Coop standard a5 @17 03 2016

Page 1

มาตรฐานและ การประกันคุณภาพ การดําเนินงาน สหกิจศึกษา


สงวนลิขสิทธิ์ ลิขสิทธิ์ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและ สมาคมสหกิจศึกษาไทย

จัดพิมพ์ โดย สมาคมสหกิจศึกษาไทย พิมพ์ครัง้ ที่ 3 พ.ศ. 2552 จํานวน 5,300 เล่ม

ข้ อมลบั ู ตรรายการ LB มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงาน สหกิจศึกษา / สมาคมสหกิจศึกษาไทย. 2331.65 .T5 นครราชสีมา : สมาคมสหกิจศึกษาไทย. ,2552 ส52 99 หน้ า 2552 บรรณานุกรมท้ ายเล่ ม 1. ประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา. 2. ประกันคุณภาพ การศึกษา. I. ชื่อเรื่ อง


คํานํา มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงาน สหกิจศึกษาของสถานศึกษาและสถานประกอบการฉบับ นี ้ จัดทํ าขึน้ โดยมี วัตถุประสงค์ เ พื่ อให้ สถานศึก ษาและ สถานประกอบการได้ ใช้ เป็ นแนวทางในการดําเนินงานสห กิจศึกษาขององค์กร เพื่อเป็ นการสร้ างระบบและกลไกใน การควบคุม ตรวจสอบและประเมินการดําเนินงานสหกิจ ศึกษาให้ เป็ นไปตามมาตรฐานที่กําหนด มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงาน สหกิจศึกษาในสถานศึกษาและสถานประกอบการฉบับนี ้ แบ่งเนื อ้ หาออกเป็ นสามส่วนได้ แก่ 1) มาตรฐานสหกิ จ ศึก ษาของสถานศึก ษา 2) มาตรฐานสหกิ จ ศึก ษาของ สถานประกอบการและ 3) การประกั น คุ ณ ภาพการ ดํ า เนิ น งานสหกิ จ ศึ ก ษา ซึ่ ง สถานศึ ก ษาและสถาน ประกอบการสามารถนําไปปรับใช้ ให้ เหมาะสมกับสภาพ ขององค์กร


การจัดทํ าเอกสารฉบับนี ไ้ ด้ รับการสนับสนุนจาก สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา (สกอ.) ซึ่ ง สมาคมสหกิจศึกษาไทย ขอขอบคุณไว้ ณ โอกาสนี ้ และ หวัง ว่ า เอกสารฉบับ นี จ้ ะเป็ นประโยชน์ แ ก่ อ งค์ ก รและ บุค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ สหกิ จ ศึก ษาในการร่ ว มกัน พัฒ นา คุณภาพและมาตรฐานสหกิจศึกษาไทย

สมาคมสหกิจศึกษาไทย


สารบัญ หน้ า คํานํา สารบัญ ส่ วนที่ 1 มาตรฐานสหกิจศึกษาของ สถานศึกษา 1 มาตรฐานการศึกษา หลักสูตร และการเรี ยนการสอน 1.1 มาตรฐานการศึกษา และ หลักสูตร 1.2 มาตรฐานการเรี ยน การสอน 2 มาตรฐานการนิเทศ 3 มาตรฐานนักศึกษา 4 มาตรฐานการวัดและ ประเมินผล

3 3 13 17 20 23


ส่ วนที่ 2 มาตรฐานสหกิจศึกษาของ สถานประกอบการ 1 มาตรฐานการบริ หารจัดการ 2 มาตรฐานวิชาการ 3 มาตรฐานผู้นิเทศงาน 4 มาตรฐานการวัดและ ประเมินผล ส่ วนที่ 3 การประกันคุณภาพการดําเนินงาน สหกิจศึกษา ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค ภาคผนวก ง

33 36 37 39 43

59 83 91 97


ส่ วนที่ 1 มาตรฐานสหกิจศึกษาของ สถานศึกษา


ส่ วนที่ 1 มาตรฐานสหกิจศึกษา ของสถานศึกษา 1. มาตรฐานการศึกษา หลักสตร ู และการเรี ยนการ สอน 1.1 มาตรฐานการศึกษา และหลักสตร ู หลั ก สู ต รสํ า หรั บ สหกิ จ ศึ ก ษาที่ กํ า หนดโดย สถานศึ ก ษาและอนุ มั ติ โ ดยสภามหาวิ ท ยาลั ย ของ สถานศึกษาต้ องสอดคล้ องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า ต รี พ . ศ . 2 5 4 8 ข อ ง สํ า นั ก ง า น คณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึง่ มีสาระสําคัญ ดังนี ้ 1) ปรั ช ญาและวั ต ถุ ป ระสงค์ ข อง หลักสูตรสหกิจศึกษา มุ่งให้ มีความสัมพันธ์สอดคล้ องกับ แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาของชาติ ปรัชญา 3

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


ของการอุดมศึกษา ปรัชญาของสถาบันอุดมศึกษาและ มาตรฐานวิชาการและวิชาชีพของสาขาวิชานัน้ ๆ โดย มุง่ เน้ นการผลิตบัณฑิตให้ มีความรอบรู้ ทังภาคทฤษฎี ้ และ ภาคปฏิบตั ิ สามารถนําไปประยุกต์ใช้ ได้ อย่างเหมาะสม มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ อย่าง เป็ นระบบหมัน่ แสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง และสามารถ ติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้ เป็ นอย่างดี รวมทังให้ ้ เป็ นผู้มี คุณธรรมและจริ ยธรรม 2) การนับหน่วยกิตรายวิชาภาคทฤษฎี ภาคปฏิบตั ิ การฝึ กงานและโครงงานให้ เทียบกับเวลาที่ใช้ ในการเรี ยนการสอน ดังรายละเอียดแสดงในตารางที่ 1

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

4


ตารางที่ 1 การเทียบหน่วยกิ ตกับเวลาที่ใช้ ในการเรี ยน การสอนตามเกณฑ์ ม าตรฐานหลัก สูต รระดับ ปริ ญญาตรี พ.ศ. 2548 ของสํ า นั ก งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา

เวลา เทียบเท่ า 1 หน่ วยกิต (ชั่วโมง)

ภาค ทฤษฎี

ภาค ปฏิบัติ

การฝึ กงาน/ การฝึ ก ภาคสนาม

โครงงาน/ อื่นๆ

15

ไม่น้อย กว่า 30

45

45

3) จํ า นวนหน่ ว ยกิ ต และระยะเวลา การศึกษาสํ าหรั บหลักสูตรปริ ญญาตรี ให้ ส อดคล้ องกับ ระยะเวลาที่ใช้ ศกึ ษาดังรายละเอียดแสดงในตารางที่ 2

5

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


ตารางที่ 2 จํานวนหน่วยกิตและระยะเวลาการศึกษา สําหรับหลักสูตรปริ ญญาตรี ตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. 2548 ของสํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา

หลักสตร ู

ปริ ญญาตรี 4 ปี ปริ ญญาตรี 5 ปี ปริ ญญาตรี ไม่ น้ อยกว่า 6 ปี

120 150

ระยะเวลา การศึกษา สําหรั บการ ลงทะเบียน เรี ยนเต็ม เวลา (ปี ) 8 10

ระยะเวลา การศึกษา สําหรั บการ ลงทะเบียน เรี ยนไม่ เต็ม เวลา (ปี ) 12 15

180

12

18

จํานวน หน่ วยกิต ขัน้ ตํ่า (หน่ วยกิต)

4) โครงสร้ างหลักสูตร ประกอบด้ วย หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป หมวดวิชาเฉพาะ และหมวดวิชา มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

6


เลือกเสรี โดยมีสดั ส่วนจํานวนหน่วยกิตของแต่ละหมวด วิชา ดังแสดงในตารางที่ 3 ตารางที่ 3 โครงสร้ างหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. 2548 ของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หมวด วิชา วิชา ศึกษา ทัว่ ไป

7

จํานวน ลักษณะรายวิชา หน่ วย กิต วิชาที่ม่งุ พัฒนาผู้เรี ยนให้ มีความรอบรู้อย่าง ไม่น้อย กว้ างขวางมีโลกทัศน์ที่กว้ างไกล มีความ กว่า 30 เข้ าใจธรรมชาติ ตนเอง ผู้อื่น และสังคม เป็ น หน่วยกิต ผู้ใฝ่ รู้ สามารถคิดอย่างมีเหตุผลสามารถใช้ ภาษาในการติดต่อสื่อสารความหมายได้ ดี มี คุณธรรม ตระหนักในคุณค่าของศิลปะและ วัฒนธรรมทั้งของไทยและของประชาคม นานาชาติ สามารถนําความรู้ไปใช้ ในการ ดําเนินชีวิตและดํารงตนอยูใ่ นสังคมได้ เป็ น อย่างดี มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


ตารางที่ 3 โครงสร้ างหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. 2548 ของ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ต่อ) จํานวน ลักษณะรายวิชา หน่ วย กิต วิชา วิชาแกน วิชาเฉพาะด้ าน วิชาพื ้นฐานวิชาชีพ ไม่น้อย เฉพาะ และวิชาชีพ ที่ม่งุ หมายให้ ผ้ เู รี ยน กว่า 84 มีความรู้ ความเข้ าใจ และปฏิบตั งิ านได้ หน่วยกิต วิชา วิชาที่ม่งุ ให้ ผ้ เู รี ยนมีความรู้ ความเข้ าใจ ไม่น้อย เลือกเสรี ตามที่ตนเองถนัดหรื อสนใจ โดยเปิ ดโอกาส กว่า 6 ให้ ผ้ เู รี ยนเลือกเรี ยนรายวิชาใด ๆ หน่วยกิต ในหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี หมวด วิชา

นอกจากนี ้ เพื่ อ ให้ บั ณ ฑิ ต ที่ สํ า เร็ จ การศึ ก ษาจากหลัก สู ต รระดับ ปริ ญ ญาตรี ที่ มี ร ายวิ ช า สหกิ จ ศึก ษามี ค วามพร้ อมในการปฏิ บัติ ง านในวิ ช าชี พ ควบคุม สถานศึกษาต้ องกําหนดหลักสูตรระดับปริ ญญา มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

8


ตรี ใ นสาขาวิ ช าชี พ ควบคุ ม เช่ น วิ ศ วกร ครู เภสั ช กร นั ก บั ญ ชี สั ต วแพทย์ นั ก กฎหมาย แพทย์ พยาบาล สถาปนิก เป็ นต้ น ให้ สอดคล้ องกับเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ ควบคุมตามกฎหมายที่กําหนดโดยองค์กรวิชาชีพควบคุม ตามกฎหมาย อาทิ สภาวิศวกร คุรุสภา และ สภาเภสัช กรรม ทั ง้ นี อ้ งค์ ก รวิ ช าชี พ ควบคุ ม ส่ ว นใหญ่ กํ า หนด โครงสร้ างหลักสูตรให้ มีหมวดวิชาต่างๆ ดังรายละเอียด แสดงในตารางที่ 4 ตารางที่ 4 โครงสร้ างหลักสูตรตามเกณฑ์องค์กรวิชาชีพ ควบคุมตัวอย่าง (สภาวิศวกร คุรุสภา และ สภาเภสัชกรรม) รายละเอียด ข้ อกําหนด องค์กรวิชาชีพ ควบคุม หมวดวิชา ศึกษาทัว่ ไป

9

วิศวกร สภาวิศวกร ไม่กําหนด

ครู

เภสัชกร

คุรุสภา

สภา เภสัชกรรม ไม่น้อยกว่า 30 ไม่กําหนด หน่วยกิต

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


ตารางที่ 4 โครงสร้ างหลักสูตรตามเกณฑ์องค์กรวิชาชีพ ควบคุมตัวอย่าง (สภาวิศวกร คุรุสภา และ สภาเภสัชกรรม) (ต่อ) รายละเอียด วิศวกร ข้ อกําหนด หมวดวิชา ไม่น้อยกว่า พื ้นฐานทาง 18 หน่วยกิต วิทยาศาสตร์ - ฟิ สิกส์ ไม่น้อยกว่า 6 - คณิตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 9 - เคมี ไม่น้อยกว่า 3

ครู ไม่กําหนด

เภสัชกร ไม่กําหนด

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

10


ตารางที่ 4 โครงสร้ างหลักสูตรตามเกณฑ์องค์กรวิชาชีพ ควบคุมตัวอย่าง (สภาวิศวกร คุรุสภา และ สภาเภสัชกรรม) (ต่อ) รายละเอียด วิศวกร ครู เภสัชกร ข้ อกําหนด ไม่น้อยกว่า 90 ไม่น้อยกว่า ไม่น้อยกว่า หมวดวิชา 125 หน่วยกิต 120 หน่วยกิต เฉพาะด้ าน หน่วยกิต - วิศวกรรม พื ้นฐานไม่ น้ อยกว่า 18 (6 รายวิชา) - วิศวกรรม ควบคุมไม่ น้ อยกว่า 12 (4 รายวิชา)

11

- วิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า 50 - วิชาเฉพาะ ด้ าน ไม่น้อย กว่า 75

และไม่น้อยกว่า ร้ อยละ 65 - ด้ านผลิตภัณฑ์ไม่ น้ อยกว่า ร้ อยละ 25* - ด้ านผู้ป่วย ไม่น้อยกว่า ร้ อยละ 30* - ด้ านสังคมและ การบริหาร ไม่น้อยกว่า ร้ อยละ 10*

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


ตารางที่ 4 โครงสร้ างหลักสูตรตามเกณฑ์องค์กรวิชาชีพ ควบคุมตัวอย่าง (สภาวิศวกร คุรุสภา และ สภาเภสัชกรรม) (ต่อ) รายละเอียด ข้ อกําหนด หมวดวิชา เลือกเสรี การฝึ กปฏิบตั ิ ทางวิชาชีพ

ระยะเวลา หลักสูตร

วิศวกร ไม่กําหนด ไม่กําหนด

4 ปี

ครู ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต มีการปฏิบตั ิ การสอนเป็ น เวลาไม่น้อย กว่า 1 ปี 5 ปี

เภสัชกร ไม่กําหนด ไม่น้อยกว่า 500 ชัว่ โมง หรื อไม่น้อย กว่า 5 หน่วย กิต 6 ปี

หมายเหตุ : * ร้ อยละของรายวิชาทางวิชาชีพเภสัชศาสตร์ ที่ศกึ ษา ในหลักสูตร

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

12


อนึ่ง สถานศึกษาต้ องตรวจสอบกับองค์กรวิชาชีพควบคุม ด้ วยว่าองค์ กรวิชาชี พนัน้ ๆ นับ หน่วยกิ ต รายวิชาสหกิ จ ศึกษาให้ อยู่ในหมวดวิชาเฉพาะด้ วยหรื อไม่ โดยรายวิชา สหกิจศึกษาต้ องมีจํานวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 6 หน่วย กิ ต และสถานศึก ษาต้ อ งมี ร ายวิ ช าเตรี ย มความพร้ อม นักศึกษาก่อนไปสหกิจศึกษา หรื อ ต้ องมีการอบรมเตรี ยม ความพร้ อมนักศึกษาก่อนไปสหกิจศึกษาไม่น้อยกว่า 30 ชัว่ โมง 1.2 มาตรฐานการเรี ยนการสอน มาตรฐานขัน้ ตํ่า 1) สถานศึ ก ษาต้ อ งจั ด ให้ มี ก ารปฐมนิ เ ทศ นัก ศึกษาสหกิ จ ศึก ษา เพื่อชี แ้ จงให้ นักศึกษาได้ รับขัอมูล และมีความรู้ ความ เข้ าใจเกี่ยวกับสหกิจศึกษา

13

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


2) สถานศึ ก ษาต้ องมี ก ระบวนการเตรี ย ม ความพร้ อมนักศึกษาก่อนไปปฏิบตั ิสหกิจ ศึกษาโดยใช้ เวลาไม่น้อยกว่า 30 ชัว่ โมง 3) สถานศึ ก ษาต้ อ งกํ า หนดคุณ สมบัติ แ ละ เงื่ อ นไขทางวิ ช าการของนั ก ศึ ก ษาที่ สามารถไปปฏิบตั ิสหกิจศึกษา 4) สถานศึ ก ษาต้ องกํ า หนดช่ ว งเวลาที่ นั ก ศึ ก ษาปฏิ บั ติ ส หกิ จ ศึ ก ษาไม่ ตํ่ า กว่า 16 สัปดาห์อย่างต่อเนื่อง โดยต้ องเป็ นการ ปฏิ บั ติ ง านเต็ ม เวลา และไม่ ส ามารถ ลงทะเบี ย นเรี ย นรายวิ ช าอื่ น ใดได้ ใ นช่ ว ง ปฏิบตั ิสหกิจศึกษา 5) สถานศึกษาต้ องจัดหางานที่มีลกั ษณะเป็ น โครงงานหรื อ งานประจํ า ที่ ต รงกับ สาขา วิชาชีพและเน้ นประสบการณ์การทํางาน

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

14


6) สถานศึ ก ษาต้ องเปิ ดโอกาสให้ สถาน ประกอบการได้ คดั เลือกนักศึกษา 7) สถานศึก ษาต้ อ งเปิ ดโอกาสให้ นัก ศึก ษา เลือกสถานประกอบการตามความสมัครใจ 8) สถานศึกษาต้ องทําความตกลงกับสถาน ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ ห้ ทุ ก ตํ า แ ห น่ ง ง า น มี ค่ า ตอบแทน และ สวัส ดิ ก ารต่ า งๆ ตาม ความเหมาะสมและจํ า เป็ นตามลัก ษณะ งาน 9) สถานศึ ก ษาต้ องจั ด ให้ มี ก ารนิ เ ทศของ คณาจารย์นิเทศ 10) สถานศึ ก ษาต้ องจั ด ให้ มี ก ารสั ม มนา แ ล ก เ ป ลี่ ย น ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ร ะ ห ว่ า ง นั ก ศึ ก ษ า ค ณ า จ า ร ย์ นิ เ ท ศ แ ล ะ คณาจารย์สาขาวิชา

15

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


11) กระบวนการประเมิน ผลการปฏิ บัติงาน สหกิจศึกษาต้ องถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งของ ระบบการประเมินและวัดผล และเป็ นไป ตามมาตรฐานของสถานศึกษานันๆ ้ มาตรฐานส่ งเสริม 1) สถานศึกษาควรให้ ข้อมูลลักษณะงานเพื่อ ประกอบการตัดสินใจของนักศึกษาในการ เลือกสถานประกอบการ 2) จํานวนตําแหน่งงานควรมากกว่าจํ านวน นั ก ศึ ก ษาในแต่ ล ะสาขาวิ ช าอย่ า งน้ อย ร้ อยละ 10 3) สถานศึกษาควรจัดให้ มีการพบกันระหว่าง นั ก ศึ ก ษ า ส ถ าน ป ร ะ ก อ บ ก า ร แ ล ะ คณาจารย์นิเทศ 4) ส ถ า น ศึ ก ษ า ค ว ร จั ด ใ ห้ มี สั ม ภ า ษ ณ์ นักศึกษาสหกิจศึกษาโดยคณาจารย์นิเทศ และคณาจารย์ ส าขาวิ ช าภายหลั ง การ มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา 16


ป ฏิ บั ติ ส ห กิ จ ศึ ก ษ า เ พื่ อ นํ า ข้ อ มู ล ป ร ะ ก อ บ ก า ร พั ฒ น า / ป รั บ ป รุ ง ก า ร ดําเนินงานสหกิจศึกษา 5) สถานศึ ก ษาควรจั ด ให้ มี ก ารสั ม มนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักศึกษา คณาจารย์นิเทศ คณาจารย์สาขาวิชา และ ผู้นิเทศงาน 6) สถานศึ ก ษาควรจั ด ทํ า และปรั บ ปรุ ง ฐานข้ อมูลสถานประกอบการ 2. มาตรฐานการนิเทศ มาตรฐานขัน้ ตํ่า 1) คณาจารย์ นิเ ทศต้ องมีประสบการณ์ การ สอนไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา และผ่าน การอบรมการนิ เ ทศงานโดยหน่ ว ยงานที่ ได้ รับการรับรองจาก สกอ. 17

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


2) สถานศึ ก ษาต้ อ งจั ด ระบบพี่ เ ลี ย้ งให้ แก่ คณาจารย์นิเทศที่ยงั ไม่มีประสบการณ์การ นิเทศ ทังนี ้ ้ ตามที่สถานศึกษากําหนด 3) คณาจารย์นิเทศต้ องเป็ นคณาจารย์ประจํา สาขาวิชาที่นกั ศึกษาสังกัดอยู่ 4) ส ถ า น ศึ ก ษ า ต้ อ ง นั ด ห ม า ย ส ถ า น ประกอบการเพื่อให้ คณาจารย์นิเทศเข้ ามา นิเทศนักศึกษา ณ สถานประกอบการ 5) ค ณ า จ า ร ย์ นิ เ ท ศ ต้ อ ง ไ ด้ รั บ เ อ ก ส า ร ประกอบการนิ เ ทศ อาทิ ลั ก ษณะงาน ประวัติ นัก ศึก ษา ฯลฯ ไม่ น้ อ ยกว่ า 7 วัน ก่อนกําหนดการนิเทศ 6) คณาจารย์ นิ เ ทศต้ องมี แ ผนการนิ เ ทศ นักศึกษา 7) สถานศึ ก ษาต้ องจั ด ให้ คณาจารย์ ใ น สาขาวิ ช าไปนิ เ ทศงานขณะนั ก ศึ ก ษา มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

18


ปฏิบตั ิงานอย่างน้ อย 1 ครัง้ โดยเป็ นการไป พบนักศึกษา ณ สถานประกอบการ 8) ในการนิ เ ทศต้ องจั ด ให้ มี ก ารประชุ ม (พบปะ - หารื อ ) ระหว่ า งผู้นิ เ ทศงานกับ คณาจารย์ นิ เ ทศ นัก ศึก ษากับ คณาจารย์ นิเทศ และประชุมร่วมทังสามฝ่ ้ าย 9) คณาจารย์ นิเทศต้ องใช้ เวลาในการนิเทศ ไม่น้อยกว่า 1 ชัว่ โมงต่อครัง้ 10) ค ณ า จ า ร ย์ นิ เ ท ศ ต้ อ ง ติ ด ต า ม ความก้ า วหน้ า ของนัก ศึก ษา ประเมิ น ผล และให้ ข้อเสนอแนะแก่นกั ศึกษาตามความ จําเป็ นของแต่ละสาขาวิชา มาตรฐานส่ งเสริม 1) คณาจารย์ นิ เ ทศควรตรวจรู ป แบบการ นําเสนอผลงาน และให้ ข้อเสนอแนะแก่ นักศึกษา 19

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


2) ในช่ ว งระยะกึ่ ง กลางของสหกิ จ ศึ ก ษา คณาจารย์นิเทศควรเข้ ารับฟั งการนําเสนอ ความก้ าวหน้ าของโครงงานหรื อ งานที่ ปฏิ บัติ ข องนัก ศึก ษา ร่ ว มกับ ผู้ นิ เ ทศงาน และให้ ข้อเสนอแนะ 3) ในช่ ว งสัป ดาห์ สุ ด ท้ ายของสหกิ จ ศึ ก ษา คณาจารย์นิเทศควรเข้ ารับฟั งการนําเสนอ ผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ร่ วมกับผู้ นิ เ ทศงาน และผู้ บริ หารองค์ ก ร และ ประเมินผลงานพร้ อมให้ ข้อเสนอแนะ 3. มาตรฐานนักศึกษา 3.1 คุณสมบัติพืน้ ฐานของนักศึกษาก่อนไปสหกิ จ ศึกษา มาตรฐานขัน้ ตํ่า 1) นักศึกษาต้ องผ่านเงื่ อนไขรายวิชาตามที่ สถานศึกษากําหนด มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

20


2) นั ก ศึ ก ษาต้ องมี คุ ณ สมบั ติ ที่ จ ะสํ า เร็ จ การศึกษาและไม่อยู่ระหว่างการถูกลงโทษ ทางวิ นั ย โดยให้ อยู่ ใ นดุ ล ยพิ นิ จของ สถานศึกษา 3) นักศึกษาต้ องเข้ าร่วมกิจกรรมเตรี ยมความ พร้ อมนักศึกษาก่อนไปปฏิบตั ิสหกิจศึกษา 3.2 กิจกรรมต่างๆ ระหว่างปฏิบตั ิงาน มาตรฐานขัน้ ตํ่า 1) นั ก ศึ ก ษ า ต้ อ ง บั น ทึ ก ร า ย ง า น ก า ร ปฏิบตั ิงานประจําวัน หรื อ ประจําสัปดาห์ 2) นักศึกษาต้ องส่งรายงานความก้ าวหน้ าต่อ ผู้นิเทศงานและคณาจารย์นิเทศไม่ช้ากว่า สัป ดาห์ ที่ 10 ของการปฏิ บัติ ง านสหกิ จ ศึกษา 3) นั ก ศึ ก ษาต้ องส่ ง (ร่ าง)รายงานฉบั บ สมบูรณ์ให้ คณาจารย์นิเทศและผู้นิเทศงาน ก่อนเสร็ จสิ ้นการปฏิบตั ิงานและต้ องแก้ ไข 21

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


ตามที่ ค ณาจารย์ นิ เ ทศและผู้ นิ เ ทศงาน แนะนําให้ เรี ยบร้ อย 4) นัก ศึก ษาต้ อ งส่ง รายงานฉบับ สมบูร ณ์ ที่ ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ เผยแพร่ ไ ด้ จากสถาน ประกอบการให้ คณาจารย์ นิ เ ทศและผู้ นิเทศงาน มาตรฐานส่ งเสริม 1) ในช่ ว งสัป ดาห์ สุ ด ท้ ายของสหกิ จ ศึ ก ษา นัก ศึก ษาควรนํ า เสนอผลการปฏิ บัติง าน ต่ อ ผู้ นิ เ ท ศ ง า น แ ล ะ ผู้ บ ริ ห า ร ส ถ า น ประกอบการ 3.3 คุณภาพรายงานทางวิชาการ มาตรฐานขัน้ ตํ่า 1) รายงานต้ องมี ม าตรฐานเช่ น เดี ย วกั บ รายงานทางวิชาการทัว่ ไป

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

22


3.4 การร่ ว มสั ม มนาแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ระหว่างนักศึกษา มาตรฐานขัน้ ตํ่า 1) นักศึกษาต้ องนําเสนอผลการปฏิบตั ิสหกิจ ศึกษาในการสัมมนาสหกิจศึกษาระหว่าง คณาจารย์ นิ เ ทศ นั ก ศึ ก ษาสหกิ จ ศึ ก ษา และนักศึกษาของแต่ละสาขาวิชาหลังกลับ จากปฏิบตั ิสหกิจศึกษา 4. มาตรฐานการวัดและประเมินผล มาตรฐานขัน้ ตํ่า 1) กระบวนการเตรี ยมความพร้ อมให้ นักศึกษาก่อนไปสหกิจศึกษา นักศึกษา - เวลาเข้ ารั บการอบรมไม่ น้ อยกว่ า ร้ อยละ 80 23

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


- ผ่ า นเกณฑ์ ต ามที่ ส ถานศึก ษากํ า หนด เช่น การสอบ การทํารายงาน การดําเนินงาน - ความพึงพอใจของนักศึกษาที่เข้ ารับการ อบรม - การอบรมมี เ นื อ้ หาที่ จํ า เป็ นต่ อ การ พัฒนาทักษะอาชีพ 2) กระบวนการจัด หางานที่ มี ลัก ษณะเป็ น โ ค ร ง ง า น ห รื อ ง า น ป ร ะ จํ า ที่ เ น้ น ประสบการณ์ ก ารทํ า งาน และตรงกั บ สาขาวิชา การดําเนินงาน - จํานวนงานพอเพียงกับจํานวนนักศึกษา - ความพึ ง พอใจของนัก ศึ ก ษาต่ อ สถาน ประกอบการ

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

24


3) กระบวนการรับรองคุณภาพงาน การดําเนินงาน - คณาจารย์ ป ระจํ า สาขาวิ ช าพิ จ ารณา รับรองงานก่อนให้ นกั ศึกษาเลือก - คณาจารย์ ป ระเมิ น คุณค่า ทางวิ ช าการ ของงาน - งานที่นักศึกษาทํามีประโยชน์ ต่อสถาน ประกอบการ 4) กระบวนการคัด เลื อ กและจับ คู่ร ะหว่ า ง นั ก ศึ ก ษ า ส ห กิ จ ศึ ก ษ า แ ล ะ ส ถ า น ประกอบการ การดําเนินงาน - นัก ศึก ษาเลื อ กสถานประกอบการโดย ความสมัครใจ

25

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


- สถานประกอบการมี โ อกาสคั ด เลื อ ก นักศึกษา - ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า ต่ อ กระบวนการคัดเลือกและจับคู่ - ความพึงพอใจของสถานประกอบการต่อ กระบวนการคัดเลือกและจับคู่ - เมื่ อ สิ น้ สุ ด การปฏิ บั ติ ส หกิ จ ศึ ก ษา สถานศึ ก ษาต้ อ งประเมิ น ความพร้ อม ของสถานประกอบการ 5) กระบวนการนิเทศงานสหกิจศึกษา นักศึกษา - ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ และ การประยุกต์ใช้ - การปรับตัว และปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบ ของสถานประกอบการ - ความก้ าวหน้ าของงานเป็ นไปตามแผน มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

26


- การสื่อสาร และการนําเสนอผลงาน - ความคิดสร้ างสรรค์ และความสามารถ ในการทํางานด้ วยตนเอง - การนิเทศงานต้ องเป็ นส่วนหนึ่งของการ วัดและประเมินผลรายวิชาสหกิจศึกษา การดําเนินงาน - ระยะเวลาที่ ค ณาจารย์ นิ เ ทศได้ รั บ เอกสารประกอบการนิเทศ - มีการติดตามการนิเทศงาน - ความพึงพอใจของสถานประกอบการต่อ กระบวนการติดต่อ และประสานงานการ นิเทศ คุณภาพการนิเทศงานของคณาจารย์ นิเทศ - เวลาที่คณาจารย์ นิเทศใช้ เพี ยงพอตาม ความจําเป็ นของนักศึกษา

27

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


- ก า ร นิ เ ท ศ ข อ ง ค ณ า จ า ร ย์ นิ เ ท ศ มี ประโยชน์ต่อการปฏิบตั ิสหกิจศึกษาของ นักศึกษา - ก า ร นิ เ ท ศ ข อ ง ค ณ า จ า ร ย์ นิ เ ท ศ มี ประโยชน์ตอ่ สถานประกอบการ 6) กระบวนการจัดสัมมนาแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น นักศึกษา - คุ ณ ภาพของการนํ า เสนอผลงาน : ความรู้ ทางวิชาการ ทักษะการนําเสนอ การตอบคําถาม - การสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต้ อง เป็ นส่วนหนึ่งของการวัดและประเมินผล รายวิชาสหกิจศึกษา

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

28


การดําเนินงาน - ร้ อยละของคณาจารย์ ที่ เ ข้ าร่ ว มการ สัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 7) กระบวนการประเมิ น ผลการปฏิ บัติง าน สหกิจศึกษา นักศึกษา - ต้ องประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านจาก ความสามารถในการทํ า งาน โดย สถานศึกษาต้ องชี ้แจงรายละเอียด และ เกณฑ์ให้ นกั ศึกษาทราบ - ต้ องมีสดั ส่วนการประเมินผลของสถาน ประกอบการไม่น้อยกว่าร้ อยละ 50 - ผู้ นิ เ ทศงานควรให้ ความคิ ด เห็ น ต่ อ จุดเด่นและข้ อควรปรับปรุงของนักศึกษา - นัก ศึ ก ษาควรประเมิ น พัฒ นาการของ ตนเองแต่การประเมินนีไ้ ม่เป็ นส่วนหนึ่ง 29

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


ของระบบการวัด และประเมิ น ผลของ รายวิชาสหกิจศึกษา การดําเนินงาน - คณาจารย์ นิ เ ทศต้ อ งแจ้ ง ข้ อ มูล การวัด และประเมินผลให้ นกั ศึกษาทราบ - ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ก า ร ประสานงานกับสถานศึกษาในภาพรวม

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

30


ส่ วนที่ 2 มาตรฐานสหกิจศึกษาของ สถานประกอบการ



ส่ วนที่ 2 มาตรฐานสหกิจศึกษา ของสถานประกอบการ 1. มาตรฐานการบริหารจัดการ 1.1 นโยบายและการบริหาร มาตรฐานขัน้ ตํ่า 1) มีนโยบายในการสนับสนุนการดําเนินงาน สหกิจศึกษา 2) ผู้บริ หารให้ ความสําคัญต่อการดําเนินงาน สหกิจศึกษา 3) บุคลากรที่ เ กี่ ยวข้ องตระหนัก รู้ และเข้ าใจ เกี่ ย วกั บ หลั ก การ แนวคิ ด ตลอดจน ประโยชน์ ที่สถานประกอบการจะได้ รับใน การดําเนินงานสหกิจศึกษา

33

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


มาตรฐานส่ งเสริม 1) ควรให้ นัก ศึก ษาได้ มี ก ารนํ า เสนอผลการ ปฏิ บัติ ง านและประสบการณ์ ที่ ไ ด้ รั บ ต่ อ สถานประกอบการ 1.2 การจัดบุคลากร มาตรฐานขัน้ ตํ่า 1) จั ด ให้ บุ ค ลากรที่ มี ห น้ าที่ เ กี่ ย วข้ องของ สถานประกอบการทําหน้ าที่ประสานงาน ด้ านสหกิจศึกษา 2) มีผ้ ูนิเทศงานที่มีคุณวุฒิหรื อประสบการณ์ ตรงตามสาขาวิชาชีพของนักศึกษา 1.3 การจัดงบประมาณ และทรั พยากร มาตรฐานขัน้ ตํ่า 1) มีค่าตอบแทน และ สวัสดิการในอัตราที่มี ความเหมาะสมและจํ า เป็ นตามลัก ษณะ งาน มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

34


2) มี อุป กรณ์ เ ครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ ที่ เ หมาะสม สําหรับการปฏิบตั ิงานของนักศึกษา 3) มี ค วามปลอดภัย ต่ อ การปฏิ บัติ ง านของ นักศึกษา 1.4 การเสนองานสหกิจศึกษาแก่ สถานศึกษา มาตรฐานขัน้ ตํ่า 1) มีการเสนองานสหกิจศึกษาแก่สถานศึกษา อ ย่ า ง น้ อ ย 1 ภ า ค ก า ร ศึ ก ษ า ก่ อ น ที่ นักศึกษาจะไปปฏิบตั ิงาน 1.5 การคัดเลือกนักศึกษาเข้ าปฏิบตั งิ าน มาตรฐานขัน้ ตํ่า 1) มี ก ระบวนการและเกณฑ์ ก ารคั ด เลื อ ก นักศึกษาเข้ าปฏิบตั ิงาน มาตรฐานส่ งเสริม 1) มีการให้ คําแนะนํ าแก่นักศึกษาที่ไม่ได้ รับ การคัด เลื อ กเพื่ อ ให้ นัก ศึก ษาได้ มี โ อกาส 35

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


ปรั บปรุ งตนเองสําหรั บการสมัครงานครั ง้ ต่อไปโดยให้ สถานศึกษาเป็ นผู้ประสานงาน 2. มาตรฐานวิชาการ 2.1 การเตรียมความพร้ อมนักศึกษา มาตรฐานขัน้ ตํ่า 1) มี ก ารปฐมนิ เ ทศ สอนงาน และจั ด ให้ นัก ศึก ษาได้ เ ห็ น ภาพรวมการดํ า เนิ น การ ของสถานประกอบการ ตลอดจนกฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ 2.2 การจัดประสบการณ์ ให้ นักศึกษาในระหว่ าง การปฏิบตั งิ าน มาตรฐานขัน้ ตํ่า 1) นั ก ศึ ก ษาได้ รั บ การปฏิ บั ติ เ สมื อ นเป็ น พนั ก งานชั่ ว คราวเต็ ม เวลาของสถาน ประกอบการ

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

36


2) มี ก ารกํ าหนดภาระงาน หรื อ หั ว ข้ อ โครงงานที่ตรงกับวิชาชีพและประสบการณ์ การทํางาน มาตรฐานส่ งเสริม 1) ควรมี ก ารอบรมเสริ มทั ก ษะเฉพาะที่ เกี่ยวข้ องในการปฏิบตั ิงาน 2) ควรจัดกิจกรรมให้ นกั ศึกษามีโอกาสเผชิญ ปั ญหาที่ ท้ าทาย ได้ ไตร่ ต รอง ได้ สร้ าง ความรู้ ใหม่ และประยุกต์ ใช้ ในสภาพการ ปฏิบตั ิงานจริ งได้ 3. มาตรฐานผ้ ูนิเทศงาน มาตรฐานขัน้ ตํ่า 1) เป็ นผู้มีคณ ุ วุฒิไม่ตํ่ากว่าระดับปริ ญญาตรี ใ สาขาวิ ช าชี พเดี ย วกั บ นั ก ศึ ก ษาหรื อ ใกล้ เคียงหรื อเป็ นผู้มีความชํานาญในสาขา วิชาชีพเดียวกับนักศึกษา 37

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


2) มี ก ารให้ คํ า ปรึ ก ษา ติ ด ตาม แนะนํ า การ ปฏิบตั ิงานสหกิ จศึกษาของนักศึกษาและ ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ภายใน ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ ห้ เ ป็ น ไ ป ต า ม วัตถุประสงค์ 3) ตรวจสาระรายงานและให้ ข้อเสนอแนะใน การเขียนรายงานสหกิจศึกษา 4) ประเมิ น ผลการปฏิ บัติ ง านของนัก ศึก ษา แ ล ะ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล เ พื่ อ นํ า เ ส น อ ต่ อ สถานศึกษา และองค์กรของตนเอง มาตรฐานส่ งเสริม 1) ควรเข้ าร่ ว มรั บ ฟั งการนํ า เสนอผลการ ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า แ ล ะ ใ ห้ ข้ อเสนอแนะ

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

38


4. มาตรฐานการวัดและประเมินผล มาตรฐานขัน้ ตํ่า 1) มีกระบวนการการตรวจสอบลักษณะงาน และคุณ ภาพงานให้ ส อดคล้ อ งกับ สาขา วิชาชีพของนักศึกษา และเป็ นประโยชน์กบั สถานประกอบการ 2) มี ก ระบวนการกํ า กับ ดูแ ลการปฏิ บัติ ง าน ของนักศึกษา 3) มี ก ระบวนการให้ คํ า ปรึ ก ษาทางวิ ช าการ วิชาชีพ และให้ คําแนะนําในการปรับตัวให้ เข้ ากับการปฏิบตั ิงาน 4) มี ก ระบวนการวั ด และประเมิ น ผลการ ปฏิบตั ิงานของนักศึกษา 5) มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้

39

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา



ส่ วนที่ 3 การประกันคุณภาพ การดําเนินงาน สหกิจศึกษา



ส่ วนที่ 3 การประกันคุณภาพการ ดําเนินงานสหกิจศึกษา ตั ว ชี ว้ ั ด คุ ณ ภาพการดํ า เนิ น งานสหกิ จ ศึ ก ษา หมายถึง ข้ อกํ าหนดเกี่ ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่ พึง ประสงค์ ใ ห้ เกิ ด ขึ น้ ในการดํ า เนิ น งานสหกิ จ ศึ ก ษาใน สถาบัน อุด มศึก ษา เพื่ อ ใช้ เ ป็ นแนวทางในการประเมิ น คุณภาพการดําเนินงาน การกํ ากับดูแล และการพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานสหกิ จศึกษา ใน 5 องค์ ประกอบ โดยมีการกระจายนํ ้าหนักของแต่ละองค์ประกอบดังนี ้

43

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


1.

2.

3.

4.

องค์ ประกอบ หลักสูตรสหกิจศึกษา 1.1 มีระบบและกลไกในการพัฒนา และบริ หารหลักสูตรสหกิจศึกษา การเรี ยนการสอน 2.1 มีระบบและกลไกในการส่งเสริ ม การเรี ยนการสอนสหกิจศึกษา กระบวนการนิเทศการปฏิบตั ิงาน 3.1 ระดับความสําเร็จของกระบวน การนิเทศการปฏิบตั ิงาน ผลการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษาของ นักศึกษา 4.1 ร้ อยละของโครงงาน/การ ปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษาที่สถาน ประกอบการนําไปใช้ ประโยชน์

นํา้ หนัก 10

20

20

20

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

44


องค์ ประกอบ 4.2 ร้ อยละของนักศึกษาที่ได้ รับการ เสนองานจากสถานประกอบการ ที่ไปปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา ถ้ ามี ตําแหน่งงานว่าง 5. ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้ องกับการ ปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา 5.1 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษา สหกิจศึกษา ผู้นิเทศงาน และ คณาจารย์นิเทศ รวม องค์ ประกอบ 1-5

45

นํา้ หนัก 10

20

100

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


องค์ ประกอบที่ 1 หลักสตรสหกิ จศึกษา ู ตัวชีว้ ัดที่ 1.1 มีระบบและกลไกในการพัฒนาและ บริหารหลักสตรสหกิ จศึกษา ู เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. หลักสูตรมีความสอดคล้ องกับเกณฑ์ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และองค์กรวิชาชีพในสาขาวิชาชีพ ควบคุม 2. จํานวนหน่วยกิตรายวิชาสหกิจศึกษาไม่ตํ่ากว่ 6 หน่วยกิตในระบบทวิภาค 3. ระยะเวลาปฏิบตั ิสหกิจศึกษาไม่ตํ่ากว่า 16 สัปดาห์ 4. มีรายวิชาเตรี ยมความพร้ อมนักศึกษาก่อน ไปสหกิจศึกษา หรื อ มีกระบวนการเตรี ยม ความพร้ อมนักศึกษาก่อนไปสหกิจศึกษาไม่ตํ่ กว่า 30 ชัว่ โมง มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

46


เกณฑ์ การประเมิน: คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ ไม่ครบ 3 ข้ อแรก 3 ข้ อแรก ครบทุกข้ อ

องค์ ประกอบที่ 2 การเรี ยนการสอน ตัวชีว้ ัดที่ 2.1 มีระบบและกลไกในการส่ งเสริมการ เรี ยนการสอนสหกิจศึกษา เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีการปฐมนิเทศนักศึกษาสหกิจศึกษา 2. มีการกําหนดคุณสมบัติพื ้นฐานและเงื่อนไข ทางวิชาการของนักศึกษาสหกิจศึกษา 3. ลักษณะงานตรงตามสาขาวิชาชีพของ นักศึกษา

47

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


4. ลักษณะงานเป็ นโครงงานหรื องานประจําที่ เน้ นประสบการณ์การทํางาน 5. มีการจัดค่าตอบแทนและสวัสดิการในอัตราที่ มีความเหมาะสมและจําเป็ นตามลักษณะงาน 6. มีกระบวนการเตรี ยมความพร้ อมนักศึกษา ก่อนไปสหกิจศึกษาให้ มีความพร้ อมต่อการ ประกอบอาชีพ 7. มีการสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง นักศึกษา คณาจารย์นิเทศ และคณาจารย์ สาขาวิชา 8. มีการสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง นักศึกษา คณาจารย์นิเทศ คณาจารย์ สาขาวิชา และผู้นิเทศงาน 9. มีการให้ ข้อมูลลักษณะงานเพื่อประกอบการ ตัดสินใจของนักศึกษาในการเลือกสถาน ประกอบการ มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

48


10. มีการพบปะระหว่างนักศึกษา สถาน ประกอบการ และคณาจารย์นิเทศก่อนไป ปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา เกณฑ์ การประเมิน: คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ ไม่ครบ 7 ข้ อแรก 7 ข้ อแรก มากกว่า 7 ข้ อแรก

49

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


องค์ ประกอบที่ 3 กระบวนการนิเทศการปฏิบตั งิ าน ตัวชีว้ ัดที่ 3.1 ระดับความสําเร็จของกระบวนการ นิเทศการปฏิบตั งิ าน เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ 1. มีแผนการนิเทศและการประสานงานตาม มาตรฐานบังคับ 2. จํานวนการนิเทศไม่ตํ่ากว่า 1 ครัง้ ณ สถาน ประกอบการ 3. ผู้นิเทศงานของสถานประกอบการเป็ นไปตาม มาตรฐานบังคับ 4. การนิเทศของคณาจารย์นิเทศมีคณ ุ ภาพ ตรง ตามความต้ องการและความจําเป็ นต่อ นักศึกษาและสถานประกอบการ 5. คณาจารย์นิเทศตรวจรูปแบบการนําเสนอ ผลงาน และให้ ข้อเสนอแนะแก่นกั ศึกษา มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

50


6. ในช่วงสัปดาห์สดุ ท้ ายของสหกิจศึกษา คณาจารย์นิเทศเข้ ารับฟั งการนําเสนอผลการ ปฏิบตั ิงานของนักศึกษา ร่วมกับผู้นิเทศงาน และผู้บริ หารองค์กร และประเมินผลงานพร้ อม ให้ ข้อเสนอแนะ 7. ในช่วงระยะกึง่ กลางของสหกิจศึกษา คณาจารย์นิเทศเข้ ารับฟั งการนําเสนอ ความก้ าวหน้ าของโครงงานหรื องานที่ปฏิบตั ิ ของนักศึกษา ร่วมกับผู้นิเทศงาน และให้ ข้ อเสนอแนะ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ มีการดําเนินการ ไม่ครบ 4 ข้ อแรก 4 ข้ อแรก มากกว่า 4 ข้ อแรก 51

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


องค์ ประกอบที่ 4 ผลการปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษาของ นักศึกษา ตัวชีว้ ัดที่ 4.1 ร้ อยละของโครงงาน/การปฏิบตั งิ านสห กิจศึกษาที่สถานประกอบการนําไปใช้ ประโยชน์ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 ร้ อยละ 1 - 49 ร้ อยละ 50 - 69 มากกว่า หรื อเท่ากับ ร้ อยละ 70

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

52


ตัวชีว้ ัดที่ 4.2 ร้ อยละของนักศึกษาที่ได้ รับการเสนอ งานจากสถานประกอบการที่ไป ปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษา ถ้ ามีตาํ แหน่ ง งานว่ าง เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 ร้ อยละ 1 - 49 ร้ อยละ 50 - 69 มากกว่า หรื อเท่ากับ ร้ อยละ 70

53

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


องค์ ประกอบที่ 5 ความพึงพอใจของผ้ ูเกี่ยวข้ องกับ การปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษา ตัวชีว้ ัดที่ 5.1 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษา สห กิจศึกษา ผ้ ูนิเทศงาน และคณาจารย์ นิเทศ โดยการสํารวจความพึงพอใจจะพิจารณา 5 ประเด็นหลักคือ 1. ความพึงพอใจในหลักสูตรสหกิจศึกษา 2. ความพึงพอใจในกระบวนการจัด สห กิจศึกษา 3. ความพึงพอใจในผลการปฏิบตั ิงาน สห กิจศึกษา 4. ความพึงพอใจในการพัฒนาทักษะ วิชาชีพและความพร้ อมในการ ปฏิบตั ิงานจริ ง

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

54


5. ความพึงพอใจในการสร้ างโอกาสการ ต่อยอดความร่วมมือระหว่าง สถานศึกษาและสถานประกอบการ กรณีที่มีการประเมินหลายครัง้ ในปี ที่ประเมิน ให้ หาค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจของการประเมินทุกครัง้ เกณฑ์ การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 ระดับความพึง ระดับความพึง ระดับความพึง พอใจมีคะแนน พอใจมีคะแนน พอใจมีคะแนน เฉลี่ยอยูร่ ะหว่าง เฉลี่ยอยูร่ ะหว่าง เฉลี่ยมากกว่า 1 – 2.49 2.50 – 3.49 หรื อเท่ากับ 3.50

55

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา



ภาคผนวก ก ค่ ูมือมาตรฐานการวัดและ ประเมินผลสหกิจศึกษา



ค่ ูมือมาตรฐานการวัดและ ประเมินผลสหกิจศึกษา 1) กระบวนการเตรี ย มความพร้ อมให้ นั ก ศึ ก ษา ก่ อนไปสหกิจศึกษา นักศึกษา  เวลาเข้ ารับการอบรมไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 80 - หน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดรายวิชาเตรี ยม ความพร้ อมหรื อการอบรมเตรี ยมความพร้ อม บันทึกและตรวจสอบเวลาเข้ าเรี ยนหรื อเข้ ารับ การอบรมของนักศึกษา ทัง้ นี ้ นักศึกษาต้ อง เข้ าเรี ยนหรื อเข้ ารับการอบรมไม่น้อยกว่าร้ อย ละ 80 ของเวลาเรี ยนหรื ออบรมเตรี ยมความ พร้ อม  ผ่ า นเกณฑ์ ต ามที่ส ถานศึ ก ษากํา หนด เช่ น การสอบ การทํารายงาน 59

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


- หน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดรายวิชาเตรี ยม ความพร้ อมหรื อการอบรมเตรี ยมความพร้ อม กําหนดเกณฑ์และวิธีการวัดและประเมินผล เช่น การสอบ การทํารายงาน การนําเสนอ ผลงาน ตามที่ ห น่ ว ยงานเห็ น สมควร ทัง้ นี ้ นักศึกษาที่สามารถไปปฏิบตั ิสหกิจศึกษาต้ อง ผ่านตามเกณฑ์ที่กําหนด การดําเนินงาน  ความพึ ง พอใจของนั ก ศึ ก ษาที่ เ ข้ า รั บ การ อบรม - หน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดรายวิชาเตรี ยม ความพร้ อมหรื อการอบรมเตรี ยมความพร้ อม สํารวจความพึงพอใจของนัก ศึกษาที่ เข้ ารั บ การอบรมเตรี ยมความพร้ อมทุ ก ภาค การศึกษา ทังนี ้ ้ ระดับความพึงพอใจไม่ควรตํ่ กว่ า ดี จากเกณฑ์ ป ระเมิ น ระดั บ ความพึ ง มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

60


พอใจ 5 ระดับ คื อ ดี เ ยี่ ย ม ดี ม าก ดี พอใช้ และต้ องปรับปรุง  การอบรมมี เ นื อ้ หาที่จํา เป็ นต่ อ การพั ฒ นา ทักษะอาชีพ - หน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดรายวิชาเตรี ยม ความพร้ อมหรื อการอบรมเตรี ยมความพร้ อม สํารวจความพึงพอใจของสถานประกอบการ ต่อ เนื อ้ หาการอบรมในประเด็ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อาทิ ความจําเป็ นต่อการพัฒนาทักษะอาชีพ ความจําเป็ นต่อความพร้ อมในการประกอบ อาชี พ เป็ นต้ น ทัง้ นี ้ ระดับความพึงพอใจไม่ ควรตํ่า กว่าดี จากเกณฑ์ป ระเมิน ระดับ ควา พึงพอใจ 5 ระดับ คือ ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ และต้ อ งปรั บ ปรุ ง โดยการสํ า รวจความพึ ง พอใจของสถานประกอบการนี ค้ วรทําอย่าง น้ อยทุก 5 ปี 61

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


2) กระบวนการจัดหางานที่มีลักษณะเป็ นโครงงาน หรื องานประจําที่เน้ นประสบการณ์ การทํางาน และตรงกับสาขาวิชา การดําเนินงาน  จํานวนงานพอเพียงกับจํานวนนักศึกษา - หน่ วยงานที่ รับ ผิ ดชอบการจัดหางานสหกิ จ ศึกษา สรุปจํานวนงานสหกิจศึกษาต่อจํานวน นักศึกษาทุกภาคการศึกษา ทังนี ้ ้ อัตราส่วนนี ้ ไม่ควรตํ่ากว่า 1.10 ต่อ 1  ความพึ ง พอใจของนั กศึ ก ษาต่ อสถาน ประกอบการ - หน่ วยงานที่ รับ ผิ ดชอบการจัดหางานสหกิ จ ศึกษา สํารวจความพึงพอใจของนักศึกษาต่อ สถานประกอบการทุก ภาคการศึก ษา ทัง้ นี ้ ระดั บ ความพึ ง พอใจไม่ ค วรตํ่ า กว่า ดี จา มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

62


เกณฑ์ประเมินระดับความพึงพอใจ 5 ระดับ คือ ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ และ ต้ องปรับปรุง 3) กระบวนการรั บรองคุณภาพงาน การดําเนินงาน  คณาจารย์ ประจําสาขาวิชาพิจารณารั บรอง งานก่ อนให้ นักศึกษาเลือก - หน่วยงานที่ รับ ผิ ดชอบการจัดหางานสหกิ จ ศึกษา ตรวจสอบและบันทึกผลการพิจารณา รั บ รองคุ ณ ภาพงานของคณาจารย์ ป ระจํ า สาขาวิชาก่อนประกาศให้ นกั ศึกษาเลือก  คณาจารย์ ประเมิน คุ ณค่ าทางวิชาการของ งาน - หน่วยงานที่ รับ ผิ ดชอบการจัดหางานสหกิ จ ศึ ก ษา สํ า รวจคุณ ค่ า ทางวิ ช าการของงาน สหกิ จ ศึ ก ษาทุ ก ภาคการศึ ก ษา โดยการ สอบถามคณาจารย์ ป ระจํ า สาขาวิ ช า ทัง้ นี ้ 63

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


ระดับคุณค่าทางวิชาการไม่ควรตํ่ากว่าพอใช้ จากเกณฑ์ประเมินระดับคุณค่าทางวิชาการ 5 ระดับ คือ มากที่สดุ มาก พอใช้ น้ อย และ ไม่มี  งานที่ นั ก ศึ ก ษาทํ า มี ป ระโยชน์ ต่ อสถาน ประกอบการ - หน่วยงานที่ รับ ผิ ดชอบการจัดหางานสหกิ จ ศึกษา สํารวจประโยชน์ของงานสหกิจศึกษา ต่อสถานประกอบการทุกปี การศึกษา โดยการ ออกแบบสอบถาม ทังนี ้ ้ ประโยชน์ของงานสห กิจศึกษาต่อสถานประกอบการไม่ควรตํ่ากว่ พอใช้ จากเกณฑ์ ป ระเมิ น 5 ระดั บ คื อ มากที่สดุ มาก พอใช้ น้ อย และ ไม่มี

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

64


4) กระบวนการคัดเลือกและจับค่ ูระหว่ างนักศึกษา สหกิจศึกษากับสถานประกอบการ การดําเนินงาน  นั ก ศึ ก ษาเลื อ กสถานประกอบการโดยความ สมัครใจ  สถานประกอบการมีโอกาสคัดเลือกนักศึกษา - หน่วยงานที่ รับ ผิ ดชอบการจัดหางานสหกิ จ ศึ ก ษา สํ า รวจหรื อ สอบถามวิ ธี ก ารเลื อ ก สถานประกอบการของนัก ศึ ก ษา และการ คัด เลื อ กนั ก ศึ ก ษาสหกิ จ ศึ ก ษาของสถาน ประกอบการ  ความพึง พอใจของนั กศึ ก ษาต่ อ กระบวนการ คัดเลือกและจับค่ ู - หน่วยงานที่ รับ ผิ ดชอบการจัดหางานสหกิ จ ศึกษา สํารวจความพึงพอใจของนักศึกษาต่อ กระบวนการคั ด เลื อ กและจั บ คู่ ร ะหว่ า ง นักศึกษาสหกิจศึกษากับสถานประกอบการ 65

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


ทุกภาคการศึกษา ทังนี ้ ้ ระดับความพึงพอใจ ไม่ ค วรตํ่ า กว่า ดี จากเกณฑ์ป ระเมิน ระดับ ความพึงพอใจ 5 ระดับ คือ ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ และต้ องปรับปรุง  ความพึ ง พอใจของสถานประกอบการต่ อ กระบวนการคัดเลือกและจับค่ ู - หน่วยงานที่ รับ ผิ ดชอบการจัดหางานสหกิ จ ศึ ก ษ า สํ า ร ว จ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง สถานประกอบการต่อกระบวนการคัดเลือก และจับ คู่ร ะหว่า งนัก ศึก ษาสหกิ จ ศึก ษากับ สถานประกอบการทุก ภาคการศึก ษา ทัง้ นี ้ ร ะ ดั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ไ ม่ ค ว ร ตํ่ า ก ว า่ ดี จากเกณฑ์ ป ระเมิ น ระดับ ความพึ ง พอใจ 5 ระดั บ คื อ ดี เ ยี่ ย ม ดี ม าก ดี พอใช้ และ ต้ องปรับปรุง

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

66


 เมื่อสิน้ สุดการปฏิบัติสหกิจศึกษา สถานศึกษา ต้ อ ง ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม พ ร้ อ ม ข อ ง ส ถ า น ประกอบการ - เมื่ อ สิ น้ สุ ด การปฏิ บั ติ ง านสหกิ จ ศึ ก ษา หน่วยงานที่ รับ ผิ ดชอบการจัดหางานสหกิ จ ศึ ก ษา ประเมิ น ความพร้ อมของสถาน ประกอบการทุก ภาคการศึก ษา โดยสํ า รวจ ความคิ ด เห็ น จากคณาจารย์ นิ เ ทศ และ ้ ้ ระดับความพร้ อม นักศึกษาสหกิจศึกษา ทังนี ของสถานประกอบการไม่ควรตํ่ากว่าพอใช้ จากเกณฑ์ประเมินระดับความพร้ อม 5 ระดับ คื อ มากที่ สุ ด มาก พอใช้ น้ อย และต้ อง ปรับปรุง

67

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


5) กระบวนการนิเทศงานสหกิจศึกษา นักศึกษา  ความร้ ู ความสามารถทางวิ ช าการ และการ ประยุกต์ ใช้  ความคิดสร้ างสรรค์ และความสามารถในการ ทํางานด้ วยตนเอง - หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบการนิ เ ทศงานสหกิ จ ศึ ก ษา ทํ า แบบประเมิ น ทัก ษะวิ ช าชี พ ของ นัก ศึ ก ษา อาทิ ความรู้ ความสามารถทาง วิชาการและการประยุกต์ใช้ ความรู้ ความคิด สร้ างสรรค์ และความสามารถในการทํางาน ด้ วยตนเอง เป็ นต้ น  การปรั บตัว และปฏิบัติตามกฎ ระเบียบของ สถานประกอบการ  การสื่อสาร และการนําเสนอผลงาน - หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบการนิ เ ทศงานสหกิ จ ศึ ก ษา ทํ า แบบประเมิ น ความพร้ อมของ มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

68


นัก ศึ ก ษาต่ อ การประกอบอาชี พ อาทิ การ ปรับตัว การปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบของสถาน ประกอบการ การสื่อสาร และการนําเสนอ ผลงาน เป็ นต้ น  ความก้ าวหน้ าของงานเป็ นไปตามแผน - หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบการนิ เ ทศงานสหกิ จ ศึกษา ทําแบบประเมินติดตามความก้ าวหน้ า การปฏิบตั ิงานของนักศึกษาเพื่อเปรี ยบเทียบ กับแผนที่นกั ศึกษาได้ กําหนดไว้  การนิเทศงานต้ องเป็ นส่ วนหนึ่งของการวัดและ ประเมินผลรายวิชาสหกิจศึกษา - หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบการนิ เ ทศงานสหกิ จ ศึ ก ษา ทํ า แบบประเมิ น การนิ เ ทศงานของ คณาจารย์นิเทศและผู้นิเทศงาน ซึ่งเป็ นส่วน หนึ่งของการวัดและประเมินผลรายวิชา สห กิจศึกษา และแจ้ งให้ คณาจารย์ นิเทศและผู้ 69

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


นิ เ ทศงานทํ า การวัด และประเมิ น ผล การ นิเทศ - หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบการนิ เ ทศงานสหกิ จ ศึก ษา ทดสอบแบบประเมิ น ทัก ษะวิ ช าชี พ และความพร้ อมของนักศึกษาต่อการประกอบ อาชี พ เพื่ อ ให้ แ บบประเมิ น มี ค วามเที่ ย งตรง ทังนี ้ ้ แบบประเมินควรมีการปรับปรุงทุก 5 ปี การศึกษา - ใน กรณี ที่ มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง แ บ บ ป ร ะ เ มิ น หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบการนิ เ ทศงานสหกิ จ ศึกษา ควรอบรมการใช้ แบบประเมิ นทักษะ วิชาชีพและความพร้ อมของนักศึกษาต่อการ ประกอบอาชีพแก่คณาจารย์นิเทศและผู้นิเทศ งาน

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

70


การดําเนินงาน  ระยะเวลาที่ ค ณาจารย์ นิ เ ทศได้ รั บ เอกสาร ประกอบการนิเทศ - หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบการนิ เ ทศงานสหกิ จ ศึ ก ษา บั น ทึ ก และตรวจสอบระยะเวลาที่ คณาจารย์ นิ เ ทศได้ รั บ เอกสารประกอบการ นิเทศ  มีการติดตามการนิเทศงาน - หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบการนิ เ ทศงานสหกิ จ ศึก ษา บัน ทึก และตรวจสอบแผนการนิ เ ทศ งานของคณาจารย์ นิ เ ทศเพื่ อ ยื น ยั น การ ติดตามการนิเทศงาน  ความพึ ง พอใจของสถานประกอบการต่ อ กระบวนการติดต่ อ และประสานงานการนิเทศ - หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบการนิ เ ทศงานสหกิ จ ศึ ก ษ า สํ า ร ว จ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ต่ อ ก า ร ติ ด ต่ อ แ ล ะ 71 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


ประสานงานการนิ เ ทศของผู้ป ฏิ บัติ ง านทุก ภาคการศึกษา ทัง้ นี ้ ระดับความพึงพอใจไม่ ควรตํ่ากว่าดี จากเกณฑ์ประเมินระดับความ พึงพอใจ 5 ระดับ คือ ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ และต้ องปรับปรุง คุณภาพการนิเทศงานของคณาจารย์ นิเทศ  เวลาที่คณาจารย์ นิ เทศใช้ เพียงพอตามความ จําเป็ นของนักศึกษา - หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบการนิ เ ทศงานสหกิ จ ศึก ษา สํ า รวจความคิ ด เห็ น ของผู้นิ เ ทศงาน และนักศึกษาต่อเวลาที่คณาจารย์นิเทศใช้ ใน การนิ เ ทศนั ก ศึ ก ษาสหกิ จ ศึ ก ษาทุ ก ภาค การศึกษา ทัง้ นี ้ ระดับความคิดเห็นไม่ควรตํ่ กว่าเพียงพอ จากเกณฑ์ประเมินระดับความ คิดเห็น 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก เพียงพอ น้ อย และไม่มี มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

72


 การนิ เทศของคณาจารย์ นิเทศมีประโยชน์ ต่อ การปฏิบตั สิ หกิจศึกษาของนักศึกษา - หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบการนิ เ ทศงานสหกิ จ ศึกษา สํารวจความคิดเห็นของนักศึกษาต่อ การนิเทศของคณาจารย์นิเทศว่ามีประโยชน์ ต่อการปฏิบตั ิสหกิจศึกษาของนักศึกษา ทุก ภาคการศึก ษา ทัง้ นี ้ ระดับ ความคิ ด เห็ น ไม่ ควรตํ่ า กว่า พอใช้ จากเกณฑ์ป ระเมิน ระดั ความคิ ด เห็ น 5 ระดับ คื อ มากที่ สุ ด มาก พอใช้ น้ อย และไม่มี  การนิ เทศของคณาจารย์ นิเทศมีประโยชน์ ต่อ สถานประกอบการ - หน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบการนิ เ ทศงานสหกิ จ ศึ ก ษา สํ า รวจความคิ ด เห็ น ของสถาน ประกอบการต่ อ การนิ เ ทศของคณาจารย์ นิ เ ทศว่ า มี ป ระโยชน์ ต่ อ สถานประกอบการ 73

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


ทุกภาคการศึกษา ทังนี ้ ้ ระดับความคิดเห็นไม่ ควรตํ่ า กว่า พอใช้ จากเกณฑ์ป ระเมิน ระดั ความคิ ด เห็ น 5 ระดับ คื อ มากที่ สุ ด มาก พอใช้ น้ อย และไม่มี 6) กระบวนการจั ด สั ม มนาแลกเปลี่ ยนความ คิดเห็น นักศึกษา  คุณภาพของการนําเสนอผลงาน: ความร้ ู ทาง วิชาการ ทักษะการนําเสนอ การตอบคําถาม - หน่วยงานที่รับผิดชอบการวัดและประเมินผล ทําแบบประเมินคุณภาพการนําเสนอผลงาน ของนั ก ศึ ก ษา ประกอบด้ วย ความรู้ ทาง วิชาการ ทักษะการนําเสนอ และ การตอบ คําถาม โดยแบบประเมินนี ้ให้ คณาจารย์นิเทศ คณาจารย์ประจําสาขาวิชา และผู้นิเทศงาน มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

74


(ถ้ ามี) เป็ นผู้ประเมิน ทังนี ้ ้ แบบประเมินควรมี การปรับปรุงทุก 5 ปี การศึกษา  การสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต้ องเป็ น ส่ ว นหนึ่ งของการวัดและประเมิ นผลรายวิชา สหกิจศึกษา - หน่วยงานที่รับผิดชอบการวัดและประเมินผล ทําแบบประเมินเชิงคุณภาพของการสัมมนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซึง่ เป็ นส่วนหนึ่งของ การวัดและประเมิ นผลรายวิชาสหกิ จศึกษา และแจ้ งคณาจารย์ นิเทศ คณาจารย์ ประจํ า สาขาวิชา และผู้นิเทศงาน (ถ้ ามี) ทําการวัด และประเมินผลการสัมมนาแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น

75

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


การดําเนินงาน  ร้ อยละของคณาจารย์ ท่ ี เ ข้ า ร่ วมการสั ม มนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น - หน่วยงานที่รับผิดชอบการวัดและประเมินผล บันทึกร้ อยละของคณาจารย์ประจําสาขาวิชา ที่เข้ าร่วมการสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทุกภาคการศึกษา 7) กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานสหกิจ ศึกษา นักศึกษา  ต้ อ ง ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น จ า ก ความสามารถในการทํางาน โดยสถานศึกษา ต้ องชีแ้ จงรายละเอียด และเกณฑ์ ให้ นักศึกษา ทราบ - หน่วยงานที่รับผิดชอบการวัดและประเมินผล ทํ า แบบประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านจาก มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

76


ความสามารถในการทํางานของนักศึกษาสห กิ จ ศึก ษา ให้ ผ้ ูนิ เ ทศงานเป็ นผู้ป ระเมิ น โดย สถานศึกษาต้ องชี ้แจงรายละเอียดและเกณฑ์ การประเมินให้ นกั ศึกษาทราบ  ต้ องมี สั ด ส่ วนการประเมิ น ผลของสถาน ประกอบการไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 50 - หน่วยงานที่รับผิดชอบการวัดและประเมินผล ทํ า แบบประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านสหกิ จ ศึกษาของนักศึกษา ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของการ วัดและประเมินผลรายวิชาสหกิจศึกษา และ แจ้ งให้ ผ้ ูนิเทศงานทําการวัดและประเมินผล การปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษาของนักศึกษา โดย มีสดั ส่วนไม่น้อยกว่าร้ อยละ 50 ของการ ประเมินผลในรายวิชาสหกิจศึกษา

77

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


 ผ้ ูนิเทศงานควรให้ ความคิดเห็นต่ อจุดเด่ นและ ข้ อควรปรับปรุ งของนักศึกษา - หน่วยงานที่รับผิดชอบการวัดและประเมินผล แจ้ ง นัก ศึก ษาทราบเกี่ ย วกับ จุด เด่ น และข้ อ ควรปรับปรุ งของนักศึกษาตามที่ผ้ ูนิเทศงาน ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น ใ น แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา  นักศึกษาควรประเมินพัฒนาการของตนเองแต่ การประเมิน นี ไ้ ม่ เป็ นส่ วนหนึ่ งของระบบการ วัดและประเมินผลของรายวิชาสหกิจศึกษา - หน่วยงานที่รับผิดชอบการวัดและประเมินผล ประเมิ น พัฒ นาการของนัก ศึ ก ษาจากการ ปฏิบัติสหกิ จศึกษา แต่การประเมินนีไ้ ม่เป็ น ส่วนหนึง่ ของระบบการวัดและประเมินผลของ รายวิชาสหกิจศึกษา

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

78


การดําเนินงาน  คณาจารย์ นิ เ ทศต้ อ งแจ้ งข้ อมลการวั ด และ ู ประเมินผลให้ นักศึกษาทราบ - หน่ ว ยงานที่ รับ ผิ ด ชอบการวัด และประเมิ น ผล แจ้ ง นั ก ศึ ก ษ า ท ร า บเกี่ ยวกั บ การวั ด แ ล ะ ประเมินผลโดยคณาจารย์นิเทศ  สถานประกอบการประเมินการประสานงาน กับสถานศึกษาในภาพรวม - หน่ ว ยงานที่ รับ ผิ ด ชอบการวัด และประเมิ น ผล สํารวจความพึงพอใจของสถานประกอบการต่อ การประสานงานของสถานศึกษาในภาพรวมทุก ปี การศึกษา ทัง้ นี ้ ระดับความพึงพอใจไม่ควรตํ่ กว่าดี จากเกณฑ์ประเมินระดับความพึงพอใจ 5 ระดั บ คื อ ดี เ ยี่ ย ม ดี ม าก ดี พอใช้ และต้ อง ปรับปรุง

79

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา



ภาคผนวก ข กระบวนการพัฒนา มาตรฐานการดําเนินงาน สหกิจศึกษา



กระบวนการพัฒนามาตรฐาน การดําเนินงานสหกิจศึกษา ตามที่ สํ า นัก งานคณะกรรมการการอุด มศึก ษา (สกอ.) ได้ สํา รวจและประเมิ น ผลสัม ฤทธิ์ ข องโครงการ สหกิ จ ศึก ษานํ า ร่ อ งระหว่ า งปี พ.ศ.2545-2547 พบว่ า ปั ญหาและอุปสรรคหลักในการดําเนินงานสหกิจศึกษา ของสถานศึก ษาและสถานประกอบการ คื อบุค ลากรที่ เกี่ยวข้ องยังขาดความรู้ และความเข้ าใจในหลักการสหกิจ ศึกษา ทําให้ การดําเนินงานสหกิจศึกษาขาดประสิทธิภาพ และไม่สามารถนําไปสูก่ ารปฏิบตั ิที่ดีได้ ดังนันการกํ ้ าหนด มาตรฐานการดําเนินงานสหกิจศึกษา ซึง่ เป็ นกลยุทธ์หนึ่ง ที่ใช้ ในการส่งเสริ มและพัฒนาการดําเนินงานสหกิจศึกษา ของประเทศ จึงเป็ นกรอบแนวทางการปฏิบตั ิที่ดีสําหรับ สถานศึกษาและสถานประกอบการ และเป็ นแนวทางใน การประเมินคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา และการ 83 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานสหกิ จศึกษาของประเทศ เพื่อให้ ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องได้ รับประโยชน์สงู สุดและนําพา ประเทศไปสูก่ ารแข่งขันได้ แนวทางในการพัฒนามาตรฐานการดําเนิ นงาน สหกิจศึกษาของสถานศึกษาและสถานประกอบการนัน้ ศาสตราจารย์ ดร. วิ จิ ต ร ศรี ส อ้ า น ได้ ใ ห้ ก รอบแนวคิ ด เกี่ยวกับสหกิจศึกษาว่าต้ องเป็ นส่วนหนึ่งของมาตรฐาน ทางวิ ช าการตามเกณฑ์ สกอ. และมาตรฐานวิ ช าชี พ ควบคุมตามกฎหมายรองรั บ โดยการดํ าเนิ นงานสหกิ จ ศึ ก ษานั น้ ต้ องเป็ นการจั ด ประสบการณ์ ต รง ในการ ปฏิบตั ิงานจริ งต็มเวลา ในสถานประกอบการ นอกจากนี ้ มาตรฐานการดําเนินงานสหกิจศึกษาควรมีความยืดหยุ่น และควรกําหนดเท่าที่จําเป็ นเพื่อให้ สถานศึกษาและสถาน ประกอบการมีโอกาสในการพัฒนาการดําเนินงานสหกิจ ศึกษา โดยเกณฑ์ มาตรฐานการดําเนิ นงานสหกิจศึกษา ของสถานศึกษาและสถานประกอบการมีดงั นี ้ มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

84


1. มาตรฐานการดํ า เนิ น งานสหกิ จ ศึ ก ษาของ สถานศึกษา 1.1 มาตรฐานการศึกษา หลักสูตร และ การเรี ยนการสอน 1.2 มาตรฐานการนิเทศ 1.3 มาตรฐานนักศึกษา 1.4 มาตรฐานการวัดและประเมินผล 2. มาตรฐานด้ านการเตรี ย มความพร้ อมของ สถานประกอบการ 2.1 มาตรฐานการบริ หารจัดการ 2.2 มาตรฐานวิชาการ 2.3 มาตรฐานผู้นิเทศงาน 2.4 มาตรฐานการวัดและประเมินผล จากกรอบแนวคิดดังกล่าว คณะทํางานได้ ร่วมกัน จัดทําร่างมาตรฐานการดําเนินงานสหกิจศึกษาขึ ้น และได้ เชิญผู้แทนเครื อข่ายพัฒนาสหกิจศึกษา 9 ภูมิภาคๆ ละ 2 85

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


ท่ า นเข้ าร่ ว มประชุ ม เพื่ อ พิ จ ารณาร่ า งมาตรฐานการ ดํ า เนิ น งานสหกิ จ ศึก ษา เมื่ อ วัน ที่ 25-26 พฤศจิ ก ายน 2551 และวันที่ 24 ธันวาคม 2551 ซึง่ ได้ ข้อสรุปดังนี ้ 1. มาตรฐานการดํ า เนิ น งานสหกิ จ ศึ ก ษาของ สถานศึกษาและสถานประกอบการให้ จําแนก เป็ น 2 ประเภท 1.1 มาตรฐานบังคับ 1.2 มาตรฐานส่งเสริ ม 2. การประกั น คุ ณ ภาพการดํ า เนิ น งานสหกิ จ ศึกษาให้ พิจารณา 5 องค์ประกอบ 2.1 หลักสูตรสหกิจศึกษา 2.2 การเรี ยนการสอน 2.3 กระบวนการนิเทศการปฏิบตั ิงาน 2.4 ผลการปฏิ บั ติ ง านสหกิ จ ศึ ก ษาของ นักศึกษา

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

86


2.5 ความพึ ง พอใจของผู้ เกี่ ย วข้ อ งกับ การ ปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา 3. เกณฑ์ ก ารประเมิ น คุณ ภาพการดํ า เนิ น งาน สหกิจศึกษา 3.1 ระดับคะแนน 1 มีการดําเนินการไม่ครบ เกณฑ์มาตรฐานบังคับ 3.2 ระดับ คะแนน 2 มี ก ารดํ า เนิ น การครบ เกณฑ์มาตรฐานบังคับ 3.3 ระดั บ คะแนน 3 มี ก ารดํ า เนิ นการ มากกว่าเกณฑ์มาตรฐานบังคับ เพื่ อ ให้ การจั ด ทํ า คู่ มื อ มาตรฐานและการ ประกันคุณภาพการดําเนิ นงานสหกิ จศึกษาเป็ นไปด้ วย ความเรี ยบร้ อยและมีความสมบูรณ์ สมาคมสหกิจศึกษา ไทยจึ ง ได้ เ รี ย นเชิ ญ ผู้ ท รงคุณ วุฒิ จ ากสถานศึก ษาและ สถานประกอบการทัง้ ภาครั ฐ และภาคเอกชนเข้ า ร่ ว ม 87

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


ประชุมวิพากษ์ ร่างมาตรฐานการดําเนินงานสหกิจศึกษา เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2552 โดยที่ประชุมมีมติให้ ความ เห็ น ชอบต่อร่ า งมาตรฐานและการประกัน คุณ ภาพการ ดําเนินงานสหกิจศึกษา และมีข้อเสนอแนะให้ เปลี่ยนคํา ว่ า มาตรฐานบั ง คั บ เป็ นมาตรฐานขั น้ ตํ่ า ซึ ง่ หมายถึ มาตรฐานที่ จํ า เป็ นในการดํ า เนิ น งานสหกิ จ ศึก ษาของ สถานศึกษาและสถานประกอบการ มาตรฐานและการประกั น คุ ณ ภาพการ ดําเนิ นงานสหกิจศึกษาที่พัฒนาขึน้ นี ้ ถื อเป็ นมาตรฐาน และการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษาฉบับ แรกของประเทศไทย โดยสมาคมสหกิจศึกษาไทยจะเสนอ ให้ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิ จารณาใช้ ประโยชน์ตอ่ ไป

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

88


ภาคผนวก ค รายชื่อผ้ ูเข้ าร่ วมประชุม พิจารณาร่ างมาตรฐาน การดําเนินงาน สหกิจศึกษา



รายชื่อผ้ ูเข้ าร่ วมประชุมพิจารณา ร่ างมาตรฐานการดําเนินงาน สหกิจศึกษา ประธานการประชุม ศาสตราจารย์ ดร. วิจิตร ศรี สอ้ าน

นายกสมาคมสหกิจศึกษาไทย

สมาคมสหกิจศึกษาไทย 1. ดร. สัมพันธิ์ ศิลปนาฎ 2. ดร. กัณทิมา ศิริจีระชัย

อุปนายกสมาคมสหกิจศึกษาไทย เลขาธิการสมาคมสหกิจศึกษาไทย

ผ้ ูแทนเครื อข่ ายพัฒนาสหกิจศึกษา 9 ภมิู ภาค เครือข่ ายอุดมศึกษาภาคเหนือตอนบน 1. นางเทพพร สุคําวัง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2. นายกีรติ ตันติคะเนดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เครือข่ ายอุดมศึกษาภาคเหนือตอนล่ าง 1. นายอัคกะบัทคาน ปาทาน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรูณ์

91

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


2. รองศาสตราจารย์ ดร. สุพกั ตร์

มหาวิทยาลัยนเรศวร

พ่วงบางโพ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3. ดร. วิชญานัน รัตนวิบลู ย์สม เครือข่ ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน 1. นายพงษ์ รัชต์วชั วิวงั สู จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. ดร. ณัฐพล ฟ้าภิญโญ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสติ เครือข่ ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่ าง 1. นายปั ญญา ซื่อตรง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 2. อาจารย์สําเริ ง แพ่งศรี พระนคร เครือข่ ายอุดมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เด่นพงษ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สุดภักดี 2. นางมลิวรรณ เบ้ าวัน มหาวิทยาลัยขอนแก่น เครือข่ ายอุดมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่ าง มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 1. อาจารย์เฉลิมชัย วิเชียรวัฒน์ 2. ดร. อุบล สุริพล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

92


เครื อข่ ายอุดมศึกษาภาคใต้ ตอนบน 1. ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร. ผดุงศักดิ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สุขสอาด 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เกษรา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปั ญญา เครือข่ ายอุดมศึกษาภาคใต้ ตอนล่ าง 1. รองศาสตราจารย์ ดร. วันดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สุทธรังษี 2. นายสุดเฉลิม ศัสตราพฤกษ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เครื อข่ ายอุดมศึกษาภาคตะวันออก 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์พชั นี มหาวิทยาลัยบูรพา นททศักดิ์ คณะทํางานร่ างมาตรฐานการดําเนินงานสหกิจศึกษา 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บุญชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี วิจิตรเสถียร 2. ดร. ธีระสุต สุขกําเนิด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี 3. ดร. อลงกต ยะไวทย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 4. นายณัชติพงศ์ อูทอง ธัญบุรี

93

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา



ภาคผนวก ง รายชื่อผ้ ูเข้ าร่ วมประชุม วิพากษ์ ร่างมาตรฐาน การดําเนินงาน สหกิจศึกษา



รายชื่อผ้ ูเข้ าร่ วมประชุมวิพากษ์ ร่ างมาตรฐานการดําเนินงาน สหกิจศึกษา ประธานการประชุม ศาสตราจารย์ ดร. วิจิตร ศรี สอ้ าน

นายกสมาคมสหกิจศึกษาไทย

ผ้ ูทรงคุณวุฒจิ ากสถานศึกษาและองค์ กรภาครั ฐ 1. นายสุภทั ร จําปาทอง สํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (สกอ.) 2. นายชํานาญ บูรณโอสถ สํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (สกอ.) 3. นาวาตรี หญิง ดร. กิตติยา สํานักงานรับรองมาตรฐานและ เอฟฟานส์ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) 4. ดร. กัณทิมา ศิริจีระชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี 5. ดร. นฤมล รักษาสุข มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี

97

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา


6. รองศาสตราจารย์ศนั สนีย์ สุภาภา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปูมยศ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม วัลลิกลุ เกล้ าพระนครเหนือ 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พจมาลย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สุรนิลพงศ์ 9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิรัช มหาวิทยาลัยศรี ปทุม เลิศไพฑูรย์พนั ธ์ 10. ดร. ณัฐพล ฟ้าภิญโญ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสติ 11. ดร. อร่ ามศรี อาภาอดุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี ผ้ ูทรงคุณวุฒจิ ากสถานประกอบการ กลุ่มผ้ ูบริหาร 1. ดร. อัสนียา สุวรรณศิริกลุ บริษัทฯ ในกลุม่ สมบูรณ์ 2. นายทวีศกั ดิ์ หมัดเนาะ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 3. นายสืบพงศ์ เกตุนตุ ิ บริ ษัท ชะอําพีรพัฒน์ เคมีคอล จํากัด กลุ่มฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ 1. นายพีระ เรื องอินทร์ บริษัท มิตรผลวิจยั พัฒนาอ้ อย และนํ ้าตาล จํากัด มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา

98


2. นายสมนึก วิรุฬห์พงศ์

Western Digital (Thailand) Co., Ltd.

3. นางสาวฉัตรกมล แซ่เฮ้ ง

Eternity Grand Logistic Co., Ltd.

4. นางอุไร เต่าอ่อน

สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีแห่งชาติ

กลุ่มผ้ ูนิเทศงานสหกิจศึกษา 1. นายสมชาย พงศ์พบ ิ ลู ย์ศกั ดิ์ 2. นายวัชระ ดางาม 3. นางมาลัย ยะไวทย์ 4. นางสาววันวิสาข์ ยุปานนท์

บริษัท เอ็นโซล จํากัด สํานักชลประทานที่ 8 นครราชสีมา Max Saving (Thailand) Co., Ltd. Western Digital (Thailand) Co., Ltd.

คณะทํางานร่ างมาตรฐานการดําเนินงานสหกิจศึกษา 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บุญชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี วิจิตรเสถียร 2. ดร. ธีระสุต สุขกําเนิด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี 3. ดร. อลงกต ยะไวทย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี 4. นายณัชติพงศ์ อูทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี

99

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.