สารสมาคมวิจยั สังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๘ ISSN 2351- 0145
หน้า ๓
สารจากนายกสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
หน้า ๔
การบรรยายพิเศษเรื่อง บทบาทสำ�คัญของประเทศไทยในประชาคมอาเซียน
หน้า ๗
การอภิปรายเรื่อง ปฏิรูปสังคม เศรษฐกิจ และการศึกษาไทย สู่การพัฒนาประชาคมอาเซียน
หน้า ๑๖
ข้อสอบอัตนัย: การสร้าง การวิเคราะห์ และการตรวจอย่างเป็นปรนัย
ผีเสื้อทัก ดอกไม้งาม ยามฟ้าใหม่ หอมสดใส ชื่นใจ ละไมกลิ่น หอบความรัก จากหัวใจ และไอดิน ขับเพลงพิณ บินบรรเลง เพลงผูกพัน โบกมือลา ปีแพะทอง ผองความทุกข์ ยิ้มรับสุข ลิงโลดไป ในความฝัน เจริญด้วย ความพอเพียง เลี้ยงชีวัน แสนสุขสันต์ ชีวิตงาม เปี่ยมความดี เริ่มคิดทำ� ก่อร่าง สร้างสิ่งใหม่ นำ�ความปรีดิ์ เปรมใจ ให้โลกนี้ ขอน้อมนำ� โชคลาภ ปรารถนาดี ให้ “สำ�ราญ ชื่นชม มั่งมี” ตลอดกาล
2
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
ผู้แต่ง : วีรนุช สุขสว่าง
สารจากนายกสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย สมาคมวิจัยทางสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ฉบับนี้เป็นปีที่ 2 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2558) ถือเป็นฉบับส่งท้ายปีเก่าและต้อนรับปีใหม่ (วอก) 2558 ส�ำหรับสมาชิกของสมาคมทุกท่านครับ สารฉบับนีต้ อ้ งการสือ่ สารกับสมาชิกของสมาคมวิจยั สังคมศาสตร์แห่งประเทศไทยทุกท่านถึงกิจกรรม ทางวิชาการส�ำคัญที่สมาคมฯ ได้ด�ำเนินการเพื่อสาธารณะประโยชน์และได้สรุปสาระส�ำคัญของการประชุมทาง วิชาการและเผยแพร่ผลการวิจัยระดับชาติและการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2558 ในวันที่ 8 ตุลาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ ซึ่งมีกิจกรรมดังต่อไปนี้ 1) การบรรยายพิเศษเรื่อง บทบาทส�ำคัญของประเทศไทยใน ประชาคมอาเซียน โดย ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ 2) การอภิปรายเรื่อง ปฏิรูปเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษาไทย สู่การพัฒนาประชาคมอาเซียน มีผู้ร่วมอภิปราย ได้แก่ รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ผศ.ดร.ปิติ ศรีแสงนาม ดร.เนตรปรียา (มุกสิกไชย) ชุมไชโย (ครูเคท) ผศ.ปัณรส มาลากุล ณ อยุธยา ดร.ไพรินทร์ ชโู ชติถาวร ด�ำเนินการอภิปราย โดย รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ 3) การประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2558 ของสมาคมวิจัยทางสังคมศาตร์แห่ง ประเทศไทย โดยมีวาระการประชุม คือ วาระที่ 1 เรื่องรับรองรายงานการประชุมใหญ่สามัญปี 2557 วาระที่ 2 เรื่องรายงานผลการด�ำเนินงานในรอบปี (แถลงกิจการของสมาคม รายรับ รายจ่าย และบัญชีงบดุลของสมาคม) วาระที่ 3 เรือ่ งเสนอเพือ่ พิจารณา (การเลือกตัง้ ผูต้ รวจบัญชี การตรวจสอบระเบียนสมาชิก และการเลือกตัง้ นายก สมาคม) ผลการเลือกตั้งได้ ศ.ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี เป็นนายกสมาคมอีก 1 สมัย 4) น�ำเสนอผลการวิจัยรับเชิญ 4 เรื่อง ได้แก่ ยุทธศาตร์การกระจายอ�ำนาจทางการศึกษา โดย ผศ.ดร.ชญาพิมพ์ อุสาโห การสังเคราะห์ผลการ ประเมิน โดยส�ำนักงานประเมินมาตรฐานทางการศึกษา (สมศ) การวิเคราะห์เศรษฐกิจไทยในประชาคมอาเซียน โดย ผศ.ดร.ปิติ ศรีแสงนาม และ การวิจัยอิงการออกแบบ (Design Based Research) โดย อ.ดร.กนิษฐ์ ศรีเคลือบ และ 5) การน�ำเสนอผลการวิจัยคัดสรร จ�ำนวน 6 เรื่อง ในรอบปีทผี่ า่ นมา สมาคมฯ ซึง่ มีทที่ ำ� การอยูท่ อี่ าคาร 4 ชัน้ 2 ห้อง 209 หมายเลขโทรศัพท์ 02-218-2623 ได้มีโอกาสต้อนรับสมาชิกที่ได้แวะมาเยี่ยมเยือนกันอยู่เป็นประจ�ำ จะมีนายกสมาคมฯ และนิสิตช่วยงานสมาคม ประกอบด้วย อ.อภิชา อารุณโรจน์ อ.ปาริชาติ ทาโน อ.ฑิตยา สิทธิโสภาสกุล อ.อังค์วรา วงษ์รักษา อ.สุกัญญา บุญศรี และ อ.รังสิมาภรณ์ หนูน้อย คอยช่วยงานและให้การต้อนรับ การจัดท�ำสารสมาคมฉบับนีส้ �ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ขอขอบคุณรองศาสตราจารย์ ศักดา บุญยไวโรจน์ ที่ ช่วยประสานงานกิจกรรมต่างๆ ของสมาคมได้อย่างยอดเยี่ยม และอาจารย์ฑิตยา สิทธิโสภาสกุล ที่ช่วยเป็น บรรณาธิการฉบับนี้จนมีเนื้อหาสาระครบถ้วนสมบูรณ์ ในโอกาสขึน้ ปีใหม่ 2559 ขออาราธนาคุณพระศรีรตั นตรัย และสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ งั้ หลายในสากลโลก โปรด ดลบันดาลให้คณะกรรมการและสมาชิกทุกท่าน เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ และประสบความส�ำเร็จในสิ่ง ที่คิด สัมฤทธิผลในสิ่งที่ปรารถนาทุกประการเทอญ ด้วยความเคารพรัก ศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี 9 ธันวาคม 2558 สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
3
การบรรยายพิเศษเรื่อง บทบาทส�ำคัญของประเทศไทยในประชาคมอาเซียน ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ การก่อตัง้ มหาวิทยาลัยนับว่าเป็นส่วนต่อยอด เป็นความพยายามทีจ่ ะมีสว่ นช่วยในการพัฒนาการศึกษา พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในเรือ่ งของการเตรียมการ เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของคนไทยไปสูป่ ระชาคม โลก ประชาคมภูมิภาค ซึ่งก�ำลังอยู่ในจุดเปลี่ยนผ่านที่ส�ำคัญยิ่งในขณะนี้ และเป็นสิ่งที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นปลายปีนี้ ปลายเดือนหน้า ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ผู้น�ำอาเซียน 10 ประเทศ ได้แก่ ประเทศบรูไน ประเทศ ลาว ประเทศกัมพูชา ประเทศไทย ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศสิงคโปร์ ประเทศเวียดนาม ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศมาเลเซีย และประเทศเมียนมาร์ และร่วมกับเพื่อนบ้านในเอเชียและโอเชียเนียอีก 6 ประเทศ ได้แก่ ประเทศจีน ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศออสเตรเลีย ประเทศอินเดีย และประเทศนิวซีแลนด์ และ ร่วมด้วยอีก 2 ประเทศ คือ อเมริกา รัฐเซีย รวมเป็น 18 ประเทศ จะร่วมกันเป็นสักขีพยาน อาเซียน 10 ประเทศ จะประกาศตัวอย่างเป็นทางการเพือ่ เข้าสูโ่ หมดของการเป็นประชาคมสมาคมอาเซียน ในขณะทีก่ อ่ นหน้านีเ้ ป็นแค่ สมาคม ต่อมาประสบความส�ำเร็จในการรวมตัวกันเป็นประชาคม จึงเป็นที่หมายปองของหลายประเทศทั่วโลก เพราะประเทศเหล่านีส้ ามารถก�ำหนดทิศทาง หรือก�ำหนดนโยบาย ใช้ทตี่ งั้ ทางภูมศิ าสตร์ของตนเองให้เป็นประโยชน์ และมีวิธีที่จะผูกโยงสู่เศรษฐกิจที่ใหญ่กว่า มีพลังมากกว่าจากแต่ละประเทศให้มามีส่วนเกี่ยวข้องกับ 10 ประเทศ อาเซียน ซึ่งยุทธศาสตร์หรือยุทธวิธีเหล่านั้น คือ การตั้งข้อก�ำหนดขึ้นมาว่า ประเทศใหญ่ๆ ที่เกี่ยวข้องเหล่านั้น ไม่จำ� เป็นต้องเป็นสมาชิกอาเซียน แต่ประเทศเหล่านัน้ ต้องเป็นประเทศคูเ่ จรจาของอาเซียนได้ เพราะฉะนัน้ ประเทศ จีน ญีป่ นุ่ เกาหลี อินเดีย ออสเตรเลีย UN System และประเทศต่างๆ จากยุโรปจึงให้ความสนใจ ประชาคมอาเซียน เริ่มจากประเทศเล็กๆ กลางๆ มารวมตัวกัน เพื่อสร้างเสถียรภาพ และสร้างบรรยากาศของการลงทุน ให้คนอื่นมา ใช้พื้นที่ของเรา และเราสามารถที่จะไปสร้างแรงบันดาลใจให้ประเทศอื่นๆ มาร่วมมือ ซึ่งจะเห็นว่าอาเซียนโตวัน โตคืน ท�ำให้อาเซียนเป็นที่ยอมรับทั่วทั้งเอเชียแปซิฟิก และขยายไปทั่วโลก และสิ่งที่อาเซียนมีแต่คนอื่นไม่มี คือ พลังหรือความสามารถในการเรียกประชุม หลายประเทศอยากจะมาร่วมกับเรา กลายเป็น snowball ทีเ่ รียกความ สนใจจากหลายประเทศทั่วโลก บทบาทของประเทศไทยในภูมิภาคนี้คือ เป็นประเทศต้นความคิด ความคิดแรกเริ่มมาจาก ดร.ถนัด คอมันตร์ ซึ่งเป็นบุคคลส�ำคัญที่เริ่มความคิดก่อตั้งสมาคมอาเซียน ในปี 1967 ที่มีเครือข่ายกับต่างประเทศ และ ประเทศอื่นๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มั่นใจในประสบการณ์ เครือข่ายของประเทศไทยในการผลักดันเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ให้เจริญเติบโต ทัง้ นีห้ ลายประเทศพอพ้นจากการเป็นประเทศอาณานิคม ประเทศเหล่านีก้ จ็ ะมีความ กังวล ต้องมีการพิสูจน์ให้โลกรู้ว่ามีดี ไม่ควรจะเป็นเมืองขึ้นตั้งแต่แรก อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม พอหลุดพ้นจากอาณานิคมก็พร้อมกระโดดเข้าสูเ่ วทีโลก ในขณะทีป่ ระเทศไทยไม่ตอ้ งพิสจู น์ แต่ชะล่าใจ ด้วยเหตุผล ที่คิดว่าเราไม่เป็นเมืองขึ้นใคร ท�ำให้มองเห็นว่า ปัญหาของประเทศไทยคือ ไม่รู้สึกมีปมด้อย ไม่ดิ้นรน เรียกเป็น ทางการทูตว่า การตั้งรับ ยินดีต้อนรับประเทศอื่นๆ ในขณะที่อีก 4 ประเทศที่จะเข้ามาร่วมมีความมั่นใจนโยบาย การทูตที่ว่า ต้องต่อสู้กับเจ้าอาณานิคม 4
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
