2. ข้อคาถามแบบเขียนตอบ
1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ กาหนดสถานการณ์ เกี่ยวกับการสื่อสารข้ามวัฒ นธรรมและถามเกี่ยวกับการสื่อสารด้วย ภาษาอังกฤษในสถานการณ์ทั่วไป เช่น การทักทาย การถามทาง การสอบ การสัมภาษณ์ เป็นต้น รวมถึงการถามเกี่ยวกับความเข้าใจในการสื่อสาร เช่น รายละเอียดของบทสนทนา สิ่งของ อาการต่าง ๆ เป็นต้น คาตอบมี 5 ตัวเลือกมีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษ เป็นประโยคภาษาอังกฤษที่มีความถูกต้อง เป็นประโยคภาษาอังกฤษที่ไม่ถูกต้อง I'm at the school. How do I get to the movie theater?
ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ ตัวถูก ตัวลวง
Store School
Movie Theater Library
Post office
Bank
Santa Street
Caros Street
Hospital
Manda Street
Robin Street
ตัวอย่างข้อคาถาม a. Turn left onto Caros Street. Go past the hospital. Go one block. It's on the right. b. Go straight on Robin Street. Turn right onto Santa Street. Go two blocks. It's on the left. c. Go straight on Robin Street. Turn left onto Santa Street. Go two blocks. It's on the right. สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๕๑
เกณฑ์ในการประเมิน 2. ข้อคาถามแบบเขียนตอบ ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ
ตัวอย่างข้อคาถาม
d. Turn right onto Caros Street. Turn left on Manda Street. Go two blocks. It's on the left. (e.) Turn right onto Caros Street. Turn right on Manda Street. Go two blocks. It's on the right. ตอบถูก ให้ 1 คะแนน ตอบผิด ให้ 0 คะแนน กาหนดสถานการณ์ เกี่ยวกับการสื่อสารข้ามวัฒ นธรรมและถามเกี่ยวกับการสื่อสารด้วย ภาษาอังกฤษในสถานการณ์ทั่วไป โดยกาหนดบทความหรือบทสนทนา แล้วให้สรุปใจความ หรือบันทึกให้ผู้อื่นอ่าน กล่าวถึงใจความสาคัญของบทความหรือบทสนทนา Read the telephone conversation and complete the information in the message form. It is 11 A.M. on November, 3. Tom is calling Jerry. They work at the same company. Nid : Hello. Sales Department. Tom : Hi, Nid. It’s Tom here. Is Jerry there ? Nid : No, Tom. He won’t be in the office this morning. Can I take a message ? Tom : Yes, please ask him to call me when he arrives. I’d like to discuss our later annual report with him. Nid : Yes, I’ll give him the message. Your extension number is 5316, right ? Tom : Yes. Thanks a lot, Nid. Bye. Nid : No problem. Goodbye. For : ___Jerry____________________________________ From : ___Tom____________________________________ Tel : ___5316____________________________________ Date : ___ November, 3____________________________ Time : ___11 A.M.__________________________________ Message : __He would like to discuss your later annual report with you.____________________________________ Taken by : __Nid___________________________________
เกณฑ์ในการประเมิน
กล่าวถึงรายละเอียดของบทความหรือบทสนทนาได้ครบ ให้ข้อมูลละ 1 คะแนน
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๕๒
องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ ความสามารถที่วัด วัตถุประสงค์ในการวัด รูปแบบข้อคาถาม
การสื่อสารในสภาพแวดล้อมที่ตา่ งกัน 10. การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม ความสามารถในการสื่อสารในความต่างทางวัฒนธรรม นิสิตนักศึกษาทราบความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมได้ 1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ 2. ข้อคาถามแบบเขียนตอบ 3. ข้อคาถามแบบจับคู่
1. ข้อคาถามแบบเลือกตอบ ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ ตัวถูก ตัวลวง
ตัวอย่างข้อคาถาม
เกณฑ์ในการประเมิน 2. ข้อคาถามแบบเขียนตอบ ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ
ตัวอย่างข้อคาถาม
