ดุจฟ้าฟาดกลางใจไทยทั้งชาติ ต่างตระหนกตกใจไปทั่วกัน ปีห้าเก้าสิบสามตุลาคม ชะงักงันดังโลกหลุดหยุดเวลา เจ็ดสิบปีที่พระองค์ทรงครองราชย์ ทั้งดินน�้ำที่ท�ำกินทุกถิ่นไป ทรงเลิศทั้งศิลป์และศาสตร์ปราชญ์สยาม นวัตกรรมน�ำสู่คุณูปการ คิดทีไรน�้ำตาหล่นดังฝนหลั่ง อัญเชิญพระรัตนตรัยได้โปรดดล
น�้ำตาหยาดรินไหลไม่อาจกลั้น ไม่คาดฝันว่าวันนี้รี่รุดมา ทุกข์ระทมตรมใจไปถ้วนหน้า เงียบสงัดทั่วพาราประชาไทย พระปรีชาสามารถช่วยชาติได้ ทรงแก้ไขให้ทุกคนพ้นภัยพาล ลือพระนามไปทุกทิศลิขิตขาน พาชาติผ่านวิกฤตชูจิตชน ขอพลังที่ทรงสร้างทางกุศล พระสถิตเบื้องบนทิพย์พิมาน
ปวงข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อม ร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา ผู้ประพันธ์ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๙
ดวงดาวอับแสงสิ้นถวิลหา มวลดอกไม้ค�ำนับไห้อาลัยลา มหาสมุทรแห่งน�้ำตามหาชน 70 ปีที่พระองค์ทรงครองราชย์ มหาราชเสด็จไปทั่วทุกหน มหากษัตริย์ในหัวใจไทยทุกคน บันดาลดลสุขใจใต้พระบารมี สิ้นดวงแก้วองค์ราชาของข้าบาท ทรงนิราศประชาชนบนโลกนี้ เสด็จคืนสู่สวรรค์ทิพย์ธานี ถวายพระเกียรติราชสดุดีตราบนิรันดร์ ปวงข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อม ร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย วีรนุช สุขสว่าง ผู้ประพันธ์
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓ กันยายน – ธันวาคม ๒๕๕๙ ISSN 2351-0145
หน้า ๑
สารจากนายกสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
หน้า ๒
การบรรยายพิเศษ เรื่อง “การปฏิรูปประเทศไทย: สู่ประเทศไทย ๔.๐ กับการพัฒนาที่ยั่งยืน”
หน้า ๖
การบรรยายพิเศษ เรื่อง “การพัฒนาที่ยั่งยืนในยุคประเทศไทย ๔.๐”
หน้า ๘
เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาสังคมไทยอย่างยั่งยืน : การวิจัยทางสังคมศาสตร์และการประเมินผลการพัฒนาที่ยั่งยืน
หน้า ๒๒
สรุปสาระการประชุมใหญ่สามัญประจำ�ปี ๒๕๕๙
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
สารจากนายกสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ความโศกเศร้าอันยิ่งใหญ่เกิดขึ้นกับปวงชนชาวไทย ในวัน พฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 19.13 น. เมือ่ มีประกาศจากส�ำนัก พระราชวัง ความว่า “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จสวรรคต เมือ่ เวลา 15.52 น. ณ โรงพยาบาลศิรริ าช ด้วยพระอาการ สงบ สิริพระชนมายุ 89 พรรษา ทรงครองราชสมบัติเป็นปีที่ 70 ใน รัชสมัยของพระองค์” บรรยากาศความโศกเศร้าเสียใจ ความเงียบวังเวง ระคนเสียงร�ำ่ ไห้ระงม ไปทั่วแผ่นดินไทย จากวันนั้นจนถึงวันนี้สุดที่จะพรรณนา พระองค์ท่านทรงเป็นอัจฉริยราชา พระบิดาที่ยิ่งใหญ่ ทรงเป็นนักวิจยั ครูแห่งแผ่นดิน พระองค์ทา่ นมิได้จากพสกนิกรของพระองค์ไปไหน ธ ทรงสถิตเบือ้ งบนทิพย์พมิ าน และสถิตอยู่ในใจไทยนิจนิรันดร์ สารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ฉบับนี้ ขอน้อมถวายความอาลัยอันหาที่สุดมิได้ ด้วยบทประพันธ์ของ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา และคุณวีรนุช สุขสว่าง ในนามของ พวกเราทุกคน เพือ่ สืบสานแนวพระราชด�ำริตามรอยพระยุคลบาท ทางสมาคมฯ ได้นำ� บทความและค�ำบรรยายพิเศษ เนือ่ งในงานประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี และการประชุมวิชาการเผยแพร่ผลงานวิจยั ระดับชาติประจ�ำปี 2559 ของ สมาคมฯ ซึง่ จัดขึน้ ทีค่ ณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในวันศุกร์ที่ 7 ตุลาคม 2559 มาน�ำเสนอ ซึง่ ประกอบ ด้วย การบรรยายพิเศษ เรื่อง “การปฏิรูปประเทศไทย: สู่ประเทศไทย 4.0 กับการพัฒนาที่ยั่งยืน” โดย ฯพณฯ รองนายกรัฐมนตรี ศาสตราจารย์ ดร.วิษณุ เครืองาม การบรรยายพิเศษ เรือ่ ง “การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนในยุคประเทศไทย 4.0” โดย คุณสุรจิต ชิรเวทย์ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสมุทรสงคราม และบทความเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาสังคมไทยอย่างยั่งยืน: การวิจัยทางสังคมศาสตร์ และการประเมินผลการพัฒนาที่ยั่งยืน” โดย ศาสตราจารย์ ดร.ศิรชิ ยั กาญจนวาสี พร้อมทัง้ รายงานสรุปผลการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2559 ของสมาคมฯ การจัดท�ำสารสมาคมฉบับนีส้ ำ� เร็จลุลว่ งไปด้วยดี ขอขอบคุณคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ทุกท่าน ขอขอบคุณ รองศาสตราจารย์ศักดา บุญยไวโรจน์ ที่ช่วยประสานงานการจัดท�ำ และคุณรังสิมาภรณ์ หนูน้อย ที่ ช่วยเป็นบรรณาธิการสารฉบับนี้จนมีเนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์ ท้ายสุดนี้ขอฝากความระลึกถึงมายังสมาชิกทุกท่าน ขอให้พวกเราทุกท่านเป็นฟันเฟืองตัวเล็กๆ ตัวหนึ่งของสังคมในการสืบสานแนวทางพระราชด�ำริ ตามรอยพระยุคลบาท น�ำแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน องค์กร และสังคม ให้เจริญก้าวหน้าเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนสืบไป ด้วยความเคารพรักยิ่ง ศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี 31 ตุลาคม 2559
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓ กันยายน - ธันวาคม ๒๕๕๙
1
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
การบรรยายพิเศษ เรื่อง “การปฏิรูปประเทศไทย: สู่ประเทศไทย 4.0 กับการพัฒนาที่ยั่งยืน” ศาสตราจารย์ ดร.วิษณุ เครืองาม การพัฒนายุค 4.0 ตัวเลข 4.0 แสดงถึงห้วงเวลาการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ ที่มีพัฒนาการเป็น ไปตามสภาวะ เราได้ผา่ นการพัฒนายุค 1.0 ทีเ่ น้นภาคการเกษตร ยุค 2.0 เน้นอุตสาหกรรมเบาโดยยุค 3.0 ในปัจจุบนั ทีเ่ น้นอุตสาหกรรมหนัก ส่วนยุค 4.0 นี้ บางคนอาจเรียกว่า ยุคนวัตกรรมหรือสังคมผลิตภาพก็ได้สำ� หรับการพัฒนา ของประเทศไทยที่ผ่านมา พบว่ามีวาทกรรมหลากหลาย เช่น มั่นคงมั่งคั่งยั่งยืน โรดแมป (roadmap) ปฏิรูป หรือ ยุทธศาสตร์ชาติ ซึง่ ทัง้ หมดนีเ้ ป็นเรือ่ งเดียวกัน แต่ยงั ไม่มกี ารน�ำมาใช้เป็นชิน้ เป็นอัน รัฐบาลจึงระบุเรือ่ งยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี ไว้ในรัฐธรรมนูญ ซึง่ มีผลให้ทกุ รัฐบาลต้องปฏิบตั ติ าม หากไม่ปฏิบตั จิ ะน�ำไปสูก่ ารถอดถอนหรืออภิปราย ไม่ไว้วางใจ ต่างจากเดิมทีไ่ ม่มโี ทษใดๆ ทัง้ นี้ ภายในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2560 คาดว่าจะมีการออก พ.ร.บ.ก�ำหนดวิธี การท�ำยุทธศาสตร์ชาติ และจากนั้นต้องเขียนยุทธศาสตร์ชาติขึ้นมาซึ่งจะทันในรัฐบาลนี้ กรณีที่มีการก�ำหนด ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะยาว ถูกโจมตีจากฝ่ายการเมืองว่ารัฐบาลมีวาระ 4 ปีหมดวาระก็ไป จะเขียนยุทธศาสตร์ ครอบคลุม 20 ปีได้อย่างไร ตรงนี้ยืนยันว่าฝ่ายการเมืองที่เข้ามาสามารถทบทวน เปลี่ยนแปลงได้ เพียงแต่ก�ำหนด ยุทธศาสตร์ชาติไว้เป็นทิศทางสู่อนาคตของประเทศ การปฏิรูป (reform) คือกระบวนการขับเคลื่อนขนาดใหญ่ที่น�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบ การทีจ่ ะน�ำพาประเทศไปสูก่ ารพัฒนา 4.0 ทีม่ นั่ คงมัง่ คัง่ ยัง่ ยืน ซึง่ จะท�ำการปฏิรปู ได้นนั้ ต้องเกิดจากความพร้อมใจ ของมวลมหาชน มีกระบวนการในการขับเคลือ่ น และต้องมีเป้าหมาย ในการตอบโจทย์ปญ ั หา เรือ่ งปฏิรปู ประเทศไทย นั้นได้มีบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับที่จะประกาศนี้ มาตรา 258 พูดถึงการปฏิรูป 7 ด้าน ที่รัฐบาลต้องท�ำ ถ้าไม่ ท�ำจะอะไรอยู่ไม่ได้ ต้องถูกอภิปรายในรัฐสภา ประกอบด้วย 1. ด้านการเมือง โดยให้ ก ารด� ำ เนิ น กิ จ กรรมของพรรคการเมื อ งเป็ น ไปโดยเปิ ด เผยและตรวจสอบได้ เพื่ อ ให้ พรรคการเมืองพัฒนาเป็นสถาบันทางการเมืองของประชาชนซึ่งมีอุดมการณ์ทางการเมืองร่วมกัน มีกระบวนการ ให้สมาชิกพรรคการเมืองมีสว่ นร่วมและมีความรับผิดชอบอย่างแท้จริง ในการด�ำเนินกิจกรรมทางการเมืองและการ คัดเลือกผู้มีความรู้ความสามารถ ซื่อสัตย์สุจริต และมีคุณธรรมจริยธรรม เข้ามาเป็นผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองที่ ชัดเจนและเป็นรูปธรรม มีกลไกที่ก�ำหนดความรับผิดชอบของพรรคการเมืองในการประกาศโฆษณา นโยบายที่มิได้วิเคราะห์ ผลกระทบ ความคุ้มค่า และความเสี่ยงอย่างรอบด้าน มีกลไกที่ก�ำหนดให้ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองต้องปฏิบัติ หน้าที่ด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต และรับผิดชอบต่อประชาชนในการปฏิบัติหน้าที่ของตน และมีกลไกแก้ไขปัญหา ความขัดแย้งทางการเมืองโดยสันติวธิ ภี ายใต้การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข 2. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ให้มีการน�ำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน และการจัดท�ำบริการ สาธารณะ เพื่อประโยชน์ในการบริหารราชการแผ่นดิน และเพื่ออ�ำนวย ความสะดวกให้แก่ประชาชนมีการบูรณา
2
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
