อนุมานวสาร ฉบับที่ ๒๙

Page 1

ฉบับที่ ๒๙ / มกราคม ๒๕๖๐ - ธันวาคม ๒๕๖๔


ฉบั​ับปี​ี ๒๕๕๐

ฉบั​ับ ๑ เม.ย.-มิ​ิ.ย. ๒๕๕๐

ฉบั​ับปี​ี ๒๕๕๑

ฉบั​ับ ๒ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๐

ฉบั​ับ ๓ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๐

ฉบั​ับ ๔ ม.ค.-มี​ี.ค. ๒๕๕๑

ฉบั​ับปี​ี ๒๕๕๑

ฉบั​ับ ๕ เม.ย.-พ.ค. ๒๕๕๑

ฉบั​ับ ๖ มิ​ิ.ย.-ก.ค. ๒๕๕๑

ฉบั​ับปี​ี ๒๕๕๑

ฉบั​ับ ๘ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๑

ฉบั​ับ ๗ ส.ค.-ก.ย. ๒๕๕๑ ฉบั​ับปี​ี ๒๕๕๒

ฉบั​ับ ๙ ม.ค.-ก.พ. ๒๕๕๒

ฉบั​ับ ๑๐ มี​ี.ค. เม.ย. ๒๕๕๒


1


จั ด ทํ า โ ด ย ก อ ง ทุ น อ นุ ม า น ว ส า ร ที่ ป รึ ก ษ า สุเมธ ตันติเวชกุล

(โอวี ๓๐) วิโรจน์ นวลแข

(โอวี ๓๗)

(โอวี ๔๔) ม.ล.จิรเศรษฐ ศุขสวัสดิ์

(โอวี ๔๖)

ม.ล.ชัยนิมิตร นวรัตน

(โอวี ๓๗) ยอดชาย ขันธชวนะ

กุลวิทย์ เลาสุขศรี

โอวี ๕๗) ประชา ศรีธวัชพงศ์ (โอวี ๖๐) อโนมา ศุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา

บรรยง พงษ์พานิช

วีรยุทธ โพธารามิก

(โอวี ๔๔)

(โอวี ๕๙)

ก อ ง บ ร ร ณ า ธิ ก า ร ฉ บั บ ที่ ๒ ๙ บรรณาธิการอำ�นวยการ: ม.ล.จิรเศรษฐ ศุขสวัสดิ์ (โอวี ๔๖)

บรรณาธิการ: อาทิตย์ ประสาทกุล (โอวี ๗๑), กิตติเดช ฉันทังกูล (โอวี ๗๓), ศศินทร์ วิทูรปกรณ์ (โอวี ๗๙)

บรรณาธิการศิลปกรรม: ปริญญา ยุวเทพากร (โอวี ๗๗), ปฏิภาณ สานแสงอรุณ ตรวจทาน: ศิริชัย กาญจโนภาส และ น.ต. สถาพร อยูเ่ ย็น (โอวี ๗๖), ปริญญา ยุวเทพากร (โอวี ๗๗) บัญชีและการเงิน: อภิพงศ์ พงศ์เสาวภาคย์ (โอวี ๗๑) โฆษณา: สุทธิพงษ์ ลิ้มสุขนิรันดร์ (โอวี ๗๓) พิมพ์ท:ี่ พี. เพรส. (โทร.๐๒-๗๔๒-๔๗๕๔)

ภาพหน้​้าปก:

ชวลิ​ิต เสริ​ิมปรุ​ุงสุ​ุข (โอวี​ี ๒๖)

ภาพถ่​่ายและตกแต่​่งภาพโดย: ณั​ัฏฐ์​์ ไกรฤกษ์​์ (โอวี​ี ๗๒)

ติ ด ต่ อ

เฟซบุค ๊ : Anuman-OV อีเมล: ovnewsletter@yahoo.com

2


ส า ร บั ญ ห้​้องเพรบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๔ ผู้​้�บั​ังคั​ับการวชิ​ิราวุ​ุธฯ คนใหม่​่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๕ นายเกี​ียรติ​ิคุณ ุ ชาติ​ิประเสริ​ิฐ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๕ พระยาจิ​ินดารั​ังสรรค์​์ (ปลั่​่�ง วิ​ิภาตะศิ​ิลปิ​ิน) สถาปนิ​ิกผู้​้�ออกแบบหอประชุ​ุมและคณะทั้​้�งสี่​่�ของวชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัย . . . . . . . . . . . . . . ๖ ศิ​ิลป์​์ของศิ​ิลปิ​ิน ชี​ีวิ​ิตที่​่�ผ่า่ นมาของ ชวลิ​ิต เสริ​ิมปรุ​ุงสุ​ุข . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๑๐ “ต้​้องรอด” . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๒๗ ประสบการณ์​์กั​ับท่​่านท้​้าวหิ​ิรัญ ั ฮู​ู . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๒๙ วชิ​ิราวุ​ุธ ในความทรงจำำ�ของหม่​่อมเจ้​้าพิ​ิริย ิ ดิ​ิศ ดิ​ิศกุ​ุล . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๓๔ งานคณะ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๔๒ วงโยฯ กั​ับ วงปี่​่� ฯ อะไรเกิ​ิดก่​่อนกั​ัน? . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๔๗ วงหั​ัสฯ ในฝั​ัน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๕๒ โล่​่กี​ีฬา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๕๔ ทางของชี​ีวิ​ิต ดร.ประสาร ไตรรั​ัตน์​์วรกุ​ุล . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๕๘ แผงคอมหาดเล็​็กวิ​ิเศษ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๖๙ ไอ้​้เตาเล่​่าเรื่​่�อง เด็​็กเกเรเด็​็กกวนตี​ีนสมั​ัยอยู่​่�วชิ​ิราวุ​ุธฯ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๗๒ พี่​่�โรมกั​ับความทรงจำำ�กั​ับพระยาภะรตราชา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๗๖ ครู​ูเสรี​ี ปั​ัจจั​ักขะภั​ัติ​ิ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๘๑ ดร. ไนล์​์ เรย์​์ สโปลสตร้​้า . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๘๔ ทรั​ัพย์​์สิน ิ พระราชทานสำำ�หรับ ั วชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๙๑ นที​ี เกวลกุ​ุล ประติ​ิมากรเอกแห่​่งการแกะสลั​ักหิ​ินอ่​่อน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ๙๙ การบรรยายเรื่​่�อง อาคารนวมภู​ูมิ​ินทร์​์ โดย นิ​ิธิ​ิ สถาปิ​ิตานนท์​์ . . . . . . . . . . . . . . . .๑๐๔ หมอยุ​ุทธฯ เล่​่าเรื่​่�อง เด็​็กเลี้​้�ยงแพะ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .๑๑๔ เหงาเมื่​่�อไหร่​่ ก็​็แวะมา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .๑๑๗ The Garrison Bangkok . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .๑๑๙

3


ห้​้องเพรบ ก่​่อนอื่​่�น ผมต้​้องขออภั​ัยเป็​็นอย่​่างยิ่​่�ง

นะครั​ั บ ที่​่� มี​ี ส มาชิ​ิ ก หลายคนถามว่​่ า หนั​ั ง สื​ือ

อีกประเด็นที่เราคุยกัน คอ ื หากสมาชิก

ยั ง คงอยากให้ ที ม อนุ ม านท�ำต่ อ เราจะท�ำใน

อนุ​ุมานวสารเล่​่มหน้​้าจะออกเมื่​่�อไร เลิ​ิกหนั​ังสื​ือ

รูปแบบใด เพราะคนอ่านหนังสือน้อยลง และ

ขอบคุ​ุณทุ​ุกท่​่านที่​่�ยังั นึ​ึกถึ​ึงหนั​ังสื​ืออนุ​ุมานวสาร

รู ปหนังสืออิ เลคโทรนิค หรือท�ำบทความลง

ไปแล้​้วหรื​ือ อยากให้​้ทำำ�หนั​ังสื​ืออี​ีกนะ ต้​้องขอ

มีหนังสือดีๆ หลายเล่มที่ปิดตัวไป ถ้าจะท�ำใน

อยู่​่�นะครั​ับ อยากเรี​ียนท่​่านผู้​้�อ่​่านว่​่าอั​ันที่​่�จริ​ิง

ในสื่อออนไลน์ท้ั งหลาย ทางที มก็ ไม่มีความ

พบปะพู​ูดคุ​ุยกั​ันอยู่​่�เสมอ หากแต่​่ทีม ี งานของเรา

กลุ่มที่เขียนเรื่องลงทางสื่อนี้เป็นจ�ำนวนมาก

แล้​้วที​ีมงานอนุ​ุมานวสารยั​ังเหนี​ียวแน่​่น มี​ีการ

หลายคนก็​็มี​ีภารกิ​ิจมากขึ้​้�น บ้​้างก็​็มี​ีครอบครั​ัว

ช�ำนาญทางด้านนี้ และก็มีสมาชิกโอวีหลาย

อยูแ ่ ล้ว เราควรท�ำหนังสือกันต่อหรือไม่ การท�ำ

การทิ้​้�งช่​่วงของการทำำ�หนังั สื​ือก็​็เป็​็นเหตุ​ุตามมา

หนั​ังสื​ือฉบั​ับนี้​้� เราจึ​ึงจะจั​ัดพิ​ิมพ์​์จำำ�นวนไม่​่เกิ​ิน

สู​ูญหายบ้​้าง ต้​้องขออภั​ัยด้​้วยใจจริ​ิงกั​ับผู้​้�ที่​่�เรา

เงิ​ินค่​่าทำำ�ต้น ้ ฉบั​ับและค่​่าจั​ัดพิ​ิมพ์​์เอง เพื่​่�อมอบ

ของการทำำ�ต้น ้ ฉบั​ับ ทั้​้�งการถอดเทปและรู​ูปถ่​่าย สั​ัมภาษณ์​์ไว้​้ แต่​่ยังั ไม่​่ได้​้ลงหนั​ังสื​ือนะครั​ับ

เมื่อไม่นานมานี้ ทีมงานได้กลับมารวม

ตั วกั นอี กครั้งหนึ่ง เพื่อตรวจดูบทสัมภาษณ์

๑,๒๐๐ เล่​่ม โดยทางที​ีมอนุ​ุมานวสารจะออก

ไว้​้กั​ับทางโรงเรี​ียนจำำ�นวน ๙๐๐ เล่​่ม และลง หนั​ังสื​ือในสื่​่�อในรู​ู ปแบบ e-book ในอนุ​ุมาน

ออนไลน์​์ (fb : Anuman-OV) หากมี​ี ผู้​้� ใ ด

และบทความที่ นั ก เขี ย นหลายท่ า นได้ เ ขี ย น

สนใจหรื​ือหากมี​ีสมาชิ​ิกโอวี​ีท่​่านใด ต้​้องการ

สั ก เล่ ม หรื อ ไม่ เรามาออกหนั ง สื อ ที่ เ รี ย กว่ า

ขอหนั​ั ง สื​ือได้​้ ที่​่� ที​ี ม งานอนุ​ุ ม านวสาร อี​ี เ มล:

มาส่ ง ไว้ ว่ า มี ม ากพอที่ จ ะท�ำเป็ น หนั ง สื อ อี ก

“ทิ้ ง ทวน” ซึ่ ง อาจจะเป็ น เล่ ม สุ ด ท้ า ยที่ เ รา

จะท�ำ ท�ำได้แค่ไหนก็แค่น้ัน หนังสืออนุมาน

เล่มนี้จึงถือว่า ไร้รูปแบบ บทความอาจจะไม่

ครบตามที่เคยท�ำมา

หนั​ังสื​ือฉบั​ับนี้​้�แบบเป็​็นรู​ู ปเล่​่ม ขอให้​้เขี​ียนมา ovnewsletter@yahoo.com ขอบคุ​ุณครั​ับ

เขี​ียนโดย: ม.ล.จิ​ิรเศรษฐ ศุ​ุขสวั​ัสดิ์​์� (โอวี​ี ๔๖)

4


ผูบ ้ ังคับการวชิราวุธฯ คนใหม่ นายเกียรติคณ ุ ชาติประเสริฐ เมื่​่� อวั​ั นที่​่� ๒๖ กุ​ุ ม ภาพั​ั น ธ์​์ ๒๕๖๔

ณ หอประชุ​ุมวชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัย นายเกี​ียรติ​ิคุ​ุณ

ชาติ​ิประเสริ​ิฐ ได้​้รั​ับพระบรมราชานุ​ุมั​ัติ​ิแต่​่งตั้​้�ง

ให้​้เป็​็นผู้​้�บั​ังคั​ับการวชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัยคนใหม่​่ โดย

จะเข้​้ามารั​ับตำำ�แหน่​่งเป็​็นผู้​้�บั​ังคั​ับการคนที่​่� ๑๑

ต่​่ อ จาก ผู้​้�ช่​่ ว ยศาสตราจารย์​์ สุ​ุ ร วุ​ุ ธ กิ​ิ จ กุ​ุ ศ ล

ที่​่�ปฏิ​ิบัติ ั ิหน้​้าที่​่�ครบวาระ ๕ ปี​ีแล้​้ว

นายเกี​ียรติ​ิคุณ ุ เป็​็นนั​ักเรี​ียนเก่​่าวชิ​ิราวุ​ุธ

วิ​ิทยาลั​ัย รุ่​่�นที่​่� ๕๐ (เพื่​่�อนร่​่วมรุ่​่�นและร่​่วมคณะ

พญาไทกั​ับ ผศ.สุ​ุรวุ​ุ ธ) หลั​ังจากจบการศึ​ึกษา ระดั​ับมั​ัธยมปลายที่​่�โรงเรี​ียนแล้​้ว ได้​้เข้​้าศึ​ึกษาที่​่�

คณะรั​ัฐศาสตร์​์ จุ​ุฬาลงกรณ์​์มหาวิ​ิทยาลั​ัย จากนั้​้�น

ได้​้เดิ​ินทางไปศึ​ึกษาระดั​ับปริ​ิญญาโทด้​้านความ

สั​ั ม พั​ั น ธ์​์ ร ะหว่​่ า งประเทศที่​่� The Australian

National University ประเทศออสเตรเลี​ีย

เมื่​่�อจบการศึ​ึกษาแล้​้ ว นายเกี​ี ยรติ​ิ คุ​ุณ

ได้​้เข้​้าทำำ�งานที่​่�กระทรวงการต่​่างประเทศ ได้​้รับ ั

การแต่​่งตั้​้�งให้​้ดำ�ำ รงตำำ�แหน่​่งสำำ�คัญ ั หลายตำำ�แหน่​่ง ผศ.สุ​ุรวุ​ุธ (ซ้​้าย) ถ่​่ายรู​ูปร่​่วมกั​ับ นายเกี​ียรติ​ิคุณ ุ (ขวา)

อาทิ​ิ อธิ​ิบดี​ีกรมเอเชี​ียใต้​้ ตะวั​ันออกกลางและ

แอฟริ​ิกา, รองปลั​ัดกระทรวงฯ, เอกอั​ัครราชทู​ูต

ณ กรุ​ุ ง สตอกโฮลม์​์ และเอกอั​ั ค รราชทู​ู ต ณ

เวี​ียงจั​ันทน์​์ เป็​็นต้​้น

เขี​ียนโดย: กองบรรณาธิ​ิการ, ภาพถ่​่ายโดย: วชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัย

5


พระยาจินดารังสรรค์ (ปลั่ง วิภาตะศิลปิน)

สถาปนิกผูอ ้ อกแบบหอประชุม และคณะทั้งสี่ของวชิราวุธวิทยาลัย

พอได้มาศึกษาเสี้ยวหนึ่งของสถาปัตยกรรมในรัชกาลที่ ๖ ก็อยากรู้จักคนออกแบบว่า

เป็นใคร ซึง่ ถ้าไม่ใช่พระเมรุทส ่ี มเด็จครูทรงออกแบบ อาคารแห่งอื่นๆ ก็ไม่นา่ ใช่ผลงานฝีพระหัตถ์

เพราะมีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด นายช่างที่จะกล่าวถึงนี้มีชว ่ งชีวิตอยูใ่ นรัชกาลที่ ๔-๗ เป็นข้าราชการที่มีราชทินนามคุ้นหู คือพระยาจินดารังสรรค์ ที่ชื่อ “ปลั่ง”

เสวกเอก พระยาจิ น ดารั ง สรรค์ (ปลั่ ง วิ ภ าตะศิ ล ปิ น ) เป็ น บุ ต รของขุ น รองปลั ด

(มา วิภาตะศิลปิน) เกิดเมื่อวันที่ ๙ มีนาคม ๒๔๐๗ ในปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า

เจ้าอยูห ่ ัว เมื่อพุทธศักราช ๒๔๓๙ ขณะอายุได้ ๓๒ ปี จึงเข้ารับราชการครั้งแรกด้วยต�ำแหน่ง

ช่างเขียนในกองแบบอย่าง กรมโยธา สังกัดกระทรวงโยธาธิการ พุทธศักราช ๒๔๔๒ เป็นสารวัตร พุทธศักราช ๒๔๔๔ เลื่อนต�ำแหน่งเป็นนายเวรแบบอย่างในสังกัดเดิม เมื่อรับราชการเป็นเวลา ราว ๗ ปี จึงได้รบ ั พระราชทานบรรดาศักดิ์ท่ีขุนสมิทธิเ์ ลขา (สะ-มิด-เล-ขา) และเลื่อนบรรดาศักดิ์ เป็นหลวงในราชทินนามเดิมในอีก ๓ ปีต่อมา

ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านได้ก้าวหน้าในหน้าที่ราชการ

ขึ้นโดยล�ำดับ พุทธศักราช ๒๔๕๔ ได้รับพระราชทานยศรองอ�ำมาตย์เอก ซึ่งปีน้ันได้ย้ายมา

รับราชการในกรมศิลปากรตามพระบรมราชโองการตั้งกรมศิลปากรขึ้นใหม่ โดยแยกออกจาก กระทรวงโยธาธิการเดิมให้ผบ ู้ ญ ั ชาการกรมขึน ั มาได้รบ ั พระราชทาน ้ ตรงต่อพระมหากษัตริย์ ปีถด

ยศอ�ำมาตย์ตรี ทั้งยังเลื่อนต�ำแหน่งเป็นปลัดกรมแผนกโยธาใหญ่ ในพุทธศักราช ๒๔๕๖ พระบาท

สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชด�ำริให้บูรณะพระพุทธรู ปส�ำริดองค์ใหญ่ และเชิญ

6


ไปประดิ ษฐานบริเวณทิ ศเหนือของพระปฐมเจดี ย์ โดยทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้แปลง พระวิหารพระประสูติ ซึ่งประดิษฐานพระโพธิสัตว์ปางประสูติและพระพุทธรู ปปางปาลิไลยก์

อยูเ่ ดิม ให้ประดิษฐานพระพุทธรูปยน ื องค์ใหญ่นด ี้ ้วย พระยาจินดารังสรรค์ (ปลั่ง วิภาตะศิลปิน) เป็นข้าราชการผูห ้ นึ่งที่มส ี ว ่ นอย่างมากในการครั้งนั้น กล่าวคือเป็นผูอ ้ อกแบบพระวิหารจัตรุ มุข

และซุ้มประดิ ษฐานพระพุทธรู ป (พระร่วงโรจนฤทธิ์ฯ องค์ ใหญ่ที่คุ้นตา) เมื่อมีพระราชพิธี

เททองหล่อพระพุทธรู ป ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม จึงได้รับพระราชทานสัญญาบัตร เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็นพระสมิทธิเ์ ลขา ศักดินา ๘๐๐ ไร่

เมื่​่�อพุ​ุทธศั​ักราช ๒๔๗๕ รั​ับตำำ�แหน่​่งผู้​้�ช่​่วยตรวจการ กรมโยธาแผนกใน พุ​ุทธศั​ักราช

๒๔๖๐ เลื่​่�อนยศเป็​็นเสวกโท หั​ัวหน้​้าแผนกช่​่างในสั​ังกั​ัดกรมศิ​ิลปากร ในปี​ีถั​ัดมาได้​้รับ ั พระราชทาน

สั​ัญญาบั​ัตร เลื่​่�อนบรรดาศั​ักดิ์​์�เป็​็นพระยาจิ​ินดารั​ังสรรค์​์ ศั​ักดิ​ินา ๑,๐๐๐ ไร่​่ และในพุ​ุทธศั​ักราช

7


๒๔๖๓ เลื่​่�อนยศเป็​็นเสวกเอก ซึ่​่�งเป็​็นยศสุ​ุดท้​้ายของท่​่าน

เมื่​่�อสิ้​้�นรั​ัชกาลพระบาทสมเด็​็ จพระมงกุ​ุฎเกล้​้ าเจ้​้ าอยู่​่�หั​ัว กรมศิ​ิลปากรถู​ูกยุ​ุ บลงเพื่​่�อ

รั​ักษาดุ​ุลรายจ่​่ายแผ่​่นดิ​ิน ข้​้าราชการในกรมศิ​ิลปากรจึ​ึงถู​ูกปลดออก พระยาจิ​ินดารั​ังสรรค์​์ (ปลั่​่�ง

วิ​ิภาตะศิ​ิลปิ​ิน) จึ​ึงถู​ูกปลดออกจากราชการ แต่​่ยังั ได้​้รับ ั พระราชทานเบี้​้�ยบำำ�นาญมาจนตลอดอายุ​ุ

ตลอดชี​ีวิต ิ การรั​ับราชการ ท่​่านได้​้รับ ั พระราชทานเครื่​่�องราชอิ​ิสริ​ิยาภรณ์​์ดังั นี้​้� พุ​ุทธศั​ักราช

๒๔๕๒ มงกุ​ุฎสยาม ชั้​้�นที่​่� ๕ วิ​ิจิต ิ ราภรณ์​์ (เบญจมาภรณ์​์มงกุ​ุฎไทย) พุ​ุทธศั​ักราช ๒๔๕๓ เหรี​ียญดุ​ุษฎี​ี

มาลา เข็​็มศิ​ิลปวิ​ิทยา พุ​ุทธศั​ักราช ๒๔๕๗ ช้​้างเผื​ือก ชั้​้�นที่​่� ๕ ทิ​ิพยาภรณ์​์ (เบญจมาภรณ์​์ช้า้ งเผื​ือก)

พุทธศักราช ๒๔๕๘ ช้างเผือก ชั้นที่ ๔ ภูษณาภรณ์ (จตุรถาภรณ์ช้างเผือก) พุทธศักราช ๒๔๖๐

เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ ๖ ชั้นที่ ๔ พุทธศักราช ๒๔๖๓ มงกุฎสยาม ชั้นที่ ๓ ตริตราภรณ์

มงกุฎสยาม (เมื่อเป็นนายด้านนายกองก่อสร้างพระเมรุ สมเด็จพระศรีพช ั รินทราบรมราชินน ี าถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงในรัชกาลที่ ๖ และ ๗) และเหรียญจักรพรรดิมาลา ในปี ๒๔๖๕ เมื่อรับราชการมาแล้ว ๒๕ ปี

พระยาจินดารังสรรค์ (ปลั่ง วิภาตะศิลปิน) มีภรรยา ๒ คน คือนางจีน วิภาตะศิลปิน และ

นางน้อย วิภาตะศิลปิน (สกุลเดิม : ศรขวัญ หรือสอนขวัญ) มีธด ิ าจากภรรยาแรก ๓ คน และบุตร จากภรรยาคนที่สอง ๕ คน

ท่านถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคชรา เมื่อวันที่ ๑ มกราคม ๒๔๗๐ นับอายุได้ ๖๓ ปี

ผลงานโดยมากของพระยาจินดารังสรรค์ (ปลั่ง วิภาตะศิลปิน) นั้นอยูใ่ นรัชกาลพระบาท

สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห ่ ัว เท่าที่มีหลักฐานให้สืบค้นได้น้ันปรากฏอยู่ ๔ แห่ง คือ

๑. พระวิ ห ารทิ ศ เหนื อ หรื อ พระวิ ห ารพระร่ ว งโรจนฤทธิ์ ฯ วั ด พระปฐมเจดี ย์ ราชวรมหาวิหาร จังหวัดนครปฐม

๒. หอประชุม วชิราวุธวิทยาลัย

๓. คณะทั้ง ๔ เมื่อแรกสร้างวชิราวุธวิทยาลัย (คณะจิตรลดา คณะดุสิต คณะพญาไท และคณะผู้ บั ง คั บ การ) โดยทั้ ง หอประชุ ม และคณะทั้ ง สี่ น้ี ท่ า นออกแบบร่ ว มกั บ

นายเอิดเวิร์ด ฮีลี (Edward Healey) สถาปนิกชาวอังกฤษ

๔. นางพระธรณีท่ออุทกทาน เชิงสะพานผ่านพิภพลีลา ถนนราชด�ำเนินใน ทั้งนี้ เมื่อกล่าวถึงงานออกแบบของท่าน มักมีผู้สับสนว่าพระยาจินดารังสรรค์ท่านใด

ออกแบบ เช่น อุทกทานเชิงสะพานผ่านพิภพลีลา มักกล่าวกันว่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ

เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวด ั ติวงศ์ ทรงออกแบบร่วมกับพระยาจินดารังสรรค์ (พลับ) หากแต่เมื่อ

พิจารณาแล้วพบว่า กลับมีชื่อของพระยาจินดารังสรรค์ (ปลั่ง วิภาตะศิลปิน) ขณะมีบรรดาศักดิ์

ที่ พ ระสมิ ท ธิ์ เ ลขาสลั ก อยู่ ท่ี พ ระบาทของประติ ม ากรรมพระธรณี (อี ก ข้ า งหนึ่ ง สลั ก ชื่ อ ของ

นายเจริญ พัฒนางกูร ผูป ้ น ั้ หล่อและแต่งผิวประติมากรรม) ส่วนพระยาจินดารังสรรค์ (พลับ) นัน ้

8


เข้าใจว่าท่านเป็นช่างปั้น เนื่องจากเป็นผูป ้ นพระบรมรู ั้ ปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ วั

ทั้งยังได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหลวงเทพรจนา เจ้ากรมช่างปั้ นซ้าย แต่ท่านคงมีช่วง ชีวิตอยูก ่ ่อนหน้าช่วงเวลาที่สร้างอุทกทานนี้เป็นแน่

อนึ่ง ใน “สาส์นสมเด็จ” สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ทรงกราบทูลสมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ เกี่ยวกับพระยาจินดารังสรรค์ท่านนี้ ไว้ว่า

ข้อทีท ่ รงสันนิษฐานถึงตราเสมาธรรมจักรนั้น เป็นแน่วา่ ถูกต้อง ตราเสมาธรรมจักร ดวงที่

ว่าเป็นตราน้อยนั้น เล็กมากถูกตามพระด�ำรัสแล้ว และตราดวงนี้ก็เป็นตราดวงใหม่เปลี่ยนเก่า

อย่า งเดี ย วกั บตราสามดวง ซึ่ง ประทั บ อยู่ในกฎหมายที่ ใช้กั นอยู่บั ดนี้ เ หมื อ นกั น ทราบได้ ที่

เกล้ากระหม่อมเคยคัดดวงเก่า จ�ำได้ว่ามีส่งิ แปลกประหลาดผิดธรรมดา ที่หลังกระหนกท�ำเป็น

เม็ดแตง ผิดกับที่ เขาเขียนบากเป็นแข้งสิงห์กัน แต่ลักษณะก็เหมือนกับดวงเก่า ส่วนดวงซึ่ ง เสนาบดีกระทรวงธรรมการถืออยูบ ่ ด ั นีม ้ ล ี ักษณะเป็นจักรรถ อยูใ่ นกูบผิดลักษณะไปจากตราเก่า ทีเดียว ดูเหมือนจะเป็นพระยาจินดา (ปลั่ง) เขียน

อาคารที่พระยาจิ นดารังสรรค์ (ปลั่ง วิภาตะศิลปิน) ออกแบบ แสดงเอกลักษณ์ของ

ยุ​ุคสมั​ัย คื​ือรู​ู ปแบบศิ​ิลปะและสถาปั​ัตยกรรมพระราชนิ​ิยมในรั​ัชกาลที่​่� ๖ ออกมาอย่​่างงดงาม

และลงตั​ัวยิ่​่�ง

เขี​ียนโดย: อธิ​ิภั​ัทร แสวงผล (เผยแพร่​่ทางเฟซบุ๊​๊�ค Tun Swaengphol)

9


ศิลป์ของศิลปิน ชีวิตที่ผา่ นมาของ

ชวลิต เสริมปรุงสุข ศิ ล ปะอาจจะไม่ ใ ช่ ส่ิ ง แรกๆ ที่ ค นส่ ว นมากนึ ก ขึ้ น เมื่ อ เอ่ ย ถึ ง เด็ ก วชิ ร าวุ ธ ฯ

คนจ�ำนวนไม่น้อยคงจะเห็นภาพเด็กหนุ่มถือลูกรักบี้มากกว่าที่จะมาจับพูก ่ ันระบายสี

แต่อันที่จริงแล้วเด็กวชิราวุธฯ มีความสามารถด้านศิลปะในระดับต้นๆ อยูไ่ ม่น้อย

จั​ักรพั​ันธุ์​์� โปษยกฤต (โอวี​ี ๓๓), ม.จ. ชาตรี​ีเฉลิ​ิม ยุ​ุคล (โอวี​ี ๓๓), นิ​ิธิ​ิ สถาปิ​ิตานนท์​์

(โอวี​ี ๓๘) บุ​ุคคลเหล่​่านี้​้� คื​ือ นั​ักเรี​ียนเก่​่าวชิ​ิราวุ​ุธฯ ที่​่�ได้​้รับ ั รางวั​ัลศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ ซึ่​่�งถื​ือ ได้​้ว่​่าเป็​็นรางวั​ัลทางด้​้านศิ​ิลปะที่​่�สูงู ที่​่�สุด ุ ของประเทศ และเป็​็นเรื่​่�องน่​่ายิ​ินดี​ีที่​่�ในปี​ี พ.ศ.

๒๕๕๗ นั​ักเรี​ียนเก่​่าวชิ​ิราวุ​ุธฯ อี​ีกท่​่านก็​็ได้​้รับ ั รางวั​ัลอั​ันทรงเกี​ียรติ​ินี้​้� ศิลปินท่านนั้นมีชื่อว่า ชวลิต เสริมปรุงสุข (โอวี ๒๙)

10


11


ชีวิตในวชิราวุธวิทยาลัย ตอนผมเด็ กๆ คุณป้าของผมรู้จักกั บ

เจ้ า คุ ณ ภะรตราชา ก็ เ ลยมาฝากผมให้ เ ข้ า

จะวาดรูปอย่างเดียว

ที่​่�นี่​่�ครู​ูสนิ​ิมเห็​็นว่​่าเราชอบวาดรู​ูปมาก

โรงเรียนนี้ จริงๆ ผมก็จ�ำอะไรตอนนัน ้ ไม่ได้มาก

ก็​็มาบอกว่​่า เธอต้​้องไปเรี​ียนที่​่�ศิล ิ ปากร เพราะ

ครูสอาดจิต, ครูพร้อม, ครูบรรจง ส่วนเพื่อน

นะว่​่าศิ​ิลปากรเป็​็นยั​ังไง ก็​็ไปถาม อ.ไพฑู​ูรย์​์

จากคณะเด็​็กเล็​็กผมก็​็ย้​้ายเข้​้ามาอยู่​่�ที่​่�

จบ ม.๘ จบ ม.๖ ก็​็สอบเข้​้าไปเรี​ียนได้​้เลย ผม

จ�ำได้ แค่ ว่าไปอยู่คณะเด็ กเล็ กสอง เรียนกั บ

ตอนนั้นที่จ�ำได้ก็มีแต่ไอ้หมึก สุนทร วิรยะ

คณะพญาไท ตอนนั้​้�นครู​ูสนั่​่�นเป็​็นผู้​้�กำำ�กับ ั คณะ

เรื่​่�องอื่​่�นจำำ�ไม่​่ได้​้มาก แต่​่จำำ�ได้​้ว่า่ ครู​ูสนั่​่�นเป็​็นคน

ดุ​ุมาก

ผมเริ่​่� ม วาดรู​ู ป มาตั้​้� ง แต่​่ เ ด็​็ ก ๆ เป็​็ น

ธรรมชาติ​ิ ของผมมาตลอด เริ่​่�มเรี​ียนวาดรู​ู ป

กั​ับครู​ูสนิ​ิม (มาจากเพาะช่​่าง) และเรี​ียนปั้​้�นกั​ับ

อ.ไพฑู​ูรย์​์ เมื​ืองสมบู​ูรณ์​์ (ซึ่​่�งต่​่อมาเป็​็นศิ​ิลปิ​ิน แห่​่งชาติ​ิ) อ.ไพฑู​ูรย์​์ เป็​็นลู​ูกศิ​ิษย์​์ อ.ศิ​ิลป์​์ พี​ีระศรี​ี

แล้วก็มาสอนที่วชิราวุธฯ

ตอนนั้ น ผมไม่ ช อบเรี ย นอะไรทั้ ง สิ้ น

วั น ๆ ก็ จ ะอยู่ ท้ า ยห้ อ งวาดรู ป เป็ น ประจ�ำ

วาดรู ป อย่ า งเดี ย วไม่ เ รี ย นอะไร วาดจนผม โดนพระยาภะรตฯ ฟาดเลย แกหยิบไม้ไผ่ได้

แล้ ว ก็ ฟ าดเลย เพราะตอนนั้ น ผมเกเรมาก ที่ เกเรเพราะผมไม่ต้ั งใจเรียน ไม่อยากเรียน

เป็​็นทางเดี​ียวที่​่�จะเป็​็นศิ​ิลปิ​ินอาชี​ีพได้​้ เราก็​็ไม่​่รู้​้�

อาจารย์​์ก็​็บอกว่​่าไปได้​้เลย ไม่​่ต้​้องรอเรี​ียนจน สอบเข้​้าได้​้ ผมเข้​้าไปเรี​ียนจิ​ิตรกรรม

ตอนนั้นมีคนสนใจงานศิลปะกันเยอะ

นะ แต่ไม่คอ ่ ยมีใครกล้าไปเรียนโดยตรง เพราะ ศิลปะท�ำให้อดตายได้ ส่วนมากก็ เลยไปเข้า

สถาปัตย์กน ั เยอะ คนไม่กล้าไปเรียนจิตรกรรม เพราะกลัวขายรู ปไม่ได้ แล้วสมัยก่อนคนยัง ไม่ เ ข้ า ใจว่ า ศิ ล ปะเป็ น ยั ง ไง เขาไม่ เ ข้ า ใจว่ า

วิชาศิลปะกับวิชาวาดเขียนต่างกันยังไง วิชา วาดเขียนก็เขียนรูปทิวทัศน์, เขียนกล่องไม้ขด ี

เขี ย นพระอาทิ ต ย์ ข้ึ น แต่ ศิ ล ปะมั น มากกว่ า

นั้นเยอะ คนไม่ให้ความสนใจเพราะเป็นวิชา ที่ไม่มค ี วามหมาย เพราะคะแนนมันไม่ได้เยอะ

อะไร ผมได้สบ ิ เต็มแต่คนอื่นเขาไม่สนใจ ได้หา้ คะแนนก็ไม่เป็นอะไร

สมัยอยู่โรงเรียนผมก็เจอกับจักรพันธุ์

อยากแต่ จ ะเขี ย นรู ป เลยไม่ เ รี ย น แกล้ ง คน

โปษยกฤต อยูเ่ ป็นประจ�ำ แต่ผมไม่ตอ ้ งไปสอน

เขียนรู ปไปทั้งโรงเรียน เขียนรู ปในหลวงบ้าง

แล้ว เก่งตั้งแต่เด็กแล้ว เวลาไปออกงานสมัย

นู้ น คนนี้ ต ลอด ตอนนั้ น ก็ เ ขี ย นหมดแหละ

อะไรเขาเลย เขาเขียนรูปคน รูปอะไรสวยอยู่

รูปหอนาฬิกาบ้าง เขียนตึก เขียนอะไรทุกอย่าง

วชิราวุธฯ ก็ไปด้วยกันบ่อยๆ เขาชอบไปเขียน

ไปหมด พอเราไม่​่อยู่​่�ที่​่�บ้า้ นก็​็จับ ั ทิ้​้�งไปหมด และ

แปลกหน้า ผมชอบเขียนรูปวิว จริงๆ ก็เขียน

แต่​่โชคไม่​่ดี​ี ไม่​่ได้​้มีเี ก็​็บตั​ัวอย่​่างไว้​้เลย ของหาย ก็​็มีรูี ูปปั้​้�นที่​่�ปั้​้�นกั​ับ อ.ไพฑู​ูรย์​์ ตอนนั้​้�นเราก็​็เรี​ียน

ได้​้แต่​่ที่​่�โหล่​่ เรี​ียนอยู่​่�ห้​้อง ข. ได้​้ที่​่�โหล่​่ เป็​็นเด็​็ก

ท้ า ยแถว ภาษาหรื อ เลขอะไรไม่ อ ยากเรี ย น

12

รู ปคนให้คนอื่น แต่ ผมไม่ค่อยชอบเขียนคน รู ปคนได้ แต่เวลาไปออกงานแล้วมีคนมามุง ผมเลยไม่ชอบ ร�ำคาญ ผมก็เลยไม่เขียนโชว์

แต่ไปงานที่วังสราญรมย์ด้วยกันทุกปี ผมอยู่


ปีห้าจิตรกรรม จักรพันธุก ์ ็ตามเข้ามาอยูป ่ ีหนึ่ง ก็ไม่ได้เจออะไรกันมาก

เปิดโลกศิลปะกับอาจารย์ศล ิ ป์ อยู่ท่ีวชิราวุธฯ ผมได้ท่ีโหล่ตลอด แต่

พอไปเข้าโรงเรียนศิลปศึกษาฯ ผมได้ ท่ห ี นึ่ง

เป็นประจ�ำ ตอนนั้นโรงเรียนศิลปศึกษาเป็น โรงเรียนที่ อ.ศิลป์ พีระศรี ตั้งขึ้นเพื่อเตรียมให้

อ.ศิลป์

เป็นคนที่น�ำความคิด เรื่องศิลปะเข้ามาในเมืองไทย เปลียนความคิดจากเดิม ที่เป็นงานช่าง ที่ใช้แต่ฝีมือ มาเป็นศิลปะ ที่ต้องใช้ปัญญา

เด็กเข้าไปเรียนทีม ่ หาวิทยาลัยศิลปากร อ.ศิลป์

เป็นคนวางแผนรู ปแบบการเรียนไว้หมด เรา เข้าไปเรียนที่นก ่ี ็รูส ้ ก ึ ถูกโฉลก เพราะเป็นอะไร

ที่เราชอบมาตลอด

อ.ศิลป์ เป็นคนทีน ่ �ำความคิดเรื่องศิลปะ

เข้ามาในเมืองไทย เปลี่ยนความคิดจากเดิมที่

เป็นงานช่าง ที่ใช้แต่ฝีมือ มาเป็นศิลปะที่ต้อง ใช้ปญ ั ญา ภาพหรือผลงานที่เป็นศิลปะจะต้อง

ผ่านการคิดมาก่อน แล้วค่อยถ่ายทอดออกมา ด้วยทักษะเป็นผลงานอีกที ศิลปะเป็นวิชาชัน ้ สูง

ไม่ได้เหมือนงานช่างที่จะสอนให้คนเขียนตาม

ให้เหมือนเพียงอย่างเดียว

ผมเข้​้ า ไปเป็​็ น นั​ั ก เรี​ี ย นที่​่� โ รงเรี​ี ย น

ศิ​ิลปศึ​ึกษา เป็​็นรุ่​่�นที่​่� ๓-๔ ซึ่​่�งก็​็ยั​ังอยู่​่�ในการ

ดู​ูแลของ อ.ศิ​ิลป์​์ พี​ีระศรี​ี สมั​ัยก่​่อนที่​่�โรงเรี​ียน

จะแบ่​่งนั​ักเรี​ียนเป็​็น ๒ กลุ่​่�ม กลุ่​่�มแรกคื​ือ เรี​ียน

สองปี​ี แล้​้วเข้​้าไปเรี​ียนที่​่� ม.ศิ​ิลปากรได้​้เลย โดย

ไม่​่ต้​้องสอบ อี​ีกกลุ่​่�มคื​ือต้​้องเรี​ียนสามปี​ี แล้​้ว ค่​่ อยสอบเข้​้าไป ซึ่​่� งตอนนั้​้� นก็​็ มี​ีผมกั​ั บอนั​ันต์​์

ปลานิ​ิล (จากวชิ​ิราวุ​ุธฯ) ที่​่�สามารถเข้​้าศิ​ิลปากร

ไปได้​้ เลย โดยไม่​่ต้​้องสอบ เพราะเราทำำ�ได้​้ ดี​ี อยู่​่�แล้​้ ว เราเข้​้าไปเรี​ียนที่​่� นี่​่�ก็​็เลยได้​้ เขี​ียนรู​ู ป

13


ทั้​้�งวั​ันทั้​้�งคื​ืน อ.ศิ​ิลป์​์ ก็​็มาสอนด้​้วย พอเข้​้าไปที่​่� ม.ศิ​ิลปากรก็​็ได้​้เรี​ียนกั​ับ อ.ศิ​ิลป์​์ ต่​่อด้​้วย

เพราะฉะนั้ น แล้ ว การเข้ า ไปเรี ย นศิ ล ปะคื อ การสอนให้คนได้ รู้จักศิลปะ ได้ รู้คุณค่ าของ

สิ่งเหล่านี้ เมื่อจบไปแล้วคุณจะได้เอาความรู้

ตอนเข้​้าไปที่​่�ศิ​ิลปากร ผมก็​็ต้​้องเรี​ียน

พวกนี้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์กับสังคมได้ ตอบ

ทุกอย่าง เราต้องเรียน drawing, painting รวม

จะออกแบบป้าย ตัดเย็บเสื้อผ้า ทุกคนจะต้อง

ทุ​ุ ก อย่​่ า ง อ.ศิ​ิ ล ป์​์ จ ะสอนให้​้ เ ราต้​้ อ งทำำ� เป็​็ น

ไปถึงพวกประติมากรรมทุกอย่างเลย เราต้อง

ออกแบบเป็น ดีไซน์เป็น คือต้องเป็นรอบด้าน เพื่อที่เรียนจบไปแล้วคุณจะได้ท�ำได้ทุกอย่าง

โจทย์การท�ำงานทุกอย่างได้ จะท�ำฉากละคร ใช้เครื่องมือเหล่านี้เป็น

แต่​่ความเป็​็นศิ​ิลปิ​ินเป็​็นสิ่​่�งที่​่�พิเิ ศษกว่​่า

จริงๆ มีงานอะไรมาคุณก็ท�ำได้ คือ ไม่ใช่ว่า

จำำ� เป็​็ น ต้​้ อ งคั​ั ด คนที่​่� เ ป็​็ น ศิ​ิ ล ปิ​ิ น ออกมา โดย

จะได้เป็นศิลปินกันครบทุกคน อาจจะมีคนที่

นั้​้� น จะได้​้ เ รี​ี ย นปี​ี ๔ ต่​่ อ หรื​ือว่​่ า คนไหนจะ

ทุกคนที่เรียนด้วยกัน ๓๐ กว่าคน จบไปแล้ว

เป็นศิลปินจริงๆ เพียงแค่ ๒ หรือ ๓ คนเท่านั้น

ตอนนั้​้� น อ.ศิ​ิ ล ป์​์ จ ะเป็​็ น คนที่​่� เ ลื​ือกเองว่​่ า คน ไม่​่ได้​้ เรี​ียน คื​ือไม่​่ใช่​่ว่​่าสอบคะแนนผ่​่านแล้​้ว

พิ​ิธีม ี อบภาพเขี​ียนให้​้กั​ับวชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัย เมื่​่�อกุ​ุมภาพั​ันธ์​์ ๒๕๕๗ โดยมี​ี ดร.สาโรจน์​์ ลี​ีสวรรค์​์ ผู้​้�บั​ังคั​ับการในขณะนั้​้�นเป็​็นผู้​้�รั​ับมอบ

14


คุ​ุ ณ จะเป็​็ น ศิ​ิ ล ปิ​ิ น ได้​้ คะแนนอาจจะดี​ี อ าจ

ที่​่�จะเอาไปทำำ�งานรั​ับใช้​้คนอื่​่� นหรอก ทำำ�งาน

ไปเป็นศิลปินต่อได้ ท่านจะบอกเลยว่า “นายเนีย ่

ไปยาวๆ

จะผ่​่านทุ​ุกอย่​่าง แต่​่ อ.ศิ​ิลป์​์จะดู​ูรู้​้�ว่​่าคนไหน

เป็นศิลปินไม่ได้หรอก เพราะพรสวรรค์ไม่ถึง

แล้วนายไม่เอาจริง นายก็ออกไปได้แล้ว ออกไป ท�ำงานท�ำการ”

ศิ​ิลปะอย่​่างเดี​ียว ทำำ�งานให้​้ศิ​ิลปะให้​้อยู่​่�ตลอด ช่​่วงปี​ี ๔ ปี​ี ๕ ก็​็จะเหลื​ือกั​ันอยู่​่�แค่​่ไม่​่

๒ หรื​ือ ๓ คนเท่​่ า นั้​้� น สมั​ั ย ก่​่ อ นเป็​็ น แบบนี้​้�

สมั​ัยผมก็​็มี​ีตั​ัวผมเองกั​ับคุ​ุณดำำ�รง วงศ์​์อุ​ุปราช

อ.ศิ​ิลป์​์ เป็​็นคนพิ​ิเศษในตั​ัวของท่​่านเอง

ที่​่� เ สี​ี ย ไปแล้​้ ว ตอนนี้​้� ก็​็ เ หลื​ือผมแค่​่ ค นเดี​ี ย ว

ศิ​ิลปิ​ินนะ แกจะเป็​็นก็​็เป็​็นได้​้ แต่​่แกเสี​ียสละ

ไม่​่ใช่​่ว่​่าอยากเป็​็นก็​็ได้​้เป็​็น คนจะเป็​็นต้​้องเกิ​ิด

มาช่​่วยทำำ�อนุ​ุสาวรี​ีย์​์ให้​้มั​ันสวย ให้​้มั​ันถู​ูกต้​้อง

ไม่​่ได้​้ เพราะผมเป็​็นศิ​ิลปิ​ิน ผมทำำ�ได้​้คะแนนดี​ี

เป็​็นครู​ู ให้​้ความรู้​้�ด้​้านศิ​ิลปะกั​ับศิ​ิลปิ​ินใหม่​่ๆ

พอผมเรี​ียนถึ​ึงปี​ี ๔ ผมก็​็อยากจะสอบ

อยู่​่�แล้​้ ว แกไม่​่ เ คยเลยเรี​ี ย กตั​ั ว เองว่​่ า เป็​็ น เอาเวลามาเป็​็นครู​ูสอน แกไม่​่ทำำ�งานศิ​ิลปะ แก

แกไม่​่ได้​้ ทำ�ำ ตามใจตามสบาย แกเสี​ียสละมา

อ.ศิ​ิลป์​์ ท่​่านดู​ูแล้​้วรู้​้�ว่​่ามี​ีใครเป็​็นศิ​ิลปิ​ินได้​้บ้​้าง

มาเป็​็นศิ​ิลปิ​ินเท่​่านั้​้�น อย่​่างผมเองก็​็ทำำ�อย่​่างอื่​่�น ทุ​ุกอย่​่าง ทำำ�ได้​้ทุก ุ อย่​่าง

ท่​่ า นนั​ั บ ถื​ือศิ​ิ ล ปะเป็​็ น ศาสนา ท่​่ า น

ให้​้ ต กมาก เพราะจะได้​้ เ รี​ี ย นกั​ั บ อ.ศิ​ิ ล ป์​์ ต่​่ อ

ซึ่​่� งตอนนี้​้�ก็​็หายากขึ้​้� น ไม่​่ค่​่อยมี​ีใครที่​่� ศรั​ัทธา

ไม่​่ทั​ันได้​้สอบตก อ.ศิ​ิลป์​์ ก็​็มาเสี​ียชี​ีวิ​ิตตอนผม

อยู่​่�ใกล้​้ก็​็ได้​้พลั​ังนั้​้�นมา หลายคนชอบบอกว่​่า

นั้​้�นเรื่​่�องศิ​ิลปะก็​็จะมี​ีแค่​่ อ.ศิ​ิลป์​์อยู่​่�คนเดี​ียวที่​่�

ไม่​่ใช่​่หรอก ใจท่​่านเลยไปแล้​้ว ท่​่านให้​้ความรั​ัก

รู้​้�เดี​ี ย วกั​ั บ พวกระดั​ั บ นานาชาติ​ิ คำำ�พู​ู ด หนึ่​่� ง

ศรั​ัทธาและก็​็เผยแพร่​่ความศรั​ัทธาให้​้คนอื่​่�นๆ ได้​้เท่​่ากั​ับที่​่� อ.ศิ​ิลป์​์มี​ี ท่​่านมี​ีพลั​ังสู​ูงมาก เรา

อ.ศิ​ิ ล ป์​์ รั​ั ก คนนู้​้�นคนนี้​้� เ ป็​็ น พิ​ิ เ ศษ แต่​่ ผ มว่​่ า กับคนที่รก ั ศิลปะทุกคน ท่านสนับสนุนให้คนที่

จะเป็นศิลปินได้เป็นศิลปินจริงๆ แล้วคนที่จะ

เป็นศิลปินได้ก็ต้องเป็นคนที่ขยันและเอาจริง

เอาจัง ท่านรักคนที่ท�ำงาน ใครที่กินเหล้ามา

ไม่​่งั้​้�นเราก็​็ไม่​่รู้​้�จะไปไหนต่​่อเหมื​ือนกั​ัน แต่​่ผม

อยู่​่�ปี​ี ๔ (พ.ศ.๒๕๐๕) ผมก็​็คว้​้างเลย ในสมั​ัย

รวมเอาไว้​้ทุ​ุกอย่​่างเลย เป็​็นคนเดี​ียวที่​่�มี​ีความ ของ อ.ศิ​ิ ล ป์​์ ที่​่� พ วกเราน่​่ า จะได้​้ ยิ​ิ น กั​ั น บ่​่ อ ยๆ

ก็​็คื​ือ ชี​ีวิ​ิตเราสั้​้�น ศิ​ิลปะนั้​้�นยื​ืนยาว ซึ่​่�งก็​็เป็​็น

แบบนั้​้�นจริ​ิงๆ เราอยู่​่�แล้​้วก็​็ต้​้องตายไป เวลา เราตายศิ​ิ ล ปะไม่​่ ไ ด้​้ ไ ปไหน ศิ​ิ ล ปะยั​ั ง อยู่​่�ให้​้

เนี่ยอาจารย์ไม่ยุ่งด้วย เดินผ่านไปเลย ใครที่

คนรุ่​่�นอื่​่�นๆ มาดู​ูต่อ ่ ไป พวกหมอจะเป็​็นกลุ่​่�มคน

แบบนั้ นจริงๆ ท่ านท�ำงานตลอดเวลาจริงๆ

พวกเขาต้​้องเจอกั​ับความตายอยู่​่�ตลอดเวลา

ไม่ท�ำงานท่านไม่สน แล้วท่านก็เป็นตัวอย่าง เราเห็นเราก็ศรัทธาท�ำตามแบบอย่างทีท ่ า่ นเป็น

แต่​่อย่​่างผมเนี่​่�ย อยากเป็​็นศิ​ิลปิ​ินอิ​ิสระ

อาชี​ีพหนึ่​่�งที่​่�เห็​็นคุ​ุณค่​่าของศิ​ิลปะมาก เพราะ เขาเห็​็นว่​่าสั​ังขารไม่​่เที่​่�ยงจริ​ิงๆ

ไม่​่ได้​้เสี​ียสละเหมื​ือน อ.ศิ​ิลป์​์ ผลงานของผม

ใครได้​้ชมว่​่าสวยก็​็ชมก็​็ว่​่ากั​ันไป ผมให้​้สั​ังคม

ได้​้ เ ท่​่ า นี้​้� ชี​ี วิ​ิ ต ของเราสั้​้� น นิ​ิ ด เดี​ี ย ว ไม่​่ มี​ี เ วลา

15


สมั​ัครทุ​ุนผิ​ิด แต่​่กลั​ับได้​้ทุน ุ ไปเรี​ียน ประเทศเนเธอร์​์แลนด์​์

ตอนที่​่� อ.ศิ​ิลป์​์ เสี​ียชี​ีวิ​ิต ผมไม่​่รู้​้�ว่​่าจะ

อยู่​่�ทำำ� งานศิ​ิ ล ปะไปยั​ั ง ไงต่​่ อ ขาดครู​ู ที่​่� จ ะมา

ช่​่วยสอนเรา ในเมื​ืองไทยไม่​่มีใี ครจะมาสอนเรา ได้​้แบบนั้​้�นอี​ีกแล้​้ว ผมเลยรี​ีบเรี​ียนให้​้จบแล้​้ว

ก็​็ตั้​้�งใจไปต่​่างประเทศอย่​่างเดี​ียว ไปไหนก็​็ได้​้

คื​ือไปให้​้พ้​้นๆ จากประเทศไทย ก็​็เลยไปสอบ ทุ​ุ น ทุ​ุ ก ที่​่� มี​ี ทุ​ุ น อะไรมาก็​็ เ อาหมด ตอนนั้​้� น มี​ี

ทุ​ุนด้​้านการเกษตรของประเทศเนเธอร์​์แลนด์​์

มาให้​้ ผมก็​็ ไม่​่รู้​้�ว่​่ามั​ันคื​ือทุ​ุนอะไร รู้​้�แต่​่ ว่​่าไป เนเธอร์​์แลนด์​์

พอวั​ั น สั​ั ม ภาษณ์​์ ก็​็ เ จอท่​่ า นอุ​ุ ป ทู​ู ต

ท่​่ า นก็​็ บ อกว่​่ า เรามาผิ​ิ ด ทุ​ุ น นะอั​ั น นี้​้� ไ ปด้​้ า น

ภาพผลงานบางส่​่วนของชวลิ​ิตที่​่�มอบให้​้กั​ับโรงเรี​ียน ปั​ัจจุ​ุบัน ั เก็​็บรั​ักษาไว้​้ที่​่�อาคารนวมภู​ูมิน ิ ทร์​์

16


การเกษตร ไม่​่ใช่​่ศิ​ิลปะ ท่​่านก็​็ถามต่​่อว่​่าทำำ�ไม

ให้มีทักษะเฉพาะทางแบบจริงๆ จังๆ เราไม่รู้

เราก็​็มี​ีพื้​้�นฐานทางประวั​ั ติ​ิศาสตร์​์ศิ​ิลปะมาดี​ี

เขียนรูป งานของเราก็พด ู แทนเราแล้วว่าฝีมอ ื

ถึ​ึงอยากไปเรี​ียนศิ​ิลปะที่​่�เนเธอร์​์แลนด์​์ พอดี​ี

อยู่​่�แล้​้ ว เราก็​็ เ ลยเล่​่ า ให้​้ เ ขาฟั​ั ง ไปว่​่ า เรารู้​้�จั​ั ก

ว่าจะเอาปริญญาไปท�ำอะไร เราเป็นศิลปินที่

เป็นยังไง ไม่ต้องมีปริญญามาโชว์เพิ่ม ถ้าคุณ

van Gogh, Rembrandt , Vermeer เราก็​็อยาก

ได้ปริญญาเอกแต่คณ ุ วาดรูปไม่ได้ ใบปริญญา

ว่​่าภายในหนึ่​่�งอาทิ​ิตย์​์ผมได้​้ทุน ุ ทั​ันที​ีเลย พอดี​ี

ไปเรียนทีน ่ น ู้ ง่ายมากเลย เพราะเราถูก

จะไปเห็​็นของจริ​ิงที่​่�นู้​้�นว่​่ามั​ันเป็​็นยั​ังไง ปรากฏ

ก็ไม่มีประโยชน์อะไรเลย

ว่​่าไม่​่เคยมี​ีทุ​ุนศิ​ิลปะมาก่​่อน ไม่​่เคยมี​ีใครขอ

ฝึกมาจากที่เมอ ื งไทยไปแล้ว ๕ ปี เราเขียนเป็น

มากก็​็จะถู​ูก อ.ศิ​ิลป์​์ส่​่งไปเรี​ียนที่​่� กรุ​ุ งโรมเลย

กับรุน ่ น้องที่เพิง่ เข้ามาเรียนใหม่ เพราะเขาคง

ไทยคนแรกที่​่� ไ ด้​้ ไ ป คื​ือ คนดั​ั ต ช์​์ เ ขามี​ี ค วาม

จะสร้างงานศิลปะแล้ว เรียนไปก็เบื่อ เพราะ

มาก่​่ อนเหมื​ือนกั​ั น เด็​็ กที่​่� เรี​ียนทำำ�ศิ​ิลปะส่​่วน

แต่​่ไปเนเธอร์​์แลนด์​์ไม่​่เคยมี​ี ผมก็​็เลยเป็​็นคน

ทุกอย่าง คอ ื ทีส ่ ถาบันก็สง่ ให้เราไปเรียนพร้อม ไม่รู้ว่าท�ำอะไรได้บ้าง ทั้งๆ ที่เราพร้อมมากที่

ภู​ูมิ​ิใจในศิ​ิลปิ​ินของเขามาก แล้​้วพอเราบอก

เราเขียนอะไรได้หมดทุกอย่างแล้ว ให้เขียนคน

เลยดี​ีใจ ให้​้ทุน ุ เราไปเรี​ียน โดยไม่​่ต้​้องสอบเลย

ได้หมด สุดท้ายหลังจากทีเ่ รียนไปได้ปค ี รึง่ เราก็

ว่​่าเราชอบศิ​ิลปิ​ินของเขาได้​้เพราะอะไรเขาก็​็

แค่คย ุ แล้วเขาเห็นว่าเราจริงจังด้านศิลปะมาก

เขียนต้นไม้ เขียนบ้าน เขียนอะไรเราก็เขียน

เลยไม่ได้ไปเรียน เพราะครูเขาหัวโบราณไม่ให้

ก็คงพิจารณาให้ทุนเรา

เราสร้​้างสรรค์​์อะไรใหม่​่ๆ สั​ักอย่​่าง เราก็​็เลยไป

พ่​่อออกค่​่ าเรื​ือบิ​ินไปให้​้ ส่​่วนขากลั​ั บรั​ัฐบาล

จากของจริ​ิงเลย

ตอนนั้​้� นที่​่� บ้​้านก็​็ ไม่​่ได้​้ มี​ีเงิ​ิ นมากอะไร

ช่​่วยออก ค่​่ าเรื​ือบิ​ินแพงมากราคาเป็​็นหมื่​่�น

ในสมั​ัยนั้​้�นคุ​ุณก็​็คิ​ิดดู​ูแล้​้วกั​ันว่​่ามั​ันแพงขนาด

วาดรู​ูปที่​่�บ้า้ น ไปที่​่�มิวิ เซี​ียม ไปดู​ูและไปวาดเอา ตอนไปใหม่ๆ ก็ปรับตัวเยอะมาก ปรับตัว

ล�ำบาก อาหารก็กินไม่ค่อยได้ โดนเหยียดผิว

ไหน ก่​่อนหน้​้าผมคนอื่​่�นๆ เขายั​ังไปเรื​ือกั​ันเลย

เวลาไปหาห้องเช่าเขาก็ไม่ให้ บอกว่าห้ามคน

ใบพั​ัดอยู่​่�เลย ฝนตกหน่​่อย พายุ​ุเข้​้าก็​็ต้​้องเลื่​่�อน

เจอคนไทยเลย ตอนนัน ่ น ั น้อยมาก ้ น่าจะมีอยูก

ผมโชคดี​ีที่​่�มีเี รื​ือบิ​ินให้​้ไปแล้​้ว เครื่​่�องบิ​ินยั​ังเป็​็น

บิ​ินไปเรื่​่�อยๆ จนกว่​่าสภาพอากาศจะดี​ีพอ

ผ ม ไ ป ถึ ง ฮ อ ล แ ล น ด์ ก็ ไ ป เ รี ย น ที่

ต่างชาติเช่า เราก็ต้องหาใหม่ ไปอยูน ่ น ู่ แทบไม่

แต่เราก็ยังพอมีเพื่อนอยู่บ้าง พวกเพื่อนฝรั่ง

ที่ เ ป็ น ศิ ล ปิ น ด้ ว ยกั น เขาก็ โ อเค ผมไปอยู่ ท่ี

มหาวิทยาลัย Rijksakademie van Beeldende

ฮอลแลนด์ก่อนประมาณสองสามปี แล้วตอน

จะมีสถาบันการศึกษาที่แยกสอนเฉพาะทาง

เรียนด้านดีไซน์ท่ีกรุงอัมสเตอร์ดัมเหมือนกัน

เดียว ไม่ได้อยูร่ วมเป็นมหาวิทยาลัยใหญ่ๆ คือ

ปีต่อมาถวัลย์ ดัชนี เขาก็เลยตามผมมาด้วย

Kunsten ในกรุงอัมสเตอร์ดัม คือเมืองนอกก็

ไปเลย สอนดนตรีอย่างเดียว สอนศิลปะอย่าง สถาบันเหล่านี้ไม่ได้ให้ปริญญา แต่เขาฝึกเรา

หลัง แฟนของผมเขาก็ตามไปอยูด ่ ว้ ยกัน เขาไป หลังจากที่ผมได้ทุนด้านศิลปะไปแล้ว

ได้ทุนไปเรียนเป็นคนที่สอง ต่อจากผม

17


พอผมเลิ​ิกไปเรี​ียน ผมก็​็ถูก ู ตั​ัดทุ​ุน ที​ีนี้​้�

ก็​็เลยต้​้องไปหาเงิ​ินใช้​้เองแล้​้ว ผมก็​็ต้​้องไปเป็​็น

จะได้​้ มาง่​่ายๆ เราต้​้ องสร้​้างผลงานอย่​่างต่​่ อ

เนื่​่�องแล้​้วส่​่งรู​ู ปไปให้​้เขาดู​ู เขาก็​็บอกปฏิ​ิ เสธ

กรรมกร ไปทำำ�ฉากละคร ไปรั​ับจ้​้างทำำ�ทุก ุ อย่​่าง

กลับมาว่างานของเรายังใช้ไม่ได้ ให้เวลาเรา

ได้​้ค่​่าจ้​้างเป็​็นรายชั่​่�วโมง แต่​่เราก็​็ยั​ังต้​้องแบ่​่ง

ผมก็กลับไปยื่นใหม่อก ี เขาก็ยงั ไม่ให้ผา่ นอีก คือ

ที่​่�เกี่​่�ยวกั​ับศิ​ิลปะ หรื​ือไม่​่ก็ต้ ็ อ ้ งไปขนดอกทิ​ิวลิ​ิป

เวลาไปทำำ�งานศิ​ิลปะด้​้วยนะ ทำำ�งานสั​ักสามวั​ัน

เขียนรูปอีกสามวัน

จากศิ​ิลปิ​ินริ​ิมทาง สู่​่�ศิล ิ ปิ​ินทุ​ุนรั​ัฐบาล

เรารู้ ม าว่ า รั ฐ บาลดั ต ช์ เ ขาสนั บ สนุ น

ศิ ล ปิ น ให้ อ ยู่ ไ ด้ มี เ งิ น เดื อ นให้ โ ดยเฉพาะจะ

ได้ ไม่อดตาย แต่ คุณต้ องท�ำงานศิลปะจริงๆ

แต่ เขาก็ไว้ ช่วยเฉพาะศิลปินดั ตช์อย่างเดี ยว

ไปหกเดือนกลับไปวาดรูปมาดูใหม่ พอถึงเวลา ทุนนี้มันได้ยากมากจริงๆ เราก็ต้องลงทุนกลับ

ไปวาดใหม่ แล้ วถึ งเวลาก็ กลั บไปยื่นอี กครั้ง

เป็ น ครั้ ง ที่ ส าม จนในที่ สุ ด เขาก็ ค งใจอ่ อ น ถึ ง แม้ ว่ า งานของเราอาจจะยั ง ไม่ ไ ด้ ดี ม าก

แต่เราสู้ไม่ถอย ยังไงๆ ก็อยากจะเป็นศิลปิน

ให้ ไ ด้ เขาคงเห็ น ว่ า ถ้ า เราอยากเป็ น ศิ ล ปิ น จริงๆ คงไม่ทนอยูอ ่ ย่างงี้มาเกือบสองปี

ชาวต่างชาติยงั ไม่เกี่ยว คือ รัฐบาลเขาเสียดาย

ตอนนั้นผมอายุ ๒๒ เอง

เลย ทั้งๆ ที่ผลงานของเขาท�ำประโยชน์ให้กับ

ที่เราอดทนอย่างนีไ้ ด้ ก็เพราะว่าอยาก

ที่ ไ ม่ มี โ อกาสได้ ดู แ ลศิ ล ปิ น อย่ า งแวนโก๊ ะ ห์

ประเทศไว้มาก เขาคงไม่อยากพลาดซ้�ำสอง

จะเป็นศิลปินจริงๆ ไม่ใช่ศิลปินที่เห็นแก่เงิน

ก็เลยออกทุนสนับสนุนศิลปินของคนในชาติ

แต่ เ ป็ น ศิ ล ปิ น ที่ ศ รั ท ธาในความเป็ น ศิ ล ปะ

เงิ น ที่ รั ฐ บาลเอามาจ่ า ยให้ เ ป็ น เงิ น

ก็ ต้ อ งศรั ท ธาในพระพุ ท ธศาสนา ไม่ ใ ช่ แ ค่

ไม่เกี่ ยว เขาก็ ไม่อยากช่วย ไม่อยากให้เรารู้

ต้องมีความเข้าใจว่าสิง่ ที่เราสร้างสรรค์ออกมา

เขาให้ได้มีชีวิตอยูไ่ ด้

ส�ำหรั บ ช่ ว ยคนในชาติ เ ขา ศิ ล ปิ น ต่ า งชาติ

เปรียบเช่นเดียวกับคนที่จะเป็นบวชเป็นพระ

บวชๆ ไปเพราะอยากเป็นพระ การเป็นศิลปิน

ที่น่ีเราก็ไม่รู้จะท�ำยังไงได้นอกจากท�ำงานให้

จะเป็นประโยชน์กับโลกต่อไป เป็นงานศิลปะ

มากๆ เราต้องการพิสูจน์ให้เขาเห็นว่าศิลปะ

อดทนและซื่ อ ตรงกั บ ความเป็ น จริ ง ที่ อ ยู่ ใ น

หนักที่ สุด ท�ำให้เขาเห็นว่าเราเอาจริงเอาจั ง นั้นเป็นสากล เป็นของมนุษยชาติ ไม่มีมาแบ่ง หรอกว่าเป็นไทยหรือเป็นดัตช์ ศิลปะนั้นข้าม