กาหนดสถานการณ์เกี่ยวกับการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมและถามเกี่ยวกับรูปแบบการสื่อสาร เฉพาะวัฒนธรรมหรือการกาหนดอย่างเป็นสากล คาตอบมี 5 ตัวเลือกมีลักษณะเป็นการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม เป็นรูปแบบการสื่อสารที่ได้รับการกาหนดเป็นสากล เป็ น รู ป แบบการสื่ อ สารโดยทั่ ว ไป ที่ มี ก ารปฏิ บั ติ ในบางสั งคม บางประเทศหรื อ บาง วัฒนธรรม ข้อใดต่อไปนี้ เป็นการทักทายสากล ก.การจับมือ ข.การแนบแก้ม ค.การโค้งคานับ ง.การยกมือไหว้ จ.การทาบฝ่ามือที่หน้าอก ตอบถูก ให้ 1 คะแนน ตอบผิด ให้ 0 คะแนน กาหนดสถานการณ์ เกี่ ย วกั บ การสื่อ สารข้ ามวั ฒ นธรรม และถามเกี่ ย วกั บ การน าเสนอ วัฒนธรรมของตนเองเพื่อสื่อสารให้ชนชาติอื่นทราบ หรือถามเกี่ยวกับวัฒนธรรมของชน ชาติอื่นที่ควรรู้ กล่าวถึงการแสดงที่แสดงถึงวัฒนธรรมของชาติตนเองหรือชาติอื่นได้อย่างถูกต้อง ท่านเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนที่ทวีปยุโรปและได้รับมอบหมายให้จัดการแสดงทางวัฒนธรรม ไทย ท่านจะเลือกจัดการแสดงใดพร้อมอธิบายเหตุผล (ตอบการแสดงทางวัฒนธรรมไทย เช่น ลิเก โขน การราไทย การเซิ้งราโปงลาง หมอลา การฟ้อน การราโนรา ราวงเป็นต้นพร้อมเหตุผลสนับสนุน เช่น เป็นการแสดงถึงเอกลักษณ์ ของประเทศไทย เป็นการแสดงที่ชาวต่างชาติรู้จักเป็นอย่างดีหรือไม่เคยเห็นมาก่อน เป็น ต้น)
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๕๓
เกณฑ์ในการประเมิน
ตอบการแสดงหรือวัฒนธรรมของแต่ละชนชาติได้ถูกต้องและให้เหตุผลสนับสนุนได้อย่าง เหมาะสม องค์ประกอบละ 1 คะแนน รวม 2 คะแนน
3. ข้อคาถามแบบจับคู่ กาหนดสถานการณ์เกี่ยวกับการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม และถามเกี่ยวกับการใช้อวัจนภาษา แบบเดียวกัน แต่ต่างความหมายในแต่ละวัฒนธรรม เลือกความหมายให้ตรงตามวัฒนธรรม
ลักษณะคาถาม ลักษณะคาตอบ
ตัวอย่างข้อคาถาม
เกณฑ์ในการประเมิน
สัญลักษณ์ดังภาพ มีความหมายอย่างไรในแต่ละประเทศ ___ง___ 1. จีน ก.เงิน ___ก___ 2. ญี่ปุ่น ข. ตกลง ___ค___ 3. บราซิล ค. เรื่องลามก ___ข___ 4. อเมริกา ง. หมายเลข 7 จ. ศูนย์หรือไร้ค่า ฉ. มิตรภาพที่ดีต่อกัน ช. ชายรักชายหรือเกย์ ตอบถูก ให้ 1 คะแนน ตอบผิด ให้ 0 คะแนน
4.การคานวณคะแนน แบบวัดทักษะการสื่อสารแห่งศตวรรษที่ 21 ของนิสิตนักศึกษาปริญญาบัณฑิต มีการกาหนดคะแนนเต็ม ของแบบวัด คือ 100 คะแนน แบ่งเป็นองค์ประกอบละ 20 คะแนน ซึ่งในแต่ละองค์ประกอบมี 2 ตัวบ่งชี้ ดังนั้น แต่ละตัวบ่งชี้จะมี 10 คะแนน ซึ่งในแต่ละองค์ประกอบและตัวบ่งชี้มีคะแนนเต็ม จากแบบวัดทักษะการสื่อสารฯที่ แตกต่างกัน จึงมีความลาบากในการคานวณคะแนนด้วยมือ ดังนั้น ในการคานวณคะแนนของแบบวัดทักษะการ สื่อสารฯ จึงควรใช้โปรแกรม Microsoft Office Excel ในการคานวณคะแนน ซึ่งมีขั้นตอนในการคานวณ ดังนี้ 1. กาหนดตัวอักษรย่อขององค์ประกอบและตัวบ่งชี้ เนื่องจากทักษะการสื่อสารแห่งศตวรรษที่ 21 ของนิสิตนักศึกษาปริญญาบัณฑิต มีจานวน 5 องค์ประกอบ และ 10 ตัวบ่ งชี้ ดังนั้น ในการป้อนข้อมูลในโปรแกรมจึงมีความซ้าซ้อนและมีจานวนมาก จึงควรมีการกาหนด สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๕๔
อักษรย่อ (รหัส) ของแต่ละองค์ประกอบและตัวบ่งชี้กากับที่แต่ละข้อ เพื่อ ความสะดวกและเข้าใจได้ง่ายในการ คานวณคะแนน ซึ่งมีการกาหนดอักษรย่อ ตามตารางดังนี้ ตาราง อักษรย่อขององค์ประกอบและตัวบ่งชี้ องค์ประกอบ อักษรย่อ ตัวบ่งชี้ อักษรย่อ การใช้วัจนภาษา V (verbal) การใช้ภาษาในการ VN สื่อสาร การใช้อวัจนภาษา N (Non-verbal) เพื่อจับใจความ P (Purport) การสื่อสารด้วยการฟัง PA เพื่อสร้างคุณค่า A (Appreciate) เพื่อสาระความรู้ K (Knowledge) การสื่อสารตาม KE จุดประสงค์ เพื่อความบันเทิง E (Entertain) การใช้สื่อ M (Media) การใช้สื่อและเทคโนโลยี MT ในการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยี T (Technology) การสื่อสารด้วยภาษาที่ต่างกัน L (Language) การสื่อสารใน LC สภาพแวดล้อมที่ต่างกัน การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม C (Cross-cultures) 2. กาหนดรายละเอียดต่าง ๆ ของแบบวัด เพื่อความสะดวกในการป้อนคะแนนของแบบวัด จึงมีการกาหนดข้อมูลที่จาเป็นลงในตารางให้ครบถ้วน เพื่อให้ข้อมูลในโปรแกรมครบถ้วนสมบูรณ์ และไม่จาเป็นต้องย้อนกลับไปหาข้อมูลในแบบวัดอีกครั้ง ตาราง สัญลักษณ์ ตาแหน่งในโปรแกรม และการกรอกข้อมูลในโปรแกรม Microsoft Excel สัญลักษณ์ รายละเอียด ตาแหน่งในโปรแกรม การกรอกข้อมูล ก ลาดับข้อคาถาม G1, H1, I1, J1, … เรียงตามข้อคาถาม ตั้งแต่ 1 – 38 ข คะแนนเต็มรายข้อ G2, H2, I2, J2, … กรอกคะแนนเต็มรายข้อ จานวน 38 ข้อ ลาดับของนิสิต เรียงตามลาดับของรหัสของนิสิตนักศึกษาใน ค A4, A5, A6, A7, … นักศึกษาทั้งหมด คณะหรือมหาวิทยาลัย ลาดับของนิสิต ง นักศึกษาในแต่ละ B4, B5, B6, B7, … มีเฉพาะการเก็บข้อมูลหลายมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย จ เพศ C4, C5, C6, C7, … กาหนดให้เพศชายเป็น 0 และเพศหญิงเป็น 1 สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๕๕