การฐานข้อมูลของหน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงานเข้าด้วยกัน เพื่อให้เป็นระบบข้อมูล เพื่อการบริหารราชการแผ่น ดินและการบริการประชาชน ให้มกี ารปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างและระบบการบริหารงานของรัฐและแผนก�ำลัง คนภาครัฐให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายใหม่ ๆ โดยต้องด�ำเนินการให้เหมาะสมกับภารกิจของหน่วย งานของรัฐแต่ละหน่วยงานทีแ่ ตกต่างกัน มีการปรับปรุงและพัฒนาการบริหารงานบุคคลภาครัฐเพือ่ จูงใจให้ผมู้ คี วาม รูค้ วามสามารถอย่างแท้จริงเข้ามาท�ำงานในหน่วยงานของรัฐ และสามารถเจริญก้าวหน้า ได้ตามความสามารถและ ผลสัมฤทธิข์ องงานของแต่ละบุคคล มีความซือ่ สัตย์สจุ ริต กล้าตัดสินใจ และกระท�ำในสิง่ ทีถ่ กู ต้อง โดยคิดถึงประโยชน์ ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์สว่ นตัว มีความคิดสร้างสรรค์และคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ เพือ่ ให้การปฏิบตั ริ าชการและ การบริหารราชการแผ่นดิน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และมีมาตรการคุ้มครองป้องกันบุคลากรภาครัฐจากการ ใช้อ�ำนาจโดยไม่เป็นธรรมของผู้บังคับบัญชา และให้มีการปรับปรุงระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐให้มีความคล่อง ตัว เปิดเผย ตรวจสอบได้ และมีกลไกในการป้องกันการทุจริตทุกขั้นตอน 3. ด้านกฎหมาย มีกลไกให้ดำ� เนินการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับต่าง ๆ ทีใ่ ช้บงั คับอยูก่ อ่ นวันประกาศ ใช้รัฐธรรมนูญนี้ให้สอดคล้องกับหลักการตามมาตรา ๗๗ และพัฒนาให้สอดคล้องกับหลักสากล โดยให้มีการใช้ ระบบอนุญาตและระบบการด�ำเนินการโดยคณะกรรมการเพียงเท่าที่จ�ำเป็น เพื่อให้การท�ำงานเกิดความคล่องตัว โดยมีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน และไม่สร้างภาระแก่ประชาชนเกินความจ�ำเป็น เพิ่มความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ และป้องกันการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ ปฏิรูประบบการเรียนการสอน และการศึกษาอบรมวิชา กฎหมายเพือ่ พัฒนาผูป้ ระกอบวิชาชีพกฎหมายให้เป็นผูม้ คี วามรอบรูม้ นี ติ ทิ ศั นะ และยึดมัน่ ในคุณธรรมและจริยธรรม ของนักกฎหมาย พัฒนาระบบฐานข้อมูลกฎหมายของรัฐโดยใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ เพื่อให้ ประชาชนเข้าถึงข้อมูล กฎหมายได้สะดวก และสามารถเข้าใจเนื้อหาสาระของกฎหมายได้ง่าย จัดให้มีกลไกช่วยเหลือประชาชนในการจัด ท�ำและเสนอร่างกฎหมาย 4. ด้านกระบวนการยุติธรรม ให้มีการก�ำหนดระยะเวลาด�ำเนินงานในทุกขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรมที่ชัดเจน เพื่อให้ ประชาชนได้รับความยุติธรรมโดยไม่ล่าช้า และมีกลไกช่วยเหลือประชาชน ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ให้เข้าถึง กระบวนการยุติธรรมได้รวมตลอดทั้งการสร้างกลไกเพื่อให้มีการบังคับ การตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด เพื่อลด ความเหลือ่ มล�ำ้ และความไม่เป็นธรรมในสังคม ปรับปรุงระบบการสอบสวนคดีอาญาให้มกี ารตรวจสอบและถ่วงดุล ระหว่าง พนักงานสอบสวนกับพนักงานอัยการอย่างเหมาะสม ก�ำหนดระยะเวลาในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายให้ชัดเจนเพื่อมิให้คดีขาดอายุความ และสร้างความเชื่อมั่นในการปฏิบัติ หน้าที่ของพนักงาน สอบสวนและพนักงานอัยการในการสอบสวนคดีอาญา รวมทั้งก�ำหนดให้การสอบสวนต้องใช้ประโยชน์จาก นิตวิ ทิ ยาศาสตร์และจัดให้มบี ริการทางด้านนิตวิ ทิ ยาศาสตร์มากกว่าหนึง่ หน่วยงานทีม่ อี สิ ระจากกัน เพือ่ ให้ประชาชน ได้รับบริการในการพิสูจน์ข้อเท็จจริงอย่างมีทางเลือก เสริมสร้างและพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรขององค์กรต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง ในกระบวนการยุติธรรม ให้มุ่งอ�ำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชนโดยสะดวกและรวดเร็ว ด�ำเนินการบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ โดยแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเกีย่ วกับหน้าที่ อ�ำนาจ และภารกิจของต�ำรวจให้เหมาะสม และแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย เกีย่ วกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการต�ำรวจ ให้เกิดประสิทธิภาพ มีหลักประกันว่าข้าราชการต�ำรวจจะได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสม ได้รับความเป็นธรรมใน การแต่งตั้งและโยกย้าย และการพิจารณาบ�ำเหน็จความชอบตามระบบคุณธรรมที่ชัดเจน ซึ่งในการพิจารณา ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓ กันยายน - ธันวาคม ๒๕๕๙
3
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
แต่งตัง้ และโยกย้าย ต้องค�ำนึงถึงอาวุโสและความรูค้ วามสามารถประกอบกัน เพือ่ ให้ขา้ ราชการต�ำรวจสามารถปฏิบตั ิ หน้าที่ได้อย่างมีอิสระ ไม่ตกอยู่ใต้อาณัติของบุคคลใด มีประสิทธิภาพ และภาคภูมิใจในการปฏิบัติหน้าที่ของตน 5. ด้านการศึกษา ให้สามารถเริ่มด�ำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามมาตรา 54 วรรคสอง เพื่อให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัยโดยไม่เก็บ ค่าใช้จ่ายด�ำเนินการตรากฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนตามมาตรา 54 วรรคหก ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วัน ประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ มีกลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครู และอาจารย์ให้ได้ผู้ มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถ และประสิทธิภาพในการสอน รวมทั้งมีกลไกสร้าง ระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพ ครูปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพือ่ ให้ผเู้ รียนสามารถเรียนได้ตามความถนัด และปรับปรุงโครงสร้าง ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าว โดยสอดคล้องกันทั้งในระดับชาติและระดับพื้นที่ 6. ด้านเศรษฐกิจ ขจัดอุปสรรคและเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศเพื่อให้ ประเทศชาติและ ประชาชนได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมกลุ่มเศรษฐกิจต่าง ๆ อย่างยั่งยืนโดยมีภูมิคุ้มกันที่ดี สร้างกลไกเพื่อส่ง เสริมและสนับสนุนการน�ำความคิดสร้างสรรค์และเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ปรับปรุงระบบภาษีอากรให้มีความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล�้ำ เพิ่มพูนรายได้ของรัฐด้านต่าง ๆ อย่างมี ประสิทธิภาพ และปรับปรุงระบบการจัดท�ำและการใช้จา่ ยงบประมาณให้มปี ระสิทธิภาพและสัมฤทธิผล สร้างกลไก เพื่อส่งเสริมสหกรณ์และผู้ประกอบการแต่ละขนาด ให้มีความสามารถในการแข่งขันอย่างเหมาะสม และส่งเสริม การประกอบวิสาหกิจเพื่อสังคม และวิสาหกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสร้างกลไกเพิ่มโอกาสในการท�ำงาน และการประกอบอาชีพของประชาชน 7. ด้านอื่น ๆ ให้มรี ะบบบริหารจัดการทรัพยากรน�ำ้ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เป็นธรรมและยัง่ ยืน โดยค�ำนึงถึงความต้องการ ใช้นำ�้ ในทุกมิติ รวมทัง้ ความเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อมและ สภาพภูมอิ ากาศประกอบกัน จัดให้มกี ารกระจาย การถือครองทีด่ นิ อย่างเป็นธรรม รวมทัง้ การตรวจสอบกรรมสิทธิแ์ ละการถือครองทีด่ นิ ทัง้ ประเทศเพือ่ แก้ไขปัญหา กรรมสิทธิ์และสิทธิครอบครองที่ดินอย่างเป็นระบบ จัดให้มีระบบจัดการและก�ำจัดขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและสามารถน�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านอื่น ๆ ได้ ปรับระบบหลักประกันสุขภาพให้ ประชาชนได้รบั สิทธิและประโยชน์จากการบริหารจัดการ และการเข้าถึงบริการทีม่ คี ณ ุ ภาพและสะดวกทัดเทียมกัน ให้มีระบบการแพทย์ปฐมภูมิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวดูแลประชาชน ในสัดส่วนที่เหมาะสม ซึ่งการปฏิรูปทั้งหมดนี้ ก�ำหนดเส้นตายให้ด�ำเนินการไว้ที่ 5 ปี ส�ำหรับเป้าหมายของการปฏิรปู ทัง้ 7 ด้านเพือ่ ตอบสนองความต้องการของการพัฒนาสูก่ ารบรรลุผล ของการพัฒนาประเทศในลักษณะ 8 ส. คือ เพื่อให้ประเทศไทยและชาวไทยมีลักษณะส�ำคัญ ดังนี้ 1. มีความสงบเรียบร้อย ในมิติทางการเมือง 2. มีความสามัคคีปรองดอง 3. มีความสถาพร หรือพัฒนาอย่างยั่งยืน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
4
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
4. มีความสมดุลระหว่างการพัฒนาทางวัตถุและจิตใจ 5. มีความสงบสุข 6. มีความเสมอภาค 7. ท�ำให้คนไทยมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี 8. มีส่วนร่วมในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
หัวใจส�ำคัญของการปฏิรูปอยู่ที่เรื่องการศึกษา ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับนี้ให้ความสนใจมาก อีกทั้งเรื่อง ของการปฏิรูป เป้าหมายการปฏิรูปในรัฐธรรมนูญเขียนไว้ละเอียด แต่คนกลับไม่ค่อยสนใจ ทั้งที่ความจริงหมวด เรื่องของการปฏิรูป เป็นเรื่องที่คนทั่วไปกระโดดไปเล่นได้เต็มตัว เป็นพระเอกนางเอกชูโรงได้ แต่ไปสนใจแต่เรื่อง ค�ำถามอื่น ๆ เช่น ค�ำถามพ่วงนายกฯ คนในคนนอก ส.ว.อยู่กี่ปี เลือกนายกฯ เลือกอย่างไรเท่านั้น การทีร่ ฐั บาลจะสามารถพัฒนาประเทศให้เข้าสูป่ ระเทศไทย 4.0 สิง่ ส�ำคัญทีต่ อ้ งท�ำให้ได้คอื การปฏิรปู การศึกษาให้ส�ำเร็จ สถานศึกษาสามารถปรับการเรียนการสอนให้เป็น 4.0 สอนให้คนรู้จักคิด วิเคราะห์ มีความคิด สร้างสรรค์ รู้จักการผลิตและมีความรับผิดชอบ อีกทั้งต้องมีงานวิจัยมาสนับสนุน ดึงมหาวิทยาลัยทุกกลุ่มช่วย ขับเคลือ่ น และดึงคนเก่งในประเทศทุกกลุม่ มาร่วมมือกันพัฒนาประเทศ โดย พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี มีนโยบายให้รวบรวมคนไทยคนเก่งเข้าร่วมแข่งขันบนเวทีระดับโลกในทุกประเภท ไม่วา่ เป็นการประกวดทางวิชาการ เช่น โอลิมปิกวิชาการ การประกวดนวัตกรรม หุ่นยนต์ การประกวดช่างฝีมือ แรงงาน แกะสลัก เป็นต้น รัฐบาลมีนโยบายในการดึงคนเก่ง คนดีเหล่านั้นเข้ามาท�ำงานให้กับราชการ โดยไม่จ�ำเป็นต้องเป็น ข้าราชการ แต่มีค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละคน ไม่ยึดติดกับคุณวุฒิที่จบ หากติดขัดด้าน กฎหมายก็ให้แก้ไข ซึง่ ในฐานะทีต่ นดูแลส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ได้สงั่ การให้ ก.พ.ส�ำรวจ ข้าราชการทั่วประเทศเพื่อจัดท�ำฐานข้อมูลว่าใครมีความสามารถด้านใด และขึ้นทะเบียนไว้ หากเราต้องการความ รู้ด้านใดก็สามารถดึงมาท�ำงานได้ รวมไปถึงการแสวงหาบุคคลภายนอกราชการเข้ามาช่วยกัน ตามนโยบายนายก รัฐมนตรี รัฐบาล ส่วนราชการ เอกชน และคนไทยทุกคนจะต้องร่วมมือร่วมใจกันปฏิรูปประเทศไทยใน 7 ด้าน เพื่อบรรลุเป้าหมาย 8 ส. สู่ประเทศไทย 4.0
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓ กันยายน - ธันวาคม ๒๕๕๙
5
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