ที่ชว ่ ยจรรโลงจิตใจให้กับคนที่ได้เห็น เราต้อง จิตใจของเราและถ่ายทอดออกมาให้ได้

การเป็​็ น ศิ​ิ ล ปิ​ิ น เป็​็ น เรื่​่� อ งที่​่� เ สี่​่� ย งมาก

เส้นเขตแดนไปหมดแล้ว ถ้างานเราดีถงึ เข้าขัน ้

เพราะเราไม่​่มี​ีทางรู้​้�หรอกว่​่าชี​ีวิ​ิตเราจะได้​้อยู่​่�

โชคดี​ี ที่​่� เ ขามี​ี ค ณะกรรมการที่​่� เ ข้​้ า ใจ

หรอกว่​่าอี​ีก ๗๕ ปี​ีต่​่อมา เราจะได้​้เป็​็นศิ​ิลปิ​ิน

ศิ​ิลปิ​ินต่​่างชาติ​ิประมาณสิ​ิบคน แต่​่ก็​็ไม่​่ได้​้ว่​่า

ทั้​้� งนั้​้� น อ.ศิ​ิลป์​์ให้​้เรามาเยอะมาก เรามี​ีท่​่าน

จริงๆ พิพิธภัณฑ์เขาก็เก็บไว้ได้หมด

ศิ​ิ ล ปะในแง่​่ มุ​ุ ม นี้​้� จ ริ​ิ ง ๆ เขาก็​็ เ ลยให้​้ โ อกาส

18

สุ​ุ ข สบายเป็​็ น คนรวย ตอนนั้​้� น เองเราก็​็ ไ ม่​่ รู้​้�

แห่​่งชาติ​ิ ไม่​่เคยคิ​ิ ดเลย ทุ​ุกอย่​่างอยู่​่�ที่​่� ใจเรา


เป็​็นแรงศรั​ัทธาที่​่�ทำำ�ให้​้เราอยากทำำ�งานศิ​ิลปะ

ตลาดศิลปะให้ประมาณสองเท่า ส่วนเงินเดือน

เหมื​ือนท่​่ านเราก็​็ เลยมุ่​่�งมาทางสายนี้​้� พอไป

เขาก็ จะแบ่งให้ตามอายุ ยิ่งอายุ เยอะหน่อย

สวยงามเป็​็นระเบี​ียบ มี​ีศิ​ิลปะชั้​้�นยอดเต็​็มไป

ก็ ต้ อ งมี ค่ า ใช้ จ่ า ยอย่ า งอื่ น เยอะขึ้ น ตามมา

ถึ​ึงฮอลแลนด์​์ ก็​็ยิ่​่�งประทั​ับใจว่​่าบ้​้านเมื​ืองเขา

หมด บ้​้ า นเมื​ืองเขามี​ี ล งทุ​ุ น สร้​้ า งพิ​ิ พิ​ิ ธ ภั​ั ณ ฑ์​์

เขาก็จะให้มากขึ้นเพราะเขารู้ว่าแก่ลงไปแล้ว ด้ ว ย เขาสนั บ สนุ น เรามากเป็ น สวั ส ดิ ก ารที่

เก็​็บงานพวกนี้​้�อย่​่างดี​ี พิ​ิสูจ ู น์​์เลยว่​่างานศิ​ิลปะ

ดี​ีมาก นอกจากนี้​้�ยังั มี​ีสวั​ัสดิ​ิการที่​่�ดี​ีมาก มี​ีเงิ​ิน

เพื่​่�อที่​่� เป็​็นศิ​ิลปิ​ินให้​้ได้​้ อย่​่างนั้​้� นบ้​้าง มั​ันเป็​็น

ค่​่ า ย้​้ า ยของ มี​ี ค่​่ า ใช้​้ จ่​่ า ยให้​้ เ ดิ​ิ น ทางไปดู​ู ง าน

เนี่​่�ยมี​ีคุ​ุณค่​่ามากขนาดไหน เราก็​็เลยยอมอด

ความเสี่​่�ยงที่​่� แลกกั​ั บทั้​้� งชี​ีวิ​ิต แล้​้ วเราก็​็ ทำำ�ได้​้

ไม่น้อยหน้ากับฝรั่งที่น่ันเลย

เคยมี​ี อ ยู่​่�ครั้​้� ง หนึ่​่� ง เราก็​็ ถู​ู ก จ้​้ า งไปให้​้

สนั​ับสนุ​ุนทั้​้�งค่​่าอุ​ุปกรณ์​์วาดรู​ูป ค่​่าเช่​่าสตู​ูดิ​ิโอ ศิ​ิลปะที่​่�นู่​่�นที่​่�นี่​่�อี​ีกด้​้วย เรี​ียกว่​่าดี​ีมากจริ​ิงๆ

รัฐบาลเขาเข้าใจศิลปินมาก ไม่มีการ

มาบังคับว่าจะต้องท�ำงานแบบนี้ๆ หรือแบบ

วาดงานบนผนั​ังบนตึ​ึกที่​่�เมื​ือง Delft เป็​็นงาน

นั้​้�นๆ มาให้​้ เขารู้​้�ว่​่าศิ​ิลปิ​ินต้​้องมี​ีอิ​ิสระในการ

เราไปทำำ�งานกั​ับช่​่างฝรั่​่�ง ช่​่างเขาก็​็ทำำ�งานไม่​่

เป็​็นศิ​ิลปะจริ​ิงๆ ออกมา เขาไม่​่มาสั่​่�งศิ​ิลปิ​ิน

ใหญ่​่มากขนาด ๙๐ กว่​่าตารางเมตร เขาจ้​้าง

สร้​้างสรรค์​์อย่​่างเต็​็มที่​่� ไปบั​ังคั​ับก็​็ไม่​่ได้​้งานที่​่�

ละเอี​ียด เราไปทำำ�งานก็​็ต้​้องขี​ีดเส้​้นวั​ัดให้​้เป๊​๊ะๆ

หรอกว่​่าต้​้องวาดอะไรๆ หรอก

ออกมาเป็​็นศิ​ิลปะที่​่�สมบู​ูรณ์​์ไม่​่ใช่​่ทำำ�ให้​้เสร็​็จๆ

ก็ท�ำงานชุ่ยๆ ก็มีเยอะ แต่ผมให้ความส�ำคัญ

ใส่​่ใจกั​ับทุ​ุกรายละเอี​ียด เพราะเราอยากให้​้งาน ไป คนจ้​้างมาเห็​็นเขาก็​็ชอบใจกั​ับงานมาก เรา

ศิลปินดัตช์หลายๆ คนที่ได้ทุนนี้แล้ว

กับงานของผมมาก ตั้งใจท�ำทุกชิ้นไม่มีปล่อย

ก็​็ดี​ีใจที่​่�งานมาเรี​ียบร้​้อยสมบู​ูรณ์​์ ส่​่วนช่​่างฝรั่​่�ง

ชุ่ยๆ ออกไปเด็ดขาด ผมอยากจะพิสูจน์ด้วย

จบงานนี้ เ ราก็ ไ ด้ เ งิ น ก้ อ นใหญ่ ม า

ลวกๆ เรารักษาคุณภาพของงานให้ดีต่อเนื่อง

ก็​็โอเค เขาก็​็เข้​้าใจเพราะว่​่างานนี้​้�มัน ั ยากจริ​ิงๆ

แหละว่าเป็นคนต่างชาติอย่างเราไม่ได้ท�ำอะไร

เหมอ ื นกัน แบบพอดีให้เราไม่ต้องท�ำงานพวก

แล้วผมก็ท�ำอย่างนี้ต่อมาเรื่อยๆ ก็ ๕๐ กว่าปี

ก็กลับไปแบบเดิมต่อ จนในที่สุดก็ได้เข้าไปอยู่

มาแล้ว ไปไหนมาไหนก็สะดวกกว่าเยอะ ไม่ตอ ้ ง

ท�ำให้สบายขึน ้ งส่งรูป ้ มาพอสมควร แต่เราก็ตอ

ผมเป็ น คนชอบเดิ น ทาง ในแต่ ล ะปี

ยกของอะไรไปประมาณสามเดือน จากนั้นเรา

ในระบบศิลปินของรัฐบาล ได้เงินเดือนสูงมาก

แล้ว อยู่นานจนเขาให้พาสพอร์ตฮอลแลนด์

ไปท�ำวีซา่ ให้วุ่นวาย ท�ำให้ชวี ิตผมง่ายขึ้นเยอะ

ให้เขาอยูต ่ ่อไปนะ เขาก็จะมาเลือกรูปของเรา

ผมจะใช้เวลาขับรถสองเดือนไปทั่วยุโรป เพื่อ

เขาจ่ายให้ก็จะสูงกว่าที่ตามแกลลอรี่หรอ ื ตาม

เลย เราก็ขับรถไปเรื่อย

ไป แล้วก็จะจ่ายค่ารู ปให้เราด้วย โดยราคาที่

ไปดูพิพิธภัณฑ์ต่างๆ ไปเรื่อย ไปทั่วยุโรปหมด

19


ความแตกต่​่างของช่​่างเขี​ียนและศิ​ิลปิ​ิน สมัยก่อนเวลาคนเขาเขียนรูปเป็น ก็จะ

แบบไหน คนส่วนมากก็เลยไม่เข้าใจ พ่อแม่

อยูอ ่ ย่างเดียว เพราะคนไม่รูว ้ ่ามันมีอะไรมาก

ก็ มี หั ว มาก แต่ พ่ อ แม่ ก็ ไ ม่ ส นั บ สนุ น ให้ เ รี ย น

ก็ จ ะมี เ งิ น เพราะได้ ไ ปเขี ย นรู ป หน้ า โรงหนั ง

การเป็ น ศิ ล ปิ น ไม่ ใ ช่ ว่ า วาดรู ป สวย

มีแต่คนถามว่าเขียนให้เก่งเหมือน เหม เวชกร

ไปกว่านัน ็ ิดว่าเป็นศิลปินจบไปแล้ว ้ หรือไม่กค

หลายคนก็ไม่สนับสนุนให้เรียน เพื่อนหลายคน

กลัวว่าลูกจะไม่มีอันจะกิน

เยอะ เขาคิดแค่ชา่ ง เพื่อนวชิราวุธฯ หลายคน

อย่างเดียวแล้วเป็นได้ บางคนฝีมือดีมาก แต่ก็

เด็ ก วชิ ร าวุ ธ ฯ เก่ ง ๆ ต้ อ งไปเป็ น หมอ เป็ น

จะท�ำเป็นงานศิลปะออกมาเองจริงๆ ซึง่ พวกนี่

ก็ดูถูกเพราะไม่เข้าใจว่าศิลปินไม่เหมือนช่าง นายร้อย เป็นต�ำรวจ เป็นทหาร เป็นวิศวะ เป็น

เน้นไปวาดรูปขายเอาใจคนที่มาจ้างมากกว่าที่

ก็จะท�ำให้งานขายดี เพราะคนจ้างชอบ ทีนพ ี้ อ

สถาปัตย์ พวกนี้ก็จะรู้สึกว่าตัวเองเก่งกันมาก

งานขายดีเขาก็มก ั จะท�ำงานออกมาตามตลาด

ต้องไส้แห้งเหมือน เหม เวชกร เพราะเขารู้จัก

ไม่กล้าทดลอง ไม่กล้าท�ำอะไรบ้าๆ บอๆ เพราะ

ไม่เหมือนกับพวกไปเรียนศิลปะ พวกนั้นจะ

อยู่แค่น้ีจริงๆ ไม่เคยคิดกันหรอกว่าศิลปะจะ ไปได้ถึงระดับโลก

ผมไม่เคยชอบ เหม เวชกร มาตั้งแต่

ไหนแต่ไรแล้ว คือ เหม เวชกร เป็นนักเขียน

ภาพประกอบ ซึ่ ง นั ก เขี ย นภาพประกอบ

งานก็จะไม่เหมือนกับภาพวิจิตรศิลป์เลย ซึ่ง เป็ น คนละอย่ า งเลย วิ ช าวาดเขี ย นเป็ น แค่

เขาจะไม่กล้ าที่ จะทดลองศิลปะแขนงใหม่ๆ คนก็ จะไม่ซื้อ เขียนบ้าๆ บอๆ ก็ ไม่มีคนซื้อ ไม่มีรายได้อีก บางคนก็ขยันเขียนรู ปออกมา

แนวนี้ อ ย่ า งเดี ย วจริ ง ๆ ตอนเช้ า เขี ย นเสร็ จ ตอนเย็นแกลลอรี่ก็มารับเอารูปไปขายทันที

เวลาจะสอนงานศิลปะเด็กๆ ไม่ใช่บอก

ให้เด็ กไปวาดรู ปต้ นมะพร้าวแล้ วก็ เอามาส่ง

ไม่ได้ ท�ำอย่างนัน ้ ไม่ได้ เราต้องสอนให้เด็กเขารู้

ช่า งวาด แต่ ศิ ล ปะเป็ น อะไรที่ ใ ช้ ปั ญ ญากว่ า

ทีม ่ าทีไ่ ปของศิลปะ รูค ้ วามส�ำคัญว่าศิลปะเป็น

เป็ น วิ ช าวาดเขี ย น วิ จิ ต รศิ ล ป์ หรื อ ที่ ภ าษา

ไม่ใช่สักแต่ ว่าไปวาดมาส่งเดช งานศิลปะที่

เยอะ สมัยเด็กเราก็ไม่เข้าใจว่าอะไร รู้แค่ว่า อั งกฤษเรียกว่า visual arts/fine arts เป็น

ศิลปะบริสุทธิ์ ต่างจากกับศิลป์อื่นๆ ไม่ใช่งาน

อย่างไง ต้องเข้าใจแก่นของความเป็นศิลปะ

เห็นส่วนมากในเมืองไทยเลยเป็นแต่งานช่าง อย่างเดียว ท�ำตามที่ครู บอกแล้วก็วาดตามๆ

ช่างฝีมือ เอาไปเทียบกับงานอื่นๆ ไม่ได้

กันไป งานศิลปะในเมืองไทยเลยไม่คอ ่ ยมีอะไร

Leonardo da Vinci คือใคร Raphael คือใคร

เขา ศิลปะคือสิ่งสุดยอดของพวกเขาเลย ไปดู

การศึกษาในเมืองไทยไม่เคยมีสอนว่า

van Gogh คืออะไร Cezanne คือใคร ไม่มีใคร

รูจ ้ ก ั จริงๆ เขาก็เลยมองไปเพียงแค่วา่ ศิลปะมัน มีอยู่แค่ช่างสิบหมู่ เขาไม่รู้ว่าศิลปะเป็นวิชา

20

เปลี่ยนแปลง ผิดกับที่ตะวันตกของพวกฝรั่ง

ตามมิวเซียมต่างๆ ก็เห็นแล้วว่าส�ำคัญแค่ไหน ศิลปินเลยเป็นสิ่งที่เขายกย่องกันมาก


อย่​่ า งที่​่� บ อกไปแล้​้ ว ว่​่ า ไม่​่ ใ ช่​่ ว่​่ า ใครก็​็

อยากดัง คุณอยากมีชื่อเสียง เป็นความอยาก

เป็​็นศิ​ิลปิ​ินได้​้ ความเป็​็นศิ​ิลปิ​ินเลยได้​้รับ ั ความ

ที่คุณอยากทั้งนั้น เมื่อไม่มีใครสนใจคุณ คุณก็

ได้​้ เพราะมี​ีตำำ�ราระบุ​ุไว้​้อยู่​่�แล้​้ว แต่​่ความเป็​็น

ศิลปิน คุณไม่สนใจหรอกว่าจะต้องดัง ต้องมี

สำำ�คั​ัญ อาชี​ีพอย่​่างหมอหรื​ือทนายใครๆ ก็​็เป็​็น ศิ​ิลปิ​ินมั​ันไม่​่มี​ีตำำ�ราบอกไว้​้ไง

คุ​ุณจะเป็​็นศิ​ิลปิ​ิน คุ​ุณต้​้องสุ​ุดโต่​่ง คุ​ุณจะ

มาประนี​ี ป ระนอมกั​ั บ ความรู้​้�สึ​ึ ก กั​ั บ งานของ

คุ​ุ ณ ไม่​่ ไ ด้​้ ศิ​ิ ล ปิ​ิ น เลยเป็​็ น มนุ​ุ ษ ย์​์ ที่​่� อ ยู่​่�ลำำ� บาก หน่​่อย เพราะเขาไม่​่สามารถประนี​ีประนอม

กั​ับใคร ศิ​ิลปิ​ินหลายๆ คนเลยต้​้องอยู่​่�คนเดี​ียว อยู่​่�ในโลกของเขา

คนที่เกิดมาเป็นศิลปิน กับคนที่เกิดมา

อยากเป็นศิลปินมันไม่เหมือนกันนะ คุณอยาก เป็นศิลปินเพราะอะไร? เพราะศิลปินมันโก้

บ้างละ มันรวยบ้างละ แต่จริงๆ แล้วคุณมัน

หมดความหมาย แต่ส�ำหรับคนที่เกิดมาเป็น ชื่ อ เสี ย งขนาดไหน คุ ณ ก็ ท�ำงานของคุ ณ ไป

เรื่อยๆ ไม่ต้องมีใครมาสนใจ ไม่ต้องโดดเด่น แต่ เ ขามี ค วามสุ ข กั บ การได้ ท�ำงานศิ ล ปะไป เรื่อยๆ ผมอยากจะมีเวลาแค่ได้ท�ำงานศิลปะ

ได้ใช้เวลาของชีวิตท�ำงานศิลปะ มีชีวิตอยู่ได้ โดยไม่ต้องไปล�ำบากใคร มีกินมีใช้

ผมบอกเสมอว่ า ผมประสบความ

ส�ำเร็จเร็ว เพราะความส�ำเร็จผมอยู่เท่ านี้ไง

ผมได้ใช้ชีวิตท�ำงานศิลปะที่ผมอยากท�ำ โดย ไม่ต้องคอยไปวิ่งท�ำงานตามที่คนอื่นบอก

21


คุณค่าของศิลปะ ศิ ล ปะที่ แ ท้ จ ริ ง ก็ คื อ ผลผลิ ต ทาง

งานนั้​้�นดี​ี ดี​ีกั​ันไปคนละแบบ คนละสไตล์​์ เรา

ความหมายให้ ม นุ ษ ย์ เ ราแตกต่ า งจากสั ต ว์

ลำำ� บาก เพราะงานชั้​้� น ดี​ี แ ต่​่ ล ะชิ้​้� น ก็​็ มี​ี คุ​ุ ณ ค่​่ า

ปัญญาของมนุษย์ ที่จะเป็นสื่อสร้างสรรค์เพื่อ

ทั้งหลาย ศิลปะเป็นจิตวิญญาณของมนุษย์ใน

จะเอางานของแต่​่ ล ะคนมาเปรี​ี ย บเที​ี ย บกั​ั น

ด้​้วยกั​ันทั้​้�งนั้​้�น ตอนเริ่​่�มเรี​ียนก็​็มี​ีคนที่​่�เราชอบ

ด้านความงามทีเ่ ราผลิตออกมาให้เพื่อนมนุษย์

เป็​็นพิ​ิเศษละ แต่​่พอทำำ�งานมาถึ​ึงตอนนี้​้�แล้​้ว

ความเป็นมนุษย์ข้ึนไปอีก

เป็​็นพิ​ิเศษ

ของเราได้เห็น เพื่อที่มนุษย์เราจะได้ยกระดับ

ถ้​้าคุ​ุณไปมิ​ิวเซี​ียมในอั​ัมสเตอร์​์ดั​ัมแล้​้ว

เป็​็นมื​ืออาชี​ีพเหมื​ือนกั​ันแล้​้วเราก็​็ไม่​่ได้​้มี​ีใคร ยกตัวอย่างถ้าเราดูเป็นงาน Renais-

เข้​้าไปดู​ูงานที่​่�ชื่� ่อว่​่า The Night Watch ของ

sance เป็นงานสมัยโบราณ เป็นงานยุ คนั้ น

และพลั​ังที่​่�งานศิ​ิลปะส่​่งออกมาให้​้คุณ ุ ความงาม

ก็ ยั ง ไม่ ห นี จ ากการเป็ น สองมิ ติ สามมิ ติ

มากกว่​่ า ส่​่ ง ผลให้​้ ไ ปสร้​้ า งปั​ั ญ ญา ไปสร้​้ า ง

abstract ก็เพราะบริบทในสังคมตอนนั้นยัง

Rembrandt คุ​ุณก็​็จะรู้​้�สึ​ึกได้​้ถึ​ึงความสวยงาม ของศิ​ิ ล ปะจะทำำ� ให้​้ คุ​ุ ณ รู้​้�สึ​ึ ก มี​ี พ ลั​ั ง ที่​่� ไ ด้​้ รั​ั บ

คนในยุคนี้ก็ยังท�ำงานแบบนั้นได้ เพราะงาน

เท่าที่เราจะเห็นได้ แต่งานสมัยนั้นยังไม่เป็น

ความคิ​ิด

ไม่​่เป็​็น ในสมั​ัยนั้​้� นมี​ีศิ​ิลปิ​ินกั​ั นเยอะมาก แต่​่

เราไปวัด เข้าไปหาความสงบ ไปสร้างปัญญา

Michelangelo, Raphael หรื​ือ da Vinci ดั​ัง

มิ ว เซี ย มเขามี ไ ว้ ใ ห้ ทุ ก คนเข้ า ไปดู น ะ ไม่ ไ ด้

แตกต่​่างจากคนอื่​่�น ต่​่างจากคนที่​่�เป็​็นช่​่างฝี​ีมื​ือ

เวลาฝรัง่ ไปมิวเซียมกันเนีย ่ เขาเหมอ ื น

และรั บ พลั ง จากงานศิ ล ปะ ไปฟื้ นฟู จิ ต ใจ

ทำำ� ไมมี​ี แ ค่​่ ไ ม่​่ กี่​่� ค นที่​่� ดั​ั ง ขึ้​้� น มา ที่​่� ค นอย่​่ า ง

ขึ้​้� น มาได้​้ ก็​็ เ พราะเขามี​ี พ รสวรรค์​์ พิ​ิ เ ศษที่​่�

สร้างให้ไว้เฉพาะพวกศิลปินไปดูกันเอง เขาให้

ทั่​่�วไป พรสวรรค์​์พวกนี้​้�ไม่​่ได้​้มี​ีกั​ันทั่​่�วไป

ใจของมนุษยชาติ แต่ คนไทยเรายังมีอคติ ท่ี

Age ของ Rembrandt ก็มีศิลปินคนอื่นๆ อีก

เป็นของคนชั้นสูง เป็นของคนเฉพาะกลุ่ม ซึ่ง

เลย แต่ท�ำไมคนเหล่านี้ไม่ดัง ก็เพราะเขาไม่มี

ทุ ก ๆ คนได้ เ ข้ า ไปดู ศิ ล ปะเป็ น อาหารทาง

เข้ า ใจผิ ด กั บ ศิ ล ปะอยู่ เราชอบหาว่ า ศิ ล ปะ

ก็ อ ย่ า งที่ บ อกไปแล้ ว ว่ า มั น ไม่ ใ ช่ ศิ ล ปะเป็ น ของเราทุกคน

ถามผมว่​่าผมชอบศิ​ิลปิ​ินคนไหนเป็​็น

พิ​ิ เ ศษ ผมก็​็ ต อบไม่​่ ไ ด้​้ เ พราะผมชอบเยอะ

อย่างในฮอลแลนด์ยุค Dutch Golden

เยอะนะที่เขียนรูปเป็น เขียนดีดว ้ ย เขียนเนีย ้ บ พรสวรรค์เหมือนกับที่แรมแบรนท์มี เรื่องนี้ก็ เป็นเรื่องที่พิเศษกว่าคนอื่นๆ เรื่องพวกนี้ต้อง

ใช้เวลาด้วย ต้องใช้ความขยันมากด้วย

ในช่วงของยุค Impressionist คุณก็

มาก พอเราเห็​็นงานเยอะขึ้​้�นเราก็​็จะรู้​้�แล้​้วว่​่า

จะนึ ก ถึ ง ชื่ อ อย่ า ง van Gogh, Gauguin,

ใครเพี​ียงแค่​่ คนเดี​ี ยวคงเป็​็นไปไม่​่ได้​้ เพราะ

ของแต่ละคนก็แตกต่างกันออกไป งานเหล่านี้

งานศิ​ิลปะที่​่�ดี​ีมั​ันมี​ีเยอะไปหมด จะให้​้มาชอบ

22

Picasso ศิลปินเหล่านีอ ้ ยูใ่ นยุคเดียวกัน แต่งาน


ต้ องท�ำงานศิลปะให้เป็นเรื่องยาก เป็นเรื่อง

เครี ย ด ถ้ า คุ ณ คิ ด แต่ เ รื่ อ งคอนเซ็ ป ต์ พ วกนี้ คุณก็ไม่มีทางจะคิดอย่างอื่นไปได้แล้ว คุณก็

จะเครี ย ดอยู่ กั บ ความคิ ด พวกนี้ คุ ณ ต้ อ ง

เริ่มต้นด้วยใจ ด้วยความรู้สึกคุณก่อน ยิ่งถ้า

คุณท�ำงานมินม ิ อล หรอ ื abstract คุณจะไปหา เหตุผลมาใส่อะไรให้มน ั ได้ คุณเขียนทะเลสวย

รูปก็คอ ื ทะเลสวย คุณเขียนพระอาทิตย์ขน ้ึ สวย

ก็ เ ป็ น รู ป พระอาทิ ต ย์ ข้ึ น ที่ ส วย คุ ณ จะไปมี

คอนเซปต์อะไรได้นอกจากรู ปที่มันสวยที่อยู่ ข้างหน้าคุณ คุณจะไปเครียดกับความสวยท�ำไม

คุ ณ ไม่ ส ามารถเอาเหตุ ผ ลมาใช้ กั บ

ศิลปะได้ ศิลปะไม่ได้หมายความว่า ๒ + ๒ = ๔ ตลอด, ๒ + ๒ = ๖ ก็เป็นไปได้เหมือนกัน

ศิลปะไม่มก ี ฎเกณฑ์หรอก เราอย่ามัวแต่ไปยึด ติดกับกฎเกณฑ์อะไรทั้งหลายตามกรอบความ เป็นวิชาการ อันนั้นมันส�ำหรับนักวิชาการ แต่

ศิลปินเราต้องหลุดออกไปให้ได้ คุณต้องไม่กลัว

ผิด สัดส่วนก็มีแต่สวยกับไม่สวย ไม่มีหรอกว่า ก็ มี ค่ า ด้ ว ยกั น ทั้ ง นั้ น อยู่ ท่ี ว่ า คุ ณ จะเห่ อ ใคร

เป็นพิเศษก็เท่านั้น ซึ่งเรื่องเหล่านี้ก็ข้ึนอยู่แต่

รสนิยมส่วนตัว แต่อย่าเอาไปเทียบกันว่าใคร มีคุณค่ามากกว่ากัน

วั นก่ อนผมไปสอนกั บเด็ กที่ โรงเรียน

เพาะช่าง เด็ กก็ ถามว่ างานของผมแต่ ละชิ้น

มีคอนเซ็ปต์อะไร ผมก็เลยถามกลับไปว่าคุณ รู้ สึ ก ยั ง ไงกั บ งานชิ้ น นี้ ม ากกว่ า คื อ เริ่ ม ต้ น ก็

เครียดกันแล้วว่าคอนเซ็ปต์คืออะไร ท�ำไมเรา

ผิดหรือถูก ถ้าวาดหัวโตแล้วดูสวยก็สวย

แต่ ก ว่ า จะสลั ด กรอบทางวิ ช าการที่

ว่านี้ได้ก็เป็นเรื่องที่ยากอยู่เหมือนกัน เพราะ

ผมเรี ย นศิ ล ปะแบบนี้ ม าตั้ ง หลายปี ต้ อ งใช้ เวลาเหมื อ นกั น กว่ า จะสลั ด กรอบพวกนี้ ไ ด้

ซึ่ ง ก็ ต้ อ งลองวาดรู ป ออกจากกรอบเดิ ม ๆ ที่

เคยวาด อย่า งผมตอนแรกก็ วาดแต่ พวกวั ด พวกวิวธรรมชาติอยู่เหมือนกัน แต่พอเริ่มได้

ลองวาดอะไรใหม่ๆ ก็ท�ำให้ผมได้เห็นว่าศิลปะ

ยังมีมุมอื่นที่เราวาดได้อีกเยอะ

23


วงการศิ​ิลปะในเมื​ืองไทย ผมไม่​่ค่​่อยชอบที่​่�จะวิ​ิจารณ์​์ใครเท่​่าไร

เพราะศิ​ิลปิ​ินไทยเขาอี​ีโก้​้ค่​่อนข้​้างเยอะ ไปว่​่า

ที่​่�นี่​่�พอคุ​ุณมาดู​ูงานของผม คนดู​ูก็​็พู​ูด

ได้​้เลยว่​่าไอ้​้งานแบบนี้​้�กูก็ ู ็ทำำ�ได้​้ ง่​่ายแค่​่นี้​้�ก็​็เป็​็น

อะไรใครเขามากไม่​่ค่​่อยได้​้ และอี​ีกอย่​่าง คื​ือ

ศิ​ิลปะแล้​้วหรอ? แต่​่ผมก็​็ชอบถามกลั​ับเสมอว่​่า

ไปว่​่ าใครอะไรก็​็ ไม่​่ค่​่อยได้​้ วงการศิ​ิลปะไทย

ผมมี​ีฝี​ีมื​ือเท่​่านี้​้� ผมทำำ�งานที่​่�ยากกว่​่านี้​้�มานาน

เยอะเท่​่ าไร ใครได้​้ รางวั​ั ลอะไรก็​็จะดั​ั งขึ้​้� นมา

ก็ เพราะสิ่งนี้เป็นสิ่งที่ผมรู้สึกอยู่ ผมมีความ

ผมเป็​็นศิ​ิลปิ​ินเหมื​ือนกั​ัน ไม่​่ใช่​่นั​ักวิ​ิจารณ์​์จะ แคบมาก คนไทยเองก็​็ ไม่​่ได้​้ เห็​็นศิ​ิลปะอะไร

ทำำ�ไมคุ​ุณไม่​่ทำำ� ที่​่� ผมทำำ�เท่​่ านี้​้�ไม่​่ใช่​่ว่​่าเพราะ

เท่​่ า ไรแล้​้ ว ก็​็ ไ ม่​่ รู้​้� แต่​่ ที่​่� ผ มทำำ� ออกมาแบบนี้​้�

ทั​ันที​ี อย่​่าง อ.ชลู​ูด นิ่​่�มเสมอ เขี​ียนอะไรที่​่�เป็​็น

รู้ สึ ก แบบนี้ ผมก็ เ ลยถ่ า ยทอดออกมาเป็ น

เป็​็นแนวกล้​้ามเนื้​้� อแน่​่นๆ ประยุ​ุกต์​์ใส่​่ลายไทย

ศิ ล ปิ น ของผมมั น ถ่ า ยทอดลงมาเหลือ เท่ า นี้

ไทยๆ ก็​็เป็​็นสไตล์​์แบบนั้​้�นไป ถวั​ัลย์​์ ดั​ัชนี​ี ก็​็

ศิลปะเท่านี้ ประสบการณ์ห้าสิบกว่าปีท่ีเป็น

เข้​้าไปหน่​่อย ส่​่วนเฉลิ​ิมชั​ัย โฆษิ​ิตพิ​ิพัฒ ั น์​์ ก็​็เป็​็น

ผมวาดงานเท่านีก ้ ็พอใจแล้วที่สามารถระบาย

มี​ีความเป็​็นไทย ที่​่� บอกมาแบบนี้​้�ก็​็เพราะว่​่ า

เพราะผมรู้สึก ถ้าคุณมาวาดงานแบบผมคุณ

ลายไทยแบบเยอะๆ คนก็​็ ชอบกั​ั นไปเพราะ

วงการศิลปะไทยก็เทียบกันอยูใ่ นเมืองไทยเท่านี้

ความรู้สึกของผมในตอนนั้นออกมาได้ ผมท�ำ

ก็ ไ ด้ แ ค่ ห ลอกงาน เพราะคุ ณ ไม่ ไ ด้ รู้ สึ ก เลย

ไม่ ไ ด้ ไ ปเที ย บกั น ดู ว่ า ที่ อื่ น ๆ ในโลกเขาเป็ น

คุณเลยไม่มีทางท�ำได้แบบที่ผมท�ำ

เรารู้ จั ก ศิ ล ปิ น กั น อยู่ เ ท่ า นี้ เห็ น ได้ ว่ า เราจะ

มี กั น อยู่ เ ท่ า นี้ เพราะสภาพแวดล้ อ มเราไม่

ในราคาแพงๆ เหมื อ นกั บ ศิ ล ปิ น เมื อ งนอก

ทั้งหลายก็เลือกจะสนับสนุนงานที่มีแต่ความ

คนไทยเราชอบดูงานศิลปะกันที่ฝีมือ

(ศิลปินรุน ่ ใหม่ก็จะท�ำงานแบบไทยอย่างเดียว

แบบไหน คนไทยก็ ซื้องานศิลปะไทยเพราะ

ไม่ ค่ อ ยได้ ยิ น ว่ า มี ฝ รั่ ง มาซื้ อ งานศิ ล ปะไทย ก็เพราะเรามีกันอยูเ่ ท่านี้

ผลงานประกวดทั้งหลายก็จะมีงานที่โชว์ฝีมือ

งานศิ ล ปะในเมื อ งไทยเลยแคบมาก

สนับสนุนอะไรให้เกิดแบบนีเ้ ลย พวกผูอ ้ ป ุ ภัมภ์

เป็นไทย งานศิลปะอย่างอื่นก็เลยไม่มใี ครใส่ใจ เพราะมันเป็นทางเดี ยวที่ จะท�ำให้เขามีชีวิต

กั น เน้ น ๆ งานก็ จ ะเต็ ม ไปด้ ว ยความเครี ย ด

อยูร่ อดต่อได้)

เพราะศิลปินต่างก็กดดันสูง งานมันบีบคั้นให้

(พ.ศ.๒๕๕๗) คนก็​็งง คนก็​็สงสั​ัยว่​่างานของ

ดูจากชื่อก็ได้ ชื่องานศิลปะในไทยจะต้องยาก

ที่​่�ทำำ�แบบไทยๆ อย่​่างเดี​ียวมาตลอด งานศิ​ิลปะ

เครียดมากเมื่อเที ยบกั บงานศิลปะในที่ อื่นๆ ต้ อ งมี เ รื่ อ งมี ร าว แต่ ล ะชิ้ น ต้ อ งมี ค อนเช็ ป ต์

ต้องมีศพ ั ท์ทท ่ี �ำให้คนดูกลัว ดูวา่ นีเ่ ป็นงานชัน ้ สูง คนเข้าถึงยาก วิจารณ์ได้ยาก

24

ตอนที่​่� ผ มได้​้ ร างวั​ั ล ศิ​ิ ล ปิ​ิ น แห่​่ ง ชาติ​ิ

ผมมั​ันสวยตรงไหน เพราะเราเคยชิ​ินแต่​่ศิล ิ ปิ​ิน

สไตล์​์อื่� ่นเลยไม่​่มี​ีใครรู้​้�จั​ัก

เราจ�ำเป็นต้องสอนให้สงั คมรูจ ้ ักศิลปะ

อย่างอื่นด้วย รู้จักแก่นว่างานศิลปะที่แท้จริง


25


เป็นอย่างไร ไม่ใช่แค่เห็นแต่เพียงแค่เปลือก วิธีการเราชอบโชว์ออกเพียงอย่างเดียว เอา ผักชีโรยกันอยูอ ่ ย่างนั้น

นี่แหละที่จะเป็นรากฐานการเข้าใจความงาม ของตัวเราเอง

ถ้าไปอยู่เมืองที่ดีๆ มีสภาพแวดล้อม

ใครก็ ต ามที่ อ ยากเป็ น ศิ ล ปิ น จะต้ อ ง

ดี ๆ คุ ณ ก็ จ ะได้ ซึ ม ซั บ กั บ ความเรี ย บร้ อ ยซึ่ ง

เรียนมาได้ แต่คณ ุ จะต้องหลุดจากกรอบศิลปะ

ไปด้ ว ย แต่ ถ้ า คุ ณ อยู่ กั บ อะไรที่ มั น เละเทะ

เอาจริงเอาจัง จะเรียนในไทยก็ได้ เพราะผมก็

ที่มีอยู่ในเมืองไทย เพราะอย่างที่บอกไปแล้ว

ว่าศิลปะนัน ่ เป็นสากลใครทีไ่ หนในโลกก็ชื่นชม

จะส่งผลต่อความสุนทรีย์ของขึ้นให้มีมากขึ้น

ที่ มั น เน่ า คุ ณ ก็ จ ะเคยชิ น กั บ ความสกปรก

พวกนี้ แล้ วคุณก็ จะไม่มีทางเข้าใจได้ เลยว่ า

ศิลปะได้ด้วยกันทั้งนั้น คนที่จะหลุดต้องหลุด

อะไรคือความเรียบร้อยจนกว่าคุณจะได้เจอ

ก็ต้องออกไปข้างนอกด้ วย ไปเจออิ สระของ

ผมคิดว่าผมโชคดีอย่างมากที่ได้เรียน

ไปให้ไกล อย่ามาหลุดอยู่เพียงเท่ านี้ ยังไงๆ โลกข้างนอก ไปยุโรปก็ดีเพราะประวัติศาสตร์

ที่ เ ขาสะสมไว้ น าน แต่ ถ้ า จะไปอเมริ ก าก็ ไ ด้

ไอ้ความเรียบร้อยนั้น

ที่ ว ชิ ร าวุ ธ ฯ ผมได้ ร ากฐานความงามจาก

สิ่งแวดล้อมที่ดีในโรงเรียนมาตลอด ผมโตมา

ที่นิวยอร์ก หรือ แอล เอ ก็ได้ เพราะก็มีศิลปิน

กับความสวยงาม ความเรียบร้อยของโรงเรียน

สุดท้ายแล้วคุณต้องกล้าออกไป

หลายๆ คน ตอนอยู่ โ รงเรี ย นผมไม่ เ คยเจอ

ข้อเสียของเมืองไทย ความโชคดีของเด็กวชิราวุธฯ

ทั้ งหลายก็ เ ลยซึ ม ซั บ มาตั้ ง แต่ ต อนเด็ ก ๆ

อยู่ เ ยอะ เรี ย นพื้ น ฐานในเมื อ งไทยได้ แต่

เมืองไทยเราไม่มีระเบียบอะไร อย่าง

ผมเลยมีรากฐานทางความงามที่ดีกว่าคนอื่น

กองขยะเลย ไม่เคยเจอตึกเน่าๆ ความสวยงาม พื้นฐานทางความสุนทรีย์ของเด็ กวชิราวุ ธฯ เลยมีมากกว่าเด็กข้างนอกมาก

เสียดายที่ตอนอยู่โรงเรียนผมก็เขียน

ตึกแถวทั้งหลายก็คือทาสีครั้งเดียวแล้วจบเลย

หอประชุ ม หอนาฬิกา ตึ กต่ างๆ ผมก็ เขียน

ทาทับท�ำให้ดูดีข้ึนมาบ้าง เรื่องพวกนี้อาจจะ

ไม่ ไ ด้ เ ก็ บ ไว้ เ ลย หายไปหมด น่ า เสี ย ดาย

สี ล อกไปเท่ า ไรก็ ท้ิ ง มั น อยู่ อ ย่ า งนั้ น ไม่ เ คย ดูจุกจิ กไปหน่อย แต่ ภาพที่ เราเห็นทั้ งหลาย

ไปหมด รู ป ร.๖ ก็เขียนเป็นร้อยๆ รู ป แต่ก็ เหมือนกัน

หมายเหตุ​ุกองบรรณาธิ​ิการ:

ชวลิ​ิต เสริ​ิมปรุ​ุงสุ​ุข เสี​ียชี​ีวิ​ิตเมื่​่�อวั​ันที่​่� ๒๗ เมษายน ๒๕๖๓ หลั​ังจากการติ​ิดเชื้​้�อโคโรน่​่าไวรั​ัส (COVID-๑๙)

ที่​่�กรุ​ุงอั​ัมสเตอร์​์ดั​ัม ประเทศเนเธอร์​์แลนด์​์ สิ​ิริริ วมอายุ​ุได้​้ ๘๐ ปี​ี

ทางกองบรรณาธิ​ิการขอร่​่วมแสดงความอาลั​ัยมา ณ ที่​่�นี่​่�ด้​้วย

เขี​ียนโดย: ศศิ​ินทร์​์ วิ​ิทูรู ปกรณ์​์ (โอวี​ี ๗๙), ภาพถ่​่ายโดย: ณั​ัฏฐ์​์ ไกรฤกษ์​์ (โอวี​ี ๗๒) ม.ล.จิ​ิรเศรษฐ ศุ​ุขสวั​ัสดิ์​์� (โอวี​ี ๔๖), เฟซบุ๊​๊�ค Chavalit Soemprungsuk

26


“ต้องรอด” ได้​้มี​ีโอกาสไปเยี่​่�ยมโครงการ “ต้​้องรอด” ของ

คุ​ุณชายอดั​ัม (ม.ร.ว.เฉลิ​ิมชาตรี​ี ยุ​ุคล (โอวี​ี ๗๖)) น่​่าทึ่​่�ง

มากครั​ับ การที่​่�จะสร้​้างศู​ูนย์​์ปฏิ​ิบัติ ั ก ิ ารฉุ​ุกเฉิ​ินขนาดใหญ่​่

เพื่​่� อ ช่​่ ว ยเหลื​ือสั​ั ง คมยามยาก….โดยไม่​่ ไ ด้​้ พึ่​่� ง พาความ ช่​่วยเหลื​ือจากภาครั​ัฐ ไม่​่ใช่​่เรื่​่�องง่​่ายๆ

บริ​ิเวณวั​ัดเทวสุ​ุนทรได้​้ถู​ูกแปลงเป็​็นศู​ูนย์​์ปฏิ​ิบั​ัติ​ิ

การชั่​่� ว คราว มี​ี อ าสาสมั​ั ค รนั​ั บ ร้​้ อ ยมาช่​่ ว ยกั​ั น ทำำ� งาน

โดยไม่​่มี​ีค่​่าจ้​้ าง บ้​้างก็​็ มานอนค้​้ างในเต๊​๊ นท์​์ ในศาลาวั​ั ด

รอบๆ บริ​ิเวณมี​ีทั้​้� งคอนเทนเนอร์​์เก็​็ บความเย็​็นขนาด ใหญ่​่สำ�หรั ำ บ ั เก็​็บอาหารสดที่​่�ได้​้รับ ั บริ​ิจาค มี​ีไข่​่ไก่​่ตั้​้�งกอง

หลายพั​ันโหล มี​ีอาหารแห้​้งและเครื่​่�องใช้​้จำำ�เป็​็นสำำ�หรั​ับ

ยั​ั ง ชี​ี พ ที่​่� ไ ด้​้ รั​ั บ บริ​ิ จ าคตั้​้� ง กองกั​ั น อยู่​่�อย่​่ า งเป็​็ น ระเบี​ี ย บ

นอกจากนั้​้�นแล้​้วยั​ังมี​ีโรงครั​ัวขนาดใหญ่​่ที่​่�สามารถผลิ​ิต

อาหารกว่​่า ๒,๐๐๐ ชุ​ุดต่​่อวั​ัน เพื่​่�อไปส่​่งให้​้ชุ​ุมชนที่​่�ติ​ิดเชื้​้�อโควิ​ิด ที่​่�กระจายตั​ัวเป็​็น cluster ต่​่างๆ

กว่​่า ๘๕ ชุ​ุมชน

ไม่ใช่เรื่องง่ายที่คุณชายจะสามารถรวบรวมอาสาสมัครที่มีความสามารถหลากชนิดมา

ท�ำการปฏิบัติการอย่างเป็นระบบ แบ่งงานกันเป็นทีม ตลอดจนการผลิตอาหารแต่ละมื้อตาม ปัจจัยที่ได้รับบริจาคได้อย่างเอร็ดอร่อย เพราะอาสาสมัครที่มาท�ำอาหารแต่ละคนเป็น chef

มืออาชีพจากโรงแรมหลายโรงแรมครับ

ขอเล่าถึงวิธท ี �ำอาหารสักหน่อยนะครับ ด้วยอาสาสมัครจากกรุงเทพประกันชีวต ิ หลายคน ..

อยากเข้​้ า ไปสำำ� แดงฝี​ีมื​ือทำำ� อาหารกะเขาบ้​้ า ง แต่​่ จำำ� เป็​็ น ต้​้ อ งถอยกลั​ั บ เมื่​่� อทราบว่​่ า เชฟ

แต่​่ ล ะคนมี​ี ฝี​ีมื​ื อขั้​้� น เทพทั้​้� ง นั้​้� น แถมไม่​่ ใ ห้​้ เ ข้​้ า ไปในเขตครั​ั ว อี​ี ก ต่​่ า งหาก เพราะเป็​็ น เขต

ควบคุ​ุมความสะอาด การทำำ�อาหารแต่​่ ละมื้​้�อจะมี​ีการประชุ​ุ มเชฟตั้​้� งแต่​่ ตี​ี ๕ เพื่​่�อดู​ูว่​่าวั​ั นนี้​้�มี​ี

27


วั​ั ต ถุ​ุ ดิ​ิ บ อะไรบ้​้ า ง เมนู​ู ที่​่� จ ะทำำ� สามารถ

ทำำ�อะไรได้​้บ้​้าง หลั​ังจากสรุ​ุ ปเมนู​ูอาหาร ได้​้ แ ล้​้ ว หั​ั ว หน้​้ า เชฟจะเชิ​ิ ญ เชฟทุ​ุ ก คน มาชมวิ​ิ ธี​ี ป ระกอบอาหารในกระทะแรก

ทุ​ุกคนจะจดจำำ�วิ​ิธี​ีปรุ​ุ งอาหารไว้​้ จนแน่​่ใจ

หลั​ังจากนั้​้�นเชฟแต่​่ละคนก็​็จะแยกย้​้ายกั​ัน

ไปประกอบอาหารในกระทะของตนเอง

หลั​ั ง จากประกอบอาหารเสร็​็ จ ก็​็ จ ะเป็​็ น อาสาสมั​ัครอย่​่างที​ีมกรุ​ุ งเทพประกั​ันชี​ีวิ​ิต

นี่​่�ละครั​ับ ที่​่�เข้​้าไปคดข้​้าวบรรจุ​ุอาหารใส่​่ ถุ​ุงก็​็ภู​ูมิ​ิใจแล้​้วที่​่�ได้​้เข้​้าไปช่​่วยครั​ับ ได้​้ถาม

คุ​ุณชายอดั​ัมว่​่า สามารถทำำ�อาหารได้​้มาก

ที่​่�สุ​ุดกี่​่�ชุ​ุดต่​่อวั​ัน คุ​ุณชายบอกว่​่า สามารถ

ทำำ� ได้​้ ถึ​ึ ง ๕,๐๐๐ ชุ​ุ ด ถ้​้ า มี​ี วั​ั ต ถุ​ุ ดิ​ิ บ และ

อาสาสมั​ัครเพี​ียงพอ ตอนนี้​้�ทำำ�อาหารสอง

มื้​้�อคื​ือกลางวั​ันกั​ับเย็​็น ถ้​้าจะทำำ�อาหารเช้​้า

ด้​้วยทำำ�ไม่​่ไหว เพราะต้​้องเริ่​่�มทำำ�กั​ันตั้​้�งแต่​่

ตีหนึ่ง ถามว่าท�ำอาหารส่งชุมชนมาได้ก่ีวันแล้ว คุณชายตอบว่า ๕๐ วันแล้วครับ

หลังจากบรรจุอาหารเสร็จแล้ว จะมีรถจากศูนย์ชว ่ ยเหลืออื่นที่ได้นัดกันไว้ มารับอาหาร

จากครัวคุณชายอดัมอีกต่อหนึ่งไปแจกจ่ายต่อยังชุมชนที่เป็น Cluster ต่างๆ ทั่วกรุงเทพฯ ครัว

คุณชายอดัมจึงเปรียบเหมือนครัวกลางของทุกศูนย์ช่วยเหลือที่จะมารับอาหารไปส่งยังแต่ละ ชุมชนอีกต่อหนึ่ง

นอกจากนั้นแล้ ว ถ้ าชุ มชนไหนที่ สามารถสร้างครัวของตนเองได้ แล้ ว ทางศูนย์ของ

คุณชายก็จะน�ำวัตถุดิบไปส่งให้ครัวเหล่านั้น ได้ช่วยเหลือตนเอง สิ่งที่คุณชายได้รับจากภาครัฐ

ที่ต้องขอบคุณคือ ภาครัฐให้วัคซีนมาฉีดให้กับอาสาสมัครทุกคน

คุณชายอดัมเล่าในท้ายสุดว่า การจัดตั้งศูนย์ครั้งนีไ้ ม่ใช่ครั้งแรกที่เข้ามาท�ำเรื่องจิตอาสา

แต่ท�ำมาหลายสิบปีแล้ว และมีกลุ่มคนที่ท�ำจิตอาสาหลายกลุ่ม ที่จะชักชวนกันเองทุกครั้งที่มี

ภั ยพิบัติ รวมทั้ งภั ยพิบัติท่ี เกิ ดขึ้นนอกประเทศ ก็ ออกไปช่วยเหลื อกั น นับเป็นกลุ่มคนที่ ท�ำ คุณประโยชน์ต่อสังคมโดยไม่ได้หวังผลตอบแทน เป็นผูป ้ ด ิ ทองหลังพระ ที่นา่ สรรเสริญ และเป็น

ความภูมิใจของผมเอง ที่มีรุน ่ น้องวชิราวุธฯ อย่างคุณชายอดัม

เขี​ียนโดย: ม.ล. จิ​ิรเศรษฐ ศุ​ุขสวั​ัสดิ์​์� (โอวี​ี ๔๖)

28


ประสบการณ์กับ ท่านท้าวหิรัญฮู

เมื่​่�อวั​ันที่​่� ๓๑ ตุ​ุลาคม ๒๕๕๘ อนุ​ุมานวสารมี​ีโอกาสได้​้สัม ั ภาษณ์​์นั​ักเรี​ียนเก่​่าวชิ​ิราวุ​ุธฯ

ท่​่านหนึ่​่�ง คื​ือ พี่​่�โรม หรื​ือ พี่​่�ธนากร ทั​ับทิ​ิมทอง นั​ักเรี​ียนเก่​่าวชิ​ิราวุ​ุธฯ รุ่​่�น ๔๖ พี่​่�โรมได้​้เริ่​่�มเล่​่า

เรื่​่�องที่​่�ไม่​่เคยเล่​่าให้​้ใครฟั​ังมาก่​่อน เป็​็นเรื่​่�องเหลื​ือเชื่​่�อ

“ที่​่�พี่​่�จะเล่​่าให้​้ฟังั อาจจะน่​่ากลั​ัวหน่​่อยนะ ถื​ือเป็​็นอุ​ุทาหรณ์​์ให้​้กั​ับพวกเรารุ่​่�นหลั​ังๆ

ไม่​่อยากให้​้ประมาท ตราบใดที่​่�ในหลวงยั​ังเสด็​็จโรงเรี​ียนวชิ​ิราวุ​ุธฯ ของเรา เมื่​่�อนั้​้�นยั​ังมี​ีเทวดา จำำ�นวนมาก ดู​ูแลปกปั​ักรั​ักษาโรงเรี​ียนของเรา พี่​่�อยากจะบอกว่​่า เด็​็กวชิ​ิราวุ​ุธแต่​่ละคน จะมี​ี

เทวดาดู​ูแลรั​ักษาทุ​ุกคน”

พี่​่�โรมเริ่​่�มเล่​่าถึ​ึงสภาพแวดล้​้อมของโรงเรี​ียนในสมั​ัยนั้​้�น ให้​้พวกเราเห็​็นภาพเสี​ียก่​่อน “สมั​ัยก่​่อนที่​่�คณะผู้​้�บั​ังคั​ับการ หั​ัวหน้​้าเขาจะมี​ีวิ​ิธีจั ี ัดการคนเซี​ียนๆ ใครเซี​ียนใครซ่​่า

รุ่​่�นพี่​่�เขาจะแกล้​้งใช้​้ให้​้เราไปตั​ัดใบข่​่อย แถวๆ รั้​้�วสนามหลั​ัง แถวนั้​้�นจะมี​ีบ้า้ นพั​ักครู​ู อี​ีกฝั่​่�งจะ มี​ีคลองเล็​็กๆ และมี​ีต้​้นไม้​้ขึ้​้�นรกจนเป็​็นป่​่ารก และมี​ีต้​้นข่​่อยขึ้​้�นเยอะ บรรยากาศน่​่ากลั​ัวมาก

อี​ีกด้​้านหนึ่​่�งจะเป็​็นโรงแบดมิ​ินตั​ันซึ่​่�งเป็​็นที่​่�เก็​็บของเก่​่า ไม่​่รู้​้�ใครมาเก็​็บไว้​้ จะเป็​็นของเก่​่าสมั​ัย รั​ัชกาลที่​่� ๖”

เจอดี​ีเรื่​่�องแรก

“ก่​่อนที่​่�จะเล่​่าเรื่​่�องที่​่�พี่​่�จะเล่​่าต่​่อไป พี่​่�ขอเล่​่าเรื่​่�อง (ผี​ี) ที่​่�เกิ​ิดขึ้​้�นก่​่อนหน้​้าสั​ักเรื่​่�องนะ

เป็​็นเรื่​่�องหนี​ีโรงเรี​ียน มี​ีคื​ืนหนึ่​่�งที่​่�พี่​่� อ้​้วนทุ​ุม (ทวี​ีเกี​ียรติ​ิ ภู่​่�ทอง) อ้​้วนกิ​ิตติ​ิวุฒิ ุ ิ (กิ​ิตติ​ิวุฒิ ุ ิ มรรค

ดวงแก้​้ว) และไอ้​้จุ๊​๊� (ม.ร.ว. ศศิ​ิพล จั​ันทรทั​ัต) ปี​ีนกำำ�แพงหนี​ีโรงเรี​ียนกั​ัน พวกพี่​่�ก็ปี​ี ็ นกำำ�แพงตรง

29


โรงรถท่​่านผู้​้�บั​ังคั​ับการนี่​่�แหละ เอาเก้​้าอี้​้�วาง

แล้​้วก็​็ดั​ันก้​้น พอข้​้ามกั​ันมาแล้​้ว ๓ คน มี​ีไอ้​้จุ๊​๊� เป็​็นคนสุ​ุดท้​้าย คนสุ​ุดท้​้ายก็​็ต้​้องปี​ีนขึ้​้�นเอง “พอไอ้​้จุ๊​๊�ลงมา เราก็​็บอกว่​่า ไปกั​ัน

ไอ้​้จุ๊​๊�มั​ันก็​็บอกว่​่า เฮ้​้ย ยั​ังมี​ีอี​ีกคน ก็​็เมื่​่�อกี้​้�เพิ่​่�ง

ยกก้​้นกู​ูขึ้​้�นมาอยู่​่�เลย พี่​่�ก็​็ถามว่​่า อ้​้าว แล้​้ว

ใครล่​่ะ เราก็​็นั​ับคนกั​ันใหม่​่ ก็​็เอ๊​๊ะ ครบ ๔ คน

แล้​้วนิ​ิหว่​่า เลยถามจุ๊​๊�ว่​่า นี่​่�พูด ู เล่​่นหรื​ือพู​ูด

จริ​ิง? ไอ้​้จุ๊​๊�ก็​็พูด ู ว่​่า จริ​ิงๆ กู​ูก็​็จะขึ้​้�นไม่​่ไหว

เหมื​ือนกั​ัน มี​ีคนยกก้​้นกู​ูขึ้​้�นมานี่​่�แหละ

ถ้​้ายั​ังงั้​้�นไม่​่ดี​ีแน่​่ กลั​ับกั​ันดี​ีกว่​่า มั​ันก็​็ว่​่า กู​ูก็​็ว่​่า ดี​ีเหมื​ือนกั​ัน เลยปี​ีนกลั​ับกั​ันเข้​้าไปใหม่​่ ฮา”

เรื่​่�องท่​่านท้​้าวหิ​ิรัญ ั ฮู​ู

“ปี​ีต่​่อมาพี่​่�ขึ้​้�นเป็​็นหั​ัวหน้​้า ปี​ีนั้​้�นมั​ันมี​ีเหตุ​ุการณ์​์หลายอย่​่าง ที่​่�ไม่​่เคยเจอคื​ือมี​ีเด็​็กถู​ูก

ผี​ีเข้​้า ต้​้องช่​่วยกั​ันจั​ับเรี​ียกว่​่านั​ักรั​ักบี้​้�ห้​้าหกคนก็​็จั​ับกั​ันไม่​่อยู่​่� ที่​่�ต้​้องจั​ับกั​ันไว้​้ เพราะผี​ีเข้​้าแล้​้วจะ ขึ้​้�นไปบนดาดฟ้​้า แล้​้วจะกระโดดลงมา ตอนหลั​ังถึ​ึงทราบสาเหตุ​ุ พวกนี้​้�ไปเก็​็บเอาของเก่​่า

มี​ีดบ้​้าง ดาบบ้​้าง ที่​่�ทางโรงเรี​ียนเอามาเก็​็บไว้​้ในห้​้องเก็​็บของบริ​ิเวณตึ​ึกพยาบาล เอามาเล่​่นกั​ัน

มี​ีทั้​้�งมี​ีด ดาบ ปื​ืน สมั​ัยโบราณของพวกนี้​้�มั​ันมี​ีประวั​ัติ​ิ อาจจะเคยถู​ูกใช้​้เปื้​้�อนเลื​ือดมี​ีพลั​ัง มี​ีอะไร

สิ​ิงอยู่​่�บ้​้างก็​็ไม่​่ทราบ ใครเอาไปเล่​่นก็​็จะมี​ีผลร้​้าย พี่​่�อยากจะบอกว่​่า สิ่​่�งศั​ักดิ์​์�สิ​ิทธิ์​์�ในโรงเรี​ียนนั้​้�น มี​ีจริ​ิงนะ”

เมื่​่�อบรรยากาศได้​้ที่​่� พี่​่�โรมก็​็เริ่​่�มเล่​่าเรื่​่�องให้​้พวกเราฟั​ัง

“มี​ีอยู่​่�วั​ันหนึ่​่�งในปี​ีที่​่�พี่​่�ขึ้​้�นเป็​็นหั​ัวหน้​้า เพื่​่�อนมาขออนุ​ุญาตทานเหล้​้า พี่​่�ก็​็บอกว่​่า ไม่​่ได้​้

เดี๋​๋�ยวผู้​้�บั​ังคั​ับการทราบจะเดื​ือดร้​้อน มั​ันก็​็บอกว่​่าไม่​่เป็​็นไรหรอก เพราะผู้​้�บั​ังคั​ับการน่​่ะรั​ักมึ​ึง

คื​ือเพื่​่�อนมั​ันคิ​ิดว่​่าถ้​้าผู้​้�บั​ังคั​ับการจั​ับได้​้ คงไม่​่ไล่​่พี่​่�ออกหรอก พี่​่�ก็​็บอกว่​่า ถ้​้ายั​ังงั้​้�นก็​็ตามใจ จริ​ิงๆ

ไอ้​้พวกนั้​้�นน่​่ะมั​ันไม่​่ได้​้กิ​ินเหล้​้ากั​ันอย่​่างเดี​ียว มั​ันสู​ูบกั​ัญชากั​ันด้​้วย ที่​่�ไปกั​ันที่​่�โรงแบดก็​็มี​ี จุ๊​๊� อ้​้วน ทุ​ุม อ้​้วนกิ​ิตติ​ิวุ​ุฒิ​ิ และก็​็สัจ ั จเดช สั​ัจจเดชนี่​่�ไม่​่ได้​้ไปทานเหล้​้าหรอก แต่​่ไปดู​ูหนังั สื​ือ ไอ้​้จุ๊​๊�มัน ั ขอ

ไปทานเหล้​้ากั​ันที่​่�โรงแบดตั้​้�งแต่​่ช่ว ่ ง ๕ โมงเย็​็น จน ๒-๓ ทุ่​่�ม เราก็​็ผิ​ิดสั​ังเกต เพราะมั​ันนานมาก

เราก็​็ไปดู​ูที่​่�โรงแบด โอ้​้โฮ กำำ�ลั​ังได้​้ที่​่�กั​ันเลย ข้​้างๆ โรงแบดมั​ันจะมี​ีทางเดิ​ินข้​้างๆ แล้​้วมี​ีต้​้นก้​้ามปู​ู

ใหญ่​่ๆ แล้​้วเอาเก้​้าอี้​้�มานั่​่�งล้​้อมวง ส่​่วนสั​ัจจเดชก็​็นั่​่�งดู​ูหนั​ังสื​ืออยู่​่�ในโรงแบด

“เรื่​่�องที่​่�เล่​่านี้​้�เป็​็นเรื่​่�องไม่​่ดี​ีของพวกพี่​่�มากๆ นะ อย่​่าเอาอย่​่าง พอพี่​่�มานั่​่�งปั๊​๊�บ พวกนั้​้�น

ก็​็เอามี​ีดมาปาเล่​่นกั​ัน ปาใส่​่ต้​้นก้​้ามปู​ู เสี​ียงดั​ัง จิ๊​๊�ก จิ๊​๊�ก พี่​่�ก็​็ชมว่​่า แม่​่นโว้​้ยๆ ตอนนั้​้�นก็​็ไม่​่รู้​้�ว่​่ามี​ีด

30


พวกนั้​้�นมี​ีที่​่�มาที่​่�ไปยั​ังไง เรื่​่�องนี้​้�มี​ีเรื่​่�องยาวอี​ีกเลย ที​ีนี้​้�ไอ้​้พวกนั้​้�นก็​็กำำ�ลั​ังเมาได้​้ที่​่� มั​ันก็​็ถามว่​่า

เอาสั​ักหน่​่อยนะ แล้​้วก็​็เอาเหล้​้ามาให้​้พี่​่�ดื่� ่ม พี่​่�ก็​็ดื่� ่มไปไม่​่มาก ตอนนั้​้�นพี่​่�รู้​้�ตั​ัวว่​่ายั​ังไม่​่เมา

หรอก ก็​็นั่​่�งคุ​ุยสนุ​ุกเฮฮากั​ันไป พี่​่�เป็​็นหั​ัวหน้​้าใหญ่​่ พี่​่�ควรจะห้​้าม แต่​่ก็​็ไม่​่ได้​้ห้​้าม แถมมานั่​่�งทาน

กั​ับเขาด้​้วย แล้​้วก็​็ไม่​่ได้​้สังั เกตว่​่ามี​ีดที่​่�เอามาเล่​่นกั​ันน่​่ะเป็​็นมี​ีดหรื​ือเป็​็นกริ​ิชอะไร ภายหลั​ัง จึ​ึงมาทราบว่​่า เป็​็นมี​ีดที่​่�เป็​็นเหตุ​ุให้​้เกิ​ิดการผี​ีเข้​้าของเพื่​่�อนอี​ีกคนในคณะ เริ่​่�มมี​ีบางอย่​่างผิ​ิดปกติ​ิ

“หลั​ังทานเหล้​้าไปเพี​ียงแก้​้วสองแก้​้ว พี่​่�ก็​็รู้​้�สึก ึ หนาวเยื​ือกขึ้​้�นมาเฉยๆ พี่​่�ก็​็ถามเพื่​่�อนว่​่า

เฮ้​้ย..หนาวมั้​้�ย? มั​ันก็​็บอกว่​่า ไม่​่หนาว สั​ักพั​ักรู้​้�สึ​ึกลมเริ่​่�มแรง ต้​้นไม้​้สั่​่�นไปหมด พี่​่�ก็​็บอกทุ​ุกคน ว่​่า กลั​ับเข้​้าคณะเถอะ ตอนนั้​้�นพี่​่�หั​ันหลั​ังให้​้บ้า้ นผู้​้�บั​ังคั​ับการ ตรงนั้​้�นมี​ีต้​้นไม้​้ใหญ่​่อยู่​่�อี​ีกต้​้น พี่​่�

ได้​้ยิน ิ เสี​ียงบางอย่​่าง ดั​ังตึ้​้�งๆ เป็​็นจั​ังหวะ เหมื​ือนคนเดิ​ิน แต่​่ตั​ัวต้​้องใหญ่​่มากพี่​่�ก็​็เอ๊​๊ะ แล้​้วอยู่​่�ๆ ก็​็