เมื่อมองถึงบทบาทของไทยในยุคปัจจุบันภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ จะต้องมาพิจารณาว่าการทูตแบบ ไหนจะสนองตอบต่อประเทศเราเองได้มากกว่ากัน ระหว่างออกไปสูแ้ ละตัง้ รับอยูท่ ภี่ มู ศิ าสตร์ของตน แนวทางไหน คือสิง่ ทีจ่ ะประสบความส�ำเร็จ คนไทยต้องคิดให้ได้วา่ โลกเปลีย่ น การแข่งขันเปลีย่ น การตัง้ รับเพียงอย่างเดียวอาจ ไม่พอแล้ว พอถึงจุดๆ นั้น ประเทศไทยอาจจะไม่สามารถทนแรงกดดันที่จะเกิดได้จากการเปลี่ยนแปลงของโลก คนไทยต้องมาช่วยกันมองว่าจะท�ำอย่างไรกับความเป็นเลิศของประเทศไทยทีม่ อี ยูห่ ลายอย่าง ต้องตอบค�ำถามให้ ได้ สิ่งแรกคือภูมิศาสตร์ อาเซียนมี 2 ภูมิภาค คือ ภาคพื้นทวีป ประกอบด้วย ไทย เมียนมาร์ ลาว กัมพูชา และ เวียดนาม กับกลุม่ ทีต่ งั้ อยูบ่ นภาคพืน้ มหาสมุทร ประกอบด้วย มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย บรูไน และ ฟิลปิ ปินส์ ในขณะนี้มาเลเซีย สิงคโปร์ ยังสู้ประเทศไทยไม่ได้ในภาคพื้นทวีป ในการสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์กับประเทศ จีน และประเทศญี่ปุ่น ประเด็นส�ำคัญในขณะนี้คือ ประเทศไทยจะรักษาความเป็นเลิศได้อย่างไร ในเรื่องการท่องเที่ยว เดี๋ยว นี้การท่องเที่ยวเปลี่ยนไป คนต่างชาติมาเมืองไทย เพื่อจะข้ามไปมาเลเซีย มันดาเล มาเพื่อจะไปหลวงพระบาง นครวัดนครธม บาหลี เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วประเทศไทยก็จะต้องเปลี่ยนตาม เพราะการท่องเที่ยว คือ แหล่งรายได้ ของไทยที่ใหญ่ที่สุด ในขณะนี้ ยิ่งค่าเงินต�่ำนักท่องเที่ยวต่างชาติยิ่งมากันเยอะ เราจะต้องมาคิดว่าจะท�ำอย่างไร ในส่วนของการเกษตร ไม่มีใครสูงกว่าเรา แต่อ่าวไทย พบว่า ปลาหมด ประมงไทยต้องไปหาปลาจากแอฟริกา ต้องไปหาปลาจากแหล่งอืน่ กองทัพประมงไทยไม่ปฏิบตั ติ ามหลักการประมงสากล จับสัตว์ทะเลทีย่ งั ไม่โตเต็มวัย มาหมด จะเห็นว่าขณะทีป่ ระชากรมี 7,000 ล้านคน ในอนาคตจะเพิม่ อีก 2,000 ล้านคน พวกเขาเหล่านัน้ จะเหลือ ทรัพยากรอะไร ในส่วนของการเกษตร การปลูก การเก็บน�ำ ้ เรือ่ งน�ำ ้ เรือ่ งการขนส่ง เรือ่ งอาหาร เรือ่ งการอนุรกั ษ์ ทั้งหมด เราจะท�ำอย่างไร กับความเป็นเลิศของเราเหล่านี้ นี่คือสิ่งที่เราต้องวางเครือข่าย อย่างเรื่องกาแฟซึ่งเป็น สินค้าทางการเกษตรทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ เป็นอันดับ 2 รองจากน�ำ้ มัน ซึง่ ขณะนีเ้ ราค่อนข้างปิดประเทศ ไม่ให้กาแฟจากต่าง ประเทศเข้ามา เพราะเราต้องการรักษาความเป็นกาแฟของคนไทยที่คนไทยผลิตเอง และเศรษฐกิจโลกในขณะนี้ ไม่ใช่กาแฟ กาแฟเราเลยยิง่ แข่งกับเขาไม่ได้ เพราะยังไม่คอ่ ยพัฒนาในด้านของการตลาด เรือ่ งรถยนต์ จะเห็นได้วา่ ไม่มีประเทศไหนในภูมิภาคอาเซียนที่อุตสาหกรรมรถยนต์ดีกว่าประเทศไทย แต่อินโดนีเซียก็ก�ำลังจะตามมาใน อนาคตอันใกล้ สิ่งที่ต้องท�ำในขณะนี้คือ ประเทศไทยต้องมีการลงทุนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้มากขึ้น ใน ภาคอุตสาหกรรมควรจะลงทุนเรือ่ งการท�ำวิจยั การสร้างนวัตกรรมให้มากกว่านี้ จะเห็นว่าประเทศทีล่ งทุนในเรือ่ ง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมต่างๆ เหล่านี้ จะหลุดพ้นจากปัญหาทางเศรษฐกิจ ค่าครองชีพ ซึ่ง ประเทศไทยในขณะนีม้ คี วามผกผัน จึงควรไปลงทุนในเรือ่ งเหล่านีใ้ ห้มากๆ จากสิง่ ทีก่ ล่าวมาทัง้ หมด เป็นเรือ่ งของ การแข่งขัน การลงทุน การเตรียมตัว การเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนทั้งหมด สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งที่ต้องเข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งอาจจะไม่เกี่ยวข้อง กับด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่เกีย่ วข้องโดยตรงในเรือ่ งของสังคม ทรัพยากรมนุษย์ อย่างปัญหาของระบบ ราชการ คุณภาพลดลง เพราะมีการเมืองเข้าไปเกีย่ วข้องมากเกินไป อาจท�ำบุคลากรไม่มคี วามเป็นมืออาชีพในงาน ของตนเอง คนไทยจึงต้องมีวนิ ยั มีความรับผิดชอบ มีความเป็นมืออาชีพในงานของตนเอง บทบาทของไทยในตอนนี้ จะต้องมีการจัดระบบสังคมที่ดี เราจึงต้องมาดูที่ทรัพยากรมนุษย์ด้วย ดูในมิติของมนุษย์ที่มีคุณภาพ มิติที่ลึกกว่า สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
5
รายได้ มนุษย์สามารถคาดการณ์ไปล่วงหน้า สามารถเข้าใจสิ่งที่ไกลกว่าได้ และประเทศไทยในอนาคตมีความ หวัง แต่อาจยังหาคนชี้ไม่เจอ ณ ตอนนี้ประเทศไทยใหญ่เป็นอันดับสองของอาเซียนรองจากอินโดนีเซีย จะเห็นว่า ในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์ทรงเสด็จจากประเทศไทยเพื่อไปสร้างเครือข่ายกับต่างประเทศ ท�ำให้ประเทศไทย พัฒนามาเป็นอย่างทุกวันนี้ เราจึงควรออกไปสร้างเครือข่ายกับนานาประเทศ ต้องมีการเตรียมตัวมากกว่าเดิม ขอยืนยันว่าประเทศไทยมีดีอีกมาก ต้องรักษาความเป็นเลิศนี้ไว้ สุดท้ายขอฝากข้อคิดไว้ว่า เราคนไทยทุกคนจะต้องมาช่วยกัน คือ ช่วยกันหลอมไทยให้เป็นเทียน เทียนทีส่ ำ� คัญคือการหลอมทุกกลุม่ และช่วยกันตัง้ เทียนให้เป็นธง ธงแปลว่า ความส�ำเร็จ ชัยชนะ ทีจ่ ะรักษาความ เป็นเลิศ ให้ประเทศไทย ให้ลูกให้หลานต่อไปในอนาคต
6
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
การอภิปรายเรื่อง ปฏิรูปสังคม เศรษฐกิจ และการศึกษาไทย สู่การพัฒนาประชาคมอาเซียน ผู้อภิปราย: รองศาสตราจารย์ ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิติ ศรีแสงนาม ดร.เนตรปรียา (มุกสิกไชย) ชุมไชโย (ครูเคท) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปัณรส มาลากุล ณ อยุธยา ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถาวร ผู้ด�ำเนินการอภิปราย: รองศาสตราจารย์ ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ รองศาสตราจารย์ ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ เนื้อหาการอภิปราย ประกอบด้วย 2 ส่วน คือพื้นฐานของอาเซียน และข้อคิดบางประการเกี่ยวกับ อาเซียน 1. พื้นฐานอาเซียนแบ่งเป็น 4 ประเด็นคือ ประเด็นแรก มีคนเข้าใจผิดกันมาก ว่าวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 2015 เราจะเป็นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ซึ่งในความเป็นจริงแล้ววันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 2015 เราจะเป็นประชาคมอาเซียน (AC) ซึ่งเป็น 1) ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น (ASC) 2) ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (AEC) และ 3) ประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC) ไม่ใช่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) อีกต่อไป ซึง่ เกีย่ วข้อง กับเขตการค้าเสรี แต่ตอนนีป้ ระชาอาเซียนเกีย่ วข้องกับภัยพิบตั ขิ า้ มชาติ อาชญากรข้ามชาติ การค้ามนุษย์ รวมถึง โรคติดต่อ ทุกมิติ เพราะฉะนั้นเราจะเป็นประชาคมอาเซียนของ 10 ประเทศ ด้วยกัน ประเด็นที่สอง คือ การเป็นประชาคมอาเซียน (AC) อาเซียนอย่าไปเปรียบเทียบกับสหภาพยุโรป (EU) เพราะ EU เป็นเสมือนประเทศเดียวกัน มีกฎหมาย นโยบายที่ควบคุมให้ทุกประเทศต้องด�ำเนินการเหมือน กัน เช่น นโยบายด้านการเงิน การศึกษา เป็นต้น แต่ประเทศอาเซียนเริม่ มาจากสมาคมต่อต้านคอมมิวนิสต์ ซึง่ ไม่มี อะไรบังคับเป็นประชาคมหลวมๆ เพิ่งมาร่วมมือกันจริงจังเมื่อไม่นานนี้ แต่ทุกประเทศก็ยังมีกฎหมายของตัวเอง อยู่ เช่น แพทย์ พยาบาลฟิลิปปินส์ จะมาท�ำงานในประเทศไทยไม่ได้ เพราะต้องท�ำตามกฎหมายของแต่ประเทศ ซึ่งปัจจุบันจะต้องสอบใบประกอบวิชาชีพของแพทย์ พยาบาลของไทยที่เป็นภาษาไทย เพราะฉะนั้นการที่เปิด ประชาอาเซียนแล้วจะเสรีทุกอย่างนั้นไม่จริง เช่นเดียวกันการเดินทางข้ามประเทศก็ต้องท�ำตามกฎหมายของ ประเทศนัน้ ๆ เช่น ในประเทศลาวต้องขับรถชิดขวา ดังนัน้ ในปัจจุบนั กฎ กติกาทัง้ หลายก็ยงั ไม่เอือ้ ให้เป็นประชาคม เดียวกัน ประเด็นที่สาม กฎ กติกาของอาเซียนในด้านการค้ามีเพียงประเด็นเดียวคือ ภาษีขาเข้าเป็นศูนย์ แต่เมื่อเข้ามาในประเทศแล้วก็จะมีกฎระเบียบของแต่ละประเทศต่อไป เช่น ภาษีสรรพสามิต การส่งผลไม้ ไปอินโดนีเซียในอดีตเสียภาษีขาเข้า 10% ปัจจุบันภาษีขาเข้าศูนย์เปอร์เซ็นต์แต่มีการด�ำเนินการในการส่งออกที่ ยุ่งยากกว่าเดิม เพราะฉะนั้นการเปลี่ยนแปลงนี้ไม่ได้ราบรื่น รวดเร็วที่จะสามารถเปลี่ยนแปลงได้ทันที สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
7
ประเด็นสุดท้าย ทุกประเทศในอาเซียนสามารถเดินทางถึงกันได้โดยไม่ต้องขอวีซ่า แต่ยังมีอุปสรรค เช่นการขนส่งสินค้าจากไทยไปลาว หรือไปกัมพูชา เมื่อเดินทางเข้าประเทศต้องเปลี่ยนหัวรถบรรทุกที่เป็นรถของ ประเทศลาว หรือประเทศกัมพูชา เป็นต้น ซึ่งเป็นความล่าช้า ล�ำบากในการขนส่ง เพราะฉะนั้นอาเซียน ไม่ได้เป็นอย่างในภาพที่เห็น อย่างที่เราคิดว่ามันเป็น 2. ข้อคิดบางประการเกี่ยวกับอาเซียน แบ่งเป็น 2 ประเด็น คือ ประเด็นแรก ถ้าหลังจากเป็นประชาคมอาเซียน ผู้คนสามารถเดินทางได้โดยไม่ต้องใช้วีซ่าแล้ว ถ้า ภาครัฐของไทยมีการบังคับใช้กฎหมายที่อ่อนแอ ประเทศที่จะเป็นปัญหามากที่สุดคือประเทศไทย โดยเฉพาะ กรุงเทพมหานคร จะเป็นเป้าหมายใหญ่ของมิจฉาชีพที่มาจากอาเซียนดังที่พบเห็นในปัจจุบัน ดังนั้นถ้าต�ำรวจไทย ไม่ทำ� หน้าทีอ่ ย่างมืออาชีพ ข้าราชการไทยไม่ทำ� หน้าทีท่ คี่ วรจะเป็น จะเกิดปัญหาต่างๆ มากมายตามมา เช่น จะมี อาชญากรในอาเซียนเข้ามาตั้งแก๊งค์ เช่นที่เกิดขึ้นที่สมุย พัทยา ภูเก็ต หรือในพื้นที่ท่องเที่ยวอื่นๆ จะมีมาเฟียต่าง ชาติเข้ามาด�ำเนินธุรกิจ เกิดปัญหาอาชญากรรม ท�ำให้คุณภาพชีวิตของคนไทยน่าเป็นห่วง ประเด็นที่สอง สิ่งที่อยู่ในใจ (Mind set) ของคนไทยต้องเปลี่ยนแปลงในเชิงของการเรียนรู้และอยู่ ร่วมกับประชาคม และภาครัฐต้องเสริมสร้างประสิทธิภาพประสิทธิผลของการปฏิบัติงานหลังจากเป็นประชาคม อาเซียน คนไทยต้องเรียนรูว้ า่ การเปิดประชาคมอาเซียนมีทงั้ ได้ และเสีย ต้องมีการประนีประนอมกัน อาเซียน จึงจะอยู่ร่วมกันได้ในระยะยาว คนไทยต้องปรับทัศนคติในการมองเพื่อนบ้านให้ต่างจากเดิม ต้องมองในลักษณะ ที่เป็นสากลมากขึ้น ยอมรับเพื่อนบ้านมากขึ้น ต้องใจกว้าง ลืมอดีตเพื่อสร้างสรรค์มองอนาคต เราจะต้องเคารพความแตกต่าง เข้าใจความหลากหลาย อย่าเห็นชาติอื่นด้อยกว่าเรา เคารพความ เชื่อที่ไม่เหมือนกัน แม้แต่คนในชาติเดียวกันไม่จ�ำเป็นต้องเหมือนกัน ต้องเคารพศักดิ์ศรีของการอยู่ร่วมกัน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิติ ศรีแสงนาม ในส่วนของประเทศไทย สิ่งที่จ�ำเป็นต้องปฏิรูปเร่งด่วน คือ การศึกษา ควรจะพัฒนาทั้งผู้ใหญ่และเด็ก ไปพร้อมๆ กัน ระบบการศึกษาไทยในปัจจุบัน ครูส่วนหนึ่งอยากไปเป็นผู้บริหารสถานศึกษา เนื่องจากการสอน นักเรียนให้มคี วามรูค้ วามสามารถให้เป็นไปตามมาตรฐานทีก่ ำ� หนด โดยตัวชีว้ ดั ทีส่ ำ� คัญ คือ นักเรียน และโรงเรียน จะต้องมีคุณภาพมีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น ขอยกตัวอย่างข้อสอบโอเน็ตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 วิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มาน�ำเสนอเพื่อชี้ให้เห็นว่าการเรียนการสอน และการวัดผลของประเทศไทย ยังต้องปรับปรุงข้อสอบบางข้อมีค�ำตอบถูกมากกว่าหนึ่งค�ำตอบ การเตรียมตัวเพือ่ เข้าสูอ่ าเซียนอย่างแรกสุด คือ การรูจ้ กั ตัวเราเอง ว่าความเป็นจริงแล้วเรามีทงั้ จุดแข็ง และจุดอ่อนทางสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และความเป็นคนไทย แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างหนึ่งคือ เวลาที่มีการ ระดมสมอง เมือ่ มองหาจุดแข็งมักจะมีการยกยอปอปัน้ ท�ำให้จดุ แข็งฟูเกินจริง หรือมากกว่าความเป็นจริง ในขณะ ที่เมื่อมองหาจุดอ่อน วัฒนธรรมเกรงใจของคนไทยท�ำให้เราไม่กล้าพูดกัน ฉะนั้นจุดอ่อนจึงเล็กกว่าความเป็นจริง ซึ่งหากมีการน�ำไปวางแผนงานทุกอย่างบนจุดแข็งและจุดอ่อนดังกล่าว แผนงานจะเกิดความผิดพลาดทั้งหมด อย่างไรก็ตาม การรู้จักตัวเองฟังดูเหมือนง่ายแต่ในความเป็นจริงค่อนข้างยาก 8
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
เมื่อรู้จักตนเองแล้วขั้นตอนต่อไป คือ การรู้จักอาเซียน การรู้จักในที่นี้ไม่ใช่เพียงแค่รู้ (knowing) แต่ เป็นการตระหนักรู้ (awareness) กล่าวคือ ต้องรู้เรื่องของอาเซียนจริงๆ ไม่ใช่แค่รู้เพียงว่าสวัสดีสิบภาษาคืออะไร ดอกไม้ประจ�ำชาติคืออะไร สัตว์ประจ�ำชาติคืออะไร ซึ่งมีปัญหามาก การรู้จักอาเซียนจะต้องรู้ว่าอาเซียนคือ ประชาคมของสิบประเทศ หกร้อยสิบล้านคนทีม่ คี วามสัมพันธ์กนั ในทุกมิติ ไม่วา่ จะเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน และประชาคมการเมืองความมัน่ คงอาเซียน และเรียกรวมกันว่าเป็นประชาคม อาเซียน โดยที่ทุกคนจ�ำเป็นต้องรู้ให้ลึกและไม่มีการแยกส่วน การกล่าวถึงเฉพาะประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC อาจจะไม่ถูกต้อง เพราะประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนจะอยู่ไม่ได้ถ้าไม่มีความมั่นคง เพราะความมั่นคงคือการจัดสภาพแวดล้อมของอาเซียนให้ ความเสี่ยงลดลง ความปลอดภัยมากขึ้น จึงจะเกิดการค้าการลงทุนได้ และความมั่นคงที่พูดถึงปัจจุบันคือ nontraditional security ความมั่นคงทางทหาร ความมั่นคงทางพลังงาน ซึ่งเกี่ยวข้องกับระบบเศรษฐกิจ เมื่อน�ำ สองเสาหลักนี้มารวมกันยังคงได้เพียงครึ่งเดียวของอาเซียน นั่นคือ ครึ่งของอาเซียนด้าน supply size แต่ supply ไม่สามารถสร้าง demand ได้ เพราะสิ่งที่ส�ำคัญที่สุดในตลาดคือ คนซื้อ แล้วเราจะเรียนรู้คนซื้อได้ อย่างไร โดยขอยกตัวอย่างการผลิตรถยนต์ ซึ่งในแต่ละปีประเทศไทยสามารถผลิตรถยนต์ออกจ�ำหน่ายได้ปีละ 1,800,000 คัน รถยนต์ที่เราผลิตเก่งที่สุดคือรถยนต์กระบะ ซึ่งรถกระบะ Ford Ranger ที่นิยมใช้กันอยู่ตอน นี้ในประเทศไทยสีส้มขายดีที่สุด ในขณะที่ไม่สามารถขายได้ในประเทศพม่า เพราะส�ำหรับคนพม่า สีส้มและสี แดงเป็นสีส�ำหรับพระพุทธศาสนาและวัดเท่านั้น อีกตัวอย่างหนื่ง รถยนต์อื่นๆ ที่ไม่ใช่รถกระบะ รถสีบรอนซ์เงิน บรอนซ์ ท อง และขาวขายดี ใ นประเทศไทย แต่ ร ถสี ข าวไม่ ส ามารถขายได้ ใ นประเทศกั ม พู ช า เพราะคน กัมพูชาเชื่อว่าสีขาวเป็นสีแห่งความตาย เพราะฉะนั้นเราควรรู้เรื่องพวกนี้ด้วย เพื่อประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ และความมั่นคง เราจึงต้องรู้เสาหลักด้านประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียนด้วย ทั้งสามเสาหลักถูกออกแบบ มาเพื่อให้เข้าใจอาเซียนจะครบทุกมิติ มันถึงจะเกิด security effect ในล�ำดับต่อมา การปรับเปลีย่ นความคิด ถึงเวลาทีจ่ ะต้องเลิกมองว่าประเทศเพือ่ นบ้านคือศัตรูคอู่ าฆาต หรือปีศาจร้าย ความด้อยพัฒนา ความยากล�ำบาก เป็นต้น เพราะในความเป็นจริงประเทศเพื่อนบ้านคือโอกาส ยกตัวอย่างเรื่องของการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์ของประเทศไทย เปิดตลาดเมื่อปี 2518 ณ อาคารสยามเซ็นเตอร์ โดยหุ้นเฉลี่ยตอนเปิดตลาดคิดเป็นราคา 100 จุด เวลาผ่านไป 40 ปี ปัจจุบันหุ้นไทยอยู่ที่ 1,300 กว่าจุด คือโตขึ้น 13 เท่า ในขณะที่ตลาดหลักทรัพย์ของ สปป.ลาว ซึ่งเปิดตลาดเมื่อวันที่ 10-10-2010 เวลา 10.00 น. หุ้นราคาเฉลี่ยเท่ากับ 100 จุด อีกไม่กี่วันตลาดหลักทรัพย์ลาวจะมีอายุครบ 5 ปี ตอนนี้ก�ำลังลุ้น อยู่ว่าราคาหุ้นจะไต่มาถึง 1,300 จุดหรือไม่ จะเห็นได้ว่าตลาดหลักทรัพย์ของสปป.ลาวใช้เวลาเพียง 5 ปี ในขณะที่ตลาดหลักทรัพย์ประเทศไทยใช้เวลาถึง 40 ปี ดังนั้น เขาไม่ใช่ดินแดนที่ล้าหลัง ด้อยพัฒนา หรือคู่อาฆาต ของเราอีกต่อไปแล้ว อีกประเด็นที่ส�ำคัญ คือ การเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน ความสามารถทางการแข่งขันไม่ จ�ำเป็นว่าจะต้องได้เกรด 4 หมด ไม่จ�ำเป็นว่าจะต้องท�ำโอเน็ตได้เต็ม มีเพื่อนหลายคนที่ไม่ค่อยเรียนหนังสือแต่ ปัจจุบันเป็นผู้บริหารเงินเดือนเป็นหลักแสนได้ ความสามารถทางการแข่งขันซึ่งมีหลายมิติ เช่น โทรศัพท์มือถือ ไม่ใช่เพียงแค่โทรเข้าโทรออก ยังมีแอพพลิเคชัน่ มากมาย การพัฒนาความสามารถของบุคคลก็เช่นเดียวกัน เราก�ำลัง กล่าวถึง multiple intelligence เด็กบางคนอาจจะท�ำข้อสอบไม่ผา่ นแต่มไี อคิว 140 กว่าก็เป็นไปได้ เพราะฉะนัน้ ต้องไปพัฒนาเรื่องพวกนี้ให้เขา สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
9
การพัฒนาบุคคลให้มีความรอบรู้หรือมี multiple intelligence จึงต้องรู้จัก ฉลาดในการใช้ประโยชน์ ยกตัวอย่างเช่น ครูในโรงเรียนทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการ ถ่ายทอดเนื้อหาเป็นอย่างดี แต่จะพบว่ามีบางเนื้อหาที่ยังไม่ชัดเจน ดังนั้น อาจมีการใช้ประโยชน์โดยการขอความ ร่วมมือจากคณาจารย์ในมหาวิทยาลัยเพื่อมาช่วยพัฒนาเนื้อหาดังกล่าว ตอนนี้คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ได้ร่วมมือกับโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม และฝ่ายมัธยม พัฒนาเนื้อหาใน ส่วนของวิชาเศรษฐศาสตร์ ให้ผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจที่ตรงกันตั้งแต่เนื้อหาในระดับ ป.1 จนถึงระดับ ม.6 โดย จัดเป็นกลุม่ เล็กเพียง 30 คน เพือ่ จะได้ตอบข้อซักถามได้อย่างทัว่ ถึง การท�ำเช่นนีไ้ ด้ประโยชน์ทงั้ สองฝ่าย กล่าวคือ อาจารย์มหาวิทยาลัยได้ KPI ส่วนครูได้ความรูท้ ถี่ กู ต้อง อีกตัวอย่างหนึง่ เช่น อาชีวศึกษามีสหกิจศึกษาทีม่ ลี กั ษณะ เป็นทวิภาคี เป็นการพัฒนาพร้อมกับโรงงาน เอาเด็กไปฝึกงานในโรงงาน เด็กได้ทุนจากโรงงาน พอเรียนจบปุ๊บมี งานท�ำในโรงงานเลย หรือ มหาวิทยาลัยมีสหกิจศึกษา Industry Community University Program หรือ โปรแกรม ICU เป็นต้น เรื่องพวกนี้จะท�ำให้พัฒนาระบบการปฏิรูปการศึกษาได้ จากทีก่ ล่าวมาข้างต้น เพือ่ ให้คนเข้าใจเศรษฐกิจและสังคมในการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนให้เกิดขึน้ ได้จริง ผู้อภิปรายขอน�ำเสนอ 5 ขั้นตอนในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่อาเซียนประกอบด้วย 1. รู้จักตนเอง 2. รู้จักอาเซียน 3. ปรับเปลี่ยนวิธีคิด 4. เพิ่มขีดความสามารถ 5. ฉลาดในการใช้ประโยชน์
ดร.เนตรปรียา (มุกสิกไชย) ชุมไชโย ภาษาสากลที่ใช้ในการสื่อสารส�ำหรับประชาคมอาเซียน คือ ภาษาอังกฤษ ก่อนที่จะน�ำเสนอในเรื่อง ภาษา ขอน�ำเสนอในสิ่งที่อาเซียนต้องเจอก่อน ดังเช่นในปัจจุบันพบว่าประเทศในยุโรปมีปัญหา เรื่อง Culture shock คือ ถ้าไปต่างประเทศในยุโรปจะไม่ได้พบคนท้องถิน่ ของประเทศนัน้ แต่จะเจอคนทีย่ า้ ยมาจากต่างประเทศ หรือมาจากประเทศอื่นๆ ที่ด้อยพัฒนา เช่น ถ้าไปประเทศอังกฤษ จะไม่ได้พบคนพื้นเมืองอังกฤษ แต่จะเจอคน ที่มาจากต่างประเทศ หรือแม้แต่การเข้าไปซื้อของในซุปเปอร์มาร์เก็ต ที่มีฉลากแสดงสินค้า จะพบว่ามีการเขียน ฉลากในหลายภาษา และบางครัง้ จะไม่มภี าษาอังกฤษ นีค่ อื การเปลีย่ นแปลงในสังคมยุโรป คือ คนในประเทศหาย ไปไหนก็ไม่ทราบ แต่คนทีเ่ ข้ามาคือคนทีม่ าจากต่างประเทศทีเ่ ศรษฐกิจทีด่ อ้ ยกว่า เช่น พวกยุโรปตะวันออก เจ้าของ ประเทศทีแ่ ท้จริงเกิดการหดตัว ไม่คอ่ ยจะมีลกู ไม่คอ่ ยจะแต่งงาน ภาพนีม้ นั จะเกิดขึน้ ในอาเซียนและในประเทศไทย ของเรา หรือบางครั้งอาจจะเกิดขึ้นแล้ว เช่น ในบริษัทชั้นน�ำ มีการใช้ภาษาอังกฤษในการท�ำงาน มีพนักงานเป็น ชาวต่างชาติ เช่น บริษัท ESGC พนักงานชาวต่างชาติแต่พูดภาษาไทยชัดเจน นี่คือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นแล้ว ในสังคมของเรา เมือ่ ตอนทีป่ ระเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ASEAN Enterprises ในสมัยก่อนเรามีคำ� ขวัญของท่านผูน้ ำ� ประเทศ ไทยท�ำ ไทยใช้ ไทยเจริญ เน้นให้คนไทยผลิต และคนไทยใช้สินค้าไทย ช่วยสนับสนุน แต่ในปัจจุบันนี้ไม่ใช่แล้ว เรา จะต้องเปลี่ยนวิธีคิดใหม่ เป็นใครจะท�ำก็ได้ ใครจะใช้ก็ได้ ขอให้ไทยเจริญ เป็นแนวคิดที่ผู้ประกอบการเข้าใจอยู่ไม่ กี่บริษัท จนถึงวันนี้ก็ยังไม่เข้าใจ บริษัทที่เข้าใจจึงจะสามารถที่จะพัฒนาตนเองได้ 10
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
ASEAN Enterprises คือ การสร้างบริษัทที่ไหนก็ได้ โดยต้องตีโจทย์ให้แตกให้ได้ว่าตนเองเก่งอะไร อะไรที่ตนเองไม่เก่ง ตรงไหนที่มีโอกาส ตรงไหนที่ค่าแรงถูก ตัวอย่างเช่น บริษัทมาลีสามพราน ส่งออกสับปะรด - ล�ำไยกระป๋อง บริษัทถามว่าตนเองขายอะไร ตนเองเก่งอะไร ซึ่งพบว่าตนเองเชี่ยวชาญการน�ำผัก ผลไม้ และ อาหารแปรรูปอัดลงในกระป๋อง บริษัทมาลีตีโจทย์ตรงนี้แตกแล้วหลุดออกจากกรอบความคิดนี้ทันที ปัจจุบัน ผลไม้ของมาลีสามพรานขายดีในยุโรป เพราะว่าไม่ได้ขายล�ำไย ซึง่ ถ้าถามว่าฝรัง่ กินล�ำไยเป็นไหม ตอบว่ากินแต่นานๆ กินสักครั้งหนึ่ง แต่ฝรั่งกินลูกพีซ บริษัทมาลีสามพรานเลยไปตั้งโรงงานที่ยุโรปตะวันออก ซึ่งอยู่ใน EU แถบทะเล เมอร์ดิเตอร์เรเนียน ซึ่งเป็นแหล่งวัตถุดิบของลูกพีซ บริษัทซื้อลูกพีซซึ่งเป็นผลผลิตของที่นั่น โดยบริษัทยกไปแค่ เทคโนโลยีเท่านัน้ เพราะฉะนัน้ ผลก�ำไรทัง้ หมดยังเป็นของคนไทย นีค่ อื แนวคิดทีอ่ ยากให้อาเซียนหันมามองว่า แล้ว ระบบ ASEAN Enterprises จะเป็นอย่างไร ตัวอย่างที่จะยกให้เห็นชัดเจน ดังนี้ การที่จะตั้งบริษัทขายเสื้อผ้า ก็ ต้องคิดว่าจะตั้งบริษัทที่ไหน ใช้วัตถุดิบอะไร การออกแบบเสื้อผ้าถ้าจะจ้าง designer คนไทย แต่ designer คน ไทยเล่นตัว ส่วน designer เขมรเริ่มมีการพัฒนา ดิฉันเราก็ซื้อแบบจาก designer เขมร แล้วท�ำการศึกษาต่อว่า จะตั้งบริษัทที่ไหนดีที่มีค่าแรงถูกที่สุด ซึ่งพบว่าตอนนี้ค่าแรงถูกที่สุดคือเขมร อาจจะไปตั้งโรงงานที่นั่น หรือจ้าง OEM ให้ผลิตทีเ่ ขมร หลังจากนัน้ ท�ำการศึกษาเรือ่ งผ้า ซึง่ พบว่าผ้าทีถ่ กู ต้องทีอ่ นิ โดนีเซีย ก็ทำ� การซือ้ ผ้าทีอ่ นิ โดนีเซีย ซื้อซิปที่มาเลเซีย ลูกไม้ที่ฟิลิปปินส์ การท�ำธุรกิจในปัจจุบันไม่ต้องท�ำธุรกิจโดยที่ต้องซื้อของกองไว้ที่บ้าน เดี๋ยวนี้ มีการจัดการโลจิสติกส์ทดี่ ี ก็คำ� นวณเวลาในการตัดผ้า ตัดเสร็จกีว่ นั เย็บเสร็จเมือ่ ไหร่ ติดกระดุมเมือ่ ไหร่ น�ำวัตถุดบิ ที่ท�ำเสร็จสั่งไปโรงงาน แล้วก็ผลิตส่งออกได้ทันที นักการตลาดใช้คนสิงคโปร์ เนื่องจากมีความเชี่ยวชาญ มีการใช้ ภาษาอังกฤษที่ดีและสามารถเดินทางรอบโลกได้คนเดียว ซึ่งท�ำให้ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม นี่คือ ASEAN Enterprises ส�ำหรับนักวิชาการศึกษาหรือคณาจารย์จะผลิตนักศึกษาให้เป็นคนคิดมีวิสัยทัศน์ แบบ ASEAN Enterprises ได้หรือไม่ เช่น สามารถไปต่างประเทศคนเดียวได้หรือไม่ หรือสามารถพูดภาษาอังกฤษคุยกับลูกค้า ต่างประเทศได้หรือไม่ ซึ่งประเทศไทยยังขาดการพัฒนาทางด้านนี้อยู่ อีกตัวอย่างที่ขอน�ำเสนอ คือ นักเรียนคิดค้นยาที่มาจากผักบุ้งทะเลที่รักษาคนโดนแมงกะพรุน ทั้ง โรงเรียนมีความภูมใิ จงานนีม้ าก จนเจ้าของบริษทั สาหร่ายสไปรูรนี า่ มาขอลิขสิทธิ์ แต่ทางท่านผูบ้ ริหารโรงเรียนไม่ ขาย แต่ถ้ามองจริงๆ แล้วควรจะขาย และควรจะขายแพงๆ เพื่อเอาเงินส่วนนั้นมาพัฒนาโรงเรียน ตั้งเป็นกองทุน เพื่อพัฒนาท�ำวิจัยต่อยอดขึ้นไป ทั้งนี้พบว่าในประเทศไทยมีนักวิจัยเยอะ ตั้งแต่ระดับมัธยมไปจนถึงระดับ อาชีวศึกษา นักเรียนอาชีวศึกษาเก่ง มีความรู้ สามารถคิดงานได้หลายอย่าง แต่เวลาเราประชาสัมพันธ์ จะ ประชาสัมพันธ์แค่ว่าจัดกิจกรรมแข่งขัน เช่น หุ่นยนตร์เตะลูกบอล ซึ่งในความเป็นจริงควรน�ำการศึกษากับธุรกิจ ของเอกชนให้สามารถเชือ่ มโยงกันได้ ทางเอกชนต้องการนวัตกรรมใหม่ๆ ทีอ่ ยูใ่ นสถานศึกษา แต่มกั ขายไม่ได้ ท�ำไม ขายไม่ได้ เราต้องกลับมามองดูว่าการศึกษาของเราผิดพลาดตรงไหน เมื่อเราเข้าอาเซียนแล้วการศึกษาของเรา จะพัฒนาทันประเทศอื่นๆ หรือเปล่า ตัวอย่างปัญหาง่าย มีคุณแม่มาปรึกษาว่าลูกเป็นไฮเปอร์ แต่พอคุยกับ เด็กแค่ 5 นาที รู้ว่าเด็กไม่ธรรมดา แต่คุณแม่ไม่เชื่อ แล้วส่งเด็กคนนี้ไปพบจิตแพทย์เพื่อท�ำการวัดไอคิว เด็กคนนี้ ไอคิว 147 แต่ในประเทศไทย ไอคิวเฉลี่ย 88 – 89 แต่เรียนแล้วสอบได้ 1 หรือ 2 แต่ในระบบการศึกษาวัดผลว่า เด็กคนนี้โง่ ต้องถามว่าเกิดอะไรขึ้นในการวัดผลของประเทศไทย ทางด้านภาษาอังกฤษที่ยังเป็นปัญหาของประเทศ จากการที่ได้ท�ำวิจัยเกี่ยวกับการใช้ภาษาอังกฤษใน ประเทศไทย พบว่าสาเหตุที่เด็กไทยไม่สามารถพูดภาษาอังกฤษได้ เนื่องจากมี mental block คือการท�ำให้สาร เคมีในสมองเอ๋อหรือไม่สมดุล เกิดความวิตกจริต ท�ำให้นกึ ค�ำศัพท์ไม่ออก จะเรียนรูก้ เ็ รียนไม่เข้าใจรูส้ กึ ว่าเป็นเรือ่ ง สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
11
ที่ยาก ต้องฝากนักการศึกษาในการสอนที่ไปย�้ำคนวิตกจริต ถ้าเราจะสอนไวยากรณ์ ท่านจะเอาต�ำราปีไหน และ จะเอาต�ำราประเทศอะไร การสอนก็ต้องท�ำวิจัยพัฒนาตนเอง ต้องลงทุนซื้อต�ำรา เพราะไวยากรณ์อังกฤษก็ไม่ เหมือนอเมริกา ไวยากรณ์อเมริกาก็ไม่เหมือนแคนาดา แคนาดาก็ไม่เหมือนของออสเตรเลีย ภาษาเป็นพลวัตที่ เปลี่ยนตลอดเวลา ปัจจุบันเปลี่ยนไปตลอด เราต้องมาถามตัวเองว่าในฐานะเราเป็นนักวิจัยสังคมศาสตร์ นักการ ศึกษา เราก�ำลังท�ำอะไรอยู่ อยากจะฝากให้ท่านคิดว่ามหาวิทยาลัยต่างๆ ของประเทศไทย มี 2 ประเภท คือ 1) เป็นเลิศทางวิชาการ แต่ในสังคมโลกในปัจจุบนั ในประเทศไทยและอาเซียน เราไม่ตอ้ งการนักวิชาการ เราต้องการ คนที่เป็นนักปฏิบัติ หวนกลับมาถามตัวเองว่าท่านก�ำลังผลิตบัณฑิตแล้วจบปริญญาตรีให้ตกงานใช่หรือไม่ พบว่า ตัวเลขคนที่ว่างงานที่มีสัดส่วนสูงที่สุดกลายเป็นคนที่มีปริญญา เพราะจบมาแล้วบริษัทห้างร้านไม่รับเข้าท�ำงาน เพราะรู้ว่าจบมาแล้วท�ำงานไม่ได้ บริษัทห้างร้านต้องการรับเด็กที่จบ ปวช/ปวส ที่ไม่มีใครเรียน การเรียนเป็นนัก ปฏิบัติจะท�ำให้ด�ำรงอยู่ได้ในยุคอาเซียน ถ้านายจ้างรับคนที่เป็นนักวิชาการ แต่ท�ำงานไม่ได้ ก็จะไปจ้างคนจาก ประเทศเพื่อนบ้าน เพราะว่า productivity สูงกว่า ที่น�ำเสนอและไม่มีปัญหาให้แก้ไข เพราะว่าปัญหาก็จะเลิก สัญญาจ้าง แต่ถ้าเป็นคนงานไทยก็จะมีปัญหาทั้งสหภาพ ที่น�ำเสนออยากจะให้ทุกคนเห็นภาพในโลกแห่งความ เป็นจริง ว่าตนเองมีหน้าทีท่ ำ� อะไรอยู่ สามารถตอบโจทย์การเปลีย่ นแปลงในอาเซียนได้จริงหรือไม่ แล้วเราจะช่วย กันได้อย่างไร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปัณรส มาลากุล ณ อยุธยา สิ่งส�ำคัญที่ควรปฏิรูปมีทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และการศึกษา ส�ำหรับในการปฏิรูปนั้น ขอกล่าวเป็น 2 ส่วน โดยส่วนแรกจะเป็นการศึกษาประเมินสถานการณ์ก่อน และส่วนที่สองจึงจะเป็นการปฏิรูป ส่วนแรกส�ำหรับการประเมินสถานการณ์ เราต้องรู้สถานการณ์ต่างๆ ในบ้านเรารวมทั้งประเทศเพื่อน บ้าน เช่น อาเซียนเริ่มเข้ามาในบ้านเราตั้งแต่ปี 2535 รวมถึงวิกฤตการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น เช่น วิกฤตเศรษฐกิจ ต้มย�ำกุง้ ในปี 2540 ประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย ต่างก็เข้ามาซือ้ กิจการธนาคารของประเทศไทย นัน่ แสดงว่าอาเซียน เริม่ เข้ามาตัง้ แต่ตอนนัน้ แล้ว ดังนัน้ ประเทศเพือ่ นบ้านรูช้ อ่ งทางการลงทุนในประเทศไทยกันแล้ว นอกจากในภาพ ระดับใหญ่ ถ้ามองในระดับชุมชน อาเซียนก็เข้ามาอยู่เต็มไปหมด ยกตัวอย่างเช่น ที่จังหวัดสมุทรสาคร นิคม อุตสาหกรรมนวนคร นิคมอุตสาหกรรมบางปู หรือแม้แต่ในครัวเรือนก็มีอาเซียนเข้ามาอยู่ร่วมกับเรา เป็นต้น แต่ จุดดีคือประเทศไทยยังเป็นแนวหน้าในด้านเศรษฐกิจ เช่น ธุรกิจปิโตรเลียม เหมืองแร่ วัสดุก่อสร้าง แต่บางอย่าง ก็ไม่แน่ใจว่าเรายังเป็นผู้น�ำแถวหน้าอยู่หรือไม่ เช่น ธุรกิจโรงพยาบาลในประเทศไทย ซึ่งเราเคยบอกว่าเราจะเป็น เครือข่ายชั้นน�ำของอาเซียนในเรื่องนี้ แต่เมื่อมองลงไปถึงผู้ถือหุ้นส่วนใหญ่ของโรงพยาบาลดังๆ ส่วนใหญ่จะเป็น สิงคโปร์ถึง 49 % หลังจากที่เราประเมินสถานการณ์ต่างๆ ได้แล้ว เราควรปฏิรูปอะไร สิ่งแรกที่ควรปฏิรูป คือ เรื่องเศรษฐกิจของไทย เพราะเมื่อพิจารณาดูประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน อย่างเช่น มาเลเซียซึ่งประกาศว่าปี 2020 จะเป็นผู้น�ำด้านอุตสาหกรรมรถยนต์ หรือประเทศลาวที่กล่าวว่าในปี 2020 ประเทศลาวจะพ้นจากการเป็นประเทศโลกทีส่ าม ส�ำหรับประเทศไทยจะเป็นอย่างไรในปี 2020 ประเทศไทย จะเป็นประเทศเศรษฐกิจโลกาภิวัตน์ไปแข่งกับประเทศอื่นๆ หรือเป็นประเทศที่เน้นด้านเกษตรกรรมหรือด้าน อุตสาหกรรม ซึ่งตอนนี้ยังไม่ประกาศชัดเจนว่าเป็นแบบใด ดังนั้นถ้าเราต้องการที่จะปฏิรูป เราจึงควรต้องท�ำให้ ชัดเจนก่อนว่าเป้าหมายของประเทศไทยจะไปทางไหนและเป็นแบบใด 12
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
ประเด็นต่อมาเป็นการปฏิรปู ด้านสังคม ซึง่ สถานการณ์ในประเทศไทยเริม่ เปลีย่ นแปลงไป ยกตัวอย่างเช่น ที่ จังหวัดสมุทรสาคร จะเริม่ เห็นได้ชดั ว่ามีการเปลีย่ นแปลงอย่างมาก เริม่ มีแรงงานจากประเทศเพือ่ นบ้านเข้ามาอยู่ มากมาย หลากหลาย ค�ำถามคือสังคมตรงนั้นจะอยู่กันอย่างไร ในด้านการศึกษา เราก็มีโรงเรียนนานาชาติแถบ หัวหินมากมาย แต่คนทีเ่ รียนก็คอื คนไทยทีม่ ฐี านะ ในขณะทีล่ กู คนงานก่อสร้างคอนโดแถวหัวหินก็ไปเรียนโรงเรียน วัด ทุกวันนีเ้ ราพยายามบอกว่าคนงานต่างชาติเหล่านีเ้ ป็นพลเมืองชัน้ สอง เราแบ่งแยกชนชัน้ กัน ดังนัน้ เราจะเป็น อาเซียนแบบล�ำดับขั้นใช่หรือไม่ เมื่อดูทางด้านภาษา ประเทศในกลุ่มอาเซียนยังไม่มีภาษาที่ใช้ร่วมกัน ยังคงต้อง ใช้ภาษาอังกฤษ แต่เมื่อพิจารณากันจริงๆ จะเห็นว่าบางส่วนมีภาษาที่ใช้ร่วมกันอยู่ เช่น ทางภาคเหนือหรือภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยส่วนใหญ่กใ็ ช้ภาษาบาลีอยูใ่ นชีวติ ประจ�ำวัน เนือ่ งจากนับถือศาสนาเดียวกัน สวดมนต์เหมือนกัน หรือทางภาคใต้ของประเทศไทยก็ใช้ภาษามลายู เหมือนกันกับประเทศมาเลเซีย เป็นต้น ดังนัน้ สิ่งที่ส�ำคัญคือประเทศไทยจะร�่ำรวยได้ ก็ต้องท�ำให้คนของเราเห็นคุณค่าของตัวเองก่อน แล้วจึงค่อยสร้างเสริม คุณค่าให้พัฒนาต่อไป
ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถาวร ในอาเซียนอีกไม่กี่เดือนข้างหน้าก็จะกลายเป็นเขตเศรษฐกิจเดียวกัน มีการพูดคุยกันอย่างเข้มข้นของ World Economic Forum (WEF) ทีพ่ ดู ถึงเรือ่ งการศึกษาของไทยว่าอยูอ่ นั ดับที่ 8 ของอาเซียนซึง่ จะมีการประกาศ ออกมาทุกปี บางท่านบอกว่าอยูอ่ นั ดับ 9 แต่กม็ หี ลายท่านทีพ่ ยายามบอกว่า ไทยอยูอ่ นั ดับที่ 5 เรือ่ งของการศึกษา จ�ำได้วา่ มีโรงเรียนทีม่ ชี อื่ เสียงแห่งหนึง่ เมือ่ กลับไปดูในวันนีก้ ย็ งั เป็นห้องสีเ่ หลีย่ มเหมือนเดิม มีนกั เรียน 40-50 คน มีกระดานด�ำแล้วก็มีฝุ่น ที่เปลี่ยนไปก็จะเป็นโต๊ะไม้และเก้าอี้ มีค�ำถามว่าผ่านไป 40-50 ปี ค�ำว่าการปฏิรูปการ ศึกษาที่เราพูดถึงมันหมายถึงว่าภาพห้องเรียนสมัย 40-50 ปี ยังเป็นอย่างนั้นอยู่หรือเปล่า ปตท. เป็นหน่วยงานของรัฐ มีธุรกิจครบทุกทวีป ปตท. เป็นบริษัทที่มีการลงทุนมากที่สุดในอาเซียน ประมาณแสนกว่าล้านบาท ปตท. มีสำ� นักงานอยูท่ วั่ โลก ทีแ่ คนาดา แอลจีเรีย ฝรัง่ เศส ทีใ่ กล้สดุ สิงคโปร์ เมือ่ ถามการ เรียนของสิงคโปร์ห้องเรียนหนึ่งมีนักเรียนสิบกว่าคน ถ้าในประเทศไทยก็จะเป็นโรงเรียนฝรั่งที่ค่าเทอมแพงเด็กถึง จะเรียนห้องละสิบกว่าคน ฉะนัน้ ลักษณะการเรียนการสอนทีห่ อ้ งละ 40-50 คน ในประเทศทีเ่ จริญแล้วและมีระดับ การศึกษาที่ดีจะไม่มี มาเลเซียและบรูไนตอนนี้ท�ำตามสิงคโปร์ซึ่งไปได้ดีมาก ฉะนั้นไม่แปลกถ้าผลการศึกษาของ ไทยอยู่ในอันดับ 8 ของอาเซียน มาดูที่การอุดมศึกษา เช้านี้มีการรายงานข่าวว่ามหาวิทยาลัยไทยชั้นน�ำ 2 แห่ง อยู่อันดับเก้าร้อยกว่าเราไม่ติดอันดับ 300 มหาวิทยาลัยของโลกเลย ปตท. มาท�ำเรื่องการศึกษาได้อย่างไร อย่างที่ ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณได้กล่าวไว้เรื่องของการแข่งขัน ด้านวิทยาศาสตร์ ปตท. มีขนาดอยู่อันดับที่ 93 ของโลก มียอดขายแสนล้านเหรียญ หรือประมาณสามล้านล้าน บาท มากกว่างบประมาณในประเทศไทย การที่ปตท. ท�ำธุรกิจและอยู่ได้ในระดับแนวหน้าของโลกภายในอันดับ 100 ของโลก พบว่าการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นตัวส�ำคัญที่จะตัดสินความสามารถขององค์กร ปตท. มีโรงเรียนที่ระยองมาประมาณ 20 ปี ผลิตนักศึกษาให้กับกลุ่มปตท. ปัจจุบันเพิ่มนักศึกษาจากพม่า ลาว เพราะ พบว่าหน่วยงานของปตท. ในพม่าก็ตอ้ งจ้างคนพม่าซึง่ ในปัจจุบนั การศึกษาก็ตา่ งกันมาก ในส่วนของอุดมศึกษาทีว่ ธิ ี การที่ ปตท. ท�ำทุกวันนี้คือคัดเลือกนักศึกษาที่จบสายวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ ที่ได้คะแนนดีเกียรตินิยมส่ง ไปเรียนเมืองนอกจนจบปริญญาเอกแล้วให้มาท�ำงานที่ศูนย์วิจัยของ ปตท. ที่วังน้อยและที่ระยอง ถ้า ปตท. ยังท�ำ สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
13
อย่างนี้ต่อไปจะไม่สามารถรักษาความสามารถในการแข่งขันได้เลย ในทวีปเอเชียมี 2 ประเทศที่ไม่ได้เป็นเมืองขึ้น หรือเป็นอาณานิคมคือ ประเทศไทย และญี่ปุ่น และเป็น 2 ประเทศที่เปิดรับเทคโนโลยีพร้อมกันโดยไทยเต็มใจ เปิดรับ ในขณะที่ญี่ปุ่นไม่เต็มใจ แต่ผ่านไป 100 ปี มีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง สมมติฐานที่ค้นพบคือเรื่องของ การศึกษา หลังจากที่ญี่ปุ่นเปิดประเทศได้ประกาศปฏิรูปการศึกษาและตั้งมหาวิทยาลัยโตเกียว ของไทยตั้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในรัชกาลที่ 6 ซึ่งห่างจากญี่ปุ่น 40 ปี ญี่ปุ่นได้ตั้งมหาวิทยาลัยทั้งหมด 9 แห่งและเป็น มหาวิทยาลัยทีต่ ดิ อันดับโลก เปรียบเทียบอีกอันหนึง่ ทีใ่ กล้ตวั นัน่ คือเกาหลี เมือ่ 40 ปีทแี่ ล้ว GDP ของไทยมากกว่า เกาหลี และไทยยังส่งคนไปช่วยสอนปลูกข้าว ประเทศเอธิโอเปียยังส่งข้าวไปช่วยเกาหลี เกาหลีมีแค่ก้อนอิฐกับ ต้นไม้หลังสงคราม แต่มีประธานาธิบดีซึ่งเป็นเผด็จการที่ประกาศว่าประเทศจะไม่รอดถ้าไม่มีการศึกษาเป็นตัวน�ำ ท่านรับผิดชอบดูแลด้านการศึกษาด้วยตัวเอง ได้ออกพระราชกฤษฎีกาว่านักศึกษาคนไหนทีเ่ รียนเป็นเลิศทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไม่ต้องเกณฑ์ทหาร เป็นพระราชกฤษฎีกาที่ออกเมื่อ 30 ปีที่แล้วในขณะที่ยังมีปัญหา ระหว่างเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้อยู่ สิ่งที่เกิดขึ้นคือเมื่อผ่านไป 30-40 ปี GDP ของเกาหลีมากกว่าของไทยเป็น สิบเท่า เกาหลีใต้ข้ามไปเป็นประเทศที่เจริญแล้ว เราพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมากในเรื่องการศึกษา สิ่งที่ ปตท. ท�ำก็คือตั้งโรงเรียนต้นแบบและ มหาวิทยาลัยต้นแบบทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้รับพระราชทานนามว่าโรงเรียนก�ำเนิดวิทย์ และ สถาบันวิทยสิริเมธี สิ่งที่ตั้งใจท�ำคือต้องการให้เป็นสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ดีที่สุดไม่ใช่ในภูมิภาคแต่ เป็นระดับโลก เพราะ ปตท. ได้เชิญอาจารย์ท่านหนึ่งให้ช่วยสร้างโรงเรียนที่ดีที่สุดให้ประเทศไทย ท่านเดินทางไป หลายประเทศมาก มีการคัดเลือกนักเรียนจากเด็กความสามารถพิเศษ ด้านวิทยาศาสตร์มีการสอบ 3 ครั้ง คัด จาก 5,000 คน เหลือ 300 คน จาก 300 คน เหลือ 180 คน และจาก 180 คน เหลือ 72 คน เป็นโรงเรียนที่ ออกแบบให้มีความสมดุลทั้งด้าน EQ และ IQ แต่ที่ส�ำคัญที่สุดก็คือว่าไม่มีการเก็บค่าบ�ำรุงการศึกษา และไม่มี ข้อผูกมัดกับนักเรียนใดๆ ทัง้ สิน้ ในส่วนของมหาวิทยาลัยจะเปลีย่ นรูปแบบของการศึกษา คือ ถ้าไปดูมหาวิทยาลัย ทีด่ ที สี่ ดุ ของโลก จะพบว่ามหาวิทยาลัยของยุโรปและอเมริกาเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนทัง้ สิน้ เชือ่ ว่ามีความผิดพลาด หลายเรือ่ งในประเทศไทยเกีย่ วกับปรัชญาการศึกษาของมหาวิทยาลัย คือเป็นองค์กรทีส่ ร้างคนเก่งรับใช้สงั คม แต่ ถ้าไปสิงคโปร์ เกาหลี หรือจีน ปรัชญาการศึกษาของมหาวิทยาลัยชัน้ น�ำเขียนคนละอย่างกับไทย ปรัชญาการศึกษา ของเขาคือต้องสร้างชาติให้ยงิ่ ใหญ่ ถ้าเป็นมหาวิทยาลัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก็จะสร้างชาติให้ยงิ่ ใหญ่ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งเป้าหมายคือนักวิทยาศาสตร์ต้องได้รางวัลโนเบล เราไม่กล้าเขียนแม้แต่คิดก็ ยังไม่กล้า สิ่งที่เกิดขึ้นคือเราก็จะได้คนดีคนเก่งเข้าสู่สังคม แต่ประเทศไม่สามารถยิ่งใหญ่ได้ ทางมหาวิทยาลัยมีวิสัยทัศน์ว่าจะต้องเป็น 1 ใน 50 ของมหาวิทยาลัยโลกใน 20 ปีข้างหน้า ระบบ การ เรียนการสอนไม่ได้เก็บค่าบ�ำรุงการศึกษาและไม่มีข้อผูกมัด การท�ำมหาวิทยาลัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้เงินลงทุนทีส่ งู มาก โดยเฉพาะเงินเดือนของอาจารย์ในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย เพราะว่าเชิญ professor จาก เมืองนอกมาสอน เป็นมหาวิทยาลัยขนาดเล็กทีไ่ ม่ได้แยกคณะวิทยาศาสตร์ออกจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ซงึ่ ถือว่า เป็นการเปลีย่ นระบบการศึกษา รับนักศึกษาชุดแรก 58 คน โดยก�ำหนดว่าจ�ำนวนนักศึกษามีเท่าไรขึน้ อยูก่ บั จ�ำนวน อาจารย์ กลุ่มวิจัยจะมี professor 1 คนต่อนักศึกษา 10 คน ปัจจุบันมี professor 11 คน ฉะนั้นจึงเป็นรูปแบบ การเรียนการสอนทีค่ ล้ายในอเมริกาและยุโรป เราไม่เก็บค่าบ�ำรุงการศึกษาเพราะว่าถ้าเก็บจะเป็นโมเดลทางธุรกิจ ซึ่งจะบังคับให้คุณภาพการศึกษาลดลง ดังนั้นเราจึงตั้งรูปแบบใหม่โดยพยายามหาทุนเอง อาจารย์ต้องออกไป 14
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
หาทุนวิจัยเข้ามา ส�ำหรับเด็กมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความสามารถเป็นเลิศที่มาเรียน ต้องใช้เงิน 850,000 บาท ต่อคนต่อปี หมายความว่าถ้าเรียนจบ ม.6 เราต้องจ่ายให้ประมาณ 2 ล้านกว่าบาทต่อคน ถ้าระดับปริญญาโท ปริญญาเอก ต่อคนประมาณ 3 ล้านบาท ในสายวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ นักเรียนไทยเก่งๆ ทีไ่ ปเรียนเมืองนอกมักจะได้ทนุ โดยข้อเท็จจริง ในประเทศยุโรปเขาจ้างเรียนไม่ตอ้ งมีใครจ่ายเงินเอง แต่วา่ มหาวิทยาลัยของไทยถ้าจะเรียนโทเอกต้องจ่ายเงินเอง ฉะนั้นโมเดลการศึกษาจึงเป็นโมเดลเชิงธุรกิจ ผลพวงก็จะวนอยู่อย่างนี้ไม่ไปไหน ตอนนี้มหาวิทยาลัยจีนระดับ แนวหน้ามีขนึ้ มา 3-4 มหาวิทยาลัย สิงคโปร์และฮ่องกงเป็นประเทศขนาดเล็ก เขาพัฒนามหาวิทยาลัยขึน้ มาในระดับ top ten แล้ว ในอีก 5-10 ปีข้างหน้า อันดับของมหาวิทยาลัยโลกจะเปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิง แล้วประเทศไทยถ้ายัง ไม่เริ่มเปลี่ยนวันนี้ เราจะไม่ทันประเทศอื่นแน่นอน
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
15
ข้อสอบอัตนัย: การสร้าง การวิเคราะห์ และการตรวจอย่างเป็นปรนัย (Constructed – Response Test Question: How to Construct, Analyse, and Score Item) ศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี เกริ่นน�ำ ข้อสอบที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในการทดสอบทั่วไป คือ ข้อสอบแบบหลายตัวเลือก (Multiplechoice question, MCQ) อย่างไรก็ตาม ยังมีข้อสอบอีกลักษณะหนึ่ง ซึ่งมีความส�ำคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่ากัน คือ ข้อสอบอัตนัย ที่ต้องการให้ผู้สอบสร้างค�ำตอบ หรือเสนอค�ำตอบด้วยตนเอง แทนที่จะแสดงความสามารถเพียง เลือกค�ำตอบถูกจากรายการค�ำตอบที่ก�ำหนดไว้ ข้อสอบอัตนัย อาจมีรูปแบบค�ำตอบจากแบบธรรมดา การตอบด้วยค�ำๆ เดียว การตอบเป็นประโยค แบบสั้น จนถึงการตอบที่มีความสลับซับซ้อนยิ่งขึ้น ด้วยการเขียนค�ำตอบเป็นความเรียง จนถึงการออกแบบเชิง สร้างสรรค์ระดับสูง ประเภทของข้อสอบทีถ่ ามตามลักษณะนี้ รวมเรียกว่า ข้อสอบอัตนัย หรือ ข้อสอบแบบความ เรียง (Essay Question) ข้อสอบแบบเสนอค�ำตอบ (Supply Type) หรือ ข้อสอบแบบสร้างค�ำตอบ (Constructed - Response Question, CRQ) การน�ำข้อสอบอัตนัย มาใช้วัดความสามารถทางสมองขั้นสูง ผู้ใช้จะต้องมีความสามารถในการสร้าง ค�ำถาม วิเคราะห์คุณภาพของข้อค�ำถาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตรวจข้อสอบอัตนัยอย่างมีคุณภาพ หรือ การตรวจข้อสอบอัตนัยอย่างมีความเป็นปรนัย
ข้อจ�ำกัดของข้อสอบแบบหลายตัวเลือก ข้อสอบแบบหลายตัวเลือก (MCQ) ถูกน�ำมาใช้อย่างยาวนานในการทดสอบขนาดใหญ่ ทีม่ ผี สู้ อบจ�ำนวน มาก เหตุผลส�ำคัญ ได้แก่ ผู้สอบสามารถตอบข้อสอบจ�ำนวนมากในเวลาที่จ�ำกัด การใช้ข้อสอบจ�ำนวนมาก ท�ำให้ การสอบสามารถครอบคลุมเนื้อหาได้กว้างขวาง จึงวัดความรู้ความเข้าใจได้จ�ำนวนมาก ลดโอกาสของดวงที่จะมี ผลต่อคะแนน สามารถตรวจให้คะแนนอย่างเป็นปรนัยด้วยคอมพิวเตอร์ ท�ำให้รายงานผลการสอบได้รวดเร็ว และ ประหยัดค่าใช้จ่าย ในขณะเดียวกัน ข้อสอบแบบหลายตัวเลือก (MRQ) มีข้อจ�ำกัดที่ส�ำคัญดังต่อไปนี้ • การเรียนรูใ้ นโรงเรียน/สถาบันการศึกษา เป็นกิจกรรมทีม่ คี วามสลับซับซ้อน ยากทีจ่ ะวัดได้อย่างมี ประสิทธิผลเพียงการใช้ขอ้ สอบแบบหลายตัวเลือก ซึง่ เป็นการวัดความสามารถในการเลือกค�ำตอบถูกจากรายการ ค�ำตอบที่ก�ำหนดให้ แต่ไม่ได้วัดความสามารถในการสร้างค�ำตอบถูกด้วยตนเอง โดยไม่ต้องดูรายการค�ำตอบที่ ก�ำหนดให้ • ข้อสอบแบบหลายตัวเลือก สามารถใช้วัดความรู้แบบแยกส่วน ที่เป็นความสามารถในการจ�ำแนก ข้อความรูท้ ถี่ กู ต้องกับข้อความทีผ่ ดิ ออกจากกันได้ แต่ไม่ได้วดั ความสามารถในการใช้ความคิด และการเขียนแสดง เหตุผลประกอบความคิด 16
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
• ข้อสอบแบบหลายตัวเลือก สามารถใช้วัดการใช้เหตุผลภายใต้กรอบตัวเลือกที่ก�ำหนดไว้ แต่ไม่ได้วัด ความสามารถในการสร้างเหตุผลที่ถูกต้องด้วยตนเอง • ข้อสอบแบบหลายตัวเลือกในวิชาคณิตศาสตร์ สามารถใช้วดั การคิดแก้ปญั หาโจทย์ตามตัวเลือกทีเ่ ป็น ผลจากการคิดแก้ปัญหาที่ก�ำหนดให้ แต่ไม่ได้วัดความสามารถในการคิดและการใช้เหตุผลในการแก้ปัญหาโจทย์ ด้วยตนเอง • ข้อสอบแบบหลายตัวเลือกในวิชาวิทยาศาสตร์ สามารถใช้วดั ล�ำดับขัน้ ตอนก่อน-หลังของการทดลอง ได้ แต่ไม่ได้วัดความสามารถในการระลึกจ�ำขั้นตอนทั้งหมดของการทดลองได้ด้วยตนเอง • ข้อสอบแบบหลายตัวเลือกในวิชาทางภาษา สามารถใช้วัดความสามารถทางการเขียนในแง่จ�ำแนก ผูเ้ รียนทีร่ วู้ า่ การเขียนทีถ่ กู กับการเขียนทีผ่ ดิ ออกจากกันได้ แต่ไม่ได้วดั ความสามารถในการจัดโครงสร้างความคิด/ การเขียนตามหลักไวยากรณ์/การใช้ค�ำศัพท์เพื่อการสื่อสาร