การบรรยายพิเศษ เรื่อง “การพัฒนาที่ยั่งยืนในยุคประเทศไทย 4.0” คุณสุรจิต ชิรเวทย์ แนวทางการพัฒนาประเทศไทยในยุค 4.0 นี้ ให้ยั่งยืนควรเน้นการผสมผสานกลมกลืนกันระหว่าง เทคโนโลยีและธรรมชาติ โดยไม่ฝนื แต่งธรรมชาติ แต่ควรปล่อยให้ทกุ อย่างเป็นไปตามธรรมชาติดงั้ เดิม ดังตัวอย่าง เช่นภูมปิ ญ ั ญาของคนแม่กลอง ในฐานะทีผ่ บู้ รรยายเป็นคนแม่กลองจึงขอยกตัวอย่างภูมปิ ญ ั ญาของคนแม่กลอง ดังนี้ ความเด่นชัดของภูมปิ ญ ั ญาคนแม่กลองคือความสัมพันธ์ระหว่างคนกับธรรมชาติ (man and nature) ทั้งในมิติของภูมิวัฒนธรรม (cultural landscape) ในรูปแบบของเมืองสามน�้ำของอ่าว ก.ไก่ ในพื้นที่ทะเลตม ป่า ชายเลน และเรือกสวนของดินดอนสามเหลี่ยมตอนล่างที่ถูกหล่อเลี้ยงโดยน�้ำเค็ม น�้ำกร่อย และน�้ำจืด เมืองสามน�้ำ นีม้ อี ยูท่ กุ ปากแม่นำ�้ ของดินดอนสามเหลีย่ มเจ้าพระยา อันได้แก่ บางปะกง เจ้าพระยา ท่าจีน แม่กลอง และเพชรบุรี แต่ที่ยังด�ำรงอยู่ได้อย่างงดงามในกระแสเศรษฐกิจของโลกาภิวัตน์นี้ คือเมืองสามน�้ำแม่กลองที่ยังสะท้อนให้เห็นถึง ความเป็นมนุษย์ที่ครบถ้วยในความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับอ�ำนาจเหนือธรรมชาติ ซึ่งจรรโลงส�ำนึกร่วมกันทางประวัติศาสตร์และศีลธรรมของคนแม่กลองเป็นพลังที่ส�ำคัญในการต่อรอง และสร้าง ดุลยภาพถึงการรุกล�้ำจากภายนอกในกระแสโลกาภิวัตน์ คงจะเห็นได้จากการด�ำรงชีวติ ของคนแม่กลอง เช่น ส�ำหรับคนตกกุง้ คนหาปลา เพียงลอยเรือล�ำน้อย เอาขาข้างหนึ่งแช่น�้ำไว้ระหว่างรอคอยเวลาอย่างสงบ ก็สามารถใช้ภูมิปัญญารับรู้อุณหภูมิน�้ำร้อน-เย็น และกระแส ไหล สายลมที่สัมผัสกาย ความมืดสว่างที่สัมผัสตา ก็สามารถรู้ได้ว่า ได้เวลาที่กุ้งปลาจะท�ำอะไร จะกินเหยื่อ จะเคลือ่ นไหวอย่างไร เดือนสิงหาคม-กันยายน โกงกางจะออกฝัก พฤศจิกายน จะกลิง้ นาเกลือ พฤษภาคมจะเหนีย่ ว งวงมะพร้าว หน้าลมอุกาจะพลิกท้องเรือปิดชัน ซ่อมเครื่องมือ เคลื่อนไหวแนบชิดไปด้วยกันกับลีลาธรรมชาติและ ลีลาชีวิต ใช้ฝีไม้ลายมือ ใช้ภูมิปัญญามากมายดูแลประคับประคองชีวิตอิสระที่หวงแหนเหนือสิ่งใดของตนไว้ ส่วน การกินการอยูน่ นั้ ง่าย ของกินแม้หน้าตาไม่หรูหราแต่สดใหม่กว่าทุกภัตตาคาร เสือ้ ผ้าชุดท�ำงานแม้ดเู ก่า เนือ้ ผ้าเริม่ หน่าย แต่ให้สัมผัสนุ่มนิ่มสบายตัวดี สิ่งเหล่านี้คือบรรพชนและผู้คนชาวแม่กลอง พลเมืองผู้ชาญฉลาดพอเพียง ผู้สร้างสรรค์ ดูแล และท�ำ กินอยูใ่ นแผ่นดินทีเ่ ล็กทีส่ ดุ อายุยนื อยูง่ า่ ยเลีย้ งง่าย ไม่ฝนั ว่าจะท�ำให้ตวั เองร�ำ่ รวยเกินเลยไป แต่รกั ทีจ่ ะให้ธรรมชาติ ที่แวดล้อมตนนั้นร�่ำรวยยิ่งใหญ่คงทนคุ้มตัวคุ้มลูกหลานต่อไป นอกจากในเรือ่ งการด�ำรงชีวติ ตามวิถพี อเพียงตามธรรมชาติแล้ว ยังมีเรือ่ งน�ำ้ ซึง่ เป็นปัจจัยส�ำคัญทีอ่ ยู่ คู่กับชุมชนในทุกแห่งของประเทศไทย ดังจะเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงอย่างมากเกี่ยวกับน�้ำ ซึ่งส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของผู้คนในประเทศไทยด้วย ขอยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของพื้นที่ราบลุ่มรอบอ่าว ก.ไก่ ซึง่ ในอดีตจะปลูกบ้านในลักษณะใต้ถนุ สูง เพือ่ จะได้อยูร่ ว่ มกับวัฏจักรน�ำ้ หลากได้โดยไม่เดือดร้อน แต่เรากลับ ลืมภูมิปัญญาของบรรพชน พากันถมที่ปลูกบ้าน สร้างโรงงาน เพราะวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปเป็น “คนเมือง” กลาย เป็น “โรคกลัวน�ำ้ ” กันหมดเพราะไม่ได้เป็นเกษตรกรกันอีกต่อไป จึงไม่เข้าใจว่าหากน�ำ้ ไม่ทว่ มดินจะดีได้อย่างไร มด ปลวก แมลง จะควบคุมได้อย่างไร เพราะเชือ่ ว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะแก้ปญ ั หาให้ได้ แทนทีจ่ ะปล่อย ให้น�้ำลอดผ่านไปมาได้ในหน้าน�้ำหลาก ก็พากันถมที่แล้วค่อยจ้างบริษัท ก�ำจัดปลวกมาอัดน�้ำยาลงดิน สร้างเขื่อน
6
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
สร้างก�ำแพงป้องฝั่งน�้ำ แย่งที่อยู่อาศัยของน�้ำ ดังนั้นน�้ำหลากที่เคยเป็นคุณ ท�ำให้บรรพชนของเราท�ำการเกษตร ปลอดสารมาได้นับร้อยนับพันปีก็กลายเป็นโทษ เพราะเราอยากอยู่บ้านทรงโรมัน ทรงสเปน วิถีไทยที่สอดคล้อง เป็นของล้าสมัย ปากแม่น�้ำ ปากอ่าว ที่เคยมีกระแสน�้ำหลากมาช�ำระสะสางมลทินและเติมสารอาหารคือตะกอน สารอินทรีย์ก็หายไปติดอยู่เหนือเขื่อนบ้าง ถนนบ้าง แผ่นดินก็ทรุด ชายฝั่งทะเลก็พัง เพราะรังเกียจน�้ำหลาก ไปกีด ไปกัน ไปแย่งที่อยู่อาศัยของน�้ำ เพราะไปทิ้งภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ เมื่อแก้ปัญหาหนึ่งก็ไปสร้างปัญหาใหม่อีก หลายร้อยปัญหา อดีตที่เคยอยู่เย็นเป็นสุขก็กลายเป็นอยู่ร้อนนอนทุกข์ ตามมาด้วยโรคภัยแปลกๆ เพราะอาหารไม่ บริสุทธิ์ อากาศไม่บริสุทธิ์ ธาตุหลักที่เคยค�้ำจุนเอื้อเฟื้อชีวิตก็แปดเปื้อนเมื่อแผ่นดินป่วย แม่น�้ำล�ำธารป่วย รวมทั้ง ทะเลก็ปว่ ยด้วยเนือ่ งจากต้องอาศัยตะกอนสารอาหารจากภายในแผ่นดินมาเติมให้ทกุ วัน จนมาถึงยุคแห่งการสร้าง เขื่อนมากมายในแผ่นดิน ที่มาพร้อมๆ กับยุคประมงอวนลาก ท�ำให้วัฏจักรน�้ำหลากเริ่มหดหาย ตะกอนสารอาหาร ไปติดอยู่เหนือเขื่อน การดูดทรายท้องน�้ำไปใช้ในการก่อสร้าง ประมงพาณิชย์ขยายตัวโดยไม่มีมาตรการควบคุม จ�ำนวนเรือ กฎหมายก�ำหนดขนาดตาอวนที่ล้าหลัง การอนุญาตให้ท�ำอวนไดปลากระตัก (อวนปั่นไฟ) ทั้งกลางวัน กลางคืน ตลอดจนเครื่องมือประมงเคลื่อนที่มากมายหลายชนิด ทั้งอวนรุน อวนลาก ตะกร้าเหล็ก คราดหอย ฯลฯ การขยายตัวของพื้นที่เกษตรขนาดใหญ่ และการใช้สารเคมี การขยายตัวของอุตสาหกรรมต่างๆ ในพื้นที่ราบลุ่ม ภาคกลางเหนืออ่าว ก.ไก่ และในบริเวณพื้นที่ชุ่มน�้ำรอบอ่าว ก.ไก่ และชายทะเลตะวันออกอย่างมากมายมหาศาล ในขณะทีม่ ขี อ้ ก�ำหนดใหม่ในเรือ่ งเขตเศรษฐกิจหรือทะเลอาณาเขตท�ำให้พนื้ ทีท่ ำ� การประมงลดลงสวนทางกับจ�ำนวน เรือที่เพิ่มขึ้น ปริมาณการจับปลาต่อชั่วโมงจึงลดลง การบริหารจัดการน�ำ้ โดยมองบทบาทของน�ำ้ ในเชิงปริมาณ (ปริมาตรเท่านัน้ ) โดยไม่มองบทบาทของ น�้ำในเชิงคุณภาพคือตะกอนสารอาหารที่น�้ำอุ้มพามาด้วยกระแสไหลที่เชี่ยวหรืออ่อน เพราะไม่เข้าใจกระบวนการ แห่งเหตุและปัจจัยทีเ่ กีย่ วโยงกัน ซึง่ มองเห็นได้ยากว่าความสัมพันธ์ระหว่างน�ำ้ หลากจากป่าต้นน�ำ้ กับแพลงตอนใน ทะเล ซึ่งเป็นเบื้องต้นของห่วงโซ่อาหารในบริเวณทะเลตมปากแม่น�้ำ หาดเลน ป่าชายเลน การงอกและการพังของ ชายฝั่งทะเลทั้งหลายนั้นเชื่อมโยงกันอย่างไร และต่อเนื่องไปสู่กุ้ง หอย ปู ปลาที่ต้องกินแพลงตอนหรือกินกันเอง แบบปลาใหญ่กนิ ปลาเล็กเป็นทอดๆ ต่อไปอีกอย่างไร เพราะเส้นทางทีย่ าวไกลท�ำให้เห็นได้ยาก เปรียบเหมือนอาหาร กับอุจจาระทีเ่ พียงเคลือ่ นจากปากผ่านไปในร่างกายของเราเพียงศอกกว่าๆ สูท่ วารหนักเรายังคิดว่าเป็นคนละเรือ่ ง กันไม่เกีย่ วกัน ต่อเมือ่ เราป่วย หมอบอกว่าต้องน�ำอุจจาระไปตรวจ เราถึงจะค่อยทราบว่ามันเกีย่ วกับการกินการอยู่ การใช้ชีวิตของเรา ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงสอนไว้ลึกซึ้งยิ่งกว่า คือพระองค์บอกให้เรารู้จักสังวร ส�ำรวมในการบริโภค อาหาร เป็นการแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ แต่เราก็กลับเข้าใจยาก เห็นได้ยาก เพราะต้องใช้ปัญญาในการพิจารณาอย่าง มาก ดังนั้นทั้งหลายเหล่านี้ที่กล่าวมาเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกัน รวมทั้งในหลวงรัชกาลที่ 9 ได้ทรงสอนเรื่อง “เศรษฐกิจ พอเพียง” เพื่อการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน ในปัจจุบันประเทศไทยเราก�ำลังจะก้าวเข้าสู่ยุค 4.0 นั้น ควรผสมกลมกลืนกับธรรมชาติไม่ควรที่จะ ลืมธรรมชาติ หรือสิ่งที่บรรพบุรุษได้สั่งสมถ่ายทอดมาเป็นภูมิปัญญาของเรา หลอมรวมเข้ากับเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อก่อให้เกิดนวัตกรรมที่สอดคล้องกับบริบทสังคมบ้านเราโดยไม่ฝืนธรรมชาติ นั่นเอง
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓ กันยายน - ธันวาคม ๒๕๕๙
7
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาสังคมไทยอย่างยั่งยืน: การวิจัยทางสังคมศาสตร์และการประเมินผลการพัฒนาที่ยั่งยืน
ศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี
ท่ามกลางความโศกเศร้าอันล้นพันของประชาชนชาวไทยจากการสูญเสียครัง้ ยิง่ ใหญ่ แต่สงิ่ ทีม่ มิ ที าง สิ้นสูญไปจากหัวใจของปวงชนชาวไทย คือ ศาสตร์ของพระราชา ซึ่งเป็นมรดกอันส�ำคัญยิ่งที่ทรงมอบไว้ส�ำหรับ พสกนิกรชาวไทยของพระองค์ คนไทยทุกคนคงได้ตระหนักและเจริญตามรอยพระยุคลบาท โดยท�ำความเข้าใจ เข้าถึง และน้อมน�ำมาพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน องค์กร และสังคม ให้มีความก้าวหน้าอย่างยั่งยืนภายใต้ กระแสโลกาภิวัตน์ตามพระราชปณิธานของพระองค์ การน้อมน�ำแนวคิดของพระองค์ท่านมาประยุกต์ใช้อย่าง ถูกต้อง จึงน่าจะเป็นสิ่งที่ทรงคุณค่ายิ่งส�ำหรับการถวายสักการะถึงพระองค์ท่าน ซึ่งได้สถิตในดวงใจของปวงชน ชาวไทยมาตลอด ๗๐ ปี แห่งการครองราชย์และตลอดไป ๑. การพัฒนาที่ยั่งยืน สมดุล และสงบสุข มูลนิธิปิดทองหลังพระเพื่อสืบสานแนวพระราชด�ำริ ได้จัดตั้งขึ้นเมื่อ ๒๕๕๒ โดยมี ศาสตราจารย์ นพ.เกษม วัฒนชัย องคมนตรี เป็นประธาน เพื่อฉลองพระชนมายุครบ ๘๐ และ ๘๔ พรรษา ของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดชและเพื่อให้ประชาชนสามารถเรียนรู้และสร้างประสบการณ์ตรงจากแนวทาง โครงการพระราชด�ำริมาปรับใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ส่งเสริมการเรียนรู้ในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริให้มี ความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เพื่อยกระดับฐานะความเป็นอยู่และส่งเสริมอาชีพประชาชนรวมทั้ง ส่งเสริมความรูค้ วามเข้าใจ และกระตุน้ จิตส�ำนึกในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้อมและศิลปวัฒนธรรม ไทย ทางมูลนิธิปิดทองหลังพระได้เรียบเรียงพระราชปณิธานในพระองค์ไว้ดังนี้ “ด้วยความรักอันสุจริตมั่นคงที่ทรงมีต่ออาณาประชาราษฎร์ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงเห็นแก่ความสุขของราษฎรก่อนความสุขของพระองค์เองเสมอ มา ไม่ว่าหนทางจะทุรกันดารห่างไกล ยากล�ำบากเพียงใด ไม่ว่าพื้นที่นั้นจะอยู่ ณ แห่ง หนใด จะเสด็จพระราชด�ำเนินไปจนถึง เพื่อทรงทราบถึงปัญหาความเดือดร้อนของ ประชาชน และจะทรงคิดค้น ค้นคว้า ทดลอง พิสูจน์ จนกว่าจะได้ค�ำตอบของการแก้ไข ปัญหาที่ดีที่สุด แล้วจึงพระราชทานแนวทางนั้นมาแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไป สืบเนื่องเช่น นี้มาแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน พระอัจฉริยภาพและสายพระเนตรอันยาวไกล คือ การก่อเกิดปรัชญาใน การด�ำรงชีวิต ทฤษฎีในการปฏิบัติตน และโครงการพระราชด�ำริมากกว่า ๔,๐๐๐ โครงการ ทุกภูมิภาคของประเทศ เพื่อเป้าหมายในที่สุด คือ การพัฒนาที่ยั่งยืน สมดุล และการอยู่ร่วมกันของทุกสรรพชีวิตด้วยความสงบสุขในสังคมแห่งความเอื้ออาทร ความส�ำเร็จของการพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวทางพระราชด�ำรินั้น เกิดขึ้น จากหลักและวิธกี ารทรงงาน ซึง่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงยึดมัน่ ปฏิบตั ติ ลอดมา คือ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่ราษฎรก�ำลังต้องการการแก้ไขอย่างเร่งด่วนก่อน พัฒนา