รู้​้�สึ​ึกมึ​ึน ตั​ัวเริ่​่�มชา และมี​ีเสี​ียงหั​ัวเราะดั​ังมาที่​่�หู​ู ฮะ ฮะ ฮะ .... ตอนนั้​้�นยั​ังไม่​่ได้​้คิ​ิดอะไร หั​ันไปด่​่า เพื่​่�อนว่​่า เฮ้​้ย... มึ​ึงหั​ัวเราะ....อะไรวะ เพื่​่�อนก็​็บอก...กู​ูเปล่​่าหั​ัวเราะ

“แล้​้วพี่​่�ก็​็ได้​้ยิน ิ เสี​ียงมาที่​่�หู​ูอี​ีก “เอ็​็งทำำ�ตั​ัวสมกั​ับเป็​็นลู​ูกวชิ​ิราวุ​ุธแล้​้วรึ​ึ”

“พี่​่�ได้​้ยิน ิ นึ​ึกว่​่าเพื่​่�อนพู​ูด เลยด่​่าเพื่​่�อนเลยว่​่า มึ​ึงมาพู​ูดอย่​่างนี้​้�ได้​้ยังั ไง เพื่​่�อนมั​ันก็​็บอก

ว่​่า กู​ูเปล่​่า สั​ักพั​ักเสี​ียงพู​ูดก็​็ดั​ังขึ้​้�นอี​ีก “เอ็​็งมองดู​ูตั​ัวเองสิ​ิ” พี่​่�ก้​้มลงมามองที่​่�ขาของตั​ัวเอง อยู่​่�ๆ

เห็​็นเนื้​้� อที่​่�ขามั​ันแยกออกมา เห็​็นเนื้​้� อข้​้างในเป็​็นสี​ีแดง เป็​็นเลื​ือดท่​่วมขาออกมา พี่​่�เห็​็นอย่​่างนั้​้�น ตกใจมากแทบสิ้​้�นสติ​ิ ก็​็ร้อ ้ งแทบตายเหมื​ือนคนบ้​้าเลย พี่​่�เห็​็นขาพี่​่�ถูก ู จั​ับฉี​ีกออก มองเข้​้าไปใน

ขาตั​ัวเอง เลื​ือดไหลออกมาพลั​ักๆ เนื้​้� อหลุ​ุดปริ​ิออกมาเหมื​ือนในหนั​ังเลย เกิ​ิดอาการช๊​๊อคเป็​็นลม พอหลั​ับตาแล้​้วลื​ืมตามาอี​ีกที​ี มั​ันกลั​ับหายไป

“ที่​่�เห็​็นเหมื​ือนเป็​็นลางบอกเหตุ​ุ ภายหลั​ัง พี่​่�กล้​้ามเนื้​้� อฉี​ีกจากแข่​่งรั​ักบี้​้�ที​ีมชาติ​ิ แล้​้วไป

ฝื​ืนวิ่​่�งแข่​่งข้​้ามรั้​้�วในการแข่​่งขั​ันกรี​ีฑา แล้​้วกล้​้ามเนื้​้� อฉี​ีกซ้ำำ�สอง ทำำ�ให้​้พี่​่�ไม่​่สามารถเล่​่นกี​ีฬาหรื​ือ

เล่​่นรั​ักบี้​้�ที​ีมชาติ​ิได้​้อี​ีก และต่​่อมา ไม่​่สามารถเข้​้าไปเรี​ียนโรงเรี​ียนนายร้​้อยตำำ�รวจที่​่�เคยตั้​้�งความ

หวั​ังไว้​้ได้​้

“หลั​ังจากนั้​้�นก็​็ได้​้ยิน ิ เสี​ียงดั​ัง ตึ​ึง ตึ​ึง ตึ​ึง พี่​่�ก็​็หั​ันไปมองตามเสี​ียง “เอ็​็งอยากเจอของจริ​ิง

ใช่​่มั้​้�ย” รู้​้�มั้​้�ยว่​่ากู​ูเป็​็นใคร

“เสี​ียงบอกว่​่า “กู​ู...หิ​ิรัญ ั ฮู​ู” พอสิ้​้�นเสี​ียง ลมที่​่�พัด ั แรงๆ อยู่​่�นี่​่�ก็​็นิ่​่�งสนิ​ิทไปเฉยๆ เหมื​ือน

อยู่​่�ในป่​่าช้​้า พี่​่�มองไปอี​ีกที​ีนะ เห็​็นเท้​้าใหญ่​่เบ้​้อเริ่​่�มเทิ่​่�ม ท่​่านยื​ืนถื​ือไม้​้เท้​้าตั​ัวสู​ูงลิ​ิบลิ่​่�ว ตี​ีนนะ ไม่​่ได้​้ใส่​่รองเท้​้า ใหญ่​่เท่​่าบ้​้าน

“พี่​่�นี่​่�ล้​้มไปทั้​้�งยื​ืนเลย ไอ้​้พวกเพื่​่�อนมั​ันเข้​้ามาประคอง เอามื​ือมาตบถามว่​่า โรม เป็​็น

อะไร...เป็​็นอะไร พี่​่�ได้​้ยิน ิ เสี​ียงท่​่านอี​ีกว่​่า “เป็​็นหั​ัวหน้​้า ควรปฏิ​ิบัติ ั ิตั​ัวให้​้ดี​ี ควรปฏิ​ิบัติ ั ิตั​ัวยั​ังไง”

เป็​็นคำำ�สอนที่​่�เข้​้ามาเรื่​่�อยๆ แต่​่ตั​ัวพี่​่�ยังั ไม่​่รู้​้�สำ�นึ ำ ึกนะ นึ​ึกว่​่ามี​ีใครมาแกล้​้ง คื​ือเห็​็นขนาดนั้​้�นแล้​้วก็​็ ยั​ังไม่​่เชื่​่�อ กลั​ับตวาดด่​่าออกไปว่​่า “ใครวะ มึ​ึงอวดดี​ียังั ไงมาสอนกู​ู” (คื​ือพี่​่�ตอนนั้​้�นก็​็ไม่​่รู้​้�จัก ั ท่​่าน

31


ท้​้าวหิ​ิรัญ ั ฮู​ู) กิ​ินเหล้​้าด้​้วยกั​ัน ยั​ังทะลึ่​่�งมาสอน พี่​่�ยังั นึ​ึกว่​่าเพื่​่�อนกั​ันมาพู​ูดใส่​่หู​ู

“สั​ักพั​ักหนึ่​่�ง เพื่​่�อนๆ มั​ันก็​็ว่​่า ท่​่าจะไม่​่ดี​ีแล้​้ว กลั​ับกั​ันดี​ีกว่​่า พี่​่�ก็​็บอกว่​่า “เฮ้​้ย” ด้​้วยความ

เป็​็นหั​ัวหน้​้าใหญ่​่ ยั​ังมี​ีความคิ​ิดเลวๆ อยู่​่�มาก และยั​ังกร่​่าง เลยบอกว่​่า “นั่​่�งกั​ันก่​่อน กิ​ินกั​ันต่​่อ” เพื่​่�อนชื่​่�อไอ้​้จุ๊​๊� จริ​ิงๆ มั​ันก็​็เมานะ มั​ันเลยบอกว่​่า ถ้​้าอย่​่างนั้​้�น เรามาเล่​่นซ่​่อนหากั​ันดี​ีกว่​่า มั​ันก็​็

เล่​่นซ่​่อนหากั​ัน วิ่​่�งกั​ันไป วิ่​่�งกั​ันมา แล้​้วก็​็ไปซ่​่อน หายกั​ันไปหมด เหลื​ือพี่​่�นั่​่�งอยู่​่�คนเดี​ียว

“บรรยากาศเริ่​่�มเงี​ียบ แล้​้วอยู่​่�ๆ ก็​็เกิ​ิดร้​้อนอบอ้​้าวขึ้​้�นมาเฉยๆ มองขึ้​้�นไปบนท้​้องฟ้​้า

เห็​็นเป็​็นเปลวไฟอยู่​่�สู​ูงลิ​ิบๆ พี่​่�ก็​็จั​ับเก้​้าอี้​้�แน่​่น เรื่​่�องนี้​้�นะ ตลอดชี​ีวิ​ิต ไม่​่เคยเล่​่าเรื่​่�องนี้​้�ให้​้ใคร

ฟั​ังเลย มั​ันเป็​็นความเลว และเทวดาท่​่านมาสั่​่�งสอน ก็​็ไม่​่รู้​้�สำ�นึ ำ ึก ตอนนั้​้�นพี่​่�มี​ีความรู้​้�สึ​ึกเหมื​ือน

กำำ�ลั​ังนั่​่�งอยู่​่�ในกระทะทองแดง มั​ันร้​้อนจริ​ิงๆ สายสร้​้อยนี่​่�ร้อ ้ น พระนี่​่�กลายเป็​็นเปลวไฟ พี่​่�ต้​้อง

ถอดเสื้​้�อออก เห็​็นสายสร้​้อยกั​ับพระนี่​่�กิ​ินเข้​้าไปในเนื้​้� อ พี่​่�ร้อ ้ งซะเสี​ียงหลง แล้​้วพยายามดึ​ึง

พระออกจากคอ แต่​่ดึ​ึงยั​ังไงก็​็ดึ​ึงไม่​่ออก พวกเพื่​่�อนเห็​็นพี่​่�ร้อ ้ ง ก็​็วิ่​่�งกลั​ับมากั​ัน

“พี่​่�รู้​้�สึก ึ เหมื​ือนกำำ�ลั​ังจะตาย ร้​้อนจนสุ​ุดขี​ีดแล้​้ว จนพี่​่�สลบไปเลย พอฟื้​้�นมาอี​ีกที​ี พวก

เพื่​่�อนก็​็มาถาม “โรมเป็​็นอะไร เป็​็นอะไร เป็​็นลมเหรอ” คื​ือพี่​่�ฟื้​้�นและสลบไปๆ มาๆ อยู่​่� ๓ ครั้​้�ง

ตอนนั้​้�นพี่​่�ไม่​่เชื่​่�อในสิ่​่�งที่​่�เห็​็นที่​่�ได้​้ยิน ิ จนฟื้​้�นมาครั้​้�งที่​่�สาม ขณะกำำ�ลั​ังงงๆ อยู่​่� มองไปที่​่�เพื่​่�อน รอบๆ ตั​ัว พี่​่�นี่​่�ตาเหลื​ือกเลย พี่​่�เห็​็นเพื่​่�อนที่​่�กำำ�ลั​ังมุ​ุงกั​ันอยู่​่�ทุ​ุกคนมี​ีตาโปน เป็​็นสี​ีแดงเหมื​ือน

ยมบาลในหนั​ังเลย เพื่​่�อนก็​็มาถามอี​ีก “โรม เป็​็นอะไรๆ” จนสลบไปหนที่​่�สี่​่� ตื่​่�นขึ้​้�นมาภาพก็​็ไม่​่ หาย พี่​่�นึ​ึกขึ้​้�นมาได้​้ว่​่ามี​ีเพื่​่�อนอี​ีกคนที่​่�มาดู​ูหนั​ังสื​ือ เลยวิ่​่�งไปหาหวั​ังจะให้​้ช่ว ่ ยหน่​่อย พอเพื่​่�อน หั​ันหน้​้ามา มั​ันกลายเป็​็นเหมื​ือนนายนิ​ิรบาลกำำ�ลั​ังเปิ​ิดสมุ​ุดรายชื่​่�อคนตาย อย่​่างไรอย่​่างนั้​้�น

“พี่​่�สลบไปครั้​้�งสุ​ุดท้​้าย พวกเพื่​่�อนเลยหามพี่​่�เข้​้าไปในคณะ เข้​้าไปในห้​้องนอน เรื่​่�องนี้​้�

ไม่​่มี​ีเด็​็กรู้​้� ตอนนั้​้�นพี่​่�นอนสลบคาเตี​ียงไปเลย เพื่​่�อนก็​็ไปเรี​ียกเด็​็ก ใครที่​่�มี​ีพระให้​้เอามาให้​้หมด

เด็​็กๆ ก็​็ไม่​่รู้​้�ว่​่าเอาพระไปทำำ�ไม ด้​้วยความหยิ่​่�ง ด้​้วยความเป็​็นหั​ัวหน้​้าใหญ่​่ เป็​็นนั​ักรั​ักบี้​้�ที​ีมชาติ​ิ การที่​่�พี่​่�มาประพฤติ​ิตั​ัวอย่​่างนี้​้� มั​ันไม่​่เหมาะสม พอเพื่​่�อนได้​้พระมาก็​็เอามาใส่​่คอเต็​็มไปหมด เลย สั​ักพั​ักก็​็ได้​้ยิน ิ เสี​ียงดั​ังขึ้​้�นว่​่า “พระก็​็ช่ว ่ ยเอ็​็งไม่​่ได้​้หรอก” ซั​ักพั​ักพระที่​่�เพื่​่�อนเอามาสวม

คอก็​็ร้อ ้ น เหมื​ือนสร้​้อยพระกั​ัดร้​้อนแบบว่​่าหายใจไม่​่ออก จะตายเอา ในที่​่�สุด ุ เพื่​่�อนก็​็ต้​้องเอา

กรรไกรมาตั​ัดพระออก

“ตอนนั้​้�นมั​ันสั​ับสนนะ พี่​่�พยายามคิ​ิดว่​่าเป็​็นฤทธิ์​์�เหล้​้าที่​่�ทานเข้​้าไป ถ้​้าฤทธิ​ิเหล้​้าหมด

คงหาย นอนไปสั​ักพั​ัก ก็​็เห็​็นโคมไฟแก้​้วในห้​้อง อยู่​่�ๆ ก็​็ตกลงมากลายเป็​็นแก้​้วแหลมๆ ตกลงมา

เสี​ียบที่​่�หน้​้าอก มั​ันคงเป็​็นภาพหลอน แต่​่พี่​่�ก็​็ร้อ ้ งจนไม่​่ได้​้สติ​ิ เพื่​่�อนจะเอาไปส่​่งโรงพยาบาล พี่​่�ก็​็ บอกว่​่าไม่​่เป็​็นไร ไม่​่ต้​้องส่​่ง พี่​่�เห็​็นอยู่​่�อย่​่างนั้​้�นหลายรอบมาก เหมื​ือนตายแล้​้วฟื้​้�น ฟื้​้�นแล้​้วตาย

อยู่​่�อย่​่างนั้​้�น พอไม่​่ไหว เลยขอธู​ูปไปจุ​ุดเพื่​่�อขอขมา บอกว่​่า ผมไม่​่ไหวแล้​้ว เชื่​่�อแล้​้วครั​ับๆ ท่​่าน

ก็​็พูด ู ว่​่า “คนอย่​่างเอ็​็ง ... ไม่​่เชื่​่�อหรอก”

32


เจอกำำ�แพงบี​ีบ

“ตอนนั้​้�นพี่​่�นอนอยู่​่�ในห้​้อง มี​ีเพื่​่�อน ๗-๘ คน มานอนด้​้วยเป็​็นเพื่​่�อน นอนๆ อยู่​่�ก็​็ได้​้

ยิ​ินเสี​ียงดั​ัง แคร็​็กๆ กำำ�ลั​ังสงสั​ัยว่​่าเสี​ียงอะไร ปรากฏว่​่ากำำ�แพงมั​ันเลื่​่�อนเข้​้ามา พอผมโวยวาย

เพื่​่�อนก็​็หาว่​่าบ้​้า ผมบอกว่​่ากำำ�แพงมั​ันบี​ีบใกล้​้เข้​้ามาแล้​้วนะ ใกล้​้เข้​้ามาบี​ีบตั​ัวผมจนแตก แล้​้ว

สลบไปอี​ีก พอฟื้​้�นขึ้​้�นมาหนนี้​้� ไม่​่เอาแล้​้ว รี​ีบลงไปจุ​ุดธู​ูปที่​่�สนาม แต่​่แบบผมไม่​่มี​ีแรงเลย เพื่​่�อน

ต้​้องพยุ​ุงจั​ับแขนพี่​่�ไปปั​ักธู​ูป ไอ้​้มื​ือเพื่​่�อนที่​่�มาจั​ับมั​ันกลายเป็​็นมื​ือใหญ่​่มาก เหมื​ือนไม่​่ให้​้เราปั​ัก

พอหั​ันหน้​้าไปดู​ูเท่​่านั้​้�นแหละ เห็​็นตั​ัวใหญ่​่มาก ผมสลบไปอี​ีกรอบ พอฟื้​้�นก็​็โดนกำำ�แพงบี​ีบอี​ีก

เป็​็นอยู่​่�อย่​่างนี้​้�ทั้​้�งคื​ืนเลย

“รุ่​่�งเช้​้าตื่​่�นขึ้​้�นมา พี่​่�ก็​็ไปจุ​ุดธู​ูปขอขมาอี​ีก ได้​้ยิน ิ เสี​ียงท่​่านท้​้าวหิ​ิรัญ ั ฮู​ู ท่​่านพู​ูดว่​่า “เอา

อย่​่างนี้​้� ภายใน ๓ เดื​ือน จะโดนต่​่อไปแบบนี้​้�จนกว่​่าจะเชื่​่�อ ผมโดนแบบนี้​้�อยู่​่� ๓ เดื​ือน ใหม่​่ๆ ก็​็

ถี่​่�หน่อ ่ ย วั​ันหนึ่​่�งประมาณ ๑๐ ครั้​้�ง จนเครี​ียดมาก ผมต้​้องแอบหนี​ีโรงเรี​ียนไปกั​ับเพื่​่�อน ไปหา

พระอาจารย์​์ข้า้ งนอก (ไม่​่กล้​้าไปเรี​ียนท่​่านผู้​้�บั​ังคั​ับการ) จะโดนไล่​่ออกก็​็ยอม เจอท่​่านอาจารย์​์

ก็​็ทั​ักเลยว่​่า ไปเอาของเก่​่าอะไรมาเล่​่นหรื​ือเปล่​่า ดวงวิ​ิญญาณเขาเอาจริ​ิงนะถ้​้าแก้​้ไม่​่ทั​ันจะไม่​่มี​ี ทางแก้​้ ตอนนั้​้�นพี่​่�ต้​้องออกไปรดน้ำำ�มนต์​์ทุก ุ วั​ัน และอาจารย์​์สอนให้​้นั่​่�งสมาธิ​ิ สวดมนต์​์ ตั้​้�งแต่​่ สามทุ่​่�มจนถึ​ึงตี​ีหนึ่​่�งทุ​ุกวั​ัน

“แล้​้วสุ​ุดท้​้าย คนที่​่�ไปแอบขโมยมี​ีด ดาบและกริ​ิช ก็​็มี​ีอั​ันเป็​็นไปกั​ันไปหมด บางคน

เสี​ียชี​ีวิ​ิตตั้​้�งแต่​่อายุ​ุไม่​่มาก หรื​ือต่​่อไปพวกวิ​ิญญาณที่​่�เขาดู​ูแลของเหล่​่านี้​้� เขาจะไม่​่เลิ​ิก เขาจะ

คอยขั​ัดไม่​่ให้​้มี​ีความเจริ​ิญก้​้าวหน้​้า ดั​ังนั้​้�นพี่​่�อยากจะเตื​ือนนั​ักเรี​ียนวชิ​ิราวุ​ุธว่​่า สิ่​่�งศั​ักดิ์​์�สิ​ิทธิ์​์�ใน

โรงเรี​ียนมี​ีจริ​ิงๆ ของบางอย่​่างอาจจะพิ​ิสูจ ู น์​์ไม่​่ได้​้ แต่​่อย่​่าลบหลู่​่� ตั้​้�งแต่​่วั​ันนั้​้�นพี่​่�ไม่​่ได้​้แตะต้​้อง

กริ​ิชของเพื่​่�อนเล่​่มนั้​้�นอี​ีกเลย เหตุ​ุที่​่�พี่​่�โดนครั้​้�งนั้​้�น เพราะเราเป็​็นหั​ัวหน้​้าใหญ่​่แล้​้วไม่​่ห้​้ามปราม กลั​ับไปสนั​ับสนุ​ุนเพื่​่�อนให้​้ทำำ�ผิ​ิด

“พี่​่�อยากบอกอี​ีกเรื่​่�อง เรื่​่�องที่​่�ไม่​่ค่อ ่ ยมี​ีคนรู้​้�นะ ท่​่านบอกว่​่าท่​่านที่​่�ดูแ ู ลโรงเรี​ียน ท่​่านอยู่​่�

ตรงข้​้างๆ ศิ​ิลาฤกษ์​์ ท่​่านเป็​็นผู้​้�ดู​ูแลโรงเรี​ียนวชิ​ิราวุ​ุธฯ

“ท่​่านท้​้าวหิ​ิรัญ ั ฮู​ู ท่​่านยั​ังคงดู​ูแลโรงเรี​ียนเราอยู่​่� พี่​่�เห็​็นด้​้วยตั​ัวเอง ท่​่านองค์​์ใหญ่​่มากๆ

ตั​ัวท่​่านสู​ูงลิ​ิบ เห็​็นแล้​้วรู้​้�สึ​ึกถึ​ึงพลั​ังอำำ�นาจ ท่​่านบอกว่​่าถ้​้ายั​ังทำำ�ตั​ัวไม่​่ดี​ีอี​ีก จะมี​ีอั​ันเป็​็นไป แต่​่ถ้​้า

กลั​ับตั​ัวเป็​็นคนดี​ี ก็​็จะเจริ​ิญรุ่​่�งเรื​ือง

“สิ่​่�งศั​ักดิ์​์�สิ​ิทธิ์​์�ในโรงเรี​ียนมี​ีจริ​ิง ของทุ​ุกอย่​่างมี​ีประวั​ัติ​ิ มี​ีความเป็​็นมา ดาบที่​่�คณะผู้​้�

บั​ังคั​ับการ ก็​็อย่​่าเอามาเล่​่นนะ ท่​่านผู้​้�บั​ังคั​ับการยั​ังเคยบอกว่​่า เธอเข้​้ามาเรี​ียนโรงเรี​ียนนี้​้� มั​ันมี​ี สิ่​่�งศั​ักดิ์​์�สิ​ิทธิ์​์� เธอทำำ�ดี​ีจะได้​้ดี​ี ทำำ�ชั่​่�วจะได้​้ชั่​่�ว เห็​็นผลกั​ันในชาติ​ินี้​้�”

เขี​ียนโดย: สมาคมหนั​ังสื​ือพิ​ิมพ์​์

33


วชิราวุธฯ

ในความทรงจ�ำของ หม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุล เมื่ อ จะต้ อ งมาเขี ย นเกี่ ย วกั บ ประวั ติ การเรี ย นหนั ง สื อ ของตั ว เอง จึ ง รู้ สึ ก เป็ น ประการแรกที่จะต้องไหว้ครู เสียก่อน ครู คน แรกของผมคือแม่ผมเอง จ�ำได้ว่าพออายุได้ ๕ ขวบ แม่​่ก็​็จั​ับเรี​ียนหนั​ังสื​ือ หนั​ังสื​ือเล่​่มแรก ก็​็คื​ือแบบเรี​ียนเร็​็ว สมั​ัยนั้​้�นที่​่�คงมี​ีคนจำำ�ได้​้บ้า้ ง ที่​่�เอ่​่ยถึ​ึง “หนู​ูเหน็​็ง หนู​ูเหล็​็ง” หรื​ือ “หนู​ูหล่​่อ พ่​่อเขาพาไปดู​ูหมี​ี ที่​่�นาตาหมอหลอ” เป็​็นต้​้น วิ​ิธีเี รี​ียนคื​ือ เริ่​่�มด้​้วยอ่​่าน ก.เอ๋​๋ย ก.ไก่​่จนคล่​่อง จากนั้​้� น แม่​่ ก็​็ เ อาหนั​ั ง สื​ือไปวางบนพานเงิ​ิ น เหลาไม้​้จิ้​้�มให้​้ผมจิ้​้�มไปตามคำำ�บอก ถ้​้าเกิ​ิดง่​่วง จิ้​้� มผิ​ิดไม้​้นี้​้�แหละจะกลั​ับมาจิ้​้� มมื​ือผมทุ​ุกครั้​้�ง

ก่​่อนจะเรี​ียนและเมื่​่�อจะเลิ​ิกเรี​ียนก็​็ต้​้องกราบ หม่อมเจ้าพิรย ิ ดิศ ดิศกุล

34

หนั​ังสื​ือ มาเลิ​ิกกราบเอาตอนมาอยู่​่�วชิ​ิราวุ​ุธฯ แล้​้วเพราะเพื่​่�อนล้​้อกั​ัน และทุ​ุกๆ วั​ันพฤหั​ัสบดี​ี


ก็​็ต้​้องไหว้​้ครู​ู มี​ีหญ้า้ แพรก ดอกมะเขื​ือใส่​่กระทงบู​ูชาครู​ูตรงหน้​้า บังเอิ ญแม่ผมต้ องตามเสด็ จขบวนพระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายในเสด็ จประพาสไทรโยค ผมก็​็ได้​้ไปด้​้วย แต่​่เป็​็นที่​่�น่า่ เสี​ียใจขากลั​ับแม่​่ผมเป็​็นมาเลเรี​ียขึ้​้�นสมองตาย ผมก็​็เป็​็นมาเลเรี​ียแต่​่ รอดมาได้​้ตอนนั้​้�นอายุ​ุได้​้ ๖ ขวบ จึ​ึงเกิ​ิดปั​ัญหาว่​่าจะจั​ัดการเรี​ียนให้​้ผมอย่​่างไร พ่​่อผมท่​่านอยาก ให้​้ลู​ูกเก่​่งภาษาฝรั่​่�งเพื่​่�อมาช่​่วยงานค้​้นคว้​้าของท่​่านจำำ�ได้​้ว่​่าท่​่านปรารภอยากให้​้ไปอยู่​่�โรงเรี​ียน อั​ัสสั​ัมชั​ัญ เป็​็นเด็​็กกิ​ินนอนหรื​ือเรี​ียกว่​่าเด็​็กใน แต่​่พวกพี่​่�ๆ ผู้​้�หญิ​ิงของผมท้​้วงว่​่าสงสารจะโดน บาทหลวงเฆี่​่�ยนด้​้วยหางกระเบนจึ​ึงเป็​็นอั​ันต้​้องไปเข้​้าโรงเรี​ียนราชิ​ินีล่ ี า่ ง เป็​็นนั​ักเรี​ียนกิ​ินนอนจำำ�ได้​้ ว่​่าเป็​็นผู้ช ้� ายคนเดี​ียวที่​่�เขารั​ับกิ​ินนอน เลยกลายเป็​็นตุ๊​๊�กตาให้​้บรรดาพี่​่�ผู้​้�หญิ​ิงจั​ับแต่​่งตั​ัวเป็​็นตุ๊​๊�กตา เล่​่นตามใจชอบอยู่​่� ๒ ปี​ี จนถึ​ึงอายุ​ุวชิ​ิราวุ​ุธฯ ยอมรั​ับจึ​ึงได้​้มาเข้​้าวชิ​ิรวุ​ุธฯ ได้​้หมายเลขประจำำ�ตัว ั ๒๔๙ และอยู่​่�คณะหลวงอิ​ิงคศรี​ีกสิ​ิการ (หรื​ือคณะพญาไทไนปั​ัจจุ​ุบัน ั ) เมื่​่�อ พ.ศ. ๒๔๗๓ ถึ​ึงตรงนี้​้� เลยสงสั​ัยว่​่ าทำำ�ไมจึ​ึ งไปอยู่​่�คณะหลวงอิ​ิ งค์​์ ฯ ทั้​้� งที่​่� เคยมี​ีพี่​่�ชายวี​ี รดิ​ิ ศอยู่​่�คณะผู้​้�บั​ังคั​ั บการ หรื​ือ คณะเจ้​้าคุ​ุณปรี​ีชานุ​ุสาสน์​์เลยลงมติ​ิเอาว่​่าคงเป็​็นเพราะท่​่านเจ้​้าคุ​ุณอยากเฉลี่​่�ยบรรดาหม่​่อมเจ้​้า ซึ่​่�งตอนนั้​้�นมี​ีอยู่​่�มากองค์​์ไปตามคณะต่​่างๆ มากกว่​่า คณะอื่​่�นเวลานั้​้�นยั​ังมี​ีพระสั​ันธิ​ิวิ​ิทยาพั​ัฒน์​์ (ดุ​ุสิต ิ ) และคณะพระประทั​ัตสุ​ุนทรสาร (จิ​ิตรลดา) คณะผมมีหม่อมเจ้าองค์หนึง่ มีพระนามว่าหม่อมเจ้ากิตติสรุ โิ ยภาส สุรย ิ ง อยูช ่ น ้ั สูงกว่าผม

ท่านมีพระนามเล่น ว่า “ท่านนิด” บังเอิญผมก็มีซื่อเล่นว่า “ท่านนิด” เหมือนกัน จึงมีปัญหา เกิดขึ้นเพราะพี่สาวผมให้เด็กเอาขนมมาส่งให้เป็นประจ�ำแต่ไม่เคยบอกชื่อจริงของผม ท่านนิด

องค์ น้ั น จึ ง ได้ เ สวยลาภพระโอษฐ์ม าตั้ ง นานจนกว่ า ความจะแตก มี อี ก องค์ ห นึ่ ง พระนามว่ า

หม่อมเจ้าวิสท ุ ธิเกษม เกษมสันต์ องค์นท ้ี �ำคุณประโยชน์ไว้อย่างหนึง่ คือป้องกันไฟไหม้หอประชุม

ไว้ได้ ต้องเข้าใจว่พวกนักเรียนวชิราวุธฯ ทุกคณะรุน ่ นั้น เมื่อถึงเวลาสอบไล่แทบทุกคนจะต้องไป บนไว้กับพระบรมรูป ร.๖ บนหอประชุม คืนหนึ่งชั่วโมง “เพรบ” ท่านวิสท ุ ธิฯ ทอดพระเนตรเห็น ไฟก�ำลังลุกอยูจ ่ ึงโวยวายขึ้น ต้องส่งคนไปตีระฆังทั้งที่หอนาฬิกาและหอประชุม จึงได้มก ี ารเฮโล

จากทุกคณะมาดับไฟ ท่านวิสุทธิฯ จึงได้รับประกาศเกียรติคุณพร้อมทั้งรับรางวัลไป

การเป็ น เจ้ า และต้ อ งมาอยู่ ว ชิ ร าวุ ธ วิ ท ยาลั ย สมั ย สมบู ร ณาญาสิ ท ธิ ร าชย์ เ ช่ น นั้ น

ไม่ชว ่ ยให้มีสิทธิพิเศษเหนือใครแต่อย่างใด ทุกคนจะต้องเสมอเหมือนกันหมด ตอนผมเข้าเรียน ตึกวชิรมงกุฎยังไม่ได้สร้าง อาคารเรียนเป็นเรอ ื นไม้หลังคาจากยาวติดต่อกันเป็นแถว ครูคนแรก ชัน ้ น” ผมเป็นเด็กมาจากโรงเรียนราชินท ี ่พ ี ด ู ค�ำแทนชื่อว่า “ฉัน” เมื่อไป ้ ม. ๑ ของผมคือ “ครูเนีย

พูดกับครูเนี้ยน ผลก็คือถูกหักนิ้วพร้อมกับบอกว่า “ที่น่ีต้องพูด ผม จ�ำไว้” ผมจึงติดค�ำว่า “ผม” จนทุกวันนี้เพราะครูเนี้ยนแท้ๆ

35


เมื่​่�อจะสร้​้างตึ​ึกวชิ​ิรมงกุ​ุฎ ได้​้มี​ีการสู​ูบน้ำำ�ในสระทิ้​้�งเพื่​่�อตอกเข็​็มทำำ�เขื่​่�อน ตอนนี้​้�แหละ กุ้งก้ามกรามและปลาลอยกันฟ่อง มันเห็นจะจะจนอดใจไม่ไหว ทุกคณะพากันลงงมจับเป็น การใหญ่ นับเป็นมหกรรมประวัติศาสตร์เพราะทุกคณะจะถูกเฆี่ยนเหมือนกันหมดจะเป็นเจ้า หรือไม่ไม่ส�ำคัญ นักเรียนโตจะแนะน�ำการลดการอักเสบก้นด้วยการเอาก้นไถกับพื้นหินอ่อน ปรากฏว่าได้ผลดีจริงด้วย ความประทับใจที่ได้เข้ามาอยู่วชิราวุธฯ คือ พระเจ้าอยู่หัวพร้อมด้วยสมเด็จพระบรม ราชินีได้เสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงเยี่ยมบ่อยๆ มีท้ังงานประจ�ำปีท่ีโรงเรียนจัดแข่งกีฬาถวาย ให้ทอดพระเนตรหรือบางที ก็เสด็ จฯ เป็นการส่วนพระองค์ มาทางถ่ ายภาพยนต์ เล็ก ที่จ�ำได้

แฟร์เเบงค์ ดาราภาพยนต์ตัวพ่อ มีชื่อระยะนัน ้ มาเที่ยวเมืองไทยและได้เข้าเฝ้าฯ พระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าฯ ทรงพามาถ่ายหนังให้เด็กนักเรียนเล่น “ขี่ม้าชิงเมือง” หรือ การปล้�ำข้ามสะพาน ไม้กระดานแผ่นเดียวที่ทอดข้ามไปเกาะกลาง ข้างไหนตกน้�ำหมดข้างนัน ้ ก็แพ้ ผมเองมีสว่ นภูมใิ จ

ตรงที่โรงเรียนเลือกผมถวายช่อดอกไม้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ น้องชายสุภัทรดิศถวาย สมเด็จพระบรมราชินี แ ต่ แ ล้ ว เ ห ตุ ก า ร ณ์ ผั น แ ป ร เ มื่ อ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ก า ร ป ก ค ล อ ง จ า ก ร ะ บ อ บ สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตยเมื่อ ๒๔ มิถน ุ ายน ๒๔๗๕ นักเรียนวชิราวุธฯ ได้ยน ิ เสียงโห่รอ ้ งพร้อมทั้งเห็นการเคลื่อนไหวทางทหารผ่านโรงเรียนไปที่ลานพระบรมรูป เราไม่

เข้าใจในเหตุการณ์แต่แล้วพีช ่ ายผมและครูก็มาเล่าอธิบายให้ฟงั จึงเป็นอันว่าดวงของวชิราวุธฯ ก็เริ่มอับแสงแต่น้ันมา ด้านส่วนตัวผมก็ต้องผจญกับการพลัดพรากเพราะพ่อต้องถูกคุมขังเป็น

ตัวประกันเมื่อพ้นมาได้กต ็ ้องไปรอฟังเหตุการณ์ท่ห ี วั หิน โดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ทีไ่ ปประทับทีพ ่ ระราชวังไกลกังวล ในทีส ่ ด ุ ต้องตามเสด็จไปอยูส ่ งขลา แล้วแยกไปอาศัยอยูท ่ เ่ี กาะ ปีนงั จนสงครามมหาเอเชียบูรพาสงบ เป็นเวลาห่างจากบ้านไปถึง ๑๐ ปี ผมนัน ่ ว่ี ชิราวุธฯ ้ ยังคงอยูท เพราะพ่อสั่งว่าจะต้องส่งเสียให้เรียนหนังสือให้จงได้ ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้น พี่ชายผมดิศานุวัติ

จึงต้องเป็นผู้ปกครองแต่น้ันมา อีกปีต่อมามีการรบระหว่างทัพฝ่ายเหนือที่พระองค์เจ้าบวรเดช

ยกมากับทัพคณะราษฎร มีเครื่องบินบินข้ามโรงเรียนโปรยใบปลิว และมียิงปืน ป.ต.อ. ข้าม

โรงเรียนอยูบ ่ างครัง้ คณะผมตอนนัน ้ �ำกับคณะแล้ว และนักเรียน ้ คุณพระปวโรฬารวิทยามาเป็นผูก

ไปพักบ้านท่านที่หน้าสถานเสาวภาจนเหตุการณ์ปกติจึงกลับมาเรียนต่อ ก่อนคุณพระปวโรฯ จะมา ได้​้มี​ีอาจารย์​์ศิ​ิระประภา บุ​ุญหลงมาเป็​็นแทนคุ​ุณหลวงอิ​ิ งค์​์ฯ อยู่​่�พั​ักหนึ่​่�งด้​้วย ทำำ�นอง เดี​ียวกั​ันก็​็ได้​้มีก ี ารเปลี่​่�ยนแปลงผู้​้�บั​ังคั​ับการจากเจ้​้าคุ​ุณปรี​ีชาฯ มาเป็​็นเจ้​้าคุ​ุณบรมบาทบำำ�รุ​ุง และ พระพณิ​ิชยสารวิ​ิเทศ จนถึ​ึงเจ้​้าคุ​ุณภะรตราชา และศาสตราจารย์​์ ดร. กั​ัลย์​์ อิ​ิศรเสนา ณ อยุ​ุธยา ตามลำำ�ดั​ับ ส่​่วนคณะพระสั​ันธิ​ิฯ ก็​็เปลี่​่�ยนมาเป็​็นหลวงประคองวิ​ิชาสมานและต่​่อมาจนปั​ัจจุ​ุบั​ัน

36


เท่​่าที่​่�ผมจำำ�ได้​้ผู้​้�กำำ�กั​ับคณะที่​่�ยื​ืนยงกว่​่าใครเพื่​่�อนก็​็คื​ือคุ​ุณพระประทั​ัตสุ​ุนทรสารนี่​่�เอง เพราะยั​ัง มารั้​้�งตำำ�แหน่​่งผู้​้�กำำ�กั​ับคณะแทนคุ​ุณพระปวโรฯ อี​ีกตำำ�แหน่​่งด้​้วย เหตุ ก ารณ์ ท่ี เ ป็ น ประวั ติ ศ าสตร์ ไ ทยได้ เ กิ ด ขึ้ น อี ก ครั้ ง หนึ่ ง เมื่ อ พระบาทสมเด็ จ

พระปกเกล้ าฯ จ�ำต้ องเสด็ จพระราชด�ำเนินคืนเข้ากรุ งเทพมหานครจากสงขลา เพื่อเจรจา

ความเมอ ื งกับคณะราษฎร และในที่สด ุ ก็ได้ตัดสินพระทัยที่จะเสด็จฯ ไปรักษาพระเนตรที่สหรัฐฯ จนที่สด ุ ก็ทรงสละราชสมบัติและเสด็จฯ ไปประทับอยูท ่ ่ีเมอ ื งอังกฤษจนสวรรคต โรงเรียนมีสว ่ น ถวายความจงรักภั กดี เป็นครั้งสุดท้ ายด้ วยการรวบรวมนักเรียนอย่างกระทั นหันไปส่งเสด็ จที่

พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน ส�ำรวล พุกกะณานนท์ นักเรียนวชิราวุธฯ หมายเลข ๙๐ ได้บรรยาย บรรยากาศตอนนั้นอย่างชาบซึ้งดังจะขอคัดมาให้ปรากฏอีกครั้ง “เวลานัน ่ น ี องเกียรติยศ ไม่มวี งดุรย ิ างค์ ไม่มข ี า้ ราชบริพาร ไม่มใี ครเลย ้ ทีน ่ั ไม่มก

มีแต่ครู และเด็กนักเรียนโรงเรียนวชิราวุธฯ เพียงร้อยกว่าคน ยืนเข้าแถวคอยส่งเสด็จ อยูอ ่ ย่างเงียบขรึม แดดจ้าแต่กลับวังเวงและเงียบเหงา เราท�ำวันทยาหัตถ์เมื่อรถยนต์

พระทีน ่ ง่ั ผ่านแถวช้าๆ เพราะจวนจะหยุดอยูแ ่ ล้ว เพลงสรรเสริญพระบารมีซง่ึ เคยดัง ในหัวอกดีนก ั กลายเป็นอดีตไป แถวเราใกล้พระองค์ท่านอย่างเคยสีพระพักตร์และ แววพระเนตรบอกเรื่องราวหมด ช่างแตกต่างกับเวลาที่เสด็จฯ ไปโรงเรียนเสียจริงๆ สังหรณ์ว่าจะไม่ได้เฝ้าฯ ท่านอีก พวกเราโตๆ กันขึ้นมาแล้วคงรูส ้ ก ึ เหมือนๆ กัน คือ เศร้า หดหู่ ว้าเหว่ และสงสารพระองค์ท่านจับหัวใจ แต่การที่ทอดพระเนตรเห็นแถว

ของพวกเราโดยที่มไิ ด้ทรงคาดหวัง และทรงเห็นสีหน้าของพวกเราท�ำให้แววรันทด นั้นแฝงแววชื่นพระทัยอยูด ่ ้วย... ไม่มใี ครพูดอะไรกันถึงเรื่องนีเ้ ลยแม้กระทั่งกลับมา

ถึงโรงเรียนแล้ว เริ่มเข้าใจค�ำว่า “พระเจ้าอยูห ่ ัว” หมายความถึงอะไร เราฟังเพลง สรรเสริญพระบารมีไม่เพราะอยูเ่ ป็นนานตั้งหลายๆ ปี”

และก็เป็นดังส�ำรวลพรรณนาไว้จริงๆ วชิราวุธฯ แต่น้ันมาก็หมดสง่าราศี งบประมาณ

ต่างๆ ถูกตัดทอนจนครู ฝรั่งหลายคนของโรงเรียนต้องถูกบอกเลิกสัญญา แต่เราก็ยังคงปฏิบัติ หน้าที่ด้ังเดิมของเราด้วยความเป็นปกติเสมอมา เช่น การเดินแถวไปถวายบังคมพระบรมรู ป

ทรงม้าทุกๆ วันที่ ๒๓ ตุลาคม รวมถึงการไปรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งเสด็จฯ

มาพระราชทานผ้าพระกฐินที่วัดเบญจมบพิตรจนทุกวันนี้

ในปีสุดท้ายของการเรียนของผมก็ให้มีเหตุการณ์ท่ีท�ำให้ครู ท้ังโรงเรียนหมดความสุข

ไปตามๆ กัน เพราะมีการสอบตกภาษาไทยกันหลายคน ในจ�ำนวนนี้มีผมซึ่งเป็นพระโอรสของ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ และหม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี พระโอรสของ

37


พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ หรือ น.ม.ส. ที่ได้รบ ั การถวายพระนามว่าเป็นปราชญ์ ของเมืองไทยอีกด้วย เราทั้งสองคนถูกพ่อเล่นงาน และต่างก็ต้องอ้างซึ่งกันและกัน ท่านภีศเดช

ไม่กลับมาเรียนต่อแต่ไปเรียนที่เมืองอังกฤษเลย

ส่วนผมนั้นความที่พ่อจนก็ต้องหวนกลับมาเรียนโดยไม่มีทางเลือก แต่ก็ต้องศึกษาถึง

มูลเหตุของการสอบตกไว้ ซึ่งต้องรับว่าเป็นความประมาทของตัวเองไม่ใช่จากระบบการเรียน แต่อย่างใด เพราะยุคนั้นเป็นยุคของหนังสือนวนิยาย ๑๐ สตางค์ มีท้ังของส�ำนักพิมพ์เพลินจิต

และของนายอุเทน นักเขียน เช่น ป.อินทรปาลิต เรืองเดช เรืองฤทธิ์ เรืองยศ ท�ำให้นักเรียน ติดกันงอมแงม สมัยนั้นโรงเรียนยอมให้แขกมาส่งนมสดแก่นักเรียนเพื่อประโยชน์ทางสุขภาพ

แขกเลยถือโอกาสเอาหนังสือพวกนี้มาขายด้วยเลย

นี่เป็นเพียงเหตุผลข้อหนึ่งเท่านั้น อีกประการหนึ่งชึ่งบางคนนึกไม่ถึงคือ การที่ออกไป

สอบนอกโรงเรียนรวมกับนักเรียนอื่นๆ ของผมปีน้ัน ต้องไปสอบที่โรงเรียนสวนกุหลาบที่อยูต ่ ิด กับถนนใหญ่ และมีเสียงรถยนต์วิ่งตลอดเวลา สมาธิที่เคยมีตอนเรียนที่ตึกวชิรมงกุฎที่เงียบสงัด

จึ งผันแปรเป็นทางลบ ที่ เคยกะให้ตกได้ คือไวยากรณ์ไทย กลายเป็นเรียงความที่ เคยท�ำได้ ดี ย่อความก็ดี แม้แต่อ่านไทยยังพลอยตกไปตามๆ กัน ผมไม่ได้โทษอะไรนอกจากดวง ส่วนท่านภีศเดชนั้นท่านโทษลายพระหัตถ์ท้ังๆ ที่ท่าน

เขียนตัวเบ้อเริ่ม ผมกลับมาเรียนใหม่ด้วยปณิธานใหม่และต้องขอคุยอวดด้วยว่า ปีน้ันผมสอบ

แข่งขันกวีนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้รับรางวัลที่ ๒ คนที่ ๑ คือ นายแพทย์มงคล รัตนปราการ ทีอ ่ ยูค ่ ณะเดียวกับผมและสอบตกภาษาไทยมาด้วยกัน ส่วนการสอบ ม.๘ ปีน้ันเราผ่านไปได้ด้วยดี หนึ่งนั้นเพราะไปสอบที่โรงเรียนวัดบวรนิเวศ บรรยากาศร่มรื่น ของวัดจึงช่วยได้มากดังนี้

ยิ่​่�งไปกว่​่านั้​้�นเราสอบ ผ่​่านเข้​้าจุ​ุฬาลงกรณ์​์มหาวิ​ิทยาลั​ัยด้​้วยคะแนนค่​่อนข้​้างดี​ีด้ว้ ยและเรา ต้​้องชื่​่�นชมกั​ับการเรี​ียนซ้ำำ�ชั้​้�นของเรา เพราะเพื่​่�อนๆ ที่​่�ล่ว่ งหน้​้าเข้​้าไปเรี​ียนก่​่อนเรานั้​้�น ต่​่างก็​็อยู่​่�ใน สภาพซ้ำำ�ชั้​้�นกั​ันเป็​็นแถว บางคนต้​้องถู​ูกรี​ีไทร์​์ หรื​ือไม่​่ก็ต้ ็ อ ้ งเปลี่​่�ยนคณะเรี​ียน เรื่​่�องนี้​้�คงไม่​่ใช่​่เพราะ อะไรหรอกนอกจากจะเป็​็นแบบฉบั​ับนั​ักเรี​ียนกิ​ินนอนที่​่�ยั​ังติ​ิดนิ​ิสั​ัยจั​ับกลุ่​่�มกั​ันอย่​่างเหนี​ียวแน่​่น นั่นเอง ส่วนผมนั้นผมผ่านการเรียน ๔ ปีไปได้สบาย เพื่อนๆ พวกนั้นจบทีหลังผมทุกคน ที่เขียน มานี้ไม่ใช่อะไร แต่ต้องการให้เด็กวชิราวุธฯ รุน ่ หลังได้ส�ำเหนียกไว้เท่านั้นเอง

มีเรื่องไม่ควรเล่าแต่อยากเล่าอีกเรื่องหนึ่ง คือ เมื่อสอบ ม.๘ แล้ว ผมได้ไปหาพ่อผมที่

เมอ ื งปน ี งั ผมกับพ่อไม่ได้พบกันเกอ ื บ ๑๐ ปี นับตัง้ แต่ทา่ นหลบภัยการเมอ ื งไปอยูท ่ น ี่ น ่ั ดูทา่ นตื่นเต้น

กับผมมากเช้าวันหนึ่งท่านเรียกผมไปพบที่ห้องท่านขณะก�ำลังเสวยอาหารเช้าแล้วรับสั่งกับผม ว่า “ตาหนูน้อย ช่วยอ่านหนังสือพิมพ์ให้พ่อฟังหน่อย” รับสั่งแล้วก็ยื่นหนังสือพิมพ์ภาษาฝรั่ง

38


ให้ผมมาฉบับหนึ่ง จะชื่ออะไรก็จ�ำไม่ได้แล้ว ผมก็ปลื้มใจที่พอ ่ วางใจให้อ่านหนังสอ ื ถวาย อ่านไป

ได้พักเดียวพ่อผมก็โบกมือว่าพอ แล้วรับสั่งว่า “พ่อฟังตาหนูน้อยอ่านไม่รู้เรื่องเลย” เป็นความ

ผิดหวังและเสียใจอย่างมากของผม และไม่มีทางจะอ้างอะไรได้ เลยนึกว่าเจ้านายสมัยเก่านั้น

ทุกพระองค์จะต้องได้รับการศึกษาภาษาต่างประเทศควบคู่ไปกับภาษาไทยและต้องเรียนกัน ในระดับตัวต่อตัวทีเดียวดังในห้องหนังสอ ื ของพ่อผมที่ผมชอบแอบไปดูรูปหนังสอ ื “Illustrated London News” “Sphere” และ “Punch” ที่มีอยูม ่ ากเป็นประจ�ำ สังเกตดูจะรู้ได้ว่าแทบทุกพระองค์จะรับสั่งภาษาอังกฤษได้ดีไม่ขัดเขินกันทั้งนั้น ทั้งนี้

ถ้าจะว่าไปแล้วก็คงมาจากรัฐประศาสโนบายสมัยจักรวรรดินย ิ มนัน ่ เอง ผมจึงต้องตั้งเป็นปณิธาน

อีกครั้งที่จะต้องหาทางกระเสอ ื กกระสนไปเปิดหูเปิดตาต่างประเทศให้ได้ ซึ่งโชคได้ชว ่ ยบันดาล

ให้ผมได้ไปทั้งฝึกงาน ดูงานทั้งเรียน และได้เข้าร่วมประชุมระดับต่างๆ ของสหประชาชาติมาแล้ว ที่ต้องเรียกว่าโชคก็เพราะได้ไปด้วยเงินทุนของคนอื่นทั้งสิ้น

ที่ต้องน�ำมาเล่าเพราะอยากเล่าให้เด็กวชิราวุธฯ รุ่นใหม่ฟัง อย่าให้อุบัติการณ์ที่พ่อผม

บอกผมครั้งนั้นเกิดขึ้นอีกเลย ยิ่งสมัยนี้อุปกรณ์ประกอบการสอนก็หาง่าย สื่อต่างๆ ก็มีมากและ วชิราวุธวิทยาลัยสมัยนี้ไม่เหมือนเมื่อก่อน

อีกเรื่องหนึง่ ทีไ่ ม่ควรเล่าแต่อยากเล่าก็คอ ื นโยบายของผูก ้ �ำกับคณะแต่ละคณะไม่เหมอ ื นกัน

คณะผมคุ​ุณพระปวโรฯ ท่​่านไม่​่มี​ีลู​ูก ท่​่านจึ​ึงรั​ักและเอ็​็นดู​ูเด็​็กในคณะเหมื​ือนลู​ูกเหมื​ือนหลาน แต่​่ มิ​ิได้​้ หมายความว่​่ าท่​่ านตามใจจนเหลิ​ิ ง ทุ​ุกคนจะต้​้ องถู​ูกเฆี่​่�ยนเหมื​ือนกั​ั นแม้​้แต่​่ ผมซึ่​่� งอยู่​่� ม.๘ แรกและเป็​็นหั​ัวหน้​้าคณะบั​ังเอิ​ิญตอนสวดมนต์​์เสร็​็จเกิ​ิดร้​้อง “ไชโย” ดั​ังไปหน่​่อยยั​ังถู​ูกเฆี่​่�ยน คุ​ุณพระปวโรฯ ใครๆ ก็​็รู้​้�ว่​่าท่​่านเป็​็นนั​ักฟุ​ุตบอลชื่​่�อดั​ังในนาม “แบ๊​๊กป๊​๊อ” ท่​่านจึ​ึงสนั​ับสนุ​ุนกี​ีฬา คณะเต็​็มที่​่� แข่​่งชนะครั้​้�งใดเป็​็นต้​้องหาผลไม้​้เป็​็นเข่​่งๆ มาเลี้​้�ยงกั​ันทั่​่�วถึ​ึง แล้​้วแต่​่จะเป็​็นฤดู​ูกาล อะไร บางที​ีก็​็มี​ีทุเุ รี​ียนเป็​็นเข่​่งๆ บางที​ีก็​็เป็​็นลิ้​้�นจี่​่�ดองจากเมื​ืองจี​ีนเป็​็นไหๆ เวลากิ​ินข้​้าวถ้​้าเกิ​ิดยั​ัง ไม่​่อิ่​่�มก็​็มี​ีสิท ิ ธิ​ิยกมื​ือขอไข่​่เจี​ียวมาเพิ่​่�มเติ​ิมได้​้ พวกผมก็​็ปากเสี​ียเอาไปคุ​ุยอวดเพื่​่�อนๆ คณะอื่​่�นๆ หารู้​้�ไม่​่ว่​่าไม่​่เป็​็นที่​่�สบอารมณ์​์คุณ ุ พระประทั​ัตฯ เป็​็นอย่​่างมาก จนกระทั่​่�งคุ​ุณพระปวโรฯ ออกไป

และคุ​ุณพระประทั​ัตฯ มารั​ักษาการแทน ประเพณี​ีจะกิ​ินไข่​่เจี​ียวนี้​้�เป็​็นระบบประชาธิ​ิปไตยของ คณะไม่​่ ใ ช่​่ ข องใครคนเดี​ี ย ว จะต้​้ อ งเอาช้​้ อ นเคาะจานกั​ั น หลายโต๊​๊ ะ หั​ั ว หน้​้ า จึ​ึ ง ยกมื​ือเรี​ี ย ก ไข่​่เจี​ียวได้​้ ซึ่​่�งผมในฐานะหั​ัวหน้​้าก็​็ต้อ ้ งปฏิ​ิบัติ ั หน้ ิ า้ ที่​่�ตามนั้​้�น ไปเข้​้าล็​็อกคุ​ุณพระประทั​ัตฯ พอดี​ี จึ​ึง โทรศั​ัพท์​์เรี​ียกพี่​่�ชายผมดิ​ิศานุ​ุวั​ัติ​ิมาพบทั​ันที​ี จะไล่​่ผมออกจากโรงเรี​ียนด้​้วยเหตุ​ุผลว่​่าโรงเรี​ียน นี้​้�มี​ีพระราชประสงค์​์จะให้​้นั​ักเรี​ียนอดทนเป็​็นลู​ูกผู้​้�ชาย ไม่​่ใช่​่เพื่​่�อมากิ​ินสบาย นอนสบาย เมื่​่�อ น้​้องชายท่​่านทนไม่​่ก็ต้ ็ อ ้ งมาเอาตั​ัวออกไปพี่​่�ชายผมก็​็ต้อ ้ งทำำ�ทัณ ั ฑ์​์บนให้​้น้อ ้ ง ประเพณี​ีกิน ิ ไข่​่เจี​ียว เลยพลอยยุ​ุติ​ิแต่​่นั้​้�นเป็​็นต้​้นมา การมี​ีโรงครั​ัวรวมดั​ังปั​ัจจุ​ุบัน ั จึ​ึงเป็​็นนโยบายถู​ูกต้​้อง

39


ตอนผมรั​ับราชการและต้​้องไปฝึ​ึกงานที่​่� สหรั​ัฐฯ คุ​ุณพระประทั​ัตฯ บั​ังเอิ​ิ ญเป็​็นผู้​้�ดู​ูแล นั​ักเรี​ียนไทยอยู่​่�ที่​่�นั่​่น ั ตามธรรมเนี​ียมลู​ูกศิ​ิษย์​์กับ ั ครู​ู ครู​ูก็ยั ็ งั ไม่​่ลื​ืมเรื่​่�องนี้​้� หยิ​ิบมา � ผมก็​็ไปเยี่​่�ยมคำำ�นับ

เล่​่ากั​ันอี​ีกอย่​่างสนุ​ุกสนาน เพราะครู​ูกั​ับศิ​ิษย์​์นั้​้�นความสั​ัมพั​ันธ์​์มั​ันล้ำำ�ลึ​ึกเกิ​ินที่​่�จะโกรธเกลี​ียดกั​ัน

ได้​้ลง ครู​ู ศรี​ีเองยั​ังทำำ�หน้​้าที่​่�แม่​่บ้​้านเหมื​ือนเดิ​ิม อนุ​ุเคราะห์​์พาผมไปซื้​้�อกระเป๋​๋าเดิ​ินทางโดยใช้​้ สิ​ิทธิ​ิไม่​่ต้​้องเสี​ียภาษี​ีอี​ีกด้​้วย ที่​่�ต้​้องเล่​่าเพราะยั​ังอยากเห็​็นระบบภาคทั​ัณฑ์​์มี​ีอยู่​่� ไม่​่ใช่​่จะใช้​้ความ เด็​็ดขาดไล่​่ออกอย่​่างเดี​ียว คนที่​่�เกิ​ิดมาแล้​้วไม่​่เคยทำำ�ความผิ​ิดไม่​่มีใี นโลก เว้​้นเสี​ียแต่​่จะกระทำำ�ชั่​่�ว

โดยจงใจหรือโดยสันดาน ไม่น่าจะลืมว่าคนที่ทนอะไรที่ท้าทายไม่ได้ มักจะเป็นผู้น�ำที่ดี ที่เป็น วีรบุรุษก็เป็นกันมาหลายคนแล้ว ผมเองยั​ังอยากพู​ูดต่​่อทั้​้�งๆ ที่​่�ผู้​้�บั​ังคั​ับการขอให้​้จำำ�กั​ัดไม่​่เกิ​ิน ๕ หน้​้าพิ​ิมพ์​์ ผมตอนนี้​้�อายุ​ุ ๗๘ แล้​้วคงจะหาโอกาสมาพู​ูดอี​ีกได้​้ยาก จึ​ึงต้​้องขออภั​ัยล่​่วงหน้​้าด้​้วยสิ่​่�งที่​่�อยากพู​ูดก็​็คื​ือสื​ืบเนื่​่�อง มาจากผมมี​ีประสบการณ์​์จากการเป็​็นอาจารย์​์พิเิ ศษที่​่�มหาวิ​ิทยาลั​ัยมาหลายแห่​่งเพราะอาจารย์​์ เขาไม่​่มี​ีบ้​้าง มี​ีไม่​่พอบ้​้าง ซึ่​่�งผมไม่​่มี​ีทางปฏิ​ิเสธ การบรรยายทุ​ุกครั้​้�งนั​ักศึ​ึกษาจะจดที่​่�อาจารย์​์ บรรยายและจะขอร้​้องให้​้เขี​ียนคำำ�บรรยายเป็​็นโรเนี​ียวให้​้แต่​่เวลาสอบผมมั​ักต้​้องการรู้​้�ว่​่านั​ักศึ​ึกษา เข้​้าใจหรื​ือไม่​่จึ​ึงออกข้​้อสอบเป็​็นรู​ูปธรรมให้​้นัก ั ศึ​ึกษาออกความเห็​็นปรากฏว่​่านั​ักศึ​ึกษาจะร้​้องว่​่า อาจารย์​์ไม่​่ได้​้สอนเป็​็นดั​ังนี้​้�เสี​ียแหละมาก แสดงว่​่านั​ักศึ​ึกษาจะท่​่องจำำ�มากกว่​่าจะหาความเข้​้าใจ จากการคิ​ิดวชิ​ิราวุ​ุธฯ สมั​ัยผมเรี​ียนก็​็เป็​็นดั​ังนี้​้�จึ​ึงไม่​่ใช่​่ของประหลาดที่​่�คนเรี​ียนเก่​่งก็​็จะเก่​่งประจำำ� อยู่​่�นั่​่�นแหละ เป็​็นการสมยอมกั​ันโดยสมั​ัครใจด้​้วยการลอกการบ้​้านกั​ันมาตลอดในชั่​่�วโมง “เพรบ” ตอนผมไปฝึกงานที่สหรัฐฯ ความที่เรื้อต�ำราไปนาน และประสบการณ์จากการไปประจ�ำ เหมืองแร่มาแล้วก็ไม่ช่วยอะไรให้ดีข้ึนเพราะเป็นคนละแบบอย่างกัน จึ งต้ องขอตั วไปศึกษา

เพิม ้ งสมุดของ U.S. Bureau of Mines และ University of Utah ซึง่ บังเอิญอยูใ่ กล้กน ั ผม ่ เติมเองที่หอ

เห็นที่มหาวิทยาลัยเขาช่วยนักศึกษาท�ำ College Outlines โดยย่อจากหนังสอ ื ต�ำรา ๒๐-๓๐ เล่ม มาเป็น College Outines โรเนียวเล่มไม่หนาขายในราคาถูก อีกอย่างหนึ่งเด็กฝรั่งเวลาเลิกเรียน แล้วมักจะเอาต�ำรามาขายในราคาถูก ทีด ่ ค ี อ ื เด็กฝรัง่ ติดนิสย ั ขีดเส้นแดงใต้ขอ ้ ความส�ำคัญไว้เลือก

ให้ดีก็จะช่วยผมได้มาก ผมจึงใช้เวลาไม่เกิน ๓ เดือน กลับไปลงสนามร่วมกับวิศวกรฝรั่งตาม เดิ​ิมได้​้ การท่​่องจำำ�ตำำ�ราจึ​ึงไม่​่มี​ีประโยชน์​์และไม่​่ใช่​่วิ​ิธี​ีที่​่�ถู​ูกต้​้อง ยิ่​่�งตอนผมไปเรี​ียนต่​่อที่​่�อั​ังกฤษ

ด้​้วยยิ่​่�งลำำ�บากกว่​่าตอนไปรื้​้�อความรู้​้�ที่​่�อเมริ​ิกา เพราะโปรเฟสเชอร์​์ท่​่านเพี​ียงแต่​่ชี้​้�แนะแล้​้วให้​้ ขวนขวายไปแสวงหาปั​ัญญามาตอบคำำ�ถามของท่​่านเท่​่านั้​้�นเอง ผมต้​้องพู​ูดเรื่​่�องนี้​้�เพราะระบบ การศึ​ึกษาวชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัยปั​ัจจุ​ุบั​ันเริ่​่�มเห็​็นความสำำ�คั​ัญให้​้นั​ักเรี​ียนรู้​้�จั​ักคิ​ิด แต่​่ต้​้องไม่​่ลื​ืมว่​่าต้​้อง มี​ีอุ​ุปกรณ์​์พร้​้อมทั้​้�งสื่​่�อต่​่างๆ เฉพาะอย่​่างยิ่​่�งผมยั​ังไม่​่ค่​่อยเห็​็นเด็​็กไทยชอบพกหนั​ังสื​ืออ่​่านติ​ิดตั​ัว เหมื​ือนเด็​็กฝรั่​่�ง หรื​ือว่​่าจะใช้​้ประโยชน์​์จาก Internet ได้​้ก็​็ดี​ีไป แต่​่วชิ​ิราวุ​ุธฯ เป็​็นโรงเรี​ียนกิ​ินนอน

40


ที่​่�มี​ีกิ​ิจกรรมมากอย่​่าง ถ้​้าไม่​่รู้​้�จั​ักแบ่​่งเวลาหรื​ือจำำ�กั​ัดกิ​ิจกรรมของแต่​่ละคนก็​็จะเป็​็นภาระหนั​ักได้​้ เหมื​ือนกั​ัน การปรับระบบการศึกษาแม้หลายอย่างวชิราวุธฯ จะท�ำได้เองแต่คงต้องมีหลายอย่าง ที่ ต้องเป็นไปตามหลั กสูตร พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ ผมยังเสียดายวิ ชาเก่ าๆ ที่ คนสมัยนี้ เห็นว่าเชย เช่น การคัดลายมือการอ่านไทยและการท่องอาขยาน เป็นต้น ตัวอย่างก็มใี ห้ดใู ห้เห็นอยู่ ทั่วไปโดยไม่จ�ำเป็นต้องซักตัวอย่างส่วนอาขยานนัน ้ ผมคิดว่าจะช่วยให้เกิดกวีของชาติในอนาคต ได้ไม่มากก็น้อยท้ายสุดนี้ผมต้องขอพูดเตือนสติให้วชิราวุธฯ ทุกคนส�ำนึกว่า วชิราวุธวิทยาลัย

แม้จะเป็นโรงเรียนราษฎร์ตาม พ.ร.บ. ก็จริง แต่ก็เป็นโรงเรียนของพระเจ้าแผ่นดินที่ทรงตั้งขึ้น

เพื่อสร้างคนไปรับใช้บ้านเมือง

แม้​้ปั​ัจจุ​ุบั​ันนี้​้�จะเป็​็นยุ​ุคสมั​ัยของประชาธิ​ิปไตย ความสำำ�คั​ัญของพระราชประสงค์​์ก็​็มิ​ิได้​้ ลดหย่​่อนแม้​้แต่​่น้​้อยการรั​ับใช้​้บ้า้ นเมื​ืองก็​็มี​ีได้​้หมายความว่​่าจะต้​้องรั​ับราชการเสมอไป ไม่​่ว่​่าจะ อยู่​่�ที่​่�ใดทำำ�อะไรก็​็ขอให้​้มี​ีความสุ​ุจริ​ิตใจต่​่อบ้​้านเมื​ืองเท่​่านั้​้�นน่​่าจะเพี​ียงพอแล้​้ว ผมภู​ูมิ​ิใจเพื่​่�อน ร่​่วมคณะของผมเวลานั้​้�นที่​่�ต้​้องขอเอ่​่ยพระนามและนามไว้​้ดั​ังนี้​้� นอกจาก ม.จ.ภี​ีศเดช รั​ัชนี​ี แล้​้ว ยั​ังมี​ี พู​ูนเพิ่​่�ม ไกรฤกษ์​์ ม.ล.ทวี​ีสัน ั ต์​์ ลดาวั​ัลย์​์ และพงส์​์ สารสิ​ิน ที่​่�ยังั มี​ีผลงานของเขาปรากฏให้​้ คนวชิ​ิราวุ​ุธฯ ปั​ัจจุ​ุบัน ั รั​ับทราบอยู่​่�ทั่​่�วกั​ัน

เขี​ียนโดย: ม.จ.พิ​ิริย ิ ดิ​ิศ ดิ​ิศกุ​ุล (โอวี​ีอาวุ​ุโส)