ข้อสอบอัตนัยในความรู้คิดขั้นสูง ข้อสอบอัตนัย หรือข้อสอบแบบสร้างค�ำตอบ (Constructed – Response Question, CRQ) หมายถึงข้อค�ำถาม ซึ่งเป็นโจทย์ปัญหา หรือสิ่งเร้า (stimulus) ให้ผู้สอบอ่านและตอบค�ำถาม โดยการเขียน ค�ำตอบ/เสนอค�ำตอบ หรือบูรณาการค�ำตอบ เพือ่ แสดง “ปัญญา” หรือความสามารถทางสมอง หรือการรูค้ ดิ ขัน้ สูง ในโจทย์ปัญหา ผู้สร้างข้อสอบอาจใช้สิ่งกระตุ้น (prompt) เช่น ภาพ แผนที่ ตาราง กราฟ บทความสั้น เป็นต้น เพื่อกระตุ้นเร้าความคิดให้ผู้สอบคิดวิเคราะห์เพื่อหาค�ำตอบที่ดีที่สุดของตนออกมา การวัดความสามารถทางสมอง (cognitive ability) มีความแตกต่างจาก การวัดความสามารถทาง การปฏิบัติ (Performance appraisal) ในแง่ที่ว่า การวัดความสามารถทางสมอง มักเกี่ยวข้องกับการวัดทักษะ การคิดขั้นสูง (high level thinking skills) เช่น การคิดวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมิน การสร้างสรรค์ นวัตกรรม เป็นต้น ในทางการศึกษา นิยมทีจ่ ะวัดความสามารถทางสมองของผูเ้ รียนผ่านกระบวนการทดสอบด้วย ข้อสอบ และข้อสอบแบบสร้างค�ำตอบ (CRQ) มีความเหมาะสมส�ำหรับการวัดความคิดขั้นสูงของผู้เรียน โดยให้ ผูเ้ รียนเขียนตอบ สร้างต�ำตอบของค�ำถาม ส่วนการวัดความสามารถทางการปฏิบตั ิ เกีย่ วข้องกับการลงมือกระท�ำ เพื่อสร้างผลผลิต หรือผลงาน ในทางการศึกษา นิยมที่จะวัดความสามารถทางการปฏิบัติของผู้เรียนผ่านการมอบ หมายงานให้ผู้เรียนแสดงการกระท�ำ ลงมือปฏิบัติการ สร้างผลผลิต เช่น การน�ำโครงการไปด�ำเนินการในพื้นที่ การท�ำโครงงาน การสร้างสิ่งประดิษฐ์ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์สารในห้องปฏิบัติการ เป็นต้น ผลงานหรือผลผลิตที่ได้จะถูกน�ำมาท�ำการประเมินคุณภาพเพื่อสรุปความสามารถทางการปฏิบัติ
การใช้ข้อสอบแบบหลายตัวเลือก (MCQ) แทนที่ข้อสอบแบบสร้างค�ำตอบ (CRQ) นักวิชากรทางการทดสอบหลายท่าน ท�ำการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของข้อสอบแบบหลายตัวเลือก (MCQ) กับข้อสอบแบบสร้างค�ำตอบ (CRQ) พบว่าข้อสอบทัง้ สองลักษณะมีประสิทธิภาพส�ำหรับการทดสอบผูเ้ รียน ได้คล้ายคลึงกัน และสามารถใช้ทดแทนกันได้ ดังเช่น
• คะแนนผลการทดสอบ ที่ใช้ข้อสอบแบบหลายตัวเลือก กับข้อสอบแบบสร้างค�ำตอบ ส�ำหรับผู้สอบ กลุ่มเดียวกัน มีคะแนนที่สัมพันธ์กันระดับสูง (Godschalk, Swineford, & Coffman, 1966) สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
17
• ข้อสอบแบบหลายตัวเลือก กับข้อสอบแบบสร้างค�ำตอบ ให้สารสนเทศจากการทดสอบที่ไม่ แตกต่างกัน ดังนั้นข้อสอบแบบหลายตัวเลือกจึงสามารถใช้ทดแทนข้อสอบแบบสร้างค�ำตอบได้ (Lukhele, Thissen, & Wainer, 1994)
• อย่างไรก็ตาม นักวิชาการทางการทดสอบหลายท่านเช่นกัน ท�ำการศึกษาพบว่า ข้อสอบแบบหลาย ตัวเลือก (MCQ) ไม่สามารถใช้ทดแทนข้อสอบแบบสร้างค�ำตอบ (CRQ) ได้ ดังเช่น • การศึกษาทีผ่ า่ นมา เป็นการพิจารณาประสิทธิภาพของข้อสอบแบบหลายตัวเลือก และข้อสอบแบบ สร้างค�ำตอบในภาพรวม ยังไม่ได้วิเคราะห์ลึกลงไปถึงความเหมือนและความต่างของข้อสอบทั้ง 2 ลักษณะในการ ท�ำหน้าที่ส�ำหรับกลุ่มผู้สอบ หรือการมีปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มผู้สอบ (Mazzeo, Schmitt, & Bleistein, 1992; Breland, Danos, Kahn, Kubota, & Bonner, 1994; Livingston & Rupp, 2004) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อ กลุ่มผู้สอบชายและหญิง ต่างท�ำข้อสอบแบบหลายตัวเลือกได้ดี จะพบว่า กลุ่มหญิงจะสามารถท�ำข้อสอบแบบ สร้างค�ำตอบได้ดกี ว่ากลุม่ ชาย แต่เมือ่ กลุม่ ผูส้ อบชายและหญิง ต่างท�ำข้อสอบแบบสร้างค�ำตอบได้ดี จะพบว่ากลุม่ ชายจะท�ำข้อสอบแบบหลายตัวเลือกได้ดีกว่ากลุ่มหญิง • การทีพ่ บความสัมพันธ์ระดับสูงระหว่างคะแนนการทดสอบทีใ่ ช้ขอ้ สอบแบบหลายตัวเลือกกับข้อสอบ แบบสร้างค�ำตอบในกลุ่มผู้สอบเดียวกัน มิได้หมายความว่าคะแนนจากการทดสอบที่ใช้ข้อสอบ 2 ลักษณะที่ต่าง กันนั้น จะไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเวลาเปลี่ยนไป นอกจากนี้ ยังพบว่า เมื่อการรู้คิดขั้นสูงของผู้เรียนได้รับการพัฒนา ให้สงู ขึน้ จะสามารถตรวจพบได้ดว้ ยข้อสอบแบบสร้างค�ำตอบ แต่ถา้ ใช้ขอ้ สอบแบบหลายตัวเลือกอาจตรวจไม่พบ พัฒนาการ (Livingston, 2009) จึงเป็นที่สังเกตว่า ถ้านโยบายของกระทรวงศึกษา ในการให้คะแนนจากการ ทดสอบระดับชาติทใี่ ช้ขอ้ สอบแบบหลายตัวเลือกเป็นตัวบ่งชีค้ ณ ุ ภาพของสถานศึกษา จะเป็นการส่งเสริมให้ครูเน้น การเรียนการสอน การให้ความรู้แบบแยกส่วน เพื่อผลการประเมินที่ดีของสถานศึกษา จึงละเลยที่จะพัฒนาการ เรียนการสอน และการทดสอบที่เน้นการสร้างความรู้ขั้นสูงในตัวผู้เรียน
การสร้างข้อสอบอัตนัย ข้อสอบแบบสร้างค�ำตอบ (CRQ) สามารถใช้วัดความสามารถทางสมองได้ทั้งระดับต้น จนถึงระดับที่ สลับซับซ้อน ขึ้นอยู่กับรูปแบบค�ำถามที่ใช้ การสร้างข้อสอบสามารถใช้ได้ทั้งรูปแบบเติมค�ำหรือข้อความลงใน ช่องว่าง และรูปแบบความเรียง (Essay Questions) 1. รูปแบบเติมค�ำ หรือข้อความลงในช่องว่าง (Completion Questions) รูปแบบค�ำถามที่ง่ายที่สุดของข้อสอบแบบสร้างค�ำตอบ (CRQ) คือ การเติมค�ำ ข้อความหรือ ประโยคสั้นๆ ลงในช่องว่างที่จัดไว้ให้ ข้อสอบลักษณะนี้ เหมาะส�ำหรับการวัดความรู้ ความจ�ำ หรือการระลึกถึง สิ่งที่เรียนรู้มาแล้ว สามารถแก้ปัญหาการเดาค�ำตอบได้ 1.1 ข้อสอบเติมค�ำ (Full – in – the Blank Question) เมือ่ ผูอ้ อกข้อสอบเลือกใช้ขอ้ สอบแบบเติมค�ำ หรือข้อความลงในช่องว่าง ต้องแน่ใจว่า ค�ำถามมี ความชัดเจน และมีคำ � วลี สัญลักษณ์ จ�ำนวน (ควรระบุหน่วย) หรือข้อความทีน่ ำ� มาเติมเพียงค�ำหรือข้อความเดียว เท่านั้นที่ถูกต้อง ควรเว้นช่องว่างให้พอเหมาะ หลีกเลี่ยงการให้เติมค�ำหรือข้อความที่ไม่ส�ำคัญ การตรวจข้อสอบ ลักษณะนี้จึงง่าย สะดวก และรวดเร็ว ตัวอย่าง ก) ผู้พัฒนาทฤษฎีการสรุปอ้างอิงทางการทดสอบ (G-Theory) คือใคร ? ________ ข) สัญลักษณ์ที่ใช้แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิตของประชากร คือ __________________ 18
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
1.2 ข้อสอบตอบสั้น (Short Question) ข้อสอบแบบตอบสั้นและข้อสอบแบบเติมค�ำมีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน คือ ต่างเป็นข้อสอบที่ผู้ สอบต้องคิดค�ำตอบขึ้นเอง ข้อสอบตอบสั้นนิยมให้ผู้ตอบแสดงความสามารถในการอธิบายความเข้าใจในสิ่งใด สิ่งหนึ่งด้วยการตอบเป็นประโยคหลายประโยคแบบสั้นๆ ข้อสอบแบบตอบสั้น จึงเหมาะส�ำหรับวัดความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับค�ำศัพท์ ข้อเท็จจริง หลักการ และกฎเกณฑ์ต่างๆ ตัวอย่าง ก) แบบสอบผลสัมฤทธิ์ หมายถึงอะไร ? ข) การประเมินแบบอิงเกณฑ์ หมายถึง __________________________ 2. รูปแบบความเรียง (Essay Questions) ข้อสอบความเรียงมีลกั ษณะเป็นข้อสอบทีใ่ ห้เสรีภาพแก่ผตู้ อบในการประมวล คัดเลือกความรู้ ความ สามารถที่ตนมีอยู่น�ำมาจัดระบบ เรียบเรียงและเขียนเป็นค�ำตอบ ค�ำตอบที่ได้จากผู้สอบจึงมีความหลากหลาย ในระดับของคุณภาพและความถูกต้อง เมื่อพิจารณาถึงความเป็นอิสระในการตอบ สามารถแบ่งข้อสอบแบบ ความเรียงออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 2.1 ข้อสอบความเรียงแบบจ�ำกัดค�ำตอบ (Restricted – Response Question) มีลกั ษณะเป็นข้อสอบทีม่ กี ารจ�ำกัดกรอบของเนือ้ หาหรือรูปแบบของแนวทางค�ำตอบ และความ ยาวของค�ำตอบ ตามปกติจะก�ำหนดขอบเขตของประเด็นให้ผตู้ อบท�ำการตอบในกรอบทีก่ ำ� หนด นิยมให้ตอบทีละ ประมารครึ่งหน้า 10-15 บรรทัด ใช้เวลาประมาณา 8-10 นาที ตัวอย่าง ก) จงอธิบายข้อดีและข้อเสียของข้อสอบแบบความเรียงแบบจ�ำกัดค�ำตอบมา อย่างละ 2 ข้อ ข) จงเปรียบเทียบความแตกต่างทีส่ ำ� คัญ ระหว่าง การ “การวัดผล” กับ “การประเมินผล” ในประเด็นของความหมาย และกระบวนการ ข้อสอบความเรียงแบบจ�ำกัดค�ำตอบมีข้อดีคือ สามารถใช้วัดความรู้ ความสามารถที่เฉพาะเจาะจง ได้ครอบคลุมดีกว่าข้อสอบความเรียงแบบขยายค�ำตอบ สร้างง่าย แต่ให้อสิ ระเสรีภาพแก่ผตู้ อบน้อยกว่า ไม่ได้เปิด โอกาสให้แก่ผู้ตอบแสดงความสารมารถได้อย่างเต็มที่เหมือนข้อสอบความเรียงแบบขยายค�ำตอบ 2.2 ข้อสอบความเรียงแบบขยายค�ำตอบ (Extended – Response Question) มีลักษณะเป็นข้อสอบที่เปิดโอกาสอย่างเต็มที่ให้แก่ผู้สอบ แสดงความสามารถในการคัดเลือก ความรู้ ประเมินความรู้ ความคิดนั้น และเรียบเรียงผสมผสานออกมาเป็นค�ำตอบตามความคิดและเหตุผลของตน ไม่จ�ำกัดขอบเขตของค�ำตอบแต่ภายใต้เวลาที่จ�ำกัด จึงสามารถใช้วัดความสามารถระดับการวิเคราะห์ การ สังเคราะห์ การประเมิน และสร้างสรรค์ได้เป็นอย่างดี นิยมให้ตอบข้อละประมาณหนึง่ หน้าครึง่ - 2 หน้า ประมาณ 200-300 ค�ำ ใช้เวลาประมาณ 30-40 นาที ตัวอย่าง ก) จงวิจารณ์ข้อความต่อไปนี้ “ข้อสอบแบบความเรียงสามารถใช้เป็นเครือ่ งมือทีม่ คี ณ ุ ภาพ ในการวัดกระบวนการ ทางสมองขั้นสูง” ข) จงเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างกระบวนการ “วัดผล” กับ “ประเมินผล” สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
19
ข้อสอบความเรียงแบบขยายค�ำตอบมีขอ้ ดี คือ สามารถใช้วดั ผลการเรียนรูท้ ซี่ บั ซ้อน เช่น ความสามารถ ในการเลือก/จัดระเบียบ/ประเมินความคิด การตีความ การสรุป การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ เป็นต้น สามารถสร้างได้ อย่างสะดวกและรวดเร็ว แต่มักมีปัญหาในการควบคุมทิศทางการตอบของผู้สอบ และการตรวจให้คะแนนอย่าง น่าเชื่อถือ
รูปแบบค�ำถามที่เหมาะน�ำมาใช้กับข้อสอบแบบความเรียง เช่น ก) จงเปรียบเทียบความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่าง “…..” กับ “…..” ข) จงอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง “…..” กับ “…..” ค) จงเชื่อมโยงความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของ “…..” ง) จงแสดงความคิดเห็นว่าท่านเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย พร้อมทั้งเหตุผลเกี่ยวกับ “…..” จ) จงสรุปประเด็นส�ำคัญของ “…..” ฉ) จงประยุกต์หลักการของ “…..” เพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับ “…..” ช) จงวิเคราะห์ผลกระทบของ “…..” ต่อ “…..” ซ) จงวิเคราะห์จุดเด่นจุดด้อยของ “…..” ฌ) จงประเมินผลของ “…..” ญ) จงสร้างกฎเกณฑ์ทั่วไปจาก “…..” ฎ) จงสร้างระบบจ�ำแนกของ “…..” ฏ) จงสร้างหรือพัฒนาแผน/โครงสร้างเพื่อแก้ปัญหา “…..”