8
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
อย่างเป็นขั้นตอนตามล�ำดับความจ�ำเป็น เพื่อให้มีรากฐานที่มั่นคงก่อนด�ำเนินการเพื่อ ความเจริญก้าวหน้าในล�ำดับต่อไป เน้นการพัฒนาที่มุ่งสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนให้ พึ่งตนเองได้ พัฒนาให้สอดคล้องกับภูมิสังคมในท้องถิ่นนั้น ๆ ใช้หลักการแก้ไขปัญหา ด้วยธรรมชาติ เรียบง่ายและประหยัด ประยุกต์ใช้สงิ่ ทีม่ อี ยูใ่ นภูมภิ าคนัน้ มาแก้ไขปัญหา โดยไม่ต้องลงทุนสูง หรือใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยาก สร้างเสริม ตัวอย่างของความส�ำเร็จให้ ราษฎรรู้เห็นตัวอย่างของความส�ำเร็จ สามารถน�ำไปปฏิบัติได้เอง แล้วกระจายไปสู่ ท้องถิน่ ต่าง ๆ ทัว่ ประเทศ ให้เกิดการพัฒนา ฟืน้ ฟูและอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ยั่งยืนเพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาประเทศในระยะยาว ไม่ว่าจะเป็นป่าไม้ ที่ดิน แหล่งน�้ำ ให้อยู่ในสภาพที่มีผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมากที่สุด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพิสูจน์ให้คนไทยได้ประจักษ์แล้วว่า การพัฒนาตามแนวทางสายกลางอย่างมีความสมดุล คือ มีขนั้ ตอน พอประมาณมีเหตุ มีผล และมีภมู คิ มุ้ กัน ผสมผสานความรูด้ า้ นต่าง ๆ รวมทัง้ การมีสติ มีคณ ุ ธรรม ซือ่ สัตย์ สุจริต และมีความเพียรไม่ย่อท้อต่อปัญหาและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ตามแนวทาง พระราชด�ำริ คือแนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนาประเทศไทย ให้ด�ำรงอยู่ได้ภายใต้ กระแสโลกาภิวัตน์ที่ถาโถมไหลบ่าเข้ามาอย่างรุนแรง” แผนภาพที่ ๑ ทางสายกลางภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลงตามแนวพระราชด�ำริ (จากมูลนิธิปิดทองหลังพระ, ๒๕๕๔, หน้า ๓ )
พอประมาณ มีภูมิคุ้มกันที่ดี ในตัว
มีเหตุมีผล
เงื่อนไขความรู้
เงื่อนไขคุณธรรม
(รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
(ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดออม สติปัญญา แบ่งปัน)
นำ�สู่
ชีวิต, เศรษฐกิจ, สังคม, สิ่งแวดล้อม
ก้าวหน้าอย่างสมดุล, มั่นคง, ยั่งยืน
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓ กันยายน - ธันวาคม ๒๕๕๙
9
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
๒. เศรษฐกิจพอเพียง มูลนิธิชัยพัฒนา ซึ่งมี ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เป็นกรรมการและเลขานุการ ได้รวบรวมแนวคิดและ หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระองค์ท่านไว้ดังนี้ ๒.๑ จุดเริ่มต้นของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ผลจากการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก่สังคม ไทยอย่างมากในทุกด้าน ไม่วา่ จะเป็นด้านเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคมและสิง่ แวดล้อม อีกทัง้ กระบวนการ ของความเปลี่ยนแปลงมีความสลับซับซ้อนจนยากที่จะอธิบายในเชิงสาเหตุและผลลัพธ์ได้ เพราะการเปลี่ยนแปลง ทั้งหมดเป็นปัจจัยเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน ส�ำหรับผลของการพัฒนาในด้านบวกนัน้ ได้แก่ การเพิม่ ขึน้ ของอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคต่างๆ ระบบสือ่ สารทีท่ นั สมัย หรือการขยายปริมาณและกระบวนการศึกษา อย่างทั่วถึงมากขึ้น แต่ผลบวกเหล่านี้ส่วนใหญ่กระจายไปถึงคนชนบท หรือผู้ด้อยโอกาสในสังคมน้อย แต่ว่า กระบวนการเปลีย่ นแปลงทางสังคมได้เกิดผลลบติดตามมาด้วย เช่น การขยายตัวของรัฐเข้าไปในชนบทได้สง่ ผลให้ ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายด้าน ทัง้ การต้องพึง่ พิงตลอดและพ่อค้าคนกลางในการสัง่ สินค้าทุน ความเสือ่ มโทรม ทางทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และการรวมกลุ่มกันตามประเพณีเพื่อการจัดการ ทรัพยากรที่เคยมีอยู่แต่เดิมแตกสลายลงภูมิความรู้ที่เคยใช้แก้ปัญหาและสั่งสมปรับเปลี่ยนกันมาถูกลืมเลือนและ เริ่มสูญหายไป สิ่งส�ำคัญก็คือ ความพอเพียงในการด�ำรงชีวิต ซึ่งเป็นเงื่อนไขพื้นฐานที่ท�ำให้คนไทยสามารถพึ่งพา ตนเอง และด�ำเนินชีวติ ไปได้อย่างมีศกั ดิศ์ รีภายใต้อำ� นาจและความมีอสิ ระในการก�ำหนดชะตาชีวติ ของตนเอง ความ สามารถในการควบคุมและจัดการเพือ่ ให้ตนเองได้รบั การสนองตอบต่อความต้องการต่างๆ รวมทัง้ ความสามารถใน การจัดการปัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเอง ซึ่งทั้งหมดนี้ถือว่าเป็นศักยภาพพื้นฐานที่คนไทยและสังคมไทยเคยมีอยู่ แต่เดิม ต้องถูกกระทบกระเทือน ซึ่งวิกฤตเศรษฐกิจจากปัญหาฟองสบู่และปัญหาความอ่อนแอของชนบท รวมทั้ง ปัญหาอื่นๆ ที่เกิดขึ้นล้วนแต่เป็นข้อพิสูจน์ยืนยันปรากฏการณ์นี้ได้เป็นอย่างดี ๒.๒ เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) “…การพัฒนาประเทศจ�ำเป็นต้องท�ำตามล�ำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมี พ อกิ น พอใช้ ข องประชาชนส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เบื้ อ งต้ น ก่ อ น โดยใช้ วิ ธี ก าร และใช้อุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานมั่นคงพร้อมพอควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดย ล�ำดับต่อไป หากมุง่ แต่จะทุม่ เทสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจขึน้ ให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบตั กิ ารสัมพันธ์กบั สภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้อง ด้วย ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่างๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ ในที่สุด...” - พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ (ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) วันพฤหัสบดีท ๑๘ ี่ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๗
10
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานปฐมพระราชด�ำรัสว่า ด้วยเศรษฐกิจ พอเพียงว่าเราควรปฏิบัติให้ “พอมีพอกิน” แล้วค่อยเสริมความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยล�ำดับ ต่อไป ซึ่งเป็นรากฐานของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (สุเมธ ตันติเวชกุล, ๒๕๕๗, หน้า ๑๒๘) เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุยเดช พระราชทานพระ ราชด�ำริชแี้ นะแนวทาง การด�ำเนินชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๓๐ ปี พระราชด�ำริให้ความส�ำคัญ กับการพัฒนาตนเองพึ่งตนเอง ซึ่งเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืน พระองค์ได้ทรงเตือนตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทาง เศรษฐกิจ (๒๕๔๐) และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย�้ำแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นและสามารถด�ำรงอยู่ได้อย่าง มั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้น ๒.๓ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Philosophy of the Sufficiency Economy) เศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น ปรั ช ญาชี้ ถึ ง แนวทางการด� ำ รงชี วิ ต อยู ่ แ ละปฏิ บั ติ ต นของประชาชนใน ทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ความพอเพียงหมายถึงความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลีย่ นแปลงทัง้ ภายในภายนอก ทัง้ นีจ้ ะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง อย่างยั่งยืนในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและด�ำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริม สร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีจิตส�ำนึกใน คุณธรรม ความซือ่ สัตย์สจุ ริต และให้มคี วามรอบรูท้ เี่ หมาะสม ด�ำเนินชีวติ ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพือ่ ให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทัง้ ทางด้าน วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบด้วย ๓ องค์ประกอบ ๒ เงื่อนไข ดังนี้ ๑) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียน ตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ๒) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมี เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนค�ำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระท�ำนั้นๆ อย่าง รอบคอบ ๓) ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่ จะเกิดขึ้น โดยค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยมีเงื่อนไขของการตัดสินใจและการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง ๒ ประการ ดังนี้ ๑) เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้ที่เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน ความ รอบคอบที่จะน�ำความรู้เหล่านั้นมาพัฒนาให้เชื่อมโยงกั น เพื่อ ประกอบการวางแผนและความระมัดระวัง ในการปฏิบัติ ๒) เงือ่ นไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรมมีความซื่อสัตย์ สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการด�ำเนินชีวิต เศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นรากฐานของชีวิต และรากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน ๓. บูรณาการองค์ความรู้สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน มูลนิธิปิดทองหลังพระเพื่อสืบสานการปฏิบัติงานตามรอยพระยุคลบาท ได้แนะน�ำให้ยึด ๓ หลักการ ซึ่งประกอบด้วย หลักการบูรณาการองค์ความรู้ หลักการพัฒนา และหลักการทรงงาน ดังต่อไปนี้ ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓ กันยายน - ธันวาคม ๒๕๕๙
11
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
๓.๑ หลักการบูรณาการองค์ความรู้ หลักการบูรณาการองค์ความรู้ ๖ มิติ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คือ องค์ความรู้ด้านน�้ำ ดิน เกษตร พลังงานทดแทน ป่า และสิ่งแวดล้อม ๓.๒ หลักการพัฒนา หลักการพัฒนาตามแนวพระราชด�ำริ คือ เข้าใจ เข้าถึงและพัฒนาเป็นบันได ๓ ขั้น สู่ความส�ำเร็จ - การเข้าใจ คือ การสร้างให้เกิดความเข้าใจในข้อมูลพื้นฐานด้วยการศึกษาข้อมูลทุกมิติของชุมชน - การเข้าถึง เป็นเรื่องการสื่อสารและสร้างการมีส่วนร่วม โดยมุ่งสื่อสารสร้างความเข้าใจและความ มัน่ ใจกับชุมชน ร่วมกันวิเคราะห์ปญ ั หาและความต้องการของชุมชน และให้ชมุ ชนมีสว่ นร่วมในกระบวนการพัฒนา มากที่สุด - การพัฒนา เป็นเรื่องของการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชน สร้างทีมพี่เลี้ยง การออกแบบ หลักสูตรและเมนูการพัฒนาการศึกษาดูงาน แลกเปลีย่ นเรียนรูแ้ ละฝึกปฏิบตั ขิ องชุมชน รวมทัง้ การให้ทมี พีเ่ ลีย้ งให้ ค�ำแนะน�ำในชุมชนและติดตามสนับสนุนประเมินผล ๓.๓ หลักการทรงงาน หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นหลักในการปฏิบัติงานที่สามารถน�ำไปปรับ ใช้กับพื้นที่ต่างๆ ได้แก่ - ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทั้งข้อมูลเบื้องต้น เอกสาร แผนที่ จากการสอบถามผู้เกี่ยวข้องให้ได้ รายละเอียดที่ถูกต้อง รวดเร็วและตรงตามความต้องการของประชาชน - มององค์รวมมีวิธีคิดอย่างองค์รวมหรือมองอย่างครบวงจร มองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และแนวทาง แก้ไขอย่างเชื่อมโยง - ไม่ยดึ ติดต�ำรา ไม่ผกู มัดติดกับวิชาการและเทคโนโลยีทไี่ ม่เหมาะสมกับสภาพชีวติ ความเป็นอยูท่ แี่ ท้ จริงของคนไทย - ท�ำให้ง่าย คิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุง และแก้ไขงานการพัฒนาประเทศตามแนวพระราชด�ำริโดย ง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน ท�ำสิ่งยากให้กลายเป็นง่าย ท�ำสิ่งที่สลับซับซ้อนให้เข้าใจง่าย - เน้นการมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้สาธารณชนทุกระดับร่วมแสดงความคิดเห็นเรื่องที่ต้องค�ำนึงถึง ความคิดเห็นหรือความต้องการของสาธารณชน แล้วเก็บมาประมวลเพื่อน�ำมาใช้ประโยชน์ - คิดถึงประโยชน์ส่วนรวม เมื่อส่วนรวมได้ประโยชน์ ตัวของเราเองก็ได้รับประโยชน์ด้วย - ขาดทุนคือก�ำไร หลักการคือ “การให้” และ “การเสียสละ” เป็นการกระท�ำอันมีผลเป็นก�ำไร คือ ความอยู่ดีมีสุขของราษฎร - ความเพียร ในการท�ำโครงการต่างๆ แม้ระยะแรกจะไม่มีความพร้อมมากนัก แต่ก็ต้องไม่ท้อและมี ความมุ่งมั่นเพื่อพัฒนาบ้านเมือง - เศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางการด�ำเนินชีวิตเพื่อสร้างความเข้มแข็งหรือภูมิคุ้มกันทุกด้าน ซึ่ง จะสามารถท�ำให้อยู่ได้อย่างสมดุล ในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง - ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ การเข้าใจถึงธรรมชาติ และต้องการให้ประชาชนใกล้ชิดกับธรรมชาติ เพราะปัญหาของธรรมชาติจะต้องใช้ธรรมชาติแก้ไข ช่วยเหลือ - ปลูกป่าในใจคน การที่จะฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติให้กลับคืนมาจะต้องปลูกจิตส�ำนึกให้คน รักป่าเสียก่อน
12
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
- ท�ำงานอย่างมีความสุข เป็นความสุขที่เกิดขึ้นจากการท�ำประโยชน์ให้กับผู้อื่น - รู้-รัก-สามัคคี “รู้” คือ การที่จะลงมือท�ำสิ่งใดนั้น จะต้องรู้เสียก่อน รู้ถึงปัจจัยทั้งหมด รู้ถึงปัญหา “รัก” เมื่อเรารู้ครบถ้วนกระบวนความแล้ว จะต้องเห็นคุณค่า เกิดศรัทธา เกิดความรักที่จะเข้าไปลงมือปฏิบัติแก้ ปัญหานั้นๆ “สามัคคี” เมื่อถึงขั้นลงมือปฏิบัติต้องค�ำนึงเสมอว่าเราท�ำคนเดียวไม่ได้ต้องร่วมมือร่วมใจกัน สามัคคี กันเป็นหมู่คณะ จึงจะเกิดพลังในการแก้ปัญหาให้ลุล่วงด้วยดี - ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สงู สุด ใช้หลักในการแก้ไขปัญหาด้วยความเรียบง่ายและประหยัด ราษฎรสามารถท�ำได้เอง หาได้ในท้องถิ่น ประยุกต์ใช้สิ่งที่มีอยู่ในภูมิภาคนั้นมาแก้ไขปัญหา โดยไม่ต้องลงทุนสูง หรือใช้เทคโนโลยีที่ไม่ยุ่งยากนัก ๔. แนวทางปฏิบัติและเครือข่ายขับเคลื่อนการพัฒนาตามแนวพระราชด�ำริ ๔.๑ แนวทางปฏิบัติ มูลนิธปิ ดิ ทองหลังพระเพือ่ สืบสานแนวพระราชด�ำริ มีแนวทางด�ำเนินงานแนวทางการขับเคลือ่ นการ พัฒนา และแนวทางการบริหารจัดการเชิงพื้นที่อย่างบูรณาการ ดังต่อไปนี้ ๔.๑.๑ แนวทางการด�ำเนินงาน โดยยึดหลักการบริหารเชิงบูรณาการตัง้ แต่ระดับ ต้นน�ำ ้ กลาง น�้ำและปลายน�้ำ ๑) ต้นน�ำ้ เป็นแหล่งองค์ความรูต้ ามแนวพระราชด�ำริจะประกอบด้วย ความรูจ้ ากศูนย์ศกึ ษาการพัฒนา โครงการส่วนพระองค์ โครงการตามพระราชประสงค์ โครงการหลวง โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ โครงการ ในพระบรมราชานุเคราะห์ ๒) กลางน�้ำ จะเป็นส่วนที่ปิดทองหลังพระ มีบทบาทเป็นสะพานเชื่อมระหว่างต้นน�้ำกับปลายน�้ำ โดยมุ่งเน้นด้านการจัดการความรู้ การส่งเสริมการพัฒนา และการสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือ ๓) ปลายน�้ำ จะเป็นการบูรณาการระดับพื้นที่ ชุมชน ท้องถิ่น และจังหวัด เพื่อน�ำองค์ความรู้จาก โครงการพระราชด�ำริเชือ่ มโยง และปรับใช้ในแต่ละพืน้ ทีอ่ ย่างเหมาะสมกับภูมสิ งั คม และภูมปิ ญ ั ญาชุมชนท้องถิน่ โดยมุ่งเป้าหมายให้ประชาชนอยู่ดีมีสุข ๔.๑.๒ แนวทางการขับเคลือ่ นการพัฒนาตามแนวพระราชด�ำริ มี๗ ขัน้ ตอน โดยการประยุกต์ จากหลักการ เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา ประกอบด้วยแนวทางต่อไปนี้ ๑) การสร้างความเข้าใจกับประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น จังหวัด องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และภาคีเครือข่าย ๒) การก�ำหนดพืน้ ที่ โดยพิจารณาจากภูมสิ งั คม และสภาพปัญหาแต่ละพืน้ ทีท่ เี่ ป็นเป้าหมายปฏิบตั ิ การพัฒนา ๓) การถ่ายทอดองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพของชุมชน โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ ถ่ายทอด ความรู้ที่สอดคล้องกับภูมิสังคมของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเตรียมความพร้อมของกลุ่มเป้าหมายก่อนกระบวนการ พัฒนา ๔) การลงมือปฏิบตั ิ คือ การทีช่ มุ ชนและภาคีทกุ ภาคส่วนร่วมกันด�ำเนินการแก้ไขปัญหา และพัฒนา โดยเรียนรูจ้ ากโครงการพระราชด�ำริและน�ำมาปรับใช้ให้สอดคล้องกับภูมสิ งั คม ศักยภาพชุมชน ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ฯลฯ ๕) การแลกเปลีย่ นเรียนรูแ้ ละการพัฒนาต่อเนือ่ ง เป็นขัน้ ตอนทีเ่ น้นการสือ่ สารและการแลกเปลีย่ น ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการลงมือปฏิบัติ เพื่อสรุปบทเรียน ข้อค้นพบ และการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓ กันยายน - ธันวาคม ๒๕๕๙
13
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
๖) การให้คำ� ปรึกษาและติดตามอย่างใกล้ชดิ เป็นการจัดทีมสนับสนุน ให้คำ� ปรึกษาแก่พนื้ ทีท่ มี่ ลู นิธิ ปิดทองหลังพระฯ ส่งเสริมการพัฒนา ๗) การวัดผล เป็นขัน้ ตอนสุดท้ายเพือ่ ประเมินผลการด�ำเนินงานว่ามีผลส�ำเร็จ หรือมีสงิ่ ทีต่ อ้ งปรับปรุง แก้ไขหรือไม่ อย่างไร เพื่อใช้เป็นแนวทางการพัฒนาพื้นที่อื่นๆ ต่อไป แผนภาพที่ ๒ แนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาตามแนวพระราชด�ำริ (จากมูลนิธิปิดทองหลังพระ, ๒๕๕๔, หน้า ๑๑) ๑. สร้างความเข้าใจ
๗. วัดผล ถวายรายงาน ขยายผลจากต้นแบบ
๖. ให้คำ�ปรึกษา & ติดตามใกล้ชิด
๕. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนาต่อเนื่อง
๒. กำ�หนดพื้นที่โดยภูมิสังคม และสภาพปัญหาชุมชน
๓. ถ่ายทอดองค์ความรู้ พัฒนาศักยภาพ
๔. ลงมือปฏิบัติ
๔.๑.๓ แนวทางการบริหารจัดการเชิงพื้นที่อย่างบูรณาการ เน้นการบริหารจัดการเพื่อน�ำ ศักยภาพของพื้นที่และภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นพลังส�ำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนา และให้ความส�ำคัญต่อการ บูรณาการทุนการพัฒนาด้านต่างๆ ในจังหวัด ทั้งความรู้จากศูนย์ศึกษาการพัฒนางบประมาณ และโครงการ พระราชด�ำริ เพือ่ น�ำไปสูก่ ารแก้ไขปัญหาและพัฒนาอย่างสอดคล้องกับศักยภาพของพืน้ ที่ และตรงกับความต้องการ ของประชาชนในพื้นที่ ๔.๒ เครือข่ายขับเคลื่อนการพัฒนาตามแนวพระราชด�ำริ การขับเคลือ่ นแนวพระราชด�ำริ “เศรษฐกิจพอเพียง” สูก่ ารพัฒนาสังคม เป็นการเสริมพลังให้ประเทศ พัฒนาไปได้อย่างมั่นคงภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ การขับเคลื่อนมีหลากหลายมิติ ทั้งการสนับสนุนตามกลุ่ม เป้าหมาย สร้างกระบวนการเรียนรู้ ศึกษาวิจัย เผยแพร่ข่าวสารประชาสัมพันธ์ ผ่านมูลนิธิ สถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน อาทิ
14
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