ตี​ีพิม ิ พ์​์ในหนั​ังสื​ือ “เราจะตรองตรึ​ึกระลึ​ึกความครั้​้�งกระโน้​้นยาม” เนื่​่�องในโอกาสวชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัย ครบรอบ ๙๐ ปี​ี

41


งานคณะ นักเรียนวชิราวุธรุน ่ ๔๗ จะเป็นรุน ่ สุดท้ายที่รู้จักกับงานคณะภาคปวารณา หรือ

ภาคกลาง เป็นงานรื่นเริงประจ�ำปีของแต่ละคณะในจ�ำนวน ๔ คณะ เพื่อจัดงานเลี้ยงประจ�ำ โดยมีการจัดอัฒจรรย์ สแตนด์ ฉาก เวที พิธก ี าร และงานเลี้ยงรับรองตอนเย็น

การจัดงานคณะนี้ ได้รับค�ำชมจากท่านอาจารย์สุทัศนา มุขประภาต ว่า สามารถจัดได้

เก่งกว่าคณะ....ของจุฬาฯ เสียอีก ทั้งๆ ที่เด็กเหล่านี้เป็นเพียงเด็กมัธยมต้นและปลายมารวมกัน

เท่านั้น แต่สปิริตของนักเรียนแต่ละคนเกินร้อยทั้งนั้น เรียกว่างานนี้ข้าแพ้ไม่ได้ ทั้งเรื่องฉาก

เรื่องการแสดง การจัดอาหาร การจัดซุ้มรับรอง การจับรางวัลต่างๆ ตลอดจนการน�ำผู้ชายมา แต่งตัวเป็นผู้หญิงเพื่อแสดง ดูข้างหน้าบางคนก็สวยใช้ได้ เรียกว่าตุ๊ดสมัยนี้อายแทน แต่พอ หันหลังเท่านั้น

กล้ามหัวไหล่เป็นมัดๆ ก็ว่าได้

การแสดงของงานบางคณะดีมากจนถึงกับให้ไปแสดงอีกครัง้ หนึ่งในงานรับพระราชทาน

ประกาศนียบัตรและรางวัลเรียนดีประจ�ำปี ในเดือนมีนาคม เช่น การแสดงเรื่อง ZULU ของ

คณะผู้บังคับการ พี่สุกรี ศรีสรร เล่นเป็นหมอผี เหมือนหมอผีมากๆ จนฉายาหมอผีกลายเป็น ชื่อเล่นของพี่คนนี้ไป ขนาดผู้การยังเรียกเป็นหมอผีเลยเรียกว่าท่านถูกใจมากพอแสดงหน้า

พระที่น่ังในงานดังกล่าว ฉากต่างๆ ถูกจัดสร้างขึ้นสมจริงสมจังกว่าเดิม เพื่อให้พระบาทสมเด็จ

พระเจ้าอยูห ่ ัว ได้ทรงเห็นว่านักเรียนวชิราวุธ มีความสามารถในการแสดงต่างๆ ได้ดี

42


สิ่งที่เป็นหัวใจส�ำคัญในงานคณะนี้ ไม่ใช่อาหาร ไม่ใช่การแสดง แต่เป็นระบบไฟฟ้า

ที่ทุกคนท�ำกันเองและท�ำแข่งกัน เรียกว่าอาจารย์คณะวิศวไฟฟ้ามาเห็นต้องยกนิ้วด่าก็ว่าได้ เพราะเสี่ยงเหลือเกินในการท�ำระบบไฟฟ้าเรียกว่าพลิกต�ำราท�ำก็ว่าได้

ตั​ัวอย่​่างเช่​่น สปอตไลท์​์หน้​้าฉากการแสดง ซึ่​่�งต้​้องเดิ​ินสายกั​ันมากมายเพราะมี​ี

สปอตไลท์​์ประมาณ ๔๐ ดวงหน้​้าฉาก แทนที่​่�จะเดิ​ินสาย ๓๐ เส้​้น เราใช้​้แค่​่ ๕ เส้​้น ๔ ชุ​ุด

โดยแต่ละชุดจะโยงสายหนึ่งมาพันกับเข็มกลัด ใช่ครับเข็มกลัดขนาดใหญ่ และน�ำเข็มกลัดนี้

กลัดเข้าไปสายไฟเส้นเมน แล้วใช้เทปพันทับเพื่อมิให้เกิดไฟฟ้ารั่วได้ แล้วก็โยงอีกข้างหนึ่งเป็น เส้นเดินไฟกลับเพื่อให้ครบวงจร เรียกว่า ไม่มีในต�ำรา เพราะล�ำพังแค่ใช้เข็มกลัดกลัดสายไฟ

เพื่อให้ครบวงจรแล้วเรียกว่าไม่มีท่ีไหนท�ำกัน ในการทดสอบนั้น ถ้าไฟไม่ติดก็แค่แก้ไขให้ไฟติด

เท่านัน ้ ้องยกเครดิตให้พ่ห ี น ิ ใหญ่ พลต�ำรวจตรีภวู ดล วุฒกนก เลขาสมาคมบันเทิงสมัยนัน ้ งานนีต ้ หรืออย่างไฟราวตามต้นไม้ สมัยก่อนไม่มไี ฟ LED แบบสมัยนี้ ก็ใช้หลอด ๕ วัตต์ ต่อสาย

ไปประมาณ ๖ เส้น แต่ละเส้นก็มีไฟประมาณ ๑๐ ดวง รวมเป็น ๕๐ ดวง มีต้นไม้ประมาณ

๑๐ ต้​้น ก็​็มี​ีดวงไฟประมาณ ๕๐๐ ดวง ถ้​้าจะตรวจว่​่ามี​ีลั​ัดวงจรหรื​ือไม่​่ แทนที่​่�จะแกะที​ีละดวง

รวม ๕๐๐ ดวง มั​ันทำำ�ไม่​่ได้​้ อย่​่ากระนั้​้�นเลย ต่​่อสายเมนเข้​้าที​ีเดี​ียว ถ้​้าไฟตั​ัดวงจรก็​็แสดงว่​่าใช้​้ ไม่​่ได้​้ ถ้​้าไม่​่ตั​ัดก็​็ผ่า่ นเรี​ียบร้​้อย จากนั้​้�นก็​็ปี​ีนต้​้นไม้​้แล้​้วนำำ�ไฟราวเหล่​่านี้​้�ขึ้​้�นไปบนต้​้นไม้​้ทั้​้�งต้​้น เรี​ียกว่​่าเรี​ียนลั​ัดกั​ัน เพราะอั​ัตรากำำ�ลั​ังไม่​่มี​ี

ถ้​้าสงสั​ัยว่​่าอุ​ุปกรณ์​์เหล่​่านี้​้�มาจากไหนก็​็ต้​้องตอบว่​่ายื​ืมมา บั​ังเอิ​ิญเหลื​ือเกิ​ินที่​่�ตอนนั้​้�น

ท่​่านพ่​่อของ ม.ล.จิ​ิรเศรษฐ ศุ​ุขสวั​ัสดิ์​์� ชื่​่�อ ม.ร.ว. เสริ​ิม ศุ​ุขสวั​ัสดิ์​์� ท่​่านเป็​็นเจ้​้ากรมการทหาร

สื่​่�อสาร ท่​่านก็​็ใจดี​ีมากให้​้ยื​ืมมาหมด สปอร์​์ตไลท์​์มาเป็​็น ๑๐๐ ตั​ัว ไฟ ๑๐๐ แรงเที​ียน มาเป็​็น ๑๐๐ ตั​ัว เรี​ียกว่​่าทุ​ุกอย่​่างมาเป็​็นร้​้อย พี่​่�หิ​ินก็​็แสนดี​ี ให้​้เท่​่าไรติ​ิดตั้​้�งหมด ผลจะเป็​็นอย่​่างไร

ก็​็อ่​่านต่​่อไปแล้​้วกั​ันครั​ับ

เนื่​่�องจากไม่​่มี​ีการคำำ�นวณค่​่าความเข้​้มของแสง ใช้​้การประมาณเอาและได้​้ไฟ

ทั้​้�งสปอร์​์ตไลท์​์มาเยอะมาก พี่​่�หิ​ินก็​็ติ​ิดสปอร์​์ตไลท์​์ประมาณ ๔๐ ดวง หน้​้าฉาก และไฟซุ้​้�ม ๑๖ ซุ้​้�มๆ ละ ๑๐๐ แรงเที​ียน ๔ ดวง เรี​ียกว่​่าสว่​่างพอๆ กั​ับเวกั​ัส ในเนวาดาก็​็ว่​่าได้​้

ผลก็​็คื​ือ ทั้​้�งนั​ักแสดง และคนที่​่�เข้​้ามาในงาน หน้​้ามื​ืดเพราะไฟมั​ันจ้​้ามากในวั​ันจริ​ิง

สมั​ัยนั้​้�นใช้​้หลอดไส้​้ครั​ับ ไม่​่มี​ีหลอดนี​ีออน คนเข้​้ามาในงานพอเดิ​ินออกไปตาลายไปตามๆ กั​ัน ส่​่วนนั​ักแสดงนั้​้�น เหมื​ือนเล่​่นอยู่​่�หน้​้ากองเพลิ​ิง เพราะแสงมั​ันจ้​้ามากและเข้​้าตานั​ักแสดงจน มองอะไรไม่​่เห็​็นครั​ับ

ปี​ีต่​่อมา พี่​่�หิ​ินก็​็เลยยอมลดไฟลงไปประมาณ ๓๐ เปอร์​์เซนต์​์ ครั​ับ

ในระบบการบริ​ิหารสมั​ัยใหม่​่ จะพบคำำ�ว่​่า Hollywood Model เป็​็นระบบการบริ​ิหาร

ซึ่​่�งในปั​ัจจุ​ุบัน ั ทุ​ุกองค์​์กรเริ่​่�มนำำ�ระบบนี้​้�มาใช้​้มาก ภาษาไทยเรี​ียกองค์​์กรพลวั​ัต คื​ือไม่​่ Organize

43


มากนั​ัก ไม่​่มี​ีหั​ัวหน้​้าเป็​็น layer ที่​่�หลายชั้​้�น ในสามก๊​๊กนั้​้�น จะเห็​็นตั​ัวอย่​่างองค์​์กรพลวั​ัตมาโดย

ตลอด เรี​ียกว่​่ามาแบบ Hollywood คื​ือนำำ�ทุก ุ อย่​่างมารวมกั​ันโดยมี​ี Producer ออกทุ​ุน Director คอยกำำ�กั​ับ แบ่​่งงานตามหน้​้าที่​่�แบบหลวมๆ หน้​้าที่​่�ใครหน้​้าที่​่�มั​ัน จบเรื่​่�องรั​ับเงิ​ินแยกย้​้ายไป

การจัดงานคณะก็ไม่ต่างกับ Hollywood Model มากนัก เพราะเรียกมาทุกคน มารวม

กันเป็น Project การท�ำงานคณะจึงแทบไม่มีระดับชั้น งานทุกงานต้องแยกหน้าที่ไปอย่าง

ชัดเจน กระจายอ�ำนาจแบบสุดๆ ก็วา่ ได้ ตกเย็นมาประชุมกัน ฉากเป็นอย่างไร อาหารสัง่ หรอ ื ยัง น้�ำท่า การแสดงซ้อมครบทุกชุดหรือยัง

พอใกล้ๆ วันงาน Stand ของงานเริ่มน�ำ Pallet มาซ้อนกันจนพอจะซ้อมละครได้ ทีน้ี

ก็จะมีการซ้อมกันทีละชุดๆ ชุดเล็กก็ต่างคนต่างซ้อม แต่จะมีชุดใหญ่ ซึ่งจะต้องใช้ Stand ใหญ่

ซ้อม และเด็กคณะนัน ู ารซ้อมคณะ ผบก ในปี ๒๕๑๓ ได้คด ิ น�ำละครคณะสถาปัตย์ ้ ก็จะได้ดก

(ก่อนซูโม่ต่างๆ), มาเล่น โดยท�ำในรูปแบบโขน ตอนนางเบญจกาย คนเล่นเป็นเด็กชั้น ม.ศ. ๑ โดย ปรารถนา กังสดาลย์ เล่นเป็นพระราม ทองเปาว์ บุญหลง เล่นเป็นพระลักษณ์

พอเริ่มฉากเปิดมาก็เตรียมหัวเราะได้เลย เพราะปรารถนาแต่งเป็นพระรามในโขนแต่

ใส่แว่นด้วย การพูดการแสดงต่างๆ ก็ใช้เทป ซึ่งอัดมาเป็น Tape reel to reel โดยใส่มุขตลกมา ครบ หน้าที่ของคนแสดงก็คือต้องแสดงให้ได้ตามที่บทบอกให้ท�ำเป็นโขนที่ผมอยากให้ได้ดูอีก

เพราะทั้งตลกและเนื้อหาไม่ตกหล่นแถมไม่มีทะลึ่งลามกแม้แต่น้อย แต่เป็นตลกของคณะ

สถาปัตย์รุน ่ เก๋าจริงๆ ดูก่ีคร้งก็ไม่เบื่อเพราะเป็นตลก Classic มาก

โรงเรียนวชิราวุธฯ นัน ั จะเอาผูช ้ ายมาแต่งตัวเป็น ้ จะมีการแสดงร�ำต่างๆ บ่อยมาก และก็มก

ผู้หญิงก็มี จ�ำได้ว่าตอนปี ๒๕๐๗ งานเทอมปลายมีงานแสดงหน้าพระที่น่ัง เล่นเรื่องมโนราห์

แต่งเป็นตัวมโนราห์ พอปี ๒๕๐๘ เทอมแรก ก็น�ำการแสดงชุดนี้มาออกรายการทีวี ถ้าจ�ำไม่ผิด พี่ตือ ไกรทิพย์ ไกรฤกษ์ ก็แสดงชุดนี้ด้วย เวลาที่แสดงต่อหน้าทีวีสมัยนั้น ร้อนมากเพราะ

แสงไฟส�ำหรับทีวีสมัยก่อนแรงมาก และเป็นการแสดงสดๆ แถมกว่าจะได้เล่นก็เกือบ ๕ ทุ่ม เห็นจะได้

พอเข้าคณะใน ก็มีการร�ำเชิญขวัญ ก็ตามเคยถูกแต่งเป็นผู้หญิงอีกแล้ว แต่งก็แต่งวะ

สปิริตเพื่อคณะเราท�ำได้ทุกอย่างครับ รุน ่ พี่บางคนท�ำงานจนตก ม.ศ. ๔ ก็มี บางคนตก ม.ศ. ๔

แล้วไปสอบเทียบได้ไม่ต้องไปเรียน ม.ศ. ๕ ก็มี ยิ่งไปกว่านั้น สังเกตได้ว่า รุน ่ พี่คนไหน ช่วยงาน คณะมาก ส่วนใหญ่มักจะค่อนข้างประสบความส�ำเร็จในงานมาก อาจเป็นเพราะเจองานยาก

เข้าไปแล้ว ก็พอจะน�ำประสบการณ์จากงานคณะไปปรับใช้ในงาน เพราะประสบการณ์เหล่านี้ หาได้ยากในโรงเรียนอื่นๆ

44


การทำำ�งานคณะนั้​้�น ต้​้องไปติ​ิดต่​่อกั​ับคนข้​้างนอกเป็​็นจำำ�นวนมาก ทั้​้�งการไฟฟ้​้านครหลวง

ให้​้ช่ว ่ ยมาเดิ​ินสายเมนเข้​้ามาช่​่วย ส่​่วนใหญ่​่พวกที่​่�ติ​ิดต่​่อก็​็คื​ือพวกสมาคมบั​ันเทิ​ิงซึ่​่�งคร่ำำ�หวอด

กั​ับเรื่​่�องฟื​ืนไฟอยู่​่�แล้​้ว สาเหตุ​ุที่​่�ต้​้องเดิ​ินสายเพิ่​่�มเพราะไฟที่​่�ใช้​้ในวั​ันดั​ังกล่​่าว ค่​่อนข้​้างมาก

เรี​ียกว่​่า ขอไฟชั่​่�วคราว ๑๐๐ แอมป์​์ โหลด ๓๐๐ แอมป์​์ เป็​็นมาตรฐาน (บ้​้านธรรมดาก็​็ ๑๕ โหลด ๔๕ แอมป์​์ก็​็เหลื​ือแล่​่)

ยิ่งไปกว่านั้น พวกสมาคมบันเทิงยังต้องต่อไฟตรงจากสะพานไฟ ไปยังที่ต้องการไฟ

เช่น Stage หรือพื้นที่บางพื้นที่ซ่งึ ต้องท�ำงานกลางคืนและเอาสปอร์ตไลต์ไปวาง ความที่มัน

เก๋ามาก ก็เกือบเผาคณะ ผบก แล้วครับวันนั้น

เรื่องมีอยูว ่ ่า ช่วงเย็นวันหนึ่ง ผมกับมก (ปรารถนา) ต้องต่อไฟที่ว่าดังกล่าว ก็จัดแจง

ลากสายมาเลย เนื่องจากมันอยูไ่ กล สายก็ต้องยาวมาก มันก็ม้วนๆ กันมา อย่ากระนั้นเลย จับปลายทั้ง ๒ ข้าง ต่อเข้าสะพานไฟเลย ต่อเท่าไรไฟก็ช็อตแล้วช็อตอีก

“พี่มันช็อตอย่างนี้ เนื่องจากกินไฟ ใช้ฟิวส์เล็กไม่น่าจะพอ เอาสายทองแดงเป็นฟิวส์

ดีไหม” มกถาม

“อย่าเลย ลองอีกทีดีกว่า” ผมตอบ

ลองไปได้ ๔ ที ไฟขาดหมดครับ จนคนบ่นว่าไฟกระตุกมาก ผมก็เกือบใจอ่อนแล้วพอดี

จิระ อุดมวัฒวี ฉายาเจ๊กกลไกมาเจอเข้า ก็เลยถามว่าเกิดอะไรขึ้น จากนั้นก็เริ่มไล่สาย ไล่ไป

ไล่มาใจหายวาบเลย กลายเป็นต่อสายไฟเส้นเดียวกัน คือเอาปลายสายของไฟเส้นเดียวกันมา ต่อกันเอง จะไม่ช็อตได้อย่างไร ถ้าวันนั้นเกิดใจอ่อนและจี๋ไม่มาช่วย คงได้ฌาปนกิจคณะผู้บังคับการเรียบร้อยแน่

จิระเองปัจจุบันกลายเป็นนักกฎหมาย จบจุฬาฯ ทุกครั้งที่เจอกันก็จะมีความผูกพันกัน

เพราะเคยไปนั่งหลับด้วยกันบนหอประชุม ตอนคุมเครื่องเสียง ผู้การนึกอย่างไรไม่รู้ข้ึนมาดู

นอนกันแผ่หลา ก็เรียบร้อยนั่งโรงเรียนกงลิงไป เกือบอาทิตย์ หมดสกีโทลีนไปเกือบขวดก็ว่าได้ ยุงหน้าบ้านผู้การนี่ ต้องทาทุกครึ่งชั่วโมง

ที่สนุกไม่แพ้กันในงานคณะ คือเรื่องขนเก้าอี้ ยืมจากนอกโรงเรียนก็น่ังรถบรรทุก

๖ ล้อไป นัง่ ด้านหลัง ลมพัดตีแบบสนุกมาก พอเข้ามาถึงโรงเรียน ก็มก ี ารขนย้ายโดยใช้พาหนะ สุดยอดที่เรารู้จักกันดีว่ารถพระอินทร์

ที่เรียกว่ารถพระอินทร์น้ัน เพราะมีล้อสีเขียว ข่าวว่าบุกไปถึงประตูน้�ำ เท็จจริงช่วยมี

คนเล่าต่อเรื่องนี้ก็ดี

รถพระอิ​ินทร์​์นั้​้�น ต้​้องการคนเข็​็นประมาณ ๒ คนขึ้​้�นไป ข่​่าวว่​่าบางที​ีขนเข็​็น ๔ คนนั่​่�ง

๑๐ ก็​็มี​ี วิ่​่�งเงี​ียบเพราะไม่​่มี​ีเครื่​่�องยนต์​์ ไม่​่มี​ีไฟฟ้​้า สนุ​ุกมากตอนเข็​็นเร็​็วๆ แล้​้วกระโดดขึ้​้�นนั่​่�ง ยิ่​่�ง ตอนทิ้​้�งโค้​้งหน้​้าพระบรมรู​ูปแล้​้ว มั​ันส์​์มาก สำำ�คั​ัญคื​ือคนขั​ับต้​้องขาแข็​็งมาก เพราะต้​้องใช้​้

45


ขายั​ันอย่​่างดี​ี ทำำ�ให้​้โอวี​ีหลายคนกลายเป็​็นนั​ักบิ​ินไป เพราะเคยยั​ันรถพระอิ​ินทร์​์มาแล้​้ว เวลา Landing ใช้​้ขายั​ันก็​็เลยสามารถใช้​้งานได้​้ดี​ี

ในงานคณะนั้น จะมีการเชิญกรรมการสมาคมต่างๆ เข้ามาทานเลี้ยงในงานอย่างเป็น

พิธก ี าร ซึ่งก็สนุกสนานมากเพราะกรรมการจะได้ดูการแสดงของคณะอื่นๆ อีกด้วย แล้วยังได้ รับประทานอาหารอย่างดี ที่น่ังก็น่ังกันหน้าคณะเป็นส่วนใหญ่ โดยมีเก้าอี้เหล็กนั่งกัน

ที่น่าใจหายเรื่องหนึ่งก็คือ ปี ๒๕๑๓ งานคณะนั้น จัดในช่วงเดียวกันกับงานวชิราวุธ

ที่วังสราญรมย์ ทางเราก็บอกเขาไปว่ามาโรงเรียนวชิราวุธฯ ทางร้านอาหารกลับไปที่งาน

วชิราวุธ เรียกว่าคอยจนบ่าย ๓ แล้วก็ยังไม่มี จนบ่าย ๔ แล้ว พี่เผ่าพิชิตชัยบอกทอดไข่ได้แล้ว

คงต้องให้แขกกินไข่ดาวไข่เจียวเป็นแน่ จากกนั้นก็รีบไปตาม ปรากฏว่าไปผิดที่ ผลก็คือ อาหาร ไม่ได้ปรุงรสชาติเลย เรียกว่าท�ำกันแบบสุกก็ไปเลย คนก็เลยบ่นกันอุบว่าอาหารไม่อร่อย ลองมา กินอาหารปกติคณะ ผบก แล้วจะพบว่าอาหารทุกจานในโลกนี้อร่อยครับ

ผมได้เรียนอยูท ่ ่ี University of Detroit ตอนปริญญาโท ที่น่ีบังคับทุกคนที่อยูห ่ อต้อง

กิน Meal Plan คืออาหารของหอ นักเรียนไทยทนได้เทอมเดียวก็ย้ายออกเป็นแถว เพราะทั้ง แพงทั้งไม่อร่อยถูกปากคนไทย มีผมกับเพื่อนอีกคนมาจากต่างจังหวัดที่อยูไ่ ด้ ๒ ปีเต็มโดย ไม่ย้าย เรียกว่าอาหาร ผบก ใครผ่านมาได้ ไม่มีใครอดตายครับ

เนื่องจากงานคณะมีการหนีโรงเรียนกันเป็นกิจวัตร ประกอบกับทางโรงเรียนมีนโยบาย

ส่งแข่งกรีฑานักเรียน ท�ำให้งานคณะมาชนกันกับงานกรีฑา จึงได้มก ี ารเลิกงานคณะโดยปริยาย ซึ่งค่อนข้างน่าเสียดายเพราะเป็นโอกาสฝึกงานของนักเรียน

รักพี่เสียดายน้องครับ แข่งกรีฑาโรงเรียน ก็สร้างมาตรฐานของโรงเรียนด้านกรีฑา

ท�ำให้มีความไม่ต่างกันเรื่องกรีฑาจ�ำได้ว่า ปี ๒๕๑๕ กรีฑาคณะนั้น คะแนนกรีฑาของ ๔ คณะ เป็นดังนี้

๑. คณะจิตรลดา

๒. คณะดุสิต

๓. คณะพญาไท

๔. คณะ ผบก

๑๐๗

๑๐๕

๑๐๓

๑๐๒

เรียกว่าไม่รู้ว่าใครจะเป็นผู้ชนะเพราะคะแนนเกิน ๑๐๐ ทั้ง ๔ คณะครับ มาตรฐานของ

ทั้ง ๔ คณะไม่ต่างกันเลย

เขี​ียนโดย: นพดล สุ​ุรทิ​ิณฑ์​์ (โอวี​ี ๔๖)

46


วงโยฯ กับ วงปี่ ฯ อะไรเกิดก่อนกัน? เมื่อปลายเดือนที่แล้ว ผมมีธุระที่จะต้องเข้าไปวชิราวุธฯ แล้วบังเอิญไปได้ยินรุน ่ น้อง

โอวีท่ีเป็นผู้ก�ำกับคณะคุยกันระหว่างเดินผ่านผมไปถึงเรื่องก�ำเนิดวงปี่สก็อต และมีค�ำถามลอย มาว่า วงโยฯ กับวงปี่ฯ นี่อะไรเกิดก่อนกัน

คนเล่าก็ตอบว่าไม่รู้สิ ผมก็ตอบลอยๆ กลับไปว่าวงโยฯ สิครับ น้องทั้งกลุ่มเลยหยุดแล้ว

เดินเข้ามาสนทนากับผม คนหนึ่งพอเห็นทรงผมชัดๆ ก็บอกว่าจ�ำพี่ได้เนื่องจากตามอ่านเรื่อง

ที่ผมเขียนอยู่ แล้วแนะน�ำตนเองทั้งสามคน ซึ่งต้องขอประทานโทษอย่างแรงที่ผมจ�ำชื่อไม่ได้

แล้ว ดูเหมือนคนหนึ่งจะเป็นผู้ก�ำกับคณะจงรักภักดี อีกสองคนไม่แน่ใจว่าดุสิตกับอะไร อภัยให้

แก่คนสมองเสื่อมด้วย วันนั้นชาร์ตแบตไว้ไม่เต็มมันเลยไม่เก็บไว้ในเมม

กลับมานึกทบทวนว่าวันนัน ้ มูลอะไรผิดๆ ไปหรอ ื เปล่า เพราะน้องบอกว่าก�ำลัง ้ ผมให้ขอ

ท�ำบันทึกเรื่องนี้ให้หอจดหมายเหตุ ผมเลยส่งข้อความทางเน็ตไปถามโอวีอาวุโส พี่พงษ์ธร

พรหมทัตตเวที ท่านไม่ทราบว่าตนเองรุน ่ อะไร แต่เข้าเด็กเล็กในปี ๒๔๘๖ และออก ๒๔๙๘

โดยไม่ระบุว่าเข้าชั้นไหนออกชั้นไหน ผมก็จนปัญญาที่จะเทียบรุน ่ ให้ท่าน (ชัยนิมิตร – พี่ทราย สุขยางค์ เพิ่งเฉลยว่าพี่พงษ์ธรรุน ่ ๒๘ ส่วนพี่ทราย ๒๙ ครับ) ดังนั้นหากใครไม่อยากเรียกท่าน ว่าพี่ จะเรียกคุณปู่หรือคุณลุงก็ตามอัธยาศัยเลย

พี่พงษ์ธรฯ กรุณาเล่ากลับมายาว ซึ่งผมเห็นว่าน่าจะเป็นที่สนใจของพี่ๆ น้องๆ โอวี

ทุกคน โดยหวังว่าคงมีโอวีท่ีท�ำงานในโรงเรียนจะมาเห็นเข้า และน�ำข้อมูลของพีท ่ า่ นไปใช้ ผมได้

ขออนุญาตพี่พงษ์ธรไว้แล้วที่จะเรียบเรียงแก้ไขบางจุดแต่เพียงเล็กน้อย ความทั้งหมดดังนี้ครับ

47


“เรื่​่�องวงดนตรี​ีปี่​่�สก็​็อตนี้​้� เริ่​่�มมาตั้​้�งแต่​่ในระหว่​่างสงครามโลกครั้​้�งที่​่�สอง มี​ีการโจมตี​ีทาง

อากาศรุ​ุนแรงขึ้​้�นทุ​ุกวั​ัน ทางวชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัย จึ​ึงขออนุ​ุญาตผู้​้�ปกครองไปเปิ​ิดสอนนั​ักเรี​ียนที่​่�

พระราชวั​ังบางปะอิ​ิน เพื่​่�อให้​้มี​ีความปลอดภั​ัยจากการทิ้​้�งระเบิ​ิดที่​่�นั​ับจะรุ​ุนแรงขึ้​้�นทุ​ุกที​ี ก็​็ไม่​่มี​ี

ปัญหาอะไร เพราะลูกชายนายปรีดี พนมยงค์ ผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นโอวีรุน ่ ๒๒

ก�ำลังเรียนอยู่ เรียกว่าเรามีเส้นสาย นักเรียนชัน ้ มัธยม พักอยูว่ ัดนิเวศน์ธรรมประวัติ ชัน ้ ประถม

พักอยูต ่ �ำหนักเดิมของเจ้านายสตรีในบริเวณพระราชวัง

“ไม่นานก็มีการทิ้งระเบิดทางอากาศที่บางปะอินอีก (ชัยนิมิตร - ความจริงที่บางปะอิน

ไม่มีเป้าหมายส�ำคัญ แต่เป็นจุดที่เครื่องจะวนมาตั้งล�ำแล้วใช้ล�ำน้�ำเจ้าพระยาเป็นแนวทาง

บินไปสูพ ่ ระนครในระยะต่�ำมาก ส่งเสียงสนัน ่ หวั่นไหว) จึงมีการย้ายนักเรียนชัน ้ ประถมไปเรียน

ที่​่�โรงรี​ียนสมถวิ​ิลในตั​ัวจั​ังหวั​ัดปทุ​ุมธานี​ี ทำำ�ให้​้นัก ั เรี​ียนบางคนสงสั​ัยว่​่า ที่​่�ปทุ​ุมธานี​ีนี้​้เ� ป็​็นวชิ​ิราวุ​ุธ

หรื​ือของอาจารย์​์สมถวิ​ิล สั​ังขทรั​ัพย์​์ แต่​่มาสงสั​ัยเอาเมื่​่�อเกื​ือบ ๗๐ ปี​ีให้​้หลั​ัง ทำำ�ให้​้หาผู้​้�รู้​้�ยาก

จึ​ึงเป็​็นเรื่​่�องคาใจของเด็​็กรุ่​่�นพี่​่�มาจนบั​ัดนี้​้� แต่​่ก็​็สัน ั นิ​ิษฐานว่​่าถึ​ึงจะเป็​็นการดำำ�เนิ​ินการโดย

อาจารย์​์สมถวิ​ิล ก็​็คงต้​้องมี​ีข้อ ้ ตกลงกั​ับวชิ​ิราวุ​ุธอย่​่างแน่​่นอน (ชั​ัยนิ​ิมิต ิ ร - โรงเรี​ียนนั้​้�นเป็​็นของ อาจารย์​์สมถวิ​ิล ผู้​้�เป็​็นนั​ักเรี​ียนเก่​่าญี่ปุ่​่ �่ น � จึ​ึงสนิ​ิทสนมกั​ับคุ​ุณหญิ​ิงขจรของพระยาภะรตมาก

จึ​ึงอนุ​ุญาตให้​้วชิ​ิราวุ​ุธยื​ืมอาคารโรงเรี​ียนใช้​้ เนื่​่�องจากสมถวิ​ิลปิด ิ โรงเรี​ียนไปแล้​้วเพราะภาวะ

สงคราม)

“ต่​่อมาอี​ีกไม่​่นานก็​็มี​ีคำำ�สั่​่�งของรั​ัฐบาล

ให้​้ปิ​ิดโรงเรี​ียนทั่​่�วประเทศ เพราะการทิ้​้�งระเบิ​ิด รุ​ุนแรงขึ้​้�นมี​ีทั้​้�งกลางวั​ันและกลางคื​ืนเกื​ือบ ทุ​ุกวั​ัน ทางการประกาศให้​้นั​ักเรี​ียนทุ​ุกคน

ตั้​้�งแต่​่อนุ​ุบาลยั​ันมหาวิ​ิทยาลั​ัยเลื่​่�อนชั้​้�นหมด

โดยไม่​่ต้​้องสอบ จึ​ึงมี​ีการขนานนามพวกรุ่​่�นนี้​้� ว่​่า “รุ่​่�นโตโจ สงเคราะห์​์“ นายพลโตโจคื​ือ

นายกรั​ัฐมนตรี​ีเผด็​็จการของญี่​่�ปุ่​่�นในขณะนั้​้�น “ในระยะที่​่�โรงเรี​ียนปิ​ิดนี้​้� รั​ัฐบาลก็​็

มาขอใช้​้โรงเรี​ียนวชิ​ิราวุ​ุธฯ เป็​็นค่​่ายกั​ักกั​ัน

เชลยศึ​ึก สั​ัญชาติ​ิที่​่�เราไปประกาศสงครามด้​้วย

คื​ือ อั​ังกฤษ ฝรั่​่�งเศส อเมริ​ิกัน ั และออสเตรเลี​ียน

ฯลฯ มี​ีการสร้​้างโรงจากให้​้เป็​็นที่​่�อยู่​่�อาศั​ัยด้​้วย

ต่​่อมาเกิ​ิดการทิ้​้�งระเบิ​ิดทำำ�ให้​้อาคารคณะประคอง ที่​่�ต่อ ่ มาจะเปลี่​่�ยนชื่​่�อเป็​็นคณะดุ​ุสิต ิ พั​ัง (ในสมั​ัย

นั้​้�นขื่​่�อคณะต่​่างๆ เปลี่​่�ยนไปตามชื่​่�อของผู้​้�กำำ�กับ ั คณะๆ ประคองคื​ือคณะที่​่�มี​ีคุณ ุ หลวงประคอง

48


วิ​ิชาสมาน เป็​็นผู้​้�กำำ�กั​ับคณะ) ในตอนนี้​้�ก็​็มี​ีขบวนการเสรี​ีไทยในประเทศ เกิ​ิดขึ้​้�นอย่​่างลั​ับๆ แล้​้ว

เพราะฉะนั้​้�นเชลยศึ​ึกจึ​ึงได้​้รับ ั การดู​ูแลอย่​่างดี​ีและปกป้​้องอั​ันตรายจากกองทั​ัพญี่​่�ปุ่​่�นที่​่�เข้​้ามายึ​ึด

ครองประเทศไทย ผู้​้�ที่​่�ได้​้รับ ั การแต่​่งตั้​้�งให้​้เป็​็นผู้​้�ดู​ูแลเชลย คื​ือ ม.ร.ว.พงศ์​์พรหม จั​ักรพั​ันธ์​์

ที่เคยอยูใ่ นความดูแลของท่านเจ้าคุณภะรต พร้อมๆ กับคุณพ่อของพี่ขณะศึกษาอยูท ่ ่ีประเทศ อังกฤษ สมัยที่ท่านเป็นผู้ดูแลนักเรียนไทยที่น่ัน ก่อนกลับมาเป็นอธิการบดีจุฬาฯ

(ชัยนิมิตร - เหตุท่ส ี ม ั พันธมิตรมาทิ้งระเบิดโรงเรียนเรา เพราะรัฐบาลขอใช้สนามหลัง

เป็นที่ต้ังของโรงไฟฟ้าชั่วคราวเมื่อโรงไฟฟ้าสามเสนถูกถล่มยับไปแล้ว การทิ้งระเบิดครั้งนั้น นอกจากลูกหนึ่งพลาดไปโดนคณะประคองแล้ว ยังมีอีกสองลูก เลยไปลงเฉี่ยวพระที่น่งั

อัมพรสถาน พระราชวังดุสต ิ และโรงรถหลวงเสียหายไปเป็นแถบด้วย ทางราชการเลยย้าย

เชลยศึกจากที่กักขังไว้บนตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มาปลูกเรือนจากให้อยูเ่ ป็นยันต์

กันระเบิด และด้วยการประสานงานของเสรีไทยด้วย พื้นที่ตรงนั้นจึงตลอดปลอดภัยไปจนสิ้น

สงคราม)

“ในค่ายกักกันนี้มีเชลยศึกชาวสก๊อตคนหนึ่งน�ำปี่สก๊อตมาเป่าแก้เซ็งด้วย ท่านเจ้าคุณ

ได้ยินเข้าก็ติดใจ ทาบทามฝรั่งเชลยคนนี้ว่าถ้าสงครามสงบ ขอให้จัดการสอนเครื่องดนตรี

ชนิดนีใ้ ห้นก ั เรียนวชิราวุธจะได้ไหม มร. สจ๊วต มาร์ ก็รบ ั ค�ำ เพราะทราบซึง้ ในน้�ำใจของชาวไทย และท่านผู้บังคับการที่ให้ความอุปการะเชลยศึกในยามล�ำเค็ญมาโดยตลอด ถ้าจ�ำไม่ผิด

เจ้าคุณท่านจัดการแต่งงานให้ มิสเตอร์มาร์ นี้ด้วย (ชัยนิมิตร – พี่ท่านจ�ำไม่ผด ิ หรอกครับ มิสเตอร์มาร์แต่งงานกับคุณวีร์ โดยมีพระยาภะรตเป็นเจ้าภาพ)

“เมื่​่�อสงครามสงบ ฝรั่​่�งคนนี้​้�ก็ไ็ ด้​้รับ ั ตำำ�แหน่​่งผู้บ ้� ริ​ิหารบริ​ิษั​ัทบอร์​์เนี​ียว ที่​่�เป็​็นบริ​ิษั​ัทใหญ่​่

ของอั​ังกฤษที่​่�ได้​้สัม ั ปทานตั​ัดไม้​้ และทำำ�ธุรุ กิ​ิจนำำ�เข้​้าและส่​่งออก ในสมั​ัยนั้​้�นของใช้​้แทบทุ​ุกอย่​่าง

เราทำำ�ไม่​่ได้​้เลยต้​้องนำำ�เข้​้าทั้​้�งนั้​้�น บริ​ิษั​ัทนี้​้�จึ​ึงเป็​็นยั​ักษ์​์ใหญ่​่บริ​ิษั​ัทหนึ่​่�งประจำำ�ยุ​ุค มิ​ิสเตอร์​์มาร์​์

ได้​้สั่​่ง� ปี่​่� สก๊​๊อตเข้​้ามาเพื่​่�อสอนนั​ักเรี​ียนจำำ�นวนหนึ่​่�ง ถ้​้าจำำ�ไม่​่ผิด ิ มหาจำำ�ลอง (ชั​ัยนิ​ิมิต ิ ร - คนละคน กั​ับมหาห้​้าขั​ันนะครั​ับ) คื​ือบุ​ุรุ​ุษพยาบาล ที่​่�ประจำำ�ตึ​ึกพยาบาล และมี​ีภรรยาขายของว่​่างให้​้

พวกเรา ผั​ันตั​ัวมาเป็​็นสารพั​ัดช่​่าง มื​ือขวาของท่​่านเจ้​้าคุ​ุณ ซ่​่อมแซมและต่​่อเติ​ิมอาคารต่​่างๆ ในโรงเรี​ียน แม้​้แต่​่ห้​้องล้​้างรู​ูปใต้​้บัน ั ไดตึ​ึกขาว ที่​่�มี​ีบานประตู​ูแกะลายไทยก็​็ฝี​ีมื​ือเขาละ ถ้​้าจำำ� ไม่​่ผิ​ิดรู้​้�สึ​ึกว่​่าสารพั​ัดช่​่างผู้​้�นี้​้�ทำำ�เลี​ียนแบบปี่​่� สก๊​๊อตขึ้​้�นมาเหมื​ือนกั​ัน (ชั​ัยนิ​ิมิต ิ ร - ปี่​่� สก๊​๊อตของ

โรงเรี​ียนชุ​ุดแรกสั่​่�งจากอั​ังกฤษราคาแพงมาก ต่​่อมาได้​้สั่​่�งจากอิ​ินเดี​ีย ซึ่​่�งทำำ�ปี่​่� จากไม้​้อั​ัฟริ​ิกั​ัน

แบล๊​๊กวู๊​๊�ดเช่​่นกั​ัน แต่​่ราคาถู​ูกกว่​่ามาก )

“รู้​้�สึ​ึกว่​่าคุ​ุณวี​ีร์​์ มาร์​์ ที่​่�ออกรายการที​ีวี​ีบ่อ ่ ยๆ ก็​็เป็​็นลู​ูกมิ​ิสเตอร์​์ มาร์​์ นี่​่�แหละ แล้​้วก็​็มี​ี

สุภาพสตรีท่ีออกทีวี ก็น่าจะเป็นภรรยาที่เจ้าคุณแต่งงานให้ (ชัยนิมิตร - มิสเตอร์ มาร์ และ

คุณวีร์ มีบุตรชายชื่อ เพชร มาร์ ชื่อจริงคือ พิทรี่ วิคเตอร์ เอดวาร์ด มาร์ อาชีพนักดนตรีและ โปรดิวเซอร์)

49


“ส่​่วนวงดนตรี​ี ทั้​้�งโยธวาทิ​ิต (Marching band) และจุ​ุลดุ​ุริย ิ างค์​์ (chamber orchestra)

นั้​้�น น่​่าจะเริ่​่�มตอนพี่​่�อยู่​่�มั​ัธยมห้​้าหรื​ือหก (ชั​ัยนิ​ิมิ​ิตร - คงจะประมาณ ๒๔๙๑ - ๒๔๙๒) สั่​่�ง

เครื่​่�องดนตรี​ีมาจากนอกทั้​้�งวง (ชั​ัยนิ​ิมิต ิ ร - เข้​้าใจว่​่าเป็​็นของพระราชทานจากพระพุ​ุทธเจ้​้าอยู่​่�หั​ัว รั​ัชกาลที่​่� ๙) แต่​่คงจะมี​ีคนแนะนำำ�ว่​่า trombone ที่​่�ใช้​้ลิ้​้�น (ชั​ัยนิ​ิมิต ิ ร - หมายถึ​ึงใช้​้นิ้​้�วกด) น่​่าจะ หั​ัดง่​่ายกว่​่าแบบชั​ัก จึ​ึงเป็​็นแบบนี้​้�ก่​่อนเปลี่​่�ยนเป็​็น slide trombone ในภายหลั​ัง คนสมั​ัครเล่​่น

กั​ันมากกว่​่าที่​่�จะรั​ับได้​้ พี่​่�จึ​ึงอยู่​่�ในพวกที่​่�ถูก ู คั​ัดออก เพราะปากหรื​ืออะไรไม่​่เหมาะสม

“เริ่มหัดกันที่ระเบียงหอประชุมด้านติดคณะพญาไท มีครูจากกองดุริยางค์ทหารบก

สองคน คนหนึ่งชื่อ สิบเอกประดิษฐ์ คล่องสูศ ้ ก ึ (ลูกชายของครูคนนีต ้ อ ่ มาคอ ื นายแพทย์ท่ีสร้าง โรงพยาบาลวิชย ั ยุทธ) มาเป็นผูส ้ อน ภายใต้การควบคุมของอาจารย์โฉลก เนตรสูตร ผูอ ้ �ำนวยเพลง วงดนตรีศิลปากร ผู้ประพันธ์เพลง มหาวชิราวุธ ค�ำร้องโดย ท่านผู้หญิงดุษฎีมาลา มาลากุล “ก็​็ฝึ​ึกซ้​้อมกั​ันมาเรื่​่�อย จนวั​ันหนึ่​่�งเกิ​ิดมี​ีรถยนต์​์เบบี้​้�เฟี​ียต (Fiat Topolino) เลี้​้�ยว

เข้​้ามาในโรงเรี​ียน แล้​้วพระบาทสมเด็​็จพระเจ้​้าอยู่​่�หั​ัว รั​ัชกาลที่​่� ๙ ในฉลองพระองค์​์เชิ้​้�ตสี​ีขาว

เเขนสั้​้�น เสด็​็จพระราชดำำ�เนิ​ินขึ้​้�นหอประชุ​ุมมาพระราชทานการสอนดนตรี​ีแก่​่นัก ั เรี​ียน โดยไม่​่มี​ี กำำ�หนดการ สั​ักประเดี๋​๋�ยวก็​็จะมี​ีราชองครั​ักษ์​์กระหื​ืดกระหอบมาตามหาพระองค์​์ ได้​้ความว่​่า

ขณะทรงรถยนต์​์พระที่​่�นั่​่�งมาตามลำำ�พังั เมื่​่�อเสด็​็จผ่​่านโรงเรี​ียน เสี​ียงดนตรี​ีที่​่�นั​ักเรี​ียนเล่​่นกั​ัน

เพี้​้�ยนระคายพระโสตจนทรงทนไม่​่ไหว ต้​้องเสด็​็จมาทรงแก้​้ไข ต่​่อจากนั้​้�นก็​็ทรงเสด็​็จมาสอนอี​ีก หลายครั้​้�ง

“จากนั้นทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจนดุริยางค์ ผู้ประพันธ์ท�ำนองเพลงชาติ

(บิดาท่านเป็นผู้ประพันธ์ท�ำนองเพลงสรรเสริญพระบารมี สมเด็จกรมพระยานริศฯ ทรงนิพนธ์ ค�ำร้อง) มาควบคุมการสอนอีกทีหนึ่ง นอกจากนี้ท่านยังมีพระบรมราชโองการให้ คุณพระเจน

เป็นแม่กองท�ำโน๊ตเพลงไทยเดิมที่ยังไม่เคยมีมาก่อนเลย เพราะใช้การต่อเพลงกันรุน ่ ต่อรุน ่ โดย

ไม่มีโน๊ต

“ทีน้ีก็มาถึงบทบาทของพี่ คือท่านเจ้าคุณผู้บังคับการ มีบัญชาให้พ่ีขับรถ Moris สีด�ำ

ของท่านไปรับคุณพระเจนฯ จากกรมศิลปากรมาวชิราวุธ โดยท่านไม่เคยถามสักค�ำว่าพี่มีบัตร

อนุญาตขับขี่หรือเปล่า พี่เพิง่ จะมีใบขับขี่เมื่ออายุประมาณ ๑๕ เพราะรู้จักกับหลานสาวของ

นายต�ำรวจผู้บังคับการกองทะเบียน ที่เวลานั้นเป็นผู้ออกใบขับขี่ ท่านมองหน้าแล้วถามว่าอายุ ถึงจริงหรือ แล้วท่านก็เซ็นให้ เจ้ากรรมคนเขียนใบขับขี่เขียน พ.ศ. วันหมดอายุผิด เป็น ๒๕..

แทนที่จะเป็น ๒๔.. จนเดี๋ยวนี้จึงยังไม่หมดอายุเลย แต่ผู้รู้กฎหมายเขาว่าถึงจะเขียนอย่างนั้น

ก็ใช้ไม่ได้ เพราะไม่ใช่ใบตลอดชีพมีอายุแค่ปีเดียว เรื่องเกิดขึ้นเมื่อไรนี้อาจจะคลาดเพราะมัน เกิดขึ้นหลายสิบปีแล้ว

“หลังจากนั้น พระองค์ท่านยังให้นักเรียนบางคนเข้าร่วมเล่นในวง อ.ส. ย่อมาจาก

อัมพรสถาน ซึ่งที่เป็นที่ประทับในเวลาหนึ่งก่อนจะแปรพระราชฐานมาประทับที่สวนจิตรลดา

เท่าที่จ�ำได้มี อิฐกับทราย สุขยางค์ สองพีน ่ อ ้ ง มี นนท์ บุรณะสมภพ ที่จะเล่นมาตลอดทุกวันศุกร์

50


ที่ทรงประทับอยูใ่ นพระนคร แม้ขณะที่อยูศ ่ ิริราช จนไม่รู้สึกพระองค์แล้วถึงได้หยุด นอกจากนี้

ก็มีประสิทธิ์ สุขุม ปราโมทย์ มาลากุลฯ และไพโรจน์ นามสกุลจ�ำไม่ได้ พวกนักเรียนที่ได้รว ่ มวง

อ.ส. นี้ ในปัจจุบันเหลือเพียงสองท่าน คือ ทราย สุขยางค์ และ นนท์ บูรณสมภพ

“ขอโทษด้วยถ้ามีค�ำสะกดผิดไป เพราะลืมทั้งฝรั่งและไทยเนื่องจากความชรา

“ป.ล. ไม่ทราบว่าคุณทันได้เห็นโรงจากสองหลังหรือเปล่า หลังหนึ่งปลูกติดรั้วด้าน

ถนนสุโขทัย ด้านใกล้คณะผู้บังคับการ เป็นที่ขายอาหารว่าง ถัดมาเป็นห้องเรียนชั้น ม. หนึ่ง

และ ม. สอง ถัดจากหอประชุมและตึกขาวไปก็เป็นเรือนจากใต้ถุนสูง ปลูกเป็นรูปตัว T ใช้เป็น คณะดุสิตแทนตึกเดิมที่ถูกระเบิดพังไป โรงจากหลังนี้ คือค่ายกักกันเดิม โรงเรียนได้รับเป็น

มรดกตกทอด (ชัยนิมิตร - ผมอยูเ่ รือนจากดุสต ิ ๔ ปีก่อนที่จะได้ไปอยูต ่ ึกอัปลักษณ์ท่ส ี ร้าง

ใหม่เอี่ยมในปี ๒๕๐๗ ครับ) แม้เจ้าคุณภะรต จะพยายามวิ่งเต้นขอเงินมาปลูกตึกใหม่เพื่อ

ทดแทนหลังเก่าที่ถูกระเบิดเสียหายก็ไม่ส�ำเร็จ เพราะรัฐบาลในขณะนั้นมีอคติกับเจ้า เห็นว่า เป็นโรงเรียนที่พระราชทานก�ำเนิดโดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ ัว ท่านนายกท่านหนึ่ง

ถึงกับตะคอกนักข่าวหนังสือพิมพ์ว่า “คุณเป็นพวกในหลวงหรือ” อ้าวแล้วตัวเองไม่ใช่รัฐบาล

ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ ัวกระมัง ท่านเดียวกันนี้ เมื่อรัฐบาลแพ้คดีในศาล ก็โพล่งออก

มาด้วยความโกรธว่า “ให้มันรู้กันไปสิว่ารัฐบาลหรือศาล ใครจะใหญ่กว่ากัน” ไม่เคยมีส�ำนึกว่า อ�ำนาจอธิปไตยมีสามอย่างแยกเป็นอิสระจากกัน คือ บริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการ “จบเรื่องวงโย ฯลฯ เพียงเท่านี้”

เขี​ียนโดย: ม.ล.ชั​ัยนิ​ิมิต ิ ร นวรั​ัตน (โอวี​ี ๓๔)

เรี​ียบเรี​ียงจากการพู​ูดคุ​ุยกั​ับ พงษ์​์ธร พรหมทั​ัตตเวที​ี (โอวี​ี ๒๘)

51


วงหัสฯ ในฝัน

พี่ป๋อม พล.ต.อ.อชิรวิทย์ สุพรรณเภสัช ท่านก่อนผมปีเดียว เหตุการณ์ต่างๆ ที่พ่ีเค้า

เขียนเล่านี้ผมจึงซึ้งใจเป็นอย่างดี อยากจะมาถ่ายทอดให้น้องๆ หลานๆ รุน ่ หลังได้อ่านส�ำนวน อันสนุกสนานของพี่ป๋อมที่เขียนไว้ในที่อื่นกัน

“ดูเอาเถอะ สมัยนั้นวงแจ๊สของเราเล่นกันได้ระดับนี้นะครับ

“เรียนปี่สก็อตเมื่อปี ๒๔๙๙ ต้องข้ามฟากเข้าไปคณะใน นั่งเรียนที่ตึกขาวหน้าห้องพัสดุ

ของคุณปู่ประหยัด ครูปี่ ชื่อพี่จักร จักษุรักษ์

“เรียนได้ สองสัปดาห์เป่าได้ ทุกเพลง ไปสอบเป่ากับ Mr. Marr. ท่ านให้เข้าวงได้ เลย

ต้องไปเอาปี่พิเศษมาเป่า คันเล็กกว่าปี่ปกติเกือบครึ่งหนึ่ง

“เป่าคล่ องแล้ วมีเวลาว่ างมากขึ้น ก็ จะไปยืนดูวงหัสดนตรี หรือที่ เรียกกั นว่ าวงแจ๊ ส

ซ้อมบรรเลงบนหอประชุม

52


“ที่ต้องฟังทุกวันก็เพลงนี้แหละ In the mood”

“จ�ำได้ว่าเพลงนี้น้�ำหนักอยูท ่ ่ี trumpet กับ saxophone สอดรับกัน”

“ชอบตอนที่พ่ท ี ราย สุขยางค์ เป่า trumpet และพี่อิฐ สุขยางค์ เล่น Saxophone”

“พี่น้องคู่น้ีเป็น Idol ของเด็กวชิราวุธรุน ่ ผม เพราะเล่นรักบี้ทีมโรงเรียนด้วยพี่ ทรายเตะ

เปลี่ยนประตูแม่นมาก”

“ส�ำหรับพี่อิฐนั้น ชอบท่าการวิ่งข้ามรั้ว สวยงามได้ เห็นการพับขาเหยียดเท้ าโน้มตั ว

เหมือนนักกีฬาระดับโอลิมปิคเลย”

“อีกท่านหนึ่งคือพี่นนท์ บูรณสมภพ เล่นดนตรีได้หลายชิ้นรวมทั้งกีตาร์ด้วย ฝีมือของ

พี่นนท์ท�ำให้ท่านได้รว ่ มเล่นกับวง อส. ของพระเจ้าอยูห ่ ัว ร.๙”

“มือกลองหล่อมาก (ในสายตาผม) ชื่อพี่ประค�ำ สุขุม (ถ้าจ�ำไม่ผิด)”

“เพลงนี้บรรเลงเป็นเพลงครูจนถึงยุคผม มือ Saxophone ก็คือพี่นิตย์ จารุศร trumpet

คือพี่เสียม เกษมสันต์ ส่วนกลองคือพี่ดิ๋ม ม.ร.ว. จีริเดชา”

“เขียนมาทั้งหมดผิดบ้างถูกบ้างขออภัยล่วงเลยกว่า ๖๐ ปีแล้ว”

“เพราะเหตุที่วงแจ๊สบรรเลงได้มันมาก ท�ำให้ผมเปลี่ยนใจอยากจะทิ้งปี่สก็อตที่ตัวเอง

เชี่ยวชาญเปลี่ยนไปเล่นคาลิเน็ทแทน จึงสมัครเรียนตอนต้นเทอมของมัธยม ๔”

“ได้เรื่อง นายเสาร์มาตามบอกผู้การให้ไปพบ ผลักบังตาห้องท่านไม่ทันจะพูดอะไร” “อชิรวิทย์ สมัครเรียนคาลิเน็ตรึ” “ครับ”

“ท�ำไมถึงอยากเปลี่ยนเครื่องดนตรีล่ะ เป่าปี่สก็อตก็ดีอยูแ ่ ล้วนี่”

“อยากเปลี่ยนเพราะเป็นเครื่องเป่าเหมือนกันครับ” ตอบไปอย่างงงๆ

“ได้จะเปลี่ยนเครื่องดนตรีก็ได้ เธอไปเปลี่ยนโรงเรียนพร้อมทีเดียวเลยนะ ผู้การถึงจะ

อนุญาต”

“งั้นผมเป่าปี่ต่อครับ” “ดี ดีแล้ว ไปได้”

“วงหัสดนตรี จึงเป็นได้แค่ฝันเหมือนฟังเพลง In the Mood”

เขี​ียนโดย: ม.ล.ชั​ัยนิ​ิมิต ิ ร นวรั​ัตน (โอวี​ี ๓๔)

เรี​ียบเรี​ียงจากการพู​ูดคุ​ุยกั​ับ อชิ​ิรวิ​ิทย์​์ สุ​ุพรรณเภสั​ัช (โอวี​ี ๓๓)

53


โล่กีฬา ตอนอยูป ่ ระถมผมเทใจให้คณะดุสต ิ จนเกลีย ้ ง คอ ื รักเท่าทีเ่ ด็กคนนึงจะรักอะไรได้ สุดท้าย

โชคชะตาก็พาแหวกธรรมเนียมของโรงเรียนไปอยู่คณะจิตรลดาด้วยสาเหตุลึกลับที่หลายปาก ยังเล่าไม่ตรงกัน

แม้ภายในคณะมันดูซกเพราะความเก่าที่ไม่ได้บูรณะสักที มันโทรมขนาดที่รถบรรทุก

วิ่งผ่านถนนราชวิถีก็ท�ำให้ท้ังปีกของตึกคณะสั่นสะเทือนได้ แต่ท่ีขลังและชอบที่สุดคือโล่กีฬา

ที่มช ี ื่อพวกรุน ่ พีเ่ ก่าๆ เต็มไปหมด มันเป็นเหมอ ื นตัวแทนแห่งชัยชนะในอดีตที่หลงเหลือไว้ให้คน รุ่นหลังได้เห็น และถือว่าเป็นความโชคดีจริงๆ ที่โรงเรียนเราเอาธรรมเนียมนี้มาจาก... (ที่ไหน

ไม่รู้ แต่เดาว่าเป็นโรงเรียนในอังกฤษ เพราะพระยาภะรตราชา (อดีตผูบ ้ งั คับการ) เคยเป็นผูด ้ แ ู ล

นักเรียนไทยในอังกฤษมาก่อน)

เกร็ดความรู้เล็กน้อย : พระยาภะรตราชา ท�ำงานที่โรงเรียนเราตั้งแต่แรกเริ่มก่อตั้ง โดย

เป็นผู้ชว ่ ยอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิชาการ ต่อมาได้ย้ายไปท�ำงานที่อื่นและกลับเข้ามาอีกทีก็ตอนเป็น ผู้บังคับการ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๖

ต่อเรื่องโล่กีฬา ต้องย้อนกลับไปถึงการเล่นกีฬาของนักเรียนโรงเรียนมหาดเล็กหลวง

ผมเคยอ่านเฉี่ยวๆ พบว่ามันมีการแข่งขันกีฬาระหว่างคณะจริงๆ แต่เท่าที่รู้ก็น้อย มีฟุตบอล แน่ๆ แหละอย่างนึง (ถ้วยชนะเลิศก็ยังเก็บไว้อยู่ และได้ใช้เป็นถ้วยบาสเกตบอลทีมคณะรุน ่ เล็ก

มายาวนานจนกระทั่งโละถ้วยเก่าขึ้นหิ้งหมดทั้งชุด) ส่วนการเล่นกีฬาอื่นๆ คงน้อยมากหรืออาจ ไม่จริงจัง

แล้วถ้วยอื่นๆ มันมาจากไหน ค�ำตอบคือมันมาจากโรงเรียนมหาดเล็กหลวงเชียงใหม่และ

โรงเรียนราชวิทยาลัยที่ถูกยุบไป เพราะมันก็เคยใช้เป็นถ้วยรางวัลการแข่งขันกีฬาทีมคณะของ

54


ทุกคน ให้ไว้ประดับบนก�ำแพงตึกคณะอย่าง

ถาวรตราบเท่าที่มน ั จะคงทนได้ หรอ ื ตราบเท่า

ที่ไม่มีใครแอบหิ้วเอากลับไปไว้ท่ีบ้าน

โล่ยุคแรกมันเป็นแผ่นไม้ท่ห ี นาเกือบ

๑ นิ้ว (ยังมีให้เห็นอยูบ ่ ้างที่คณะดุสิต) รูปทรง

ของมันแบ่งออกเป็น ๔ แบบ คือแบบโล่กัน หอกกันดาบ ค่าพลัง defend น่าจะเกือบเทียบ

เท่าโลหะ อันนี้ใช้กับรักบี้และฟุตบอล ต่อมา

คือสีเ่ หลี่ยมผืนผ้าใหญ่ใช้กบ ั บาสเกตบอลและ วอลเลย์บอล อีกแบบคือผืนผ้าเล็กใช้กับพวก แร็กเก็ต และสุดท้ายคือทรงเหลี่ยมเล่นขอบ

โรงเรียนเหล่านั้นมาก่อน พอยุบแล้วทุกอย่าง ก็มากองมาเก็บไว้ที่น่ี (แม้กระทั่งนาฬิกาของ

ราชวิ ท ย์ เ ราก็ เ อาไปสั่ ง ท�ำเพิ่ ม แล้ ว ใส่ เ ข้ า ที่

ด้านบนให้ช้อยนิดๆ ใช้กับกรีฑา (และต่อมา เมื่อมีแข่งขันว่ายน้�ำก็ใช้ทรงเดียวกัน)

บุคคลผูเ้ ขียนโล่ในยุคแรกผมไม่ทราบ

ชื่อ (คงต้องอาศัยความรูจ ้ ากพีร่ ุน ่ เก่าๆ) แต่ใน

หอนาฬิกา) ดังนั้น เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๙ หลังจาก

ยุคต่อมาครู วัชรินทร์ ชื่นก�ำเนิด เป็นผู้เขียน

ครั้งและเล่นกีฬาอย่างจริงจังมากขึ้นเรื่อยมา

ครูเคยบอกว่าทรมานมาก โดยเฉพาะโล่กรีฑา

สงครามโลกครั้งที่ ๒ จบลง เราก็เปิดเรียนอีก

(แต่ก็ยังอยูใ่ นสมัยพระยาภะรตฯ อยูน ่ ะครับ)

ถ้ วยพวกนั้นจึ งเริ่มถูกใช้งานตามหน้าที่ ของ

ที่ใหญ่เกือบครึ่งหนึ่งของบานประตูคณะ และ

ที่แท้จริงบ้าง เช่น ถ้วยวิชาเสือป่าทีมคณะของ

รายการก็ เขียนแบบละเอา และปีนึงก็ เขียน

ถ้วยรักบี้รุ่นใหญ่ ประมาณนี้ ส่วนที่ตรงก็คือ

ปีการศึกษาหน้า ให้หวั หน้าใหม่ออกไปรับจาก

เช่ น ถ้ ว ยกรี ฑ ารุ่ น ใหญ่ (รั ช กาลที่ ๙) หรื อ

ของครู ก็คือสมัยพระยาภะรตฯ แทบจะไม่มี

มัน แต่ บางถ้ วยอาจจะไม่ตรงตามชนิดกี ฬา

มหาดเล็กหลวงเชียงใหม่ เราก็เอามาใช้เป็น ถ้วยที่พระราชทานในสมัยที่เป็นวชิราวุธแล้ว

ถ้ วยแบดมินตั น (สมเด็ จพระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙) ถ้วยรักบี้รุน ่ เล็ก (พระยาภะรต

ราชา) เหล่านี้คือถ้วยตรงตามชนิดกีฬาหมด

(และยังมีอีก ๒ - ๓ ใบ โดยประมาณ)

ความพิ เ ศษของที มชนะเลิ ศ คื อ

นอกจากจะได้ ถ้วยรางวั ลไปครอง ๑ ปีแล้ ว

ยังจะได้โล่ไม้ตามสีคณะเขียนชื่อผูเ้ ล่น (เกือบ)

โล่ ว่ า ยน้� ำ ที่ นั ก กี ฬ าคนนึ ง ลงซ้� ำ ๆ กั น หลาย

หลายโล่ ดั ง นั้ น กว่ า จะพร้ อ มมอบก็ ต้ อ งรอ

ผูบ ้ งั คับการบนหอประชุม และโชคดีอีกชั้นนึง

การครองถ้วยร่วม คือรอบคัดเลือกหรือรอบชิง ถ้ า เสมอกั น ต้ อ งต่ อ เวลาหรื อ ไม่ ก็ ห าวั น แข่ ง

ใหม่ไปเลย (ตลอด ๓๒ ปี ของพระยาภะรตฯ

ในวชิราวุธ มีการครองถ้วยร่วมทุกชนิดกีฬา รวมกันแค่ ๙ ครั้ง เท่านั้น)

เท่าที่ทราบต่อมาในสมัย ดร.กัลย์ เป็น

ผู้บังคับการก็ยังคงทุกอย่างดังเดิมเหมือนใน

55


ช่วงแรก ต่อมาปี พ.ศ.๒๕๓๐ (ถ้าผิดขออภัย แต่ มั น ก็ จ ะประมาณนี้ ) มี ค รู อ�ำนวย เกิ ด มี

มาช่วยเขียนด้วย ยุคนีโ้ ล่เปลีย ่ นทรงเกอ ื บหมด

คื อ ทุ ก กี ฬ าเป็ น แบบโล่ ก รี ฑ าไปเลย แต่ ย่ อ

ส่วนลง พวกแร็กเก็ตก็เล็กหน่อย ในยุคนี้ไม่มี

โล่กรีฑาเท่าบานประตูแล้ว เพราะซอยออก เป็นรุ่นๆ แยกถ้วยแยกโล่หมด แต่คนเขียนก็

น่าจะทรมานเหมือนเดิม แค่เปลี่ยนจากเขียน

อันใหญ่มาเขียนอันเล็กหลายอันเท่านั้น และ

สมัยนี้มีถ้วยร่วมด้วยนะกรณีเสมอในรอบชิง และมีปี พ.ศ.๒๕๒๗ ที่ความประหลาดเกิดขึ้น

เพราะผู้ ช นะเลิ ศ บาสเกตบอลรุ่ น กลางมี ถึ ง

๓ คณะ (แข่งพบกันหมด เก็บแต้ม ไม่นับลูก ได้เสีย แต่ถ้านับคณะดุสต ิ จะเข้าวิน) ส่วนผูแ ้ พ้

เพียงหนึ่งเดียวก็คือพญาไท คณะที่มีชื่อเดียว กันกับโรงพยาบาล

กลับไปสูค ่ วามเป็น original แต่ยอ ่ ส่วนลง ด้วย

จะเป็นรู ปถ่ายพิมพ์ชื่อใส่กรอบวิทยาศาสตร์

ยิงเลเซอร์เป็นชื่อลึกลงไปในเนื้อไม้ มันจึงทน

ของทุ ก คณะเลยแห้ ง หมด โดยส่ ว นตั ว ชอบ

๓๐ ปี แน่ๆ ถ้าเก็บดีๆ

ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๗ จนถึง ๒๕๔๑ โล่

แต่ด้วยวัสดุแบบนั้นมันจึงไม่ทนแดด ตอนนี้

แบบนี้ สุ ด เพราะมี ท้ั ง หน้ า ตาและชื่ อ ครบดี

การเป็นไม้เนื้อเดียวกันทัง้ แผ่น หนาเกือบ ๑ นิว้

กว่ า ทุ ก ยุ ค และคาดว่ า มั น จะอยู่ ไ ด้ ม ากกว่ า ในอดี ต ทุ ก คณะก็ ค งจะมี ช่ ว งเวลาที่

ใครจะท�ำหน้าตายังไงก็สด ุ แท้แต่ทา่ น และจาก

ดีท่ีสุดส�ำหรับตัวเอง อย่างคณะจิตรลดาก็จะ

ไม่มาถ่ายบ้างก็มี ประมาณนั้น

โค้ ช รั ก บี้ ที ม โรงเรี ย นและเป็ น ผู้ ก�ำกั บ คณะ

การถามรุน ่ พีท ่ ่ีอยูใ่ นยุคนั้นคือถ้าใครไม่ชอบก็

หมดยุ คไม้ยุคฟิล์มเข้าสู่ยุคเหล็ ก โล่

เก่ งรักบี้เพราะมีครู อรุ ณ แสนโกศิก เป็นทั้ ง ตั้ งแต่ ครู อรุ ณเข้ามา (๒๓ ปี) คณะนี้ได้ ถ้วย

ในยุ ค นี้ เ ป็ น แผ่ น เหล็ ก แปะบนไม้ อั ด ส่ ว น

รักบีร้ ุน ่ เล็ก ๘ ครัง้ รุน ่ กลาง ๔ ครัง้ และรุน ่ ใหญ่

ทั้ ง ที่ มั น ควรท�ำให้ ค นอ่ า นอ่ า นได้ ถ นั ด กว่ า นี้

๒๕๓๓ (นับเฉพาะช่วงที่ชนะติดๆ กัน)

ตั ว หนั ง สื อ ก็ ใ หญ่ ก ว่ า ชื่ อ ที่ ซ องยานิ ด หน่ อ ย ปั จจุ บันสนิ ม เต็ มทุกคณะเพราะโดนละออง

๑๖ ครั้ง และเก่งกรีฑาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๒๑ คณะพญาไทก็จะมีช่วงนึงที่เก่งกรีฑา

น้�ำฝนบ้าง แดดบ้าง สรุ ปอ่านไม่ออกเลย โล่

(แต่ส้ันมากจริงๆ คือปี พ.ศ.๒๕๑๖ - ๒๕๑๙)

ท้ ายที่ สุดจากแผ่นเหล็ กก็ กลายพันธุ์

เอาถ้ วยรักบี้ทุกรุ่นกลั บคณะรวมกั นแค่ ๑๘

แบบนี้ใช้ต้ังแต่ปี พ.ศ.๒๕๔๒ - ๒๕๕๔

56

ส่วนรักบีค ้ ณะนีแ ้ ทบนับโล่ได้ คือตั้งแต่แข่งมา


ครั้งเดียว ถ้วยเฉียด ผบก ที่สุดก็ตอนพญาไท

เดินถือกลับคณะนั่นแหละ

คณะ ผบก เก่ ง อะไร ตอบได้ เ ลยว่ า

บาส ในอดีตแทบจะไม่เคยมีปีไหนเลยที่ไม่ได้

และก็เพิง่ มาเซียนรักบีเ้ อาช่วงหลังๆ ส่วนแบด

นับว่าเก่งจัด เคยครองแชมป์ยาวนานตั้งแต่ปี

พ.ศ.๒๕๒๗ - ๒๕๔๑ ยกเว้นปี พ.ศ.๒๕๓๐ ที่

จิตรลดาเอาไปได้เฉย

คณะดุสิตปี พ.ศ.๒๕๓๕ - ๒๕๓๗ ได้

แชมป์รักบี้ ๓ รุน ่ รวด ๓ ปีติด ปัจจุบันยังไม่มี คณะไหนท�ำตามได้ (แม้แต่เจ้าของสถิตก ิ ท ็ �ำได้

แค่ครัง้ นัน ้ ครัง้ เดียว) และมีสถิตเิ ข้าชิงชนะเลิศ

รักบี้รุ่นใหญ่มากที่ สุด แต่ ไม่รู้หรอกว่ ากี่ ครั้ง

(ผมอยู่โรงเรียน ๑๐ ปี ดุสิตเข้าชิงชนะเลิ ศ

ครั้ ง เท่ า นั้ น (นั บ ถึ ง ปั จ จุ บั น เฉพาะรั ก บี้ ๑๕

๘ ปี แล้ว เชื่อว่าของพวกพีๆ ่ ก็คงเป็นเหมือนกัน) ตัวเลขสถิติต่างๆ ที่บอกไปมันยังมีอีก

คน) แต่ท่ีเก่งแน่คือว่ายน้�ำทั้งที่คณะไกลจาก

เยอะมาก เพราะฉะนั้นคณะนึงก็จะมีโล่เยอะ

ปี พ.ศ.๒๕๒๖ - ๒๕๔๑ โดยมีดุสิตยื่นหน้ามา

จนคนงานเอาไปเผาท�ำฟืนก็น่าจะมี ทั้งที่ของ

สระทีส ่ ด ุ พญาไทครองความเป็นเจ้าสระตั้งแต่

คั่นแค่ปีเดียว และอีกช่วงนึงก็ปี พ.ศ.๒๕๔๖ -

๒๕๕๒ ส่วนปัจจุบันก็ยังเก็บกินได้ตลอด

แต่ ถ้ า เป็ น ช่ ว งแรกที่ เ ปิ ด สระและ

เริ่ ม แข่ ง ว่ า ยน้� ำ ในปี พ.ศ.๒๕๑๑ คณะดุ สิ ต

กวาด ๔ ปีติด จากนั้นเสร็จจิตรลดา ๕ ปี และ

จนหาผนังที่ติดไม่ได้เลยแหละ บางคณะเยอะ พวกนีม ้ น ั คือหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่าง หนึ่ ง ของโรงเรี ย น ถึ ง แม้ ว่ า บางคนจะมอง

เป็นแค่การเล่นกีฬาของนักเรียน แต่มันก็คือ

สัญลักษณ์แห่งสปิรต ิ การเสียสละ การเอาชนะใจ

ตนเอง การท�ำเพื่อหมู่คณะ และอื่นๆ อีกเยอะ

ทวงคื น ได้ อี ก ๔ ปี ร วด ที่ พิ เ ศษคื อ ปี พ.ศ.

ที่มอ ี ยูใ่ นตัวนักกีฬาเหล่านั้น เพื่อเป็นตัวอย่าง

คงไม่ มี ค ณะไหนท�ำได้ อี ก แล้ ว อี ก เรื่องที่

ลงมือท�ำ และได้สืบทอดต่อไปเรื่อยๆ

๒๕๒๑ ดุสิตว่ายได้ท่ี ๑ ทุกรายการ ปัจจุบัน เหลื อ เชื่ อ พอสมควร คื อ ตั้ ง แต่ แ ข่ ง ว่ า ยน้� ำ

ให้คนรุน ่ หลังได้เกิดแรงบันดาลใจ ได้ศก ึ ษา ได้

มาคณะผู้ บั ง คั บ การไม่ เ คยชนะเลยแม้ แ ต่

เขี​ียนโดย: พิ​ิษณุ​ุ กมลเนตร (โอวี​ี ๘๒)

57


ทาง ของชีวิต

ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล 58


ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล กรรมการบริหารจัดการทรัพย์สินวชิราวุธ

วิทยาลัย และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ปัจฉิมโอวาท

แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ เรื่อง ทางของชีวิต ณ หอประชุม

วชิราวุธวิทยาลัย วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

ก่อนอื่นผมขอแสดงความยินดีกับน้องๆ ที่ก�ำลังจะจบการศึกษา

จากวชิราวุธวิทยาลัย ซึ่งไม่เพียงเป็นโรงเรียนที่มีเกียรติประวัติดีงามมา

อย่างยาวนาน แต่ยังเป็นสถานศึกษาที่ผลิตบุคลากรคุณภาพให้ประเทศ

เป็นจ�ำนวนมาก

ผมขอขอบคุณท่านผู้บังคับการสุรวุธ กิจกุศล ที่ให้เกียรติผมได้มี

โอกาสมายืน ณ หอประชุมอันทรงเกียรติแห่งนี้ และนับเป็นความไว้วางใจ และความใจกว้ างอย่างยิ่งที่ เปิดโอกาสให้คนนอกมากล่าวปัจฉิมโอวาท

ให้น้องๆ ที่น่ี อย่างไรก็ดี ผมไม่อยากเรียกว่านี่เป็นปัจฉิมโอวาทหรือข้อ

แนะน�ำ แต่เป็นมุมมองของคนธรรมดาคนหนึ่งซึ่งตั้งใจแบ่งปันข้อคิดและ

ประสบการณ์บนเส้นทางชีวิตมากกว่า ๖๐ ปี ให้กับน้องๆ ทุกคนเท่านั้น ส่วนแรก โอกาสและประสบการณ์ท่ีมีค่าในรั้ววชิราวุธฯ

ระหว่ างที่ เตรียมเนื้อหาก็ มี โอกาสได้ อ่ า นข้ อ มู ลหลายอย่า งและ

ชื่นชมในพระวิ สัยทั ศน์ของล้ นเกล้ ารัชกาลที่ ๖ เกี่ ยวกั บการศึกษาไทย แ ล ะ ก า ร ว า ง ห ลั ก สู ต ร ว ชิ ร า วุ ธ ฯ แ ล ะ เ พื่ อ เ ป็ น ก า ร น้ อ ม ส�ำ นึ ก ใ น

พระมหากรุ ณาธิคุณ และสะท้อนความโชคดีของน้องๆ ที่มีโอกาสเข้ามา เรียนที่น่ี ผมขอใช้โอกาสนีถ ้ ่ายทอดพระวิสย ั ทัศน์ในเรื่องนีส ้ ก ั เล็กน้อย ดังนี้

พระองค์ทรงมีปณิธานที่จะวางรากฐานการศึกษาและท�ำนุบ�ำรุ ง

การศึกษาให้รุ่งเรืองทันประเทศอื่น โดยทรงโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราช บัญญัติประถมศึกษา พ.ศ.๒๔๖๔ ขึ้น ซึ่งก�ำหนดให้เด็กที่มอ ี ายุ ๗ ปบ ี ริบูรณ์

ทุกคนต้องเรียนหนังสอ ื อยูใ่ นโรงเรียนจนอายุครบ ๑๔ ปีบริบรู ณ์ โดยไม่ตอ ้ ง

เสียค่าเล่าเรียน ซึ่งเป็นแนวคิดที่ถือว่าก้าวหน้ามากในยุคนั้น

59


การให้ความส�ำคัญของการศึกษาของ

พระองค์สะท้อนจากพระราชด�ำริ ความตอน

หนึ่งว่า

“ความเจริ ญ แห่ ง ประเทศบ้ า นเมื อ ง

ในสมัยต่ อไปนี้ท่ี จะเป็นปึกแผ่นแน่นหนาได้

แท้ จ ริ ง ก็ ด้ ว ยอาศั ย ศิ ล ปวิ ท ยาเป็ น ที่ ต้ั ง หรื อ

เป็นรากเหง้าเค้ามูล”

และทรงใช้โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย

หรื อ โรงเรี ย นมหาดเล็ ก หลวงเป็ น แนวทาง

ผมคิดว่า เด็กวชิราวุธชีวิตเต็มไปด้วย

โอกาสและประสบการณ์ท่ีมีคุณค่า และโชคดี

ที่ มีโอกาสได้ มาเรียนในโรงเรียนที่ สร้างผู้น�ำ

เช่นนี้ จึงมีความพร้อมกว่าเด็กไทยทัว่ ไป กล่าวคือ นอกเหนือจากการเรียนที่ทางโรงเรียนให้การ

ส่ ง เสริ ม จนเด็ ก จ�ำนวนไม่ น้ อ ยสร้ า งชื่ อ เสี ย ง

ด้ านวิ ชาการให้ โ รงเรี ยนแล้ ว ยั งมี โ อกาสได้ พัฒนาทักษะที่ส�ำคัญอย่างน้อย ๓ เรื่อง

เรื่องแรก ทักษะสังคม กล่าวคือ การได้

ส�ำหรับทรงมีพระราชวินิจฉัยเรื่องการจัดการ

อยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะร่วมกันยาวนานตั้งแต่

พระองค์ทรงให้ความส�ำคัญไม่เฉพาะ

จ�ำลองการอยู่ ร่ ว มกั น ในสั ง คม ทุ ก คนล้ ว น

ศึกษาของชาติต่อไป

กับการเรียนตามวิชาการหลักสูตร แต่รวมถึง

กิ จกรรมอื่นๆ และการฝึกวิ นัย ดั งพระบรม ราโชบาย ความตอนหนึ่งว่า

“ … สิ่ ง ที่ ข้ า ต้ อ ง ก า ร ใ น โ ร ง เ รี ย น

มหาดเล็ กหลวงคือ ให้ การศึ กษาเป็ นเครื่อง

ท�ำให้เด็กเป็นเยาวชนที่น่ารัก … คือเยาวชนที่

เป็นสุภาพบุรุษ ซื่อสัตย์ สุจริต มีอป ุ นิสย ั ใจคอดี

… และเป็นพลเมืองดี ไม่ใช่ท�ำลายบุคลิกภาพ เสียหมด โดยบรรทุกหลักสูตรและระบบการ

ประถม ๔ ถึ ง มั ธ ยม ๖ เปรี ย บเสมื อ นการ ต้องมีบทบาทการเป็นผูน ้ อ ้ ยที่สด ุ จนถึงผูใ้ หญ่ ที่สด ุ ภายใต้กติกาเดียวกันและระบบการดูแล พีด ่ แ ู ลน้องที่สบ ื ทอดกันมา ย่อมต้องเรียนรูจ ้ ัก

นิ สั ย คน รู้ จั ก ผ่ อ นสั้ น ผ่ อ นยาว รู้ จั ก วางตั ว มีกาลเทศะและไหวพริบ เพื่อรักษาสมดุลใน ความสัมพันธ์ในหมูค ่ ณะ ในสิง่ แวดล้อมทีไ่ ม่ได้

อะลุ้มอล่วยหรือโน้มมาทางเอาใจเราแต่ฝ่าย เดียวเหมือนในครอบครัว

เรื่องที่สอง การมีโอกาสค้นหาตัวเอง

ต่างๆ ลงไป”

จากกิ จ กรรมที่ห ลากหลาย ที่ น่ี มี กิ จ กรรม

ปรารถนาที่ จะเห็นเด็ กวชิราวุ ธฯ มีท้ั งความ

โรงเรี ย นใดๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น กี ฬ าสิ บ กว่ า ชนิ ด

หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ พระองค์ทรง

สามารถ (competence) และบุ ค ลิ ก ภาพ (character) ซึ่ งถ้ ามองในบริบท business school ปัจจุบน ั ก็เป็น ๒ เรื่องที่เป็นคุณสมบัติ

ที่ จ�ำเป็ น ของ leader หรื อ ผู้ น�ำ รวมถึ ง

หลากหลายที่สุดเท่าที่ผมเคยเห็นในหลักสูตร วงดนตรี สิ บ ประเภท กิ จ กรรมสมาคมและ

กิจกรรมพิเศษอีกสิบกว่าชนิด ผมเชื่อว่า น้องๆ ที่ น่ั ง อยู่ ท่ี น่ี จ�ำนวนไม่ น้ อ ยคงได้ ค้ น พบสิ่ ง ที่

ตัวเองชอบหรืออาชีพที่อยากเป็นแล้ว ขณะที่

พระวิสัยทัศน์ที่เห็นถึงความส�ำคัญของ “การ

บางคนอาจจะยังค้นหาตัวเองไม่พบ อย่างน้อย

ต้องการ ซึ่งผมจะขยายความเรื่องนี้ต่อไปใน

ไม่โดนใจ ผมคิดว่า ก็คงเหลืออีกไม่ก่ีอย่างให้

เป็ น พลเมื อ งดี ” ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ที่ สั ง คมปั จ จุ บั น

ส่วนหลัง

60

ก็รู้ตัวว่า ตัวเลือกที่มากมายที่โรงเรียนมีให้ยัง

ไปเปิดประสบการณ์ เส้นทางการค้นหาตัวเอง


ก็ส้น ั กว่าเด็กทั่วไป

เป็นประโยชน์ต่องานมากที่สุด

บ่ ม เพาะคุ ณ สมบั ติ ท่ี จ�ำเป็ น ของผู้ น�ำที่ จ ะ

แ ล ะ รู้ จั ก ใ ช้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ เ ฉ พ า ะ ตั ว ใ ห้

เรื่ อ งที่ ส าม การมี โ อกาสฝึ ก ฝนและ

ความสามารถในการท�ำงานร่ ว มกั น

ต้ อ งประกอบด้ ว ย ทั้ ง competence และ

เป็ น ประโยชน์ กั บ ที ม ในสนามทุ ก คนต้ อ ง

ที่หลากหลาย เช่น กีฬารักบี้ ที่นอ ้ งๆ ทุกคนคง

แต่ละครั้ง ผูเ้ ล่นย่อมต้องประเมินสถานการณ์

character ผ่านการท�ำกิจกรรมและเล่นกีฬา

ได้มีโอกาสได้เล่นในระดับใดระดับหนึ่ง ไม่ว่า

ร่วมมือกัน ท�ำงานเป็นทีม การรับ-ส่งลูกบอล

และมองเห็นผลจากการส่งบอลในแต่ละครั้ง

จะเป็นระดับคณะ โรงเรียน หรือประเทศ ซึ่ง

ว่าจะมีผลอย่างไร (visioning) เมื่อเห็นแล้ว

ให้ น้ อ งๆ ทั้ ง ที่ รู้ ตั ว และไม่ รู้ ตั ว ที่ เ ห็ น ภาพ

รวมทั้ ง ต้ อ งสื่ อ สารให้ เ ข้ า ใจกั น แม้ จ ะไม่ ใ ช่

คล้ายๆ โรงเรียนได้อบรมหลักสูตร leadership

ชัดเจนคือ

การรู้ จั ก ใช้ ป ระโยชน์ จ ากความต่ า ง

ต้องจัดล�ำดับความส�ำคัญได้ (strategizing)

ค�ำพูดก็ตาม ขณะเดียวกัน เมื่อสถานการณ์ท่ี เกิดขึ้นไม่เป็นไปอย่างที่คาด ผู้เล่นต้องรู้จักใช้

ของแต่ละคน กีฬารักบีต ้ ้องการผูเ้ ล่นที่มค ี วาม

ไหวพริบแก้ปัญหา (problem solving) พลิก

เช่น บางต�ำแหน่งต้องการคนรู ปร่างสูงใหญ่

ขณะเดียวกัน ระหว่างแข่งขันที่ต่างฝ่ายมุง่ ผล

แต่คล่อง บางต�ำแหน่งต้องการคนเตะได้ไกล

ต้องใช้ความซื่อสัตย์ต่อตัวเองและผูอ ้ ื่น อดทน

สามารถและสรี ร ะในแต่ ล ะต�ำแหน่ ง ต่ า งกั น

แข็ ง แกร่ ง บางต�ำแหน่ ง ต้ อ งการคนตั ว เล็ ก เป็นต้น เหมือนการท�ำงานที่ทุกคนล้วนมีจุด แข็งที่เราต้องมองให้ออกและดึงจุดแข็งนั้นให้

สถานการณ์ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามแผนที่ ต้ อ งการ

สัมฤทธิ์ ก็มโี อกาสปะทะกันหรอ ื ถูกยั่วยุได้ง่าย

อดกลั้น ใช้สมาธิจดจ่อกับเกมและลูกบอลใน สนาม (stay objective) แทนที่จะเสียอารมณ์

61


กับเรื่องที่นอก focus ซึ่งจะท�ำให้แผนการเล่น ที่วางไว้สะดุดได้

เมื่ อ เปรี ย บเที ย บชี วิ ต ของผมเองกั บ

ชีวิตเด็กวชิราวุธช่างแตกต่างกันมาก

ชีวต ิ ผมเดินไปตามแบบแผนของสังคม

และกติ กาของครอบครัวที่ เห็ นว่ าเหมาะสม มุมหนึ่งก็ท�ำให้รู้สึกปลอดภัย ไม่ต้องปรับตัว

มากนัก เป้าหมายชีวิตอยู่ท่ี ความภูมิใจของ

ครอบครัว คอ ื เรียนเก่งเพื่อมีโอกาสเรียนต่อใน

ระดับสูงยิง่ ๆ ขึ้นไปเท่านั้น กว่าผมจะรูป ้ ระสา ว่ าชีวิตมีมุมอื่นนอกจากการเรียนก็ ตอนเข้า

มหาวิทยาลัยแล้ว อาจจะถือว่าโชคดีอยู่บ้าง ที่ผมมีโอกาสเรียนรูว้ ิชาชีวิตในหลายด้านผ่าน

กิ จกรรมและการท�ำงานทั้ งที่ อยู่ในและนอก

ขอบเขตมหาวิทยาลัย

วันนีน ้ อ ้ งๆ อาจเห็นภาพประโยชน์จาก

ประสบการณ์ท่ี วชิราวุ ธฯ มอบให้ไม่ชัดเจน

แต่ขอให้เข้าใจความหมายของสิ่งที่โรงเรียน พยายามปลูกฝัง ถ้าตีความได้ถูกต้อง เมื่อเจอ

สถานการณ์จริงในชีวิต ประสบการณ์เหล่านี้

จะสร้างภูมิค้ม ุ กันชีวิตเราได้อย่างไม่น่าเชื่อ

ส่วนที่สอง ความท้าทายของโลกนอก

วชิราวุธฯ

เรื่​่�องแรก ชี​ีวิ​ิตมี​ีพลวั​ัตและ อาจจะไม่​่ราบเรี​ียบเป็​็นเส้​้นตรง

เมื่​่� อ อายุ​ุ ผ มเดิ​ิ น ทางมาถึ​ึ ง จุ​ุ ด นี้​้� ก็​็ ไ ด้​้

ข้​้อสรุ​ุ ปกั​ับตั​ัวเองว่​่า “ทางชี​ีวิ​ิตไม่​่ได้​้เป็​็นเส้​้น ตรง” บางอย่​่างก็​็เป็​็นไปตามที่​่�เราคาดไว้​้ ผลก็​็ ออกมาดี​ี แต่​่หลายอย่​่างก็​็ไม่​่ บางอย่​่างก็​็เฉยๆ

ชีวิตบางเวลาก็ up บางเวลาก็ down

ซึ่ ง ถื อ เ ป็ น ค ว า ม ป ก ติ ธ ร ร ม ด า ที่ เ ร า ต้ อ ง

ตระหนักรู้

แต่ทุกประสบการณ์ที่ผ่านเข้ามาล้วน

มีส่วนช่วยให้เรารู้จักตั วเองดี ข้ึน เข้าใจชีวิต

มากขึ้น และถ้าพิจารณาให้ดีจะเห็นว่า เรามัก

เรียนรูแ ้ ละจ�ำอะไรได้แม่นจากสิง่ ที่เราท�ำอะไร

ผิดพลาด ดังสุภาษิตโบราณที่ว่า “ผิดเป็นครู” และผมอยากจะบอกน้องๆ ว่า

ไม่ มี ค นที่ ป ระสบความส�ำเร็ จ แม้ สั ก

คนเดียว ที่ไม่เคยท�ำอะไรผิดพลาด

แต่ ค นที่ ชี วิ ต ล้ ม เหลวจ�ำนวนมาก

เพราะกลั วพลาดจนไม่กล้ าที่ จะตั ดสินใจท�ำ อะไร

คือ “Failure is a part of life. If you never fail, you never learn.”

แม้เด็กวชิราวุธฯ จะโชคดีท่ผ ี ่านการ

ฝึกวิชาชีวิตหลากหลาย แต่ยังมีความท้าทาย

หลายอย่าง แต่ใช่ว่าหนทางจะด�ำมืด ขึ้นกับ

มุมมองต่อชีวิตว่าเป็นอย่างไร ซึ่งผมแบ่งปัน ข้อคิดและประสบการณ์สัก ๓ เรื่อง

ค�ำที่ผู้ใหญ่หลายท่ านใช้เตื อนตั วเอง

และถ้ า มองชี วิ ต ตามความเป็ น จริ ง

อย่างเข้าใจ จะเห็นว่า “ชีวต ิ ยิง่ คิด ยิง่ น่าพิสมัย” กล่าวคือ สิ่งดีๆ หลายอย่างที่เกิดขึ้นในชีวิต

ไม่ได้ เป็นสิ่งที่ เราวางแผนไว้ และจะว่ าไปนี่ ถือเป็นเสน่ห์ของชีวิต คือ เราไม่รู้แน่ชัดหรอก ว่าข้างหน้าเราจะเจอกับอะไร หรือมีอะไรรอ เราอยู่

62


มี​ีคนเคยถามผมว่​่า ได้​้วางแผนชี​ีวิ​ิตไว้​้

พู​ูดถึ​ึ งตรงนี้​้� ทำำ�ให้​้ผมนึ​ึกถึ​ึ ง อาจารย์​์

หรื​ือไม่​่ กั​ับการได้​้เป็​็นผู้​้�ว่​่าการแบงก์​์ชาติ​ิ

จั​ักรพั​ันธุ์​์� โปษยกฤต ศิ​ิษย์​์เก่​่าในตำำ�นานของ

วางแผนไว้ แต่เป็นเรื่องของโอกาสในชีวิตที่

เก่​่ ง จนแตกฉานในศิ​ิ ล ปะแทบทุ​ุ ก แขนง ผม

ผมตอบไปว่ า เรื่องนี้ ไ ม่ ใ ช่ เ รื่องที่

เข้ามามากกว่า

ส�ำหรับผมแล้ว สิ่งส�ำคัญในชีวิตไม่ใช่

วชิ​ิราวุ​ุธฯ อี​ีกท่​่านหนึ่​่�ง ที่​่�ฝึ​ึกฝนเรื่​่�องที่​่�ตั​ัวเอง เชื่​่� อว่​่ า ท่​่ า นไม่​่ เ คยตั้​้� ง เป้​้ า ว่​่ า จะเป็​็ น ศิ​ิ ล ปิ​ิ น

แห่​่งชาติ​ิ แม้​้จะเป็​็นคนที่​่� วาดรู​ู ปได้​้เก่​่งตั้​้� งแต่​่

long term plan แต่ท่ีอาจจะส�ำคัญมากกว่า

ประถม และชนะแทบทุ​ุกการประกวดตั้​้� งแต่​่

อยูเ่ สมอ หมายความว่า การเรียนรูอ ้ ย่างต่อเนื่อง

พั​ัฒนาตั​ัวเอง

คือ เราต้องเตรียมพร้อม equip พัฒนาตนเอง ตลอดทางชี วิ ต เป็ น สิ่ ง ส�ำคั ญ มาก และเมื่ อ

โอกาสในชีวิตมาถึ ง ก็ข้ึนกับว่ าเราใช้โอกาส นั้นให้เป็นประโยชน์ได้เต็มที่แค่ไหน และการ

สมั​ัยอยู่​่�วชิ​ิราวุ​ุธฯ ถึ​ึงกระนั้​้�นท่​่านก็​็ไม่​่เคยหยุ​ุด ลู ก ศิ ษ ย์ ท่ านเล่ าว่ า เวลาท�ำงาน

อาจารย์จ ะจดจ่ อ กั บ การท�ำงานตรงหน้ า ให้

ดี ท่ี สุด เอาใจใส่ในทุกรายละเอี ยด ให้ความ

จะใช้โอกาสได้อย่างเต็มที่เพียงใด ขึ้นกับว่าใน

ส�ำคั ญกั บคุณภาพและมาตรฐานงานทุ กชิ้น

ความรู้ มี ค วามกระตื อ รื อ ร้ น อดทน และมี

ขยัน อย่าขี้เกียจ

ช่วงที่เรารอโอกาส เราได้เตรียมพร้อม equip ความรักในสิง่ ทีเ่ ราท�ำอยูเ่ พียงใด ขณะเดียวกัน

เราต้องไม่กระวนกระวาย แต่ต้องไม่ละความ

และสอนลูกศิษย์เสมอว่า ต้องท�ำเยอะๆ ต้อง

แน่ น อนว่ า ยิ่ ง ท่ า นท�ำเยอะ ยิ่ ง ท�ำให้

ท่านช�ำนาญและท้าทายให้มค ี วามกล้าทีจ ่ ะท�ำ

พยายามเช่นกัน

อะไรที่ยากขึ้น เท่ากับท่านได้ระเบิดศักยภาพ

ไม่ ต้ อ งกั ง วลกั บ อนาคต ใช้ ป ระโยชน์ จ าก

ใครก็ยอมรับว่า ท่านเป็นศิลปินที่ฝีมือดีท่ีสุด

ฝึกฝนตั วเองอยู่เสมอทั้งความรู้และทั กษะที่

ในกลุ่มศิลปินร่วมสมัย

หัวใจ คือ เราต้องท�ำปัจจุบันให้ดี โดย

โอกาสที่ เข้ามาในชีวิตให้ดีท่ี สุด รวมทั้ งต้ อง จ�ำเป็น ขณะเดียวกันต้องไม่ท้อถอยง่ายๆ

ที่ ซ่อนอยู่อย่างไม่มีสิ้นสุด จนทุกวั นนี้ ไม่ว่า

คนหนึ่งแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และฝีมือดีท่ีสุด ลูกศิษย์ท่านเคยบอกว่า สูตรอัจฉริยะ

น้ อ งๆ อาจจะมี ค�ำถามว่ า ถ้ า ทาง

ที่ได้จากอาจารย์จักรพันธุ์คือต้องอัจฉริเยอะ

อนาคต ในการเลือกที่ จะท�ำหรือไม่ท�ำอะไร

น้​้องๆ ครั​ับ ด้​้วยทางชี​ีวิต ิ ไม่​่ได้​้ราบเรี​ียบ

ชีวิตไม่ได้เป็นเส้นตรง ที่เราจะรู้เหตุการณ์ใน ควรพิจารณาจากอะไร?

ในเรื่องนี้ ผมคิดว่าเราต้องถามตัวเอง

คือ ท�ำเยอะๆ นั่นเอง

เป็​็นเส้​้นตรง ในกาลข้​้างหน้​้า ไม่​่ว่า่ น้​้องจะเลื​ือก

ทางเดิ​ินชี​ีวิ​ิตแบบไหน ไม่​่ว่​่าจะประกอบอาชี​ีพ

ว่า อะไรคือสิ่งที่เรารักเราชอบและเราท�ำได้ดี

อะไร หลี​ีกเลี่​่�ยงไม่​่ได้​้ที่​่เ� ราจะต้​้องเจอกั​ับปั​ัญหา

your guts and focus your core.)

ความท้​้ า ทายคื​ือ เราจะจั​ั ด การกั​ั บ ปั​ั ญ หาที่​่�

และฝึกฝนเรื่องนัน ้ ให้เกิดความช�ำนาญ (Trust

และอุ​ุปสรรคในหลายๆ เรื่​่�องที่​่�เราไม่​่ได้​้คาดไว้​้ ไม่​่ได้​้คาดไว้​้อย่​่างไร

63


นั​ั ก ปราชญ์​์ ห ลายท่​่ า นให้​้ ข้​้ อ คิ​ิ ด ไว้​้ ว่​่ า

อ้างว่า ต้องมีรัฐธรรมนูญ ต้องมีการเลือกตั้ง

ความสามารถที่​่� จ ะด้​้ น แก้​้ ไ ขปั​ั ญ หาที่​่� เ ราไม่​่

จะเป็นประชาธิปไตย แล้วปัญหาต่างๆ จะได้

แน่​่นอนว่​่า บนเส้​้นทางชี​ีวิ​ิตของเราย่​่อมไม่​่มี​ี

สี่ สิ บ ห้ า ปี ใ ห้ ห ลั ง มองย้ อ นกลั บ ไป

“The art of life is improvisation.” หรื​ือ เคยพบถื​ือเป็​็นศิ​ิลปะในการดำำ�รงชี​ีวิ​ิตที่​่�สำ�คั ำ ัญ

เพราะเชื่อว่า “ถ้าได้รับรัฐธรรมนูญ ประเทศ

รับการแก้ไข” ซึง่ โลกความจริงไม่ได้เป็นแบบนัน ้

อะไรแน่​่ น อน การแก้​้ ปั​ั ญ หาไม่​่ มี​ี สู​ู ต รสำำ� เร็​็ จ

รู้ สึ ก ว่ า เราไร้ เ ดี ย งสามาก เพราะแม้ จ ะมี

ตั​ั ว เองให้​้ รู้​้�จั​ั ก มองโลกตามความเป็​็ น จริ​ิ ง

ปัญหาของบ้านเมืองหลายเรื่องไม่ได้น้อยลง

ต้​้องอาศั​ัยศิ​ิลปะพอสมควร การเตรี​ียมพร้​้อม

ยื​ืดหยุ่​่�น ยอมรั​ับกั​ั บสิ่​่�งที่​่� มี​ี เรี​ียนรู้​้� และปรั​ับ ตั​ัวได้​้ จะทำำ�ให้​้การใช้​้ชีวิ ี ิตกลมกล่​่อมขึ้​้�น

สิง่ ทีอ ่ ยากฝากไว้คอ ื แม้เราจะเจอเรื่อง

ที่ไม่เคยคาดคิด “สติ” จะเป็นเครื่องช่วยให้

เราหาทางผ่านพ้นปัญหาไปได้ สติจึงมีความ ส�ำคัญมากถึงขั้นบรรพบุรุษของเราสอนไว้ว่า “สติเป็นหางเสอ ื ” ที่จ�ำเป็นต้องฝึกไว้ให้ม่น ั คง

นอกจากนี้ ผมคิดว่า ทางชีวิตนอกจาก

รัฐธรรมนูญแล้ว มีผู้แทน มีการเลือกตั้ง แต่

กลั บ เพิ่ ม ขึ้ น ด้ ว ยซ้� ำ ไป แต่ จ ะว่ า ไปความไร้

เดียงสาใช่จะเลวร้าย เพราะตอนนั้นหากคิด

มากไป คงไม่กล้าท�ำอะไร

� กั​ับคุณ สอง ชี​ีวิ​ิตที่​่�ดีขึ้​้ ี น ุ ภาพของ ความสั​ัมพั​ันธ์​์

บทเรี​ียนชี​ีวิ​ิตข้​้อที่​่�สอง มองย้​้อนกลั​ับ

ไปในชี​ีวิ​ิตที่​่�ผ่​่านมา ถ้​้าถามผมว่​่า ชี​ีวิ​ิตที่​่�ดี​ีขึ้​้�น

ไม่ได้เป็นเส้นตรงแล้วยังเป็น “สิ่งที่มีพลวัตใน

กั​ับอะไร?

ทางชีวิตเมื่อเราอายุ ๓๕ หรือ ๔๓ อาจจะไม่

ความสัมพันธ์ ไม่ว่ากับครอบครัว เพื่อน ครู

ความศรัทธาของเราในแต่ ละช่วงอายุ ก็อาจ

ตัวเราเอง

ตัวเอง” กล่าวคือ ทางชีวิตเมื่อเราอายุ ๒๑ กับ

เหมือนกัน ความคิด ความฝัน ความเชื่อ หรือ

จะเปลี่ยนไป ซึ่งถ้าวันข้างหน้าน้องๆ พบว่า ความฝันหรือความเชื่อที่เรามีอยู่ในวันนี้อาจ

ไม่เหมือนกับอีก ๑๐ หรือ ๒๐ ปีข้างหน้า ผม

ผมคิ ดว่ าชีวิตที่ ดีข้ึนกั บคุณภาพของ

เพื่อนร่วมงาน สังคม ธรรมชาติ หรือแม้แต่ น้ อ งๆ ลองย้ อ นนึ ก ถึ ง ทางชี วิ ต ของ

ตัวเองที่ผ่านมา อาจจะพอเห็นภาพว่า การที่

เราสามารถมายืนในจุ ดนี้ได้ นอกจากความ

ก็อยากจะบอกว่า มันโอเค

พยายามและความตั้งใจของเราแล้ว พ่อแม่

พู ด วาระครบรอบ ๔๕ ปี ๑๔ ตุ ล า ก็ ท�ำให้

แค่ไหนกับการเป็นไปของชีวิตเรา

เช่ น เมื่ อ ไม่ น านนี้ผ มถู ก เชิ ญ ให้ ไ ป

มองถึ งตั วเองเมื่อสมัยปี ๒๕๑๖ ตอนนั้นใน

พี่น้อง ครู รวมทั้งเพื่อนๆ ของเรา มีสว ่ นมาก ผมคิดว่า ลึกๆ พวกเราเรียนรู้และได้

วัย ๒๐-๒๑ ปี ไม่ได้มีความรู้ ก�ำลังหรือแม้แต่

รับการอบรมมาว่า “ความสัมพันธ์ท่ีดีมีความ

บริสุทธิ์ อยากเห็นบ้านเมืองก้าวหน้า แต่อีก

อาจจะเพราะด้ ว ยความเป็ น ปุ ถุ ช นธรรมดา

อุ ด มการณ์ อ ะไร ในด้ า นหนึ่ ง ก็ มี ค วามตั้ ง ใจ ด้ านก็ naive หรือไร้เดี ยงสา ตอนนั้นได้ แต่

64

ส�ำคั ญ” แต่ ท�ำไมบ่อยครั้งเรามักลื มเรื่องนี้? เรามักจะชอบอะไรที่ง่าย จบเร็วๆ และเสร็จ


ไวๆ แต่ในเรื่องความสัมพันธ์ บางทีเป็นเรื่อง

ในที่สุดแล้ว ไม่มีใครในโลกแม้สักคน

ยุง่ ยาก ซับซ้อน ใช้เวลาและต้องการเอาใจใส่

เดี ยวที่ ควรจะถูกดูหมิ่น เพราะคนแต่ ละคน

ความสัมพันธ์น้ัน

คนอื่น” เป็นต้นตอของปัญหาหลายเรื่องใน

ซึ่ ง ไม่ ใ ช่แ ค่ ช่ว งเริ่ ม ต้ น แต่ ต ลอดช่ว งที่ เ รามี ผมเองยอมรั บ ในชี วิ ต มี ห ลายเรื่ อ งที่

ผิดพลาดที่ ถ้ามีโอกาสก็ อยากแก้ ไข หนึ่งใน นั้นคือ การที่ไม่ได้ใส่ใจคนอื่นเพียงพอ ใจร้อน

ด่วนสรุป บทเรียนคือ “การคิดถึงใจเขาใจเรา” (empathy) ความพยายามที่ จ ะเข้ า ใจผู้ อื่ น

และสิ่งที่ผมคิดว่าเป็นรากฐานส�ำคัญของทุก

มีเหตุปัจจั ยที่ แตกต่ างกั น และ “โรคดูหมิ่น ปัจจุบน ั ผูใ้ หญ่ทา่ นหนึ่งพูดให้ขอ ้ คิดไว้วา่ วิธท ี ี่

จะท�ำให้เรารูจ ้ ักนิสย ั ใจคอของคนคนหนึ่ง ให้ดู ว่าเค้า treat คนธรรมดาๆ ที่ไม่ได้มส ี ถานะทาง

สังคมใด เช่น คนขับรถ ภารโรง หรือพนักงาน ท�ำความสะอาด อย่างไร

คุ ณ บรรยง พงษ์ พ านิ ช พู ด ไว้ อ ย่ า ง

ความสัมพันธ์คอ ื การให้เกียรติ ความอ่อนน้อม

ลึ ก ซึ้ ง ท�ำนองเดี ย วกั น ในงานปั จ ฉิ ม นิ เ ทศ

ประธานาธิบดีเนลสัน แมนเดลา เคย

ผูบ ้ งั คับการในยุคนั้น ให้โอวาทว่า “อย่าอวดดี

ลั ก ษณะนิ สั ย ที่ มี ค่ า ที่ สุ ด ที่ ม นุ ษ ย์ พึ ง จะมี

จากโรงเรียนก็พบว่า “ดี” ที่ผมเคยคิดว่ามีอยู่

ถ่อมตน (humility) จริงใจ และไม่ดูหมิ่นผู้อื่น

กล่ า วว่ า “ความอ่ อ นน้ อ มถ่ อ มตนนั้ น เป็ น เพราะจะท�ำให้เราเห็นคุณค่าของคนอื่น”

เมื่ อ ปี ก่ อ นว่ า “ก่ อ นจบพระยาภะรตราชา

จนกว่าจะมีดีให้อวดนะ” ไม่นานที่ผมก้าวออก

เต็มเปี่ยมสมัยที่ยังอยูว ่ ชิราวุธนั้น เป็น “ดี” ที่

65


ยังไร้แก่นสาร ไม่เพียงพอที่จะน�ำไปอวดใคร

สิ่ ง ที่ ส�ำคั ญ และจ�ำเป็ น ไม่ น้ อ ยกว่ า

ได้ ใ นสั ง คมที่ ก ว้ า งใหญ่ ประสบการณ์ แ ละ

กันคือ “การท�ำในสิ่งที่ควรท�ำ” ซึ่งต้องอาศัย

ลูกวชิราวุธ เป็นเพียงรากฐานที่ต้องได้รับการ

courage) เช่น ในหลายเรื่องที่เราเคยคิดว่า

ความภูมิใจต่างๆ ที่ทุกคนได้รับจากการเป็น ต่อยอดให้ถูกทาง

ถ้าเราใช้มน ั ได้ดี เราก็จะมีชวี ต ิ ทีร่ ุง่ เรอ ื ง

สวยงาม มีความสุข

แต่ หากเราไม่น�ำไปใช้ให้คุ้มค่ า มันก็

“ความกล้ า หาญทางจริ ย ธรรม” (moral ถูก ต่อมาเห็นว่าอาจจะไม่ถก ู ต้อง เราก็ต้องไม่

ดื้อ เปลี่ยนมาท�ำในสิ่งที่ถูกต้อง จึงจะเรียกได้ ว่า “ท�ำในสิ่งที่ควรท�ำ”

นอกจากนี้ ถ้ามองให้ลึกซึ้งจะเห็นว่า

อาจจะมี ค่ า น้ อ ยหรื อ ไร้ ค่ า หรื อ หากยึ ด ติ ด

เกือบจะทุกสิ่งรอบตั ว ที่ เราเห็นและเป็นไป

จมปลักไปไม่ถึงไหนได้เช่นกัน

เกี่ยวข้องทั้งสิน ้ ไม่ทางตรงก็ทางอ้อม และงาน

หมกมุ่นน�ำไปใช้อย่างหลงทาง ก็อาจท�ำให้เรา

แย่ทส ่ี ด ุ คือ ความคิดปิดกัน ้ จะท�ำให้เรา

ล้ ว นเป็ น ผลจากความร่ ว มมื อ ของผู้ ค นที่

ในชีวิตที่นอ ้ งๆ จะเจอต่อไป โดยเฉพาะการท�ำ

กลายเป็น “น้�ำล้นแก้ว” เจออะไรก็ดห ู มิน ่ ว่าไม่

เรื่องยากๆ ให้ส�ำเร็จได้ จ�ำเป็นต้องอาศัยความ

เราสูญเสียโอกาสในชีวิตอย่างมหาศาล

รากฐานที่ส�ำคัญที่จะท�ำให้การร่วมมือส�ำเร็จ

ดีกว่าสิง่ ที่ตัวเองมีและเป็นอยูแ ่ ล้ว ซึ่งจะท�ำให้ ผมอยากจะเสริ ม คุ ณ บรรยงสั ก เล็ ก

น้อยว่า ชีวิตข้างหน้าไม่ว่าน้องๆ จะมีบทบาท

อะไร ผมคิดว่า ‘การฟัง’ หรือ “การเป็นผู้รู้จัก ฟั ง ” เป็ น สิ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยให้ ค วามสั ม พั น ธ์ ด้ า น

ต่ า งๆ ในชี วิ ต เป็ น ไปอย่ า งราบรื่น และเป็ น

ร่วมมอ ื จากผูอ ้ ื่น (collaboration) ซึ่งผมคิดว่า คือ เราต้องมองผู้อื่นอย่างให้เกียรติ

ท้ า ยที่ สุ ด ผมคิ ด ว่ า ส�ำคั ญ มากที่ เ รา

ต้ องมีความสัมพันธ์ท่ี ดีแม้กับตั วของเราเอง

เราต้องมีความเชื่อมั่นในศักยภาพของตัวเอง

เชื่อในศักยภาพของการเป็นมนุษย์ คนที่ไว้ใจ

เหมือนประตูท่ีเปิดทางให้เราเรียนรู้ส่ิงต่างๆ

ตนเองจะเป็นผู้ท่ีมีก�ำลังใจ มีพลังชีวิต ขณะที่

อี กหลักคิดที่ผมยึดและน�ำมาปรับใช้

ไม่มีระเบียบ และไม่สามารถท�ำให้ผู้อื่นไว้ใจ

มากมาย

ในทุกความสัมพันธ์ คอ ื “การท�ำในสิง่ ที่ควรท�ำ และไม่ท�ำในสิ่งที่ไม่ควรท�ำ”

คนส่วนใหญ่มักให้น้�ำหนักเฉพาะส่วน

หลัง ก็คือ “ไม่ท�ำในสิง่ ที่ไม่ควรท�ำ” เช่น ไม่ท�ำ

ในสิ่งที่ผิด ไม่ท�ำในสิ่งที่ ไม่ถูกต้ อง ซึ่ งถือว่ า

เป็นการครองตนอยู่ในกรอบที่ดีงาม แต่เป็น เพียงครึ่งหนึ่งของเรื่อง

66

คนที่ไม่เชื่อมั่นในตนเองก็มักจะโลเล อ่อนแอ ตนได้ และทีส ่ �ำคัญไม่นอ ้ ยไปกว่ากัน คอ ื เราต้อง เป็ น มิ ต รกั บ ตั ว เอง เรี ย นรู้ ท่ี จ ะให้ ก�ำลั ง ใจ

ตัวเองในเวลาที่เหตุการณ์ต่างๆ อาจจะไม่เป็น ดังที่คาด หนึ่งในโควตที่ผมชอบและใช้ปลอบ ตัวเองอยูบ ่ า้ งเมื่อเจอปัญหา คือ “Everything

will be okay in the end, and if it’s not okay, it’s not the end.”


เรื่​่�องที่​่�สาม คื​ือ ชี​ีวิ​ิตที่​่�มีค ี วามหมาย นำำ�มาซึ่​่�งความสุ​ุขและความพอใจ

ครอบครัว ซื้อบ้าน หรือสะสมเงินทองน้อยลง

มีความหมายจะน�ำความสุขและความพอใจ

เราท�ำนั้ น มั น มี ‘ความหมาย’ กั บ ชี วิ ต จริ ง

บทเรี​ียนสุ​ุดท้​้าย คื​ือ การใช้​้ชีวิ ี ิตอย่​่าง

มาให้ ซึ่งเรื่องนีเ้ ป็น benefit of the hindsight ที่อยากเล่าสูก ่ ันฟัง

น้องๆ เคยสังเกตตัวเองหรือไม่ว่า เช้า

ของบางวันเราตื่นขึ้นมาอย่างมีพลัง เพราะรู้ ว่าเราต้องท�ำอะไร เพื่ออะไร

บางคนอาจบอกว่า เป็นตอนที่อยาก

สอบได้ เ กรดดี หรื อ ช่ ว งเตรี ย มตั ว สอบเข้ า

เพราะเรามีสิ่งเหล่านี้มากพอสมควรแล้ว

แต่ สิ่ ง ที่ เ ราสนใจมากขึ้ น ก็ คื อ สิ่ ง ที่

หรือเปล่า

“การหาความหมายให้ ส่ิ ง ที่ เ ราท�ำ”

จะท�ำให้ เ ราเกิ ด พลั ง ทุ่ ม เทแรงกาย แรงใจ พยายามท�ำสิง่ นัน ้ ๆ จนส�ำเร็จ ถึงแม้วา่ ระหว่าง

ทางจะเจอปัญหาหรืออุปสรรค เราก็กล้าที่จะ

ลอง กล้าที่จะล้ม และกล้าที่จะลุกขึ้นมาท�ำจน

ส�ำเร็จในที่สุด หรือสิ่งที่ท่านสมเด็จพระพุทธ

มหาวิทยาลัย ซึง่ เป็น sense of purpose ระดับ

โฆษาจารย์ใช้ค�ำว่ า “ใฝ่รู้ สู้ส่ิงยาก ซื่อสัตย์

ขณะที่บางคนพลังนี้อาจเกิดตอนการ

และมีความส�ำคัญที่ต้องมีการพัฒนา

สนองความต้องการของตัวเอง

และรักในสิ่งที่ตัวเองท�ำ”

มุ่งมั่นฝึกซ้อมกี ฬาเพื่อชัยชนะของโรงเรียน

sense of purpose ให้เติบโตตามวัย เพื่อให้

การหาความหมายให้ กั บ สิ่ ง ที่ เ ราท�ำ

ประโยชน์ในขอบเขตที่กว้างขวางขึ้น กล่าวคือ

ท�ำให้เราพร้อมที่จะลุกขึ้นมาท�ำสิ่งนั้นสิ่งนี้ใน

องค์กร สังคมหรือประเทศ และอาจกว้างไกล

แค่อยาก “ท�ำให้มน ั เสร็จๆ” หรือ “สักแต่ว่าท�ำ

น้องๆ ครับ ผมอยากจะชวนให้พวกเรา

ซึ่งเป็น sense of purpose ในระดับสถาบัน

น้ อ งๆ มี ค วามมุ่ ง มั่ น ที่ จ ะน�ำศั ก ยภาพไปใช้

หรือ sense of purpose เป็นสิ่งส�ำคัญที่จะ

เมื่อเป็นผูใ้ หญ่ยอ ่ มต้องขยาย purpose สูร่ ะดับ

ทุกเช้าโดยไม่รูส ้ ก ึ ว่าเป็นการถูกบังคับ จนรูส ้ ก ึ

ถึงระดับโลก

ไปเช่นนั้นเอง”

ตั้งค�ำถามกับตัวเองว่า

(Happiness Research Institute) ได้ ท�ำ

ด�ำเนินชีวิตอย่างไร ถึงจะสามารถพอใจได้ว่า

จากงานทุ ก รู ป แบบ เพื่ อ ดู ว่ า ความสุ ข หรื อ

พอใจ ว่าตนได้ใช้ชีวิตอย่างมีความหมาย”

จากไหน พบว่ า สิ่ ง ส�ำคั ญ ที่ สุ ด ที่ ท�ำให้ ค นมี

จนถึงขนาดที่จะสามารถยกมือไหว้ตัวเองได้”

นั ก จิ ต วิ ท ยาอธิ บ ายว่ า ‘เป้ า หมาย’

ปั จ จั ย สี่ เงิ น ทอง ทรั พ ย์ สิ น ชื่ อ เสี ย ง ที่ สุ ด

ขึ้น เช่น เมื่อถึงวัยกลางคน เราจะสนใจสร้าง

พอใจเป็ น เครื่ อ งหล่ อ เลี้ ย งจิ ต ใจในส่ ว นลึ ก

สถาบันวิจัยความสุขแห่งโคเปนเฮเกน

ส�ำรวจคนท�ำงานชาวเดนมาร์ก ๒,๖๐๐ คน ความพึงพอใจในการท�ำงานของแต่ละคนมา ความสุขกับการท�ำงานก็คือ ‘เป้าหมาย’

ของชี วิ ต เราจะประณี ต ขึ้ น เมื่ อ เราอายุ ม าก

“ชีวิตมีจุดหมายอย่างไร และตนควร

ชีวิตของเรามีอะไรถูกต้องที่พอจะชื่นใจหรือ ท่านอาจารย์พท ุ ธทาสใช้ค�ำว่า “พอใจ เรื่องนี้มีความส�ำคัญ เพราะนอกจาก

ของชีวิตแล้วมนุษย์ยังต้องการความสุขความ

67


ความอิ่ ม อกอิ่ ม ใจหรื อ ความพอใจจะเป็ น

ความส�ำคัญของการที่จะต้องตีความ sense

ปกติ

หรือประเทศของเรา

ปัจจัยส�ำคัญที่ช่วยให้ชีวิตด�ำเนินไปอย่างเป็น ความส�ำคัญของการที่ต้องมี sense of

of purpose ให้กว้างขึ้นกว่าตัวเรา พวกเรา

ปัญหาเหล่านี้จะแก้ไขได้ก็ต่อเมื่อเรา

purpose ที่กว้างไกลกว่าเรื่องของ “ตัวเรา”

มองปัญหาในฐานะที่เป็น “พลเมืองของโลก”

พลเมืองที่ ดี และดั งที่ ในหลวงรัชกาลที่ ๑๐

ต่อการช่วยเหลือฮาคีม แม้ฮาคีมไม่ได้เป็นคน

สะท้อนสิง่ ทีโ่ รงเรียนวชิราวุธฯ ปลูกฝังการเป็น

ทรงพระราชทานพระบรมราโชวาทแก่น้องๆ ที่น่เี มื่อเร็วๆ นี้ว่า “ขออย่างหนึ่งให้ลก ู ๆ คิดถึง

ส่วนรวม อย่าคิดเฉพาะส่วนตน”

ปั ญ หาหลายอย่ า งที่ โ ลกก�ำลั ง เผชิ ญ

ในปัจจุบน ั ไม่ว่าจะเป็นปัญหาความเหลื่อมล้�ำ

แบบสุดโต่ง ปัญหาโลกร้อน อากาศเสีย การทิ้ง

ขยะพลาสติกจ�ำนวนมหาศาลลงสูท ่ ะเล ที่ถือ ว่ า เป็ น “tragedy of commons” หรื อ

“โศกนาฏกรรมร่วมของมนุษยชาติ” รวมถึง ปัญหาความขัดแย้งด้านภูมริ ฐ ั ศาสตร์ระหว่าง

ประเทศในหลายจุดทั่วโลก หรอ ื ล่าสุดกรณีฮา คีม (อัลอาไรบี) นักฟุตบอลชาวบาห์เรน ทีก ่ ลาย

เป็นประเด็นที่ท่ัวโลกจั บตาดู ก็ย่ิงท�ำให้เห็น

บทบาทของนายกรัฐมนตรีของออสเตรเลี ย ออสเตรเลียโดยก�ำเนิดก็ตาม ก็เป็นตัวอย่าง ของพลเมืองโลกที่ดีท่ีโลกต้องการ

ท้ายทีส ่ ด ุ นี้ ผมนึกถึงทีอ ่ ล ั เบิรต ์ ไอน์สไตน์

เคยพูดไว้อย่างลึกซึ้งและน่าสนใจว่า

“The true value of a human being

is determined primarily by the measure and the sense in which he has attained liberation from the self.”

คุณค่ าที่ แท้ จริงของมนุษย์วัดได้ จาก

ความสามารถที่ก้าวข้ามหรือมีอิสระจากการ

คิดถึงตัวเอง

เผยแพร่​่ครั้​้�งแรกในเวปไซต์​์ thaipublica.org

68


แผงคอมหาดเล็​็กวิ​ิเศษ

สื​ืบเนื่​่�องจากภาพข่​่าวพระบาทสมเด็​็จพระวชิ​ิรเกล้​้าเจ้​้าอยู่​่�หั​ัว เสด็​็จพระราชดำำ�เนิ​ินไป

ทรงถวายราชสั​ักการะพระบรมรู​ูปทรงม้​้าและปฐมบรมราชานุ​ุสรณ์​์ เมื่​่�อวั​ันที่​่� ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ซึ่​่�งในวั​ันดั​ังกล่​่างได้​้ทรงกำำ�หนดให้​้ข้า้ ราชการในพระราชสำำ�นั​ักเริ่​่�มใช้​้แผงคอเป็​็น

สั​ัญลั​ักษณ์​์สำ�หรั ำ บ ั ข้​้าราชการพลเรื​ือนในพระราชสำำ�นั​ัก

เนื่​่�องจากแผงคอนั้​้�นมี​ีรู​ูปลั​ักษณะเหมื​ือนกั​ับแผงคอผู้​้�บั​ังคั​ับการ ผู้​้�กำำ�กั​ับคณะ ครู​ู

และนั​ักเรี​ียนเก่​่าวชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัย จึ​ึงมี​ีสมาชิ​ิกหลายท่​่านสอบถามมาทางท่​่านนายกสมาคมฯ รวมทั้​้�งถามมาที่​่�ตั​ัวผมว่​่า นั​ักเรี​ียนเก่​่าที่​่�จะไปเฝ้​้าทู​ูลละอองธุ​ุลี​ีพระบาทในงานพระราชพิ​ิธี​ี

บรมราชาภิ​ิเษกยั​ังจะใช้​้แผงคอมหาดเล็​็กวิ​ิเศษ ซึ่​่�งคณะกรรมการอำำ�นวยการวชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัย ได้​้มี​ีมติ​ิเห็​็นชอบให้​้นั​ักเรี​ียนเก่​่าทุ​ุกคนใช้​้ประกอบเครื่​่�องแบบแทนเครื่​่�องแบบขอเฝ้​้าได้​้หรื​ือไม่​่ ในโอกาสนี้​้�ผมได้​้เรี​ียนชี้​้�แจงไปว่​่า การที่​่�นั​ักเรี​ียนเก่​่าวชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัยได้​้ใช้​้แผงคอ

มหาดเล็​็กวิ​ิเศษนี้​้�เป็​็นไปตาม “ประกาศ เรื่​่�องนั​ักเรี​ียนเก่​่าแห่​่งโรงเรี​ียนมหาดเล็​็กหลวง

แต่​่งเครื่​่�องแต่​่งตั​ัวมหาดเล็​็ก” ซึ่​่�งพระยาบุ​ุรุ​ุษรั​ัตนราชพั​ัลลภ (นพ ไกรฤกษ์​์) อธิ​ิบดี​ีกรมมหาดเล็​็ก ได้​้รับ ั พระบรมราชโองการให้​้ออกประกาศไว้​้เมื่​่�อวั​ันที่​่� ๒๗ ธั​ันวาคม ๒๔๕๖ และเนื่​่�องจาก

ยั​ังไม่​่มี​ีกฎหมายใดมายกเลิ​ิกประกาศพระบรมราชโองการนี้​้� ประกาศฉบั​ับนี้​้�จึ​ึงยั​ังมี​ีผลบั​ังคั​ับใช้​้ มาถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบัน ั

69


ต่​่อมาใน พ.ศ. ๒๕๖๐ เมื่​่�อพระบาทสมเด็​็จพระเจ้​้าอยู่​่�หั​ัวรั​ัชกาลปั​ัจจุ​ุบัน ั เสด็​็จ

พระราชดำำ�เนิ​ินเหยี​ียบวชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัยเป็​็นครั้​้�งแรกในรั​ัชกาล นายกกรรมการอำำ�นวยการฯ

ได้​้นำำ�คณะกรรมการอำำ�นวยการ ผู้​้�บั​ังคั​ับการ ผู้​้�กำำ�กั​ับคณะ ครู​ู บุ​ุคลากร และนั​ักเรี​ียน เฝ้​้าทู​ูล ละอองธุ​ุลี​ีพระบาทถวายตั​ัวตามราชประเพณี​ี แต่​่เนื่​่�องจากในวั​ันนั้​้�นกรรมการอำำ�นวยการฯ

ที่​่�มิ​ิได้​้เป็​็นข้​้าราชการ ต่​่างก็​็แต่​่งเครื่​่�องแบบขาวติ​ิดแผงคอผู้​้�กำำ�กั​ับคณะ ได้​้ให้​้ความเห็​็นชอบ ให้​้นั​ักเรี​ียนเก่​่าใช้​้เครื่​่�องแบบมหาดเล็​็กวิ​ิเศษเฝ้​้าทู​ูลละอองธุ​ุลี​ีพระบาท จึ​ึงเกิ​ิดเป็​็นประเด็​็น

ขึ้​้�นมาว่​่า ในเมื่​่�อคณะกรรมการอำำ�นวยการฯ มี​ีฐานะเป็​็นผู้​้�บั​ังคั​ับบั​ัญชาของผู้​้�บั​ังคั​ับการและ ผู้​้�กำำ�กั​ับคณะตลอดจนครู​ูและบุ​ุคลากรในโรงเรี​ียน แต่​่กรรมการอำำ�นวยการมาติ​ิดแผงคอ

ผู้​้�กำำ�กั​ับคณะซึ่​่�งเป็​็นผู้ใ้� ต้​้บังั คั​ับบั​ัญชาของผู้​้�บั​ังคั​ับการ จึ​ึงดู​ูจะเป็​็นการไม่​่เหมาะสม และโดยที่​่�

พระบาทสมเด็​็จพระมงกุ​ุฎเกล้​้าเจ้​้าอยู่​่�หั​ัวเคยมี​ีพระบรมราชโองการพระราชทานพรวิ​ิเศษแก่​่ นั​ักเรี​ียนเก่​่ามหาดเล็​็กหลวงที่​่�มิ​ิได้​้รับ ั ราชการสั​ังกั​ัดกรมกองใด ให้​้แต่​่งเครื่​่�องแบบมหาดเล็​็ก

วิ​ิเศษได้​้เป็​็นกรณี​ีพิเิ ศษ เพื่​่�อจะได้​้มีตำ ี ำ�แหน่​่งเฝ้​้าทู​ูลละอองธุ​ุลี​ีพระบาทเฉกเช่​่นเมื่​่�อครั้​้�งยั​ังเป็​็น

นั​ักเรี​ียน และประกาศพระบรมราชโองการนี้​้�ยังั มี​ีผลใช้​้บังั คั​ับอยู่​่�

สมาคมนั​ักเรี​ียนเก่​่าฯ จึ​ึงได้​้มี​ีมติ​ิให้​้นำำ�เรี​ียนปฏิ​ิบัติ ั ิต่​่อที่​่�ประชุ​ุมคณะกรรมการ

อำำ�นวยการฯ เมื่​่�อปลายปี​ี ๒๕๖๐ ซึ่​่�งคณะกรรมการอำำ�นวยการฯ ได้​้พิจ ิ ารณาให้​้ความเห็​็นชอบ และให้​้นั​ักเรี​ียนเก่​่าวชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัยใช้​้เครื่​่�องแบบมหาดเล็​็กวิ​ิเศษตามประกาศพระบรมราช

โองการเมื่​่�อวั​ันที่​่� ๒๗ ธั​ันวาคม ๒๔๕๖ โดยกำำ�หนดให้​้วชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัยออกประกาศให้​้

นั​ักเรี​ียนเก่​่าที่​่�จะมาเฝ้​้าทู​ูลละอองธุ​ุลี​ีพระบาทในวั​ันเสด็​็จพระราชดำำ�เนิ​ินประกาศนี​ียบั​ัตรและ รางวั​ัล รวมทั้​้�งผู้​้�ที่​่�จะเข้​้ารั​ับพระราชทานประกาศนี​ียบั​ัตรแต่​่มิ​ิได้​้ศึ​ึกษาในสถาบั​ันการศึ​ึกษา

ที่​่�มี​ีเครื่​่�องแบบเฉพาะ ให้​้แต่​่งเครื่​่�องแบบมหาดเล็​็กวิ​ิเศษเข้​้าเฝ้​้าฯ และรั​ับพระราชทาน

ประกาศนี​ียบั​ัตรเป็​็นครั้​้�งแรกเมื่​่�อวั​ันที่​่� ๗ มี​ีนาคม ๒๕๖๑ และสมาคมนั​ักเรี​ียนเก่​่าฯ ก็​็ได้​้ประกาศ

ให้​้นั​ักเรี​ียนเก่​่าใช้​้เครื่​่�องแบบนี้​้�เป็​็นระเบี​ียบปฏิ​ิบัติ ั ิต่​่อมา

อนึ่​่�ง เนื่​่�องจากในรั​ัชสมั​ัยพระบาทสมเด็​็จพระมงกุ​ุฎเกล้​้าเจ้​้าอยู่​่�หั​ัว เสนาบดี​ีกระทรวง

พระคลั​ังมหาสมบั​ัติ​ิได้​้กราบบั​ังคมทู​ูลพระกรุ​ุณาขอให้​้ทรงแยกราชการในพระองค์​์ออกจาก ราชการแผ่​่นดิ​ิน เมื่​่�อทรงพระกรุ​ุณาโปรดเกล้​้าฯ ให้​้แยกราชการในพระราชสำำ�นั​ักออกจาก

ราชการแผ่​่นดิ​ินตามคำำ�กราบบั​ังคมทู​ูลของเสนาบดี​ีกระทรวงพระคลั​ังมหาสมบั​ัติ​ิแล้​้ว จึ​ึงทรง

พระกรุ​ุณาโปรดเกล้​้าฯ ให้​้ข้า้ ราชการพลเรื​ือนในพระราชสำำ�นั​ักใช้​้แผงคอแทนการติ​ิดอิ​ินทรธนู​ู

ที่​่�ปลายบ่​่าให้​้เป็​็นที่​่�แตกต่​่างจากข้​้าราชการพลเรื​ือนทั่​่�วไป มาจนเปลี่​่�ยนแปลงการปกครอง

เมื่​่�อพระบาทสมเด็​็จพระปกเกล้​้าเจ้​้าอยู่​่�หั​ัวทรงสละราชสมบั​ัติ​ิในตอนปลายปี​ี ๒๔๗๒

แล้​้ว รั​ัฐบาลในสมั​ัยนั้​้�นได้​้ยกราชการในพระองค์​์ไปรวมเป็​็นส่​่วนหนึ่​่�งของราชการแผ่​่นดิ​ิน ใน

บั​ังคั​ับบั​ัญชาของนายกรั​ัฐมนตรี​ี แต่​่เมื่​่�อพระบาทสมเด็​็จพระเจ้​้าอยู่​่�หั​ัวรั​ัชกาลปั​ัจจุ​ุบัน ั ทรงรั​ับ รั​ัชทายาทเสด็​็จดำำ�รงสิ​ิริริ าชสมบั​ัติ​ิแล้​้ว ได้​้โปรดเกล้​้าฯ ให้​้แยกราชการในพระองค์​์ออกจาก

70


ราชการแผ่​่นดิ​ินเฉกเช่​่นที่​่�เคยเป็​็นมาในสมั​ัย ก่​่อนเปลี่​่�ยนแปลงการปกครองแผ่​่นดิ​ิน และ

เมื่​่�อทรงพระกรุ​ุณาโปรดเกล้​้าฯ ให้​้ตั้​้�งการ พระราชพิ​ิธีบ ี รมราชาภิ​ิเษกในเดื​ือน

พฤษภาคม ๒๕๖๒ ก็​็ได้​้โปรดเกล้​้าฯ ให้​้

ข้​้าราชการพลเรื​ือนในพระราชสำำ�นั​ักเริ่​่�มใช้​้ แผงคอประกอบกั​ับเครื่​่�องแบบข้​้าราชการ พลเรื​ือน เพื่​่�อให้​้แตกต่​่างจากข้​้าราชการ พลเรื​ือนทั่​่�วไป

ในการพระราชพิ​ิธีบ ี รมราชาภิ​ิเษก

ครั้​้�งนี้​้� จึ​ึงได้​้เห็​็นข้​้าราชการพลเรื​ือนใน

พระราชสำำ�นั​ักติ​ิดแผงคอรู​ูปลั​ักษณะเหมื​ือน

แผงคอวชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัย จะต่​่างกั​ันตรงที่​่�

แผงคอข้​้าราชการพลเรื​ือนในพระราชสำำ�นัก ั

นั้​้�นมี​ีการประดั​ับดาราหมายยศโดยรอบอั​ักษร พระปรมาภิ​ิไธย มากบ้​้างน้​้อยบ้​้างตามชั้​้�นยศ

ของผู้​้�นั้​้�น นอกจากนั้​้�นที่​่�ปลายแผงคอยั​ังมี​ีตั​ัวเลขบอกระดั​ับชั้​้�น (ซี​ี) ของข้​้าราชการผู้​้�นั้​้�น

ส่​่วนแผงคอชั้​้�นที่​่�มี​ีรู​ูปลั​ักษณะเหมื​ือนแผงคอครู​ูและนั​ักเรี​ียนเก่​่านั้​้�น มี​ีตั​ัวอั​ักษรสี​ีเงิ​ินติ​ิดที่​่�ปลาย

แผงคอ ซึ่​่�งต่​่างจากแผงคอครู​ูวชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัยที่​่�กึ่​่�งกลางแผงคอติ​ิดเฉพาะอั​ักษร

พระบรมนามาภิ​ิไธย ว.ป.ร.พระมหามงกุ​ุฎสี​ีเงิ​ินทั้​้�งสองข้​้าง แต่​่ไม่​่ติ​ิดดาราหมายยศ ส่​่วนแผงคอ

มหาดเล็​็กวิ​ิเศษสำำ�หรับ ั นั​ักเรี​ียนเก่​่านั้​้�น นอกจากอั​ักษรพระบรมนามาภิ​ิไธยที่​่�กึ่​่�งกลางแผงคอแล้​้ว ยั​ังติ​ิดดาราหมายยศ ๑ ดวงที่​่�ต้​้นแผงคอ ดั​ังนี้​้�จึ​ึงจะเห็​็นได้​้ว่​่าแผงคอ ผู้​้�บั​ังคั​ับการ ผู้​้�กำำ�กั​ับคณะ ครู​ู และนั​ักเรี​ียนเก่​่านั้​้�นไม่​่เหมื​ือนแผงคอข้​้าราชการพลเรื​ือนในพระราชสำำ�นั​ักเสี​ียที​ีเดี​ียว แต่​่ก็​็นั​ับว่​่าเป็​็นเครื่​่�องแบบของข้​้าราชบริ​ิพารในพระบาทสมเด็​็จพระเจ้​้าอยู่​่�หั​ัวเหมื​ือนกั​ัน

หมายเหตุ​ุกองบรรณาธิ​ิการ:–

กองบรรณาธิ​ิการขอร่​่วมแสดงความเสี​ียใจจากการจากไปของ “พี่​่�เบะ” หรื​ือ วรชาติ​ิ มี​ีชู​ูบท

นั​ักประวั​ัติ​ิศาสตร์​์และนั​ักเขี​ียน ผู้​้�ให้​้ความอนุ​ุเคราะห์​์ความรู้​้�และบทความกั​ับอนุ​ุมานวสารมาตั้​้�งแต่​่ต้​้น โดย

วรชาติ​ิเสี​ียชี​ีวิ​ิตเมื่​่�อวั​ันที่​่� ๙ ตุ​ุลาคม ๒๕๖๒ จากอาการติ​ิดเชื้​้�อในกระแสโลหิ​ิต ที่​่�โรงพยาบาลพระมงกุ​ุฎเกล้​้า กรุ​ุงเทพมหานคร

เขี​ียนโดย: วรชาติ​ิ มี​ีชู​ูบท (โอวี​ี ๔๖)

71


ไอ้เตาเล่าเรื่อง เด็กเกเรเด็กกวนตีน สมัยอยู่วชิราวุธฯ ตอนเด็กๆ ผมค่อนข้างเรียบร้อย เป็นที่รักของครูท้ังหลาย เช่น เป็นลูกรักครูเดช เป็นที่

ไว้ใจของครูบรรจง (แท้งค์เด็กเล็กหนึ่ง) มอบหมายให้คอยจดชื่อคนพูดในห้องเพรบ ซึ่งไอ้เตาก็

ซื่อบื้อเถรตรงมาก จนเพื่อนๆ เหม็นขี้หน้าว่าปากบอน เป็นหมาหัวเน่าไม่ค่อยมีใครอยากคบ แต่พอโตขึ้นเริ่มเฮี้ยว คึกคะนองจนเลยเถิด เป็นคู่ปรับกับเจ้าคุณภะรตราชา โดนตบ

แทบทุกวัน ซึ่งกับครูคนอื่นก็ไม่ละเว้น คอยยียวนกวนตีนโชว์ความคิดสร้างสรรเสี่ยวๆ ไปเรื่อย

ผมเคยยั่วครูสมลักษณ์จนร้องไห้เดินออกไปกลางคาบเรียน ดันไปเจอแป๊ะที่ห้องพักครู

ผมและเพื่อนอีกห้าคนเลยโดนตบเรียงตัวกันทั่วหน้า

ศาสตราจารย์วรวิทย์ เงยไพบูลย์ ซึ่งสอนกลศาสตร์ก็

โดนผมรวน เพราะท�ำข้อสอบไม่ได้ ผมเลยส่งกระดาษเปล่า พร้อมเขียนไปว่า “กราบเรียนท่านศาสตราจารย์วรวิทย์

ก้มอัตคัต เพื่อทราบ ข้อสอบยากเกินไป ผมท�ำไม่ได้ครับ” ซึ่ง

ท่านก็หัวเราะ บอกว่า “อย่างนี้น่าจะไปเรียนศิลป์ ไม่น่าเชื่อว่า ดันมาอยูห ่ ้องวิทย์ ก.” อาจารย์ผู้ใหญ่อีกคนที่ผมแอบรวน คือ ศาสตราจารย์ พอ.ประวิทย์ วิมุกตะลพ จาก จปร. ซึ่งเป็นครูสอนภาษาไทย

ที่เก่งและสอนสนุกมาก ต�ำราหลักภาษาไทยเล่มใหญ่ของท่าน

ศาสตราจารย์วรวิทย์ เงยไพบูลย์

(หาไม่ได้แล้วครับ) เป็นต�ำราภาษาไทยที่ดีท่ีสุดเล่มหนึ่ง และท�ำให้ผมมีดีเรื่องภาษาไทยไม่น้อย

(อันนี้ขอโม้นิดนึงนะครับ)

72


วันหนึ่งตอนที่อาจารย์สอนเรื่องอักษรสูง อักษรกลาง อักษรต่�ำและวิธใี ช้ วิธอ ี ่านซึ่งมี

หลักแน่นอน ไอ้เตาก็ยกมือขึ้นถามโชว์ภูมิ “อาจารย์ครับ ผมไม่เห็นจะมีหลักเลย ยกตัวอย่าง

ม.ม้า กับ ล.ลิง เป็นอักษรต่�ำเหมือนกัน ท�ำไมใช้ไม่เหมือนกัน เช่น สลักเสลา อาจารย์ให้อ่าน

สะหลักสะเหลา แต่ทใี บเสมา ไม่ยก ั ให้อา่ น ใบสะเหมา ผมไม่เห็นมีหลักเลยครับ อาจารย์กวักมือ เรียก บอกว่า “นายบรรยง มานี่สิครูจะบอกให้ว่าท�ำไม” พอผมลุกไปหาหน้าชั้น อาจารย์ก็ บอกว่า “เอียงหูมาสิ”

แล้วอาจารย์ก็เอาสองมือป้องหูผมตะโกน “...” ค�ำพยางค์เดียวสามอักษร (ไอ้อวัยวะ ที่เด็กวชิราวุธมีกน ั ทุกคนนัน ู มจนคอย่น เดินกลับมานัง่ ท่ามกลางเสียงเฮ ่ แหละครับ) ใส่เต็มรูหผ

ของเพื่อนทั้งชั้น แล้วหลังจากนั้นผมก็ไม่เคยกล้าหือกับท่านอีกเลย (สงสัยนี่จะเป็นสาเหตุให้

ผมกลัวทหาร ไม่กล้าตอแยมาจนทุกวันนี้กระมังครับ)

เอาเรื่องเก่าในวัยเฮี้ยวมาเล่าให้ฟังเพื่อไม่ให้น้องๆ เอาเยี่ยงอย่างนะครับ

ตึกเรียนคณะเด็กเล็ก เมื่อห้าสิบห้าปีก่อน

ภาพตึกเรียนคณะเด็กเล็ก (ที่ตอนนี้ทุบทิ้งสร้างใหม่ไปแล้ว) ท�ำให้ผมนึกอยากเล่า

ความหลังประทับใจในวัยเด็ก ตึกนี้มีห้องเรียนแปดห้อง ตรงกลางที่เป็นห้องยื่นมา ชั้นล่างเป็น ห้องพักครูรวม ชั้นบนเป็นห้องพักครูเดช เดชกุญชร คนเดียว ซึ่งครูเดชนี่เป็นครูท่ีท่าน

ผู้​้�บั​ังคั​ับการพระยาภะรตราชาไปเชิ​ิญมาและให้​้ความเกรงใจ กั​ับมี​ีความเชี่​่�ยวชาญวิ​ิชาลู​ูกเสื​ือ เป็​็นพิ​ิเศษ ท่​่านจะค่​่อนข้​้างบ้​้าน ท่​่านลอร์​์ดบาเดน เพาเวลล์​์ผู้​้�ก่​่อตั้​้�งลู​ูกเสื​ือโลก และคติ​ิประจำำ� ของท่​่านคื​ือ BP-be prepared ซึ่​่�งเป็​็นคำำ�ขวั​ัญของลู​ูกเสื​ือโลก ที่​่�ในหลวงรั​ัชกาลที่​่�หกทรงยกมา

73


เป็​็นคำำ�ขวั​ัญเสื​ือป่​่าว่​่า “แม้​้หวั​ังตั้​้�งสงบ จงเตรี​ียมรบให้​้พร้​้อมสรรพ์​์ ศั​ัตรู​ูกล้​้ามาประจั​ัญ จะอาจ สู้​้�ริ​ิปู​ูสลาย” นั่​่�นแหละครั​ับ ผมนั้นมาจากบ้านนอก มาเข้าตอน ป.๕ ซึ่งจริงๆ แล้วสอบเข้าไม่ได้ด้วยซ้�ำ ทั้งๆ ที่อยู่

นครศรีธรรมราชสอบได้ท่ห ี นึ่งทุกวิชา แต่อย่างว่าครับ ความเหลื่อมล้�ำทางการศึกษาของเด็ก

ต่างจังหวัดกับเด็กกรุงนั้นมีมานมนานแล้ว ซึ่งนั่นก็เลยเป็นสาเหตุท่ีพอ ่ พยายามหาทางส่งเสีย

ให้พวกเราได้เข้ามาเรียนในกรุงเทพฯ และสาเหตุท่ีเลือกวชิราวุธก็เพราะนอกจากเป็นโรงเรียน ประจ�ำแล้ว ยังเพราะญาติทางสายแม่ พวกตระกูล “สถิรกุล” ต่างก็มาเรียนที่น่ี ทั้งก�ำธร ก�ำจร

ก�ำแหง ซึ่งทุกคนล้วนเรียนเก่งระดับต�ำนานได้ทุนไปเรียนเมืองนอกกันหมด และญาติฝ่ายพ่อ คือ อาๆ สาย “เลขะกุล” ทั้งสมโชค สมพร สมชีพ สมนึก ก็เรียนที่น่ห ี มด และก็เป็นอาสมโชค

นีแ ่ หละครับที่ท�ำให้ผมได้เป็น “ลูกวชิราวุธ” เพราะพอเปิดเรียนท่านก็แวะเวียนมาสอบถามว่า

มี “คุณหนู” คนไหนที่ทนโรงเรียนประจ�ำไม่ได้บ้าง พอเรียนไปได้อาทิตย์นึงก็มีเด็กขอลาออก ไปจริงๆ อาเขาเลยเข้าไปขอเจ้าคุณขอให้ผมได้เข้าเสียบแทน แล้วก็โทรเลขด่วนไปให้พอ ่ จับ ผมยัดรถไฟด่วนมาแล้วอาเขาก็ไปรับที่หัวล�ำโพงมาส่งโรงเรียนเลยทีเดียว ได้เข้าห้อง ป.๕ ข. ร่วมกับพวกเรียนไม่ค่อยเก่งทั้งหลาย

ทีน้ีพอได้เข้าเรียนหลังจากเสียเซลฟ์เพราะสอบเข้าไม่ได้ ผมก็เลยมุมานะ ขยันขันแข็ง

เรียนอย่างตั้งอกตั้งใจ บางเดือนได้ท่ห ี นึ่งทุกวิชา ถือใบคะแนนห้าใบไปส่งผู้บังคับการบน

หอประชุม พอ ป.๖ ก็เลยได้เลื่อนไปอยูห ่ ้อง ก. แล้วก็อยูม ่ าตลอดจนจบ ม.ศ. ๕ ได้คะแนน เกือบ ๙๐ เปอร์เซ็นต์ทุกปี จนมาติดทีมโรงเรียนใจแตกเกเรไม่เอาใจใส่ ม.ศ. ๔ (ม.๕ เดี๋ยวนี้) ได้แค่ ๗๒ เปอร์เซ็นต์ พอ ม.ศ. ๕ ก็จบด้วย ๕๐ เปอร์เซ็นต์ ได้คะแนน ๕๐๐ เต็ม ๑,๐๐๐ พอดี เป๊ะ ไม่ต้องมีปัดเศษ ขอกลับมาเข้าเรื่องครูเดชต่อนะครับ ผมได้ชื่อว่าเป็น “ลูกรักครูเดช” เพราะนอกจาก ตั้งใจเรียนแล้วยังดันมีชื่อย่อ B P เหมือนกับท่านลอร์ดอีก …เวลาสอนลูกเสือ ครูเดชมักจะมี

เรื่องความเก่งกาจมาโม้ให้ฟังเสมอ นัยว่าเคยเข้าป่าล่าสัตว์ ยิงเสือตัวเท่าวัว งูตัวเท่าเรือ ไก่ป่า ตัวเท่านกอินทรี เรื่องพวกนี้พวกเราฟังกันมาตั้งแต่ก่อนมีเพชรพระอุมาอีก (เข้าใจว่าครูเอามา

จาก “ล่องไพร” ของมาลัย ชูพินิจ)

ทีนก ้ี ม ็ วี ันหนึ่งที่เกิดเรื่องขึน ้ …ครูเดชเข้าสอน ก�ำลังนัง่ ยองๆ เขียนกระดานตอนต่�ำๆ อยู่

หันหลังให้นักเรียน ไอ้เพื่อนจอมแก่น (เป็นลูกเจ้าพระยาด้วย) ก็ยอ ่ งเข้าไปข้างหลัง ใช้ปากกา

หมึกซึมสลัดหมึก Geha เป็นรูปกากบาทกลางหลังเสื้อครู แล้ววิ่งกลับมาเป็นฮีโร่ให้เพื่อนทั้งห้อง

ทึ่งในความเก่งกาจกล้าหาญ (สมัยนัน ิ ม ้ เขายังให้ใช้ปากกาหมึกซึม และเกมสลัดหมึกก็เป็นที่นย ในหมู่ทะโมนทั้งหลาย (แต่พอ ่ แม่เกลียดมากเพราะมันซักไม่ออก)

74


พอเลิกเรียนผมเดินผ่านห้องพักครูเดช เห็นครูใส่เสื้อกล้ามถอดเสื้อเชิ้ตยืนดูรอยหมึก

กลางหลังท่าทางน่าสงสารมาก ผมตัดสินใจเดินไปบอกเลยครับ ว่าใครเป็นคนท�ำ ซึ่งแน่นอน ก็มีการท�ำโทษเฆี่ยนหน้าชั้น จนมีการสืบหากันใหญ่ว่าใครเป็นคนปากบอน ซึ่งผมก็สารภาพ แต่โดยดี

เท่านั้นแหละครับ …ผมก็เลยกลายเป็นหมาหัวเน่า ข้อหาปากบอนไม่รักเพื่อน ถูกล้อ

ถูกแอนตี้อยูเ่ ป็นปี แต่ผมก็ไม่คอ ่ ยสนใจมาก ถึงจะมีปมด้อยก็ปลีกตัวอยูค ่ นเดียวได้ อ่านหนังสอ ื เรียนหนังสือไป อาศัยตัวโต เลยไม่ค่อยมีใครมาแกล้งถึงตัว ซึ่งถ้ามีบ้างก็สู้ ชกกันก็เอา ซึ่งผม

ก็ไม่ได้ชกเก่งอะไร เพียงแต่เรียนรู้ว่า ชกมวยวัดแบบเด็ก เอาจนยอมกันไปข้าง ไม่มีพักยกนั้น ชกเก่งไม่ส�ำคัญเท่าไหร่หรอก ขอให้ยืนระยะให้อยู่ ออมแรงให้เกินสิบนาทีได้ก็ไม่แพ้แน่นอน (ไม่เชื่อก็ลองสิครับถ้าชกไม่พัก ห้านาทีก็หมอบแล้ว มวยอาชีพเขายังมียกละสามนาทีเลย) ไอ้นิสัยเสียไม่ตามกระแสแบบนี้ของผม ท�ำให้ผมค่อนข้างจะเป็นเด็กที่ไม่ค่อยสุงสิง กับใคร ไม่มีใครอยากคบ ซึ่งตอนนั้นก็ไม่รู้สึกเดือดร้อนอะไร อยูส ่ ันโดษ จมอยูแ ่ ต่ในห้องสมุด จนมาอ่านหนังสือมากขึ้น เข้าใจค�ำว่า Empathy มากขึ้น เลยพอเข้าสังคมได้ในภายหลัง แต่ ไอ้นิสัยไม่ยอมตามกระแสมันยังติดตัวมาจนทุกวันนี้ไม่น้อยเลยครับ

วี​ีรกรรมคราวนั้​้�นของผม เป็​็นจุ​ุดเปราะบางที่​่�สร้​้างปมด้​้อย กั​ับมี​ีส่ว ่ นกำำ�หนดบุ​ุคลิ​ิกผม ไม่​่น้​้อยเลยที​ีเดี​ียว นี่​่�แหละครั​ับ ในวั​ัยเปราะบาง บางครั้​้�งเหตุ​ุการณ์​์เล็​็กๆ แค่​่เหตุ​ุการณ์​์เดี​ียว อาจเปลี่​่�ยนอนาคตคนได้​้เลย พอสิ้นปีผมก็ได้รางวัล เพราะว่าครูเดชเขียนในสมุดพกให้ว่า “เป็นคนรักความยุติธรรม

สมกับเกียรติของลูกเสือ” แต่น่ันแหละครับ มันเป็นรางวัลที่ไม่กล้าไปอวดเพื่อนสักคน

เหตุการณ์ผ่านมาห้าสิบหกปีแล้ว แต่ผมยังจ�ำได้ในแทบทุกรายละเอียดเลยครับ

เขี​ียนโดย: บรรยง พงษ์​์พานิ​ิช (โอวี​ี ๔๔)

75


พี่โรมกับความทรงจ�ำกับ พระยาภะรตราชา พีโ่ รม (ธนากร ทับทิมทอง) เป็น

นักเรียนวชิราวุธ รุน ่ ๔๖ คณะผู้บังคับการ ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นศิษย์รักคนหนึ่งของท่าน

ผู้บังคับการพระยาภะรตราชา ด้วยพี่โรม

สมัยอยูโ่ รงเรียนนั้น เป็นนักรักบี้ฝีมือฉกาจ

ติดรักบี้ทีมชาติต้ังแต่ช้น ั ม.ศ. ๔ เป็น

นักบาสเก็ตบอลทีมโรงเรียนที่หาตัวจับยาก จึงเป็นผู้ท่ผ ี ู้บังคับการจะให้การดูแลเป็น

พิเศษ ครั้งหนึ่งที่พ่โี รมประสพอุบัติเหตุขาหัก

พี่โรมคงเป็นคนเดียวที่พระยาภะรตราชาได้ เมตตาสละรถประจ�ำต�ำแหน่งให้ไปรับไปส่ง

ระหว่างคณะกับตึกเรียน จะได้ไม่ต้องล�ำบาก เดินไปเรียน

ครั้งหนึ่ง อนุมานวสารได้มีโอกาส

สัมภาษณ์พ่โี รมไว้นานแล้ว (ก่อนที่พ่โี รมจะ

จากพวกเราไป) และยังไม่มีโอกาสน�ำมาลง

การลงข้อความของพี่โรมในครั้งนี้จึงถือเป็น

การระลึกถึงโอวีท่ีท�ำชื่อเสียงให้โรงเรียนทาง

76


ด้านกีฬาคนหนึ่ง และเป็นผู้ท่ีมีความทรงจ�ำดีๆ อันมีค่าต่อท่านผู้บังคับการพระยาภะรตราชา ที่ควรค่าต่อการจดจ�ำ

“สมัยก่อนพี่เล่นกีฬาได้ค่อนข้างดีนะ จนได้เครื่องหมายสามารถพิเศษเหนือพิเศษ

และได้รับกระเป๋าจากท่านผู้บังคับการ แต่ด้วยความเกเรของพี่ พี่เลยโดนผู้บังคับการยึด เครื่องหมายอยูบ ่ อ ่ ยครั้ง

“เรื่องเกี่ยวกับผู้บังคับการที่พ่ย ี ังจ�ำได้ดีมีหลายเรื่องนะ”

เข้าคณะใน

“ต้องเริ่มเล่าถึงท่านผู้บังคับการตั้งแต่สมัยพี่เรียนตอน ป.๖ ตอนนั้นเรียนอยูค ่ ณะ

เด็กเล็กสาม พอขึ้น ป.๗ ต้องเลือกเข้าคณะในว่าจะอยูค ่ ณะอะไร เขาจะมีใบมาให้เขียนเลือก คณะ พี่ก็เขียนตามที่อยากเข้านะ อันดับ ๑ จิตรลดา อันดับ ๒ พญาไท อันดับ ๓ ดุสิต ที่พ่ี ไม่เลือกคณะผู้บังคับการเพราะอาหารไม่อร่อย เป็นเรื่องที่รู้กันในสมัยนั้น อีกประการคือ

คณะผู้บังคับการสมัยนั้นมีรุน ่ พี่ท่ีดุดุท้ังนั้น เช่น พี่อภิรมย์ พงษ์หิรัญ เด็กที่จะเข้าเลยขยาด

อีกประการคือคุณพ่อพี่เป็นเพื่อนกับคุณครูอรุณ จึงไปฝากพี่ไว้กับครูเรียบร้อยแล้ว แต่พอ หนังสือเลือกคณะไปถึงมือท่านผู้บังคับการก็ได้เรื่องเลย

“เหตุมันเกิดตอนไปรายงานตัว เด็กเล็กที่จะเข้าคณะในตอนนั้นต้องไปรายงานตัว

กั​ับท่​่านผู้​้�บั​ังคั​ับการที่​่�กองบั​ังคั​ับการ พอเข้​้าไปในห้​้อง ท่​่านก็​็ถามพี่​่�ว่​่า “ชื่​่�ออะไร” พี่​่�ตอบว่​่า

“ชื่​่�อธนากร ทั​ับทิ​ิมทอง ครั​ับ” แล้​้วท่​่านก็​็ถามพี่​่�อี​ีกว่​่า “เธอชื่​่�ออะไร” พี่​่�ก็​็ชัก ั งง แต่​่ก็​็ตอบไปอี​ีก

ว่​่า “ชื่​่�อ ธนากร ทั​ับทิ​ิมทอง ครั​ับ” แล้​้วท่​่านก็​็บอกว่​่าให้​้พูด ู ดั​ังๆ เราเป็​็นลู​ูกผู้​้�ชาย ต้​้องพู​ูด ชั​ัดถ้​้อยชั​ัดคำำ�

“แล้​้วท่​่านก็​็ถามพี่​่�อี​ีกว่​่า แล้​้วเธอเลื​ือกเข้​้าคณะอะไร

พี่​่�ตอบว่​่า “เลื​ือกคณะจิ​ิตรลดาครั​ับ” ท่​่านถามต่​่อว่​่า “ทำำ�ไม

ถึ​ึงเลื​ือกเข้​้าจิ​ิตรลดา” พี่​่�ก็​็ตอบว่​่า “เพื่​่�อนผมทั้​้�งหมดเข้​้าคณะ

จิ​ิตรลดาครั​ับ” ท่​่านก็​็พูด ู ว่​่า “เพื่​่�อนเธอเป็​็นพ่​่อเธอหรื​ือเปล่​่า? เป็​็นญาติ​ิเธอหรื​ือเปล่​่า? เป็​็นพี่​่�เป็​็นน้​้องเธอหรื​ือเปล่​่า?” พี่​่�ก็​็

ตอบว่​่า “ไม่​่ใช่​่ครั​ับ” แล้​้วเธอเลื​ือกตามเพื่​่�อนทำำ�ไม? พี่​่�ก็​็เริ่​่�ม

อึ​ึกอั​ักตอบว่​่า “ผม...อยากเข้​้าครั​ับ” ท่​่านก็​็พูด ู ต่​่อว่​่า “คนที่​่� คิ​ิดอย่​่างเธอนี่​่�น่ะ ่ จะไม่​่เจริ​ิญรุ่​่�งเรื​ืองนะ คนเราต้​้องมี​ีชาติ​ิ... มี​ีตระกู​ูล..มี​ีเผ่​่าพั​ันธุ์​์� ตระกู​ูลเธออยู่​่�คณะอะไร” ผมตอบว่​่า

“คณะผู้​้�บั​ังคั​ับการครั​ับ” ท่​่านก็​็ถามอี​ีกว่​่า “แล้​้วเธอเลื​ือกคณะ จิ​ิตรลดาทำำ�ไม”

พี่​่�โรม

77


“แค่​่นั้​้�นล่​่ะ พี่​่�ก็​็รู้​้�ชะตากรรมแล้​้ว ท่​่านเดิ​ินมาตบไหล่​่พี่​่� แล้​้วบอกว่​่า “คนเรา ถ้​้าไม่​่รู้​้�จั​ัก

รั​ักชาติ​ิ รั​ักตระกู​ูลแล้​้ว แบบนี้​้�อยู่​่�กั​ันไม่​่ได้​้” ที​ีนี้​้�ท่​่านก็​็ถามพี่​่�อี​ีกครั้​้�งว่​่า “เธออยากอยู่​่�คณะอะไร” พี่​่�ก็​็ตอบเสี​ียงอ้​้อมแอ้​้มไปว่​่า “คณะผู้​้�บั​ังคั​ับการครั​ับ” ท่​่านก็​็ยิ้​้ม � นั่​่�นคื​ือครั้​้�งแรกที่​่�รู้​้�จั​ักท่​่านผู้​้�

บั​ังคั​ับการพระยาภะรตราชานะ คื​ือท่​่านสอนเรา ให้​้รู้​้�จั​ักรั​ักชาติ​ิรัก ั ตระกู​ูล และก็​็เป็​็นเหตุ​ุให้​้พี่​่� มาอยู่​่�คณะผู้​้�บั​ังคั​ับการ

รั​ับน้​้องใหม่​่

“พี่ขอเล่าเรื่องตอนเข้าคณะผู้บังคับการต่อนิดนึงนะ ตอนเข้าไปตอน ม.ศ. ๑ คณะ

ผู้บังคับการจะมีการรับน้องใหม่ ตอนนั้นก็มีพ่อ ี ๋ัน (สุรเดช บุญวัฒน์) พี่ต๋อ (อภิรักษ์ อารียมิตร)

ตอนถูกเรียกเข้าไปในห้อง พีอ ่ ๋ันก็เริม ่ ต ็ อบ “ธนากร ทับทิมทอง ่ เลย ถามพีว่ า่ “มึงชื่ออะไร” พีก

ครับ” ดีมาก เอ็งเลือกคณะอะไร พี่ตอบว่า “คณะผู้บังคับการครับ” พี่อ๋ันก็พูดกับพี่ว่า “กูให้

มึงตอบอีกทีนึง ว่าเลือกคณะอะไร” พี่ก็ตอบว่า “คณะผู้บังคับการครับ” พี่เค้าก็พูดอีกว่า

“ให้ตอบอีกครั้ง เป็นครั้งสุดท้าย” ตอนนั้นพี่จะเอะใจ ใครบอกว่ะ ชักเริ่มใจไม่ดี พี่เลยตัดสินใจ ตอบตามความจริงไปว่า “คณะจิตรลดาครับ” แล้วก็โดนถามต่อว่า “ท�ำไมมึงถึงเลือกคณะ

จิตรลดา” ผมก็ตอบเหมือนที่เคยตอบท่านพระยาภะรตว่า “ผมเลอ ื กตามเพื่อนครับ” เท่านัน ้ ล่ะ

ตอนนี้มึงมาอยูค ่ ณะผู้บังคับการแล้ว มึงมีความรักคณะผู้บังคับการหรือยัง ถ้ายัง..พี่เขาก็ให้พ่ี ยืนห่างก�ำแพงพอควร แล้วให้ใช้นิ้วชี้ยันที่ก�ำแพง แล้วก็โน้มตัวเข้าไปจูบก�ำแพง...เรียกว่าจูบ เพื่อแสดงความรักคณะน่ะ

“นั่นคือการรับน้องวันแรกๆ จริงๆ พี่ใจเสียตั้งแต่วันที่เจอผู้บังคับการแล้ว พอเจอรับ

น้องก็ย่งิ ใจเสียเข้าไปใหญ่ บอกตัวเองว่า ทนไปๆ ตอนเด็กพี่ก็รู้ตัวนะว่าถ้าท�ำตัวซ่า น่าจะอายุ ไม่ยืนแน่ ที่คณะมีนักเรียนเป็นร้อย พี่เขาชอบใครรักใครก็จะใช้คนนั้น พี่คงเป็นเด็กที่มีรุน ่ พี่

รักมากกว่าคนอื่น เลยมีรุน ่ พี่มาใช้ให้ซักชุดกีฬา ล้างรองเท้า จนแทบจะทนไม่ไหว ต้องขอให้

เพื่อนมาช่วย เพื่อนพี่ก็ไม่ชว ่ ยเปล่า มาสอนให้ใช้เท้าเหยียบๆ เสื้อรุน ่ พี่เพื่อความสะใจ ก็เป็น

วิธเี อาตัวรอดของพวกเราสมัยเด็กๆ นะ มีเรื่องซวยอยูเ่ รื่องคือ ครั้งนึงพี่เค้าใช้ให้พ่ีซักรองเท้า กีฬา พอดีเป็นหน้าฝน ตากรองเท้ายังไงก็ไม่แห้ง เลยเอารองเท้าไปผิงไฟ ผิงไปผิงมาท�ำหลุดมือ รองเท้าเลยตกไปในเตาอั้งโล่ รองเท้าไหม้ไฟหมดเลย พี่โดนเฆี่ยนเลยหนนั้น ปีแรกๆ นี่โดน

หนักจนอยากจะลาออก แต่ภายหลังมานึกดูแล้ว มันเป็นการฝึกความอดทนนะ อยูบ ่ ้านไม่เคย โดนแบบนี้ อยูใ่ นวชิราวุธนี่ พีว่ า่ ชัน ้ ากที่สด ุ ก็คือชัน ่ หล่ะ ้ ที่ส�ำคัญต่อการเรียนรูม ้ ม.ศ. ๑ นีแ

เป็​็นชั้​้�นที่​่�ฝึก ึ กายและใจอย่​่างมาก ทั้​้�งความอดทน อดกลั้​้�น สอนให้​้เรารั​ักกั​ัน มี​ีความเป็​็นหมู่​่�คณะ คอยช่​่วยเหลื​ือและไม่​่เอาเปรี​ียบซึ่​่�งกั​ันและกั​ัน มั​ันเป็​็นการละลายพฤติ​ิกรรม จากที่​่�เราอยาก ไปอยู่​่�คณะอื่​่�น กลายเป็​็นรั​ักคณะผู้​้�บั​ังคั​ับการขึ้​้�นมาจริ​ิงๆ และรั​ักเพื่​่�อนๆ ที่​่�ร่ว ่ มชะตากรรม เดี​ียวกั​ันด้​้วย คงไม่​่มี​ีโรงเรี​ียนไหนสอนให้​้พวกเราได้​้แบบนี้​้�อี​ีกแล้​้ว

78


ฝึ​ึกภาษาไทยกั​ับพระยาภะรตราชา

“มี​ีอยู่​่�วั​ันหนึ่​่�ง กำำ�ลั​ังเรี​ียนภาษาไทย ท่​่านพระยาภะรตราชาท่​่านเดิ​ินเข้​้ามาในห้​้อง

อาจจะเห็​็นว่​่าห้​้องนี้​้�ชอบรวนครู​ูหรื​ือเปล่​่าก็​็ไม่​่ทราบ วั​ันนั้​้�นครู​ูกำำ�ลั​ังสอนให้​้อ่​่านคำำ�ว่า่

“อายิ​ิโนะโมะโต๊​๊ะ” วั​ันนั้​้�นท่​่านผู้​้�บั​ังคั​ับการเข้​้ามาในห้​้อง ท่​่านเดิ​ินถามที​ีละคนเลย ให้​้แต่​่ละคน อ่​่านคำำ�ว่​่า อายิ​ิโนะโมะโต๊​๊ะ ให้​้ท่​่านฟั​ัง ฟั​ังเสร็​็จ ก็​็จะโดนตบ แล้​้วท่​่านบอกว่​่า “ไอ้​้นี่​่�อ่​่านผิ​ิด”

พอมาถึ​ึงพี่​่� เราก็​็คิด ิ ว่​่าจะอ่​่านยั​ังไงดี​ี ไม่​่ให้​้โดนตบ พออ่​่านอายิ​ิโนะโมะโต๊​๊ะ พี่​่�ก็ว่็ า่ อ่​่านถู​ูกแล้​้วนะ แต่​่ท่​่านก็​็บอกว่​่า ไอ้​้นี่​่�อ่​่านผิ​ิด เลยโดนตบ สรุ​ุปคื​ือทั้​้�งห้​้องไม่​่มี​ีใครอ่​่านถู​ูกสั​ักคน พอตบครบ ทุ​ุกคนแล้​้ว ท่​่านก็​็เดิ​ินออกจากห้​้องไป จนป่​่านนี้​้�พี่​่�ก็​็ยังั ไม่​่รู้​้�เลย คำำ�ว่​่าอ่​่าน อายิ​ิโนะโมะโต๊​๊ะ อ่​่านยั​ังไงถึ​ึงจะถู​ูก.... ฮา

ถ้​้าสอบตก...จะอยู่​่ห � รื​ือจะออก

“พอขึ้​้�น ม.ศ. ๓ พี่​่�ชัก ั จะเริ่​่�มดั​ังเรื่​่�องกี​ีฬา พี่​่�เคยเล่​่นรั​ักบี้​้�ควบเลย รุ่​่�นเล็​็ก รุ่​่�นกลาง รุ่​่�นใหญ่​่

และสมั​ัยนั้​้�น ม.ศ. ๓ ใครคะแนนไม่​่ถึ​ึง ๖๕ เปอร์​์เซ็​็นต์​์ ไม่​่ให้​้ผ่า่ น และส่​่วนใหญ่​่จะลาออกจาก โรงเรี​ียน ตอนนั้​้�นโรงเรี​ียนจะมี​ีใบมาให้​้เขี​ียนอี​ีก ถ้​้าสอบคะแนนไม่​่ถึ​ึง ๖๕ เปอร์​์เซ็​็นต์​์ จะอยู่​่�

ซ้ำำ�ชั้​้�นหรื​ือลาออก พี่​่�เขี​ียนว่​่า “ออก” ถ้​้าสอบตกคะแนนไม่​่ถึงึ ๕๐ เปอร์​์เซ็​็นต์​์ “ออก” ถ้​้าไม่​่ถึงึ

๖๕ เปอร์​์เซ็​็นต์​์ “ออก” พอส่​่งไป ท่​่านผู้​้�บั​ังคั​ับการก็​็เรี​ียกไป ท่​่านพู​ูดว่​่า ที่​่�เขี​ียนอย่​่างนี้​้� ไม่​่เคย สอน ทำำ�ไมเป็​็นคนไม่​่รู้​้�จั​ักบุ​ุญคุ​ุณข้​้าวแดงแกงร้​้อน เขี​ียนอย่​่างนี้​้�แสดงว่​่าไม่​่อยากอยู่​่�ที่​่�นี่​่�เลย ไป ไป ไปเขียนมาใหม่ ไม่อยากอ่าน พรุง่ นี้มาส่ง ผมกลับไปนั่งคิดว่าจะเขียนยังไงดี เอาว่ะ

ไม่ถึง ๕๐ เปอร์เซ็นต์ “อยู” ่ ไม่ถึง ๖๕ เปอร์เซ็นต์ “อยู” ่ พอไปส่ง ท่านบอกว่า แหม ... อย่างนีส ้ ิ

นักเรียนวชิราวุธ ต้องรักโรงเรียน ต้องอยูห ่ มด ตกก็ต้องอยู่ ไม่ตกก็ต้องอยู่ ไม่อยูไ่ ม่ได้ โรงเรียน สอนเธอมาแต่เด็ก โรงเรียนอยากให้เธออยูท ่ ุกคน แต่การที่เธอเขียนแบบนี้ แสดงว่าเธอไม่มีใจ รักโรงเรียน แต่ถ้าเธอเขียนอย่างนี้ผู้บังคับการจะพิจารณาเธอเป็นพิเศษนะ

“พอสอบได้ ๖๕ เปอร์เซ็นต์ ท่านผูบ ้ งั คับการท่านก็ให้พท ่ี ดลองเป็นหัวหน้าตั้งแต่อยู่

ม.ศ. ๔ พอเป็นหัวหน้าก็คิดว่าเท่ห์ เลยเหลิง เพราะเล่นกีฬาเยอะ ตอนนั้นก�ำลังดัง เล่นทั้ง บาสเก็ตบอล และรักบี้ ปีน้ันชนะเลิศหมดทุกประเภท มีครั้งหนึ่งไปแข่งขันรักบี้ประเพณี

กับทีมโรงเรียน Raffles ของสิงคโปร์ ผมเป็นหัวหน้าชุด ก็ชนะมา ตอนนั้นคิดในใจว่าท�ำไม

ผูบ ้ งั คับการไม่แจกเครื่องหมายสามารถนะ เพราะชนะหมดทุกประเภท ปรากฏว่าตอนที่แข่งกับ Raffles เราเสียลูกโทษตอนต้นเกมส์ ถูกน�ำไปก่อน ๓ ต่อ ๐ ท่านผู้บังคับการบอกว่า การเสีย

ลูกโทษลูกนั้น ท�ำให้โรงเรียนเสียชื่อเสียงมาก ไม่สมศักดิ์ศรี ไม่มีความตั้งใจ เลยอดเครื่องหมาย

สามารถเลย ปีน้ันพี่เลยสอบตกเลย.. เล่นเยอะ ฮา อย่างไรก็ตาม ภายหลังท่านผู้บังคับการ

ท่านก็ให้เครื่องหมายสามารถสมบูรณ์ ทั้งรักบี้และบาสเก็ตบอล

79


โดนยึดเครื่องหมายสามารถ

“ปีต่อมาพี่เล่นรักบี้แล้วขาหัก ต้องใส่เฝือก แล้วขอไปนอนตึกพยาบาล ไม่ไปเรียน

หนังสือ ท่านผูบ ้ งั คับการบอกว่าไม่ได้ เธอเรียนอ่อน ท่านผูบ ้ งั คับการเลยให้คนขับรถ ขับรถท่าน ไปรับไปส่งที่หอ ้ งเรียน แล้วท่านเดินไป ผมรูส ้ ก ึ อึดอัด เลยไปเรียนครูอรุณ ครูอรุณเลยให้คนอื่น ไปรับไปส่งแทน

“เหตุท่ีโดนยึดเครื่องหมายสามารถเพราะมีครูท่านหนึ่ง ท่านเป็นทหารชั้นนายพันและ

เป็นครูพิเศษ ท่านมาสอนภาษาอังกฤษทุกวันพฤหัส ผมไม่เคยไปเข้าเรียนเลย แกเลยไม่รู้จักพี่

แต่ด้วยความที่เราขาหัก มีรถรับส่ง เลยต้องไปเรียน พอครูเห็นพี่ครั้งแรก แกก็ถามว่า เราเป็น นักเรียนใหม่เหรอ พี่ก็ท�ำเฉยๆ ไม่ตอบ ทุกคนก็หัวเราะ

“พอเรียนเสร็จ วันนัน ้ งั คับการว่า ท่านรับนักเรียนใหม่เหรอครับ ้ แกก็เลยไปถามท่านผูบ

ท่านผู้บังคับการก็บอกว่า ไม่มี

“แกบอกว่ามี ชื่อ ธนากร เท่านั้นล่ะ รถมารับถึงที่เลย พอไปถึงท่าน ท่านก็พูดเลยว่า

“ไอ้ชาติหมู ไอ้ชาติหมา รูม ้ ย ่ มันกินแล้วก็นอน ชาติหมา ้ั มันเป็นยังไง? ท่านบอกว่า “ชาติหมูเนีย

ก็ไม่รู้จักรับผิดชอบ” ท่านถามพี่ว่า เราอยากเป็นอย่างนั้นหรือ? เอาเครื่องหมายสามารถคืนมา แต่ไม่นานนัก พอเราท�ำตัวดี ท่านก็คืนให้

“หนที่สอง ตอนนั้นไปแข่งรักบี้กับเตรียมทหารที่มาเลเซีย แล้วเราแพ้ ที่แพ้เพราะ

เห็นแก่กิน พี่เป็นหัวหน้าชุดด้วย ก่อนแข่งเขาเอาขนมมาเลี้ยง กินกันจนจุก อ้วกเป็นแถว ท่าน

ผู้บังคับการเดินมาดึงเครื่องหมายสามารถออกไปเลย แล้วบอกว่า เป็นหัวหน้าทีมไม่ท�ำตัวเป็น แบบอย่าง ต้องบอกว่าผู้บังคับการท่านเป็นคนที่มีจิตวิทยาสูงมาก

“บางคนอาจจะถู​ูกท่​่านตบบ้​้างเหมื​ือนอย่​่างเตาน่​่ะ แต่​่ของพี่​่�นั้​้�น การยึ​ึดเครื่​่�องหมาย

สามารถแต่​่ละครั้​้�งเป็​็นการสอนที่​่�มีผ ี ลกั​ับพี่​่�มาก ต้​้องขอขอบคุ​ุณท่​่านผู้​้�บั​ังคั​ับการมา ณ โอกาสนี้​้�”

เขี​ียนโดย: ศรั​ัน ชั​ัยวั​ัฒนาโรจน์​์, ธรรมริ​ินทร์​์ ญาณสุ​ุธี​ี และ วี​ีรประพั​ัทธ์​์ กิ​ิตติ​ิพิบู ิ ูล (โอวี​ี ๘๓)

80


ครูเสรี ปัจจักขะภัติ

เป็​็นเรื่​่�องบั​ังเอิ​ิญมากเมื่​่�อทราบข่​่าว

การจากไปของครู​ูเสรี​ี และกำำ�หนดวั​ันรดน้ำำ� ศพครู​ูเสรี​ีบรรจบกั​ับวั​ันครู​ูในปี​ีนี้​้�

ถ้​้าเอ่​่ยชื่​่�อครู​ูเสรี​ีแล้​้ว ต้​้องนึ​ึกถึ​ึงตั​ัว

ละครที่​่�ยึด ึ โยงความทรงจำำ�สมั​ัยอยู่​่�โรงเรี​ียน ครู​ูเสรี​ี หรื​ือ พ.ต.ท.เสรี​ี ปั​ัจจั​ักขะ

ภั​ัติ​ิ (โอวี​ี ๓๑) เป็​็นนั​ักเรี​ียนเก่​่าอาวุ​ุโสที่​่�

กลั​ับเข้​้ามารั​ับใช้​้โรงเรี​ียนในฐานะผู้​้�กำำ�กั​ับ คณะจิ​ิตรลดาต่​่อจากครู​ูอรุ​ุณ แสนโกศิ​ิก ปรมาจารย์​์กี​ีฬารั​ักบี้​้�

นั​ักเรี​ียนเก่​่าที่​่�ได้​้สัม ั ผั​ัสประสบการณ์​์

ตรงกั​ับครู​ูเสรี​ีน่า่ จะครอบคลุ​ุมตั้​้�งแต่​่โอวี​ี ๖๐ - ๗๘ ตลอดระยะเวลาร่​่วมๆ กว่​่า ๒๐ ปี​ี น่​่า จะได้​้ โดยส่​่วนตั​ัวเจอครู​ูเสรี​ีในช่​่วงเวลา ๗

ปี​ี (พ.ศ. ๒๕๓๗ - ๒๕๔๓) ที่​่�อยู่​่�ภายใต้​้การ

ปกครองระบอบเสรี​ีฯ (ปั​ัจจั​ักขะภั​ัติ​ิ) มี​ีผลต่​่อ ตั​ัวตนและสามั​ัญสำำ�นึ​ึกเด็​็กคณะจิ​ิตรลดาไม่​่ มากก็​็น้​้อย

81


ครู​ูเสรี​ีในภาพสมั​ัยเด็​็กที่​่�ทุก ุ คนกล่​่าว

ถึ​ึงเด่​่นชั​ัดในความเจ้​้าระเบี​ียบ ยึ​ึดมั่​่�นวิ​ินั​ัย

อี​ีกเรื่​่�องที่​่�ขาดไม่​่ได้​้คื​ือวิ​ิธีก ี ารสอน

นอกเวลาเรี​ียน อั​ันที่​่�จริ​ิงแล้​้วระบอบการ

และความตรงต่​่อเวลาสู​ูงมาก เห็​็นได้​้จาก ต่​่อ

ปกครองแบบทหารก็​็ไม่​่ได้​้น่า่ กลั​ัวหรื​ือเลว

ประเภทใดก็​็ตาม ก็​็ไม่​่มี​ีถ้​้วยใบไหนทำำ�ให้​้ครู​ู

ร่​่างกายเสี​ียมากกว่​่า (พอมองย้​้อนกลั​ับไป)

ให้​้ปี​ีไหน คณะจิ​ิตรลดาชนะเลิ​ิศได้​้ถ้​้วยกี​ีฬา เสรี​ีมี​ีความสุ​ุขเท่​่า “ถ้​้วยชนะเลิ​ิศระเบี​ียบ แถว” เพราะใช้​้บลั​ัฟ ผู้​้�กำำ�กั​ับคณะอื่​่�นได้​้ เรื่​่�อยๆ

ครู​ูเสรี​ีจริ​ิงจั​ังมากถึ​ึงขนาดจ้​้างครู​ู

ฝึ​ึกทหารจาก ราบ ๑๑ มาฝึ​ึกให้​้เด็​็กคณะ

จิ​ิตรลดาก่​่อนแข่​่งทุ​ุกปี​ี ฝึ​ึกทุ​ุกกระบวนท่​่า จนถึ​ึงขนาดครู​ูฝึ​ึก รด. ไม่​่มายุ่​่�งพอรู้​้�ว่​่า กองร้​้อยนี้​้�มาจากโรงเรี​ียนอะไร

แม้​้ด้​้านวิ​ิชาการครู​ูเสรี​ีไม่​่ถนั​ัดสอน

แต่​่ก็​็ไม่​่ปล่​่อยให้​้พวกเด็​็กเรี​ียนอ่​่อนขาดคน

ชี้​้�แนะสั่​่�งสอน ครู​ูเสรี​ีจึ​ึงว่​่าจ้​้างครู​ูโรงเรี​ียน

ข้​้างนอกที่​่�รู้​้�จั​ักมาช่​่วยสอนพิ​ิเศษบนศาลา

ริ​ิมน้ำำ�ข้​้างคณะทุ​ุกเย็​็น และแถมรอบพิ​ิเศษ เช้​้ามื​ืดให้​้กั​ับกลุ่​่�มลู​ูกรั​ักที่​่�หน้​้าบ้​้านพั​ัก

เรื่​่�องการสอนความตรงต่​่อเวลานี่​่�โดน

มากั​ับตั​ัว สาเหตุ​ุมาจากวั​ันกลั​ับจากบ้​้านเข้​้า

ร้​้ายอะไรมาก หนั​ักไปทางทรมานทรกรรม ด้​้วยหลั​ักคิ​ิดที่​่�ว่​่า การสั่​่�งลงโทษรุ่​่�นน้​้องจะ

กระทำำ�โดยรุ่​่�นพี่​่�ที่​่�เป็​็นหั​ัวหน้​้าได้​้ตามขอบเขต ที่​่�ครู​ูอนุ​ุญาต อย่​่างไรก็​็ดี​ี ระบบนี้​้�มี​ีข้อ ้ เสี​ียตรง ที่​่� คนตี​ีความวิ​ิธีก ี ารลงโทษ ดั​ันเป็​็นแค่​่เด็​็ก อายุ​ุ ๑๗ - ๑๘ ปี​ี บางคนวุ​ุฒิภ ิ าวะยั​ังไม่​่โต

พอจะยั​ับยั้​้�งชั่​่�งใจได้​้ และหากครู​ูไม่​่สามารถ

กำำ�กั​ับได้​้ดี​ีพอปั​ัญหาไม่​่ควรเกิ​ิดอาจจะตาม

มาได้​้ ส่​่วนข้​้อดี​ีก็​็คื​ือคนที่​่�ผ่า่ นมาได้​้ก็​็จะพบว่​่า

ขี​ีดจำำ�กั​ัดของตั​ัวเองอยู่​่�ตรงไหน จากนี้​้�จะเจอ

อุ​ุปสรรคหนั​ักหนาสาหั​ัสขนาดไหนก็​็น่า่ จะรั​ับ

ได้​้เพราะร่​่างกายมี​ีภูมิ ู ิต้​้านทานแล้​้ว จริ​ิงไหม? วิ​ิธีก ี ารที่​่�ครู​ูเสรี​ีอนุ​ุญาตให้​้ลงโทษได้​้

จะต้​้องไม่​่มี​ีการโดนตั​ัวเด็​็กที่​่�ลงโทษ รู​ูปแบบ เป็​็นการออกกำำ�ลั​ังกายอย่​่างต่​่อเนื่​่�องด้​้วยท่​่า ต่​่างๆ ที่​่�ก่​่อให้​้ปวดเมื่​่�อย เช่​่น วิ่​่�งรอบคณะ,

วิ​ิดพื้​้� น, สะพานโค้​้ง, สควอท และอื่​่�นๆ (ครู​ู

โรงเรี​ียนสาย ครู​ูเสรี​ีจะนั่​่�งรอที่​่�โต๊​๊ะเซ็​็นชื่​่�อ

เล่​่าให้​้ฟังั ในภายหลั​ังจบออกมาแล้​้ว) ครู​ูเสรี​ี

๐๕.๐๐น. พร้​้อมวิ่​่�ง ๒๐ รอบ หน้​้าหอประชุ​ุม

ชิ​ิดมาก ทุ​ุกคื​ืนวั​ันศุ​ุกร์​์ต้​้องลุ้​้�นใจระทึ​ึกเมื่​่�อครู​ู

ถ้​้าใครมาหลั​ัง ๑๙.๐๐ น. พรุ่​่�งนี้​้�เจอกั​ันเวลา

วั​ันถั​ัดมาถ้​้ารายงานตั​ัวตรงเวลาติ​ิดต่​่อกั​ัน

๓ วั​ัน จำำ�นวนรอบที่​่�จะต้​้องวิ่​่�งจะลดลงเหลื​ือ

๑๕, ๑๐ และ ๕ รอบ ก็​็จะพ้​้นโทษ แต่​่ถ้​้ามา

พบรายงานตั​ัวช้​้ากว่​่าเวลา ๐๕.๐๐ น.

แค่​่วิ​ินาที​ีเดี​ียวก็​็ไม่​่ได้​้ ต้​้องกลั​ับไปเริ่​่�มวิ่​่�ง ๒๐ รอบ สถิ​ิติ​ิคนที่​่�โดนวิ่​่�งนานสุ​ุดอยู่​่�ที่​่�สองเดื​ือน

(ถ้​้าจำำ�ไม่​่ผิด ิ )

82

กำำ�กั​ับดู​ูแลเรื่​่�องวิ​ินั​ัยและการลงโทษอย่​่างใกล้​้ เอ่​่ยปากถามหั​ัวหน้​้า “คื​ืนนี้​้�มี​ีอะไรไหม” ถ้​้า

ต่​่อด้​้วย “อย่​่าดึ​ึกเกิ​ินไปนะ” เป็​็นอั​ันว่​่าได้​้เสี​ีย เหงื่​่�อก่​่อนนอน

บรรยากาศในคณะสมั​ัยนั้​้�นก็​็ไม่​่ต่​่าง

จากค่​่ายทหารสั​ักเท่​่าไร เตี​ียงนอนสองชั้​้�น

พั​ัดลมเจ้​้าพายุ​ุ รอยบุ​ุบบนตู้​้�เหล็​็ก ห้​้องน้ำำ�นี่​่� ที่​่�สุด ุ ของความหรู​ูหราหมาเห่​่า ตกแต่​่งแบบ โอเพ่​่นแอร์​์ให้​้ใกล้​้ชิด ิ กั​ับธรรมชาติ​ิมาก ถึ​ึง


กระนั้​้�นสิ่​่�งหนึ่​่�งที่​่�ครู​ูเสรี​ีให้​้ความสำำ�คั​ัญต่​่อ

ความเป็​็นอยู่​่�ของเด็​็กๆ คื​ืออาหารการกิ​ินต้​้อง

ไม่​่พร่​่อง วั​ันไหนชนะเลิ​ิศกี​ีฬาคื​ืนนั้​้�นต้​้องมี​ี

ราดหน้​้าร้​้านมะ ราชวั​ัตร มาเลี้​้�ยงทุ​ุกคนให้​้ ลิ้​้�มรสชาติ​ิของชั​ัยชนะร่​่วมกั​ัน แต่​่ถ้​้าแพ้​้ก็​็รอช่​่องลม

ทุ​ุกคื​ืนก่​่อนเข้​้านอนครู​ูเสรี​ีต้​้องมา

นั่​่�งร่​่วมสวดมนต์​์กั​ับเด็​็ก หลั​ังจากนั้​้�นครู​ูเสรี​ี จะบริ​ิหารเส้​้นเสี​ียงด้​้วยการร้​้องเพลงแนว

รั​ักชาติ​ิยิ่​่ง� ชี​ีพ ทั้​้�งหลายที่​่�มี​ีในเพลย์​์ลิ​ิสต์​์ เช่​่น

“ดวงดาวสกาวหม่​่นอสุ​ุธนสิ​ิหลั่​่�งไหล อาบร่​่าง

คื​ืนก่​่อนหน้​้าวั​ันสำำ�คัญ ั ที่​่�นัก ั เรี​ียนต้​้อง

ไปสอบหรื​ือมี​ีการแข่​่งขั​ัน ครู​ูเสรี​ีจะต้​้องอวย

ชั​ัยให้​้พร โดยร่​่ายบทอาราธนาอั​ัญเชิ​ิญสิ่​่�ง

ศั​ักดิ์​์�สิ​ิทธิ์​์�ทั้​้�งหลายในสากลโลก อั​ันมี​ี พระสยามเทวาธิ​ิราช พระเสื้​้�อเมื​ือง

พระทรงเมื​ือง พระบารมี​ีล้​้นเกล้​้าล้​้น

กระหม่​่อมของทุ​ุกรั​ัชกาล จง...เทอญ

หลายคนคงติ​ิดใจคำำ�อวยพรของครู​ูเสรี​ี จึ​ึง

เชิ​ิญครู​ูเสรี​ีกล่​่าวอวยพรในงานแต่​่งของ

นั​ักเรี​ียนเก่​่าคณะจิ​ิตรลดาอย่​่างไม่​่ขาดสาย

ความทรงจำำ�ถึ​ึงครู​ูเสรี​ีคงมาถึ​ึงบรรทั​ัด

นั​ักรบไทยในพนาแสนอาดู​ูร ...” หรื​ือจะเป็​็น

สุ​ุดท้​้าย ต่​่อจากนี้​้�ไม่​่มี​ีอี​ีกแล้​้ว “อะไรที่​่�ไม่​่ดี​ีให้​้

ช่​่วงไหนใกล้​้งานโรงเรี​ียน ก็​็จะเปลี่​่�ยนเพลย์​์

สุ​ุดท้​้ายก่​่อนวั​ันจบจากโรงเรี​ียนที่​่�ครู​ูเสรี​ีฝาก

“อยุ​ุธยาเมื​ืองเก่​่าของเราแต่​่ก่​่อน...” แต่​่ถ้​้า

ลิ​ิสต์​์เป็​็นเพลงโรงเรี​ียนแทน ทุ​ุกคนต้​้องร่​่วม

ร้​้องด้​้วยกั​ันอย่​่างพร้​้อมเพรี​ียง

ทิ้​้�งไว้​้ ส่​่วนที่​่�ดี​ีให้​้ติ​ิดตั​ัวกลั​ับไป” เป็​็นคำำ�สอน ถึ​ึงนั​ักเรี​ียนที่​่�กำำ�ลังั จะจบจากโรงเรี​ียนทุ​ุกๆ ปี​ี

ขณะร้​้องเพลงด้​้วยใจทะนง ครู​ูจะ

หลั​ับตาร้​้องด้​้วยน้ำำ�เสี​ียงแนวแน่​่ ทรงพลั​ัง

แบบ ลู​ูเซี​ียโน ปาวารอตติ​ิ นั​ักร้​้องโอเปร่​่าชื่​่�อ

ดั​ังชาวอิ​ิตาลี​ี

หมายเหตุกองบรรณาธิการ:–

พ.ต.ท.เสรี​ี ปั​ัจจั​ักขะภั​ัติ​ิ เสี​ียชี​ีวิ​ิตเมื่​่�อวั​ันที่​่� ๑๓ มกราคม ๒๕๖๓ ทางกองบรรณาธิ​ิการขอร่​่วมแสดงความ

เสี​ียใจมา ณ โอกาสนี้​้�ด้​้วย

เขี​ียนโดย: กิ​ิตติ​ิเดช ฉั​ันทางกู​ูร (โอวี​ี ๗๓)

83


ดร. ไนล์

เรย์ สโปลสตร้า ตอน ‘ดร.ไนล์’ หรืออาจารย์ไนล์ เรย์

สโปลสตร้า (Nyle Spoelstra) เข้ามาสอน

ภาษาอังกฤษและเป็นหัวหน้าแผนกภาษา

ต่างประเทศที่วชิราวุธวิทยาลัยในสมัยของ

ผู้บังคับการ ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช นั้น เรา ก็รู้สึกว่าท่านแก่มากอยูแ ่ ล้ว

อายุจริงท่านจะเท่าไหร่ ไม่มีใคร

ไปค้น แต่ล�ำพังคิ้วและเคราขาวดุจหิมะซึ่ง พริ้วไหวในสายลมของโรงเรียน ตัดกันกับ

บริเวณศีรษะซึง่ แทบไม่มอ ี ะไรไหวติงของท่าน ก็บง่ บอกได้ถมเถถึงอาวุโสและปรีชาญาณ ของโบราณาจารย์ แบบที่ถ้านุ่งห่มรุม ่ ร่าม

เสียหน่อย คงไม่ยากที่จะมองเป็นปราชญ์

พีธากอรัส หรือไม่ก็เซนต์ฟรังซิสแห่งอัสซีซี อย่างไรก็ตาม ในชีวิตจริง ดร.ไนล์

ห่างไกลจากค�ำว่ารุม ่ ร่าม เพราะท่านเป็น

อาจารย์ท่ีเรียบร้อยอย่างยิ่ง วิธค ี ่อยพูดค่อย เดินของท่านท�ำให้เกิดความรู้สึกว่าตัวขาว

84


ประจุดนั้นเป็นจังหวะที่เร่งมากเกินพออยูแ ่ ล้วส�ำหรับทุกสถานการณ์ และเครื่องแต่งกายที่เห็น จนเจนตาคือเสื้อเชิ้ตแขนยาวสีอ่อนทับในกางเกงสแล็คสีเข้มแทบตลอดปี ดังนั้น ไม่ต้องเอาถึง

ขั้นรุม ่ ร่าม ตลอดหกปีท่ีเรียน แทบไม่มีใครเคยเห็น ดร.ไนล์ใส่เสื้อยืดหรือกางเกงขาสั้นหรือเสื้อ

สีจัดไม่ว่าในโอกาสใดๆ เมตตา

อาภรณ์เดียวของท่านที่เหมือนกับปวงปราชญ์ในอดีต ดูจะมีเพียงปัญญาและความ

๑.

เริม ่ ที่ปัญญาคุณของท่านก่อน ยากจะรู้ว่า ดร.ชัยอนันต์ หวังผลอะไรจากการจ้าง ดร.ไนล์มาเป็นหัวหน้าแผนก

ภาษาอังกฤษ แต่ถ้าเพียงเพื่อมาสอนให้นักเรียนแยกความแตกต่างระหว่าง Present Simple, Present Continuous หรือ Present Perfect Tense หรือวิธก ี ารใช้ Gerunds กับ If Clause นัน ้ ย่อมนับว่า ดร.ชัยอนันต์จ้างมาแบบเผื่อเหลือไว้มาก

เพราะ ดร.ไนล์​์นั้​้�น ไม่​่เพี​ียงเป็​็นฝรั่​่�งอเมริ​ิกั​ันแท้​้จากมิ​ิดเวสต์​์ของอเมริ​ิกา (ดิ​ิกชั​ันนารี​ี

ที่​่�ท่​่านเลื​ือกให้​้เราใช้​้เป็​็นหลั​ักคื​ือ The American Heritage) แต่​่คุณ ุ วุ​ุฒิข ิ องท่​่านยั​ังล้​้นซี​ีวี​ีด้​้วย

ปริ​ิญญาเอกเศรษฐศาสตร์​์ ด้​้านสถิ​ิติ​ิ จากมหาวิ​ิทยาลั​ัยวิ​ิสคอนซิ​ิน ท่​่านเคยเป็​็นทั้​้�งโปรเฟสเซอร์​์ ในมหาวิ​ิทยาลั​ัยอิ​ินเดี​ียนน่​่าที่​่�สหรั​ัฐฯ และผู้​้�บริ​ิหารของบริ​ิษั​ัทเซอร์​์เวย์​์และรี​ีเสิ​ิร์ช ์ หลายแห่​่ง

กระทั่​่�งสยามสมาคมอั​ันเรื​ืองเกี​ียรติ​ิยศ ดร.ไนล์​์ก็เ็ คยเป็​็นผู้​้�อำำ�นวยการบริ​ิหาร ไม่​่ใช่​่เรื่​่�องประหลาด

ที่​่�ท่​่านจะพู​ูดถึ​ึง Richard Feynman, John Galbraith เรื่​่�อยไปจนกรมพระยาดำำ�รงฯ กั​ับ

จอมพลสฤษดิ์​์�ได้​้ง่​่ายดายกลมกลื​ืนในโอกาสเดี​ียวกั​ัน

ยิ่งกว่านั้น ทั้งๆ ที่เรียนมาจนสุดระยะสถาบันอยูแ ่ ล้ว ดร.ไนล์ก็ยังเรียนอยูต ่ ลอดและ

เป็นนักอ่านแบบที่หาเทียบทันยาก

แน่นอนว่าข้อเท็จจริงนี้เราย่อมไม่อาจประเมินเอาเอง เหมือนเชือกผูกรองเท้ามิอาจ

หยั่งความลึกแห่งพระสมุทร อันที่จริง ส�ำหรับเด็กมัธยมยุคก่อนเน็ตฟลิกซ์และสมาร์ทโฟน

การฟังภาษาสวยๆ อุดม cultural references ของ ดร.ไนล์ให้ปรุโปร่งโดยไม่มีซับไตเติ้ลนี่ก็

เป็นเรื่องได้ครึ่งทิ้งครึ่งอยูแ ่ ล้ว

อย่างไรก็ตาม ที่รูแ ้ น่ชด ั ก็เพราะครัง้ หนึ่งต้องไปช่วยท่านขนของตอนท่านย้ายห้องพัก

ช่วงปิดเทอม จึงได้พบว่าในห้องพักสามสิบกว่าตารางเมตรของท่านนั้น ก็เหมือนห้องสมุด

อีกแห่งของโรงเรียนนั้นเอง เพราะเว้นไว้แต่เตียง โต๊ะ กับทางเข้าห้องน้�ำ ส่วนอื่นๆ ของห้อง

นั้นเต็มไปด้วยหนังสือ ไม่ว่าบนชั้น บนโต๊ะ บนเก้าอี้ หรือแม้กระทั่งกองกึ่งระเนระนาดกึ่งพิง

85


ก�ำแพงอยูโ่ ดยทั่วๆ ไป จะเดินเหินต้องใช้ค�ำว่า ‘แหวก’ ความรู้ท่วมหัวเข้าไปเหมือนโมเสส แหวกทะเลแดง หรือบางทีก็ต้องก้าวข้ามไปเลย เพราะถือว่า (ครู) ฝรั่งคงไม่ถือ

แต่ท่ีน่าประทับใจกว่าจ�ำนวนหนังสือ ก็คือความสนใจหลากหลายของ ดร.ไนล์

เรื่องหนังสือเกี่ยวกับการเรียนการสอนหรือการจัดหลักสูตรนั้นไม่ต้องพูดถึงอยูแ ่ ล้ว

เช่น พวกหนังสือ Oxford Kaplan SAT TOEFL หรือวรรณคดีคลาสสิกอะไรพวกนี้ แต่ท่ี

น่ากลัวคือสาขาวิชาอื่นๆ ซึ่งกว้างขวางหาคะเนมิได้ (แต่ล้วนอเมริกัน) ที่พอยกเป็นตัวอย่าง

พอให้เห็นภาพ ก็เช่น Chaos ของ James Gleick, The Best and the Brightest ของ David

Halberstam, Letter from America ของ Alistair Cooke, Late Night Thoughts on Listening

to Mahler’s Ninth Symphony ของ Lewis Thomas, A River Runs Through It ของ Norman Mclean, หนังสือนิยายไม่ว่า Hawaii, Alaska, South Pacific ของ James Michener, หนังสือ ชีวประวัติหลายเล่มของ David McCullough หนังสือเกือบทุกเล่มของปรมาจารย์สารคดี John McPhee

และที่จ�ำได้ติดตาที่สุดก็คือ Idle Hands: The Social History of American Knitting

หนาห้าร้อยกว่าหน้า ซึ่งต่อให้ไม่ต้องใส่บา่ แบกหาม จนบัดนี้ก็ยังไม่เห็นเหตุว่า ดร.ไนล์จะอ่าน ไปท�ำไม

แน่​่นอนเราไม่​่กล้​้าถามท่​่าน แต่​่หากจะมี​ีสิ่​่ง� ใดเป็​็นคำำ�ตอบสำำ�หรับ ั คำำ�ถามนั้​้�น คิ​ิดว่​่าคง

ไม่​่หนี​ีไปจากอี​ีเมล์​์หานั​ักเรี​ียนฉบั​ับหนึ่​่�งของ ดร.ไนล์​์ ตั้​้�งแต่​่ปี​ี ๒๐๐๖ ซึ่​่�งพู​ูดถึ​ึง ‘การศึ​ึกษาที่​่�แท้​้’ ไว้​้บางส่​่วน

“We learn about ourselves and the world in which we live in many ways.

We may learn from something we’ve read: a book, or a short essay or column, or a quotation from someone famous or not so famous. We may learn from something

we’ve seen or heard: a painting or a photograph; a sculpture or other art work; a movie or a play; or a musical composition or popular song. We learn from relationships

(whether happy or not) with other people. We learn both from “serious” things and from things that are simply fun to know or to do.”

เลยท�ำให้รู้ว่าหนังสือของ ดร.ไนล์ท่ีเราเห็นว่ามากมายก่ายกองนั้น เอาเข้าจริงคงเป็น

เพียงผักชีโรยหน้าส่วนน้อย เมื่อเทียบกับ ‘การศึกษาที่แท้’ ของท่าน ซึ่งเกิดขึ้นจากทุกสิ่ง

86


๒. เมื่อเห็นอย่างนี้ ไม่น่าแปลกใจที่นอกจากงานแผนกภาษาต่างประเทศที่ท่านเป็น

หัวหน้าแผนกแล้ว ดร.ไนล์ยงั เป็นก�ำลังส�ำคัญของ ดร.ชัยอนันต์ในงานวิเทศสัมพันธ์หลากหลาย

เช่น การท�ำโครงการกับสถาบันมิลวอคกี้ โครงการกับวิทยาลัยเอดจ์วูด การส่งเด็กไปอินเทิร์น ที่สถาบันสมิธโซเนียนในสหรัฐฯ ดร.พอล เทเลอร์ ไดเรกเตอร์ของแผนกประวัติศาสตร์

วัฒนธรรมเอเซียที่น่ัน ก็ยังชื่นชม ดร.ไนล์ มากว่าเป็น Erudite หรือ ‘ผู้เจนจบ’​ทั้งที่ตัว

ดร.พอลเองที่พูดได้แปดภาษา และแตกฉานวัฒนธรรมบาหลี ปัญจาบ ลาดักห์ เกาหลี ไทย เติร์กเมนิสถาน ฯลฯ ก็น่าจะเผ่าพันธุเ์ ดียวกัน

การตระหนักถึงพิสดารแห่งปัญญาคุณของ ดร.ไนล์ยังท�ำให้พลอยมองทะลุได้ไปถึง

เมตตาคุณซึ่งยิ่งใหญ่ไปกว่านั้นของท่านที่สู้ใช้เวลาชีวิตและความสามารถมาสอนเด็กมือห่าง ตีนห่างอย่างพวกเรา

ดร.ไนล์ อาจไม่ใช่ครูท่ีเฮฮาที่สุดในการสอน (ท่านเองยังยกตัวอย่างตัวเองเพื่อสอน

ค�ำศัพท์หายากว่า soporific ซึง่ แปลว่าชวนสัปหงก) กระทั่งพูดท่านก็ยงั พูดแต่นอ ้ ยค�ำ ท่ามกลาง สรรพปัญญาอันน่าเกรงขามของท่าน ไม่วา่ ในวงของครูหรือวงของนักเรียน เรากลับมักเห็นท่าน เป็นฝ่ายฟังมากกว่าบรรยาย

จะว่าฟังแบบนึกด่าในใจก็ไม่ใช่ เพราะจ�ำได้ว่าแม้ในช่วงหลังยุค ดร.ชัยอนันต์ท่ีท่านมี

ข้อขัดแย้งกับฝ่ายบริหารเรื่องแนวทางการศึกษาที่ดีจนถึงกับลาออก ท่านก็ไม่เคยเอาความเห็น ที่ท่านไม่ชอบมากระทบกระเทียบแดกดัน แต่ท่านใช้ค�ำว่าเป็น ‘difference of opinions’ ซึ่ง ผมว่าเป็นค�ำที่ไม่เพียงเปี่ยมด้วยขันติธรรมแต่ยังรวมถึงความผ่าเผยแห่งเมตตา

ส�ำคัญที่สุดคือ แม้ ดร.ไนล์ จะ ‘over-qualified’ ไปมากส�ำหรับคาบเรียนภาษาอังกฤษ

ของมัธยม แต่เราไม่เคยรูส ้ ก ึ ว่าท่านมาสอนแบบฆ่าเวลา รูท ้ ้ังรูว้ า่ เราฟังท่านออกบ้างไม่ออกบ้าง ท่านก็ยังเพียรตักน้�ำนมรดหัวตอหวังให้เรางอกงามเต็มตามภูมิความรู้ ไม่ร�ำคาญ ไม่หงุดหงิด ไม่เคยสันนิษฐานว่าสอนมากไปจะ ‘เสียของ’ เคยเปิดดิกฯ แล้วงงเรื่องความต่างระหว่าง

ethics กับ morals จึงไปถามท่าน ท่านตอบกลับมาว่าอะไรจ�ำไม่ได้ แต่จ�ำได้ว่าหลังจากนั้นวัน สองวันท่านปรินต์เอกสารจากสารานุกรมกลับมายีส ่ บ ิ สามสิบแผ่นที่มเี ท้าความไปถึงอริสโตเติ้ล หรือถ้�ำของเพลโตอะไรอย่างนั้นไปเลย

อันที่จริงตลอดหลายปีท่ีเรียนกับท่านเหมือนมีครั้งเดียวที่เห็นท่านโมโห

คื​ือตอนมั​ัธยมปลายที่​่�มี​ีคาบให้​้เรี​ียนเองหรื​ือให้​้เขี​ียนเรี​ียงความอะไรสั​ักอย่​่าง และ

เพื่​่�อนคนหนึ่​่�งฉวยโอกาสตอนที่​่� ดร.ไนล์​์ทิ้​้�งเราไว้​้ให้​้อ่​่านหรื​ือเขี​ียนหนั​ังสื​ือไปล็​็อคประตู​ูห้​้องและ เอาซี​ีดี​ีหนั​ังโป๊​๊ที่​่�ได้​้มาจากห้​้างพั​ันธุ์​์�ทิ​ิพย์​์มาเปิ​ิดกั​ับที​ีวี​ีที่​่�มี​ีอยู่​่�ในห้​้องเพื่​่�อดู​ูร่ว ่ มกั​ันยกคลาสเป็​็น

87


ปฐมทั​ัศน์​์ จะด้​้วยสมาธิ​ิหรื​ือความซาบซ่​่านเหนี​ียวแน่​่นเป็​็นเอกั​ัคคตาของผู้​้�ชมก็​็ตาม ดร.ไนล์​์แก กลั​ับมาตอนไหนไม่​่มี​ีใครรู้​้�

จนทุกวันนี้ ทั้งห้องที่ได้ดูหนังโป๊วันนั้นยังจ�ำได้ถึงเสียงทุบประตูห้อง ปัง! ปัง! ปัง! ของ

ดร.ไนล์ พร้อมพากย์ภาษาอังกฤษที่เราฟังรู้เรื่องชัดเจนครบทุกค�ำว่า “Open the Door!” นึกแล้วก็สงสารท่าน

อาชีพครูปกติก็แห้งแล้งอยูแ ่ ล้ว ปีๆ หนึ่งต้องเคี่ยวกร�ำทุ่มเทแรงใจสอนเด็กไม่รู้เท่าไร

สุดท้ายปลายปี เด็กก็ย้ายชั้นย้ายโรงเรียนหายไปหมด แต่อาชีพครูฝรั่งอาจจะแห้งแล้งได้

ยิ่งกว่านั้น เพราะภาษาท�ำให้ความรู้ความเมตตาของท่านที่ให้มาต้องติดอยูท ่ ่ีคอขวดคือสมอง

กับรูหูเรา ท่านอาจจะเทมามากแต่เราก็รับได้เท่าที่เราเข้าใจ

คิดดูท่านสอนเรื่องอะไรลึกซึ้งเท่าไหร่ต่อเท่าไหร่ วรรคทองที่ค้างอยูใ่ นขวดกลับมีแต่

“Open the Door!” เท่านั้น

คนไทยเราเปรียบเอาไว้ว่าครูเหมือนเรือจ้าง ซึ่งไม่ใช่ว่าจะน่าปรารถนาเท่าไหร่อยูแ ่ ล้ว

เพราะโดยวิสย ั เรือจ้าง เมื่อถึงฝั่ ง คนก็ไปทาง เรือก็ไปทาง เผลอๆ คนขึน ื ้ ฝั่งต้องเอาเท้ายันหัวเรอ ตอนจะไต่ขน ้ึ ท่าหรือตลิง่ อีกต่างหาก แต่สว่ นตัวคิดว่างานครูยงั เหนื่อยยากและยาวนานกว่านัน ้

น่าจะเหมือนคนที่ปลูกต้นไม้เลี้ยงให้โต แต่จะไม่มีวันได้กินผล

หนักกว่านั้นเข้าไปอีก คือไม่ได้เป็นแม้แต่คนปลูก แต่เป็นปุ๋ย

ปุ๋ยที่ยอ ่ ยสลายตัวเองทุกวันๆ เพื่อส่งต้นไม้ให้เติบใหญ่แทงยอดจนคาคบสูงห่างดินไป

เรื่อยๆ และในที่สุดก็ลืมปุ๋ยไว้ใต้เงา ทั้งที่ความจริง ปุ๋ยนั้นคือธาตุท่ีไม้ยอ ่ มได้ดูดซับเลี้ยงตนอยู่ ตลอด ตราบจนวันสิ้นสุดความเป็นไม้ ไม่ว่าจะรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว

๓.

ตอนนี้​้� ดร.ไนล์​์ป่​่วยเป็​็นปอดอั​ักเสบขั้​้�นรุ​ุนแรง ผสมผสานไปกั​ับอาการต่​่อมลู​ูกหมาก

กระเพาะลำำ�ไส้​้ และดวงตาที่​่�รวนเรอยู่​่�ด้​้วยเรื่​่�องต่​่างๆ กั​ัน ไม่​่น่า่ เชื่​่�อว่​่าครู​ูที่​่�เราพบเจอตอนท่​่าน

แก่​่มากอยู่​่�แล้​้ว บั​ัดนี้​้�ยังั แก่​่ได้​้มากเข้​้าไปกว่​่านั้​้�นอี​ีกมาก ภาระของท่​่านที่​่�เคยมี​ีแต่​่นัก ั เรี​ียน ถู​ูกแทน ด้​้วยถั​ังออกซิ​ิเจน ท่​่ออาหาร ท่​่อปั​ัสสาวะ และยาอี​ีกเป็​็นกอบ ในขณะที่​่�ลมหายใจตั​ัวขาวที่​่�เรา

เคยเห็​็นว่​่าเนิ​ิบนาบเหลื​ือเกิ​ิน ตอนนี้​้�กลั​ับเร่​่งถี่​่�เป็​็นเขบ็​็ต เพราะปอดเท่​่าที่​่�เหลื​ืออยู่​่�และเสมหะ ไม่​่ทำำ�ให้​้ท่​่านหายใจได้​้อิ่​่�มอี​ีกต่​่อไป

สิง่ เหล่านี้ไม่มีอะไรเกินความคาดหมายส�ำหรับวัยและพยาธิสภาพดั้งเดิมของนักสูบ

อย่างท่าน (ไม่ได้เปรียบเปรยเกินจริง ผนังห้องพักของท่านที่โรงเรียนตลอดจนเพดานและ

คีย์บอร์ดคอมพิวเตอร์ล้วนเป็นสีชาด้วยนิโคติน และหนังสือทุกเล่มของท่านมีกลิ่นโทแบคโก

ฉุนกว่าทอม ฟอร์ด) แต่ในขณะเดียวกันมันก็ไม่ได้ท�ำให้อะไรง่ายขึ้นส�ำหรับท่านหรือพวกเราที่

88


ไม่รู้จะช่วยท่านยังไง สถานการณ์โควิดท�ำให้ได้แต่ส่ังน้องสาวท�ำเค้กดาร์คช็อคเนื้อนิ่มซึ่งเป็น

ของไม่ก่ีอย่างที่ท่านอยากกินส่งไปให้ ซึ่งดีใจว่าท่านเรียกกินเป็นของหวานทุกมื้อเย็น แม้จะกิน ได้ทีละไม่ก่ีครึ่งค่อนค�ำ

ล่าสุดจากที่คุยกับครูเป็ด ภรรยาสุดแกร่งของท่านที่ต้องทั้งสอนหนังสือและดูแลสามี

ไปพร้อมกันด้วยตัวคนเดียว ดร.ไนล์ก�ำลังต้องแอดมิทอีกรอบหลังจากที่เพิ่งออกมา เพราะ

ร่างกายดื้อยาฆ่าเชื้อ ในคืนวันเหล่านี้ท่ีความคิดของท่านมักถูกบดบังด้วยฤทธิย ์ าและปัจจัย รุมเร้าจนคิดว่าตัวเองอยูอ ่ เมริกาหรือไม่ก็สนามบินอยูบ ่ อ ่ ยๆ ค�ำสั่งของท่านในชั่วโมงที่เป็น

ตัวเองคือให้ครูเป็ดเอาเค้กช็อคที่ท่านรู้ว่ายังกินไปไม่ได้เท่าไหร่ไปแจกจ่าย เพราะรู้ว่าจะไม่ได้ กลับบ้านอีกหลายวัน

เคล็ดลับความเป็นครูของ ดร.ไนล์อาจเป็นเรื่องอย่างนี้เอง มันไม่ได้อยูก ่ ับการเก็บดอก

เก็บผล หรือการเก็บค่าจ้างค่าเรือได้ค้ม ุ ค่ามาตั้งแต่ต้น

แต่คือการให้ไปเรื่อยๆ ตราบเท่าที่ยังมีอะไรจะให้เท่านั้น

ด้​้วยศั​ักดิ์​์�ศรี​ีแบบฝรั่​่�งและความขี้​้�เกรงใจ ดร. ไนล์​์อาจไม่​่มีวัี ันเอ่​่ยปากเรื่​่�องเงิ​ินทองด้​้วยตั​ัวเอง

แต่​่ค่​่าใช้​้จ่​่ายด้​้านการรั​ักษาของ ดร.ไนล์​์นั้​้�น มี​ีเป็​็นจำำ�นวนมากด้​้วยหลายโรคระบบภายในที่​่�

เรื้​้�อรั​ังมานาน ในขณะที่​่�ท่​่านไม่​่มีส ี วั​ัสดิ​ิการ หรื​ือประกั​ัน จึ​ึงได้​้ปรึ​ึกษาครู​ูเป็​็ดภรรยาท่​่านเพื่​่�อ

เอาหมายเลขบั​ัญชี​ีมาโพสต์​์ไว้​้ในที่​่�นี้​้�ด้​้วย เชื่​่�อว่​่าหากได้​้ดูแ ู ลให้​้เวลาช่​่วงนี้​้�ของท่​่านสบายตั​ัว

ขึ้​้�นได้​้อี​ีกสั​ักหน่​่อย ความสบายใจน่​่าจะเป็​็นของพวกเราเอง

บั​ัญชี​ีธนาคารกรุ​ุงไทย เลขบั​ัญชี​ี ๙๘๒๖๔๖๗๕๔๕

ชื่​่�อบั​ัญชี​ี น.ส.ขวั​ัญใจ คุ​ุณทะวงษ์​์ หรื​ือนายไนล์​์ เรย์​์ สโปลสตร้​้า

เขี​ียนโดย: ธนกร จ๋​๋วงพาณิ​ิช (โอวี​ี ๗๗)

89


90


ทรัพย์สินพระราชทาน ส�ำหรับวชิราวุธวิทยาลัย

วันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๓ เป็นวันครบ

(ผมเข้าใจว่าเป็นโรงเรียนแรก) โดยใส่ชื่อเจ้าของ

ที่ ล้ น เกล้ า รั ช กาลที่ ๖ พระบาทสมเด็ จ

เจ้าอยูห ่ วั ” ซึ่ง ผมคิดว่าจนปัจจุบน ั ยังไม่มก ี าร

รอบร้อยสิบปีของโรงเรียนวชิราวุ ธวิ ทยาลัย

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห ่ ัว พระราชทานทรัพย์

จัดตั้งขึ้นในนาม “โรงเรียนมหาดเล็กหลวง” เมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๔๕๓ หลังจากทรง

ครองราชย์ ไ ด้ แ ค่ ส องเดื อ น โดยมี พ ระราช ประสงค์ ให้เป็นการแทนการสร้างวั ดประจ�ำ

โรงเรียนว่า “พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า

เปลี่ยนแปลงนามเจ้าของโรงเรียนเลยตลอด ๙๕ ปี หลังจากสวรรคต

ในช่วงกลางรัชกาล ทรงมีพระราชด�ำริ

ที่ จะย้ายโรงเรียนราชวิ ทยาลัยที่ รัชกาลที่ ๕

ทรงตัง้ ขึน ่ ท ่ี งุ่ ศาลาแดง ้ จากบางขวาง ให้มาอยูท

รัชกาล ซึ่งต่อมาพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า

ในที่ดินที่ทรงให้กระทรวงธรรมการจัดหา แต่

ราชวิ ท ยาลั ย และโรงเรี ย นมหาดเล็ ก หลวง

๑๑๑ ไร่ ๑ งาน ๔๘ ตารางวา ให้เป็นสมบัติ

เจ้าอยูห ่ วั รัชกาลที่ ๗ ทรงโปรดให้รวมโรงเรียน เชี ย งใหม่ เ ข้ า มาด้ ว ยแล้ ว พระราชทานนาม ใหม่ เ ป็ น “วชิ ร าวุ ธ วิ ท ยาลั ย ” เป็ น พระราช

อนุสาวรีย์ให้พระเชษฐาธิราช

ในปี ๒๔๖๑ ล้ น เกล้ า รั ช กาลที่ ๖

ได้ ท รงโปรดให้ ต รา พรบ. โรงเรี ย นราษฎร์ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารศึ ก ษาโดยเอกชน ทรง

ให้ โ รงเรี ย นมหาดเล็ ก หลวงเข้ า จดทะเบี ย น

ต่อมาไม่มีการย้าย จึงทรงพระราชทานที่ดิน ของโรงเรียนมหาดเล็ กหลวง โดยให้โอนชื่อ ในโฉนดจากกระทรวงธรรมการมาเป็นชื่อของ

โรงเรียนมหาดเล็กหลวงในวันที่๑๘สิงหาคม ๒๔๖๒ โดยทรงระบุให้น�ำรายได้ (ซึ่งตอนแรก

เป็นค่าเช่าท�ำนา) มาบ�ำรุงกิจการของโรงเรียน เรื่อยมา

91


ที่ ดิ น แปลงนี้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของที่ ดิ น

การจั ด การทรั พ ย์ สิ น วชิ ร าวุ ธ โดย

แปลงใหญ่ในบริเวณที่เรียกว่า “ทุ่งศาลาแดง”

ส�ำนักงานพระคลังข้างที่น้ัน มีเรื่องแปลกมาก

ที่ดินส่วนของโรงเรียนเริ่มตั้งแต่ท่ีเป็น Pen-

มาก แม้แต่กรรมการอ�ำนวยการของโรงเรียน

๑ ๒ ๓ ทั้ งหมด ไปจนสุดแปลงที่ เป็น AUA

อะไรบ้าง มีผลประโยชน์ มีเงิ นสด มีหุ้นอยู่

ตั้งแต่ราชประสงค์ไปจนถึงสวนลุมพินท ี ้ังหมด insular Plaza รวมทั้งในซอยมหาดเล็กหลวง

คือ ส�ำนักงานพระคลังข้างที่ถือเป็นความลับ

ก็ ไ ม่ ไ ด้ รั บ รายงาน ไม่ ท ราบว่ า มี ท รั พ ย์ สิ น

โดยที่แปลงถัดไปพระราชทานให้เจ้าพระยา

เท่าไหร่ก็ไม่เคยเปิดเผย ทางโรงเรียนขอทราบ

สารสิน) ถัดไปก็เป็นทุ่งกว้างเนื้อที่ ๓๖๐ ไร่ท่ี

โครงการอยากใช้เงินก็ให้ท�ำเรื่องขอมา ทาง

รามราฆพ (ซึ่ ง ต่ อ มาได้ ข ายไปและตั ด ถนน

พระราชทานให้จัดงานแสดงสินค้า “สยามรัฐ

พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ” และได้ ท รงก�ำหนดว่ า หลั ง งาน

ให้ เ ป็ น สวนสาธารณะส�ำหรั บ ประชาชน

พระราชทานชื่อไว้ ว่า “สวนลุมพินี” แต่ น่า เสียดายที่เสด็จสวรรคตเสียก่อนก�ำหนดเปิด งานเพียงไม่กี่วันจึงยกเลิกงานไป แต่ล้นเกล้า

รัชกาลที่ ๗ ก็ทรงจัดการให้เป็นไปตามพระราช

ประสงค์

รายละเอี ยดก็ ไ ม่ ไ ด้ ได้ รับ แจ้ งเพี ยงว่ า ถ้ า มี

พระคลังข้างที่จะพิจารณาตามสมควร ซึ่งใน อดี ต ก็ มี ก ารขอเรื่ อ ยมาและได้ รั บ เงิ น ตามที่

ขอตลอดมา มี ก ารก่ อ สร้ า งถาวรวั ต ถุ ต่ า งๆ

รวมทั้ ง มี เ งิ น อุ ด หนุ น รายปี เพื่ อ ชดเชยการ

ที่ โรงเรียนเก็บค่ าเล่าเรียนและกินอยู่ต่�ำกว่ า ต้นทุนอย่างมากตลอดมา (วชิราวุธฯ เก็บเงิน ต่อคนประมาณปีละ ๑๕๐,๐๐๐ บาท ขณะที่

ค่าใช้จ่ายต่อปีมากกว่าสี่แสนบาทต่อนักเรียน

การจัดการที่ดินและผลประโยชน์ของ

หนึ่งคน) เรียกได้ว่าเด็กนักเรียนทุกคนได้รับ

ตลอด จนแม้หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง

เมื่อคราวทีโ่ รงเรียนจัดฉลองครบร้อยปี

โรงเรียนนั้น เป็นภาระของพระคลังข้างที่มา

ก�ำไรจากทรัพย์พระราชทานส่วนนี้มาตลอด)

ทรัพย์สินส่วนใหญ่ของรัฐและสถาบันโอนไป

เมื่​่�อสิ​ิบปี​ีก่​่อน (ปี​ี ๒๕๕๓) ได้​้มี​ีการระดมทุ​ุน

และพระคลั ง ข้ า งที่ ถู ก ลดระดั บ ลงมาเป็ น

พรรคพวกชาว “อนุ​ุ ม านวสาร” ด้​้ ว ยความ

อยู่กับกระทรวงการคลังและสนง.ทรัพย์สินฯ

เพื่​่� อสร้​้ า งอาคารวชิ​ิ ร าวุ​ุ ธ ร้​้ อ ยปี​ี ผมและ

ส�ำนักงาน สังกัดอยู่ในส�ำนักพระราชวัง แต่ก็

สนั​ับสนุ​ุนของ ศ.ดร.ชั​ัยอนั​ันต์​์ สมุ​ุทวณิ​ิช อดี​ีต

ซึ่ ง เท่ า ที่ผ มทราบ ส�ำนั ก งานพระคลั ง ข้ า งที่

บางคน เช่​่น คุ​ุณวิ​ิโรจน์​์ นวลแข ม.ล.ชั​ัยนิ​ิมิ​ิตร

วชิราวุธกับเจ้านายฝ่ายในไม่กี่พระองค์ เช่น

โครงการที่​่�เราเรี​ียกชื่​่�อว่​่า “วชิ​ิราวุ​ุธพั​ันปี​ี” เพื่​่�อ

ยังดูแลผลประโยชน์ให้โรงเรียนวชิราวุธฯ อยู่

มีหน้าที่ เพียงแค่ ดูแลผลประโยชน์ทรัพย์สิน

ผู้​้�บั​ั ง คั​ั บ การโรงเรี​ี ย น และนั​ั ก เรี​ี ย นเก่​่ า รุ่​่�นพี่​่�

นวรั​ัตน คุ​ุณวรชาติ​ิ มี​ีชู​ูบท ฯลฯ ได้​้ ริ​ิเริ่​่�มทำำ�

ของสมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดาฯ กับวัด

รวบรวมข้​้อมู​ูลเกี่​่�ยวกั​ับทรั​ัพย์​์สิน ิ พระราชทาน

ธิวาสฯ) ซึ่งในภายหลังก็ได้ถอนออกไปเกือบ

บริ​ิหารอย่​่างโปร่​่งใส มี​ีประสิ​ิทธิ​ิภาพ และเปิ​ิดเผย

อยู่สองสามวั ด (เช่น วั ดมหาธาตุฯ วั ดราชา ทั้งหมดแล้ว

92

และการบริ​ิ ห ารจั​ั ด การ เรี​ี ย กร้​้ อ งให้​้ มี​ี ก าร

เพื่​่�อที่​่� โรงเรี​ียนจะได้​้ ทราบว่​่ ามี​ีทรั​ัพยากรอยู่​่�


93


94


แถวนั่งจากซ้าย (๑) ดร.อนุมงคล ศิรเิ วทิน (๒) ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา เลขาธิการพระราชวัง (๓) นายพลากร สุวรรณรัฐ นายกกรรมการอ�ำนวยการวชิราวุธวิทยาลัย

(๔) ดร.กฤษณ์ กาญจนกุญชร ราชเลขาธิการ (๕) ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล

แถวยืนจากซ้าย (๓) บรรยง พงษ์พานิช (๕) ม.ร.ว.ศุภดิศ ดิศกุล (๗) นายจุลสิงห์ วสันตสิงห์

เท่​่าไหร่​่อย่​่างไร จะได้​้วางแผนพั​ัฒนาได้​้ หรื​ือ

มหาดเล็กหลวงโดยได้ถ่ายเอกสารโฉนดสอง

เองก็​็ได้​้ โดยเราได้​้ชัก ั ชวนให้​้นัก ั เรี​ียนเก่​่าหลาย

ของโรงเรียน (ซึ่งโฉนดดั้งเดิมอยู่ในพระนาม

อำำ�นวยการในขณะนั้​้�นเพื่​่�อขอให้​้กราบบั​ังคม

จะเปลี่ยนมาเป็นชื่อของส�ำนักงานทรัพย์สิน

จะขอพระราชทานให้​้โรงเรี​ียนบริ​ิหารจั​ัดการ ร้​้อยคนร่​่วมลงนาม ยื่​่�นหนั​ังสื​ือต่​่ อกรรมการ

ทู​ูลขอพระราชทาน แต่​่ก็​็ยังั ไม่​่ได้​้มี​ีการดำำ�เนิ​ิน การใดๆ จนกระทั่​่�งสิ้​้�นสุ​ุดรั​ัชกาล

ในการหาข้อมูลทั้งหมด ผมได้ขอความ

ร่วมมือจากอดีตรองอธิบดีกรมที่ดิน เข้าไปขอ

ดูส�ำเนาโฉนดที่ดินที่เคยเป็นชื่อของโรงเรียน

แปลง คื อ แปลงที่ ร าชด�ำริ แ ละแปลงที่ ต้ั ง

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห ่ วั ก่อน ส่ ว นพระมหากษั ต ริ ย์ ) กั บ ได้ ถ่ า ยเอกสาร

สัญญาเช่าระยะยาวทั้งหมดที่ส�ำนักงานพระ

คลังข้างที่ได้ท�ำกับผู้เช่าที่ดินและจดทะเบียน ไว้ ท�ำให้พบว่ามีการให้เช่าบางรายการในราคา ที่เห็นได้ชัดว่าต่�ำกว่าที่ควรจะเป็นมาก

95


ที่​่�ดิ​ินแปลงราชดำำ�ริ​ินี้​้� ในปี​ี ๒๔๙๑ มี​ี

การเปลี่​่�ยนชื่​่�อในโฉนดโดยขี​ีดฆ่​่าชื่​่�อโรงเรี​ียน

(AUA) เนื่​่�องจากทางสถานทู​ูตต้​้องการขอซื้​้�อ แปลงตรงกลางที่​่�เป็​็นบ้​้านพั​ักทู​ูตที่​่�เคยเช่​่าไว้​้

มหาดเล็​็กหลวงออกแล้​้วใส่​่ชื่� อ ่ สำำ�นัก ั พระราชวั​ัง

เดิ​ิม ทำำ�ให้​้ที่​่�เหลื​ือแยกเป็​็นสองแปลง

เป็​็นไปตามคำำ�สั่​่�งที่​่� ๕๒๔๓/๒๔๙๑ ลงวั​ั นที่​่�

การและเรื่องเงียบหายไป จนกระทั่ งเมื่อสี่ปี

(สำำ�นั​ักงานพระคลั​ังข้​้างที่​่� ) แทน โดยอ้​้ างว่​่ า

หลังจากที่ยื่นเรื่องให้กรรมการอ�ำนวย

๒๘ ตุ​ุลาคม ๒๔๙๑ (ซึ่​่�งผมหาหลั​ักฐานไม่​่เจอ

ก่อน หลังการสวรรคต ผมก็ได้เขียนบทความ

ปี​ีต่​่อมาได้​้มีก ี ารแบ่​่งขายให้​้กั​ับสถานทู​ูตสหรั​ัฐ

จนกระทั่ ง ประมาณเดื อ นเมษายน

ว่​่าใครสั่​่�ง เพราะอะไร และอาศั​ัยอำำ�นาจใด) และ เมื่​่�อปี​ี ๒๔๙๒ (หลั​ั งจากอเมริ​ิกาช่​่วยให้​้ไทย

ไม่​่ต้​้องเป็​็นประเทศแพ้​้สงคราม) จำำ�นวน ๓๙

ไร่​่ ๕๑ ตารางวา ทำำ�ให้​้เหลื​ือที่​่�ดิ​ินสองโฉนด

ทวงถามเรื่องนีอ ้ ก ี ครัง้ เมื่อ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๙

๒๕๖๐ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยูห ่ วั

รัชกาลที่ ๑๐ ได้ มี พระบรมราชโองการ ให้

ส�ำนักงานพระคลังข้างที่ โอนหน้าที่ การดูแล

แปลงใหญ่​่เนื้​้� อที่​่� ๖๗ ไร่​่ ๖๗ ตารางวา กั​ับอี​ีก

ทรัพย์สินของวชิราวุธทั้ งหมดมาให้โรงเรียน

สอนภาษาของสมาคมนั​ั ก เรี​ี ย นเก่​่ า อเมริ​ิ กั​ั น

คณะกรรมการบริ ห ารทรั พ ย์ สิ น ขึ้ น มาคณะ

แปลงหนึ่​่�ง ๕ ไร่​่ ๒๖ ตารางวา ที่​่�เป็​็นสถาน

96

ดู แ ลเอง ท�ำให้ ก รรมการอ�ำนวยการแต่ ง ตั้ ง


หนึ่ง มีนักเรียนเก่าและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก

เมื่อได้ รับโอนมานั้น ทางกรรมการฯ

เพื่ อ ท�ำหน้ า ที่ รั บ โอนและดู แ ลรั ก ษาหาผล

ได้จัดระบบการบริหารจัดการ โดยทรัพย์สิน

มาตั้ ง แต่ ค รั้ ง ล้ น เกล้ า รั ช กาลที่ ๖ พระผู้

บลจ. สองแห่งแบ่งกันบริหาร (ตอนนี้เพิ่มเป็น

ประโยชน์จากทรัพย์สินที่ได้รับพระราชทาน พระราชทานก�ำเนิดโรงเรียน

ผมเป็นนักเรียนเก่าคนหนึ่งที่ถูกแต่ง

ตั้ ง ให้ เ ป็ น คณะกรรมการบริ ห ารทรั พ ย์ สิ น ฯ

โดยองคมนตรีพลากรที่ เป็นนายกกรรมการ อ�ำนวยการขณะนัน ้ แจ้งว่า เพราะผมรูเ้ รื่องราว

ความเป็นมาและก็เป็นผู้บริหารธุรกิจอยู่แล้ว น่าจะเป็นประโยชน์ ซึ่งผมก็ รับหน้าที่ อย่าง เต็มใจเพื่อสนองคุณสถานศึกษาที่เล่าเรียนมา ในการประสานงานกั บ ส�ำนั ก งาน

พระคลังข้างที่ท�ำให้เรารู้ว่า ตลอดการบริหาร มาร้อยปี เนื่องจากมีเงินสะสมอยูจ ่ �ำนวนหนึ่ง

ท�ำให้ สนง. ได้น�ำไปหาผลประโยชน์ ซึง่ นอกจาก

ฝากเงิ น ธนาคารและซื้ อ พั น ธบั ต รแล้ ว ยั ง

ได้ น�ำไปปล่อยกู้รับจ�ำนอง รับขายฝากที่ ดิน จากเจ้านายและขุนนางต่างๆ กับมีการลงทุน

ส่วนที่เป็นทรัพย์สินทางการเงินนั้นได้แต่งตั้ง

สามแห่ง) มีคณะอนุกรรมการคอยก�ำกับดูแล

ส่วนที่เป็นอสังหาริมทรัพย์เรายึดหลักการว่า จะรักษาพันธะสัญญากับผู้เช่ารายเดิมที่ทาง

พระคลังข้างที่ตกลงไว้ แต่เมื่อหมดสัญญาจะ

ต้ อ งมี ก ารบริ ห ารอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ โปร่งใส มีการเปิดประมูลโดยเปิดเผยเป็นหลัก คณะกรรมการฯ จะรายงานการด�ำเนินงานต่อ

คณะกรรมการอ�ำนวยการทุกๆ สามเดอ ื น และ จัดท�ำรายงานประจ�ำปีทูลเกล้าถวายรายงาน

ถึงการด�ำเนินงานและสถานะทางการเงินอย่าง ละเอียดทุกปี ซึ่งรายงานเหล่านี้ ถึงแม้ไม่ได้

ประกาศเปิดเผยต่อสาธารณะ แต่ผู้เกี่ยวข้อง ที่สนใจ (เช่น นักเรียนเก่าฯ ครู อาจารย์ หรือ

ผูป ้ กครอง) สามารถขอดูได้ทส ่ี �ำนักงานโรงเรียน ตอนปลายปี​ี ๒๕๖๐ ทางสำำ�นั​ักราช

ในหุ้ น บริ ษั ท ปู น ซี เ มนต์ แ ละบริ ษั ท ในเครื อ

เลขาธิ​ิการ ได้​้แจ้​้งขอโฉนดที่​่�ดิ​ินเลขที่​่� ๒๐๒๐

แปลงแล้ว ท�ำให้ยังมีทรัพย์สินอื่นอีกมาก เช่น

สมเด็​็จพระเจ้​้าอยู่​่�หั​ัวมหาวชิ​ิราลงกรณฯ แล้​้ว

ท�ำให้นอกจากที่ดินแปลงราชด�ำริท่ีเหลือสอง

(๖๗ ไร่​่ ๖๗ ตารางวา) นำำ�ไปเปลี่​่�ยนเป็​็นพระนาม

ที่เป็นอสังหาริมทรัพย์กม ็ ท ี ี่ดินที่ต้ังของอาคาร

ทรงพระราชทานให้​้กั​ับโรงเรี​ียนในต้​้ นเดื​ือน

ฮอลิ เ ดย์ อิ น ส์ ต รงข้ า มสนามกี ฬ าแห่ ง ชาติ

ผู้บังคับการเข้ารับพระราชทาน

อื้อจือเหลียง (ครึ่งหนึ่ง) ที่ ดินที่ เป็นโรงแรม ถนนพระราม ๑ ห้องแถวริมถนนเยาวราช ๘ ห้อง

ธั​ั น วาคม ๒๕๖๐ โดยนายกกรรมการและ ตอนแรกทุกคนก็ยังไม่ทราบพระราช

ห้องแถวบริเวณใกล้วงเวี ยน ๒๒ กรกฎาคม

ประสงค์ เพราะเพิง่ มีการออกพระราชบัญญัติ

มูลค่า ณ วั นรับโอนประมาณสี่พันล้านบาท

๒๕๖๐ และในทีส ่ ด ุ ต้องขอขอบคุณ คุณจุลสิงห์

เป็นต้น กับส่วนทีเ่ ป็นเงินสด เงินฝาก พันธบัตร และหุ้น SCG อีกห้าล้านหุ้น มูลค่าประมาณ สองพันล้านบาท

จั ด ระเบี ย บทรั พ ย์ สิ น ส่ ว นพระมหากษั ต ริ ย์

วสั น ตสิ ง ห์ อดี ต อั ย การสู ง สุ ด ที่ น�ำเรื่ อ งไป

ขอให้รองราชเลขาธิการกราบบังคมทูล ซึ่งก็

พระราชทานให้ ไปโอนเป็ นชื่อ ของโรงเรี ยน

97


ท�ำให้ทรัพย์สน ิ ทุกอย่างอยูใ่ นนามของวชิราวุธ

พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยูห ่ วั

วิทยาลัยจนทุกวันนี้

รัชกาลที่ ๑๐ ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ โปรด

ผมก็ ไ ด้ รั บ แจ้ ง จากนายกกรรมการว่ า ได้ มี

เป็นเรื่องที่ลูกวชิราวุธทุกคน (รวมทั้งผมด้วย)

ให้ผมร่วมเป็นกรรมการอ�ำนวยการโรงเรียน

โรงเรียนสืบเนื่องมาเช่นเดียวกับพระมหากษัตริย์

หลั ง จากที่ ร่ ว มบริ ห ารได้ ไ ม่ กี่ เ ดื อ น

การเสนอชื่อเพื่อขอพระราชทานโปรดเกล้าฯ

ด้วย ซึ่งผมได้แจ้งท่านไปว่า ผมมีภารกิจมาก และไม่มค ี วามรูค ้ วามสามารถเพียงพอในด้าน

การบริหารการศึกษา ท่ านก็ แจ้ งว่ าทูลเกล้ า ไปแล้ ว ถ้ า อยากถอนตั ว ให้ ไ ปถอนที่ ส�ำนั ก

ราชเลขาฯ เอง ผมก็เลยเข้าร่วมเป็นกรรมการ

ให้โอนทรัพย์สน ิ กลับคืนสูเ่ จ้าของที่แท้จริง ซึ่ง

ต่างก็ส�ำนึกในพระมหากรุ ณาธิคุณที่ทรงมีต่อ ทุกรัชกาลซึ่งจะท�ำให้วชิราวุธฯ สามารถคงอยู่

ได้ ตลอดไปสมกับพระราชประสงค์ ของพระ ผู้พระราชทานก�ำเนิด

ที่ผ มน�ำมาเขี ย นเล่ า ไว้ ท้ั ง หมดนี้ ก็

เพียงเพื่อที่จะบันทึกเรื่องราวความเป็นมาใน

อ�ำนวยการมาสามปีเศษแล้ว ซึ่งก็ได้พยายาม

เรื่องนี้ โดยเฉพาะในส่วนที่ผมได้เกี่ยวข้องไว้

พระมหากรุ ณ าธิคุ ณ และสนองคุ ณ โรงเรี ย น

ต้ อ งการอวดอ้ า งเอาความดี ค วามชอบใดๆ

สรุปได้ว่า เรื่องทรัพย์สน ิ ของโรงเรียน

กระท�ำในฐานะ “ลูกวชิราวุธ” คนหนึ่ง ที่ถูก

ท�ำหน้าที่ ตามก�ำลั งความสามารถเพื่อสนอง มาจนทุกวันนี้

วชิราวุธวิทยาลัยนี้ ล้วนเป็นทรัพย์สน ิ ทีล ่ น ้ เกล้า

รัชกาลที่ ๖ พระราชทานไว้ หรอ ื เป็นทรัพย์สน ิ ที่งอกเงยมาจากทรัพย์สินเดิมทั้งสิ้น แต่เมื่อ

ไม่ ไ ด้ ต้ อ งการที่ จ ะถกเถี ย งกั บ ผู้ ใ ด และไม่

เพราะที่ผมได้ท�ำไปทั้งหมดก็เป็นเพียงสิง่ ที่พงึ

อบรมสั่งสอนให้ “รูร้ ก ั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ เป็น

ฉัตรไชย”มาตั้งแต่ยังเยาว์วัย

เปลี่ยนแปลงการปกครองได้มก ี ารโอนเปลี่ยน

ชื่อให้เป็นของหน่วยงานราชการ และมีการ

บริ ห ารที่ อ าจไม่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและความ

โปร่งใส แต่ทรัพย์สินก็ยังถูกเก็บรักษาไว้ โดย แยกส่วนเฉพาะไว้

เขี​ียนโดย: บรรยง พงษ์​์พานิ​ิช (โอวี​ี ๔๔)

98


นที เกวลกุล ประติมากรเอก แห่งการแกะสลักหินอ่อน บ น ห อ ป ร ะ ชุ​ุ ม เ ก่​่ า ข อ ง ว ชิ​ิ ร า วุ​ุ ธ

วิ​ิ ท ยาลั​ั ย บริ​ิ เ วณผนั​ั ง ด้​้ า นบนของโถงกลาง

เป็​็นที่​่�ประดิ​ิษฐานของพระบรมสาทิ​ิสลั​ักษณ์​์

และพระบรมฉายาลั​ั ก ษณ์​์ ข องพระมหา กษั​ั ต ริ​ิ ย์​์ ผู้​้� ท รงอุ​ุ ป ถั​ั ม ภ์​์ ว ชิ​ิ ร าวุ​ุ ธ วิ​ิ ท ยาลั​ั ย อั​ั น

ได้​้แก่​่ พระบาทสมเด็​็จพระมงกุ​ุฎเกล้​้าเจ้​้าอยู่​่� หั​ั ว พระบาทสมเด็​็ จ พระปกเกล้​้ า เจ้​้ า อยู่​่�หั​ั ว

และพระบาทสมเด็​็ จ พระบรมชนกาธิ​ิ เ บศร มหาภู​ูมิพ ิ ลอดุ​ุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิ​ิตร

ตั้​้�งเด่​่นเป็​็นองค์​์ประธานของหอประชุ​ุมหลั​ังเก่​่า เมื่​่�อมี​ีการสร้​้างอาคารนวมภู​ูมิน ิ ทร์​์หรื​ือ

หอประชุ​ุมหลั​ังใหม่​่ขึ้​้�นมา คณะกรรมการของ

โรงเรี​ี ย นจึ​ึ ง มี​ี ค วามเห็​็ น ให้​้ จั​ั ด ทำำ� พระบรม

รู​ู ป ข อ ง อ ง ค์​์ อุ​ุ ป ถั​ั ม ภ์​์ เ พื่​่� อ น้​้ อ ม รำำ�ลึ​ึ ก ใ น พระมหากรุ​ุ ณ าธิ​ิ คุ​ุ ณ ที่​่� แ ต่​่ ล ะพระองค์​์ มี​ี ใ ห้​้

กั​ั บ โรงเรี​ี ย นมาตั้​้� ง แต่​่ ส ถาปนา ในโอกาสนี้​้�

ทางโรงเรี​ี ย นจึ​ึ ง ได้​้ จ้​้ า งวานให้​้ นที​ี เกวลกุ​ุ ล

ประติ​ิ มากรมื​ือเอกของประเทศไทย มาแกะ สลั​ักหิ​ินอ่​่อนสี​ีขาวจากเมื​ืองคาร์​์เรร่​่า ประเทศ

อิ​ิตาลี​ีขึ้​้น � เป็​็นพระบรมรู​ูปของพระมหากษั​ัตริ​ิย์​์

99


ทั้​้� ง ๓ พระองค์​์ ที่​่� ตั้​้� ง ประดิ​ิ ษ ฐานไว้​้ ใ น ห้​้องประชุ​ุมคณะกรรมการบนชั้​้�น ๓ ของ

อาคาร

ความงดงามของพระบรมรู​ู ปหิ​ิน

อ่​่ อนนั้​้� น เป็​็ น ที่​่� ป ระจั​ั ก ษ์​์ ต่​่ อ ใครต่​่ อ ใครที่​่�

มี​ี โ อกาสได้​้ เ ห็​็ น พระบรมรู​ู ป ของแต่​่ ล ะ

พระองค์​์ ข นาดเท่​่ า พระองค์​์ จ ริ​ิ ง นั้​้� น ตั้​้� ง

เด่​่นสง่​่าอย่​่างสมพระเกี​ียรติ​ิ พระพั​ักตร์​์ ดู​ูสมจริ​ิง ฉลองพระองค์​์ถู​ูกแกะสลั​ักออก มาอย่​่างละเอี​ียดอ่​่อนช้​้อยจนอาจจะทำำ�ให้​้

ไม่​่เชื่​่�อว่​่ าพระบรมรู​ู ปถู​ูกแกะสลั​ั กขึ้​้� นมา

พระบรมรู​ู ป ของแต่​่ ล ะพระองค์​์ เ ป็​็ น หิ​ิ น

อ่​่อนสี​ีขาวที่​่�มี​ีน้ำำ�หนั​ักกว่​่า ๓๐๐ กิ​ิโลกรั​ัม

นที​ีต้​้องใช้​้เวลาเกื​ือบ ๒ ปี​ี ในการจั​ัดทำำ�

ขึ้​้�น โดยอาศั​ัยการศึ​ึกษาทางประวั​ัติศ ิ าสตร์​์ อย่​่างละเอี​ียดและปรึ​ึกษากั​ับผู้​้�เชี่​่�ยวชาญ หลายท่​่ า น เพื่​่� อที่​่� จ ะให้​้ ฉ ลองพระองค์​์

เครื่​่�องราชอิ​ิ สริ​ิยาภรณ์​์ และเหรี​ียญตรา

ต่​่างๆ ได้​้ถูก ู ประดั​ับขึ้​้�นอย่​่างถู​ูกต้​้องตามประวั​ัติ​ิศาสตร์​์และธรรมเนี​ียม

ก่​่อนหน้​้าที่​่�จะมาสร้​้างผลงานพระบรมรู​ูปที่​่�วชิ​ิราวุ​ุธวิ​ิทยาลั​ัย นที​ีสร้​้างชื่​่�อเสี​ียงมาจากฝี​ีมื​ือ

การแกะสลั​ักหิ​ินอ่​่อนพระบรมรู​ูปของพระมหากษั​ัตริ​ิย์แ ์ ละพระบรมวงศานุ​ุวงศ์​์ รวมไปถึ​ึงบุ​ุคคล ทั่​่�วไปไว้​้หลายชิ้​้�น ผลงานที่​่�เป็​็นที่​่�กล่​่าวขานกั​ันอย่​่างมากก็​็คื​ือ พระบรมรู​ูปของพระมหากษั​ัตริ​ิย์​์

ไทย ๓ พระองค์​์ ที่​่�เคยเสด็​็จไปยั​ังประเทศอิ​ิตาลี​ี (รั​ัชกาลที่​่� ๕ รั​ัชกาลที่​่� ๗ และรั​ัชกาลที่​่� ๙) โดย ในครั้​้�งนั้​้�นสถานเอกอั​ัคราชทู​ูตไทยประจำำ�กรุ​ุ งโรมได้​้จั​ัดทำำ�ขึ้​้�นในโอกาสฉลองครบรอบ ๑๔๐ ปี​ี

ความสั​ัมพั​ันธ์​์ระหว่​่างไทยและอิ​ิตาลี​ี

งานพระบรมรู​ู ปที่​่�สถานทู​ูตไทยในกรุ​ุ งโรม ถู​ูกจั​ัดทำำ�ขึ้​้�นในประเทศอิ​ิตาลี​ีหลั​ังจากที่​่�นที​ี

เรี​ียนจบปริ​ิญญาโทด้​้านประติ​ิมากรรมจาก Accademia di Belle Arti di Carrara และกำำ�ลั​ัง ทำำ�งานเป็​็นช่​่างประติ​ิมากรในเมื​ืองคาร์​์เรร่​่า เมื​ืองชื่​่�อดั​ังที่​่�เป็​็นแหล่​่งเหมื​ืองหิ​ินอ่​่อนที่​่�ดี​ีที่​่�สุ​ุดใน

โลก ด้​้วยความที่​่�หิน ิ อ่​่อนคาร์​์เรร่​่ามี​ีลั​ักษณะเนื้​้� อละเอี​ียดเป็​็นพิ​ิเศษและมี​ีสีข ี าวที่​่�โดดเด่​่น หิ​ินอ่​่อน

จากเมื​ืองนี้​้�จึ​ึงถู​ูกนำำ�ไปใช้​้ในงานสถาปั​ัตยกรรมและประติ​ิมากรรมมาตั้​้�งแต่​่ยุ​ุคอาณาจั​ักรโรมั​ัน

โบราณ ในเมื​ืองไทยเองก็​็มี​ีอาคารที่​่�ใช้​้หิ​ินอ่​่อนประเภทนี้​้�อยู่​่�หลายหลั​ัง แต่​่ที่​่�โดดเด่​่นที่​่�สุ​ุดคงหนี​ี

ไม่​่พ้น ้ พระที่​่�นั่​่�งอนั​ันตสมาคมและพระอุ​ุโบสถวั​ัดเบญจมบพิ​ิตร

100


ค ว า ม ส น ใ จ ด้​้ า น ป ร ะ ติ​ิ ม า ก ร

ของ นที​ี เริ่​่� ม ขึ้​้� น ในกรุ​ุ ง เทพฯ เมื่​่� อ ตอน เป็​็ น นั​ั ก ศึ​ึ ก ษาปี​ี ๒ ที่​่� ค ณะจิ​ิ ต รกรรม

มหาวิ​ิทยาลั​ัยศิ​ิลปากร ขณะนั้​้�นนที​ีกำำ�ลั​ัง ต้​้องเลื​ือกสาขาวิ​ิชาเอกของตนเอง สาขา

วิ​ิชาที่​่�สามารถเลื​ือกเรี​ียนได้​้มี​ีอยู่​่� ๔ วิ​ิชา

ได้​้แก่​่ จิ​ิตรกรรม ภาพพิ​ิมพ์​์ ประติ​ิมากรรม และศิ​ิ ล ปะไทย ช่​่ ว งนั้​้� น ศิ​ิ ล ปะไทยเป็​็ น

สาขาวิ​ิ ชาที่​่� ได้​้ รั​ับความนิ​ิยมสู​ูง สื​ืบเนื่​่�อง

มาจากกระแสความนิ​ิยมในผลงานและ อั​ัตลั​ักษณ์​์ของ อ.เฉลิ​ิมชั​ัย โฆษิ​ิตพิ​ิพั​ัฒน์​์

ที่​่� สั​ังคมไทยกำำ�ลั​ังนิ​ิยม แต่​่ นที​ี กลั​ับเลื​ือก

เรี​ียนวิ​ิชาประติ​ิมากรรมแทน ด้​้วยเหตุ​ุผล ที่​่�ว่า่ วิ​ิชานี้​้�เป็​็นวิ​ิชาที่​่�สนุ​ุก การได้​้ทดลองใช้​้

เทคนิ​ิคอย่​่างการใช้​้มื​ือปั้​้�นดิ​ินหรื​ือใช้​้สว่​่าน

เจาะหิ​ิน เป็​็นกระบวนการสร้​้างงานศิ​ิลปะ ที่​่�ต่​่างไปจากทั​ักษะอย่​่างการใช้​้ดิ​ินสอวาด

เส้​้น หรื​ือการใช้​้พู่​่�กัน ั ลงสี​ีที่​่น � ที​ีมีค ี วามถนั​ัด

เป็​็นทุ​ุนเดิ​ิมอยู่​่�แล้​้ว

นที​ีบอกว่​่าตั​ัวเขาในวั​ัยก้​้าวสู่​่�ยี่​่�สิ​ิบปี​ีไม่​่ได้​้คิ​ิดเลยว่​่าจะเอาเทคนิ​ิคด้​้านประติ​ิมากรรมไป

ใช้​้สร้​้างอาชี​ีพได้​้อย่​่างไร รู้​้�แต่​่เพี​ียงว่​่าตอนนั้​้�นสนุ​ุกและมี​ีความสุ​ุขกั​ับการได้​้ทำำ�งานแบบนี้​้�เพี​ียง

อย่​่างเดี​ียว

งานประติ​ิมากรรมแกะสลั​ักหิ​ินเป็​็นงานที่​่�หนั​ักหนากว่​่าวิ​ิชาอื่​่�น ต้​้องใช้​้แรงมาก ต้​้องตอก

ต้​้องสลั​ัก ต้​้องเจาะ ซึ่​่�งกระบวนการเหล่​่านี้​้�ล้​้วนแต่​่ส่ง่ แรงสะเทื​ือนกลั​ับมาที่​่�มื​ือที่​่�แขน ถ้​้าร่​่างกาย

ไม่​่แข็​็งแรงพอก็​็ ไม่​่สามารถที่​่� จะทนได้​้ ด้​้ วยเหตุ​ุนี้​้�สาขาวิ​ิ ชาประติ​ิ มากรรมเลยเป็​็นสาขาวิ​ิ ชา ที่​่�มี​ีคนเรี​ียนน้​้อย อุ​ุปกรณ์​์ต่​่างๆ ไม่​่ได้​้ถู​ูกดู​ูแลให้​้อยู่​่�สภาพที่​่�ดี​ี มี​ีครบบ้​้าง ไม่​่ครบบ้​้าง ด้​้านวั​ัสดุ​ุ

ที่​่�นำำ�มาใช้​้ในการแกะสลั​ักก็​็มี​ีเพี​ียงหิ​ินทราย เพราะหาได้​้ง่​่ายในประเทศไทยและมี​ีราคาไม่​่แพง ผิ​ิดกั​ับหิ​ินอ่​่อนที่​่�หาได้​้ยากและราคาสู​ูง

นที​ีต้​้องใช้​้ความพยายามและศึ​ึกษาด้​้วยความเพี​ียรของตั​ัวเองมาโดยตลอด นอกจากการ

จั​ัดการหาอุ​ุปกรณ์​์และวั​ัสดุ​ุอย่​่างหิ​ินต่​่างๆ เองแล้​้ว นที​ียังั ตั้​้�งใจศึ​ึกษาผลงานศิ​ิลปะชิ้​้�นเอกของโลก

จากยุ​ุคเรเนอซองส์​์ผ่​่านหนั​ังสื​ือจำำ�นวนมาก โดยเฉพาะงานของมี​ีเกลั​ันเจโล (Miche-langelo) ศิ​ิลปิ​ินชาวอิ​ิตาลี​ีที่​่�ฝากผลงานแกะสลั​ักหิ​ินอ่​่อนที่​่�เป็​็นอมตะอย่​่างรู​ู ปแกะสลั​ักของเดวิ​ิดที่​่�เมื​ือง

101


ฟลอเรนซ์​์ และรู​ู ป แกะสลั​ั ก ของพระเยซู​ู ใ น

อ้​้อมกอดของพระแม่​่มารี​ีที่​่�ถู​ูกเรี​ียกว่​่าปิ​ิเอตะ (Pieta) ในกรุ​ุงวาติ​ิกั​ัน

การศึ​ึกษางานคลาสสิ​ิคของประติ​ิมากร

เอกชาวอิ​ิตาลี​ีจำำ�นวนมาก ได้​้สร้​้างความฝั​ันให้​้

นที​ีตั้​้�งใจที่​่�จะเป็​็นประติ​ิมากรแกะสลั​ักหิ​ินอ่​่อน

ให้​้ได้​้ ความฝั​ันนี้​้�เป็​็นแรงผลั​ั กดั​ั นให้​้เขากล้​้ า ตั​ัดสิ​ินใจเดิ​ินทางไปเรี​ียนต่​่อที่​่�ประเทศอิ​ิตาลี​ี

ทั้​้�งๆ ที่​่�ไม่​่รู้​้�ภาษาอิ​ิตาเลี​ียนแม้​้แต่​่คำำ�เดี​ียว หาก

นที​ีเลื​ือกที่​่�จะหยุ​ุดขวนขวายและทำำ�งานในเมื​ือง

ไทย เขาคงเป็​็นประติ​ิมากรที่​่�สร้​้างงานแกะสลั​ัก แบบไทยเหมื​ือนช่​่างอี​ีกจำำ�นวนมาก

เดิ​ิ มที​ี นที​ี ตั้​้� งใจจะไปเรี​ียนที่​่� เมื​ืองคาร์​์

เรร่​่าเพี​ียงแค่​่ ๘ เดื​ือน ตามระยะเวลาที่​่� ทุ​ุน การศึ​ึกษาของรั​ัฐบาลอิ​ิตาลี​ีมอบให้​้ แต่​่เมื่​่�อมี​ี

โอกาสได้​้ไปพบกั​ับโรงแกะสลั​ักหิ​ินอ่​่อน นที​ีจึ​ึง ได้​้เข้​้าไปฝึ​ึกงานและเป็​็นจุ​ุดเริ่​่�มต้​้นของการฝึ​ึก

ฝี​ีมื​ือด้​้านประติ​ิมากรต่​่อในอิ​ิตาลี​ียาวนานอี​ีกเจ็​็ดปี​ี การต้​้องปรั​ับตั​ัวเข้​้ากั​ับวั​ัฒนธรรมและภาษา

อิ​ิตาลี​ีไม่​่ใช่​่เรื่​่�องง่​่าย แต่​่สิ่​่ง� ที่​่�ยากไปกว่​่านั้​้�นคื​ือกระบวนการเรี​ียนรู้​้�การแกะสลั​ักหิ​ินอ่​่อน เนื่​่�องจาก

หิ​ินอ่​่อนมี​ีลัก ั ษณะที่​่�แตกต่​่างจากหิ​ินทรายที่​่�นที​ีใช้​้สร้​้างงานในเมื​ืองไทย นที​ีจึ​ึงต้​้องฝึ​ึกใช้​้เครื่​่�องมื​ือ

และทั​ักษะใหม่​่ๆ ให้​้เข้​้ากั​ับเนื้​้� อของหิ​ินอ่​่อน รวมไปถึ​ึงการเรี​ียนรู้​้�กระบวนการสร้​้างงานที่​่�ไม่​่มีส ี อน ในหนั​ังสื​ือ ต้​้องใช้​้แต่​่ประสบการณ์​์เพี​ียงเท่​่านั้​้�น

การแกะสลักหินอ่อนเป็นงานฝีมือที่ต้องใช้ความประณีตอย่างสูง ทุกขั้นตอนต้องถูก

วางแผนล่วงหน้าอย่างละเอียด การวางจุดต่างๆ ต้องท�ำอย่างแม่นย�ำ การเจาะหรือตอกหิน

แต่ละครั้งต้องใช้ความระมัดระวังอย่างสูง หากพลาดตอกแรงไปแม้แต่นิดเดียว ก็อาจจะต้อง ทิ้งงานทั้งชิ้นแล้วเริ่มใหม่ต้ังแต่ต้นอีกครั้ง นทีเองก็พลาดเช่นนั้นมาหลายครั้ง มีครั้งหนึ่งที่เขา ตอกแรงเกินไปท�ำให้น้ิวของรู ปปั้ นหัก แล้วต้องซ่อมงานด้วยการใช้กาวมาติดไว้แทน ความผิด

พลาดในครัง้ นัน ุ ครัง้ ที่จับเครื่องมอ ื ท�ำงาน ้ กลายเป็นบทเรียนที่คอยเตือนสติให้นทีต้องมีสมาธิทก นอกจากการใช้​้ เ วลาอยู่​่�ในโรงแกะสลั​ั ก แล้​้ ว นที​ี ยั​ั ง ใช้​้ เ วลาออกเดิ​ิ น ทางไปเยี่​่� ย มชม

พิ​ิพิธ ิ ภั​ัณฑ์​์และสถานที่​่�ต่า่ งๆ ทั่​่�วทั้​้�งอิ​ิตาลี​ีเพื่​่�อไปสั​ังเกตงานแกะสลั​ักชิ้​้�นต่​่างๆ อย่​่างใกล้​้ชิด ิ มากกว่​่า

ที่​่�จะเห็​็นเพี​ียงแค่​่รู​ูปเรี​ียบราบในหนั​ังสื​ือหรื​ือจอคอมพิ​ิวเตอร์​์ การได้​้เห็​็นชิ้​้�นงานของจริ​ิงขนาด

ใหญ่​่ที่​่มี � มิ ี ติ ิ สู ิ งู ต่ำำ�และมี​ีแสงเงากระทบชิ้​้�นงาน ทำำ�ให้​้นที​ีได้​้เข้​้าใจลั​ักษณะของการแกะสลั​ักได้​้อย่​่าง

102


ชั​ัดเจนมากขึ้​้�น เก็​็บเอามาประยุ​ุกต์​์ใช้​้ในการสร้​้างงานของตนเอง

หลั​ังจากฝึ​ึกปรื​ือและเก็​็บประสบการณ์​์ในอิ​ิตาลี​ีเป็​็นระยะเวลากว่​่าแปดปี​ี นที​ีได้​้เดิ​ินทาง

กลั​ับมาเปิ​ิดโรงแกะสลั​ักหิ​ินอ่​่อนของตนเองในประเทศไทย และเริ่​่�มรั​ับงานแกะสลั​ักรู​ู ปเหมื​ือน

ของบุ​ุคคลสำำ�คั​ัญ โดยเฉพาะพระบรมรู​ูปของพระมหากษั​ัตริ​ิย์ไ์ ทยหลายพระองค์​์ที่​่�หลายองค์​์กร ต่​่างจั​ัดทำำ�ขึ้​้�นเพื่​่�อเป็​็นพระบรมราชานุ​ุสรณ์​์ ผลงานแต่​่ละชิ้​้�นของนที​ีได้​้รับ ั คำำ�ชื่� น ่ ชมเป็​็นอย่​่างสู​ูง การสลั​ักลวดลายไทยของฉลองพระองค์​์และเครื่​่�องราชอิ​ิสริ​ิยาภรณ์​์ลงหิ​ินอ่​่อนเป็​็นสิ่​่�งที่​่�ยกระดั​ับ

งานประติ​ิมากรรมไทยไปอี​ีกขั้​้�นอย่​่างที่​่�ไม่​่เคยมี​ีประติ​ิมากรไทยคนไหนทำำ�ได้​้มาก่​่อน

ด้​้ วยผลงานและความสามารถที่​่� ประจั​ั กษ์​์ ออกมาเช่​่นนี้​้� คงจะไม่​่เป็​็นการกล่​่ าวที่​่� เกิ​ิ น

จริ​ิง หากจะบอกว่​่าในตอนนี้​้� นที​ีได้​้ก้​้าวขึ้​้�นมาเป็​็นประติ​ิมากรเอกด้​้านการแกะสลั​ักหิ​ินอ่​่อนของ ประเทศไทยได้​้อย่​่างน่​่าภาคภู​ูมิ​ิ

เขี​ียนโดย: ศศิ​ินทร์​์ วิ​ิทูรู ปกรณ์​์ (โอวี​ี ๗๙)

ภาพถ่​่ายโดย: เฉลิ​ิมหั​ัช ตั​ันติ​ิวงศ์​์ (โอวี​ี ๗๗) และ A๔๙

103


การบรรยายเรื่อง

อาคารนวมภู​ูมิน ิ ทร์​์ โดย นิธิ สถาปิตานนท์

ในอดี ต ที่ผ่ า นมา โรงเรี ย นวชิ ร าวุ ธ วิ ท ยาลั ย มีห อประชุ ม อยู่ เ พี ย งแค่

หลังเดียว ตั้งสง่าอยูเ่ ป็นสัญลักษณ์ของโรงเรียนมาแต่ไหนแต่ไร แต่เมื่อไม่ก่ีปีท่ี ผ่านมาหอประชุมอีกหลังได้ถูกสร้างขึ้น ส่งผลให้ในตอนนี้โรงเรียนวชิราวุธฯ มี ทั้ง “หอประชุมเก่า” และ “หอประชุมใหม่”​

หอประชุมใหม่ เริ่มก่อสร้างขึ้นในปี พ.ศ.๒๕๕๗ ขณะที่ ดร.สาโรจน์

ลีสวรรค์ ด�ำรงต�ำแหน่งผู้บังคับการ ใช้เวลาก่อสร้างประมาณ ๓ ปี มาเสร็จ

สมบูรณ์และเปิดใช้งานเมื่อต้นปี ๒๕๖๐ เมื่อผู้ชว ่ ยศาสตราจารย์สุรวุธ กิจกุศล ด�ำรงต�ำแหน่งผู้บังคับการ

อาคารแห่​่ ง นี้​้� ไ ด้​้ รั​ั บ พระราชทานชื่​่� อจากพระบาทสมเด็​็ จ พระบรม-

ชนกาธิ​ิเบศร มหาภู​ูมิ​ิพลอดุ​ุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิ​ิตร ว่​่า “นวมภู​ูมิ​ินทร์​์”

แทนชื่​่�อ “ภู​ูมิพ ิ ล” ที่​่�โรงเรี​ียนได้​้ขอพระราชทานไปในที​ีแรก โดยพระบาทสมเด็​็จ พระเจ้​้าอยู่​่�หั​ัวรั​ัชกาลปั​ัจจุ​ุบั​ัน ได้​้เสด็​็จมาทรงเปิ​ิดอาคารอย่​่างเป็​็นทางการเมื่​่�อ

วั​ันที่​่� ๓ มี​ีนาคม ๒๕๖๑

อาคารนวมภู​ู มิ​ิ น ทร์​์ ถู​ู ก ก่​่ อ สร้​้ า งขึ้​้� น บนบริ​ิ เ วณที่​่� เ ดิ​ิ ม เคยเป็​็ น อาคาร

กองบั​ังคั​ับการ คอร์​์ตสควอช และคอร์​์ตไฟว์​์ ซึ่​่�งถู​ูกรื้​้�อลงเพื่​่�อใช้​้สร้​้างอาคารหลั​ังนี้​้�

โครงการนี้​้�ใช้​้งบประมาณก่​่อสร้​้างไปกว่​่า ๔๒๐ ล้​้านบาท ตั​ัวอาคารมี​ีความสู​ูง ๓ ชั้​้�น

รวมพื้​้� นที่​่�ใช้​้สอยเกื​ือบๆ หนึ่​่�งหมื่​่�นตารางเมตร มี​ีลัก ั ษณะสถาปั​ัตยกรรมแบบไทย

ประเพณี​ี ถู​ูกออกแบบโดยบริ​ิษั​ัทสถาปนิ​ิกชั้​้�นนำำ�ของประเทศ A๔๙ ซึ่​่�งก่​่อตั้​้�งขึ้​้�น โดยนั​ักเรี​ียนเก่​่าวชิ​ิราวุ​ุธฯ และศิ​ิลปิ​ินแห่​่งชาติ​ิ นิ​ิธิ​ิ สถาปิ​ิตานนท์​์ (โอวี​ี ๓๘)

104


105


เมื่ อ ต้ น ปี ท่ี แ ล้ ว เว็ บ ไซต์ the cloud

(www.readthecloud.com) ได้ จัดกิ จกรรม พาชมสถาปั ต ยกรรมในโรงเรี ย นวชิ ร าวุ ธ ฯ

ผู้​้�เขี​ียนโชคดี​ีที่​่�มี​ีโอกาสได้​้เข้​้าร่​่วมกิ​ิจกรรมนั้​้�น

ซึ่​่�งหนึ่​่�งช่​่วงสำำ�คั​ัญกิ​ิจกรรมนั้​้�น คื​ือการบรรยาย

พิ​ิเศษโดย นิ​ิธิ​ิ สถาปิ​ิตานนท์​์ ที่​่�ได้​้ช่ว ่ ยแบ่​่งปั​ัน

เรื่​่�องราวที่​่� มาที่​่� ไป และเกร็​็ดความรู้​้�จากการ ก่​่ อ สร้​้ า งอาคารแห่​่ ง นี้​้� ขึ้​้� น มา ผู้​้� เ ขี​ี ย นเลยถื​ือ โอกาสนำำ� เรื่​่� อ งบทบรรยายโดยนิ​ิ ธิ​ิ ใ นวั​ั น นั้​้� น

มาแบ่​่ ง ปั​ั น ให้​้ ผู้​้�อ่​่ า นอนุ​ุ ม านวสารทุ​ุ ก ท่​่ า นได้​้ อ่​่านกั​ันบนนี้​้�

ความผูกพันระหว่างตึกเรียนและ นักเรียน โรงเรียนและตัวอาคารเรียนทั้งหลาย

ก็ เ ป็ น ที่ รั ก ใคร่ แ ละหวงแหนของนั ก เรี ย น วชิ ร าวุ ธ ฯ ทุ ก คน ผมเชื่ อ อย่ า งนั้ น นะครั บ

ตั ว ผมเองก็ คิ ด แบบนั้ น เราอยู่ โ รงเรี ย นที่ น่ี กิ น นอนในตึ ก ต่ า งๆ มาเป็ น สิ บ ปี ผมคิ ด ว่ า

เด็ กวชิราวุ ธฯ ทุกคนรู้จักทุกซอกทุกมุมของ โรงเรียนและอาคารทุกอย่าง เราเป็นเด็กผูช ้ าย มาอยู่ด้วยกันก็ต้องซน ต้องวิ่งเล่น มุดตึกนู้น

มุดตึกนี้

บางที เ วลากลางคื น ก็ ปี น ขึ้ น ไปใต้

หลังคาตึกขาว ตรงนั้นจะมีชอ ่ งเล็กๆ อยู่ ซึ่งก็

เป็นช่องพิเศษข้างในมีนกพิราบอยู่ มุดเข้าไป แล้วก็พบว่าในช่องนั้นมืดมาก คนถามกันว่า

ไม่ ก ลั ว ผี ห รอ ตอนนั้น ด้ ว ยความซนเราก็ ไ ม่ กลัวกันเท่าไร มุดเข้าไปจับนกพิราบกันบ้าง

ตึกต่างๆ ในโรงเรียนมักจะมีใต้ถน ุ เราก็

มุดเข้าไป ผมเองก็เคยมุดเข้าไปแล้วก็ถูกงูกัด

106

เข้าใจว่าต้องเป็นงูพิษแน่ๆ เพราะแขนมันชา

ไปหมด แล้วก็เห็นแต่อะไรมาขูๆ ่ ฟ่ออยู่ เพื่อน

ก็ เ ลยพาออกไปข้ า งนอกไปหาหมอ ขนาด ฉีดยาไปแล้วแขนก็ยังบวมอยูม ่ าก บวมขนาด เกือบเท่าขาเลย ต้องนอนอยูโ่ รงพยาบาลเป็น

สัปดาห์ แต่ ถึงจะอย่างไรเราก็ รักที่ น่ี อยู่กัน มาสิบกว่าปี


ตึกเรียนเด็กเล็กใหม่ อาคารแรกทีไ่ ด้ ออกแบบให้โรงเรียน

เก่าสูง ๒ ชั้น ที่มีอายุเก่ามาก ประมาณ ๗๐ กว่าปีได้

ตึกเรียนเด็กเล็กหลังนี้ เป็นอาคารแรก

ระยะสิ บ กว่ า ปี ท่ผ ี ่ า นมา ผมได้ รั บ

ที่ผมได้รับมอบหมายให้ออกแบบในโรงเรียน

กรรมการอ�ำนวยการของโรงเรียนอยูส ่ องสมัย

อาคารสู ง แต่ ก็ เ ป็ น ตึ ก ที่ มี ลั ก ษณะความเป็ น

ที่โรงเรียนจัดงานฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปี ทาง

อัตลักษณ์ของตึกขาวซึ่งเป็นตึกเรียนหลักของ

(นักเรียนประถม) ทดแทนตึกเดิมที่เป็นอาคาร

เจาะ หรือซุ้มต่ างๆ ท�ำให้คงอั ตลั กษณ์ไว้ ได้

โปรดเกล้ า โปรดกระหม่ อ มแต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น

โดยออกแบบให้ เ ป็ น ตึ ก สู ง ห้ า ชั้ น ถึ ง จะเป็ น

ในช่วงเวลาที่เป็นกรรมการฯ อยูน ่ ้ัน ก็เป็นช่วง

ไทย ลั กษณะทางสถาปัตยกรรมต่ างๆ ก็ น�ำ

โรงเรี ย นก็ มี แ ผนที่ จ ะสร้ า งตึ ก เรี ย นเด็ ก เล็ ก

โรงเรียนมาใส่ไว้ด้วย ไม่ว่าจะเป็นการเว้นช่อง

107


แต่ ภายในก็ มีฟังค์ ช่ันการใช้งานที่ เหมาะสม กับการเรียน มีลิฟท์ไว้เพิ่มความสะดวกด้วย

แม่บททางสถาปัตยกรรมของ โรงเรียน นอกจากทีจ ่ ะออกแบบตึกเรียนเด็กเล็ก

ส�ำหรั บ เป็ น ที่ ร ะลึ ก ครบรอบ ๑๐๐ ปี ของ โรงเรียนแล้ ว ทางโรงเรียนยังมอบหมายให้

ผมร่ ว มจั ด ท�ำหนั ง สื อ สถาปั ต ยกรรมและ

ในช่ ว งสงครามโลกครั้ ง ที่ ส อง แบบดั้ ง เดิ ม

ของตึ ก คณะดุ สิ ต เป็ น ตึ ก ที่ ส วยมาก เป็ น สถาปัตยกรรมไทยสมัยอยุธยา

พอหนังสือตีพม ิ พ์ออกไป ศิษย์เก่าและ

กรรมการหลายๆ ท่านก็ชมกันว่าตึกคณะดุสต ิ สวยมาก น่าจะสร้างกลับขึ้นมาใหม่แทนตึ ก

ที่ มีอยู่ในปัจจุ บัน ประกอบกับที่โรงเรียนก็มี นโยบายที่จะเริม ่ ปรับปรุงตึกต่างๆ โดยเฉพาะ

ตึ ก คณะดุ สิ ต เราอยากจะสร้ า งให้ ก ลั บ ไป เหมือนยุคดั้งเดิม แต่ก็ติดเรื่องงบประมาณมา

ศิลปะในวชิราวุธฯ ขึ้นมาด้วย ซึ่งก็ได้ไปขุดคุ้ย

โดยตลอด จนเมื่อหลังงานร้อยปี ก็พอจัดสรร

แปลนต้ น แบบของตึ ก คณะดุ สิ ต เมื่ อ สร้ า ง

เราโชคดี ท่ี ไ ด้ รู้ จั ก กั บ พลอากาศตรี

เอกสารเก่าต่างๆ มาได้เยอะ รวมไปถึงแบบ

ครั้งแรกตอนตั้งโรงเรียน ก่อนที่จะถูกระเบิด

108

งบมาได้

อาวุธ เงินชูกลิน ่ ซึง่ เป็นศิลปินแห่งชาติ เราขอ


ให้อาจารย์อาวุธ มาดูพม ิ พ์เขียวเก่าและก็แกะ

ว่าจะสร้างท�ำไม? เพราะทุกคนรักหอประชุม

จนสร้ า งกลั บ มาให้ ส�ำเร็ จ ขึ้ น ใหม่ สร้ า งมา

นักเรียนวชิราวุธฯ ก็มีความผูกพันกันมานาน

หลังจากสร้างตึกดุสิตแบบดั้ งเดิมขึ้น

ที่ ว่ามีความไม่เหมาะสมกับการใช้งานในยุ ค

แบบออกมาเป็นแบบก่อสร้างส�ำหรับยุคปัจจุบน ั ได้สภาพสวยงามเหมอ ื นก่อนสงครามโลกมาก มาส�ำเร็จ ผมก็ มีความตั้ งใจว่ าตึ กต่ อๆ ไปที่

จะสร้ า งในโรงเรี ย นหลั ง จากนี้ ควรจะต้ อ ง

เป็นตึกที่มีความเป็นไทยให้มากๆ ต้องรักษา

เก่ากันมาก เป็นอาคารไม้สก ั ทีเ่ ก่า แล้วพวกเรา

กว่าร้อยปี แต่หอประชุ มเดิ มก็มีจุดอ่ อนตรง ปัจจุบันหลายข้อ

ในปัจจุบน ั เรามีนก ั เรียนมากกว่า ๘๐๐

คนแล้ว แต่หอประชุมเก่ารองรับได้เพียงแค่

เอกลั ก ษณ์ ค วามเป็ น ไทยให้ สุ ด ฤทธิ์ ผมได้

ประมาณ ๔๐๐ คน หรือน้อยกว่านั้นด้วยซ้�ำ

เป็ น นโยบายให้ รั ก ษาความเป็ น ไทยให้ กั บ

ส�ำคั ญ ๆ นั ก เรี ย นจ�ำนวนหนึ่ ง ผู้ ป กครอง

เสนอให้กรรมการว่ าต่ อจากนี้ไปควรจะต้ อง สถาปั ต ยกรรมในโรงเรี ย น มองเข้ า มาใน

โรงเรียนแล้วไม่ควรเจอตึกที่ดูสมัยใหม่ หรือ แม้แต่ไทยประยุกต์กไ็ ม่ควร เรามีตก ึ เก่าทีส ่ ร้าง

เวลามีงานเสด็จพระราชด�ำเนินฯ หรือพิธก ี าร และแขกต่างๆ ก็ต้องรออยู่ด้านล่าง ในเต๊นท์ นอกหอประชุม ซึ่งก็ไม่เหมาะสมเท่าไร

จุดอ่อนอีกข้อหนึ่งก็คือ หอประชุมเก่า

ขึ้นมาแล้วสัก ๒๐ ปี เป็นแบบโมเดิรน ์ ไทย มอง

เป็นอาคารเปิด ไม่มีกระจกเลย แต่เป็นอาคาร

หรือหลังคาก็ไม่ใช่ไทยแท้

อยู่ตลอด ไม่ได้ร้อนอบอาว รับลมพัดผ่านได้

เข้ า มาแล้ ว ก็ ขั ด หู ขั ด ตา องค์ ป ระกอบต่ า งๆ บางตึ กที่ เป็นโมเดิ ร์นก็ ยิ่งไปกั นใหญ่

ที่ มีการระบายอากาศได้ ดีมาก มีลมพัดผ่าน แทบจะทุกทิศ แต่ก็ไม่เหมาะสมส�ำหรับที่จะ

เลย เวลาถ่ายรู ปหรือมองเข้ามาแล้วดูไม่เข้า

ใช้รองรับการใช้งานที่เปลี่ยนไปได้ เหมาะใช้

ยิมเนเซียมที่มีหลังคาทรงโค้งแบบหัวล�ำโพง

ที่ จ ะใช้ กั บ การแสดงดนตรี ห รื อ ละครได้ เ ลย

กับบรรยากาศของโรงเรียน อย่างตึกข้างๆ ตึก เมื่ อ มองเข้ า มาเห็ น ก็ ท�ำลายภาพรวมของ

โรงเรียนไปหมดเลย เวลาถ่ายรู ปหอประชุม และตึกขาว แล้วติดตึกนีเ่ ข้าไปในรูปด้วย ท�ำให้

มองดูไม่เข้ากันอย่างมาก ก็เลยคุยกันไว้ว่าต่อ จากนี้ไปจะไม่ให้มีตึกโมเดิร์นในโรงเรียนอีก

สาเหตุ​ุที่​่ต้ � ้องสร้​้างหอประชุ​ุมใหม่​่ให้​้ กั​ับโรงเรี​ียน ตอนที่ มีความคิ ดจะสร้างหอประชุ ม

ใหม่ข้น ึ มา หลายๆ คนก็มีค�ำถามกันเยอะมาก

ส�ำหรับสวดมนต์ หรือการบรรยาย แต่ไม่เหมาะ

เพราะพื้ น ที่ ไ ม่ พ อ ควบคุ ม เรื่ อ งเสี ย งหรื อ

แสงได้ยากมาก ก็เลยคิดว่าจ�ำเป็นต้องสร้าง หอประชุมใหม่ข้ึนมา

สารพั​ัดงานเงื่​่�อนไขการออกแบบ เพื่​่� อตอบทุ​ุกโจทย์​์การใช้​้งาน หอประชุ ม ใหม่ ต้ อ งเป็ น อาคารที่ ใ ช้

งานได้ ห ลากหลาย (multi-function) ติ ด

เครื่ อ งปรั บ อากาศ สามารถใช้ ส�ำหรั บ ให้

นั ก เรี ย นมาสวดมนต์ พ ร้ อ มกั น ได้ ทุ ก วั น ฟั ง

109


บรรยายต่างๆ ได้ จัดแสดงคอนเสิร์ตส�ำหรับ

ที่ น่ี ก็ มี ค นทั ก มาอี ก ว่ า หอประชุ ม ใช้

วงออร์ เ คสต้ า ได้ เพราะโรงเรี ย นมี ว งดนตรี

ส�ำหรับสวดมนต์ทก ุ วัน วันละครึ่งชั่วโมงตั้งแต่

หอประชุ มแห่งนี้ยังต้ องเป็นพื้นราบ

เท่านั้น ถ้าเปิดแอร์แค่น้ีก็ไม่ค้ม ุ ดังนั้นแล้วถ้า

บันไดได้ เพราะต้องปรับใช้ส�ำหรับกิจกรรมที่

แล้วหอประชุมแห่งนี้เลยต้องพิเศษที่ต้องเปิด

หลายวง

ไม่ ส ามารถจั ด ที่ น่ั ง บนพื้ น ลาดหรื อ เป็ น ขั้ น

แปดโมงถึ ง แปดโมงครึ่ ง วั น ละครึ่ ง ชั่ ว โมง

จะใช้สวดมนต์ ควรต้องเป็น open air ดังนั้น

แตกต่างกัน ถ้าไม่ใช้น่งั ประชุม ก็ถอดเอาเก้าอี้

หน้าต่างได้หมด ให้มีลมพัดมีอากาศมาได้อีก

งานเลี้ ย ง งานเต้ น ร�ำ โรงเรี ย นวชิ ร าวุ ธ ฯ มี

บ้าง ไม่ดบ ี า้ ง ผมก็เลยต้องติดพัดลมขนาดใหญ่

ออกมาได้ แล้ ว จั ด กิ จ กรรมอย่ า งอื่ น อาทิ

จัดงานเต้นลีลาศร่วมกับโรงเรียนอื่นๆ อย่าง

แต่รอบๆ ก็มต ี ึกอื่นตั้งบังลมไว้อยู่ ลมก็พด ั ได้ดี กว้างกว่า ๘ เมตร ​ไว้บนเพดานด้วย เพื่อให้

โรงเรียนราชินี หรือโรงเรียนวัฒนาเป็นประจ�ำ

เกิดการหมุนเวียนของอากาศที่ดีภายในห้อง

อย่ า งปิ ง ปอง หรื อ กิ จ กรรมอย่ า งอื่ น ได้ ต าม

เข้ามาใช้งานกันเยอะๆ เปิดพัดลมเบาๆ คนที่

อยู่แล้ว หรือไม่ก็สามารถจัดแข่งกีฬาภายใน

ความเหมาะสม

110

ประชุม ผมก็มาค่อยเช็คอยูเ่ รื่อยๆ ว่าเมื่อเด็ก

อยู่ภายในห้องจะร้อนกันรึเปล่า? ซึ่งก็ใช้ได้ดี

ไม่ร้อน มีลมหมุนเวียนดี


อี​ีกเรื่​่�องที่​่�คนสงสั​ัยกั​ันมาก ก็​็คื​ือเรื่​่�อง

แข็งแรงอยูม ่ ากเลย หลังคาก็เป็นแบบไทยแท้

หอประชุ​ุมนี้​้�ถึงึ เป็​็นพลาสติ​ิก เป็​็นไฟเบอร์​์กลาส

เป็นระเบียบเรียบร้อยมาก แล้วที่ชด ั เจนมากๆ

เก้​้าอี้​้�ที่​่นั่​่ � ง� คนส่​่วนมากก็​็มาถามว่​่าทำำ�ไมเก้​้าอี้​้�ใน

ขนาดใหญ่ การเจาะช่องลม ช่องแสงต่างๆ ก็

หมดเลย อุ​ุตส่​่าห์​์สร้​้างหอประชุ​ุมที่​่�สวยขนาด

ก็คือการออกแบบทางเข้าหรือทางขึ้นอาคาร

นำำ� เข้​้ า มาจากสเปนหมดเลย เหตุ​ุ ผ ลที่​่� ต้​้ อ ง

ออกแบบที่ ไม่มีอาคารไทยที่ ไหนเหมือน ซึ่ง

นี้​้� ความจริ​ิ ง คื​ือ เก้​้ า อี้​้� ทั้​้� ง หมดนี้​้� เ ป็​็ น เก้​้ า อี้​้� ที่​่�

ที่ศพ ั ท์สถาปัตย์เรียกกันว่า canopy ก็เป็นการ

เป็​็ น ไฟเบอร์​์ ก ลาส ก็​็ เ พราะถ้​้ า เป็​็ น เก้​้ า อี้​้� ที่​่�

สวยงามมาก งานนี้เลยท�ำให้กดดันมาก

ว่​่ านิ​ิสั​ัยของเด็​็ กยั​ังไงๆ ก็​็ ซน สวดมนต์​์ เบื่​่�อๆ

องค์ ป ระกอบต่ า งๆ ของอาคารในโรงเรี ย น

มี​ี อ ยู่​่�ช่​่ ว งหนึ่​่� ง ที่​่� เ ก้​้ า อี้​้� บ นหอประชุ​ุ ม หลั​ั ง เก่​่ า

พื้นซีเมนต์ ที่อยู่บริเวณใต้ ถุนของหอประชุ ม

ปากกาจิ้​้�มทะลุ​ุกั​ันหมด ถ้​้าจะใช้​้หนังั ก็​็คงจะไม่​่

เป็นของที่นิยมใช้กันทั่วไปในสมัย ร.๖ เพราะ

บุ​ุหนั​ังหรื​ือบุ​ุผ้​้า ก็​็จะไม่​่ทนทาน ต้​้องอย่​่าลื​ืม

จะหลั​ั บๆ ก็​็ เอาอะไรไปจิ้​้� มเล่​่นกั​ั บเบาะแน่​่ๆ

บุ​ุด้​้วยผ้​้าหมดเลย ปรากฏว่​่าถู​ูกเด็​็กเอาดิ​ินสอ

ต่​่างกั​ัน สุ​ุดท้​้ายเลยสรุ​ุปว่​่าใช้​้เป็​็นไฟเบอร์​์กลาส ที่​่�ทนๆ ไปเลยดี​ีกว่​่า

ประสานจิตวิญญาณของ สถาปัตยกรรมในโรงเรียนเข้าไว้ ในอาคารแห่งนี้ การออกแบบหอประชุ ม ใหม่ เป็ น

งานที่ ท�ำให้ เ ครี ย ดและกดดั น อยู่ เ หมื อ นกั น

ผมพยายามจะเอาเอกลั ก ษณ์ แ ละ

มาใช้ในอาคารใหม่หลังนีด ้ ้วย แม้แต่กระเบื้อง

หลังเดิมก็ถูกเอามาด้วย ซึ่งกระเบื้องซีเมนต์

ตอนนัน ี ระเบื้องเซรามิคหรือกระเบื้อง ้ ยังไม่มก หิ น แ ก ร นิ ต ใ ห้ ใ ช้ กั น เ ย อ ะ เ ห มื อ น ต อ น นี้

กระเบื้องซีเมนต์ก็เป็นสิ่งที่นักเรียนวชิราวุธฯ

ชินกันมาก แล้วก็ทนทานอยูม ่ าร้อยปี ดูโบราณ

และขลังดี ผมก็เสนอให้เอากระเบื้องซีเมนต์

มาใช้ท่ีอาคารใหม่ด้วย หลายๆ คนก็ทักว่าไอ้

กระเบื้องซีเมนต์เนี่ยไม่มีใครเขาผลิตแล้วนะ

จะดู ส วยจริ ง หรื อ เปล่ า ? ผมก็ เ ลยพยายาม

เอาตั ว อย่ า งมาปู มาพิ สู จ น์ ดู ว่ า สิ่ ง นี้ เ ป็ น

หลายๆ คนก็คิดว่าไอ้นิธิน่ีเป็นใคร ออกแบบ

จิตวิญญาณของตึกเก่าของเราเลย เผอิญว่า

เข้ากับอาคารเก่ารอบๆ ได้จริงรึเปล่า? เรื่องนี้

เองเลย เป็ น กระเบื้ อ งซี เ มนต์ ขั ด มั น ขนาด

สถาปัตยกรรมไทยเก่งไหม จะออกแบบให้มัน ก็ ท�ำผมเครี ย ดอยู่ เ หมื อ นกั น เพราะเป็ น ที่

จ้องมองกันเหลือเกิน

อั น ที่ห นึ่ ง เลยอาคารนี้ จ ะต้ อ งเป็ น

สถาปั ต ยกรรมไทยแน่ ๆ และจะต้ อ งเป็ น สถาปัตยกรรมไทยประเพณีดว้ ย หอประชุมเก่า

เป็นอาคารทีม ่ รี ูปแบบชัดเจน สวยงามมากเลย

เป็นไม้สก ั แกะสลักทั้งหมด อยูม ่ าร้อยปีแล้วยัง

ผู้รับเหมาของเรา ก็บอกว่าเขาจะผลิตขึ้นมา แผ่นละประมาณ ๓๐ ซม. คูณ ๓๐ ซม. ซึ่งก็

ท�ำออกมาดูเหมือนโบราณมาก คนที่ไม่รู้ก็จะ

มาถามว่าตึกราคาหลายร้อยล้านบาท แต่มา ใช้กระเบื้องแบบนี้มันไม่เข้าเลย ท�ำไมไม่ใช้ แกรนิตหรือหินอ่อนอิตาลีดีๆ หน่อย พอเล่า ที่มาที่ไปก็เลยแก้ข้อสงสัยไปได้

111


อี​ีกจุ​ุดหนึ่​่�งที่​่�ยากมาก สำำ�หรับ ั ตึ​ึกนี้​้�เลย

ก็​็ คื​ื อบั​ั น ไดทางขึ้​้� น ชั้​้� น ๒ ที่​่� เ ป็​็ น ทางเข้​้ า ห้​้ อ ง

ประชุ​ุ ม บั​ั น ไดที่​่� ตึ​ึ ก นี้​้� เ ป็​็ น หิ​ิ น ขั​ั ด สี​ี ดำำ� ซึ่​่� ง ไป ได้​้ แรงบั​ันดาลใจมาจากบั​ันไดขึ้​้� นชั้​้�นบนของ

ตึ ก ขาว ซึ่ ง ก็ เ ป็ น อั ต ลั ก ษณ์ อี ก อย่ า งของ

อาคารที่ส�ำคัญของโรงเรียน การท�ำบันไดด้วย

หินขัดแบบนี้ก็ท�ำยากมาก ในสมัยนี้ไม่มีใคร

เขาท�ำแล้ว เพราะต้องค่อยๆ มาขัดทีละชิ้น

ผมก็ เ ขี ย นแบบและขอให้ ผู้ รั บ เหมาช่ ว ยท�ำ

ทุกอย่าง ไม่วา่ จะเป็นลูกตัง้ ลูกนอน หรอ ื ใต้บน ั ได

ราวบันได ท�ำออกมาให้เป็นหินขัดสีด�ำทั้งหมด ผูร้ บ ั เหมาเห็นแบบแล้วก็เลยขอไปดูของเก่าที่

ตึกขาว เพื่อศึกษาหาลักษณะการก่อสร้าง แล้ว

ก็เอามาประยุกต์ใช้กับที่อาคารนี้ ซึ่งก็ท�ำออก มาได้สวยงาม

โจทย์​์ยากที่​่�ต้​้องใช้​้เทคนิ​ิคสมั​ัยใหม่​่ มาช่​่วย นอกจากนีก ้ ม ็ ป ี ระตูหน้าต่างของทัง้ ตึก

อี กจ�ำนวนมาก รวมกันเป็นจ�ำนวนร้อยบาน

ซึ่งจะเป็นประตูหน้าต่างไม้อัดไม่ได้ ต้องเป็น

เบีย ้ วหรอ ื โค้งไม่ได้องศาทีเ่ หมือนกันก็จะท�ำให้

ประตูไม้จริงทั้งหมด แล้วก็ถก ู ออกแบบให้เป็น

ตึกดูออกมาไม่สวย พอดีสมัยนีม ้ เี ทคนิคก่อสร้าง

กว่าจะท�ำได้แบบที่เป็นอยูใ่ นตอนนี้

Concrete) หรือก็คือ คอนกรีตผสมไฟเบอร์

ประตูไทยที่สงู มาก เป็นความยากเหมอ ื นกันที่

อีกโจทย์ท่ียากมากๆ อีกเช่นกัน ก็คือ

ที่ เ รี ย กว่ า GRC (Glass-Fiber Reinforced

ซึ่งสามารถล่อออกมาได้เป็นช่องๆ เหมือนกัน

ลวดลายไทยที่ ประดั บเป็นคิ้ ว หรือบัว หรือ

เป๊ะๆ ท�ำให้เกิดความสวยงามที่เป็นระเบียบ

สถาปัตยกรรมไทยของตึกนี้ เรื่องนี้ผู้รับเหมา

ชั้นเชิงต่างๆ ที่ เป็นลวดลายก็ถูกสร้างขึ้นมา

ส่ ว นต่ า งๆ เพื่ อ ความสวยงามตามลั ก ษณะ ยอมแพ้ เพราะการจะหาช่างมาแกะสลักเยอะ

เป็นร้อยๆ ชิ้นแบบนี้ท�ำไม่ได้ ช่างแต่ ละคน

ก็มีฝีมือไม่เท่ ากัน ท�ำออกมาแล้วแต่ ละจุ ดก็

112

เรี ย บร้ อ ยเหมื อ นกั น ทั้ งอาคาร คิ้ ว หรื อ ด้วย GRC นี้

ช่อฟ้าใบระกาทั้งหมด ก็ถก ู สร้างขึน ้ มา

ด้วยเทคนิคนีท ้ ้งั หมดด้วย ตอนทีซ ่ อ ่ มพระทีน ่ ง่ั


จักรีมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งก็

จากเครื่องดนตรีโดยตรง เสียงจะเพราะมาก

ปีท่ี แล้ ว ผมก็ ได้ ไปดู เห็นเขาเอาไม้สักท่ อน

เนื่ อ งจากที่ ว ชิ ร าวุ ธ ฯ เป็ น โรงเรี ย นที่ มี แ ขก

เรื่องยากมากทีจ ่ ะท�ำได้ในตอนนี้ เพราะเราเอง

ต้ องมี ห้องรับรองที่ เหมาะสม นอกจากห้ อง

สลักช่อฟ้าใบระกาของเราทั้งหมดด้วย พอท�ำ

ของโรงเรี ย นที่ อ ยู่ ติ ด กั น ซึ่ ง กรรมการของ

เป็นงานโบราณเหมือนกัน ตอนซ่อมเมื่อยี่สิบ ใหญ่ๆ มาสลักมาเหลา มาแกะสลัก ซึ่งเป็น

ก็ ไม่รู้จะไปหาไม้สักใหญ่ขนาดนั้นมาใช้แกะ เสร็จออกมาแล้วไปติดตั้งด้านบน ก็มองแยก กันไม่ค่อยออกว่ าเป็นวั สดุสังเคราะห์ นึกว่ า เป็นไม้

เทคนิ ค นี้ ก็ ท�ำให้ ก ารก่ อ สร้ า งอาคาร

นอกจากนี้ ยั ง มี ห้ อ งรั บ รองพิ เ ศษ

ผูใ้ หญ่และแขกต่างชาติมาเยีย ่ มอยูเ่ สมอ เราก็

รับรองแล้วก็ยังมีห้องประชุ มคณะกรรมการ

โรงเรี ย นก็ เ ป็ น ผู้ ใ หญ่ ข องประเทศระดั บ

องคมนตรี ทั้งห้องรับรองและห้องประชุมเลย

จ�ำเป็ น ต้ อ งออกแบบให้ ค ลาสสิ ค มี ร ะเบี ย ง กว้ า งเปิ ด ออกไปเห็ น วิ ว ศาลากลางน้� ำ และ

หลังนี้ท�ำได้ง่ายขึ้น พอฉาบเรียบแล้วลงสีไป

ตึกขาวอยูด ่ ว้ ย เป็นทีเ่ ชิดหน้าชูตาของโรงเรียน

เทคนิคก่อสร้างของยุคนี้

แกะสลักของพระมหากษัตริย์ ๓ พระองค์ คือ

ผสมผสานความคลาสสิคมาไว้ภายใน

มีความส�ำคัญกับโรงเรียนอย่างมาก ซึ่งที่หอ

ก็ ท�ำให้ ค นมามองไม่ ค่ อ ยออก ไม่ นึ ก ว่ า เป็ น

ส�ำหรับการตกแต่งภายใน ก็พยายามที่

จะเอาลายไทยมาใส่เข้าไปแต่ดว ้ ยลักษณะการ

ในห้ อ งประชุ ม ยั ง มี พ ระรู ป หิ น อ่ อ น

รัชกาลที่ ๖ รัชกาลที่ ๗ และรัชกาลที่ ๙ ผู้ท่ี ประชุมหลังเดิมก็มีพระบรมฉายาลักษณ์ของ ทัง้ สามพระองค์ประดับอยูด ่ ว้ ย คณะกรรมการฯ

ก็ เลยให้ช่างประติ มากรรมแกะสลั กหินอ่ อน

ใช้งานแล้วก็คอ ่ นข้างยาก เพราะต้องออกแบบ

มาไว้ ท่ห ี อประชุ ม ใหม่ ด้ ว ย ที แ รกก็ จ ะตั้ ง ไว้

ได้ พอสมควร แต่ ท่ี เน้นกว่ ามากคื อเรื่องการ

เฉี่ยวไปเฉี่ยวมาจะเกิดอุบัติเหตุได้ เลยเอามา

ให้ เ ป็ น หอแสดงดนตรี ท่ี ทั น สมั ย มี ล ายไทย ควบคุ ม เสี ย ง (acoustic) ซึ่ ง ท�ำได้ ย ากมาก

เพราะเรามีโจทย์ท่ต ี อ ้ งใช้งานในรูปแบบหลาก หลายมากๆ ถ้าเป็นดนตรีร็อกหรือแจ๊ส ที่ต้อง

ใช้ ล�ำโพงเยอะ เสี ย งก็ จ ะดั ง ก้ อ งกั น เกิ น ไป

ด้ า นหน้ า แต่ ก็ ก ลั ว กั น ว่ า เดี๋ ย วถ้ า มี ใ ครเดิ น ตั้งภายในห้องประชุมแทนดูจะเหมาะกว่า

โถงด้​้านหน้​้าห้​้องประชุ​ุมที่​่�จั​ัดแสดงรู​ูป

และประวั​ัติ​ิของผู้​้�บั​ังคั​ับการวชิ​ิราวุ​ุธฯ ทุ​ุกคน

ซึ่​่�งก็​็ไปหาศิ​ิลปิ​ินมาวาดรู​ู ปเหมื​ือนขึ้​้�นมาใหม่​่

การกระจายเสียงก็อาจจะไม่ดีมาก แต่ถ้าเป็น

ทั้​้� งหมด และก็​็ยั​ังเป็​็นที่​่� เก็​็บถ้​้ วยรางวั​ั ลต่​่างๆ

จะเหมาะกว่า เพราะไม่ต้องใช้ล�ำโพง ใช้เสียง

โรงเรี​ียนไปด้​้วย

วงออเครสตร้า ที่มเี ครื่องดนตรีอย่างไวโอลินก็

ของโรงเรี​ียน ทำำ�หน้​้าที่​่�เป็​็นหอเกี​ียรติ​ิยศของ

เรี​ียบเรี​ียงโดย: ศศิ​ินทร์​์ วิ​ิทูรู ปกรณ์​์ (โอวี​ี ๗๙) ภาพถ่​่ายโดย: A๔๙

113


หมอยุทธฯ เล่าเรื่อง เด็กเลี้ยงแพะ เมื่​่�อฉั​ันยั​ังเป็​็นเด็​็ก จำำ�ความได้​้ว่​่า ที่​่�

บ้​้านโพธารามเลี้​้�ยงสั​ัตว์​์หลายชนิ​ิด เช่​่น

กระต่​่าย นกพิ​ิราบ ไก่​่ เป็​็ด หมู​ู ม้​้า วั​ัว และ แพะ

พฤติ​ิกรรมของสั​ัตว์​์แต่​่ละชนิ​ิด

ดั​ังกล่​่าวที่​่�อยู่​่�ในความทรงจำำ�ของฉั​ัน คื​ือ

“กระต่​่าย” ชอบขุ​ุดรู​ู เอาไว้​้ออกลู​ูก

ออกลู​ูกปี​ีละ ๒-๓ ครั้​้�ง ครั้​้�งละหลายตั​ัว

ตั้​้�งท้​้องประมาณ ๓๐ วั​ัน ลู​ูกกระต่​่าย น่​่ารั​ัก มากๆ

“นกพิ​ิราบ” อายุ​ุขัย ั ๖ ปี​ี ออกไข่​่ได้​้

ทั้​้�งปี​ี ครั้​้�งละ ๒ ใบ ตั​ัวผู้​้� ชอบร้​้องจี​ีบ ตั​ัวเมี​ีย

“ไก่​่” ฉั​ัน ได้​้ยิน ิ เสี​ียงไก่​่ตั​ัวผู้​้� ขั​ันตอน

เช้​้า และได้​้ยิน ิ เสี​ียงไก่​่ตั​ัวเมี​ียร้​้อง

กระต๊​๊ากๆๆๆ เมื่​่�อออกไข่​่เสร็​็จใหม่​่ๆ ลู​ูกไก่​่ ภาพ นพ.ยุทธ โพธารามิก

ในช่วงอายุท่ีเป็นเด็กเลี้ยงแพะ

114


อยู่​่�กั​ับแม่​่ไก่​่ น่​่ารั​ักมาก และนอกจากนี้​้� ฉั​ันยั​ัง เป็​็นนั​ักตอนไก่​่ตั​ัวผู้​้� โดยวิ​ิธีพื้​้ ี � นบ้​้าน

“เป็​็ด” เลี้​้�ยงไว้​้ฝู​ูงใหญ่​่ กลางวั​ันจะ

ปล่​่อยหากิ​ินอยู่​่�ในสระ บางตั​ัวไข่​่ทิ้​้�งไว้​้ก้​้น

สระ กลางคื​ืน นอนในเล้​้า แล้​้วก็​็ออกไข่​่ ฉั​ัน

รู้​้�สึ​ึกตื่​่�นเต้​้น สนุ​ุกมาก เมื่​่�อไปเก็​็บไข่​่เป็​็ดตอน

แม่​่โขง

การรี​ีดนมแพะ ต้​้องใช้​้ฝี​ีมื​ือ บี​ีบนม

แพะให้​้พุ่​่�งผ่​่านปากขวด เข้​้าไปในขวด อย่​่าง แม่​่นยำำ� เพื่​่�อไม่​่ให้​้สิ่​่ง� สกปรก ปนเปื้​้�อนเข้​้าไป ในขวด

แม่​่แพะจะพยายามอั้​้�นน้ำำ�นมเก็​็บไว้​้

ตี​ีห้​้า ฉั​ันฉายไฟ เข้​้าไปในเล้​้าเป็​็ด จะเห็​็นไข่​่

ให้​้ลูก ู

อยู่​่�ทางโน้​้น ซ่​่อนอยู่​่�ทางนี้​้� รู้​้�สึ​ึกว่​่า เก็​็บเท่​่าไร

จะปล่​่อยลู​ูกแพะทั้​้�งหมด ออกมากิ​ินนมแม่​่

เป็​็ดเป็​็นจำำ�นวนมาก กระจายเต็​็มไปหมด ซุ​ุก

ก็​็ไม่​่หมดสั​ักที​ี

“หมู​ู” เลี้​้�ยงไว้​้ขาย หมู​ู ไม่​่ถูก ู กั​ับ

ตะขาบ ถู​ูกตะขาบกั​ัดเมื่​่�อใด จะช๊​๊อคตาย ภายในไม่​่กี่​่�นาที​ี

“ม้​้า” “วั​ัว” “แพะ” เป็​็นสั​ัตว์​์กลุ่​่�ม

เดี​ียวกั​ัน แต่​่วิ​ิถี​ีชีวิ ี ิตไม่​่เหมื​ือนกั​ัน ฉั​ันเลี้​้�ยงมา แล้​้วทั้​้�งนั้​้�น

แต่​่วั​ันนี้​้�จะเล่​่าเรื่​่�อง “แพะ” ให้​้ฟังั

สนุ​ุกๆ ครั​ับ

ที่​่�บ้า้ นฉั​ัน เลี้​้�ยงแพะไวั​ัเอาน้ำำ�นม

ประมาณ ๖๐-๗๐ ตั​ัว ทุ​ุกครั้​้�งที่​่�โรงเรี​ียนปิ​ิด

เมื่​่�อรี​ีดนมแพะ ครบทุ​ุกแม่​่แล้​้ว เราก็​็

เสี​ียงลู​ูกแพะ ร้​้องหาแม่​่.. เสี​ียงแม่​่

แพะ ร้​้องหาลู​ูก เสี​ียงระงมไปหมด แม่​่กั​ับลู​ูก สามารถหาพบกั​ันได้​้รวดเร็​็ว อย่​่างน่​่าทึ่​่�ง

แพะตั​ัวผู้​้� จอมยุ​ุทธผสมพั​ันธุ์​์� แพะ

ตั​ัวผู้​้� มี​ีขีด ี ความสามารถทางเพศสู​ูงมาก มั​ัน สามารถทำำ�ให้​้แพะตั​ัวเมี​ียตั้​้�งท้​้องได้​้ ๖๐ ตั​ัว

ภายใน ๑ เดื​ือน วั​ันๆ ไม่​่เคยเหน็​็ดเหนื่​่�อย ต่​่อ การผสมพั​ันธุ์​์� เดิ​ินไปกิ​ินไปผสมพั​ันธุ์​์�ไป

ร้​้อง โบ๊​๊ะๆ ไล่​่ตั​ัวเมี​ียทั้​้�งวั​ัน

ฉั​ันเรี​ียกมั​ันว่​่า “ไอ้​้โบ๊​๊ะ”

ทำำ�ไม แพะหรื​ือแกะตั​ัวผู้​้� ถึ​ึงผสมพั​ันธุ์​์�

เทอม พ่​่อจะให้​้ฉัน ั ไปเลี้​้�ยง ม้​้า วั​ัว และแพะ

เก่​่งนั​ักหนา ก็​็เพราะว่​่า “มี​ีลูก ู อั​ันฑะใหญ่​่ เมื่​่�อ

เป็​็นตั​ัวเมี​ียหมด ตั​ัวผู้​้� ๒ ตั​ัว นี้​้�จะกิ​ินไป ผสม

(ฮา)

แย่​่งตั​ัวเมี​ีย.. ตั​ัวเมี​ียก็​็ทยอยกั​ันตั้​้�งท้​้อง (ตั้​้�ง

เปี้​้�ยนโลก

๑-๒ ตั​ัว ปี​ีหนึ่​่�งออกลู​ูก ๒ ครอก

Honey Possum ครั​ับ

ขาย วิ​ิธีก ี ารคื​ือ ในตอนเย็​็น เราจะแยกลู​ูก

ด้​้วยน้ำำ�นม มี​ีกระเป๋​๋าหน้​้าท้​้อง ตั​ัวยาว ๗.๗

แพะ (ประมาณ ๑๐ กว่​่าตั​ัว) ตลอดคื​ืน ตอน

ประเทศออสเตรเลี​ีย สามารถผสมพั​ันธุ์​์� เวลา

ในฝู​ูงแพะนี้​้� จะมี​ีตั​ัวผู้​้� ๒ ตั​ัว นอกนั้​้�น

พั​ันธุ์​์�ไปตลอดวั​ัน บางที​ีก็​็ทะเลาะกั​ัน เพราะ

ท้​้องประมาณ ๑๕๐ วั​ัน) แล้​้วก็​็ออกลู​ูกครั้​้�งละ แม่​่แพะจะมี​ีน้ำำ�นม ให้​้เรารี​ีดนมไป

แพะ (ประมาณ ๒๐ กว่​่าตั​ัว) ออกจากแม่​่

เช้​้า ตี​ีห้​้า เราก็​็จะมารี​ีดนมแพะ ใส่​่ขวดเหล้​้า

เที​ียบกั​ับน้ำำ�หนั​ักตั​ัว “มนุ​ุษย์​์ชิด ิ ซ้​้ายไปเลย แต่​่แพะหรื​ือแกะตั​ัวผู้​้� ไม่​่ใช่​่แชมป์​์

แชมป์​์เปี้​้�ยนโลก ตั​ัวจริ​ิงเสี​ียงจริ​ิง คื​ือ Honey Possum เป็​็นสั​ัตว์​์เลี้​้�ยงลู​ูก

ซม.กิ​ินน้ำำ�เกษรดอกไม้​้เป็​็นอาหาร ถิ่​่�นกำำ�เนิ​ิด ใดก็​็ได้​้ ทุ​ุกวั​ันทั้​้�งปี​ี

115


เพราะว่​่าลู​ูกอั​ัณฑะใหญ่​่มากๆ เมื่​่�อ

เที​ียบกั​ับน้ำำ�หนั​ักตั​ัว และยั​ังมี​ี Sperm ตั​ัวใหญ่​่ ที่​่�สุด ุ ในโลกด้​้วย

ธรรมชาติ​ิช่ว ่ ยให้​้ Honey Possum

ดำำ�รงเผ่​่าพั​ันธุ์​์�ไว้​้ให้​้ได้​้ เพราะตั​ัวมั​ันเล็​็ก เป็​็น เหยื่​่�อให้​้แก่​่สัต ั ว์​์ใหญ่​่ จึ​ึงต้​้องผสมพั​ันธุ์​์�ได้​้ ตลอดเวลา

ได้​้ความรู้​้�จากแพะ

เด็​็กเลี้​้�ยงแพะ อย่​่างฉั​ัน จึ​ึงหนี​ีไม่​่พ้น ้ ที่​่�

ตามตั​ัวและเสื้​้�อผ้​้า เต็​็มไปด้​้วย กลิ่​่�นแพะ

และบางวั​ัน ต้​้องอุ้​้�มลู​ูกแพะแรกเกิ​ิด

กลั​ับเข้​้าคอก..เพราะแม่​่แพะ ไปคลอดกลาง ทุ่​่�ง

และแล้​้ว เพราะกลิ่​่�นแพะ นี่​่�แหล่​่ะ

ทำำ�ให้​้ฉัน ั ได้​้พบ สั​ัจธรรม

คื​ือว่​่า เย็​็นวั​ันหนึ่​่�ง เมื่​่�อฉั​ันเอาแพะ

ฉั​ันเป็​็นเด็​็กเลี้​้�ยงแพะ จึ​ึงรู้​้�ว่​่า แพะ

เข้​้าคอกเรี​ียบร้​้อยแล้​้ว

แพะ จะใช้​้ปากรู​ูดกิ่​่�งมะขามเทศ แล้​้ว

กล้​้วยแขก

ชอบกิ​ินใบมะขามเทศมากๆ เอาใบมากิ​ิน

ฉั​ันสนใจว่​่า ทำำ�ไมหนามมะขามเทศ

เดิ​ินเท้​้ากลั​ับบ้​้าน ผ่​่านแม่​่ค้​้าขาย ฉั​ันกำำ�ลั​ังหิ​ิวอยู่​่�พอดี​ี จึ​ึงแวะซื้​้�อกิ​ิน

ฉั​ันถามแม่​่ค้​้าคนงามว่​่า “ขายยั​ังไง

ที่​่�กิ่​่�ง ไม่​่ตำำ�ปากแพะ

ครั​ับ”

มาก (ฉั​ันเก็​็บฝั​ักมะขามเทศ มากิ​ินที​ีไร มั​ักจะ

พู​ูดว่​่า “มี​ีเงิ​ินซื้​้�อหรื​ือ” (เธอคงได้​้กลิ่​่�นสาบ

เทศนั้​้�น มั​ันเรี​ียงกั​ัน โดยหั​ันคมหนามออกไป

หรอก)

ไปดู​ูที่​่�กิ่​่ง� มะขามเทศ ซึ่​่�งมี​ีหนามเยอะ

โดนหนามตำำ�ทุก ุ ที​ี) จึ​ึงรู้​้�ว่​่า หนามที่​่�กิ่​่ง� มะขาม ทางปลายกิ่​่�ง

ตั้​้�งแต่​่นั้​้�นมา ฉั​ันจะแสดงให้​้ใครๆ ชม

ว่​่า ฉั​ันสามารถรู​ูดใบจากกิ่​่�งมะขามเทศได้​้

โดยไม่​่ถูก ู หนามตำำ�มื​ือ (ฮา)

บทส่​่งท้​้าย “กลิ่​่�นตั​ัวแพะ”

แพะไม่​่ชอบอาบน้ำำ� จึ​ึงมี​ีกลิ่​่�นตั​ัวฉุ​ุน

รุ​ุนแรงพอสมควร

แม่​่ค้​้าคนงาม เงยหน้​้ามองฉั​ัน และ

แพะ ที่​่�ตั​ัวฉั​ัน และคงคิ​ิดว่​่า ฉั​ันไม่​่มี​ีเงิ​ินซื้​้�อ

คำำ�ถามนี้​้� ทำำ�ให้​้ฉัน ั เคื​ืองมาก พร้​้อม

กั​ับคิ​ิดในใจว่​่า “เดี๋​๋�ยวฉั​ันจะไปขายแพะทั้​้�งฝู​ูง เอาเงิ​ินมาซื้​้�อเหมาหมด ทั้​้�งกล้​้วยแขก และ แม่​่ค้​้าคนงาม”

จากเหตุ​ุการณ์​์ครั้​้�งนี้​้� ทำำ�ให้​้ฉัน ั รู้​้�ว่​่า

เด็​็กเลี้​้�ยงแพะ (Goat Boy) มั​ันต่ำำ�ต้​้อยกว่​่า เด็​็กเลี้​้�ยงวั​ัว (Cow Boy) จริ​ิงๆ ครั​ับ

เขี​ียนโดย: ยุ​ุทธ โพธารามิ​ิก (โอวี​ีอาวุ​ุโส) (เผยแพร่​่ทางเฟซบุ๊​๊�ค Yoothility)

116


เหงาเมื่อไหร่ ก็แวะมา “หวนคิดค�ำนึง ถึงตอนที่ฉันยังเป็น

เด็กๆ” (ตุ๊กตา – เทียรี่ เมฆวัฒนา)

ฟังเพลงนี้ทีไร ภาพตอนเด็กๆ ก็ย้อน

กลับมาทุกที เช่น เรื่องของกิน เมื่อครั้งอยู่ โรงเรียน หลายคนคงเบื่อหน่ายกับอาหาร ที่​่�บังั คั​ับในโรงเลี้​้�ยง จนต้​้องพึ่​่�งร้​้านอาหาร

นอกกำำ�แพงอย่​่าง เฮี​ียธิ​ิต, ร้​้านลาว, บะหมี่​่�เซฟ, มะยอดผั​ัก, เตี๋​๋�ยวตุ้​้�ย

บางร้าน...อร่อย บางร้าน...ไม่อร่อย แต่​่แน่​่นอนว่​่า เด็​็กโอวี​ีที่​่�ต้​้องมี​ีคิ​ิด

อยากกลั​ับไปกิ​ินอี​ีกเป็​็นแน่​่ (ยิ่​่�งถ้​้ามี​ีกิ​ิจกรรม

ได้​้แต่​่งชุ​ุดขาว กางเกงเล และปี​ีนรั้​้�วออกไปกิ​ิน

หลั​ังงานวิ่​่�ง Gentleman Run แล้​้วละก็​็ยิ่​่ง� น่​่า สมัครเข้าไปใหญ่) ไม่รู้ว่าเพราะ “อร่อย” หรือ “อะคัส’เทิ่มด” กันแน่

117


ผมลองสังเกตตัวเอง ว่าเวลาไหน

ร้านลาวที่ยา่ งคอหมูจนไหม้เกรียม

จะถ่อมากิน? เวลา...เหงาครับ

รสชาติแจ่วข้าวคั่วที่หนักเค็มตามมือป้า

‘เล็กรุนแรง’ อาการอย่างนี้จะเรียกว่า โหยหา

ลงไปก็ชว ่ ยให้สะท้อนถึงความโล่งอกหลัง

ยิ่งเหงา และหนาวด้วยแล้ว ต้องเบิ้ล

อดีต ได้ไหม? เลยลองไปค้นดู ซึ่งตรงกับ

การศึกษาหลายๆ งาน ที่หาความสัมพันธ์

ระหว่างอารมณ์ตา่ งๆ กับการโหยหาอดีตนะครับ เช่น อารมณ์เศร้า เหงา ข้อเขียนบางชิน ้ เชื่อมโยง ไปยันอุณหภูมิท่ีว่า ความหนาวเย็น ของห้อง

ก็ท�ำให้เรานึกถึงเรื่องเก่าๆ ได้เหมือนกัน

ที่ว่ามานี้ไม่ใช่ว่าการไม่ดีนะครับ

เพราะแม้วา่ เราจะ คิดค�ำนึง โดยเฉพาะในตอน ที่เศร้า เหงา และหนาว แล้วการโหยหาอดีต เป็นการเยียวยาตัวเราด้วย ราวกับว่าเมื่อใด

ที่เราได้กลับไปพื้นที่แห่งความทรงจ�ำเดิมๆ

เราก็หยิบความรู้สึกดีๆ ติดไม้ติดมือกลับมา

พร้อมต่อเติม ผลิตซ้�ำความทรงจ�ำนั้นจน..

(หรือน้องพร) พอเอาข้าวเหนียวแข็งๆ มาจิ้ม โดนแดกมาเมื่อตอนเย็น เล็กรุนแรงพี่ต้ย ุ ที่

เตือนเราอยูเ่ สมอเรื่องการแบ่งปันเพราะต้อง แย่งกันบีบกินจากถุงพลาสติก หรือจะเป็น

ร้านน้�ำแถวสวนอ้อยทีส ่ ะกิดให้คด ิ ถึงการท�ำงาน เป็นทีม ยามผู้ก�ำกับลุย นึกถึงแล้วสนุกจริงๆ เหงาเมื่อไหร่กแ ็ วะไปนะครับ

ร้านเดิมๆ ของพวกเรา ส่วนใครเศร้า ลองชวน เพื่อนเข้าไปโรงเรียน สั่งข้าวผัดปลาสลิดที่

ครัวโอวีมาสักจาน ช่วงหน้าหนาว ก็อย่าลืม

รักษาสุขภาพ และดูแลคนข้างๆ กันนะครับ แต่อย่าเผลอไปโหยหาคนเก่าๆ...

ระวังจะโดนซ่อมเอาไม่รู้ด้วยนะครับ

เพลิดเพลินทุกครั้งไป

เขี​ียนโดย: ภาสกร ยุ​ุรวรรณ (โอวี​ี ๗๗)

118


The Garrison Bangkok สถานที่ส�ำหรับให้คุณได้ดื่มด่�ำกับ

บรรยากาศแบบอังกฤษ แต่อาหารนั้นไม่ได้

เมื่อก้าวเข้ามาในร้าน จะสัมผัสได้ถงึ

โดยทางเชฟได้ปรับปรุงอาหารเพื่อให้ถูกปาก

ดนตรีและบรรยากาศบาร์แบบอังกฤษได้ทก ุ วัน การตกแต่งทีเ่ หมือน Pub ในประเทศอังกฤษ การ

ตกแต่งเน้นงานไม้เป็นส่วนใหญ่ เคาน์เตอร์บาร์

รสชาติจืด แบบสไตล์อาหารฝรั่งแน่นอน

สไตล์คนไทย เมนูท่ีเสิร์ฟในร้านจึงเน้นเป็น อาหารสไตล์ฟิวชั่นที่ผสมผสานรสชาติกัน

รูปทรงโบราณที่เรียงรายไปด้วยเครื่องดื่ม

อย่างลงตัว เมนูหลักที่ห้ามพลาดเป็นอันขาด

เก่าๆ แต่ไม่จ�ำเจ

ด้วยน้�ำมันเห็ดทรัฟเฟิล, ลาบก้อยเนื้อกึ่งสุก

สารพัด ท�ำให้หลงใหลไปกับบรรยากาศแบบ เดอะแกริสัน มีบริการทั้ง Café และ

Bar โดยคาเฟ่จะให้บริการเครื่องดื่มและกาแฟ

ในตอนกลางวัน ส่วนบาร์จะเปิดบริการหลัง เวลา ๖ โมงเย็น เป็นต้นไป ซึ่งจะมีบริการ อาหารและเครื่องดื่ม

อาหารของร้านนั้นได้เชฟชื่อดัง

มาช่วยคิดค้นสูตรให้ ถึงแม้ว่าร้านจะมี

คือ สตูว์ลน ิ้ วัว, หอยสแกลลอปครีมซอสที่ราด หรือแม้แต่เมนูท่ีเรียบง่ายอย่าง หมูทอดสูตร แกริสัน ขอบอกเลยว่าจานเดียวไม่เคยพอ รับรองว่าอร่อย สมค�ำร่�ำลือ อย่างแน่นอน มาดูเรื่องของเครื่องดื่มกันบ้าง

เริ่มกันที่เบียร์สด ทางร้านมีเบียร์สดทั้งหมด

๗ ชนิด โดยเบียร์แต่ละชนิดจะถูกแช่เย็น

ตลอดเวลา อย่างเช่นเบียร์สด Punk IPA ที่

119


เป็นคราฟเบียร์จากอเมเริกา ซึ่งถูกแช่เย็น

ในเรื่องของดนตรี ที่ The Garrison

ตัง้ แต่ออกจากโรงงานจนมาถึงทีร่ า้ น ช่วยเพิม ่

เล่นทั้งเพลงไทยและเพลงสากล โดยที่

จะเย็นสดตลอดเวลา ที่เด็ดกว่านั้นยังมี

จุดนี้ก็เพื่อที่จะท�ำให้แต่ละวัน มีแต่ความ

ความมัน ์ ให้ลก ู ค้าในร้าน ่ ใจได้วา่ เบียร์ทเ่ี สิรฟ

แนวเพลงแต่ละวันจะไม่เหมือนกันเลย ซึ่งใน

แนวคิดในการอุดหนุนคราฟเบียร์ไทย และ

ตื่นเต้นไม่นา่ เบื่อ เช่น วันอังคารของร้าน จะเน้น

จะเตรียมหัวจ่ายเบียร์สดไว้ ๑ หัว โดยเฉพาะ

อังกฤษ อย่างเช่น Oasis หรือจะเป็นเพลง

ให้เวียนชิมทุกเดือน แต่ท่ีเป็นที่ถูกใจคอเบียร์

แบบอเมริกัน ก็จะมีเพลงของ Gun N’ Roses

ช่วยโปรโมทเบียร์ฝีมือคนไทย โดยทางร้าน

ที่จะคอยสับเปลี่ยนเอาคราฟเบียร์ไทยกันมา คงไม่พ้น เบียร์ด�ำจากประเทศไอร์แลนด์ ยี่ห้อ Guinness ซึ่งหาดื่มได้ยากมากใน

เพลงสากลสไตล์ Rock n’Roll ทั้งวงจากฝั่ ง

คลาสสิกๆ ของวง The Beatles หรือถ้าชอบ หรือ The Ealges จ�ำพวกนี้ให้ฟังกัน หรือถ้า ไม่อินกับเพลงสากล นั่นไม่ใช่ปัญหา เพราะ

กรุงเทพฯ แต่ท่ีน่ีรับรองเลยว่าเบียร์ยังคงมี

ทุกวันศุกร์และเสาร์ ทีร่ า้ นจะเน้นเล่นเพลงไทย

ไอร์แลนด์อย่างแน่นอน

จะเน้นไปเอาใจสายปาร์ต้ี เพิม ่ ดีกรีความมันส์

ความสดใหม่และเย็นฉ่�ำเหมือนดื่มที่ประเทศ ส่วนใครที่เป็นคอดื่มแบบ Single

Malt หรือชอบดื่มวิสกี้ท่ีมีระดับ ในร้านก็มี

Single Malt เสิร์ฟทั้งเป็นขวดและเป็นแก้ว

แบบ On the Rock ให้เลือกกว่า ๑๕ ชนิด ถ้าคนไหนไม่ดื่มเบียร์ หรือ วิสกี้

ที่ร้านก็มีบาร์เทนเดอร์ บริการ Cocktail

แบบสนุกสนานเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งบรรยากาศ ให้กับค่�ำคืนแฮงค์เอาท์

ดั​ังนั้​้�นแล้​้วใครที่​่�กำำ�ลั​ังหาที่​่�นั่​่�งชิ​ิล ทาน

อาหารและฟั​ังเพลงสบายๆ หรื​ือหาที่​่�สำ�หรั ำ บ ั สนุ​ุกสนานกั​ับเพื่​่�อนฝู​ูง เน้​้นแฮงค์​์เอาท์​์แบบ

สุ​ุดเหวี่​่�ยง ก็​็ขอเรี​ียนเชิ​ิญที่​่� The Garrison ได้​้ รั​ับรองว่​่าที่​่�ร้า้ นสามารถตอบโจทย์​์นี้​้�ได้​้อย่​่าง

หลากหลายเมนู ทัง้ แบบ Classic และ Signature

ครบถ้​้วนแน่​่นอน

ทั้งหมดจะถูกตั้งขึ้นมาตามเพลงที่ถูกเล่น

ร้​้านเดอะแกริ​ิสัน ั

โดยชื่อ Signature Cocktail ของทางร้าน ประจ�ำในร้าน

ตั้งอยูร่ ิมถนนพหลโยธิน ระหว่างสถานี BTS สะพานควายและอารีย์

เขี​ียนโดย: ต่​่อพงษ์​์ อนั​ันตกู​ูล และ ชชานนท์​์ ลิ่​่�มทอง (โอวี​ี ๘๐)

120


ฉบั​ับปี​ี ๒๕๕๒

ฉบั​ับ ๑๑ พ.ค-มิ​ิ.ย. ๒๕๕๒ ฉบั​ับปี​ี ๒๕๕๒

ฉบั​ับ ๑๔ พ.ย.-ธ.ค. ๒๕๕๒ ฉบั​ับปี​ี ๒๕๕๓

ฉบั​ับ ๑๗ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๓

ฉบั​ับ ๑๒ ก.ค.-ส.ค. ๒๕๕๒

ฉบั​ับ ๑๓ ก.ย.-ต.ค. ๒๕๕๒

ฉบั​ับปี​ี ๒๕๕๓

ฉบั​ับ ๑๕ ม.ค.-ก.พ. ๒๕๕๓

ฉบั​ับ ๑๖ เม.ย.-มิ​ิ.ย. ๒๕๕๓

ฉบั​ับปี​ี ๒๕๕๔

ฉบั​ับ ๑๘ ม.ค.-เม.ย. ๒๕๕๔

ฉบั​ับ ๑๙ เม.ย.-มิ​ิ.ย. ๒๕๕๔


ฉบั​ับปี​ี ๒๕๕๕

ฉบั​ับ ๒๐ ม.ค.-มี​ี.ค. ๒๕๕๕

ฉบั​ับ ๒๑ ม.ค.-เม.ย. ๒๕๕๕

ฉบั​ับ ๒๒ พ.ค.-ส.ค. ๒๕๕๕

ฉบั​ับปี​ี ๒๕๕๕

ฉบั​ับปี​ี ๒๕๕๖

ฉบั​ับปี​ี ๒๕๕๗

ฉบั​ับ ๒๓ ก.ย.-ธ.ค. ๒๕๕๕

ฉบั​ับ ๒๔ ม.ค.-ส.ค. ๒๕๕๖

ฉบั​ับ ๒๕ ก.ย. ๒๕๕๖-มี​ี.ค. ๒๕๕๗

ฉบั​ับปี​ี ๒๕๕๗

ฉบั​ับปี​ี ๒๕๕๘

ฉบั​ับปี​ี ๒๕๕๙

ฉบั​ับ ๒๖ เม.ย.-มิ​ิ.ย. ๒๕๕๗

ฉบั​ับ ๒๗ ก.ค. ๒๕๕๗-มิ​ิ.ย. ๒๕๕๘

ฉบั​ับ ๒๘ เม.ย.-ธ.ค. ๒๕๕๙


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.