การตรวจให้คะแนนข้อสอบอัตนัย ข้อสอบแบบสร้างค�ำตอบ (CRQ) เป็นเครือ่ งมือทีเ่ หมาะกับการใช้วดั ความสามารถทางสมองขัน้ สูง สร้าง ง่ายแต่ยากทีจ่ ะตรวจให้คะแนนอย่างมีคณ ุ ภาพ เนือ่ งจากตรวจสอบด้วยการเขียนความเรียง จึงยากทีจ่ ะมีคำ� ตอบ ที่ถูกต้องเป็นรูปแบบเดียว ดังนั้น ในการตรวจให้คะแนนอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ตรวจจะต้องเรียนรู้แหล่งความ คลาดเคลื่อนของคะแนน และฝึกฝนความเชี่ยวชาญในการตรวจ เพื่อลดความคลาดเคลื่อน และความล�ำเอียง ที่อาจเกิดขึ้น แหล่งความคลาดเคลือ่ นทีส่ ำ� คัญของคะแนน ประกอบด้วย 1) คุณภาพของเครือ่ งมือ 2) ทักษะของผูต้ รวจ และ 3) การบริหารการตรวจให้คะแนน 1. คุณภาพของเครื่องมือ 1.1 พัฒนาข้อสอบแบบสร้างค�ำตอบ (CRQ) ที่ดี ประกอบด้วย • ค�ำถามแต่ละข้อสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายส�ำคัญ • ค�ำถามแต่ละข้อวัดพฤติกรรมทางสมองขั้นสูง • กรอบค�ำถามแต่ละข้อมีความเฉพาะชัดเจน • ควรถามหลายข้อ และไม่ควรมีข้อสอบไว้ให้เลือก • ควรระบุคะแนนรายข้อ และให้เวลาครบเพียงพอ 20
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
1.2 เตรียมค�ำเฉลยที่ถูกต้องสมบูรณ์ (Perfect Key) • ค�ำถามแต่ละข้อต้องมีเกณฑ์การให้คะแนนที่เป็นปรนัย (Scoring Rubric) • เกณฑ์การให้คะแนนที่เป็นปรนัย มีองค์ประกอบที่ส�ำคัญ ได้แก่ - จะต้องระบุมติ คิ ณ ุ ภาพหรือประเด็นของค�ำตอบว่ามีมติ คิ ณ ุ ภาพพืน้ ฐานกีม่ ติ ิ และ แต่ละมิติ (ประเด็น) มีน�้ำหนักของค�ำตอบตามสัดส่วนความส�ำคัญเท่าไหร่ - ในแต่ละมิติคุณภาพ (ประเด็นค�ำตอบ) มีมาตรฐาน หรือนิยามระดับคุณภาพของการให้ คะแนนที่ชัดเจน • เกณ์การให้คะแนน แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ - เกณฑ์การให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic Scoring Rubric) เป็นรายการค�ำบรรยาย คุณลักษณะของแต่ละระดับคุณภาพของค�ำตอบในภาพรวม โดยไม่ได้แยกองค์ประกอบ ของการให้คะแนน - เกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกส่วน (Analytical Scoring Rubric) เป็นรายการคุณลักษณะ ของค�ำตอบในแต่ละองค์ประกอบหรือประเด็นแบบแยกส่วนเพื่อน�ำคะแนนของแต่ละ องค์ประกอบ (ประเด็น) มารวมเป็นคะแนนรวม ตัวอย่างค�ำถาม : จงเปรียบเทียบความแตกต่างทีส่ ำ� คัญระหว่าง “การวัดผล” และ “การประเมินผล” ในประเด็นของความหมาย และกระบวนการ (6 คะแนน) ตารางที่ 1 ตัวอย่างเกณฑ์ในการให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic Scoring Rubric) ระดับคุณภาพโดยรวม ถูกต้องสมบูรณ์ (5-6 คะแนน)
ถูกต้องส่วนใหญ่ (3-4 คะแนน)
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง การวัด กับ การประเมิน ความหมาย (3 คะแนน) กระบวนการ (3 คะแนน) การวัดเป็นการก�ำหนดค่าเป็นตัวเลขให้ การวัดเป็นกระบวนการใช้เครื่องมือวัด แก่สิ่งที่มุ่งวัดอย่างมีกฎเกณฑ์ ส่วนการ ค่าของสิง่ ต่าง ๆ เพือ่ ทราบค่าเชิงปริมาณ ประเมินเป็นการตัดสินคุณค่าของสิ่งที่ ของสิง่ นัน้ ส่วนการประเมินเป็นกระบวน มุง่ ประเมินเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐาน การน� ำ ผลการวั ด มาเปรี ย บเที ย บกั บ เกณฑ์หรือมาตรฐาน เพื่อตัดสินระดับ คุณค่าของสิ่งนั้น • เปรียบเทียบความหมายได้ถกู ต้อง แต่เปรียบเทียบกระบวนการได้ถกู ต้องบางส่วน หรือ • เปรียบเทียบความหมายได้ถกู ต้องบางส่วน แต่เปรียบเทียบกระบวนการได้ถกู ต้อง
ถูกต้องบางส่วน • เปรียบเทียบความหมายได้ถกู ต้องบางส่วน และเปรียบเทียบกระบวนการได้ถกู ต้อง (1-2 คะแนน) บางส่วน ไม่ถูกต้อง/ไม่เหมาะสม • เปรียบเทียบความหมายได้ไม่ถูกต้อง และเปรียบเทียบกระบวนการได้ไม่ถูกต้อง (0 คะแนน) สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
21
ตารางที่ 2 ตัวอย่างเกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกส่วน (Analytical Scoring Rubric) เปรียบเทียบ ความแตกต่าง ระหว่าง การวัด กับ การประเมิน 1. ความหมาย (3 คะแนน)
ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การให้คะแนน
3 คะแนน = ถูกต้องสมบูรณ์ ตอบได้ถูกต้องทั้ง 3 ข้อ • การวัดเป็นการก�ำหนดค่าตัวเลขให้กับสิ่งที่มุ่งวัดอย่างมี กฎเกณฑ์ • การประเมินเป็นการตัดสินคุณค่าของสิ่งที่มุ่งประเมินโดย เทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐาน • การวัดท�ำให้ได้คา่ เชิงปริมาณของสิง่ ทีม่ งุ่ วัด ส่วนการประเมิน ท�ำให้ได้การตัดสินคุณค่าของสิ่งที่มุ่งประเมิน 2 คะแนน = ถูกต้องส่วนใหญ่ ตอบได้ถูกต้อง 2 ข้อ 1 คะแนน = ถูกต้องบางส่วน ตอบได้ถูกต้อง 1 ข้อ
2. กระบวนการ (3 คะแนน)
0 คะแนน = ไม่ถูกต้อง 3 คะแนน = ถูกต้อง สมบูรณ์
ตอบได้ไม่ถูกต้อง หรือไม่เหมาะสม หรือไม่ตอบ ตอบได้ถูกต้องทั้ง 3 ข้อ • การวัดเป็นกระบวนการ จะเกิดขึน้ ได้ตอ้ งมีองค์ประกอบของ สิ่งที่มุ่งวัด เครื่องมือวัด และหน่วย/มาตรการวัด • การประเมินเป็นกระบวนการตัดสินคุณค่า จะเกิดขึน้ ได้ตอ้ ง มีองค์ประกอบของผลการวัด เกณฑ์หรือมาตรฐาน และการ เปรียบเทียบผลการวัดกับเกณฑ์หรือมาตรฐาน • การวัดท�ำให้ทราบค่าเชิงปริมาณของสิ่งที่มุ่งวัด เมื่อน�ำมา เปรียบเทียบกับเกณฑ์/มาตรฐานเพือ่ ทราบคุณค่าของสิง่ นัน้ ในการประเมิน
2 คะแนน = ถูกต้องส่วนใหญ่ ตอบได้ถูกต้อง 2 ข้อ 1 คะแนน = ถูกต้องบางส่วน ตอบได้ถูกต้อง 1 ข้อ 0 คะแนน = ไม่ถูกต้อง
22
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
ตอบได้ไม่ถูกต้อง หรือไม่เหมาะสม หรือไม่ตอบ
2. ทักษะการตรวจ
ผู้ตรวจเป็นแหล่งความคลาดเคลื่อนที่ส�ำคัญของการตรวจให้คะแนน ผู้ตรวจให้คะแนนจึงควร ท�ำความเข้าใจความคลาดเคลือ่ นทีอ่ าจเกิดขึน้ ในตัวผูต้ รวจเอง และควรฝึกฝนพัฒนาทักษะการตรวจในแต่ละครัง้ ให้มีความถูกต้องแม่นย�ำยิ่งขึ้น 2.1 ความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากผู้ตรวจ ความคลาดเคลื่อน (Errors) เป็นการเบี่ยงเบนจากความถูกต้องเป็นจริง ความคลาดเคลื่อนที่ เกิดจากผู้ตรวจ อาจเกิดขึ้นด้วยความไม่ตั้งใจ (Unintentional error) แต่บางครั้งอาจเกิดขึ้นด้วยความตั้งใจ (Intentional bias) อันเป็นความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการมีอคติต่อการสอบหรือผู้สอบ ความคลาดเคลื่อนที่มักเกิดขึ้นกับผู้ตรวจ (Common Errors) ซึ่งผู้ตรวจจะต้องพยายาม หลีกเลี่ยง ดังต่อไปนี้ 1) การให้คะแนนเฉพาะตรงกลาง (Central Tendency Error) ให้คะแนนกระจุกตัวเฉพาะ ตรงกลางของสเกลคะแนน จึงไม่เป็นธรรมส�ำหรับผู้สอบที่มีผลการสอบที่ดี และผู้ที่มีคุณภาพการตอบที่ต�่ำ 2) การใช้ความประทับใจส่วนตัว (The Halo Error) ใช้ความประทับใจส่วนตัวในการตรวจให้ คะแนนค�ำตอบ ท�ำให้ผู้ตอบนั้นได้คะแนนสูงกว่าความเป็นจริง 3) การใช้ความไม่ชอบส่วนตัว (The Horns Error) ใช้ความไม่ชอบส่วนตัวในการตรวจให้คะแนน ค�ำตอบ ท�ำให้ผู้ตอบนั้นได้คะแนนต�่ำกว่าความเป็นจริง 4) การปล่อยคะแนน (Leniency Error or Sunflower Effect) ผู้ตรวจที่มีลักษณะชอบปล่อย คะแนน มีลักษณะเป็นคนใจดี ท�ำให้คะแนนที่ได้เฟ้อกว่าความเป็นจริง 5) การกดคะแนน (Severity Error or Strictness Effect) ผู้ตรวจที่มีลักษณะชอบกดคะแนน คาดหวังความสมบูรณ์ไม่มีที่ติ มีลักษณะเป็นคนขี้ระแวง ท�ำให้คะแนนที่ได้ต�่ำกว่าความเป็นจริง 6) ผลตกค้างจากการตรวจ (Carry-over Effect) ผลตกค้างจากการตรวจค�ำตอบก่อนหน้าอาจ ท�ำให้เกิดความประทับใจ/ความไม่ประทับใจ ซึ่งสะสมมาในการเปรียบเทียบกับกระดาษค�ำตอบที่ก�ำลังตรวจอยู่ อาจน�ำไปสู่การให้คะแนนที่สูงหรือต�่ำกว่าความเป็นจริง 7) การให้ความส�ำคัญต่อลายมือ และลักษณะของภาษาทีใ่ ช้ ท�ำให้ผตู้ รวจบางท่านเคร่งครัดต่อ ความเป็นระเบียบของการเขียน ไวยากรณ์ การสะกดค�ำ และการใช้เครื่องหมายวรรคตอน แทนที่จะเน้นเนื้อหาสาระและคุณภาพของการตอบ ผูต้ รวจจึงไม่ควรน�ำลายมือ และลักษณะของภาษาทีใ่ ช้มาลงโทษผูต้ อบ เพราะเป็น องค์ประกอบที่ไม่ตรงประเด็นต่อคุณภาพของการตอบ ยกเว้นเป็นการสอบวัดทางด้านภาษา 8) ความล�ำเอียงส่วนตัว (Personal Bias) ผู้ตรวจมีประสบการณ์บางอย่างที่ผ่านมาจนเกิด ความรู้สึกนึกคิดที่ไม่ดีต่อเหตุการณ์/สถานการณ์เฉพาะอย่าง ท�ำให้เกิดความล�ำเอียงส่วนตัวด้านเพศ เชื้อชาติ ผิวพรรณ ศาสนา ภูมิล�ำเนา เป็นต้น 2.2 การพัฒนาทักษะการตรวจ การพัฒนาทักษะการตรวจให้คะแนนของผูต้ รวจทุกคน เพือ่ ลดความคลาดเคลือ่ นของการตรวจ มีความจ�ำเป็นต้องใช้ผู้ตรวจหลายคน หรือการใช้ผู้ตรวจจ�ำนวนมากเมื่อเป็นการทดสอบขนาดใหญ่ สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
23
1) การฝึกฝนเชิงปฏิบัติการ (Workshop) ควรมีการอบรมเชิงปฏิบัติการผู้ตรวจให้คะแนน เพื่อท�ำความเข้าใจถึงเกณฑ์การตรวจให้ คะแนน (Scoring Rubric) มิตดิ า้ นคุณภาพหรือประเด็นค�ำตอบว่ามีมติ คิ ณ ุ ภาพพืน้ ฐานกีม่ ติ ิ มีนำ�้ หนักตามสัดส่วน ความส�ำคัญเท่าไหร่ และแต่ละมิติหรือประเด็นมีมาตรฐานการให้คะแนนอย่างไร ผู้ตรวจควรฝึกฝนเชิงปฏิบัติการ ทั้งวิธีการตรวจแบบภาพรวม (Holistic Scoring Rubric) และวิธีการตรวจแบบแยกส่วน (Analytical Scoring Rubric) 2) การประชุมอภิปรายกลุ่ม (Group Discussions) ควรมีการประชุมอภิปรายกลุ่มผู้ตรวจ เพื่อแลกเปลี่ยนความเข้าใจและประสบการณ์ของ การตรวจให้คะแนน และตรวจสอบคุณภาพของการตรวจ โดยการค�ำนวณค่าดัชนีต่อไปนี้ • ความสอดคล้องภายในผู้ตรวจ (Intra-Rater Reliability) เป็นความสอดคล้องภายใน rxx � ผู้ตรวจคนเดียวกัน เมื่อท�ำการตรวจซ�้ำ ( ) • ความสอดคล้องระหว่างผู้ตรวจ (Inter-Rater Reliability) เป็นความสอดคล้องระหว่าง rx x ผู้ตรวจต่างคนกัน ( ) • ความสอดคล้องกับผู้เชี่ยวชาญ (Concurrent Validity) เป็นความสอดคล้องระหว่าง rx x ผู้ตรวจกับผู้เชี่ยวชาญ ( ) rxi x j
i
j
i
j
2.3 การบริหารการตรวจให้คะแนน ในการบริหารจัดการตรวจให้คะแนนอย่างเป็นระบบ ผู้บริหารการสอบจะต้องมีการเตรียม อุปกรณ์ให้พร้อม กระบวนการตรวจให้คะแนนที่มีคุณภาพ และการปรับเทียบมาตรฐานของการตรวจ 1) การจัดเตรียมความพร้อมของอุปกรณ์ การจัดเตรียมเฉลยค�ำตอบและแบบฟอร์มบันทึกผลการตรวจ • เตรียมเฉลยค�ำตอบทีถ่ กู ต้องสมบูรณ์ของข้อสอบแต่ละข้อ มีเกณฑ์การให้คะแนนทีช่ ดั เจน ทั้งเกณฑ์การให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic Scoring Rubric) และเกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกส่วน (Analytical Scoring Rubric) • เตรียมพร้อมบันทึกผลการตรวจให้คะแนนแต่ละข้อ รายประเด็น และคะแนนรวม 2) กระบวนการตรวจให้คะแนน การตรวจให้คะแนนมีกระบวนการด�ำเนินงาน ดังนี้ • ปิดบังรายชือ่ ของผูส้ อบ ท�ำการตรวจกระดาษค�ำตอบโดยการตรวจทีละข้อของผูส้ อบทุกคน • ท�ำการตรวจให้คะแนนแบบวิธีผสม (Mixed Methods Scoring) โดยท�ำการตรวจให้ คะแนนแบบภาพรวมก่อน จ�ำแนกคุณภาพการตอบเป็นกลุ่ม เช่น กลุ่มดี กลุ่มปานกลาง และกลุ่มต�่ำ เป็นต้น จากนัน้ จึงตรวจให้คะแนนแบบแยกส่วนของแต่ละคนในแต่ละกลุม่ โดยควรเริม่ จากกลุม่ ดี กลุม่ ปานกลาง และกลุม่ ต�ำ่ • บันทึกคะแนนรายข้อของแต่ละคน ประกอบด้วยคะแนนรายประเด็น คะแนนรวมของข้อ และคะแนนรวมทั้งหมด 24
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
3) การปรับเทียบมาตรฐานของคะแนน (Score Equating)
ในกรณีที่ใช้ผู้ตรวจหลายคน และผลของคะแนนจะต้องน�ำไปใช้ในการตัดสินที่ส�ำคัญจึงควรมีการ ตรวจสอบความสมมูลกันของคะแนนจากผูต้ รวจทีต่ า่ งกัน เพือ่ ปรับเทียบคะแนนให้มคี วามเป็นมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งสามารถกระท�ำได้ 2 กรณี ดังนี้ กรณีที่ 1 ผู้ตรวจหลายคน ตรวจข้อสอบของทุกคน • ตัวอย่าง: ผู้สอบ 30 คน ท�ำข้อสอบ 3 ข้อ ตรวจโดยผู้ตรวจ 3 คน [p x i x r] 1) ผู้ตรวจแต่ละคน ตรวจข้อสอบทุกข้อของทุกคน 2) เปรียบเทียบคะแนนรายข้อของผูส้ อบคนเดียวกัน ถ้าต่างกันเกิน 15% ผูต้ รวจอภิปรายเกณฑ์ การตรวจร่วมกันและตรวจซ�้ำ 3) ถ้าคะแนนใหม่ต่างกันไม่เกิน 15% ค�ำนวณค่าเฉลี่ยเป็นคะแนนของข้อนั้น 4) รวมคะแนนของแต่ละคน กรณีที่ 2 ผู้ตรวจหลายคน ตรวจเฉพาะบางข้อ • ตัวอย่าง: ผู้สอบ 30 คน ท�ำข้อสอบ 3 ข้อ ผู้ตรวจ 3 คน ตรวจคนละข้อ [p x (i:r)] 2.1 ถ้า Assumed ว่าผู้ตรวจเป็นผู้เชี่ยวชาญ และมีมาตรฐานการตรวจเหมือนกัน สามารถน�ำ คะแนนแต่ละข้อมารวมกันได้เลย 2.2 ถ้าผู้ตรวจแต่ละคนมีมาตรฐานการตรวจแตกต่างกัน 1) สุ่มกระดาษค�ำตอบประมาณ 15% ให้ผู้ทรงคุณวุฒิให้คะแนน 2) น�ำกระดาษค�ำตอบที่สุ่มมาค�ำนวณค่าเฉลี่ยของผู้ตรวจ (Grader’s mean; ) และ ค่าเฉลี่ยของผู้ทรงคุณวุฒิ (Expert’s mean; ) 3) น�ำ ไป ± คะแนนรายข้อตามกลุ่มผู้ตรวจ 4) รวมคะแนนของผู้สอบแต่ละคน
การวิเคราะห์ข้อสอบแบบความเรียง เราสามารถประยุกต์หลักการวิเคราะห์ข้อสอบแบบเลือกตอบมาใช้ส�ำหรับการวิเคราะห์ข้อสอบแบบ ความเรียงได้ C.A. Drake (อ้างจาก Thorndike และ Hagen, 1969) ได้เสนอวิธกี ารวิเคราะห์ขอ้ สอบแบบความเรียง โดยการหาค่าสัดส่วนของคะแนนที่สอบได้ของคนในกลุ่มเก่งและกลุ่มอ่อน แล้วค�ำนวณค่าดัชนีบ่งชี้คุณภาพ ของข้อสอบตามหลักการวิเคราะห์ข้อสอบแบบเลือกตอบ สมมติว่าแบบสอบความเรียงวิชาหนึ่งมี 5 ข้อ แต่ละข้อมีคะแนนเต็มเป็น 10, 10, 20, 30 และ 30 คะแนน ตามล�ำดับ แบบสอบฉบับนีน้ ำ� ไปใช้สอบผูส้ อบ 8 คน หลังจากตรวจให้คะแนนเป็นรายข้อและรวมคะแนน แล้ว จึงเรียงคะแนนตามล�ำดับจากผู้ที่ได้คะแนนมากไปหาคะแนนน้อยเป็นอันดับ 1 – 8 ดังแสดงในตารางที่ 3 จากนั้นจึงแบ่งผู้เรียนออกเป็น 2 กลุ่ม โดยใช้เทคนิค 50% จึงได้กลุ่มคะแนนสูง 4 คน (อันดับที่ 1 – 4) และกลุ่ม คะแนนต�่ำ 4 คน (อันดับที่ 5 – 8) สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