- มูลนิธิชัยพัฒนา - มูลนิธิปิดทองหลังพระ - มูลนิธิพระดาบส - ศูนย์สถานศึกษาพอเพียง มูลนิธิยุวสถิรคุณ - โครงการพัฒนาเยาวชนโดยการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มูลนิธิสยามกัมมาจล - คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ - ศูนย์ศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์ - ส�ำนักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - ฯลฯ นอกจากนี้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้รับการเชิดชูเป็นอย่างสูงจากองค์การสหประชาชาติ โดย นายโคฟี อันนัน ในฐานะเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลความส�ำเร็จสูงสุดด้าน การพัฒนามนุษย์ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ และได้มีปาฐกถาถึง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงว่า เป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ และสามารถเริ่มได้จาก การสร้างภูมิคุ้มกันในตนเอง สู่หมู่บ้าน และสู่เศรษฐกิจในวงกว้างขึ้นในที่สุด และนาย Håkan Björkman รักษาการผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติใน ประเทศไทย กล่าวเชิดชูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และยังได้ตระหนักถึงวิสัยทัศน์และแนวคิดในการพัฒนาของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและองค์การสหประชาชาติยังได้สนับสนุนให้ประเทศต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิก ๑๖๖ ประเทศให้ยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน (วิกิพีเดีย: เศรษฐกิจพอเพียง, สิงหาคม, ๒๕๕๙) ๕. การประเมินผลการพัฒนาที่ยั่งยืน (Evaluation of Sustainable Development) การพัฒนา (Development) เป็นการปรับปรุงหรือการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตของมนุษย์อย่าง เป็นระบบไปในทิศทางทีด่ ขี นึ้ ถ้าเป็นการด�ำเนินงานหรือท�ำโครงการ ก็เกิดผลการด�ำเนินงานทีด่ ขี นึ้ ผลการด�ำเนิน งานเป็นผลที่เกิดจากปัจจัยและการจัดกระท�ำ ผลการด�ำเนินงานที่บรรลุเป้าหมายที่คาดหวัง ถือว่าเป็นผลส�ำเร็จที่ เกิดขึ้น หรือเกิดประสิทธิผล ผลส�ำเร็จที่เกิดขึ้นเบื้องต้น อาจจะยังไม่ใช่ความส�ำเร็จ เพราะความส�ำเร็จจะเกิดขึ้น ได้ เมื่อผลส�ำเร็จนั้นจะต้องคงอยู่และคงทนต่อไปในอนาคตและเกิดความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง เมื่อมีการจัด กระท�ำซ�ำ ้ ผลทีเ่ กิดอาจเสือ่ มถอยหรืออาจยังเกิดผลต่อเนือ่ งและความพึงพอใจยังเกิดขึน้ อยู่ การคงอยูข่ องผลส�ำเร็จ เพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับสภาวะแวดล้อม ปัจจัยและการจัดกระท�ำนั้นๆ การพัฒนาจะถือว่ามีความยัง่ ยืน เป็นการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนได้นนั้ ผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องจะต้องมีการด�ำเนิน งานที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง แล้วยังคงเกิดผลลัพธ์ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายอย่างต่อเนื่องระยะยาว ๕.๑ ความหมายและหลักการของความยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) หมายถึง การด�ำเนินงานอย่างมีบูรณาการของ ผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องอย่างเป็นระบบโดยยึดแนวทางสายกลางทีก่ อ่ ให้เกิดผลลัพธ์อนั พึงประสงค์กบั กลุม่ เป้าหมายทัว่ ไป โดยผลทีเ่ กิดขึน้ มีความสมดุลเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมในปัจจุบนั และยังคงมีการด�ำเนิน งานที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่องสามารถพึ่งตนเองได้ (แม้ถอนเงินทุนและความช่วยเหลือออกแล้ว) โดยไม่บั่นทอน ศักยภาพของปัจจัย การด�ำเนินงานและสภาวะแวดล้อมของการสร้างผลลัพธ์นั้นอย่างต่อเนื่อง โดยผลที่เกิดขึ้น มีแนวโน้มของอัตราพัฒนาการอย่างก้าวหน้า (growth) สู่เป้าหมายระยะยาวในอนาคต ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓ กันยายน - ธันวาคม ๒๕๕๙
15
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
หลักการของการพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวพระราชด�ำริ จึงน่าจะประกอบด้วย ๑) ความยั่งยืนของการด�ำเนินงาน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง มีบูรณาการของอุดมการณ์ และความผูกพัน ของการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่อง - มีการด�ำเนินงานและความผูกพันร่วมกันของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง - มีความรู้ ความสามารถที่เพียงพอ - มีการปรับการด�ำเนินงานให้เหมาะสมกับสภาพการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและ สิ่งแวดล้อมที่แปรเปลี่ยนไป มีภูมิคุ้มกัน ๒) ความยั่งยืนของผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย - ผลลัพธ์คงอยู่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง - กลุ่มเป้าหมายมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น - มีพัฒนาการของผลลัพธ์ระยะยาว ๕.๒ การด�ำเนินงานและผลการด�ำเนินงานที่ยั่งยืน การด�ำเนินงานเพื่อให้เกิดผลการด�ำเนินงานที่ยั่งยืนตามแนวพระราชด�ำริ จึงน่าจะมีองค์ประกอบที่ ส�ำคัญ ได้แก่ การตอบสนองความต้องการจ�ำเป็นของกลุ่มเป้าหมาย การด�ำเนินงานอย่างเป็นระบบของผู้มีส่วน เกี่ยวข้องที่มีอุดมการณ์และความผูกพันร่วมกัน การเกิดผลลัพธ์อันพึงประสงค์ในปัจจุบัน และการเกิดผลลัพธ์ อันพึงประสงค์ระยะยาวในอนาคต ดังแสดงในแผนภาพที่ ๓ แผนภาพที่ ๓ การด�ำเนินงานและผลการด�ำเนินงานที่ยั่งยืน A. ความต้องการจำ�เป็น ของกลุ่มเป้าหมาย
B. การดำ�เนินงานอย่างเป็น ระบบของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง B๑. การดำ�เนินงานในสภาพ ปัจจุบัน B๒. การดำ�เนินงานระยะยาว ในอนาคต
C. ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ในปัจจุบัน
D. ผลลัพธ์อันพึงประสงค์ ระยะยาวในอนาคต
ข้อมูลย้อนกลับ
ข้อมูลย้อนกลับ
A. ความต้องการจ�ำเป็นของกลุ่มเป้าหมาย - ระบุความต้องการจ�ำเป็นของกลุ่มเป้าหมาย - วางแผนการด�ำเนินงานอย่างเป็นระบบ บูรณาการอุดมการณ์และความผูกพัน B. การด�ำเนินงานอย่างเป็นระบบของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง B๑. การด�ำเนินงานในสภาพปัจจุบัน - การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและชุมชน - การด�ำเนินงานอย่างมีบรู ณาการบนพืน้ ฐานของความรู้ (รอบรู,้ รอบคอบ, ระมัดระวัง) ความพอ ประมาณ การมีเหตุผล
16
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
- การบริหารอย่างมีธรรมาภิบาล (ซื่อสัตย์, สุจริต, ขยันอดทน, สติปัญญา, แบ่งปัน) และ การบริหารความเสี่ยง B๒. การด�ำเนินงานระยะยาวในอนาคต - การปรับการด�ำเนินงานให้เหมาะสมกับสภาพการเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม และมีภูมิคุ้มกัน - มีพัฒนาการของการด�ำเนินงาน - พึ่งตนเองได้ C. ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ในปัจจุบัน - ผลส�ำเร็จในปัจจุบัน (เกิดผลลัพธ์ที่คาดหวังและผลลัพธ์ที่ไม่ได้คาดหวังทางบวก) - มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มเป้าหมาย (การเรียนรู้, สุขภาวะ, รายได้ ฯลฯ) D. ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ในอนาคต - ผลส�ำเร็จในอนาคต (ผลส�ำเร็จที่คาดหวังและผลลัพธ์ที่ไม่ได้คาดหวังทางบวก: คงอยู่, ต่อเนื่อง, ระยะยาว) - มีพัฒนาการของผลลัพธ์ที่คาดหวัง (มีอัตราเพิ่มของพัฒนาการ) ๕.๓ โมเดลการประเมินผลการพัฒนาที่ยั่งยืน โมเดลการประเมินเพื่อตัดสินคุณค่าของการพัฒนาที่ยั่งยืน ส�ำหรับใช้เป็นแนวทางของการให้ข้อมูล ย้อนกลับส�ำหรับพัฒนาการปฏิบัติงานการติดตามผล และพัฒนาความยั่งยืน ควรได้พิจารณาถึงแนวปฏิบัติการ ประเมินที่ครอบคลุมองค์ประกอบของสิ่งที่มุ่งประเมิน วิธีการประเมิน และกรอบแนวคิดของการประเมิน ดังนี้ ๕.๓.๑ สิ่งที่มุ่งประเมิน (Evaluand) สิ่งที่มุ่งประเมินอาจเป็น กิจกรรม โครงการ แผนงาน นโยบาย องค์กร หรือ สถาบัน ซึง่ เมือ่ มีการจัดกระท�ำแล้ว ท�ำให้เกิดผลลัพธ์กบั กลุม่ เป้าหมาย โดยกลุม่ เป้าหมายเกิดการพัฒนาคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ ๕.๓.๒ วิธีการประเมิน (Method) - เน้นการประเมินผลลัพธ์ (Outcomes-Based Evaluation) เป็นการประเมินทีใ่ ห้ความส�ำคัญต่อกระบวนการทีท่ ำ� ให้เกิดผลลัพธ์กบั กลุม่ เป้าหมาย ผลลัพธ์ส�ำคัญที่ใช้เป็นตัวบ่งชี้ถึงผลส�ำเร็จของการด�ำเนินงาน มักให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนาของคุณภาพชีวิต เช่น การพัฒนาในด้านของการเรียนรู้ สุขภาวะ รายได้ เป็นต้น - ใช้รูปแบบการประเมินแบบผสานวิธี (Mixed Methods Evaluation) ในการติดตามผลการด�ำเนินงานและพัฒนาความยั่งยืน มีความจ�ำเป็นที่จะต้อง พิจารณาถึงผลลัพธ์อันพึงประสงค์ที่เกิดขึ้นในสภาพปัจจุบัน และผลลัพธ์อันพึงประสงค์ที่จะเกิดขึ้นระยะยาวใน อนาคต จึงควรออกแบบการประเมินที่ใช้ทั้งการประเมินย้อนอดีตและคาดการณ์อนาคต (Retrospective & Prospective Evaluation) - ใช้ผู้ประเมินภายในและภายนอก (Internal and External Evaluators) ในการวัดลัพธ์ที่เกิดจากการด�ำเนินงาน จะต้องอาศัยความเชี่ยวชาญของผู้ประเมิน ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓ กันยายน - ธันวาคม ๒๕๕๙
17
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
ภายนอกและการเข้าถึงข้อมูลในการปฏิบัติงานของผู้ประเมินภายใน ๕.๓.๓ กรอบแนวคิดของการประเมิน (Conceptual Framework) กรอบแนวคิดในการประเมินผลการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยการก�ำหนดวัตถุประสงค์ของ การประเมิน ตัวชี้วัด การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และเกณฑ์การประเมินเกี่ยวกับ ๑) การตอบสนองความต้องการจ�ำเป็นของกลุ่มเป้าหมาย ๒) กระบวนการด�ำเนินงานที่ได้มาตรฐานทั้งในปัจจุบันและอนาคต ๓) การเกิดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ทั้งในปัจจุบันและอนาคต มีรายละเอียดดังแสดงในตารางที่ ๑ ตารางที่ ๑ กรอบแนวคิดของการประเมินผลการพัฒนาที่ยั่งยืน วัตถุประสงค์ของ การประเมิน/ คำ�ถามการประเมิน
18
ตัวชี้วัด (Indicators)
การวิเคราะห์ ข้อมูล
เกณฑ์การประเมิน (Criterion)
๑. เพื่อประเมินความ ต้องการจำ�เป็นของกลุ่ม เป้าหมาย - กลุ่มเป้าหมายหลักของ โครงการมีความต้องการ จำ�เป็น (needs) อะไร บ้าง? ๒. เพื่อประเมินกระบวน การดำ�เนินงาน - การดำ�เนินงานใน ปัจจุบันของผู้มีส่วน เกี่ยวข้องมีความเหมาะ สมเพียงใด?
- วิเคราะห์ความ I๑๑= ความต้องการ - สอบถามสภาพ จำ�เป็นของกลุ่มเป้า ปัญหาและความ ต้องการจำ�เป็น หมายหลัก ต้องการจำ�เป็น ของกลุม่ เป้าหมาย ของกลุ่มเป้าหมาย
C๑๑= โครงการสนองตอบ ตรงความต้องการจำ�เป็น ของกลุ่มเป้าหมายหลัก
- การดำ�เนินงานใน ระยะเวลาต่อมาของผู้มี ส่วนเกี่ยวข้อง(อนาคต) มี การปรับปรุงให้เหมาะสม เพียงใด?
