กรอบมาตรฐาน สหกิจศึกษานานาชาติ
สงวนลิขสิทธิ์ ลิขสิทธิ์ของสมาคมสหกิจศึกษาไทย@2559
จัดพิมพ์ โดย สมาคมสหกิจศึกษาไทย
ข้ อมูลบัตรรายการ กรอบมาตรฐานสหกิจศึกษานานาชาติ / สมาคมสหกิจศึกษาไทย. นครราชสีมา : สมาคมสหกิจศึกษาไทย. ,2558 ส17 หน้ า 2558 บรรณานุกรมท้ ายเล่ม
สารบัญ หน้ า สารบัญ คานา ความเป็ นมา มาตรฐานสหกิจศึกษานานาชาติ 1. หลักสูตรการเรี ยนการสอน 2. คุณสมบัติของนักศึกษาที่จะไป ปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษานานาชาติ 3. การเตรี ยมความพร้ อมนักศึกษา สหกิจศึกษานานาชาติ 4. การนิเทศงาน การติดตาม และการ ให้ คาปรึกษานักศึกษาสหกิจศึกษาใน ต่างประเทศ 5. การประเมินผล บรรณานุกรม
3 5 5 6
8 9
ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข
10 16
คานา กรอบมาตรฐานสหกิจศึกษานานาชาติ (International Cooperative Education Standard Framework) เ ล่ ม นี ้ สมาคมสหกิจศึกษาไทยได้ จดั ทาขึ ้นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ สถาบันอุดมศึกษาที่มีการจัดสหกิจศึกษานานาชาติใช้ เป็ น แนวทางในการดาเนินงานสหกิจศึกษานานาชาติ เนื ้อหาของกรอบมาตรฐานฯ นี ้ เป็ นการต่อยอดจาก มาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกษาภายในประเทศ โดย มีการเพิ่ ม เติม มาตรฐานเพื่อ การส่งเสริ ม การดาเนินงาน สหกิจ ศึกษานานาชาติใน 5 ด้ านได้ แก่ 1) หลัก สูตรการ เรี ยนการสอน 2) คุณ สมบัติของนักศึกษาที่จ ะไปปฏิบัติ สหกิจศึกษานานาชาติ 3) การเตรี ยมความพร้ อมนักศึกษา สหกิจศึกษานานาชาติ 4) การนิเทศงาน การติดตาม และ การให้ คาปรึ กษานักศึกษาสหกิจศึกษานานาชาติ และ 5) การประเมิ นผล เนื อ้ หาของกรอบมาตรฐานนี เ้ ขีย นโดย คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์ เกี่ยวข้ องกับ
การดาเนินงานสหกิจศึกษานานาชาติโดยตรงซึ่งสมาคม สหกิจศึกษาไทยขอขอบพระคุณคณะกรรมการทุกท่าน ไว้ ณ ที่นี ้ กรอบมาตรฐานฯ เล่ม นี เ้ ป็ น ลิข สิ ท ธิ์ ข องสมาคม สหกิ จ ศึก ษาไทย สมาคมฯ หวัง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า กรอบ มาตรฐานฯ เล่ ม นี จ้ ะเป็ นประโยชน์ แก่ บุ ค คลและ หน่วยงานที่สนใจจัด สหกิจศึกษานานาชาติและผู้สนใจ ทั่ ว ไป กรณี มี ผ้ ู ใดหรื อ หน่ ว ยงานใดต้ องการน ากรอบ มาตรฐานฯ เล่ ม นี ไ้ ปใช้ ป ระโยชน์ ในโอกาสต่ า งๆ ขอได้ โปรดติดต่อขออนุญาตจากสมาคมสหกิจศึกษาไทย สมาคมสหกิจศึกษาไทย พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