สัญลักษณ์ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด
รายละเอียด ตาแหน่งในโปรแกรม การกรอกข้อมูล ชื่อ D4, D5, D6, D7, … กรอกข้อมูลตามรายละเอียดในแบบวัดฯ ชั้นปี E4, E5, E6, E7, … กรอกข้อมูลตามรายละเอียดในแบบวัดฯ คณะ F4, F5, F6, F7, … กรอกข้อมูลตามรายละเอียดในแบบวัดฯ มหาวิทยาลัย BT4, … กรอกข้อมูลตามรายละเอียดในแบบวัดฯ คะแนนเต็มรายตัวชี้วัด กรอกคะแนนเต็มรายตัวชี้วัด จานวน 10 ตัวชี้วัด AS2, AT2, AU2, … (คะแนนดิบ) ซึ่งมีคะแนนเต็มตามแบบวัดฯในแต่ละตัวชี้วัด รหัสรายตัวชี้วัด กรอกรหัสตามที่กาหนดโดยเรียงตามลาดับข้อ AS3, AT3, AU3, … (คะแนนดิบ) คาถาม เช่น P1, P2, P3 เป็นต้น คะแนนเต็มรายตัวชี้วัด กรอกคะแนนเต็มรายตัวชี้วัด จานวน 10 ตัวชี้วัด BC2, BD2, BE2, … (คะแนนตามน้าหนัก) ซึ่งมีคะแนนเต็ม 10 คะแนน ในแต่ละตัวชี้วัด รหัสรายตัวชี้วัด กรอกรหัสตามที่กาหนดโดยเรียงตามลาดับข้อ BC3, BD3, BE3, … (คะแนนตามน้าหนัก) คาถาม เช่น P, A, V เป็นต้น กรอกคะแนนเต็มรายองค์ประกอบ จานวน 5 คะแนนเต็มราย BM2, BN2, BO2, … องค์ประกอบ ซึ่งมีคะแนนเต็ม 20 คะแนน ในแต่ องค์ประกอบ ละองค์ประกอบ กรอกรหัสตามที่กาหนดโดยเรียงตามลาดับข้อ รหัสรายองค์ประกอบ BM3, BN3, BO3, … คาถาม เช่น P, A, V เป็นต้น คะแนนเต็มของแบบ BR2 คะแนนที่ได้ เมื่อมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน วัด การแปลผลตามเกณฑ์ BS3 แปลผลตามเกณฑ์ในการประเมิน คะแนน
ตารางตาแหน่ง สูตรการคานวณ และการกรอกข้อมูลในโปรแกรม Microsoft Excel ตาแหน่ง สูตรการคานวณ การกรอกข้อมูล G4 – AR4 กรอกคะแนนของนิสิตนักศึกษาตามลาดับ AS4 =O4+P4+Q4+AH4+AI4 AT4 =R4+S4+T4+AJ4+AR4 สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๕๖
ตาแหน่ง AU4 AV4 AW4 AX4 AY4 AZ4 BA4 BB4 BC4 BD4 BE4 BF4 BG4 BH4 BI4 BJ4 BK4 BL4 BM4 BN4 BO4 BP4 BQ4 BR4 BS4
สูตรการคานวณ =G4+H4+I4+J4 =K4+L4+M4+N4 =U4+X4+AL4 =V4+W4+AK4 =Y4+Z4+AA4 =AB4+AM4+AN4 =AE4+AF4+AG4+AP4 =AC4+AD4+AO4+AQ4 =(AS4*10)/13 =(AT4*10)/7 =(AU4*10)/4 =(AV4*10)/5 =(AW4*10)/4 =(AX4*10)/5 =(AY4*10)/3 =(AZ4*10)/9 =(BA4*10)/10 =(BB4*10)/8 =BC4+BD4 =BE4+BF4 =BG4+BH4 =BI4+BJ4 =BK4+BL4 =BM4+BN4+BO4+BP4+BQ4 -
การกรอกข้อมูล ตัดสินตามเกณฑ์ที่กาหนด
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๕๗
เกณฑ์การตัดสินคะแนน การประเมิน ทักษะการสื่อสารแห่งศตวรรษที่ 21 ของนิสิตนักศึกษาปริญ ญาบัณฑิต โดยพิจารณาจาก คะแนนของแต่ละตัวบ่งชี้ ซึ่งมีน้าหนักความสาคัญเท่ากัน คือ ร้อยละ 10 รวมทั้งหมด 10 ตัวบ่งชี้ และให้ผลการ ประเมินเป็นแบบอิงเกณฑ์ แบ่งเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ดีเยี่ยม ดี ปานกลาง ผ่าน และไม่ผ่าน โดยการนาคะแนนสอบ มาคิดเป็นร้อยละ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ร้อยละ ระดับคุณภาพ 80 – 100 ดีเยี่ยม 70 – 79 ดี 60 – 69 ปานกลาง 50 – 64 ผ่าน 0 – 49 ไม่ผ่าน .....................………………………………………………………………………………………………… รายการอ้างอิง บุญชม ศรีสะอาด. (2540). การวิจัยทางการวัดผลและประเมินผล. กรุงเทพฯ: สุวีริยสาส์น. มุกทราย บวรนิธิกุล. (2559). การพัฒนาลักษณะเฉพาะของแบบวัดทักษะการสื่อสารแห่งศตวรรษที่ 21 ของนิสิต นักศึกษาปริญญาบัณฑิต.OJED. 11(1), 1-15. สานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. หน่วยที่ 5. (2558). การกาหนดลักษณะเฉพาะของข้อสอบ (Item Specifications). Retrieved from bet.obec.go.th/bet/wpcontent/uploads/2014/06/Classroom-Diag5.pptx สุเทพ สันติวรานนท์. (2533). การกาหนดลักษณะเฉพาะของข้อสอบ. วารสารการวัดผลการศึกษา, 12(34), 3347. อนันดา สัณฐิติวณิชย์. (2557). การพัฒนาลักษณะเฉพาะของแบบสอบที่บูรณาการระหว่างตัวชี้วัดความสามารถ ด้านการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และการเขียน กับตัวชี้วัดการประเมินสาระการเรียนรู้: การประยุกต์ใช้ ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบแบบพหุมิติ. วารสารการวิจัยสังคมศาสตร์, 151-172. A. S. D. o. (2007). Alabama Science Assessment: Grade Five Item Specifications. Retrieved from https://web.alsde.edu/docs/documents/91/ASA%20Grade%205%20Item%20Specification s.pdf สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๕๘