I๒๒= ความเหมาะ - สังเกตขั้นตอน สมในการดำ�เนิน การปฏิบัติงานใน งานของผู้มีส่วน ระยะเวลาต่อมา เกี่ยวข้องในระยะ (อนาคต) เวลาต่อมา (อนาคต)
I๒๑= ความเหมาะ สมในการดำ�เนิน งานของผู้มีส่วน เกี่ยวข้องในสภาพ ปัจจุบัน
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
การเก็บรวบรวม ข้อมูล
- สังเกตขั้นตอน การปฏิบัติงานใน ปัจจุบัน
- วิเคราะห์ C๒๑= กระบวนการดำ�เนิน กระบวนการปฏิบัติ งานในปัจจุบันมีมาตรฐาน - ผู้บริหารมีธรรมาภิบาล งานในปัจจุบัน (มีคุณธรรม มีความพอ ประมาณ) - มีการบริหารความเสี่ยง (มีภูมิคุ้มกัน) - ผู้ปฏิบัติมีความรู้ ความ เข้าใจที่ถูกต้อง และมี เหตุผล - วิเคราะห์ C๒๒= กระบวนการดำ�เนิน กระบวนการปฏิบัติ งานในอนาคตมีมาตรฐาน - ผู้บริหารมีธรรมาภิบาล งานในอนาคต และมีการบริหารความเสีย่ ง - ผู้ปฏิบัติมีความรู้ความ เข้าใจทีถ่ กู ต้องและมีเหตุผล - มีการปรับการดำ�เนินงาน ให้สอดคล้องกับสภาพ เศรษฐกิจ/สังคม/สิง่ แวดล้อม ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป มีภมู คิ มุ้ กัน - พึ่งตนเองได้
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
ตารางที่ ๑ กรอบแนวคิดของการประเมินผลการพัฒนาที่ยั่งยืน (ต่อ) วัตถุประสงค์ของ การประเมิน/ คำ�ถามการประเมิน
ตัวชี้วัด (Indicators)
๓. เพื่อประเมินผลลัพธ์ ในปัจจุบัน - ผลลัพธ์อันพึงประสงค์ที่ I๓๑= ผลผลิตที่เกิด เกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย ขึน้ ในปัจจุบัน ในปัจจุบันมีอะไรบ้าง? I๓๒= ผลลัพธ์ที่คาด หวัง
การเก็บรวบรวม ข้อมูล
การวิเคราะห์ ข้อมูล
เกณฑ์การประเมิน (Criterion)
- วัดผลผลิตที่เกิด ขึ้นในปัจจุบัน
- วิเคราะห์ผลผลิต C๓๑ = เกิดผลผลิตตามที่ ที่เกิดขึ้น คาดหวัง
- วัดผลลัพธ์ที่คาด หวัง
- วิเคราะห์ผลลัพธ์ C๓๒ = เกิดผลลัพธ์ตามที่ ที่คาดหวัง คาดหวัง
I๓๓= ผลลัพธ์ที่ไม่ได้ คาดหวัง
- วัดผลลัพธ์ที่ไม่ได้ คาดหวัง
- วิเคราะห์ผลลัพธ์ C๓๓ = เกิดผลลัพธ์ที่ไม่ได้ ที่ไม่ได้คาดหวัง คาดหวังทางบวก
I๓๔= ความพึงพอใจ
- วัดความพึงพอใจ
- วิเคราะห์ความ พึงพอใจ
๔. เพื่อประเมินผลลัพธ์ที่ เกิดขึ้นในระยะยาว - ผลลัพธ์อันพึงประสงค์ที่ I๔๑= ผลผลิตที่เกิดขึ้น เกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย ในอนาคต ในระยะยาวมีอะไรบ้าง? I๔๒= ผลลัพธ์ที่คาด หวัง I๔๓= ผลลัพธ์ที่ไม่ได้ คาดหวัง
C๓๔ = เกิดความพึงพอใจ
- วัดผลผลิตที่เกิด ขึ้นในอนคต
- วิเคราะห์ผลผลิตที่ C๔๑ = การคงอยู่/ต่อเนื่อง เกิดขึ้นในอนาคต ของผลผลิต
- วัดผลลัพธ์ที่คาด หวัง - วัดผลลัพธ์ที่ไม่ได้ คาดหวัง
- วิเคราะห์ผลลัพธ์ที่ คาดหวัง - วิเคราะห์ผลลัพธ์ที่ ไม่ได้คาดหวัง
I๔๔= ความพึงพอใจ
- วัดความพึงพอใจ
I๔๕= พัฒนาการของ ผลลัพธ์
- วัดพัฒนาการของ ผลลัพธ์
I๔๖= การถ่ายทอด ความสำ�เร็จ
- สอบถามผูเ้ กีย่ วข้อง ถึงเงือ่ นไขความสำ�เร็จ ของโครงการ
C๔๒ = การคงอยู่/ต่อเนื่อง ของผลลัพธ์ที่คาดหวัง C๔๓ = การคงอยู่/ต่อเนื่อง ของผลลัพธ์ที่ไม่คาดหวัง ทางบวก - วิเคราะห์ความพึง C๔๔ = การคงอยู่/ต่อเนื่อง พอใจ ของความพึงพอใจ - วิเคราะห์อัตรา C๔๕ = เกิดการพัฒนาอย่าง พัฒนาการของ ก้าวหน้าของผลลัพธ์ ผลลัพธ์ - วิเคราะห์ความ C๔๖ = สามารถถ่ายทอด สามารถในการ ความสำ�เร็จไปประยุกต์ใช้ ถ่ายทอดความสำ�เร็จ ในแผนงาน โครงการอื่น
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓ กันยายน - ธันวาคม ๒๕๕๙
19
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
๖. การวิจัยทางสังคมศาสตร์ส�ำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน การปฏิรูปประเทศไทยสู่ประเทศไทย ๔.๐ โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและความก้าวหน้า ของเทคโนโลยีเพื่อให้เกิดการพัฒนาประเทศไทย ๔.๐ ที่มีความยั่งยืนได้นั้น ตามแนวพระราชด�ำริเกี่ยวกับ “เศรษฐกิจพอเพียง” ซึง่ ประกอบด้วย ๓ องค์ประกอบ กับ ๒ เงือ่ นไข ส�ำหรับใช้ในการตัดสินใจและด�ำเนินการต่างๆ จะต้องอยู่บนพื้นฐานของความรู้ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ที่จะต้องน�ำมาบูรณาการเชื่อมโยง เพื่อประกอบการ วางแผนและการปฏิบัติที่ตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความเพียรและใช้สติปัญญา องค์ความรู้พื้นฐานที่เพียงพอต่อการวางแผนและการด�ำเนินงานอย่างพอประมาณ มีเหตุผล และมี ภูมคิ มุ้ กันนัน้ ส่วนหนึง่ น่าจะเป็นองค์ความรูท้ มี่ าจากการวิจยั ทีน่ า่ เชือ่ ถือ ส�ำหรับใช้ขบั เคลือ่ นการปฏิรปู ประเทศไทย สู่เป้าหมาย หัวข้อวิจัยที่ควรน�ำมาพิจารณาดังตัวอย่าง ด้านเศรษฐกิจ เช่น - การพัฒนาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ของยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) : ยุทธศาสตร์ ประเด็นการพัฒนา ตัวบ่งชี้ และแผนการด�ำเนินงาน - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทฤษฎีใหม่ ส�ำหรับการพัฒนาประเทศไทยอย่างยั่งยืน: ยุทธศาสตร์ การบูรณาการของการพัฒนาที่ยั่งยืนระดับชุมชน จังหวัด และประเทศ - เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาที่ยั่งยืน: ปรัชญา หลักการ แนวปฏิบัติและการปรับตัวภายใต้ กระแสโลกาภิวัตน์ (การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดล้อม) และการใช้เทคโนโลยียุคใหม่ ที่เหมาะสม - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการสร้างเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม ด้านสังคม เช่น - การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ความมั่นคงของสังคมไทย: การพัฒนาตน ครอบครัว ชุมชน และสังคม - คุณภาพชีวิตที่เหมาะสมส�ำหรับคนไทยในบริบทของสังคมโลก - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: การพัฒนาชุมชนวิจัยเพื่อแก้ปัญหาของชุมชน - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: ยุทธศาสตร์ของการพัฒนาแบบบูรณาการโดยการเชื่อมโยงการพัฒนา ทรัพยากรบุคคล เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: การพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่น
ด้านการเมือง เช่น - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: ดุลยภาพระหว่างอ�ำนาจนิตบิ ญ ั ญัต ิ อ�ำนาจบริหาร และอ�ำนาจตุลาการ - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: กลยุทธ์การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: การสร้างเสริมคุณธรรมของนักการเมือง นักธุรกิจและข้าราชการ - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: การสร้างเสริมคุณภาพนักการเมืองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ด้านการศึกษา เช่น - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: การสร้างเสริมความรู้และคุณธรรมของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการ ศึกษาและนักเรียน
20
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
- การประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการเรียนรู้ของนักเรียนไทยส�ำหรับศตวรรษที่ ๒๑ - การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับพัฒนาการเรียนรู้ที่ยั่งยืนตลอดชีวิตส�ำหรับผู้เรียน ระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษาและอุดมศึกษา ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์
ด้านการสาธารณสุข เช่น - หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับการสร้างเสริมสุขภาวะของคนไทย - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: การสร้างเสริมสังคมคุณภาพของผู้สูงวัย - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: ภูมิปัญญา อาหาร การบริโภค การออกก�ำลังกายและสุขภาพ
ด้านสิ่งแวดล้อม เช่น - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: การบริหารจัดการทรัพยากรของประเทศแบบบูรณาการใน ๖ มิติ - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: การพัฒนาองค์ความรู้เพื่อจัดการทรัพยากรของชุมชนอย่างยั่งยืน - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: ภูมิปัญญาท้องถิ่นเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
เอกสารอ้างอิง พระบรมราโชวาทในพิธพี ระราชทานปริญญาบัตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม 2517 (http://www.sa.ku.ac.th/king-spku/2517-1.htm) มูลนิธิชัยพัฒนา. (http://www.chaipat.or.th/). มูลนิธิพระดาบส. (http://phradabos.or.th/). มูลนิธปิ ดิ ทองหลังพระ. สืบสานแนวพระราชด�ำริ. (2554). กทม. สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ: สืบสานแนวพระราชด�ำริ. วิ กิ พี เ ดี ย , เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง. (https://th.wikipedia.org/w/index.php/title=เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง) (21 สิงหาคม 2559). ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, เอกสารสรุปสาระส�ำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9, 10, 11, และ 12. (http://www.nesdb.go.th). สุเมธ ตันติเวชกุล. (2557). ตามรอยพระยุคลบาท: ครูแห่งแผ่นดิน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กทม: ส�ำนักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓ กันยายน - ธันวาคม ๒๕๕๙
21
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
สรุปสาระการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2559 สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย วันศุกร์ที่ 7 ตุลาคม 2559 เวลา 12.05 - 12.20 น. ณ ห้องประชุม 401 อาคารประชุมสุข อาชวอ�ำรุง คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การด�ำเนินงานของสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ในช่วงระยะเวลาวันที่ 8 ตุลาคม 2558 ถึง วันที่ 6 ตุลาคม 2559 ภายใต้การบริหารงานของคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ น�ำโดยศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี นายกสมาคมฯ และคณะกรรมการฯ ชุดปัจจุบัน (วาระ 25 ตุลาคม 2558 - 24 ตุลาคม 2560) จ�ำนวนรวม 19 ท่าน ได้ด�ำเนินการบริหารสมาคมฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสมาคมฯ โดยมีกิจกรรม ดังนี้ 1) จัดประชุมประจ�ำเดือนของคณะกรรมการบริหารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2559 คณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ชุดปัจจุบนั ได้จดั ประชุมเป็นประจ�ำอย่างต่อเนือ่ ง เพื่อพิจารณาวางแผนและด�ำเนินงานตามภารกิจต่าง ๆ ของสมาคมฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัด ตั้งสมาคมฯ จ�ำนวน 6 ครั้งในรอบหนึ่งปี ณ ห้องประชุมชมรมบุคลากรชั้น 1 อาคารพระมิ่งขวัญการศึกษาไทย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2) การประชาสัมพันธ์รับสมาชิกใหม่และการปรับปรุงระเบียนสมาชิก สมาคมวิจัยฯ ได้ด�ำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์การรับสมัครสมาชิกใหม่ผ่านทางสื่อสังคม ออนไลน์ (social media) เพิ่มมากขึ้นเพื่อให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล สมาคมฯ ได้ด�ำเนินการจัด เก็บข้อมูลสมาชิกในรูปแบบออนไลน์ ซึ่งง่ายและสะดวกต่อการบริหารจัดการ โดยมีการป้องกันการเข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รบั อนุญาตด้วยรหัสผ่าน ในส่วนของ บัตรสมาชิกสมาคมฯ ได้ยกเลิกการใช้งานบัตรสมาชิกแบบแถบแม่เหล็ก เนื่องจากปัจจุบันประเทศไทยก�ำลังก้าวเข้าสู่ประเทศไทย 4.0 ซึ่งเป็นยุคดิจิทัล ดังนัน้ เพือ่ ให้สอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบนั จึงมีมติเปลีย่ นบัตรสมาชิกให้ อยู่ในรูปแบบดิจิทัล โดยบัตรสมาชิกจะด�ำเนินการจัดส่งให้สมาชิกทาง e-mail หลังจากได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ เพื่อใช้ยืนยันสิทธิ์รับ ส่วนลดส�ำหรับค่าลงทะเบียนในการเข้าร่วมอบรมทางวิชาการกับสมาคมฯ โดย ตัวอย่างบัตรสมาชิกแสดงดังภาพ ส�ำหรับการปรับปรุงระเบียนสมาชิกได้เก็บรวบรวมข้อมูลสมาชิก ในระบบออนไลน์ ท�ำให้ง่ายต่อการบริหารจัดการและตรวจสอบ ซึ่งมีระบบ รักษาความปลอดภัยข้อมูลด้วยวิธีการก�ำหนดรหัสผ่านส�ำหรับเจ้าหน้าที่ โดย ผลการปรับปรุงระเบียนสมาชิก มีจำ� นวนสมาชิกทัง้ หมด 1,534 คน ซึง่ มีสมาชิกใหม่ในปี พ.ศ. 2559 เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 37 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 6 ตุลาคม 2559)
22
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
3) การบรรยายทางวิชาการเพื่อประโยชน์สาธารณะ สมาคมวิจัยฯ ได้จัดให้มีการบรรยายทางวิชาการเพื่อประโยชน์สาธารณะ ประจ�ำปี 2559 ทั้งใน กรุงเทพมหานคร และภูมิภาคต่าง ๆ โดยร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกส่วนภูมิภาคเพื่อให้สมาคมฯ เป็นองค์กร สื่อกลางทางวิชาการด้านสังคมศาสตร์ และเป็นแหล่งเผยแพร่แนวคิดที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงสังคมไทยให้ แก่ นิสิตระดับปริญญาบัณฑิต นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา คณาจารย์ และผู้สนใจทั่วไปจ�ำนวน 4 ครั้ง ดังนี้ 1) เทคนิคการวิจยั และการเลือกใช้สถิตทิ เี่ หมาะสม โดย ศ.ดร.ศิรชิ ยั กาญจนวาสี รศ.ดร.ดิเรก ศรีสโุ ข และ รศ.ดร.ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์ ณ มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2559 2) ข้อสอบอัตนัย: การสร้าง การวิเคราะห์ และการตรวจอย่างเป็นปรนัย โดย ศ.ดร.ศิรชิ ยั กาญจนวาสี รศ.ศิลปชัย บูรณพานิช และ รศ.ศักดา บุญยไวโรจน์ณ ณ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษา จังหวัดสระบุรี เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2559 3) การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมส�ำหรับการวิจัย โดย ศ.ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี และ อ.ดร.สุพจน์ เกิดสุวรรณ ส�ำหรับส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ณ โรงแรมอะเดรียติคพาเลส เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2559 4) เทคนิคการสร้างและตอบข้อสอบอัตนัยเพื่อพัฒนาระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โดย ศ.ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี รศ.ศิลปชัย บูรณพานิช และ รศ.ศักดา บุญยไวโรจน์ ณ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การ ประถมศึกษา จังหวัดสิงห์บุรี เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2559 4) โครงการอบรมทางวิชาการของสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย สมาคมวิจัยฯ ได้จัดอบรมทางวิชาการประจ�ำปี 2559 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึก อบรมได้รับความรู้ และความเข้าใจในการวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านสังคมศาสตร์เพื่อให้เกิดการแลก เปลีย่ นเรียนรูใ้ นศาสตร์การวิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยสถิตวิ เิ คราะห์ขนั้ พืน้ ฐานและขัน้ สูงทางสังคมศาสตร์ และเพือ่ เป็นการ บริการวิชาการแก่บุคลากรในหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ณ โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน ถึง 17 กรกฎาคม 2559 จ�ำนวน 4 หลักสูตร ประกอบด้วย หลักสูตร 1 การวิจัยแบบผสมวิธี (Mixed Methods Research) โดย รศ.ดร.ดุษฎี โยเหลา และคณะ เมื่อวันที่ 18-19 มิถุนายน 2559 มีผู้เข้าอบรม จ�ำนวน 29 คน หลักสูตร 2 การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเบื้องต้นส�ำหรับการวิจัย (SPSS) โดย รศ.ดร.อวยพร เรืองตระกูล และคณะเมื่อวันที่ 2-3 กรกฎาคม 2559 มีผู้เข้าอบรม จ�ำนวน 17 คน หลักสูตร 3 สถิตขิ นั้ สูงสําหรับการวิจยั : การวิเคราะห์องค์ประกอบและการวิเคราะห์โมเดลเชิงสาเหตุ (LISREL) โดย รศ.ดร.วรรณี แกมเกตุ และคณะเมือ่ วันที่ 9-10 กรกฎาคม 2559 มีผเู้ ข้าอบรม จ�ำนวน 47 คนและ หลักสูตร 4 สถิติขั้นสูงสําหรับการวิจัย : การวิเคราะห์โมเดลเชิงสาเหตุพหุระดับ (MPLUS) โดย ดร.ชยุตม์ ภิรมย์สมบัติ และคณะเมื่อวันที่ 16-17 กรกฎาคม 2559 มีผู้เข้าอบรม จ�ำนวน 50 คน มีผู้เข้ารับการอบรมทุกหลักสูตรรวม 143 คน มีความพึงพอใจต่อการจัดอบรมในหลักสูตรต่าง ๆ ของสมาคมวิจัยฯ อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓ กันยายน - ธันวาคม ๒๕๕๙
23
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
5) โครงการจัดท�ำสารสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย สมาคมวิจยั ฯ ได้จดั ท�ำสารสมาคมวิจยั สังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เผยแพร่ ความรู้ แนวคิด ผลงานและส่งข่าวสารความเคลือ่ นไหวของสมาคมวิจยั ฯ และเพือ่ เป็นศูนย์กลางแลกเปลีย่ นความรู้ ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะเกีย่ วกับการวิจยั ทางสังคมศาสตร์ในรอบปี 2559 ได้จดั ท�ำสารสมาคมฯ จ�ำนวน 3 ฉบับ คือ ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2558 โดยจัดพิมพ์ทงั้ หมด 1,000 เล่ม ส�ำหรับสารสมาคมปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน) 2559 และปีที่ 3 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม) 2559 ทั้งนี้สมาคมวิจัยฯ ได้ปรับเปลี่ยน รูปแบบวารสารสมาคมฯ จากการจัดพิมพ์เป็นรูปเล่มเป็นการเผยแพร่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ผ่านทาง เว็บไซต์ www.ssrat.or.th และwww.facebook.com/สมาคมวิจยั สังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย เนือ่ งจากปัจจุบนั เป็นยุคของการสื่อสารในยุคดิจิทัล ดังนั้นการจัดพิมพ์เผยแพร่เป็นรูปเล่มอาจเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้น้อยกว่าการ เผยแพร่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ด้วยเหตุนี้สมาคมวิจัยฯ จึงได้ปรับรูปแบบการเผยแพร่วารสารสมาคมฯ เป็นรูป แบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยจุดเด่นของวารสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ คือ รูปแบบเป็นสีทั้งเล่มและผู้อ่านสามารถ บันทึกวารสารสมาคมฯ เก็บไว้ใช้ในการอ้างอิงต่อไปได้อย่างสะดวก นอกจากนี้ผู้อ่านสามารถเปิดวารสารสมาคมฯ ผ่านอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ตา่ งๆ เช่น สมาร์ทโฟน (smart phone) แทปเล็ต (tablet) ไอแพด (Ipad) ซึง่ ถือเป็นช่อง ทางที่ผู้อ่านหนังสือในปัจจุบันส่วนใหญ่ใช้ เนื่องจากสามารถอ่านได้ทุกที่ทุกเวลา ยิ่งไปกว่านั้นการเผยแพร่วารสาร ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ยังสะดวกในการเผยแพร่ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ (social media) ซึ่งช่วยกระจายข่าวสาร ของสมาคมฯ ให้ขยายวงกว้างและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น 6) โครงการจัดท�ำวารสารการวิจัยสังคมศาสตร์ ของสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย สมาคมวิจัยฯได้จัดวารสารการวิจัยสังคมศาสตร์ ของสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ปี 2559 เพื่อเป็นแหล่งเผยแพร่องค์ความรู้ด้านการวิจัยทางสังคมศาสตร์แก่สมาชิกและผู้สนใจทั่วไป โดยปัจจุบัน สมาคมวิจยั สังคมศาสตร์แห่งประเทศไทยได้ปรับเปลีย่ นรูปแบบวารสารสมาคมฯ จากการจัดพิมพ์เป็นรูปเล่มเป็นการ เผยแพร่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เช่นเดียวกับสารสมาคมวิจัยฯ 7) โครงการประชุมทางวิชาการและเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรรระดับชาติ: การวิจัยเพื่อพัฒนา การศึกษาและสังคม สมาคมวิจัยฯ ได้จัดโครงการ “การประชุมทางวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรรระดับ ชาติ: ปฏิรูปประเทศไทย: สู่ประเทศไทย 4.0 กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดประชุมทาง วิชาการ เผยแพร่ผลงานวิจยั คัดสรร และประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2559 ของสมาคมวิจยั ฯ เพือ่ น�ำเสนอประเด็น ยุทธศาสตร์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างเครือข่ายเกี่ยวกับการปฏิรูปประเทศไทยสู่ประเทศไทย 4.0 กับการพัฒนา ทีย่ ง่ั ยืนเพือ่ เผยแพร่ผลงานวิจยั ทีม่ คี ณ ุ ภาพเกีย่ วกับการปฏิรปู ประเทศไทยกับการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน และเพือ่ แลกเปลีย่ น เรียนรูแ้ ละสร้างเครือข่ายนักวิจยั ทางด้านสังคมศาสตร์โดยมีการบรรยายทางวิชาการเกีย่ วกับการปฏิรปู ประเทศไทย กับการพัฒนาที่ยั่งยืนยุคประเทศไทย 4.0 การน�ำเสนอผลงานวิจัยคัดสรร และประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2559 ในวันศุกร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ณ ห้องประชุม 401 อาคารประชุมสุข อาชวอ�ำรุง (อาคาร 3) คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
24
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
นอกจากนี้ทางสมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย ได้ลงนามความร่วมมือและประสาน ประโยชน์ร่วมกันกับส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) และสถาบัน ระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน) เพื่อสนับสนุนการเสริมสร้างศักยภาพและเพิ่มพูน สมรรถนะให้แก่บุคลากรของประเทศไทย ในมิติด้านการวิจัยและการพัฒนา ตลอดจนสนับสนุนการเสริมสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันและพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้วยการบูรณาการกิจกรรมทางวิชาการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตลอดจนการถ่ายทอดองค์ความรู้ผ่านกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันระหว่างองค์กร ในการประชุมทางวิชาการฯ ครั้งนี้ มีผู้สนใจเข้าร่วมจ�ำนวน 90 คน เป็นสมาชิกสมาคมวิจัยฯ จ�ำนวน 42 คน นักวิจัย ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา นิสิต/นักศึกษาจากสถาบันการศึกษาทุกระดับทั้ง ภาครัฐและเอกชน รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป จ�ำนวน 48 คน
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓ กันยายน - ธันวาคม ๒๕๕๙
25
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
การประชุมวิชาการและเผยแพร่ผลการวิจัยระดับชาติ ประจ�ำปี พ.ศ. 2559 สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย วันศุกร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ณ ห้องประชุม 401 อาคารประชุมสุข อาชวอ�ำรุง (อาคาร 3) คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
26
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
ภาพกิจกรรมวิชาการของสมาคมฯ
ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓ กันยายน - ธันวาคม ๒๕๕๙
27
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
คณะกรรมการบริหาร สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย (25 ตุลาคม 2558 - 24 ตุลาคม 2560) 1. ศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี 2. รองศาสตราจารย์ ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ 3. รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริเดช สุชีวะ 4. รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณี แกมเกตุ 5. รองศาสตราจารย์ ดร.โชติกา ภาษีผล 6. รองศาสตราจารย์ ศักดา บุญยไวโรจน์ 7. รองศาสตราจารย์ ศิลปชัย บูรณพานิช 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติมา สุรเศรษฐ 9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุวิมล กฤชคฤหาสน์ 10. อาจารย์ ดร.ชนิศา ตันติเฉลิม 11. อาจารย์ ดร.สุพจน์ เกิดสุวรรณ์ 12. อาจารย์ ดร.คมศร วงษ์รักษา 13. พลต�ำรวจตรี ดร.กิจพิณิฐ อุสาโห 14. รองศาสตราจารย์ ดร.ดวงกมล ไตรวิจิตรคุณ 15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์ 16. ดร.ณภัทร ชัยมงคล 17. อาจารย์ ดร.กมลทิพย์ ศรีหาเศษ 18. นางพรทิพย์ เฟื่องฟู 19. อาจารย์ สุกัญญา บุญศรี
นายกสมาคม อุปนายก กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและปฏิคม กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและประชาสัมพันธ์ กรรมการและนายทะเบียน กรรมการและสาราณียกร กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
ปล. นายทะเบียนสมาคม กรุงเทพมหานคร ได้รับจดทะเบียนการแต่งตั้งกรรมการขึ้นใหม่ทั้งชุดของสมาคมฯ ตามมาตรา 85 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้ว ตามทะเบียนเลขที่ จ.1378/2558 ณ วันที่ 9 ธันวาคม 2558
28
สมาคมวิจัยสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย