Internship report 1st 2013

Page 1

รายงานผลการดําเนินงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2556

สวนจัดหางานและฝกงานของนักศึกษา

มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ตุลาคม 2556


ก คํานํา มหาวิ ท ยาลั ย แม ฟ า หลวง ได จั ด หลั ก สู ต รการเรี ย นการสอนให มี ก ารฝ ก ปฏิ บั ติ ง าน ในรายวิ ชาสหกิจศึ กษาและฝ กประสบการณ วิชาชีพ ณ สถานประกอบการ เพื่ อเสริมสรา งประสบการณ ในการทํางานระหวางศึกษา ทั้งนี้ การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาสหกิจศึกษาและฝกประสบการณ วิชาชีพมีแนวคิดในการใหนักศึกษาเรียนรูผานประสบการณจริง (Work-Based Learning) มีวัตถุประสงค เพื่อเพิ่มพูนประสบการณทางดานอาชีพและการพัฒนาตนเองของนักศึกษา เพื่อเตรียมนักศึกษาใหเปน ทรัพยากรบุคคลที่มีศักยภาพของประเทศ ใหสถานประกอบการมีสวนรวมในการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต ซึ่ ง เป น กํ า ลั ง สํ า คั ญ ของชาติ ใ นอนาคต ตลอดจนเป น การสร า งสั ม พั น ธภาพอั น ดี และยั่ ง ยื น ระหว า ง มหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ ส ว นจั ด หางานและฝ ก งานของนั ก ศึ ก ษา เป น หน ว ยงานสนั บ สนุ น การดํ า เนิ น งาน ด า นการฝ ก ปฏิ บั ติ ง านของนั ก ศึ ก ษา ตั้ ง แต ก อ น ระหว า ง และหลั ง การฝ ก ปฏิ บั ติ ง าน โดยมี ห น า ที่ ในการประสานงานระหว างสํ านั กวิ ช า นัก ศึกษา และสถานประกอบการ เพื่อ ขอความอนุเคราะหแ ละ สงนักศึกษาเขารับการฝกปฏิบัติงาน จัดกิจกรรมเตรียมความพรอมกอนการฝกปฏิบัติงาน ประสานงาน ดานการนิเทศของอาจารยที่ปรึกษา ระหวางการฝกปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ ตลอดจนการจัด กิจกรรมการนําเสนอผลการฝกปฏิบัติงาน รายงานผลการดํ า เนิน งานการปฏิบัติงานสหกิจ ศึก ษา ภาคการศึ ก ษาตน ป ก ารศึ ก ษา 2556 ฉบั บ นี้ ส ว นจัด หางานและฝ ก งานของนั ก ศึ ก ษาไดจั ดทํ า ขึ้ น เพื่ อ รวบรวมข อ มู ลการปฏิ บัติ งาน ของนักศึกษา ความคิดเห็นและการประเมินผลจากสถานประกอบการ เพื่อจะไดนําผลการประเมินและ ขอ คิ ดเห็ นที่ ไดรั บ มาพั ฒ นาการดํ า เนิ น งาน ตลอดจนสงขอมูลใหแ ก หนว ยงานที่เกี่ยวของ เพื่อ ใหเกิด ประโยชนตอการพัฒนาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยในภาพรวม ทั้งนี้หากมีขอผิดพลาดประการใด ผูจัดทํา ขออภัยมา ณ โอกาสนี้

สวนจัดหางานและฝกงานของนักศึกษา ตุลาคม 2556


ข สารบัญ คํานํา สารบัญ บทสรุปสําหรับผูบริหาร สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของนักศึกษาและสถานประกอบการ 1.1 จํานวนนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษา 1.2 จํานวนนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษาแยกตามประเภทสถานประกอบการ 1.3 จํานวนนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษาแยกตามลักษณะธุรกิจของ สถานประกอบการ สวนที่ 2 ผลการประเมินการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาโดยสถานประกอบการ 2.1 ผลการประเมินการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา 2.2 การรับนักศึกษาเขาทํางานภายหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา 2.3 ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตอนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษา

หนา ก ข จ 1 1 1 2 3 3 4 5


ค สารบัญตาราง ตารางที่ 1 2 3 4 5 6 7

จํานวนนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2556 จํานวนนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษาแยกตามประเภทสถานประกอบการ จํานวนนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษาแยกตามลักษณะธุรกิจของสถานประกอบการ จํานวนนักศึกษาปฏิบัตงิ านสหกิจศึกษาแยกตามพื้นที่การปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ผลการประเมินการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2556 การรับนักศึกษาเขาทํางานภายหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะของสถานประกอบการตอนักศึกษาปฏิบัติงาน สหกิจศึกษา

หนา 1 1 2 3 3 4 5


ง สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ 1 รอยละของจํานวนนักศึกษาแยกตามประเภทสถานประกอบการ 2 การรับนักศึกษาเขาทํางานภายหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา

หนา 2 5


จ รายงานผลการดําเนินงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2556 สวนจัดหางานและฝกงานของนักศึกษา บทสรุปสําหรับผูบริหาร ในภาคการศึ ก ษาต น ป ก ารศึ ก ษา 2556 มีนักศึก ษาเขารับ การปฏิบัติงานสหกิจ ศึกษาภายใต การประสานการดําเนินงานของสวนจัดหางานและฝกงานของนักศึกษา จํานวนทั้งสิ้น 36 คน จาก 4 สํานักวิชา ได แ ก สํ า นั ก วิ ช าศิ ล ปศาสตร สํ า นั ก วิ ช าการจั ด การ สํ า นั ก วิ ช าเทคโนโลยี ส ารสนเทศ และสํ า นั ก วิ ช า อุตสาหกรรมเกษตร โดยนักศึกษารอยละ 88.89 เขารับการฝกปฏิบัติงานในสถานประกอบการเอกชน รองลงมาคือรัฐบาล (รอยละ 8.33) และรัฐวิสาหกิจ (รอยละ 2.78) นอกจากนี้พบวานักศึกษา เขารับการฝก ปฏิบัติงานในสถานประกอบการธุรกิจดานการสื่อสารมวลชนและการผลิตสื่อสิ่งพิมพมากที่สุด (รอยละ 30.56) รองลงมาคื อ ธุ ร กิ จ ดา นโรงแรมและเทคโนโลยี สารสนเทศ (รอ ยละ 13.89) และธุร กิจ ดา น การทองเที่ยวและธุรกิจดานปโตรเคมี/เคมีภัณฑ (รอยละ 8.33) ซึ่งพื้นที่ที่นักศึกษาเลือกฝกปฏิบัติงาน มากที่สุด คือ กรุ งเทพมหานครและปริมณฑล คิดเปนรอ ยละ 50.00 รองลงมาคือ ภาคเหนือ (รอ ยละ 25.00) และภาคใต (รอยละ 11.11) การประเมินผลการฝกปฏิบัติงานรายวิชาสหกิจศึกษาโดยสถานประกอบการ สถานประกอบการไดประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษาในภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2556 ในภาพรวมเฉลี่ยรอยละ 85.80 โดยมีรายละเอียดการประเมินในแตละดาน ดังนี้ 1. 2. 3. 4.

ดานผลสําเร็จของงาน เฉลี่ยรอยละ 85.40 ดานความรูความสามารถ เฉลี่ยรอยละ 81.20 ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ เฉลี่ยรอยละ 85.20 ดานลักษณะบุคคล เฉลี่ยรอยละ 91.60

การวิเคราะหขอมูลและแนวทางการพัฒนาการดําเนินงาน 1. การประเมินผลการปฏิบัติงานรายวิชาสหกิจศึกษาโดยสถานประกอบการ จากการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษาโดยสถานประกอบการ พบวา ผลการปฏิบัติงานทุกดานภาพรวม คะแนนเฉลี่ยรอยละ 85.80 โดยมีคะแนนเฉลี่ยดานลักษณะสวนบุคคล มากที่สุดรอยละ 91.60 ประกอบดวย บุคลิกภาพและการวางตัวดี แตงกายเหมาะสม มนุษยสัมพันธดี สุภาพเรียบรอย ใฝเรียนรูงาน และมีน้ําใจเอื้อเฟอตอผูอื่น รองลงมาคือคะแนนเฉลี่ยดานผลสําเร็จของงาน ร อ ยละ 85.40 ประกอบด ว ย ปริ ม าณงานและคุ ณ ภาพงานที่ ดี ซึ่ ง ใกล เ คี ย งกั บ คะแนนเฉลี่ ย ด า น ความรั บ ผิ ด ชอบต อ หน า ที่ รอ ยละ 85.20 ประกอบดว ย ความมุงมุน ตั้งใจทํา งาน ความขยัน อดทน และมีความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย แสดงใหเห็นวากระบวนการพัฒนานักศึกษาผานกิจกรรม นัก ศึ กษา กิจ กรรมเตรี ยมความพร อมก อ นฝก ปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัยที่ผานมาสงผลใหนักศึก ษา มีคุณลักษณะสวนบุคคลที่ดีตามทัศนะของผูประกอบการ ในขณะที่ผลประเมินดานความรูความสามารถ


ฉ มีคะแนนเฉลี่ยนอยที่สุด รอยละ 81.20 เมื่อเปรียบเทียบกับทุกดาน ประกอบดวย การแกปญหาเฉพาะหนา การประยุกตใชความรูทางวิชาการ ความชํานาญเฉพาะดาน และการวางแผนการทํางาน เปนตน ดั ง นั้ น หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งควรหาแนวทางร ว มกั น ในการพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาให มี ทั ก ษะ ในดานตางๆ ดังกลาว ซึ่งอาจเปนกิจกรรมทางตรงโดยการจัดหลักสูตร/รายวิชา กิจกรรมเสริมหลักสูตร/ กิจกรรมนอกหลักสูตร ( extra-curricular activity) หรือเปนการจัดกิจกรรมสอดแทรกการเรียนการสอน ในรายวิชา เชน การมอบหมายใหนักศึกษาคนควาดวยตัวเอง การทําวิจัย กิจกรรมที่สงเสริมใหนักศึกษา ไดแลกเปลี่ยน/อภิปราย ภายในหองเรียน เพื่อใหนักศึกษามีโอกาสบูรณาการความรูและพัฒนาตนเอง มากยิ่งขึ้น 0

2. การรับนักศึกษาเขาทํางานภายหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา จากการสํารวจการรับนักศึกษาเขาทํางานหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาของสถาน ประกอบการ พบว าสถานประกอบการยิ น ดีรับ นัก ศึกษาเข าทํา งาน (กรณีมีตําแหนงงานวา ง) รอยละ 63.89 ไมแนใจรอยละ 25.00 และไมประสงครับเขาทํางาน รอยละ 11.11 ตามลําดับ แสดงใหเห็นวา การปฏิบัติงานสหกิจศึกษาเปนโอกาสใหนักศึกษาไดรับการเสนองานเมื่อสําเร็จการศึกษา และเพื่อเปนการ สะทอ นภาพของผลสํ าเร็จ การปฏิบัติงานสหกิจ ตอ การทํางาน สวนจัดหางานและฝก งานของนัก ศึก ษา จะทําการสํารวจขอมูลจากนักศึกษาเพิ่มเติมวานักศึกษาไดทํางานในสถานประกอบการที่มีการเสนองาน หลังจากเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาหรือไม รวมทั้งสาเหตุของการเลือกและไมเลือกทํางานตอ เนื่องมาจากสาเหตุใด โดยการปรับปรุงแบบประเมินที่จะใชตอไป


รายงานผลการดําเนินงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2556 สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของนักศึกษาและสถานประกอบการ 1.1 จํานวนนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ในภาคการศึ ก ษาต น ป ก ารศึ ก ษา 2556 มี นั ก ศึ ก ษาจาก 4 สํ า นั ก วิ ชา 11 สาขาวิ ช า เข า รั บ การปฏิ บั ติ ง านสหกิ จ ศึ ก ษา จํ า นวน 36 คน โดยได เ ข า รั บ การปฏิ บั ติ ง านสหกิ จ ศึ ก ษาระหว า งวั น ที่ 3 มิถุนายน 2556 - 20 กันยายน 2556 รวมระยะเวลา 16 สัปดาห รายละเอียดดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 จํานวนนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2556 ลําดับ

สํานักวิชา

1 2

ศิลปศาสตร การจัดการ

3

เทคโนโลยีสารสนเทศ

4

อุตสาหกรรมเกษตร

สาขาวิชา ภาษาจีนธุรกิจ บริหารธุรกิจ การจัดการการทองเที่ยว การจัดการอุตสาหกรรมการบริการ การจัดการธุรกิจการบิน วิทยาการคอมพิวเตอร วิศวกรรมซอฟตแวร เทคโนโลยีมัลติมีเดียและการสรางภาพเคลื่อนไหว วิศวกรรมคอมพิวเตอร วิศวกรรมการสื่อสารและสารสนเทศ เทคโนโลยีการอาหาร รวม

จํานวนนักศึกษา (คน) สหกิจศึกษา 1 (2.78%) 3 (8.33%) 5 (13.89%) 2 (5.56%) 3 (8.33%) 1 (2.78%) 2 (5.56%) 13 (36.11%) 3 (8.33%) 2 (5.56%) 1 (2.78%) 36 (100%)

1.2 จํานวนนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษาแยกตามประเภทสถานประกอบการ นักศึกษาสวนใหญปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในประเภทสถานประกอบการเอกชน จํานวน 31 แหง จํานวนนั กศึกษา 32 คน คิดเปนรอยละ 88.89 รองลงมา คือประเภทสถานประกอบการรัฐบาล จํานวน 3 แหง จํานวนนักศึกษา 3 คน คิดเปนรอยละ 8.33 และประเภทสถานประกอบการรัฐวิสาหกิจ จํานวน 1 แหง นักศึกษาจํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 2.78 ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที่ 2 ตารางที่ 2 จํานวนนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษาแยกตามประเภทสถานประกอบการ ลําดับ ประเภทสถานประกอบการ 1 เอกชน 2 รัฐบาล 3 รัฐวิสาหกิจ รวม

จํานวนสถานประกอบการ (รอยละ) 31 (88.57) 3 (8.57) 1 (2.86) 35

จํานวนนักศึกษา (รอยละ) 32 (88.89) 3 (8.33) 1 (2.78) 36

1


รายงานผลการดําเนินงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2556

แผนภูมิที่ 1 รอยละของจํานวนนักศึกษาแยกตามประเภทสถานประกอบการ 1.3 จํานวนนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษาแยกตามลักษณะธุรกิจของสถานประกอบการ นักศึกษาสวนใหญปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในสถานประกอบการธุรกิจดานการสื่อสารมวลชนและ การผลิต สื่อ สิ่งพิมพ จํานวน 11 คน คิดเป นร อยละ 30.56 รองลงมา ธุรกิจดานโรงแรมและเทคโนโลยี สารสนเทศในจํานวนที่เทากันคือ 5 คน คิดเปนรอยละ 13.89 ดานการทองเที่ยวและปโตรเคมี/เคมีภัณฑใน จํานวนที่เทากันคือ 3 คน รอยละ 8.33 ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที่ 3 ตารางที่ 3 จํานวนนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษาแยกตามลักษณะธุรกิจของสถานประกอบการ ลําดับ 1 2 3 6 10 11 13 16 17 20 21

ลักษณะธุรกิจ ดานการทองเที่ยว สายการบิน/ขนสงทางอากาศ โรงแรม เทคโนโลยีสารสนเทศ ขายสง/ขายปลีก การสื่อสารมวลชนและการผลิตสื่อสิ่งพิมพ ปโตรเคมี/เคมีภัณฑ โทรคมนาคม/ไปรษณีย รับจัดงาน/กิจกรรม การวิจัยและการพัฒนา หนวยงานราชการ รวม

จํานวนนักศึกษา(รอยละ) 3 (8.33%) 2 (5.56%) 5 (13.89%) 5 (13.89%) 2 (5.56%) 11 (30.56%) 3 (8.33%) 1 (2.78%) 1 (2.78%) 1 (2.78%) 1 (2.78%) 36

จากขอมูลพบวานักศึกษาสวนใหญปฏิบัติงานสหกิจศึกษาภายในประเทศ พื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑลมากที่สุด รอยละ 50.00 (สถานประกอบการ 17 แหง นักศึกษา 18 คน) รองลงมาคือ ภาคเหนื อ รอ ยละ 25.00 (สถานประกอบการ 9 แหง นั กศึ กษา 9 คน) และภาคใต รอยละ 11.11 (สถานประกอบการ 4 แหง นักศึกษา 4 คน) ดังแสดงในตารางที่ 4

2


รายงานผลการดําเนินงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2556 ตารางที่ 4 จํานวนนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษาแยกตามพื้นที่การปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ภาค/จังหวัด

จํานวนสถานประกอบการ (แหง)

รอยละ

จํานวนนักศึกษา (คน)

รอยละ

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล

17

48.57

18

50.00

กลาง

2

5.71

2

5.56

ตะวันตก

1

2.86

1

2.77

ตะวันออกเฉียงเหนือ

2

5.71

2

5.56

ใต

4

11.43

4

11.11

เหนือ

9

25.72

9

25.00

รวมทั้งสิ้น

35

100.00

36

100.00

สวนที่ 2 ผลการประเมินการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาโดยสถานประกอบการ 2.1 ผลการประเมินการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ผลการประเมิ น การปฏิ บั ติ ง านสหกิ จ ศึ ก ษา ภาคการศึ ก ษาต น ป ก ารศึ ก ษา 2556 โดย สถานประกอบการหลังจากการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาเสร็จสิ้น สามารถสรุปไดดังตารางที่ 5 ตารางที่ 5 ผลการประเมินการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2556 หัวขอประเมิน 1. 2. 3.

ปริมาณงาน (Quantity of work) คุณภาพงาน (Quality of work) รวมดานผลสําเร็จของงาน ความรูความสามารถทางวิชาการ (Academic Ability)

4.

ความสามารถในการเรียนรูและประยุกตวิชาการ (Ability to learn and apply knowledge)

5.

ความชํานาญในการปฏิบัติงาน (Practical Ability)

6.

ความสามารถในการตัดสินใจแกปญ  หาเฉพาะหนา (Judgment and Decision Making)

7.

การจัดการและวางแผน (Organization and Planning)

8.

ความสามารถในการติดตอสื่อสาร (Communication Skills)

9.

ความสามารถในการพัฒนาตนเองตองานที่ไดรับ มอบหมาย (Self-Development) 10. ความเหมาะสมตอตําแหนงที่ไดรับมอบหมาย (Suitability for Job Position)

รวมดานความรูความสามารถ 11. ความรับผิดชอบและเปนผูที่ไววางใจได (Responsibility and Dependability)

12. ความสนใจ อุตสาหะในการทํางาน (Interest in work)

ศิลปศาสตร 100.00 100.00 100.00

คะแนนเฉลี่ย (รอยละ) เทคโนโลยี อุตสาหกรรม การจัดการ สารสนเทศ เกษตร 86.60 84.20 80.00 90.00 82.20 80.00 88.40 83.20 80.00

รวม 85.40 85.40 85.40

80.00

88.40

80.00

80.00

83.00

80.00

88.40

83.20

60.00

84.20

100.00

80.00

76.80

60.00

78.20

100.00

83.40

74.80

40.00

77.60

100.00

78.40

74.80

60.00

76.40

80.00

88.40

82.20

60.00

83.60

100.00

83.40

79.00

80.00

81.20

80.00

90.00

82.20

80.00

84.80

90.00

85.00

79.20

65.00

81.20

80.00

90.00

84.20

80.00

86.00

100.00

88.40

87.40

60.00

87.20

3


รายงานผลการดําเนินงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2556 ตารางที่ 5 (ตอ) หัวขอประเมิน 13. ความสามารถเริ่มตนทํางานไดดวยตัวเอง (Initiative or Self Starter) 14. การตอบสนองตอการสั่งการ (Response to supervision)

15. 16. 17. 18. 19.

รวมผลดานความรับผิดชอบตอหนาที่ บุคลิกภาพ และการวางตัว(Personality) แตงกายสุภาพเหมาะสม (Appropriate Dressing) มนุษยสัมพันธ (Interpersonal Skills) จิตอาสา (Offer to do more work) ความมีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามวัฒนธรรม องคกร (Discipline and adaptability to

ศิลปศาสตร

คะแนนเฉลี่ย (รอยละ) เทคโนโลยี อุตสาหกรรม การจัดการ สารสนเทศ เกษตร

รวม

100.00

78.40

80.00

60.00

79.40

100.00

90.00

87.40

60.00

87.80

95.00 100.00

86.80 88.40

84.80 93.60

65.00 80.00

85.20 91.60

100.00

90.00

90.60

80.00

90.40

80.00 80.00

91.60 95.00

91.60 93.60

80.00 60.00

91.00 92.80

80.00

91.60

90.60

80.00

90.40

100.00

93.40

93.60

80.00

93.40

90.00 93.80

91.60 88.00

92.20 84.80

76.60 71.60

91.60 85.80

formal organization)

20. คุณธรรมและจริยธรรม (Ethics and Organization)

รวมผลดานลักษณะสวนบุคคล รวมทั้งหมด

2.2 การรับนักศึกษาเขาทํางานภายหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา จากขอมูลในตารางที่ 6 พบวา สถานประกอบการยินดีรับเขาทํางาน (กรณีมีตําแหนงงานวาง) รอ ยละ 63.89 ไม ป ระสงค รั บ เข า ทํ างาน รอ ยละ 11.11 ซึ่งเหตุผลสว นใหญคือ ไมมีตํา แหนงงานวา ง และไมแนใจรอยละ 25.00 โดยมีเหตุผลเกี่ยวกับนโยบายการรับพนักงานของสถานประกอบการที่อาจมี การเปลี่ยนแปลง ตารางที่ 6 การรับนักศึกษาเขาทํางานภายหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา จํานวนนักศึกษาแยกตามสํานักวิชา (รอยละ) การรับเขาทํางานภายหลังเสร็จสิน้ การปฏิบัติงาน ศิลปศาสตร การจัดการ เทคโนโลยี อุตสาหกรรม สารสนเทศ เกษตร 1 11 11 สถานประกอบการยินดีรับเขาทํางาน (กรณีมีตําแหนงงานวาง) 0 (100.00) (84.62) (52.38) 1 3 สถานประกอบการไมรับเขาทํางาน 0 0 (7.69) (14.29) 1 7 1 ไมแนใจ 0 (7.69) (33.33) (100.00) รวม 1 13 21 1

รวม 23 (63.89) 4 (11.11) 9 (25.00) 36

4


รายงานผลการดําเนินงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2556

9 (25.00) 4 (11.11)

23 (63.89)

แผนภูมิที่ 2 การรับนักศึกษาเขาทํางานภายหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา 2.3 ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตอนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษา จากการปฏิ บั ติ ง านสหกิ จ ศึ ก ษาของนั ก ศึ ก ษา ภาคการศึ ก ษาต น ประจํ า ป ก ารศึ ก ษา 2556 ส ว นจั ด หางานและฝ ก งานของนั ก ศึ ก ษาได รั บ ผลตอบลั พ ธ ข อ สั ง เกต และข อ วิ พ ากษ วิ จ ารณ ข อง สถานประกอบการต อ พฤติ ก รรมของนัก ศึก ษาปฏิบัติงานสหกิจ ศึก ษา จําแนกตามสาขาวิชา ดังแสดง ในตารางที่ 7 ตารางที่ 7 ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะของสถานประกอบการตอนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษา สํานักวิชา ศิลปศาสตร

สาขาวิชา ภาษาจีนธุรกิจ

การจัดการ

บริหารธุรกิจ

การจัดการการทองเที่ยว

จุดแข็ง ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ -ความรับผิดชอบตองาน -ตั้งใจทํางาน ดานลักษณะสวนบุคคล -บุคลิกภาพดี ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ -ตรงตอเวลา (1) ดานลักษณะสวนบุคคล -ความขยันและตั้งใจทํางาน (1) -ความมีน้ําใจชวยเหลืองานผูอื่น (1)

สิ่งที่ควรปรับปรุง ดานความรูความสามารถ -ทักษะการพูดภาษาจีน

ดานความรูความสามารถ -ภาษาอังกฤษ (1) ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ -การเรียนรูงานอยางรวดเร็ว (1) -ความมุงมั่นตั้งใจทํางาน (1) -ความกระตือรือรน (1) ดานลักษณะสวนบุคคล -มนุษยสัมพันธดี (1) -ความขยัน (1) -มารยาทและสัมมาคารวะ (1)

ดานความรูความสามารถ -ความรูพื้นฐานดานอาหารและ เครื่องดื่ม (1) ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ -ความตรงตอเวลา (1) -การวางแผนการทํางาน (1)

ดานความรูความสามารถ -ความชํานาญในการใชโปรแกรม Excel (1) -ทําความเขาใจในงานไดชา (1)

5


รายงานผลการดําเนินงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2556 ตารางที่ 7 (ตอ) สํานักวิชา การจัดการ (ตอ)

สาขาวิชา การจัดกาอุตสาหกรรม การบริการ การจัดการธุรกิจ การบิน

เทคโนโลยี สารสนเทศ

เทคโนโลยีมัลติมีเดีย และการสราง ภาพเคลื่อนไหว

วิศวกรรมคอมพิวเตอร

วิศวกรรมการสื่อสาร และสารสนเทศ

จุดแข็ง ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ -ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย ดานลักษณะสวนบุคคล -ความเปนระเบียบเรียบรอยในการทํางาน ดานความรูความสามารถ -การวางแผนการทํางาน ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ -ความรับผิดชอบ (2) -ตรงตอเวลา -ตั้งใจทํางาน ดานลักษณะสวนบุคคล -สุภาพ เรียบรอย (3) -มนุษยสัมพันธดี (2) -มารยาทดี -กระตือรือรน ดานความรูความสามารถ -ความชํานาญ ความสามารถในการทํางาน (2) -ภาษาอังกฤษ -ความคิดสรางสรรค (4) -การแกปญหาเฉพาะหนา (2) ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ -ทํางานไดรวดเร็ว (4) -ใสใจในรายละเอียดของงาน -ขยันและตั้งใจ (2) -รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น -ความตั้งใจในการทํางาน (2) -ตรงตอเวลา (2) ดานลักษณะสวนบุคคล -อัธยาศัยดี (6) -กระตือรือรน (2) -ทํางานรวมกับผูอื่นไดดี -มารยาทดี (2) ดานความรูความสามารถ -ความสามารถในการทํางาน -ภาษาอังกฤษ ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ -ความมุงมั่นตั้งใจทํางาน ดานลักษณะสวนบุคคล -มารยาทดี -สุภาพเรียบรอย ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ -ความมุงมั่นตั้งใจทํางาน (2) ดานลักษณะสวนบุคคล -มารยาทดี

สิ่งที่ควรปรับปรุง

ดานความรูความสามารถ -ภาษาตางประเทศ ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ -การแกปญหาเฉพาะหนา ดานลักษณะสวนบุคคล -ความมั่นใจในตนเอง

ดานความรูความสามารถ -ความชํานาญเฉพาะดาน -ความคิดริเริ่มสรางสรรค ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ -การตัดสินใจ ดานลักษณะสวนบุคคล -ทัศนคติตองานที่ทํา -การชวยเหลือผูอื่น

ดานความรูความสามารถ -การเรียนรูดวยตนเอง ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ -ความละเอียดรอบคอบ

ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ -ความละเอียดรอบคอบ (2)

6


รายงานผลการดําเนินงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2556 ตารางที่ 7 (ตอ) สํานักวิชา อุตสาหกรรม เกษตร

สาขาวิชา เทคโนโลยีการอาหาร

วิทยาศาสตร เครื่องสําอาง

วิทยาศาสตร เครื่องสําอาง

จุดแข็ง ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ -ความรับผิดชอบ ดานลักษณะสวนบุคคล -รวมงานกับผูอื่นไดดี ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ -ตรงตอเวลา

สิ่งที่ควรปรับปรุง ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ -ตรงตอเวลา -การใชเวลาวางใหเปนประโยชน ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ -ความกระตือรือรน

จากตารางแสดงจุดแข็งและสิ่งที่นักศึกษาควรปรับปรุงในดานความรูความสามารถ ดานความ รับผิดชอบตอหนาที่ และดานลักษณะสวนบุคคล ของนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ภาคการศึกษาตน ปการศึกษา 2556 พบวาสถานประกอบการไดประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาที่ปฏิบัติงาน ดานความรู ความสามารถ พบวานักศึกษามีจุดเดนในการใชความรูความสามารถในการทํางาน มีความคิดสรางสรรค สามารถวางแผนการทํางานได และสามารถใชภาษาอังกฤษไดเปนอยางดี ดานความรับผิดชอบตอหนาที่ พบวาสถานประกอบการประเมินนักศึกษาฝกปฏิบัติงานมีความรับผิดชอบสูง ตรงตอเวลา และมุงมั่นตั้งใจ ทํ า งานเป น อย า งดี ด า นลั ก ษณะส ว นบุ คคลก็ ยัง พบว า นั ก ศึ ก ษามี ความประพฤติใ นทางที่น า ชื่ น ชมคื อ มี มนุ ษยสั ม พั น ธ ที่ ดี ตอ เพื่ อ นร ว มงาน มี ม ารยาท สุภ าพอ อ นนอ ม มีสัม มาคารวะต อ ผูใ หญ ในองคก ร สามารถรวมงานกับผูอื่นไดดี และมีความกระตือรือรน นอกจากนี้ สถานประกอบการยั งไดใหขอ สังเกตซึ่งเปน สิ่งที่นัก ศึก ษาควรปรับ ปรุงตอ ไปดังนี้ ด า นความรู ค วามสามารถ สถานประกอบส ว นใหญ เ ห็ น ว า นั ก ศึ ก ษายั ง ขาดทั ก ษะในการตั ด สิ น ใจ และแก ไขปญหาเฉพาะหนาและการใชภาษาอังกฤษ ซึ่งอาจมาจากประสบการณการทํางานที่ยังมีนอ ย ดานความรับผิดชอบตอหนาที่พบวานักศึกษายังไมกลาแสดงออกเทาที่ควร และยังขาดความรูพื้นฐาน เฉพาะด า น การหาความรู ด ว ยตนเอง ความละเอี ย ดรอบคอบ การแก ป ญ หาเฉพาะหน า เป น ต น สวนในด า นลั ก ษณะส วนบุคคล สถานประกอบการสว นใหญใหความเห็น วานัก ศึก ษาขาดความมั่น ใจ ในตนเอง ซึ่ ง สิ่ ง เหล า นี้ จ ะเป น ประโยชน แ ก ส ว นจั ด หางานและฝ ก งานของนั ก ศึ ก ษา สํ า นั ก วิ ช า และหนวยงานที่เกี่ยวของในการนําไปปรับปรุงแกไข และสงเสริมนักศึกษาที่จะออกไปปฏิบัติงานสหกิจ รุนตอไป

7


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.