Alderson, J. C., Wall, D., & Clapham, C. (2001). Language Test Construction and Evaluation (5th ed.). Cambridge: Cambridge University Press. Green, A. (2014). Exploring Language Assessment and Testing. New York: Routledge. Fulcher, G., & Davidson, F. (2007). Language Testing and Assessment: An advanced resource book. Oxon: Routledge. F. D. o. (2012). FCAT 2.0 READING Test Item Specifications Grades 9–10. Retrieved from http://www.fldoe.org/core/fileparse.php/5682/urlt/0077908-fl10spisg910rwtr3gfinal.pdf F. S. A. (2015). English Language Arts Item Specifications Grades 9–10. Retrieved from http://www.fsassessments.org/wp-content/uploads/2015/04/ELA-G9-10-ItemSpecifications_2015.pdf Hendrickson, A., Huff, K., & Luecht, R. (2010). Claims, evidence, and achievement-level descriptors as a foundation for item design and test specifications. Measurement in Education, 23(4), 358-377. M. D. o. (2014). Reading Test Specifications for MCA-III, Grades 3–8 and 10. Retrieved from http://education.state.mn.us/MDE/EdExc/Testing/TestSpec/ O. D. o. (2011). Test Specifications: American Government. Retrieved from http://education.ohio.gov/getattachment/Topics/Testing/Science-and-Social-Studies/AGspecifications-May-2014.docx.aspx O. S. D. o. (2014). Oklahoma school testing program Oklahoma core curriculum tests test and item specification Reading Grade 8. Retrieved from http://www.ok.gov/sde/sites/ok.gov.sde/files/documents/files/Gr%208%20Reading%20TIS %202014-2015_0.pdf Rueckert, C. (1998). Teacher Development – Writing Test Specifications. Retrieved from http://www.esl-lesson-plan.com
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๕๙
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10300
“การประชุมทางวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรรระดับชาติ : ปฏิรูปประเทศไทย : สู่ประเทศไทย 4.0 กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน” โดยสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ร่วมกับคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักการและเหตุผล สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย (สวสท.) เป็นสมาคมที่มีวัตถุประสงค์ที่สาคัญเพื่อเป็นศูนย์กลาง ของนั กวิจัย นั กสถิติ นักจิตวิทยา นั กวัดผลและนักประเมินผลทางสั งคมศาสตร์ และเป็นแหล่งของการพบปะ แลกเปลี่ยนความคิดใหม่ๆ อันจะนาไปสู่ประโยชน์ในทางวิชาการและการพัฒนาวิชาชีพ สนับสนุน ช่วยเหลือและ เผยแพร่งานวิจัยทางสังคมศาสตร์ของบุคคลและสถาบัน รวมทั้งการพัฒ นาสังคมไทย โดยอาศัยการวิจัย ดังนั้น เพื่อให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว สมาคมฯ จึงจัดกิจกรรมทางวิชาการขึ้นเป็นประจาทุกปี และในปี 2559 สมาคมฯได้จัดโครงการ“การประชุมทางวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรรระดับชาติ :ปฏิรูปประเทศไทย : สู่ ประเทศไทย 4.0 กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ขึ้น โดยมีการบรรยายทางวิชาการเกี่ยวกับการปฏิรูปประเทศไทยกับการ พัฒนาที่ยั่งยืนยุคประเทศไทย 4.0 การนาเสนอผลงานวิจัยคัดสรร และประชุมใหญ่สามัญประจาปี 2559 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อจัดประชุมทางวิชาการ เผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร และประชุมใหญ่สามัญประจาปี 2559ของ สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย 2. เพื่อนาเสนอประเด็นยุทธศาสตร์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างเครือข่ายเกี่ยวกับการปฏิรูปประเทศไทยสู่ ประเทศไทย 4.0 กับการพัฒนาที่ยั่งยืน 3. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพเกี่ยวกับการปฏิรูปประเทศไทยกับการพัฒนาที่ยั่งยืน 4. เพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสร้างเครือข่ายนักวิจัยทางด้านสังคมศาสตร์
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๖๐
วิธีการดาเนินงาน สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทยวางแผนและจัดดาเนินงาน ดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานการจัดโครงการประชุมทางวิชาการของสมาคมฯ 2. ประชาสัมพันธ์โครงการไปยังครู คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา นักวิจัยทางสังคมศาสตร์และ ผู้สนใจทั่วไป 3. รับแบบเสนอผลงานวิจัย กลั่นกรอง และคัดเลือกผลงานวิจัยจากผู้ที่ส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมโครงการ 4. ดาเนินการจัดประชุมทางวิชาการ เผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร และจัดประชุมใหญ่สามัญประจาปี 2559 ของสมาคมฯ 5. สรุปผลการดาเนินงานจัดประชุมทางวิชาการของสมาคมฯ 6. ประเมินผลการดาเนินงาน กาหนดการ และสถานที่ วันศุกร์ท7ี่ ตุลาคม 2559 เวลา 8.00 – 16.30 น. ณ ห้องประชุมคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เข้าร่วมประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย 1. สมาชิกสมาคมฯ จานวนประมาณ 30 คน 2. นักวิจัย ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา นิสิตนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาทุกระดับทั้ง ภาครัฐและเอกชน รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป จานวนประมาณ 120 คน 3. คณะกรรมการบริหารสมาคมฯ จานวน 19 คน ผู้รับผิดชอบ สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทยร่วมกับคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้เผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และผลงานวิจัยทางสั งคมศาสตร์เพื่อพัฒนา การศึกษาและสังคม 2. ส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการของสมาชิกและนักวิจัยทางสังคมศาสตร์ 3. สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างนักวิจัย นักการศึกษา นักวิชาการ และผู้สนใจทั่วไป เพื่อร่วม สร้างสรรค์สังคมแห่งการเรียนรู้ร่วมกับสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๖๑
อัตราค่าลงทะเบียน ค่าลงทะเบี ย นสาหรับ ผู้เข้าร่วมประชุม และผู้นาเสนอผลงาน เป็นค่าเอกสาร อาหารว่าง และอาหาร กลางวัน มีอัตราดังนี้ 1. บุคคลทั่วไป ค่าลงทะเบียน 500 บาท (ห้าร้อยบาทถ้วน) 2. สมาชิกสมาคมฯ ค่าลงทะเบียน 400 บาท (สี่ร้อยบาทถ้วน) 3. นิสิตนักศึกษาค่าลงทะเบียน 200 บาท (สองร้อยบาทถ้วน) การลงทะเบียน และส่งผลงานวิจัย ผู้ที่สนใจเข้าร่วมประชุม สามารถแจ้งรายชื่อการเข้าร่วมประชุมตามช่องทางดังนี้ 1) ลงทะเบี ย นทางไปรษณี ย์ โดยส่ งรายชื่ อ ตามแบบตอบรับ การเข้ า ร่ว มประชุ ม ทางวิช าการไปที่ “สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทยคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถ.พญาไท แขวงวังใหม่ เขต ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330”หรือ 2) ลงทะเบียนทางโทรสาร โดยส่งรายชื่อตามแบบตอบรับการเข้าร่วมประชุมทางวิชาการ และส่งกลับ ไปที่สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย หมายเลขโทรสาร 02-218-2623หรือ 3) ลงทะเบียนทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยส่งไปที่ E-Mail: ssrat.org@gmail.com ผู้ที่สนใจเสนอผลงานวิจั ย สามารถส่ งแบบเสนอผลงานวิจัยตามที่ส มาคมฯกาหนด ภายในวัน ที่ 31 สิงหาคม 2559 โดยแจ้งรายชื่อและส่งผลงานตามช่องทางดังนี้ 1) ลงทะเบี ย นทางไปรษณี ย์ แ ละส่ งแบบเสนอผลงานวิ จั ย เพื่ อ เผยแพร่ ผ ลงานวิ จั ย และ CD ไปที่ “สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330” 2) ลงทะเบียนทางอิเล็กทรอนิกส์ และส่งแบบเสนอผลงานวิจัยเพื่อเผยแพร่ ผ ลงานวิจัย ไปที่ Email: ssrat.org@gmail.com ทางสมาคมฯจะพิจารณากลั่นกรองบทความวิจัยและแจ้งผลการพิจารณาให้ท่านทราบทาง E-mailหากท่านไม่ได้ รับการตอบกลับจากสมาคมฯ ติดต่อสอบถามได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ 02-218-2623 การชาระเงินค่าลงทะเบียนสาหรับผู้เข้าร่วมประชุมและผู้เสนอผลงานวิจัย ให้โอนเงินเข้าบัญชี ธนาคารกรุงเทพ สาขาย่อยจามจุรี สแควร์ ชื่อบัญชี “สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย” บัญชีเลขที่ 939-0-01999-1 พร้อมส่งสาเนาโอนเงิน มาพร้อมกับแบบตอบรับการเข้าร่วมประชุมที่ โทรสาร 02-218-2623 หรือที่ E-Mail: ssrat.org@gmail.co สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๖๒