ความเป็ นมา การจัดสหกิจศึกษาในระดับอุดมศึกษา เริ่ มต้ นจาก การจัดให้ นักศึกษาในสาขาวิชาการและวิชาชีพต่างๆ ได้ มี ประสบการณ์ ตรง โดยการปฏิ บั ติ ง านจริ งในสถาน ประกอบการภายในประเทศเป็ นระยะเวลาหนึ่งก่อนสาเร็ จ การศึกษาเพื่อการอุดมศึกษาในประเทศนัน้ ๆ ต่ อมาเมื่อมี การจัดการศึกษาหลักสูตรนานาชาติเพื่อขยายให้ มีความ เป็ นสากลมากขึน้ จึงขยายการจัดสหกิจศึกษาในประเทศ ไปสูน่ านาชาติ โดยจัดให้ นักศึกษาไปมีประสบการณทางาน สลับกับการเรี ยนในประเทศเป้าหมายที่สถาบันอุดมศึกษา มีความพร้ อมและนักศึกษาสนใจที่จะไปปฏิบตั ิสหกิจศึกษา ในประเทศนั ้นๆ จึงเกิดการจัดสหกิจศึกษานานาชาติ โดยมี การท าความตกลงกั บ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาและสถาน ประกอบการในต่างประเทศเพื่อร่ วมกันจัด ในกรณี ของประเทศไทย ได้ มี การจัดสหกิจศึกษา มาแล้ วตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2536 โดยการริ เริ่ มของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี และด้ วยการสนับสนุนของรั ฐบาลผ่ าน
ส านั กงานคณ ะกรรม การการอุ ดมศึ กษ า (ส ก อ .) กระทรวงศึกษาธิ การ การจัดหลักสูตรสหกิจ ศึกษาจึงได้ ขยายไปสูส่ ถาบันอุดมศึกษาระดับอุดมศึกษาทั ้งของรัฐและ เอกชนทั่วประเทศ ปั จจุบันมีสถาบันอุดมศึกษา 117 แห่ง นักศึกษาประมาณ37,000 คน และสถานประกอบการ ประมาณ 15,000 แห่ง ได้ ร่วมกันจัดสหกิจศึกษาในประเทศ ไทย ในปั จจุบนั เป็ นยุคโลกาภิวตั น์ มีการเปลี่ยนแปลงใน ประชาคมโลกอย่ า งรวดเร็ ว เป็ นสั ง คมฐานความรู้ (Knowledge Based Society) ที่ มี ก ารใช้ ค วา ม รู้ แ ล ะ นวัตกรรมเป็ นปั จจัยสาคัญ ของการเปลี่ยนแปลง โดยมีทัง้ ความร่ วมมื อ และการแข่ งขัน ที่ เข้ ม ข้ น ขึน้ (Comparison and Competition) ที่ เข้ มข้ นขึ น้ มี ค วามเป็ นสากลและ นานาชาติ รวมทัง้ การรวมกลุ่ม ประเทศและกรอบความ ร่ วมมือในระดับภูมิภาคมากขึน้ (Internationalization and Regionalization) อาทิ ประชาคมยุโรป (European Union - EU) ประชาคม อาเซี ยน (Association of South East
Asian Nations - ASEAN) ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ท า ง เศ ร ษ ฐ กิ จ เอ เชี ย แ ป ซิ ฟิ ค (Asia Pacific Economic Cooperation - APEC) ค วาม ร่ วม มื อ ระห ว่ า งเอ เชี ย ตะวันออกและลาตินอเมริ กา (Forum for East Asia – Latin America - FEALAC) และการประชุม เอเชียยุโรป (Asia – Europe Meeting - ASEM) เป็ นต้ น มีการจัดระบบและการ ทาข้ อ ตกลงการค้ าเสรี ระหว่ างกัน มี สภาพเสมื อ นโลกไร้ พรมแดนมากขึ ้น (Borderless World) มากขึ ้น การเปลี่ย นแปลงดั งกล่ าวข้ างต้ น ก่ อ ให้ เกิ ดการ เปลีย่ นแปลงด้ านสังคมและเศรษฐกิจในประชาคมโลกอย่าง รวดเร็ ว หลายประการ โดยเฉพาะด้ านระบบเศรษฐกิ จ ระหว่างประเทศที่ เป็ นการค้ าเสรี และมี มาตรฐานร่ วมที่ มี ความเป็ นสากลมากขึ น้ มี ผ ลต่ อ การเปลี่ ย นแปลงของ ตลาดแรงงานและความต้ องการก าลังคนและการเตรี ยม แรงงานความรู้เข้ าสูต่ ลาดแรงงานยุคใหม่ทั ้งด้ านความรู้และ ทักษะการทางาน เครื่ องมืออุปกรณ์ เทคโนโลยี ภาษา สังคม
และวัฒนธรรมการทางานข้ ามวัฒนธรรมอันเนื่องมาจากการ เคลือ่ นย้ ายแรงงานความรู้ข้ามประเทศในตลาดเสรี รั ฐ บาลไทยโดยส านั ก งานคณ ะกรรมการการ อุดมศึกษา (สกอ.)จึงได้ มีนโยบายและแผนการสนับสนุนให้ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาต่ า งๆ จั ด สหกิ จ ศึ ก ษา โดยเฉพาะ สหกิ จ ศึ ก ษานานาชาติ ใ ห้ กว้ างขวางขึ น้ ในแผนการ ดาเนินการส่งเสริ มสหกิจศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2556-2558 เพื่อเป็ นการเตรี ยมเข้ าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 และการเคลื่อนย้ ายแรงงานความรู้ สู่ประชาคม โลก
กรอบมาตรฐาน สหกิจศึกษานานาชาติ
การด าเนิ น งานสหกิ จ ศึ ก ษ านานาชาติ ต้ องมี มาตรฐานเช่ น เดี ย วกั บ การด าเนิ น งานสหกิ จ ศึ ก ษา ภายในประเทศ ตามมาตรฐานและการประกันคุณ ภาพ การดาเนินงานสหกิจศึกษา ของสานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (สกอ.) และสมาคมสหกิจศึกษาไทยกาหนด เนื่ อ งจากการด าเนิ น การสหกิ จ ศึก ษานานาชาติ มี รายละเอียดในการดาเนินงานร่ วมกับสถาบันอุดมศึกษา และสถานประกอบการต่ างประเทศเพิ่ ม ขึน้ เพื่ อ ให้ เกิ ด ความ เข้ ม แข็ ง ในก ารด าเนิ น งาน และบ รรลุ ต าม วัตถุประสงค์ ของการจัดสหกิจศึกษานานาชาติ จึงควรมี มาตรฐานเพื่ อ สนั บ สนุ น การด าเนิ น งานสหกิ จ ศึ ก ษา นานาชาติ เพิ่ ม เติ ม จากการด าเนิ น งานสหกิ จ ศึ ก ษา ภายในประเทศ ดังนี ้ 1. หลักสูตรการเรียนการสอน 1.1 ระดับปริญญาตรี 1.1.1 ควรสอดคล้ องเทียบเคียงได้ กบั มาตรฐานทางวิชาการและวิชาชีพของ ประเทศเป้าหมาย
3
กรอบมาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกษานานาชาติ
1.1.2 การออกปฏิบตั ิสหกิจศึกษาของ หลักสูตรการเรี ยนการสอนไม่น้อยกว่า 1 ครัง้ 1.1.3 ระยะเวลาปฏิบตั ิสหกิจศึกษาไม่น้อย กว่า 16 สัปดาห์อย่างต่อเนื่อง 1.1.4 ควรออกปฏิบตั ิสหกิจศึกษาในช่วง 2 ปี สุดท้ ายก่อนจบการศึกษาของหลักสูตร การเรี ยนการสอน 1.1.5 ต้ องมีจานวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 1.2 ระดับบัณฑิตศึกษา 1.2.1 สามารถออกปฏิบตั ิสหกิจศึกษาใน ทุกช่วงชัน้ ปี ของหลักสูตรการเรี ยน การสอน และต้ องปฏิบตั ิงานสหกิจ ศึก ษาในสถานประกอบการหรื อ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ สาขา วิชาชีพ 1.2.2 ลั ก ษ ณ ะงาน เป็ น โค รงงาน ห รื อ โครงการวิจัยที่ สถาบันอุด มศึกษา และสถานประกอบการตกลงร่ วมกัน และตรงกับสาขาวิชาชีพ 4 กรอบมาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกษานานาชาติ
1.2.3 ระยะเวลาการปฏิบตั ิสหกิจศึกษาไม่ น้ อยกว่า 16 สัปดาห์อย่างต่อเนื่อง 1.2.4 ต้ องมีจานวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 2. คุณสมบัตขิ องนักศึกษาที่จะไปปฏิบัติ สหกิจศึกษานานาชาติ 2.1 ระดับปริ ญญาตรี คะแนนเฉลีย่ สะสม (GPAX) ไม่น้อยกว่า 2.00 ระดับบัณฑิตศึกษาคะแนนเฉลีย่ สะสม (GPAX) ไม่น้อยกว่า 3.00 2.2 มีความสามารถใช้ ภาษาอังกฤษ และ ภาษาท้ องถิ่นของประเทศเป้าหมาย เพื่อการปฏิบตั ิงาน และการใช้ ชีวิต ความเป็ นอยู่ได้ ตามที่ฝ่ายรับและฝ่ าย ส่งตกลงร่ วมกัน 2.3 ต้ องเป็ นนักศึกษาที่ตรงตามเกณฑ์ที่ทาง สถานประกอบการกาหนด
5
กรอบมาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกษานานาชาติ
3. การเตรียมความพร้ อมนักศึกษาสหกิจศึกษา นานาชาติ 3.1 รายวิ ช าเตรี ย มความพร้ อมสหกิ จ ศึก ษา นานาชาติ จ านวน 1 หน่ ว ยกิ ต หรื อ มี ก ระบ วน ก ารเต รี ย ม ค วาม พ ร้ อ ม แ ก่ นักศึกษาไม่น้อย กว่า 30 ชัว่ โมง 3.2 เนื ้อหารายละเอียดการเตรี ยมความพร้ อ ม ประกอบด้ วยเนื ้อหา ดังนี ้ 3.2.1 ความรู้ความเข้ าใจในวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา ชีวิตความเป็ นอยู่ กฎระเบียบ ตลอดจนวัฒนธรรมการทางานของ ประเทศเป้าหมาย 3.2.2 การใช้ ภาษาของประเทศเป้าหมาย ในระดับที่ใช้ การได้ 3.2.3 ทักษะที่จาเป็ นในการทางานใน ต่างประเทศ
กรอบมาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกษานานาชาติ
6
4.
การนิเทศงาน การติดตาม และการให้ คาปรึกษานักศึกษาสหกิจศึกษา 4.1 ต้ องกาหนดให้ มีผ้ นู ิเทศงานในสถาน ประกอบการ (Job mentor) เช่นเดียวกับ การดาเนินงาน สหกิจศึกษาภายในประเทศ 4.2 ต้ องมีคณาจารย์นิเทศจากสถบัน อุดมศึกษาในประเทศนิเทศงานอย่าง น้ อย 1 ครัง้ ณ สถานประกอบการ โดยมี แนวปฏิบตั ิดงั นี ้ 4.2.1 การนิเทศงาน การติดตาม และการ ให้ ค าป รึ ก ษ าผ่ าน เค รื อ ข่ า ย เทคโนโลยี สารสนเทศและการ สื่อสาร หรื อการนิเทศงาน ณ สถาน ประกอบการ หากมี งบประมาณ เพียงพอ หรื อ 4.2.2 การนิเทศงาน การติดตาม และการ ให้ คาปรึกษา โดยคณาจารย์นิเทศ จากสถาบันอุดมศึกษาพันธมิตร ทีม่ ี คุณวุฒิไม่ต่ากว่าคณาจารย์นิเทศ ของฝ่ ายส่ง หรื อ
7
กรอบมาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกษานานาชาติ
4.2.3 การนิเทศงาน การติด ตาม และ การให้ คาปรึ กษา ร่ วมกันระหว่าง ค ณ า จ า ร ย์ นิ เ ท ศ จ า ก สถาบัน อุด มศึ ก ษาฝ่ ายส่ ง และ ค ณ า จ า ร ย์ นิ เ ท ศ จ า ก สถาบันอุดมศึกษาพันธมิตร 5. การประเมินผล 5.1 มาตรฐานการประเมิน ผลต้ อ งเทียบเคีย ง กั บ ม า ต ร ฐ า น ก า ร ป ร ะ เมิ น ผ ล ข อ ง สถาบันอุดมศึกษาฝ่ ายส่งทุกกรณี 5.2 ผู้ประเมินผลต้ องเป็ นคณาจารย์นิเทศ และ ผู้นิ เทศงาน ทัง้ นี ้ ขึน้ อยู่กับ กรณี ข องการ นิ เท ศ งา น ก า รติ ด ต า ม แ ล ะ ก า รให้ คาปรึกษา โดยมีแนวปฏิบตั ิดงั นี ้ 5.2.1 การประเมินผล ระหว่างคณาจารย์ นิเทศจากสถาบันอุดมศึกษาฝ่ ายส่ง และผู้นิเทศงาน หรื อ 5.2.2 การประเมินผล ระหว่างคณาจารย์ นิ เทศจากสถาบั น อุ ด มศึ กษ า พันธมิตร และผู้นิเทศงาน หรื อ กรอบมาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกษานานาชาติ
8
5.2.3 การประเมินผล ระหว่างคณาจารย์ นิเทศจากสถาบันอุดมศึกษาฝ่ ายส่ง ร่ วมกับคณาจารย์นิเทศจาก สถาบันอุดมศึกษาพันธมิตร และผู้ นิเทศงาน
9
กรอบมาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกษานานาชาติ
บรรณานุกรม
บรรณานุกรม วิจิตร ศรี สอ้ าน และคณะ. (2556). ประมวลสาระ สหกิจศึกษานานาชาติ. นครราชสีมา. สมาคม สหกิจศึกษาไทย. วิจิตร ศรี สอ้ าน . (2558). ความท้าทายของสหกิ จศึกษา ไทยก้าวไกลสู่สากล ในงานวันสหกิ จศึกษาไทย ครั้ง ที ่ 6 ประจาปี 2558. วันที ่ 6 มิ ถนุ ายน 2558. [สไลด์พาวเวอร์ พอยต์]. สมาคมสหกิจศึกษาไทย.(2552). มาตรฐานและการ ประกันคุณภาพการดาเนินงานสหกิจศึกษา. นครราชสีมา. สมาคมสหกิจศึกษาไทย สมาคมสหกิจศึกษาไทย. (2558). รายงานผลการ ฝึกอบรมเชิงปฏิบตั ิการสหกิจศึกษาหลักสูตร “การจัดสหกิจศึกษานานาชาติ” รุ่นที่ 2. สมาคม สหกิจศึกษาไทย สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2556). แผนการ ดาเนินการส่งเสริ มสหกิจศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2556-2558. กรุงเทพ. สานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา
ภาคผนวก ก กระบวนการพัฒนากรอบ มาตรฐานสหกิจศึกษา นานาชาติ
กระบวนการพัฒนากรอบ มาตรฐานสหกิจศึกษานานาชาติ สมาคมสหกิจศึกษาไทยได้ มีการดาเนินการจัดการ ฝึ ก อบรมเชิ ง ปฏิ บัติ ก ารสหกิ จ ศึ ก ษา หลัก สูต รการจั ด สหกิจ ศึกษานานาชาติ จ านวน 2 รุ่ น พบว่า ปั ญ หาและ อุ ป สรรคหลั ก ในการจั ด สหกิ จ ศึ ก ษานานาชาติ ข อง สถาบันอุดมศึกษา คือขาดกรอบมาตรฐานและแนวทางใน การด าเนิ น งานสหกิ จ ศึ ก ษาน านาชาติ ท าให้ การ ดาเนิ น งานสหกิ จศึก ษานานาชาติ ไ ม่ ส ามารถน าสู่ก าร ปฏิบตั ิที่ดีได้ กอปรกั บ ประเทศไทยมี ค วามร่ ว มมื อ ในระดั บ ภู มิ ภาคคื อ การประชุ ม เอเชี ย ยุ โ รป (Asia – Europe Meeting - ASEM) ซึ่ ง มี ก ารประชุ ม หารื อ เกี่ ย วกั บ การ แลกเปลี่ยนนักศึกษาสหกิจศึกษาระหว่างเอเชียกับยุโรป โดยการประชุ ม ครั ง้ ที่ 1 ส านั ก งานคณะกรรมการการ 13
กรอบมาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกษานานาชาติ
อุดมศึกษา (สกอ.)เป็ นเจ้ าภาพหลัก และ การประชุม ครัง้ ที่ 2 ม ห า วิ ท ย าลั ย เก น ต์ (Ghent University) ป ระ เท ศ เบลเยี ย ม เป็ นเจ้ าภาพหลั ก มติ ที่ ป ระชุ ม ทั ง้ สองฝ่ าย เห็ น ชอบให้ มี ก ารแลกเปลี่ ย นนั ก ศึ ก ษาสหกิ จ ศึ ก ษา นานาชาติ ระดับปริ ญ ญาโทเป็ นหลัก และระดับปริ ญ ญา ตรี ดั ง นั น้ เพื่ อ ให้ มี แ นวทางในการด าเนิ น งาน สหกิจ ศึกษานานาชาติ และให้ ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ อ งได้ รั บ ประโยชน์ สูงสุด และพัฒ นาคุณ ภาพการศึกษาในระดับ สากล สมาคมสหกิจศึกษาไทยจึงเห็น ควรพัฒ นากรอบ มาตรฐานสหกิจศึกษานานาชาติ โดยศาสตราจารย์ ดร. วิ จิ ต ร ศ รี สอ้ าน ได้ ให้ กรอบ แนวคิ ดเกี่ ย วกั บ การ ดาเนินงานสหกิจศึกษานานาชาติ ว่าจะต้ อ งมี ม าตรฐาน เช่นเดียวกับการดาเนินงานสหกิจศึกษาภายในประเทศ ตามมาตรฐานและการประกันคุณภาพการดาเนินงานสห กิจ ศึกษา ของสานักงานคณะกรรมการการอุด มศึก ษา กรอบมาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกษานานาชาติ
14
(สกอ.) และสมาคมสหกิจ ศึก ษาไทย แต่ เนื่ อ งจากการ ดาเนิน งานสหกิ จศึกษานานาชาติมีร ายละเอียดในการ ด าเนิ น งานร่ วมกั บ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษ า และสถาน ประกอบการต่างประเทศเพิ่มขึ ้น เพื่อให้ เกิดความเข้ มแข็ง ในการดาเนินงาน และบรรลุตามวัตถุป ระสงค์ ของการ จั ด สหกิ จ ศึ ก ษานานาชาติ จึ ง ควรมี ม าตรฐานเพื่ อ สนับสนุนการดาเนินงานสหกิจศึ กษานานาชาติเพิ่ม เติม จากการดาเนินงานสหกิจศึกษาภายในประเทศ 5 ประการ ได้ แก่ 1) หลักสูตรและการเรี ยนการสอน 2) คุณ สมบัติของนักศึกษาที่จะไปปฏิบตั ิงานสหกิจ ศึกษานานาชาติ 3) การเตรี ย มความพร้ อมนัก ศึ ก ษาสหกิ จ ศึ ก ษา นานาชาติ 4) การนิเทศงาน การติดตาม และการให้ คาปรึกษา นักศึกษาสหกิจศึกษาในต่างประเทศ 5) การประเมินผล 15
กรอบมาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกษานานาชาติ
จากกรอบแนวคิด ดังกล่าว คณะกรรมการพัฒ นา กรอบมาตรฐานสหกิจศึกษานานาชาติ ได้ ร่ วมกันจัดท า กรอบมาตรฐานฯฉบับบีข้ ึ ้น เพื่ อ ให้ สถาบันอุดมศึกษาที่ จั ด สหกิ จ ศึ ก ษานานาชาติ จ ะได้ ใช้ ประโยชน์ ต่ อ ไป
กรอบมาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกษานานาชาติ
16
ภาคผนวก ข รายชื่อคณะกรรมการ พัฒนากรอบมาตรฐาน สหกิจศึกษานานาชาติ
รายชื่อคณะกรรมการพัฒนา กรอบมาตรฐานสหกิจศึกษา นานาชาติ ประธานคณะกรรมการ ศาสตราจารย์ ดร. วิจิตร ศรีสอ้ าน กรรมการ รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.ประพันธ์ศกั ดิ์ ฉวีราช ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผดุงศักดิ์ สุขสอาด ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มารุจ ลิมปะวัฒนะ นายธีรศักดิ์ สงวนมานะศักดิ์
นายกสมาคมสหกิจศึกษาไทย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยสยาม บริษัท เวสเทิร์น ดิจิตอล (ประเทศไทย) จากัด
กรอบมาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกษานานาชาติ
18
กรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญชัย วิจิตรเสถียร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี
กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรา ประมูลศุข
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี
ผู้ช่วยเลขานุการ นางสาวเกศินี เกิดถาวร
19
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี
กรอบมาตรฐานการดาเนินงานสหกิจศึกษานานาชาติ