manual officer

Page 1


โรตารี ก เอย ก ไก เลมนี้ จัดแปลจาก The ABCs of Rotary (363-EN) ฉบับภาษาอังกฤษ โดย ไดรับมอบหมายจากโรตารีสากล ถึงแมวาคณะกรรมการแปลเอกสารของศูนยโรตารีในประเทศไทยไดแปลและทบทวนอยาง ละเอี ย ดแล ว โรตารี ส ากลและคณะกรรมการฯ ไม ส ามารถที่ จ ะรั บ รองความสมบู ร ณ ข อง เอกสารเลมนี้ได หากมีขอความใดไมชัดเจน ขอใหอางอิงไปยังฉบับภาษาอังกฤษ คณะกรรมการแปลเอกสารศูนยโรตารีในประเทศไทย


บทความสั้นๆ มากมายเกี่ยวกับโรตารีเหลานี้ ไดรับการตีพิมพขึ้นครั้งแรก ในสารรายสัปดาหของสโมสรโรตารี นอรท สตอคตัน มลรัฐแคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา แตแรกนั้นมีชื่อเรียกวา “ทานรูหรือเปลา?” ซึ่งเรียบ เรียงไวเพื่อใหขอเท็จจริงตางๆ ที่นาสนใจเกี่ยวกับโรตารีสากลแกบรรดา เพื่ อ นสมาชิ ก ในสโมสรโรตารี น อร ท สตอคตั น เมื่ อ ผู เ ขี ย นคื อ คลิ ฟ ฟ ดอคเตอรแมน เปนประธานโรตารีสากลในป 1992-93 บทความเหลานี้ จึงไดรับการรวบรวมเพื่อตีพิมพในชื่อ โรตารี ก เอย ก ไก (The ABCs of Rotary) การรวบรวมบทความทั้งหมดนี้ซ่ึงไดรับการปรับปรุงแกไขใหเปน ปจจุบันเปนระยะๆ ชวยใหมวลมิตรโรแทเรียนเรียนรูเกี่ยวกับประวัติที่มี สีสันขององคกรและระเบียบประเพณีตางๆ ที่เคยปฏิบัติกันมาขององคกร โรตารีรวมทั้งสถานภาพในปจจุบันของโปรแกรมตา งๆ ทั่วโลกไดม าก ยิ่งขึ้น บทความตางๆ นี้ อาจนํามาตีพิมพในสารสโมสรหรือนํามาสนเทศ โรตารี ณ การประชุมปกติประจําสัปดาหของสโมสร

คลิฟฟ ดอคเตอรแมน ประธานโรตารีสากล ป 1992‐93



สารบัญ คําจํากัดความของโรตารี ธงทางการของโรตารี รูปสัญลักษณวงลอของโรตารี สํานักงานเลขาธิการ บางสิ่งบางอยางของโรตารีที่เปน ครั้ง/แหง แรก วัตถุประสงคของโรตารี คําขวัญของโรตารี การเขาประชุมปกติ 100% การทดสอบ 4 แนวทาง พอล แฮริส คนแรกแตไมใชแรกทีเดียว ชื่อแรกหรือชือ่ เลน แนวทางแหงการบําเพ็ญประโยชน นิตยสารเดอะโรแทเรียน และ กลุม นิตยสารโรตารีทั่วโลก ความรับผิดชอบระหวางประเทศของโรแทเรียน ธรรมนูญมาตรฐานของสโมสรโรตารี ผูสนับสนุนสมาชิกใหม สุภาพสตรีในโรตารี สํานักงานใหญแหงโลกโรตารีสากล ครั้ง/แหง แรกของโรตารีเพิ่มเติม หองหมายเลข 711 - สถานที่กําเนิดของโรตารี เดือนแหงความเขาใจระหวางกันในโลก หลักการของการจัดประเภทอาชีพ การแลกเปลี่ยนธงสโมสร กฎขอบังคับของการขาดประชุม การใหสมาชิกใหมมีสวนรวมในโรตารี ความอดกลั้นตอความแตกตางระหวางกัน การประชุมชดเชยพิเศษ การบริการดานอาชีพ บทเรียนทางภูมศิ าสตรของโรตารี การสวดมนตในการประชุมสโมสร

1 1 2 3 3 4 5 6 7 8 8 9 10 11 12 13 14 15 16 16 17 18 19 19 20 21 22 23 24 25


ทําเนียบทางการ (Official Directory) การสนับสนุนสโมสรและภาค โอกาสแหงมิตรภาพ การรองเพลงในสโมสร ประเภทของสมาชิกภาพ สมาชิกภาพในโรตารีสากล ผูวาการภาค บทบาทของผูชวยผูวาการภาค การประชุมอบรมผูวาการภาครับเลือก การประชุมภาคประจําปเพื่ออบรมเจาหนาที่สโมสร การประชุมใหญประจําปของภาค การสัมมนาอบรมนายกรับเลือก แผนผูนําสโมสร เยาวชนแลกเปลี่ยน ไมมีสทิ ธิพิเศษสวนตัว โรแทเรียนทุกคนเปนตัวอยางแกเยาวชน การบริการชุมชนโลก กลุมสุภาพสตรีทเี่ กี่ยวของกับสโมสรโรตารี โครงการรูหนังสือ การประชุมใหญประจําปของโรตารีสากล คณะกรรมการระหวางประเทศ โรตารีสากลในสหราชอาณาจักรและไอรแลนด สภานิติบัญญัติของโรตารี กลุมเครือขายทั่วโลก การแลกเปลี่ยนมิตรภาพของโรตารี รางวัลเยาวชนผูนําของโรตารี (ไรลา) กลุมบําเพ็ญประโยชนชุมชนโรตารี อาสาสมัครโรตารี อินเทอรแรคท โรทาแรคท โรตารี ครั้ง/แหง แรกเพิ่มเติม

25 26 27 28 28 29 30 31 31 32 33 33 34 35 35 36 37 38 39 40 41 41 42 43 44 45 46 46 47 48 49


เลขาธิการของโรตารีสากล การเลือกประธานโรตารีสากล คติพจนประจําปของโรตารีสากล การรณรงคตองหาม การเริ่มตนของมูลนิธิ กองทุนถาวรของมูลนิธิโรตารี ทุนการศึกษาเพื่อทําหนาทีท่ ูตสันถวไมตรี ทุนสันติภาพโลกของโรตารี กลุมศึกษาแลกเปลี่ยน ทุนชวยเหลือเกี่ยวกับสุขภาพ ความหิวโหย และมนุษยชาติ ทุนสนับสนุนสมทบ ทุนสนับสนุนอยางงายของภาค ทุนสนับสนุนอาสาสมัคร โปลิโอพลัส พอล แฮริส เฟลโลว เกียรติบัตรสําหรับการบําเพ็ญประโยชนเกียรติคณ ุ และ รางวัลการบําเพ็ญประโยชนดีเดน การประชาสัมพันธของโรตารี เว็บไซตของโรตารีสากล การใชรูปสัญลักษณของโรตารี การฉลองพิเศษตางๆ ของโรตารี การกอตั้งสโมสรใหมและการขยายโรตารี เสื้อนอกอันมีสีสนั ของผูวาการภาค

49 50 51 54 55 56 57 58 59 59 60 61 61 62 64 65 65 67 67 68 70 72



คําจํากัดความของโรตารี ทานจะใหคําอธิบายเกี่ยวกับองคกรที่เรียกวา "โรตารี" ไดอยางไร? สโมสร โรตารีมี คุณ ลั ก ษณะมากมายหลายประการ เชน เดีย วกั น กับ กิจ กรรม ของโรแทเรียนนับลาน เชน คุณลักษณะในการบําเพ็ญประโยชน ความ เปนสากล มิตรภาพ ประเภทอาชีพของแตละอาชีพ การพัฒนาไมตรีจิต และความเขาใจระหวางกันในโลก การเนนมาตรฐานจรรยาบรรณ การ เอื้ออาทรตอบุคคลอื่น ฯลฯ ในปค.ศ. 1976 คณะกรรมการบริหารของโรตารีสากลสนใจการให คํา จํา กัด ความที่ก ะทัดรัดเกี่ย วกับ ลัก ษณะตา งๆ ของโรตารีโ ดยทั่ว ไป คณะกรรมการจึ ง มอบให บุ ค คล 3 ท า น ผู ซึ่ ง กํ า ลั ง ทํ า หน า ที่ เป น คณะ กรรมการประชาสัมพันธของโรตารีอยูขณะนั้นใหเขียนคําจํากัดความของ โรตารีใหไดความเพียง 1 ประโยค หลังจากที่คณะกรรมการรางคําจํากัด ความหลายตอหลายครั้ง จึงไดคําจํากัดความซึ่งใชกันนับแตนั้นเรื่อยมา ในสิ่งพิมพตางๆ ของโรตารีดังนี้ “โรตารีคือ องคกรของนักธุรกิจและวิชาชีพ จากทั่วโลกซึ่ง บํา เพ็ญ ประโยชน ท างการกุ ศ ล ส ง เสริ ม มาตรฐานจรรยาบรรณในทุ ก วิ ช าชี พ พรอมทั้งชวยสรางไมตรีจิตและสันติสุขในโลก” ทั้ง 31 คํานี้มีคาแกการจดจําเมื่อมีใครก็ตามถามวา “สโมสรโรตารี คืออะไร”

ธงทางการของโรตารี ธงทางการของโรตารีไดรับการอนุมัติจากโรตารีสากล ณ การประชุมใหญ ประจํ า ป ข องโรตารี ส ากล ป ค .ศ. 1929 ณ เมื อ งดั ล ลั ส มลรั ฐ เท็ ก ซั ส ประเทศสหรัฐอเมริกา ธงโรตารีจะมีพื้นธงเปนสีขาวและมีรูปสัญลักษณ วงลอโรตารีที่เปนทางการสีทองโดดเดนอยูตรงกลาง ขอบวงลอดานนอก 4 ดานจะเปนสีน้ําเงินสด พิมพคําวาโรตารีสากลเปนสีทองไวดานบนและ ดานลางของวงลอ ชองสําหรับเพลาลอและรูสลักจะเปนสีขาว ตามรายงาน ธงทางการโรตารีผืนแรกไดถูกปกโบกสะบัดอยู ณ เมือง แคนซัสซิ ตี้ มลรัฐมิสซูรี ประเทศสหรัฐอเมริกา ในเดือนมกราคม ค.ศ. โรตารี ก เอย ก ไก | 1


1915 ในปค.ศ. 1926 พลเรือเอก ริชารด เบียรด สมาชิกสโมสรโรตารี วินเชสเตอร มลรัฐเวอรจิเนีย สหรัฐอเมริกา ไดเชิญธงโรตารีผืนเล็กไปไว ที่ขั้วโลกเหนือ ในปค.ศ. 1920 พลเรือเอกทานนั้นก็ไดเชิญธงโรตารีไปไว ที่ขั้วโลกใตดวย ในระหวางปค.ศ. 2004-05 ซึ่งเปนปครบ 100 ปโรตารี โรแทเรียนและโรทาแรคเทอรที่เปนนักปนเขาไดนําธงโรตารีไปปกเอาไวที่ ยอดเขาแมคคินลีย และยอดเขาเอฟเวอเรสท สโมสรโรตารีบางสโมสรใชธงทางการของโรตารีเปนธงประจําการ ประชุ ม สโมสร ซึ่ ง ตามตั ว อย า งที่ เ หมาะสมนั้ น จะพิ ม พ คํ า ว า “สโมสร โรตารี ” ไว เ หนื อ สั ญ ลั ก ษณ ว งล อ และพิ ม พ ชื่ อ สโมสรไว ข า งใต รู ป สัญลักษณนั้น ธงโรตารีมั ก จะป กไว อ ย า งโดดเด น ณ สํ า นัก งานใหญ ข องโรตารี สากล เช น เดี ย วกั บ ณ ที่ ป ระชุ ม ใหญ ป ระจํ า ป ข องโรตารี ส ากลและ ณ สถานที่ที่มีกิจกรรมทางการตางๆ

รูปสัญลักษณวงลอของโรตารี วงลอเปนสัญลักษณของโรตารีมานับตั้งแตสมัยแรกแลว ผูออกแบบครั้ง แรกคื อ โรแทเรี ย นมองทาจ แบร แห ง เมื อ งชิ ค าโก นั ก แกะสลั ก ผู ซึ่ ง วาดรูปวงลอเกวียนแบบงายๆ ประกอบกับลายเสนไมกี่เสนเพื่อแสดง ภาพฝุ น และการเคลื่ อ นไหว วงล อ นั้ น หมายถึ ง “อารยธรรมและการ เปลี่ยนแปลง” สโมสรดั้งเดิมสวนใหญจะใชรูปแบบบางอยางของวงลอ เกวี ย นบนสิ่ ง พิ ม พ หั ว กระดาษต า งๆ ของสโมสร ในป ค .ศ. 1922 จึ ง พิจารณากันวาควรใหสโมสรทุกสโมสรใชสัญลักษณของโรตารีเพียงแบบ เดียวกันเปนสัญลักษณของโรแทเรียนโดยเฉพาะ ดังนั้นในปค.ศ. 1923 สัญลักษณวงลอในปจจุบันซึ่งมีฟนเฟอง 24 ซี่พรอมดวยกงลอ 6 อัน จึง ถูกกําหนดขึ้นโดยโรตารีสากล กลุมของวิศวกรกลุมหนึ่งไดใหคําแนะนํา วา วงลอที่มีฟนเฟองจะไมสามารถเดินกลไกไดและจะใชการไมไดหากไม มี “รู ส ลั ก ” ตรงกลางของเฟ อ งต อ กั บ เพลาส ง กํ า ลั ง ดั ง นั้ น จึ ง มี ก าร ออกแบบรูสลักเพิ่มเติม ซึ่งเปนรูปแบบที่เรารูจักกันดีในปจจุบัน ในฐานะ เปนรูปสัญลักษณทางการของโรตารีสากล 2 | โรตารี ก เอย ก ไก


สํานักงานเลขาธิการ โรแทเรียนหลายตอหลายคน คิดวาสํานักงานเลขาธิการเปนเพียงชื่ออีก ชื่อหนึ่ง ซึ่งเรียกงายๆ วาเปนสํานักงานใหญโลกของโรตารีสากล ในเมือง อี ฟ เวนสตั น มลรั ฐ อิ ล ลิ น อยส ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า อั น ที่ จ ริ ง แล ว มี มากกวานั้น ชื่อนั้นอธิบายถึงการดําเนินงานทั้งหมดของเลขาธิการและ บุ ค ลากรมากกว า 600 คน ที่ จ ะทํ า ให โ รตารี ส ากลและมู ล นิ ธิ โ รตารี ดํ า เนิ น การไปได อ ย า งราบรื่ น และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ นอกเหนื อ จาก สํานักงานใหญโลกของโรตารีแลว สํานักงานเลขาธิการจะรวมสํานักงาน ระหวางประเทศของโรตารีสากลทั้ง 7 แหงทั่วโลก วัตถุประสงคเดียวของ สํา นั ก งานเลขาธิการก็คือ การใหบ ริการแกส โมสร ภาคและเจ า หนา ที่ บริหารของโรตารีสากลรวมทั้งมูลนิธิโรตารี สํานักงานใหญโลกของโรตารี สากลในอาคารที่ เ รี ย กกั น ว า ตึ ก วั น โรตารี เซ็ น เตอร (One Rotary Center) จึงเปนสํานักงานใหญของสํานักงานเลขาธิการนั่นเอง

บางสิ่งบางอยางของโรตารีที่เปน ครั้ง/แหง แรก • การประชุ ม สโมสรโรตารี ค รั้ ง แรกจั ด ขึ้ น

ณ เมืองชิคาโก เมื่อ วัน ที่ 23

กุมภาพันธ ค.ศ. 1905 • การประชุมปกติตอนกลางวันจัดขึ้นครั้งแรก ณ สโมสรโรตารีโอคแลนด มลรัฐแคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งกอตั้งขึ้นในปค.ศ. 1909 • การประชุมใหญประจําปของโรตารีสากลครั้งแรกจัดขึ้น ณ เมืองชิคาโก มลรัฐอิลลินอยส ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปค.ศ. 1910 • สโมสรโรตารีแหงแรกนอกสหรัฐอเมริกา กอตั้งขึ้น ณ เมืองวินนิเปค รัฐ มินิโตบา ประเทศแคนาดา ในปค.ศ. 1910 • สโมสรโรตารี แ ห ง แรกนอกอเมริ ก าเหนื อ ก อ ตั้ ง ขึ้ น ณ เมื อ งดู บ ลิ น ประเทศไอรแลนด ในปค.ศ. 1911 • สโมสรโรตารีแหงแรกในประเทศที่ไมใชภาษาอังกฤษเปนภาษาแมคือ สโมสรโรตารีในเมืองฮาวานา ประเทศคิวบา ในปค.ศ. 1916 โรตารี ก เอย ก ไก | 3


• สโมสรโรตารี แ ห ง แรกในอเมริ ก าใต

ก อ ตั้ ง ขึ้น ณ เมื อ งมองเตวิ เ ดโอ

ประเทศอุรุกวัย ในปค.ศ. 1918 • สโมสรโรตารี แ ห ง แรกในเอเชี ย ก อ ตั้ ง ขึ้ น ณ กรุ ง มนิ ล า ประเทศ ฟลิปปนส ในปค.ศ. 1919 • สโมสรโรตารี แ ห ง แรกในอั ฟ ริ ก า ก อ ตั้ ง ขึ้ น ในเมื อ งโยฮั น เนสเบอร ก ประเทศอัฟริกาใต ในปค.ศ. 1921 • สโมสรโรตารี แ ห ง แรกในประเทศออสเตรเลี ย ก อ ตั้ ง ขึ้ น ณ กรุ ง เมลเบอรน ในปค.ศ. 1921

วัตถุประสงคของโรตารี ในบางแหงของโลกการประชุมประจําสัปดาหของสโมสรโรตารีมักจะเริ่ม ดวยการใหสมาชิกยืนขึ้นและทองวัตถุประสงคของโรตารี ขอความนั้นมา จากธรรมนูญของโรตารีที่มักจะเห็นกันอยูเสมอบนแผนปายติดฝาผนังใน ที่ทํางานหรือสํานักงานของโรแทเรียนนั่นเอง วัตถุประสงคของโรตารีคือ "เพื่อสนับสนุนและสงเสริมอุดมการณ แห ง การบํ า เพ็ ญ ประโยชน ใ นการดํ า เนิ น กิ จ กรรมที่ มี คุ ณ ค า เป น หลั ก " ข อ ความนี้ จ ะให แ นวทาง 4 ประการที่ จ ะสนั บ สนุ น และส ง เสริ ม “อุ ด มการณ แ ห ง การบํ า เพ็ ญ ประโยชน ” โดยเสริ ม สร า งความคุ น เคย ระหวางสมาชิกเพื่อโอกาสในการบําเพ็ญประโยชน สงเสริมมาตรฐาน จรรยาบรรณในธุรกิจและวิชาชีพ การตระหนักในคุณคาของอาชีพที่มี ประโยชนทุกอาชีพ และความภาคภูมิใจในอาชีพของโรแทเรียนแตละคน ที่จะใชเปนโอกาสในการบําเพ็ญประโยชนแกสังคม การใชอุดมการณใน การบําเพ็ญประโยชนในชีวิตสวนตัว ธุรกิจและชุมชนของแตละบุคคล และเพิ่ ม พู น ความเข า ใจ ไมตรี จิ ต และสั น ติ สุ ข ระหว า งชาติ โดยผ า น มิตรภาพของผูที่มีธุรกิจและวิชาชีพทั่วโลก ซึ่งเชื่อมโยงกันในอุดมการณ แหงการบําเพ็ญประโยชน วัตถุประสงคของโรตารีมิไดแสดงไวเชนนั้นเสมอไป ตามธรรมนูญ เดิมในปค.ศ. 1906 จะมีวัตถุประสงคไว 3 ขอดวยกันคือ การสงเสริม ความสนใจทางธุรกิจ การสงเสริมมิตรภาพที่ดีระหวางกัน และการทํา 4 | โรตารี ก เอย ก ไก


ประโยชนใหกับชุมชนมากที่สุด จนถึงปค.ศ. 1910 โรตารีมีวัตถุประสงค 5 ขอดวยกัน โดยเพิ่มเติมความสําคัญเกี่ยวกับการขยายโรตารี จนกระทั่ง ป ค .ศ. 1915 มี วั ต ถุ ป ระสงค ถึ ง 6 ข อ ในป ค .ศ. 1918 มี ก ารเขี ย น วัตถุประสงคใหมและลดลงเหลือเพียง 4 ขอ อีก 4 ปตอจากนั้น ก็เพิ่ม วัตถุประสงคขึ้นอีกเปน 6 ขอ และปรับปรุงใหมอีกครั้งในปค.ศ. 1927 ในที่สุด ณ การประชุมใหญประจําปของโรตารีสากลในค.ศ. 1935 ณ กรุงเม็กซิโก วัตถุประสงคทั้ง 6 ขอนั้น ก็ไดรับการปรับแกไขใหมและ ลดลงมาเหลือเพียง 4 ขอ การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญครั้งสุดทายเกิดขึ้นใน ป ค .ศ. 1951 เมื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค ต า งๆ ได รั บ การแก ไ ขและเปลี่ ย นเป น วัตถุประสงคเดียว ซึ่งสามารถปฏิบัติได 4 แนวทางดวยกัน

คําขวัญของโรตารี คํ า ขวั ญ แรกของโรตารี ส ากลคื อ "ผู ที่ ไ ด กุ ศ ลมากที่ สุ ด คื อ ผู ที่ บํ า เพ็ ญ ประโยชนดีที่สุด" (He Profits Most Who Serves Best) ไดรับการยอมรับ ณ การประชุมใหญประจําปของโรตารีสากล ครั้งที่ 2 ซึ่งจัดขึ้น ณ เมือง พอรตแลนด มลรัฐโอเรกอน สหรัฐอเมริกา ในปค.ศ. 1911 คําขวัญนั้น มาจากสุนทรพจนของ โรแทเรียนอารท เชลดอน แหงเมืองชิคาโก ในป ค.ศ. 1910 ซึ่งกลาววา "ผูที่ไดกุศลมากที่สุด คือผูที่บําเพ็ญประโยชนแก เพื่อนดีที่สุด" ในระยะเวลาเดียวกันนั้น เบน คอลลินส นายกสโมสรโรตารี มินนีอาโปลิส รัฐมินเนโซตา สหรัฐอเมริกา ไดใหความเห็นวา วิธีการที่ เหมาะสมในการบริหารสโมสรจะตองใชหลักการที่สโมสรของเขาใชอยูคือ การบําเพ็ญประโยชน มิใชเพื่อตนเอง (Service, Not Self) คําขวัญสอง คํา ขวัญ ซึ่ง มีการปรับเปลี่ยนบางเล็กนอ ย ก็ไ ดรับ การอนุมัติใ หเปน คํา ขวัญทางการของโรตารี ณ การประชุมใหญประจําปของโรตารีสากลในป ค.ศ. 1950 ณ เมืองดีทรอยท นั่นคือ ผูที่ไดกุศลมากที่สุด คือผูที่บําเพ็ญ ประโยชน ดี ที่ สุ ด และ การบริ ก ารเหนื อ ตนเอง (Service Above Self) สภานิติบัญญัติปค.ศ. 1989 อนุมัติใหใชคําขวัญ การบริการเหนือตนเอง เปนคําขวัญหลักของโรตารี เนื่องจากคําขวัญนั้นอธิบายปรัชญาของการ บํ า เพ็ ญ ประโยชน เ ยี่ ย งอาสาสมั ค รที่ ไ ม เ ห็ น แก ตั ว ได ดี ที่ สุ ด ในป ค .ศ. โรตารี ก เอย ก ไก | 5


2004 คําขวัญที่สองไดรับการเปลี่ยนแปลงเปน พวกเขาที่ไดกุศลมาก ที่ สุ ด คื อ ผู ที่ บํ า เพ็ ญ ประโยชน ดี ที่ สุ ด (They Profit Most Who Serve Best)

การเขาประชุมปกติ 100% การเขาประชุมอยางสม่ําเสมอมีความสําคัญยิ่งตอสโมสรที่เขมแข็งและ เอาการเอางาน การเน น ความสํ า คั ญ ของการเข า ประชุ ม มี ม านาน นับตั้งแตปค.ศ. 1922 เมื่อโรตารีสากลประกาศใหมีการแขงขันการเขา ประชุมไปทั่วโลกซึ่งสามารถจูงใจโรแทเรียนนับเปนพันๆ คน ใหประสบ ความสําเร็จในการเขาประชุม 100% ไดปแลวปเลา โรแทเรียนจํานวน มากภาคภูมิใจยิ่งในการรักษาสถิติการเขาประชุม 100% ของตนไวได ภายในสโมสร หรือโดยการเขาประชุมชดเชย ณ สโมสรโรตารีอื่นๆ สโมสรโรตารีอี-คลับ (Rotary E-Club) ชวยใหการประชุมชดเชยงาย ขึ้นดวยการประชุมออนไลนเพื่อที่จะไดรับคะแนนการเขาประชุม โรแทเรียนตองตอเชื่อมเขากับเว็บไซตของสโมสรอี-คลับ อานรายละเอียดใน เรื่ อ งต า งๆ ออนไลน , แสดงความคิ ด เห็ น และส ง แบบฟอร ม ไปถึ ง เลขานุการสโมสร ทานสามารถคนหารายชื่อสโมสรโรตารีอี-คลับ และ ”ภาษาที่ใช” ไดที่ www.rotary.org แมวาตามขอบังคับของโรตารีสากลจะกําหนดใหสมาชิกเขาประชุม เพียง 60% ของการประชุมทั้งหมด แตสโมสรหลายๆ สโมสรไดสนับสนุน ใหสมาชิกเขาประชุมกันใหบอยมากขึ้น เพราะการที่สมาชิกขาดหายไป ทํ า ให ส โมสรสู ญ เสี ย ประโยชน จ ากการมี ส มาชิ ก ภาพที่ ห ลากหลาย สู ญ เสี ย ความช ว ยเหลื อ ของสมาชิ ก ในโครงการบํ า เพ็ ญ ประโยชน ที่ ดํา เนิ นการอยู และขาดมิตรภาพสวนบุคคลของสมาชิกแตละคนดว ย คณะกรรมการบริหารของสโมสรมักพยายามหาขออธิบายที่เหมาะสม เพื่ อ ละเว น การกล า วโทษการขาดประชุ ม และมี ก ารเสนอเพื่ อ ให นั บ คะแนนการประชุมโดยใชเหตุผลตางๆ หรือลดกฎเกณฑขั้นต่ําในการเขา รวมประชุมสโมสรเสมอๆ แตยังไมเคยไดรับมติจากสภานิติบัญญัติ 6 | โรตารี ก เอย ก ไก


ในป 2001 สภานิติบัญญัติอนุมัติการกอตั้งสโมสรโรตารีรูปแบบใหม เพื่ อ เป น โครงการทดลอง มุ ง พั ฒ นาสโมสรแผนใหม 200 สโมสร ให สอดคลองกับความตองการของนักบริหารและวิชาชีพรุนเยาวใหมากขึ้น โดยสโมสรในรู ป แบบใหม ส ามารถดํ า เนิ น งานนอกกรอบธรรมนู ญ มาตรฐานของสโมสรโรตารี และขอบังคับเสนอแนะสําหรับสโมสรได ซึ่ง สโมสรตางๆ ดังกลาวแกไขความถี่ในการประชุมปกติ และผอนปรนการ รว มประชุมของสมาชิก ซึ่งหากสโมสรทดลองดังกลาวสามารถพิสูจน ความสัมฤทธิ์ผล สภานิติบัญญัติจึงสามารถปรับเปลี่ยนนโยบายใหมๆ ดังกลาวเพื่อประกาศเปนการถาวรไดตอไป

การทดสอบ 4 แนวทาง หนึ่งในบรรดาขอความเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจที่ไดรับการตีพิมพ และอางอิงกันมากอยางกวางขวางที่สุดในโลก คือการทดสอบ 4 แนวทาง โรแทเรียนเฮอรเบิรท เจ. เทยเลอร ไดเปนผูคิดขึ้นในปค.ศ. 1932 เมื่อเขา ได รั บ การขอร อ งให ดู แ ลบริ ษั ท คลั บ อลู มิ นั่ ม ในเมื อ งชิ ค าโก ซึ่ ง กํ า ลั ง ประสบปญหาการลมละลายอยูในขณะนั้น เทยเลอรพยายามหาวิธีการที่ จะช ว ยบริ ษั ท ที่ ต อ งดิ้ น รนให พ น จากป ญ หาทางการเงิ น เนื่ อ งจาก เศรษฐกิจตกต่ํา เขาไดเขียนหลักของจรรยาบรรณซึ่งมี 24 คํา สําหรับ พนักงานทุกคนใหปฏิบัติตามในการดําเนินชีวิตทางธุรกิจและวิชาชีพของ ตน การทดสอบ 4 แนวทางกลายมาเปนแนวทางสําหรับการขาย การ ผลิ ต การโฆษณาและความสั ม พั น ธ ร ะหว า งผู ข ายและผู บ ริ โ ภค และ บริษัทนี้อยูรอดมาไดก็เพราะหลักปรัชญางายๆ ดังกลาว เฮิ รบ เทย เ ลอร กลายเป น ประธานโรตารี ส ากลในระหวา งป ค .ศ. 1954-55 การทดสอบ 4 แนวทางไดรับอนุมัติจากโรตารีสากลในปค.ศ. 1943 และไดรับการแปลเปนภาษาตางๆ มากกวา 100 ภาษา รวมทั้ง ตีพิมพในสื่อตางๆ นับเปนพันๆ รูปแบบ สาระที่โรแทเรียนทุกคนควรรูจัก และปฏิบัติตามคือ “ไมวาสิ่งใดที่เราคิด พูดหรือปฏิบัตินั้น 1.เปนจริง หรื อ ไม 2.เป น ธรรมไหมต อ ทุ ก สิ่ ง 3.จะสร า งเสริ ม ไมตรี จิ ต และ มิตรภาพหรือไม 4.เปนประโยชนไหมแกทุกฝาย” โรตารี ก เอย ก ไก | 7


พอล แฮริส คนแรกแตไมใชแรกทีเดียว พอล แฮริส เปนนายกสโมสรโรตารีคนแรกหรือไม ไม พอล แฮริส เปนประธานโรตารีสากลคนแรกหรือไม ใช มีคําอธิบายงายๆ ตอขอความที่แยงกันอยูดังที่ปรากฎขางตนนี้ แมวา พอล แฮริส จะเปนผูกอตั้งหรือผูเริ่มดําเนินการสโมสรโรตารีสโมสรแรกใน เมืองชิคาโกในปค.ศ. 1905 แตบุคคลที่ไดรับเลือกเปนนายกสโมสรคน แรกนั้นเปนหนึ่งในบรรดาสมาชิกกอตั้งอื่นๆ คือ ซิลเวสเตอร ชีล จวบจนปค.ศ. 1910 มีสโมสรโรตารีเกิดขึ้นถึง 16 สโมสร ซึ่งรวมตัว กันเปนองคกรเรียกวา สมาคมแหงชาติของสโมสรโรตารี อีก 2 ปตอมาชื่อ นี้ก็ไดรับการเปลี่ยนแปลงเปนสมาคมระหวางประเทศของสโมสรโรตารี เนื่ อ งจากได มี ก ารก อ ตั้ ง สโมสรโรตารี ต า งๆ ขึ้ น ในประเทศแคนาดา ประเทศอังกฤษ ไอรแลนดและสกอตแลนด ในปค.ศ. 1922 จึงไดยอชื่อ นั้นใหสั้นลงเรียกวาโรตารีสากล เมื่อองคกรของสโมสรโรตารีกอตั้งขึ้นครั้งแรกในปค.ศ. 1910 พอล แฮริส ไดรับ เลือ กเปน ประธานขององคก รคนแรก เขาปฏิบัติห นา ที่ใ น ตําแหนงนั้นเปนเวลา 2 ปจากค.ศ. 1910 ถึงค.ศ. 1912 ดังนั้นผูวางรากฐานแนวคิดของโรตารี ผูซึ่งปฏิเสธการเปนนายกของสโมสรแหงแรกกลับ กลายมาเปนประธานคนแรกขององคกรของโลกหรือโรตารีสากล

ชื่อแรกหรือชื่อเลน นับแตสมัยแรกของโรตารีนั้น สมาชิกตางก็มักเรียกชื่อแรกซึ่งกันและกัน เสมอ เนื่องจากความคุนเคยและมิตรภาพสวนบุคคลเปนเรื่องสําคัญยิ่ง ของโรตารี ดังนั้นจึงเปนเรื่องธรรมดาที่สโมสรตางๆ จะนํามาปฏิบัติกันใน การไมเรียกชื่อที่เปนทางการในการสนทนาระหวางสมาชิก โดยปกติแลว บุคคลที่ไดรับการเรียกชื่อนําวา ดอกเตอร, นาง/นางสาว, อาจารย หรือ ทาน ก็มักจะถูกโรแทเรียนเรียกชื่อแรกแทน เชน โจ, บิลล, แมรี, คาเรน หรือชารลี ปายชื่อของสมาชิกสโมสรก็มักจะนิยมใชชื่อแรกดวย ในบางแหง เชน ยุโ รป สมาชิกสโมสรมักเรียกชื่อสมาชิก อยา งเปน ทางการมากกวา ในบางแหงของโลกโดยเฉพาะในประเทศเอเชีย โรแท8 | โรตารี ก เอย ก ไก


เรียนใหมๆ มักจะไดรับการตั้งชื่อเลนที่ขําขัน ซึ่งจะเกี่ยวของกับบุคคลิก สวนตัวหรือบงบอกลักษณะทางธุรกิจหรือวิชาชีพของสมาชิก เชน ชื่อเลน วา "ออกซิเจน" คือผูที่ผลิตแกสเคมี "ตนไม" คือชื่อเลนสําหรับโรแทเรียนที่ มีธุรกิจคาไม สมาชิกอื่นๆ อาจมีชื่อเลน เชน "นักกลาม" "แปดหลอด" หรือ "คุณยิ้ม" ตามลักษณะรูปรางหนาตาของแตละคน ชื่อเลนมักจะเปนที่มาแหงความมีอารมณเบิกบานและมีมิตรภาพ แต ไ ม ว า โรแทเรี ย นจะถู ก เรี ย กชื่ อ แรกหรื อ ชื่ อ เล น ความมี สํ า นึ ก แห ง มิตรภาพสวนบุคคลก็ยอมจะเปนกาวแรกที่จะเปดประตูไปสูโอกาสแหง การบําเพ็ญประโยชนอื่นๆ ได

แนวทางแหงการบําเพ็ญประโยชน แนวทางแหงการบําเพ็ญประโยชน หมายถึงองคประกอบสี่ประการของ วัตถุประสงคของโรตารี นั่นก็คือ การบริการสโมสร การบริการดานอาชีพ การบริการชุมชน และการบริการระหวางประเทศ แม ว า แนวทางแห ง การบํ า เพ็ ญ ประโยชน นั้ น จะไม ป รากฏอยู ใ น เอกสารธรรมนูญของโรตารี โรแทเรียนมากมายยอมรับแนวคิดนี้วาเปน วิธีการในการอธิบายกิจกรรมเบื้องตนของโรตารีไดดังนี้ • การบริ ก ารสโมสร เกี่ ย วข อ งกั บ กิ จ กรรมต า งๆ ที่ จํ า เป น สํ า หรั บ โรแทเรียนที่จะทําใหการปฏิบัติงานของสโมสรประสบความสําเร็จ • การบริการดานอาชีพ อธิบายถึงโอกาสที่โรแทเรียนทุกคนจะเปน ตั ว แทนในวิ ช าชี พ ของตน ซึ่ ง มี ศั ก ดิ์ ศ รี แ ละยั ง คุ ณ ประโยชน แ ก สมาชิกสโมสรผูอื่นได รวมทั้งความรับผิดชอบของสโมสรในการ ดําเนินโครงการที่เกี่ยวของ เชน การวางแผนงานดานอาชีพ การ อบรมดานอาชีพ รวมทั้งการสงเสริมมาตรฐานจรรยาบรรณในที่ ทํางาน • การบริการชุมชน เกี่ยวของกับกิจกรรมตางๆ ที่บรรดาโรแทเรียน จะปฏิ บั ติ เ พื่ อ ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพชี วิ ต ในชุ ม ชนของตน ซึ่ ง มั ก จะ เกี่ยวของกับการใหความชวยเหลือเยาวชน ผูสูงอายุ ผูทุพพลภาพ และคนอื่นๆ ที่หวังใหโรตารีเปนที่พึ่งเพื่อชีวิตที่ดีขึ้น โรตารี ก เอย ก ไก | 9


• การบริการระหวางประเทศ อธิบายถึงโครงการหรือกิจกรรมตางๆ

ที่โรแทเรียนทําหนาที่เพื่อเสริมสรางความเขาใจ ไมตรีจิตและสันติสุขระหวางกันในนานาประเทศ โครงการบริการระหวางประเทศถูก จั ด ทํ า ขึ้ น เพื่ อ สนองตอบความต อ งการทางด า นมนุ ษ ยชาติ ข อง มวลชนในโลกที่ กํา ลัง พั ฒ นาหรือ ชว ยเหลือ ฟน ฟูใ นยามเกิ ดภั ย พิบัติตางๆ เมื่อโรแทเรียนเขาใจและเขาถึงแนวทางแหงการบําเพ็ญประโยชนทั้ง สี่แลว วัตถุประสงคของโรตารีก็ยอมจะมีความหมายไดมากยิ่งขึ้น

นิตยสารเดอะโรแทเรียน และ กลุมนิตยสารโรตารีทั่วโลก (The Rotary World Magazine Press) เดื อ นเมษายนเป น เดื อ นแห ง นิ ต ยสารโรตารี ซึ่ ง นั บ เป น โอกาสที่ จ ะ ตระหนักและสง เสริมการอา น และการใชนิตยสารทางการของโรตารี สากล เดอะโรแทเรียน และนิตยสารในระดับภูมิภาค ซึ่งรวมกันเปนกลุม นิตยสารโรตารีทั่วโลก อันหมายถึงขาวนิตยสารทั่วโลกของโรตารี มีการจัดพิมพนิตยสารเดอะโรแทเรียนนับตั้งแตปค.ศ. 1911 เปนตน มา เพื่อเปนสื่อในการสื่อสารกับโรแทเรียน พรอมทั้งสงเสริมโปรแกรม และวัตถุประสงคของโรตารี วัตถุประสงคเบื้องตนของนิตยสารคือ การ สนั บ สนุ น และส ง เสริ ม โปรแกรมสํ า คั ญ ๆ ของโรตารี รวมทั้ ง เผยแพร ขาวสารเกี่ยวกับคติพจนและปรัชญาประจําปของประธานโรตารีสากล การประชุมสําคัญตางๆ พรอมทั้งการเนนความสําคัญของเดือนทางการ ตามปฏิทินของโรตารี นิตยสารเดอะโรแทเรียนจะบรรจุการแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นที่เกี่ยวกับ หัวขอเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของกับโรตารี และเรื่องที่นาสนใจโดยทั่วไปเพื่อ การค น คว า นิ ต ยสารนี้ จ ะให ป ระโยชน ใ นฐานะเป น แหล ง ข อ มู ล และ แนวคิดที่เยี่ยมยอดสําหรับโปรแกรมตางๆ ณ การประชุมสโมสรโรตารี และการประชุ ม ใหญ ป ระจํ า ป ข องภาคต า งๆ ข อ เขี ย นหลายเรื่ อ งจะ ส ง เสริ ม มิ ต รภาพ ไมตรี จิ ต และความเข า ใจระหว า งประเทศ ผู อ า น โดยทั่วไปมักจะไดความรูอยางดีเกี่ยวกับกิจกรรมของโรตารีและเขาใจวา 10 | โรตารี ก เอย ก ไก


โรแทเรี ย นแต ล ะท า นจะมี ส ว นร ว มอย า งเต็ ม ที่ ใ นสี่ แ นวทางแห ง การ บําเพ็ญประโยชนไปทั่วโลกไดอยางไร นอกจากนิตยสารเดอะโรแทเรียนแลว กลุมนิตยสารโรตารีทั่วโลกยัง ประกอบดวยนิตยสารในระดับภูมิภาคอีก 30 เลม พิมพเปนภาษาตางๆ ถึง 23 ภาษา โดยมีการพิมพรวมๆ กันแลวกวา 750,000 ฉบับ แมวาการ พิมพในระดับภูมิภาคจะมีลีลาและเนื้อหาเฉพาะอยาง แตนิตยสารนั้นๆ จะสามารถทํ า ให โ รแทเรี ย นได รั บ ความรู ที่ ทั น สมั ย และอ า นได อ ย า ง เพลิดเพลินในเดือนเมษายนและตลอดป

ความรับผิดชอบระหวางประเทศของโรแทเรียน ในฐานะที่เปนองคกรนานาชาติ โรตารีจะใหโอกาสและความรับผิดชอบ พิเศษแกสมาชิกทุกคน แมวาโรแทเรียนแตละคนจะมีหนาที่แรกในการ ปฏิบัติหนาที่ในฐานะเปนพลเมืองของประเทศ การเปนสมาชิกโรตารีจะ ทําใหโรแทเรียนมีทัศนะดานการตางประเทศที่กวางไกลมากขึ้น ในตน ทศวรรษ 1950 เราไดใชปรัชญาของโรตารีในการอธิบายใหเห็นวา โรแทเรียนอาจคิดกวางไกลในระดับสากลกันอยางไรบาง ปรัชญาดังกลาวมี ดังนี้ “โรแทเรียนที่มองโลกกวาง • จะมองไกลเหนือความรูสึกชาตินิยมและคิดวาตนตางมีสวนรวมใน ความรับผิดชอบในการสงเสริมความเขาใจ ไมตรีจิต และสันติสุข ระหวางประเทศ • ตอตานแนวโนมใดๆ ที่แสดงอํานาจเหนือกวาในเรื่องของเชื้อชาติ และเผาพันธุ • แสวงหาและพัฒนาเรื่องตางๆ ที่ยอมรับซึ่ง กันและกันไดระหวา ง ชนชาติในประเทศตางๆ • รั ก ษากฎหมายและความเป น ระเบี ย บเรี ย บร อ ย เพื่ อ ดํ า รงไว ซึ่ ง อิสรภาพของบุคคล เพื่อใหมีเสรีภาพในการคิด การพูด และการ ประชุ ม พร อ มทั้ ง ให พ น จากการทํ า ลายล า ง การระราน ความ ตองการและความหวาดกลัว โรตารี ก เอย ก ไก | 11


• สนับสนุนการปฏิบัติที่มุงเนนการพัฒนามาตรฐานการครองชีพของ

คนทุกคน โดยตระหนักวาความยากจนในที่ใดก็ตามนั้นเปนการ ทําลายความสมบูรณพูนสุขในทุกๆ ที่ • ถือหลักการของความยุติธรรมเพื่อมนุษยชาติ • พยายามตอสูเพื่อสงเสริมสันติสุขระหวางชาติ และเตรียมอุทิศตน เพื่ออุดมการณนั้นๆ อยูเสมอ • เรง เรา และฝกจิต สํา นึก แหง ความเข า ใจเกี่ยวกับศรัท ธาของผูอื่ น เพื่ อ เป น บั น ไดไปสู ไ มตรี จิ ต ระหว า งกั น ในนานาประเทศ โดย ตระหนั ก ถึ ง ศี ล ธรรมพื้ น ฐาน และมาตรฐานของจิ ต สํ า นึ ก ที่ จ ะ ประกันชีวิตที่สมบูรณพูนสุขขึ้นได” นั่นคือภาระที่โรแทเรียนพึงปฏิบัติทั้งในการคิดและการกระทํา!

ธรรมนูญมาตรฐานของสโมสรโรตารี โรตารีสากลมีอยูในประเทศตางๆ กวา 200 ประเทศและภูมิภาค และยังมี ความแตกตางกันอยางมากมายทั้งภาษา โครงสรางทางการเมืองและ สังคม ขนบธรรมเนียมประเพณีและศาสนา ทําอยางไรจึงทําใหสโมสร ทั้งหมดกวา 32,000 สโมสรดําเนินกิจการใหมีรูปแบบที่คลายคลึงกันได คําตอบที่สําคัญที่สุดคือ การมีธรรมนูญมาตรฐานของสโมสรโรตารี ในการที่จ ะรับ สารตราตั้ง สโมสรโรตารีที่ คาดหวั ง จะตอ งยอมรั บ ธรรมนูญมาตรฐานของสโมสรโรตารีซึ่งเริ่มใชตั้งแตปค.ศ. 1922 ธรรมนูญ มาตรฐานของสโมสรโรตารี ไ ด กํ า หนดเทคนิ ค การบริ ห ารตา งๆ อย า ง สังเขปสําหรับสโมสรในการจัดประชุมประจําสัปดาห การปฏิบัติเกี่ยวกับ สมาชิกภาพ และการจัดประเภทอาชีพ เงื่อนไขตางๆ ของการเขาประชุม การจายคาบํารุง รวมทั้งนโยบายอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับปญหาของรัฐบาล และสภาพทางการเมือง สามารถดาวนโหลดไดจาก www.rotary.org เมื่อธรรมนูญมาตรฐานของสโมสรไดรับการยอมรับแลว ก็ยอมเปนที่ ตกลงกันวา สโมสรทุกสโมสรที่มีอยูนั้นจะตองดําเนินการตามธรรมนูญ สโมสรปจจุบันของตนตอไป แมวาสโมสรในสมัยแรกสวนใหญจะลงนาม 12 | โรตารี ก เอย ก ไก


ยอมรับธรรมนูญมาตรฐานฉบับนี้แลว แตยังมีสโมสรบางสโมสรที่ตั้งขึ้น กอนปค.ศ. 1922 ที่ยังคงดําเนินการตามธรรมนูญเดิมของตนอยู

ผูสนับสนุนสมาชิกใหม กฎขอบังคับของโรตารีไดวางแนวปฏิบัติไวอยางชัดเจนเกี่ยวกับการเสนอ ใครคนหนึ่งเพื่อเปนสมาชิกสโมสรโรตารี "ผูเสนอ" หรือผูสนับสนุน คือ บุคคลสําคัญที่ทําใหเกิดความเจริญและความกาวหนาของโรตารี หาก ปราศจากผูสนับสนุนแลวละก็ จะไมมีผูใดมีโอกาสเปนโรแทเรียนไดเลย บุ ค คลต อ งได รั บ การชั ก ชวนมาร ว มกั บ โรตารี ดั ง นั้ น จึ ง เป น ความ รับผิดชอบของสมาชิกทุกคนที่จะมองหาและเชื้อเชิญสมาชิกที่คาดหวัง ภารกิ จ ของผู ส นั บ สนุ น ไม ค วรจบลงเพี ย งการเสนอชื่ อ ไปยั ง เลขานุการสโมสร หรือคณะกรรมการสมาชิกภาพเทานั้น แมวาโรตารียัง ไม ไ ด กํ า หนดความรั บ ผิ ด ชอบอย า งเป น ทางการสํ า หรั บ ผู ส นั บ สนุ น อยางไรก็ตาม วิธีการตางๆ เหลานี้ไดถูกแนะนําใหใชในสโมสรหลายแหง 1. เชิญผูที่คาดหวังวาจะเปนสมาชิกมาเขาประชุมหลายๆ ครั้ง กอนการเสนอบุคคลนั้นๆ เปนสมาชิก 2. พาผูที่คาดหวังวาจะเปนสมาชิกใหมไปเขาประชุมรับฟงการ สนเทศ หรือปฐมนิเทศอยางนอย 1 ครั้งหรือมากกวานั้น 3. แนะนําสมาชิกใหมแกสมาชิกสโมสรคนอื่นๆ ในแตละสัปดาห สําหรับเดือนแรก 4. สงเสริมใหสมาชิกใหมมีสวนรวมในโครงการบําเพ็ญประโยชนที่ กําลังดําเนินอยูของสโมสร 5. เชิญสมาชิกใหมเขารวมประชุมสโมสรอินเทอรแรคท หรือโรทาแรคทที่สโมสรอุปถัมภอยู 6. เปดโอกาสใหสมาชิกใหมมีสวนรวมในการทํางานในโปรแกรม ระหว า งประเทศ เช น กลุ ม ศึ ก ษาแลกเปลี่ ย น หรื อ เยาวชน แลกเปลี่ยน

โรตารี ก เอย ก ไก | 13


7. เชิญสมาชิกใหมไปประชุมชดเชยครั้งแรกในสโมสรใกลเคียง พรอมกับผูสนับสนุน เพื่อเรียนรูกระบวนการและสังเกตความมี มิตรภาพของสมาชิกสโมสรนั้น 8. ขอให ส มาชิ ก ใหม แ ละคู ค รองไปร ว มกิ จ กรรมทางสั ง คมของ สโมสร รับประทานอาหารค่ําหรือกิจกรรมในโอกาสพิเศษตางๆ ดวยกันกับผูสนับสนุน 9. กระตุนใหสมาชิกใหมและคูครองเขาประชุมใหญประจําปของ ภาคกับผูสนับสนุน 10. ทําหนาที่เปนพี่เลี้ยงเพื่อใหมั่นใจวา สมาชิกใหมจะเปนโรแทเรียนที่แข็งขัน เมื่อสมาชิกใหมเขามามีสวนรวมและมีการติดตอกัน ทั้งสโมสรและ สมาชิกใหมก็จะแข็งแกรงขึ้น

สุภาพสตรีในโรตารี จวบจนปค.ศ. 1989 ธรรมนูญและขอบังคับของโรตารีสากลไดระบุวา สมาชิกสโมสรโรตารีจะตองเปนสุภาพบุรุษเทานั้น ในปค.ศ. 1978 สโมสร โรตารี ด วาร ท มลรั ฐ แคลิ ฟ อร เ นี ย ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า ได เ ชิ ญ สุภาพสตรี 3 คนมาเปนสมาชิก คณะกรรมการบริหารโรตารีสากลไดถอด ถอนสารตราตั้งของสโมสรนั้น เนื่องจากทําผิดกฎขอบังคับในธรรมนูญ ของโรตารีสากล สโมสรนั้นฟองโรตารีสากลตอศาล โดยอางถึงการกระทํา ที่ ผิ ด ต อ กฎหมายสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนของรั ฐ ซึ่ ง ห า มการกี ด กั น ใดๆ ในการ ประกอบธุ ร กิ จ หรื อ สาธารณประโยชน ศาลอุ ท ธรณ แ ละศาลฎี ก าใน รัฐแคลิฟอรเนียยืนกรานตามศาลฎีกาของแคลิฟอรเนีย ซึ่งระบุวาสโมสร โรตารี มี "วั ต ถุ ป ระสงค ใ นการประกอบธุ ร กิ จ " และเป น องค ก รเพื่ อ สาธารณชน การตัด สิ น ในป ค .ศ. 1987 นี้ ทํ า ให สุ ภ าพสตรีเ ข า มาเป น โรแทเรียนได เปนการตัดสินอยางเดียวกันกับขอบัญญัติของกฎหมาย เกี่ยวกับ “สาธารณประโยชน” นั่นเอง การเปลี่ยนแปลงธรรมนูญของโรตารีสากล จึงไดกระทําขึ้นในการ ประชุ ม สภานิ ติ บั ญ ญั ติ เ มื่ อ ป ค .ศ. 1989 ซึ่ ง ลงคะแนนเสี ย งให ตั ด 14 | โรตารี ก เอย ก ไก


บทบัญญัติที่วา "สุภาพบุรุษ เทา นั้น" ออกไปจากขอกําหนดของโรตารี ตั้งแตนั้นเปนตนมา สุภาพสตรีจึงกลายเปนสมาชิกและผูนําของสโมสร และภาคทั่วโลก

สํานักงานใหญแหงโลกโรตารีสากล สํา นั ก งานใหญของโรตารีสากลตั้งอยูใ นบริเ วณเมืองชิค าโกมาตลอด สํานักงาน 7 แหงแรกตั้งอยูใจกลางเมือง แตในปค.ศ. 1954 โรตารีสราง ตึก ใหม ส ะดุ ด ตาขึ้ น ที่ ช านเมือ งอี ฟ เวนสตัน มลรั ฐ อิ ล ลิน อยส ตึ ก นี้ ใ ช ประโยชนเปนสํานักงานของโรตารีสากลได จนถึงชวงปค.ศ. 1980 เมื่อมี การเพิ่ ม โครงการใหม ๆ มากขึ้ น รวมทั้ ง การขยายตั ว ของมู ล นิ ธิ แ ละ โครงการโปลิโอพลัสที่ตั้งขึ้นใหม จึงทําใหตึกสํานักงานใหญคับแคบยิ่งขึ้น และจําเปนตองใหพนักงานบางสวนไปทํางานในสํานักงานอื่นที่ใกลเคียง เมื่อตึกอันทันสมัยในยานธุรกิจของเมืองอีฟเวนสตันวางลงในปค.ศ. 1987 และสามารถใชตอบสนองความตองการในการใชพื้นที่และการ ขยายตัวของโรตารีไดอีกในอนาคต ตึกนี้สรางขึ้นในปค.ศ. 1977 เปนตึก 18 ชั้นซึ่งมีโครงสรางเปนเหล็กและกระจกโดยรอบ และมีพื้นที่สําหรับใช เปนสํ านักงานและใชประโยชนอื่น ๆ ถึง 400,000 ตารางฟุต (37,161 ตารางเมตร) โรตารีสากลไดซื้อตึกนี้และใหเชาทําการคาเกือบครึ่งหนึ่ง ของพื้นที่จนกวาจะจําเปนสําหรับการขยายโรตารีในอนาคต ตึกนี้ถูกเรียกวา One Rotary Center มีหองประชุมบรรจุไดถึง 190 ที่นั่ง มีที่จอดรถกวางขวาง และมีหองอาหารบริการไดถึง 200 ที่นั่ง พรอม ทั้งมีที่ทํางานสําหรับพนักงานของสํานักงานใหญแหงโลกของโรตารีได มากกวา 500 คน หองชุดสําหรับผูบริหารบนชั้นที่ 18 จะมีหองประชุม ใหญ สํ า หรั บ คณะกรรมการบริ ห ารโรตารี ส ากล คณะกรรมการมู ล นิ ธิ โรตารี แ ละคณะกรรมการอื่ น ๆ ของโรตารี ส ากลและมู ล นิ ธิ โ รตารี นอกจากนี้ยังมี สํา นักงานสําหรับประธานโรตารีสากล ประธานโรตารี สากลรับเลือก ประธานคณะกรรมการมูลนิธิโรตารีและเลขาธิการ

โรตารี ก เอย ก ไก | 15


ครั้ง/แหง แรกของโรตารีเพิ่มเติม • โรตารี ไ ด จั ด ตั้ ง

กองทุนถาวร ขึ้นในปค.ศ. 1917 กอนที่จะเปนมูลนิ ธิ โรตารีในเวลาตอมา • โรตารีไ ดเริ่มมีการประกาศยกยอ งเปน พอล แฮริส เฟลโลว ในปค .ศ. 1957 สํ า หรั บ บุ ค คลผู บ ริ จ าคเงิ น 1,000 เหรี ย ญสหรั ฐ ให แ ก มู ล นิ ธิ โรตารี • รูปสัญลักษณของโรตารีไดรับการตีพิมพเปนแสตมปที่ระลึกเปนครั้งแรก ในปค.ศ. 1931 ในการประชุมใหญประจําปของโรตารีสากล ณ กรุง เวียนนา • ธงผืนแรกของสโมสรโรตารีไดถูกเชิญโคจรไปรอบดวงจันทร (จากสโมสร โรตารีศูนยอวกาศเมืองฮิวสตัน รัฐเท็กซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา) โดย นักบินอวกาศแฟรงค บอรแมน สมาชิกของสโมสรฮิว สตัน โดยยาน อพอลโล 8 เมื่อปค.ศ. 1968 • การประชุ ม ใหญ ป ระจํ า ป ข องโรตารี ส ากลที่ จั ด นอกประเทศ สหรัฐอเมริกาเปนครั้งแรก จัดขึ้นที่เมืองเอดินเบอรก สกอตแลนด ในป ค.ศ. 1921 • ผูนํารัฐคนแรกที่ใหการปราศรัย ณ การประชุมใหญประจําปของโรตารี สากลคือ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา วอรเรน จี ฮารดิง ในปค.ศ. 1923 ณ เมืองเซนตหลุยส มลรัฐมิสซูรี ประเทศสหรัฐอเมริกา

หองหมายเลข 711 – สถานที่กําเนิดของโรตารี หมายเลข 711 มีความหมายมากเปนพิเศษสําหรับโรตารี หองหมายเลข 711 ของตึ ก ยู นิ ตี้ เ ก า ซึ่ ง แต ก อ นนี้ ตั้ ง อยู ณ เลขที่ 127 ถนนนอร ท เดี ย ร บ อร น ในย า นธุ ร กิ จ ของเมื อ งชิ ค าโก มลรั ฐ อิ ล ลิ น อยส ประเทศ สหรัฐอเมริกา เปนสถานที่กําเนิดของโรตารี หองแหงประวัติศาสตรนั้น เปนสํานักงานของวิศวกร กุส โลเอหร ที่ซึ่งมีการประชุมครั้งแรกเกิดขึ้น เมื่ อ พอล แฮริ ส พบกั บ เพื่ อ นกลุ ม หนึ่ ง เป น ครั้ ง แรกเพื่ อ ปรึ ก ษาหารื อ รวมกันเกี่ยวกับความคิดใหมเรื่องสโมสรสําหรับนักธุรกิจและวิชาชีพของ เขา 16 | โรตารี ก เอย ก ไก


โรแทเรียนในเมืองชิคาโกสองสามคนไดทําการวิจัยและไดอนุรักษ รวมทั้งเก็บรักษาหองนั้นไวใหอยูในสภาพเดิมที่แทจริงในปค.ศ. 1905 นับเปนปๆ ที่หองหมายเลข 711 นั้นไดรับการอนุรักษไวเปนพิพิธภัณฑ เล็กๆ ของโรตารี โดยสมาชิกสโมสร พอล แฮริส 711 ไดจัดเงินทุนเพื่อจาย คาเชา ซอมแซมและคาเก็บรักษา ในปค.ศ. 1989 ตึกยูนิตี้ถึงวาระที่ตอง ถูกรื้อถอน สมาชิกของสโมสร 711 จึงไดรื้อหองดังกลาวอยางบรรจงและ จัดขาวของตางๆ ของหองนั้นไวในคลังสินคาและยังคงเก็บรักษาไวอยาง นั้น จนกระทั่ง ปค .ศ. 1994 หอ ง 711 ที่ไ ดรับการจั ดสรา งขึ้น ใหมก็ไ ด สถานที่ถาวร และมรดกของโรตารีชิ้นนี้ก็ไดถูกอนุรักษไว ณ สํานักงาน ใหญโลกของโรตารีสากล เมืองอีฟเวนสตัน นับแตนั้นมา

เดือนแหงความเขาใจระหวางกันในโลก เดือนกุมภาพันธถูกกําหนดใหเปนเดือนแหงความเขาใจระหวางกันใน โลกในปฏิทินโรตารี วันครบรอบการประชุมครั้งแรกของโรตารี ซึ่งตรงกับ วัน ที่ 23 เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ ค.ศ. 1905 ก็อ ยู ใ นเดือ นนี้ และในปจ จุ บั น เรียกวาวันแหงความเขาใจและสันติสุขระหวางกันในโลก คณะกรรมการบริ ห ารของโรตารี ส ากลได ข อให ส โมสรโรตารี ทุ ก สโมสรวางแผนโครงการตางๆ สําหรับการประชุมประจําสัปดาห และ ดําเนินกิจกรรมพิเศษตางๆ เพื่อเนน "ความเขาใจและไมตรีจิต อันเปน ปจจัยสําคัญสําหรับสันติสุขแหงโลก" ในเดือนกุมภาพันธ สโมสรหลายแหงจะจัดหาวิทยากรนานาชาติ เชิญนักเรียนที่เปนเยาวชนแลกเปลี่ยน รวมทั้งนักวิชาการนานาชาติจาก โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยมาเปนวิทยากรในการประชุมสโมสร จัดให ผู ที่ เ คยเป น กลุ ม ศึ ก ษาแลกเปลี่ ย นมาร ว มรายการ จั ด การอภิ ป ราย เกี่ ย วกั บ ป ญ หาต า งๆ ของโลก เสนอรายการบั น เทิ ง ที่ เ กี่ ย วกั บ ศิ ล ปะ และวัฒนธรรมระหวางประเทศหรือวางแผนโปรแกรมอื่นๆ ที่เนนการ ตางประเทศ หลายสโมสรจะถือโอกาสนี้เริ่มกิจกรรมบริการระหวางประเทศหรือ ติ ด ต อ กั บ สโมสรอื่ น ในต า งประเทศ นั บ ว า เป น เดื อ นที่ ดี ที่ จ ะริ เ ริ่ ม การ โรตารี ก เอย ก ไก | 17


แลกเปลี่ยนมิตรภาพของโรตารี หรือกระตุนใหมีการสนับสนุนโปรแกรม ของมูลนิธิโรตารี เดือนแหงความเขาใจระหวางกันในโลกจะเปนโอกาสสําหรับสโมสร ทุกแหงที่จะสงเสริมการแสวงหาที่ไมหยุดยั้งของโรตารีเพื่อไมตรีจิต สันติ สุข และความเขาใจระหวางชนทั้งหลายในโลก

หลักการของการจัดประเภทอาชีพ แท ที่ จ ริ ง แล ว การเป น สมาชิ ก โรตารี จ ะใช "ประเภทอาชี พ " เป น หลั ก โดยทั่วไปแลว ประเภทอาชีพจะบงบอกการประกอบธุรกิจและวิชาชีพที่ เปนที่ยอมรับและแตกตางกันที่โรแทเรียนทําอยูในสังคม หลักการในการจัดประเภทอาชีพของโรตารีคอนขางจะชัดเจนและ เฉพาะเจาะจงมาก ในการพิจ ารณาประเภทอาชีพ ของโรแทเรีย นนั้ น จําเปนอยางยิ่งที่จะพิจารณา "ธุรกิจหรือวิชาชีพหลักหรือที่ยอมรับของ หางราน บริษัท หรือสถาบันที่สมาชิกสามัญทําอยู" หรือ "ที่เกี่ยวของกับ กิจการทางธุรกิจและวิชาชีพหลักของสมาชิกสามัญนั้นๆ" หรื ออีกนั ยหนึ่ง ประเภทอาชีพจะพิจารณาไดโ ดยกิจการหรือ การ บริการตางๆ ที่มีตอสังคม มากกวาพิจารณากันโดยตําแหนงของแตละ บุคคล ตัวอยางเชน สมาชิกที่เปนประธานธนาคาร ประเภทอาชีพของเขา จะมิใช "ประธานธนาคาร" แตจะอยูภายใตประเภทอาชีพ "การธนาคาร" หลักการของการจัดประเภทอาชีพจะแยกธุรกิจและงานอุตสาหกรรม ไวในหนาที่แตกตางกัน เชน การผลิต การขายสง การขายปลีก และการ บริการ การจัดประเภทอาชีพอาจจัดใหเฉพาะเจาะจง เชน การจัดแผนก เปนเอกเทศขององคกรใหญๆ หรือมหาวิทยาลัยภายในอาณาเขตของ สโมสร เชน คณะธุรกิจหรือคณะวิศวกรรมศาสตร หลักการของการจัดประเภทอาชีพเปนแนวความคิดที่จําเปนยิ่งใน การให ค วามมั่ น ใจว า สโมสรโรตารี แ ต ล ะแห ง จะเป น ตั ว แทนของการ บําเพ็ญประโยชนทางธุรกิจและวิชาชีพของชุมชนที่หลากหลาย

18 | โรตารี ก เอย ก ไก


การแลกเปลี่ยนธงสโมสร บรรดาสโมสรโรตารี ทั้ ง หลายมี ป ระเพณี นิ ย มที่ น า สนใจก็ คื อ การ แลกเปลี่ยนธงเล็กๆ ซึ่งกันและกัน โรแทเรียนที่เดินทางไปยังทองถิ่นไกลๆ มักจะนําธงสโมสรเพื่อไปแลกเปลี่ยนกันในการเขาประชุมชดเชยเปนของ ที่ระลึกแหงมิตรภาพระหวางกัน สโมสรหลายสโมสรใชธงประดับที่ไดรับ นั้นๆ จัดแสดงไวในการประชุมสโมสรและกิจกรรมตางๆ ของภาค คณะกรรมการบริหารโรตารีสากลตระหนักในความนิยมที่เพิ่มพูนขึ้น ในการแลกเปลี่ยนธงนับ แตปค.ศ. 1959 และไดสนับสนุนใหสโมสรที่ เกี่ยวของกับการแลกเปลี่ยนนั้นมั่นใจวา การออกแบบธงของสโมสรสื่อให เห็นถึงชุมชนและประเทศที่สโมสรนั้นตั้งอยูใหเดนชัดดวย ธงนั้นๆ ควรมี รูปภาพ คําขวัญ หรือการออกแบบที่สามารถบรรยายไดถึงอาณาบริเวณ ของสโมสรนั้นๆ คณะกรรมการบริ ห ารให ค วามใส ใ จเกี่ ย วกั บ ภาระทางการเงิ น ที่ อาจจะเกิ ด ขึ้ น กั บ สโมสรจากการแลกเปลี่ ย น โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ใน ทองถิ่นที่เปนที่นิยม ที่มีโรแทเรียนมาเขาประชุมชดเชยและขอแลกเปลี่ยน ธงกันมากๆ โดยสรุปแลว สโมสรควรระมัดระวังที่จะปฏิบัติโดยรอบคอบ และใหพอเหมาะพอควรในการแลกเปลี่ยนธงสโมสร เพื่อวาจะไดไมมีขอ ผูกพันทางการเงินที่จะทําใหเกิดผลเสียตอกิจกรรมการบําเพ็ญประโยชน โดยทั่วไปของสโมสรได การแลกเปลี่ ย นธงสโมสรเป น ประเพณี นิ ย มที่ เ ป น ที่ ชื่ น ชอบ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง หากธงออกแบบอย า งมี ศิ ล ปะและมี ค วามคิ ด สรางสรรคสามารถบงบอกถึงเรื่องราวที่นาสนใจเกี่ยวกับความภาคภูมิใจ ในชุมชนได การแลกเปลี่ยนธงจึงเปนประเพณีนิยมที่มีความหมายยิ่งของ โรตารี และเป น การแสดงให เ ห็ น ถึ ง สั ญ ลั ก ษณ แ ห ง มิ ต รภาพระหว า ง ประเทศของเราที่เปนเรื่องเปนราวได

กฎขอบังคับของการขาดประชุม ธรรมนูญมาตรฐานของสโมสรโรตารีกําหนดเงื่อนไขไว 3 ประการ วาดวย สมาชิกภาพของโรแทเรียน ซึ่งจะสิ้นสุดลงโดยอัตโนมัติสําหรับการขาด โรตารี ก เอย ก ไก | 19


ประชุม เงื่อนไขดังกลาวนั้นคือ การไมเขาประชุมหรือไมเขาประชุมชดเชย ในการประชุ ม สโมสร 4 ครั้ ง ติ ด ต อ กั น การไม เ ข า ประชุ ม ปกติ ป ระจํ า สัป ดาหห รือ ไม เข า ประชุ ม ชดเชย 60% ของการประชุม สโมสรทุ กๆ 6 เดือน และการไมเขาประชุมอยางนอย 30% ของการประชุมในสโมสร ของตนในแตละชวง 6 เดือน ในกรณีดังกลาวทั้ง 3 ประการ สมาชิกจะ ขาดสมาชิกภาพของโรตารี หากคณะกรรมการบริหารสโมสรมิไดยินยอม อนุมัติใหยกเวนการขาดประชุมนั้นๆ กอนลวงหนาดวยเหตุผลที่สมควร เพียงพอ เมื่ อ สมาชิ ก ขาดการประชุ ม 4 ครั้ ง อย า งต อ เนื่ อ ง คณะกรรมการ บริห ารจะแจงใหโรแทเรี ยนทราบวา การขาดประชุมอาจถูกพิจ ารณา ประหนึ่ ง ว า โรแทเรี ย นนั้ น ๆ ได ยื่ น ใบลาออกจากสโมสร หลั ง จากนั้ น คณะกรรมการบริหารอาจจะมีมติโดยเสียงสวนใหญใหยกเลิกสมาชิก ภาพของโรแทเรียนนั้น สํ า หรั บ สมาชิ ก บางคน กฎข อ บั ง คั บ เหล า นั้ น อาจจะดู ค อ นข า ง เขมงวดผิดปกติ อยางไรก็ตามการเขาประชุมสโมสรก็คือ หนาที่พื้นฐาน หนึ่งที่สมาชิกทุกคนตองยอมรับเมื่อเขามาเปนสมาชิกสโมสรโรตารี กฎ ขอบังคับของธรรมนูญเพียงแตเนนวา โรตารีคือองคกรแหงการมีสวนรวม ซึ่งใหความสําคัญในการเขาประชุมเปนอยางสูง เมื่อสมาชิกใดขาดการ ประชุม สโมสรทั้งหมดยอมจะสูญเสียความสัมพันธสวนบุคคลกับสมาชิก ผูนั้น การเขาประชุมสโมสรจึงถือวาเปนสวนสําคัญของการดําเนินงาน และความสําเร็จของสโมสรโรตารีทุกแหง

การใหสมาชิกใหมมีสวนรวมในโรตารี ทานตระหนักถึงความรับผิดชอบหรือหนาที่ที่โรแทเรียนสวนใหญมักไม คอยปฏิบัติกันหรือไม? เชน การจายคาบํารุง การเขาประชุมสโมสร การ บริ จ าคให กั บ กองทุ น การบํ า เพ็ ญ ประโยชน ข องสโมสร การเข า ร ว ม กิจกรรมหรือโครงการของสโมสร... เปลาเลย... ไมไดทําสักอยาง! จากหนาที่ทั้งหมดที่สมาชิกแตละคนยอมรับเมื่อเขารวมเปนสมาชิก ในสโมสร สวนหนึ่งซึ่งโรแทเรียนสวนใหญมักบกพรองกันก็คือการมีสวน 20 | โรตารี ก เอย ก ไก


รวมในโรตารี โรตารีสากลสนับสนุนอยางชัดแจงใหโรแทเรียนทุกคนมี "หนาที่ที่จะใหผูอื่นมีสวนรวมในโรตารีและชวยกันขยายโรตารี โดยการ เสนอบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการเปนสมาชิกสโมสรโรตารี" เรา คาดวามีสมาชิกนอยกวา 30% ของสโมสรโรตารีสวนใหญที่เคยพยายาม เสนอสมาชิกใหม ดังนั้นในทุกสโมสร ยังมีโรแทเรียนจํานวนมากผูซึ่งยังไม เคยแบงปนประสบการณที่ดีใหกับบุคคลอื่นเลย ธรรมนูญของโรตารีสากลระบุเกี่ยวกับสมาชิกภาพของสโมสรไววา "สโมสรโรตารีแตละสโมสรควรมีสมาชิกภาพที่สมดุล โดยไมมีธุรกิจหรือ วิชาชีพใดที่มีมากกวาธุรกิจหรือวิชาชีพอื่นๆ” แตละบุคคลเพียงแตเปด สมุดโทรศัพทในอาณาเขตนั้นหรือทําเนียบหอการคา เพื่อตระหนักวา สโมสรสวนมากนั้นยัง มิไดเชิญสมาชิ กที่มีคุณ สมบัติจากทุกธุรกิจและ วิชาชีพมาเปนโรแทเรียน หลักการขั้นพื้นฐานอยางหนึ่งของโรตารี คือ การเปนผูแทนในธุรกิจและวิชาชีพที่เทาเทียมกันของคนในชุมชนที่สโมสร ใหการสนับสนุนอยู สโมสรโรตารีจึงตองรวบรวมเอาธุรกิจและวิชาชีพ ทั้งหมดในชุมชนเขาไวดวยกัน สโมสรสามารถเพิ่มความหลากหลายของ สมาชิกภาพออกไปไดเรื่อยๆ โดยตองมั่นใจวาสมาชิกภาพของสโมสร แสดงใหเห็นภาพของชุมชนที่มีนักธุรกิจและผูมีวิชาชีพตางๆ กัน ซึ่ง มี ความหลากหลายในเรื่องของเพศ อายุ และเชื้อชาติ โรแทเรี ย นเท า นั้ น ที่ อ าจเสนอชื่ อ ลู ก ค า เพื่ อ นบ า น ผู จ า ง ผู ข าย ผูบริหาร ญาติ ผูรวมธุรกิจ บุคคลที่มีคุณสมบัติทางวิชาชีพอื่นๆ มาเปน สมาชิกของสโมสรโรตารี ทานยอมรับหนาที่ของทานในการใหผูอื่นมีสวน รวมในโรตารีแลวหรือยัง? วิธีดําเนินการเปนไปไดงายมาก และทุกคนตอง รูจักอยางนอยหนึ่งคนที่ควรเขามาอยูในโรตารี

ความอดกลั้นตอความแตกตางระหวางกัน นานๆ ครั้งจะมีสิ่งชักจูงใจใหวิพากษวิจารณกฎหมาย ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่เคยปฏิบัติกันมาของประเทศอื่น ซึ่งอาจดูวาแปลกหรือตรงกัน ข า มกั บ ประเทศของเรา ยกตั ว อย า งเช น การปฏิ บั ติ อั น มิ ช อบทาง โรตารี ก เอย ก ไก | 21


กฎหมายหรือประเพณีของชาติชาติหนึ่ง อาจถูกตองตามกฎหมายและ เปนที่ยอมรับในอีกชาติหนึ่งได ในฐานะที่เปนสมาชิกขององคกรระหวางประเทศที่อุทิศตนเพื่อความ เขาใจและสันติสุขระหวางกันในโลก โรแทเรียนทั้งหลายจําเปนที่จะตอง ฝกอดกลั้นในการวิจารณเพื่อนโรแทเรียนและพลเมืองจากประเทศอื่น หากพฤติกรรมของเขาแปลกไปจากของเรา นโยบายของโรตารีในปค.ศ. 1933 กลาวไววาเนื่องจากเปนที่ยอมรับวา กิจกรรมและประเพณีทองถิ่น บางอยางอาจถูกกฎหมายและเปนประเพณีนิยมในหนึ่งประเทศ แตไม เปนเชนนั้นในอีกประเทศหนึ่งได โรแทเรียนจึงควรไดรับการชี้แนะดวย คําเตือนใหมีความอดกลั้นดังนี้ "โรแทเรียนในทุกประเทศควรตระหนักถึงขอเท็จจริงเหลานี้ และควร หลีกเลี่ยงอยางมีวิจารณญาณในการวิพากษวิจารณเกี่ยวกับกฎหมาย ประเพณีของประเทศหนึ่งๆ" นโยบายนั้นจะเตือน "มิใหโรแทเรียนของ ประเทศหนึ่งๆ เขาไปยุงกับกฎหมายหรือประเพณีของประเทศอื่น" ดวย เมื่อเราพยายามที่จะกระชับความสัมพันธแหงความเขาใจ ไมตรีจิต และมิตรภาพ นโยบายดังกลาวนี้จะยังคงเปนคําแนะนําและการชี้แนะที่ดี ได

การประชุมชดเชยพิเศษ โรแทเรียนทานใดบางที่เดินทางไกลที่สุดเพื่อไปประชุมชดเชย? ถูกแลว หากทานเดาไดวา เปนสมาชิกของสโมสรโรตารีปาปเต ประเทศตาฮิติ เฟรนช โพลิเนเชียซึ่งตั้งอยูใจกลางมหาสมุทรแปซิฟค และเปนสโมสรที่ อยูไกลที่สุดจากสโมสรอื่นๆ การประชุมโรตารีที่อยูทางใตสุดคือ สโมสร โรตารีเบส มารามบิโอ - อันตารติดาในแอนตารคติกา การไปเยือนสโมสร โรตารี ที่ อ ยู เ หนื อ สุ ด ท า นต อ งเดิ น ทางไปยั ง สโมสรโรตารี Svalbard ประเทศนอรเวย ที่หมูเกาะ Svalbard ไกลออกไปทางเหนือของแผนดิน ใหญนอรเวย เป น ที่ ก ล า วกั น ว า มี ก ารประชุ ม โรตารี ใ นบางแห ง ของโลกในทุ ก ๆ ชั่วโมงของทุกๆ วัน หากทานประชุมโรตารี 1 ครั้งตอวัน จะใชเวลากวา 22 | โรตารี ก เอย ก ไก


80 ปที่จะเยี่ยมทุกสโมสรทั้งหมดมากกวา 32,000 สโมสรไดทั่วโลก และ ถึงตอนนั้น ไมตองสงสัยเลยวาจะมีสโมสรใหมอีกนับพันๆ สโมสรใหเขา ประชุมเพิ่มมากขึ้นกวานี้ แตในปจจุบันนี้ โรแทเรียนไมจําเปนตองออกจากบานไปรวมประชุม ทดแทน สโมสรโรตารีอี-คลับชวยใหทานสามารถประชุมทดแทนออนไลน ได 24 ชั่วโมงตอวัน และรวมหารือในเรื่องตางๆ กับโรแทเรียนจากทุกๆ สวนของโลก

การบริการดานอาชีพ การบริการดานอาชีพเปนแนวทางที่สองแหงการบําเพ็ญประโยชน ไมมี เรื่องใดของโรตารีที่จะเกี่ยวของกับสมาชิกอยางใกลชิดมากไปกวาความ ตั้งใจที่จะเปนตัวแทนทางอาชีพหรือการงานของตนตอมวลมิตรโรแทเรียน และทําตนใหเปนตัวอยางเกี่ยวกับลักษณะมาตรฐานจรรยาบรรณ และเกียรติในงานที่ทํา โปรแกรมในการบริการดานอาชีพเปนการแสวงหา วิ ธี ก ารพั ฒ นาความสั ม พั น ธ ท างธุ ร กิ จ ในขณะเดี ย วกั น ก็ ป รั บ ปรุ ง คุณภาพทางการคา อุตสาหกรรม การพาณิชยและวิชาชีพตางๆ โรแทเรี ยนทั้ งหลายยอ มเขา ใจว า แตล ะบุคคลจะทํา ประโยชนที่มีคุณ คา แก สังคมใหดีขึ้นได โดยกิจกรรมทางธุรกิจและวิชาชีพประจําวันของตน การบริการดานอาชีพมักจะแสดงออกไดโดยการใหการแนะนําทาง อาชีพ ใหขอมูลทางอาชีพและชวยเหลือในการเลือกอาชีพแกเยาวชน สโมสรโรตารีบางแหงจะสนับสนุนการจัดประชุมเพื่อแนะแนวทางอาชีพ ของโรงเรียนมัธยม สโมสรโรตารีหลายแหงตระหนักในเกียรติของอาชีพ โดยการประกาศยกย อ งการบริ ก ารที่ เ ป น ตั ว อย า งของแต ล ะบุ ค คลที่ ทํางานอยูในชุมชนของตน การทดสอบสี่แนวทางพรอมทั้งปรัชญาทาง ธุรกิจ และจรรยาบรรณที่สมควรยกย อ งมัก จะไดรับ การสงเสริม ในหมู เยาวชนที่กําลังจะเขาไปสูโลกแหงการทํางาน การสนทนาเกี่ยวกับอาชีพ และการอภิปรายเกี่ยวกับเรื่องตางๆ ทางธุรกิจ จะเปนโครงการบริการ ดานอาชีพที่เคยทํากันมาของสโมสรเปนสวนมาก โรตารี ก เอย ก ไก | 23


ไมวาจะใหบริการดานอาชีพดวยวิธีใด ก็นับวาเปนหลักการที่โรแทเรียนทั้งหลายจะ "ตระหนักถึงการยกระดับความมีคุณคาของวิชาชีพที่มี ประโยชนทั้งหมด" และแสดงใหเห็นถึง "การกระทําที่เกี่ยวกับมาตรฐาน จรรยาบรรณในธุรกิจและวิชาชีพทั้งหมด" นั่นคือเหตุผลที่แนวทางที่สอง แหงการบําเพ็ญประโยชนมีความสําคัญยิ่งตอสโมสรทุกแหง

บทเรียนทางภูมิศาสตรของโรตารี • ทานทราบไหมวาสโมสรโรตารีเรโนในรัฐเนวาดา ประเทศสหรัฐอเมริกา

อยูไกลไปทางทิศตะวันตกมากกวาสโมสรโรตารีลอสแองเจลิส • ท า นทายได ไ หมว า การประชุ ม ต า งๆ ของสโมสรโรตารี พ อร ท แลนด รั ฐ เมน สหรั ฐ อเมริ ก า อยู ไ กลไปทางใต ม ากกว า สโมสรต า งๆ ใน ลอนดอน ประเทศอังกฤษ • ท า นจิ น ตนาการได ไ หมว า สโมสรโรตารี เ พนซาโคลา รั ฐ ฟลอริ ด า สหรั ฐ อเมริ ก า อยู ท างทิ ศ ตะวั น ตกของเมื อ งดี ท รอยท รั ฐ มิ ชิ แ กน สหรัฐอเมริกา • เปนความจริงที่สโมสรโรตารีไคโร รัฐอิลลินอยส สหรัฐอเมริกา อยูทาง ใตของสโมสรริชมอนด รัฐเวอรจิเนีย สหรัฐอเมริกา • มีสโมสรโรตารี 143 แหงที่มีคําวา "โตเกียว" ในชื่อของสโมสร • สโมสรโรตารีโนเมในรัฐอลาสกา สหรัฐอเมริกา อยูทางทิศตะวันตกของ สโมสรโรตารี ฮ อนโนลู ลู รัฐ ฮาวาย สหรั ฐ อเมริก า และสโมสรโรตารี ซานดิเอโก ประเทศชิลี ตั้งอยูทางทิศตะวันออกของสโมสรฟลาเดลเฟย รัฐเพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมริกา • นั ก ภู มิ ศ าสตร ข องโรตารี จ ะทราบดี ว า จริ ง ๆ แล ว นั้ น การประชุ ม ของ สโมสรโรตารีทุกครั้งในประเทศออสเตรเลีย จะอยูทางทิศตะวันออกของ สโมสรโรตารีในฮองกง • สโมสรโรตารีคิโต ประเทศเอกวาดอร สโมสรโรตารีลิเบรอวิลล ประเทศ แกบอน สโมสรโรตารี สิ ง คโปร สโมสรโรตารี แ กมปาลาในประเทศ อูกันดามีอะไรที่เหมือนกัน? ทานเดาถูกตองแลว สโมสรเหลานั้นประชุม กันใกลเสนศูนยสูตร 24 | โรตารี ก เอย ก ไก


การสวดมนตในการประชุมสโมสร ในสโมสรโรตารีหลายแหง เปนประเพณีนิยมที่จะเปดการประชุมประจํา สัปดาหดวยการสวดมนตหรือใหพรอยางเหมาะสม โดยปกติแลว การ สวดมนตนั้ น จะกระทํ า กั น โดยไม คํา นึ ง ว า จะเปน นิก ายในศาสนาหรื อ ความเลื่อมใสใดๆ นโยบายของโรตารีถือวาโรแทเรียนทั่วโลกเปนตัวแทนของความเชื่อ ทางศาสนา แนวคิดและลัทธิตางๆ เราเคารพในความเชื่อทางศาสนาของ สมาชิกแตละคนอยางเต็มที่ และไมมีสิ่งใดในโรตารีที่เจตนาจะมิใหบุคคล ใดไมศรัทธาตอความเชื่อนั้นๆ ณ การประชุ ม อบรมผู ว า การภาครั บ เลื อ กและการประชุ ม ใหญ ประจําปของโรตารีสากล จึงเปนประเพณีที่จะมีการสวดมนตอยางเงียบๆ ขึ้น เพื่อคํานึงถึงความเชื่อทางศาสนาทั้งหมดและความอดกลั้นตอความ ศรัทธาสวนบุคคลที่หลากลาย ผูเขารวมประชุมจึงไดรับการเชิญชวนให แสวงหาแนวทางทางศาสนาและความสงบสุขตามทางของแตละบุคคล โดยปกติแลวการประชุมคณะกรรมการหรือคณะกรรมการบริหารของ โรตารีสากล มักจะเริ่มตนดวยการทําสมาธิเงียบๆ สักครู เนื่องจากสโมสรแตละสโมสรมีอิสระในการดําเนินการของตนเอง การปฏิบัติในการขอพรหรือการสวดมนต ณ การประชุมสโมสร จึงถือวา เปนระเบียบประเพณีของสโมสรแตละสโมสรเอง โดยคํานึงวาในการ ประชุมดังกลาวนั้นจะปฏิบัติกันในลักษณะที่จะแสดงความเคารพ ความ เชื่อ และความศรัทธาทางศาสนาของสมาชิกทุกคนอยูเสมอ รวมทั้งไมมี การแบงแยกทางศาสนาดวย

ทําเนียบทางการ (Official Directory) ทา นจะคนไดอ ย างไรวา เมื่อใดสโมสรโรตารีมีป ระชุมในเมือ งทูวุ มบา พอนดิเชอรรี่หรือเรคลิงเฮาเซ็น ก็เพียงแตเปดทําเนียบทางการของโรตารี สากลเทานั้นเอง ประมาณ 900 หนากระดาษที่พิมพในแตละปรวมทั้งมี ในรูปแบบของซีดีรอม จะบรรจุขอมูลที่ทันสมัยเกี่ยวกับโรแทเรียนและ สโมสรโรตารีตางๆ ไวอยางครบถวน ทั้งวันที่ประชุม เวลา สถานที่ของ โรตารี ก เอย ก ไก | 25


สโมสรทุกแหงมากกวา 32,000 สโมสร นับจากสโมสรโรตารีอะฟาโมซา มาลั ค กา ประเทศมาเลเซี ย ไปจนถึ ง สโมสรโรตารี ซ วอลล น อร ด ใน ประเทศเนเธอรแลนด ทําเนียบทางการจะรวมชื่อ ที่อยูและอีเมลของ นายกและเลขานุการสโมสร เชนเดียวกับจํานวนของสมาชิกสโมสรและ วันที่ไดรับสารตราตั้งดวย นอกจากนี้ ทําเนียบทางการจะบันทึกขอมูลมากมายเกี่ยวกับภาค ตางๆ ของโรตารีประมาณ 530 ภาค รวมทั้งโครงสรางและวัตถุประสงค ของคณะกรรมการและคณะทํ า งานเฉพาะกิ จ โรตารี ส ากลอย า งเป น ทางการด ว ย ชื่ อ และที่ อ ยู ข องคณะกรรมการบริ ห ารโรตารี ส ากลชุ ด ปจจุบันและชุดเกาทั้งหมดจะไดรับการรวบรวมไวดวยเชนกัน จะมีรายชื่อ อดีตประธานโรตารีสากลทั้งหมดพรอมดวยคติพจนในปของเขา รวมทั้ง รายชื่ อ โรงแรมชั้ น เยี่ ย มจากทั่ ว โลกเพิ่ ม เติ ม ไว ด ว ย รวมทั้ ง ชื่ อ ผู ไ ด รั บ ลิ ข สิ ท ธิ์ สิ น ค า ของโรตารี ทํ า เนี ย บทางการนี้ นั บ ว า เป น หนั ง สื อ คู มื อ ที่ สมบูรณแบบสําหรับการติดตอเกี่ยวกับโรตารีเมื่อทานเดินทาง ทานสามารถสั่งซื้อหนังสือทําเนียบทางการไดจากสํานักงานใหญ โลกโรตารี ส ากล หรื อ สํ า นั ก งานต า งประเทศ โรแทเรี ย นสามารถหา ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ การประชุ ม สโมสรได จ าก Club Locator บนเว็ บ ไซต www.rotary.org เอาละ... สโมสรโรตารีทูวุมบา มีประชุมทุกวันจันทรเวลา 18.00 น. พอนดิเชอรรี่มีประชุมทุกวันพุธเวลา 19.30 น. และเรคลิงเฮาเซ็นมีประชุม ทุกวันจันทรเวลา 19.00 น. นับวาดีมากทีเดียวที่ไดทราบ!