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์ แห่งประเทศไทย เวลา 08.00 – 8.45 น. 08.45 – 9.00 น. 09.00 – 10.00 น.
10.00 – 11.00 น.
11.00 – 12.00 น.
12.00 – 12.15 น. 12.15 – 13.00 น. 13.00 – 15.00 น.
15.00 – 16.30 น. 16.30 น.
กาหนดการประชุมทางวิชาการและเผยแพร่ผลการวิจัยระดับชาติ ประจาปี พ.ศ. 2559 จัดโดยสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ร่วมกับ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ ห้องประชุมคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันศุกร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.2559 กิจกรรม ลงทะเบียน รับเอกสาร พิธีเปิด โดย ศ.ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี (นายกสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย) การบรรยายพิเศษ เรื่อง ปฏิรูปประเทศไทย : สู่ประเทศไทย 4.0 กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดย ศาสตราจารย์ ดร.วิษณุ เครืองาม (รองนายกรัฐมนตรี) การบรรยายพิเศษ เรื่อง ก้าวสู่ประเทศไทย 4.0 ที่ยั่งยืน โดย นายปรเมธี วิมลศิริ (เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ) การบรรยายพิเศษ เรื่อง การพัฒนาที่ยั่งยืนในยุคประเทศไทย 4.0 โดย นายสุรจิต ชิรเวทย์ (อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสมุทรสงคราม) การประชุมใหญ่สามัญประจาปี 2559 ของสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย พักรับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน นาเสนอผลงานวิจัยรับเชิญ 1) การค้าระหว่างประเทศเพื่อลดความเหลื่อมล้าและการเติบโตอย่างสมดุลสาหรับ ประเทศไทย โดย นายวิมล ปั้นคง (สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา) 2) การพัฒนาระบบการทดสอบแบบปรับเหมาะออนไลน์สาหรับการทดสอบมาตรฐาน วิชาชีพของบุคลากรสาขาไอที โดย ดร. ณภัทร ชัยมงคลและคณะ 3) การสังเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาไทย (รอบ3 : 2554 - 2558) โดย ดร.คมศร วงษ์รักษา สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) นาเสนอผลงานวิจัยคัดสรร ปิดการประชุม
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๖๓
แบบตอบรับการเข้าร่วมประชุม “การประชุมทางวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรรระดับชาติ : ปฏิรูปประเทศไทย : สู่ประเทศไทย 4.0 กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน” โดยสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ร่วมกับคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันศุกร์ท7ี่ ตุลาคม พ.ศ. 2559 ณ ห้องประชุมคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1. ชื่อ (ระบุคานาหน้าชื่อ/ยศ/ตาแหน่งทางวิชาการ) นามสกุล สมาชิกสมาคมฯ ทะเบียนเลขที่ บุคคลทั่วไป ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ เบอร์มือถือ E-mail สถานที่ทางานปัจจุบัน 2. มีความประสงค์ เข้าร่วมประชุมทางวิชาการ นาเสนอผลงานวิจัย เข้าร่วมประชุมทางวิชาการและนาเสนอผลงานวิจัย โดยชาระค่าลงทะเบียน จานวนเงิน บาท 3. สมัครเข้าร่วมประชุม หรือนาเสนอผลงานในช่องทาง 1. ทางไปรษณีย์ 2. ทางโทรสาร 02-218-2623 3. ทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่ E-mail: ssrat.org@gmail.com ***ชาระค่าลงทะเบียน โดยการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารธนาคารกรุงเทพ สาขาย่อยจามจุรี สแควร์ ชื่อบัญชี “สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย” บัญชีเลขที่ 939-0-01999-1 พร้อมส่งสาเนาโอนเงิน มาพร้อมกับแบบตอบรับการเข้าร่วมประชุม ติดต่อสอบถาม : สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย โทรศัพท์ 02-218-2623 โทรสาร 02-218-2623
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๖๔
แบบเสนอผลงานวิจัย เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย “การประชุมทางวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรรระดับชาติ : ปฏิรูปประเทศไทย : สู่ประเทศไทย 4.0 กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน” โดยสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ร่วมกับคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันศุกร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2559 1. ชื่อเรื่องวิจัย (ภาษาไทย) (ภาษาอังกฤษ) 2. ผู้วิจัย และคณะ (ระบุคานาหน้าชือ่ /ยศ/ตาแหน่งทางวิชาการ) สถานที่ติดต่อ โทรศัพท์ โทรสาร E-mail Address 3. ปีที่ทาวิจัยสาเร็จ 4. แหล่งอุดหนุนการวิจยั 5. บทคัดย่อ (ไทย/อังกฤษ) 6. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 7. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 8. ขอบเขตของการวิจัย 9. กรอบแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 10. สมมติฐานการวิจยั (ถ้ามี) 11. วิธีดาเนินการวิจยั - ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง - เครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูล - การวิเคราะห์ข้อมูล 12. สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 13. การนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ 14. รายการอ้างอิงแบบ APA style โดยมีรูปแบบดังนี้ หนังสือ ชื่อผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อหนังสือ/(ฉบับพิมพ์).//สถานที่พิมพ์:/ผู้จดั พิมพ์. บทความ ชื่อผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อบทความ.//ชื่อวารสาร,/ปีท,ี่ /เลขระบุหน้าที่ปรากฏบทความ. สืบค้นจาก (ระบุ URL กรณีใช้วารสาร ฉบับออนไลน์) หมายเหตุ: ต้องเป็นผลงานวิจัยทีแ่ ล้วเสร็จระหว่างปีพ.ศ. 2555– 2559 และไม่เคยตีพิมพ์หรือนาเสนอที่อื่นใดมาก่อน
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๖๕
การส่งข้อมูล : ส่ ง รายละเอี ยดฉบั บ ย่ อ 10–15 หน้ ากระดาษ A4 ในรู ป Microsoft Word โดยใช้ fontTH Sarabun New ขนาด 16 pt ภายในวันพุธที่31สิงหาคม พ.ศ. 2559ได้ 2 ช่องทางคือ 1) ทางไปรษ ณี ย์ (Hard copy และ CD) ไปที่ “สมาคมวิ จั ย สั ง คมศาสตร์ แ ห่ ง ประเทศไทย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถ.พญาไท แขวงวังใหม่ กรุงเทพฯ 10300” 2) ทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่ E-mail : ssrat.org@gmail.com การเผยแพร่ : ผลงานที่ได้รับการคัดสรรให้นาเสนอจากคณะกรรมการจะได้นาเสนอในที่ประชุมทางวิชาการ และเผยแพร่ ผลงานวิจัยคัดสรรระดับชาติ : ปฏิรูปประเทศไทย : สู่ประเทศไทย 4.0 กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ในวันศุกร์ที่ 7ตุลาคม พ.ศ. 2559 และมอบเกียรติบัตรสาหรับผู้เป็นเจ้าของผลงานที่ได้นาเสนอ ผลงานที่ ได้ รับ การคัดสรรทุ ก เรื่อง จะน าพิ มพ์ เผยแพร่ในเอกสารประกอบการประชุ มทางวิช าการและ เผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรรระดับชาติ ประจาปี 2559 ซึ่งเป็นวารสารการวิจัยสังคมศาสตร์ ของสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่ง ประเทศไทย (ที่มี Peer review)
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๖๖
คณะกรรมการบริหาร สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย (25 ตุลาคม 2558 – 24 ตุลาคม 2560) 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19.
ปล.
ศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี รองศาสตราจารย์ ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริเดช สุชีวะ รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณี แกมเกตุ รองศาสตราจารย์ ดร.โชติกา ภาษีผล รองศาสตราจารย์ ศักดา บุญยไวโรจน์ รองศาสตราจารย์ ศิลปชัย บูรณพานิช ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติมา สุรเศรษฐ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุวิมล กฤชคฤหาสน์ อาจารย์ ดร.ชนิศา ตันติเฉลิม อาจารย์ ดร.สุพจน์ เกิดสุวรรณ์ อาจารย์ ดร.คมศร วงษ์รักษา พลตารวจตรี ดร.กิจพิณิฐ อุสาโห รองศาสตราจารย์ ดร.ดวงกมล ไตรวิจิตรคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์ อาจารย์ ณภัทร ชัยมงคล อาจารย์ ดร.กมลทิพย์ ศรีหาเศษ นางพรทิพย์ เฟื่องฟู อาจารย์ สุกัญญา บุญศรี
นายกสมาคม อุปนายก กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและปฏิคม กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและประชาสัมพันธ์ กรรมการและนายทะเบียน กรรมการและสาราณียกร กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
นายทะเบียนสมาคมกรุงเทพมหานคร ได้รับจดทะเบียนการแต่งตั้งกรรมการขึ้นใหม่ทั้งชุดของ สมาคมฯตามมาตร 85 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้ว ตามทะเบียนเลขที่ จ. 1378/2558 ณ วันที่ 9 ธันวาคม 2558
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๖๗ ใบเสร็จรับเงินเลขที่...................... ทะเบียนเลขที่...............................
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ใบสมัครสมาชิก 1. ชื่อ (นาย,นาง,นางสาว,ยศ) ................................นามสกุล....................................วัน/เดือน/ปีเกิด.............................. 2. วุฒิการศึกษาสูงสุด.............................................สาขาวิขา/วิชาเอก............................................................................. 3. ตาแหน่ง.............................................................สังกัด................................................................................................. 4. สถานที่ทางาน เลขที่............................................ถนน........................................ซอย................................................. ตาบล/แขวง...............................อาเภอ/เขต................................จังหวัด...............................รหัสไปรษณีย์................ โทรศัพท์.................................................โทรสาร.............................................มือถือ.................................................. 5. ที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก บ้านเลขที่...............................หมู่ที่.......................หมู่บ้าน...................................................... ซอย................................................ถนน....................................................ตาบล/แขวง............................................... อาเภอ/เขต....................................................จังหวัด...............................................รหัสไปรษณีย์............................... โทรศัพท์...................................e-Mail....................................................................................................................... 6. การส่งเอกสารให้ส่งไปตามที่อยู่ ข้อ 4 ข้อ 5 7. สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ประสงค์ที่จะขึ้นทะเบียนเป็นทีมวิทยากรสอนวิจัย จึงขอให้ท่านระบุสาขาวิชาที่ท่าน ถนัด/สนใจ............................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................. 8. ขอสมัครเป็นสมาชิกสมาคมวิจยั สังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย สามัญตลอดชีพ 1,000 บาท พร้อมนี้ได้ชาระค่าสมัครเป็น
ชาระค่าสมัครโดยการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงเทพ สาขาย่อยจามจุรีสแควร์ ชื่อบัญชี “สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย” บัญชีเลขที่ 939-0-01999-1 พร้อมส่งสาเนาโอนเงินพร้อมใบสมัครมาที่ E-mail : ssrat.org@gmail.com ติดต่อสอบถาม โทรศัพท์ 02-218-2623
ลงชื่อ.................................................................ผูส้ มัคร (.............................................................) วันที่............................................................. ..................................................................................................................................................................................... ได้รับค่าสมาชิกแล้วได้รับอนุมัติให้เป็นสมาชิก ลงชื่อ....................................................... (......................................................) เหรัญญิก
ลงชื่อ....................................................นายกสมาคม (....................................................) รับลงทะเบียน ลงชื่อ....................................................นายทะเบียน (.....................................................)
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙
๖๘ สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10300
เป็นสมาชิกสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ได้อะไรบ้าง ถ้าสมัครเป็น...สมาชิกสมาคมวิจยั สังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย...
จะได้สิทธิประโยชน์ 1. ใช้บริการ Research Clinic ของ สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ตามวัน เวลา ที่กาหนด 2. ได้รับจดหมายข่าวของ สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ทุก 3 เดือน 3. ได้รับวารสารของ สมาคมวิจยั สังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย อย่างน้อย ปีละ 1 เล่ม 4. มีสิทธิตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารของ สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย (ถ้าไม่เป็นสมาชิกต้อง จ่ายค่าธรรมเนียมตามระเบียบของ สมาคมฯ เรื่องละ 3,000 บาท) 5. มีสิทธิขอทุนวิจัยจาก สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย 6. สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย จะเชิญเข้าร่วมทีมวิจัยที่ สมาคมฯ มีงานวิจัย 7. ถ้าสมาชิกมีผลงานวิจัยที่มีคณ ุ ภาพ สมาคมวิจยั สังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย จะสนับสนุนให้ไปนาเสนอผลงานวิจยั ใน ต่างประเทศ 8. มีสิทธิได้รับเชิญไปดูงานวิจัยในต่างประเทศ ที่ สมาคมวิจยั สังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย จัดขึ้นโดยไม่ถือเป็นวันลา 9. ได้รับส่วนลดค่าลงทะเบียนในการเข้ารับการอบรมในหลักสูตรที่ สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย จัดขึ้น 10-20 % 10. ได้เข้าร่วมกิจกรรมที่จัดโดย สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย 11. มีสิทธิเป็นอนุกรรมการต่างๆ ของ คณะกรรมการบริหารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย 12. ได้เข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจาปี ของ สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ทุกปี 13. มีสิทธิได้รับเลือกตั้งจากที่ประชุมใหญ่ เป็น กรรมการบริหารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ซึ่งมีวาระ 2 ปี 14. มีเพื่อน หรือเครือข่ายที่เป็นนักวิจัยทั่วประเทศ สิทธิเหล่านี้จะมาสู่ท่านทันที เมื่อสมัครเป็นสมาชิกตลอดชีพ 1,000 บาท
สมาคมวิจัยและสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย อาคาร 4 ชั้น 2 คณะครุศาสตร์ จุฬามหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร. 0-2218-2623
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๕๙