25
ในการวิเคราะห์ข้อสอบจะต้องรวมคะแนนรายข้อของผู้สอบทุกคนของแต่ละกลุ่มโดยใช้ ΣH เป็น คะแนนรวมรายข้อของทุกคนในกลุ่มสูง ส่วน ΣL เป็นคะแนนรวมรายข้อของทุกคนในกลุ่มต�่ำ และรวมคะแนน เต็มรายข้อทีเ่ ป็นไปได้ของผูส้ อบทุกคนในแต่ละกลุม่ โดยให้ ΣTH เป็นคะแนนเต็มรวมรายข้อของทุกคนในกลุม่ สูง และ ΣTL เป็นคะแนนเต็มรวมรายข้อของทุกคนในกลุม่ ต�ำ ่ จากนัน้ จึงค�ำนวณสัดส่วนของคะแนนรายข้อทีแ่ ต่ละกลุม่ ท�ำได้ โดยใช้สูตร ดังนี้
เมื่อทราบค่า PH และ PL แล้ว สามารถค�ำนวณค่าความยาก (Pi) และอ�ำนาจจ�ำแนก (Ri) ของข้อสอบ เป็นรายข้อได้ดังนี้
เกณฑ์ส�ำหรับการแปลผลก็เป็นเช่นเดียวกับการวิเคราะห์ข้อสอบแบบเลือกตอบ ดังแสดงในตารางที่ 4
ตารางที่ 3 คะแนนเต็มและคะแนนรายข้อของผู้สอบที่ได้คะแนนอยู่ในกลุ่มสูงและกลุ่มต�่ำ ข้อ 1 2 3 4 5 รวม
คะแนน เต็ม 10 10 20 30 30 100
กลุ่มสูง (H) (4 คน) 2 3 10 9 10 8 15 15 25 24 10 10 70 66
1 10 9 20 25 16 80
4 8 9 17 20 7 61
กลุ่มต�่ำ (L) (4 คน) 6 7 8 8 7 6 9 10 17 13 7 6 48 43
5 10 8 15 16 11 60
8 7 3 8 10 2 30
ตารางที่ 4 การวิเคราะห์ค่าความยากและอ�ำนาจจ�ำแนกของข้อสอบแบบความเรียง
1
คะแนน เต็ม 10
2 3 4 5
10 20 30 30
ข้อ
26
กลุ่มสูง (NH=4) ∑H ∑TH 37 40
กลุ่มต�่ำ (NL=4) ∑L ∑TL 33 40
PH
PL
Pi
Ri
การแปลความหมาย
0.93
0.83
0.88
0.10
36 67 94 43
24 42 56 26
0.90 0.84 0.78 0.36
0.60 0.53 0.47 0.22
0.75 0.68 0.62 0.29
0.30 0.31 0.31 0.14
ข้อสอบง่ายเกินไป อ�ำนาจจ�ำแนกต�่ำ เป็นข้อสอบที่ใช้ได้ เป็นข้อสอบที่ใช้ได้ เป็นข้อสอบที่ใช้ได้ ข้อสอบค่อนข้างยาก อ�ำนาจจ�ำแนกต�่ำ
40 80 120 120
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
40 80 120 120
ปัญหาการวิเคราะห์ข้อสอบแบบความเรียง แนวทางของการวิเคราะห์ขอ้ สอบแบบหลายตัวเลือกสามารถประยุกต์ใช้กบั การวิเคราะห์ขอ้ สอบแบบ ความเรียงได้ แต่ควรน�ำมาปฏิบัติด้วยความระมัดระวัง เพราะมีความสลับซับซ้อนในการแปลความหมายของผล การวิเคราะห์เนือ่ งจากมีปญ ั หาของคุณภาพในการตรวจข้อสอบเข้ามาเป็นปัจจัยแทรกซ้อน เช่น ความคลาดเคลือ่ น จากความประทับใจ/ความไม่ประทับใจ อคติเป็นการส่วนตัวของผู้ตรวจต่อผู้สอบ ผลข้างเคียงอันเกิดจากล�ำดับ ของการตรวจ เป็นต้น คุณภาพของข้อสอบแบบความเรียงส่วนหนึง่ ขึน้ อยูก่ บั คุณภาพของการตรวจประกอบกับข้อจ�ำกัดของ การสุม่ /เลือกเนือ้ หาของการเรียนรูม้ าท�ำการสอบกระท�ำได้ในวงจ�ำกัด จึงส่งผลต่อคุณภาพของแบบสอบโดยส่วนรวม ทั้งความเที่ยงและความตรง แบบสอบความเรียงโดยปกติจะมีความเที่ยงต�่ำ เนื่องจากปัญหาของการถาม เนือ้ หาได้จำ� กัด และความเป็นอัตนัยของการตรวจ ดังนัน้ ก่อนการวิเคราะห์ขอ้ สอบแบบความเรียงจะต้องพยายาม ขจัดอิทธิพลภายนอกต่างๆ ทีอ่ าจส่งผลแทรกซ้อนต่อการแปลผลการวิเคราะห์ขอ้ สอบ โดยผูส้ อนจะต้องวางแผน การสร้างข้อสอบที่เหมาะสม มีการสร้างผังข้อสอบเพื่อเลือกเนื้อหาที่เป็นตัวแทนส�ำคัญตามจุดมุ่งหมายของการ เรียนรูท้ มี่ จี ำ� นวนข้อมากพอควร เขียนข้อค�ำถามเพือ่ วัดผลการเรียนรูน้ นั้ ได้ตรงตามผังข้อสอบ จัดสภาพการสอบ ให้เป็นมาตรฐาน และจะต้องมีมาตรการในการตรวจข้อสอบอย่างเป็นปรนัย จากนั้นจึงสมควรน�ำผลการตอบ ของผู้สอบมาท�ำการวิเคราะห์ข้อสอบ และแปลผลการวิเคราะห์ได้อย่างมีความหมาย
สรุป ข้อสอบแบบหลายตัวเลือก (MCQ) มีขอ้ ดีหลายอย่าง แต่ไม่เหมาะส�ำหรับใช้วดั ความสามารถทางสมอง ที่สลับซับซ้อนหรือทักษะการคิดขั้นสูง ส่วนข้อสอบแบบสร้างค�ำตอบ (CRQ) เหมาะส�ำหรับใช้วัดความสามารถ ทางสมองขั้นสูง สร้างง่ายแต่ยากที่จะตรวจให้คะแนนได้อย่างมีคุณภาพ การน�ำข้อสอบแบบสร้างค�ำตอบ (CRQ) ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ มีองค์ประกอบที่ส�ำคัญคือ 1) การ พัฒนาข้อสอบทีม่ คี ณ ุ ภาพ 2) การฝึกทักษะการตรวจให้คะแนน และ 3) การบริหารการตรวจให้คะแนนอย่างเป็นระบบ การพัฒนาข้อสอบแบบสร้างค�ำตอบทีม่ คี ณ ุ ภาพ ผูอ้ อกข้อสอบจะต้องยึดหลักการพัฒนาข้อสอบแบบ สร้างค�ำตอบทีด่ ี และเตรียมค�ำเฉลยทีถ่ กู ต้องสมบูรณ์ พร้อมเกณฑ์การให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic Scoring Rubric) และเกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกส่วน (Analytical Scoring Rubric) ส่วนการฝึกทักษะการตรวจให้ คะแนน ผูต้ รวจข้อสอบจะต้องท�ำความเข้าใจความคลาดเคลือ่ นทีอ่ าจเกิดขึน้ ในตัวผูต้ รวจเอง และควรฝึกฝนพัฒนา ทักษะการตรวจให้มีความถูกต้องแม่นย�ำ ส�ำหรับการบริหารการตรวจให้คะแนนอย่างเป็นระบบนั้น ผู้บริหาร การทดสอบจะต้องมีการเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม ใช้กระบวนตรวจให้คะแนนทีม่ คี ณ ุ ภาพ และใช้มาตรการปรับเทียบ มาตรฐานของการตรวจ เพื่อปรับเทียบคะแนนให้มีความเป็นมาตรฐานเดียวกัน
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
27
บรรณานุกรม ศิริชัย กาญจนวาสี. (2556). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม (Classical Test Theory). (พิมพ์ครั้งที่ 7). กทม: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Breland, H. M., Danos, D. O., Kahn, H. D., Kubota, M. Y., & Bonner, M. W. (1994). Performance versus objective testing and gender: An exploratory study of an Advanced Placement history examination. Journal of Educational Measurement, 31, 275-293. Godschalk, F. I., Swineford, F., & Coffman, W. E. (1966). The measurement of writing ability. New York: College Entrance Examination Board. Livingston, S. A., & Rupp, S. L. (2004). Performance of men and women on multiple-choice and constructed-response tests for beginning teachers (ETS Research Report No. RR-04-48). Princeton, NJ: Education Testing Service. Livingston, S. A. (2009). Constructed-response test questions; why we use them; How we score them. R & D connections. No.11, September. Lukhele, R., Thissen, D., & Wainer, H. (1994). On the relative of multiple-choice, constructed response, and examinee-selected items on two achievement tests. Journal of Educational measurement, 31, 234-250. Mazzeo, J., Schmitt, A., & Bleistein, C. A. (1992). Sex-related performance differences on constructed-response and multiple-choice sections of Advanced Placement examinations (College Board Research Rep. No. 92-7; ETS Research Report No. RR-93 05). New York: College Entrance Examination Board. Thorndike, R. L., & Hagen, E. (1969). Measurement and evaluation in psychology and education. New York: John Wiley.
28
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
การประชุมทางวิชาการและเผยแพร่ผลการวิจัยระดับชาติประจ�ำปี พ.ศ. 2558 ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคาร ดร.กมล ชูทรัพย์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ วันพฤหัสบดีที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2558
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
29
30
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
คณะกรรมการบริหาร
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย (26 ตุลาคม 2556 – 25 ตุลาคม 2558) ศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี รองศาสตราจารย์ ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริเดช สุชีวะ รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณี แกมเกตุ รองศาสตราจารย์ ดร.โชติกา ภาษีผล รองศาสตราจารย์ ศักดา บุญยไวโรจน์ รองศาสตราจารย์ ศิลปชัย บูรณพานิช ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติมา สุรเศรษฐ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กิตติ อมตชีวิน อาจารย์ ดร.ชนิศา ตันติเฉลิม อาจารย์ ดร.สิวะโชติ ศรีสุทธิยากร อาจารย์ ดร.สุวิมล กฤชคฤหาสน์ อาจารย์ ดร.คมศร วงษ์รักษา พลต�ำรวจตรี ดร.กิจพิณิฐ อุสาโห รองศาสตราจารย์ ดร.ดวงกมล ไตรวิจิตรคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์ อาจารย์ ดร.คมกริบ ธีรานุรักษ์ อาจารย์ ดร.รณิดา เชยชุ่ม อาจารย์ ดร.วีรพล แสงปัญญา ปล.
นายกสมาคม อุปนายก กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและปฏิคม กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและประชาสัมพันธ์ กรรมการและนายทะเบียน กรรมการและสาราณียกร กรรมการและเลขานุการ
นายทะเบียนสมาคมกรุงเทพมหานคร ได้รบั จดทะเบียนการแต่งตัง้ กรรมการขึน้ ใหม่ทงั้ ชุดของสมาคมฯ ตามมาตรา 85 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้ว ตามทะเบียนเลขที่ จ.1778/2557 ณ วันที่ 27 มกราคม 2557
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
31
ใบเสร็จรับเงินเลขที่....................... ทะเบียนเลขที่................................ สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ใบสมัครสมาชิก 1. ชือ่ (นาย,นาง,นางสาว,ยศ) ................................นามสกุล....................................วัน/เดือน/ปีเกิด........................ 2. วุฒิการศึกษาสูงสุด.............................................สาขาวิขา/วิชาเอก................................................................ 3. ตำ�แหน่ง.............................................................สังกัด........................................................................................ 4. สถานที่ทำ�งาน เลขที่............................................ถนน........................................ซอย.................................... ตำ�บล/แขวง...............................อำ�เภอ/เขต................................จั ง หวั ด ............................. รหัสไปรษณีย.์ ..................โทรศัพท์..................................โทรสาร................................มือถือ............................. 5. ทีอ่ ยูท่ ตี่ ดิ ต่อได้สะดวก บ้านเลขที.่ ............................หมูท่ .ี่ ................หมูบ่ า้ น....................................................... ซอย................................................ถนน....................................................ตำ�บล/แขวง.................................. อำ�เภอ/เขต.............................................จังหวัด...............................................รหัสไปรษณีย.์ ............................. โทรศัพท์...................................e-Mail........................................................................................................... 6. การส่งเอกสารให้ส่งไปตามที่อยู่ o ข้อ 4 o ข้อ 5 7. สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ประสงค์ที่จะขึ้นทะเบียนเป็นทีมวิทยากรสอนวิจัย จึงขอให้ท่าน ระบุสาขาวิชาที่ท่านถนัด/สนใจ....................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. 8. ขอสมัครเป็นสมาชิกสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย สามัญตลอดชีพ 1,000 บาท พร้อมนี้ได้ชำ�ระ ค่าสมัครเป็น o เงินสด o ธนาณัติ สัง่ จ่าย ทีท ่ ำ�การไปรษณียจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในนามของ สมาคมวิจยั สังคมศาตร์ แห่งประเทศไทย ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถ.พญาไท เขตปทุทวัน กรุงเทพฯ 10330 http://www.ssrat.or.th e-mail: ssrat.org@gmail.com ลงชื่อ.................................................................ผู้สมัคร (.............................................................) วันที่............................................................. .............................................................................................................................................................................. ได้รับค่าสมาชิกแล้ว ได้รับอนุมัติให้เป็นสมาชิก ลงชือ่ ....................................................... ลงชือ่ ....................................................นายกสมาคม (......................................................) (....................................................) เหรัญญิก รับลงทะเบียน ลงชื่อ....................................................นายทะเบียน (.....................................................) 32
สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย