ขั้นตอน & เทคนิคการนิเทศงานอย่างมีประสิทธิภาพ

Page 1


ในปี ก ารศึ ก ษา 2557 ส่ ว นจั ด หางานและ ฝึกงานของนักศึกษาได้จัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์การดาเนินงานด้านการฝึกปฏิบัติงานของ นักศึกษา ระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ วิทยากรจาก ภายนอก อาจารย์และเจ้าหน้าที่ผู้ดาเนินงานที่เกี่ยวข้อง โดยได้ ก าหนดหั ว ข้ อ “เทคนิ ค การนิ เ ทศงานอย่ า งมี ประสิทธิภาพ” จากการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ใ นหั ว ข้ อ ดั ง กล่ า ว ส่วนจัดหางานและฝึกงานของนักศึกษาได้รวบรวมขั้นตอน และเทคนิ ค การนิ เ ทศงาน เพื่ อ เผยแพร่ เ ป็ น แนวปฏิ บั ติ ให้ กั บ หน่ ว ยงานและบุ ค ลากรที่ ด าเนิ น งา น ด้ า น การฝึกปฏิบัติงาน รวมถึงนักศึกษาฝึกปฏิบัติงานต่อไป ส่วนจัดหางานและฝึกงานของนักศึกษา ตุลาคม 2558


หัวข้อ

 

หน้า

ขั้นตอนการนิเทศงาน

1

เทคนิคการนิเทศงานอย่างมีประสิทธิภาพ 1. เทคนิค/วิธีการติดต่อประสานงาน 2. การเตรียมตัวก่อนเดินทาง 3. วิธีการนิเทศนักศึกษาฝึกปฏิบัติงาน ณ ต่างประเทศ 4. ลักษณะคาถามสาหรับการนิเทศงาน 5. วิธีการแก้ปัญหาเมื่อพบปัญหาระหว่าง การฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษา

6 7 7 7 8 8


     


 ขั้นตอนที่ 1 อาจารย์นิเทศในแต่ละสานั ก/สาขาวิชาร่วมกัน กาหนดแผนการนิ เทศ นั ก ศึ ก ษา ซึ่ ง จะนิ เ ทศในระหว่า งสัป ดาห์ที่ 5-12 ของการฝึ ก ปฏิ บัติ ง าน ของนั กศึกษา โดยนั กศึกษาทุกคนต้องได้รบั การนิ เทศงานอย่างน้อย 1 ครั้ง ในระหว่างที่ฝึกปฏิบตั ิงาน

 ขั้นตอนที่ 2 อาจารย์ นิ เทศด าเนิ นการประสานงานไปยั ง นั ก ศึ ก ษาและสถาน ประกอบการเพื่อแจ้งกาหนดการเข้าพบ **อาจารย์ค วรถามสถานที่ ตั้ ง ของสถานประกอบการที่ นั ก ศึ ก ษา ฝึ กปฏิ บั ติ ง านอยู่ ใ ห้ชั ด เจน เนื่ องจากนั ก ศึ ก ษาอาจถู ก มอบหมายให้ ฝึ กปฏิบตั ิงานในสาขาย่อย ซึ่ งไม่ตรงกับที่ อยูท่ ี่ แจ้งไว้แต่แรก**

 ขั้นตอนที่ 3 อาจารย์ส่ ง เอกสารประมาณการค่ า ใช้จ่ า ยและก าหนดการนิ เทศ ที่ สมบูรณ์ (ได้รับการตอบรับให้เข้านิ เทศด้วยวาจาจากสถานประกอบการ ทุ ก แห่ ง แล้ว ) ให้กับ ส่ ว นจัด หางานฯ เพื่ อ ด าเนิ น การจัด ท าบัน ทึ ก อนุ มัติ การเดิ น ทางและค่ า ใช้ จ่ า ยพร้ อ มจั ด ท าหนั งสื อ ขอเข้ า นิ เทศไปยั ง สถานประกอบการ


 ขั้นตอนที่ 4 ส่วนจัดหางานฯ จัดเตรียมเอกสารรายละเอียดการฝึ กปฏิบตั ิงานของ นั กศึกษาพร้อมแบบประเมิน รวมทั้งค่าใช้จ่ายสาหรับการเดินทางนิ เทศ ส่งมอบให้อาจารย์นิเทศก่อนวันเดินทาง 1-2 วันทาการ

 ขั้นตอนที่ 5 อาจารย์นิเทศเดินทางไปนิ เทศงานตามกาหนดนัดหมาย โดยมีหวั ข้อ การนิ เทศงานหลักๆ ดังนี้ - ตรวจสอบคุณภาพงานที่สถานประกอบการมอบหมายให้นักศึกษา – ติดตามผลการปฏิบตั ิงานของนักศึกษา - ให้คาปรึกษาและช่วยแก้ไขปั ญหาที่ อาจเกิดขึ้ นทั้งด้านวิชาการและ การพัฒนาตนเองของนักศึกษา - หากอาจารย์นิเทศพบว่าสถานประกอบการยังไม่เข้าใจในหลักการ ของสหกิ จ ศึ ก ษา/ฝึ กประสบการณ์ วิ ช าชี พ จะต้ อ งชี้ แจงให้ สถานประกอบการเข้า ใจปรัช ญาและหลัก การของสหกิ จ ศึ ก ษา/ ฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพ


 ขั้นตอนที่ 6 ในการนิ เ ทศ อาจารย์จ ะได้พ บกับ นั ก ศึ ก ษาและพนั ก งานที่ ป รึ ก ษา โดยจะมีการประชุ ม เพื่อพูดคุ ยกันแต่ละฝ่ ายโดยลาพังก่อนแล้วจึงประชุ ม พร้อมกันอีกครั้งเพื่อร่วมกันแก้ไขปั ญหาที่เกิดขึ้ น โดยอาจารย์ควรใช้เวลา ในการพบปะกับบุคคลทัง้ สองไม่นอ้ ยกว่า 1 ชั่วโมง

 ขั้นตอนที่ 7 ภายหลังการเดินทางกลับ ให้อาจารย์นิเทศประเมินผลการนิ เทศงาน ประเมินคุ ณภาพของสถานประกอบการและนั กศึกษา ตามแบบประเมิน เพือ่ ส่งมอบคืนส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา

 ขั้นตอนที่ 8 อาจารย์นิ เ ทศรวบรวมเอกสารและหลัก ฐานประกอบการเบิ กจ่า ย และแบบประเมิ น การนิ เทศงาน ส่ ง คื น ส่ ว นจั ด หางานและฝึ กงาน ของนักศึกษา ภายใน 7 วัน หลังเสร็จสิ้ นการนิ เทศงาน


กรณีอาจารย์นิเทศไม่สามารถเดินทาง ไปนิ เทศนักศึกษา ณ สถานประกอบการได้ ให้อาจารย์นิเทศดาเนินการนิเทศ ทางโทรศัพท์ โดยการพูดคุยกับนักศึกษา และพนักงานที่ปรึกษา ในหัวข้อต่อไปนี้ 1. ตรวจสอบ คุณภาพงานที่สถานประกอบการมอบหมาย ให้นักศึกษา 2. ติดตาม ผลการปฏิบตั ิงานของนักศึกษา 3. ให้คาปรึกษาและช่วยแก้ไข ปั ญหาที่อาจเกิดขึ้ น ทั้งด้านวิชาการและการพัฒนาตนเองของนักศึกษา 4. หากอาจารย์นิเทศพบว่าสถานประกอบการยังไม่เข้าใจ ในหลักการของสหกิจศึกษา/ฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพ

จะต้องชี้แจงให้สถานประกอบการเข้าใจ ภายหลัง การนิ เ ทศทางโทรศัพ ท์ ให้อ าจารย์นิ เ ทศประเมิ น ผล การนิ เทศงาน ประเมินคุ ณภาพของสถานประกอบการและนั กศึ กษา ตามแบบประเมิ น และส่ ง มอบคื น ส่ ว นจั ด หางานและฝึ กงาน ของนักศึกษา ภายใน 7 วัน หลังเสร็จสิ้ นการนิ เทศงาน



1. เทคนิค/วิธีการติดต่อประสานงานเพื่อแจ้งกาหนดการนิเทศ อาจารย์สามารถเข้าถึงข้อมูลของนักศึกษาและสถานประกอบการจากระบบบริการ การศึกษา (REG) จากนั้นประสานงานไปยังนักศึกษาและผูป้ ระสานงานของ สถานประกอบการหรือ Job Supervisor เพื่อนัดหมายวันนิ เทศ ผ่านช่องทาง ดังต่อไปนี้ >> โทรศัพท์ อีเมล์ หรือ facebook <<

2. การเตรียมตัวก่อนเดินทางไปนิเทศงาน 1. ศึกษาข้อมูลของนักศึกษา เช่น ภาระงานที่ได้รบั สอดคล้องกับสาขาวิชาที่เรียนมา และเหมาะสมกับระยะเวลาการปฏิบตั ิงาน สวัสดิการ 2. ศึกษาข้อมูลสถานประกอบการ เช่น ลักษณะธุรกิจ ผูด้ ูแลนักศึกษา สถานที่ต้งั เส้นทาง 3. ศึกษาแบบประเมินการนิ เทศเพื่อเตรียมตัวสาหรับการพูดคุย ซักถาม และประเมินผล

3. วิธีการนิเทศนักศึกษาฝึกปฏิบัติงาน ณ ต่างประเทศ อาจารย์นิเทศสามารถนิ เทศผ่านช่องทาง Social Network ต่างๆ เช่น อีเมล์ Skype Line หากไม่สามารถเดินทางไปนิ เทศงาน ณ สถานประกอบการได้


4. ตัวอย่างลักษณะคาถามสาหรับการนิเทศงาน  ถามนักศึกษา 1. นักศึกษาได้รบั มอบหมายให้ทาอะไร เป็ นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่ 2. ในขณะฝึ กปฏิบตั ิงาน นักศึกษาได้ใช้ความรูค้ วามสามารถในด้านใดบ้าง ตรงกับที่เรียนมาหรือไม่ 3. นักศึกษามีอุปสรรคหรือปั ญหาระหว่างการฝึ กปฏิบตั ิงานหรือไม่ และมีวิธีการแก้ไขปั ญหานั้นๆ อย่างไร 4. สถานประกอบการมีระบบการบริหาร สวัสดิการ ความปลอดภัยดีมากน้อยเพียงใด

 ถามสถานประกอบการ 1. คุณสมบัติของนักศึกษาที่สถานประกอบการต้องการ ช่วงเวลาที่ตอ้ งการรับฝึ กปฏิบตั ิงาน 2. สถานประกอบการมีข้นั ตอนกระบวนการอย่างไรบ้างในการดูแลนักศึกษาฝึ กปฏิบตั ิงาน 3. นักศึกษาปฏิบตั ิงานเป็ นที่น่าพอใจมากน้อยเพียงใด 4. นักศึกษามีจุดเด่น/จุดที่ตอ้ งปรับปรุงอย่างไรบ้าง 5. สถานประกอบการต้องการให้ทางมหาวิทยาลัยปรับปรุงหรือเพิ่มเติมเนื้ อหาวิชาหรือหลักสูตรใด

5. วิธีการแก้ปัญหาเมื่อพบปัญหาระหว่างการฝึกปฏิบัติงาน ของนักศึกษา เช่น ได้รับมอบหมายงานไม่ตรงกับสาขาวิชา หากอาจารย์พบปั ญหาระหว่างการนิ เทศ เช่น นักศึกษาได้รบั มอบหมายงานไม่เหมาะสม/ ไม่ตรงกับสาขาวิชา ให้อาจารย์ดาเนิ นการสอบถามข้อเท็จจริงจากสถานประกอบการ หากพบว่าเป็ นจริงให้เจรจาต่อรองกับทางสถานประกอบการเพื่อมอบหมายงาน ที่เหมาะสมให้กบั นักศึกษา หากทางสถานประกอบการไม่สามารถดาเนิ นการให้ได้ ให้แจ้งส่วนจัดหางานฯ เพื่อดาเนิ นการประสานงานกับสถานประกอบการต่อไป ศึ กษาการแก้ไขปั ญหานักศึ กษาได้จากคู่มือ “แนวทางการแก้ไขปั ญหานักศึ กษาฝึ กปฏิบตั งิ าน”




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.