การสนับสนุนสโมสรและภาค ตองการรูมากขึ้นเกี่ยวกับการประชุมทดแทนที่สโมสรอี-คลับหรือจะจัด พิธีรับสมาชิกใหมอยางไร สโมสรของทานอาจจะไมไดรับรายงานครึ่งป และทานก็อยากรูวาตองทําอยางไร โรตารีอาจจะดูซับซอนมากสําหรับ สมาชิก ใหมห รือ โรแทเรียนที่เริ่มมีบทบาทผูนํา ใหมๆ แตสโมสรโรตารี สามารถหาคําตอบในคํา ถามสวนใหญข องพวกเขาไดจากผูแ ทนฝา ย สนับสนุนสโมสรและภาคที่สํานักเลขาธิการ 26 | โรตารี ก เอย ก ไก


พนักงานเหลานี้จะใหคําแนะนําเกี่ยวกับบริการและทรัพยากรของ โรตารีสากล วิธีปฏิบัติในการบริหาร นโยบายของคณะกรรมการบริหาร และเอกสารธรรมนูญของโรตารีสากล รวมทั้งการทํางานโรตารีออนไลน พวกเขายั ง ไปร ว มประชุ ม ต า งๆ ของสโมสรและภาคเพื่ อ พบปะกั บ โรแทเรี ย นและให ก ารอบรมแก ผู นํ า ที่ จ ะเข า มารั บ หน า ที่ ท า นจะหา รายละเอี ยดของผูแ ทนฝ า ยสนับ สนุน สโมสรและภาคของท า นไดจาก www.rotary.org/support หรือจากสํานักงานเลขาธิการในพื้นที่ของทาน

โอกาสแหงมิตรภาพ โรแทเรียนสวนใหญจะเปนผูบริหารที่ประสบความสําเร็จทางธุรกิจและ วิชาชีพเพราะเขาไดรับโอกาสและไดฉกฉวยโอกาสนั้นๆ ใหเปนประโยชน ในแต ล ะสั ป ดาห โอกาสสํ า หรั บ มิ ต รภาพของโรตารี จ ะเกิ ด ขึ้ น ในการ ประชุมของสโมสรทุกแหง แตก็มิใชสมาชิกทุกคนที่จะไดรับโอกาสนั้น การประชุมประจําสัปดาหของสโมสรจะเปนสิทธิพิเศษของการเปน สมาชิกโรตารี การประชุมนั้นจะใหโอกาสในการเยี่ยมเยือนเพื่อนสมาชิก พบปะกับแขกและสมาชิกใหม และมีโอกาสแลกเปลี่ยนมิตรภาพสวน บุคคลของทานกับสมาชิกอื่นๆ ดวย สโมสรโรตารีซึ่งไดชื่อ วา เป น "สโมสรมิตรภาพ" มักจะปฏิบัติตาม ขั้นตอนงายๆ ไมกี่ขั้นตอนดวยการสนับสนุนใหสมาชิกเปลี่ยนที่นั่งหรือ เปลี่ยนโตะนั่งในทุกๆ สัปดาห หรือใหนั่งกับสมาชิกที่ไมรูจักกันดีนัก ให สมาชิกเชิญชวนสมาชิกใหมหรือผูมาเยือนรวมนั่งโตะดวยกันโดยสนทนา กับทุกๆ คนรอบโตะโดยมิเพียงแตรับประทานอาหารเงียบๆ หรือคุยกับ บางคนที่นั่งถัดไปเปนสวนตัวเทานั้น โรแทเรียนควรใสใจเปนพิเศษใน การพยายามสรางความคุนเคยกับสมาชิกทุกคนของสโมสร เพื่อเปนการ เสริมสรางมิตรภาพในสโมสร เมื่อโรแทเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนงายๆ เหลานี้แลว ก็ยอมจะไดพบ โอกาสแหงมิตรภาพใหมๆ ในทุกสัปดาห ในไมชาโรแทเรียนจะตระหนัก วามิตรภาพสวนบุคคลอันอบอุนนั้น คือหลักสําคัญของสโมสรโรตารีที่ ยิ่งใหญทุกแหง โรตารี ก เอย ก ไก | 27


การรองเพลงในสโมสร แฮรรี่ รักเกิลส เปนสุภาพบุรุษคนที่ 5 ที่รวมสนทนากับ พอล แฮริส ซึ่ง นําไปสูการกอตั้งสโมสรโรตารีแหงแรกขึ้นในเมืองชิคาโกในปค.ศ. 1905 แฮรรี่เปนบุคคลที่ชอบรองเพลงและการรองเพลงก็เปนกิจกรรมที่ชื่นชอบ กันในศตวรรษนั้น ชวงตนการประชุมของกลุมสมาชิก แฮรรี่ไดกระโดดขึ้น ไปบนเกาอี้และกระตุนใหทุกคนรวมกันรองเพลงไปกับเขาดวย ในไมชา การรองเพลงเปนกลุมจึงกลายมาเปนสวนหนึ่งของประเพณี ในการประชุมโรตารีในแตละครั้ง ประเพณีดังกลาวไดแพรขยายไปยัง สโมสรตางๆ มากมายในประเทศสหรัฐอเมริกา และยังคงเปนกิจกรรม มิตรภาพที่ชื่นชอบในการประชุมโรตารีในประเทศตางๆ ทั้งในประเทศ ออสเตรเลีย, แคนาดา, ญี่ปุน, นิวซีแลนด และไนจีเรีย บางสโมสรจะรอง เพลงชาติในการเปดการประชุมอยางเปนทางการ อยางไรก็ตามการรอง เพลงเพื่อสังคมก็ยังไมคอยพบกันมากนักในสโมสรโรตารีในยุโรปหรือ อเมริกาใต

ประเภทของสมาชิกภาพ สมาชิกภาพของสโมสรโรตารีมี 2 ประเภท คือ สมาชิกสามัญและสมาชิก กิตติมศักดิ์ สมาชิก สามัญ คือ ผู ที่ ไ ด รับ เลื อ กเขา เป น สมาชิ กภายใต ป ระเภท อาชีพทางธุรกิจหรือวิชาชีพอยางหนึ่ง และตองทําตามขอกําหนดหนาที่ รั บ ผิ ด ชอบและมี สิ ท ธิ พิ เ ศษของการเป น สมาชิ ก ตามที่ ร ะบุ เ อาไว ใ น ธรรมนูญและขอบังคับของโรตารีสากล สมาชิกสามัญอาจมีตําแหนงใน สโมสรและทํางานใหโรตารีสากลในระดับภาคและระดับนานาชาติ และ จะต อ งทํ า ตามข อ กํ า หนดของการเข า ประชุ ม ชํ า ระค า บํ า รุ ง และนํ า สมาชิกใหมเขามาสูโรตารีดวย สโมสรโรตารี อ าจจะเสนอบุ ค คลที่ บํ า เพ็ ญ ประโยชน ต ามแนว อุดมการณของโรตารีเปนสมาชิกกิตติมศักดิ์ สมาชิกกิตติมศักดิ์จะไดรับ เลือกเพียง 1 ปและตองมีการตอสมาชิกภาพใหมในแตละปดวย สมาชิก กิตติมศักดิ์ทั้งหลายไมสามารถเสนอสมาชิกใหมแกสโมสรได และไมมี 28 | โรตารี ก เอย ก ไก


หนาที่ใดๆ ในสโมสร พรอมทั้งไดรับการยกเวนไมตองเขาประชุมตาม กฎเกณฑและจายคาบํารุงของสโมสรแตอยางใด มีสมาชิกกิตติมศักดิ์ของสโมสรตางๆ มากมายที่เปนผูนําของรัฐ นัก สํารวจ นักประพันธ นักดนตรี นักบินอวกาศและขาราชการทั่วไป เชน พระเจ า กุ ส ตาฟแห ง สวี เ ดน, พระเจ า จอร ช ที่ ห กแห ง อั ง กฤษ, พระเจ า โบดวงแหงเบลเยี่ยม, พระเจาฮัสซานที่สามแหงโมรอคโค, เซอรวินสตัน เชอรชิลล, นักมนุษยวิทยา อัลเบิรท ชไวทเซอร, ชารล ลินดเบอรก นักแตง เพลง, ยีน ซิบิลิอุส นักสํารวจ, เซอรเอ็ดมัน ฮิลแลรี, ทอร ไฮเยอรดาหล, ทอมัส เอดิสัน, วอลท ดีสนีย, บอบ โฮป, ดร.อัลเบิรท แซบิน, มากาเรท แททเชอร และประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาอีกหลายทาน

สมาชิกภาพในโรตารีสากล หากทานถามโรแทเรียนทานใดทานหนึ่งวา เขาหรือหลอนเปนสมาชิกของ โรตารีสากลหรือไม บุคคลตางๆ นั้นอาจจะมองดูทานอยางฉงนและตอบ วา "แนนอนผม/ดิฉันเปนสมาชิกของโรตารีสากล" แตในกรณีดังกลาว โรแทเรี ย นที่ มี ค วามเชื่ อ มั่ น นั้ น ตอบผิ ด ตามข อ เท็ จ จริ ง เนื่ อ งจากไม มี โรแทเรียนผูใดเปนสมาชิกของโรตารีสากล! คําอธิบายสําหรับขอแยงที่วานั้นงายมาก ทั้งนี้เนื่องจากตามเอกสาร ธรรมนู ญ ของโรตารี ส ากลได ร ะบุ ไ ว ว า สโมสรโรตารี เ ท า นั้ น ที่ จ ะเป น สมาชิ ก ในโรตารี ส ากลได สโมสรโรตารี ม ากกว า 32,000 สโมสรเป น สมาชิกขององคกรที่เราเรียกวาโรตารีสากล สโมสรโรตารี จ ะประกอบขึ้ น ด ว ยบุ ค คลต า งๆ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ด า น อุปนิสัยและชื่อเสียงที่เหมาะสม มีประเภทอาชีพทางธุรกิจและวิชาชีพ และเปนผูซึ่งปฏิบัติหนาที่ในระดับของผูจัดการหรือผูบริหาร โรแทเรียนจะ เปนสมาชิกของสโมสรและสโมสรจะเปนสมาชิกของโรตารีสากล โรแทเรียนสวนใหญมัก ไมรูแ ละไมเห็น ขอ แตกตา งดัง กลา วนี้ แตมัก จะไมมี ปญหาหรือขอยุงยากใดๆ มากนัก อยางไรก็ดี จะเปนคําอธิบายไดวา ทําไมคณะกรรมการบริหารของโรตารีสากลจึงตั้งความมุงหวังและใหสิทธิ ตางๆ แกสโมสรโรตารีแทนที่จะใหแกโรแทเรียนเปนรายบุคคล โรตารี ก เอย ก ไก | 29


หากมีใครก็ ตามมาถามวา ทานเปน สมาชิกโรตารีสากลใช หรื อ ไม คําตอบที่ถูกตองที่สุดของทานก็คือ "ไมใช ผม/ดิฉัน เปนสมาชิกสโมสร โรตารีตางหาก" แตสงสัยเพียงวาใครก็ตามนั้นจะเขาใจความแตกตาง หรือใสใจในเรื่องนี้อยางจริงจังหรือไมเทานั้น

ผูวาการภาค ผู ว า การภาคจะปฏิ บั ติ ห น า ที่ สํ า คั ญ ยิ่ ง ในโลกแห ง โรตารี เขาจะเป น เจาหนาที่ของโรตารีสากลเพียงผูเดียวในอาณาเขตทางภูมิศาสตรของเขา เองซึ่งเรียกวาภาคของโรตารี ผูวาการภาคเปนผูซึ่งไดรับการฝกอบรมเขม ณ การประชุมอบรมผูวาการภาครับเลือก และการสัมมนาอบรมผูวาการ ภาครับเลือกในภูมิภาค ทําหนาที่ใหคําแนะนําและเปนผูนําสโมสรโรตารี 32,000 สโมสรทั่ว โลก ผู ว า การภาคทั้ ง หลายนั้น จะรั บ ผิ ดชอบในการ รักษาไวซึ่งการดําเนินงานภายในสโมสรตางๆ ในภาคของเขาใหอยูใน ระดับสูงอยูเสมอ ผูวาการภาคจะเปนโรแทเรียนที่มีประสบการณมาก เปนผูซึ่งอุทิศ เวลามากกวา 1 ปใหกับงานอาสาสมัครในการเปนผูนําภาค ผูวาการภาค จะมี ค วามรู ม ากมายเกี่ ย วกั บ โปรแกรม วั ต ถุ ป ระสงค นโยบายและ เปาหมายตางๆ ของโรตารีในปจจุบัน เปนบุคคลที่ไดรับการยอมรับเปน อยางสูงในวิชาชีพ ชุมชนและสโมสรโรตารี ผูวาการภาคตองไปเยี่ยม สโมสรแตละสโมสรในภาคอยางเปนทางการอยางนอย 1 ครั้ง เขาตองให การปรึกษาหารือในการกอตั้งสโมสรใหมและทําใหสโมสรที่มีอยูเขมแข็ง ขึ้น เขาจะปฏิบัติหนาที่เปนเจาภาพในกิจกรรมเฉพาะดานตางๆ เพื่อให ความมั่ น ใจว า คุ ณ ภาพของโรตารี ใ นภาคของเขายั ง มั่ น คงอยู เขาจะ รับผิดชอบในการสงเสริมและดําเนินการโปรแกรมและกิจกรรมทั้งหมด ของประธานโรตารีสากลและคณะกรรมการบริหารโรตารีสากล ผูวาการ ภาคจะวางแผนและนําการประชุมอบรมเจาหนาที่สโมสรรับเลือก ดูแล การจัดงานประชุมใหญประจําปของภาคและกิจกรรมพิเศษอื่นๆ

30 | โรตารี ก เอย ก ไก


บทบาทของผูชวยผูวาการภาค ตํ า แหน ง ของผู ช ว ยผู ว า การภาคเริ่ ม ขึ้ น เมื่ อ ป ค .ศ. 1996 โดยเป น องค ป ระกอบที่ สํ า คั ญ อย า งหนึ่ ง ของแผนผู นํ า ภาค ซึ่ ง เป น โครงสร า ง องค ก รสํ า หรั บ ภาคทุ ก ภาคที่ ค ณะกรรมการบริ ห ารโรตารี ส ากลมี ม ติ เห็นชอบในความพยายามที่จะชวยผูวาการภาคในการสนับสนุนสโมสร ใหดียิ่งขึ้น ผูชวยผูวาการภาคไดรับการแตงตั้งโดยผูวาการภาค เพื่อชวย ในการบริหารสโมสรที่ไดรับมอบหมายใหดูแล ผูนําโรตารีที่สําคัญนี้ชวย นายกรั บ เลื อ กในการวางแผนงานประจํ า ป แ ละการเยี่ ย มอย า งเป น ทางการของผูวา การภาค แนะนําสโมสรเกี่ ย วกับกลยุท ธในการบรรลุ เปาหมาย และไปเยี่ยมสโมสรที่ไดรับมอบหมายใหดูแลอยางนอยปละ 4 ครั้ง นอกเหนื อ จากให ก ารสนั บ สนุ น สโมสรแล ว ผู ช ว ยผู ว า การภาค ทั้งหลายยังรวมกันเปนกลุมผูนําภาคที่ไดรับการอบรมมาเปนอยางดีซึ่ง อาจจะถู ก เลื อ กไปเป น ผู ว า การภาคในอนาคตได ผู ช ว ยผู ว า การภาค เหลานี้ทําหนาที่เปนทรัพยากรที่สําคัญใหแกทั้งสโมสรและผูวาการภาค ซึ่ง ช ว ยใหมั่ น ใจได วา การดํ า เนิ น งานภายในภาคจะเป น ไปด ว ยความ ราบรื่นยิ่งขึ้น

การประชุมอบรมผูวาการภาครับเลือก จะมี ก ารจั ด การประชุ ม อบรมผู ว า การภาครั บ เลื อ กทุ ก ป ก อ นวั น ที่ 15 กุม ภาพัน ธ เพื่อ เตรี ย มผู วา การภาครับ เลื อ กจากทั่ว โลกในการปฏิบั ติ หน า ที่ ใ นตํ า แหน ง ที่ เ ขาจะต อ งรั บ ในวั น ที่ 1 กรกฎาคม ผู ว า การภาค รับเลือก 530 คนพรอมคูครองของเขาจะไดรับการฝกอบรม รวมทั้งเขา รวมรายการที่ใหแรงจูงใจกับผูนําโรแทเรียนผูมีประสบการณเปนเวลา 1 สัป ดาห ณ การประชุมอบรมดัง กลา ว พวกเขาจะไดพบกับโรแทเรียน พิเศษผูซึ่งจะปฏิบัติหนาที่ในฐานะประธานโรตารีสากลในระหวางปที่เขา จะเปนผูวาการภาค นอกจากนี้เขายังตองเรียนรูคติพจนของโรตารีสากล สําหรับปที่จะมาถึง ซึ่งเขาจะตองจัดกิจกรรมของภาคที่เกี่ยวเนื่องกัน โรตารี ก เอย ก ไก | 31


การประชุมอบรมผูวาการภาครับเลือ กครั้งแรกไดจัดขึ้น ณ เมือ ง ชิคาโก ในปค.ศ. 1919 ตั้งแตนั้นมามีการจัดประชุมอบรมดังกลาวหลาย แห ง ทั่ว สหรั ฐ อเมริก าเช น ณ เลคพลาซิค กรุ ง นิว ยอร ค , เมื อ งแคนซั ส รั ฐ มิ ส ซู รี , เมื อ งบอคคาราตั น มลรั ฐ ฟลอริ ด า, เมื อ งแนชวิ ล ล มลรั ฐ เทนเนสซี, เมืองอนาไฮม มลรัฐแคลิฟอรเนีย และในหลายปมานี้ การ ประชุมดังกลาวจัดขึ้นที่เมืองซานดิเอโก มลรัฐแคลิฟอรเนีย อยางไรก็ตาม ไมวาจะเปนที่ใด ขอความที่ติดบนปายในหองการประชุมครบองคยังคง ไม เ ปลี่ ย นแปลงมานั บ เป น ป ๆ แล ว นั่น คื อ "จงเข า มาเรี ย นรู . ..และจง ออกไปเพื่อบําเพ็ญประโยชน"

การประชุมภาคประจําปเพื่ออบรมเจาหนาที่สโมสร โดยคํ า นึ ง ถึ ง การผลั ด เปลี่ ย นความเป น ผู นํ า ประจํ า ป ใ นแต ล ะป จึ ง กําหนดใหผูนําสโมสรกวา 32,000 สโมสรไดรับการอบรมอยางเหมาะสม เกี่ยวกับภาระงานตางๆ ที่จะตองปฏิบัติ การประชุมภาคประจําปเพื่อ อบรมเจาหนาที่สโมสรจึงเปนการประชุมสําคัญสําหรับเจาหนาที่สโมสร รับเลือก การประชุมภาคประจําปเพื่ออบรมเจาหนาที่สโมสรจะใหแรงจูงใจ แรงบัน ดาลใจ การสนเทศโรตารี แ ละแนวคิด ใหม ๆ สํ า หรั บ เจ า หน า ที่ สโมสร คณะกรรมการบริหารสโมสรรวมทั้งประธานคณะกรรมการตางๆ ผูนําที่มีประสบการณของภาคจะดําเนินการอภิปรายเกี่ยวกับเรื่องตางๆ ของการบริหารงานและโครงการการบําเพ็ญประโยชนของโรตารี การ ประชุมดังกลาวจะทําใหผูเขาประชุมไดรับแนวคิดใหมๆ ที่จะทําใหสโมสร ของเขานาสนใจและมีประสิทธิภาพมากขึ้นได โดยปกติแลวผูแทน 8-10 คนจากสโมสรแตละแหงจะไดรับเชิญใหเขาประชุมในวาระการอบรมนี้ ซึ่งจะจัดขึ้นในเดือนเมษายนหรือพฤษภาคม การประชุมภาคประจําปเพื่ออบรมเจาหนาที่สโมสรยังเปดโอกาสให ผูวาการภาคไดนําเสนอคติพจนของโรตารีสากลและจุดเนนตางๆ ของ ประธานโรตารีสากลคนใหมในปตอไป เปาหมายและวัตถุประสงคของ ภาคจะไดรับการชี้แจงและมีการวางแผนงานเพื่อนําไปปฏิบัติการดวย 32 | โรตารี ก เอย ก ไก


การเข า ร ว มประชุ ม ภาคประจํ า ป เ พื่ อ อบรมเจ า หน า ที่ ส โมสรจะ นําไปสูความสําเร็จของสโมสรโรตารีแตละสโมสรในปที่จะมาถึงไดมาก

การประชุมใหญประจําปของภาค การประชุมใหญประจําปของภาคจัดขึ้นเพื่อสมาชิกสโมสรทุกคนในภาค รวมทั้งครอบครัว มิใชเพียงเพื่อสําหรับเจาหนาที่สโมสรและกรรมการใน คณะกรรมการตา งๆ เทา นั้ น เพื่อ ใหทุก คนมีค วามเพลิด เพลิ น ไปกั บ มิตรภาพและวิทยากรที่ใหแรงบันดาลใจรวมทั้งการอภิปรายเกี่ยวกับเรื่อง ตางๆ ซึ่งจะทําใหการเปนสมาชิกในโรตารีมีความหมายมากยิ่งขึ้น ทุกคน ที่เขา ประชุม ใหญป ระจํา ปข องภาคจะพบวาการเปนโรแทเรียนนั้น จะ ไดรับผลตอบแทนมากยิ่งขึ้น เนื่องจากประสบการณใหมๆ ความคิดและ ความรูจักมักคุนอันเกิดขึ้นจากการประชุมนั้ น ผูที่เขาประชุมดัง กล า ว มักจะพอใจที่กลับมาประชุมอีกปแลวปเลา ทุก ๆ ภาคของโรตารี จ ะมี ก ารประชุม ใหญ ป ระจํ า ปข องภาค การ ประชุมดัง กลาวนั้นถือวามี ความสํ า คัญ มากที่ประธานโรตารีสากลจะ เลือกโรแทเรียนที่มีความรูและประสบการณเปนผูแทนสวนตัวมาเขารวม ประชุมและกลาวคําปราศรัยในทุกๆ การประชุม รายการของการประชุม จะรวมลักษณะแหงความบันเทิงที่เยี่ยมยอด การอภิปรายที่นาสนใจและ รายการที่ใหแรงบันดาลใจตางๆ ประโยชนเพิ่มเติมอีกสิ่งหนึ่งในการเขาประชุมใหญประจําปของภาค คื อ โอกาสที่ ไ ด รู จั ก คุ น เคยกั บ สมาชิ ก ในสโมสรของตนมากขึ้ น ใน บรรยากาศที่ไมเปนทางการ มิตรภาพที่ยั่งยืนเริ่มจากชั่วโมงมิตรภาพ ณ การประชุมใหญประจําปของภาคนั่นเอง

การสัมมนาอบรมนายกรับเลือก ขอ บังคับของโรตารีสากลกําหนดใหนายกสโมสรรับเลือกเขา รวมการ สัมมนาอบรมนายกสโมสรรับเลือกซึ่งจัดขึ้นโดยการรวมมือกับผูวาการ ภาคคนปจจุบัน มักจัดขึ้นในเดือนมีนาคม การประชุมอบรมความเปน โรตารี ก เอย ก ไก | 33


ผูนําและใหแรงจูงใจในชวง 2-3 วันนี้จะชวยเตรียมนายกสโมสรรับเลือก ในการปฏิบัติหนาที่ในตําแหนง ณ วันที่ 1 กรกฎาคม หัวขอในการสัมมนาอบรมคือการนําเสนอคติพจนของโรตารีสากล ในปตอไป โครงการบําเพ็ญประโยชนที่มีประสิทธิภาพและมูลนิธิโรตารี นายกรั บ เลื อ กจะได เรี ย นรู เ กี่ย วกับ บทบาทและความรั บ ผิ ด ชอบ การ กําหนดเปาหมาย การเลือกและการเตรียมตัวของเจาหนาที่สโมสร การ บริ ห ารสโมสร การหาและการรั ก ษาสมาชิ ก ภาพ การประชาสั ม พั น ธ รวมทั้งทรัพยากรของโรตารีสากลและภาค ในบางพื้นที่ของโลก ภาคที่อยูใกลๆ กัน 2 ภาคหรือมากกวานั้น จะ จัดการสัมมนาอบรมนายกรับเลือกรวมภาค (Multidistrict PETS) กลุมที่ จัดอบรมภาครวมพบวา จํานวนคนที่มากขึ้นชวยดึงดูดวิทยากรโรตารีที่มี ชื่อเสียงได ทําใหนายกรับเลือกมีแนวคิดที่กวางไกลเหนือระดับภาค และ กอใหเกิดกลยุทธที่มีความหลากหลายสําหรับความเปนผูนําสโมสรที่มี ประสิทธิภาพ

แผนผูนําสโมสร สรางขึ้นมาจากแผนผูนําภาคที่ประสบความสําเร็จ คณะกรรมการบริหาร โรตารีสากลอนุมัติแผนผูนําสโมสรในปค.ศ. 2004 ใหเปนโครงสรางที่ แนะนําในการบริหารสโมสรโรตารี แผนนี้มุงใหสโมสรโรตารีเขมแข็งขึ้น โดยการเนนในการสรางความตอเนื่องของผูนํา มีการตัดสินใจและการ วางแผนงานรวมกัน และใหสมาชิกทั้งหมดมีสวนรวมในกิจกรรมและ โครงการของสโมสร สโมสรโรตารีควรดําเนินขั้นตอน 9 ขอในการปฏิบัติ ตามแผนงาน ซึ่งสามารถปรับใหเขากับความตองการและวัฒนธรรมของ สโมสร แผนงานนี้รวมถึงโครงสรางของคณะกรรมการที่ปรับปรุงใหเนนไป ในเรื่องของการบริหารสโมสร สมาชิกภาพ การประชาสัมพันธ โครงการ บําเพ็ญประโยชน และมูลนิธิโรตารี

34 | โรตารี ก เอย ก ไก


เยาวชนแลกเปลี่ยน เยาวชนแลกเปลี่ยนเปนโครงการที่นิยมมากที่สุดของโรตารีในการสงเสริม ความเขาใจระหวางกันในนานาประเทศและการพัฒนามิตรภาพที่ถาวร โครงการเยาวชนแลกเปลี่ยนไดเริ่มขึ้นในปค.ศ. 1927 โดยสโมสรโรตารี นีซ ประเทศฝรั่งเศส การแลกเปลี่ยนในยุโรปดําเนินมาจนกระทั่งสงคราม โลกครั้งที่ 2 จึงหยุดไปและเริ่มใหมหลังสงครามในปค.ศ. 1946 ในปค.ศ. 1939 โครงการเยาวชนแลกเปลี่ยนไดถูกสรางสรรคขึ้นระหวางรัฐแคลิฟอรเนีย สหรัฐอเมริกา และลาตินอเมริกา นับแตนั้นมา จึงมีการขยาย โครงการนี้ไปทั่วโลก ในปจจุบันมีเยาวชนกวา 7,000 คนไดเขารวมใน โครงการแลกเปลี่ยนที่ภาคและสโมสรโรตารีเปนผูสนับสนุนในแตละป คุณคาของการแลกเปลี่ยนเยาวชนเปนประสบการณที่เกิดขึ้นมิใชแค เพี ย งนั ก เรี ย นมั ธ ยม แต ร วมไปถึ ง ครอบครั ว ที่ เ ป น เจ า ภาพ สโมสรที่ สนับสนุน โรงเรียนมัธยมที่รับเยาวชนเขาเรียนรวมทั้งชุมชนทั้งหมดดวย การเข า ร ว มโครงการแลกเปลี่ ย นเยาวชนจะให โ อกาสที่ เ ยี่ ย มยอดแก นักเรียนในโรงเรียนที่เปนเจาภาพไดเรียนรูวัฒนธรรม ภาษา ประเพณี และชีวิตครอบครัวในประเทศอื่นได โครงการเยาวชนแลกเปลี่ ย นจะให โ อกาสที่ น า สนใจและ ประสบการณมากมายแกเยาวชนใหไดรูเห็นโลกอีกสวนหนึ่ง นักเรียน มั ก จะใช เ วลาไปอยู ต า งประเทศ 1 ป ก ารศึ ก ษาในโปรแกรมการ แลกเปลี่ยนระยะยาว มีสโมสรและภาคสนับสนุนการแลกเปลี่ยนในระยะ สั้นหลายๆ สัปดาหหรือหลายๆ เดือนมากขึ้นๆ โครงการเยาวชนแลกเปลี่ยนเปนโครงการของโรตารีสากลมาตั้งแตป ค.ศ. 1974 และรับการรับรองไวสูงทีเดียวสําหรับสโมสรโรตารีทั้งหลาย ในการที่จะสงเสริมความเขาใจอันดีและไมตรีจิตระหวางประเทศ

ไมมีสิทธิพิเศษสวนตัว บอยครั้งทีเดียวที่มิตรสหายจะถามวาโรแทเรียนไดรับประโยชนทางธุรกิจ พิเศษจากการเปนสมาชิกโรตารีหรือไม โรแทเรียนควรจะคาดหวังวาจะ โรตารี ก เอย ก ไก | 35


ไดรับการลดหยอนหรือไดรับการบริการดวยเสนหา เพราะเขาเกี่ยวของ เปนมิตรโรแทเรียนดวยหรือไม? คําตอบที่ชัดเจนคือ "ไม" ตามคูมือปฏิบัติการของโรตารีนั้น จะระบุ ไวอยางชัดเจนเกี่ยวกับสถานะของโรตารีในเรื่องนี้ นโยบายที่ไดรับการ อนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการบริ ห ารในป ค .ศ. 1933 ได ก ล า วไว ว า ใน ความสัมพันธทางธุรกิจและวิชาชีพนั้น "โรแทเรียนไมควรคาดหมายและ แมแตจะขอรองที่จะไดรับการพิจารณาหรือไดประโยชนจากมิตรโรแทเรียน มากกวาผูรวมธุรกิจหรือวิชาชีพอื่นๆ การใชมิตรภาพของโรตารีเปน เจตนาในการเอาเปรียบหรือรับผลประโยชนนั้นขัดแยงกับจิตวิญญาณ ของโรตารี ในทางตรงกั น ข า ม หากธุ ร กิ จ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น หรื อ ธุ ร กิ จ ใหม ๆ ซึ่ ง เป น ผลประโยชนโดยธรรมชาติจากมิตรภาพที่สรางสรรคขึ้นในโรตารี นั่นยอม เป น พั ฒ นาการโดยปกติ ซึ่ ง อาจเกิ ด ขึ้ น ได ทั้ง นอกและในวงการโรตารี ดังนั้นจึงไมใชการละเมิดจรรยาบรรณของการเปนสมาชิกโรตารี เป น เรื่ อ งสํ า คั ญ ยิ่ ง ที่ ต อ งจํ า ไว ว า วั ต ถุ ป ระสงค แ รกของการเป น สมาชิ ก โรตารี นั้ น คื อ การให โ อกาสเป น พิเ ศษแกส มาชิ ก ทุก คนในการ บํา เพ็ ญ ประโยชนแ ก ผูอื่ น และการเป น สมาชิ ก มิไ ด เป น เจตนาในการ แสวงหาผลประโยชนสวนตัวหรือสิทธิพิเศษตางๆ

โรแทเรียนทุกคนเปนตัวอยางแกเยาวชน ในปค.ศ. 1949 คณะกรรมการบริหารของโรตารีสากลมีมติใหใชคําขวัญ พิ เ ศษ โรแทเรี ย นทุ ก คนเป น ตั ว อย า งแก เ ยาวชน คํ า ขวั ญ นั้ น ได นํามาใชกันเพื่อแสดงความมุงมั่นที่มีตอเด็กและเยาวชนในแตละชุมชนที่ สโมสรโรตารีตั้งอยู การบําเพ็ญประโยชนแกเยาวชนเปนบทบาทที่สําคัญ อยางหนึ่งของโรตารีมาชานาน โครงการบริการเยาวชนจะมีรูปแบบตางๆ กันไปทั่วโลก โรแทเรียน ทั้ง หลายให ก ารสนับ สนุน กลุ มลูก เสื อ ชาย-หญิง ทีม นัก กีฬ า ศู น ย เด็ ก พิ ก าร การตรวจตราความปลอดภั ย ในโรงเรี ย น ค า ยฤดู ร อ น สถานที่ สําหรับพักผอนหยอนใจ ศูนยบริการความปลอดภัยในการขับรถ การ 36 | โรตารี ก เอย ก ไก


ออกร า นในมณฑล ศู น ย ดู แ ลเด็ ก และโรงพยาบาลเด็ ก สโมสรต า งๆ มากมายจั ด บริ ก ารการแนะแนวทางอาชี พ จั ด โครงการจั ด หางานให เยาวชนและสงเสริมการนําการทดสอบสี่แนวทางไปใช โครงการตอตาน การติดยาและเสพสุราตางๆ และโครงการใหตระหนักตอโรคเอดสก็กําลัง ไดรับการสนับสนุนจากโรแทเรียนเพิ่มมากขึ้นดวย ในทุกๆ ตัวอยางดังกลาวนั้น โรแทเรียนจะมีโอกาสเปนตัวอยางและ พี่เลี้ยงใหแกคนหนุมสาวในสังคมของเขาได แตละคนจะเรียนรูการปฏิบัติ โดยการสั ง เกตจากผูอื่ น เมื่อ เยาวชนของเราเติบ โตขึ้น เปน ผูนํ า ที่ เป น ผูใ หญ ก็ ยอ มเป น ที่ ห วั ง ว า แต ล ะคนจะประสบความสํ า เร็ จ ดว ยความ ปรารถนาและจิตสํานึกอยางเดียวกันเปนการตอบสนองชนรุนตอๆ ไปใน อนาคต คําขวัญซึ่งไดรับการยอมรับเมื่อ 50 ปที่แลวยังคงใชไดอยูแมกระทั่ง ในปจจุบัน

การบริการชุมชนโลก การบริการชุมชนโลก เปนโครงการของโรตารีที่สโมสรหรือภาคในประเทศ หนึ่งๆ จะใหความชวยเหลือเพื่อนมนุษยในรูปของโครงการแกสโมสรใน อีกประเทศหนึ่งได โดยทั่วไปแลว การชวยเหลือนั้นๆ จะไปสูชุมชนที่กําลัง พัฒนา ณ ที่ซึ่งโครงการของโรตารีจะชวยยกระดับมาตรฐานการครองชีพ และคุณภาพชีวิตได วัตถุประสงคสําคัญของการบริการชุมชนโลกคือ การ สรางไมตรีจิตและความเขาใจระหวางชนทั้งหลายในโลก แนวทางหนึ่ ง ที่ สํ า คั ญ ในแลกเปลี่ ย นการหาสโมสรในบางส ว น ของโลกซึ่ ง ต อ งการความช ว ยเหลื อ เกี่ ย วกั บ โครงการที่ มี คุ ณ ค า คื อ การใช บั ญ ชี ร ายการแลกเปลี่ ย นโครงการบริ ก ารชุ ม ชนโลกที่ เ ว็ บ ไซต www.rotary.org ซึ่งเปนบัญชีรายการกิจกรรมนับพันรายการที่มีคุณคา มากมายในพื้นที่ที่กําลังพัฒนาตางๆ บัญชีรายการแลกเปลี่ยนโครงการ บริ ก ารชุ ม ชนโลกนั้ น จะให เ ค า โครงโดยย อ ของโครงการต า งๆ ซึ่ ง จะ ประเมินคาใชจายโดยประมาณ และใหรายชื่อผูที่สมควรจะติดตอไวดวย และไดรับการปรับปรุงทุกเดือน โรตารี ก เอย ก ไก | 37


สโมสรตางๆ ที่ตองการความชวยเหลือโครงการเพื่อเพื่อนมนุษยอาจ ลงชื่อแจงความประสงคไว สโมสรตางๆ ที่กําลังแสวงหาโครงการบริการ ชุมชนโลก ก็อาจจะพิจารณาความตองการตามที่แจงความประสงคไวได อยางสะดวกในบัญชีรายการแลกเปลี่ยนโครงการบริการชุมชนโลกนั้น ดังนั้นบัญชีรายการแลกเปลี่ยนดังกลาวจะไดแนวทางในการปฏิบัติเพื่อ เชื่อมโยงความตองการกับแหลงขอมูลตางๆ ได และในขณะเดียวกันก็ สร า งสะพานแห ง มิ ต รภาพและความเข า ใจระหว า งกั น ในโลกไว ด ว ย สโมสรโรตารีทุกสโมสรไดรับการสนับสนุนใหทําโครงการบริการชุมชน โลกในแตละป

กลุมสุภาพสตรีที่เกี่ยวของกับสโมสรโรตารี การบํ าเพ็ ญประโยชนของโรตารีที่สําคัญบางโครงการมิไดกระทําโดย โรแทเรียน แตโครงการตางๆ มากมายที่ไดรับการสนับสนุนจากภรรยา ของโรแทเรียนรวมทั้งสุภาพสตรีอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับสโมสรโรตารีทั่วโลก โดยทั่วๆ ไปแลวจะกอตั้งกอนที่สโมสรโรตารีจะรับสุภาพสตรีเขามาเปน สมาชิ ก กลุ ม สุ ภ าพสตรี เ หล า นี้ บํ า เพ็ ญ ประโยชน แ ละยั ง คงบํ า เพ็ ญ ประโยชนในปจจุบัน เสมือนเปนวิธีที่คูครองของโรแทเรียนจะชวยสงเสริม อุดมการณในการบําเพ็ญประโยชน และใหความชวยเหลือแกชุมชนอยาง นาสรรเสริญ กลุมของสุภาพสตรีมักจะเรียกกันวาสุภาพสตรีแหงโรตารี, สโมสร โรตารีแอนน, ลาดามาส เดอ โรตารี, หรือองคกรที่คอนขางเปนทางการ เชน อินเนอรวีล ซึ่งทําโครงการตางๆ นับรอยซึ่งเปนที่รูจักกันดี ในแตละป ในการบําเพ็ญประโยชนเพื่อเพื่อนมนุษย กลุมของสุภาพสตรีนั้นๆ มักจะ ทํางานกับโรงเรียน คลินิก ศูนยบริจาคอาหารและเครื่องนุงหม การจัดหา อุ ป กรณ แ ก โ รงพยาบาล สถานเลี้ ย งเด็ ก กํ า พร า และบ า นคนชรา ใน หลายๆ ตัวอยางกลุมสุภาพสตรีตางๆ นั้น จะชวยทําใหโครงการบําเพ็ญ ประโยชนที่ดําเนินการโดยสโมสรโรตารีในทองถิ่นสมบูรณแบบหรือไดรับ การสนั บสนุนเพิ่มเติมขึ้น เปน พิเศษ กลุ มของสุภ าพสตรีหลายกลุม ได 38 | โรตารี ก เอย ก ไก


ดําเนินโครงการระหวางประเทศดวยอยางแข็งขันเชนเดียวกันกับโครงการ ในทองถิ่น ในหลายๆ ประเทศภรรยาของโรแทเรียนจะถูกเรียกวา "โรตารีแอนน" ประเพณีเกิดขึ้น ณ การประชุมใหญประจําปที่เมืองฮิวสตันเมื่อปค.ศ. 1914 ในขบวนรถไฟที่เดินทางไปนั้น มีภรรยาของโรแทเรียนเพียงคนเดียว โรแทเรียนที่โดยสารไปกับรถไฟเรียกสุภาพสตรีทานนั้นวา “โรแทเรียนส แอนน ” (the Rotarian’s ann) ซึ่ ง ภายหลั ง กลายเป น “โรตารี แ อนน ” (Rotary Ann) และไดมีการแตงเพลงสําหรับโรตารีแอนนขึ้น เมื่อรถไฟ มาถึงสถานีฮิวสตัน ในหมูผูที่มาตอนรับ มีภรรยาอีกคนหนึ่งชื่อวาแอนน ดังนั้น คําวาโรตารีแอนนจึงกลายเปนคําเรียกที่แสดงความชื่นชมภรรยา โรตารี คณะกรรมการบริห ารโรตารีสากลในปค .ศ. 1984 ไดยกยอ งการ บําเพ็ญประโยชนและมิตรภาพที่เยี่ยมยอดของสโมสรและองคกรของ สุภาพสตรีทั้งหลายที่เกี่ยวของกับโรแทเรียน รวมทั้งสนับสนุนใหสโมสร โรตารีทุกสโมสรใหการสนับสนุนองคกรที่ไมเปนทางการเหลานั้นดวย

โครงการรูหนังสือ ประมาณการไดวาพลเมืองกวา 1 พันลานคนซึ่งเปนจํานวน 1 ใน 4 ของ ประชากรที่เปนผูใหญในโลกไมสามารถอานหนังสือได ความไมรูหนังสือ ของผู ใ หญ แ ละเด็ ก เป น เรื่ อ งน า ห ว งใยไปทั่ ว โลก ทั้ ง ในชาติ ที่ เ จริ ญ ทางดานอุตสาหกรรมและในประเทศที่กําลังพัฒนา โศกนาฏกรรมของความไมรูหนังสือก็คือ การที่ผูอานหนังสือไมออก นั้นๆ จะขาดความเปนตัวของตัวเองและกลายเปนเหยื่อของการชักจูงที่ไร คุณธรรม ความยากจน และการสูญเสียความรูสึกแหงการเปนมนุษยชาติ การไมรูหนังสือจะเปนอุปสรรคสําคัญในการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและตนเอง และยังเปนอุปสรรคตอความเขาใจ ความ รวมมือ และสันติภาพระหวางประเทศ สโมสรโรตารีตางๆ มากมายไดทําการสํารวจความตองการในชุมชน เพื่อการจัดอบรมการรูหนังสือและพัฒนาโครงการที่สนองความตองการ โรตารี ก เอย ก ไก | 39


สโมสรบางแหงจัดหาหนังสือพื้นฐานเพื่อการสอนอาน บางแหงก็สราง คลีนิคเพื่อสงเสริมการอานและภาษาขึ้น บางแหงจัดอาสาสมัครใหความ ชวยเหลือสอนหนังสือและจัดซื้ออุปกรณเกี่ยวกับการอานตางๆ โรแทเรียนทั้งหลายสามารถมีบทบาทที่สําคัญในชุมชนของตนและในประเทศ ที่กําลังพัฒนาไดอยางจริงจัง โดยสงเสริมโครงการตางๆ เพื่อเปดโอกาสที่ จะเกิดขึ้นไดจากความสามารถในการอาน ยกตัวอยางเชน โรแทเรียนชาว ออสเตรเลียไดพัฒนาโครงการประภาคารเพื่อ การรูห นัง สือ ขึ้นมาเพื่อ โรงเรียน 4 แหงในประเทศไทย วิธีการสอนแบบใหมนี้ พิสูจนใหเห็นวา เปนประโยชนจนรัฐบาลไทยไดยอมรับใหใชในโรงเรียนทั่วประเทศ สโมสร โรตารีอื่นๆ ไดใชวิธีนี้เพื่อพัฒนาโครงการรูหนังสือในประเทศบังคลาเทศ บราซิล แอฟริกาใตและประเทศอื่นๆ

การประชุมใหญประจําปของโรตารีสากล ในเดือนพฤษภาคมหรือมิถุนายนในแตละป โรตารีสากลจะจัดการประชุม ใหญประจําป “เพื่อกระตุน ใหแรงบันดาลใจ และใหความรูแกโรแทเรียน ทุกคนในระดับนานาชาติ” การประชุมใหญประจําปของโรตารีสากล ซึ่ง จะจัดขึ้นในสวนตางๆ ของโลกในแตละป จะเปนการประชุมประจําปเพื่อ ดําเนินงานตางๆ ขององคกร กระบวนการวางแผนการประชุมมักจะเริ่ม กระทํากันหลายๆ ปลวงหนา ในการคัดเลือกสถานที่ คณะกรรมการ บริหารโรตารีสากลจะพิจารณาสถานที่โดยทั่วไปและเชิญใหเมืองตางๆ เสนอตัวในการจัด การประชุมใหญประจําปของโรตารีสากลมีความเปนสากลอยา ง แทจริง มีโรแทเรียนและแขกรับเชิญประมาณ 20,000-40,000 คนเขารวม ประชุม นอกเหนือไปจากงานสนุกสนานรื่นเริง การประชุมใหญประจําป ยั ง ให โ อกาสพิ เ ศษแก โ รแทเรี ย นในการเดิ น ทางท อ งเที่ ย วในวั น หยุ ด สมาชิกทุกคนควรจะวางแผนการเขารวมประชุมใหญประจําปของโรตารี สากลเพื่ อ ค น หาความเป น สากลอย า งแท จ ริ ง ของโรตารี ซึ่ ง จะเป น ประสบการณที่ทานจะไมมีวันลืมเลือนไดเลย 40 | โรตารี ก เอย ก ไก


คณะกรรมการระหวางประเทศ ในป ค .ศ. 1931 โรแทเรี ย นในประเทศฝรั่ ง เศสและเยอรมนี ไ ด จั ด การ ประชุ ม คณะกรรมการกลุ ม ย อ ย ด ว ยวั ต ถุ ป ระสงค ใ นการส ง เสริ ม ความสัมพันธระหวางประชาชนของประเทศเพื่อนบานทั้งสอง นับแตนั้น มา โรแทเรี ย นในยุ โ รปก็ ไ ด เ บิ ก ทางในการตั้ ง คณะกรรมการระหว า ง ประเทศเพื่อที่จะสนับสนุนการติดตอระหวางโรแทเรียนและสโมสรโรตารี ในตางแดนของชาติตางๆ ในปจจุบัน มีการจัดตั้งคณะกรรมการระหวางประเทศขึ้นในสว น ตางๆ ของโลกเพื่อที่จะสงเสริมมิตรภาพ เชนเดียวกับการรวมมือกันใน การสนับสนุนโครงการบริการชุมชนโลก โครงการนักเรียนแลกเปลี่ยนและ กิจกรรมอื่น ๆ ที่จ ะพัฒนาความเขาใจระหวา งชาติไ ด บอยครั้ง ที่ค ณะ กรรมการระหวางประเทศจะมาเยี่ยมเยือนโรแทเรียนและครอบครัวใน ตางแดน รวมทั้งจัดการประชุมระหวางเมืองและการประชุมตางๆ ยกตั ว อย า งเช น จะมี ก ารตั้ ง คณะกรรมการระหว า งประเทศขึ้ น ระหวางประเทศที่อยูหางไกลจากกัน โดยพยายามที่จะสงเสริมไมตรีจิต และมิตรภาพกับประเทศคูมิตรหรือพื้นที่คูมิตรของโลก คณะกรรมการ ระหวางประเทศจะรวมมือกันกับผูวาการภาคของประเทศและใหบริการ ในฐานะเปนที่ปรึกษาแกภาคและสโมสรตางๆ คณะกรรมการระหวางประเทศจะจัดหาวิธีการอื่นๆ สําหรับสโมสร โรตารีแ ละโรแทเรี ยน เพื่อใหความรับ ผิดชอบในแนวทางบริการที่สี่ไ ด อยางสมบูรณ นั่นคือความเขาใจระหวางประเทศ ไมตรีจิตและสันติภาพ

โรตารีสากลในสหราชอาณาจักรและไอรแลนด โครงสร า งของโรตารี สากลในสหราชอาณาจั ก รและไอรแ ลนด (RIBI) กอใหเกิดเรื่องราวที่นาสนใจในประวัติศาสตรของเราขึ้น ในปค.ศ.1914 หลั ง จากที่ โ รตารี ข ยายข า มแอตแลนติ ก ไปยั ง สหราชอาณาจั ก รและ ไอรแลนด สมาคมบริทิชของสโมสรโรตารีไดถูกสถาปนาขึ้นเปนสวนหนึ่ง ของสมาคมแหงชาติของสโมสรโรตารี ในระหวางสงครามโลกครั้งที่ 1 มี การติดตอกันระหวางสโมสรนานาชาติไมมากนัก สมาคมบริทิชจึงรวม โรตารี ก เอย ก ไก | 41


สโมสรโรตารีตางๆ ในสหราชอาณาจักรและไอรแลนดจํานวนหนึ่งพรอม ทั้งชุมชนในยุโรปอื่นๆ อีก 2-3 แหงเขาดวยกัน หลัง จากสงคราม ธรรมนู ญ ของโรตารี สากลฉบับ ใหมก็ไ ด รับ การ อนุมัติขึ้นในปค.ศ. 1922 ซึ่งรางหลักการไววา ประเทศใดก็ตามที่มีสโมสร โรตารี 25 สโมสร ประเทศนั้นสามารถที่จะเปน “หนวยของอาณาเขต” และมีผูแทนในคณะกรรมการบริหารโรตารีสากล พรอมทั้งไดรับอํานาจ พิ เ ศษอื่ น ๆ สโมสรต า งๆ ในสหราชอาณาจั ก รและไอร แ ลนด จึ ง ได เรียกรองสิทธิและไดรับสถานะเปนหนวยของอาณาเขต ซึ่งไมมีกลุมใดใน โลกที่ไดรองขอหรือไดรับสถานะเชนนั้นเลย ในปค .ศ. 1927 โรตารี สากลไดยกเลิกแนวคิดเกี่ย วกับหนว ยของ อาณาเขตดั ง กล า วและก อ ตั้ ง สโมสรโรตารี ต า งๆ โดยพิ จ ารณาตาม “อาณาเขต” ของโลก อย า งไรก็ ต าม “สิ ท ธิ สิ ท ธิ พิ เ ศษ และอํ า นาจ ทั้งหมดในหนวยของอาณาเขตที่ยังคงมีอยู” จะไดรับการพิทักษและคง ความเป นไปเชน นั้นตลอดไป ดัง นั้น เนื่องจากสหราชอาณาจักรและ ไอรแลนดเปนหนวยของอาณาเขตเพียงแหงเดียว จึงยังคงทําหนาที่เปน หนวยอิสระของโรตารีสากลภายใตขอตกลงของธรรมนูญโรตารีสากล รู ป แบบการบริ ห ารของโรตารี ส ากลในสหราชอาณาจั ก รและ ไอรแ ลนดจึงเหมาะสมกับสหราชอาณาจัก รและไอรแลนดโ ดยเฉพาะ ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากภู มิ ป ระเทศ ภาษา และระเบี ย บประเพณี ด ว ยความ สัมพันธทางประวัติศาสตรดังกลาว สหราชอาณาจักรและไอรแลนดจึงมี โครงสรางการบริหารที่แตกตางกันไปบางจากสโมสรโรตารีและภาคตางๆ ในโลก แมวาจะเปนสมาชิกอยางสมบูรณของโรตารีสากลก็ตาม

สภานิติบัญญัติของโรตารี โรตารีในสมัยกอนนั้น การเปลี่ยนแปลงกฎขอบังคับหรือธรรมนูญใดๆ ของโรตารีส ากลจะไดรั บ การเสนอและออกเสีย ง ณ การประชุม ใหญ ประจําป เนื่องจากมีผูเขาประชุม ณ การประชุมใหญประจําปมากขึ้น การเปดอภิปรายทั่วไปจึงทําไดลําบากขึ้น ดังนั้นจึงมีการจัดตั้งสภานิติบัญญัติขึ้นในปค.ศ. 1934 ใหทําหนาที่เปนกลุมที่ปรึกษาที่จะถกเถียง 42 | โรตารี ก เอย ก ไก


หรือวิเคราะหขอเสนอตางๆ กอนที่จะมีการออกเสียงกัน ณ การประชุม ใหญประจําป ในที่สุด ณ การประชุมใหญประจําป ณ เมืองแอตแลนตาในปค.ศ. 1970 ไดมีมติวาสภานิติบัญญัติควรทําหนาที่เปนองคนิติบัญญัติหรือ องคสภาของโรตารีอยางแทจริง สภาจะประกอบดวยผูแทนจากภาคของ โรตารี 1 คน รวมทั้งสมาชิกโดยตําแหนงหลายทาน โดยเปนที่ตกลงกันวา สภาจะประชุมกัน 1 ครั้งในทุกๆ 3 ปตามสถานที่และเวลาซึ่งนอกเหนือ ไปจากการประชุมใหญประจําปของโรตารีสากล สภาจะมีหนาที่รับผิดชอบพิจารณาและวินิจฉัยบทบัญญัติตางๆ ที่ ขอเสนอการเปลี่ยนแปลงในกฎขอบังคับและธรรมนูญของโรตารีสากล และธรรมนู ญ มาตรฐานของสโมสรโรตารี รวมทั้ ง มติ ต า งๆ ซึ่ ง เป น ขอเสนอแนะตอกรรมการบริหารโรตารีสากลเพื่อใหมีการเปลี่ยนแปลงใน นโยบายและกระบวนการของโรตารี สโมสรโรตารี ภาค หรื อ คณะ กรรมการบริหารของโรตารีสากลอาจสงขอเสนอตางๆ ได สโมสรโรตารี ทุกแหงทั่วโลกจะตองทบทวนการพิจารณาของสภากอนที่จะพิจารณา ตัดสินรอบสุดทาย หากมีการออกเสียงคัดคานการพิจารณาของสภาถึง 10% จากสโมสรตางๆ นิติบัญญัตินั้นๆ จะถือเปนโมฆะและจะถูกเสนอ ไปยังสโมสรทุกสโมสรเพื่อพิจารณารอบสุดทายอีกครั้ง สภานิติบัญญัติจะใหกระบวนการประชาธิปไตยแกสมาชิกสําหรับ การเปลี่ยนดานนิติบัญญัติในการดําเนินการของโรตารีสากล

กลุมเครือขายทั่วโลก ความสนใจและงานอดิเรกของโรแทเรียนมีความหลากหลายเชนเดียวกับ สมาชิ ก ภาพ กลุ ม เครื อ ข า ยทั่ ว โลกเป น วิ ธี ก ารหนึ่ ง ที่ โ รแทเรี ย นจะได แบงปนความสนใจที่มีเหมือนๆ กันกับสมาชิกอื่นๆ ทั่วโลก มีกลุมอยู 2 ประเภทภายใตกลุมเครือขายทั่วโลกนี้ คือ กลุมมิตรภาพโรตารีซึ่งมีจุด ศูนยกลางอยูที่ความสนใจดานสันทนาการและอาชีพ กับกลุมปฏิบัติการ โรตารีซึ่งเนนเรื่องที่เฉพาะเจาะจงลงไป โรตารี ก เอย ก ไก | 43


กลุ ม มิ ต รภาพโรตารี แสดงถึ ง กิ จ กรรมสั น ทนาการและอาชี พ มากมาย เชน เทนนิส ดนตรี และการตอผาซึ่งเปนกิจกรรมสันทนาการ ใน สวนของความสนใจดานอาชีพมีอาทิ เชน การบัญชี กฎหมาย และเภสัช กรรม กิ จ กรรมต า งๆ ก็ มี ห ลากหลายไปตามความสนใจ เช น กลุ ม มิตรภาพระหวางประเทศของโรแทเรียนที่ไปรวมงานประชุมใหญประจําป ของโรตารีสากล จะชวยสงเสริมการประชุมใหญประจําปและชวยในการ ปฐมนิเ ทศผู ที่ ไ ปร ว มประชุ ม ครั้ ง แรก ในขณะที่ กลุ ม มิ ต รภาพระหว า ง ประเทศของโรแทเรียนนักบินก็จัดงาน “บินเขามาหากัน” ใหสมาชิกได พบปะกันในหลายๆ สวนของโลก กลุ ม ปฏิ บั ติ ก ารโรตารี มั ก จะทํ า กิ จ กรรมและโครงการบํ า เพ็ ญ ประโยชนที่เกี่ยวกับเรื่องเฉพาะ เชน กลุมปฏิบัติการโรตารีอาสาสมัคร ทันตกรรม ใหบริการดานทันตกรรมในประเทศที่กําลังพัฒนา และกลุม ปฏิบัติการโรตารีตอตานโรคเอดส ซึ่งมุงกระตุนโรแทเรียนและเปนผูนําใน การตอสูกับโรคเอดสไปทั่วโลก

การแลกเปลี่ยนมิตรภาพของโรตารี การแลกเปลี่ยนมิตรภาพของโรตารีสนับสนุนโรแทเรียนและครอบครัวให ไปเยี่ยมเยียนครอบครัวของโรแทเรียนในที่ตางๆ ของโลก การแลกเปลี่ยน มิตรภาพนั้นอาจกระทําไดระหวางสโมสรกับสโมสร (โรแทเรียนรายบุคคล และครอบครัว) หรือภาคกับภาค (โรแทเรียน 4-6 คู) โรแทเรีย นที่เ ปน สามี -ภรรยาหลายคูเ ดิน ทางไปยัง ประเทศอื่ น ใน โครงการแลกเปลี่ยนมิตรภาพของโรตารี ซึ่งตอจากนั้นก็จะแลกเปลี่ยน การตอนรับขับสูกันซึ่งกันและกันเมื่อมีการเยี่ยมเยียนกันเกิดขึ้น หลังจาก โครงการทดลองนํารองประสบความสําเร็จแลว การแลกเปลี่ยนมิตรภาพ ของโรตารีจึงกลายมาเปนโปรแกรมของโรตารีในปค.ศ. 1988 การแลกเปลี่ยนมิตรภาพของโรตารีมักจะเปรียบเทียบไดกับโครงการ กลุ ม ศึ ก ษาแลกเปลี่ ย นของมู ล นิ ธิ โ รตารี เว น ไว แ ต ว า โครงการนั้ น จะ เกี่ยวของกับครอบครัวโรแทเรียนซึ่งจะจายคาใชจายสวนตัวทั้งหมดของ 44 | โรตารี ก เอย ก ไก


ตนเองสําหรับประสบการณระหวางประเทศของเขา ประตูแหงมิตรภาพ จะถูกเปดขึ้นในวิถีทางที่ไมซ้ําแบบใครนอกจากในโรตารีเทานั้น โรแทเรียนทั้งหลายที่กําลังแสวงหาประสบการณในวันหยุดพักผอน และมิตรภาพแบบพิเศษ ควรจะเรียนรูเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนมิตรภาพ โรตารีใหมากขึ้น การผจญภัยในโรตารีที่นาตื่นเตนกําลังรอคอยทานอยู!

รางวัลเยาวชนผูนําของโรตารี (ไรลา) ในทุกๆ ปเยาวชนนับพันๆ คนจะไดรับการคัดเลือกใหเขาคายอบรมหรือ สัมมนาการเปนผูนําซึ่งอุปถัมภโดยโรตารีที่จัดขึ้นในภาคตางๆ ทั่วโลก ในบรรยากาศที่ไมเปนทางการนั้นคนหนุมสาวอายุ 14-30 ปที่มีความ สามารถเดน ๆ จะใชเวลาหลายวัน รวมรายการที่ทา ทายตา งๆ ในการ อบรมการเปน ผูนํา การอภิปราย การปราศรัยที่ใหแรงบันดาลใจ และ กิจกรรมทางสังคมที่จัดไวเพื่อเพิ่มพูนการพัฒนาสวนบุคคล ทักษะความ เป น ผู นํ า และการเป น พลเมือ งที่ ดี ชื่ อ ที่ เ ปน ทางการของกิ จ กรรมนี้ คื อ รางวัลเยาวชนผูนําของโรตารี (ไรลา) แมวากิจกรรมเหลานี้อาจจะถูก เรียกชื่อตางๆ เชน การเขาคาย การสัมมนาความเปนผูนําของเยาวชน หรือการประชุมใหญของเยาวชนก็ตาม โปรแกรมไรลาไดเริ่มขึ้นในประเทศออสเตรเลียในปค.ศ. 1959 เมื่อ เยาวชนทั่วรัฐควีนสแลนดไดรับเลือกใหเขาเฝาเจาหญิงอเล็กซานดรา พระญาติวัยเยาวของพระนางเจาอลิซาเบธที่ 2 โรแทเรียนทั้งหลายใน บริ ส เบนผู ซึ่ ง เป น เจ า ภาพให แ ก ผู เ ข า ร ว มประชุ ม รู สึ ก ประทั บ ใจกั บ คุ ณ สมบั ติ ข องเยาวชนทั้ ง หลายนั้ น จึ ง กํ า หนดให นํ า เยาวชนผู นํ า มา ประชุมรวมกันประมาณ 1 สัปดาหในแตละป เพื่อทํากิจกรรมทางสังคม วัฒนธรรมและการศึกษา โปรแกรมไรลาจึงคอยๆ เจริญรุงเรืองขึ้นไปทั่ว ภาคโรตารีตางๆ ของประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด ในปค.ศ. 1971 คณะกรรมการบริหารโรตารีสากลจึงอนุมัติโครงการรางวัลเยาวชนผูนํา ของโรตารี เ ป น โครงการทางการของโรตารี ส ากลโครงการหนึ่ ง ด ว ย ในขณะที่ไรลาถูกจัดเปนกิจกรรมหนึ่งของภาค ก็จะมีการจัดประชุมไรลา นานาชาติกอน การประชุมใหญประจําปของโรตารีสากลในแตละปดวย โรตารี ก เอย ก ไก | 45


กลุมบําเพ็ญประโยชนชุมชนโรตารี หนึ่งในโปรแกรมหลากหลายของโรตารีที่เกี่ยวกับกิจกรรมและโครงการ บําเพ็ญประโยชนทั่วโลกคือ กลุมบําเพ็ญประโยชนชุมชนโรตารี ซึ่งเปนที่ รูจักกันแตเดิมในฐานะกลุมบําเพ็ญประโยชนหมูบานโรตารี (หรือกลุม บําเพ็ญประโยชนชุมชนโรตารีในบริเวณเมือง) รูปแบบของการบําเพ็ญ ประโยชนเพื่อใหชวยเหลือตนเองไดในระดับรากหญา ไดรับการริเริ่มขึ้น โดยประธานโรตารีสากล แมท คาพารัส ในปค.ศ. 1986 ในฐานะที่เปน แนวทางหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในหมูบาน บานใกลเรือนเคียง และชุมชนตางๆ โปรแกรมนี้จัดขึ้นในพื้นที่ชุมชนซึ่งบอยครั้งทีเดียวที่มี แรงงานซึ่งอาจหาไดอยางลนเหลือ แตไมมีกระบวนการที่จะจัดประชาชน ทั้งชายและหญิงใหดําเนินโครงการตางๆ ที่เปนประโยชนในการพัฒนา ชุมชนได กลุมบําเพ็ญประโยชนชุมชนโรตารี คือ กลุมของผูที่ไมไดเปนโรแทเรียนที่สโมสรโรตารีอุปถัมภเปนกลุมซึ่งตองการจะชวยเหลือชุมชนของ พวกเขาโดยการดําเนินโครงการบําเพ็ญประโยชน สมาชิกโรตารีจะให ความชํานาญดานวิชาชีพ คําแนะนํา ใหกําลังใจ จัดวางโครงสรางการ ดําเนินงานและใหการชวยเหลือ ดานวัสดุอุปกรณสําหรับกลุมบําเพ็ญ ประโยชน ชุ ม ชนโรตารี ซึ่ ง สมาชิ ก จะใช แ รงงานและความรู ที่ ชุ ม ชน ตองการเพื่อชวยเหลือพัฒนาสังคมของเขาเองได ดวยเหตุดังกลาว กลุม บําเพ็ญประโยชนชุมชนโรตารีจึงเปนแนวทางอีกอยางหนึ่งสําหรับโรแทเรียนในการบําเพ็ญประโยชนในสถานที่ที่ตองการความชวยเหลือเปน อยางยิ่ง

อาสาสมัครโรตารี ทานอาจพบอาสาสมัครทั้งหลายทํางานอยูในคลินิกที่หางไกล ค า ยผู อพยพ โรงพยาบาลชั่วคราว หมูบานเกาแกตางๆ และในชุมชนของพวก เขาเอง พวกเขาเปนผูเชี่ยวชาญทางดานการบริหาร การพัฒนาชุมชน การศึกษา การผลิตอาหาร การดูแลสุขอนามัย รวมทั้งน้ําและสุขาภิบาล เขาทั้งหลายนั้นเปนอาสาสมัครโรตารี 46 | โรตารี ก เอย ก ไก


โปรแกรมอาสาสมั ค รโรตารี ส ง เสริ ม และช ว ยเหลื อ การบํ า เพ็ ญ ประโยชนข องอาสาสมั ครผูซึ่ง ทํา อุดมการณข องโรตารีใ นเรื่ อ งบริก าร เหนื อ ตนเองให ป รากฏเป น การกระทํ า โปรแกรมนี้ บ ริ ห ารงานโดย คณะกรรมการอาสาสมั ค รโรตารี ใ นระดั บ สโมสร ภาคและระหว า ง ประเทศ อาสาสมัครโรตารีไดแบงปนความรูความชํานาญในโครงการเพื่อ เพื่อนมนุษยมากมายทั่วโลก โรแทเรี ย นและผู ที่ มิ ไ ด เ ป น โรแทเรี ย นที่ ป ระสงค จ ะทํ า งานเป น อาสาสมัครระหวางประเทศสามารถลงทะเบียนกับสํานักงานใหญโลก โรตารี ส ากล และจะมี ร ายชื่ อ อยู ใ นฐานข อ มู ล อาสาสมั ค รโรตารี ที่ www.rotary.org ทรั พ ยากรสํ า หรั บ โอกาสในการหาอาสาสมั ค รและ ความตองการพิเศษมีอยูในฐานขอมูลรายการสถานที่ตั้งโครงการระหวาง ประเทศของอาสาสมัครโรตารี และรายการทรัพยากรอาสาสมัครโรตารีมี อยู ที่ www.rotary.org เครื่ อ งมื อ เหล า นี้ จ ะช ว ยอาสาสมั ค รในการหา โครงการด ว ยตนเองและจั ด เตรี ย มการกั บ ผู ป ระสานงานโครงการได โดยตรง

อินเทอรแรคท อินเทอรแรคทเปนสโมสรบํา เพ็ญประโยชนข องเยาวชนที่อุป ถั มภโ ดย โรตารี ซึ่งไดเริ่มขึ้นโดยคณะกรรมการบริหารของโรตารีสากลในป ค.ศ. 1962 สโมสรอิ น เทอร แ รคทแ ห งแรกไดรับ การสถาปนาขึ้ น โดยสโมสร โรตารีเมลเบอรน แหงรัฐฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา สโมสรอินเทอรแรคท จ ะให โ อกาสแก ค นรุ น เยาว ใ นระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาเข า มาทํ า งาน รวมกันในการบําเพ็ญประโยชนเพื่อสรางมิตรภาพระหวางกันในโลกและ ความเข า ใจอัน ดี ระหว า งประเทศ คํ า จํ า กัด ความว า “อิน เทอรแ รคท ” ไดมาจากคําวา อินเทอร (inter) ซึ่งหมายถึงระหวางประเทศ และ แอคท (act) ซึ่งหมายถึงการปฏิบัติ สโมสรอินเทอรแรคททุกแหงจะตองไดรับการ อุ ป ถั ม ภ แ ละการแนะนํ า จากสโมสรโรตารี และต อ งวางแผนการทํ า โครงการการบําเพ็ญประโยชนประจําปใหแกโรงเรียน ชุมชนของตนและ ในโลก โรตารี ก เอย ก ไก | 47


ในปค.ศ. 2006 มีสโมสรอินเทอรแรคทมากกวา 10,500 สโมสร ดวย จํา นวนสมาชิ ก กว า 242,000 คนใน 119 ประเทศ อิ น เทอร แ รคเทอร ทั้งหลายจะพัฒนาทักษะการเปนผูนําและไดรับประสบการณภาคปฏิบัติ ในการดําเนินโครงการบําเพ็ญประโยชนตางๆ ซึ่งดวยวิธีดังกลาวนั้นการ เรี ย นรู ถึ ง ความพึ ง พอใจที่ ไ ด ม าจากการเข า ไปช ว ยเหลื อ ผู อื่ น นั่ น เอง เปาหมายสําคัญของอินเทอรแรคทก็คือ การใหโอกาสแกเยาวชนในการ สรางสรรคความเขาใจและไมตรีจิตกับเยาวชนทั่วโลกใหเพิ่มมากขึ้น

โรทาแรคท จากการที่สโมสรอิน เทอร แรคท ป ระสบความสํา เร็ จ ในยุค เริ่ม แรกของ ทศวรรษ 1960 คณะกรรมการบริหารโรตารีสากลไดริเริ่มโรทาแรคทขึ้นใน ป ค .ศ. 1968 องค ก รใหม นี้ ไ ด รั บ การจั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ ส ง เสริ ม ความเป น พลเมืองที่มีความรับผิดชอบและความเปนผูนําในสโมสรของหนุมสาวที่มี อายุตั้งแต 18 ถึง 30 ป สโมสรโรทาแรคทแหงแรกไดรับการสถาปนาขึ้น โดยสโมสรโรตารี ช าร ล อทท เ หนื อ ในเมื อ งชาร ล อทท รั ฐ แคโรไลนา ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปค.ศ.2006 มีสมาชิก 184,000 คนในสโมสร โรทาแรคทกวา 8,000 สโมสรใน 139 ประเทศดวยกัน สโมสรโรทาแรคทจะเนนความสําคัญเกี่ยวกับความรับผิดชอบของ สมาชิกเสมือนเปนพื้นฐานของความสําเร็จสวนบุคคลและการมีสวนรวม ในชุมชน สโมสรแตละสโมสรจะใหการสนับสนุนโครงการประจําปเพื่อ ส ง เสริ ม มาตรฐานจรรยาบรรณในชี วิ ต ของแต ล ะบุ ค คลในธุ ร กิ จ และ วิช าชีพ สโมสรโรทาแรคทจะใหโ อกาสในการนําไปสูความเขาใจและ ไมตรีจิตระหวางกันและระหวางประเทศ โรทาแรคเทอรจะสนุกสนานกับ กิจกรรมทางสังคมตางๆ ดวย สโมสรโรทาแรคทสามารถคงอยูไดหาก ไดรับการสนับสนุน ชี้แนะและคําปรึกษาจากสโมสรโรตารี

48 | โรตารี ก เอย ก ไก


โรตารี ครั้ง/แหง แรกเพิ่มเติม • โรตารีสากลไดมอบรางวัลผลงานดีเดน ครั้งแรกในปค.ศ.

1969 ใหแก สโมสรตางๆ ซึ่งมีโครงการบริการชุมชนและโครงการบริการระหวาง ประเทศดีเดน • การประชุมใหญประจําปของโรตารีสากลที่จัดขึ้นในซีกโลกใตแหงแรก คือการประชุมใหญ ณ เมืองรีโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล ในปค.ศ. 1948 • โครงการบริการชุมชนแรกของโรตารีเริ่มขึ้นในปค.ศ. 1907 เมื่อบรรดา โรแทเรียนในเมืองชิคาโกจัดตั้งสวมสาธารณะนอกศาลากลางเมือง • ปแรกที่มูลนิธิโ รตารีไดรับการบริจาคถึง 1 ลานเหรียญสหรัฐภายในป เดียวคือปค.ศ. 1964-1965 ในปค.ศ. 2004-05 มีเงินมากกวา 85 ลาน เหรียญสหรัฐที่บริจาคสูกองทุนโปรแกรมประจําป เงินบริจาคทั้งหมด ตั้งแตปค.ศ. 1917 มีประมาณเกือบ 1.7 พันลานเหรียญสหรัฐ • การขอความชวยเหลือจากโรตารีครั้งแรกแกผูประสบภัยพิบัติเกิดขึ้นใน ปค.ศ. 1913 และไดรับการบริจาคถึง 25,000 เหรียญสหรัฐเพื่อการ บรรเทาทุกขอันเกิดจากอุทกภัยในรัฐอินเดียนาและโอไฮโอ ประเทศ สหรัฐอเมริกา

เลขาธิการของโรตารีสากล การดําเนินงานในแตละวันของสํานักงานเลขาธิการของโรตารีสากลจะอยู ใตการดูแลของเลขาธิการซึ่งเปนเจาหนาที่ผูมีความชํานาญระดับสูงสุด ของโรตารี ส ากล แม ว า เลขาธิ ก ารจะมี ห น า ที่ รั บ ผิ ด ชอบต อ คณะ กรรมการบริหารและประธานโรตารีสากล แตเขาก็ตองทําหนาที่บริหาร จัดการเจาหนาที่เกือบ 650 คน ที่ทํางานอยูที่สํานักงานใหญโลกโรตารี สากล และสํานักงานระหวางประเทศอีก 7 แหงอยางตอเนื่อง เลขาธิ ก ารจะทํ า หน า ที่ ใ นฐานะเป น เลขานุ ก ารของคณะ กรรมการบริหารโรตารีสากล และเปนเจาหนาที่ระดับบริหารของมูลนิธิ โรตารี ภายใตการควบคุมดูแลของคณะกรรมการมูลนิธิ เลขาธิการจะทํา หนาที่เปนเลขานุการของคณะกรรมการโรตารีสากลทั้งหมดเชนเดียวกับ โรตารี ก เอย ก ไก | 49


สภานิ ติ บั ญ ญั ติ การประชุ ม ใหญ โ รตารี ส ากลระดั บ ภู มิ ภ าคและการ ประชุมใหญประจําปของโรตารีสากล เลขาธิการจะไดรับการแตงตั้งโดยคณะกรรมการบริหารโรตารีสากล ในวาระไม เ กิ น 3 ป ซึ่ ง อาจจะได รั บ การต อ เวลาออกไปอี ก โดยคณะ กรรมการบริหารใหมีวาระถึง 5 ป ตั้งแตปค.ศ. 1910 สุภาพบุรุษ 10 คน ไดทําหนาที่ในตําแหนงดังกลาว เชสลี่ย เพอรี่ เปนเลขาธิการคนแรกที่ทํา หนาที่ตั้งแตปค.ศ. 1910-1942 คนอื่นๆ ที่ทําหนาที่ตอมาคือ ฟล เลิฟจอย (1942-52), จอรจ มีน ส (1953-72), แฮรี่ สจ ว ต (1972-78), เฮิ ร บ พิกแมน (1979-86 และ 1993-95), ฟลิป ลินดเซย (1986-90), สเปนเซอร รอบิน สัน จูเนียร (1990-93), เจฟฟรีย ลารช (1995-97), เอส แอรอน ไฮแอท (1997-2000) และ เอ็ด ฟูตะ ไดรับแตงตั้งในปค.ศ. 2000 ในประวัติศาสตรของโรตารีตลอดมานั้น ความสามารถในดานการ บริหารและอิทธิพลสวนบุคคลของเลขาธิการของเรา ชวยในการจัดแนว โครงการและกิจกรรมของโรตารีไดเปนอยางมาก

การเลือกประธานโรตารีสากล ในแต ล ะป โรแทเรียนที่ดี เด น ทา นหนึ่ง จะไดรั บ เลือ กเปน ประธานของ โรตารีสากล กระบวนการจะเริ่มขึ้น 1 ปลวงหนา โดยมีการเลือกคณะ กรรมการสรรหา 17 คนจากโซนตางๆ ทั่วโลก การที่จะมีคุณสมบัติเปน คณะกรรมการสรรหาโรแทเรียนนั้นๆ จะตองเคยทําหนาที่เปนกรรมการ บริหารของโรตารีสากล หากอดีตกรรมการบริหารจากโซนไมสามารถ ทําหนาที่ได อาจจะแตงตั้งอดีตกรรมการมูลนิธิโรตารีหรืออดีตผูวาการภาคที่เคยทําหนาที่เปนกรรมการในคณะกรรมการของโรตารีสากลใหทํา หนาที่เปนกรรมการสรรหาได คณะกรรมการสรรหาอาจจะพิ จ ารณาอดี ต กรรมการบริ ห ารของ โรตารีสากลเพื่อเปนผูเขาสมัครเปนประธานโรตารีสากล กรรมการใน คณะกรรมการสรรหาและกรรมการบริหารคนปจจุบันไมมีสิทธิไดรับการ เสนอชื่อ สโมสรโรตารีใ ดๆ ก็ตามอาจเสนอแนะชื่อของอดีตกรรมการ บริหารของโรตารีสากล ไปยังคณะกรรมการสรรหาเพื่อการพิจารณาได 50 | โรตารี ก เอย ก ไก


คณะกรรมการจะประชุมรวมกันในเดือนกันยายนเพื่อเลือกโรแทเรียนเปนประธานโรตารีสากลรับเลือก ชื่อของบุคคลดังกลาวจะไดรับการ แจงไปยังสโมสรตางๆ สโมสรโรตารีใดๆ ก็ตามอาจเสนอชื่อเพิ่มเติมได กอนวันที่ 1 ธันวาคม ซึ่งจะตองไดรับการสนับสนุนจากสโมสรโรตารีตางๆ ทั่ ว โลกไม ต่ํ า กว า 1% (ประมาณ 320 สโมสร) หากมี ก รณี นั้ น เกิ ด ขึ้ น จะตองมีการเลือกตั้งโดยบัตรคะแนนทางไปรษณีย หากไมมีการเสนอชื่อ เพิ่มเติมโดยสโมสรตางๆ บุคคลที่ไดรับเลือกโดยคณะกรรมการสรรหา จะไดรับการประกาศใหเปนประธานโรตารีสากลรับเลือก ในการประชุม ใหญประจําป ประธานรับเลือกจะไดรับการเลือกตั้งโดยการลงคะแนน เสี ย งและกลายเปน ประธานรับเลื อ ก (president-elect) ในปถัด ไป ซึ่ง เปน การเตรียมการที่จะปฏิบัติงานในหนาที่ให แกโรแทเรียนทั่วโลกใน ฐานะประธานโรตารีสากล

คติพจนประจําปของโรตารีสากล ในปค.ศ. 1949-50 ประธานโรตารีสากล เพอรซี ซี. ฮอดจสัน ไดกําหนด วัตถุประสงค 4 ขอใหแกทีมงานของเขาและเปนการริเริ่มประเพณีของ โรตารีสําหรับคติพจนประจําปตั้งแตนั้นเปนตนมา คติพจนประจําปของ โรตารีสากลมีหลากหลายทั้งในความยาวและสาร แตทั้งหมดก็เปนการ จูงใจโรแทเรียนใหมีการปฏิบัติมากขึ้น ในปค .ศ. 1961-62 ประธานโรตารีส ากล โยเซพ แอบบี ได เลื อ ก คติพจนวา “ปฏิบัติ” (Act) ซึ่งเปนคติพจนที่สั้นที่สุด คติพจนอื่นๆ ที่มี คําเดียวที่นํามาใชในปค.ศ. 1968-69 โดย คิโยชิ โทกาซากิ “จงมีสวน รวมมือกัน!” (Participate!) ในปค.ศ. 1963-64 คารล มิลเลอรมีคติพจนรวมสมัยเมื่อเสนอ พบ กับความทาทายของโรตารีในยุคอวกาศ (Meeting Rotary’s Challenge in the Space Age), คติพจนที่เกี่ยวกับเวลาอยูในชวงปค.ศ. 1980-81, เมื่อ รอลฟ คลาริช สรางสรรคแนวคิดวา สละเวลาเพื่อใหบริการ (Take Time to Serve) และในปค.ศ. 1973-74 วิลเลียม คารเตอร เสนอไววา สละเวลาเพื่อการกระทํา (A Time for Action), คติพจน 2 ชนิดที่มีความ โรตารี ก เอย ก ไก | 51


คลายคลึงกันในการโฆษณาทางการคานั่นคือ ไดโลกที่ดีกวาดวยโรตารี (A Better World Through Rotary) (ริชารด อีฟแวนส ปค.ศ. 1966-67) และ บริ ก ารให ถึ ง ตั ว (Reach Out) (เคลม เรอนอฟ ค.ศ. 1978-79) สะพานถูกนํามาเปนอุปมาอุปมัยโดย ฮาโรล ทอมัส ในปค.ศ. 1959-60 ซึ่งสนับสนุนโรแทเรียนทั้งหลายให กระปรี้กระเปรา! ทําใหเหมาะสม! เชื่อมโยงมิตรภาพ! (Vitalize! Personalize! Build Bridges of Friendship!) วิลเลียม วอลค ปค.ศ. 1970-71 ไดเสนอคติพจนวาเชื่อมชองวาง (Bridge the Gaps), ฮิ โ รจิ มู ก าซา ป ค .ศ. 1982-83 ประกาศว า เพื่ อ มนุษยชาติ (Mankind is One-Build Bridges of Friendship throughout the World) สแตน แมคคาฟฟรี ใหจุดเนนของโลกอันกวางใหญในปค.ศ. 198182 ดว ยขอ ความที่ วา สร า งสันติสุขโดยโรตารี (World Understanding and Peace through Rotary) และอี ก ครั้ ง ในป ค .ศ. 1984-85 โดย คารลอส แคนซีโก ผูซึ่งสงเสริมใหโรแทเรียนทั้งหลายแสวงหามิติใหมใน บริการ (Discover a New World of Service), ในปอื่นๆ มีการเนนตัว บุ ค คล เช น ท า นคื อ โรตารี (You are Rotary – Live it! Express it! Expand it!) (เอดด แมคคลัฟลิน ในปค.ศ. 1960-61), ความหวังดีตั้งตน ที่ตัวทาน (Goodwill Begins with you) (เอิรนสท เบรทฮอลทซ ปค.ศ. 1971-72), และท า นคื อ กุ ญ แจสํา คั ญ (You Are the Key) (เอ็ ด เวิ ร ด แคดแมน ปค.ศ. 1985-86), บอยครั้งที่คติพจนสนับสนุนโรแทเรียนให เขามามีสวนรวมในสโมสรมากขึ้น เชน แผโรตารีออกไป รับใชประชาชน (Share Rotary – Serve People) (วิลเลี่ยม สเกลตัน ปค.ศ. 1983-84), หรื อ จงทํ า สมาชิ ก ภาพของท า นให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น (Make Your Rotary Membership Effective) (ลูเทอร ฮอดจ ปค.ศ. 1967-68), แต ไม ว า ท า นจะทบทวนและเสริ ม สร า ง (Review and Renew), ให เ รา มองดูสิ่งใหม (Take a New Look – and Act), บริการคือประทีปนํา ทาง (Let Service Light the Way) หรือจงใหเกียรติเพื่อนมนุษย (Dignify the Human Being) จึงเปนที่ชัดแจงวาประธานโรตารีสากลจะจัด โครงการสําคัญที่ตองการเนนแกบรรดาโรแทเรียนทั้งหลายประจําป 52 | โรตารี ก เอย ก ไก


ค.ศ. 1986-87 ประธานโรตารีสากล แมท คาพารัส ไดเลือกขอความ ที่ ใ ห แ รงบั น ดาลใจว า โรตารี ส ร า งความหวั ง (Rotary Brings Hope), ชาร ล ส เคลเลอร ในป ค .ศ. 1987-88 เห็ น โรแทเรี ย นร ว มกั น บํ า เพ็ ญ ประโยชน เ พื่ อ ก อ ให เ กิ ด สั น ติ สุ ข (Rotarians – United in Service – Dedicated to Peace), ในขณะที่ รอยซ แอบบี ขอใหเพื่อนสมาชิกในป ค.ศ. 1988-89 ตระหนักวาโรตารีคือชีวิต มาชวยคิดสรางพลัง (Put Life into Rotary – Your Life), ฮิวจ อารเชอร (ค.ศ. 1989-90) สนับสนุนเรา เพื่ อ สุ ข ใจให บ ริ ก ารคื อ ปณิ ธ านโรตารี ! (Enjoy Rotary!), และ เปาโล คอสตา (ค.ศ. 1990-91) ขอใหเราภูมิใจใหบริการ ดําเนินงานดวยศรัทธา (Honor Rotary with Faith and Enthusiasm), ประธานโรตารี ส ากล ราชา ซาบู (ป ค.ศ. 1991-92) ชักชวนโรแทเรียนทุกคนใหมองใหไกลใจให กวา ง (Look Beyond Yourself), สํา หรับ ปค .ศ. 1992-93 คลิฟ ฟอร ด ดอคเตอรแมน ทําใหโรแทเรียนทั้งหลายนึกถึงการเกื้อกูลแกกัน สุขสันต แทจริง (Real Happiness Is Helping Others), และในปค.ศ. 1993-94 รอเบิรท บารท แนะโรแทเรียนใหเชื่อมั่นในสิ่งที่ทํา กระทําในสิ่งที่ชอบ (Believe In What You Do – Do What You Believe In), สํ า หรั บ ป ค.ศ. 1994-95 บิลล ฮันทลีย กระตุนใหมวลมิตรโรแทเรียนสรางมิตร (Be A Friend) กับชุมชน, และในปค.ศ. 1995-96 เฮอรเบิรท บราวน ขอให โรแทเรียนกระทําการดวยคุณธรรม บริการดีงามดวยความรัก ผลงาน ประจั ก ษ เ พื่ อ สั น ติ (Act with Integrity, Serve with Love, Work for Peace), ในปค.ศ. 1996-97 คติพจนของ หลุยส จิอาย คือ สรางอนาคต ด ว ยการกระทํ า ตามวิ สั ย ทั ศ น (Build the Future with Action and Vision), ในปค.ศ. 1997-98 เกลน คินรอสส ไดเสนอแผนที่จะใหความ หวงใยของโรตารีเปนที่ประจักษ (Show Rotary Cares), และในปค.ศ. 1998-99 เจมส เลซี ขอใหมวลมิตรโรแทเรียนสานฝนโรตารีใหเปนจริง (Follow Your Rotary Dream), ในปค.ศ. 1999-2000 คารโล ราวิซซา เสนอคติพจน โรตารี 2000: ปฏิบัติสม่ําเสมอ เสริมสรางศรัทธา พัฒนา สานงาน (Rotary 2000: Act with Consistency, Credibility, Continuity), ปถัดมา แฟรงค เดฟลิน ขอใหโ รแทเรียนสรางความตระหนัก ให โรตารี ก เอย ก ไก | 53


ประจักษดวยการกระทํา (Create Awareness – Take Action), และ ในปค.ศ. 2001-02 ริชารด คิง เตือนใหโรแทเรียนตระหนักวาเพื่อเพื่อน มนุษย คือกิจพิสุทธิ์ของเรา (Mankind Is Our Business) คติพจนที่ผานมาเร็วๆ นี้ ไดกระตุนใหโรแทเรียนมีการปฏิบัติในทาง บวก เชน มีนํ้าใจใหความรัก (Sow the Seeds of Love) (พิชัย รัตตกุล ป 2002-03), เอื้อเฟอ เกื้อกูลกัน (Lend a Hand) (โจนาธาน มาจิยัคเบ ป 2003-04), เฉลิ ม ฉลองโรตารี 100 ป (Celebrate Rotary) (เกลน เอสเตส ซีเนียร ในระหวางป 100 ปโรตารี 2004-05), และนําทาง สราง ผลงาน (Lead the Way) (วิ ล เลี ย ม บอยด ป 2006-07), ในป ค .ศ. 2005-06 คารล วิลเฮลม สเตนแฮมมาร ไดหันเหไปจากประเพณีเพียง เล็ ก น อ ยโดยการใช คํ า ขวั ญ ของโรตารี บริ ก ารเหนื อ ตนเอง (Service Above Self) เปนคติพจนของโรตารีสากล

การรณรงคตองหาม ขอ บัง คับ ของโรตารีส ากลที่ นา สนใจประการหนึ่ ง ไดก ลา ววา “จะไม มี โรแทเรียนทานใดรณรงคหาเสียงหรือทําการโฆษณาเพื่อรับเลือกตั้งใน โรตารี ส ากล” กฎดั ง กล า วนั้ น จะรวมถึ ง ตํ า แหน ง ของผู ว า การภาค กรรมการบริหารโรตารีสากล ประธานโรตารีสากล คณะกรรมการที่ไดรับ การเลือกตั้งตางๆ นโยบายของโรตารีจะหามผูสมัครหรือผูใดก็ตามใน นามของผูสมัครนั้นๆ เผยแพรแผนพับ เรื่องราว หรือจดหมายใดๆ เปนอัน ขาด มีเพียงคณะกรรมการบริหารโรตารีสากล โดยคณะกรรมการทบทวน การเลือกตั้ง เทา นั้นที่มีอํ านาจหนาที่จะบงชี้กิ จกรรมพิเศษเสมือนการ รณรงค หลั ง จากที่ โ รแทเรี ย นท า นใดได แ สดงเจตจํ า นงที่ จ ะเป น ผู ส มั ค ร สําหรับตําแหนงตางๆ ของโรตารีเพื่อการเลือกตั้ง โรแทเรียนทานนั้นๆ จะต อ งไมพู ด ให สั ญ ญา, แสดงตนหรื อ ประชาสั มพั น ธ ซึ่ ง สามารถสื่ อ ความอยางแจงชัดในการสนับสนุนการเปนผูแขงขันของเขาเอง ขาวสารที่ จะสงไปยังสโมสรตางๆ เกี่ยวของกับผูสมัครทั้งหลายเพื่อการเลือกตั้งจะ ไดรับการเผยแพรโดยเลขาธิการของโรตารีสากลเทานั้น 54 | โรตารี ก เอย ก ไก


โรแทเรียนที่เปนผูสมัครเพื่อรับตําแหนงในการเลือกตั้ง เชน ผูวาการภาคหรือคณะกรรมการบริหารโรตารีสากล จะตองหลีกเลี่ยงการกระทํา ใดๆ ที่อาจสอใหเห็นความไดเปรียบอยางอยุติธรรมตอผูสมัครคนอื่นๆ หากไมปฏิบัติตามกฎขอบังคับที่หามไวดังกลาว การแขงขันจะมีผลให ผูสมัครขาดคุณสมบัติได ในโรตารีนั้นเชื่อกันวา ประวัติแหงการบําเพ็ญ ประโยชนและคุณสมบัติสําหรับตําแหนงนั้นๆ จะขึ้นอยูกับโรแทเรียนนั้นๆ เอง มิไดตองการการโฆษณาชวนเชื่อหรือการสนับสนุนพิเศษกันแตอยาง ใด

การเริ่มตนของมูลนิธิ โครงการสํา คัญ ๆ บางโครงการเจริญ รุง เรือ งจากตน ทุน เพียงเล็กนอ ย เทานั้น มูลนิธิโรตารีก็มีการเริ่มตนเชนเดียวกัน ในปค.ศ. 1917 ประธานโรตารีสากล อารช คลัมภ ไดกลาวกับผูแทน ที่เขารวมประชุมใหญ ประจํา ปของโรตารีสากล ณ เมืองแอตลันตาวา “นั บ ว า เป น การถู ก ต อ งอย า งยิ่ ง ที่ ว า เราควรยอมรั บ กองทุ น ถาวร เพื่ อ วัตถุประสงคในการปฏิบัติสิ่งที่ดีงามในโลก” การตอบสนองนั้นเปนไป อยางสุภาพและนาชื่นชม แตกองทุนนั้นก็เปนไปไดชากวาจะเปนรูปธรรม ขึ้นได หนึ่งปตอมากองทุนถาวรของโรตารีซึ่งไดตั้งชื่อไวแตเดิมก็ไดรับการ บริจาคครั้งแรกเปนจํานวน 26.50 เหรียญสหรัฐจากสโมสรโรตารีแคนซัส ซึ่งเปนยอดคงเหลือของบัญชีในการประชุมใหญประจําปค.ศ. 1918 ของ โรตารีสากลในปถัดมา ณ เมืองแคนซัสซิตี้ และมีการบริจาคเพิ่มเติมอีก เล็กนอยเปนประจําทุกป แตหลังจาก 6 ปเงินกองทุนถาวรมีเงินเพียง 700 เหรียญสหรัฐ และอีก 10 ปตอจากนั้นมูลนิธิโรตารีก็ไดรับการสถาปนา อยางเปนทางการ ณ การประชุมใหญประจําของโรตารีสากล ที่เมือ ง มินิอาโปลิส ในปค.ศ. 1928 สี่ปตอจากนั้นเงินทุนของมูลนิธิก็เพิ่มขึ้น เปน 50,000 เหรียญสหรัฐ ในปค.ศ. 1937 มูลนิธิของโรตารีไดประกาศ เปา หมายไวถึง 2 ลา นเหรียญสหรัฐ แตแ ผนดังกล า วชะงัก งั น และถู ก ละเลยไปเสียเนื่องจากเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 โรตารี ก เอย ก ไก | 55


ในปค.ศ. 1947 เนื่องจากการเสียชีวิตของ พอล แฮริส ศักราชใหมจึง เปดกวางขึ้นสําหรับมูลนิธิในฐานะที่เปนของขวัญที่ระลึกซึ่งหลั่งไหลมา เพื่อยกยองผูกอตั้งโรตารี ตั้ งแตนั้นมามูลนิธิจึงประสบความสําเร็จใน วัตถุประสงคอันสูงสงเพื่อสงเสริม “ความเขาใจและสัมพันธภาพระหวาง ชนในชาติตางๆ” ในปค.ศ. 1954 มูลนิธิไดรับเงิน 500,000 เหรียญสหรัฐ เปนครั้งแรกในการบริจาคเพียงปเดียว และในปค.ศ.1965 จึงไดรับเงิน จํานวน 1 ลานเหรียญสหรัฐ จึงคอนขางยากที่จะจินตนาการไดวา จากการเริ่มตนที่ไมใหญยิ่ง อะไรนักนั้น มูลนิธิไดรับเงินเกือบ 85 ลานเหรียญสหรัฐในป 2004-05 เพื่อสนับสนุนโปรแกรมประจําป และไดรับรวมทั้งหมดเกือบ 118 ลาน เหรียญ

กองทุนถาวรของมูลนิธิโรตารี อารช คลัมภ บิดาแหงมูลนิธิโรตารีเปนผูกลาวไววา “เราไมควรพิจารณา มูลนิธิเปนเพียงบางสิ่งบางอยางสําหรับวันนี้หรือวันพรุงนี้ แตควรคํานึงถึง มูลนิธิในแงของเวลาและชั่วอายุคนที่จะมาถึงในอีกหลายๆ ปขางหนา” วิสัยทัศนอันยาวไกลนี้เอง คือเหตุผลที่กองทุนถาวรของมูลนิธิไดรับการ พิจารณาใหเปนวิธีการที่สําคัญที่สุดที่จะทําใหอนาคตของโปรแกรมทาง การศึกษาและโปรแกรมเพื่อเพื่อนมนุษยของโรตารีมั่นคงได การบริจาค ใหแกกองทุนนี้เปนการลงทุนไวเพื่ออนาคต ผลกําไรที่ไดจากการลงทุน เทานั้นที่จะนํามาใชเพื่อสนับสนุนโปรแกรมของมูลนิธิ กองทุนถาวรนั้นมี วัตถุประสงคที่จะใหการเสริมตอการสนับสนุนของมูลนิธิอยางสม่ําเสมอ และมั่นใจได โดยมักจะประกันระดับของกิจกรรมขั้นต่ําสําหรับโปรแกรม ที่ใหมและที่ขยายไปในอนาคตใหมีความเปนไปได มูลนิธิจะใหการยกยองพิเศษแกผูบริจาคเงินใหกองทุนถาวรเปนผู บริจาคกิตติมศักดิ์ สมาชิกชมรมผูบริจาคจากมรดก และผูอุปถัมภกองทุน ถาวร ผูบริจาคกิตติมศักดิ์บริจาคเงิน 10,000 เหรียญหรือมากกวานั้น สมาชิ ก ชมรมผู บ ริ จ าคจากมรดก (Bequest Society) ได ว างแผนการ เกี่ยวกับการยกที่ดินหรือบริจาคเงินจํานวน 10,000 เหรียญหรือมากกวา 56 | โรตารี ก เอย ก ไก


ใหแกกองทุนถาวร ผูอุปถัมภกองทุนถาวรระบุในพินัยกรรมหรือบริจาค เงินทันทีใหแกกองทุนนี้ 1,000 เหรียญ และมีโอกาสในการติดชื่อเปน พิเศษเมื่อบริจาคเงินมากกวา 25,000 เหรียญ ผูบริจาคเงินใหกองทุน ถาวรไดมอบมรดกใหโรตารีและทําใหมั่นใจวามูลนิธิโรตารี จะยังคงมี พลังอํานาจที่จะทําดีในโลกไดตอไปในอนาคตอยางยาวนาน

ทุนการศึกษาเพื่อทําหนาที่ทูตสันถวไมตรี โครงการทุ น การศึ ก ษาเพื่ อ ทํ า หน า ที่ ทู ต สั น ถวไมตรี ข องโรตารี เป น โครงการทุนการศึกษาระหวางประเทศของเอกชนที่ใหญที่สุดในโลก ในป ค.ศ. 1947 นักเรียนทุนของโรตารีซึ่งไดรับการขนานนามในขณะนั้น 18 คนไดรับการคัดเลือกจาก 11 ประเทศใหทําหนาที่เปนฑูตสันถวไมตรีใน ขณะที่ ไ ปศึ ก ษาในต า งประเทศเปน เวลา 1 ปก ารศึก ษา นับ แต นั้น มา เงิน ทุน ประมาณ 462 ลา นเหรียญสหรัฐ ไดใ ชไ ปสํา หรับ ทุน การศึก ษา 37,000 ทุน เพื่อประชาชน 110 ประเทศในการไปศึกษาในประเทศตางๆ ถึง 105 ประเทศทั่วโลก จุดมุงหมายของโครงการทุนการศึกษาก็คือ การเพิ่มพูนความเขาใจ ระหวางประเทศและสัมพันธไมตรีระหวางชนในนานาประเทศ นักศึกษา ผู รั บ ทุ น ได รั บ การคาดหมายให เ ป น ทู ต สั น ถวไมตรี ที่ เ ยี่ ย มยอดต อ ประชาชนของประเทศเจาภาพโดยการแสดงออกทั้งที่เปนทางการและไม เปนทางการ ในกลุมของโรแทเรียนและมิใชโรแทเรียน นักเรียนทุนแตละ คนจะมีที่ปรึกษาที่เปนโรแทเรียนเจาภาพ ซึ่งไดรับการแตงตั้งใหชวยเหลือ ในการมีสวนรวมในโรตารี และการเขากันไดกับวัฒนธรรมของเจาภาพ เริ่มตนโครงการในปค.ศ. 1994-95 มูลนิธิโรตารีไดมอบทุนการศึกษา ใหม 2 ประเภทเพิ่มเติมจากทุนการศึกษาเพื่อทําหนาที่ทูตสันถวไมตรี ครบปการศึกษา ทุนการศึกษาเพื่อทําหนาที่ทูตสันถวไมตรีประเภทหลาย ป จ ะเป น ทุ น สํ า หรั บ การศึ ก ษา 2 ป ใ นระดั บ ปริ ญ ญาในต า งประเทศ โดยเฉพาะ ส ว นทุ น การศึ ก ษาเพื่ อ ทํ า หน า ที่ ทู ต สั น ถวไมตรี ท างด า น วัฒนธรรม จะเปนทุนสําหรับเรียนภาษาระยะสั้นและเขาใจวัฒนธรรมใน ประเทศอื่นเปนระยะเวลา 3 เดือนหรือ 6 เดือน โรตารี ก เอย ก ไก | 57


นอกเหนือจากที่เปนการลงทุนดานการศึกษาใหแกผูนําในอนาคต แลว ทุนการศึกษาของมูลนิธิโรตารียังทําใหเกิดการเชื่อมโยงของบุคคลใน ประเทศตางๆ และเปนกาวหนึ่งที่สําคัญในการแสวงหาความเขาใจและ ไมตรีจิตระหวางกันในโลกใหเพิ่มพูนยิ่งขึ้น

ทุนสันติภาพโลกของโรตารี ในปค.ศ. 1999 มูลนิธิโรตารีไดริเริ่มศูนยโรตารีเพื่อการศึกษาระหวาง ประเทศในดา นสัน ติภ าพและการแกไ ขขอ ขัดแยง โดยการร ว มมือ กั บ มหาวิทยาลัยชั้นนํา 7 แหงทั่วโลกเพื่อใหโอกาสในการศึกษาชั้นสูงแก กลุมผูรับทุนสันติภาพโลกของโรตารีที่ไดรับเลือกจากประเทศตางๆ ที่มี วัฒนธรรมหลากหลาย ในแตละปจะมีผูรับทุน 60 คนที่ไดรับเลือกใหเขา รวมโปรแกรมระดับประกาศนียบัตรหรือปริญญาโทเปนเวลา 2 ปในดาน การแก ไ ขปญ หาความขัดแยง การศึก ษาสัน ติภ าพและความสัม พั น ธ ระหวางประเทศ ภาคโรตารีแตละภาคอาจจะเสนอชื่อผูสมัครขอรับทุนได หนึ่งคนเพื่อกระบวนการแขงขันทั่วโลกในทุกๆ ป นักศึกษาทุนสันติภาพ โลกของโรตารีกลุมแรกเริ่มการศึกษาในระหวางปการศึกษา 2002-03 ศูนยโรตารีใหโอกาสแกผูนําในอนาคตที่จะศึกษาปญหาที่แทจริงของ ขอขัดแยง ทฤษฎีของความสัมพันธระหวางประเทศ และแบบอยางความ ร ว มมื อ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ นอกเหนื อ ไปจากการศึ ก ษา นั ก เรี ย นทุ น สันติภาพโลกของโรตารียังไดรับเครื่องมือที่สามารถนําไปใชไดจริงในการ แกปญหาขอขัดแยงในอาชีพที่พวกเขาเลือก ศูนยโรตารียังชวยในเรื่อง ของงานวิจัย การสอนและสิ่งพิมพ ในเรื่องที่เกี่ยวกับการแกไขขอขัดแยง และความเขาใจระหวางกันในโลก นั ก ศึ ก ษารุ น แรกของทุ น สั น ติ ภ าพโลกสํ า เร็ จ การศึ ก ษาในป ค .ศ. 2004 และได ช ว ยเหลื อ ชุ ม ชนโลกในวิ ธี ก ารต า งๆ กั น เช น ทํ า งานใน องคการระหวางประเทศ เชน องคการสหประชาชาติ หรือองคกรของ รั ฐ บาล เช น เป น นั ก การทู ต เจ า หน า ที่ บ ริ ก ารระหว า งประเทศ นั ก เศรษฐศาสตรและนักวิเคราะหนโยบาย 58 | โรตารี ก เอย ก ไก


กลุมศึกษาแลกเปลี่ยน หนึ่งในโครงการที่ใหประโยชนและเปนที่นิยมที่สุดของมูลนิธิโรตารีก็คือ กลุมศึกษาแลกเปลี่ยน นับตั้งแตการแลกเปลี่ยนครั้งแรกระหวางภาคใน รัฐแคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศญี่ปุนในปค.ศ. 1965 โครงการไดใหประสบการณทางการศึกษาแกคนหนุมสาวที่เปนนักธุรกิจ และผู มี วิ ช าชี พ กว า 52,000 คน ผู ซึ่ ง ได ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ใ นที ม ประมาณ 12,000 ทีม โครงการกลุมศึกษาแลกเปลี่ยนจะจับคูระหวางภาคโรตารี เพื่อสงและรับทีมของกลุมศึกษาแลกเปลี่ยน นับตั้งแตปค.ศ. 1965 เปน ตนมามูลนิธิไดจัดสรรเงินกวา 88 ลานเหรียญสหรัฐเปนทุนสนับสนุนกลุม ศึกษาแลกเปลี่ยน กลุมศึกษาแลกเปลี่ยนใหโอกาสสมาชิกในทีมที่มาเยือนไดพบปะ พูดคุยและอาศัยอยูกับโรแทเรียนและครอบครัวของเขาดวยมิตรจิตและ การตอนรับขับสูอยางอบอุน นอกจากการเรียนรูเกี่ยวกับอีกประเทศหนึ่ง ในฐานะที่เปนกลุมศึกษาไปเยี่ยมฟารม โรงเรียน โรงงานอุตสาหกรรม สํานักงานทางวิชาชีพและหนวยงานรัฐบาลตางๆ แลว กลุมศึกษาแลกเปลี่ยนจะทําหนาที่ในฐานะเปนทูตสันถวไมตรีดวย เขาจะสื่อใหโรแทเรียนทั้งหลายที่เปนเจาภาพและที่อื่นๆ ในชุมชนที่เขาไปเยี่ยมเยียนเขาใจ ในชาติมาตุภูมิของเขา ในหลายปที่ผานมานี้ มีกลุมศึกษาแลกเปลี่ยนที่มี วิชาชีพอยางเดียวกันหรือกลุมวัฒนธรรมเหมือนกัน บางกลุมยังไดชวย ริเริ่มโครงการเพื่อเพื่อนมนุษยระหวางประเทศกันอีกดวย การติดตอสวน บุคคลหลายประการจะงอกงามนําไปสูการมีมิตรภาพที่ยั่งยืนได อันที่จริงแลวโครงการกลุมศึกษาแลกเปลี่ยนจะใหโรแทเรียนมีวิธีการ ที่สนุกสนานเปนรูปธรรมและมีความหมายยิ่งในการสงเสริมความเขาใจ ระหวางกันในโลก

ทุนชวยเหลือเกี่ยวกับสุขภาพ ความหิวโหย และมนุษยชาติ ในปค .ศ. 1978 มูลนิธิโรตารีไดเริ่มกิจกรรมการบําเพ็ญประโยชนเพื่อ เพื่อนมนุษยที่สมบูรณแบบที่สุดดวยโครงการเกี่ยวกับสุขภาพ ความหิว โหยและมนุษยชาติ โครงการ 3 เอชไดรับการจัดขึ้นเพื่อใหเปนโครงการที่ โรตารี ก เอย ก ไก | 59


มีขอบขายการบําเพ็ญประโยชนอันกวางขวางซึ่งอยูเหนือความสามารถ ของสโมสรโรตารีแตละสโมสรหรือกลุมของสโมสรตางๆ ตั้ ง แต ป ค .ศ. 1978 มี โ ครงการ 3 เอช เกื อ บ 290 โครงการที่ ดําเนินการใน 75 ประเทศ ดวยจํานวนเงินมากกวา 74 ลานเหรียญสหรัฐ วัตถุ ป ระสงค ข องโครงการเหลา นี้ คือ การพัฒ นาสุข ภาพ การบรรเทา ความหิวโหยและการสงเสริมการพัฒนามนุษย วัฒนธรรม และสังคม ระหวางมวลชนในโลก วัตถุประสงคที่สําคัญที่สุดนั้นก็คือ การสงเสริม ความเขาใจ ไมตรีจิตและสันติสุขระหวางกันในนานาประเทศ โครงการ 3 เอช โครงการแรกไดแก การสรางภูมิคุมกันโรคโปลิโอแก เด็กๆ ในประเทศฟลิปปนสถึง 6 ลานคนซึ่งเปนการแสดงจุดกําเนิดของ โปรแกรมโปลิโอพลัส ในขณะที่โครงการ 3 เอชกาวหนาไป ก็มีโครงการ ใหมๆ เพิ่มขึ้นเพื่อชวยเหลือผูคนในอาณาเขตตางๆ ที่กําลังพัฒนาของ โลก เชน โปรแกรมโภชนาการ การริเริ่มในเรื่องอาชีวศึกษา การสงเสริม การผลิตอาหารและการฟนฟูเหยื่อของโรคโปลิโอ โครงการ 3 เอชทั้งหมด ไดรับการสนับ สนุน จากการบริจ าคของโรแทเรียนทั้ง หลายดว ยความ สมัครใจผานมูลนิธิโรตารี

ทุนสนับสนุนสมทบ หนึ่งในบรรดาโครงการทั้งหลายของมูลนิธิโรตารีซึ่งเปนที่นิยมกันมาก ที่สุด คือ ทุนสนับสนุนสมทบซึ่งเปนโครงการที่ชวยสโมสรโรตารีและภาค ตางๆ ในการดําเนินโครงการบริการระหวางประเทศได ตั้งแตปค.ศ. 1965 เป น ต น มา ทุ น สนั บ สนุ น สมทบกว า 24,000 ทุ น ได รั บ การอนุ มั ติ เ พื่ อ ดําเนินโครงการในประเทศตางๆ ประมาณ 170 ประเทศ ดวยคาใชจาย มากกวา 243 ลานเหรียญสหรัฐ มูลนิธิโรตารีใหทุนสมทบแกสโมสรหรือภาคจํานวนเล็กนอยเพียง ครั้งเดียว เพื่อดําเนินโครงการบําเพ็ญประโยชนเพื่อเพื่อนมนุษย ทุนนี้ ไดรับการนํามาใชในโครงการตางๆ ที่หลากหลาย เชน จัดซื้ออุปกรณ การเกษตร น้ํ า และอุ ป กรณ ก ารแพทย การต อ สู กั บ โรคต า งๆ การ ชวยเหลือผูพิการ สงเสริมการรูหนังสือและการคิดคํานวณ การพัฒนา 60 | โรตารี ก เอย ก ไก


โปรแกรมการศึกษาหรือการอบรมอาชีพ ทุนที่มอบใหขั้นต่ําคือ 5,000 เหรี ย ญและขั้ น สู ง สุ ด คื อ 150,000 เหรี ย ญ มู ล นิ ธิ ส มทบเงิ น ให .50 เหรียญตอเงินสดที่ บริ จาคทุกๆ 1 เหรียญ และสมทบให 1 เหรียญกับ การบริจาคเงินทุนจัดสรรของภาค (District Designated Fund) ทุกๆ 1 เหรียญ เงินทุนสนับสนุนสมทบจะไมไดรับการอนุมัติเพื่อไปซื้อที่ดินหรือสราง สิ่งกอสรางตางๆ และจะไมใหเพื่อใชสําหรับโครงการใดๆ ที่ดําเนินการไป บางแลวหรือเสร็จสมบูรณแลว ที่จําเปนคือ โรแทเรียนตองมีสวนรวมดวย ตนเองและผลประโยชนตองขยายออกไปสูคนในวงกวางนอกเหนือจาก ผูขอรับทุน โครงการทุนสนับสนุนสมทบเปนสวนหนึ่งที่สําคัญยิ่งของการดําเนิน งานเพื่อเพื่อนมนุษยของมูลนิธิโรตารี และใหแรงจูงใจที่สําคัญแกสโมสร ตางๆ ในการบําเพ็ญประโยชนที่มีคุณคาในอีกสวนหนึ่งของโลก

ทุนสนับสนุนอยางงายของภาค ทุ น สนั บ สนุ น อย า งง า ยของภาคช ว ยให ภ าคโรตารี ส ามารถให ค วาม ชวยเหลือเพื่อเพื่อนมนุษยหรือใหการบําเพ็ญ ประโยชนระยะสั้น เพื่อ ประโยชนแกชุมชน ภาคสามารถขอเงินสวนหนึ่งจากเงินทุนจัดสรรของ ภาค (District Designated Fund) เพื่อชวยสนับสนุนโครงการในทองถิ่น หรือโครงการระหวางประเทศหนึ่งโครงการหรือมากกวานั้น ทุนสนับสนุน อยางงายของภาคเปนเงินทุนที่บริหารจัดการในระดับภาคแตตองเปนไป ตามกฎเกณฑของทุนเพื่อเพื่อนมนุษย

ทุนสนับสนุนอาสาสมัคร ทุ น สนั บ สนุ น อาสาสมั ค ร (เดิ ม รู จั ก กั น ในนามทุ น สนั บ สนุ น บุ ค คล) สนับสนุนการเดินทางของโรแทเรียนและคูครองของโรแทเรียน เมื่อไป บําเพ็ญประโยชนที่จําเปนใหแกชุมชนหรือวางแผนงานโครงการที่จําเปน มีเพียงโรแทเรียนและคูครองเทานั้นที่มีสิทธิจะเดินทางได คูครองที่มิได เปนสมาชิกของสโมสรโรตารีแตมีคุณสมบัติที่จะบําเพ็ญประโยชนอาจจะ โรตารี ก เอย ก ไก | 61


รวมกันเปนทีมงาน แตตองไมเปนหัวหนาทีมหรือเดินทางโดยไมมีทีมงาน สิทธิในการเดินทางขึ้นอยูกับความตองการของชุมชนที่จะสนองตอบได โดยโรแทเรียน/ทีมงานที่มีประสบการณและความชํานาญ และชุมชนนั้น ไมมีประสบการณและความชํานาญดังกลาว นอกจากนี้ การบําเพ็ญ ประโยชนหรือกิจกรรมการวางแผนงานจะตองมีการวางแผนเอาไวกอนที่ จะสงใบสมัครขอรับทุน ทุนสนับสนุนนี้ใหเงินเพียง 3,000 เหรียญสหรัฐ (สําหรับบุคคล) หรือ 6,000 เหรียญ (สําหรับทีมงานถึง 5 คน) เพียงครั้งเดียว ระยะเวลาของ การบําเพ็ญประโยชนอยางนอยที่สุดคือ 5 วันเพื่อการวางแผนกิจกรรม และ 10 วันเพื่อทํากิจกรรมบําเพ็ญประโยชน และอยางมากที่สุด 60 วัน สําหรับกิจกรรมทั้งสองประเภท

โปลิโอพลัส โปลิโอพลัสเปนความพยายามที่ยิ่งใหญของโรตารีที่จะขจัดโรคโปลิโอให หมดไปจากโลกนี้ โครงการดั ง กล า วได เ ริ่ ม ขึ้ น ในป ค .ศ. 1985 ด ว ย วัตถุประสงคในการหาทุน 120 ลานเหรียญสหรัฐ เพื่อใหภูมิคุมกันโรค โปลิโอแกเด็กๆ ในประเทศที่กําลังพัฒนาเปนเวลา 5 ป การรณรงคหาทุน ของโครงการโปลิโอพลัสซึ่งสรุปไดในปค.ศ. 1988 เปนจํานวนเงินถึง 247 ลานเหรียญสหรัฐ ในปค.ศ. 2002 หลังจากที่ชองวางในการหาทุน ถูก ระบุวาเปนอุปสรรคที่สําคัญที่สุดในการขจัดโรคโปลิโอทั่วโลก โรตารีได เริ่ ม การรณรงค ห าทุ น เพื่ อ ขจั ด โรคโปลิ โ อแบบใหม ที่ เ รี ย กว า ทํ า ตาม สัญญาของเรา: ขจัดโรคโปลิโอ โดยมีเปาหมายหาทุนใหได 80 ลาน เหรียญ ดวยความเมตตากรุณาและความกระตือรือรน โรแทเรียนหาทุน ไดมากกวา 135 ลานเหรียญในรูปของเงินสด, การมอบเงินทุนจัดสรรของ ภาคและทุนสมทบจากภาครัฐ การบริจาคเงินของโรแทเรียนเพื่อการขจัด โรคโปลิโอทั่วโลกรวมทั้งหมดแลวมีมากกวา 650 ลานเหรียญ สิ่งที่สําคัญพอๆ กันก็คือ กองทัพอาสาสมัครขนาดใหญที่ระดมได โดยโรตารีสากล อาสาสมัครนับหมื่นในระดับทองถิ่นไดใหการสนับสนุน ในวันใหภูมิคุมกันโรคแหงชาติ และยังคงทําตอไปในประเทศที่ยังมีการ 62 | โรตารี ก เอย ก ไก


ระบาดของโรค โดยการระดมชุ ม ชนให ม ารั บ ภู มิ คุ ม กั น โรคหรื อ ร ว ม กิจกรรมการขจัดโรคโปลิโอ โรตารีสากลเปนสวนหนึ่งของการริเริ่มการขจัดโรคโปลิโอใหหมดไป โดยการรวมมือกับองคการอนามัยโลก ยูนิเซฟ ศูนยควบคุมและปองกัน โรคของสหรัฐ รัฐบาลแหงชาติและอื่นๆ ซึ่งทําใหความพยายามนี้เปนการ ร ว มมือ ด า นสุข ภาพของภาครัฐ และเอกชนที่ใ หญที่ สุด ผลของความ พยายามในความคิดริเริ่มนี้ทําใหเด็กๆ กวา 2 พันลานคนไดรับการหยอด วัคซีนปองกันโรคโปลิโอ องคกรอนามัยโลกไดประกาศใหอเมริกาเปน ประเทศที่ปลอดจากโรคโปลิโอในปค.ศ. 1994 ภูมิภาคแปซิฟคตะวันตก ในปค.ศ. 2000 และยุโรปในปค.ศ. 2002 ในปค.ศ. 2006 จํานวนผูปวยดวยโรคโปลิโอลดลงถึง 99 เปอรเซ็นต จากปค.ศ. 1985 ความพยายามทั้งหลายเนนไปในเรื่องของการขจัด ไวรัสในประเทศที่ยังคงมีการระบาดของโรค ทั้งในอาฟริกาและเอเชียใต การบรรลุผลในการขจัดโรคโปลิโอใหหมดไปเปนเรื่องยากลําบากยิ่ง (มีเพียงโรคเดียวคือฝดาษที่เคยขจัดได) และสิ้นเปลืองมาก (ตองใชเงิน เกือบ 3 พันลานเหรียญสหรัฐ) จึงจํา เปนตองมีการจัดวันใหภูมิคุมกัน แหงชาติ (National Immunization Days) ขึ้นเพื่อใหภูมิคุมกันโรคโปลิโอ แกเด็กที่มีอายุต่ํากวา 5 ขวบในประเทศที่มีการระบาดของโรค มีความ เสี่ ย งสู ง และมี ก ารระบาดไปเมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ การให ภู มิ คุ ม กั น โรคอย า ง ตอเนื่องตอไปตามปกติที่ทําอยูทั่วโลก การรายงานอยางมีระบบเกี่ยวกับ กรณีมีผูปวยที่สงสัย ปฏิบัติการตอบสนองอยางทันควันตอการระบาด ของโรค รวมทั้งจัดสรางเครือขายหองปฏิบัติการตางๆ โครงสรางพื้นฐาน เหลานี้พัฒนาขึ้นเพื่อความพยายามในการขจัดโรคโปลิโอ ชวยในการ ตอสูกับโรคติดเชื้อตางๆ ทั่วโลกที่กําลังพัฒนาได ไมมีอ งคกรเอกชนใดที่เคยใหความมุง มั่น ในการดํา เนิน โครงการ ขนาดใหญเชนโครงการโปลิโอพลัสนี้ ถือไดวาเปนงานบําเพ็ญประโยชน เพื่อเพื่อนมนุษยที่ยิ่งใหญที่สุดที่โลกเคยประจักษ ซึ่งโรแทเรียนทุกคน สามารถรวมกันภาคภูมิใจกับความสําเร็จนี้ได โรตารี ก เอย ก ไก | 63


พอล แฮริส เฟลโลว ไมตองสงสัยเลยวากาวสําคัญที่สุดในการสงเสริมการบริจาคดวยความ สมั ค รใจให แ กมู ล นิธิ โ รตารีเ กิ ดขึ้ น ในป ค .ศ. 1957 เมื่ อ แนวคิ ด ในการ ประกาศเกียรติคุณการเปน พอล แฮริส เฟลโลว ไดรับการเสนอขึ้นเปน ครั้งแรก แมวาแนวคิดในการบริจาค 1,000 เหรียญสหรัฐใหแกมูลนิธิจะ พัฒนาไปอยางเชื่องชา แตในตอนตนปค.ศ. 1970 โครงการดังกลาวก็เริ่ม เปนที่นิยม เหรียญพอล แฮริส เฟลโลว เข็มติดเสื้อและประกาศนียบัตรที่ นาดึงดูดใจ กลายเปนสัญลักษณที่นายกยองของการมอบเงินจํานวนหนึ่ง ใหแกมูลนิธิโรตารีโดยบรรดาโรแทเรียนและมิตรสหายทั่วโลก ในปค.ศ. 2006 จํานวนของ พอล แฮริส เฟลโลว บรรลุถึงหนึ่งลานคน สิ่งที่ควบคูกันกับ พอล แฮริส เฟลโลว คือการเปนสมาชิกสนับสนุน พอล แฮริส ซึ่งจะเปนการยกยองแกบุคคลใดที่ไดบริจาค 100 เหรียญ สหรั ฐ ด ว ยมี ค วามตั้ ง ใจอย า งแน ว แน ที่ จ ะบริ จ าคเพิ่ ม เติ ม อี ก จนครบ 1,000 เหรียญสหรัฐ (การบริจาคสามารถทําเพื่อใหเปนการใหเกียรติแก ผูอื่นดวย) และเมื่อนั้น สมาชิกสนับสนุน พอล แฮริส ก็จะเปน พอล แฮริส เฟลโลว ได จะมีการมอบเข็มติดเสื้อเกียรติยศพิเศษแกผูบริจาคเปน พอล แฮริส เฟลโลว เปน เงิ น 1,000 เหรียญสหรัฐเพิ่มเติม แกมูลนิธิ เข็มกลัด ทอง ประดับพลอยสีน้ําเงินจะหมายถึงการบริจาคเงินทุก 1,000 เหรียญสหรัฐ ตั้งแต 2,000-6,000 เหรียญสหรัฐ เข็มกลัดประดับพลอยสีแดงหมายถึง การบริจาคตั้งแต 7,000-9,000 เหรียญสหรัฐ การยกยองเปน พอล แฮริส เฟลโลว จะเปนแรงจูงใจที่สําคัญสําหรับการสนับสนุนอยางตอเนื่องที่ จําเปนตอการดําเนินการโครงการของมูลนิธิตางๆ มากมาย ซึ่งจะสราง ไมตรีจิตและความเขาใจระหวางกันในโลกได

64 | โรตารี ก เอย ก ไก


เกียรติบัตรสําหรับการบําเพ็ญประโยชนเกียรติคุณ และ รางวัลการบําเพ็ญประโยชนดีเดน ในบางโอกาสคณะกรรมการมูลนิธิโรตารีจะมอบรางวัลพิเศษ 2 รางวัล เพื่อประกาศการยกยองใหแกบรรดาโรแทเรียนผูบําเพ็ญประโยชนอยาง เยี่ ย มยอดใหแ ก มูล นิธิ โ รตารี การมอบเกี ย รติบั ต รสํา หรับ การบํ า เพ็ ญ ประโยชนเกียรติคุณจะตระหนักถึงการบําเพ็ญประโยชนที่เสียสละและ สําคัญยิ่งของโรแทเรียนในการสงเสริมโปรแกรมของมูลนิธิ และสงเสริม เปาหมายของมูลนิธิในการสรางความเขาใจและสัมพันธไมตรีระหวาง มวลชนของโลกใหดียิ่งขึ้น รางวัลการบําเพ็ญประโยชนดีเดนจะมอบใหกับโรแทเรียนที่ไดรับ เกียรติบัตรสําหรับการบําเพ็ญประโยชนเกียรติคุณแลว และมีสถิติการ บําเพ็ญประโยชนดีเดนแกมูลนิธิโรตารีเหนือระดับภาคและตอเนื่องเปน ระยะเวลานาน รางวัลที่คัดเลือกแลวทั้ง 2 รางวัลนี้จะหมายถึงการบําเพ็ญประโยชน และการเสียสละสวนตัวบุคคลที่เปนตัวอยางใหแกมูลนิธิมากกวาการ บริจาคดวยเงินตรา มีโรแทเรียนเพียงคนเดียวจากแตละภาคในแตละปที่ จะไดรับเกียรติบัตรการบําเพ็ญประโยชนเกียรติคุณ โดยปกติแลวจะมี รางวัลไมเกิน 50 รางวัลที่คณะกรรมการมูลนิธิโรตารีจะมอบใหในแตละป ผูไ ดรับ เกียรติบัตรการบํา เพ็ญ ประโยชนเกียรติคุณ ไมมีสิท ธิ์ไ ดรับ การ เสนอชื่อเพื่อรับรางวัลการบําเพ็ญประโยชนดีเดนจนกวาจะครบ 4 ปเต็ม จึงเปนการยกยองที่นาภาคภูมิใจสําหรับโรแทเรียนทานใดที่ไดรับ เลือกใหเปนผูไดรับการยกยองในระดับสูงเชนนี้จากคณะกรรมการมูลนิธิ โรตารี

การประชาสัมพันธของโรตารี นับเปนประวัติศาสตรที่โรแทเรียนทั้งหลายจะยึดถือไวเปนความเชื่อมา ตลอดกาลวา โรตารีไมควรจะประชาสัมพันธและควรใหผลของงานที่ดี นั้นๆ ประกาศตัวของมันเองจะดีกวา นโยบายในปค.ศ. 1923 ไดแถลงไว โรตารี ก เอย ก ไก | 65


วา “การประชาสัมพันธไมควรเปนวัตถุประสงคแรกของสโมสรโรตารีใน การเลือกกิจกรรม” เกี่ยวกับการบริการชุมชน ซึ่งมักมีการตีความอยูเสมอ วา สโมสรโรตารีค วรหลีกเลี่ ย งการประชาสัมพัน ธห รือ การประกาศให สาธารณชนไดรับทราบ อันที่จริงแลวถอยแถลงในปค.ศ. 1923 นั้นได เพิ่ ม เติ ม อี ก ด ว ยว า “ในฐานะที่ เ ป น วิ ธี ก ารขยายผลงานของโรตารี โครงการที่มีคุณคาซึ่งดําเนินการไดดีจึงควรไดรับการประชาสัมพันธที่ เหมาะสม” ปรั ช ญาการประชาสั มพั น ธ ที่ทั น สมัย มากขึ้ น ไดรั บ การพัฒ นาขึ้ น ในชวงกลางของทศวรรษ 1970 ซึ่งใหความมั่นใจวา “การประชาสัมพันธ ที่ดีและเปนที่ชื่นชอบ รวมทั้งภาพพจนในทางบวกเปนเปาหมายที่สําคัญ และเปนที่ตองการสําหรับโรตารี” หากเปนการสงเสริมความเขาใจ การ แสดงความขอบคุณ การสนับสนุนวัตถุประสงคและโครงการตางๆ พรอม ทั้งขยายการบําเพ็ญประโยชนของโรตารีแกมนุษยชาติได ในปจจุบันนี้ โรแทเรียนสว นมากตระหนั ก วา การประชาสั มพัน ธ ที่แ ข็ง ขั น เป น เรื่อ ง สําคัญยิ่งตอความสําเร็จของโรตารี โครงการบําเพ็ญประโยชนที่ดําเนินการไดดีจะถูกพิจารณาใหเปน หนึ่งในขาวสารของการประชาสัมพันธที่ดีที่สุดของโรตารี ดังนั้นจึงจําเปน อยางยิ่งที่สโมสรโรตารีจะพยายามทุกวิถีทางที่จะใหขอมูลแกสาธารณชน เกี่ยวกับโครงการบําเพ็ญประโยชนนั้นๆ ที่ไดดําเนินมาแลวเปนอยางดี สํานักงานเลขาธิการมีเครื่องมือที่จะชวยสโมสรในการโฆษณาโครงการ ในชุมชนและทําใหสาธารณชนตระหนักถึงการทํางานของโรตารีทั่วโลก การประกาศขาวบริการสาธารณะทางโทรทัศน โฆษณาที่เปนสิ่งพิมพ และแบบแผนปายโฆษณาขนาดใหญในภาษาตางๆ 9 ภาษา สามารถสั่ง ไดจากสํานักงานเลขาธิการในพื้นที่ของทาน เมื่ อสโมสรโรตารีแ ละภาคตา งๆ พิจ ารณาการประชาสัมพัน ธที่ มี ประสิทธิภาพ จึงสําคัญยิ่งที่จะตองจําไววาเมื่อโรแทเรียนนึกถึงโรตารี เรา นึกถึงเปาหมายและแรงผลักดันที่สูงสงของเรา แตเมื่อโลกนึกถึงโรตารีก็ ยอมจะตองนึกถึงการกระทําและการบําเพ็ญประโยชนของเราที่ไดกระทํา ลงไปนั่นเอง 66 | โรตารี ก เอย ก ไก


เว็บไซตของโรตารีสากล ตั้งแตปลายปค .ศ. 1990 โรตารีสากลไดใชอินเตอรเน็ตเพื่อสื่ อสารกั บ สมาชิก และแสดงถึ ง กิ จ กรรมและโปรแกรมตา งๆ ของโรตารี เว็ บ ไซต ทางการของโรตารีสากลที่ www.rotary.org ยังชวยใหสมาชิกไดดําเนิน งานโรตารีออนไลน ตั้งแตการสั่งซื้อสิ่งพิมพไปจนถึงการบริจาคเงินให มูลนิธิโ รตารี และการลงทะเบี ยนการประชุม ใหญป ระจํา ปข องโรตารี สากล โดยการใชเมนู Member Access เจาหนาที่สโมสรสามารถเปลี่ยนแปลงข อ มูลสมาชิ ก ภาพของสโมสร และโรแทเรียนทุกคนสามารถลง ทะเบียนการประชุมใหญป ระจํา ปของโรตารีสากล รวมทั้งบริจาคเงิน ใหมู ลนิธิ โ รตารี การใช เมนู Club Locator ทํา ใหส มาชิก สามารถระบุ สถานที่ที่จะไปประชุมทดแทนไดอ ยางงายดาย โรแทเรียนสามารถใช เว็ บ ไซต เ พื่ อ สั่ ง ซื้ อ สิ่ ง พิ ม พ วี ดิ ทั ศ น แบบฟอร ม หรื อ วั ส ดุ อุ ป กรณ อื่ น ๆ รวมทั้งดาวนโหลดสิ่งพิมพตางๆ และแบบฟอรมไดฟรี ทําใหเกิดความ สะดวกยิ่งขึ้นและมีคาใชจายถูกลงสําหรับโรแทเรียน ในสวนของภาษามี การใหขอมูลขาวสารโรตารีในภาษาตางๆ 8 ภาษาสําหรับโรแทเรียนที่ มิไดพูดภาษาอังกฤษ และยังมีการเชื่อมโยงไปยังเว็บไซตของภาษาอื่นๆ ทั่วโลกที่โรแทเรียนเปนผูดูแล เว็บไซตของโรตารีสากลใหขอมูลขาวสารตางๆ มากมาย รวมทั้งขาว โรตารี ล า สุ ด การเข า ไปเยี่ ย มชมเว็ บ ไซต www.rotary.org จะช ว ยให โรแทเรียนทุกคนมีความรูกระจางขึ้น

การใชรูปสัญลักษณของโรตารี โรตารีสากลเปนเจาของเครื่องหมายการคาและเครื่องหมายการบําเพ็ญ ประโยชนตางๆ มากมาย รวมทั้งรูปสัญลักษณของโรตารีและชื่อโรตารี ซึ่ ง โดยรวมเรีย กวา รู ป สั ญ ลัก ษณข องโรตารี การใช รูป สั ญ ลั ก ษณ ข อง โรตารีอยางถูกตองเหมาะสมเปนการรักษาความเปนเอกลักษณในรูป สัญลักษณของโรตารีทั่วโลก สโมสรและภาคโรตารีสามารถใชเครื่องหมายเหลานั้นในการสงเสริมโครงการ โปรแกรมและกิจกรรม ตราบเทาที่ โรตารี ก เอย ก ไก | 67


สโมสรและภาคมีความรับผิดชอบที่ชัดเจนและใชเครื่องหมายที่ทําขึ้นมา ใหมอยางถูกตอง เมื่อ “โรตารี” หรือตราสัญลักษณโรตารีปรากฏอยูกับชื่อของกิจกรรม ของสโมสรหรื อ ภาค ชื่ อ ของกิ จ กรรมนั้ น ควรจะอยู ข า งๆ หรื อ เห็ น ได ชัดเจนพอๆ กัน เมื่อใชชื่อกิจกรรมรวมกับชื่อมูลนิธิของสโมสรหรือภาค ตองแยกคําวา “โรตารี” และ “มูลนิธิ” ออกจากกันดวยคําอยางนอยที่สุด หนึ่งคํา เชน มูลนิธิของโรตารีเซโดนาเวสต หรือมูลนิธิของสโมสรโรตารี ชิคาโก เปนตน เพื่อหลีกเลี่ยงความสับสนกับมูลนิธิโรตารีของโรตารีสากล ตราสัญลักษณโรตารีเปนเครื่องหมายการคาที่ผลิตขึ้นมาใชและเปน ที่รูจักมากที่สุดของเรา จึงควรผลิตตามแบบที่ถูกตองสมบูรณ เมื่อผลิต ใหมโดยใชสีมากกวาสีเดียวตองเปนสีที่เปนทางการ คือ สีรอยัลบลูและ สีทอง ตราสัญลักษณโรตารีและโลโกโรตารีอื่นๆ สามารถดาวนโหลดได จากเว็บไซต www.rotary.org โรแทเรียนมักจะติดตราสัญลักษณโรตารี เชน เข็มติดเสื้อ จึงควรซื้อ เข็มกลัดเหลานั้นจากผูไดรับลิขสิทธิ์จากโรตารีสากล หนวยงานโรตารีที่ ตองการใชเครื่องหมายการคาของโรตารีเพื่อการอุปถัมภหรือการเป น หุนสวนความรวมมือ ควรจะติดตอกับผูแทนฝายสนับสนุนสโมสรและ ภาคที่สํานักงานเลขาธิการ เพื่อขอคําแนะนําลาสุดของคณะกรรมการ บริหารโรตารีสากล

การฉลองพิเศษตางๆ ของโรตารี ในปฏิทินของโรตารีไดมีการกําหนดเดือนและสัปดาหตางๆ เอาไวให เพื่อ เนนโปรแกรมและกิจกรรมที่สําคัญของโรตารีสากล • เดือนมกราคมเปนเดือนแหงการตระหนักในโรตารี เปนเวลาที่จะ เผยแพรความรูและกิจกรรมของโรตารีในระหวางสมาชิกและใน ชุมชนอยางทั่วถึง • เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ เ ป น เดื อ นแห ง ความเข า ใจระหว า งกั น ในโลก ที่ เลือกกําหนดใหเปนเดือนนี้เพราะเดือนนี้ตรงกับวันเกิดของโรตารี สากลดวย คือวันที่ 23 กุมภาพันธ ในเดือนนี้สโมสรจะไดรับการ 68 | โรตารี ก เอย ก ไก


กระตุนใหเสนอโครงการตางๆ ที่สงเสริมความเขาใจและไมตรีจิต ระหว า งกั น ในนานาประเทศ เช น เดี ย วกั น กั บ การเริ่ ม โครงการ บริการชุมชนโลกตางๆ ในสวนอื่นๆ ของโลก • เดือนมีนาคมเปนเดือ นแหงการรูห นัง สือ เปนเวลาที่สโมสรตา งๆ พัฒนาโครงการรูหนังสือของตน พรอมๆ กับเพิ่มพูนความตระหนัก เกี่ยวกับความพยายามของโรแทเรียนทั้งหลายทั่วโลก ในการขจัด การไมรูหนังสือใหหมดไป • โอกาสที่สําคัญอีกหนึ่งในเดือนมีนาคมคือสัปดาหโรทาแรคทโลก ซึ่ ง เป น สั ป ดาห ข องวั น ที่ 13 เดื อ นมี น าคม เป น โอกาสที่ ส โมสร โรตารีและภาคตางๆ สงเสริมโรทาแรคทโดยเขารวมโครงการตางๆ กับสโมสรโรทาแรคท • เดือนเมษายนไดรับการกําหนดใหเปนเดือนแหงนิตยสาร ตลอดทั้ง เดือนสโมสรตางๆ จะจัดโครงการและกิจกรรมสงเสริมการอานและ การใชนิตยสาร เดอะโรแทเรียนและนิตยสารภูมิภาคทางการอื่นๆ ของโรตารีดวย • มิ ถุ น ายนเป น เดื อ นแห ง มิ ต รภาพของโรตารี เป น เวลาที่ เ พิ่ ม พู น ความสนใจและสมาชิกภาพในโปรแกรมหนึ่งในหลายๆ โปรแกรม มิ ต รภาพของโรตารี รวมทั้ ง ฉลองอุ ด มการณ แ ห ง การบํ า เพ็ ญ ประโยชนโดยผานวิชาชีพและงานอดิเรกที่เหมือนๆ กัน • เดือนสิงหาคมเปนเดือนแหงการเพิ่มสมาชิกและขยายสโมสร เปน เวลาที่จะเนนความจําเปนของโรตารีเพื่อการเจริญกาวหนาอยาง ตอเนื่อง เพื่อแสวงหาสมาชิกใหม ทํางานเพื่อใหสมาชิกปจจุบันคง ความกระตือรือรนและความสนใจ รวมทั้งการกอตั้งสโมสรใหม • เดือนกันยายนเปนเดือนแหงกิจกรรมเยาวชน สโมสรโรตารีของโลก จะเนนความสําคัญเปนพิเศษสําหรับโปรแกรมตางๆ ที่โรตารีให การสนับสนุน ซึ่งจะใหการบําเพ็ญประโยชนตอเด็กๆ และคนหนุม สาว • เดือนตุลาคมเปนเดือนแหงการบริการดานอาชีพ ในชวงของเวลานี้ สโมสรตางๆ จะเนนความสําคัญของชีวิตทางธุรกิจและวิชาชีพของ โรตารี ก เอย ก ไก | 69


โรแทเรียนแตละคน และเนนถึงการปฏิบัติมาตรฐานอันสูงสงของ โรตารี • เดือนพฤศจิกายนเปนเดือนแหงมูลนิธิโรตารี สโมสรและภาคตางๆ จะใหความใสใจกับโปรแกรมตางๆ ของมูลนิธิโรตารี และบอยครั้ง ที่มีการสงเสริมการสนับสนุนดานเงินทุนเพิ่มเติมสําหรับมูลนิธิ โดย การสงเสริมการบริจาคเพื่อเปน พอล แฮริส เฟลโลวส (Paul Harris Fellows) และสมาชิ ก สนั บ สนุ น พอล แฮริ ส (Paul Harris Sustaining Members) • สั ป ดาห อิ น เทอร แ รคท โ ลก เป น สั ป ดาห ข องวั น ที่ 5 พฤศจิ ก ายน เปนเวลาที่สโมสรโรตารีที่อุปถัมภวางแผนโครงการรวมกับสโมสร อินเทอรแรคทของพวกเขา • เดื อ นธั น วาคมเป น เดื อ นแห ง ครอบครั ว เมื่ อ สโมสรทํ า งานเพื่ อ ชวยเหลือครอบครัวตางๆ ในชุมชนของพวกเขาและเฉลิมฉลอง ครอบครัวโรตารี ซึ่งหมายรวมถึงคูครองและบุตรของโรแทเรียน ผู รวมโปรแกรมของโรตารีสากลและบุคคลอื่นๆ ในชุมชนที่มีความ ผูกพันแนนแฟนกับโรตารี ในแตละเดือนพิเศษเหลานี้ จะตอบสนองการเพิ่มพูนการตระหนัก ระหวางโรแทเรียนเกี่ยวกับโปรแกรมการบําเพ็ญประโยชนตางๆ ที่เยี่ยม ยอด ซึ่งเกิดขึ้นภายในโลกของโรตารีได

การกอตั้งสโมสรใหมและการขยายโรตารี ความกาวหนาอันมั่นคงของสโมสรใหมเปนสิ่งที่สําคัญยิ่งในการขยาย โปรแกรมและศักดิ์ศรีของโรตารีสากลไปทั่วโลก อันที่จริงแลวในหลายปที่ ผานมา การกอตั้งสโมสรโรตารีใหมๆ เปนองคประกอบสําคัญของการ เพิ่มสมาชิกภาพในโรตารี สโมสรโรตารีใหมอาจไดรับการกอตั้งขึ้น ณ ที่ ใดๆ ในโลก ซึ่งหลักการของโรตารีอาจไดรับการปฏิบัติอยางเสรี และเปน ที่ซึ่งสโมสรโรตารีที่ประสบความสําเร็จจะคงอยูได ตัวอยางเชน มีสโมสร ใหม ๆ มากมายได รั บ การก อ ตั้ ง ขึ้ น ตั้ ง แต ป ค .ศ. 1990 เมื่ อ เริ่ ม มี ประชาธิปไตยในยุโรปตะวันออก 70 | โรตารี ก เอย ก ไก


คณะกรรมการบริ ห ารโรตารี ส ากลต อ งอนุ มัติ ก ารขยายโรตารี ใ น ประเทศที่ ไ ม เ คยมี ส โมสรโรตารี ม าก อ นเลย ในป ค .ศ. 2005-06 คณะกรรมการบริหารเปดประเทศจีน คิวบา และเวียดนามเพื่อการขยาย โรตารี และเพื่อหลีกเลี่ยงความสับสนกับเจาหนาที่ในทองถิ่น นโยบาย ของคณะกรรมการบริหารโรตารีสากลกําหนดใหโรแทเรียนทํางานผาน คณะกรรมการขยายโรตารีของโรตารีสากล เมื่อมีการกอตั้งสโมสรใน ประเทศที่ไมมีสโมสรโรตารีอยูในขณะนั้น สโมสรแตละแหงจะตองไดรับการกอตั้งเพื่อบริการ “พื้นที่” เฉพาะ แหงที่มีบุคคลากรทางธุรกิจและวิชาชีพที่ดีอ ยางพอเพียงที่มีตําแหนง หนาที่เปนผูนํา เจาของธุรกิจหรือมีตําแหนงบริหารและเปนที่ซึ่งมีโอกาส สําหรับโรตารีในการบําเพ็ญประโยชน อยางนอยที่สุดประเภทอาชีพ 40 ประเภทจําเปนอยางยิ่งสําหรับการเสนอสโมสรใหม และจากประเภท อาชีพนั้นจงจดรายชื่อสมาชิกถาวรอยางนอย 20 คนที่จะเปนสมาชิก ผู ว า การภาคมี ห น า ที่ รั บ ผิ ด ชอบในการอนุ มั ติ แ ละดู แ ลการก อ ตั้ ง สโมสรใหม ผูวาการภาคแตงตั้งผูแทนพิเศษผูวาการภาคหนึ่งคน เพื่อชวย แนะนําการกอตั้งสโมสรใหม ขั้นตอนแรกคือการทําการสํารวจสถานที่เพื่อ พิจารณาศักยภาพสําหรับการขยายสโมสรใหม สโมสรใหมตองรับเอา ธรรมนูญมาตรฐานของสโมสรโรตารีมาใช มีสมาชิกกอตั้งอยางนอย 20 คนที่มีประเภทอาชีพที่แนนอน เลือกตั้งเจาหนาที่ ชําระเงินคาสารตราตั้ง ประชุม ประจํ า สัป ดาหข องสโมสรชั่ว คราวและตั้ง ชื่อ สโมสรซึ่ง จะตอ ง แสดงถึงสถานที่ตั้งอยางเดนชัด สโมสรโรตารีชั่วคราวจะกลายเปนสโมสร โรตารีเมื่อสารตราตั้งไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารของโรตารี สากล จึงเปนโอกาสที่สําคัญยิ่งและเปนหนาที่พิเศษของโรแทเรียนทุกคนที่ จะชวยเหลือและใหความรวมมือในการกอตั้งสโมสรใหม สโมสรโรตารี ใหมจะทําใหความสําคัญของโรตารีในระยะยาวและความมุงมั่นในการ บําเพ็ญประโยชนเพื่อเพื่อนมนุษยทั่วโลกของโรตารีมีความมั่นคงเขมแข็ง ขึ้น โรตารี ก เอย ก ไก | 71


เสื้อนอกอันมีสีสันของผูวาการภาค หนึ่งในประเพณีเมื่อไมนานมานี้ของโรตารีเริ่มขึ้นในปค.ศ. 1984-85 เมื่อ ผูวาการภาคทั้งหลายตัดสินใจสวมเสื้อนอกแบบสบายๆ สีเหลืองสะดุด ตาไปงานโรตารีอยางเปนทางการ ในปตอๆ มาประธานโรตารีสากลได เลือกเสื้อนอกสีสดใสสําหรับผูวาการภาคและเจาหนาที่ของโรตารีสากล คนอื่นๆ จากเสื้อนอกสีเหลืองสะดุดตาของ คารลอส แคนเซโค ก็จะตาม มาดวยสีเจิดจา เชน เสื้อนอกสีเขียวของ เปาโล คอสตา (1990-91) เสื้อ นอกสีแดงของ คลิฟฟอรด ดอคเตอรแมน (1992-93) เสื้อนอกสีอิฐของ หลุยส จิอาย (1996-97) และสีน้ําทะเลของ เกลน คินรอสส (1997-98) ประธานโรตารีสากล ราเจนดรา ซาบู เลือกสีน้ําตาลออนแบบขาวสาลี (1991-92) และ ฮิวจ อารเชอร เลือกสีเลือดหมู (1989-90) เสื้อนอกสีน้ํา เงินก็ถูกเลือกใชโดย ชารลส เคลเลอร (1987-88) บิลล ฮันทลีย (199495) เฮอรเบิรท บราวน (1995-96) เจมส เลซี (1998-99) พิชัย รัตตกุล (2002-03) คารล-วิลเฮม สเตนแฮมเมอร (2005-06) และ วิลเลียมส บอยด (2006-07) ในแตละปประธานโรตารีสากลอื่นๆ ตางก็เลือกแนว ลําดับชั้นของสีและแบบตางๆ กัน ผูนําโรตารีทั้งหลายในแตละปมักจะ คาดเดากันเกี่ยวกับสีของเสื้อนอกในปของประธานโรตารีสากลรับเลือก กอนการประชุมอบรมผูวาการภาครับเลือกซึ่งจะมีการประกาศใช

72 | โรตารี ก เอย ก ไก




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.