จบซะที

Page 1


เรียบเรียงเนื้อหาจากปุจฉาวิสชั ชนาธรรมกับหลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย


จบซะที

หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย พิมพ์ครัง้ ที่ ๑ : เมษายน ๒๕๖๐

จ�ำนวน ๒๐,๐๐๐ เล่ม

ขอ้ มูลทางบรรณานุ กรม

พระณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย  จบซะที -- กรุงเทพฯ : น�ำ่ กังการพิมพ์, 2560, จ�ำนวน 216 หน้า 1. พุทธศาสนา -- ค�ำถามและค�ำตอบ I. ชื่อเรื่อง 294.3076 ISBN  978-616-429-860-6

“พิมพ์แจกเป็นธรรมทาน ห้ามจ�ำหน่ายหรือใช้ในทางการค้า และห้ามตัดต่อเพิ่มเติม แก้ไข ดัดแปลงเนื้อหาและภาพประกอบ” “This book is available for free and for dissemination of Dhamma only. Not for commercial use. Any modification is not permitted.” พิมพ์ท่ี : หจก.น�ำ่ กังการพิมพ์  ๗๔ ซอย ๑๖  ถนนสาธุ ประดิษฐ์  แขวงบางโคล่  เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๒๐ โทร. ๐-๒๒๑๑-๑๙๙๘, ๐-๒๒๑๑-๙๖๖๔, ๐๘๑-๙๑๘-๗๔๒๙ E-mail : namkangltd@yahoo.com


“สัพพะทานัง ธรรมะทานัง ชินาติ”

“การให้ธรรมะเป็นทาน เหนือกว่าการให้ทานใดๆ ทัง้ มวล” ช่วยกันเผยแผ่ธรรมะอย่างไร ก็ปฏิบตั ิให้ ได้อย่างนัน้ ปฏิบตั ไิ ด้อย่างไร ก็เผยแผ่อย่างนัน้ ทัง้ ผูเ้ ผยแผ่ และผู้ ได้รบั ค�ำสอนก็ได้ประโยชน์ทงั้ คู่ คือ รูธ้ รรม เห็นธรรม ใจเป็นธรรม จึงจะเป็นพุทธศาสนา เพราะพระพุทธศาสนา คือ การบอกสอน จากประสบการณ์ตรงทีเ่ ป็นธรรม การให้ธรรมะเป็นทาน จึงเป็นบุญบารมีใหญ่ ท�ำให้ตนเองและผูอ้ นื่ พ้นทุกข์ ขอบุญกุศลทีท่ กุ ท่านทีร่ ว่ มกันเผยแผ่ธรรมะ จงเป็นบุญบารมีให้ ได้รธู้ รรม เห็นธรรม ใจเป็นธรรม ทัง้ ผูเ้ ผยแผ่ และผูร้ บั ธรรมะจาก การเผยแผ่ดว้ ยเทอญ.


ค�ำน�ำ ผูแ้ สวงหาธรรม หานิพพาน หาทางพน้ ทุกข์ แต่ไม่รูว้ ่าอะไร คือ “ธรรม” อะไรคือ “นิพพาน” อะไรคือ “ทุกข์” อะไรเป็ นเหตุให้ เกิดทุกข์ จะดับทุกข์ได้อย่างไร จึงพากันปฏิบตั ิแบบมัว่ ๆ ท�ำให้ เสียเวลาเนิ่นนานไปหลายปี “ธรรม” คือ สัจธรรมหรือความจริงของธรรมชาติมีอยู่ สองอย่าง คือ ธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ ง เรียกว่า สังขาร ได้แก่ สิง่ ทีอ่ ยู่ภายนอกร่างกายทัง้ หมด (ยกเวน้ ความว่างของธรรมชาติ หรือจักรวาล) และ ขันธ์หา้ คือ ร่างกาย เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ซึง่ สังขารทัง้ หมดตกอยู่ใต้กฎไตรลักษณ์ คือเป็ นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ ทนอยู่สภาพเดิมไม่ได้ ไม่ใช่เรา ตัวเรา หรือไม่ใช่ตวั ตนของเรา ธรรมชาติอกี อย่างหนึ่งเป็ นธาตุรู ้ หรือวิญญาณธาตุ ซึ่งเป็ นธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง เรียกว่า วิสงั ขาร เป็ น ความว่ า งเปล่ า จากตัว ตน เป็ น เหมือ นกับ ความว่ า งของ ธรรมชาติหรือจักรวาล ไม่มรี ู ปร่าง ไม่ปรากฏกริยาหรืออาการใด เลย มีช่ือสมมุติหลายชื่อ เช่น ใจหรือจิตเดิมแท้ ธรรมธาตุ หรือ อมตธาตุ หรือมหาสุญญตา หรือพุทธะ 4


ไม่อาจเอาขันธ์หา้ ซึ่งเป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งไปดิ้นรน ค้นหาใจได้ เพราะใจไม่มเี ครื่องหมายหรือที่หมายใด และไม่อาจ จะถูกรู้ ได้ทางมโนวิญญาณขันธ์ คงมีวธิ ีเดียวเท่านัน้ คือ “หยุด” เป็ นผูป้ รุงแต่งเดีย๋ วนี้ ก็จะเป็ น “ใจ” ที่ไม่ปรุงแต่งโดยอัตโนมัติ ทันที เพราะความปรุงแต่งกับความไม่ปรุงแต่งจะเป็ นอันเดียวกัน ในขณะจิต เดีย วกัน ไม่ไ ด้ หรือ สิ้น หลงยึด มัน่ ถือ มัน่ ว่า ขัน ธ์ห า้ เป็ นเรา หรือเป็ นตัวเรา หรือเป็ นตัวตนของเราแลว้ ก็จะพบใจ แลว้ ไม่ยดึ ถือ “ใจ” เสียด้วย ทุกข์ก็ดบั เรียกว่า “นิพพาน” ดังนัน้ จึงไม่ได้ไปแสวงหาธรรมหรือนิพพานที่อ่ืน นอกจากสิ้นหลงเอา ความคิดในขันธ์หา้ มาปรุ งแต่ งเป็ นความรู้สึกว่ามีเรา มีตวั เรา หรือมีตวั ตนของเรา ดังนัน้ ทุกขณะจิตปัจจุบนั อย่าหลงส่งจิตออกนอกไปสนใจ อารมณ์ท่ถี ูกรู ้ ให้สติตง้ั ที่ใจ ดู ท่ใี จ รู้ท่ใี จ สังเกตที่ใจ ละที่ใจ ปล่อยวางที่ใจ ทุกขณะจิตที่มกี ารกระทบกันของอายตนะภายใน กับอายตนะภายนอก แลว้ จิตหรือวิญญาณขันธ์ก็จะไปรู อ้ ารมณ์ คือ รู ป เสียง กลิน่ รส โผฏฐัพพะหรือสัมผัส และธรรมารมณ์ (เวทนา สัญญา สังขาร) แล ้วจะส่งต่อธรรมารมณ์ตวั ใหม่ คือเวทนา สัญญา สังขาร ตลอดเวลา แต่จะหลงมีความรูส้ กึ ว่าตัวเราเป็ นผู้รู้ เป็ น ผู้คิด ตรึก ตรองปรุ ง แต่ ง เหมือ นกับ พากษ์ห รือ พูด อยู่ ใ นใจ แลว้ จิตหรือวิญญาณขันธ์ซ่งึ เป็ นผู้รู้ตวั เก่ าพร้อมกับธรรมารมณ์ 5


ตัวเก่าจะดับไปเร็วมาก แลว้ เกิดจิตหรือวิญญาณขันธ์ตวั ใหม่มารู ้ อารมณ์ แลว้ เอามาคิดตรึกตรองปรุงแต่งอยู่ในใจอีกอย่างนี้เรื่อย ไป จนกว่าจะตาย ถ้าสติตงั้ ที่ใจ ดูท่ใี จ รู ท้ ่ใี จ สังเกตที่ใจ ละที่ใจ ปล่อยวางที่ใจตลอดเวลา โดยไม่หลงขาดสติไปสนใจแต่อารมณ์ ที่ถู ก รู้  ใ นทุ ก ขณะจิ ต ปัจ จุ บ นั ก็ จ ะเห็ น จิ ต หรื อ วิญ ญาณขัน ธ์ ผูร้ ู ก้ บั ธรรมารมณ์ ซึ่งเป็ นสิ่งที่ถูกรู เ้ กิดดับในใจตลอดเวลา ก็ให้ มีปญ ั ญารูแ้ จ้งออกมาจากใจ (วิสงั ขาร) ทีไ่ ม่สามารถปรากฏกริยา อาการใดๆ ว่า ความรู ส้ กึ ว่า “เรา........” เช่น เราเป็ นผูด้ ู เป็ นผูร้ ู ้ เป็ นผูเ้ ห็น เราเป็ นผูค้ ิด เราเป็ นผูม้ อี ารมณ์ เราดีใจ เราเสียใจ เรา พอใจ เราไม่พอใจ เราสดใส เบิกบาน เราเศร้าหมอง หดหู่ เบือ่ เซ็ง กลุม้ เราสงบเย็น เราหงุดหงิดเหนื่อยหน่ าย เราเขา้ ใจ เรารู แ้ จ้ง เรามีปญ ั ญาโพลงขึ้นมา เรายังติดอะไรอยู่ เราจะต้องพยายามให้ หลุด เรายังไม่พน้ ทุกข์ เราพน้ ทุกข์ เรา..... หรือตัวเราทุกขณะ จิตปัจจุบนั นัน้ เป็ นเพียงสังขารปรุงแต่ ง ว่างจากสัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา ก็จะสิ้นอวิชชา สิ้นหลงยึดมัน่ ถือมัน่ ว่าขันธ์หา้ เป็ นเรา เป็ นตัวเรา เป็ นตัวตนของเรา หรือมีตวั เราอยู่ในขันธ์หา้ ถ้ามีความใส่ใจในการปฏิบตั ิธรรมมานานแลว้ อย่างน้อย ก็ตอ้ งพอมองเห็นช่ องทางพน้ ทุกข์บา้ ง ถ้ายังตื้อๆ ตันๆ มอง ไม่เห็นทางอะไรเลย ต้องมีความเฉลียวใจว่าปฏิบตั ิมานานแลว้ แต่ ทำ� ไมมองไม่เห็นทางจะพน้ ทุกข์ในปัจจุบนั ได้เลย อย่างนี้ก็ 6


ต้องเขา้ หาผูร้ ู จ้ ริงให้ช่วยชี้แนะ อย่าเอาทิฏฐิมานะของตนเขา้ ไป หาท่าน ให้เขา้ ไปหาด้วยความนอบน้อมถ่อมตน ขอให้ท่านช่วย ชี้แนะให้ เมือ่ พบผูร้ ูจ้ ริงช่วยชี้แนะ ทัง้ เราก็มคี วามขยันหมันเพี ่ ยร ด้วยความอดทน ทัง้ ฟัง อ่าน ปฏิบตั ิ ไต่ถาม ขยันส่งการบา้ น อยู่ เป็ นประจ�ำ แต่ ถา้ ยังคลุมเครืออยู่ อีก อย่ างนี้ทุกขณะก่ อน อ่าน ฟัง ปฏิบตั ิธรรม ต้องอธิษฐานถอนคืนค�ำอธิษฐานความ ปรารถนาใดๆ ถอนค�ำสาปแช่ง ขอขมาต่อพระพุทธ พระธรรม พระอริยสงฆ์ ทัง้ หมดที่ผ่านมาทุกชาติ และขอขมาบิดามารดา ครู อาจารย์ผูม้ พี ระคุณ ที่เป็ นเหตุขดั ขวางท�ำให้ไม่เกิดสติปญ ั ญา เป็ นสัมมาทิฏฐิ สิ้นอวิชชา กิเลส ตัณหา อุปาทาน… และทุกข์ใน ปัจจุบนั นี้ หลังจากนัน้ ให้อธิษฐานน้อมเอาธรรมเขา้ สู่ใจ ให้ใจเป็ น ธรรมทีส่ ้ นิ กิเลสในปัจจุบนั นี้ดว้ ยเทอญ… ให้อธิษฐานซ�ำ้ ๆ… แลว้ ก็ตงั้ ใจ ใส่ใจ กัดติดจดจ่อในการอ่าน ฟัง และเพียรปฏิบตั ิดว้ ย ศรัทธาความเพียรอย่างต่ อเนื่อง ย่อมจะเห็นผลประจักษ์แก่ ใจ อย่างแน่ แท้.

7


สารบาญ ค�ำน� ำ .............................................................................. ๔ ๑ เริ่มต้นที่สมั มาทิฏฐิ และความเข้าใจเรื่องขันธ์หา้ ...........๑๕ สัมมาทิฏฐิ เป็ นก้าวแรกทีส่ ำ� คัญในการเดินทางไปสูค่ วามพ ้นทุกข์ เป็ นขอ้ แรกของมรรคทัง้  ๘ ดังนัน้ การมีความเขา้ ใจที่เที่ยงตรง และ ชัดเจนต่อหลักธรรม ทัง้ ในเรื่องอริยสัจ ธาตุ ขันธ์ อายตนะ จิต เจตสิก และนิพพาน จะเป็ นเสมือนเข็มทิศน�ำทางการปฏิบตั ิภาวนาที่ถูกต้อง และเป็ นหัวใจที่สำ� คัญที่สุดของการเดินทางไปสู่ความพน้ ทุกข์ ส่วนขันธ์หา้ นัน้ เป็ นกระบวนการตามธรรมชาติของชีวติ ไม่ได้ เป็ นกิเลสตัณหาอะไร แต่กิเลสเกิดจากอวิชชาที่ติดมากับธาตุรู ้ ท�ำให้ หลงไปยึดขันธ์หา้ ว่าเป็ นตัวตนของเรา พอไม่เขา้ ใจภาพรวมเช่ นนี้ก็ ปฏิบตั ิผดิ พยายามจะเอาขันธ์หา้ ไปปรุงแต่งขันธ์หา้ ไม่ให้ปรุงแต่ง จะ พาขันธ์หา้ ไปหานิพพาน หรือจะท�ำขันธ์หา้ ให้เป็ นนิพพาน เหล่านัน้ เป็ น มิจฉาทิฏฐิ

๒ สติ สมาธิ ปัญญา...................................................... ๓๓ สติ สมาธิ ปัญญา เป็ นสังขารในขันธ์หา้ ซึ่งเราต้องอาศัยเป็ น

เครื่องมือที่สำ� คัญในการปฏิบตั ิ โดยทัง้ สติ สมาธิ ปัญญา สามารถ จ�ำแนกออกได้เป็ นระดับขั้นต่างๆ  ตามความละเอียดลุ่มลึกของการ ภาวนา การท�ำความเขา้ ใจในเรื่องนี้จะช่ วยลดความสับสนของการ ภาวนาในแต่ละขัน้ และเป็ นรากฐานที่แข็งแรงตลอดการเดินทางสู่ฝงั ่ พระนิพพาน 8


๓ ล่อไว้ให้เห็นตัวเราพากษ์............................................๔๕ ค�ำบริกรรม เป็ นตัวช่วยทีส่ ำ� คัญอย่างหนึง่ เพือ่ ให้มีสติ สัมปชัญญะ รูส้ กึ ตัวทัวพร้ ่ อม ไม่หลงไปกับสังขารในขันธ์ห ้า สิง่ นี้จะเป็ นเหมือนตัวล่อ หรือเครื่องล่อให้มคี วามรูส้ กึ ตัว ท�ำให้สามารถสังเกตเห็นตัวเราที่คิด หรือพากษ์ (วิพากษ์) อยู่ในใจ โดยไม่หลงเอาตัวเองไปคิด แค่สกั แต่ว่า รูต้ วั เราที่คิด เป็ นการดูให้เห็นขบวนการท�ำงานของวิญญาณขันธ์ร่วม กับเจตสิกตามธรรมชาติ เพือ่ ให้ปล่อยวางความหลงยึดถือขันธ์หา้

๔ เราเป็ นคนรู น้ ่ี แหละจิต...............................................๕๑ ผูป้ ฏิบตั ิธรรมต้องรู้ให้เท่าทัน รู้ ให้ถูกตัว ให้ถามตัวเองว่าใคร

เป็ นคนรู ้ ก็เรานัน่ แหละเป็ นคนรู ้ เราเป็ นคนรูอ้ าการ เราทีว่ า่ นัน้ คือจิต หรือวิญญาณขันธ์ ซึ่งแท้จริงไม่ใช่ตวั เราแต่เป็ นขันธ์ เราต้องรูใ้ ห้ครบ ทุกขันธ์ จึงจะปล่อยวางได้ทงั้ หมด

๕ อารมณ์มีอยู่ แต่ใจว่างเปล่า........................................๕๙ การปฏิบตั ิ ให้เขา้ ใจความเป็ นจริงของขันธ์หา้ อันประกอบจาก

ธาตุดนิ น�ำ้ ลม ไฟ และธาตุรทู้ ม่ี อี วิชชาผสมอยู่ ให้แค่สกั แต่วา่ รูข้ นั ธ์หา้ หรือสังขารเกิดดับ โดยไม่หลงว่ามีตวั เราอยู่ในขันธ์หา้ ไม่มตี วั เราทีจ่ ะ ไปเอาอะไร ทัง้ สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ลว้ นแต่ เป็ นอารมณ์ท่ถี ูกรู ข้ องจิต ไม่หลงยึดถือ ไม่ไหลติดไป และไม่ผลักไส อาการต่างๆ ก็จะพบใจที่ว่างเปล่าซึ่งเปรียบได้กบั ท้องฟ้ าที่ว่างเปล่า ที่ไม่ปรากฏร่องรอยใดๆ ของนกที่บนิ ผ่าน

๖ เป็ นผูด้ ูไม่ใช่ ผูแ้ สดง...................................................๖๕ ดู จิตดู ใจให้เหมือนดู หนังดู ละคร อย่าเขา้ ไปเป็ นผูเ้ ล่นผูแ้ สดง

เสียเอง จะหลงไปเป็ นสังขาร ให้เป็ นเพียงผูด้ ูผรู้ ู้เท่านัน้ ให้เฉลียวใจ รูส้ กึ ตัวขึ้นมา สักแต่วา่ รู ้ เห็นความคิดเกิดดับในใจทีว่ า่ งเปล่า ปราศจาก 9


ตัวตน และไม่มตี วั เราเข ้าไปมีสว่ นได้สว่ นเสีย เป็ นธรรมชาติทไี่ ม่ปรุงแต่ง มีแต่วญ ิ ญาณขันธ์ทำ� งานร่วมกับเจตสิกเคลือ่ นไหวอยู่ในใจตลอดเวลา โดยไม่มผี ูเ้ ขา้ ไปจัดการ เขา้ ไปยึดถือ จะพน้ จากสมมุติก็เป็ นวิมตุ ติ โดยอัตโนมัติ

๗ เข้าใจถึงใจ................................................................๖๙ ให้มสี ติ ปัญญารูเ้ ท่าทันความหลงทีเ่ กิดขึ้น ไม่ตอ้ งกลัวหลง แค่

รู้สกึ ตัวขึ้นมาแล ้วให้เข ้าหาผู้รู้หรือวิญญาณขันธ์ เพือ่ ให้รูว้ า่ คิดนึกตรึก ตรองอย่างไรต่อสิง่ ทีถ่ กู รู ้ และไม่หลงปรุงแต่งเป็ นตัวเรา  และไม่เอา ตัวเราไปคิดหลงปรุงแต่งดิ้นรนค้นหา ให้สงั เกตเห็นผู้ทพ่ี ยายามดิ้นรน ค้นหา เพราะเมือ่ หยุดหลงปรุงแต่งก็จะเข ้าถึงจิตเดิมแท้หรือใจทีว่ า่ งเปล่า

๘ ญาณตามหลังธรรม................................................... ๗๙ ให้จติ ปรุงแต่งเกิดดับแสดงกริยาอาการขึ้นมาก่อน อย่ามีตวั เรา

เขา้ ไปเริ่มท�ำสติปญ ั ญา หรือพยายามปรุงแต่งแสดงอาการอะไรก่อน ในใจ จะเป็ นการหลงปรุงแต่งยึดขันธ์หา้ มาเป็ นเรา ซึ่งเป็ นอวิชชา ให้ ปล่อยเป็ นธรรมชาติของจิตเขาปรุงแต่งขึ้นมาก่อน แลว้ ญาณซึ่งเป็ น แต่ความรู ท้ ่ไี ม่มเี รารู ้ ไม่มอี าการรู ้ ค่อยตามหลังจนสิ้นหลงปรุงแต่ง ญาณก็จะเป็ นธาตุรูบ้ ริสุทธิ์ท่สี ้ นิ อวิชชา เป็ นพุทธะ

๙ อย่างไรจึงเรียกอวิชชา............................................... ๘๗ การพยายามรักษาสติไว ้ พยายามจะไม่ให้หลง ก็จะเป็ นหลงและ

เป็ นอวิชชาในทันที ให้มสี ติสงั เกตทุกขณะปัจจุบนั ว่ามีอะไรเกิดขึ้น ในใจ ให้เขา้ ใจว่าทุกอย่างเป็ นเพียงแค่สงั ขารปรุงแต่ง แลว้ ปล่อยวาง สังขารอย่างที่มนั เป็ น ไม่เขา้ ไปปรุงแต่งเป็ นตัวเรามีส่วนได้เสีย หรือ ไปยึดถือสังขารปรุงแต่งทุกชนิด เมือ่ สิ้นยึดจะพบใจที่ว่างเปล่า และ การไม่ยดึ ถือแม้ใจที่ว่างเปล่าที่บริสุทธิ์จึงจะสิ้นอวิชชาอย่างแท้จริง

10


๑๐ อ่านใจตัวเองให้ขาด.............................................. ๑๐๓ ให้มสี ติอ่านใจตัวเองให้ขาดในทุกขณะปัจจุบนั สังเกตให้รูเ้ ท่า

ทันว่ามีกิเลสตัณหา หรือมีตวั เราผู จ้ ะเอาผู จ้ ะเป็ นอยู่หรือไม่ เพียง สักแต่ว่ารู ้ ไม่ตอ้ งพยายามละหรือพยายามแก้ไข ให้ปล่อยวางความ ยึดถือ ความปรารถนา ปล่อยวางผูจ้ ะเอาไม่ใช่ปล่อยวางเพื่อจะเอา เมือ่ สิ้นหลงยึดถือ สิ้นผูจ้ ะเอา ก็ส้ นิ อวิชชา

๑๑ รู เ้ ดี๋ยวนี้ ละเดี๋ยวนี้ วางหมดในปัจจุบนั ................... ๑๑๓ ความปรารถนาเป็ นทุ ก ข์อ ย่ า งยิ่ ง ต้อ งรู ท้ นั ใจตัว เองและ

วางความปรารถนาลงทุ ก ขณะปัจ จุบ นั แม แ้ ต่ ค วามปรารถนาใน พระนิพพาน ปฏิบตั เิ พือ่ จะไปเอาก็ไม่สามารถจะวางอะไรลงได้ เพราะ การปฏิบตั ิคือการวางหมด ไม่มี ใครได้อะไร ไม่มี ใครเป็ นอะไร ดับผู ้ ปรารถนาสนิทไม่มสี ่วนเหลือ

๑๒ ยิ่งหายิ่งตัน (ตัณหา)............................................. ๑๑๗ การดิ้นรนค้นหาธรรม เป็ นกิเลส เป็ นตัณหา เกิดจากอวิชชาหลง

ยึดขันธ์หา้ เป็ นตัวตนของเรา ยิ่งหาก็ย่ิงตัน หยุดคิด หยุดปรุงแต่ง หยุดดิ้นรนแสวงหา หยุดไปท�ำอะไรเพื่อให้เป็ นอะไร และหยุดความ พยายามจะปล่อยวาง ให้มสี ติรูเ้ ท่าทัน แล ้วปล่อยวางตัวเราตลอดเวลา ก็จะพบใจซึ่งเป็ นธาตุรู้ท่วี ่างเปล่า

๑๓ มีตวั เราไปเอา....................................................... ๑๒๕ ให้มีส ติ ส มาธิ ป ัญ ญาอยู่ ต ลอดเวลา ให้รู เ้ ท่ า ทัน ความหลง

ยึดถือขันธ์หา้ เป็ นตัวตนของเรา อย่าปรุงแต่ งเอาตัวเราไปพยายาม กระท�ำอะไรเพื่อให้ ได้ ให้เป็ นอะไร ให้ปล่อยวางตัวเรา ปล่อยวาง ความรู ส้ ึก ว่ า เป็ น ตัว เรา ไม่ มีเ ราผู้ ไปเอา ไม่ มีผู จ้ ะได้ สิ้น ผู เ้ สวย สิ้นกิเลส ก็พน้ ทุกข์... นิพพาน

11


๑๔ รักษาสติ ปล่อยวางผูร้ ู .้ ......................................... ๑๓๑ สติเป็ นตัวส�ำคัญที่สุดต้องรักษาไวต้ ลอดสาย  ให้มสี ติสงั เกต

ทีผ่ ูร้ ู ้ อย่าไปสนใจสิง่ ทีถ่ ูกรู ้ เมือ่ พบผูร้ จู้ งึ ฆ่าผูร้ ูห้ รือปล่อยผูร้ ู้ได้จริง ปล่อยวางหมด สักแต่ว่ารู  ้ และเมือ่ สิ้นความหลงยึดมัน่ ถือมั่นว่ามีตวั ตน หรือเป็ นตัวเป็ นตน ก็จะพบใจและก็ไม่ยดึ แม้ใจหรือจิตเดิมแท้ นัน้ สุดท้ายสติ ปัญญาก็ตอ้ งปล่อยวางตัวเองผูป้ ล่อยวาง ผูร้ ู แ้ จ้ง ก็ จะสิ้นกิเลส สิ้นทุกข์ นิพพาน

๑๕ รู ท้ ง้ั สามและการปล่อยวางตามล�ำดับ...................... ๑๓๙ รู ม้ ี ๓ รู ้ รู ต้ วั แรก คือจิตหรือวิญญาณขันธ์, รู ต้ วั ที่สอง คือสติ สมาธิ และปัญญา เป็ นสังขารปรุงแต่งที่ตอ้ งน�ำมาใช้ในการเดินทาง, รู ต้ วั ที่สาม คือพุทธะหรือวิญญาณธาตุ คือรู พ้ น้ แลว้         การปล่อยวางความหลงยึดถือ มี ๓ คู่ คู่แรก คือปล่อยวาง อารมณ์ (อายตนะภายนอก) กับผูร้ ู ้ (วิญญาณขันธ์), คู่ทส่ี อง คือปล่อย วางความหลงยึดสติปญ ั ญากับขันธ์หา้ และคู่ ท่ีสาม คือปล่อยวาง ความยึดถือใจที่ว่างเปล่ากับขันธ์หา้ ที่เกิดดับอยู่ในธาตุรู้ท่วี ่างเปล่า

๑๖ จบซะที................................................................ ๑๔๙ ความหลงยึดถือขันธ์หา้ และความผิดพลาดที่ปรุงแต่งมีตวั เรา

ไปเฝ้ าดูไปค้นหา ทัง้ ทีต่ วั เราไม่มี มีแต่ขนั ธ์หา้ การเอาขันธ์หา้ ไปดิ้นรน ค้นหาความเขา้ ใจย่อมไม่ส้ นิ สังขารปรุงแต่ง ให้เขา้ ใจเสียใหม่ เขา้ ใจ ธรรมชาติให้ถกู ต้อง ทิ้งให้หมด วางให้หมด ไม่ตอ้ งใช้เหตุผลในการวาง วางได้ จบได้ จบซะที

๑๗ เหนื อค�ำอธิบาย..................................................... ๑๘๑ ธรรมชาติสองฝ่ ายทีอ่ ยู่ดว้ ยกัน คือฝ่ ายปรุงแต่งและไม่ปรุงแต่ง

เมื่อ ไม่มีก ารยึด เอาธรรมชาติฝ่ ายปรุ ง แต่ ง มาเป็ น ตัว เรา ปล่อ ยให้ ธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งเขาปรุงแต่งไปตามธรรมชาติ ไม่มตี วั เราไปเป็ น ไปเอาอะไร สิ้นความหลงยึดมันถื ่ อมัน่ จะพบใจทีว่ า่ งเปล่า พบธรรมชาติ 12


ทีไ่ ม่ปรุงแต่งในทันที เมือ่ สิ้นยึดธรรมชาติทงั้ สองฝ่ าย ใจย่อมรูอ้ ยู่แก่ใจ สิ้นทุกข์ สิ้นกิเลส ไม่ตอ้ งมีคำ� อธิบายใดๆ อีก

๑๘ สมมุติในวิมตุ ติ.................................................... ๑๘๕ “สมมุติ” คือจิตปรุงแต่งเป็ นสิ่งที่เกิดดับ “วิมตุ ติ” คือใจหรือจิต เดิมแท้ไม่มเี กิดไม่มดี บั ทัง้ สมมุตแิ ละวิมตุ ติมอี ยู่แลว้ ในใจเรา ไม่ตอ้ ง ใช้สมมุติไปค้นหาวิมตุ ติ แค่ หยุด สิ้นหลงคิดหลงปรุงแต่ง สิ้นหลง ยึดสมมุติ ก็จะเป็ นวิมตุ ติหรือจิตเดิมแท้ท่บี ริสุทธิ์ในทันที ปล่อยทัง้ สมมุติ ปล่อยทัง้ วิมตุ ติ... นิพพาน

๑๙ อวิชชาคือม่านบังใจ............................................... ๑๘๙ ใจคือธรรม พบใจพบธรรม ใจที่ว่างมีอยู่แลว้ ในตัวเรา เพียง

แต่มองไม่เห็น เพราะความหลงยึดถือในขันธ์หา้ เป็ นอวิชชาที่บงั ใจอยู่ ปล่อยวางความหลงยึดถือสังขารทัง้ ปวง เมือ่ อวิชชาดับ เปรียบดังม่าน อวิชชาที่บงั ตาใจเปิ ดออก ก็จะพบใจที่ว่างเปล่าทันที

๒๐ เหตุแห่งความว่างที่เที่ยงแท้.................................. ๑๙๕ ความว่างที่เที่ยงแท้ ต้องเกิดจากสติปญ ั ญาที่พจิ ารณามองโลก

โดยเห็นว่าเป็ นของว่างเปล่า และว่างจากความหลงยึดถือ ถอนความเห็น ว่าเป็ นตัวเราของเราจนหมดสิ้น ไม่ใช่ไปหลงสร้างความว่างขึ้นมาเอง และหากแมพ้ บความว่างแลว้ ก็ไม่หลงปรุงตัวเราเขา้ ไปยึดความว่าง นัน้ เอาไว ้ ให้ปล่อยวางทัง้ หมด ที่ปรุงแต่งก็ปรุงแต่งไป ว่างก็ว่างไป สิ้นยึดทัง้ สองสิ่ง... นิพพาน

๒๑ คัมภีรไ์ ร้ตวั อักษร.................................................. ๒๐๙ ตัวหนังสือก็เป็ นสมมุตบิ ญั ญัติ แม ้น�ำพามาสูก่ ารรู ้ตามความเป็ นจริง รู .้ .. รู .้ .. รู .้ .. แต่เมื่อสุดท้ายเขา้ ใจถึงใจ วางหมด วางความยึดถือ วางแมก้ ระทั่งความรู ้ ไม่มีใครรู ้ ไม่มีใครเดินทางแต่แรก คัมภีรน์ ้ ีไม่ ต้องมีตวั อักษรใดๆ อีกเลย... ว่างเปล่า บริสุทธิ์

13


“ ขันธ์ห้าไม่ ได้เป็นกิเลสตัณหา ไม่ได้เป็นอวิชชา และไม่ได้เป็นนิพพาน ความหลงยึดถือขันธ์ห้า และ การหลงเอาขันธ์ห้าไปยึดถือสิ่งอื่นต่างหาก ที่เป็นอวิชชา เป็นเหตุให้เกิดทุกข์ ”


จบซะที

เริ่มต้นที่สัมมาทิฏฐิ และความเข้าใจเรื่องขันธ์ห้า การเดิน ทางให้ถึง จุด หมาย จ�ำ เป็ น ต้อ งรู ท้ ่ีห มายว่ า เรา ก�ำลังจะไปที่ไหน ไปอย่างไร และเพื่ออะไรอย่างชัดเจนฉันใด การเดินทางไปสู่ความพ้นทุกข์ ก็จำ� เป็ นต้องรู เ้ ป้ าหมายและรู ้ แนวทางปฏิบตั ิท่ชี ดั เจนฉันนัน้ โดยเฉพาะ “ก้าวแรก” ซึ่งเป็ น ก้าวส�ำคัญอย่างยิ่ง ถ้ามีความเขา้ ใจที่ชดั เจนก็จะท�ำให้เดินทาง ได้อย่างไม่ผดิ พลาด ไม่ตอ้ งหลงวนเวียนชนิดที่หลายท่านชอบ บ่นกันว่า ท�ำไมปฏิบตั ิธรรมมาหลายปี แต่ ยงั ไม่เขา้ ใจธรรมะ เสียที หลายท่านปฏิบตั ิมานาน เขา้ ทุกส�ำนัก ไปมาทัว่ ทุกที่ แต่ย่งิ เดิน เหมือ นยิ่ง วนเวีย นเป็ น วงกลม ยัง ไม่ ถึง จุด หมายฟากฝัง่ พระนิพพาน ไม่จบเสียที เหตุใดจึงเป็ นเช่ นนี้ เราต้องกลับมา ส�ำรวจตัวเองก่ อนว่า เป้ าหมายของการปฏิบตั ิธรรมของเราคือ อะไร ทางที่เ ราก�ำ ลัง เดิน อยู่ น นั้ ถูก ต้อ ง ตรงทางพ น้ ทุก ข์ข อง 15


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

พระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรือไม่ เราก�ำลังเดินขึ้นเขาพระนิพพาน หรือก�ำลังเดินลงเขากันแน่ ดังนัน้ ความเขา้ ใจที่ถูกต้องหรือการมี “สัมมาทิฏฐิ” จึง เป็ นเสมือนเข็มทิศหลักให้เราเดินทางได้อย่างไม่ผดิ พลาด และ ตรงเขา้ สู่เป้ าหมายได้อย่างไม่เนิ่นช้า เหมือนกับที่พระอริยสาวก ในครัง้ พุทธกาล ที่ท่านสามารถเขา้ ใจธรรมของพุทธองค์ได้อย่าง ไม่ยากเย็น ดังทีเ่ คยได้ยนิ ค�ำอุทานบ่อยๆ ว่า ธรรมะของพระองค์ นัน้ เรียบง่าย เปรียบเหมือนการเปิ ดของคว�ำ่ ให้หงายออกฉันนัน้ สัมมาทิฏฐิจึงมีความส�ำคัญที่สุดส�ำหรับนักปฏิบตั ิ เพื่อให้เดิน ตรงทางสู่การพน้ ทุกข์ เริ่มต้นขอปูพ้ นื ความเขา้ ใจในเรื่องอายตนะและการปฏิบตั ิ ในอริยสัจสี่กนั ก่อน “อายตนะ” หรือในค�ำแปลทีห่ มายถึงทีเ่ ชื่อมต่อ หรือเครื่อง ติดต่อ หรือสิง่ ทีเ่ ป็ นสือ่ ให้ตดิ ต่อกัน จึงประกอบด้วยสองส่วน คือ ส่วนทีเ่ ป็ นสิง่ ภายนอก เป็ นสิง่ ทีเ่ ราไปรับรู้ ได้ ไปเห็นได้ ไปสัมผัสได้ เหมือนเป็ นสิ่งที่อยู่ นอกตัวของเราออกไป ในความหมายนี้จึง เรียกเป็ น อายตนะภายนอก กับอีกส่วน คือส่วนที่เป็ นผู้ไปรับรู ้ เป็ นผูท้ ไี่ ปรูเ้ ขา หรือในความหมายว่าเป็ นส่วนทีเ่ ป็ นตัวเรา อย่างนี้ เรียกว่า อายตนะภายใน ยกตัวอย่างเช่น รู ป เสียง กลิน่ รส 16


เริ่ มต้ นที่สมั มาทิฏฐิ และความเข้ าใจเรื่ องขันธ์ห้า : จบซะที

สัมผัสหรือโผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์หรือสิง่ ทีเ่ ป็ นอารมณ์ต่างๆ ถือเป็ นอายตนะภายนอก คือเป็ นสิ่งที่ถูกรับรู้ได้ ส่วนอายตนะ ภายในคือผู้ท่ไี ปรู้ส่งิ เหล่านี้ อันได้แก่ ตาที่ไปรับรู ร้ ู ป หูท่ไี ปรับรู ้ เสียง จมูกที่ไปรับรู ก้ ลิ่น ลิ้นที่ไปรับรู ร้ ส กายที่ไปรับรู ส้ ่ิงที่มา สัมผัสกาย และใจที่ไปรับรู อ้ ารมณ์ต่างๆ เป็ นส่วนที่ไปรับรู เ้ ขา จึงเรียกสิ่งนี้ว่าเป็ นอายตนะภายใน ที่กล่าวมานัน้ เป็ นสิ่งที่เราเคยได้ยนิ ได้ฟงั มา แต่ในแง่ของ การปฏิบตั ินนั้ เราต้องเขา้ ใจใหม่ว่า ผู้ท่ีไปรับรู ท้ ่ีแท้จริงไม่ใช่ ตา ไม่ใช่หู ไม่ใช่จมูก ไม่ใช่ล้นิ และไม่ใช่กาย สิ่งเหล่านัน้ เป็ นเพียง เครื่องมือในการรับรู เ้ ท่านัน้ แต่ ผูร้ บั รู้ท่ีแท้จริงกลับเป็ นใจหรือ จิตนัน่ แหละ ที่เป็ นผู้ไปรับรู้ท่แี ท้จริง ดังนัน้ อาการต่างๆ ไม่ว่า จะเป็ นอาการทางกายหรือเวทนาทางกาย เช่น ปวดศีรษะ ปวดขา ร้อน หนาว หรือเวทนาทางใจ เช่น ไม่โปร่ง ไม่โล่ง ไม่เบา ไม่สบาย แน่ นอึดอัด ทึบตื้อ กระสับกระส่าย กังวล ความสุข ความสบาย โล่ง โปร่ง เบา ว่าง หรืออารมณ์ชนิดต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในใจ แม ก้ ระทัง่ สิ่ง ที่เ ป็ น ความคิด หรือ ที่เ รีย กว่า สัง ขาร ความจ�ำ ได้ หมายรู ห้ รือที่เรียกว่าสัญญา อันนี้ก็เป็ นสิ่งที่รบั รู้ได้ท่ีใจซึ่งรวม ถือเป็ น “ธรรมารมณ์ ” เหล่านี้เป็ นสิ่งที่ถูกรับรู้ได้ดว้ ยใจหรือ จิต ทัง้ หมดจึงเป็ นอายตนะภายนอก เบื้องต้นเราจึงต้องแยกให้ ชัดเจนเสียก่อนว่า สิง่ ใดเป็ นอายตนะภายนอก สิง่ ใดเป็ นอายตนะ ภายใน 17


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ส่วน “อริยสัจสี”่ อันประกอบด้วย ทุกข์ คือความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจต่างๆ ซึ่งเป็ นผลที่จะต้องเกิด จากเหตุท่ีเรียกว่าสมุทยั และการพน้ จากความทุกข์หรือความ ดับทุกข์ทงั้ ปวงคือ นิ โรธ ซึ่งเป็ นผลมาจากการปฏิบตั ิหรือการ เดิ น ทางไปสู่ ค วามพ น้ ทุ ก ข์ท่ีถู ก ต้อ งที่เ รี ย กว่ า มรรค ดัง นั้น การปฏิบตั ิตอ้ งมีความเขา้ ใจในอริยสัจสี่ให้ถ่องแท้และมองให้ ออกก่ อนว่าเวลาที่เราปฏิบตั ิ อริยสัจสี่จะมีอยู่สองคู่ คู่ แรกคือ ทุกข์กบั สมุทยั และคู่ท่สี องคือ นิโรธกับมรรค ความเขา้ ใจในส่วนคู่ แรก “ทุกข์กบั สมุทยั ” นี้ คือถ้าเรา ปฏิบตั ิโดยคอยแต่ไปสนใจอาการต่างๆ เขา้ ไปยุ่งกับอาการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นเวทนาทางกายหรือเวทนาทางใจ เช่ น ปวดศี รษะ ไม่ โ ปร่ ง ไม่ โ ล่ง ไม่ เ บา ไม่ ส บาย แน่ น อึด อัด ทึบ ตื้อ หรื อ ธรรมารมณ์ต่างๆ ซึ่งเป็ นอายตนะภายนอกเหล่านัน้ ไปสนใจ หรือไปปรับๆ แต่งๆ ให้ไม่ปวด ให้เป็ นแต่ความสุข หรือเอาแต่ ความโล่ง โปร่ง ว่างเบาสบาย ส่วนความไม่สุข ไม่โล่ง ไม่เบา ไม่สบายไม่เอา จึงเป็ นการปฏิบตั ิท่ีส่งจิตออกนอก ค�ำว่าส่งจิต ออกนอก คือ ส่งจิตไปกับอายตนะภายนอก ไม่ได้กลับมามอง ที่ตวั เองหรือที่จิตหรือผูท้ ่ีไปรับรู ้ ก็จะไม่เห็นจิต ไม่เห็นตัวเอง ที่ไปกระท�ำ แต่กลับเอาตัวเองทัง้ ตัวไปกระท�ำ ไปรับผลเสียเอง จึง เป็ น สมุท ยั เป็ น เหตุใ ห้เ กิด ทุก ข์ ผลแห่ ง การส่ ง จิต ออกนอก 18


เริ่ มต้ นที่สมั มาทิฏฐิ และความเข้ าใจเรื่ องขันธ์ห้า : จบซะที

เป็ นทุกข์ เพราะมีตวั เองไปรองรับ มีตวั เองไปเสวยอยู่โดยตลอด พอไม่ได้ดงั ใจ ไม่ถกู ใจเรา ก็เป็ นทุกข์ ดังนัน้ ถ้าเราปฏิบตั อิ ยู่เพียง แค่ น้ ี เราก็จะเดินทางไปในฝ่ ายทุกข์กบั สมุทยั ทุกข์กบั สมุทยั ไปตลอด ไม่มที างพน้ ทุกข์ ไปได้ วิธีท่ถี ูกต้องคือเราจะต้องเขา้ มาให้ถงึ อริยสัจอีกคู่หนึ่ง คือ “มรรคกับนิ โรธ” ที่กล่าวว่า “จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้งเป็ นมรรค ผลแห่ ง จิต เห็น จิต อย่ า งแจ่ ม แจ้ง เป็ น นิ โ รธ” หมายถึง อย่ า งไร ก็คือเราต้องแยกระหว่างจิตกับอารมณ์ ให้ชดั เจนก่อน จิต คือผูท้ ่ี ไปรู ้ ส่วนอารมณ์ เป็ นสิ่งที่ถูกรู ้ ยกตัวอย่างเช่น รู ปเป็ นสิ่งที่ถูกรู ้ เสียงเป็ นสิ่งที่ถูกรู ้ กลิน่ เป็ นสิ่งที่ถูกรู ้ รสเป็ นสิ่งที่ถูกรู ้ สิ่งที่มา สัมผัสกายหรือเรียกว่าโผฏฐัพพะเป็ นสิ่งที่ถูกรู ้ ธรรมารมณ์คือ เวทนา สัญญา สังขารเป็ นสิง่ ทีถ่ ูกรู ้ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์จงึ เป็ นอายตนะภายนอก เป็ นอารมณ์ ซึ่งเป็ น เครื่อ งรู ข้ องจิต หรือ วิญ ญาณขัน ธ์ ส่ว นจิต หรือ วิญ ญาณขัน ธ์ เป็ นผูร้ ู ้ เวลาเรารู อ้ ารมณ์อะไรก็ตามทุกขณะปัจจุบนั ให้รูอ้ ยู่ท่จี ิต อย่าไปสนใจให้ค่าให้ความส�ำคัญต่ออารมณ์ท่ถี ูกรู ห้ รืออายตนะ ภายนอก จะเป็ นการส่งจิตออกนอกเป็ นสมุทยั เป็ นเหตุให้เกิดทุกข์ ผลแห่งจิตส่งออกนอกเป็ นทุกข์ จิตเห็นจิตอย่ างแจ่ มแจ้งเป็ น มรรค คือ เห็น ผู ร้ ู ้ จิต หรือ วิญ ญาณขัน ธ์ ซึ่ง ปกติแ ล ว้ จิต หรือ 19


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

วิญญาณขันธ์นนั้ เมือ่ ไปรู อ้ ารมณ์ใดในขณะปัจจุบนั ไม่ว่าไปรู ร้ ู ป รู เ้ สียง รู ก้ ลิน่ รู ร้ ส รู ส้ มั ผัสหรือ รู เ้ วทนา สัญญา สังขารซึ่งเป็ น ธรรมารมณ์ วิญญาณขันธ์น้ ีก็จะท�ำงานร่ วมกับเวทนา สัญญา สังขารที่เรียกว่าเจตสิก ตรงกับในพระอภิธรรมที่กล่าวเรื่อง รู ป จิต เจตสิก นิพพาน “รู ป” ก็คือร่างกาย “จิต” ก็คือวิญญาณขันธ์ “เจตสิก” ก็คือเวทนา สัญญา สังขาร แลว้ “นิ พพาน” ก็คือ ความสิ้นหลงยึดถือในรู ป จิต เจตสิกว่าเป็ นตัวเรา ว่าเป็ นตัว ตนของเรา หรือคือความสิ้นหลงยึดถือสังขาร (ขันธ์หา้ ) และสิ้น ยึดถือวิสงั ขาร (ใจหรือธาตุรู้) เวลารูอ้ ะไรในทุกขณะปัจจุบนั ก็ให้รูต้ รงทีจ่ ติ หรือวิญญาณ ขันธ์ท่ปี ระกอบกับเจตสิก เช่นเมือ่ จิตหรือวิญญาณขันธ์รูอ้ ารมณ์ เขาจะท�ำหน้าทีร่ ูเ้ พียงเสี้ยววินาทีเดียวแล ้วก็จะประกอบเอาเวทนา สัญ ญา สัง ขารหรือ ที่รวมเรีย กว่า เจตสิก เข า้ มาทัน ที ก็จ ะเป็ น อารมณ์ท่ถี ูกรู ท้ นั ที ตรงนี้จะเห็นว่าอารมณ์ภายนอกร่างกายอัน ได้แก่ รู ป เสียง กลิน่ รส สัมผัสนัน้ ยังห่างไกล แต่อารมณ์ท่อี ยู่ ใกล้จิตที่สุดก็คือธรรมารมณ์ซ่ึงเป็ นเวทนา สัญญา สังขารเป็ น อารมณ์ท่ตี ิดกับจิต เกิดพร้อมจิตดับพร้อมจิต ดังนั้นจิตผูร้ ู ห้ รือ วิญญาณขันธ์กบั เจตสิกซึ่งเป็ นอารมณ์ท่ีถูกรู ้ จะเป็ นของคู่กนั ที่ติดกัน ใกล้เคียงกันที่สุด เมื่อเห็นจิตก็จะเห็นอารมณ์ดว้ ย เห็น อารมณ์ก็จะเห็นจิตด้วย เรียกว่า “รู้จติ รู ธ้ รรม” “จิต” ก็คือผูร้ ู ้ 20


เริ่ มต้ นที่สมั มาทิฏฐิ และความเข้ าใจเรื่ องขันธ์ห้า : จบซะที

“ธรรม” ก็คือธรรมารมณ์หรืออารมณ์ทถ่ี ูกรู ้ เพราะฉะนัน้ เมือ่ รูจ้ ติ ก็จะรู ธ้ รรมด้วย ด้วยเหตุน้ ีถา้ เราแยกจิตกับอารมณ์ได้ขาด เรา ก็จะหลุดพน้ จากอารมณ์ทงั้ มวลได้ จิตเป็ นผูร้ ู ้ อารมณ์เป็ นสิ่งที่ถูกรู ้ เราอย่าไปสนใจอารมณ์ ที่ถูกรู ้ อย่าไปสนใจเวทนา สัญญา สังขารซึ่งเป็ นอารมณ์ท่ถี ูกรู ้ จะเป็ นการส่งจิตออกนอก ให้สนใจตรงผูร้ ู น้ ่ี ผูร้ ู ท้ ่ไี ปท�ำหน้าที่รู ้ ธรรมารมณ์ในใจต่างๆ ไปรูส้ ง่ิ ใดแล ้วจะต้องส่งต่อถูกใจ ไม่ถูกใจ หรือเป็ นกลางๆ คือส่งต่อเวทนา เมื่อส่งต่อเวทนาแลว้ ก็จะเกิด จิตหรือวิญญาณขันธ์ตวั ใหม่มารูเ้ วทนานัน้ จิตหรือวิญญาณขันธ์ ตัวก่ อนหน้านัน้ ก็จะดับไป แลว้ ก็จะต้องส่งต่ อสัญญาคือความ จ�ำได้หมายรู ้ แลว้ ก็คิดปรุง ปรุงคิด แลว้ ก็จะต้องเกิดจิตหรือ วิญ ญาณขัน ธ์ต วั ใหม่ ม ารู ส้ ญ ั ญา เกิ ด จิ ต หรื อ วิญ ญาณขัน ธ์ ตัวใหม่มารู ส้ งั ขารที่คิดปรุง ปรุงคิด จิตหรือวิญญาณขันธ์น้ ีจึง เกิดดับเร็วมาก ดังนัน้ เวลาเรารู อ้ ะไรแลว้ เหมือนในใจเรามีการพูด การ พากษ์๑ (วิพากษ์) การคิดนึกตรึกตรอง ปรุงแต่งอยู่ในใจอยู่คน เดียวตลอดเวลา แสดงท่าทางต่างๆ มีกริยาอาการต่างๆ แมแ้ ต่ ความรูส้ กึ ตัวก็เป็ นสังขารในขันธ์หา้ สมาธิ ปัญญาก็เป็ นสังขารใน ๑ “พากษ์” ในที่น้ ีใช้แทนค�ำว่า “วิพากษ์” หมายถึงเอาอารมณ์ท่ถี ูกรูม้ าวิพากษ์ คือ พิจารณา ตัดสินเขาตามความเห็นของตนเอง

21


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ขันธ์หา้ พวกนี้เป็ นกริยาอาการทัง้ หมด เป็ นเพียงแต่ขนั ธ์หา้ จิตหรือ วิ ญ ญาณขัน ธ์เ ขาก็ จ ะรู เ้ องว่ า มี อ ะไรเกิ ด ขึ้ น กระเพื่ อ มขึ้ น ไหวตัวขึ้นภายในใจ เป็ นเช่นนี้เรื่อยไปไม่มวี นั จบสิ้น ไม่เคยดับ ได้เลยจนกว่าชีวิตจะสิ้น ถึงตอนนัน้ ทัง้ ธรรมารมณ์และจิตผู ร้ ู ้ ก็จะดับไปด้วยกัน เรียกว่าขันธ์หา้ ดับหมด แต่ในขณะทีย่ งั ไม่ตาย ก็จะท�ำงานส่งต่ อกันไปอย่างนี้ เรามีความรู อ้ ย่างนี้ก็เพื่อให้เห็น ว่านี่เป็ น “กระบวนการของชีวิต” คงปล่อยให้กระบวนการของ ชีวติ ด�ำเนินไปตามปกติ ไปตามธรรมชาติของเขา เป็ นกระบวน การท�ำงานของขันธ์หา้ ไม่ได้เป็ นกิเลสตัณหาและทัง้ ไม่ได้เป็ น นิพพานอะไร ที่จะต้องบอกอย่างนี้ก็เพราะว่า มีหลายคนเข้าใจผิดและ ปฏิบตั ิผิด ไปปฏิบตั ิท่ีขนั ธ์หา้ เพื่อจะให้เป็ นนิ พพานที่ขนั ธ์หา้ คื อ เมื่อ จิ ต หรื อ วิญ ญาณขัน ธ์ไ ปรู อ้ ารมณ์ ก็ จ ะปรุ ง แต่ ง ใจไว ้ ไม่ให้เกิดสุขเวทนา ไม่ให้เกิดทุกขเวทนา แต่ให้เป็ นอุเบกขาเวทนา อย่างเดียว เลยรู อ้ ะไรแลว้ ก็ทำ� เฉย รู อ้ ะไรแลว้ ก็ทำ� เฉย ไม่ให้สุข ไม่ให้ทุกข์ ไม่ให้ส่งต่ อเวทนา ไม่ให้ส่งต่ อสัญญาจ�ำได้หมายรู ้ ไม่ส่งต่อสังขารคือคิดปรุง ปรุงคิดว่าอะไรเป็ นอะไร รู ค้ นไม่ให้รู ้ ว่าเป็ นคน ให้รูแ้ ต่โครงร่าง ไม่ให้รูว้ ่าเป็ นผูห้ ญิงผูช้ าย ไม่ให้รูว้ ่า ชื่อเสียงเรียงนามอะไร ไม่ให้รูว้ ่ารู จ้ กั กันหรือไม่ รู ต้ น้ ไม้ไม่ให้รู ้ ว่าเป็ นต้นไม ้ รูส้ ตั ว์ไม่ให้รูว้ ่าเป็ นสัตว์ ไม่ให้รูว้ ่าเป็ นบา้ น ไม่ให้รูว้ ่า 22


เริ่ มต้ นที่สมั มาทิฏฐิ และความเข้ าใจเรื่ องขันธ์ห้า : จบซะที

เป็ นสิง่ ของ อย่างรูร้ ถยนต์ก็รูเ้ ป็ นแต่โครงร่าง ไม่ให้รูว้ า่ เป็ นสีอะไร รถยี่หอ้ อะไร เป็ นของใคร แลว้ ให้ไปท�ำแต่ว่างๆ เปล่าๆ เฉยๆ อย่างนัน้ สุดท้ายไปปฏิบตั ิไม่เอาสุข ไม่เอาทุกข์ เอาแต่อุเบกขา จะเอาแต่รูน้ ่ิงเฉย... รู น้ ่ิงเฉยนัน่ ยึดอุเบกขาเวทนาแลว้ ที่ถูกต้อง คือจะต้องจ�ำได้ว่าอะไรเป็ นอะไร เพราะมันเป็ นธรรมชาติ เราเห็น อะไรปุ๊ บก็ตอ้ งพากษ์ทนั ทีในใจว่านี่คืออะไร เห็นอะไรก็ตอ้ งรู ้ ทัน ทีว่ า นี่ เ ป็ น อะไร ใครจะไปตัด ตอนได้ เพราะเมื่อ จิต หรื อ วิญ ญาณขัน ธ์ไ ปรู อ้ ะไรก็ ต อ้ งท�ำ งานร่ ว มกับ เจตสิก คื อ เวทนา สัญญา สังขารทันที คือมันเป็ นกลุม่ เป็ นก้อนเดียวกันเลย ขันธ์หา้ เป็ นกระบวนการธรรมชาติ ไม่ได้เป็ นกิเลสตัณหา ไม่ได้เป็ นเหตุ ให้เกิดทุกข์ แต่เป็ นเพียงแค่ทุกขสัจคือเกิดขึ้น ตัง้ อยู่ และดับไป ทนอยู่สภาพเดิมไม่ได้ แต่ไม่ได้ทำ� ให้เกิดความยึดมัน่ ถือมัน่ เป็ น ทุกข์แก่ใจ แต่ความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ ติดอยู่ท่จี ติ นี่ต่างหาก ที่จติ เดิมแท้หรือที่ปฏิสนธิวญ ิ ญาณ “อวิชชา” คือความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ เป็ นจุดเริ่มต้นของ ปฏิจ จสมุป บาท เพราะมีอ วิ ช ชาเป็ น ปัจ จัย ให้เ กิ ด สัง ขาร คื อ ผสมกันติดระหว่างสเปิ รม์ ของพ่อซึ่งเป็ นธาตุดิน กับไข่ของแม่ ซึ่ง เป็ น ธาตุ น�ำ้ แล ว้ แม่ ก็ ห ายใจเอาธาตุ ล มและธาตุ ไ ฟเข า้ ไป กิน ซากพืช ซากสัต ว์ กิน น�ำ้ กิน ลมหายใจ แล ว้ ก็กิน ความร้อ น เขา้ ไปผสมกันอยู่เรื่อยๆ ตลอดเวลา จนค่ อยๆ โตขึ้น โตขึ้น 23


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

จนกระทัง่ หยดเลือดโตพอสมควรแลว้ ปฏิสนธิวญ ิ ญาณคือจิต หรือ วิญ ญาณดัง้ เดิม แท้ๆ ซึ่ง เป็ น ธาตุว่า ง แต่ ย งั ไม่เ ป็ น ว่า งที่ บริสุทธิ์เพราะยังมีอวิชชา จึงเข ้ามาผสมกับธาตุดนิ น�ำ้ ลม ไฟ และ วิญญาณ เป็ นปัจจัยให้เกิดนามรู ป (ขันธ์หา้ ) นามรู ปเป็ นปัจจัย ท�ำให้เกิดสฬายตนะ คืออายตนะหก ได้แก่ ประตูตา ประตูหู ประตูจมูก ประตูล้นิ ประตูกาย ประตูใจ เกิดขึ้นแล ้วก็คลอดออกมา จากทารกโตขึ้นมาจนเป็ นพวกเราทัง้ หลาย และก็มผี สั สะ มีเวทนา มีตณ ั หา มีอปุ าทาน ภพ ชาติ ทุกข์โศกเศร้าเสียใจ คับแค้นใจ อัน นี้ เ ป็ น กระบวนการเกิ ด แต่ ล ะภพแต่ ล ะชาติ ท่ีเ กิ ด เป็ น ร่ า ง ขึ้นมาใหม่ ไม่ว่าจะเกิดเป็ นร่างใหม่ในภพชาติใดก็จะต้องมีความ รูส้ กึ มีความจ�ำได้หมายรู ้ มีความคิดปรุง ปรุงคิด มีอารมณ์ต่างๆ ไปยึดเอาตัวใหม่ในแต่ ละชาติว่าเป็ นตัวเรา เป็ นตัวตนของเรา แลว้ ก็เอาตัวเราไปยึด สามี ภรรยา ยึดลูก ยึดหลาน ยึดพ่อแม่ ยึดพี่นอ้ ง ยึดสมบัติพสั ถานต่างๆ ตรงนี้จะเห็นว่าเพราะอวิชชา เป็ นปัจจัยท�ำให้เกิดสังขาร สังขารเป็ นปัจจัยให้เกิดวิญญาณหรือ ปฏิสนธิวญ ิ ญาณ เพราะวิญญาณเป็ นปัจจัยจึงท�ำให้เกิดนามรู ป นามรู ปนี่เพิ่งจะเกิดมาทีหลัง ขันธ์หา้ ย่อมจะเกิดทีหลัง ดังนั้น ขันธ์หา้ จึงไม่ได้เป็ นกิเลส และขันธ์หา้ ไม่ได้เป็ น นิ พพาน ความหลงยึดขันธ์หา้ ต่างหากที่เป็ นอวิชชา ความหลง ยึดขันธ์หา้ มาจากไหน มันติดมาที่ปฏิสนธิวิญญาณนัน่ แหละ 24


เริ่ มต้ นที่สมั มาทิฏฐิ และความเข้ าใจเรื่ องขันธ์ห้า : จบซะที

ที่ เ ข้า มาผสมแล้ว จึ ง เกิ ด เป็ นขัน ธ์ห า้ ขึ้ นมา  เพราะฉะนั้ น ดับก็ตอ้ งดับที่อวิชชา คือความหลงยึดที่ธาตุรูน้ ัน่ แหละ เราจึงไม่ได้มาปฏิบตั ิท่ขี นั ธ์หา้ ไม่ได้มาปฏิบตั ิท่รี ู ป ไม่ได้ มาปฏิบตั ิทเ่ี วทนา ไม่ใช่มาปฏิบตั ิเอาทีท่ ำ� ใจให้เป็ นอุเบกขาเวทนา ไม่สุข ไม่ทุกข์ ไม่ส่งต่อสัญญาจ�ำได้หมายรู ้ ไม่ส่งต่อสังขารคือ ความคิด อารมณ์ หรือบางท่านก็ปฏิบตั ิเอาขันธ์หา้ มาปรุงแต่ ง ไปไล่ดบั กระบวนการท�ำงานของขันธ์หา้ ดับความคิดความรู ส้ กึ ดับอาการทุกชนิดให้น่ิง ว่าง เฉย หรือให้เป็ นกลางๆ ด้วยความ เชื่อว่าถ้าเราท�ำให้น่ิง ว่าง เฉย ไวอ้ ย่างนัน้ ได้ตลอดเวลาแลว้ จะ เป็ นนิพพาน แลว้ จะว่างได้อย่างไรในเมือ่ ขันธ์หา้ ประกอบไปด้วย ธาตุดนิ น�ำ้ ลม ไฟ และธาตุรู ้ มาประกอบกันท�ำให้ขนั ธ์หา้ ด�ำเนิน ชีวติ อยู่ได้ เรากลับไปดับชีวติ เสีย ให้น่ิง ว่าง เฉย เสียอย่างนัน้ การกระท�ำเช่นนี้เป็ นมิจฉาทิฏฐิ ขัน ธ์ห า้ เป็ น เพีย งแค่ ชี วิต ที่ด �ำ เนิ น ไป คงปล่ อ ยให้ชี วิต ด�ำ เนิ น ไป อวิช ชาคื อ ความหลง ความโง่ท่ีติ ด อยู่ ท่ีป ฏิส นธิ วิญญาณนี่ ให้มาปฏิบตั ิท่ีตรงนี้ เมื่อสิ้นอวิชชา สิ้นความหลง สิ้นความโง่แลว้ ก็ไม่มใี ครไปยึดขันธ์หา้ แลว้ ก็ไม่หลงเอาขันธ์หา้ ไปปรุงแต่ ง ปล่อยให้ขนั ธ์หา้ ด�ำเนินไปตามชีวติ ที่ปกติ ธาตุรูก้ ็ ยังคงเป็ นธาตุรูข้ องมันอยู่ดงั เดิมนัน่ แหละ มันดับไปเฉพาะอวิชชา ทีต่ ดิ อยู่กบั ธาตุรู ้ เป็ นธาตุรูท้ ส่ี ้นิ หลงแล ้ว เรียกว่าผูร้ ทู้ ส่ี ้นิ หลงแล ้ว 25


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

สิ้นหลงยึดเอาขันธ์หา้ เป็ นตัวเรา เป็ นตัวตนของเรา หรือมีตวั เรา อยู่ในขันธ์หา้ ก็เลยเป็ น “ธาตุรทู้ ่บี ริสทุ ธิ์” มีแต่ความรูซ้ ง่ึ เป็ นความ ว่างเปล่า เป็ นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติหรือจักรวาล ส่วนขันธ์หา้ คงด�ำเนินเกิดดับ เกิดดับในใจ หรือในธาตุรู ้ หรือในจิตเดิมแท้ ซึ่งเป็ นความว่างนัน้ ต่อไป ธาตุก็คงเป็ นธาตุ แต่เพราะธาตุต่างๆ ทัง้ ธาตุดนิ น�ำ้ ลม ไฟ หรือจะรวมอากาศธาตุคอื ธาตุวา่ ง และธาตุรู ้ ซึง่ เป็ นความว่างเช่นเดียวกับอากาศธาตุ ทีย่ งั ประกอบกันอยู่ ยังคง อิงอาศัยซึ่งกันและกัน ยังไม่แตกออกจากกัน ขันธ์หา้ หรือชีวติ ก็ ยังคงด�ำเนินการท�ำงานอยู่ได้ตามปกติธรรมชาติของเขา ขัน ธ์ห า้ ไม่ ไ ด้เ ป็ นอวิ ช ชา แต่ อ วิช ชาที่เ จื อ อยู่ ก บั ธาตุ รู ้ นัน่ ต่างหากที่ทำ� ให้ธาตุรไู้ ม่บริสุทธิ์ เป็ นความหลงยึดที่ติดอยู่กบั ธาตุ รู ม้ าตัง้ แต่ ด งั้ เดิ ม เปรี ย บเหมือ นกับ ทองค�ำ ที่ มีอ ยู่ ต าม ธรรมชาติ ยังเป็ นทองค�ำที่ไม่บริสุทธิ์เพราะยังผสมปะปนอยู่กบั แร่ธาตุอน่ื ๆ ซึง่ เปรียบกับอวิชชา พอผูม้ ปี ญ ั ญารูจ้ กั ถลุงเอาแร่ธาตุ ที่ ป ลอมปนอยู่ ก ับ ทองค�ำ ออกไป จึ ง ท�ำ ให้ ไ ด้ท องค�ำ แท้ ท่ี มี ความบริสุทธิ์ เช่นเดียวกับจิตเดิมแท้ๆ ที่เกิดมาคู่ กบั อวิชชาใน ธรรมชาติน นั ่ เอง ดัง นั้น ถ้า จะดับ กิเ ลส ก็ต อ้ งไปดับ ที่อ วิช ชา คือความหลงยึดที่ธาตุรูน้ ัน่ แหละ เมือ่ อวิชชาดับไป คือความโง่ ดับไป ความหลงดับไป ธาตุรู้ก็เลยเป็ นธาตุรู้ท่บี ริสุทธิ์ คือเป็ น ความรู แ้ จ้ง รู พ้ น้ เป็ นความรู ค้ วามจริง รู้ส้ นิ ยึด เขาจึงเรียกว่า 26


เริ่ มต้ นที่สมั มาทิฏฐิ และความเข้ าใจเรื่ องขันธ์ห้า : จบซะที

“พุทธะ” ที่เรียกธาตุรูว้ ่าพุทธะ เพราะพุทธะแปลว่าผูร้ ู แ้ จ้ง รู จ้ ริง รูส้ ้นิ หลง สิ้นยึดถือแล ้ว เป็ นผูต้ ่นื ผูต้ ่นื ก็คอื ตื่นจากความหลงแล ้ว เป็ นผูเ้ บิกบานคือไม่หลงยึดอะไร เอามากดทับจิตใจของตัวเอง ให้เป็ นความทุกข์ ความเศร้าหมอง “พุทธะ” ก็คือจิตเดิมแท้ๆ หรือธาตุรูด้ งั้ เดิมแท้ๆ หรือ ปฏิสนธิวญ ิ ญาณ ที่มาเกิดแลว้ สิ้นอวิชชาไปจึงเป็ นพุทธะ พุทธะ คงเป็ นพุทธะอยู่อย่างนัน้ พุทธะไม่ได้เป็ นนิพพาน ธาตุรูเ้ ป็ นเพียง แค่ ธ าตุรู ต้ ามธรรมชาติท่ีจ ะปรุ ง แต่ ง ให้มีป ฏิกิริย ามีค วามรู ส้ ึก นึกคิดหรือมีอารมณ์ไม่ได้ ธาตุรู้ไม่มีตวั ตน ไม่มีรูปร่ าง ไม่มี รูปพรรณสัณฐานใดๆ ไม่มดี วง ไม่มแี สงสว่าง ไม่มสี สี นั ใดๆ เลย มีแต่ความรู ้ ความรูพ้ น้ รูจ้ ริง รูแ้ จ้ง รูส้ ้ นิ ยึดมันถื ่ อมัน่ ไม่สามารถ คิดนึกตรึกตรองปรุงแต่งได้ ไม่มกี ารเกิด ไม่มกี ารดับ มีแต่ความรู ้ ที่เป็ นความว่างเปล่า เช่ นเดียวกับความว่างของธรรมชาติหรือ จักรวาล ธาตุรู ้ หรือพุทธะ หรือใจ หรือจิตดัง้ เดิมแท้ๆ ที่เป็ นความรู ้ ที่ว่างเปล่าเหมือนธรรมชาติน้ ีก็ไม่ได้เป็ นนิพพาน ขันธ์หา้ ก็ไม่ได้ เป็ นนิพพาน แต่ท่ดี บั ไปคืออวิชชาที่ติดกับธาตุรูด้ บั ไป สิ้นอวิชชา คือสิ้นหลงยึดมัน่ ถือมัน่ ในขันธ์หา้ และสิ้นหลงยึดมัน่ ถือมัน่ ใน ธาตุรูห้ รือจิตเดิมแท้ๆ หรือใจแท้ๆ ซึ่งเป็ นความว่าง 27


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ที่หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน เทศน์ไวช้ ดั มาก “จิต ดัง้ เดิมแท้ๆ หรือใจดัง้ เดิมแท้ๆ นอกขันธ์หา้ เมื่อสิ้นยึดมัน่ ถือมัน่ ในขันธ์หา้ แล้ว ถ้ายึดถือใจจะให้ว่างยังไม่เป็ นนิ พพาน” ต้อง สิ้นความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ ใจจะให้ว่าง เมือ่ สิ้นหลงยึดมัน่ ถือมัน่ อวิชชาจึงดับ เมือ่ สิ้นหลงยึดมัน่ ถือมัน่ กิเลสก็ไม่มี หรือพน้ ทุกข์ ที่เขาสมมุติช่ือเรียกว่า นิพพาน “นิ พพาน” จึงไม่ใช่เมือง ไม่ใช่เป็ นสภาวธรรมอะไรที่เป็ น ความว่างหรือเป็ นความนิ่งเฉย และไม่ใช่ มตี วั เราหรือมีขนั ธ์หา้ หรื อ มีอ ะไรไปถึง นิ พ พาน มีแ ต่ อ วิช ชาที่ติ ด มากับ ธาตุ รู ห้ รื อ จิตดัง้ เดิมแท้ๆ หรือปฏิสนธิวญ ิ ญาณดับไปเท่านัน้ เอง แต่ขนั ธ์หา้ ยังไม่แตกไม่ดบั เพราะยังไม่ถงึ แก่ความตาย รอจนกว่าสิ้นอายุขยั ขันธ์หา้ ถึงจะดับลงไป ก็เหลือแต่ธาตุรู้ท่สี ้ นิ อวิชชาแลว้ ที่เรียกว่า “พุทธะ” และไม่หลงยึดว่ามีตวั ตนของเราเป็ นพุทธะ พุทธะเป็ น ธาตุรู ้ เป็ นแต่ความรูท้ ว่ี ่างเปล่าเช่นเดียวกับความว่างของจักรวาล เป็ นอมตะ หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนเรียกว่า “ธรรมธาตุ” คื อ ธาตุ แ ห่ ง ธรรมที่ ส้ ิ น ความปรุ ง แต่ ง ซึ่ ง เป็ นวิ ส งั ขารหรื อ อสังขตธาตุ ก็กลับเลือนหายไป กลืนหายไปเป็ นหนึ่งเดียวกับ ความว่ า งของจัก รวาล ซึ่ง ความว่ า งของจัก รวาลไม่ มีค วามรู ้ แต่ พุท ธะหรื อ ความรู ท้ ่ีก ลืน หายไปในความว่ า งของจัก รวาล เปรียบเหมือนกับน�ำ้ ที่บริสุทธิ์ เทรวมกับน�ำ้ ทะเลก็กลืนหายเป็ น 28


เริ่ มต้ นที่สมั มาทิฏฐิ และความเข้ าใจเรื่ องขันธ์ห้า : จบซะที

เนื้อเดียวกัน พุทธะซึ่งเป็ นความว่างก็กลืนหายไปเป็ นหนึ่งเดียว กับความว่างของธรรมชาติ ดังนัน้ ที่เราไม่เขา้ ใจว่า เราคือใครและใครคือเรากันแน่ ... แท้จริงเรานี้คอื ธาตุรทู้ บ่ี ริสุทธิ์ ไม่เคยแตกดับ ไม่เคยถูกท�ำลายไป เพราะเป็ นความว่างเปล่า มีแต่ ความรู้ท่ีเป็ นความว่างเปล่าไม่มี ตัวตน ไม่มรี ูปร่าง จึงไม่มใี ครท�ำลายได้ ไม่มอี าวุธใดๆ ท�ำลายได้ นิพพานก็ฆ่ามันไม่ตายเพราะว่ามันไม่มตี วั ตน ไม่มรี ู ปร่าง ไม่มี อะไรเลย มีแ ต่ ค วามรู ท้ ่ี บ ริ สุ ท ธิ์ ส้ ิ น ความหลงยึ ด มัน่ ถื อ มัน่ เช่นเดียวกับพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทกุ พระองค์ เมือ่ ดับขันธ์ นิพพานแล ้ว ก็ไม่ได้หายสูญ แต่หายไปเป็ นหนึ่งเดียวกับความว่าง ในธรรมชาติในจักรวาล ทีม่ คี วามรูอ้ ยู่ในความว่างนัน้ พระพุทธเจ้า และพระอรหันต์ทงั้ หมดจึงไม่ได้หายสู ญ พระองค์มีอยู่ ในทุก แห่ ง หนแต่ ก็ ไ ม่ไ ด้ว่า มีต วั ตน เป็ น รู ป เป็ น ร่ า ง เป็ น รู ป พรรณสัณฐาน มีเมืองเป็ นภพภูมอิ ะไรอยู่อย่างที่เขา้ ใจผิดกัน เสมือน ในหนังพระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลกตอนจบที่พระอานนท์เ ดิน ไปที่ชายหาดริมทะเล แลว้ ก็มีใบโพธิ์ถูกลมพัดลอยมาแปะอยู่ท่ี ตัวของพระอานนท์ เมื่อพระอานนท์หยิบใบโพธิ์ข้ นึ มาก็มเี สียง พระพุทธเจ้าดังว่า “อานนท์ ไม่ตอ้ งเสียใจไปหรอก ตถาคตไม่ได้ เกิด ไม่ได้ตาย ตถาคตหายตัวไปเป็ นหนึ่ งเดียวกับธรรมชาติ เป็ น หนึ่ งเดียวกับความว่าง เป็ นหนึ่ งเดียวกับแสงแดด เป็ นหนึ่ งเดียว 29


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

กับน�้ ำ เป็ นหนึ่ งเดี ยวกับลม เป็ นหนึ่ งเดี ยวกับแผ่ นดิ นที่เจ้า เดินอยู่ อยู่ในทุกที่ อยู่ในร่างกายของเจ้า อยู่ในจิตใจของเจ้า ทัง้ หมด” ทีใ่ ดมีความว่าง ทีน่ นั ่ มีธาตุรู ้ มีจติ ดัง้ เดิมแท้ๆ ซึง่ เป็ นความ รู พ้ น้ พุทธะมีอยู่ ในทุกที่ และพุทธะนี้เป็ นธาตุรู้ท่ีมีอยู่ แลว้ ใน พระพุทธเจ้า อยู่ในพระอรหันต์ อยู่ในปุถชุ น อยู่ในสัตว์เดรัจฉาน อยู่ในทุกสรรพสัตว์ท่ียงั เวียนว่ายตายเกิด แต่ เนื่องจากธาตุรู้ท่ี อยู่ในปุถชุ นและในสรรพสัตว์ทงั้ หลายที่ไม่ใช่พระพุทธเจ้า ไม่ใช่ พระอรหันต์ ยังเป็ นธาตุรูห้ ลงอยู่ คือหลงยึดเอาสังขารที่ปรุงแต่ง ในแต่ละชาติ เป็ นเรา เป็ นตัวเรา เป็ นตัวตนของเรา หรือมีตวั เรา อยู่ ใ นขัน ธ์ห า้ ที่ป รุ ง แต่ ง ในแต่ ล ะชาติ หรือ แต่ ล ะร่ า งที่เ กิ ด มา ในแต่ ละชาติ ก็หลงไปยึดเอาว่าเป็ นเรา เป็ นตัวเรา เป็ นตัวตน ของเรา หรือมีตวั เราอยู่ในร่างนัน้ จนกว่าจะสิ้นอวิชชา ธาตุรู้ท่มี ี อยู่ในทุกสรรพสัตว์ทงั้ หลาย ก็กลายเป็ นรู แ้ จ้ง รู พ้ น้ รู จ้ ริง รู้ส้ นิ ความยึด มัน่ ถือ มัน่ เรีย กว่า พุท ธะ ไปเป็ น หนึ่ ง เดีย วกัน หมด เลยกับพระพุทธเจ้า กับพุทธะของพระอรหันต์ทงั้ หมด ไปเป็ น หนึ่งเดียวกับความว่าง อันนี้แหละเป็ นสัมมาทิฏฐิ เป็ นปัญญาเห็นชอบในอริยมรรค มีองค์แปด ท�ำไมพระพุทธเจ้าจึงตรัสว่าอริยมรรคมีองค์แปดขึ้น ต้นด้วยสัมมาทิฏฐิ เพราะหากท่านปฏิบตั ิ แต่ท่านไม่มคี วามรูแ้ จ้ง 30


เริ่ มต้ นที่สมั มาทิฏฐิ และความเข้ าใจเรื่ องขันธ์ห้า : จบซะที

ไม่มคี วามรู จ้ ริงอย่างชัดเจนในสัมมาทิฏฐิ ในธรรมชาติท่เี ป็ นอยู่ ว่าพระพุทธเจ้ามาตรัสรู ธ้ รรมชาติท่มี อี ยู่แลว้ พระพุทธเจ้าไม่ได้ มาตรัสรูข้ องใหม่เอง พระพุทธเจ้ามาตรัสรู ้ มารูแ้ จ้ง ในความจริง ของธรรมชาติท่มี อี ยู่แลว้ ถ้าเรายังไม่มปี ญ ั ญาที่เป็ นสัมมาทิฏฐิ การเดินองค์มรรคหรือการปฏิบตั ิของเราก็จะปฏิบตั ิผดิ ทางจาก ธรรมชาติ ผิดจากค�ำสอนของพระพุทธเจ้าทัง้ หมด เราจะเดิน ในทางของกิเลส ไม่ได้เดินในทางของความพน้ ทุกข์ อริยมรรค จึงต้องขึ้นต้นด้วยปัญญาเห็นชอบคือ “สัมมาทิฏฐิ” ข้อต่อๆ ไป จึงจะเดินชอบหมด คือการคิดชอบ พูดชอบ ท�ำชอบ ประกอบ อาชีพชอบก็คือผู้ท่ีประพฤติปฏิบตั ิธรรมก็มอี าชีพที่กระท�ำด้วย สุจริต อาชีพทางใจก็ม่งุ สู่ความพน้ ทุกข์ในปัจจุบนั มีความเพียร ก็เพียรชอบ สติก็เป็ นสติเพื่อความสิ้นความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ มีความรู แ้ จ้ง รู จ้ ริง รู พ้ น้ รู ส้ ้ นิ ยึด สมาธิก็เป็ นสมาธิเพื่อความสิ้น ความยึดมัน่ ถือมัน่ จึงเป็ นสมาธิท่สี งบ เพราะสิ้นกังวล สิ้นทุกข์ ดังนัน้ เวลาเราจะปฏิบตั ิ ไม่ว่าจะปฏิบตั ิสำ� นักไหนมาก็ ต้องอ่านใจตัวเองให้ขาดว่าเราปฏิบตั ิเพื่อจะเอา หรือปฏิบตั ิเพื่อ จะสิ้นความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ ถ้าเราปฏิบตั เิ พือ่ จะเอาตัวเราไปเอา อะไร เป็ นการเดินทางผิดอริยมรรคทัง้ หมด เพราะ “อริยมรรค” คือปฏิบตั ิเพื่อสิ้นอวิชชาที่ติดมากับจิตดัง้ เดิมแท้ๆ หรือใจดัง้ เดิม แท้ๆ คือสิ้นผูจ้ ะเอา สิ้นตัวเราที่จะเอา จะได้ จะเป็ น สิ้นตัวเรา 31


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ที่ไปมีกิเลสตัณหาต่อสิ่งใด ไปยึดมัน่ ถือมัน่ สิ้นความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ ก็ส้ ินกิเลส สิ้นความทุกข์ เขาเรียกว่า “นิ พพาน” ไม่มี สภาวะหรือเมืองใดที่เป็ นนิพพาน ไม่มตี วั เราไปถึงพระนิพพาน ถ้ามีความรู้สกึ ว่ามีตวั เราอยู่ ยังเป็ นอวิชชาอยู่ ยังไม่ส้ นิ อวิชชา ไม่ ส้ ิน ความยึด มัน่ ถือ มัน่ ไม่ มีท างเป็ น นิ พ พานได้ นัน่ แหละ ต้องเขา้ ใจให้ชดั เจนอย่ างนี้เสียก่ อน ในการปฏิบตั ิจึงต้องเป็ น สัม มาทิฏ ฐิก่ อ น แล ว้ ที่เ หลือ ท่ า นจะปฏิบ ตั ิ อ ย่ า งไรก็ ไ ด้ต าม กรรมวิธีของท่าน แต่ท่านต้องอ่านใจตัวเองให้ขาดว่า ท่านปฏิบตั ิ ไปด้วยกิเลสหรือปฏิบตั ิไปเพื่อสิ้นอวิชชา สิ้นกิเลส สิ้นความยึด มัน่ ถือมัน่

32


จบซะที

สติ สมาธิ ปัญญา

ท�ำความเขา้ ใจเรื่อง “สติ” ให้ดีก่อน สติตวั นี้เป็ นขันธ์หา้ สติตวั นี้มคี วามส�ำคัญตลอดสาย เราต้องใช้สติตวั นี้เป็ นเรือขา้ ม ฟากไปพระนิพพาน ถ้าเจตนาไปตัง้ สติดกั รอดู จิตหรือไปเร่ งสติ อันนี้หลงเอา ขันธ์หา้ มาปรุงแต่งเป็ นสติตามความอยาก มันเป็ นอวิชชา กิเลส ตัณหา... และทุกข์ ในวงจรปฏิจจสมุปบาท ไม่ใช่สติท่เี ป็ นขันธ์หา้ เมื่อหลงปรุ งแต่ งเป็ นสติเสียก่ อนแลว้ ก็จะไม่มีสติมารู เ้ ท่าทัน ความหลงของตัวเราเอง ในขณะที่หลงปรุงแต่งสติอยู่น้ ีถา้ มีสติรู ้ เท่าทัน อย่างนี้จึงเป็ นสติตวั จริงที่เป็ นขันธ์หา้ ซึ่ง “สติ” “สมาธิ” “ปัญ ญา” ในขัน ธ์ห า้ หรือ แม้แ ต่ ขนั ธ์ห า้ ก็ย งั เป็ นสัง ขารหรือ ธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง ตกอยู่ใต้กฎอนิ จจัง ทุกขัง อนัตตา ดังนั้น 33


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

เมื่อหลงยึดถือว่าตัวเราเป็ นผูม้ ีสติรูส้ กึ ตัว มีความรู ค้ วามเข้าใจ เก่ง จึงหลงยึดถือเอาขันธ์หา้ ว่าเป็ นตัวเรา ถ้าหลงปรุงแต่ งเป็ นตัวเราแลว้ เอาตัวเราเขา้ ไปดู จิต หรือ ปรุงแต่ งสติคอยไปดักรู เ้ ท่าทันจิตหรือความคิดไว ้ กรณี น้ ีเป็ น ความหลง ซึ่งก็เป็ นเช่นเดียวกับการหลงปรุงแต่งเป็ นตัวเรา แลว้ เอาตัวเราไปคิดปรุงแต่งยึดถือ หลงหมกมุ่นครุ่นคิด คิดหมกมุ่น ดิ้นรน ค้นหา พยายามท�ำอะไรจะให้เป็ นอะไร ก็เป็ นความหลง ทัง้ หมด ถ้าตัวเองหลงเสียเอง ก็จะไม่มีสติปญ ั ญารู เ้ ท่าทันความ หลงของตัวเอง ต่อเมือ่ มีผู้รู้มาชี้ให้เห็นขณะจิตที่หลง ก็จะมีสติ ปัญญาเห็นความหลงของตนเอง และรู เ้ ท่าทันทุกขณะจิตที่หลง ในขณะปัจจุบนั ได้ สติปญ ั ญาในขันธ์หา้ นี้จะเกิดขึ้นมาเห็นหรือ รู เ้ ท่ า ทัน ขณะจิต ที่ห ลงปรุ ง แต่ ง ที่เ ป็ น อวิช ชา กิเ ลส ตัณ หา... ซึ่งเป็ นเหตุให้เกิดทุกข์ โดยสติปญ ั ญาจะรู เ้ ท่าทันขณะจิตที่หลง ปรุงแต่งเป็ นตัวเรา แล ้วหลงเอาตัวเราไปยึดถือ ไปหมกมุน่ ครุ่นคิด คิ ด หมกมุ่น ดิ้น รน ค้น หา พยายามท�ำ อะไรจะให้เ ป็ น อะไร พยายามจะดูจติ พยายามจะรูเ้ ท่าทัน พยายามท�ำความรูส้ กึ ตัวไว ้

34


สติ สมาธิ ปั ญญา : จบซะที

“สติ”

“สติ” ในขันธ์หา้ ในขัน้ ของวิปสั สนา มี ๒ ขัน้ ตอน คือ

๑. “สติ” ขัน้ หลงแล้วรู ้ เป็ นสติปญ ั ญารู เ้ ท่าทันขณะจิต ที่ ห ลงเอาตัว เราไปคิ ด ปรุ ง แต่ ง จิต หลงคิ ด ปรุ ง แต่ ง เรี ย กว่ า “หลงสังขาร” คือ หลงปรุงแต่งเป็ นความรู ส้ กึ ว่ามีตวั เราเป็ นตัว เป็ นตนอยู่จริงๆ จังๆ โดยไม่เห็นว่าเป็ นสมมุติ คือเป็ นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แลว้ หลงเอาตัวเราไปคิดหรือปรุงแต่งเป็ นอาการ ต่างๆ เช่น เอาตัวเราไปหมกมุ่น ครุ่นคิด ดิ้นรน ค้นหาธรรม เอาตัว เราไปพยายามที่จ ะท�ำ อะไรเพื่อ ให้เ ป็ น อะไร หรื อ หลง ปรุ ง แต่ ง เป็ น ตัว เราแล ว้ เอาตัว เราไปยึด ถือ สิ่ง ต่ า งๆ หรือ หลง ปรุงแต่งส่งจิตออกนอกไปอยู่กบั รู ป เสียง กลิน่ รส สัมผัส และ ธรรมารมณ์ท่ถี ูกรู้ ในขณะปัจจุบนั

สรุป - สติในขัน้ นี้ เป็ นสติรูเ้ ท่าทันความหลง

๒. “สติ” ในขัน้ ที่ไม่หลงแล้ว เป็ นสติปญ ั ญาที่มาสังเกต เห็น ขัน ธ์ห า้ คื อ รู ป เวทนา สัญ ญา สัง ขาร และวิญ ญาณ เป็ นสังขารหรือสิ่งปรุงแต่งทัง้ หมด เป็ นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เป็ น เพีย งสมมุติ ไม่ ค วรหลงยึด มัน่ ถือ มัน่ ว่ า ขัน ธ์ห า้ เป็ น เรา เป็ น ตัว เรา เป็ น ตัว ตนของเรา หรือ ตัว เราเป็ น ขัน ธ์ห า้ จนใจ ยอมรับตามความเป็ นจริง แลว้ ปล่อยวางความหลงยึดถือขันธ์หา้ 35


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

วางจนถึงวิญญาณขันธ์ สติขน้ั นี้ เป็ นขัน้ “สักแต่ว่ารู”้ คือสักแต่วา่ รู ข้ นั ธ์ห า้ ไม่ มีค วามหลงในรู เ้ พราะสิ้น อวิช ชา กิ เ ลส ตัณ หา อุปาทาน และความทุกข์ ก็เป็ นนิพพาน การปฏิบ ตั ิท่ีก ล่า วมาแล ว้ เรีย กว่า “วิป สั สนา” คือ รู แ้ จ้ง ในสัจธรรมความจริง จนใจยอมรับตามความเป็ นจริง สิ้นหลง ยึดมัน่ ถือมัน่ ก่ อ นจะเป็ น วิป สั สนา ใจต้อ งมี “สมาธิ ” คื อ ความสงบ ซึ่งเรียกว่า “สมถะ” เพื่อที่จะเป็ นฐานให้สติปญ ั ญาสังเกตเห็น สัจธรรมความจริงของขันธ์หา้ ได้อย่างต่ อเนื่อง โดยไม่หลงคิด ปรุงแต่งฟุ้งซ่านไปเสีย

“สมาธิ”

“สมาธิ” มีสองระดับ คือ

๑. “สมาธิ” ในขัน้ สมถะ คือขัน้ ฝึ ก “สติ” ควบคุมจิต ให้อยู่กบั เครื่องล่อ เช่น ค�ำบริกรรมว่า “พุทโธ” หรือลมหายใจ เขา้ ออกอย่างต่อเนื่องจนสติไม่ขาด คือ ไม่หลงเหม่อเผลอเพลิน คิดปรุงแต่งหรือหลงเอาจิตไปอยู่กบั อะไร เมือ่ ฝึ กจนมีสติรสู้ กึ ตัว อย่างต่อเนือ่ งไม่ขาดสาย จิตก็จะรวมเป็ นหนึ่งเดียวกับเครื่องล่อ 36


สติ สมาธิ ปั ญญา : จบซะที

เกิดอารมณ์สมาธิ มีความสงบระงับมากยิ่งๆ ขึ้นไปตามล�ำดับ แต่เมือ่ มีอารมณ์สมาธิ ก็อาจจะมาหลงอยู่ในอารมณ์สมาธิภายใน เช่น ความสงบจนถึงความสงบระดับอารมณ์ฌาน ที่เป็ นอารมณ์ ปี ติ สุข อุเบกขา ซึ่งลว้ นแต่เป็ นธรรมารมณ์ เป็ นความหลงอย่าง ละเอียด สมาธิขนั้ นี้จะสงบไปถึงระดับใดก็ตอ้ งถอนออกมา จังหวะนี้ก็จะเริ่มคิดปรุงแต่ง ถ้ามีสติปญ ั ญาในขัน้ วิปสั สนา ก็จะเริ่มเห็นจิตหรือวิญญาณขันธ์ท่ีท ำ� หน้าที่ร่วมกับเจตสิกคือ เวทนา สัญญา สังขาร แลว้ ส่งต่อจิตหรือวิญญาณขันธ์ตวั ใหม่ๆ ต่อๆ ไป ซึ่งแต่ละตัวจะเกิดดับเร็วมาก และจะมีความรู้สกึ ว่าตัว เราเป็ นผูร้ ู ้ แลว้ คิดตรึกตรองเหมือนพากษ์ (วิพากษ์) หรือพูดอยู่ ในใจตลอดเวลา หรือเหมือนกับมีอาการยุกๆ ยิกๆ อยู่ในใจซึ่ง จะดับเขาก็ไม่ได้เพราะเขาเป็ นขันธ์หา้ ซึ่งเป็ นชีวติ ก็ไม่ตอ้ งไปไล่ ดับเขา ไม่ตอ้ งไปร�ำคาญเขา ความสงบในอารมณ์ ส มาธิ ร ะดับ ใดก็ ต อ้ งถอนออกมา เพราะอารมณ์สมาธิก็ตกอยู่ใต้กฎอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เมื่อ อารมณ์สมาธิถอนออกมาแลว้ ไม่ใช่ หลงเขา้ ใจผิดว่าจะไล่ดบั ความคิ ด ให้ห มด เพื่อ จะเข า้ สู่ อ ารมณ์ ส มาธิ ต ามเดิม อีก จะ พยายามไล่ดบั ความคิดเพื่อจะเขา้ อารมณ์สมาธิอย่างเดิมไม่ได้ นอกจากว่าเริ่มต้นท�ำเหตุให้จิตใจมีเครื่องล่อใหม่ หรือผูม้ คี วาม ช�ำนาญจะน้อมเอาอารมณ์ปีติข้ นึ มาเป็ นเครื่องล่อจิตเลย แต่ทำ� 37


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

อย่ า งนี้ ม นั เสีย เวลาไปเปล่า ๆ อาจตายไปก่ อ นโดยที่ย งั ไม่ ข้ ึน วิปสั สนาเลย ที่ถูกคือในขณะอยู่ในอารมณ์สมาธิในแต่ ละครัง้ อย่ารบกวนเขา เมือ่ เขาถอนออกมาจากอารมณ์สมาธิแต่ละครัง้ จะมีก �ำ ลัง จิต ดีม าก เหมือ นกับ ได้น อนพัก หลับ มาสนิ ท ดีแ ล ว้ ก็ให้ทำ� วิปสั สนาต่อเลยทันทีอย่างต่อเนื่องทัง้ วัน ๒. “สมาธิ ” ที่ เ กิ ด จากการมี “สติ ” ในขั้น วิ ป ัส สนา คือ ถ้า... “สติขาด สมาธิขาด ปัญญาขาด ธรรมขาด... เป็ นทุกข์ สติหาย สมาธิหาย ปัญญาหาย ธรรมหาย... เป็ นทุกข์ สติมี สมาธิมี ปัญญามี ธรรมมี... ไม่ทุกข์ สติเป็ นมหาสติ เป็ นมหาสมาธิ เป็ นมหาปัญญา เป็ นพระนิ พพาน... พ้นทุกข์”

“ปัญญา”

“ปัญญา” จะสัมพันธ์กนั กับสติและสมาธิ ตัง้ แต่ขนั้ สมถะ และวิปสั สนา พระพุทธเจ้าทรงแสดงปัญญาไวถ้ งึ สามระดับ ๑. “สุ ต มยปัญ ญา” คื อ ปัญ ญาที่ส ำ� เร็ จ ได้ด ว้ ยการฟัง การอ่านซ�ำ้ แลว้ ซ�ำ้ เล่าจนเขา้ ใจ มีพ้ นื ความรู ท้ ่ถี ูกต้องแม่นย�ำ 38


สติ สมาธิ ปั ญญา : จบซะที

เป็ นปัญ ญาที่ ส ามารถมี ไ ด้จ ากการเรี ย นรู จ้ ากการอ่า น การฟัง เรียกว่าปริยตั ิ เป็ นปัญญาที่เป็ นมรรคแรกในองค์มรรค ทัง้ แปดคือ “สัมมาทิฏฐิ” นัน่ คือต้องรู ท้ างที่ถูกต้องด้วยใจให้ แจ่ มชัด รู ช้ ดั ว่าทางไม่ผิดแน่ นอน แมก้ ารเดินทางจะยังไม่ถึง ที่หมายก็ตาม เมือ่ มีสมั มาทิฏฐิเป็ นปัญญาน�ำทางแลว้ สัมมาสติ ก็เกิดขึ้น มีความเพียรชอบ เพียรละ เพียรปล่อย เพียรวาง มีทุกอย่างชอบหมด มีสติรูช้ อบ ไม่ใช่สติรูแ้ ช่ เขา้ ใจหลักธรรมชาติของกายใจว่า มีธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง หรือสังขาร และฝ่ ายไม่ปรุงแต่งหรือวิสงั ขาร ไม่มฝี ่ ายไหนเลยที่ เป็ นตัวเรา ขันธ์หา้ ล ้วนเป็ นสังขาร ขันธ์หา้ ไม่ใช่กเิ ลส ขันธ์หา้ ไม่ใช่ นิพพาน ความทุกข์เกิดจากการหลงไปยึดถือในขันธ์หา้ หรือเอา ขันธ์หา้ ไปยึดอะไร การเดินทางเพือ่ การพน้ ทุกข์ตอ้ งมีปญ ั ญาเขา้ ใจในอริยสัจสี่ ของจิตอย่ างแจ่ มชัด เพื่อการปฏิบตั ิท่ีถูกต้องในปัญญาระดับ ต่อไป “จิตที่ส่งออกนอก... เป็ นสมุทยั ผลจากการที่จติ ส่งออก... เป็ นทุกข์ จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง... เป็ นมรรค ผลจากการที่จติ เห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง... เป็ นนิ โรธ” 39


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

๒. “จินตามยปัญญา” เป็ นปัญญาในระดับที่น�ำความรู ้ ความเข้าใจที่ได้ฟังได้อา่ นมาอย่างถ่องแท้แล้ว มากัดติดจดจ่อ วิเคราะห์วิจยั มุ่งเข้าสู่เส้นทาง น�ำความรู จ้ ากการที่ได้ฟงั มามาก อ่านมามาก ในขัน้ ปริยตั ิมาปฏิบตั ิให้เกิดผลเป็ นปฏิเวธต่อไป โดยใช้สมั มาสติเป็ นแม่ทพั ให้สติตง้ั ที่ใจ ดู ท่ีใจ รู ท้ ่ีใจ ละที่ใจ ปล่อยวางที่ใจ เมือ่ ค่อยๆ แยกจิตกับอารมณ์ได้แลว้ จะมีปญ ั ญารู เ้ ท่าทัน ว่าจิตหลงไปกับอารมณ์หรือไม่ ต้องเห็นจิตรู จ้ กั จิต จึงสามารถ เดินมรรค คือจิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้งได้ ต้องพบผู้รู้ให้ได้จริงก่อน จึงฆ่าหรือท�ำลายหรือปล่อยวาง ผู้รู้ได้ เพียรสังเกตเห็นจิตหรือวิญญาณขันธ์ท่ีทำ� หน้าที่ร่วมกับ เจตสิกคือ เวทนา สัญญา สังขาร แลว้ ส่งต่อจิตหรือวิญญาณขันธ์ ตัวใหม่ๆ ต่อๆ ไป ซึ่งแต่ละตัวจะเกิดดับเร็วมาก และจะมีความ รู้สกึ ว่าตัวเราเป็ นผูร้ ู ้ แลว้ คิดตรึกตรองเหมือนพากษ์หรือพูดอยู่ ในใจตลอดเวลา หรือเหมือนกับมีอาการยุกยิก ยุกยิก ยุกยิก... อยู่ในใจ จะรู้ ได้ว่า จิตปัจจุบนั เคลือ่ นไหวตลอด ในกรณี ท่เี รารู้สกึ ลังเลว่า เราไม่เห็นตัวรู ต้ วั บ่นตัวพากษ์น้ ี ในใจเรา เราต้องมีปญ ั ญาหันกลับมารู ท้ นั ว่า จริงๆ แลว้ เราเห็น 40


สติ สมาธิ ปั ญญา : จบซะที

และเรารู อ้ ยู่แลว้ นะ เพราะตัวที่ไปรู ว้ ่าเราก�ำลังลังเลสงสัยว่าตัว เราไม่เห็นนัน่ แหละ คือตัวรู ต้ วั ใหม่ท่มี าท�ำให้เรารู ไ้ ด้ว่าเราลังเล อย่าดิ้นรนเอาขันธ์หา้ ไปรู ้ ไปอยากรู ้ ไปพยายามรู เ้ ท่าทัน อย่าเอาตัวเราไปเป็ นตัวรู้ ยนื พื้นดูอยู่ ปล่อยวางทุกอย่างให้ผ่านไปด้วยความเข ้าใจ ปล่อยวางสิง่ ที่ ถูกรู แ้ ละผูร้ ู ต้ วั ใหม่เรื่อยไป อย่าเอาผู้รู้ไปท�ำกริยาปล่อยวาง แต่ ให้ปล่อยวางผูร้ ู น้ นั ่ เอง เราก�ำลังปฏิบตั ิบนมรรค คือ จิตเห็นจิต (วิญญาณขันธ์) อย่างแจ่มแจ้งอยู่แลว้ ด้วยการมีสติตงั้ ที่ใจ มีสติอยู่กบั รู ้ เมือ่ ไร ก็ตามที่หลงไปดูความคิดหรือเวทนาจบลงเป็ นเรื่องๆ ได้ นัน่ คือ การหลงส่งจิตออกนอกอยู่ หรือสติไม่ได้ตงั้ อยู่ท่ใี จ แต่ ไหลไป นอกเรื่องราวที่กำ� ลังท�ำก�ำลังคิดอยู่ นัน่ ก็คือการส่งจิตออกนอก เช่นกัน

ไม่ปฏิบตั ิตามมรรค ไม่มีปญ ั ญาพาพ้นทุกข์

รูต้ วั เราทีไ่ ปรูอ้ ารมณ์ ไม่ใช่ไหลไปกับความคิดหรืออารมณ์ ทีถ่ กู รู ้ เสี้ยววินาทีเดียวทีไ่ ม่เห็นภายในใจพูดอยู่คนเดียว แสดงว่า หลงแลว้ หลงไปแช่ติดกับเวทนา เช่น ความรู ส้ กึ โปร่ง โล่ง เบา สบาย นิ่ง ว่าง เฉย หรือมัวแต่หลงไปปรับแต่ง ดิ้นรนผลักไส ทุกขเวทนา คืออาการที่ตรงกันขา้ ม หรือหลงไปกับเรื่องที่คิด 41


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

หรือสิ่งที่คิดไปถึงซึ่งเป็ นธรรมารมณ์ ความหลงเช่นนี้เป็ นสมุทยั ซึ่งเป็ นเหตุให้เกิดทุกข์ หรือไม่พน้ ทุกข์ ยิ่งปล่อยยิ่งรู ้ ยิ่งรู้ย่งิ ปล่อย จนลงแก่ใจ แจ้งแก่ใจ ปล่อย วางผู้ รู้ ไ ด้ท งั้ หมด ก็ จ ะพบใจหรื อ จิ ต เดิ ม แท้ ไ ม่ เ คลื่อ นไหว แต่อาการของใจเคลือ่ นไหวเกิดดับรวดเร็วตลอดเวลา ก็จะเป็ น ภาวนามยปัญ ญา หรือ เป็ น ปฏิเ วธ คือ สิ้น ตัว ตนของผู้ยึด มัน่ ถือมัน่ ก็ส้ นิ กิเลส พน้ ทุกข์ นิพพาน ปล่อยวางตลอดเวลา รู้จิตปัจจุบนั ปล่อยวางจิตปัจจุบนั ไม่หลงอดีต ไม่หลงอนาคต ไม่มผี ู้ยดึ ถือ ไม่มตี วั เราที่จะไปเอา ไปเป็ นอะไร ได้แต่แค่รจู้ ติ ปัจจุบนั อยู่กบั ผูร้ ู ้ ไม่ไปอยู่กบั อารมณ์ หรือสิ่งที่ถูกรู ้ ไม่พยายามดู หรือพยายามไปรู อ้ ะไร ผู้รู้ท่เี ป็ นใจ หรื อ จิ ต เดิ ม แท้ คิ ด หรื อ ปรุ ง แต่ ง ไม่ ไ ด้ สงบแท้แ ยกจากการ ปรุงแต่ง มีปญ ั ญาว่างจากการปรุงแต่ง ไม่มตี วั ตนผู้ยึดถือ จึง เป็ นความสงบ เป็ นความสุขทีส่ ้ นิ ความยึดมันถื ่ อมัน่ อยู่กบั พุทธะ ที่เป็ นผูร้ ู ้ (รู แ้ จ้ง) ผูต้ ่ืน (ตื่นจากความหลง) ผูเ้ บิกบาน (ไม่ยดึ สิ่งใดให้เศร้าหมองอีกต่อไป) ๓. “ภาวนามยปัญญา” ใช้คู่กบั สติตอนที่ไม่หลงส่งจิต ออกนอกแลว้ ตอนที่ ใจสงบร่มเย็น ปัญญาที่เห็นว่าอาการของใจ ล ว้ นเป็ น ขัน ธ์ห า้ ทัง้ หมดล ว้ นเป็ น สิ่ง ปรุ ง แต่ ง มีใ จเท่ า นัน้ ที่ 42


สติ สมาธิ ปั ญญา : จบซะที

ไม่ปรุงแต่ง ปัญญารูแ้ จ้งเข้าไปถึงใจที่ไม่ปรุงแต่ง เป็ นปัญญาแห่ง การปล่อยวางความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ ทัง้ สิ่งที่ปรุงแต่งคือขันธ์หา้ และสิ่ง ที่ ไ ม่ ป รุ ง แต่ ง คื อ ใจหรือ จิต เดิ ม แท้ ซึ่ง เป็ น ความว่า งที่ ปราศจากความปรุงแต่งในนัน้ เป็ นปฏิเวธ เป็ นผลจากการปฏิบตั ิ ปล่อยวางทุกสิ่งที่มี ก็จะเหลือความว่าง ถ้าไม่มใี ครไปยึดถือในความมี ใจก็จะว่าง ถ้าเอาตัวเราไปรู ล้ ะ ปล่อยวาง ก็ไม่ว่าง แมเ้ กิดการปรุ งแต่ งขึ้น ก็ไม่ยึดการปรุ งแต่ ง ปรุ งก็ปรุ ง ต่อไปในความว่าง ไม่มตี วั เราไปเล่นกับการปรุงแต่ง ก็เลยว่าง ไม่ตอ้ งท�ำอะไรมากไปกว่าการเปิ ดม่านอวิชชาออก ม่านแห่งการยึดถือ ไม่ยดึ วางไว ้ เมือ่ ปล่อยความมีจนหมด จะไม่มแี มแ้ ต่ใครที่จะมายึดความว่าง แมแ้ ต่ความรูส้ กึ ตัวที่มอี ยู่ ก็ไม่ยดึ รู้ จิ ต ปัจ จุ บ นั ละจิ ต ปัจ จุ บ นั ก็ จ ะละอดี ต ละอนาคต ละอารมณ์ทงั้ หมดไปด้วย รู้ซ่อื ๆ สิ้ น กิ เ ลส สิ้ น ความหลงไปหาอารมณ์ ท่ี ถู ก รู ้ สิ้ น ทุ ก ข์ ด้วยปัญญา

43


“ อารมณ์มีอยู่ แต่ ไม่มีตัวเราไปยึด รู้สักแต่ว่ารู้ สงบก็เอา ไม่สงบก็เอา เอามันทั้งนั้นแหละ ”


จบซะที

ล่อไว้ ให้เห็นตัวเราพากษ์

“สติตง้ั ที่ใจ รู้ท่ีใจ สังเกตที่ใจ ละที่ใจ ปล่อยวางที่ใจ” “รู ท้ ุกคิดไม่ติดไป จิตเป็ นอย่างไรได้แต่รู ้ ไม่หนี ไม่สู ้ แค่รูอ้ ยู่ท่ีใจ” “ไม่หลงคิด ไม่หลงเอาตัวเราไปคิด แต่รูว้ ่าตัวเราคิดอะไร รู ต้ รงผูร้ ู ”้ แต่ ถา้ ไม่สามารถมีสติตงั้ ที่ใจ รู้ท่ีใจ สังเกตที่ใจ ละที่ใจ ปล่อยวางที่ใจได้ คือปฏิบตั ิไม่เป็ น รู้ไม่เป็ น โดยมัวแต่ไปอยู่กบั อารมณ์ท่ถี ูกรู ้ ได้แก่ รู ป เสียง กลิน่ รส สัมผัส และธรรมารมณ์ คือ เวทนา สัญญา และสังขาร โดยสติไม่ได้สงั เกตเห็นจิตหรือ วิญญาณขันธ์ซง่ึ เป็ นผูร้ ู ้ เมือ่ รูอ้ ารมณ์ใดเราไม่ได้สงั เกตเห็นตัวเรา 45


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

คิด นึก ตรึกตรอง ปรุงแต่ง ซึง่ แท้ทจ่ี ริงไม่ได้เป็ นตัวตนของเราจริงๆ แต่เป็ นจิตหรือวิญญาณขันธ์ ที่ทำ� งานร่วมกับเจตสิกคือ เวทนา สัญญา สังขาร ท�ำหน้าที่คิด นึก ตรึกตรอง ปรุงแต่ง วิตกวิจารณ์ เหมือนพูดอยู่กบั ตัวเอง ปรึกษากับตัวเอง ประมวลผล ท�ำท่า ท�ำท่า ท�ำท่า... พยายามจะดูจะรู ้ พยายามจะท�ำอะไรเพื่อให้เป็ น อะไร พยายาม พยายาม พยายาม... เมือ่ ไม่รู ้ ไม่เห็น ไม่ปล่อยวาง ตัวเราตลอดเวลา ก็จะหลงยึดถือว่าขันธ์หา้ เป็ นเรา เป็ นตัวเรา เป็ นตัวตนของเรา หรือตัวเราเป็ นขันธ์หา้ แล ้วหลงเอาตัวเราไปคิด ไปปรุงแต่ง หลงคิดไปเรื่อยๆ..... แลว้ เอาตัวเราไปหลงรัก หลงชัง หลงยึดติดยึดถือคนต่ างๆ หรือสิ่งต่ างๆ จนเป็ นกิเลส ตัณหา และความทุกข์ ถ้าไม่มสี ติตงั้ ที่ใจ รู ท้ ่ใี จ สังเกตที่ใจ ละที่ใจ ปล่อยวางที่ใจ ตลอดเวลา โดยมัว แต่ ส่ง จิต ออกนอกไปอยู่ ก บั อารมณ์ท่ีถูก รู ้ ก็ตอ้ งมีวธิ ีแก้ คือไม่ว่าจะเดิน ยืน นัง่ นอน ดื่ม กิน นัง่ สมาธิ หรือเดินจงกรม หรือท�ำกิจกรรมการงานใดต้องมีค�ำบริกรรม เช่ น พุทโธ เป็ นเครื่องล่อไว้ ให้มีสติ สัมปชัญญะ มีความรูส้ กึ ตัว ทัว่ พร้อ มอยู่ ก บั กิ จ การงานที่ท ำ� ในขณะปัจ จุบ นั เพื่อ ไม่ ใ ห้เ กิ ด ความผิดพลาด แล ้วให้สงั เกตเห็นตัวเราผูบ้ ริกรรม “พุทโธ” อยู่น้ วี า่ คิดตรึกตรองหรือวิตกวิจารณ์อะไร บ่นอะไร พากษ์ (วิพากษ์) อะไรอยู่ในใจ หรือท�ำท่าแสดงกริยาอาการต่างๆ อยู่ตลอดเวลา 46


ล่อไว้ ให้ เห็นตัวเราพากย์ : จบซะที

แค่รูห้ รือสักแต่ว่ารู ้ หรือปล่อยวาง โดยขอให้มสี ติ สัมปชัญญะ ความรู ส้ ึ ก ตัว ทัว่ พร้อ มอยู่ ก ับ กิ จ การงานที่ ท �ำ อยู่ ใ นทุ ก ขณะ ปัจจุบนั และอย่าทิ้งเครื่องล่อ แล ้วจะสังเกตเห็นตัวเราผูบ้ ริกรรม พุทโธ หรือผู้ท่ีไปรู เ้ ครื่องล่อคิด ตรึกตรอง ปรุงแต่ง พูด พากษ์ ท�ำท่า ท�ำท่า... พยายามจะ... แสดงกริยาอาการต่างๆ ตลอดเวลา จะใช้ค �ำ บริก รรมหรือ เครื่อ งล่อ ใดมาเป็ น เครื่อ งล่อ ก็ ไ ด้ ขอแค่เอามาล่อไว ้ แลว้ ผลคือจิตไม่ฟ้ งุ ซ่านก็ถอื ว่าใช้ได้ทงั้ นัน้ แต่ มีขอ้ แมส้ ำ� คัญว่า ต้องมีความรู้ สึกตัวทัว่ พร้อมอยู่ตลอดเวลาว่า ก�ำลังท�ำอะไรอยู่ในขณะปัจจุบนั เพราะต้องระวังอันตรายจาก อุบตั ิเหตุ หรืออาจท�ำให้เกิดความผิดพลาดในกิจการงาน การ บริกรรมระหว่างที่ทำ� กิจวัตรหรืองานที่มีความเสี่ยงอาจจะเกิด อุบตั ิเหตุได้ถา้ เกิดจิตรวมขึ้นมา จิตกับผูร้ ูร้ วมเป็ นหนึ่งเหลือแต่รู ้ เรีย กว่า เอกัค คตาจิต เหลือ แต่ จิต สว่า งเจิด จ้า อยู่ ข า้ งในแต่ ไ ม่ รู้สึกตัวซึ่งอาจเกิดอุบตั ิเหตุได้ เพราะฉะนัน้ ส�ำคัญมากนะ คือ ต้องตื่นรู อ้ ยู่ในปัจจุบนั ว่าตนเองก�ำลังท�ำอะไรอยู่ โดยเฉพาะ บางคนที่มีว าสนาบารมีด า้ นนี้ ม าก่ อ น คื อ เคยปฏิบ ตั ิส มาธิไ ด้ อารมณ์ปี ติ สุ ข อุเ บกขา ได้อ ารมณ์ฌ านมาก่ อ นในอดีต ชาติ จิตจะรวมได้ง่าย แต่ถา้ ยึดอารมณ์ฌานนัน้ ก็จะเป็ นการปฏิบตั ิ ในฌานฤาษีท่มี มี าก่อนพระพุทธเจ้าประสู ติ เลยไม่เป็ นวิปสั สนา คือ สักแต่ว่ารู ห้ รือปล่อยวาง 47


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

แต่ถา้ จิตจะรวมในตอนที่เราไม่ได้ทำ� กิจวัตรอะไรที่มคี วาม เสี่ยงต่ อการเกิดอุบตั ิเหตุ ก็ปล่อยให้รวมไปเลย อย่าไปยื้อนะ ต้องปล่อยขาด ตกบันไดพลอยโจนไปเลย ก็แค่ รู ้ อย่าปล่อย ให้ฟ้ ุงซ่านขัดขืนตื่นเต้นอะไร สติไปรวมอยู่ ในนัน้ แยกไม่ออก ระหว่างจิตกับผูร้ ู ้ มีสติควบคุมจิตไว ้ สักแต่ว่ารู ้ ไม่ต่ืนเต้นตกใจ อย่าไปหลงนิมติ ที่อาจเกิดขึ้น อาจเป็ นบา้ ได้ ผูท้ ่มี วี าสนาบารมี เคยจิตรวมแบบนี้ ต้องมีครู อาจารย์ท่แี ม่นจิตคอยชี้แนะ ย�ำ้ อีก ทีว่า ต้อ งมี ส ติ สัม ปชัญ ญะ คือ รู ส้ ึก ตัว ทัว่ พร้อ ม ว่ า ก�ำ ลัง ท�ำ อะไรอยู่ ใ นขณะปัจ จุ บ นั และรู ต้ วั ว่ า ก�ำ ลัง พุท โธอยู่ พร้อมกับสังเกตที่ตวั เราผูบ้ ริกรรมพุทโธ คิดตรึกตรอง ปรุงแต่ง เอาอารมณ์ท่ีถูกรู ม้ าพากษ์ หรือพูด หรือท�ำท่า หรือพยายาม อะไรอยู่ในใจ ก็สกั แต่ว่ารู ห้ รือปล่อยวางตลอดเวลา เท่ากับละ อุปาทานขันธ์หา้ ปล่อยวางถึงจิตหรือวิญญาณขันธ์ซ่งึ ท�ำงานร่วม กับเจตสิกคือ เวทนา สัญญา และสังขาร การปฏิบตั ิเพื่อละอุปาทานขันธ์หา้ ให้มีตวั ล่อจิตไวก้ ่ อน เพราะบางคนที่ไ ม่รู จ้ ริง คิด ว่า ตัว เองรู อ้ ยู่ แต่ ท่ีแ ท้แ ค่ คิด เอา คิดไปเรื่อยไม่รูว้ ่าตัวเองฟุ้งซ่าน โดยรู เ้ รื่องที่คิดทุกเรื่องแต่ไม่รู ้ ตัวเราที่กำ� ลังคิด แยกไม่ออกระหว่างรู้จิตที่คิดกับเอาจิตไปคิด หรือสังเกตไม่ออกว่ารู ต้ วั เราที่กำ� ลังคิดหรือหลงเอาตัวเราไปคิด ไม่เ หมือ นกัน นะ ต่ า งกัน ราวฟ้ ากับ ดิน ถ้า เราหลงเอาขัน ธ์ห า้ 48


ล่อไว้ ให้ เห็นตัวเราพากย์ : จบซะที

ปรุงแต่งเป็ นตัวเรา แลว้ เอาตัวเราไปคิดไปปรุงแต่ง อันนี้คือหลง ยึดถือขันธ์หา้ เป็ นตัว เป็ นตน เป็ นเรา เป็ นตัวเรา เป็ นตัวตนของเรา หรือตัวเราเป็ นขันธ์หา้ แลว้ หลงมีตวั เรา แลว้ เอาตัวเราไปคิด  ไปพูดเพอ้ เจ้อ ไปฟุ้งซ่าน วิธแี ก้การหลงยึดแบบนี้ ต้องมีเครื่องล่อไว้ให้มคี วามรูส้ กึ ตัว เต็มร้อยอยู่ กบั เครื่องล่อ แลว้ ก็สงั เกตที่จิตหรือวิญญาณขันธ์ ซึง่ ท�ำหน้าทีร่ ่วมกับเจตสิกคือ เวทนา สัญญา สังขาร โดยจะเห็นว่า มีตวั เราเป็ นผู้คิดตรึกตรอง ปรุงแต่ง พูดอะไรๆ อยู่ในใจตลอด เวลา ถ้าสักแต่ว่ารู ้ หรือปล่อยวางตัวเราที่คิดตรึกตรองปรุงแต่ง ก็เท่ากับปล่อยวางขันธ์หา้ ที่หลงยึดถือเป็ นตัวเรา จะได้ไม่หลง ยึดถือขันธ์หา้ ว่าเป็ นเรา เป็ นตัวเรา หรือเป็ นตัวตนของเรา หรือ ตัวเราเป็ นขันธ์หา้ แลว้ เอาตัวเราไปหลงคิด หลงปรุงแต่ง ผู ท้ ่ีปฏิบตั ิดูจิตแต่ หลงคิดเนี่ยเยอะมาก แต่ เขา้ ใจผิดว่า ตนเองก�ำลังดูจิตอยู่ ดู จิต ที่ถูก ต้อ ง คือ การดู จิต หรือ วิญ ญาณขัน ธ์ ที่ท ำ� งาน ร่วมกับเจตสิกเพื่อปล่อยวางความหลงยึดถือขันธ์หา้ ไม่ใช่หลง เอาขันธ์หา้ มาปรุงแต่งเป็ นตัวเรา แลว้ หลงเอาตัวเราไปดูจิตหรือ ดูความคิด หรือหลงคิดปรุงแต่งไปเป็ นเรื่องๆ 49


“ สติขาด สมาธิขาด ปัญญาขาด ธรรมขาด... เป็นทุกข์ สติมี สมาธิมี ปัญญามี ธรรมมี... ไม่ทุกข์ สติเป็นมหาสติ เป็นมหาสมาธิ เป็นมหาปัญญา เป็นพระนิพพาน... พ้นทุกข์ ”


จบซะที

เราเป็นคนรู้นี่แหละจิต

หลายคนอาจจะสงสัยว่า เวลาที่เรามีอารมณ์แรงๆ เช่ น “เวลาที่เราโกรธหรือโมโหขึ้นมาจะให้ปฏิบตั ิอย่างไร?” ค�ำถามนี้ ตอบได้ ๒ แบบ ขึ้นกับว่าท่านนัน้ ปฏิบตั ิอยู่ในระดับใด ส�ำหรับผู้ท่เี ริ่มต้นปฏิบตั ิใหม่หรือผู้ท่ไี ม่เคยปฏิบตั ิมาก่อน เป็ นปกติธรรมดาทีจ่ ะไม่รูเ้ ท่าทันอารมณ์ทำ� ให้หลงปรุงแต่งเขา้ ไป ร่ ว มกับ อารมณ์น นั้ ๆ ได้ง่า ย เวลาถูก กระทบแรงๆ ก็ ไ ปตาม อารมณ์นนั้ ๆ ทีเ่ รามักเขา้ ใจง่ายๆ ภาษาชาวบา้ นว่า “ของขึ้น” ซึง่ ใน ขณะนัน้ เราจะมารู้จิตอยู่ ไม่ได้ เพราะอารมณ์มาปิ ดบัง มาข่ม หมดแลว้ ท�ำให้ไม่เห็นจิตคิดอะไร มันไม่ทนั เหมือนกับว่ารถจะ ชนกันแลว้ ต้องหักหลบอย่างเดียว คือพอรู เ้ ท่าทันปุ๊ บให้เปลีย่ น ความสนใจไปอย่างอื่นเลย เช่ น พออารมณ์ข้ นึ จีด๊ ก็ฮมั เพลง 51


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ขึ้นมา ลุกมาเปิ ดตูเ้ ย็นกินน�ำ้ ลุกขึ้นมาท�ำกับขา้ ว ลุกไปท�ำอะไร ก็ได้ เคลือ่ นไหวร่ างกายอย่างรวดเร็ว พออารมณ์จีด๊ ขึ้นมาปุ๊ บ เราต้องพลิกปั ๊บเลย เดีย๋ วก็คิดอีก โมโหอีก คิดอีก โมโหอีก คิ ด อีก อารมณ์ รุ น แรงอีก เราก็ พ ลิก อีก เพราะว่ า เรามาเห็น ความคิดไม่ทนั หรอก อารมณ์ทแ่ี รงมากเราไม่เห็นความคิดหรอก เปลี่ยนความสนใจไปเรื่อยๆ เดีย๋ วก็ค่อยๆ จางลงๆ อารมณ์ จะจางหายไปเอง ไม่ใช่ให้ ไปกดข่มอัดเอาไวข้ า้ งในนะ อัดไวๆ้ เดีย๋ ววันไหนทนไม่ได้ ก็จะระเบิดออกมาแรงกว่าเดิมหลายเท่า การรู แ้ ล้วพลิกออกมาเปลี่ยนอารมณ์ คือขัน้ ตอนเริ่มต้นแบบ เบสิก (Basic) แต่แบบนี้ ให้ใช้กบั อารมณ์แรงๆ ที่เราไม่ทนั นะ แต่ถา้ เราไปใช้กบั ตอนทีอ่ ารมณ์ไม่แรง เช่น ใช้กบั ตอนเกิดอาการ ที่ไม่สบายใจ ขอ้ นี้ผดิ พลาดมหันต์เลย จะท�ำให้เกลียดอารมณ์ ทีไ่ ม่ถูกใจ และจะหลงไปยึดเอาอาการทีถ่ ูกใจอีก ไปเอาแต่อาการ ที่สบายๆ เราต้องพัฒนาขึ้นมาใหม่ มาเป็ นผูด้ ูผูร้ ู อ้ ารมณ์นนั้ ฝึ ก ในขัน้ สามารถสัง เกตเห็น ได้ช ดั เจนระหว่ า งจิต หรื อ วิญ ญาณขัน ธ์ซ่ึง เป็ น ผู ร้ ู ้ กับ อารมณ์ โ ดยเฉพาะธรรมารมณ์ ท่ี ถูกรู ้ กรณี ในสภาวะปกติท่ีไม่ได้เกิดอารมณ์ท่ีรุนแรง เราพอมี สติ ปัญญา ที่จะสังเกตเห็นจิต หรือวิญญาณขันธ์ หรือผูร้ ู ก้ บั ธรรมารมณ์ท่ถี ูกรู้ได้ เช่น ใจไม่สบาย ไม่โปร่ง ไม่โล่ง ไม่เบา อัน นี้เป็ นแค่ทกุ ขเวทนาธรรมดา เดีย๋ วก็สบาย เดีย๋ วก็ไม่สบาย แต่เรา 52


เราเป็ นคนรู้นี่แหละจิต : จบซะที

ไปเลือกเอาที่สบาย มันจะหลง เพราะว่าที่สบายนัน้ เป็ นสุขเวทนา ที่ไม่สบายเป็ นทุกขเวทนา ถ้าเราไปเลือกเอาฝัง่ หนึ่งไม่เอาอีกฝัง่ หนึ่ง ก็จะติดแค่เวทนาไม่ไปไหนหรอก ปฏิบตั ิธรรมติดแค่เวทนา คือดีรกั ชัว่ ชัง เกลียดทุกข์รกั สุข ปฏิบตั ิไม่ไปอย่างไรเลย พ่อแม่ ครู อาจารย์ท่านใช้ค�ำแรงมากเลย ท่านใช้ค�ำว่าคนโง่ คนโง่ชอบ หลีกหนีอาการ ชอบหลีกหนีปรากฏการณ์ในใจของตัวเอง แต่คน ฉลาดจะเห็นจิตปรุงแต่ง แลว้ ไม่หลงไปตามจิตที่ปรุงแต่งของตัว เอง ไม่หลงเอาตัวเองไปปรุงแต่ง คิดนัน่ คิดนี่ เห็นจิตปรุงแต่ง ของตัวเองแลว้ ไม่หลงมีความรู ส้ กึ ว่ามีตวั เราเขา้ ไปมีส่วนได้เสีย หรือ ไม่ห ลงมีต วั เราไปดิ้น รนผลัก ไส  หรือ พยายามไปดับ เขา นี่คือคนฉลาด ดัง นั้น เวลาอารมณ์ แ รงๆ เราก็ ใ ห้พ ลิก ออกมาก่ อ น พอจิตเริ่มเป็ นปกติแลว้ ก็กลับมาปฏิบตั ิในสภาวะปกติต่อ คือ เมือ่ มีเวทนาเกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็ นสุขหรือทุกข์ ที่เรียกว่าสุขเวทนา ทุกขเวทนา รวมทัง้ ไม่สุขไม่ทุกข์ท่เี รียกว่าอทุกขมสุขเวทนาหรือ อุเบกขาเวทนา อาการเหล่านี้รูต้ วั มันเองไม่ได้ ให้เราถามตัวเรา ว่า “ใครล่ะเป็ นคนรู ”้ ก็เรานัน่ แหละเป็ นคนรู ้ คนอื่นไม่รูห้ รอก เรานัน่ แหละรูว้ ่าเรามีอาการทีส่ บายใจ ไม่สบายใจ หรือว่ามีอาการ เป็ นกลางๆ เรานัน่ แหละเป็ นคนรู ้ ตรงนี้สำ� คัญมากเพราะเราเป็ น คนรูแ้ ท้จริงนัน่ แหละเป็ นจิต แท้จริงไม่ใช่เป็ นตัวเราหรอก เป็ นจิต 53


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ต้องการให้เห็นตัวนี้ จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้งเป็ นมรรค ผลของ จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้งเป็ นนิโรธคือดับทุกข์ ก็ตอ้ งการให้เห็น ตัวเราที่ไปรู้น่ีแหละ ตัวเราที่ไปรู อ้ ารมณ์ ไปรู อ้ าการ ไม่ว่าจะเป็ น อาการทางกายต่างๆ เช่น ร้อน หนาว อาหารรสอร่อย ไม่อร่อย หรืออาการทางใจทุกอย่าง เช่น สุข ทุกข์ กลางๆ อาการหรือสิ่งที่ ถูกรูท้ งั้ หมดเรียกว่าอารมณ์ หรือสิง่ ทีถ่ ูกรูท้ ใ่ี จก็เรียกธรรมารมณ์ ส่วนผู้ท่ีไปรู อ้ ารมณ์ทงั้ หมดทุกขณะปัจจุบนั เรียกว่าจิต ตรงนี้ หลายคนเขา้ ใจผิด คิดว่าโครงร่ างของร่ างกายเป็ นคนไปรู ้ มัน ไม่รูห้ รอก ไม่ได้เอาตาไปรู ้ ไม่ได้เอาหูไปรู ้ อันนัน้ เป็ นแค่ประตู ลองไปดู สิคนตายนอนลืมตาโพลงแต่ มองไม่เห็นหรอก ที่ไปรู ้ เห็นนี่แหละคือจิต ผูร้ นู้ ่ี แหละคือจิต หรือ “วิญญาณขันธ์” แต่เป็ นผูร้ ูเ้ พียงแค่ เสี้ยววินาทีเดียว เพราะพอรู ป้ ั ๊บจะถูกใจ เป็ นสุขเวทนา ไม่ถูกใจ เป็ นทุกขเวทนา ไม่ถงึ กับถูกใจหรือไม่ถกู ใจ เป็ นอทุกขมสุขเวทนา มันวิเคราะห์เลย มันพากษ์ (วิพากษ์) พูด วิเคราะห์ คิดตรึกตรอง ยุกยิกๆ มันมีอาการหลายอย่าง บางทีก็ ใช้ภาษาสมมุติเรียกชื่อ ไม่ถูก เยอะแยะ หลายค�ำ บางทีก็บ่นอือ อือ... ท�ำท่า ท�ำท่า... พยายาม พยายาม... เหมือนจะมีกริยาอาการใดจะผุด จะปรุง ออกมาจากใจ พูดอยู่กบั ตัวเอง ปรึกษาตัวเอง ซึ่งวิญญาณขันธ์น้ ี ท�ำหน้าที่รูแ้ ค่แป๊ บเดียวแค่นนั้ แหละ ก็ส่งต่อไปยังเวทนา สัญญา 54


เราเป็ นคนรู้นี่แหละจิต : จบซะที

สัง ขาร เป็ น ธรรมชาติข องเค้า เลย พอเราเห็น อย่ า งนี้ ห มดปุ๊ บ เท่ากับเราเห็นขันธ์หา้ หมดแลว้ ถึงวิญญาณขันธ์เลย ในพระอภิธ รรมท่ า นพู ด ไว ้ ๔ อย่ า ง ได้แ ก่ “รู ป จิต เจตสิก นิ พพาน” “รู ป” หมายถึงร่างกายที่เราเห็นอยู่อย่างนี้ “จิต” ก็หมายถึงวิญญาณขันธ์ ส่วนเวทนา สัญญา สังขาร ทัง้ สาม อย่ า งรวมเรีย กว่า “เจตสิก ” เวทนาก็ คือ ความรู้สึก ว่า สิ่ง ที่ไ ป กระทบในขณะปัจจุบนั นี้ ถูกใจ ไม่ถูกใจ เป็ นกลางๆ สัญญาคือ ความจ�ำได้ว่าอะไรคืออะไร หมายความว่าอย่างไร ส่วนสังขาร ก็คือคิดปรุง ปรุงคิด พากษ์ (วิพากษ์) อยู่ในใจ พูดบ่นอยู่ในใจ อยู่คนเดียว คิดตรึกตรองอยู่คนเดียว จิตกับเจตสิกนัน้ ท�ำงาน ร่วมกัน เกิดพร้อมกันดับพร้อมกัน วิธีปฏิบตั ิ คือให้เรามารู้ท่ตี วั เรานี่แหละ รู้ท่วี ญ ิ ญาณขันธ์ แทนที่เราจะไปรู แ้ ต่อารมณ์ซ่งึ เป็ นสิ่งที่ถูกรู้น่ี เราก็มารู แ้ ต่ตวั เรา ผูไ้ ปรู ้ ดูท่ีตวั เรานี่ แหละ ตัวเราที่มนั พากษ์มนั พูดตลอดนี่ แหละ ตัวเรานี่ แหละปล่อยวางมันทัง้ ยวงเลย ปล่อยวางมัน มันรู อ้ ะไร มันพากษ์อะไรก็ช่างมันเถอะ วางให้หมดเลย สักแต่ว่ารู ม้ นั คือปล่อยวางมันให้หมดก็เท่ากับปล่อยวางขันธ์หา้ อย่างนี้เรียก ว่าสติตงั้ ที่ใจ ดู ท่ใี จ รู ท้ ่ใี จ สังเกตที่ใจ ละที่ใจ ปล่อยวางที่ใจ เมือ่ ปล่อยวางขันธ์หา้ ทัง้ หมดได้ เรียกว่าละอุปาทานขันธ์หา้ ก็จะ พบใจที่ว่างจากความปรุงแต่ง มีแต่ความรู้ไม่มตี วั ใจ ไม่มรี ู ปร่าง 55


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ไม่มรี ูปพรรณสัณฐานใด ไม่มอี าการเกิดดับ เป็ นเหมือนความว่าง ของธรรมชาติหรือจักรวาล แล ้วก็ไม่หลงยึดถือใจจะให้ว่าง เพราะ ใจเขาเป็ นความว่างอยู่แลว้ ตามธรรมชาติ เมื่อสิ้นหลงยึดถือทัง้ สังขารคือธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง และสิ้นหลงยึดถือวิสงั ขารคือ ธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง ก็พน้ ทุกข์เรียกว่า “นิ พพาน” จึงมีความจ�ำเป็ นต้องเขา้ ใจให้ถูก รู้ผดิ ตัวไม่ได้ ถ้าเราเห็น ขันธ์หา้ ไม่ครบห้าขันธ์ แลว้ เราจะปล่อยวางขันธ์หา้ ได้ยงั ไง แลว้ เวลาปล่อยวางนี่ คือเราก็ปล่อยวางมันทัง้ ยวงเลยนะ หลายคนที่ ปฏิบตั ิผดิ ไปคาผู้รู้ไว ้ คือผูร้ ู ค้ งที่ยนื พื้นไว ้ แลว้ พยายามปล่อย วางทุกคิดหรือทุกอารมณ์ท่ถี ูกรู ้ หรือเมือ่ ไปรู อ้ ะไรก็พยายามตัด ความคิดทุกคิด ห้ามไม่ให้ส่งต่อเวทนา สัญญา สังขาร จ�ำได้ว่า อะไรเป็ นอะไร โดยพยายามให้รูเ้ ฉยๆ หรือยึดผูร้ ใู้ ห้มนั ว่าง อันนี้ ผิดมหันต์นะ กลายเป็ นพยายามปล่อยวางความคิดหรืออารมณ์ ทีถ่ กู รู้ โดยไม่ได้ปล่อยวางผูป้ ล่อยวาง หรือหลงพยายามเอาตัวเรา ไปปล่อยวางอย่างอื่น แต่ไม่ได้ปล่อยวางตัวเรา และหลงยึดใจ ให้เฉย ให้ว่าง อย่างนี้เท่ากับหลงยึดถือไม่ได้ปล่อยวาง จึงต้องเห็นจิตหรือวิญญาณขันธ์ท่ีทำ� หน้าที่ร่วมกับเจตสิก คือเวทนา สัญญา สังขารแล้วไม่มีผูห้ ลงยึดถือ หรือปล่อยวาง อารมณ์ทถ่ี กู รู้ ในใจทัง้ หมดคือ เวทนา สัญญา สังขาร และปล่อยวาง 56


เราเป็ นคนรู้นี่แหละจิต : จบซะที

ผู้รู้ซ่ึงเป็ นจิตหรือวิญญาณขันธ์ ก็เท่ากับสิ้นหลงยึดถือขันธ์หา้ ถ้าเห็นไม่ครบห้าขันธ์ จะปล่อยวางขันธ์หา้ ไม่ได้ บางคนเหมารถตูม้ าไกลๆ ตัง้ ๒ คัน เขาจะมาให้อาจารย์ รับรองว่าว่างแลว้ แต่ ตอนอยู่ ในรถคิดมาตลอดทางกลับมอง ไม่เห็น บางคนก็ลอ็ คเอาตรงอุเบกขาเวทนา รู อ้ ะไรก็กนั ไม่ให้สุข ไม่ให้ทุกข์ ให้เป็ นเฉยๆ รู้ ให้เฉยๆ ไม่ให้เป็ นสุขเป็ นทุกข์ แลว้ รู ้ อะไรท�ำเป็ นเอ๋อ... รูอ้ ะไรท�ำเป็ นเอ๋อ... ไม่รูเ้ รื่องอะไรเลย เดิมเป็ น คนคล่องแคล่วว่องไวปราดเปรียว พอมาฝึ กจิตผิดๆ แบบนี้เลย เอ๋อไปเลย จ�ำอะไรไม่ได้สกั อย่าง มาปฏิบตั แิ ลว้ ยิ่งโง่ลงไปอย่างนี้ ค�ำว่า “ปล่อยวาง” จึงไม่ใช่ไม่รูอ้ ะไรเลย แต่หมายถึงรู ท้ ุก อย่าง แต่ ไม่ได้ยึดอะไรสักอย่าง คือมันรู ห้ มดเลยแลว้ ก็ปล่อย วางทัง้ สิ่งที่ถูกรู แ้ ละผูร้ ู ท้ ุกขณะปัจจุบนั วางอารมณ์ท่ถี ูกรู ้ แลว้ ก็วางผูร้ ู ห้ รือวิญญาณขันธ์ในทุกขณะปัจจุบนั เรียกว่าวาง คือช่าง มึง อยากจะรู อ้ ยากจะพูด อยากจะบ่น ก็สกั แต่ว่าเห็นมัน สักแต่ ว่าเห็นมันพูดมันบ่น ก็สกั แต่ว่า ช่างมันเหอะ ช่างมัน ช่างมัน.... ปล่อยมัน ปล่อยมัน... มันเป็ นขันธ์หา้ มันเป็ นธรรมชาติท่ตี อ้ ง ปรุงแต่ง เกิดแลว้ ก็ดบั เลย เกิดแลว้ ก็ดบั ไป ก็ช่างมัน สักแต่ว่า รู อ้ ย่างเดียว

57


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

นี่จึงเป็ นที่มาของที่พระพุทธเจ้าตรัสกับพาหิยะว่า ถ้าเธอ สัก แต่ ว่า รู ้ จะไม่มีต วั ตนของเธอเลย เธอจะสิ้น กิเ ลส บรรลุ พระนิพพานเดีย๋ วนี้เลย พาหิยะฟังจบบรรลุพระนิพพานเลย หรือ ที่หลวงปู่ดูลย์ อตุโล บอกว่า “พบผูร้ ู้ ให้ฆ่าผูร้ ู”้ หรือ หลวงปู่หลา้ เขมปัตโต และหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน บอกว่า “พบผูร้ ู ้ ให้ปล่อยวางผูร้ ู”้ แต่ผูป้ ฏิบตั ิชอบเขา้ ใจผิดท�ำผิด วางผูร้ ูห้ มดคือ ไม่รูอ้ ะไรเลย ความจริงท่านให้ปล่อยวางความหลงยึดถืออารมณ์ ที่ถูกรู ภ้ ายในใจ และสิ้นหลงยึดถือผูร้ ู ว้ ่าเป็ นเรา เป็ นตัวเรา หรือ เป็ นตัวตนของเรา มีเพลงอยู่เพลงหนึ่งที่ลูกศิษย์เราแต่งเพลงให้ เพลงรู้ ซื่อๆ จบที่ใจ “ให้รูท้ ุกคิดไม่ติดไป จิตเป็ นอย่างไรได้แต่ รู ้ ไม่หนี ไม่สู ้ แค่รูอ้ ยู่ท่ีใจ”

58


จบซะที

อารมณ์ มีอยู่ แต่ใจว่างเปล่า

ผูป้ ฏิบตั ิธรรมมักจะมีกเิ ลสความโลภ ความอยากได้ ความ อยากเอา มีการคาดหมายว่าจะไปเอาอะไร แล ้วหลงปรุงแต่งว่ามี ตัวตนของเราจะไปเอาสิง่ ทีต่ วั เราคาดหมายไวน้ นั้ เช่น คาดหมาย ว่านิพพานคือความนิ่ง ว่าง สงบ ก็หลงเอาขันธ์หา้ ซึง่ เป็ นธรรมชาติ ที่ปรุงแต่งมาหลงปรุงแต่งว่ามีตวั ตนของเรา แลว้ พยายามจะเอา ตัวเราไปให้ถงึ ความนิ่ง ความว่าง ความสงบทีย่ ดึ ถือคาดหมายไว ้ การปฏิบตั ิเลยมีแต่การหลงยึดถือ ซึ่งเป็ นอวิชชา กิเลส ตัณหา อุปาทาน เป็ นการปฏิบตั ิตรงข้ามทางนิ พพาน คือต้องสิ้นอวิชชา กิเลส ตัณหา อุปาทาน หรือสิ้นความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ หรือสิ้น ความหลงรู้สึกว่าเรามีตวั ตน แลว้ หลงเอาตัวตนของเราไปหลง ยึดถือขันธ์หา้ หรือหลงยึดถือคนอื่น สิ่งอื่น หรืออารมณ์อ่นื ๆ 59


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ดังนัน้ “การปฏิบตั ธิ รรม” คือการมีสติปญั ญาหมัน่ พิจารณา ให้เห็นตามความเป็ นจริงของขันธ์หา้ คือร่างกายจิตใจ ว่าเป็ นสิ่ง ผสมปรุงแต่งมาจากธาตุทง้ั สี่ และธาตุรู้ ท่ียงั มีอวิชชาคือความ หลงยึดถือผสมอยู่ เมื่อขันธ์หา้ เป็ นสังขารคือสิ่งผสมปรุ งแต่ ง จึงเป็ นของไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ ทนอยู่สภาพเดิมไม่ได้ ต้องแตกดับ เน่ าเปื่ อยผุพงั สลายกลับคืนไปสู่ธาตุดนิ ธาตุนำ�้ ธาตุลม ธาตุไฟ และธาตุรู ้ เมือ่ สิ้นอวิชชาคือความหลงยึดถือขันธ์หา้ ว่าเป็ นตัวตน คงที่ เป็ นเรา เป็ นตัวเรา เป็ นตัวตนของเรา หรือมีตวั ตนของเรา ในขันธ์หา้ ธาตุรู้ก็เป็ นความรู้ท่วี ่างเปล่าดังเดิม ต้อ งอ่ า นใจตนเองให้ข าดทุก ขณะปัจ จุบ นั ว่า ปฏิบ ตั ิด ว้ ย ความอยาก หรือหลงไปยึดถือว่าขันธ์หา้ เป็ นตัวเรา หรือมีตวั เรา อยู่ในขันธ์หา้ แลว้ เอาตัวเราไปยึดถืออารมณ์ท่ถี ูกรู้คือ รู ป เสียง กลิน่ รส สัมผัสและธรรมารมณ์ หรือมีตวั เราจะไปเอาอะไรหรือไม่ แม้มตี วั เราจะไปเอาธรรม เอาความว่าง เอานิพพาน ก็เป็ นอวิชชา กิเลส ตัณหา อุปาทาน เป็ นทางตรงขา้ มนิพพาน แม้มคี วามรู อ้ ยู่ แต่ อ ย่ า หลงเข า้ ไปยึ ด ถื อ ว่ า ตัว เราเป็ นผู ร้ ู ห้ รื อ ผู ร้ ู เ้ ป็ นตัว เรา คงสักแต่วา่ รู ้ จิตเขามีความคิดหรือมีอาการอย่างใด ไม่ว่าจะถูกใจ ซึ่งเป็ นสุขเวทนา ไม่ถูกใจซึ่งเป็ นทุกขเวทนา หรือเป็ นกลางๆ ซึ่ง เป็ นอทุกขมสุขเวทนา ไม่ว่าจะเป็ นกุศลหรืออกุศล ล้วนแต่เป็ น อารมณ์ท่ถี กู รูข้ องจิตหรือวิญญาณขันธ์ ส่วนจิตหรือวิญญาณขันธ์ 60


อารมณ์มีอยู่ แต่ใจว่างเปล่า : จบซะที

จะเป็ นผูร้ ู ้ แต่เป็ นผูร้ ู เ้ พียงเสี้ยววินาทีเดียว แลว้ เกิดเจตสิกคือ เกิดเวทนา สัญญา สังขารซึ่งเป็ นอารมณ์ท่ถี ูกรู ม้ าท�ำหน้าที่ร่วม ทันที ก็ปล่อยให้เขาเป็ นอย่างที่เขาเป็ น อย่าหลงเขา้ ไปยึดถือ เหตุท่ตี อ้ งรู้จิตหรือวิญญาณขันธ์ผูร้ ู อ้ ารมณ์ไวต้ ลอดเวลา เพื่อจะได้ไม่ หลงส่งจิตออกนอกไปอยู่กบั อารมณ์ท่ีถูกรู ้ ไม่งนั้ จะหลงไปกับเขา ถึงรู แ้ ลว้ ก็ไม่พยายามไปดับเขาหรือพยายามไป ท�ำลายเขา และไม่ไปยึดเขา ดีก็ไม่ยดึ ชัว่ ก็ไม่ยดึ อารมณ์ท่ถี ูกใจ ไม่ถกู ใจก็ไม่ยดึ เลย อารมณ์มีอยู่แต่ไม่มีตวั เราไปยึด รูส้ กั แต่ว่ารู ้ อารมณ์ เขาเป็ นอย่างไร จะสงบหรือไม่ สงบก็เอาทัง้ นั้นแหละ ปล่อยให้เขาเป็ นอย่างที่เขาเป็ น เช่น เวลาเกิดอารมณ์หรืออาการ ทีไ่ ม่ถูกใจ อย่าหลงมีตวั เราไปพยายามปรับแต่งแก้ไขหรือผลักไส อารมณ์ท่ีเกิดขึ้น อยากให้ดบั ไปเร็วๆ อันนี้ไม่ถูก จะเป็ นการ ผลักไส เกลียดทุกข์เวทนา รักสุขเวทนา หรือมีตวั เราหลงไปตาม อารมณ์ ก็เป็ นอวิชชา โดยเฉพาะจะมาหาหลวงตา พยายามเกลีย่ จิตให้ว่างเพื่อ ไม่ให้หลวงตาจับได้ อย่างนี้จะปรากฏร่องรอยของการหลงยึดถือ ในจิต เหมือนกับคนเป็ นโรคเบาหวานอย่างแรง แต่ก็แอบกินของ หวานมาตลอด พอจะไปหาหมอตรวจเลือดก็รีบไปกินยาเยอะๆ เพื่อให้น�ำ้ ตาลลดลง อย่ างนี้ค่าน�ำ้ ตาลสะสมก็ยงั ปรากฏความ จริงอยู่ ไม่สามารถปกปิ ดหมอได้ พวกเราใช้ชีวติ ประจ�ำวันมีแต่ 61


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

หลงส่งจิตออกนอกไปยึดถือแต่ อารมณ์ท่ีถูกรู ท้ งั้ ภายนอกและ ธรรมารมณ์ภายในตัวเรา แต่พยายามปกปิ ดไม่ให้หลวงตาเห็น แบบนี้ผดิ เราจะกลายเป็ นผลักไส ผิดสองด้านคือมีตวั เราหลง ตามอารมณ์ไปก็เป็ นอวิชชา หลงมีตวั เราไปพยายามไปผลักไส ให้อารมณ์หายไปก็ผดิ เป็ นอวิชชาอีก สุขเวทนา หรือทุกขเวทนา หรืออุเบกขาเวทนา หรือกุศลอกุศล ก็ไม่หลงมีตวั เราเขา้ ไปยึดถือ ต้องปล่อยวางผู ร้ ู ้ คือรู ท้ ุกอย่างแต่ไม่หลงมีตวั เรา หรือ อย่าหลงมีตวั เราไปยึดถืออาการหรืออารมณ์ท่ีถูกใจหรือไม่ถูกใจ คงปล่อยให้สงั ขารเขาแสดงกริยาอาการขึ้นมาของเขาเอง แล้ว ดับไปเอง เกิดเอง ดับเอง..... ไม่มผี ูห้ ลงยึดถือ ไม่มผี ูเ้ สวย สิ้น ตัวตนของผูย้ ดึ มัน่ ถือมัน่ ก็จะพบใจหรือจิตเดิมแท้ท่ไี ม่มตี วั ตน ไม่มรี ู ปร่าง ไม่มรี ู ปพรรณสัณฐานใด มีแต่ความรูท้ ่เี ป็ นความว่าง เหมือนกับความว่างของธรรมชาติหรือจักรวาล ใจหรือจิตเดิมแท้เปรียบเหมือนกับท้องฟ้ าที่ว่างเปล่า ส่วน อาการหรืออารมณ์ต่างๆ แมจ้ ะมีอยู่แต่ถา้ ไม่หลงมีตวั เราไปยึดถือ ไม่ไหลไปกับเขา และไม่ไปพยายามผลักไสเขา ท้องฟ้ าหรือจิต เดิมแท้ๆ ใจเดิมแท้ๆ จะเป็ นความว่างเปล่า อารมณ์หรืออาการ ที่เกิดขึ้นในใจเหมือนกับนกหรือเครื่องบินที่บนิ บนท้องฟ้ า ก็จะ ไม่ปรากฏร่องรอยใด แต่ถา้ หลงมีตวั เราพยายามไปท�ำอะไรกับ สิ่งที่บนิ ผ่านมาบนท้องฟ้ า จะท�ำให้ทอ้ งฟ้ าเพิ่มตัวเราเขา้ ไปอีก 62


อารมณ์มีอยู่ แต่ใจว่างเปล่า : จบซะที

ตัวหนึ่งก็จะไม่ว่างเปล่าจากตัวเรา เช่นว่าเราเห็นอะไรบินมาหรือ ผ่านมาบนท้องฟ้ านี้ แลว้ หลงมีตวั เราไปชอบ ถ้าชอบก็อยากได้ อยากเอา อยากให้เป็ นอย่างนัน้ อยากให้เป็ นอย่างนี้ หรือหลงมี ตัวเราไม่ชอบ ก็อยากให้สง่ิ นัน้ หายไป จะหลงมีตวั เราไปพยายาม ไปดิ้น รนผลัก ไส บนท้อ งฟ้ าก็จ ะไม่ว่า งเปล่า จากความหลงว่า มีตวั เรา แลว้ หลงเอาตัวเราไปคิด ไปปรุงแต่งยึดถือก็จะเกิดกิเลส ตัณหาเป็ นความทุกข์ ความเครียด ความเศร้าหมอง เปรียบ เหมือนเกิดเมฆฝนด�ำทะมึนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ คือความทุกข์ ความเครียด ความกังวล หากมีสะสมมากเขา้ ๆ ก็รอ้ งไห้นำ�้ ตา ไหลออกมา เปรียบเหมือนเมฆฝนตอนแรกก็ไม่หนาแน่ น เมื่อ ทุกข์มากเครียดมากเมฆฝนก็หนาแน่ นมาก จนทนไม่ได้ตอ้ งเป็ น ฝนตกลงมา ถ้าไม่หลงมีตวั เราไปหลงยึดถือสิ่งใด แมอ้ าการหรือ อารมณ์จะมีอยู่ ใจเปรียบเหมือนท้องฟ้ าก็เป็ นความว่าง สังขาร หรืออาการ หรืออารมณ์เหล่านั้นก็ไม่ท้ ิงร่องรอยไว้ในใจที่เป็ น ธรรมชาติท่ีว่างเปล่าเลย เปรียบเหมือนนกหรือเครื่องบินที่ไม่ ทิ้งร่องรอยไว้บนท้องฟ้ า เหมือ นกับ ที่สุ ภ ทั ทะ ซึ่ง ต่ อ มาได้ก ลายเป็ น พระอรหัน ต์ สาวกองค์สุ ด ท้า ยได้ก ราบทู ล ถามพระพุท ธเจ้า ว่ า รอยเท้า ที่ เหยียบไปในอากาศมีอยู่หรือไม่ พระพุทธองค์ตรัสว่ารอยเท้าย่อม ไม่มอี ยู่ในอากาศ พระสุภทั ทะน�ำมาพิจารณา คืนนัน้ พระจันทร์ 63


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

เต็มดวงสว่างไสว พอดีมเี มฆผ่านมาบังแสงจันทร์ทำ� ให้มดื ครึ้ม พระสุภทั ทะก็เขา้ ถึงความจริงว่า กิเลสและความทุกข์ไม่ได้เป็ น ของที่มีอ ยู่ ป ระจ�ำ แต่ เ ดิม ที่ต อ้ งไปพยายามขัด ออก แต่ เ พราะ เกิดความหลงยึดถือขึ้นมาในขณะจิตปัจจุบนั จึงเกิดกิเลสและ ความทุกข์จรมา เปรียบเหมือนมีเมฆลอยมาบังจันทร์ หากไม่มี ความหลงยึดถือ ใจหรือจิตเดิมแท้ก็จะว่างเปล่าเหมือนอากาศ อารมณ์หรือสิ่งที่มากระทบในขณะปัจจุบนั ก็เปรียบเหมือนรอย เท้าที่เหยียบไปในอากาศ หากไม่หลงยึดถือเป็ นความรักหรือ ความเกลียดชัง ย่อมไม่ปรากฏรอยฉันนั้น เมื่อเมฆลอยผ่านไป พระสุภทั ทะก็ส้ นิ ความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ บรรลุนิพพาน เป็ นพระ อรหันต์

64


จบซะที

เป็นผู้ดูไม่ใช่ผู้แสดง “ดูจติ ดูใจให้เหมือนดูหนังดูละคร อย่าเข้าไปร่วมเล่น อย่าเข้าไปเป็ นผูแ้ สดง ให้เป็ นเพียงผูด้ ู ผูร้ ู เ้ ท่านั้น” ปัญหาหรือความวุ่นวายต่ างๆ ในชีวิตมีอยู่ ตลอด เรื่อง ทุกอย่างถ้าเราทุ่มไปทัง้ ตัวโดยที่ไม่มสี ติปญ ั ญาเห็นตัวเอง ก็มี แต่ความวุ่นวาย ทุกข์อย่างเดียว ไม่มีทางพ้นทุกข์ได้ เพราะมี ตัวเราไปหลงไปเป็ นผูเ้ ล่นผูแ้ สดง มีตวั เราไปเป็ น “สังขาร” จึง หมดโอกาสทีจ่ ะเป็ น “วิสงั ขาร” คือธรรมชาติทไ่ี ม่ปรุงแต่ง เหมือน กับดู การถ่ายท�ำการแสดงหนังหรือละคร แลว้ อยู่ๆ ก็เอาตัวเรา กระโดดลงไปเป็ นผูเ้ ล่นผูแ้ สดงเสียเอง เหมือนกับว่า อื้ม!.. ท�ำไม แสดงไม่ได้เรื่องแบบนี้เลย มานี่! มันต้องอย่างนี้! เราก็เขา้ ไปเลย เขา้ ไปจัดการ ไปเป็ นผูแ้ สดง เป็ นพระเอกบา้ ง เป็ นนางเอกบา้ ง 65


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ไปเป็ นผูก้ ำ� กับบา้ ง เปลีย่ นสถานะจากผูด้ ู ผูร้ ู ้ ผูเ้ ห็น ไปเป็ นผูเ้ ล่น ผูแ้ สดงเสียเอง อย่างนี้ถงึ จะบอกสอนอย่างไรก็ไม่เขา้ ใจ เพราะ เราอยู่ในฐานะเขา้ ไปเป็ นผูเ้ ล่น ผูแ้ สดงเสียเองแลว้ โดยเปลีย่ น สถานะจากผูด้ ู ผูร้ ู ท้ ่เี ป็ นวิสงั ขารไปเป็ นสังขารปรุงแต่ง ดังนัน้ ก็ตอ้ งเฉลียวใจแล้วต้องถอนตัวเองจากเป็ นผูเ้ ล่น ผู แ้ สดง รู้สึก ตัว ขึ้ นมา สัก แต่ ว่ า รู ้ ไม่ มี ต วั เราไปเป็ นผู เ้ ล่ น ผูแ้ สดง คือเป็ นผูค้ ิด ผูแ้ สดงกริยาอาการ ผูด้ ้ นิ รนค้นหา ผูค้ ิดนึก ตรึกตรอง วิเคราะห์ วิจารณ์ วิจยั โดยเป็ นผูร้ ู ้ หรือเป็ นใจ หรือเป็ น จิตเดิมแท้ท่ไี ม่ปรากฏอาการใดๆ ซึ่งเป็ นธรรมชาติท่ไี ม่ปรุงแต่ง จะเห็นมีแต่ความคิด มีอาการเกิดดับในใจ แต่ใจไม่ปรากฏความ เคลื่อนไหว เมื่อเป็ นใจที่ว่างจากความปรุงแต่ ง ว่างจากตัวตน ว่างจากตัวเราหรือตัวตนของเรา จึงไม่มตี วั เราไปยึดถือให้เป็ น กิเลส ตัณหา และความทุกข์ เมื่อสิ้นกิเลสแลว้ เมื่อยังไม่ตาย ขันธ์หา้ ก็ยงั ไม่แตกดับ ต้องท�ำหน้าที่ไปตามปกติธรรมชาติท่ไี ม่มี กิเลส ไม่ได้เอาขันธ์หา้ ไปยึดอะไร แต่มคี วามปรุงแต่งตามปกติ ของธรรมชาติท่ตี อ้ งมีอยู่ตลอดเวลา มีการวิพากษ์วิจารณ์อยู่ใน ใจได้ แต่ไม่ได้มีตวั เราเข้าไปมีส่วนได้เสีย ก็ไม่เป็ นกิเลสอะไร ยิ่งเอาขันธ์หา้ มาสังเกตมาก เรียนรูม้ าก ศึกษาท�ำความเขา้ ใจมาก ก็จะยิ่งฉลาดมาก แต่เมื่อไรที่มตี วั เราเขา้ ไปมีส่วนได้เสียอันนัน้ เป็ นกิเลสแลว้ 66


เป็ นผู้ดไู ม่ใช่ผ้ แู สดง : จบซะที

ความรู ส้ ึ ก ว่ า ตัว เราทัง้ รู ท้ งั้ คิ ด ทัง้ เข า้ ใจ แท้ท่ี จ ริ ง เป็ น วิญญาณขันธ์ทำ� งานร่ วมกับเจตสิกคือ เวทนา สัญญา สังขาร ไม่ใช่ตวั เราหรอก ส่วน “ใจหรือจิตเดิมแท้” คิดไม่ได้ พูดไม่ได้ ตรึกตรองไม่ได้ วิเคราะห์วจิ ารณ์วจิ ยั ไม่ได้ มันเป็ นวิสงั ขาร เป็ น อสังขตธาตุ คือไม่มใี ครปรุงแต่ งมัน มันไม่เกิด ไม่ดบั ไม่แก่ ไม่เจ็บ ไม่ตาย จึงต้องมีสติ ปัญญา คือความรู้สึกตัวที่ไม่หลง ไปกับอะไร ไม่ขาดสติหลงไปเป็ นผูเ้ ล่นผูแ้ สดงร่วมกับขันธ์หา้ จึงพบว่าในใจมีความเคลื่อนไหว มีความปรุงแต่งเกิดดับ แต่ใจ ไม่เคลื่อนไหวไม่ปรุงแต่ง ไม่เกิดไม่ดบั เป็ นของคู่กนั อยู่อย่างนี้ ตลอดเวลา ใจก็ไม่มตี วั ใจ เมือ่ ไม่มตี วั ใจก็ไม่มตี วั ตนไปยึดอะไร ให้เ ป็ น ทุก ข์ เป็ น ใจที่ว่า งเปล่า เป็ น หนึ่ ง เดีย วกับ ความว่า งของ ธรรมชาติของจักรวาล เหมือนการเดินทางขึ้นเขานิพพาน ถ้าไม่มี “สติ ปัญญา” เห็นหรือรู เ้ ท่าทันว่าหลงมีตวั เราไปเป็ นผูเ้ ล่น ผูแ้ สดง หรือมีตวั เราไปสังขาร อย่างนี้จะพน้ จากสมมุติไม่ได้ เพราะสมมุตินนั้ เป็ น สิ่งปรุงแต่ง เมือ่ สิ้นหลงสมมุติก็จะเป็ นวิมตุ ติโดยอัตโนมัติทนั ที หรือไม่หลงเป็ นอาการของใจ ก็จะเป็ นใจที่ไม่มอี าการ ธรรมชาติกม็ ี ๒ อย่างแค่น้ ี คือ “สังขาร” คือความปรุงแต่ง กับ “วิสงั ขาร” คือความไม่ปรุงแต่ง ซึ่งธรรมชาติของสองสิ่งนี้จะเป็ น อันเดียวกันในขณะจิตเดียวกันไม่ได้ ดังนั้นถ้าเป็ นอาการของใจ 67


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ก็จะไม่เป็ นใจที่ไม่มีอาการ ธรรมะไม่มอี ะไรมากหรอก มันคือ ธรรมชาติธรรมดานี่แหละ คือธรรมชาติปรุงแต่ งกับธรรมชาติ ไม่ปรุงแต่ ง ส่วนกรรมวิธีต่างๆ ที่ให้เราปฏิบตั ิทงั้ หมดนัน้ เป็ น เพีย งสมมุติใ ห้เ ดิน สู่ ค วามจริง คื อ สิ้น สมมุติจึง จะเป็ น วิมุต ติ เพื่อให้เห็นว่ามีทงั้ สมมุติและวิมตุ ติ อย่าติดทัง้ สองอย่าง ไปติด สมมุติก็ทุกข์ แม้ติดวิมตุ ติก็เป็ นทุกข์ ติดอะไรไม่ได้ทงั้ หมดทัง้ สมมุติและวิมตุ ติ วิธีปฏิบตั ิ ก็ใช้สติปญ ั ญาของเจ้าตัวสังเกตเอา สังเกตเอา จริงๆ ว่าหลงยึดถือขันธ์หา้ ว่าเป็ นตัวเรา แล้วหลงมีตวั ตนของเรา จะไปเอาอะไรหรือเปล่า หลงมีตวั เราเป็ นผูป้ รุงแต่ง เป็ นผูเ้ ล่น ผู แ้ สดงหรื อ เปล่ า หลงเอาตัว เราไปเสพอารมณ์ ใ ดหรื อ เปล่า ถ้าสิ้นหลงยึดถือขันธ์หา้ ว่าเป็ นเราหรือเป็ นตัวตนของเรา ก็จะ เป็ นใจที่ว่างเปล่าไม่สามารถปรุงยึดถืออะไรได้ จะไม่มตี วั เราไป เสพอะไร และเมือ่ เกิดอาการต่างๆ ขึ้นมา ไม่ว่าจะเป็ นอาการที่ ถูกใจ หรือไม่ถูกใจ หรือเป็ นกลางๆ ก็จะไม่หลงยึดถือว่า ใจเรา สบาย ใจเราว่าง หรือใจเราไม่สบาย ใจเราไม่ว่าง จะมีแต่อาการ เกิดดับในความว่าง โดยไม่มีผูเ้ สวยหรือผู้ ยึดถือก็จะพน้ ทุกข์ หรือทุกขเวทนามีอยู่ แต่ใจว่างจากทุกข์ หรือเหนือสุขเหนือทุกข์

68


จบซะที

เข้าใจถึงใจ

ผู ป้ ฏิบ ตั ิม กั หลีก หนี ไ ม่ พ น้ ที่จ ะหงุด หงิด กับ ความหลงที่ เกิดขึ้น บางครัง้ ก็หลงปรุงแต่งไปในอดีต บางครัง้ ก็หลงปรุงแต่ง ไปในอนาคต แต่ ส่วนใหญ่ หลงไปปรุงแต่ งต่ อสิ่งที่ถูกรู้ในขณะ ปัจจุบนั อย่ าไปคาดหวังว่าเราจะสะกดความหลงไว้ทีเดียวได้ ยิ่งจะหงุดหงิด ยิ่งจะเพิม่ อารมณ์ ค่อยๆ รู เ้ ท่าทันไปเรื่อยๆ ก็พอ เดีย๋ วหลงก็สนั้ ลงเองแหละ หลงได้ก็รู้ ใหม่ได้ ไม่เห็นจะเป็ นไร สติ มากขึ้นๆ หลงก็สนั้ ลงเอง หน้าที่เราคือมีสติอย่างเดียว สติท่ีจะรู ้ เท่าทัน ไม่มีหน้าที่ไปโกรธหรือโมโหจิตที่หลง อีกเรื่องที่ตอ้ งปฏิบตั ิให้ถูก คือเมื่อเกิดการกระทบระหว่าง อายตนะภายใน กับ อายตนะภายนอกทุกขณะปัจจุบนั ย่อม เกิดธรรมารมณ์คือ เกิดสุข ทุกข์ หรือเป็ นกลางๆ ซึ่งเป็ นเวทนา 69


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ส่งต่อสัญญาและสังขาร คือจ�ำได้หมายรู ว้ ่าอะไรเป็ นอะไร หรือ เมื่อมีการกระทบย่อมเกิดอาการทางใจอย่างใดอย่างหนึ่ งเกิดขึ้น แล้วดับไป เปลี่ยนไปอยู่เสมอ ให้ใจยอมรับความจริงของเหตุ ปัจจัยตามปกติธรรมชาติในข้อนี้ ไม่ใช่ ไม่ยอมรับความจริงแล้ว หนี ไปท�ำใจให้น่ิ ง ว่าง เฉย โดยหลงว่ารูเ้ ป็ นอุเบกขา แต่แท้ท่ีจริง เป็ นความหลงผิดอย่างมากๆ เท่ากับหลงยึดถือ คือเกลียดทุกข์ รักสุข ดีรกั ชัว่ ชัง เป็ นกิเลส ตัณหา เป็ นทางตรงข้ามนิ พพาน ต้องสิ้นความหลงยึดถือ สิ้นความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ ไม่ว่า ในใจจะมีอาการอย่างไร สุข ทุกข์ นิ่ ง ว่าง เฉย ต้องเข้าหาจิต หรือวิญญาณขันธ์ ผูร้ ู ส้ ุข รู ท้ ุกข์ รู อ้ เุ บกขาเวทนา เพื่อรู ว้ ่าจิต หรือวิญญาณขันธ์คิดนึ ก ตรึกตรอง ปรุงแต่งต่อสิง่ ที่ถูกรูใ้ นขณะ ปัจจุบนั นั้นอย่างไร รู้ไปที่จติ หรือวิญญาณขันธ์ มันทัง้ รู ้ ทัง้ คิด ทัง้ ตรึกตรอง ทัง้ ถูกใจไม่ถกู ใจ มันจะคิดนึก ตรึกตรองไปไม่หยุด จนกว่ า จะสิ้น ความหลงยึด มัน่ ถือ มัน่ ก็ จ ะพบความจริ ง ของ ธรรมชาติ ว่าขันธ์หา้ คือร่างกายและจิตใจเป็ นธรรมชาติปรุงแต่ง แสดงอาการต่างๆ ได้ เกิดดับในใจหรือจิตเดิมแท้ทเ่ี ป็ นธรรมชาติ ไม่ปรุงแต่ง หรือไม่อาจมีอาการปรุงแต่งได้ เพราะใจหรือจิตเดิมแท้ เป็ นวิสงั ขารหรืออสังขตธาตุ ไม่มตี วั ใจ ไม่มรี ู ปพรรณสัณฐานใด ไม่มอี าการใด เป็ นเหมือนกับความว่างของธรรมชาติหรือจักรวาล 70


เข้ าใจถึงใจ : จบซะที

ถ้ามีตวั เราไปดูจติ หรือดูความคิดยืนพื้นไว ้ เป็ นการหลงเอา ขันธ์หา้ ซึง่ เป็ นสังขารหรือสิง่ ปรุงแต่งมาปรุงแต่งเป็ นตัวเรา แล ้วเอา ตัวเราเขา้ ไปดูจติ หรือดูความคิด หรือหลงไปกระท�ำตามความคิด ปรุงแต่ง ดังนัน้ ต้องมีสติปญ ั ญารู เ้ ท่าทันความหลงดังกล่าว ไม่ตอ้ งกลัวการหลง ถ้าหลงก็รู้สึกตัวขึ้ นมา จะไปบังคับ ไม่ ให้หลงไม่ ได้ ได้แต่หลงแล้วรู้สึกตัวขึ้ นมา ถ้าพยายามจะ ไม่ให้หลง ก็จะหลงปรุงแต่งเป็ นความพยายาม และถ้ามีความคิด อกุศลเกิดขึ้นก็อย่าไปรังเกียจ อย่าเขา้ ไปจัดการ คิดแลว้ มีสติ รู ต้ วั อยู่ก็ไม่เป็ นไร เวลาทีม่ คี วามโกรธเกิดขึ้นมา อย่าให้ค่าให้ความส�ำคัญหรือ สนใจอารมณ์โกรธนัน้ ให้มี “สติ” สังเกตตรงทีผ่ ูร้ ูอ้ ารมณ์ อารมณ์ โกรธที่ถูกรู้ก็หมดความหมายต่อใจไปเอง กลายเป็ นตัวที่ไม่น่า สนใจไปเลย เพราะเรามาสนใจแต่ จิตหรือวิญญาณขันธ์ท่ีไปรู ้ ในใจว่ามันคิดนึก ตรึกตรอง ปรุงแต่งอะไร เราไม่หลงเอาตัวเรา ไปคิดนึกปรุงแต่ง ใจก็จะว่างเปล่าเป็ นธาตุรูต้ ามธรรมชาติ เป็ น มหาสุญญตา การคิดนึกปรุงแต่งเป็ นขันธ์หา้ ดับไม่ได้ ก็แค่รูเ้ ขา ถ้า หลงปรุ ง แต่ ง เป็ น ตัว เรา แล ว้ เอาตัว เราไปคิด ก็ จ ะไม่มีส ติ ปัญ ญารู เ้ ท่ า ทัน ความหลงนั้น ถ้า หลงเป็ น ผู ค้ ิ ด จะไม่ เ ป็ น ผู ร้ ู ้ ถ้าเป็ นผูร้ ู จ้ ะไม่หลงเป็ นผูค้ ิด ถ้าสิ้นหลงปรุงแต่งเป็ นตัวเรา แลว้ สิ้นเอาตัวเรานัน้ ไปหลงคิดปรุงแต่ งอย่างถาวร ก็บรรลุนิพพาน 71


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ไปแลว้ ไม่หนี ไม่ถอย ไม่หลบเลีย่ ง กัดติดจดจ่อดูมนั เห็นมัน อย่างนี้ ตรงนี้ อีกอย่างคือ การตัง้ ใจคิดไม่ใช่การหลง การตัง้ ใจสอนตัว เองก็ไม่ใช่หลง ธรรมชาติเราทุกคนต้องตัง้ ใจที่จะคิด ไม่ใช่ว่างๆ เฉยๆ โง่ตายเลย ขณะสงสัยการภาวนา เป็ นการเริ่มต้นหลงปรุ งแต่ งเป็ น ตัวเรา แลว้ เอาตัวเรานัน้ ไปหลงปรุงแต่งดิ้นรนค้นหา คือหลงเอา สังขารมาปรุงแต่งเป็ นตัวเรา แลว้ ก็หลงเอาตัวเราที่หลงปรุงแต่ง มานัน้ ไปหลงคิด ปรุ ง แต่ ง ต่ อ ๆ ไปเป็ น ความหลง เป็ น อวิช ชา เอาตัว เราไปดิ้น รน ไปค้น หา แทนที่จ ะมีส ติป ญ ั ญาเห็น จิต ที่ คิดนึก ปรุงแต่ง ดิ้นรน ค้นหาเป็ นสิ่งปรุงแต่ง แต่น่ีเรากลับหลง ปรุงแต่งดิ้นรนค้นหาซะเอง ก็หลงเอง

ปุจฉาวิสชั ชนา

หลวงตา : พอจะแยกออกใช่ไหม

โยม : ครับ พอเห็นอย่างนี้มนั ก็สลับจากหลงมารู ้ รู ้ แป๊ บนึง มันก็หลงไปค้นต่ออีกใช่ไหมครับหลวงตา หลวงตา : ใช่ ถูกต้องแลว้ เราก็รูเ้ ท่าทันอีก เรามีหน้าที่รู ้ เท่าทันเรื่อยไป 72


เข้ าใจถึงใจ : จบซะที

โยม : ก็คือไม่มวี นั จบ

หลวงตา : จบนะ! ถ้าไม่หลงส่งจิตออกนอกไปอยู่กบั รู ป เสียง กลิน่ รส สัมผัส และธรรมารมณ์ คือสิง่ ต่างๆ หรืออาการต่างๆ ทีถ่ กู รู ้ โดยมีสติตงั้ ทีใ่ จ ดูทใ่ี จ สังเกตทีใ่ จ รูท้ ใ่ี จ ละทีใ่ จ ปล่อยวาง ที่ใ จตลอดเวลา จนพบใจหรื อ จิ ต เดิ ม แท้ท่ีเ ป็ น วิส งั ขารหรื อ อสังขตธาตุท่ไี ม่ปรุงแต่ง เมื่อพบใจที่เป็ นธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง บ่อยๆ แล้ว ก็จะเกิดปัญญารูแ้ จ้งแยกแยะออกได้ว่าอันไหนเป็ น จิตปรุงแต่ง อันไหนเป็ นใจหรือจิตเดิมแท้ท่ีเป็ นความว่างจาก ความปรุงแต่ง ส่วนตัวตนของเราไม่มี ก็จะสิ้นหลงเอาธรรมชาติ ฝ่ ายปรุงแต่งมาหลงปรุงแต่งเป็ นตัวเรา และสิ้นหลงเอาตัวเรา ที่หลงปรุงแต่งมานั้นไปหลงคิด หลงปรุงแต่งอย่างถาวร ก็จะ เป็ นนิ พพาน จึงจบความหลงซะที

โยม : จะมีหนทางพบใจได้อย่างไร

หลวงตา : ทกุ ขณะปัจจุบนั ทีม่ กี ารกระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ให้ถามตัวเองว่าใครเป็ นผูร้ ูร้ ูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส และ ธรรมารมณ์ ก็จะได้รบั ค�ำตอบว่าเราคือผูร้ ู ้ และผูค้ ิดตรึกตรอง ปรุงแต่ง เหมือนพากษ์ (วิพากษ์) หรือพูดอยู่ในใจตลอดเวลา แท้ท่จี ริงผูร้ ู แ้ ละผูค้ ิดตรึกตรองนัน้ คือจิตหรือวิญญาณขันธ์ทำ� หน้าที่ร่วมกับเจตสิกคือ เวทนา สัญญา สังขารในขันธ์หา้ แลว้ ส่ง 73


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ต่อจิตหรือวิญญาณขันธ์ตวั ใหม่ๆ ต่อๆ ไปตลอดเวลา ซึ่งต่อไปนี้ จะเรียกกระบวนการท�ำงานของขันธ์หา้ ดังกล่าวว่า “จิตปรุงแต่ง” ถ้าทุกขณะปัจจุบนั ไม่ขาดสติหลงส่งจิตออกนอกไปอยู่กบั สิ่งที่ถูกรู ้ หรือไปอยู่กบั สิ่งที่คิดถึง ก็จะมีสติปญ ั ญาเห็นขณะจิต หรือวิญญาณขันธ์ทำ� งานร่ วมกับเจตสิกทุกขณะที่มกี ารกระทบ ทางอายตนะในทุกขณะปัจจุบนั โดยจะรู ส้ ึกว่าตัวเราเป็ นผู ร้ ู ผ้ ู ้ คิดตรึกตรองตลอดเวลา ต่อไปก็จะง่ายขึ้นแลว้ ล่ะ โดยให้มสี ติ ปัญญาเฝ้ าสังเกตที่ตวั เราผู้คิดตรึกตรองเหมือนพากษ์ หรือพูด หรือแสดงอาการจุกจิกยุกยิกอยู่ในใจตลอดเวลา จะห้ามก็ไม่ได้ จะดับเขาก็ไม่ได้ ได้แต่ว่าสักแต่ว่ารู เ้ ขา เพื่อไม่ให้หลงติดไปกับ เขา และอย่าไปหงุดหงิดร�ำคาญเขา เพราะเขาเป็ นธรรมชาติอย่าง นัน้ เอง โดยทุกขณะกระทบจะต้องไม่ขาดสติไปสนใจให้ค่าให้ความ ส�ำคัญต่อสิ่งที่ถูกรู ้ แต่ให้มสี ติปญ ั ญาเห็นจิตที่คิดตรึกตรองปรุง แต่ งทุกขณะกระทบในปัจจุบนั ก็จะไม่หลงส่งจิตออกนอกไป อยู่กบั สิ่งต่างๆ ที่ถูกรู ้ ความหลงก็จะน้อยลงไปเรื่อยๆ จนมีสติ ปัญญาที่สมบูรณ์ สิ้นความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ ก็จะเห็นจิตเขาคิด ตรึกตรองหรือปรุงแต่งแสดงกริยาอาการขึ้นมาเอง แล ้วดับไปเอง หรือเกิดเอง ดับเอง เกิดเอง ดับเอง… อย่างเป็ นอิสระ แต่ไม่มี ตัวตนของผูเ้ ห็น ผูร้ ูห้ รือผูเ้ ห็นที่ไม่มตี วั ตนไม่มอี าการใดๆ เลยนี้ 74


เข้ าใจถึงใจ : จบซะที

เป็ นใจหรือจิตเดิมแท้ เป็ นวิสงั ขารหรืออสังขตธาตุ คือไม่อาจ ปรุงแต่งได้

โยม : ถา้ อย่างนัน้ ต้องคอยดูหรือรู้จิตไว ้

หลวงตา : อย่าพยายามเข้าไปดูจติ ก่อนนะ เพราะนัน่ คือ การหลงเอาขันธ์หา้ คิดปรุงแต่งเป็ นตัวเรา แล้วหลงปรุงแต่งเอา ตัวเราเข้าไปดูจติ ระหว่างท�ำงานทัง้ วันเกิดคิดขึ้นมาว่า วันนี้ไม่ได้ดูจิตเลย มันก็เริ่มคิดปรุ งแต่ งเขา้ ไปดู จิต แลว้ ก็หลงปรุ งแต่ งเอาตัวเรา เขา้ ไปรู้ไปตามดู จิต เป็ นหลงปรุงแต่ งหมดเลย ส่วนสติปญ ั ญา ที่แท้จริงคือรู เ้ ท่าทันพฤติกรรมเช่นนัน้ แลว้ รู ต้ วั ขึ้นมา โยม : ผมฟังอยู่น้ ี ขา้ งในมันก็ตรึกตรองหาความเขา้ ใจ เราเห็นแค่ ตวั ขา้ งในนัน้ บางทีมนั ก็ไม่เป็ นเรื่องเป็ นราว บางทีก็ ท�ำท่าจะพยายาม อึกอักๆ หลวงตา : ก็สกั แต่ ว่ารู …้ ส่วนตาก็มองเห็นหลวงตา หู ก็ ได้ยนิ เสียง แต่ก็สกั แต่ว่ารู ว้ ่าในใจยุกๆ ยิกๆ อย่างไร ก็รูอ้ ย่างนี้ ตลอดเวลา ถ้าหลงไปอยากให้ตวั เรารู ม้ ากขึ้นเขา้ ใจมากขึ้น อันนี้ หลงเป็ นสังขารหรือหลงปรุงแต่ งแลว้ ก็รูใ้ ห้เท่าทัน ความหลง ก็ดบั 75


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

โยม : ท่ีห ลวงตาอธิ บ ายให้ผ มฟัง มา มัน ก็ เ ข า้ ใจ... แต่จะมีตวั สงสัยอยู่ หลวงตา : ม นั เป็ นแต่ เ พี ย ง “สัญ ญา” มัน ยัง ไม่ เ ป็ น “ปัญญา”

โยม : ทำ� อย่างไรจึงจะเป็ น “ปัญญา”

หลวงตา : ป ญ ั ญาต้อ งเห็น ความจริง จากใจในปัจ จุบ นั นี้ คื อ เห็น ว่ า จะมีผู้คิ ด ตรึก ตรองหรือ จะปรุ ง แต่ ง แสดงอาการใด ในใจ เช่น จะมีอาการพยายาม ท�ำท่า อาการจุกจิก จุกจิก จุกจิก... อึกอัก อึกอัก อึกอัก... หรืออยากจะพูด อยากจะคิด แต่ก็ไม่มี ค�ำพูดหรือความคิดใดออกมา เพราะถูกเห็นหรือรูเ้ ท่าทันเสียหมด เหมือนกับว่าคนจะแอบมีพริ ุธในใจ แต่ถูกเขาจับได้ต่อหน้า

โยม : ถา้ อย่างนัน้ … อืม!…

หลวงตา : ถา้ ท่านยังจะคิดหรือพูดออกมา ก็หลงไปเป็ น สังขารหรือหลงปรุงแต่งเสียหมด

โยม : (เงียบ… แต่แอบจะคิดอยู่ในใจ)

หลวงตา : ถา้ ท่านยังแอบจะคิดอยู่ในใจ ก็ยงั หลงสังขาร

โยม : พยายามที่จะหยุดคิด หยุดถาม…

76


เข้ าใจถึงใจ : จบซะที

หลวงตา : ค วามพยายามที่จ ะหยุ ด คิด หยุ ด ถามนี้ ก็ ห ลง สังขาร เพราะมีอาการปรุงแต่งเป็ นความพยายามขึ้นมา โยม : อ ย่ า งนัน้ จะท�ำ อย่ า งไร เพราะอะไรๆ ก็ ห ลง สังขาร

หลวงตา : ไม่ทำ� อะไร

โยม : ไม่ทำ� อะไร แลว้ จะเป็ นอย่างไร

หลวงตา : ไม่มใี ครเป็ นอะไร (ศิษย์กบั หลวงตา… เงียบสงบสงัดไปนาน… สักพักหนึ่ง)

หลวงตา : ทำ� ไมหยุดคิดหยุดพูดเสียล่ะ

โยม : มนั ถามไม่ออก… คิดไม่ออกเลย… พูดอะไรก็ ปรุงแต่ง คิดอะไรก็ปรุงแต่ง จะพยายามท�ำอะไรก็ปรุงแต่ง

หลวงตา : น่ีแหละ มี “ปัญญา” แลว้

โยม : … (มีปญ ั ญาโพล่งหรือแจ้งขึ้นมาในปัจจุบนั ขณะ ทันทีว่า ของจริงพูดไม่ได้ ของที่พูดได้ไม่จริง) หลวงตา : ไม่มคี ำ� พูดใดออกมา เพราะมันไม่ได้ปรุงแต่ ง อะไร ไม่ ป รุ ง แต่ ง ไปรู อ้ ะไร ไม่ ป รุ ง แต่ ง จะไปหาความเข า้ ใจ 77


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

อะไร จิตมันหยุ ดปรุง จิตที่หยุดนี่ แหละคือใจหรือจิตเดิมแท้ ที่เป็ นธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง มันเลยพูดไม่ออก ขณะนัน้ … ...โลกธาตุทงั้ ภายใน และ โลกธาตุภายนอก... เงียบสงบสงัด... เมื่อหยุดปรุงแต่ง ก็พบใจหรือจิตเดิมแท้ท่ีเป็ นความว่าง เหมือนกับความว่างของธรรมชาติ โลกธาตุเลยสงบสงัดไปหมด เพราะขณะนี้ไม่มอี ะไรมีความหมายต่อใจเลย ไม่มคี วามหมาย ที่จะไปดู หรือไปรู อ้ ะไร ไม่มีความคิดแมแ้ ต่ นอ้ ยหนึ่งเลยที่จะ เขา้ ไปดูจิต จิตที่ปรุงแต่งก็หยุด ที่มนั บ่นพูดในใจก็หยุด ขันธ์หา้ ก็หยุดไปเฉยๆ ผู้ รู้ก็เหมือนกับไม่ได้ทำ� งาน… โลกธาตุภายใน และโลกธาตุภายนอกมันหยุดไปทัง้ หมด หยุดหลงปรุงแต่ งเอง ด้วยความเข้าใจถึงใจ ไม่ใช่ ดว้ ย การบังคับ มันโพล่งหรือแจ้งขึ้นที่ใจ มันไม่ตอ้ งการความเขา้ ใจ อะไรเลย ได้แต่รูว้ ่าไม่มีอะไรที่มีความส�ำคัญมัน่ หมายแก่ใจอีก ต่อไป โลกธาตุภายในใจและโลกธาตุภายนอกทัง้ จักรวาลก็สงบ สงัดทันที เพราะสิ้นหลงปรุงแต่งขณะปัจจุบนั สิ้นผูเ้ สวย สิ้นผู้ยดึ มัน่ ถือมัน่ ไม่มผี ู้ไปดู ไม่มผี ู้ไปรู ้ ไม่มอี ะไรอยู่ในใจเลย แมแ้ ต่ ตัวใจเองก็ไม่ม…ี “เปล่าๆ… บริสุทธิ์” 78


จบซะที

ญาณตามหลังธรรม

คนที่มสี ติปญ ั ญาขัน้ สู ง มีบุญบารมีสะสมมามากก็สามารถ เขา้ ใจตรงนี้ได้เลย คือถ้าหลงมีตวั เราไปเริ่มต้นแสดงกริยาอาการ ใดก่อนเท่ากับเป็ น “อวิชชา” คือหลงมีตวั เราไปคิดไปปรุงแต่ง ทันที และกลายไปเป็ นธรรมชาติท่ีปรุงแต่ ง จะไม่สามารถเป็ น ธรรมชาติท่ีไ ม่ ป รุ ง แต่ ง ที่เ ป็ น ธาตุรู ท้ ่ีบ ริสุ ท ธิ์ ไ ด้ซ ะที อย่ า หลง มีตวั เราไปเริ่มต้นคิดนึ ก ตรึกตรอง พยายามแอคชัน่ พยายามจะ ท�ำอะไร พยายามจะดู พยายามจะรู ้ พยายามจะท�ำความเข้าใจ พยายามจะวิเคราะห์ วิจารณ์ วิจยั มันเป็ นอวิชชา เพียงแต่มสี ติ สัมปชัญญะ คือความรูส้ กึ ตัวทัวพร้ ่ อมไม่หลง ส่งจิตออกนอกไปอยู่กบั อารมณ์ท่ีถูกรู ้ คือรู ป เสียง กลิน่ รส สัมผัส และธรรมารมณ์ได้แก่ เวทนา สัญญา สังขาร และ อย่าหลง 79


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

มีตวั เราไปเริ่มต้นก่อน เช่น เริ่มต้นจะเขา้ ไปดูจิตหรือดูความคิด ปล่อยให้จติ เขาคิดหรือปรุงแต่งขึ้นมาเองแล ้วดับไปเอง เพราะเขา เป็ นธรรมชาติท่ปี รุงแต่ง เป็ นสิง่ ที่เกิดดับ ให้ธรรมชาติท่ีปรุงแต่ง เขาปรุงแต่งขึ้นมาก่อน แล้วเดี๋ยว “ญาณ” ก็รูต้ ามหลังทันที ให้จิต ปรุ ง แต่ ง เกิ ด ขึ้น มาเอง แล ว้ ก็ ด บั ไปเอง เกิ ด ขึ้น มาเอง ดับไปเอง ปล่อยให้เขาปรุงขึ้นมาก่อน อย่ามีตวั เราเป็ นคนไปปรุง ถ้ามีตวั เราเป็ นคนไปปรุง ชื่อก็บอกแลว้ ว่า “มีตวั เรา” มีตวั เราก็ เป็ นอวิชชาทันที อย่ามีตวั เราเป็ นคนไปปรุงก่ อน ปล่อยให้จิต แสดงอาการขึ้นมาก่อน แลว้ ความรู ก้ ็รูต้ ามหลัง รูต้ ามหลังธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง เรียกว่า “รูต้ ามหลังธรรม ที่ปรุงแต่ง หรือญาณตามหลังธรรม” เป็ นแต่ความรู ้ ไม่มใี คร เป็ นคนรู ้ เป็ นความรู ต้ ามหลังธรรมที่ปรุงแต่ง คือจิตที่ปรุงแต่ง ซึ่งเป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ ง ปล่อยให้ธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ ง ปรุงขึ้นมาก่อน แล ้วญาณก็รูต้ ามหลังธรรม จ�ำไว้นะ ญาณเป็ นแต่ ความรู ้ ไม่ปรากฏอาการรู ้ ไม่มีใครรูส้ กึ ว่าเป็ นตัวเราไปรู ้ เป็ นแต่ ความรูว้ ่ามีจติ ปรุงแต่งขึ้นมา แล้วความรูก้ ร็ ูต้ ามหลังจิตปรุงแต่ง ความรู้ท่ีรูต้ ามหลังจิตปรุงแต่ งนี้ ไม่มตี วั ตน ไม่มรี ู ปร่ าง ไม่มี แมแ้ ต่ความรู้สกึ ว่าง มันว่างเปล่าจากตัวตน ว่างเปล่าจากอาการ ใดๆ ทัง้ หมด 80


ญาณตามหลังธรรม : จบซะที

แต่ เ มื่อ สติ สัม ปชัญ ญะ คือ ความรู้สึก ตัว ทัว่ พร้อ มขาด ก็จะหลงเอาตัวเราไปคิด ปรุงแต่งดิ้นรนค้นหา... เป็ นผูด้ ู เป็ น ผูร้ จู้ ติ หรือความคิด พยายามท�ำอะไรเพือ่ จะให้เป็ นอะไร ก็ตอ้ งมี สติ สัมปชัญญะขึ้นมา ไม่ตอ้ งพยายามไปดูหรือไปรูอ้ ะไร ปล่อยให้ จิตเขาปรุงแต่งเป็ นความคิดหรือกริยาอาการต่างๆ ขึ้นมาเอง ก่อน แล้วญาณก็รูต้ ามหลังธรรมคือจิตที่ปรุงแต่งทันที อย่างนี้ เรื่อยไปจนกว่าสติ สัมปชัญญะไม่ขาดเลย เรียกว่าเป็ นมหาสติ ก็จะเป็ นมหาสมาธิ มหาปัญญา ก็จะสิ้นหลงเอาตัวเราหรือมีตวั เรา ไปปรุงแต่งเพื่อตัวเราอีกต่อไป หรืออวิชชาดับ “ญาณ” ซึ่งเป็ น ความรูน้ ้ ีก็จะเป็ นความรูท้ ่เี ป็ น “ธาตุรูท้ ่บี ริสุทธิ์” เรียกว่า “ใจหรือ จิตเดิมแท้” หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน เรียกว่า “ธรรมธาตุ” หลวงปู่ดูลย์ อตุโล เรียกว่า “พุทธะ” คือความรู้ท่ีส้ นิ หลง สิ้น อวิชชา สิ้นยึดถือว่าตัวตนเป็ นเรา เป็ นตัวเรา หรือเป็ นตัวตนของ เรา สิ้นตัวตนของเราที่หลงเป็ นผูค้ ิด ผูป้ รุงแต่ง พยายามเขา้ ไปรู ้ เขา้ ไปเห็น เพื่อจะให้ได้ให้เป็ น ไม่มแี มแ้ ต่ อาการของผู ร้ ู ้ ไม่มี แมแ้ ต่ตวั ตนของผูร้ ู ้ มีแต่ความรู ้ แต่ตวั ตนของผู้รู้ไม่มี อาการ ของผูร้ ู้ ไม่มี และไม่ใช่ตวั เราเป็ นคนรู ้ ทีว่ ่ารูน้ นั้ ก็ไม่ใช่ตวั เรา มีแต่ ความรู เ้ รียกว่า “พุทธะ” เป็ นอมตะ

81


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

“ญาณ” คือธาตุรูท้ ่ีบริสุทธิ์ ที่ส้ ินอวิชชา ดับอวิชชา ดับ ความหลงยึด ดับความโง่ไปแลว้ เลยเห็นแต่ จิตที่ปรุงแต่งเกิด ดับเพราะเป็ นธรรมชาติท่ีเกิดดับ ส่วนญาณหรือธาตุรู้ท่ีบริสุทธิ์ เป็ นธรรมชาติท่ีไม่เกิดไม่ดบั ไม่มตี วั ตน ไม่มรี ู ปร่าง ไม่มกี ริยา อาการแสดงใดๆ เกิดดับเลย เป็ นความว่างเวิ้งวา้ งไพศาลดุจ มหาสุญญตา มหาจักรวาลกวา้ งใหญ่ไพศาล หลวงปู่ดูลย์ อตุโล เรียกว่า “มหาสุญญตา” วิธีท่ีป ฏิบ ตั ิ ถ้า ไม่เ ข า้ ใจว่า ปล่อ ยให้ก ริย าอาการของจิต เกิดก่อน แลว้ ญาณเนี่ยตามหลังธรรมยังไง ถ้ายังไม่เขา้ ใจ อย่า หลงมีต วั เราไปท�ำ อะไรก่ อ น อย่ า หลงมีต วั เราไปพยายามคิด พยายามปรุง พยายามดู พยายามรู ้ พยายามเห็น พยายามท�ำ ความเขา้ ใจ พยายามไปท�ำอะไรให้เป็ นอะไร อย่าหลงให้มีตวั เรา เป็ นผูเ้ ริ่มต้นเข้าไปท�ำอะไรในใจ อย่าหลงให้มีตวั เราไปเริ่มต้น เป็ นผูแ้ สดง เป็ นผูเ้ ล่น ผูก้ ระท�ำ อย่าให้มีตวั เราไปเริ่มต้นก่อน ปล่อยให้จิตปรุ งแต่ งเขาเริ่มต้นก่อน แล้วญาณก็จะตามหลัง ธรรมที่ปรุงแต่ง หลวงตาเลยเปรียบไวว้ ่า เป็ นคลา้ ยๆ กับขอ้ กฎหมายเรื่อง ป้ องกัน ตัว อ้า งเหตุไ ม่ต อ้ งรับ ผิด ได้ ถ้า ฟัง ได้ว่า ป้ องกัน ตัว พอ สมควรแก่เหตุแล ้วก็ไม่ตอ้ งรับผิด เช่น ถ้าเราชักอาวุธออกไปก่อน 82


ญาณตามหลังธรรม : จบซะที

เราเป็ นคนเริ่มต้นก่อน เขาก็เลยชักอาวุธออกมาสูก้ บั เรา สุดท้ายเรา แทงเขาตายหรือเขาบาดเจ็บ แลว้ เราก็อา้ งเหตุป้องกันตัว อย่างนี้ ฟังไม่ข้ นึ เพราะมีตวั เราเป็ นคนเริ่มต้นก่อน ถือว่ามีความผิดต้อง ได้รบั โทษ แต่ถา้ คนตายหรือคนบาดเจ็บนัน้ เริ่มต้นชักมีดจะแทง เราก่อน เราเลยป้ องกันตัวที่พอสมควรแก่เหตุในทันใดนัน้ ก็คือ เราเอามีดออกมากวัดแกว่งป้ องกันตัว แลว้ ไปโดนเขาตายหรือ บาดเจ็บทีพ่ อสมควรแก่เหตุทเี ดียว อย่างนี้ อ้างเหตุป้องกันตัวไม่ ต้องรับผิดได้ เพราะไม่หลงมีตวั เราซึ่งเป็ นอวิชชาไปเริ่มต้นก่อน มันคลา้ ยกันมากเลย คลา้ ยกันมากคืออะไร หลงมีตวั เรา เริ่มต้นแสดงกริยาอาการก่อน ถ้าหลงมีตวั เราเริ่มต้นก่อน จะอ้าง เหตุไม่ตอ้ งรับผิดไม่ได้ ต้องได้รบั โทษคือต้องทุกข์น่ีไง หลวงตา เลยเปรียบเทียบเหมือนขอ้ กฎหมายอันนี้ คือถ้าหลงมีตวั เราไป เริ่มต้นก่อน ภายในใจเราเริ่มต้นแสดง เริ่มต้นเป็ นผูเ้ ล่น ผูแ้ สดง เริ่มต้นปฏิกริ ยิ าอาการก่อนเนี่ย เราเลยต้องรับโทษแล ้วก็เป็ นทุกข์ นี่ไง แต่ถา้ ฝ่ ายผูต้ ายผูเ้ สียหายเขาเริ่มต้นจะเอามีดมาแทงเราก่อน เราก็เลยควักมีดออกมากวัดแกว่งไปโดนเขาทีเดียวเขาตายหรือ บาดเจ็บเขา้ อย่างนี้เราไม่ตอ้ งมีทุกข์ คือไม่ตอ้ งรับผิดไม่ตอ้ ง รับโทษ อ้างเหตุป้องกันตัวได้ ถ้าพอสมควรแก่เหตุและกระท�ำใน ปัจจุบนั ทันใดนัน้ เพื่อป้ องกันตัวเอง 83


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ฉะนัน้ ภายในใจปล่อยให้จิตเขาแสดงอาการขึ้นมาก่ อน อย่ามีตวั เราไปแสดงอาการก่อน ถ้ามีตวั เราแสดง แมม้ ตี วั เราไป แสดงอาการเป็ นสติก่อน คือเราเริ่มต้นไปดู จิตหรือดู ความคิด ก่ อนโดยไม่ได้เป็ นญาณที่ตามหลังกริยาอาการของจิตที่แสดง อาการ คือเรายังไม่ไปเห็นว่าจิตเขาแสดงอาการเลย เราเริ่มต้น ไปมีสติ เป็ นสติปญ ั ญา คือไปควานหาแลว้ ไปพยายามท�ำอะไร ในใจ ไปพยายามจะท�ำสติไว ้ พยายามจะไปท�ำความรู้สกึ ตัวไว ้ ในใจ พยายามจะปฏิบตั ิอะไรไว ้ แมแ้ ต่เวลานัง่ สมาธิเดินจงกรม อยู่ เราก็ไปพยายามท�ำสติ ไปพยายามท�ำปัญญา ไปพยายาม ควานหา ไปคิดนึกตรึกตรอง ไปดิ้นรน ค้นหาเหตุ หาผล หาถูก หาผิด หานิพพาน ไปพยายามกระท�ำอะไรเพื่อให้เป็ นอะไร ถ้า หลงมีตวั เราไปพยายามเริ่มต้นก่อน อันนี้ เป็ นอวิชชา คือหลงมี ตัวเราไปเริ่มต้นเป็ นผูเ้ ล่นผูแ้ สดง เท่ากับหลงยึดถือเอาขันธ์หา้ เป็ นตัวเรา ถ้าไม่มตี วั เราไปเริ่มต้นเริ่มแสดง ก็แสดงว่าเรายังไม่ ได้ไปยึดขันธ์หา้ เป็ นตัวเรา เหลือแต่ญาณตามหลังธรรม จนกว่า สติ สัมปชัญญะไม่ขาดอีกเลย ญาณก็คือธาตุรู้ท่บี ริสุทธิ์เพราะ สิ้นอวิชชาแลว้ กรณี ตงั้ ใจคิด ก็ตงั้ ใจคิดเรื่องท�ำมาหากินจบแลว้ ก็ปล่อย ให้ญาณตามหลังธรรม คือปล่อยให้จติ แสดงขึ้นมาเอง แลว้ ญาณ ก็ตามหลังธรรมไป ไม่ใช่บอกว่าทัง้ วันทัง้ คืน ๒๔ ชัว่ โมง ทัง้ วัน 84


ญาณตามหลังธรรม : จบซะที

ทัง้ คืนตลอดชีวติ มีแต่เรื่องตัง้ ใจคิดทัง้ นัน้ เลย ไม่มเี รื่องอะไรไม่ ตัง้ ใจคิดเลย คิดทัง้ วันทัง้ คืนนี่เรียกว่าฟุ้งซ่าน พอตัง้ ใจคิดในเรื่อง ท�ำมาหากินจบแล ้วก็วางลง แล ้วปล่อยให้จติ แสดงกริยาอาการเอง แลว้ ญาณก็ตามหลัง “ญาณ” คือธาตุรู้ท่ีบริสุทธิ์เป็ นธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง เป็ น ความรู้ท่ีไม่มีตวั ตน ไม่มีรูปร่าง ไม่อาจแสดงกริยาอาการใดๆ ได้เลย เป็ นความรูท้ ่ีเป็ น “พุทธะ” คือเป็ นความรูท้ ่ีส้ นิ อวิชชา คือ สิ้นหลงว่ามีเรา มีตวั เรา หรือมีตวั ตนของเราเป็ นตัวเป็ นตน “รูต้ ่นื ” เพราะตื่นจากความหลงแล้ว “รู เ้ บิกบาน” เพราะสิ้นหลงยึดถือ อะไรให้เป็ นกิเลสเศร้าหมองและความทุกข์ “พุทธะ” เป็ นอมตะ ไม่เกิด ไม่ดบั ไม่อาจถูกท�ำลาย เพราะไม่มตี วั ตน ไม่มรี ูปร่าง ไม่มี รู ปพรรณสัณฐาน ไม่มกี ริยาอาการใด ดังนัน้ จึงไม่ตอ้ งกลัวตาย เพราะจะกลายไปเป็ น “พุทธะ” ทีเ่ ป็ นธาตุรูท้ ไ่ี ม่มตี วั ตนอย่างเป็ นอมตะ ไม่มกี ารเกิด ไม่มกี ารดับ มีแต่ธาตุแตกขันธ์ดบั ไปเท่านัน้

85


“ สติตั้งที่ ใจ รู้ที่ ใจ สังเกตที่ ใจ ละที่ ใจ ปล่อยวางที่ ใจ ” “ รู้ทุกคิดไม่ติดไป จิตเป็นอย่างไรได้แต่รู้ ไม่หนีไม่สู้ แค่รู้อยู่ที่ ใจ ”


จบซะที

อย่างไรจึงเรียกอวิชชา “สติ เป็ นมหาสติ เป็ นมหาสมาธิ เป็ นมหาปัญญา เป็ นพระนิ พพาน สติขาด สมาธิขาด ปัญญาขาด ธรรมขาด สติมี สมาธิมี ปัญญามี ธรรมมี สติอนั เดียวในปัจจุบนั นี้ ” “สติ” เป็ นหัวใจหลักของการภาวนา แต่ความเข้าใจผิด เรื่อ งสติท�ำ ให้เ ราปฏิบ ตั ิไ ม่ ถูก ต้อ ง “สติ” คือ ความไม่ห ลงใน ปัจจุบนั แต่หลายคนเขา้ ใจผิด เช่น กลัวหลง กลัวขาดสติ แล ้วเขา้ ไปประคองพยายามไปท�ำสติ พยายามไปรู ส้ กึ ตัว พยายามเอา ตัวเราไปท�ำ... ไปดิ้นรนค้นหา เอาตัวเราไปดูรูเ้ ห็น เอาตัวเราไป จัดการใดๆ ก็ตาม ถ้ามีตวั เราไปท�ำอะไรก็หลงทันที เป็ น “อวิชชา” เป็ นกิเลส ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติทนั ทีโดยอัตโนมัติ คือถ้าเสี้ยว 87


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

วินาทีเดียวมีตวั เราเขา้ ไปท�ำอะไร มีตวั เราเขา้ ไปมีส่วนได้ส่วนเสีย ปฏิจ จสมุป บาทก็ ห มุน เลย อวิช ชาก็ เ กิด เมื่อ สิ้น เอาตัว เราไป ปรุงแต่ง อวิชชาก็ดบั ทันทีเช่นกัน หลงก็แค่รูต้ วั ขึ้นมา รู ส้ กึ ตัวขึ้นมาบ่อยๆ ไม่ใช่ไปกลัวหลง ต้องหลงเสียก่อนจะได้เห็นว่าความหลงเป็ นยังไง สุดท้ายก็หาย หลง ตรงนี้เป็ นหัวใจที่สำ� คัญมาก แต่ถา้ เราหลงเข้าไปพยายาม รักษาสติไว้จะได้ไม่หลง... อันนี้ คือหลงตัง้ แต่รกั ษาสติแล้ว แต่ ถ้าหลงแลว้ เราก็รสู้ กึ ตัวขึ้นมาอย่างนี้มสี ติ เดีย๋ วพอหลงใหม่เราก็ รูส้ กึ ตัวขึ้นมาใหม่ การปฏิบตั ิก็แค่น้ ี แต่ปกติมสี ติแป๊ บเดียวมันก็ ต้องหลงเป็ นธรรมดา หลงอีกเราก็รสู้ กึ ตัวอีก ยิง่ หลงเรายิง่ รูส้ กึ ตัว เราก็ย่งิ มีสติ แต่พอเราไม่ทนั หลงเลย เราไปรีบมีสติรกั ษาสติไว ้ เพื่อไม่ให้หลง ทีน้ ีหลงยาวเลย หลงรักษาสติยาวเลย หลักปฏิบตั ติ อ้ งแม่น หลักคืออะไร สังขารทัง้ หมดทุกกริยา อาการ ทุกความคิด ต่อให้เป็ นอย่างไรก็ตาม ถ้าไม่มีความรูส้ กึ ว่า มีตวั เราเข้าไปมีส่วนได้เสีย ไม่มีตวั เราเข้าไปร่วม ทุกอย่างเป็ น แค่สงั ขารปรุงแต่งธรรมดา ก็ไม่เป็ นอวิชชา ไม่เป็ นกิเลส ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ทุกข์ โศกเศร้า เสียใจ คับแค้นใจ สังขาร ทัง้ หมดทุกขณะปัจจุบนั ไม่ว่าจะดีหรือถูกใจขนาดไหน เป็ นกุศล ขนาดไหน พอมีตวั เราเข้าไปมีส่วนได้เสียก็เป็ น “อวิชชา” เป็ น กิเลสตัณหาทันที 88


อย่างไรจึงเรี ยกอวิชชา : จบซะที

“อวิชชา” คือมีตวั เราเข้าไปมีส่วนได้เสียจริงๆ แต่ถา้ มัน เป็ นแค่ค�ำสรรพนามสมมุติเรียกตัวเราว่า “เรา…” เพื่อใช้พูด คุยหรือสื่อสารกัน โดยไม่ มีความรู้สึกหลงยึดถือว่าเป็ นตัวตน เป็ นเรา เป็ นตัวเรา หรือเป็ นตัวตนของเราจริงๆ จังๆ แล้ว ก็ไม่ เป็ นอวิชชา ตรงนี้ ต้องแม่นมากๆ ผู ป้ ฏิบตั ิธรรมถ้าไม่แม่นใน หลักธรรมเหมือนกับไม่แม่นในขอ้ กฎหมาย จะแปลความคลาด เคลือ่ นแล ้วปฏิบตั ผิ ดิ หมดเลย ทีถ่ ูกกลายเป็ นผิด ทีผ่ ดิ กลายเป็ น ถูก ปฏิบตั ิกลับหัวกลับหางกันหมด หลวงตามีพอ่ แม่ครูอาจารย์องค์หนึ่ง คือหลวงปู่ทา จารุธมั โม เป็ น พระอรหัน ต์ม รณภาพตอนอายุ ๙๘ ปี เป็ น ที่ย อมรับ ใน พระอริยสงฆ์ทงั้ หลาย หลวงตาก็นวดท่านอยู่ นวดอยู่เกือบสอง ชัว่ โมง มือก็นวดทัง้ ตัว นวดไปๆ บางทีนวดไปจับนมท่าน นม เหี่ยวๆ จิตก็คิดว่า...“คนแก่นมเหมือนเด็ก” แต่เราก็มสี ติรูต้ วั อยู่ ดุจิตว่า “คิดอะไรบา้ ๆ ท่านรู ท้ ุกคิดนะ” มีสติคอยว่าตัวเองอยู่ ตลอดเวลาว่า “ท�ำไมคิดอย่างนี้ คิดอย่างนี้ได้อย่างไร” ระหว่าง ที่นวดไปก็คิดจุก๊ จิก๊ ๆ ในใจ แต่เราก็รูท้ ุกคิดไม่ติดไป แต่ก็หา้ ม จิตไม่ให้คดิ ไม่ได้ พอนวดเสร็จก้มลงกราบขอขมาท่าน เมือ่ กี้น้ ีคดิ อะไรสัปดนก็ขอขมา... โดนท่านตวาด “ไอ้ท่คี ิดอยู่ตงั้ นาน มีสติ รู ต้ วั อยู่ ไ ม่ใ ช่ เ หรอ มัน จะเป็ น บาปอะไร แต่ กำ� ลัง ขอขมาอยู่ น้ ี ไม่มสี ติ มันเป็ นบาป” อ้าว!... ต่อให้คิดอกุศล แต่มสี ติรูต้ วั อยู่ 89


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ไม่เป็ นบาป แต่ ตอนขอขมาอยู่น่ีไม่รูต้ วั เลย อันนี้ไม่มสี ติกลับ เป็ นบาปกรรม พิจารณาดูให้ดนี ะ ขนาดกราบขอขมา... ถ้าขาด สติเป็ นบาปกรรม... แต่ถา้ มีสติขนาดคิดไม่ดีกลับไม่มีบาปกรรม หลวงปู่ชา สุภทั โท ท่านเคยกล่าวไวว้ ่า “การปฏิบตั ิธรรม ที่ดีท่ีสุด คือไม่ตอ้ งท�ำอะไรเลย ไม่ตอ้ งท�ำอะไรเลยนัน่ แหละ คื อ การปฏิ บ ตั ิ ท่ี ดี ท่ี สุ ด ” เพี ย งแต่ ใ ห้มี ส ติ อ ย่ า งเดี ย ว ไม่ ใ ช่ จะไปปฏิบ ตั ิใ ห้ม นั เป็ นอะไร วางมัน วางตลอดเวลา คือ แค่ รู ต้ วั ว่ า มีอ ะไรเกิ ด ขึ้น ในใจเท่ า นั้น ไม่ ว่ า สุ ข หรื อ ทุ ก ข์ กุ ศ ล หรือ อกุศ ล ยังไงก็ต อ้ งวาง “วาง” คือ ปล่อ ยให้ม นั เป็ นอย่ า ง ที่มนั เป็ น ไม่ มีใครไปยุ่งวุ่นวายกับมัน ไม่ ไปพยายามดับเขา แต่ก็ไม่ปล่อยให้คิดพูดท�ำไปโดยไม่รูต้ วั ไม่มใี ครเขา้ ไปยึดถือ ไม่มใี ครพยายามจะกันไว้ไม่ให้ทุกข์ กิเลสที่ทำ� ให้เกิดความทุกข์ มาจากจิต ปรุ ง แต่ ง เข า้ ไปยึด เท่ า นัน้ แหละ ไม่ เ ข า้ ไปยึด ก็ ไ ม่ มี อวิชชา กิเลส ตัณหา อุปาทาน… และทุกข์เลย เพราะอวิชชาเป็ น เหตุให้จิตปรุงแต่งมีตวั เราเขา้ ไปยึดถือ หรือมีตวั เราเขา้ ไปมีส่วน ได้เสีย หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน กล่าวไวอ้ ย่างชัดเจนว่า “นอกจากขันธ์หา้ แล้วยังมีใจที่บริสุทธิ์ ปล่อยวางขันธ์หา้ หมดเสีย แล้ว แต่ยงั มายึดใจ ก็ไม่บริสุทธิ์ เป็ นอวิชชา” ดังนัน้ “สติปญ ั ญา” คือเครื่องอ่านใจ ทิ้งไม่ได้ในทุกขณะ ปัจจุบนั ไม่ ได้มีหน้าที่อะไรมากกว่าการอ่านใจตัวเองให้ขาด 90


อย่างไรจึงเรี ยกอวิชชา : จบซะที

อย่างเดียว ไม่มีอะไรเลิศประเสริฐเท่าสติปญ ั ญาอีกแล้ว ต้องอ่าน ให้ออกว่า “เรานี่ยงั เขา้ ไปยึดอะไร ยังเลือกอะไรอยู่ ยังเลือกที่จะ เอาอะไรและเลือกทีจ่ ะไม่เอาอะไร ยังมีดูด มีผลักอยู่” อันนัน้ ก็คอื “ยึด” เครื่องอ่านนี่ตอ้ งอ่านด้วยตัวเองให้ออก คนอื่นก็เป็ นเพียง แค่ ผู้ช้ ีแนะเท่านัน้ ต้องอ่านใจให้ขาดตลอดทุกขณะจิตปัจจุบนั ว่ า มีกิ เ ลสตัณ หาเกิ ด ขึ้น ในขณะนัน้ หรื อ ไม่ มีค วามอยากเอา อยากได้ อยากให้เป็ นอย่างนัน้ อยากให้เป็ นอย่างนี้ ในลักษณะ ที่ดูดเขา้ หาตัว หรือไม่อยากในลักษณะที่ผลักไส เช่ น กลัวว่า จะเป็ นอย่างนัน้ กลัวว่าจะเป็ นอย่างนี้ ไม่อยากให้เป็ นอย่างนัน้ ไม่อยากให้เป็ นอย่างนี้ ต้องอ่านใจตัวเองให้ขาด

ปุจฉาวิสชั ชนา

หลวงตา : มันมีอาการเบลอๆ ลอยๆ น่ะ เอาสติคืนมาก่อน เอาสติคืนตัวมาก่ อน ให้มนั ชัดเจน มันมีอาการเบลอๆ ลอยๆ ไปท�ำอะไรมา โยม : อาจจะเพ่ง พยายามอยู่กบั ตัวตลอด ไม่ให้มนั ปล่อย... หลวงตา : ไม่ตอ้ งแล ้ววางให้หมดเลย เดีย๋ วนี้เลย... ให้สติ มันคืนตัวมาเป็ นปกติก่อน ถ้าสติไม่เป็ นปกติ คือไปเพ่งท�ำความ รูส้ กึ ตัวดูจติ คาไว้อย่างนั้น สมาธิก็ไม่เป็ นปกติ ปัญญาก็ไม่เป็ น 91


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ปกติ สติขาด สมาธิขาด ปัญญาขาด ธรรมขาด เป็ นทุกข์... สติ มี สมาธิมี ธรรมมี ปัญญามี ไม่ทุกข์... สติเป็ นมหาสติ เป็ นมหา สมาธิ มหาปัญญา เป็ นพระนิ พพาน พ้นจากทุกข์...สติอนั เดียว ในทุกขณะจิตปัจจุบนั ให้รูส้ ึกตัวอยู่ เฉยๆ อย่ างนี้ก่อน อย่าไปอยากดู อยากรู ้ อยากเห็น อยากได้ อยากเป็ น อยากเขา้ ใจ อยากรูแ้ จ้งอะไร ไม่ตอ้ งพยายามไปดูหรือไปรูอ้ ะไรในกายใจเรา เสียก่อน ไม่ตอ้ งพยายามไปท�ำให้รูค้ วามรู ส้ ึกตัวซ้อนขึ้นมาอีก อยู่เฉยๆ เสียบา้ ง ท�ำมามากแลว้ หยุดเสียบา้ ง มันไม่เคยหยุดเลย มีแต่ทำ� … ท�ำ… ท�ำ… ไม่เคยหยุดท�ำเลย และไม่ตอ้ งพยายามท�ำ ความรู ส้ ึก ตัว นะ ให้ห ยุด ท�ำ เดี๋ย วนี้ เลย เมื่ อ หยุด หมดแล้ว … ก็สงบ… ว่าง เห็นไหม… ในกายในใจเรามีสภาวะยังไงมีอาการยังไง ก็ ป ล่ อ ยให้ม นั เป็ น อย่ า งที่ม นั เป็ น อย่ า งนั้น ไม่ ต อ้ งพยายาม ท�ำอะไรเพิ่มเติมขึ้นมาอีก ให้ม นั เป็ น อย่ า งปัจ จุบ นั นี้ ต ลอดเวลา แล ว้ มัน จะรู ว้ ่า สติ ที่เ ป็ น ปัจ จุบ นั มัน เป็ น ยัง ไง มัน เป็ น สติท่ีส มบู ร ณ์บ ริบู ร ณ์ ยิ่ง เราพยายามไปท�ำ สติ ยิ่ง ไปท�ำ ความรู ส้ ึก ตัว ก็ ย่ิง ไม่ รู้สึก ตัว ใหญ่เลย ให้เป็ นปัจจุบนั นี้ ให้เป็ นปกติ ให้สติเป็ นปกติ สมาธิ มัน ก็ จ ะเป็ นปกติ ปัญ ญาก็ จ ะเป็ นปกติ ธรรมก็ จ ะเป็ นปกติ

92


อย่างไรจึงเรี ยกอวิชชา : จบซะที

ลองไปปรุงแต่งอะไรเขา้ ซิ เสี้ยววินาทีเดียวไปปรุงแต่งอะไรเขา้ สิ... อวิชชา กิเลส ตัณหา อุปาทาน ภพชาติ… และทุกข์มนั หุม้ ทันทีเลย เพราะมันผิดปกติธรรมชาติท่บี ริสุทธิ์ ธรรมชาติท่ีบ ริสุ ท ธิ์เ ขาไม่มีก ารปรุ ง แต่ ง ยึด ถือ กัน ไม่มี ความโลภ โกรธ หลง ทิฏฐิมานะ ไม่มกี ารปรุงแต่งพยายามท�ำ อะไรเพื่อจะเอาให้ได้ ให้ถงึ ให้เป็ นอะไร ที่เราเขา้ ใจผิดว่าจะท�ำ ให้มนั เป็ น… ยิ่งจะท�ำให้มนั เป็ น อวิชชา กิเลส ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ… และทุกข์ มันยิง่ หุม้ หลายชัน้ หนักเข ้าไปอีก เพราะอะไร? เพราะเขาให้ส้ นิ หลงปรุงแต่ง แต่เรากลับไปเพิ่มความปรุงแต่ง สิ้น ความหลงปรุ ง แต่ ง แค่ น นั้ น่ ะ อวิช ชา กิเ ลส ตัณ หา อุปาทาน ภพ ชาติ… และทุกข์มนั ก็ดบั ทันที ปฏิจจสมุปบาทซึ่ง เป็ นวงจรแห่งการเกิดทุกข์และการเวียนว่ายตายเกิดก็หกั สะบัน้ มันสิ้นอะไรล่ะ สิ้นหลงเอาตัวเราไปปรุ งแต่ ง สิ้นเอาตัวเราไป พยายามท�ำอะไรให้เป็ นอะไร สิ้นเอาตัวเราไปคิดดิ้นรนค้นหา ถ้าเอาตัวเราไปท�ำอะไรมันเป็ น “อวิชชา” ทันที พอเป็ นอวิชชามัน ก็เขา้ วงจรปฏิจจสมุปบาท เกิดอวิชชา กิเลส ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ… และทุกข์ทนั ทีโดยอัตโนมัติของมัน สิ้นหลงเอาตัวเรา ไปปรุงแต่ง อวิชชามันก็ดบั ทันทีนัน่ แหละ

93


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ปัญ หามัน อยู่ ท่ี ต วั เรานี่ แ หละ ที่ ว่ า หลายคนมานี่ ดู สิ พยายามเอาตัวเราไปท�ำ ไปพยายาม ไปดิ้นรนค้นหา พอเอาตัว เราไปดิ้น ปัญหามันเลยอยู่ท่ตี วั เราไปดิ้น ไม่ใช่ว่าอาการที่เราไป รู ม้ นั แต่ ปญ ั หามันกลับอยู่ท่ีตวั เราที่เอาตัวเราไปท�ำ เอาตัวเรา ไปดิ้น เอาตัวเราไปดู เอาตัวเราไปรู เ้ ห็น เอาตัวเราไปจัดการมัน ปัญหามันอยู่ท่ตี วั เราจะเอาไปจัดการมัน อาการเหล่านั้นเขาก็เป็ นสังขารธรรมดา ไม่มีใครไปจัดการ มันก็ไม่ มีอวิชชา แต่ เราไปโทษว่าอาการเหล่านัน้ มันเป็ นกิเลส แท้ท่ีจริงความรู ส้ ึกว่ามีตวั เราจึงเป็ นอวิชชา แล้วเอาตัวเราไป มี กิเ ลส มัน คิด อกุศ ลเราก็ เ ลยจะไปจัด การมัน อย่ า งเดีย วเลย ความคิดอกุศลและอาการเหล่านั้นมันเป็ นสังขารธรรมดา แต่ เพราะอวิชชา กิเลส ตัณหา ท�ำให้มีตวั เราจะเข้าไปจัดการมัน หรือหลงไปกับมัน หรือไม่อยากหลงไปกับมัน หรือกลัวว่าจะ หลงไปกับมัน ปัญหามันอยู่ท่ีตวั นี้ เขา้ ใจไหมล่ะ

โยม : เขา้ ใจค่ะ รวมทัง้ ตัวเราที่พยายามรักษาสติ

หลวงตา : เออ ตัวเราที่พยายามรักษาสติ ตัวนัน้ น่ ะมันยิ่ง หนักเลย 94

โยม : กลัวขาดสติ กลัวหลง แลว้ จะประคองยังไงคะ


อย่างไรจึงเรี ยกอวิชชา : จบซะที

หลวงตา : เอ้า! กลัวหลงนี่ไงมันเลยเป็ น “อวิชชา” นัน่ ล่ะ มันหลงก็แค่รูต้ วั ไม่ใช่ไปกลัวหลง มันหลงเราก็แค่รูต้ วั ขึ้นมา รูต้ วั ขึ้นมาบ่อยๆ มันก็มสี ติข้ นึ มาทุกครัง้ ที่หลง ถ้าเราไม่หลงแลว้ เรา จะมีสติได้ไงล่ะ มันต้องหลงเสียก่ อนแลว้ ค่ อยมีสติ พอเดีย๋ ว สุดท้ายมันก็หายหลง มันต้องหลงเสียก่ อน สุดท้ายก็หายหลง นะ คนเรามันก็ตอ้ งหลงไปเสียก่อนมันจะได้เห็นว่าความหลงเป็ น ยังไง มันจะได้มสี ติ มันจะได้ “อ๋อ! เนี่ย... สติมนั คือความไม่หลง” เราต้องเห็นว่ามันหลงเสียก่ อนเราถึงจะเห็นว่า อ๋อ! สติกบั หลง มันต่างกันตรงนี้ เราต้องหลงเสียก่ อน ไม่ใช่เรากลัวมันจะหลง เลยรีบรักษาสติไวเ้ พื่อไม่ให้มนั หลง ตอนรักษาสติมนั เลยหลง ไปก่อนแลว้ เขา้ ใจไหม ตรงนี้หวั ใจส�ำคัญมากเลยนะ นี่ เราหลงไปแล้ว แต่เรา เข้าใจว่าเรารักษาสติไว้ มันจะได้ไม่หลง... อันนี้ มันคือหลงตัง้ แต่ รักษาสติแล้ว เออ แต่ถา้ มันหลงแลว้ เราก็รูต้ วั ขึ้นมาอย่างนี้มสี ติ เดีย๋ วมันหลงใหม่เราก็รู้สึกตัวขึ้นมาก็แค่ นนั้ แหละ แต่มนั มีสติ แป๊ บเดียวมันก็ตอ้ งหลงใหม่เป็ นธรรมดาเลย หลงอีกเราก็รู้สกึ ตัวอีก ยิ่งหลงเรายิ่งรูส้ กึ ตัว เราก็ย่งิ มีสติ แต่พอเรายังไม่ทนั หลง เลย เรารีบมีสติรกั ษาสติไวเ้ พือ่ ไม่ให้มนั หลง ทีน้ ีหลงยาวเลย หลง รักษาสติยาวเลย 95


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

โยม : ก็คือ ถ้ามีตวั เราไปท�ำอะไรคือหลง

หลวงตา : เออ ถูกต้องเลย ถ้ามีตวั เราไปท�ำอะไรน่ ะ... หลงทันที มีตวั เราไปรักษาสติ หลงทันที... ไม่ทนั หลงอะไรเลย แต่มตี วั เราเขา้ ไปรักษาสติเป็ นอวิชชา กิเลส ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ… และทุกข์ทนั ทีเลย ปฏิจจสมุปบาทหมุนเลย คือถ้าเสี้ยว วินาทีเดียวมีตวั เราเขา้ ไปท�ำอะไรนัน่ น่ ะ ปฏิจจสมุปบาทหมุนเลย อวิชชาเกิด ทีน้ ีเกิดหมดเลย กิเลส ตัณหา อุปาทาน ภพชาติ ทุกข์ โศกเศร้า เสียใจ คับแค้นใจ ไม่ได้อย่างใจ มันเกิดขึ้นทันทีเลย โยม : หลวงตา แลว้ ถ้าไม่ทำ� อะไรเลย มันก็อยู่แบบ เควง้ ๆ ควา้ งๆ เหมือนกับว่าจริงๆ มันต้องอยู่กบั รู ้ เท่าที่จำ� มา มันต้องอยู่กบั รู ้ แต่พออยู่จริงๆ มัน... ไม่มอี ะไรยังไง? มันไม่รู ้ ว่าเราจะปฏิบตั ิอะไร? หลวงตา : อยู่กบั รูน้ ่ีคอื รูอ้ ะไรล่ะ ก็รูว้ า่ มันหลงนี่ไง อยู่กบั รู ้ ก็รูว้ ่ามันหลง พอไม่หลงแลว้ ก็รูว้ ่ามันไม่หลง แต่น่ีเราหลงไป รักษาสติ เรายังไม่รูเ้ ลยเนี่ย บอกว่าอยู่กบั รู น้ ะ… “อยู่กบั รู ”้ คือ มันหลงแล้วเราก็รู ้ มันไม่หลงแล้วเราก็รู.้ .. ก็อยู่กบั รู้ไง แค่ น้ ี มัน หลงอยู่ น่ี เราไปหลงรัก ษาสติอ ยู่ เ นี่ ย เพื่อ ไม่ใ ห้ม นั หลงนี่ อันนี้มนั หลงอยู่นะ มีเราเขา้ ไปรักษาสติอยู่น่ี มันก็เลยมีตวั เรา เป็ นอวิชชาเริ่มต้นอีกแลว้ ไง อย่างนี้ไม่เรียกอยู่กบั รู น้ ะ ก็ถามว่า 96


อย่างไรจึงเรี ยกอวิชชา : จบซะที

ไหนเขาบอกให้อยู่กบั ความรู้สึกตัวไง เราก็รู้สึกตัวไวเ้ พื่อไม่ให้ มันหลงไง มันก็เลยหลงตัง้ แต่ ตรงนี้ เพราะอะไร เรารู้สึกตัว เพื่อไม่ให้ตวั เราหลง “เรารู้สึกตัวไวเ้ พื่อไม่ให้ตวั เราหลง” เห็น ไหม... อันนี้มนั หลงไหมล่ะ เป็ นอวิชชาไหมล่ะ มันมีตวั เราไหมล่ะ

โยม : มีเราท�ำ

หลวงตา : ถ้า หลงแล ว้ ยัง ไม่ รู ้ นี่ ไ ม่ เ รี ย กว่ า อยู่ ก บั รู น้ ะ อันนี้อยู่กบั หลง อยู่กบั หลงแลว้ ไม่อยู่กบั รู น้ ะอันนี้

โยม : หลวงตา แลว้ ต้องปฏิบตั ิยงั ไงคะ

หลวงตา : ไม่ท�ำอะไรเลย

โยม : แลว้ มันจะไม่ไปกับโลกเหรอคะ

หลวงตา : อ้าว! หลงมันจะได้รู้ไง นี่อยู่กบั รู ้ มันหลงจะได้ รู้ไง โยม : พอมันมีความคิดขึ้นมาว่า ความคิดจะท�ำอะไร คิดจะปฏิบตั ิอะไร ก็คือ… แค่รู…้ ! หลวงตา : อืม บอกแลว้ นะว่าหลักต้องแม่น หลักปฏิบตั ิ ต้องแม่น หลักคืออะไร สังขารทัง้ หมด ทุกกริยาอาการ ทุกความคิด ทุกอาการ ต่อให้มนั มีกริยาอาการยังไงก็ตาม ถ้าไม่มีความรู้สกึ 97


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ว่ามีตวั เราเข้าไปมีส่วนได้เสีย ไม่มีตวั เราเข้าไปร่วม ทุกอย่าง เป็ นแค่สงั ขารธรรมดา เป็ นแค่สงั ขารปรุงแต่งธรรมดา ไม่เป็ น อวิชชา ก็ไม่เป็ นกิเลส ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ทุกข์ โศกเศร้า เสียใจ คับแค้นใจ การเวียนว่ายตายเกิด แต่ทุกสังขารต่อให้ดี ขนาดไหน เป็ นกุศลขนาดไหน มีตวั เราเขา้ ไปมีส่วนได้เสียปุ๊ บ เป็ นอวิชชาทันทีเลย ถ้าเป็ นอวิชชาปุ๊ บเป็ นกิเลส ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ… และทุกข์ทนั ที อาการ… ต่อให้เป็ นอกุศล เขาก็เป็ น เพียงแค่สงั ขารธรรมดา ต่อให้เป็ นทุกขเวทนา ความรู้สึกไม่ โปร่ง ไม่โล่ง ไม่เบา ไม่สบาย เป็ นทุกขเวทนา มันก็เป็ นเพียง แค่อาการ ไม่ได้เป็ นกิเลสตัณหาอะไร แต่พอมีอาการนิ่ ง เฉย ว่าง โล่ง โปร่ง เบา สบาย แล้วมีตวั เราเข้าไปมีส่วนได้เสียปุ๊ บ เป็ นกิเลสตัณหาทันที โยม : แต่ทกุ ๆ ครัง้ ทีม่ นั มีอาการขึ้นมา มันก็เป็ นตัวเรา ทันที มันยังไม่มกี ำ� ลังสมาธิขนาดถ้ามีอาการขึ้นมาแลว้ ไม่รสู้ กึ ว่า เป็ นตัวเรา แค่เห็นมันแลว้ ไม่มผี ลกับใจอะไรอย่างนี้ค่ะ หลวงตา : ไม่ใช่ เขา้ ใจผิด การที่ปรุงขึ้นมาเป็ นตัวเราทุกที ไม่ได้เป็ นกิเลสตัณหานะ ไม่ได้เป็ นอุปาทาน ภพ ชาติ… และทุกข์นะ ถ้าเราเห็นว่าที่มนั ปรุงเป็ นตัวเรามันเป็ นสังขาร ไม่มตี วั เราไปยุ่ง วุ่นวายที่จดั การที่มนั ปรุงว่าเป็ นตัวเรา สิ่งเหล่านี้ก็เป็ นเพียงแค่ อาการของจิตธรรมดาๆ แต่พอมันปรุงมารู ส้ กึ ว่าเป็ นตัวเรา แลว้ 98


อย่างไรจึงเรี ยกอวิชชา : จบซะที

มีตวั เราเขา้ ไปจัดการความรู้สึกที่มนั ปรุงขึ้นมาเป็ นตัวเรา อันนี้ เป็ นอวิชชาทันที เป็ นกิเลส ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ… และทุกข์ ดังนัน้ ต่อให้มนั ปรุงเป็ นตัวเรา มันอยากปรุงก็ปรุงไปสิ เอ็งอยาก ปรุงก็ปรุงไปแต่ขา้ ไม่ปรุง เอ้า!...ปรุงก็ปรุงไป ปรุงว่าเป็ นตัวเรา ตัวเรา ตัวเรา... แต่ขา้ ไม่ปรุง ถ้าไม่มตี วั เราเขา้ ไปมีส่วนได้เสีย ต่ อ ให้ม นั ปรุ ง เป็ น ตัว เรา ต่ อ ให้ป รุ ง เป็ น อะไรมัน ก็ เ ป็ น สัง ขาร ทัง้ หมดเลย เป็ นสังขารปรุ งแต่ ง ไม่เป็ นอวิชชาเพราะอะไร... เพราะไม่มตี วั เราเขา้ ไปมีส่วนได้เสีย “อวิชชา” คือมีตวั เราเข้าไปมีส่วนได้เสียจริงๆ แต่ ถา้ มี ปัญญาเห็นความจริงว่าความคิด ความรู้สกึ ว่า “เรา…..” เช่น เรารู ้ เราเห็น เราเป็ นอย่ างนัน้ เราเป็ นอย่ างนี้ มันเป็ นเพียงสังขาร ปรุงแต่ ง ไม่หลงรู ส้ ึกไปตามความคิดปรุงแต่ งว่ามีตวั เราจริงๆ ก็ไม่เป็ นอวิชชา ส่ ว นที่ ห มายไว้ว่ า จะพยายามท� ำ อย่ า งไรไม่ ใ ห้มี ต วั เรา มันก็เป็ นอวิชชา กิเลส ตัณหา… ทันที เพราะมันเกิดตัวเรา ที่อยากที่จะไม่มีตวั เรา ที่หมายไว้ว่าจะท�ำอย่างไรให้ใจเป็ นอุเบกขา เป็ นกลาง วางเฉยต่ อ สิ่ง ที่ ม ากระทบ หรือ ถู ก กระทบแล้ว ไม่ ใ ห้มี ผ ลต่ อ ใจเรา อย่างนี้ มีตวั เราไปยึด “ใจ” ว่าเป็ นใจเรา หรือเป็ นใจของเรา 99


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

จึงอยากให้ ใจของเราดี หรือว่าง นิ่ ง เฉย หรือเป็ นอุเบกขาเมื่อ ถูกกระทบ มันเป็ น “อวิชชา” กิเลส ตัณหา… ทันที ตรงนี้ตอ้ งให้แม่นมากนะ ผูป้ ฏิบตั ิธรรมถ้าไม่แม่นในหลัก ธรรมเหมือ นกับ ไม่แ ม่น ในข อ้ กฎหมายนี่ จ ะแปลความคลาดเคลือ่ นหมดเลย แลว้ ปฏิบตั ผิ ดิ หมดเลย ทีถ่ ูกกลายเป็ นผิด ทีผ่ ดิ กลายเป็ นถูก ที่เราพูดมานี่ไม่รูก้ ่ีคำ� แลว้ ที่เราพูดมาทัง้ หมดนี่ ที่ ล ว้ นแต่ ว่ า เอาผิ ด เป็ นถู ก เอาถู ก เป็ นผิ ด ปฏิ บ ัติ ก ลับ หัว กลับหางกันนี่กลับด้าน มีแต่จะมีตวั เราไปเอา ไปได้อะไร หรือ อยากให้เป็ นอย่างไร มันจึงเป็ นอวิชชา กิเลส ตัณหา อุปาทาน หมด แต่ธรรมแท้น้ันคือสิ้นตัวเราจะไปเอาไปได้ ไปเป็ นอะไร หรือสิ้นหมาย หรือสิ้นปรารถนาว่าจะไปเอาอะไร หรือจะไปได้ อะไร หรือจะไปถึงอะไร แม้แต่นิพพาน เพราะถ้าหมายหรือ ปรารถนาจะไปเอาหรือไปได้อะไรแมแ้ ต่ นิพพาน มันก็มตี วั เรา ที่อยากได้ อยากเอา อยากเป็ น อย่างนี้ “อวิชชา” กิเลส ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ… และทุกข์ หรือวงจรปฏิจจสมุปบาทก็ไม่ดบั ไม่หกั เสียที แล ้วถามว่ามาปฏิบตั ิแล้วได้อะไร ตอบว่า “ไม่ได้อะไรเลย” แมแ้ ต่วางหมดแล ้ว ไม่หลงสังขารแล ้ว เลยพบใจทีว่ า่ งเปล่า แล ้วก็ ต้องวางใจที่ว่างเปล่านัน้ ไปด้วย เพราะถ้าหลงยึดใจที่ว่างเปล่า ไว้ก็เป็ น “อวิชชา” ทดลองดู อย่างนี้ก็ได้ ให้ยกมือถือของหรือ 100


อย่างไรจึงเรี ยกอวิชชา : จบซะที

แบกของหนักๆ ไว ้ ซึ่งเปรียบเหมือนแบกสังขารหรือขันธ์หา้ มันหนักและเมือ่ ยมือไหม ที่น้ ีปล่อยวางของหนักเปรียบเหมือน สังขารหรือขันธ์หา้ ให้หมด บนมือเหลือแต่ความว่างแต่ยงั ยกมือ แบกความว่างไว ้ แลว้ จะเป็ นอย่างไร มันเมือ่ ยมือมันทุกข์ใช่ไหม มันก็เหมือนกัน ถ้าวางสังขารหรือขันธ์หา้ ก็พบใจที่ว่างเปล่า แต่ ถ้ายังยึดหรือแบกใจที่ว่างเปล่าก็ยงั เป็ นทุกข์ ต้องวางใจที่ว่าง เปล่าเสียจึงจะพน้ ทุกข์ ตรงนี้หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน พูดไวช้ ดั เจนมากว่า “นอกจากขันธ์หา้ แลว้ ยังมีใจที่บริสุทธิ์ ปล่อยวางขันธ์หา้ หมด เสียแลว้ แต่มายึดใจจะให้ว่างก็เป็ น “อวิชชา” ต้องปล่อยวางใจ แลว้ อวิชชา กิเลส ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ… และทุกข์จึง ดับสนิท”

101


“ อ่านใจตัวเองให้ขาด ว่าปฏิบัติไป เพื่อจะเอา หรือ เพื่อสิ้นความหลงยึดมั่นถือมั่น ”


จบซะที

๑๐

อ่านใจตัวเองให้ขาด

เรามักจะมองไม่เห็นหรือไม่รูต้ วั ว่า “ปฏิบตั ิธรรมเพื่อจะไป จะเอาอะไร” มักมีผูจ้ ะเอาหรือมีผูอ้ ยาก เมื่อชอบใจก็อยากได้ อยากเอา อยากให้เ ป็ น อย่ า งนั้น อยากให้เ ป็ น อย่ า งนี้ เมื่อ ไม่ชอบใจก็อยากไม่ให้เป็ นอย่างนัน้ อยากไม่ให้เป็ นอย่างนี้ เช่น จะเอาจิตดี ไม่เอาจิตไม่ดี จะเอาความสงบ ไม่เอาความไม่สงบ จะเอาสุ ข ไม่เอาทุกข์ แมจ้ ะไปเอาพระนิพพาน หรือไม่อยาก ให้แก่ เจ็บ ตาย มันเป็ นกิเลส ตรงขา้ มพระนิพพาน จึงไม่พน้ ทุกข์ ในการปฏิบตั ิธรรม ถ้ามันอยากจะไปเอาอะไร หรือหลง เข้าไปเสพอารมณ์ใดๆ ก็มี “สติ” รู เ้ ท่าทัน อย่าไปดิ้นตามมัน มันจะปรุงแต่งอย่างไร ถ้าเรามี “สติ” ไม่หลงไปตามมันและ ไม่พยายามไปดับมัน มันก็ละจากอารมณ์น้ันๆ เองโดยไม่ตอ้ ง 103


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ไปท�ำกริยาละปล่อยวาง จ�ำไว้ให้ข้นึ ใจนะ ถ้าสติไม่ขาด สักแต่ว่ารู ้ ก็เท่ากับปล่อยวางไปในตัวแลว้ ไม่ตอ้ งไปท�ำอาการละอารมณ์ อะไรอีก ไม่มกี ารท�ำ ไม่มกี ารเอาอะไรอีก ถ้าจะเอาแต่ความสุข ทุกข์ไม่เอา แสดงว่ามันชอบฝ่ ายหนึ่งไม่ชอบอีกฝ่ ายหนึ่ง คือ ดีรกั ชัว่ ชัง หรือรักสุขเกลียดทุกข์ นัน่ เป็ น “กิเลส” ซึ่งตรงขา้ ม พระนิพพาน มันไม่พน้ ทุกข์ก็เพราะตรงนี้ สิ่งใดชอบก็อยากกอบ เข า้ หาตัว สิ่ง ใดว่ า ชัว่ เพราะไม่ ช อบใจก็ อ ยากผลัก ไสออกไป ยังมีดูด มีผลัก มันเป็ นกิเลส ตัณหาซึ่งเป็ นเหตุให้เกิดทุกข์อยู่ จึงไม่พน้ ทุกข์ในขณะปัจจุบนั นี้ ถ้ามีสติปญ ั ญาเห็นเหตุตรงนี้แลว้ ก็วางหมดทัง้ สองด้านเดีย๋ วนี้ ไม่เอาอะไรเลย ไม่ยดึ ถืออะไรเลย ทุกอย่างก็ว่างเปล่า หลวงปู่ ทา จารุ ธ มั โม พ่ อ แม่ ค รู อ าจารย์เ คยพู ด กับ คน ที่มีความทุกข์ ความเครียด หงุดหงิดกับจิตใจที่ไม่สงบเสียที ในขณะทีพ่ บหน้าว่า “สงบก็เอา ไม่สงบก็เอา เอามันทัง้ นั้นแหละ” แค่ น ั้น แหละเขาก็ ห วั เราะออกมาทัน ที คื อ ท่ า นไม่ ใ ห้มีกิ เ ลส ต่ อความรู ส้ ึกทัง้ สองฝ่ าย ไม่ให้มีรกั มีชงั ต่ อสิ่งที่เป็ นของมีคู่ ตรงกันขา้ ม เช่น สุขกับทุกข์ จิตมีอาการโปร่ง โล่ง เบา สบาย ว่าง กับ จิตมีอาการตรงกันขา้ ม กุศลกับอกุศล เป็ นต้น ให้ปล่อยวาง ความยึดถือเสีย ถ้ายังมีความหวังความปรารถนายังจะไปเอา อะไร แม้จะไปเอาความสุขที่ปราศจากทุกข์หรือพระนิ พพาน 104


อ่านใจตัวเองให้ ขาด : จบซะที

ก็ยงั ไม่พน้ ทุกข์ในปัจจุบนั ถ้ายังจะไปเอาอะไรมันพ้นทุกข์ใน ปัจจุบนั นี้ ไม่ได้หรอก เพราะยังมีกิเลส มีความคาดหวังว่าเดี๋ยว จะพ้นทุกข์ในอนาคต มันเป็ นกิเลสในปัจจุบนั ต้องปล่อยวางผู ้ จะเอา หรือปล่อยวางความอยากเสียทัง้ หมดในปัจจุบนั นี้ เดีย๋ วนี้ จึงพ้นทุกข์เดี๋ยวนี้ เพราะฉะนัน้ เราต้องอ่านใจเราให้ขาดว่า วางเพื่อจะเอาหรือ วางเพื่อปล่อยวางจริงๆ วางผูจ้ ะเอา ผูอ้ ยากได้ อยากเป็ น หรือ ถ้าไม่ชอบใจก็ไม่อยากจะให้เป็ น วางแลว้ วางเลย ไม่ใช่ปล่อยวาง เพื่อจะไปเอาอะไรอีก จิตที่ด้ นิ รนค้นหาจะไปให้ถงึ “ใจ หรือ จิตเดิมแท้” ซึ่งเป็ น ความว่ า งจากความปรุ ง แต่ ง หรือ ว่ า งจากตัว ตนก็ เ ป็ น กิเ ลสใน ขณะปัจจุบนั ให้มี “สติ” รู เ้ ท่าทันทันที ให้มสี ติปญ ั ญาเห็นขณะ จิตเริ่มคิดปรุงแต่งเป็ นเราแลว้ เอาตัวเราไปค้นหา ถ้าไปค้นหาไป สงสัยตามก็จะหลงไปเป็ นจิตปรุงแต่ งทันที และอย่าหลงไปมุ่ง รู แ้ ต่ความไม่มีหรือความว่าง มันจะเป็ นกิเลสเพราะหลงยึดถือ ความว่าง ให้มสี ติปญ ั ญาสังเกตเห็นว่า ในความว่างนัน้ มีตวั เราที่ เขา้ ไปดู เขา้ ไปเสพอาการของความว่าง พึงพอใจกับความว่างนัน้ ถ้ายังมีอาการของผูด้ ู ผูเ้ สวย ก็หลงยึดถือทัง้ หมดนัน่ แหละ

105


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ให้มนั เลยจาก... ความมีเราไปสู่ความไม่มีเรา โดยเห็นว่า มีแต่สงั ขารที่เกิดขึ้นแล้วดับไป แม้แต่จติ ปรุงแต่งเป็ นตัวเราผูร้ ู ้ ผูเ้ ห็น ผูเ้ ข้าใจก็เป็ นสังขารหมด มีแต่สงั ขารที่เกิดขึ้นแล้วดับไป ในความไม่มีอะไรเกิดดับ (วิสงั ขาร) ปล่อยวางหมดทัง้ สังขารและ วิสงั ขาร คือไม่หลงเอาสังขารซึ่งเป็ นขันธ์หา้ ไปยึดถือสังขารและ วิสงั ขาร เพราะต้องเอา “สังขาร” ไปปรุงแต่งจึงจะไปยึดถือได้ ส่วน “วิสงั ขาร” เป็ นธรรมชาติท่ีไม่ปรุงแต่ง จึงไม่อาจเอาวิสงั ขาร ไปปรุงแต่งยึดถือได้ ถ้ายังมีการยึดถือ แสดงว่าหลงเอาขันธ์หา้ ซึ่ ง เป็ นสัง ขารมาปรุ ง แต่ ง เป็ นตัว เรา แล้ว เอาตัว เราไปยึด ถือ สิ่งต่างๆ ภายนอกขันธ์หา้ และยึดถือขันธ์หา้ ความหลงอย่างที่สุด คือความพยายามเอาขันธ์หา้ หรือ จิตปรุงแต่งซึ่งเป็ นสังขาร ไปดิ้นรนค้นหาไปยึด “วิสงั ขาร” ซึ่ง เป็ นความไม่มีอะไรที่จะปรากฏให้รบั รูไ้ ด้ทางวิญญาณขันธ์ หรือ เป็ นเหมื อ นความว่ า งของธรรมชาติ ห รือ จัก รวาล แล้ว จะเอา ความมี (มี ค วามปรุ ง แต่ ง ให้ถู ก รู้ ไ ด้) ไปหาไปยึ ด วิ ส งั ขาร (ความไม่ปรุงแต่ง ไม่มีอะไรให้ถูกรู้ได้) ได้อย่างไร มันต้องเอา สังขารไปหาไปยึดสังขาร จึงจะพบและยึดกันได้ เมื่อเอาสังขาร ไปหาวิสงั ขารก็หาไม่พบ เมื่อยึดก็ไม่มีอะไรให้ยึด ต้องหยุดหา หยุดยึด หยุดอยาก ต้องปล่อยวางทัง้ สังขารและวิสงั ขาร และ ปล่อยวางผูร้ ู ้ ผูป้ ล่อยวางด้วย เพราะผูร้ ู ้ ผูป้ ล่อยวางก็เป็ นสังขาร 106


อ่านใจตัวเองให้ ขาด : จบซะที

เมื่อสิ้นความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ แลว้ ในปัจจุบนั คงปล่อย ให้สงั ขารหรือขันธ์หา้ เขาเกิดๆ ดับๆ ในธรรมชาติท่ีไม่เกิดดับ โดยไม่มใี ครเขา้ ไปยึดถือ เมือ่ สิ้นผูย้ ดึ ถือ สังขารก็คงเป็ นสังขาร วิสงั ขารก็คงเป็ นวิสงั ขาร อยู่ตามปกติตามธรรมชาติของเขาอย่าง นัน้ ธรรมชาติของสังขารตกอยู่ใต้กฎไตรลักษณ์ คือ “อนิจจัง” คือ ความไม่เที่ยง “ทุกขัง” คือความเป็ นทุกข์ ทนอยู่สภาพเดิมไม่ได้ ต้องเสื่อมไป ต้องแก่ เจ็บตาย เป็ น “อนัตตา” ไม่มตี วั ตนคงที่ ไม่ใช่ ตวั เรา หรือไม่ใช่ ตวั ตนของเรา จึงไม่อยู่ในบังคับของเรา ส่วนธรรมชาติของวิสงั ขารไม่ปรากฏตัวตนหรืออาการใดๆ ไม่มี การเกิดดับ จึงไม่ตกอยู่ใต้กฎไตรลักษณ์ ทัง้ สังขารและวิสงั ขาร เป็ นธรรมชาติท่ีมีคุณสมบัติเป็ นอย่างนั้นเอง ไม่ได้เป็ นของใคร และไม่ใช่เป็ นเรา เป็ นตัวเรา หรือเป็ นตัวตนของเรา ซึง่ ทัง้ สังขาร และวิสงั ขารก็ตอ้ งอยู่ดว้ ยกันจนกว่าขันธ์หา้ จะแตกดับไป ส่วนร่างกายและจิตฝ่ ายนามธรรมคือเวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณเป็ นสังขารหรือเป็ นธรรมชาติปรุงแต่ ง ส่วน “ใจ” หรือ “จิตเดิมแท้” เป็ นวิสงั ขารหรือเป็ นธรรมชาติท่ีไม่ปรุงแต่ ง เป็ นเหมือนความว่างของธรรมชาติหรือจักรวาล เมื่อสิ้นผู ห้ ลง ยึดถือทัง้ สังขารและวิสงั ขาร “อวิชชา” ก็ดบั กิเลส ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ… และทุกข์ก็ดบั หมด 107


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

“อวิช ชา” คือ ความหลงยึด มัน่ ถือ มัน่ ว่ า ขัน ธ์ห า้ เป็ นเรา เป็ นตัวเรา เป็ นตัวตนของเรา หรือตัวเราเป็ นขันธ์หา้ หรือความ ไม่รูต้ น้ ไม่รูก้ ลาง ไม่รูป้ ลาย ไม่รู ้ “ต้น” คือไม่รู ้ ไม่เห็น ไม่พบ “ใจ” หรือ “จิตเดิมแท้” ซึ่งเป็ นความว่างตามปกติธรรมชาติของเขาตลอดเวลา ซึ่ง “ใจ” เป็ นธาตุรูต้ ามธรรมชาติท่ไี ม่มอี าการ แต่รู้ได้ ดังนัน้ ใจย่อมรู ว้ ่า ใจว่างเหมือนดัง่ จักรวาลโดยไม่มอี ะไรอยู่ในใจเลย ไม่มอี าการ ทีม่ คี ู่ตรงกันขา้ มอยู่ในใจ เช่น ไม่มเี วทนาสุขทุกข์ ไม่มผี ่องใสหรือ เศร้าหมอง ไม่มโี ปร่ง โล่ง เบา สบาย แมแ้ ต่ความรู ส้ กึ ว่างๆ หรือ อาการตรงกันขา้ ม ไม่มแี มแ้ ต่ตวั ใจทีเ่ ป็ นจิตเดิมแท้ คงปรากฏแต่ สังขารที่เกิดๆ ดับๆ แต่ไม่มผี ูร้ องรับ ไม่มผี ูเ้ สวย ไม่มผี ู้ยดึ ถือ ไม่รู ้ “กลาง” คือไม่มสี ติปญ ั ญารู เ้ ท่าทันขณะจิตหลงปรุง แต่ง หลงคิดตรึกตรอง ดิ้นรนค้นหา พยายามท�ำอะไรเพื่อให้ได้ อะไร หลงคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ วิจยั เพื่อจะให้มนั รู ้ ให้มนั เห็น ให้มนั ได้ ให้มนั เป็ น แอบมีความคาดหวังอยู่ในใจลึกๆ เดีย๋ วๆๆ ลองปฏิบตั ิก่อน เดีย๋ วเราจะได้... ได้รู.้ .. ได้เห็น... เราจะได้เป็ น... มีแต่เรา... เรา... เรา... ยังมีผูจ้ ะเอาอยู่ ก็เป็ นกิเลส ตัณหา ไม่รู ้ “ปลาย” คือไม่รูว้ ่าจิตไปมีกิเลส ตัณหา หรือไปมี อารมณ์ร่วมกับสิ่งที่ถูกรู้ในขณะปัจจุบนั นัน้ แลว้ 108


อ่านใจตัวเองให้ ขาด : จบซะที

ดังนัน้ ต้องมี “สติ ปัญญา” รูเ้ ท่าทันกิเลส ตัณหา คือรูเ้ ท่าทัน ขณะที่หลงคิดปรุงแต่ง คือหลงเป็ นผู้คิด เป็ นผูป้ รุงแต่ง ผูเ้ ล่น ผูแ้ สดง เพราะทัง้ ในธรรมชาติปรุงแต่งและไม่ปรุงแต่ง ไม่มตี วั ตน ของเราเลย คงมีแต่ “อวิชชา” คือความหลงผิดยึดถือขันธ์หา้ ว่า เป็ นเรา เป็ นตัวเรา เป็ นตัวตนของเรา หรือตัวเราเป็ นขันธ์หา้ แลว้ เอาขันธ์หา้ ซึ่งยึดถือเป็ นตัวเราเขา้ ไปดูจติ ไปไล่ดบั ความคิด หรือ ไปคิดตรึกตรอง ดิ้นรนค้นหา หาถูกหาผิด หาเหตุหาผล พยายาม ท�ำอะไรเพือ่ จะให้ได้ให้เป็ นอะไร อยากเอา อยากได้ อยากให้เป็ น อย่างนัน้ อยากให้เป็ นอย่างนี้ ถ้าไม่ถกู ใจก็อยากให้ไม่เป็ นอย่างนัน้ อยากให้ไม่เป็ นอย่างนี้ อ่านใจตัวเองให้ขาดทุกขณะปัจจุบนั หรือสังเกตให้ออก ว่าทุกขณะปัจจุบนั ว่ามีกิเลส ตัณหา คือมีผูจ้ ะเอาหรือไม่ ถ้าสิ้น ความหลงว่ามีตวั เราผูจ้ ะเอาเดีย๋ วนี้ มันก็หมดทัง้ กิเลสโลกกิเลส ธรรม คนไม่ได้ปฏิบตั ิธรรมก็จะเอา จะเอา จะเอา... ให้ได้มาก ยิ่งขึ้นไป ขึ้นไป... ไม่รู้จกั พอ ส่วนผูป้ ฏิบตั ิธรรมก็จะเอา จะเอา จะเอา... เอาธรรม เอาจิตดี เอานิพพาน มีแต่กิเลสด้วยกันทัง้ นัน้ ถ้าสิ้นหลงว่ามีตวั เราจะไปเอาอะไรทัง้ หมดในปัจจุบนั นี้ เดี๋ยวนี้ ก็ส้ นิ กิเลสหมดเลย ให้ยอ้ นถามตัวเองทุกครัง้ ว่า “เราหมกมุน่ ท�ำอะไรอยู่อย่างนี้ เพื่อจะไปเอาอะไรหรือไม่” แมแ้ ต่เดินจงกรม นัง่ สมาธิ เราก็ตอ้ ง 109


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ถามตัวเองอยู่ตลอดเวลาว่า “เราจะไปเอาอะไรหรือเปล่า” แต่ ไม่ใช่ไม่ให้เดินจงกรม ไม่ให้นงั ่ สมาธินะ เดินจงกรมหรือนัง่ สมาธิ ก็เพือ่ จะดูใจเราว่ามีตวั เราผูจ้ ะไปเอาอะไรไหม แค่รูเ้ ฉยๆ นะใช้ได้ ถ้าจะเอาจิตดี จะเอานิพพาน กิเลสทัง้ นัน้ เลยเป็ นอวิชชาหมด แค่ รูแ้ ค่ สงั เกตเห็นว่ามีตวั เราผูจ้ ะเอาไหม อ่านใจตัวเองให้ขาด ทุกคนนะ ถามว่าเราปฏิบตั ิธรรมเพื่อจะให้ได้อะไร ตอบว่าไม่ได้ อะไรเลย มีแต่กิเลส คือความโลภ โกรธ หลง หรือราคะ โทสะ โมหะ ทิฏฐิมานะหมดไปเท่านั้น หรือสิ้นตัวตนของผูอ้ ยากจะไป เอาอะไรเดีย๋ วนี้ “อวิชชา” ก็ดบั จะเป็ นเหตุให้สงั ขาร วิญญาณ นามรู ป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส คือความทุกข์โศก เศร้าเสียใจคับแค้นใจในวงจรปฏิจจสมุปบาทดับหมด สิ้นตัวเดียว คือสิ้นความหลงคิดปรุงแต่งหลงยึดถือขันธ์หา้ ว่าเป็ นตัวเรา แล ้วเอาตัวเราไปยึดถือสิง่ ต่างๆ แมแ้ ต่ยดึ ถือขันธ์หา้ เสีย เอง และจะพยายามยึด ถือ วิส งั ขาร หรือ เอาตัว เราที่ห ลง ปรุงแต่งยึดถือนัน้ ไปเป็ นผูด้ ู ผูร้ ู ้ ผูค้ ิด ตรึกตรอง ดิ้นรนค้นหา ไปเป็ นผูเ้ ล่น ผูแ้ สดง เรียกว่าหลงยึดถือสังขาร และหลงสังขาร คือหลงคิดปรุงแต่งเป็ นผูเ้ ล่น ผูแ้ สดง ที่ทำ� อย่างนี้ก็เพราะหลง เอาขัน ธ์ห า้ มาคิ ด ปรุ ง แต่ ง เป็ น ตัว เรา จึง มีต วั เราผู อ้ ยากหรื อ ไม่อยาก ซึง่ เป็ นกิเลส ตัณหา เมือ่ มีสติ ปัญญาเห็นตามความเป็ นจริง 110


อ่านใจตัวเองให้ ขาด : จบซะที

ว่า หลงเอาขัน ธ์ห า้ มาคิด ปรุ ง แต่ ง เป็ น ตัว เราแล ว้ เอาตัว เราไป ยึดถือหรือคิดปรุงแต่งในลักษณะต่างๆ เพือ่ ตัวเราจะไปเอาไปได้ อะไร ซึ่งแท้จริงในธรรมชาติปรุงแต่งและไม่ปรุงแต่งไม่มตี วั ตน ของเราอยู่เลย เมื่อสิ้นหลงเพราะรู เ้ ห็นตามความเป็ นจริง จน ใจยอมรับตามความเป็ นจริง ความหลงผิด “อวิชชา” ก็ดบั เมือ่ “อวิชชา” ดับ กิเลส ตัณหา และความทุกข์ก็ดบั พร้อม เหมือน กับเมือ่ สับสวิตซ์หรือคัทเอาท์ใหญ่คือ “อวิชชา” ลงเท่านัน้ กระแส วงจรไฟฟ้ าก็ดบั ทัง้ หมด ผูป้ ฏิบตั ิธรรมต้องรูว้ ่าจะดับกระบวนการเกิดกิเลส ตัณหา ที่ เ ป็ นเหตุใ ห้เ กิด ทุก ข์แ ละเกิด การเวี ย นว่ า ยตายเกิด ได้ โ ดย “ดับอวิชชา” เหมือนกับเวลาไฟช็อต ก็จะต้องรู ว้ ่าจะสับสวิตซ์ หรือคัทเอาท์ทต่ี รงไหน จึงต้องดับทีค่ วามเห็นผิดหลงคิดปรุงแต่ง ยึดถือเอาขันธ์หา้ มาเป็ นเรา เป็ นตัวเรา เป็ นตัวตนของเรา หรือ สิ้นหลงคิดปรุงแต่งยึดถือว่ามีตวั เราอยู่ในขันธ์หา้ แลว้ เอาตัวเรา ไปยึดถือสิ่งต่ างๆ หรือหลงคิดปรุงแต่ งในลักษณะต่ างๆ เพื่อ จะเอาตัวเราไปเอาอะไร ดัง นัน้ ต้อ งท�ำ ความเห็น ผิด ให้เ ป็ น ความเห็น ถูก ว่า ใน ธรรมชาติมแี ต่ “สังขาร” ทีเ่ ป็ นธรรมชาติปรุงแต่งเรียกว่า “ขันธ์หา้ ” คือตัวสมมุติของเราซึ่งเป็ นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา และนอกจาก ขันธ์หา้ ก็มี “วิสงั ขาร” ที่เป็ นธรรมชาติไม่ปรุงแต่งเรียกว่า “ใจ” 111


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

หรือ “จิตเดิมแท้” มีคุณสมบัติเป็ นอสรีรงั ไม่มรี ู ปพรรณสัณฐาน ใด เป็ นสุญญตา มหาสุญญตา จักรวาลเดิม เป็ นความว่างที่ไร้ รู ปลักษณ์ ไร้ร่องรอย เปรียบเหมือนกับความว่างของธรรมชาติ ดังนั้นเมื่อสิ้นความหลงผิดว่ามีตวั เราผูจ้ ะไปเอาอะไร “อวิชชา” ก็ดบั ก็จะสิ้นผูห้ ลงยึดถือทัง้ สังขารและวิสงั ขาร สิ้นกิเลส ตัณหา จะพ้นทุกข์… นิ พพาน

112


จบซะที

๑๑ รู้เดี๋ยวนี้ ละเดี๋ยวนี้ วางหมดในปัจจุบัน “อดีตเป็ นธรรมเมา อนาคตเป็ นธรรมเมา รู ป้ จั จุบนั ละในปัจจุบนั เท่านั้น จึงเป็ นธรรมะ” ไม่ว่าจะเกิดความความอัศจรรย์อย่างไรขึ้นในใจ จะดีเลิศ ขนาดไหน จะเป็ นอย่างไรก็ตาม จะต้องไม่หลงไปกับมัน ต้อง รูเ้ ท่าทัน ได้แต่วางอย่างเดียว เพราะสิง่ ทีเ่ กิดขึ้นแลว้ ผ่านไปก็เป็ น อดีตไปแลว้ เราต้องรู ล้ งปัจจุบนั และละวางลงในปัจจุบนั เท่านัน้ รู้จิตปัจจุบนั ละจิตปัจจุบนั รู้จิตปัจจุบนั ปล่อยวางจิตปัจจุบนั สักแต่ว่า รู้จิตปัจจุบนั สิ้นผูเ้ สวย สิ้นผูย้ ดึ มัน่ ถือมัน่ จิตปัจจุบนั ก็จะสิ้นตัวตน สิ้นมีตวั เราหลงไปยึดถือสิ่งต่ างๆ ไม่มอี ศั จรรย์ อะไรหรอก วางนั้ น แหละคื อ อัศ จรรย์ ถ้า ไม่ ว างก็ไ ม่ มี อ ะไร อัศจรรย์ 113


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ไม่ใช่เพียงแค่วางสภาวะ เราต้องอ่านใจตัวเองให้ออก ว่าใน ปัจจุบนั นี้เราปฏิบตั ิเพื่ออะไร เราจะไปเอาอะไร อยากจะได้อะไร แลว้ ยังไม่สมปรารถนา ต้องวางความปรารถนาให้หมดสิ้นไป แมแ้ ต่ผูป้ รารถนาความพน้ ทุกข์ ปรารถนาพระนิพพาน แลว้ ไม่ ได้อย่างใจจะเป็ นทุกข์ท่สี ุด ต้องวางความปรารถนาแมค้ วามสุข พระพุท ธเจ้า ร�ำ พึง ตอนตรัส รู เ้ ป็ น พระพุท ธเจ้า ว่ า “เมื่ อ ความ ปรารถนาความสุข หรือความปรารถนาพระนิ พพานหมดไป ความทุกข์ก็หมดไปพร้อม” เมือ่ ก่อนหลวงตาโดนพ่อแม่ครู อาจารย์เรียกไปหา ท่านว่า “หลวงตาพิจารณาดู ให้ดีๆ กิเลสไม่มแี ลว้ ท�ำไมจึงยังไม่บรรลุ นิพพาน” หลวงตาก็คิดว่า แหม! เราก็เจ็บปวดตรงจุดนี้อยู่แลว้ ท่านเหมือนตอกย�ำ้ เขา้ มา โอ้ โหย! น�ำ้ ตาจะร่วงเลย เพราะในใจ ของเรามีความหมายอย่างเดียว คือมันโหยหา มันหิวนิพพาน อย่ า งเดีย ว อย่ า งอื่น ไม่ไ ด้มีค วามหมายเลย มาบวชก็ส ละมา ทัง้ หมดแลว้ ทิ้งต�ำแหน่ ง เงินทอง ที่ดนิ ครอบครัว ความสะดวก สบายทุก อย่ า งแล ว้ เราก็ ไ ม่ รู ว้ ่ า ความปรารถนานิ พ พานอัน นี้ แหละท�ำให้เราเป็ นทุกข์อย่างมาก แลว้ เหตุท่ีทำ� ให้เราไม่บรรลุ พระนิพพานก็เพราะเหตุน้ ีอกี นัน่ แหละ เราก็พจิ ารณาย้อนกลับไป กลับมา ค่อยๆ วางมันลง แต่ก็ไม่ใช่วางง่ายๆ นะ เพราะอยาก มานาน วันดีคืนดีมนั ก็กระโดดขึ้นมาอีก อยากๆ…. ไปนัง่ สมาธิ 114


รู้เดี๋ยวนี ้ ละเดี๋ยวนี ้ วางหมดในปั จจุบนั : จบซะที

ไปเดินจงกรมมากๆ เผื่อจะนิพพานบา้ ง มารู ต้ วั อีกทีมนั ไม่ได้ส้ นิ จริงๆ นี่นา มันหลอกอยู่ในใจ ยังมีผูจ้ ะไปเอาอยู่ ของเหล่านี้ตอ้ ง เห็นด้วยตัวเองเป็ นปัจจัตตัง ไม่มใี ครไปช่วยกันได้จริงๆ สมอย่าง ที่พ่อแม่ครู อาจารย์ท่านบอก เราต้องเห็นเองและเราก็ตอ้ งวางไป วางไป วางแมค้ วามอยากได้ความสุขหรือนิพพานเสีย ถ้ายอมวาง เพือ่ จะไปเอานิพพาน แสดงว่าวางไม่จริง วางจริงคือไม่มีผู้ไปเอา ปฏิบ ตั ิมีแ ค่ น้ ี แ หละ การปฏิบ ตั ิท่ีดี ท่ีสุด คือ สิ้น ผู จ้ ะเอา คือไม่มีการกระท�ำอะไรทางใจเพื่อจะไปเอาอะไรเลย ต้องอ่าน ใจตนเองให้ขาดทุกขณะปัจจุบนั ไม่ใช่ว่าไม่ทำ� อะไรแลว้ ยึดทุกอย่าง อย่างนี้ก็ไม่ใช่ แต่ท่ถี ูก คือไม่กระท�ำอะไรทางใจเพราะไม่มผี ู้ยดึ หรือไม่มผี ูจ้ ะไปเอาอะไร ดังค�ำสวดมนต์ท่สี วดกันประจ�ำ ที่ว่า ภารา หะเวปัญจักขันธา ขันธ์ทงั้ ห้าเป็ นของหนักเน้อ ภาระหาโร จะ ปุคคะโล บุคคลทัง้ หลายแบกขันธ์หา้ ยึดถือขันธ์หา้ เป็ นของหนักไป ภาราทานัง ทุกขัง โลเก การแบกขันธ์หา้ การยึดถือขันธ์หา้ เป็ นทุกข์ในโลก 115


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

116

ภาระนิ กเขปะนัง สุขงั การปล่อยวางขันธ์หา้ เสียได้ เป็ นความสุข นิ กขิปิตวา คะรุง ภารัง ครัน้ ปล่อยวางขันธ์หา้ ได้แลว้ อัญญัง ภารัง อะนาทิยะ ไม่ยดึ ถืออย่างอื่นมาเป็ นภาระหนักอีก คือสิ้นผูจ้ ะเอา…. สะมูลงั ตัณหัง อัพพุฬหะ ก็เป็ นผู้ร้ อื ถอนตัณหา ซึง่ เป็ นต้นเหตุให้มกี ารเกิดทุกข์ และเกิดการเวียนว่ายตายเกิด เสียได้ นิ จฉาโต ปะรินิพพุโตติ ดับความอยาก ความปรารถนา ดับเพลิงกิเลส และความทุกข์สนิทไม่มสี ่วนเหลือ


จบซะที

๑๒ ยิ่งหายิ่งตัน (ตัณหา)

เมือ่ “ตัณหา” ดับ จะเป็ นเหตุให้อุปาทาน ภพ ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาสดับหมด คือความ ทุกข์ โศกเศร้า เสียใจ คับแค้นใจ และความเวียนว่ายตายเกิด ดับพร้อม เพราะเหตุตณ ั หาดับ ตัณหาก็เกิดจาก “อวิชชา” คือ หลงยึดมัน่ ถือมัน่ ว่าขันธ์หา้ เป็ นตัวตนของเรา หรือตัวเราเป็ น ขันธ์หา้ แล้วเอาความหลงว่ามีตวั ตนของเราไปยึดถือ ท�ำให้ เกิดกิเลส ตัณหา อุปาทานต่อสิ่งต่างๆ เพราะฉะนั้นถ้าอวิชชาดับ กิเลส ตัณหาก็จะดับ เพราะสิ้นผูย้ ึดถือ หรือไม่มีความรู ส้ กึ ว่า มีตวั เราเข้าไปมีส่วนได้เสีย การดิ้นรนค้นหา ยิ่งหา ก็ย่ิงไม่เห็นเพราะ “การหา” คือ กิเลส ตัณหา มาบังตา บังใจ บังนิพพาน ยิ่งหาก็ย่ิงตันเพราะ 117


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

มันเป็ นตัณหา คือ หาตัน แค่เสี้ยววินาทีเดียวที่เราไป “หา” นัน่ เป็ นตัณหาแลว้ ต้องมีสติเห็นขณะจิตที่เริ่มต้นเอาตัวเราไปคิด ไปปรุงแต่งแสดงกริยาอาการ “หา” ขึ้นมา พอเริ่มหาให้มสี ติ ปัญญา รู เ้ ท่าทันทันที ตัณหาก็ดบั อุปาทาน ภพ ชาติ…ทุกข์ก็ดบั ในการปฏิบตั ิธรรมอะไรที่คิดว่า “ใช่ แล้ว… ใช่ แล้ว…” เช่น ความเบาสบายหรือความว่างนี้ใช่ เลย อันนัน้ ก�ำลังติดอยู่ คือ ติดสบาย ติดว่าง การที่เราจะไปพยายามดับอาการต่างๆ ที่ทำ� ให้ ไม่ส บายหรือ อาการจุ๊ก จิก๊ ๆ ในหัว ใจเพื่อ ให้เ ราสบายขึ้น นัน่ เป็ นกิเลส ตัณหา เป็ นเหตุให้เกิดทุกข์ อาการที่ ไ ม่ ถู ก ใจเป็ นทุ ก ขเวทนา อาการที่ ถู ก ใจเป็ น สุ ขเวทนา อาการที่เป็ นกลางๆ เป็ นอทุกขมสุ ขเวทนา มันคือ “ขัน ธ์ห า้ ” เป็ น อนิ จ จัง มีค วามไม่เ ที่ย ง เป็ น ทุก ขัง คือ เป็ น ทุก ข์ ทนอยู่สภาพเดิมไม่ได้ เป็ นอนัตตาไม่ใช่ตวั ตน ไม่ใช่เรา ตัวเรา หรือตัวตนของเรา ดังนัน้ จะให้มแี ต่ อาการที่ถูกใจคือสุขเวทนา เพียงอย่างเดียวไม่ได้ และยังไม่ตายจะดับอาการที่ไม่ชอบใจให้ หายขาดก็ไม่ได้ เราไปหลงเข้าใจผิดว่า ถ้าอาการที่ไม่ชอบใจใน ใจเราดับหมด เราจะสบาย เราจะว่าง เรามีตวั ตนของเราไปติด สบาย ติดว่างแล้วไปผลักไสอาการที่ไม่สบาย อย่างนี้ เป็ นอวิชชา กิเลส ตัณหา… และทุกข์ 118


ยิ่งหายิ่งตัน (ตัณหา) : จบซะที

อะไรที่เกิดเองปล่อยมัน เดีย๋ วมันก็ดบั เอง สมดังที่ว่า “ยังกิญจิ สะมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิ โรธะธัมมันติ” “สิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นมาเป็ นธรรมดา สิ่งทัง้ หมดนัน้ ย่อมดับไปเป็ นธรรมดา”

หรือ ปล่อ ยให้อ าการต่ า งๆ เขาแสดงหรือ เกิ ด ขึ้น มาเอง แลว้ ดับไปเอง โดยไม่มคี วามรู ส้ กึ ว่ามีตวั เราเขา้ ไปเสวย เขา้ ไป มีส่วนได้เสีย หรือเขา้ ไปยึดถืออาการเหล่านัน้ ถ้ามีตวั เราไปเริ่มลงมือกระท�ำอะไรภายในใจขึ้นมาก่ อน โดยที่ไม่ใช่ ว่าจิตเขาคิดหรือแสดงกริยาอาการต่ างๆ ขึ้นมาเอง แล ้วดับไปเอง จะเป็ นอวิชชาหมด ยกเวน้ แต่ตงั้ ใจจะคิดเรื่องอะไร จบแลว้ ก็วางไป ไม่ใช่มแี ต่ตงั้ ใจคิดตลอดเวลาตลอดชีวติ โดย ไม่หยุดพักเสียบา้ ง อย่างนี้ก็มแี ต่ความทุกข์ ความเครียดสะสม แต่ ท่ีบ อกว่า หมดเรื่อ งตัง้ ใจคิด แล ว้ ก็ ไ ปดู ห นัง ฟัง เพลง เล่น โทรศัพท์มอื ถือ ดื่มเหลา้ เล่นการพนัน สังสรรค์ร่ืนเริง แลว้ บอก ว่าหยุดตัง้ ใจคิดเรื่องการงาน แลว้ ไปพักผ่อนให้หายทุกข์ หาย เครียด อย่างนี้มนั สบายบนกองทุกข์ ไม่ได้ทำ� ให้พน้ ทุกข์จริง ยังจะ ต้องทุกข์กบั ความแก่ เจ็บ ตาย ความพลัดพรากจากสิ่งที่รกั ความไม่สมหวัง ไม่สมปรารถนา ความกังวลใจ ความไม่สบาย กายไม่สบายใจ ความประสบกับสิ่งที่ไม่เป็ นที่รกั ที่พอใจ ซึ่งลว้ น 119


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

แต่ เ ป็ น ทุก ข์ แต่ ทุก ข์แ ล ว้ ทุก ข์อีก ไม่รู จ้ กั เข็ด หลาบ แล ว้ ก็เ อา อย่างอื่นมากลบทุกข์ได้เป็ นคราวๆ ในที่สุดก็หนีความทุกข์อย่าง แสนสาหัสไม่ได้ คือความแก่ ความเจ็บไข้ได้ป่วยทุกข์ทรมานที่ โรงพยาบาล ความกลัวตาย มิฉะนัน้ ก็ตอ้ งทุกข์ใจอย่างที่สุดเมือ่ คนที่รกั จะตายจากไป หรือต้องพลัดพรากไป ไม่มใี ครหลีกหนี พน้ ไม่ว่าจะร�ำ่ รวยปานใดก็ตอ้ งจบลงอย่างนี้ ทัง้ หมดที่มอี ยู่ไม่ อาจจะเอาไปได้ มีแต่บญ ุ กับบาปทีต่ ดิ จิตทีย่ ดึ ถือไปเท่านัน้ หลาย คนที่แพทย์บอกว่าคุณเป็ นมะเร็งระยะสุดท้าย จะอยู่ได้ไม่ก่ีวนั จะทุกข์มากจนสติแตก และมิใช่ ตายแลว้ จะพน้ ทุกข์นะ ถ้ายัง ยึดถืออยู่ วิญญาณที่ออกจากร่ างไม่ดบั ก็จะแบกทุกข์ไปด้วย จนกว่าจะไปเกิดในร่างใหม่ ส่วนใหญ่จะไปเกิดเป็ นสัตว์เดรัจฉาน เปรต อสุรกาย สัตว์นรก เพราะขณะที่มชี ีวติ อยู่มแี ต่ปล่อยใจไป ตามกิเลส ตัณหาแทบทัง้ นัน้ ก็จะยิ่งทุกข์ในร่างใหม่มากกว่าเดิม ต้อ งเพีย รปฏิบ ตั ิต ามค�ำ สอนของพระพุท ธเจ้า เพื่อ ให้ หลุดพ้นจากความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ ในร่างกายและในจิต ซึ่ง เป็ นธรรมชาติปรุงแต่งหรือเรียกว่าขันธ์หา้ ได้แก่ รู ป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ โดยต้องมีสติ ปัญญาให้เห็นตาม ความเป็ นจริงว่า ขันธ์หา้ เป็ นสิ่งผสมปรุงแต่งจากธาตุต่างๆ คือ ธาตุดิน ธาตุนำ �้ ธาตุลม ธาตุไฟ และธาตุรู ้ เป็ นของไม่เที่ยง 120


ยิ่งหายิ่งตัน (ตัณหา) : จบซะที

เกิดขึ้นแลว้ ก็ดบั ไป เป็ นทุกข์ ทนอยู่สภาพเดิมไม่ได้ ต้องแก่เจ็บ ตายเน่ าเปื่ อยผุพงั กลับไปเป็ นธาตุต่างๆ ตามเดิม ไม่ใช่ ตวั ตน คงที่ จึงไม่ใช่เรา ตัวเรา หรือตัวตนของเรา ดังนัน้ อย่าไปหลง ยึดมัน่ ถือเอาขันธ์หา้ ซึ่งเป็ นสังขารหรือสิ่งปรุงแต่ งมาเป็ นตัวเรา หรือตัวตนของเรา เมือ่ สิ้นหลงยึดมันถื ่ อมันก็ ่ จะพบว่าในตัวของเรามี “ใจหรือ จิตเดิมแท้” ซึง่ เป็ นธาตุรู้ซง่ึ เป็ นธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง เป็ นวิสงั ขาร หรืออสังขตธาตุ เป็ นความว่างเหมือนกับความว่างของธรรมชาติ หรือจักรวาล สาเหตุท่เี ราไม่พบใจหรือธาตุรูท้ ่ีว่างเปล่า ก็เพราะ ยึดขันธ์ ขันธ์จงึ บังธรรม ดังนัน้ ต้องหยุดคิด หยุดปรุงแต่ง หยุดดิ้นรนค้นหา เพราะ เท่ า กับ ยึด ถือ ขัน ธ์ห า้ เป็ น ตัว ตนของเรา แล ว้ เอาตัว เราไปคิ ด ไปปรุงแต่ง จึงเป็ นอวิชชา กิเลส ตัณหา อุปาทาน…เป็ นทุกข์ จึง ต้อ งให้มี ส ติใ นทุก ขณะที่ไ ม่ มี ค วามจ�ำ เป็ นต้อ งตัง้ ใจ คิด อะไร แล้ว ขณะจิต นั้น อย่ า มี ต วั เราคิด หรือ ปรุ ง แต่ ง แสดง อาการใดขึ้นมาก่อน โดยปล่อยให้จิตเขาคิดหรือแสดงอาการ ขึ้นมาก่อน แล้วดับไปของเขาเอง หรือเกิดเองดับเอง... เกิดเอง ดับเอง... เกิดเองดับเอง... โดยไม่มีตวั เราเข้าไปยึดถือ ก็จะพบใจ ที่ว่างเปล่าจากความปรุงแต่ง หรือสิ้นสังขารก็มีธรรม 121


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

สังเกตให้ดๆี ถ้าขณะจิตปัจจุบนั ปรากฏกริยาอาการเริ่มต้น เขา้ ไปดู จิต หรือพยายามจะไปท�ำอะไรเพื่อให้เป็ นอะไร หรือจะ พยายามปล่อยวาง ต้องรู เ้ ท่าทัน ปล่อยวางผูป้ ล่อยวาง ก็เท่ากับ ปล่อยวางตัวเรา ถ้าขณะจิตใดมีตวั เราเริ่มต้นคิดหรือปรุงแต่ ง จะท�ำอะไร ก็ตอ้ งมีสติ ปัญญาวางไปตลอดเวลา จนขณะจิตใด ที่เห็นว่า จิตเขาเริ่มต้นคิดหรือปรุงแต่งขึ้นมาเอง โดยไม่มตี วั เรา เป็ นผู เ้ ริ่มต้นคิดหรือแสดงกริยาอาการใดขึ้นมาก่ อน คงมีแต่ จิตคิดเอง ปรุงเกิดขึ้นมาเอง แล ้วดับไปเอง หรือเกิดเอง... ดับเอง เกิดเอง... ดับเอง จึงจะพบ “ใจ” ซึง่ เป็ นธาตุรูท้ ว่ี า่ งเปล่า ไม่มกี ริยา อาการใดปรากฏเลย แมแ้ ต่ว่ามีความรู ส้ กึ ว่าตัวเราเขา้ ใจแลว้ รู แ้ จ้งแลว้ ก็ตอ้ ง ปล่อ ยวางตัว เราที่เ ข า้ ใจไป ขณะจิต ใดมีค วามรู ส้ ึก ว่า มีต วั เรา เขา้ ไปเสวยอะไร หรือมีตวั เราเขา้ ไปมีส่วนได้เสีย แสดงว่ายังหลง ยึดถือขันธ์หา้ ว่าเป็ นตัวตนของเรา วางตัวเรานัน้ เสีย ความรู ส้ กึ ว่ า มี ต วั เรา หรือ ยึ ด ถือ สิ่ง ใดว่ า เป็ นของเราได้น้ั น ก็เ พราะมี ตัวเราเริ่มต้นคิดหรือปรุงแต่งขึ้นมา แต่ถา้ เห็นจิตเขาคิดหรือ แสดงกริยาขึ้นมาเอง แล้วดับไปเอง เกิดเอง...ดับเอง ก็จะไม่มีตวั เราเกิดขึ้นมาในความรู ส้ กึ จะมีแต่จติ ปรุงแต่งเกิดเอง...ดับเอง เกิดเอง...ดับเอง ในใจที่ว่างจากอาการปรุงแต่ง 122


ยิ่งหายิ่งตัน (ตัณหา) : จบซะที

ในความรู ส้ กึ เป็ นตัวเรา มันหลงเอาขันธ์หา้ มาคิดปรุงแต่ง ขึ้น มา ถ้า ไม่เ อาขัน ธ์ห า้ มาปรุ ง แต่ ง มัน จะเอาอะไรไปปรุ ง แต่ ง ขันธ์หา้ ไม่ ใช่ ปญ ั หา ปัญหาอยู่ตรงที่หลงยึดถือขันธ์หา้ มาเป็ น ตัวเรา แล ้วก็หลงว่ามีตวั เรายึดถืออะไร หรือจะไปเอาอะไร มีตวั เรา พยายามจะท�ำอะไรเพือ่ ให้เป็ นอะไร หรือพยายามไปจัดการอะไร ไม่หลงยึดถือขันธ์หา้ ว่าเป็ นตัวตนของเราซะอย่างเดียว แม้จะ มีกริยาอาการอย่างไร ไม่ว่าจะถูกใจหรือไม่ถูกใจ เป็ นกุศลหรือ อกุศลก็ตามก็เป็ นเพียงขันธ์หา้ ซึ่งเป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง ธรรมดา ไม่ได้เป็ นอวิชชา จึงไม่เป็ นกิเลส ตัณหา อุปาทาน… และทุกข์ ความคาดหวัง ความปรารถนานัน่ ก็เ ป็ นกิเ ลส ตัณ หา วางให้หมด ถ้ายังมีความคาดหวัง ความปรารถนาแสดงว่ายังหลง ยึดถือขันธ์หา้ ว่าเป็ นตัวตนของเรา แลว้ จะเอาขันธ์หา้ ไปเอา ไปได้ ไปเป็ นอะไร แมแ้ ต่ จะไปเอาความสุ ขหรือนิพพาน ถ้าสิ้นหลง ยึดถือขันธ์หา้ ว่าเป็ นตัวตนของเราเสียเท่านัน้ ทุกขณะปัจจุบนั มีแต่ ขนั ธ์หา้ ที่ปรุงแต่ งตามปกติธรรมชาติ ไม่มตี วั เราจะไปเอา อะไรเลย ไม่ยึด อะไร ไม่เ ป็ น อะไรสัก อย่ า งเดีย ว ก็ ว่า งเปล่า “อวิชชา” ก็ดบั กิเลส ตัณหา อุปาทาน… และทุกข์จะดับหมด ดังนัน้ วางให้หมดเลยทัง้ ผูท้ ่เี ขา้ ไปดูและสิ่งที่ถูกดูถูกรู ้ เพราะถ้า ยังมีตวั เราเขา้ ไปดูจติ ก็ยงั เป็ น “อวิชชา” ความทุกข์ กิเลส ตัณหา 123


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

อยู่ตรงนี้แหละ วางแลว้ เนี่ย อวิชชา กิเลส ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ และทุกข์ก็ดบั เดีย๋ วนี้ ถ้าวางแลว้ ว่าง เบาสบาย ก็จะมีอีกตัวมาเสพความว่าง ความเบาสบาย แต่ไม่ได้ไปท�ำลายความว่าง ความเบาสบายนะ แค่ รู ท้ นั ว่ า ยัง หลงยึด ถือ ขัน ธ์ห า้ ว่ า เป็ น ตัว ตนของเรา แล ว้ คิ ด ปรุงแต่งเอาตัวเราไปยึดหรือไปเสพความว่าง ความเบาสบาย ต้องมี “สติ ปัญญา” รู เ้ ท่าทันขณะจิตที่หลงเอาตัวเรา ไปเริ่มต้นคิดหรือปรุงแต่งแสดงกริยาอาการขึ้นมา โดยปล่อย ให้จติ เขาคิดหรือแสดงอาการขึ้นมาเอง แล้วดับไปเอง เกิดเอง ดับเอง… เห็นอย่างนี้ จนสิ้นหลงเอาตัวเราไปคิด ไปปรุงแต่ง ขึ้ นมาเอง ก็จ ะมี แ ต่ จิต เกิด ดับ ในใจที่ ไ ม่ ป รุ ง แต่ ง “อวิช ชา” ก็ดบั กิเลส ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ชรา มรณะ และทุกข์ ก็ดบั พร้อม

124


จบซะที

๑๓ มีตัวเราไปเอา เราเคยถามตัว เองไหมว่ า “เราปฏิบ ตั ิ ธ รรมเพื่อ อะไร” หลายๆ คนมักเขา้ ใจค�ำว่าปฏิบตั ิธรรมผิด ตอนแรกก็ยงั ดีๆ อยู่ พอเริ่มตัง้ ใจปฏิบตั ิ ก็เริ่มตัง้ ใจตัง้ เป้ าหมายว่าจะไปเอาอะไรแลว้ หลายๆ คนมักจะเอาตัวเราไปหา ไปเห็น ไปค้น ไปพยายามดิ้นรน เอาตัว เราถล�ำ เข า้ ไปเป็ น กิ เ ลส ทัง้ มีต วั เราจะไปเอานิ พ พาน ไปเอาแต่ความสุข อย่างนัน้ เป็ นกิเลสก่ อนแลว้ ไม่เป็ นนิพพาน หรอก “นิพพาน” คือสิ้นกิเลส มันตรงขา้ มกัน ถึงแมเ้ ราจะไม่ได้ปฏิบตั ิในรู ปแบบ ในท่านัง่ สมาธิหรือ เดินจงกรม แต่ตอ้ งมี “สติ” อยู่ตลอดเวลา สติขาดไม่ได้เพราะ “สติขาด สมาธิขาด ปัญญาขาด ธรรมขาด... เป็ นทุกข์ สติมี สมาธิมี ปัญญามี ธรรมมี... ไม่ทุกข์ สติเป็ นมหาสติ เป็ นมหาสมาธิ เป็ นมหาปัญญา เป็ นพระนิ พพาน... พ้นทุกข์ 125


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ถ้า “สติ ” มี สมาธิ แ ละปัญ ญาก็ มีห มด ดัง นั้น “สติ ” หายไม่ได้ อย่างอื่นหายได้ บางครัง้ ที่เ ราตัง้ ใจปฏิบ ตั ิใ นรู ป แบบ นัง่ สมาธิ ห รื อ เดิน จงกรม แต่กลับไม่มี “สติ” ถ้าตัง้ ใจปฏิบตั ิขณะใดแล้วเครียด ทุกที หรือปวดหัว หรือหนักๆ แน่ นๆ ทึบๆ ตื้อๆ ทุกที แสดงว่า ไม่มีสติ ปัญญา คือขาด “สติ ปัญญา” หลงยึดถือขันธ์หา้ ว่าเป็ น ตัวตนของเรา แลว้ ปรุงแต่งเอาตัวเราไปพยายามกระท�ำอะไรเพือ่ จะให้ได้ให้เป็ นอะไร อย่างนี้เป็ นกิเลสตัณหา เป็ นทางตรงขา้ ม นิพพาน จึงท�ำให้เป็ นทุกข์ รูส้ กึ ตึง มึน ทึบ จุกแน่น เครียด ปวดหัว แต่ท่ีรูต้ วั ว่าหลงมีตวั เราไปตัง้ ใจท�ำอะไรเพื่อจะเอาอะไร นี้ คือตัว สติ ปัญญา ให้ปล่อยวางการกระท�ำทางใจเช่นนั้นไป ส่วนท่าทาง ของร่างกายก็คงปฏิบตั ิต่อไปได้ สิง่ ที่ตอ้ งจดจ�ำไว้ให้ดคี ือ เมือ่ เราตัง้ ใจมีสติหรือตัง้ ใจลงมือ ปฏิบตั ิเพือ่ ให้มสี ติ แต่ไม่รูเ้ ท่าทันว่ามีตวั เราจะไปเอาอะไร แมแ้ ต่ จะไปเอาใจนิ่ง ใจสงบ ใจว่าง ก็เท่ากับไม่มสี ติ เพราะมีผูจ้ ะเอา เป็ นกิเลสตรงขา้ มนิพพาน หรืออยากมีสติ อยากมีสมาธิ อยาก สงบ อยากมีปญ ั ญา อยากสิ้นกิเลส อยากสิ้นยึด อยากให้ใจว่าง อยากพน้ ทุกข์ อยากมีแต่ความสุข อยากบรรลุนิพพาน เหล่านี้เป็ น กิเลสทัง้ หมด เป็ นทางตรงข ้ามนิพพาน เท่ากับไม่มสี ติ เมือ่ ไม่มสี ติ ก็ไม่มสี มาธิ ไม่มปี ญ ั ญา 126


มีตวั เราไปเอา : จบซะที

แมแ้ ต่ การท�ำงานในชีวติ ประจ�ำวัน เราก็ตอ้ งมีสติตงั้ ที่ใจ ดูท่ใี จ รู ท้ ่ใี จ สังเกตที่ใจ ละที่ใจ ปล่อยวางที่ใจตลอดเวลา จึงจะ ไม่ขาดสติหลงส่งจิตออกนอกไปสนใจอยู่กบั อารมณ์คือรูป เสียง กลิน่ รส สัมผัส และธรรมารมณ์ซง่ึ คือสิง่ ทีถ่ ูกรู ้ และอาการทีถ่ ูกรู ้ ในปัจจุบนั นัน้ โดยมีสติ ปัญญาสังเกตเห็นว่าทุกขณะกระทบ ในปัจจุบนั จิตหรือวิญญาณขันธ์จะท�ำหน้าที่ร่วมกับเจตสิกคือ เวทนา สัญญา สังขาร แลว้ จะมีความรู ส้ กึ ว่าตัวเราเป็ นผูร้ ู ้ เป็ นผู ้ คิดตรึกตรองเหมือนพากษ์ (วิพากษ์) หรือพูดอยู่ในใจตลอดเวลา ก็สกั แต่ว่ารู ้ สักแต่ว่าเห็นตรงความรู ส้ กึ ว่าตัวเราที่เป็ นผูร้ ู ้ ผูค้ ิด ผูต้ รึกตรอง ผูพ้ ูดหรือพากษ์อยู่ในใจนัน้ ตลอดเวลา ก็จะปล่อย วางตัวเราเสียได้ ซึ่งเหตุท่มี คี วามรู ส้ กึ ว่าตัวเราเป็ นผูร้ ู ้ ผูเ้ ห็น ผู ้ คิดตรึกตรอง พูด บ่น วิพากษ์ วิจารณ์อยู่ในใจนัน้ ก็เพราะหลง ยึดถือจิตหรือวิญญาณขันธ์ว่าเป็ นตัวตนของเรา ดังนั้น ทุกขณะปัจจุบนั ที่มีการกระทบ ไม่ให้สนใจแต่ส่งิ ที่ถูกรู ค้ ือ รู ป เสียง กลิ่น รส สัมผัส และธรรมารมณ์ ให้มีสติ ปัญญาสังเกตตรงที่มีความรู ส้ ึกว่าตัวเราเป็ นผูร้ ู ้ ผูค้ ิด ผูแ้ สดง อาการต่างๆ โดยสักแต่ว่ารู เ้ ท่านั้น ก็จะปล่อยวางความรู ส้ ึกที่ เป็ นตัวเราเสียได้ แล้วจะพบใจที่ว่างเปล่าจากอาการ นี่ แหละ เป็ น “วิธีปล่อยวางความรู ส้ กึ ว่าเป็ นตัวเรา” 127


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

บางครัง้ เรามีความรู ส้ กึ ว่าจิตมันว่าง โล่ง โปร่ง เบา สบาย ก็ไม่ให้สนใจอาการทีถ่ ูกรูเ้ หล่านัน้ มิฉะนัน้ จะหลงส่งจิตออกนอก ซึ่งเป็ นสมุทยั คือเหตุท่ีทำ� ให้เกิดทุกข์ แต่ ให้ยอ้ นถามตัวเองว่า ใครที่ไปรู อ้ าการเหล่านัน้ ก็จะได้คำ� ตอบว่าตัวเราเป็ นคนรู ้ ก็ให้ สัก แต่ ว่ า รู ท้ ่ีต วั เราที่คิ ด ตรึก ตรองเหมือ นพากษ์ห รือ พู ด หรือ แสดงอาการต่างๆ ในใจตลอดเวลา แม้ในความว่างก็มตี วั เราคิด ตรึกตรอง เหมือนพูดหรือพากษ์อยู่ในความว่าง ซึง่ เป็ นธรรมชาติ ของจิตหรือวิญญาณขันธ์ท่ีตอ้ งท�ำหน้าที่ร่วมกับเวทนา สัญญา สังขารทุกขณะทีม่ กี ารกระทบ ตัวคิดนึกตรึกตรองนี่แหละเหมือน พวกสิบแปดมงกุฎ จะลวงให้เราหลงไปตามมัน และจะไม่ดบั จนกว่าจะตาย ดังนัน้ ต้องมีสติ ปัญญา ตัง้ ที่ใจ ดูท่ใี จ รู ท้ ่ใี จ สังเกตที่ใจ ตลอดเวลา จะได้ไม่หลงไปตามเขา หรือไม่หลงส่งจิตออกนอก ถ้าไม่มสี ติ ปัญญา สังเกตเห็นตัวเราพูดหรือพากษ์อยู่ในใจคนเดียว ตลอดเวลา เราจะกลายไปเป็ นคนคิดฟุ้งซ่าน ขี้บ่น ขี้หงุดหงิด ขี้รำ� คาญ ถ้าเป็ นมากๆ อาจต้องไปพบจิตแพทย์ จึงให้รู ้ ให้ละ ที่ตวั เราที่พูด คิด ตรึกตรอง แสดงอาการต่างๆ ในใจ ก็จะพบ “ใจ” ไม่ใช่ ไปละหรือปล่อยวางอาการหรือสิ่งที่ถูกรู ้ ดังนัน้ ไม่ว่าภายในใจจะพูด หรือพากษ์ หรือคิดตรึกตรอง หรือแสดงอาการอย่างไรก็ตาม ก็ช่างมัน ไม่มใี ครไปเสวย หรือไป 128


มีตวั เราไปเอา : จบซะที

รองรับ ไปยึดถือ มันก็ดบั ของมันเอง ตัวรู ้ ตัวจ�ำได้ ตัวเขา้ ใจก็ เป็ นตัวสังขารในขันธ์หา้ อย่าไปหลงยึดถือว่าตัวเราเป็ นผูร้ ู ้ ผูเ้ ห็น ผู เ้ ขา้ ใจ ต้องวางไปให้หมด มันจะเป็ นอย่างไรอย่าไปยุ่งกับมัน เพราะใจหรือจิตเดิมแท้เป็ นธาตุรูท้ ่ีไม่มปี ฏิกิริยาใดๆ จะไปยุ่ง วุ่นวายกับใครไม่ได้ ปล่อยให้ตวั สังขารคิดนึ ก ตรึกตรองอยู่ในใจ เพราะมันเป็ นธรรมชาติปรุงแต่ง ก็สกั แต่ว่ารู ้ หรือปล่อยวางไป ให้หมด มันก็จะนึ กคิดหรือปรุงแต่งอยู่ในใจที่ว่างเปล่า แต่ไม่ใช่ หลงเอาตัวเราพยายามไปดู ไปรู ้ ไปเห็น ไปแยกแยะเพือ่ จะไปเอา อะไร ถ้ายังมีผูไ้ ปรู ้ คอยตรวจสอบอยู่อย่างนัน้ เลยกลายเป็ นมี ตัวเราหลงไปกระท�ำเพือ่ จะไปเอาอะไร ก็เป็ นกิเลสตัณหาเป็ นทาง ตรงขา้ มนิพพาน แลว้ จะพน้ ทุกข์ได้อย่างไร ต้อ งเห็น ว่ า ผู ท้ ่ีไ ปดู ไ ปรู เ้ ป็ นสัง ขารปรุ ง แต่ ง แต่ ใ จหรือ จิตเดิมแท้เป็ นวิสงั ขารไม่อาจปรุงแต่งได้ ไม่มกี ริยาอาการใดๆ ไม่มตี วั ตน ไม่มรี ูปร่าง ไม่มอี ะไรเลยซักอย่างเดียว แต่เป็ นความรู ้ ว่าสิ้นกิเลส สิ้นผูย้ ดึ มัน่ ถือมัน่ ทุกอย่างที่มที ่ปี รากฏขึ้นมา ลว้ น เกิดขึ้นแลว้ ดับไป ไม่เที่ยง แต่ “ใจ” ไม่มอี ะไรเกิดดับเลย มีแต่ ความรูท้ ่สี ้ นิ กิเลส พน้ ทุกข์ นิพพาน และมีความรูต้ ามบุญบารมีท่ี สังสมมา ่ จึงเรียกว่า “พุทธะ” ซึง่ ความรูข้ องพระพุทธเจ้ากับความรู ้ ของพระอรหันต์แต่ละองค์ก็ไม่เท่ากัน เพราะสัง่ สมบุญบารมีมา แตกต่างกัน ความรู อ้ นั นี้เป็ นอมตะ 129


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ส่ ว นสิ่ง ใดที่เ ปลี่ย นแปลงได้เ กิ ด ดับ ได้เ ป็ น ของไม่ เ ที่ย ง แสดงอาการต่างๆ ให้ปรากฏได้ เช่น ร่างกาย เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ได้แก่ ความรูส้ กึ ความจ�ำได้หมายรู ้ นึก คิด ตรึกตรอง อาการต่ างๆ ซึ่งเป็ นอารมณ์ท่ีถูกรู ้ รวมทัง้ ผู ร้ ู ท้ ่ีคิด ตรึกตรองปรุงแต่งอยู่ในใจ ก็เป็ นขันธ์หา้ เป็ นสิง่ ปรุงแต่ง เกิดขึ้น แลว้ ก็ตอ้ งดับไป ต้องแก่ เจ็บ ตาย ดับไปหมดสิ้น ดังนั้นจึงให้ ปล่อยวางขันธ์หา้ ซึ่งเป็ นสังขารปรุงแต่งทัง้ หมด หรือให้พจิ ารณา อยู่เป็ นประจ�ำว่า ถ้าเราตายตอนนี้ ได้ปล่อยวางสังขารหรือขันธ์ ห้าหมดหรือยัง หรือสิ้นหลงยึดถือขันธ์หา้ ว่าเป็ นตัวตนของเรา หรือ ยัง ปล่อ ยให้จิต คิ ด หรือ ปรุ ง แต่ ง ตามธรรมชาติป กติข อง ขันธ์หา้ เกิดเอง...ดับเอง เกิดเอง...ดับเอง ไม่มผี ู ย้ ึดถือ หรือ สิ้นผูเ้ สวย ก็จะสิ้นกิเลส พน้ ทุกข์ นิพพาน

130


จบซะที

๑๔ รักษาสติ ปล่อยวางผู้รู้

ผู ป้ ฏิบ ตั ิม กั มีค �ำ ถามว่า “เราจะปล่อ ยวางผู ร้ ู อ้ ย่ า งไร?” เมือ่ เราได้อ่านหรือฟังค�ำสอนพ่อแม่ครู อาจารย์ท่บี อกว่า “พบผูร้ ู ้ ให้ฆ่าผู ร้ ู ้ หรือ ให้ปล่อยวางผู ร้ ู ้ จึงจะพบพระนิ พพาน” แลว้ เขา้ ใจผิดเลยทิ้งสติไปหมด เพราะไปเขา้ ใจว่าทิ้งผู้รู้จึงจะได้พบ พระนิพพาน ก็เลยไม่รูอ้ ะไรเลย มันเป็ นผู้รูค้ นละตัวกัน ตัวสติตอ้ งรู้ไว ้ ตัวสติปญ ั ญาเป็ น ขันธ์หา้ เราต้องอาศัย “สติ” เป็ นเรือขา้ มฟากไปนิพพานจะปล่อย ไปหมดไม่ได้ พระพุทธเจ้าตรัสว่า ให้เอาสติ สมาธิ ปัญญานี้เป็ น เรือขา้ มฟาก เมื่อเรือขา้ มฟากไปถึงฝัง่ พระนิพพาน ไม่มใี ครไป ท�ำลายเรือ และไม่มใี ครแบกเรือไปด้วย ที่ให้ “ปล่อย” คือปล่อย จิตหรือวิญญาณขันธ์ท่ีมีความรูส้ กึ ว่าเราเป็ นผูร้ ู ้ แต่น่ีเรายังไม่ถงึ 131


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ฝัง่ ยังไม่เป็ นนิพพาน แลว้ เราไปทิ้งสติกลางทาง เหมือนสละเรือ แลว้ โดดลงน�ำ ้ ก็เลยจมน�ำ้ ตาย วิญ ญาณขัน ธ์ต อ้ งรู ท้ างทวารตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ที่ถามว่าใครรู ้ ก็เรานี่แหละรู ้ เรารู น้ ้ ีเป็ นจิตหรือวิญญาณขันธ์ ซึ่ง จะไม่ ป รากฏอาการอะไรให้เ ห็น เพราะธรรมชาติ ส ร้า งมา ให้มีหน้าที่รูแ้ ละไม่มีหน้าที่จะถูกรู ้ ครัน้ เราจะกลับด้านคือเรา จะเอาขันธ์หา้ ทัง้ หมดย้อนไปหาวิญญาณขันธ์ ไปหาผู ร้ ู ้ มันหา ไม่เจอหรอกเพราะว่ามันกลับด้านกัน แต่ดว้ ยสติ ปัญญาสามารถ สังเกตเห็นมันได้ เพราะวิญญาณขันธ์หรือจิตนี้ ท�ำงานร่วมกับ เจตสิกคือเวทนา สัญญา สังขาร เกิดพร้อมจิตดับพร้อมจิต คือ เมื่อจิตหรือวิญญาณขันธ์ไปรู อ้ าการทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ รู ธ้ รรมารมณ์ ก็ตอ้ งมีความรู ส้ กึ ว่าถูกใจ หรือไม่ถูกใจ หรือ เป็ นกลางๆ ซึ่งเป็ นเวทนา แลว้ จ�ำได้หมายรู ว้ ่าอะไรเป็ นอะไรซึ่ง เป็ นสัญญา แลว้ คิดตรึกตรองยุกยิกๆ คลา้ ยๆ พูดอยู่คนเดียว พากษ์ (วิพากษ์) อยู่คนเดียวในใจตลอดเวลา จะดับเขาไม่ได้ วิธีปฏิบตั ิ ให้สติตง้ั ที่ใจ ดูท่ีใจ รู ท้ ่ีใจ สังเกตที่ใจ ละที่ใจ ปล่อยวางที่ใจทุกขณะที่มีการกระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ในทุกขณะปัจจุบนั ให้สงั เกตดูวญ ิ ญาณขันธ์ตรงมีความรู ส้ กึ ว่า ตัวเราขณะที่รูอ้ ะไรจะคิดตรึกตรองเหมือนกับพากษ์ หรือพูด หรือมีอาการยุกยิกๆ... อยู่ในใจตลอดเวลา อย่าไปสนใจสิง่ ที่ถูกรู ้ 132


รักษาสติ ปล่อยวางผู้รู้ : จบซะที

ปล่อยวางหมด ต้องสนใจสังเกตที่ผูร้ ู ้ ซึ่งจะทัง้ รูแ้ ละคิดตรึกตรอง หรือมีกริยาอาการต่างๆ ในทุกขณะจิตที่กระทบในปัจจุบนั ก็แค่ สักแต่ว่ารู ้ จะได้ไม่มผี ูห้ ลงตามไป และต้องไม่หลงไปพยายาม ดับเขา เพราะจะดับเขาไม่ได้เนื่องจากเขาเป็ นขันธ์หา้ ซึ่งเป็ นชีวติ ที่ตอ้ งเห็นผูร้ ู ท้ ่ีคิดตรึกตรองก็เพราะต้องการให้ปล่อยวาง ผูร้ ู ้ ถ้าไม่ปล่อยวางผูร้ ู จ้ ะปล่อยวางวิญญาณขันธ์รวมทัง้ เวทนา สัญญา สังขารที่เกิดพร้อมวิญญาณขันธ์และดับพร้อมวิญญาณ ขันธ์ไม่ได้ หรือจะละอุปาทานขันธ์หา้ ไปสู่พระนิ พพานไม่ได้ วิญญาณขันธ์นนั้ ธรรมชาติสร้างมาให้เป็ นผูร้ ู ้ ที่เรารู ม้ นั ได้ เพราะมีค วามรู ส้ ึก ว่ า มีต วั เราเป็ น คนรู ้ และตัว เราเป็ น คนพู ด เป็ นคนคิด เป็ นคนตรึกตรอง คือมันทัง้ รู ้ ทัง้ คิด ทัง้ มีอารมณ์ มันเลยต้องละผูท้ ท่ี งั้ รู ้ ทัง้ คิด ทัง้ มีอารมณ์ ละตัวนี้ลงไปเลย ละมัน ทัง้ ตัว ปล่อยวางมันทัง้ ตัวตลอดเวลา ปล่อยมันไปทัง้ ยวงเลย เห็น หมดรู ห้ มด ปล่อยวางหมดทัง้ อารมณ์ท่ีถูกรู แ้ ละผูร้ ู ้ ปล่อยวาง หมดตลอดเวลา ก็ปล่อยวางอุปาทานขันธ์หา้ ไปได้หมดสิ้น ก็จะ บรรลุพระนิพพาน ทุก ขณะปัจ จุบ นั ถ้า ไม่ ไ ปสนใจสิ่ง ที่ถู ก รู ้ โดยสัง เกตแต่ ตัวเราผู้ไปรู ต้ ลอดเวลา เราก็จะเห็นวิญญาณขันธ์ท่พี ูดได้บ่นได้ เหมือ นภายในร่ า งกายมีต วั เราที่เ ป็ นทัง้ ผู ร้ ู ้ ผู ค้ ิ ด ตรึ ก ตรอง 133


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ผูแ้ สดงกริยาอาการต่างๆ ยุกยิก ยุกยิก ยุกยิก… ตลอดเวลา เราไม่ได้มองเห็นมันจริงๆ หรอก แต่ จะรู ส้ ึกว่าตัวเรานี้เป็ นผู ร้ ู ้ ตัวเราเป็ นผูค้ ดิ ตัวเราเป็ นผูร้ ูส้ กึ ตัวเราเป็ นผูบ้ น่ ในใจ ถ้าสักแต่วา่ รูแ้ ต่ตวั เรา ตัวเรา ตัวเรา… ผูท้ งั้ รู ้ ทัง้ คิด ทัง้ แสดงกริยาอาการต่างๆ ในทุกขณะที่มกี ารกระทบในปัจจุบนั ก็เท่ากับปล่อยวางตัวเรา ไปเรื่อยๆ ทุกขณะปัจจุบนั ไม่ว่าจะไปรู อ้ ะไร จะรู ส้ ึกว่าตัวเรา เป็ นผูร้ ู ้ ตัวเราเป็ นผูค้ ิด ตัวเราเป็ นผูร้ ู ส้ กึ ตัวเราเป็ นผูม้ อี ารมณ์ เราปล่อยวางตัวเราไปเรื่อยๆ ในที่สุดปล่อยวางได้หมด ดังนัน้ ความรูส้ กึ ว่าเป็ น “ตัวเรา” ทุกครัง้ จึงเป็ นเพียงจิตหรือ วิญญาณขันธ์ท่ีท�ำงานร่วมกับเวทนา สัญญา และสังขารซึ่งเป็ น ขันธ์หา้ ตลอดเวลาเท่านั้น หาได้มีตวั เราเป็ นตัวเป็ นตนจริงๆ จังๆ ส่วนตัวเราที่เห็นและจับต้องได้นนั้ ก็เป็ นเพียงสิ่งผสมปรุงแต่ง ขึ้นมาจากธาตุ ขันธ์หา้ จึงเป็ นอนิจจัง คือไม่เที่ยง เป็ นทุกขัง คือ เป็ นทุกข์ ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ เป็ นอนัตตา คือไม่มตี วั ตน คงที่ ไม่เป็ นสาระแก่นสาร ไม่ใช่เป็ นตัวเรา หรือไม่ใช่ตวั ตนของ เรา หรือสมมุติว่าเป็ นเพียงตัวเราชัว่ คราวเท่านัน้ จึงต้องปล่อย วางความหลงยึดถือขันธ์หา้ ว่าเป็ นเรา เป็ นตัวเรา เป็ นตัวตนของ เรา หรือตัวเราเป็ นขันธ์หา้ ไปเสีย “อวิชชา” คือความหลงยึดถือ ก็จะดับ 134


รักษาสติ ปล่อยวางผู้รู้ : จบซะที

ตัว ที่จ ะมาสัง เกตเห็ น ความจริ ง ดัง กล่ า วก็ คื อ ตัว “สติ ปัญ ญา” ตัว สมาธิ ส ติ ป ญ ั ญาในขัน ธ์ห า้ นี่ แ หละที่เ รายืม มาใช้ เพราะฉะนัน้ เราทิ้ง ตัว สัง เกตไม่ไ ด้ เราต้อ งสัง เกตตลอดเวลา ว่าที่รูส้ กึ ว่าตัวเราเป็ นผูร้ ู ้ ผูค้ ิด ผูน้ ึก ผูต้ รึก ผูต้ รองต่ออารมณ์ ที่ถูกรู ใ้ นทุกขณะปัจจุบนั จะรู ไ้ ด้ก็ตอ้ งอาศัยสติ สติน่ี แหละเป็ น ตัว รู ้ เพราะฉะนั้น ตัว สติน้ ี วางไม่ ไ ด้ ถ้า สติรู ท้ งั้ หมดเลยและ ปล่อยวางที่ตวั เราผูร้ ู ้ ผูค้ ิดตรึกตรองอยู่ในใจตลอดเวลา โดยสติ ไม่ขาดวรรคขาดตอน เรียกมหาสติ มหาปัญญา ก็จะปล่อยวาง ตัวเราได้หมด บางคนถามว่า รู ต้ วั เราทีไรก็มแี ต่ว่างๆ ตลอดเลย ไม่ได้ คิดอะไรเลย แต่ไปรูแ้ บบก้มหัวมองดูเขา้ ไปในร่างกายของตนเอง เลยเห็นแต่ความว่าง ความไม่มอี ะไร แต่ผูร้ ู ้ ผูค้ ิดจริงๆ อยู่ท่ผี ู ้ ก้มหัวไปมองดูภายในร่างกาย คือเอาฝ่ ายนามขันธ์ท่ที งั้ รู ้ ทัง้ คิด ได้มาดูร่างกาย หรือเอาความคิดไปไวท้ ่สี มอง แลว้ เอาสมองก้ม หน้ามาดูในตัวเอง ก็เลยเห็นร่างกายนี้หรือช่องว่างภายในร่างกาย แล ้วเขา้ ใจผิดว่าเป็ นใจว่าง โดยเห็นความว่างนัน้ มันไม่คิด มันว่าง มันนิ่ง มันเฉยๆ แท้จริงตัวทีด่ ูและคิดมันอยู่ทจ่ี ติ หรือวิญญาณขันธ์ ที่ไปดูร่างกาย ส่วนร่างกายมันเป็ นรู ปขันธ์ 135


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

สติ สมาธิ ปัญญา เป็ นสังขารขันธ์ท่เี อามาใช้สงั เกตเห็นจิต หรือวิญญาณขันธ์ ที่ทำ� งานร่ วมกับเวทนา สัญญา และสังขาร ตลอดเวลา จะดับเขาก็ไม่ได้ เพราะเขาเป็ นขันธ์หา้ หรือเป็ นชีวติ ต้อ งอยู่ ก บั เขาจนกว่า จะตาย เพีย งแต่ มีส ติป ญ ั ญารู แ้ จ้ง ถึง ใจ จนสิ้นความหลงยึดถือว่า จิตหรือวิญญาณขันธ์รวมทัง้ เวทนา สัญญา สังขารทีเ่ กิดมาท�ำหน้าทีพ่ ร้อมกันแลว้ ดับพร้อมกันตลอด เวลานัน้ ไม่ใช่เป็ นเรา เป็ นตัวเรา หรือเป็ นตัวตนของเรา เป็ นเพียง ขันธ์หา้ หรือสังขารปรุงแต่งทีไ่ ม่เทีย่ ง เกิดขึ้นแลว้ ก็ตอ้ งดับไปเป็ น ธรรมดา ไม่อาจยึดมัน่ ถือมัน่ ได้ เมื่อปล่อยวางความหลงยึดถือขันธ์หา้ แล้ว ขันธ์หา้ ก็คงคิด หรือแสดงกริยาอาการต่างๆ ไปตามปกติธรรมชาติของสังขาร ฝ่ ายปรุงแต่ง ทัง้ ถูกใจหรือไม่ถูกใจ สุขหรือเป็ นทุกข์ กุศลหรือ อกุศ ล ก็จ ะไม่ มี ค วามรู ส้ ึก ว่ า มี ต วั เราเข้า ไปร่ว มมี ส่ว นได้เ สีย คือทัง้ ไม่หลงติดไปกับเขาและไม่พยายามดับเขา ก็จะไม่เป็ น กิเลส ตัณหา ซึ่งเป็ นเหตุให้เกิดทุกข์ คงเป็ นแต่กริยาอาการ ของขันธ์หา้ ตามปกติธรรมชาติ ก็จะพบธาตุรูท้ ่ีเป็ นความสงบ ว่างจากความคิด ความปรุงแต่งใดๆ เรียกว่า “ใจหรือจิตเดิมแท้” และเมื่อสิ้นหลงยึดถือขันธ์หา้ ว่าเป็ นตัวตนของเราเสียแล้ว ก็จะ ไม่หลงเอาความรู ส้ กึ ซึ่งเป็ นขันธ์หา้ มาเป็ นตัวเรา แล้วเอาตัวเรา ไปยึดถือ “ใจหรือจิตเดิมแท้” ที่เป็ นธาตุรู ้ ก็จะเป็ นใจที่ว่างเปล่า 136


รักษาสติ ปล่อยวางผู้รู้ : จบซะที

เมื่อปล่อยวางอย่างอื่นหมดแล้ว ก็ตอ้ งอาศัยสติ สมาธิ ปัญญานัน่ แหละปล่อยวางตัวเอง ซึ่งเป็ นผู ป้ ล่อยวางเสียด้วย เพราะสติ สมาธิ ปัญญา ก็เป็ นขันธ์หา้ หรือเป็ นสังขารปรุงแต่ง ที่ยืมมาใช้เปรียบเหมือนเป็ นเรือที่ใช้ขา้ มฟาก ครัน้ เมื่อปล่อย วางอย่างอื่นหมดแล้ว ก็ตอ้ งปล่อยวางตัวเอง คือไม่หลงยึดถือ ว่าเราเป็ นผูร้ ู แ้ จ้ง เราเป็ นผูป้ ล่อยวาง หรือผูป้ ล่อยวางเป็ นเรา เป็ นตัวเรา หรือเป็ นตัวตนของเรา สรุปแลว้ สติ สมาธิ ปัญญา ต้องเอามาใช้สงั เกต ดู รู ้ เห็น ปล่อยวางจนถึงจิตหรือวิญญาณขันธ์ในขันธ์หา้ ครัน้ ปล่อยวางได้ จนถึงวิญญาณขันธ์ท่ที ำ� หน้าที่รูร้ ู ป เสียง กลิน่ รส สัมผัส และ ธรรมารมณ์ได้แลว้ หรือไม่หลงยึดถือว่าวิญญาณขันธ์หรือผูร้ ู ว้ ่า เป็ นตัวตนของเราจริงๆ จังๆ แล ้ว ก็จะสิ้นหลงเอาตัวเราไปยึดถือ สิ่งที่ถูกรู ท้ ง้ั หมด เท่ากับปล่อยวางทัง้ สิ่งที่ถูกรู แ้ ละผู ร้ ู ไ้ ปด้วย ก็จะพบ “ใจหรือจิตเดิมแท้” ซึง่ เป็ นธาตุรู ้มีคณ ุ สมบัตเิ ป็ นความว่าง เหมือนกับความว่างของธรรมชาติหรือจักรวาล และเนื่ อ งจากสิ้น ความหลงยึด ถือ ขัน ธ์ห า้ ว่ า เป็ น ตัว ตน ของเราหรือเป็ นตัวเราเสียแล ้ว ก็ไม่หลงเอาความรูส้ กึ ว่าเป็ นตัวเรา ซึ่งเป็ นสังขารปรุ งแต่ งในขันธ์หา้ มายึดถือ “ใจหรือจิตเดิมแท้” ด้วย แต่ก็ยงั เหลือสติ สมาธิ ปัญญาที่ยมื ขันธ์หา้ มาใช้สงั เกตให้ เห็นความจริงดังกล่าว จนสามารถปล่อยวางวิญญาณขันธ์ซ่ึงเป็ น 137


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ผูร้ ูแ้ ละสิง่ ที่ถกู รูไ้ ด้แล้ว ก็ตอ้ งปล่อยวางสติ สมาธิ ปัญญาเสียด้วย แต่ความจริงถ้ารู้ซ้ งึ แก่ใจมาตัง้ แต่แรกว่าสติ สมาธิ ปัญญาเป็ น เพียงสังขาร ซึ่งเป็ นสิ่งปรุ งแต่ งในขันธ์หา้ ที่ยืมมาใช้เพื่อความ รู แ้ จ้ง เพื่อความปล่อยวาง ก็จะไม่หลงยึดมัน่ ถือมัน่ ว่าสติ สมาธิ ปัญญาเป็ นตัวเรา เป็ นผูร้ ู แ้ จ้ง เป็ นผูร้ ู ้ เป็ นผูเ้ ห็น เป็ นผูเ้ ขา้ ใจ หรือเป็ นผูป้ ล่อยวาง นี่ แหล่ะที่ว่า “พบผู ร้ ู ใ้ ห้ฆ่าผู ร้ ู ้ หรือให้ปล่อยวางผู ร้ ู ”้ ก็ สิ้นความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ ว่าเรามีตวั ตน หรือมีตวั ตนของเรา เป็ นตัว เป็ นตนอยู่ จ ริง เมื่ อ สิ้น ผู ย้ ึ ด ถือ ก็ส้ ิน กิเ ลส พ้น ทุก ข์ นิ พพาน ดังนัน้ “สติ” จึงเป็ นตัวส�ำคัญที่สุด จะขาดวรรคขาดตอน เสียมิได้ เพราะ “สติขาด สมาธิขาด ปัญญาขาด ธรรมขาด... เป็ นทุกข์ สติมี สมาธิมี ปัญญามี ธรรมมี... ไม่ทุกข์ สติเป็ นมหาสติ เป็ นมหาสมาธิ เป็ นมหาปัญญา เป็ นพระนิ พพาน... พ้นทุกข์

138


จบซะที

๑๕ รู้ทั้งสาม และการปล่อยวางตามล�ำดับ

“รู ”้ มี ๓ รู ้

“รู ”้ ตัวแรก คือ จิตหรือวิญญาณขันธ์ ซึ่งเป็ นธรรมชาติ ปรุงแต่งที่เกิดมารู อ้ ารมณ์ หรือรู อ้ ายตนะภายนอก ได้แก่ รู ป เสียง กลิน่ รส สัมผัส และธรรมารมณ์ ซึ่งจิตหรือวิญญาณขันธ์ จะท�ำหน้าทีร่ ูแ้ บบปรมัตถ์เพียงเสี้ยววินาทีเดียว คือยังไม่มเี วทนา สัญญา สังขาร ซึ่งรวมเรียกว่าเจตสิกมาปน แต่เมือ่ รู แ้ ลว้ ก็ส่งต่อ เวทนา สัญญา สังขารทันที คือเกิดความถูกใจก็เป็ นสุขเวทนา ไม่ถูกใจก็เป็ นทุกขเวทนา หรือเป็ นกลางๆ ไม่ถงึ กับถูกใจหรือ ไม่ ถู ก ใจก็ เ ป็ น อทุก ขมสุ ข เวทนาหรื อ อุเ บกขาเวทนา แล ว้ คิ ด ตรึกตรอง ปรุงแต่ง ประมวลผล เหมือนพูดหรือพากษ์ (วิพากษ์) ในใจ หรือแสดงอาการต่างๆ ท�ำท่า ท�ำท่า... พยายาม พยายาม... 139


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ซึ่งเป็ นเจตสิกคือ เวทนา สัญญา และสังขาร เป็ นธรรมารมณ์ ที่ถูก รู ้ แล ว้ เกิด จิต หรือ วิญ ญาณขัน ธ์ต วั ใหม่ ม ารู ธ้ รรมารมณ์ นัน้ แลว้ จิตหรือวิญญาณขันธ์ตวั ใหม่ก็ทำ� งานร่วมกับเจตสิก จะ เกิดเวทนา สัญญา สังขารซึ่งเป็ นธรรมารมณ์ตวั ใหม่ แลว้ ก็เกิด จิตหรือวิญญาณขันธ์ตวั ใหม่มารู ธ้ รรมารมณ์หรือเวทนา สัญญา สังขารตัวก่อนหน้านัน้ แลว้ ส่งต่อเวทนา สัญญา สังขารตัวใหม่ แลว้ เกิดจิตหรือวิญญาณขันธ์ตวั ใหม่มารู ธ้ รรมารมณ์นนั้ แลว้ ส่งต่อเวทนา สัญญา สังขารตัวใหม่ อย่างนี้เรื่อยไป ไม่จบสิ้น จนกว่าจะตายไป ดังนัน้ ให้มีสติตงั้ ทีใ่ จ รูท้ ใ่ี จ สังเกตทีใ่ จ ละทีใ่ จ ปล่อยวางทีใ่ จ อย่ าไปสนใจอารมณ์ท่ีถูกรู ้ ให้สงั เกตเห็นแต่ ตวั เราผู ร้ ู น้ ่ีแหละ ใครเป็ นคนรู ้ ก็ตวั เรานี่เป็ นคนรู ้ เมือ่ มันรูอ้ ะไร มันคิด ตรึกตรอง ปรุงแต่ง พากษ์ พูดอยู่ในใจ ตัวเราที่เป็ นผูร้ ูน้ ้ ี แล้วคิด ตรึกตรอง ปรุงแต่ง แท้ท่จี ริงเป็ นจิตหรือวิญญาณขันธ์ ท�ำงานร่วมกับเจตสิก คือ เวทนา สัญญา สังขาร ซึง่ เป็ นขันธ์หา้ แต่เมือ่ “อวิชชา” ยังมีอยู่ ก็จะหลงยึดถือขันธ์หา้ เป็ นเรา เป็ นตัวเรา หรือเป็ นตัวตนของเรา หรือ ตัว เราเป็ น ขัน ธ์ห า้ โดยจะหลงรู ส้ ึก ว่า เราเป็ น ผู ร้ ู ้ หรือ ผู ร้ ู ้ เป็ นตัวเรา แลว้ หลงเอาตัวเราไปหลงคิด หลงปรุงแต่ง หลงยึดถือ สิ่งต่างๆ ดังนัน้ ทุกขณะปัจจุบนั ในขณะที่จิตหรือวิญญาณขันธ์ เกิดมารูอ้ ารมณ์ใด อย่าไปสนใจอารมณ์ทถ่ี กู รู ้ ให้สงั เกตแต่ตวั เรา 140


รู้ทงสาม ั้ และการปล่อยวางตามล�ำดับ : จบซะที

ผูร้ ู น้ ้ ี รู ต้ รงที่มนั คิด ตรึกตรอง ปรุงแต่ง พากษ์ พูดไม่หยุดนี่ แลว้ สักแต่ว่ารู ต้ วั เรานี้ หรือปล่อยวางตัวเรานี้ ถ้าสักแต่ว่ารู ห้ รือ ปล่อยวางตัวเรานี้จริงๆ แลว้ จะพบใจหรือจิตเดิมแท้ท่วี ่างเปล่า ซึ่งเป็ นธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง “รู ”้ ตัวที่ ๒ คือ สติ สมาธิ ปัญญา ซึ่งเป็ นสังขารปรุงแต่ง ในขันธ์หา้ แต่ยืมมาใช้สงั เกตเห็นตัวเราด้วยความรู ส้ กึ ตัว โดย มีสติ สมาธิ ปัญญามาสังเกตเห็นความจริงว่า ความรู ส้ กึ ที่เป็ น ตัวเรานัน้ แท้ท่จี ริงเป็ นจิตหรือวิญญาณขันธ์ ไปรู อ้ ะไรทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจแล ้วจะต้องท�ำงานร่วมกับเจตสิกคือ เวทนา สัญญา สังขารแล ้วเอามาคิด ตรึกตรอง ปรุงแต่ง พากษ์ พูด พึมพ�ำ แสดง อาการต่างๆ อยู่ในใจตลอดเวลา โดยสักแต่ว่ารู แ้ ละปล่อยวาง ตัวเราผูค้ ิดตรึกตรองหรือปรุงแต่ง ไม่หลงเอาตัวเราไปปล่อยวาง อย่างอื่น ตัวที่สงั เกตเห็นตัวเราด้วยความรู ส้ กึ ตัว ก็เป็ นตัวรู อ้ ีกอัน หนึ่ง ซึง่ เป็ นสังขารในขันธ์หา้ ยืมเขามาใช้ แต่ถา้ หลงยึดถือว่าตัวเรา เป็ นผูร้ ู ้ หรือหลงยึดถือว่าผูร้ ูส้ กึ ตัวเป็ นเรา หรือพยายามให้ตวั เรา เป็ นผู ส้ กั แต่ ว่ารู ้ หรือหลงยึดถือผู ป้ ล่อยวางว่าเป็ นตัวเรา หรือ หลงเอาตัว เราไปปล่อ ยวางอย่ า งอื่น อย่ า งนี้ เ ท่ า กับ ยึด ถือ สติ สมาธิ ปัญญา หรือยึดถือสติ สัมปชัญญะซึง่ เป็ นขันธ์หา้ ว่าเป็ นเรา เป็ นตัวเรา หรือเป็ นตัวตนของเรา หรือมีตวั ตนของเราในขันธ์หา้ 141


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ก็จะเป็ น “อวิชชา” ต้องเห็นตามความเป็ นจริงว่าสติ สมาธิ ปัญญา หรือสติ สัมปชัญญะเป็ นสังขารปรุงแต่งในขันธ์หา้ เป็ นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เมือ่ รูค้ วามจริงก็ส้นิ ความหลงยึดถือ หรือปล่อยวาง ความหลงยึดถือว่าตัวเราเป็ นผูร้ ู ้ เป็ นผูม้ สี ติ สมาธิ ปัญญา เป็ น ผูร้ ู ส้ กึ ตัว แลว้ จะเหลือแต่สกั แต่ว่ารู ้ “รู ”้ ที่ ๓ คือ พุทธะหรือวิญญาณธาตุ ซึ่งเป็ นธรรมชาติท่ี ไม่ ป รุ ง แต่ ง พุ ท ธะแปลว่ า รู พ้ น้ เพราะอวิช ชาดับ รู ต้ ่ื น จาก ความหลง รู เ้ บิก บานเพราะไม่ ยึด ถือ สิ่ง ใดให้เ ศร้า หมองเป็ น ทุกข์ รู ว้ ่าพน้ ทุกข์เพราะสิ้นหลงยึดมัน่ ถือมัน่ รู ว้ ่าบรรลุนิพพาน รู ว้ ่าภพชาติจบแลว้ ชาติน้ ีเป็ นชาติสุดท้าย ใจเป็ นความว่าง เป็ น มหาสุ ญญตา คือว่างเปล่าเหมือนความว่างของธรรมชาติหรือ จักรวาล เป็ นมหาสุญญตาตลอดกาล ใจที่ว่างเปล่านี้ไม่เกิดดับ ดับไม่ได้ ท�ำลายไม่ได้ เป็ นธาตุรู ้ วิสงั ขาร หรืออสังขตธาตุ เป็ น พุทธะ มีความรู พ้ น้ ด้วยตัวของมันเอง ตัวที่มาช่ วยให้พบใจที่ว่างเปล่าคือตัวสติ สมาธิ ปัญญา พอเป็ นใจทีว่ า่ งเปล่าแล ้ว เป็ นตัวรูพ้ ้นแล ้ว ตัวสติ สมาธิ ปัญญาทีม่ า คอยสังเกตช่วยไว ้ ก็ไม่ตอ้ งมาช่วยสังเกตอีกต่อไป พระพุทธเจ้า ตรัสว่า สติ สมาธิ ปัญญา ซึ่งเป็ นสังขารในขันธ์หา้ เป็ นเพียงแค่ อาศัยเป็ นเรือข้ามฟากไปนิ พพาน เมือ่ อวิชชาดับ ก็ส้ นิ ผูย้ ดึ ถือ เมือ่ สิ้นผูย้ ดึ ถือ กิเลส ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ชรา มรณะ 142


รู้ทงสาม ั้ และการปล่อยวางตามล�ำดับ : จบซะที

และความทุกข์ก็ดบั พร้อม ตัวสติ สมาธิ ปัญญาที่มาคอยช่วย สังเกตไว้ก็ไม่ตอ้ งใช้สงั เกตอีกแลว้ เหลือแต่ ใจที่เป็ นธรรมชาติ ไม่ปรุงแต่ง ซึง่ มีความว่างดัง่ ความว่างของธรรมชาติหรือจักรวาล กับขันธ์หา้ ซึ่งเป็ นธรรมชาติปรุงแต่ ง เกิดดับในความว่าง ขณะ ยัง ไม่ ต ายก็ เ หลือ แต่ ต วั พู ด ตัว พากษ์ พึม พ�ำ อยู่ ใ นความว่ า ง ไม่มีผูร้ ู ส้ ึกว่ามีตวั ใจ หรือมีตวั เราไปเสวย หรือไปหลงยึดถือ ขันธ์หา้ และสิ้นหลงยึดถือใจจะให้ว่าง ในการปฏิบตั ิ ต้องสังเกตและปล่อยวางความหลงยึดถือ ทัง้ หมด การปล่อยวางทัง้ สิ่งที่ถูกรู แ้ ละปล่อยวางผู ร้ ู น้ ่ีน่ะ มัน ปล่อยวาง ๓ คู่ คือ คู่แรก คือปล่อยวางรู ป เสียง กลิ่น รส สัมผัส และ ธรรมารมณ์ซ่งึ เป็ นอายตนะภายนอกหรืออารมณ์ท่ีถูกรู ้ กับ ผูร้ ู ้ ซึ่งเป็ นจิตหรือวิญญาณขันธ์ คู่ท่ี ๒ ปล่อยวางคู่แรกแลว้ ก็ปล่อยวางความหลงยึดถือ สติ สมาธิ ปัญญา หรือสติ สัมปชัญญะซึง่ เป็ นฝ่ ายสังเกตให้รูเ้ ห็น ตามความเป็ นจริงของขันธ์หา้ กับขันธ์หา้ ซึ่งเป็ นฝ่ ายที่ถูกรู ต้ าม ความเป็ นจริง สติ สมาธิ ปัญญา และสติ สัมปชัญญะเป็ นสังขารในขันธ์หา้ ที่ยมื มาใช้รูเ้ ห็นตามความเป็ นจริงของขันธ์หา้ หรือรู เ้ ห็นจิตหรือ 143


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

วิญญาณขันธ์ท่ที ำ� หน้าที่ร่วมกับเจตสิกคือ เวทนา สัญญา สังขาร โดยไม่หลงยึดถือว่าเป็ นตัวตน เป็ นเรา เป็ นตัวเรา เป็ นตัวตน ของเรา หรือ มีต วั เราในขัน ธ์ห า้ หรือ หลงยึด ถือ ว่า ตัว เราเป็ น ผูร้ ูส้ กึ ตัว เป็ นผูม้ คี วามรู ้ ตัวเราเก่ง ตัวเรามีความรูม้ ากกว่าคนอื่น จะกลายเป็ น คนหลงตนเอง เรีย กว่า อีโ ก้ (ego) เมื่อ สิ้น หลง ยึดถือสติ สมาธิ ปัญญา และสติ สัมปชัญญะก็จะเป็ นแต่ความรู ้ ตามความเป็ นจริงว่า ขันธ์หา้ รวมทัง้ สติ สมาธิ ปัญญา และสติ สัมปชัญญะไม่ใช่ ตวั ตน ไม่ใช่ เรา ไม่ใช่ ตวั เรา ไม่ใช่ ตวั ตนของ เรา หรือไม่มีตวั ตนของเราอยู่ในขันธ์หา้ ขันธ์หา้ เป็ นเพียงสิ่งผสมปรุงแต่งจากธาตุทงั้ สี่และธาตุรูท้ ่ี ยังมีอวิชชาผสมอยู่ และรู ค้ วามจริงถึงใจว่าขันธ์หา้ เป็ นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือไม่เทีย่ ง เกิดขึ้นแล ้วดับไป เป็ นทุกข์ ทนอยู่สภาพ เดิมไม่ได้ เสื่อมไปสู่ความแก่ เจ็บตาย เน่ าเปื่ อยผุพงั สลายกลับ ไปเป็ นธาตุดนิ ธาตุนำ �้ ธาตุลม ธาตุไฟ ธาตุรูท้ ่วี ่างเปล่าตามเดิม ไม่ใช่ตวั ตนคงที่ จึงไม่ใช่เรา ไม่ใช่ตวั เรา ไม่ใช่ตวั ตนของเรา หรือ ไม่มตี วั เราในขันธ์หา้ เมือ่ มีสติ สมาธิ ปัญญารู แ้ จ้งในความจริง ของขันธ์หา้ ใจก็ปล่อยวางความหลงยึดมันถื ่ อมันในขั ่ นธ์หา้ รวม ทัง้ ไม่หลงยึดมัน่ ถือมัน่ สติ สมาธิ ปัญญา และสติ สัมปชัญญะ ซึ่ง เป็ น สัง ขารในขัน ธ์ห า้ อาศัย เอามารู เ้ ห็น ตามความเป็ น จริ ง จนปล่ อ ยวางความหลงยึด ถือ และจะไม่ ห ลงยึด ถือ จิ ต หรื อ 144


รู้ทงสาม ั้ และการปล่อยวางตามล�ำดับ : จบซะที

วิญญาณขันธ์ท่ที ำ� งานร่วมกับเจตสิกคือ เวทนา สัญญา สังขาร ซึ่งเป็ นขันธ์หา้ ด้วย เมือ่ สิ้นหลงยึดถือขันธ์หา้ ก็ส้ นิ ขันธ์บงั ธรรม แลว้ จะพบใจหรือจิตเดิมแท้ท่ีเป็ นธาตุรูท้ ่ีว่างเปล่า เหตุท่ีพบใจ ว่างเปล่า ก็เพราะปล่อยวางความหลงยึดถือจิตหรือวิญญาณขันธ์ กับ ปล่ อ ยวางความหลงยึ ด ถื อ สติ สมาธิ ปัญ ญา และสติ สัมปชัญญะว่าเป็ นเรา เป็ นตัวเรา หรือเป็ นตัวตนของเรา หรือมี ตัวเราอยู่ในขันธ์หา้ คูท่ ่ี ๓ ปล่อยวางความหลงยึดถือใจที่เป็ นธาตุรูท้ ่วี า่ งเปล่า ซึง่ เป็ นธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง ไม่มตี วั ตน ไม่มรี ูปพรรณสัณฐานใด เป็ น ความว่างดุจความว่างของธรรมชาติหรือจักรวาล กับปล่อยวาง ความหลงยึดถือขันธ์หา้ ซึ่งเป็ นธรรมชาติปรุงแต่งเกิดดับในใจ ที่ว่างเปล่า การจะสิ้นความหลงยึดถือใจหรือธาตุรูท้ ่ีว่างเปล่า ก็ตอ้ ง มีสติ สมาธิ ปัญญาเขา้ ใจถึงใจว่า ขันธ์หา้ ก็ไม่ใช่นิพพาน เป็ น เพียงธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง ส่วนใจหรือจิตเดิมแท้ก็ไม่ใช่นิพพาน เป็ นเพียงธาตุรูท้ ่ีว่างเปล่า หรือเป็ นธรรมชาติไม่ปรุงแต่ ง ต้อง ปล่อยวางหรือสิ้นหลงยึดถือขันธ์หา้ และปล่อยวางหรือสิ้นหลง ยึดถือใจที่ว่างเปล่า จึงจะพ้นทุกข์เรียกว่านิ พพาน ซึ่งขันธ์หา้ เป็ น ธรรมชาติป รุ ง แต่ ง เกิด ดับ ส่ ว นใจหรือ จิต เดิม แท้เ ป็ น แต่ ความรู ท้ ่วี ่างเปล่า ไม่ปรุงแต่งเกิดดับ อาการของขันธ์หา้ จะปรุง 145


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

แต่ ง เกิด ดับ ในใจที่ว่า งเปล่า เปรีย บเหมือ นอาการของขัน ธ์ห า้ เป็ น ดัง่ ฟ้ าแลบ ฟ้ าผ่ า ส่ ว นใจที่ว่ า งเปล่า เหมือ นดัง่ ความว่ า ง ของท้อ งฟ้ า ซึ่ ง ฟ้ าแลบฟ้ าผ่ า ก็ เ กิ ด ดับ ในท้ อ งฟ้ าที่ ว่ า งเปล่ า เป็ นอิสระแก่ กนั ไม่เป็ นอันตรายต่ อกัน ไม่ยึดถือกัน เมื่อยัง ไม่ตายก็เป็ นธรรมชาติท่อี ยู่ดว้ ยกันจนกว่าจะตาย ขันธ์หา้ ซึ่งเป็ น ธรรมชาติปรุงแต่งก็จะดับไป ส่วนใจหรือจิตเดิมแท้ก็หายไปใน ความว่างของธรรมชาติ ถ้ามีสติ สมาธิ ปัญญาสูงสุดดังกล่าวแล้วก็จะไม่หลงไปดับ ความคิดหรืออาการของขันธ์หา้ เพื่อจะให้ว่าง หรือจะไม่หลงไป ยึดถืออุเบกขาเวทนา คือไม่หลงรู เ้ ฉย... รู เ้ ฉย... รู เ้ ฉย... คือ ขณะจิตหรือวิญญาณขันธ์รูอ้ ารมณ์คือ รู ป เสียง กลิน่ รส สัมผัส และธรรมารมณ์แลว้ ปรุงแต่ งใจไม่ให้เกิดความรู ส้ กึ เป็ นสุขหรือ เป็ นทุกข์ ให้เป็ นแต่ อุเบกขาเวทนา อย่างนี้หลงยึดถืออุเบกขา เวทนาซึ่งเป็ นขันธ์หา้ แต่ไม่ได้ปล่อยวางความหลงยึดถือขันธ์หา้ และเมื่อมีสติ สมาธิ ปัญญาสู งสุ ดแลว้ ก็จะไม่หลงเอาขันธ์หา้ มาปรุ ง แต่ ง ยึด ถือ ใจหรือ จิต เดิม แท้ท่ีเ ป็ น ความว่า ง หรือ หลง ยึดถือใจจะให้ว่าง เมื่ อ สิ้ น หลงยึ ด ถื อ ขัน ธ์ห า้ และสิ้ น หลงยึ ด ถื อ ใจหรื อ จิตเดิมแท้แล ้ว สติ สมาธิ ปัญญาทีย่ มื ขันธ์ห ้ามาใช้เป็ นตัวสังเกตให้ 146


รู้ทงสาม ั้ และการปล่อยวางตามล�ำดับ : จบซะที

เห็นความจริง ก็ไม่ตอ้ งน�ำมาใช้สงั เกตอีกต่อไป คงเหลือแต่อาการ ของขันธ์หา้ เกิดดับ ในใจที่ว่างเปล่าดุจความว่างของธรรมชาติ หรือจักรวาล ซึ่งใจเป็ นธาตุรูท้ ่เี ป็ นความว่าง ไม่มคี วามปรุงแต่ง ก็ จ ะรู ใ้ จเองว่ า ใจเป็ น มหาสุ ญ ญตาเป็ น เหมือ นความว่ า งของ ธรรมชาติหรือจักรวาล และก็รูว้ า่ สิ้นหลงยึดถือ หรือรูพ้ น้ จากทุกข์ เรียกว่านิพพาน ชาติน้ ีเป็ นชาติสุดท้าย ชาติหน้าไม่มอี กี เมื่อสิ้นอายุ ขยั ขันธ์หา้ ก็ดบั ไปเพราะเป็ นธรรมชาติฝ่าย ปรุ งแต่ ง ส่ วนใจหรือจิตเดิมแท้ ซึ่งเป็ นธรรมชาติไม่ปรุ งแต่ ง ก็หายไปในความว่างของธรรมชาติ ต้องฝึ กอย่างหนัก คือทุกขณะกระทบทางอายตนะในทุก ขณะจิตปัจจุบนั อย่าขาดสติหลงส่งจิตออกนอกไปสนใจ ให้ค่า ให้ความส�ำคัญต่ออารมณ์ท่ีถูกรู ้ แต่ให้สติตง้ั ที่ใจ ดูท่ีใจ รู ท้ ่ีใจ สังเกตที่ใจ ละที่ใจ ปล่อยวางที่ใจตลอดเวลา สังเกตขณะกระทบ ทุกขณะปัจจุบนั ว่าขณะทีร่ ูร้ ูป รูเ้ สียง รูก้ ลิน่ รูร้ ส รูส้ มั ผัส รูอ้ าการ ของใจ หรือธรรมารมณ์แลว้ จิตหรือวิญญาณขันธ์ทำ� หน้าที่ร่วม กับเจตสิกคือ เวทนา สัญญา สังขารแลว้ คิดตรึกตรองปรุงแต่ง อย่างไร โดยปล่อยวางหรือสักแต่ว่ารู ้ ไม่หลงยึดมัน่ ถือมัน่ ว่าเป็ น ตัวตน เป็ นเรา เป็ นตัวเรา หรือเป็ นของเรา หรือไม่หลงยึดถือ ว่ามีตวั เราอยู่ในขันธ์หา้ 147


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ถ้าสติปญ ั ญาไม่ขาดจะเห็นอย่างนี้ตลอดเวลาว่า ไม่ว่าจิต หรือวิญญาณขันธ์เมือ่ รู อ้ ารมณ์ใดก็จะต้องถูกใจ ไม่ถูกใจ หรือ เป็ นกลางๆ แลว้ คิดตรึกตรอง ปรุงแต่ง ก็เห็นว่าเป็ นขันธ์หา้ ซึ่ง เป็ นสังขาร หรือธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง มีความไม่เที่ยงทัง้ หมด พอมีสติปญ ั ญาสู งสุดเห็นว่าเป็ นสังขารไม่เที่ยงทัง้ หมด ไม่อาจ ยึด มัน่ ถือ มัน่ ได้ จึง ปล่อ ยวางความหลงยึด มัน่ ถือ มัน่ ขัน ธ์ห า้ สิ้นหลงว่าเป็ นตัวตน เป็ นเรา เป็ นตัวเรา หรือเป็ นตัวตนของเรา พอปล่อยวางหรือสิ้นความหลงยึดมันถื ่ อมันขั ่ นธ์หา้ และสิ้นความ หลงยึดมัน่ ถือมัน่ ใจที่ว่างเปล่า ก็เป็ นนิพพาน

148


จบซะที

๑๖ จบซะที

ปฏิบตั ิกนั มานาน เรียนกันมาก็มาก ท�ำไมจึงยังไม่ถงึ ธรรม เสียที สาเหตุท่ยี งั ไม่จบเพราะยังเขา้ ใจไม่ถูกต้อง เช่น ครูอาจารย์ ท่านให้ดูความเป็ นตัวเรา เพือ่ ให้เห็นว่าความเป็ นตัวตนทีเ่ ทีย่ งแท้ ไม่มอี ยู่จริง เป็ นของไม่เที่ยง มีเสื่อมไปสู่ความแก่ ความเจ็บ ความตาย เน่ าเปื่ อยผุพงั ต้องเอาไปเผาหรือฝัง ให้กลับคืนสู่ธาตุ ตามธรรมชาติเป็ นธาตุดนิ ธาตุนำ �้ ธาตุลม ธาตุไฟ ส่วน “ธาตุรู”้ ซึง่ ขณะที่ยงั ไม่ได้ตรัสรูเ้ ป็ นพระพุทธเจ้าหรือเป็ นพระอรหันต์ ธาตุรู ้ จะยังไม่บริสุทธิ์ ยังมี “อวิชชา” ผสมอยู่คือรู ห้ ลง ไม่รูแ้ จ้งหรือ รู พ้ น้ จากความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ ถ้าเปรียบธาตุรูท้ ่ีบริสุทธิ์เป็ น เหมือนแร่ทองค�ำทีบ่ ริสุทธิ์ ก่อนถลุงออกมาเป็ นทองค�ำบริสุทธิ์ก็มี แร่ธาตุอย่างอื่นๆ ผสมอยู่ ซึ่งเปรียบเหมือน “อวิชชา” เขาต้องมี กรรมวิธีและเครื่องมือทีจ่ ะใช้ถลุงแร่ธาตุทผ่ี สมออก เพือ่ ให้เหลือ 149


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

แต่แร่ทองค�ำบริสุทธิ์ เครื่องมือที่จะใช้ถลุงเอา “อวิชชา” ออกเพือ่ ให้เหลือแต่ “ธาตุรูท้ ่ีบริสุทธิ์” คือ “สติ สมาธิ ปัญญา” “สติขาด สมาธิขาด ปัญญาขาด ธรรมขาด... เป็ นทุกข์ สติมี สมาธิมี ปัญญามี ธรรมมี... ไม่ทุกข์ สติเป็ นมหาสติ เป็ นมหาสมาธิ เป็ นมหาปัญญา เป็ นพระนิ พพาน... พ้นทุกข์” “สติ อันเดียว ก็ไม่หลาย” เมือ่ ถลุงเอา “อวิชชา” ซึ่งเป็ นความหลงปรุงแต่งยึดถือออก หมดแลว้ ก็จะเหลือแต่ “ธาตุรูท้ ่ีบริสุทธิ์” ในทีน่ ้ ีจะเรียกชื่อสมมุติ ว่า “ใจ” หรือ “จิตเดิมแท้” มีคุณสมบัติเป็ นเหมือนกับความว่าง ของธรรมชาติหรือจักรวาล แต่มีความรู ้ คือรู จ้ ริง รู แ้ จ้ง รู พ้ น้ จากความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ เป็ นรู ท้ ่ีไม่มีตวั ตน ไม่มีรูปร่าง ไม่มี รู ปพรรณสัณฐานใด ไม่มีอะไรปรากฏเลย จึงไม่มีการเกิดดับ “ธาตุรู ท้ ่ีบ ริ สุ ท ธิ์ ” มีคุ ณ สมบัติเ ป็ น ความว่ า งเหมือ นกับ ความว่างของธรรมชาติหรือจักรวาล แต่จะแตกต่างจากความว่าง ของธรรมชาติหรือจักรวาล ตรงที่ธาตุรูเ้ ป็ นความว่างที่มคี วามรู ้ ส่ ว นความว่ า งของธรรมชาติ ห รื อ จัก รวาลมีแ ต่ ค วามว่ า งไม่ มี ความรู ้ 150


จบซะที : จบซะที

ความเข้าใจตรงนี้ ส�ำคัญเป็ นอย่างมาก เพราะผูป้ ฏิบตั ิผิด จ�ำนวนมากไปสร้างความรูส้ กึ ให้ใจว่างเปล่าเหมือนกับธรรมชาติ หรือจักรวาลไปเลย โดยไม่มคี วามรู ค้ ือรู จ้ ริง รู แ้ จ้ง รู พ้ น้ จาก สัง ขารซึ่ง เกิ ด จาก “สติ ป ัญ ญา” รู เ้ ห็ น ตามความเป็ น จริ ง ว่ า ธรรมชาติมเี พียงสองอย่าง คือธรรมชาติปรุงแต่ง (สังขาร) กับ ธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง (วิสงั ขาร) ธรรมชาติปรุงแต่งภายใน (สังขาร) ได้แก่ ขันธ์หา้ และ อายตนะ ซึ่งเป็ นธรรมชาติผสมปรุงแต่งมาจากธาตุดิน ธาตุน้� ำ ธาตุลม ธาตุไฟ และวิญญาณธาตุ (ธาตุรูท้ ่ีมีอวิชชาผสมอยู่) จึงเป็ นของไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ ทนอยู่สภาพเดิมไม่ได้ เกิดขึ้นแล้ว ก็ดบั ไป มีความแก่เจ็บตายเน่ าเปื่ อยผุพงั หรือถูกเผากลายไป เป็ นธาตุดิน ธาตุน้� ำ ธาตุลม ธาตุไฟ และวิญญาณธาตุตามเดิม ส่วนธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง (วิสงั ขาร) คือใจหรือจิตเดิมแท้ เป็ นความว่างจากตัวตน เป็ นเหมือนกับความว่างของธรรมชาติ หรือจักรวาล แต่เป็ นความว่างที่มีความรู ้ ไม่มีรูปร่าง ไม่มีกริยา หรืออาการใดเลย เมื่อใดที่เป็ นธาตุรูท้ ่ีส้ นิ อวิชชาแล้ว คือรู แ้ จ้ง รู จ้ ริง รู พ้ น้ จากความหลงปรุงแต่งยึดถือสังขารและวิสงั ขารว่า เป็ นเรา เป็ นตัวเรา หรือเป็ นตัวตนของเรา หรือรูแ้ จ้งว่าไม่มีตวั ตน ของเราในสังขารและวิสงั ขาร จึงจะเป็ นธาตุรูท้ ่ีบริสุทธิ์ 151


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ไม่ใช่ หลงเข้าใจผิดไปสร้างความรู ส้ กึ หรือไปปรุงแต่งจิต ให้เป็ นความว่างแบบธรรมชาติข้ ึนมาเลย มันต้องเป็ นความว่าง ที่ เ ป็ นธาตุ รู ท้ ่ี บ ริ สุ ท ธิ์ ความว่ า งของธาตุ รู ก้ บั ความว่ า งของ ธรรมชาติไม่ใช่ อนั เดียวกัน ความว่างธรรมชาติไม่มีความรู แ้ จ้ง รูจ้ ริง รูพ้ น้ เหมือนกับธาตุรู ้ ถ้าหลงปรุงแต่งจิตเป็ นความว่าง นิ่ ง เฉย ท�ำเป็ นรู เ้ ฉย รู เ้ ฉย รู เ้ ฉยๆ… แล้วหลงว่าเป็ นอุเบกขา ก็จะ ท�ำให้สมองทึบโง่ดกั ดานมากยิ่งขึ้นไปเรื่อยๆ เพราะไม่ได้มีสติ ปัญญาที่ส้ นิ ความหลง (อวิชชาดับ) จนเป็ นธาตุรูท้ ่บี ริสทุ ธิ์ หลังจาก นั้นธาตุ ขันธ์ อายตนะ เขาก็ท�ำหน้าที่อย่างบริสุทธิ์ตามปกติ ธรรมชาติของเขา คือสักแต่ว่ารู ท้ างตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจอย่าง อุเบกขา โดยไม่หลงมีตวั เราเข้าไปมีส่วนได้เสีย เมื่อสิ้น “อวิชชา” ใจหรือจิตเดิมแท้เป็ นความรู พ้ น้ ที่มีแต่ ความว่าง เพราะเป็ นธาตุรูท้ ่ีบริสุทธิ์แล้ว แต่ก็ยงั อยู่กบั ขันธ์หา้ และอายตนะที่เป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง และอยู่กบั ธาตุอ่นื ๆ คือธาตุดิน ธาตุน้� ำ ธาตุลม ธาตุไฟ เพราะธาตุขนั ธ์ยงั ไม่ถึงเวลา แตกดับ (คือตาย) เมื่อตายแล้ว ขันธ์หา้ และอายตนะ ซึ่งเป็ น ธรรมชาติปรุงแต่งก็จะดับหมด ธาตุต่างๆ ก็แยกไปเป็ นธาตุดิน ธาตุน้� ำ ธาตุลม ธาตุไฟ และธาตุรูท้ ่บี ริสทุ ธิ์ เพราะไม่มีอวิชชาหรือ ความปรุงแต่งเข้าไปปนผสมแล้ว จึงกลืนหายไปในความว่าง ของธรรมชาติ 152


จบซะที : จบซะที

แต่พวกเรากลับหลงยึดเอาขันธ์หา้ เป็ นตัวเรา แลว้ หลงเอา ตัวเราไปดู ตวั เราที่เป็ นขันธ์หา้ หรือหลงเอาขันธ์หา้ มาปรุงแต่ ง เป็ นตัวเรา แลว้ เอาตัวเราไปดู จิตหรือดู ความคิด อย่างนี้ก็ไม่มี สติปญ ั ญารู เ้ ท่าทันขณะจิตที่หลง เพราะเป็ นผูห้ ลงเสียเองแลว้ ถึงจะพยายามดู จิตดู ความคิดอย่างไร ก็หลงเอาขันธ์หา้ ปรุงแต่งเป็ นตัวเราไปดูจติ ดูความคิด มันหลงวนเวียนเล่นอยู่ กับขันธ์หา้ ไม่หลุดพ้นจากขันธ์หา้ เสียที วางผู ด้ ู ผูร้ ู ไ้ ด้ไหมล่ะ ปล่อยวางไปเลย ปล่อยวางขันธ์หา้ นี้ ไป ตัวเราที่ไหนล่ะขันธ์หา้ ถ้ายังหลงเอาขันธ์หา้ ไปคิด ไปปรุงแต่ง ก็หลงเป็ นสังขารปรุงแต่ง อยู่นัน่ แหละ “ในความคิดมีความไม่คิด ในความปรุงแต่งมีความไม่ปรุงแต่ง มันอยู่ในที่เดียวกัน” เราเพียงแต่เห็นว่ามีความคิด นึก ตรึกตรอง ดิ้นรน หรือ มีอาการอะไรก็ตามที่เกิดขึ้นภายในจิตใจ ไม่ใช่ ตวั เราทัง้ หมด เพราะตัวเราไม่มี ให้เห็นว่ามีแต่สงั ขารหรือธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง ที่เกิดๆ ดับๆ ในใจที่เป็ นธรรมชาติไม่ปรุงแต่งหรือปรุงแต่งไม่ได้ ไม่มตี วั เราเขา้ ไปท�ำอะไรได้ ที่พยายามเขา้ ไปท�ำอะไรเพื่อให้เป็ น อะไรนัน้ มันหลงเอาขันธ์หา้ มาปรุงแต่ งว่าเป็ นตัวเรา แลว้ หลง 153


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

เอาขันธ์หา้ ที่ปรุงแต่งเป็ นตัวเราไปพยายามจะท�ำอะไรเพือ่ ให้เป็ น อะไร หลวงปู่ดูลย์ อตุโล เคยกล่าวไวท้ ำ� นองนี้ว่า “แค่เสี้ยววินาที เดียวที่เอาตัวเราไปคิด ก็ทำ� ลายธรรมชาติของความเป็ นพุทธะ คือ จิตเดิมแท้ท่ีเป็ นธรรมชาติไม่ปรุงแต่งไปเสียแล้ว” ทัง้ ชีวติ เอาแต่ คิดปรุ งแต่ งจึงไม่เคยพบใจหรือจิตเดิมแท้หรือพุทธะ แต่ เมื่อ ไม่หลงยึดถือขันธ์หา้ ซึ่งเป็ นสังขารปรุงแต่ง แต่ก็ไปหลงยึดถือใจ หรือจิตเดิมแท้ท่ีเป็ นวิสงั ขารคือธรรมชาติไม่ปรุ งแต่ ง อย่ างนี้ จะหลงผิดเอาขันธ์หา้ ซึ่งสามารถปรุงแต่ งได้ มาปรุงแต่ งยึดถือ วิสงั ขารที่ไม่มอี ะไรปรุงแต่ งให้ถูกยึดได้ และจะพยายามเอาใจ หรือ จิต เดิม แท้ ไ ปคิด ปรุ งแต่ งปล่อ ยวางก็ไ ม่ไ ด้ เพราะใจหรือ จิตเดิมแท้เป็ นธรรมชาติท่ไี ม่อาจปรุงแต่งได้ ดังนัน้ มีเพียงอย่างเดียว จะต้องมีสติปญ ั ญารู เ้ ห็นตาม ความเป็ นจริงว่า ในธรรมชาติมีธรรมชาติสองชนิ ด คือ ธรรมชาติ ที่ปรุงแต่งเรียกว่า “สังขาร” ได้แก่ขนั ธ์หา้ และอายตนะ กับ ธรรมชาติไม่ปรากฏการปรุงแต่งเรียกว่า “วิสงั ขาร” ได้แก่ใจ หรือ จิต เดิ ม แท้ห รือ ธาตุรู ท้ ่ีบ ริสุท ธิ์ ซึ่ ง ในสัง ขารและวิส งั ขาร ไม่ได้เป็ นเรา เป็ นตัวเรา หรือเป็ นตัวตนของเรา ดังนั้นจึงไม่มี ตัวเราจะไปได้หรือไปถึงนิ พพาน และแม้จะพยายามคิดหรือ ปรุ ง แต่ ง จิ ต อย่ า งไรก็ ต าม ก็ เ ป็ นการหลงจะเอาขัน ธ์ห า้ ไป นิ พพาน และจะมีความหลงผิดกันว่าใจหรือจิตเดิมแท้ซ่ึงเป็ น 154


จบซะที : จบซะที

วิสงั ขารหรือเป็ นความว่างเป็ นนิ พพาน เขาเป็ นเพียงธรรมชาติ ที่ ไ ม่ ป รุ ง แต่ ง เท่ า นั้ น ไม่ ไ ด้เ ป็ นนิ พ พาน แต่ ห ลายคนกลับ หลงพยายามท�ำใจให้ว่าง ซึ่งสังขารและวิสงั ขารไม่ใช่ นิพพาน เป็ นเพี ย งธรรมชาติ ท่ี ป รุ ง แต่ ง และไม่ ป รุ ง แต่ ง เท่ า นั้ น แต่ “นิ พพาน” คือสิ้นหลงยึดถือทัง้ สังขารและวิสงั ขาร คือใจที่ว่าง เมื่อสิ้นหลงยึดถือก็พน้ ทุกข์เรียกว่า “นิ พพาน” “นิ พพาน” จึงไม่ใช่ เมืองนิ พพานหรือสภาวะใดที่จะเอา ตัวเราไปถึง ไปได้ ไปเป็ น ต้องสิ้นหลงยึดถือทัง้ สังขารและ วิสงั ขารจึงจะเป็ นนิ พพาน ดังนัน้ ถ้าพยายามดิ้นรนค้นหา วิเคราะห์ วิจารณ์ วิจยั หาเหตุผล หาถูกผิด หานิพพาน พยายามปล่อยวาง พยายามจะ ท�ำอะไรเพื่อให้ได้ ให้ถึง ให้เป็ นอะไร ก็หลงปรุงแต่งจะไปเอา… ทัง้ นั้น แล้วจะเป็ นนิ พพานได้อย่างไร เพราะนิ พพานมันสิ้น ผูห้ ลงยึดถือ หรือสิ้นผูจ้ ะเอา ถ้ายังหลงปรุงแต่งยึดถือ แม้จะเพียรมีสติปญ ั ญารู เ้ ท่าทัน อย่างไร ก็เป็ นอวิชชา เพราะมันรู เ้ ท่าทันเพื่อจะไปเอาความว่าง หรือ จะไปเอานิ พ พาน ต้อ งสิ้น ผู จ้ ะไปเอาอะไรจึง จะสิ้น หลง ปรุงแต่ง ถ้ายังพยายามปรุงแต่งอยู่ก็แสดงว่ายังจะไปเอาอะไร ต่อเมื่อสิ้นหลงปรุงแต่งก็เท่ากับสิ้นผูจ้ ะเอา 155


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ปุจฉาวิสชั ชนา

โยม : มนั เคยปฏิบตั แิ ล ้วก็... ใจเปลีย่ น อยู่ๆ ใจเปลีย่ น ไปสงสารทัว่ ไปหมด ก็เห็นคนที่เคยขัดใจ ก็ไปทักทายเขาได้ สงสาร ไปพบหลวงพ่อ… ก็ส่งอารมณ์ให้ท่านฟัง ท่านก็บอกว่า ตอนนี้มตี วั เราไหม ก็บอกว่ายังมี ท่านบอกว่าให้ไปดูซมิ ตี วั เราไหม ก็ดูเป็ นปี ว่ามีตวั เราหรือเปล่า มีอยู่วนั หนึ่งเมือ่ ไม่นานมานี้ นัง่ ดู ทีวีอ ยู่ ส ติส มั ปชัญ ญะก็ เ ข า้ มา โยมก็ ดู ไ อ้ต วั อยากที่ม นั อยาก ดู ทีวี ขณะนัน้ แวบหนึ่งก็ไปเห็นม่านเหมือนเป็ นหมอกคลุมอยู่ ก็ออ๋ ขึ้นมาว่า ความมีตวั เองมันเป็ นอย่างนี้เอง มันเป็ นหมอกบางๆ คลุมอยู่ ก็ปฏิบตั ิมาก็ดูว่ามีตวั เราไหม ก็ไม่ได้ถามต่ อว่าจะให้ ปฏิบตั ิอย่างไรต่อ

หลวงตา : ตอนนี้รูห้ รือยัง

โยม : มนั ก็ยงั ถ้าดูจริงๆ มันก็ไม่มี ดูอะไรต่ออะไร รอบๆ ทัง้ หมด มันก็ไม่มตี วั เรา แต่คือมันยังไม่มสี ภาวะปัจจุบนั ทันด่วนที่จะไม่เห็นมีตวั เรา หลวงตา : ก็ยงั หลงปรุงแต่งเอาตัวเราไปดู ตวั เราน่ ะแหละ ไอ้ตวั ที่มนั มีตวั เราก็คือไอ้ตวั ที่เอาตัวเราไปดู ตวั เรานี่แหละ คือ มันมีตวั เรา มันมีไอ้ตวั ที่ดูตวั เรานี่แหละ อันนัน้ น่ ะคือตัวเรา 156


จบซะที : จบซะที

โยม : พยายามจะดูทไี รก็มตี วั เรา

หลวงตา : ถูกต้อง

โยม : ก็พยายามดู

หลวงตา : นนั ่ ! พยายามดูอกี แลว้ ก็เมือ่ กี้ก็บอกว่า ไอ้ตวั ที่ดูตวั เรานะมันท�ำให้เกิดตัวเรา

โยม : แลว้ ดูยงั ไงคะ ที่จะไม่ให้มตี วั เรา

หลวงตา : อา้ ว ก็อย่าไปดูมนั ซิ เพราะมันดูทไี รก็มตี วั เรา ไปดูมนั ทุกที อย่าไปดูมนั วางผู ้ดูได้ไหมละ วางผูร้ ไู้ ด้ไหม ปล่อยวาง ไปเลย

โยม : ถา้ เผื่อเป็ นดูทุกข์หละ

หลวงตา : ไม่ตอ้ งดูเลย

โยม : ไม่ตอ้ งดู

หลวงตา : วางผูด้ ูเดี๋ยวนี้ เลย เพราะถ้าเราไปดูมนั จะขอ ดู หน่ อย ขอดู โน่ น ขอดู น่ี ก็เท่ากับเราห่วงใยตัวเรา เราปล่อย วางตัวเราไปเลย ตัวเราไม่มหี รอก ปล่อยวางขันธ์หา้ นี้ไป ตัวเรา ที่ไหนละ ก็ปล่อยวางขันธ์หา้ ไปเลย เราเอาขันธ์หา้ ไปปรุงแต่ ง ดู อยู่ นนั ่ แหละ เราก็หลงเอาขันธ์หา้ ไปปรุงแต่ ง เราหลงเขา้ ไป 157


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ในสังขารปรุงแต่ งอยู่นนั ่ แหละ ไม่ส้ ินสังขารปรุงแต่ ง ถ้าเรายัง หลงเอาตัวเราไปดูตวั เรา ไปหาตัวเรา การที่ไปหาตัวเราได้ก็ตอ้ ง เอาขันธ์หา้ ไปปรุงแต่ งเอาตัวเราไปหาตัวเรา เอาขันธ์หา้ ไปเล่น ขันธ์หา้ ไปดูขนั ธ์หา้ ไปหาขันธ์หา้ อยู่นนั ่ แหละ มันก็ไม่ส้ นิ สังขาร ปรุงแต่ง

โยม : ไม่ดูตวั เรา แต่คิดว่าตัวเราเป็ นผูอ้ ่นื

หลวงตา : ท้ ิงไป อย่ าไปหาความเขา้ ใจ ทิ้งให้หมด ทิ้ง ให้หมดเดีย๋ วนี้ แน่ ะ!... ยังหาความเขา้ ใจอยู่

โยม : ท้ งิ ให้หมด วาง... เอ้อ…

หลวงตา : ไ ม่ ไ ปคิ ด ว่ า ทิ้ง ให้ห มดแล ว้ จะเป็ นอะไร ทิ้ง ให้หมด แมแ้ ต่การหาความเขา้ ใจ ไปดูแล ้วพยายามหาความเขา้ ใจ ทิ้งให้หมดเดีย๋ วนี้เลย แลว้ มันจะเขา้ ใจเอง เนี่ย!...มันยังไม่ท้ งิ

โยม : แลว้ จะท�ำยังไง

หลวงตา : อา้ ว! จะท�ำยังไง บอกให้เลิกท�ำแลว้ ยังจะท�ำ อยู่นนั ่ แหละ

โยม : ให้เลิกท�ำ มันยังงงอยู่เจ้าค่ะ

หลวงตา : งง มันจะงงยังไงล่ะ

158


จบซะที : จบซะที

โยม : มสี ติสมั ปชัญญะใช่ไหม หรือไม่ตอ้ งท�ำอะไรทัง้ สิ้นเลย หลวงตา : ไม่ตอ้ งท�ำอะไรเลย ไม่ตอ้ งพูดถึงภาษาสมมุติ บัญญัติเลย ไม่ตอ้ งเรียกสติสมั ปชัญญะ ไม่ตอ้ งเรียกว่าอะไรเลย วางหมดเดีย๋ วนี้เลย เลิกๆๆ… สู งสุดกลับคืนสู่สามัญ เหมือนคน ปุถชุ นลองดูซิ เดีย๋ วนี้เลย... อันนี้ยงั ไม่ยอม ยังจะหาเหตุผลขา้ ง ใน

โยม : ไม่ใช่ไม่ยอม

หลวงตา : มนั ยังจะหาเหตุผลอยู่ขา้ งใน มันก็ยงั ปรุงแต่ง ไอ้ต วั ที่ไ ปหาเหตุผ ลได้ม นั ก็ เ อาขัน ธ์ห า้ มาเป็ น สัง ขารปรุ ง แต่ ง หาเหตุผล หาเหตุผลเพื่ออะไรล่ะ โยม : ไม่ใช่เพื่ออะไร แต่กำ� ลังจะวาง แต่ไม่รูจ้ ะวาง ยังไง หลวงตา : หยุดเดี๋ยวนี้ เลย ที่หลวงพ่อชา สุภทั โท ท่าน ถามว่า ท�ำไมเวลาวางจะต้องหาเหตุผลในการวาง ถ้ายังพยายาม จะหาเหตุผลในการวางเท่ากับไม่ยอมวาง ก็บอกให้วางเหมือนกับ วางพัดที่กำ� ลังถืออยู่น่ีไปเลย แต่ ก็บอกเดีย๋ วหาเหตุผลก่ อนว่า จะวางยังไง ขวนขวายไปไหนมันก็เท่ากับไม่ยอมวางอยู่นนั ่ แหละ 159


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

วาง จะวางอยู่แลว้ ท�ำไมต้องถามหาเหตุผล วางก็วางไปเลย ถ้า ถามหาเหตุผลเท่ากับไม่ยอมวาง แลว้ จะค้นไปถึงไหน โยม : ไม่รูจ้ ะค้น ไม่รูจ้ ะวางยังไง ท่านร�ำคาญหรือไม่ ที่ทำ� ไม่ได้อย่างที่ท่านต้องการ หลวงตา : ไม่รำ� คาญเลย แต่เห็นใจ ไม่เห็นใจเปลีย่ นไป ให้คนอื่นพูดแลว้ อยากจะให้เขา้ ใจ ไม่รำ� คาญเลย เรานี่เวลาเรา หลงปรุงแต่งเอง เราจะมองไม่เห็นตัวเรา ว่าเรายังปรุงแต่งไม่เลิก ถ้าเราเห็นคนอื่นท�ำ เราจะไม่ทำ� แบบนี้

โยม : เหรอค่ะ

หลวงตา : เออ ก็เรานัง่ ท�ำอยู่น่ี แลว้ อย่างนี้มนั ปรุงแต่ ง ไหมเนี่ย หน้าตาดูไม่ได้เลย เอากระจกมาส่องซิ นัง่ ไม่ยอมพูดจา กับใคร หน้านิ่วคิ้วขมวด ปากเมม้ แลว้ ก็บอกไม่ปรุงแต่ ง ถ้า ไม่ส้นิ ปรุงแต่งแล ้วมันเรียกว่าสิ้นปรุงแต่งได้อย่างไร ก็เนี่ยหน้านิ่ว คิ้วขมวด ปากเมม้ หาเหตุผลอยู่นนั ่ แหละ อันนี้มนั ปรุงแต่ง มัน ต้องสิ้นปรุงแต่งมันถึงจะเป็ นวิสงั ขาร วิสงั ขารแปลว่าไม่ปรุงแต่ง ถ้ายังปรุงแต่งมันจะไปเป็ นวิสงั ขารได้ยงั ไง วิสงั ขารมันแปลว่า ไม่ปรุงแต่ง มันจะเป็ นขณะจิตเดียวกันไม่ได้ 160

โยม : ขอให้โอกาสคนอื่นถามก่อน


จบซะที : จบซะที

หลวงตา : จ ะให้ค นอื่น ก็ ไ ด้ นี่ ก ล า้ หาญชาญชัย ดีน ะ มี อาชีพเป็ นครู หรือเปล่า

โยม : เป็ นครู และเป็ นสถาปนิกด้วย

หลวงตา : เ ป็ น ครู แ ละเป็ น สถาปนิ ก ด้ว ย ถึง กล า้ หาญ ชาญชัยดี ถือไมค์พูดฉอดๆ ใช้ได้ ไม่เคอะเขิน นี่เราไม่เห็นตัว เราเอง ว่าเราปรุงแต่ง เห็นแต่คนอื่นเขาปรุงแต่ง เวลาเขาปรุงแต่ง มันน่าเกลียด หน้านิ่วคิ้วขมวด ปากเมม้ จะเอาให้เป็ น จะเอาให้ได้ มันหลงเอาขันธ์หา้ ปรุ งแต่ งอยู่ น่ี แลว้ มันจะไปเป็ นวิสงั ขารคือ ความไม่ปรุงแต่ งได้อย่างไร ถ้ายังปรุงแต่ งแบบนี้ มันก็ยงั เป็ น ปรุงแต่ งเรื่อยไป ต่ อให้ปรุงแต่ งหาเหตุผลเท่าไหร่ มนั ก็ยงั เป็ น ปรุ ง แต่ ง เรื่ อ ยไป มัน ไม่ เ ป็ นวิส งั ขารที่ ไ ม่ ป รุ ง แต่ ง ได้ห รอก เพราะวิสงั ขารคือมันอยู่ฝงั ่ ตรงขา้ มกับปรุงแต่ง วิสงั ขารแปลว่า ไม่ปรุงแต่ง ธรรมชาติ ท ้ัง ภายนอกและภายในร่ า งกายจิ ต ใจมี อ ยู่ สองชนิ ดเท่านั้น คือธรรมชาติปรุงแต่ง เรียกว่า “สังขาร” กับ ธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง เรียกว่า “วิสงั ขาร” “สังขาร” คือ ธรรมชาติปรุงแต่ง ได้แก่ สิ่งที่มี ที่ปรากฏขึ้น มาตามเหตุปจั จัย ทุกอย่างในธรรมชาติรวมทัง้ ขันธ์หา้ ซึง่ เป็ นของ ไม่เที่ยง เกิดขึ้นแลว้ ดับไป ต้องเสื่อม หรือแก่เจ็บตาย เน่ าเปื่ อย 161


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ผุพงั สลายกลายไปเป็ นธาตุดิน ธาตุนำ �้ ธาตุลม ธาตุไฟ และ วิญญาณธาตุตามเดิม จึงไม่มสี ่วนไหนที่เหลือคงทนเป็ นเรา เป็ น ตัวเรา หรือเป็ นตัวตนของเรา กับ “วิสงั ขาร” คือ ธรรมชาติไม่ ปรุงแต่ง ได้แก่ ความว่าง ของจักรวาล กับ “ใจหรือจิตเดิมแท้” ที่เป็ นความว่างเหมือนกับ ความว่า งของธรรมชาติห รือ จัก รวาล ไม่มีต วั ตน ไม่มีรู ป ร่ า ง ไม่มกี ารปรุงแต่งแสดงกริยาอาการใดๆ ได้ เป็ นธาตุว่างที่มคี วาม รู จ้ ริง รู แ้ จ้ง รู พ้ น้ จากความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ จึงมีช่ือว่า “พุทธะ” เมื่อ วิส งั ขารเป็ น ความว่ า งที่ไ ม่ มีต วั ตนและไม่ อ าจปรุ ง แต่ ง ได้ จึงไม่ได้เป็ นเรา เป็ นตัวเรา หรือเป็ นตัวตนของเรา และที่สำ� คัญ ไม่อาจเอาวิสงั ขารมาคิดมาปรุงแต่งได้ ดังนั้น ที่หลงคิดหลงปรุงแต่งอยู่น้ ี มันหลงเอาสังขารซึ่ง เป็ นขันธ์หา้ มาคิด มาปรุงแต่ง ซึ่งแม้จะคิดจะปรุงแต่งอย่างไร เพื่อจะให้ไปถึงใจว่าง ย่อมไม่อาจเป็ นไปได้ แม้จะคิดจะปรุงแต่ง อย่างไรก็คงเป็ นความปรุงแต่ง ไม่อาจเป็ น “ใจ” ที่ว่างจากความ ปรุงแต่งได้ ต้อง “หยุด” เอาขันธ์หา้ มาคิด มาปรุงแต่ง จึงจะ เป็ น “ใจ” ที่สงบว่างโดยอัตโนมัติทนั ที เพราะใจที่สงบว่างโดย ธรรมชาติเขาคิด เขาปรุงแต่งไม่ได้ 162

เมื่อพบใจที่สงบ ว่างแล้ว ก็คงปล่อยให้เป็ นใจที่สงบ ว่าง


จบซะที : จบซะที

ไปตามธรรมชาติท่ีไม่ปรุงแต่งของเขาซะ โดยไม่มีผูห้ ลงยึดถือ ใจที่สงบ ว่าง ว่าเป็ นใจเรา ใจของเรา หรือเราคือใจ และที่สำ� คัญ ต้องไม่หลงยึดถือว่า เราเป็ นผูร้ ู ้ รู จ้ ริง รู แ้ จ้ง รู พ้ น้ หรือเราเป็ น “พุทธะ” เมื่อสิ้นผู ห้ ลงยึดถือทัง้ ขันธ์หา้ (สังขาร) และใจหรือจิต เดิมแท้ (วิสงั ขาร) ก็พน้ ทุกข์หรือนิ พพาน ดังนั้น ถ้าพยายามเอาขันธ์หา้ มาคิดมาปรุงแต่งอย่างไร ก็ตาม ก็คงเป็ นสังขาร หรือไม่อาจพ้นจากสังขารแล้วเป็ น “ใจ” หรือ “จิตเดิมแท้” ที่เป็ นวิสงั ขารได้ ต้องหยุดคิด หยุดปรุงแต่ง จึงจะเป็ น “ใจ” ที่ว่างจากการปรุงแต่ง แล้วต้องปล่อยวาง “ใจ” คือไม่ยึดถือใจที่ว่าง จึงจะเป็ น นิ พพานหรือ... ถ้าพยายามคิดหรือปรุงแต่งให้ไปถึงนิ พพาน หรือให้บรรลุ นิ พพาน ย่อมไม่อาจเป็ นนิ พพาน ต้องหยุดคิด หยุดปรุงแต่ง จึงจะเป็ นใจว่าง ปล่อยวางใจว่างหรือไม่ยึดถือใจว่าง จึงจะเป็ น นิ พพาน เมื่อตัวตนของเราไม่มี แล้วจะพยายามไปดู ไปค้นหาตัวเรา เพื่อท�ำลายความเป็ นตัวตนของเราได้อย่ างไร จะพยายามดู 163


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

อย่างไรก็หาตัวเราไม่เจอ เพราะตัวตนของเราไม่มี ถ้ายังหลงเอา ขันธ์มาปรุงแต่งเป็ นตัวเราเข้าไปดูจติ หรือดูตวั เรา ยังพยายาม ดิ้นรน ยังพยายามค้นหา พยายามวิเคราะห์ พยายามปล่อยวาง พยายามจะดู พยายามจะรู ้ พยายามจะให้เห็น พยายามจะ ให้เป็ น มันหลงเอาสังขารเป็ นตัวเราตลอดเวลา ถ้ายังหลงเอา สังขารมาเป็ นตัวเรา มันจะพบ “ใจ” ที่ว่างที่เป็ นวิสงั ขารได้ อย่างไร เหมือนกับเราใส่เสื้อสีดำ� มาวันนี้ แลว้ จะบอกว่าเป็ นสีขาว มันเป็ นไปไม่ได้ อย่างแม่ชีเขาใส่เสื้อสีขาว สีขาวก็สขี าว สีขาว กับสีดำ� มันไม่เหมือนกัน สีดำ� เปรียบเหมือนความปรุงแต่ง สีขาว เปรีย บเหมือ นความไม่ ป รุ ง แต่ ง ถ้า ยัง ปรุ ง แต่ ง อยู่ จ ะให้ม นั รู ้ มัน เห็น มัน เป็ น… มัน ก็ย งั เป็ นเสื้อ สีด� ำ อยู่ นั น่ แหละ ถ้า ไม่ หยุดปรุงแต่งแล้วจะเป็ น “วิสงั ขาร” ธรรมชาติท่ีว่างจากความ ปรุงแต่งเหมือนสีขาวอย่างแม่ชีได้อย่างไร ไหนตอบซิ อยากรู ้ เหมือนกัน

โยม : ไม่ได้ค่ะ

หลวงตา : แลว้ จะเคลือบให้มนั เป็ นสีขาวได้ไหม

โยม : ไม่ได้ค่ะ

164


จบซะที : จบซะที

หลวงตา : ก็ไม่ได้ ต้องท�ำไง ถึงจะเปลี่ยนเป็ นชุดสีขาว อย่างแม่ชีได้ ต้องท�ำไง

โยม : ก็มนั เป็ นสีดำ� อยู่อย่างนี้ แลว้ จะท�ำอย่างไร

หลวงตา : ก็นนั ่ นะซิ ตราบใดที่ยงั ปรุงแต่ง ซักฟอกยังไง มันก็ยงั เป็ นสีดำ � พยายามจะปรุงแต่งซักฟอก ปล่อยวาง ยังไง ก็ตามมันก็ยงั เป็ นสีดำ� อยู่นนั ่ แหละ มันต้องท�ำไง

โยม : ก็มนั เป็ นสีดำ� อยู่แลว้ มันจะเป็ นสีขาวก็ไม่ได้

หลวงตา : เออ นัน่ ซิ แลว้ ท�ำยังไงมันจึงจะเป็ นสีขาว

โยม : จะให้เป็ นสีขาวเหรอ ให้เป็ นความคิดก็ไม่ได้ ให้ คิดว่านี้คือสีขาว หลวงตา : ไ ม่ใ ช่ ใช้ค วามคิด ไปมัน จะเป็ น วิส งั ขารยัง ไง มันก็เป็ นสังขารปรุงแต่งนะสิ มันก็พยายามปรุงแต่ง ใส่เสื้อสีดำ � แลว้ ฟอกเขา้ เอาสีมาย้อมจะให้เป็ นสีขาวซิ มันก็ปรุงแต่ง ท�ำยังไง

โยม : คือที่ท่านถามนี้ คือจะให้….

หลวงตา : จะให้เกิดปัญญา

โยม : ถ้าหากในปัจจุบนั นี้ไม่สามารถทีจ่ ะเป็ นสีขาวได้ เพราะมันเป็ นด�ำอยู่แลว้ ในปัจจุบนั นี้มนั ไม่มสี ่งิ อะไรจะไปท�ำให้ 165


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

มันเป็ นสีขาวได้ มันก็ตอ้ งเป็ นสีดำ� หลวงตา : สีด ำ � คื อ ความปรุ ง แต่ ง สีข าว มัน คื อ ความ ไม่ปรุงแต่ง

โยม : ก็ตอ้ งทิ้งสีดำ� ไป

หลวงตา : ใช่ๆๆ

โยม : นึกถึงสีขาว… อ้อ!.. ก็ไม่ตอ้ งนึกอีก

หลวงตา : ใช่ๆ นึกก็ปรุงแต่งอีก

โยม : จะให้ไม่คิดแต่ มันก็ยงั คิดอยู่

หลวงตา : ใ นธรรมชาติ น้ั น ในความคิ ด มี ค วามไม่ คิ ด ในความปรุงแต่งมีความไม่ปรุงแต่ง มันอยู่ดว้ ยกันในที่เดียวกัน นัน่ แหละ

โยม : เพราะตัวคิดมันก็ปรุงแต่งใช่ไหม

หลวงตา : แต่ตวั คิดมันปรุงแต่งอยู่ใน “ใจ” ที่ไม่ปรุงแต่ง

โยม : คิดอยู่ในความไม่ปรุงแต่ง

หลวงตา : ถูกต้อง

โยม : มันจะเป็ นยังไงก็ช่างมัน ปล่อยมันไป

166


จบซะที : จบซะที

หลวงตา : พูดเมือ่ กี้เกือบถูกแลว้ มันจะเป็ นยังไงก็ช่างมัน เพราะมันเป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง แต่ “ใจ” เป็ นธรรมชาติฝ่าย ไม่ปรุงแต่ง มันต้องอยู่ดว้ ยกัน เพราะขันธ์หา้ มันเป็ นธรรมชาติ ฝ่ ายปรุงแต่ งที่ยงั มีชีวติ อยู่ ยังดับไม่ได้ตอนนี้ แต่ “ใจ” เป็ น ธรรมชาติไม่ปรุ งแต่ ง ขันธ์หา้ มันต้องอยู่ ดว้ ยกันกับธรรมชาติ ไม่ปรุงแต่ ง รอจนกว่าสิ้นอายุขยั ขันธ์หา้ ฝ่ ายที่ปรุงแต่ งมันจึง จะดับไป ตอนนี้เราจะไปพยายามดับความคิดได้เมือ่ ไหร่ เพราะ มัน ยัง มีข นั ธ์ห า้ มัน ยัง มีชี วิต อยู่ เ ราจะไปดับ มัน ได้ย งั ไง แต่ ธรรมชาติท่มี นั คิดนี้มนั เป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง เพราะมันเป็ น ขันธ์หา้ มันเป็ นตัวสมมุติ มันเป็ นเราชัว่ คราว โยม : ก็มนั อยู่ในสภาพอย่างนี้ก็ตอ้ งปล่อยให้มนั เป็ น อย่างนี้

หลวงตา : ตรงนี้ถูกต้องมากเลยนะ ค�ำพูดนี้

โยม : ก็ไม่ตอ้ งไปคิดถึงอะไร เมือ่ มันอยู่อย่างนี้ ก็ตอ้ ง ให้มนั อยู่อย่างนี้ไปเรื่อยๆ ตามสภาพของมันที่มนั เปลีย่ นไป หลวงตา : ใช่แล ้ว มันเป็ นสภาพของธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง ปล่อยให้ธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งเป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งของ มัน ไม่มีใครเข้าไปแทรกแซง ไม่มีใครเข้าไปยึดถือมัน 167


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

โยม : ก็ปล่อยมันไป มันจะเป็ นยังไงก็เป็ นเรื่องของ ธรรมชาติท่มี นั จะท�ำไปอยู่เรื่อยๆ ต้องยอมรับ หลวงตา : ก็ไม่เห็นจะเป็ นอะไร อยากปรุงแต่งก็ปรุงแต่ง ไปเพราะมันเป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง มันก็ยงั เป็ นธรรมชาติท่ี ยังมีโลก ยังต้องมีสวรรค์ ยังต้องมีนรก เป็ นเรื่องของธรรมชาติ ฝ่ ายปรุงแต่งเขาต้องไป แต่ธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง ไม่มผี ู้ไป มันก็ มีอยู่ของมัน มันอยู่ดว้ ยกันแต่ไม่มผี ู้ไปไหน ไม่เป็ นอะไรทัง้ สิ้น ไม่ยุ่งเกี่ยวกับธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งเลย เพราะมันเป็ นธรรมชาติ ฝ่ ายไม่ปรุงแต่ง ธรรมชาติฝ่ายไม่ปรุงแต่งเปรียบเหมือนความว่าง ของจักรวาล แต่ ในจักรวาลเต็มไปด้วยธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ ง แมแ้ ต่ โลกทัง้ สามนี้ก็หมุนอยู่ สถิตอยู่ในความว่างของจักรวาล โลกทัง้ สามมันเป็ นโลกของธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง โลกนรก โลก สวรรค์ โลกมนุษย์ ล ้วนแต่เป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งทีป่ รุงแต่งไป ปรุ ง แต่ ง เป็ น บาปกรรมชัว่ ก็ ไ ปนรก ปรุ ง แต่ ง เป็ น กรรมดีก็ ไ ป สวรรค์ ไม่ติดชัว่ ไม่ติดดี แต่ยงั ไม่พน้ ทุกข์ก็เป็ นมนุ ษย์ พน้ ไป เลยไม่ติดอะไรเลย ก็นิพพาน ไม่ติดอยู่ในโลกทัง้ สาม ถ้ายังไม่ตาย แม้แต่พระพุทธเจ้าและพระอรหันต์จะไป ดับขันธ์หา้ ที่ตรึกนึ กคิดตามปกติธรรมชาติไม่ได้ เพราะมันเป็ น ธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง ก็ตอ้ งปรุงแต่งตามปกติธรรมชาติ จะดับ เขาไม่ ไ ด้ ดัง นัน้ ขัน ธ์ห า้ มัน อยากจะคิ ด ปรุ ง แต่ ง ก็ ป รุ ง แต่ ง ไป 168


จบซะที : จบซะที

แต่ไม่มใี ครยึดถือ เมื่อสิ้นหลงปรุงแต่งเพราะสิ้นผูจ้ ะไปเอาอะไร ก็พบใจที่ว่างเปล่าซึ่งเป็ นธรรมชาติท่ีไม่ปรุงแต่ง ซึ่งความจริง ธรรมชาติปรุงแต่งกับใจที่ว่างจากความปรุงแต่งมันมีอยู่ดว้ ยกัน อยู่แล้ว แต่หลงคิดหลงปรุงแต่งอยู่ จึงมาบังใจที่ว่างเปล่า โยม : ม ัน เป็ นธรรมชาติ ป รุ ง แต่ ง กับ ธรรมชาติ ไม่ปรุงแต่งที่ตอ้ งอยู่ร่วมกัน หลวงตา : ถู ก ต้อ ง คื อ มัน เหมือ นกับ จัก รวาล มัน เป็ น ความว่าง แต่ มนั ก็ตอ้ งอยู่ ร่วมกับสังขารปรุ งแต่ งทัง้ หมดที่อยู่ ในจักรวาลนี้ โลกทัง้ ใบมันเป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง เพราะ มันลอยอยู่ในจักรวาลที่ว่างเปล่าจากความปรุงแต่ง ส่วนร่างกาย จิตใจเราก็อยู่ บนผิวโลก ร่ างกายก็เป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ ง และเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณก็เป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง มันปรุงแต่งอยู่ท่ไี หน มันก็ปรุงแต่งอยู่ใน “ใจ” ที่เป็ นความว่าง เหมือ นกับ ความว่ า งในจัก รวาลนี้ แ หละ แต่ ใ จมัน มีค วามรู ้ เป็ นธาตุรู ้ มันรู ว้ ่ามีอะไรปรุงแต่งอยู่ในใจ แต่ “ใจ” เป็ นความว่าง ที่ไม่ปรุงแต่ งเท่านัน้ แหละ และมันก็รูต้ วั มันเองด้วยว่ามันว่าง เหมือ นกับ ความว่ า งของจัก รวาล จนกว่ า ถึง คราวสิ้น อายุ ข ยั ธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งก็ดบั ไป ส่วน “ใจ” ไม่ดบั ไปด้วยเพราะ เป็ นธรรมชาติท่ไี ม่ปรุงแต่ง จึงไม่มกี ารเกิดดับ เป็ นความว่างที่มี ความรู ก้ ลืนหายไปในความว่างของจักรวาล 169


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

โยม : เพราะไม่มรี ู ป

หลวงตา : ถูกต้อง

โยม : เพราะฉะนัน้ ใจที่แท้จริงคือเป็ นตัวรู ้ เป็ นความ ว่างเปล่า ที่มอี ยู่ในจักรวาลที่ว่าง อย่างนี้ก็จะแผ่ไปทัว่ หมด หลวงตา : นนั ่ แหละที่สุดแลว้ มันจึงเหลือแต่ความเมตตา เพราะมันมีแต่แผ่ความว่างไปเป็ นอนันต์ทุกทิศทุกทางไม่มที ่สี ุด ไม่ มีป ระมาณ มัน จึง มีแ ต่ ค วามเมตตาเมื่อ สิ้น ความปรุ ง แต่ ง เป็ นความรักความเกลียดชังแลว้ มันเลยกลายเป็ นเมตตาไม่มี ที่สุดไม่มปี ระมาณ เพราะมันเป็ นความว่างที่แผ่ไปไม่มขี อบเขต ไพศาล ที่หลวงปู่ดูลย์ อตุโล ใช้คำ� ว่า มหาสุญญตา ว่าง เวิ้งวา้ ง ไพศาลเป็ น หนึ่ ง เดีย วกับ จัก รวาล ที่ไ ม่มีข อบเขต ไม่มีต วั ตน ไม่มรี ู ปร่าง ไม่มอี ะไรเลย โยม : ตอนนี้เขา้ ใจแลว้ ค่ะ คือเขา้ ใจที่ท่านพูดว่า “ใจ” คือความว่างเปล่า แลว้ โยมจะปฏิบตั ิตนยังไง หลวงตา : ก็อ ย่ า ไปเป็ นธรรมชาติฝ่ ายปรุ ง แต่ ง ซิ มัน ก็ จะเป็ นธรรมชาติฝ่ายไม่ปรุงแต่งโดยอัตโนมัติทนั ที ถ้ายังเป็ น ผูป้ รุงแต่งอยู่ แล้วจะเป็ นความไม่ปรุงแต่งไม่ได้ 170

โยม : อย่าไปเป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง อย่าไปเป็ น


จบซะที : จบซะที

ตัวขันธ์หา้ ที่กำ� ลังปรุงแต่งนี้ หลวงตา : ถ้า ยัง พยายามคิ ด ตรึ ก ตรอง ดิ้ นรนค้น หา พยายามจะให้รูอ้ ะไร ให้เป็ นอะไร มันก็จะมีแต่ปรุงแต่ง ปรุงแต่ง ปรุงแต่ง… จะไม่เป็ น “ใจ” ที่ไม่ปรุงแต่งเสียที ที่หลวงปู่ดูลย์ อตุโล กล่าวว่า “แค่เสี้ยววินาทีเดียวที่ไปเป็ นผูค้ ิด ก็ท�ำลายธรรมชาติ ของใจหรือจิตเดิมแท้ ที่เป็ นความว่างไปเสียแล้ว” ธรรมชาติ ที่ปรุงแต่งก็ปล่อยให้มนั เป็ นธรรมชาติฝ่ายที่ปรุงแต่งไป ส่วน “ใจ” ปรุงแต่งไม่ได้ ได้แต่สงบว่างอยู่อย่างนั้น แต่มนั ต้องอยู่ ด้วยกัน โยม : คื อ ให้รู ว้ ่ า ขัน ธ์ห า้ นี้ ม นั เป็ นของที่ ม นั เกิ ด ขึ้น มาเอง มัน เป็ นธรรมชาติ ท่ี ม นั ปรุ ง แต่ ง ขึ้ น มาตั้ง แต่ เ กิ ด มา จนกระทัง่ ตาย ให้ธ รรมชาติข องมัน แปรเปลี่ย นไปอยู่ เ รื่อ ยๆ แลว้ ก็ไม่ตอ้ งไปคิดถึงเรื่องอะไร ให้คิดว่ามันก็ตอ้ งเป็ นอย่างนี้ หลวงตา : ใ ห้เ ห็ น ว่ า ตัว เราผู ้ท่ี ก� ำ ลัง คิ ด อยู่ น้ ี มัน เป็ น ขันธ์หา้ มันเป็ นตัวสมมุติเพราะเป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งเป็ น ตัวเราชัว่ คราว เดี๋ยวก็แตกดับท�ำลายไป มันจึงไม่ใช่ ตวั เราจริงๆ ส่วน “ใจ” มีแต่ความสงบ ว่างเปล่าจากความคิดปรุงแต่ง หรือ ในความคิด มี ใ จที่ส งบ ว่ า งเปล่า และใจที่ส งบและว่ า งเปล่า ไม่มีตวั ตน จึงไม่ใช่ ตวั เราเช่ นเดียวกัน 171


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

โยม : ตอ้ งไปเห็นที่ตวั คิด

หลวงตา : เห็นจิตคิดปรุงแต่ง แต่ “ใจ” สงบและว่างเปล่า

โยม : จะท�ำยังไงดีล่ะ

หลวงตา : ถา้ หลงปรุงแต่งอยู่อย่างนี้ ก็จะไม่อาจเป็ น “ใจ” ที่ไม่ปรุงแต่ง

โยม : ออ๋ พอจะเขา้ ใจ

หลวงตา : เราไม่มีหน้าที่อะไรที่ไปพยายามไปดับขันธ์หา้ ตัวผูก้ ำ� ลังคิดนี้ เพราะมันเป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง ไม่ใช่ เป็ น ตัวตนของเรา ปล่อยให้เขาคิดปรุงแต่งตามปกติธรรมชาติ ส่วน “ใจ” ไม่ได้คิด มีแต่ความสงบว่าง เป็ นอิสระจากความปรุงแต่ง

โยม : ขอบคุณท่านอาจารย์

หลวงตา : แต่ขณะนี้โยมก�ำลังหลงเป็ นผูค้ ิดปรุงแต่ง ก็จะ ไม่เป็ น “ใจ” ที่สงบว่าง

โยม : ใช่ๆๆ

หลวงตา : ถา้ ยังเป็ นสังขาร ก็ไม่อาจเป็ นวิสงั ขารได้

โยม : มันติดมานาน ก็พยายามวาง แต่มนั ยังไม่ค่อย

172


จบซะที : จบซะที

จะวางเฉย พยายามปล่อยให้สภาวะมันเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ แต่มนั ไม่ยอมวาง หลวงตา : ถา้ โยมยังหาวิธที จ่ี ะวางเฉยแบบนัน้ ก็ยงั ปรุงแต่ง ไม่เลิก

โยม : มนั อยากหยุด

หลวงตา : อยากหยุด ก็หยุดซิ ก็หยุดไปเลย ท�ำไมต้อง อยากหยุด ก็ยงั นัง่ ปรุงแต่งไม่เลิก ยังหาเหตุผลอยู่ แลว้ ท�ำไม ยัง หาเหตุ ผ ลอยู่ ท�ำ ไม… ก็ ห ยุ ด หาเหตุ ผ ลเสีย ซิ แล ว้ ท�ำ ไม ยังไม่หยุดหาเหตุผล ทัง้ ๆ ที่รูว้ ่า การเขา้ ไปหาเหตุผลมันหลง เขา้ ไปเป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง ท�ำไมมันยังไม่หยุดหาเหตุผล อ้า ว ตอบซิ เพราะอะไรจึง ยัง ไม่ห ยุ ด ดิ้น รนค้น หา ถ้า ยัง เป็ น ผู ด้ ้ ิน รนค้น หาหาเหตุ ห าผล ก็ ย งั เป็ น ธรรมชาติ ฝ่ ายปรุ ง แต่ ง เรื่อยไป ท�ำไมจึงยังไม่หยุดดิ้นรน ค้นหา หาเหตุหาผล

โยม : มนั ยังท�ำไม่ได้ว่าจะหยุดยังไง มันยังท�ำไม่ได้

หลวงตา : ก็ไม่ตอ้ งท�ำอะไร

โยม : ก็ไม่ตอ้ งท�ำอะไร ดูมนั ไปเฉยๆ

หลวงตา : ก็ไม่ตอ้ งดูดว้ ย ไม่ตอ้ งท�ำอะไร 173


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

โยม : เฉยๆ ไม่ตอ้ งท�ำอะไร

หลวงตา : เพราะถ้าท�ำมันก็เท่ากับปรุงแต่ง พยายามจะท�ำ หยุด มันก็ปรุงแต่ง ก็ไม่ตอ้ งท�ำอะไร โยม : อยู่เฉยๆ ให้สภาวะนี้มนั เปลีย่ นไปเรื่อยๆ ก็ไม่ ต้องไปท�ำอะไร

หลวงตา : พูดอีกก็ถูกอีก ไหนบอกว่าไม่รู ้

โยม : คือที่บอกไม่รู ้ เอ่อ… ใช่... ใช่ อย่างที่ท่านว่า มันหาวิธีท่จี ะให้มนั คือมันเคยมาดูใจ ดูทำ� ไอ้โน่ น ท�ำไอ้น่ี และ มันก็มีความรู ส้ ึกว่า เอ๊ะ ถ้าเผื่อว่าเราอยู่เฉยๆ ดู สภาวะที่มนั เป็ นไปของมันเอง โดยที่ว่าไม่ตอ้ งไปคิดอะไรทัง้ สิ้นเนี่ย มันจะ เป็ นอย่างไรก็เป็ นเรื่องของมัน มันรู ส้ กึ เหมือนมันไม่ได้ทำ� อะไร

หลวงตา : อ้าว ก็ทำ� อะไรมันปรุงแต่งหมดไง

โยม : ไม่ตอ้ งท�ำอะไร ก็อยู่มนั เฉยๆ ไปเรื่อยๆ สภาวะ มันจะเป็ นยังไงก็ช่างมัน ให้มนั เป็ นของมันไปตามนัน้ ไม่ตอ้ ง ไปคิดว่าเราจะต้องปฏิบตั ิอย่างไร ไม่ตอ้ งอะไรทัง้ สิ้น อยู่เฉยๆ ไปเลย หลวงตา : พู ด อี ก ก็ ถู ก อี ก ก็ ถู ก ต้อ งทัง้ หมดเลยที่ พู ด ไม่ผดิ เลย แลว้ มันหายเหนื่อยไหม 174


จบซะที : จบซะที

โยม : ม นั เบาๆ อยู่ เ ฉยๆ ก็ ดี ม นั ไม่ ต อ้ งไปคิ ด ถึง อะไรเลย

หลวงตา : ก็ถา้ ไปคิดถึงอะไรมันก็เป็ นปรุงแต่งนะซิ

โยม : รูส้ กึ ท่านตะล่อมเขา้ มาให้โยมได้เขา้ ใจ จนไม่มี ที่ไป หลวงตา : มนั อยากจะคิด อยากจะนึก อยากจะดิ้นรน ค้น หาปล่ อ ยมัน ไปเลย มัน อยากจะคิ ด ยัง ไงก็ ไ ด้ เพราะมัน เป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ ง ปล่อยให้มนั เป็ นไปอย่างที่มนั เป็ น มันเกิดขึ้นเองได้ มันก็ดบั ของมันไปเองได้ ธรรมชาติฝ่ายปรุง แต่งมันเกิดขึ้นเองได้ มันก็ดบั เองได้ ช่างมัน โยม : คิ ด อย่ า งนี้ เ หมือ นใจมัน เหนื อ กว่ า ความคิ ด ที่ปรุงแต่ง หลวงตา : ก็ น่ี แ หละที่มีค �ำ กล่ า วว่ า “พบใจ พบธรรม” เราเป็ น คนพู ด เองนะว่ า “ใจมัน เหนื อ กว่ า ความคิ ด ปรุ ง แต่ ง ” เพราะมัน หยุ ด ปรุ ง แต่ ง มัน จึง เป็ นความว่ า ง ความคิ ด หรื อ ความปรุงแต่งมีอยู่ แต่ไม่ได้ท�ำให้ใจที่ว่างหายไป ก็เหมือนกับ ที่ สุ ภ ทั ทะพระอรหัน ต์ส าวกองค์ สุ ด ท้า ย ได้ก ราบทู ล ถาม พระพุท ธเจ้า ว่ า รอยเท้า ที่เ หยีย บไปในอากาศจะมีร อยหรือ ไม่ 175


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

พระพุทธเจ้าตรัสว่า “ไม่มรี อยเท้าในอากาศ” ทีโ่ ยมบอกว่าความคิด ปรุงแต่งเหมือนลอยอยู่ไกลๆ ใจมันเหมือนไม่มอี ะไร มันเหมือน อยู่ห่างไกลกัน มันไม่ตดิ กัน จะบอกว่าไกล แต่มนั ก็ใกล ้กัน แต่มนั ก็ไม่ติดกัน มันเหมือนกับเป็ นคนละส่วนกัน มันก็เหมือนกับว่า ความคิดปรุงแต่ งมันเป็ นความคิดอยู่ ในใจที่ว่างเปล่า เหมือน กับรอยเท้าที่เหยียบไปในอากาศจะมีรอยหรือเปล่าล่ะ ท�ำนอง เดียวกัน ความคิดปรุงแต่งทัง้ หลาย ย่อมไม่สามารถประทับรอย ไว้ในใจที่ว่างเปล่าได้

โยม : เพราะไม่มที ่เี หยียบ มันว่างไปหมด

หลวงตา : มนั อยากจะนึก อยากจะคิด อยากจะดิ้นรน ค้นหาก็ปล่อยมันไป เห็นมัน ช่ างมัน มันเป็ นเพียงรอยเท้าที่ เหยีย บไปในอากาศ เหมือ นกับ ใจที่ไ ม่ป รุ ง แต่ ง เราไม่ ไ ด้ ไ ป ท�ำลายธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง ไม่ได้ไปท�ำลายรอยเท้า ไม่ได้ไป ลบรอยเท้า แต่มนั หายไปเอง มันเกิดขึ้นเอง แล้วก็หายไปเอง ดับไปเอง ในความว่างเปล่านั้น โยม : มี ค วามรู ส้ ึ ก ว่ า ไอ้ต ัว นี้ มัน ท�ำ ว่ า จะร้อ งไห้ มันก็เป็ นของมันอย่ างนี้ ก็ให้มนั เป็ นไป อันนี้ คือ มันมีความ เหนือกว่าไอ้ท่ีคิด มันไปรู ว้ ่าคิด ว่าไอ้ตวั นี้มนั ก�ำลังจะอย่างงัน้ อย่างงี้ เพราะฉะนัน้ มันมีตวั ที่ไปรู ต้ วั นี้อีกตัวหนึ่ง ไอ้ตวั ที่ไปรู ้ 176


จบซะที : จบซะที

ตัวนี้มนั อยู่ห่าง อยู่เหนือกว่าตัวที่ไปคิดนี้อีกตัวหนึ่ง มันก็บอก ไม่ถูก หลวงตา : ไ อ้ต วั ที่ม นั รู ว้ ่ า มีค วามปรุ ง แต่ ง อยู่ ใ นความ ไม่ปรุงแต่งนัน้ มันเป็ นตัวสติ สมาธิ ปัญญาในขันธ์หา้ ที่ยมื มาใช้ ยืมขันธ์หา้ มาเป็ นตัวสังเกต มาใช้ เลยมาสังเกตเห็นว่า “ใจ” เป็ น ความว่ า งเปล่า ที่ไ ม่ ป รุ ง แต่ ง แต่ ข นั ธ์ห า้ เขาก็ ค งปรุ ง แต่ ง ของเขาไป แต่มนั อยู่คนละส่วนกับใจที่ว่างเปล่า ไอ้ตวั ที่สงั เกต เห็น เนี่ ย เป็ น ตัว สติป ญ ั ญาของขัน ธ์ห า้ ที่ยืม มาใช้ ก็ เ ห็น มัน ไป อย่างนี้ รู ม้ นั ไปอย่างนี้จนกระทัง่ มันกลายไปเป็ นใจว่างเปล่า ที่รู ต้ วั มัน เอง คื อ รู ว้ ่ า ตัว มัน ว่ า งเปล่ า และก็ รู ว้ ่ า มีส่ิง ที่ ปรุงแต่งเกิดดับอยู่ในมัน แต่ใจไม่เกิดดับด้วย ไอ้ตวั สติปญ ั ญา ที่เป็ นตัวสังเกตมันจะค่อยๆ เลือนหายไป เหลือแต่ใจที่รูเ้ ท่านัน้ เอง คือรูว้ า่ ตัวมันเองเป็ นความว่าง เป็ นหนึ่งเดียวกับจักรวาล เป็ น ความว่าง เวิ้งว ้าง ไพศาล ไม่มขี อบเขต ไม่มตี วั ตน ไม่มรี ูปร่าง เป็ น มหาสุญญตา แต่ความคิดปรุงแต่ง มันจะปรุงแต่งดี ปรุงแต่งชัว่ จะเป็ นกุศล อกุศลอะไรก็ตาม มันก็เหมือนรอยเท้าที่เหยียบย�ำ่ ไปในอากาศ หรือฝูงนกทีบ่ นิ ไปในอากาศ ย่อมไม่ปรากฏร่องรอย ไม่มีหน้าที่เราที่จะไปลบรอยเท้าในอากาศ ไม่ใช่ หน้าที่เราที่จะ ต้องไปท�ำอะไรกับสิ่งที่ปรุงแต่งนัน้ เพราะเขาเกิดขึ้นเอง เขาก็ดบั 177


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ของเขาไปเอง เขาเกิดขึ้นมาจากความไม่มอี ะไรในความว่างเปล่า เขาก็ดบั หายไปในความว่างเปล่า ความรู ส้ ึกว่าตัวเราเป็ นผู ด้ ู ผู ร้ ู ้ ผู เ้ ห็น อีกตัวหนึ่ง ตัวนี้ มันเป็ นวิญญาณขันธ์ ท�ำงานร่วมกับเจตสิก หรือเวทนา สัญญา สังขาร คือมันรู เ้ สร็จแลว้ มันก็ส่งต่อเวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณตัวใหม่ต่อๆ ไป มันเกิดดับเร็วมาก มันเลยเหมือนกับว่า ตัวเราผูร้ ู ้ คิด นึก ตรึกตรอง ปรุงแต่ง เมือ่ มีสติปญ ั ญาเห็นว่า ทัง้ ผู ร้ ู แ้ ละผู ค้ ิ ด ทุ ก ตัว เป็ นขัน ธ์ห า้ ซึ่ ง เป็ นธรรมชาติ ป รุ ง แต่ ง ก็ปล่อยให้เขาปรุงแต่ งไปตามปกติธรรมชาติของเขาเสีย ส่วน “ใจ” เป็ นธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง เป็ นความว่าง ไม่ใช่ขนั ธ์หา้ โยม : ขณะที่ท่านพูด มันมีความรู ส้ ึกว่า ไอ้ท่ีเราไป คิดว่าเป็ นตัวเรา เป็ นตัวเราที่พูดอยู่เนี่ยเป็ นตัวเรา แต่ พอท่าน พูดถึงเรื่องที่ว่าจิต เจตสิกมันท�ำงานร่ วมกันกับเวทนา สัญญา สังขาร มันรู ส้ ึกว่า มันเป็ นอีกส่วนหนึ่ง ก็ไปเขา้ ใจที่คิดว่าเป็ น ตัวเรา ก็เพราะว่ามันไปเห็นไอ้ตวั รู ปเป็ นตัวเรา แต่พอแยกออก มาแลว้ จริงๆ แลว้ ก็เป็ นตัวท�ำงานของขันธ์หา้ ทัง้ หมด หลวงตา : ถูกต้องแลว้ มันเป็ นกระบวนการของขันธ์หา้ ซึง่ ธรรมชาติสร้างมาให้ฉลาดปราดเปรื่องมาก เพราะฉะนัน้ ความ รู ส้ กึ ว่าตัวเรา... ตัวเรา... ที่ไปรู ้ ไปเห็น เอาตัวเราวิเคราะห์ ตัวเรา 178


จบซะที : จบซะที

วิจารณ์ ตัวเราเป็ นผู ค้ ิด ตัวเราเป็ นผู ต้ รึก ตัวเราเป็ นผู ต้ รอง ตัวเราเป็ นผูเ้ ขา้ ใจ ลว้ นแต่เอาวิญญาณขันธ์ เป็ นวิญญาณขันธ์ ท�ำงานร่วมกับเจตสิก เป็ นขันธ์หา้ ทัง้ หมด เมือ่ เราเห็นจนถึงทีส่ ุดว่า ความรูส้ กึ เป็ นตัวเราเป็ นขันธ์หา้ เลยตัวเราไปก็เป็ นความว่างเปล่า มันก็เปรียบเหมือนอย่างนี้ โยมนัง่ อยู่โยมเอาตัวเองเป็ นคนนัง่ เก้าอี้ มองเลยตัวเองออกไปทุกทิศทุกทางเป็ นอะไร ความว่าง นัน่ แหละ เลยความรูส้ กึ เป็ นตัวเราออกไป นอกตัวเราเป็ นความว่าง ที่โ ยมเข า้ ใจว่ า ความรู ส้ ึก ที่เ ป็ น ตัว เราในใจเป็ น วิญ ญาณขัน ธ์ เป็ นขันธ์หา้ เสียแลว้ มันก็ปล่อยวางความรูส้ กึ ที่เป็ นตัวเราซึ่งเป็ น ขันธ์หา้ ไปเสีย โยม : ขนั ธ์หา้ เขาจะต้องปรุงแต่ งของเขาอย่างนัน้ ไป ตลอด หลวงตา : ถกู ต้อง เราจึงมีสองตัวอยู่ดว้ ยกัน ตัวสมมุติ กับ วิมตุ ติ คือ ตัวขันธ์หา้ ที่สมมุติว่าเป็ นตัวเราเอาไว้ใช้งาน เพราะตัว วิมตุ ติมนั เอาไปท�ำงานไม่ได้ เรายังไม่ตายก็เอาตัวสมมุติทำ� งาน ไปอย่างเต็มก�ำลังความสามารถ เกื้อกูลตนเองจนสิ้นความหลง ปรุงแต่ง กิจที่ตอ้ งท�ำเสร็จแลว้ ไม่ยดึ แลว้ ไม่มตี วั ผูม้ ายึด เพราะ ตัวผูท้ ่ียึดได้ตอ้ งเป็ นตัวปรุงแต่ง ส่วนใจที่ว่างจากความปรุงแต่ง ยึด อะไรไม่ ไ ด้ เมื่อ หลุด พ น้ จากตัว สมมุติ ไปเป็ น วิมุต ติแ ล ว้ ก็ตอ้ งกลับมาใช้ตวั สมมุติทำ� ประโยชน์เกื้อกูลผูอ้ ่ืน และช่วยแผ่ 179


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

เมตตาให้แก่เทพ เทวดา อินทร์ พรหม ยม ยักษ์ นาค ครุฑ มนุษย์ คนธรรพ์ สรรพสัตว์ทงั้ หลายที่ยงั เวียนว่ายตายเกิด อธิษฐาน ให้เขาพน้ ทุกข์ ผู้ใดทุกข์กายอยู่ให้เขาพน้ ทุกข์กาย ผู้ใดทุกข์ใจ ให้เขาพน้ ทุกข์ใจ ให้ได้รูธ้ รรม มีใจเป็ นธรรมที่พน้ ทุกข์ เรียกว่า เป็ นผู เ้ กื้อกู ลโลก ท�ำประโยชน์ตนและประโยชน์ท่าน นี่แหละ เอาขัน ธ์ห า้ ที่บิด ามารดาให้ม าใช้  นับ ว่ า ประเสริ ฐ สู ง สุ ด แล ว้ ได้ตอบคุณของบิดามารดาซึ่งเทียบเท่าคุณของพระอรหันต์

หลวงตา : อายุเท่าไหร่แลว้ ละเนี่ย

โยม : ๘๕ ค่ะ

หลวงตา : ๘๕ แล ว้ ก็ ย งั พอช่ ว ยเหลือ เกื้ อ กู ล โลกได้ ๘๕ แล ว้ ธรรมมาทัน เวลาพอดี คงเป็ น วาสนาอยู่ เ พราะว่ า พรุ่งนี้หลวงตาจะกลับแล ้ว เอ้า!...อยากร้องก็รอ้ งไห้เถอะ มันทุกข์ มาหลายภพหลายชาติแล ้ว ให้มนั ร้องไห้ภพชาติน้ ีเป็ นชาติสุดท้าย ขันธ์หา้ มันพาเราไป ตกสู ง ตกต�ำ ่ ตกนรก หลายภพหลายชาติ ไปเป็ นสัตว์เดรัจฉาน ไปท�ำบาปกรรมชัว่ เป็ นเปรต อสูรกาย หลาย ภพหลายชาติ แต่ในที่สุดแล้วเราก็เอาคุณประโยชน์จากขันธ์หา้ นี้ แหละมาพาเราให้พน้ ทุกข์ได้ มันอยากจะร้องก็รอ้ งไปเหอะ มัน ทุก ข์ม ากมาหลายชาติแ ล ว้ ให้ม นั ร้อ งซะชาติสุ ด ท้า ยจะได้ ไม่ตอ้ งไปร้องอีก 180


จบซะที

๑๗ เหนือค�ำอธิบาย

ธรรมชาติมีสองฝ่ าย คือ ธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งได้ เรียก ว่า “สังขาร” หรือ สังขตธาตุ กับธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งไม่ได้ เรียกว่า “วิสงั ขาร” หรือ อสังขตธาตุ ซึ่งจะมีแต่ความรู เ้ ฉยๆ แต่ ไม่สามารถปรุงแต่งเป็ นกริยาอาการใดๆ ได้ ธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งหรือสังขารนี้ มันปรุงแต่งว่าเป็ น ตัวเรา ให้เรามีความรูส้ กึ ว่าเป็ นตัวเรา ปรุงแต่งว่าตัวเราผูป้ ฏิบตั ิ ธรรมยัง ไม่รู พ้ น้ ยัง ไม่ถึง ยัง ไม่ไ ด้ ยัง ไม่เ ป็ น ตามที่ห มายไว ้ ยังมีกิเลส พอเรารู้ ไม่เท่าทันหลงไปตามสังขาร ก็เลยหลงยึด หลง ปรุงแต่งไปมีตวั เราที่ตอ้ งเพียรให้ส้ นิ กิเลส มีตวั เราที่รอไปบรรลุ นิพพาน มีตวั เราไปพยายาม มีการเขา้ ไปยึดความเพียรพยายาม 181


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ผู ป้ ฏิบ ตั ิธ รรมต้อ งพึง เห็น ด้ว ยสติป ญ ั ญาว่ า ความรู ส้ ึก ขา้ งต้นที่เกิดขึ้นลว้ นเป็ นสังขารปรุงแต่ ง อย่าเอาธรรมชาติฝ่าย ปรุงแต่ งมาเป็ นตัวเรา และที่สำ� คัญยิ่งคืออย่าเอาตัวเราไปดับ ธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งที่ปรุงเป็ นตัวเราอยู่ มิฉะนั้นจะกลายเป็ น หลงปรุงซ้อนเข้าไปอีก พยายามไม่ไ ปยึด ธรรมชาติฝ่ ายปรุ ง แต่ ง แม ม้ นั จะปรุ ง อย่างไร ไม่ว่าจะปรุงขึ้นมาเป็ นอะไรก็ตาม ก็เป็ นแค่ ธรรมชาติ ฝ่ ายปรุงแต่งที่เรายืมมาใช้ทำ� ความเขา้ ใจในการด�ำรงชีวติ ในการ ปฏิบตั ิธรรม เราจะไม่หลงไปดับเขาและไม่ยึดว่าเขาเป็ นตัวเรา คงปล่อยให้เขาเป็ นอยู่อย่างนัน้ แต่ไม่มตี วั เราเป็ น ไม่มใี ครเป็ น ไม่มีตวั เราเป็ นผู ร้ ู เ้ ห็น ทัง้ สภาวะที่ถูกรู แ้ ละผู ท้ ่ีรูส้ ภาวะว่าเป็ น อย่างไรหรือมีอะไรเกิดขึ้น ทัง้ สองส่วนล ้วนเป็ นธรรมชาติปรุงแต่ง ด้วยกันทัง้ คู่ ไม่มใี ครยึดมัน่ ถือมัน่ ต่อกัน เมือ่ ไม่มใี ครไปยึดเอาสังขารมาเป็ นเรา ตัวเรา ตัวตนของเรา คงปล่อยให้ธรรมชาติฝ่ายปรุ งแต่ ง ปรุ งแต่ งไปตามธรรมชาติ เมื่อสิ้นผูย้ ึดมัน่ ถือมัน่ ต่อสังขาร ใจก็จะกลายเป็ นธรรมชาติฝ่าย ไม่ปรุงแต่งหรือวิสงั ขารโดยอัตโนมัติ เมือ่ กลายเป็ นธรรมชาติฝ่าย ไม่ปรุงแต่งโดยอัตโนมัติแลว้ ปัญญาก็ปล่อยวางไม่มผี ูม้ ายึดถือ ธรรมชาติฝ่ ายไม่ ป รุ ง แต่ ง ที่เ รีย กว่ า วิส งั ขารหรือ อสัง ขตธาตุน้ ี ก็จะสิ้นกิเลส สิ้นทุกข์ บรรลุพระนิพพาน 182


เหนือค�ำอธิบาย : จบซะที

ผูป้ ฏิบตั ิธรรม พึงระลึกรู้ในหลักความจริงว่า “ผูร้ ู ไ้ ม่คิด (โดยธรรมชาติของรู เ้ ขาคิดไม่ได้) ผูค้ ิดไม่รู”้ ต้อ งฝึ กไปจนถึง ขณะจิ ต หนึ่ ง แล ว้ พบผู ร้ ู ท้ ่ีไ ร้เ จตนารู ้ พบผูค้ ดิ ทีไ่ ร้เจตนาคิด คิดขึ้นมาเองโดยทีไ่ ม่มเี จตนาคิด พร้อมกับ รู ค้ ิดนัน้ ขึ้นมา โดยที่ไม่มเี จตนาจะไปรู ้ เรียกว่า พบธรรมแท้ เป็ นธรรมแท้ท่ีไม่ปรากฏตัวเราไปเป็ นผู ป้ รุงแต่ ง     พบธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งตามธรรมชาติแท้ๆ คือ คิดขึ้นมา โดยไร้เจตนาจะคิด                      พบธรรมชาติฝ่ ายไม่ ป รุ ง แต่ ง แท้ๆ คือ รู ค้ ิด นั้น ขึ้ น มา โดยไร้เจตนาทีจ่ ะไปรู                       ้ แลว้ อยู่กบั “รู ท้ ่ไี ร้เจตนารู ”้ นัน่ แหละ พระอรหันต์ทงั้ หลายท่านอยู่กบั รู น้ ้ ี เพีย งแค่ เ สี้ย ววิน าทีเ ดี ย วที่ส้ ิน ความหลงยึด มัน่ ถือ มัน่ ในธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง ก็กลายเป็ นใจที่ว่างเปล่า ใจที่ว่างเปล่า คือธรรมชาติฝ่ายไม่ปรุงแต่ง จะเห็นว่าธรรมชาติฝ่ายไม่ปรุงแต่ง ไม่มตี วั เรา เมื่อรู แ้ จ้งธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งเสียหมดแลว้ ก็คง เหลือธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ งซึ่งเป็ นขันธ์หา้ ที่ยงั คงด�ำเนินต่ อไป คู่กบั ใจทีว่ า่ งเปล่าซึง่ มีแต่ความรูพ้ น้ รูจ้ ริง รูแ้ จ้ง รูส้ ้นิ ยึดมันถื ่ อมัน่ 183


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ใจหรือจิตดัง้ เดิมแท้ๆ ไม่เคยเกิด ไม่เคยดับ ไม่เคยแตก ไม่เคยถูกท�ำลาย เหตุจากอวิชชาความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ ที่ติดมา กับจิตดัง้ เดิมแท้ แล ้วมาผสมกับธาตุดนิ น�ำ ้ ลม ไฟ สเปิ รม์ ของพ่อ ไข่ของแม่ ซากพืชซากสัตว์ท่แี ม่กินเขา้ ไปแลว้ ตัวเราก็กินเขา้ ไป จึงเกิดเป็ นขันธ์หา้ ก็คือชีวติ แม้ถงึ วันที่อวิชชาดับไป ก็จะหายไป เฉพาะอวิชชา ความโง่ ความหลงยึดมันถื ่ อมัน่ เหลือจิตดัง้ เดิมแท้ๆ ซึ่งเป็ นความรูท้ ่วี า่ งเปล่า ไม่เกิดไม่ดบั เป็ นอมตะ ส่วนขันธ์หา้ ก็คง ท�ำงานไปตามหน้าที่ธรรมชาติของชีวติ ด้วยความบริสุทธิ์ของมัน รอจนสิ้นอายุขยั ขันธ์หา้ ค่อยดับไป เมื่ อ ความหลงยึ ด มัน่ ถื อ มัน่ ไม่ มี แ ล้ว เลยเหลื อ แค่ ธรรมชาติ ส องอย่ า ง คื อ ธรรมชาติ ฝ่ ายปรุ ง แต่ ง กับ ธรรมชาติ ฝ่ ายไม่ปรุงแต่งที่ท�ำงานคู่กนั เป็ นใจที่ว่างเปล่าซึ่งมีความรู อ้ ยู่ กับ กริย าอาการต่ า งๆ ของขัน ธ์ห า้ ที่เ กิด ดับ เกิด ดับ อยู่ ใ นใจ ที่ว่างเปล่าเท่านั้น ไม่มีใครยึดมัน่ ถือมัน่ อีกต่อไป สุ ด ท้า ยเหลือ แต่ รู อ้ ยู่ แ ก่ ใ จตนเองเท่ า นัน้ เป็ น ปัจ จัต ตัง ไม่มีภ าษาสมมุติบ ญ ั ญัติใ ดๆ เมื่อ ใจสิ้น หลงปรุ ง แต่ ง เสีย แล ว้ ไม่ มีอ ะไรที่จ ะเรี ย กอีก แล ว้ ไม่ มีค �ำ อธิ บ ายต่ อ ไป ไม่ มีอ ะไร ที่จะพูดอีกแลว้

184


จบซะที

๑๘ สมมุติในวิมุตติ

ธรรมชาติภ ายในใจมีส องส่ ว น คือ ส่ ว นที่เ ป็ น “สมมุติ” (ที่เป็ นสิ่งที่เกิดดับ) กับ “วิมุตติ” (ที่ไม่มเี กิดไม่มดี บั ) สมมุติ คือ จิต ปรุ ง แต่ ง ส่ว นวิมุต ติคือ ใจหรือ จิต เดิ ม แท้ท่ีไ ม่ ป รุ ง แต่ ง ไม่ปรากฏกริยาอาการใดเลย ไม่มรี ูปร่าง ไม่มตี วั ใจ เป็ นความว่าง เหมือนความว่างในธรรมชาติหรือจักรวาล เราเอาจิตปรุงแต่ ง ที่เป็ นสมมุติมาใช้ ส่วน “ใจ” ที่เป็ นวิมตุ ติเป็ นแต่ความสงบว่าง จากความปรุงแต่ งเอามาใช้ไม่ได้ เมื่อสิ้นหลงคิดหลงปรุงแต่ง หรือสิ้นหลงยึดสมมุติ ก็เป็ นใจหรือเป็ นวิมุตติหรือจิตบริสุทธิ์ โดยอัตโนมัติทนั ที ไม่ใช่ หลงเอาสมมุติไปหาใจหรือหาวิมุตติ เพราะ “ใจ” ไม่มีเครื่องหมาย หรือไม่มีท่ีหมายให้คน้ หาพบได้ ถึงจะดิ้นรน 185


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ค้นหาด้วยความอยากความปรารถนาอย่างแรงกล้าเพียงใด ก็ไม่ สามารถค้นพบ “ใจ” ได้ มีวิธีเดียวเท่านั้นที่จะพบ “ใจ” คือต้อง “หยุด” หยุดเอาขันธ์หา้ ไปคิดไปปรุงแต่ง เพราะถ้าเราเป็ นผูค้ ิด ผูป้ รุงแต่ง ก็จะเป็ นขันธ์หา้ หรือสมมุติ ส่วนใจหรือวิมตุ ติหรือจิต ที่บริสุทธิ์เป็ นธรรมชาติท่ีคิดปรุงแต่งดิ้นรนค้นหา หาถูก หาผิด หาเหตุ หาผล หาความว่าง หาความสุข หาพระนิ พพานไม่ได้ และถ้ายัง “หา” มันก็ตนั เพราะมันเป็ น “ตัณหา” ทัง้ “สมมุต”ิ และ “วิมตุ ติ” มีในใจเราอยู่แล ้ว แต่เราเข ้าใจผิด เราพยายามเอาตัว สมมุติต วั ปรุ ง แต่ ง ไปช่ ว ยตัว วิมุต ติห รื อ ใจ ให้สะอาด ให้บริสุทธิ์ ให้น่ิง ให้เฉย ให้พบกับความสุข ให้พบกับ นิพพาน เราไม่ตอ้ งไปช่ วย “ใจ” เพราะใจเป็ นความว่างที่ไม่อาจ ปรุ ง แต่ ง ไปยึ ด ติ ด ยึ ด ถือ อะไรได้ ปัญ หาความไม่ พ น้ ทุก ข์จึง ไม่ได้อยู่ท่ใี จ แต่อยู่ท่ีเรายังไม่เลิกพยายามที่จะช่วยใจให้ไม่ทกุ ข์ ให้มคี วามสุข ความสงบ ความว่าง บรรลุนิพพาน เราจึงไม่หยุดคิด หยุดปรุงแต่งเสียที เมื่อ“หยุด” ช่วยใจเมื่อใดก็พบใจว่าง ใจสงบ เป็ นวิมตุ ติโดยอัตโนมัติทนั ที เราไปช่วยใจไม่ได้ ถ้าไปช่วยจะมีตวั เราเขา้ ไปยุ่งกับใจ ก็ จะหลงไปเป็ นจิตปรุงแต่ง ไม่ตอ้ งช่วยใจไม่ให้ยึด เพราะใจยึด อะไรไม่ได้เนื่องจากเป็ นความว่าง แต่เราพยายามไปช่วยใจ ให้ สะอาด บริสุทธิ์ ว่างๆ นิ่งๆ เฉยๆ ให้เป็ นอย่างที่อยากให้เป็ น 186


สมมุตใิ นวิมตุ ติ : จบซะที

ถ้าใจพูดได้ มันคงจะพูดว่า “มึงอย่าช่ วยกูได้ไหม มึงนะ ตัวยุ่งที่สุด ไอ้จติ ปรุงแต่ง มึงจะช่วยกูอย่างเดียว จะช่วยให้กูว่าง ช่ ว ยให้กู เ บา ช่ ว ยให้กู ส บาย ช่ ว ยให้กู ส งบ ช่ ว ยกู ต ลอดเลย มึงเลิกยุ่งกะกูแค่น้ัน กูจบ กูก็คือกู กูพูดไม่ได้ บ่นไม่ได้ มีกริยา อาการใดๆ ก็ไม่ได้ ไม่มีอะไรเลยสักอย่างเดียว” เมื่อไม่หลงปรุงแต่ ง ก็จะเป็ นใจที่ไม่ปรุงแต่ งหรือวิมุตติ ให้จบลงที่ใจในปัจจุบนั นี้ วางทุกอย่ าง ไม่มีอดีตไม่มีอนาคต แมป้ จั จุบนั ก็ไม่รกั ษาอะไร ในความไม่ปรุงแต่งมีความปรุงแต่ง มีก ารกระเพื่อ มของขัน ธ์ต ลอดเวลา ส่ ว นปรุ ง แต่ ง หรือ สมมุติ ก็ใช้ไป แต่ไม่มใี ครไปรองรับ ไม่มใี ครไปยึดถือความปรุงแต่งนัน้ เรียกว่าสิ้นผูเ้ สวย สิ้นผูย้ ดึ มันถื ่ อมัน่ กลายเป็ นใจทีส่ งบ ว่างเปล่า มีแต่ความสงบร่มเย็น เป็ นความสุขทีไ่ ม่ทกุ ข์ ไม่ใช่สุขเพราะไปจับ อารมณ์สุข ดังค�ำทีว่ า่ “นิ พพานังปรมังสุญญัง นิ พพานังปรมังสุขงั ” นิ พ พานเป็ น ความว่า ง ความสุ ข อย่ า งยิ่ง ที่เ หนื อ สุ ข เหนื อ ทุก ข์ ส่วนขันธ์หา้ ก็ยงั มีสุข ทุกข์ไปตามเหตุปจั จัยที่มากระทบ และ ความเสื่อมของขันธ์หา้ เอง และยังมีการท�ำงานอยู่ ก็ใช้ไปเต็ม ก�ำลังความสามารถ ช่ วยเหลือเกื้อกู ลผู อ้ ่ืน เกื้อกู ลโลกจนกว่า สังขารจะแตกดับไปจากโลก ก็จบสนิท...... สิ้นโลก เหลือธรรม(ใจว่าง)... สิ้นยึดทัง้ โลกทัง้ ธรรม “ นิ พพาน ” 187


“ ยิ่งหา... ก็ยิ่งตัน เพราะมันเป็น ตัณหา คือ หา...ตัน ”


จบซะที

๑๙ อวิชชาคือม่านบังใจ

“ทิ้ งให้ห มดเลย สัง ขารทั้ง นั้ น มี อ ะไรเกิ ด ขึ้ นในใจก็ สังขารปรุงแต่งทัง้ นั้น” ความเขา้ ใจตรงนี้เป็ นสิง่ ส�ำคัญมากเพราะ ธรรมชาติมี ๒ สิง่ คือ ธรรมชาติทป่ี รุงแต่งกับธรรมชาติทไ่ี ม่ปรุงแต่ง สังขารเป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง คือสิง่ ใดก็ตามจากไม่ม.ี .. มันมีข้ นึ มา จากไม่ปรากฏ...ปรากฏขึ้นมา จากไม่คิด...เป็ นคิด ขึ้นมา จากไม่กระเพื่อม...เป็ นกระเพื่อมขึ้นมา จากไม่มมี าแต่ เดิม...แลว้ ก็มขี ้ นึ มา เปลีย่ นแปลงได้ มีอาการที่ตรงกันขา้ มได้ ว่างบา้ งเดีย๋ วก็ไม่ว่างบา้ ง สบายบา้ งเดีย๋ วก็ไม่สบายบา้ ง สุขบา้ ง เดีย๋ วก็ ทุก ข์บ า้ ง สิ่ง เหล่า นี้ ซ่ึง มีอ าการที่เ ป็ น ของคู่ ต รงกัน ข า้ ม เป็ นของปรุงแต่งทัง้ หมด เป็ นสังขารเป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง ทัง้ สิ้น ไม่ใช่ตวั เรา ไม่ใช่ตวั ตนของเรา เป็ นของไม่จริง เป็ นของ 189


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

สมมุติ พอเราตายแลว้ ก็ดบั หมด เหมือนท่ อนไม ้ คิดก็ไม่ได้ นึกก็ไม่ได้ มีความรู ส้ ึกอะไรก็ไม่ได้ ความรู ส้ ึกนึกคิดอารมณ์ ก็ดบั หมด ไม่เหลืออะไรสักอย่าง ส่วนธรรมชาติอีกส่วนหนึ่งคือ ธรรมชาติท่ไี ม่ปรุงแต่งคือ “ใจ” ที่เป็ นแต่ความรู ้ ปรุงแต่งไม่ได้ ใจนี้มแี ต่ความไม่ปรุงแต่ง ไม่ปรากฏอะไรเลย มีแต่ ความรู ว้ ่ามีอาการปรุงแต่ งเกิดดับอยู่ ในตัวมัน ใจเป็ นธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง จึงไม่สามารถเข ้าไปพยายาม ท�ำอะไรได้ ซึ่งตรงขา้ มกับความปรุงแต่งที่มนั ท�ำได้ ใจไม่มีท่ีอยู่ ไม่มีตวั ตน ไม่มีรูปร่าง ไม่รูว้ ่ามันอยู่ตรงไหน แต่มนั อยู่ในสิ่ง ที่เรียกว่าตัวเรานี่ แหละ อาจจะสงสัยว่ามันอยู่ตรงไหน แต่ไม่ใช่ ไม่ มี เพราะมัน รู แ้ ละบอกได้ว่ า มีอ ะไรเกิ ด ขึ้น ในใจ แล ว้ จะ บอกว่าไม่มใี จได้อย่างไร ตรงนี้สำ� คัญมาก มีอะไรเกิดขึ้นในใจ ใจสบายก็รู ้ ใจไม่สบายก็รู ้ มีความคิดก็รู ้ ไม่มคี วามคิดก็รู ้ สงบ ก็รู ้ ไม่สงบก็รู ้ ว่างก็รู ้ ไม่วา่ งก็รู ้ ฟุ้งซ่านก็รู ้ ไม่ฟ้ งุ ซ่านก็รู ้ คิดกุศลก็รู ้ คิดอกุศลก็รู ้ มันรูท้ งั้ หมดเลย มีอะไรก็เกิดดับอยู่ในใจนี่แหละ ใจ มันรูว้ ่ามีอะไรเกิดดับในมัน มีอาการอะไรเปลีย่ นแปลงอยู่ในมัน อาการที่เป็ นของคู่ ตรงกันขา้ ม เกิดดับเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา อยู่ในมัน ใจมันได้แต่รู ้ แต่ใจไม่มอี าการ ไม่มตี วั ตนของใจ ไม่มี รู ปร่างไม่มรี ู ปพรรณสัณฐานใด มันเป็ นเหมือนกับความว่างของ ธรรมชาติหรือจักรวาล 190


อวิชชาคือม่านบังใจ : จบซะที

หลายคนเข้าใจผิดไปเอาสิ่งต่างๆ หรืออาการที่เกิดดับอยู่ ในใจเป็ นใจ แต่แท้จริงแล้วสิ่งที่เกิดดับคือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เกิดพร้อมกัน ดับพร้อมกัน เป็ นธรรมชาติของขันธ์หา้ ที่จะดับขาดไม่ได้ เราอย่าไปสนใจแต่ส่งิ ที่ถูกรู ้ ให้สนใจแต่ตวั เราที่มนั เอามา คิด ตรึกตรอง ปรุงแต่ง พากษ์ (วิพากษ์) อยู่ในใจ คือสนใจแต่ วิญญาณขันธ์ทท่ี ำ� งานร่วมกับเจตสิกคือ เวทนา สัญญา สังขาร ทีร่ ู ้ อะไรแลว้ ต้องมาคิด ตรึกตรอง ปรุงแต่ง พากษ์อยู่ในใจ พูดอยู่ ในใจ รูอ้ ะไร เห็นอะไร สัมผัสอะไร อย่าไปสนใจอารมณ์ซง่ึ เป็ นสิง่ ทีถ่ กู รู ้ ได้แก่ รูป เสียง กลิน่ รส สัมผัส และธรรมารมณ์คอื เวทนา สัญญา สังขาร ให้สนใจสังเกตแต่ เพียงว่า “สติตง้ั ที่ใจ ดู ท่ีใจ รู ท้ ่ีใจ สังเกตอยู่ท่ีใจ ละอยู่ท่ีใจ ปล่อยวางอยู่ท่ีใจ” ตลอดเวลา รู เ้ พื่อ อะไร เพื่อ เห็น ว่า มัน เป็ น สัง ขารทัง้ นัน้ แหละ มีแ ต่ สังขาร สังขาร สังขาร... ปล่อยมันไป มันเป็ นขันธ์หา้ ท�ำอะไร กับมันไม่ได้ คือต้องปล่อยมันอย่างเดียวเลย ท�ำอะไรกับมันไม่ ได้ จนมันเบื่อจิตหรือวิญญาณขันธ์ท่ีมนั พากษ์ มันพูดไม่หยุด นี่แหละ พอเบือ่ มันจริงๆ ก็เกิดนิพพิทาญาณเลย คือเบือ่ หน่ าย ขันธ์หา้ ปล่อยวางขันธ์หา้ สิ้นอุปาทานขันธ์หา้ แค่นนั้ แค่วางความ หลงยึดถือเท่านั้น อวิชชาดับเลย พออวิชชาดับ ก็พบใจที่ว่าง เปล่าทันที เปรียบเหมือนเรานัง่ อยู่ในห้องที่ปิดม่านอยู่ พอเปิ ด 191


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ม่านออกมองเห็นความว่างขา้ งนอกเลย ความว่างขา้ งนอกมันมี อยู่ แลว้ ใจที่ว่างเปล่ามันมีอยู่ แลว้ ม่านในห้องเรานี่บงั ตาเนื้อ ท�ำให้เรามองไม่เห็นขา้ งนอก แต่อวิชชามันเปรียบเหมือนม่านที่ บังตาใจ ความว่ า งมีอ ยู่ แ ล ว้   ใจที่ว่ า งมีอ ยู่ แ ล ว้   แต่ ม องไม่ เ ห็น หลวงปู่มัน่ ภูริทตั โต ท่านเขียนในขันธะวิมตุ ิสะมังคีธรรมะว่า “รู้ไม่ทนั ขันธ์บงั ธรรม” ธรรมนี้คือธรรมชาติท่ไี ม่ปรุงแต่งหรือ ใจหรือ จิต เดิม แท้ ที่เ ป็ น ความว่า งดุ จ ความว่า งของธรรมชาติ หรือจักรวาล เป็ นมหาสุญญตามันมีอยู่แลว้ แต่ เราเอาขันธ์หา้ ไปยุ่งวุ่นวายกับขันธ์หา้ คือเอาขันธ์หา้ ซึ่งเป็ นธรรมชาติท่ปี รุงแต่ง มาปรุ ง แต่ ง ยึด ถือ เป็ น ตัว เรา แล ว้ เอาตัว เราไปปรุ ง แต่ ง ยึด ถือ สิ่งต่างๆ หรือคนต่างๆ ส่วนใจหรือจิตเดิมแท้เป็ นแต่ความว่าง เป็ นธรรมชาติท่ีไม่อาจปรุงแต่ งได้ จึงไม่อาจเอามาคิดปรุงแต่ ง ยึด ถือ อะไรได้ ไม่อ าจคิด ปรุ ง แต่ ง ยึด ถือ ขัน ธ์ห า้ และไม่อ าจ ปรุงแต่งยึดถือใจจะให้ว่าง เพราะใจเป็ นความว่างตามธรรมชาติ อยู่แลว้ ดังนั้น สิ่งที่หลงเอามาคิดปรุงแต่งยึดถือได้ก็ตอ้ งหลงเอา ขันธ์หา้ ซึ่งเป็ นธรรมชาติท่ีปรุงแต่งได้ มาคิดปรุงแต่งยึดถือ ขันธ์หา้ ยึดถือสิง่ อืน่ และพยายามยึดถือใจจะให้ว่าง เพราะไม่มี สติปญ ั ญาหรือยังโง่อยู่ เรียกว่า “อวิชชา” ขันธ์เลยมาบังธรรม 192


อวิชชาคือม่านบังใจ : จบซะที

พอม่านที่มาบังตาใจถูกเปิ ดออก ขันธ์ก็ไม่สามารถบังธรรมที่ไม่ ปรุงแต่ง คือใจที่ว่างเปล่าได้อกี ต่อไป จึงจะพบว่า ความปรุงแต่งมันปรุงแต่งอยู่ในความไม่ปรุง แต่ง ในความปรุงแต่งมีใจที่สงบและว่างเปล่า ไม่มใี ครไปยึด มัน เป็ นธรรมชาติ ท่ี เ ป็ นความว่ า งเหมื อ นกับ ความว่ า งของ ธรรมชาติหรือจักรวาลอยู่แลว้ ไม่มใี ครยึดทัง้ สิ่งที่ว่างและจิตที่ ปรุงแต่ง ใจก็ยงั คงเป็ นความว่างอยู่อย่างนัน้ แหละ ความปรุงแต่ง ขันธ์หา้ ก็ยงั ต้องเป็ นธรรมชาติปรุงแต่งไปตามธรรมชาติ เพียงแต่ สิ้นหลงยึดถือหรือสิ้นอวิชชาเท่านัน้ รอจนกว่าเราจะตาย พอตาย เมื่อไหร่ ขนั ธ์หา้ ก็ดบั เหลือแต่ ใจหรือจิตเดิมแท้ท่ีเป็ นความว่าง ที่ไม่เกิดไม่ดบั มันเป็ นธรรมชาติท่มี อี ยู่แลว้ ในใจทัง้ คู่ คือมันอยู่ คู่กนั แต่เรามองไม่เห็นเพราะอวิชชาตัวเดียว อวิชชาที่เปรียบเหมือนม่านบังตาใจเปิ ดออกเท่านั้น ก็พบ ใจหรือจิตเดิมแท้ ซึ่งเป็ นเรามาตัง้ แต่ดงั้ เดิม เป็ นผูร้ ู แ้ จ้งเพราะ รู ส้ จั ธรรมความจริง รู พ้ น้ รู ต้ ่ืนเพราะสิ้นอวิชชาคือความหลง รูเ้ บิกบานเพราะไม่หลงยึดถือสิง่ ใดให้เป็ นกิเลสเครื่องเศร้าหมอง และเป็ นความทุกข์มาปิ ดบังใจหรือจิตเดิมแท้ เราไม่ได้ตายเพราะ เราไม่เคยเกิด เราไม่เกิดไม่ดบั เป็ นผูร้ ู ท้ ่เี ป็ นความว่างเหมือนกับ ความว่างของธรรมชาติหรือจักรวาล มีแต่ขนั ธ์หา้ แตกดับเท่านัน้ ถ้ายังไม่ส้ นิ อวิชชา ใจหรือจิตเดิมแท้ท่มี อี วิชชาผสมปนอยู่ก็ยงั 193


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ไม่เป็ นธาตุรูท้ ่วี ่างเปล่าอย่างบริสุทธิ์ตามธรรมชาติ จึงต้องไปเกิด ในภพต่างๆ คือกามภพ รูปภพ อรูปภพ มีรูปร่างและมีความรู้สกึ ความจ�ำได้หมายรู ้ ความนึกคิด และการรับรู ใ้ นร่างใหม่ๆ ต่อไป แลว้ รู ปร่างพร้อมกับความรู ส้ กึ ความจ�ำได้หมายรู ้ ความคิดนึก ตรึกตรอง ปรุงแต่ง และการรับรูก้ ็ตอ้ งแตกดับทุกชาติไป ส่วนใจ หรือจิตเดิมแท้ซ่งึ เป็ นเราไม่เคยตายเลย เพียงแต่ถ่ายร่างไปอยู่ ในร่างใหม่ต่อๆ ไป ครัน้ สิ้นอวิชชา ใจหรือจิตเดิมแท้กเ็ ป็ นธาตุวา่ งทีบ่ ริสุทธิ์ตาม ธรรมชาติ ไม่มธี าตุใดหรือสิ่งใดมาผสมปนให้ตอ้ งไปเวียนว่าย ตายเกิดให้เป็ นทุกข์อกี ต่อไป บาปกรรมทัง้ หลายก็ไม่อาจให้ผล ได้อีกเพราะไม่มตี วั ตนรองรับผลของกรรม เราจึงไม่ ตอ้ งกลัว ตายเพราะเราแท้ๆ ไม่ได้เกิดไม่ได้ตาย ใจหรือจิตเดิมแท้ซ่ึง เป็ นพุทธะหายตัวไปเป็ นอมตะ จึงไม่ตอ้ งกลัวตาย แต่ให้กลัว การเกิดอีก

194


จบซะที

๒๐ เหตุแห่งความว่างที่เที่ยงแท้

ธรรมชาติของใจว่าง หรือ “พุทธะ” มีอยู่แล ้วในพระพุทธเจ้า ในพระอรหันต์ ในปุถชุ นทัง้ หมดทัง้ เด็กผู้ใหญ่ และมีอยู่แลว้ ใน เทวดา เปรต อสุรกาย สัตว์เดรัจฉาน สัตว์นรก แต่นอกจาก พระพุท ธเจ้า และพระอรหัน ต์แ ล ว้ สรรพสัต ว์ท งั้ หมดล ว้ นยัง มีอวิชชา ซึ่งเปรียบเสมือนมีม่านมาบังใจ ม่านนี้เกิดจากความ หลงยึดถือสังขารคือ “ขันธ์หา้ ” คือ รู ป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ หรือร่างกายจิตใจทีเ่ ป็ นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งซึง่ แสดง กริยาหรืออาการต่างๆ ได้ เมือ่ สิ้นหลงยึดถือสังขาร ม่านอวิชชา ก็เปิ ดออกก็จะพบใจที่ว่าง ซึ่งเป็ นธรรมชาติท่ไี ม่อาจปรุงแต่งได้ เป็ นอสังขตธาตุหรือวิสงั ขาร เป็ นมหาสุ ญญตา เป็ นความว่าง เหมือนกับความว่างของธรรมชาติหรือจักรวาล แต่มคี วามรู แ้ จ้ง 195


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

รู ส้ จั ธรรมความจริ ง จนสิ้น ความหลงยึด ถือ แล ว้ ไม่ มีต วั ตน ไม่มีรูปร่ าง ไม่มีรูปพรรณสัณฐานใด ซึ่งวิธีท่ีจะพบธาตุรูห้ รือ ใจซึ่งเป็ นความว่างได้น้ัน มีวิธีเดียวเท่านั้น วิธีอ่ืนนอกจากนี้ ไม่มี คือต้องสิ้นหลงยึดถือสังขารหรือขันธ์หา้ ก็จะพบใจที่เป็ น ความว่ า งเหมื อ นดัง่ ความว่ า งของธรรมชาติห รือ จัก รวาลซึ่ ง มี อยู่แล้วในพระพุทธเจ้า พระอรหันต์ ปุถุชน และสรรพสัตว์ เมือ่ สิ้นหลงยึดถือสังขารแลว้ ก็จะเห็นสังขารเกิดดับในใจที่ว่าง อะไรก็ตามที่ไม่ว่าง มันกลายเป็ นสังขาร หรือเป็ นสิ่งที่มี การปรุ ง แต่ ง ทัง้ หมด เมื่อ ปล่อ ยวางสัง ขารคือ สิ่ง ที่มีท งั้ หมดก็ พบความว่าง แต่ก็จะหลงมายึดถือความว่างไว ้ ซึ่งผูท้ ่จี ะมายึด ความว่ า งได้ต อ้ งหลงเอาขัน ธ์ห า้ มาปรุ ง แต่ ง ยึด ถือ ความว่ า ง พอปล่อยวางความปรุงแต่งหรือขันธ์หา้ หมดแล้ว ก็จะไม่หลงเอา ความปรุงแต่งมายึดความว่าง เลยกลายเป็ นว่างแท้ๆ แต่ถา้ เรา ไปยึดความรู ส้ กึ ตัวว่าเป็ นเรา เป็ นตัวเรา เป็ นตัวตนของเรา หรือ ตัวเราเป็ นความรู ส้ กึ ตัว ก็จะหลงเอาตัวเราซึ่งเป็ นความรู ส้ กึ ตัว มายึดถือความว่างไว ้ ก็เท่ากับว่ามีตวั เราไปยึดถือ พอมีตวั เรา หลงยึดถือ ก็ไม่พบความว่าง หลายคนชอบท�ำ ความรู ส้ ึก ว่ า งเหมือ นดัง่ อวกาศขึ้น มา ความว่างที่สร้างขึ้นเองจากความปรุงแต่ง ตัวนี้คือตัว “อวิชชา” 196


เหตุแห่งความว่างที่เที่ยงแท้ : จบซะที

จะเป็ นม่ า นปิ ดบัง ใจ มัน ต้อ งว่ า งจากสิ้ นความหลงยึ ด ถื อ มันจึงว่าง ไม่ใช่ ไปสร้างความรู ส้ กึ ว่างขึ้นมา ตัว ที่พ ยายามตัง้ สติห รือ พยายามรู ส้ ึก ตัว แล ว้ พยายาม เขา้ ไปดู รู ้ เห็นจิตหรือความคิด หรือพยายามไปปรับแต่งเวทนา คือ ดีรกั ชัว่ ชัง เกลียดทุกข์รกั สุข หรือพยายามไปไล่ดบั ความคิด หรืออารมณ์ไว ้ มันเป็ นการหลงปรุงแต่งสติ เราต้องทิ้งตัวนี้ไป แม แ้ ต่ เ ราพยายามไปตัง้ สติ ค อยรู ล้ ะปล่ อ ยวางอัน นี้ ไ ม่ ใ ช่ ส ติ สติท่ใี ช้ตงั้ สตินนั้ ไม่ใช่สติ เป็ นสติตวั ปลอม เป็ นตัวหลงปรุงแต่ง สติท่ีแท้จริง คือตัวที่มารู เ้ ท่าทันว่าเราเนี่ ยหลงตัง้ สติซ่ึงเป็ นตัว ปลอม เมื่อสติปญ ั ญาที่แท้จริงเกิดขึ้นมา จะท�ำให้สติตวั ปลอม หมดคุณค่าไป เหมือนที่หลวงปู่เทียน จิตฺตสุโภ พยายามดู พยายามตัง้ สติมาดูความคิดทุกความคิด จนสามารถรู ท้ ุกคิดแต่ยงั ไม่บรรลุ นิ พ พาน ระหว่า งนัน้ เหมือ นมีใ ครมาผลัก สีข า้ งของท่ า น ท่ า น ก็หนั หาผู ท้ ่ีมาผลัก แต่ ก็หาไม่เจอ พอหาไม่เจอก็ตงั้ สติเพื่อจะ มาดู ค วามคิด ใหม่ จึง รู ว้ ่ า ตัว สติท่ีม นั ตัง้ มาดู ค วามคิด น่ ะ เป็ น ตัวปรุงแต่ง มันไม่ใช่เป็ นสติ แต่สติปญั ญาที่แท้จริงก็คอื ตัวที่มารู ้ ว่าเราหลงตัง้ สติพยายามจะไปดูหรือไปรูอ้ ะไร “หลงเอาตัวเราไป เล่นไปแสดง” หลงเอาตัวเราไปตัง้ สติ ไปรูล้ ะปล่อยวาง เอาตัวเรา 197


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

พยายามไปท�ำอะไรเพื่ออะไร จึงต้องมีสติ ปัญญาที่แท้จริงมารู ้ เท่าทันหรือเห็นว่า ทัง้ สติท่ตี งั้ ขึ้นมาและอาการที่ปรากฏขึ้นมาทุก ขณะปัจจุบนั เป็ นสังขารปรุงแต่งทัง้ หมด ให้ปล่อยวางไปเสียให้ หมดทุกขณะจิตปัจจุบนั สติ สัมปชัญญะ คือความรูส้ กึ ตัวทัว่ พร้อมต้องมีอยู่ตลอด เวลาในชีวติ ประจ�ำวันว่าก�ำลังคิด พูด ท�ำอะไรอยู่ จะได้ไม่หลง เหม่อ เผลอ เพลิน หลงส่งจิตออกนอกไปสนใจอยู่กบั อารมณ์ซ่งึ เป็ นรู ป เสียง กลิน่ รส โผฏฐัพพะหรือสัมผัส และธรรมารมณ์ คือ เวทนา สัญญา และสังขารที่ถูกรู ้ หรือจะได้ไม่หลงคิดหลง ปรุงแต่งไป สติ สัมปชัญญะ ที่แท้จริงนี้เป็ นขันธ์หา้ ซึ่งความรู ส้ กึ ตัว ตามปกติธรรมชาติ ไม่ใช่สติ สัมปชัญญะทีห่ ลงปรุงแต่งขึ้นมาเพือ่ พยายามจะไปดูหรือไปรูอ้ ะไร หรือพยายามไปไล่ดบั ความคิดหรือ ดับอารมณ์อะไร แต่แมส้ ติ สัมปชัญญะจะเป็ นธรรมชาติปรุงแต่ง ตามปกติข องขัน ธ์ห า้ ซึ่ง ไม่ไ ด้เ ป็ น ความหลงปรุ ง แต่ ง เป็ น สติ สัมปชัญญะก็ตาม แต่ก็จะต้องไม่หลงยึดสติ สัมปชัญญะทีแ่ ท้จริง ว่ า เป็ น เรา เป็ น ตัว เรา เป็ น ตัว ตนของเรา หรือ ตัว เราเป็ น ผู ม้ ี สติ สัมปชัญญะ มันมีอยู่แต่ไม่มีคนยึดถือ แต่ก็ตอ้ งอาศัยเป็ น เรือข้ามฟากเพื่อให้ส้ นิ หลงยึดถือ จึงจะเป็ นนิ พพาน หลายคน ก็เขา้ ใจผิดในค�ำว่า “ปล่อยวางผูร้ ู ”้ หรือ “พบผูร้ ู ้ ฆ่าผูร้ ู ”้ แลว้ 198


เหตุแห่งความว่างที่เที่ยงแท้ : จบซะที

ไปวางความรู ส้ กึ ตัวทิ้งหมด ก็จะหลงวางสติปญ ั ญาไปเสียด้วย เลยไม่รูเ้ รื่องอะไรเลย เมื่อ สิ้น ความหลงยึด ถือ ทัง้ ขัน ธ์ห า้ ซึ่ง เป็ น ธรรมชาติฝ่ าย ปรุงแต่ง และสิ้นหลงยึดถือใจหรือจิตเดิมแท้ทเ่ี ป็ นธรรมชาติฝ่าย ไม่ปรุงแต่ งแลว้ ใจก็คงเป็ นความว่างของเขาอยู่อย่างนัน้ ส่วน ขันธ์หา้ ก็คงปรุ งแต่ งท�ำหน้าที่ของชีวิต ก็ปล่อยให้เขาปรุ งแต่ ง ตามปกติธรรมชาติของเขาไปอย่ างนัน้ สิ่งที่มีก็มีอยู่ สิ่งที่ว่าง ก็ว่างอยู่ ดับไปแต่ความหลงยึดถือ หรือสิ้นผูเ้ สวย หรือสิ้นผูห้ ลง ยึดมัน่ ถือมัน่ เท่านัน้ โดยมี ส ติ ปัญ ญาเห็ น ตามความเป็ นจริ ง ว่ า สัง ขาร ทั้ง หมดเป็ นอนิ จ จัง เป็ นของไม่ เ ที่ ย ง เป็ นทุก ขัง เป็ นทุก ข์ ทนอยู่สภาพเดิมไม่ได้ ต้องแก่เจ็บตาย ไม่อาจจะบังคับให้เป็ น อย่างอื่นนอกจากนี้ ได้ จึงเป็ นอนัตตา ไม่มีตวั ตนคงที่ ไม่อาจ บังคับได้ ต้องปล่อยวางความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ ก็จะพบใจหรือ จิตเดิมแท้ซ่งึ เป็ นธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง มีแต่ความรู ้ ไม่มตี วั ตน ไม่ มีรู ป พรรณสัณ ฐานใด ไม่ มีก ริย าอาการใด เป็ น ความว่ า ง เหมือนกับความว่างของธรรมชาติหรือจักรวาล ซึ่งมีอยู่ดว้ ยกัน กับธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งของทุกสรรพสัตว์ทงั้ หมด ไม่ได้มอี ยู่ แต่ เ ฉพาะพระพุท ธเจ้า และพระอรหัน ต์เ ท่ า นัน้ แต่ ปุถุช นและ สรรพสัตว์ทวั ่ ไปมัวแต่ หลงยึดถือธรรมชาติปรุ งแต่ งหรือเรียก 199


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ว่าสังขาร คือร่ างกายและจิตใจที่เปลี่ยนร่ างไปในแต่ ละชาติว่า เป็ นตัวตนคงที่ เป็ นเรา เป็ นตัวเรา เป็ นตัวตนของเรา หรือมีตวั ตน ของเราในร่างกายจิตใจที่เป็ นธรรมชาติปรุงแต่งนัน้ จึงปิ ดบังไม่ ให้พบเห็นใจหรือจิตเดิมแท้หรือธาตุรูท้ ่วี ่างเปล่า เมือ่ สิ้นหลงยึดถือแลว้ ขันธ์หา้ ซึ่งเป็ นสิ่งที่มกี ็เกิดๆ ดับๆ เปลี่ยนแปลงอยู่ในความว่าง สิ่งที่มใี นใจเราเป็ นสิ่งที่มที งั้ หมด แต่ไม่มใี ครยึดสิ่งที่มี และไม่มใี ครมายึดใจที่ว่างด้วย มันก็เป็ น ความว่างกับความมี มีแค่สองอย่างนี้ มีใจที่ว่างและสิ่งปรุงแต่ง ทุกอย่างที่ยุกยิก ยุกยิก ยุกยิก... อยู่ในใจตลอดเวลา สิ่งนี้ดบั ไม่ได้จนกว่าจะสิ้นอายุขยั พอธาตุแตกขันธ์ดบั แลว้ ก็เหลือแต่ใจ ที่ว่าง เหลือแต่ความว่างที่มคี วามรู เ้ พราะว่าเป็ นธาตุรู ้ แต่ความ ว่างของธรรมชาติจกั รวาลไม่มคี วามรู ้ ธาตุรูน้ ้ ีเป็ นความว่างเช่น เดีย วกับ ความว่ า งในจัก รวาลแต่ ม นั มีค วามรู ้ เมื่อ ขัน ธ์ห า้ ดับ แลว้ จะเหลือแต่ความรู แ้ ต่ตวั ตนของผูร้ ู้ไม่มี ความรู ท้ ่ไี ม่มตี วั ตน เลยกลายเป็ นวิมตุ ติไป เป็ นความไม่ปรุงแต่ ง เป็ นธาตุรูท้ ่ีเป็ น ความว่าง การปฏิบตั ิไม่ได้มอี ะไรยุ่งยากเลย ปล่อยให้ส่ิงที่มี มีอยู่ อย่ างนัน้ แหละ มันเป็ นชีวิตก็ตอ้ งมีความรู ส้ ึก มีความนึกคิด มีอารมณ์ มีอาการต่างๆ ปล่อยให้ชวี ติ คงยังด�ำเนินอยู่ แต่ไม่มใี คร ยึดสิ่งที่มี เมือ่ ยังไม่ตายมันก็ยงั เป็ นความรู ส้ กึ นึกคิดอารมณ์อยู่ 200


เหตุแห่งความว่างที่เที่ยงแท้ : จบซะที

แต่ไม่มใี ครยึด พอสิ้นยึดม่านอวิชชาที่ปิดบังตาใจเปิ ด ก็พบใจ ที่ว่างที่มอี ยู่แลว้ อย่ า พยายามเอาความรู ส้ ึก ตัว ไปปล่อ ยวาง ต้อ งปล่อ ย วางแมแ้ ต่ความรู ส้ กึ ตัว เพราะความรู ส้ กึ ตัวเป็ นสิ่งที่มี เป็ นสิ่งที่ ปรุงแต่ ง ปล่อยวางไม่ใช่ ว่าเราทิ้งความรู ส้ ึกตัว มันมีอยู่แต่ เรา ไม่ไปยึดมัน ให้เห็นว่ามันเป็ นสังขารปรุ งแต่ ง มีความรู ส้ ึกตัว มีค วามคิด แต่ ไ ม่มีผู ไ้ ปยึด ก็ เ ลยพบใจที่ว่า ง สัง ขารเป็ น ของ ไม่เที่ยง เป็ นสิ่งที่แตกดับ เป็ นสิ่งปรุงแต่ง ยึดไม่ได้ ไม่มแี ก่นสาร สาระ ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า “ดู ก่อนโมฆราช ท่านจงมีสติ พิจารณาดู โลกโดยเป็ นของว่างเปล่า ถอนความเห็นว่าตัวเรา ของเราเสีย ทุก เมื่ อ เถิด ท่ า นจะข้า มล่ ว งมัจ จุ ร าชเสีย ได้”   โลกหมายรวมถึง ร่ า งกายซึ่ง เป็ น รู ป ขัน ธ์ และเวทนา สัญ ญา สังขาร วิญญาณที่เป็ นนามขันธ์ รวมเป็ นขันธ์หา้ เป็ นสิ่งปรุงแต่ง ที่ผสมรวมกันของธาตุดนิ น�ำ ้ ลม ไฟ และธาตุรู ้ เป็ นของไม่เที่ยง เป็ นของว่างเปล่าจากสัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา ผูป้ ฏิบตั ิจำ� นวนมากมักเขา้ ใจผิด คือไปสร้างว่างเลย มอง ให้มนั เป็ นอากาศ เป็ นว่างไปเลย ตรงนี้เขา้ ใจผิด ที่จริงมันว่าง จากแก่นสารสาระที่จะยึดมัน่ ถือมัน่ เป็ นเรา เป็ นตัวเรา หรือ เป็ นตัวตนของเราได้เมื่อไม่หลงยึดมัน่ ถือมัน่ ก็เท่ากับปล่อยวาง เมื่อปล่อยวางแล้วจึงพบใจที่ว่าง อย่างไรก็ตามพอพบใจที่ว่าง 201


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ก็ยงั มีผูห้ ลงผิดอยู่อกี คือไปพยายามยึดถือใจที่ว่างไว ้ หลงยึด รักษาความว่างไวใ้ ห้ใจว่าง ไม่ยอมให้อย่างอื่นเขา้ มาแผ้วพาน โดยหลงเขา้ ใจผิดเป็ นมิจฉาทิฏฐิวา่ นิพพานคือใจทีว่ า่ ง หรือความ ว่างคือนิพพาน นิพพานไม่ใช่ความว่าง “นิ พพาน” คือ สิ้นผูย้ ึดถือ ใจจึงว่าง เราไปเขา้ ใจผิดว่า นิพพานคือความว่าง จึงหลงไปยึดถือความว่าง ที่ว่า “นิพพานัง ปรมัง สุญญัง” นิพพานคือความว่าง เราก็ยดึ ถือความว่างซะเลย มันจะเป็ นอวิชชา ที่จริงมันว่างจากตัวตนของผูห้ ลงยึดถือ ใจก็ เลยว่าง เพราะใจมันว่างของมันอยู่แลว้ ไม่ใช่ว่าใจว่างแลว้ เป็ น นิพพาน เมื่ อ สิ้น ยึ ด ถื อ ทั้ง สัง ขารและสิ้น หลงยึ ด ถื อ ใจจะให้ว่ า ง ใจมัน ก็ ว่ า ง ก็ คื อ ว่ า งอัน เดิม นัน้ แหละ พอสิ้น ยึด ถือ ขัน ธ์ห า้ ม่านอวิชชาทีบ่ งั ตาใจก็เปิ ดออก เลยพบความว่าง แต่พอเราอยาก ให้ใจว่างอย่างนี้ตลอดไปมันก็ไม่ว่างแลว้ เพราะมีความปรุงแต่ง ที่ไปพยายามจะยึดถือความว่างให้คงอยู่ พอปล่อยความหลง ยึดถือความว่าง ความว่างซึ่งเป็ นว่างที่เป็ นธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง มีอ ยู่ แ ล ว้ แต่ เ ดิ ม ก็ ป รากฏ ความปรุ ง แต่ ง ขัน ธ์ก็ เ ป็ นอัน เดิ ม มันก็เหลือแต่ความว่างกับความปรุงแต่ง

202


เหตุแห่งความว่างที่เที่ยงแท้ : จบซะที

ผู ป้ ฏิบตั ิท่ีอยากได้ความว่างมีอยู่สองจ�ำพวก พวกที่หนึ่ง ไม่เคยเห็นใจว่างเลย แต่ ฟงั เขาเล่าว่ามีส่งิ นี้อยู่ ความว่างมันดี มัน สุ ด ยอด เลยอยากได้เ พราะเขาพู ด กัน แต่ พ วกที่ ส อง เคยพบเห็นใจว่างมาบา้ งแลว้ เพียงแวบเดียว แลว้ อยากได้อีก พวกนี้เป็ นผูป้ ฏิบตั ิท่ฝี ึ กดูจิต รู อ้ าการ รู ล้ ะปล่อยวางมานานแลว้ และไม่ ไ ด้เ ข า้ ไปยึ ด อาการอะไร ในขณะจิ ต ที่ อ ยู่ อ ย่ า งปกติ ไม่เขา้ ไปยึดอะไร ไม่พยายามไปดู ไปรู อ้ ะไร หรือไม่พยายามไป ปล่อยวางอะไร แต่กำ� ลังจะท�ำอะไรบางอย่าง เช่น ก�ำลังจะแปรงฟัน หรือก�ำลังจะนัง่ ส้วม หรือก�ำลังจะท�ำอะไรที่มนั ไม่คิดว่าจะไปละ ไปปล่อยวางอะไร ขณะจิตที่ส้ ินหลงคิด หลงปรุ งแต่ งเป็ นผู ร้ ู ้ มันก็ “พล็อก” อ้าว... เฮ้ย!!! ท�ำไมใจมันว่างไปหมดเลย ท�ำไม ใจว่างอย่างงี้เนี่ย สาเหตุท่ี ม นั ว่ า งเพราะขณะจิต นั้น มัน สิ้น หลงคิ ด หลง ปรุงแต่งเป็ นผูร้ ู ้ ไม่ได้หาเหตุผลอะไร ไม่พยายามจะท�ำอะไรให้ เป็ นอะไร ก็เลยพบใจที่ว่างเปล่า แต่เมือ่ พยายามหาเหตุผลมัน กลับไม่ว่างเลย คือมันว่างแลว้ อยากจะให้ใจมันว่างตลอดไป การ ไปหาเหตุผลให้กลับมาว่างตลอดก็เท่ากับยึดถือความว่าง เลย ไม่ว่าง ตัวที่อยากให้ว่างมันเป็ นตัวปรุงแต่งทัง้ หมดทุกตัว พอละ ตัวปรุงไปมันก็ว่าง 203


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ตัวปรุง ที่หมายถึงก็คือตัวปรุงแต่ งขันธ์หา้ นัน่ แหละ คือ “มันอยากปรุงอะไรช่ างมันเหอะ มันอยากปรุงเป็ นความอยาก เราก็เ ห็น ว่ า มัน เป็ นสัง ขารทัง้ นั้น ” มัน มีแ ต่ ค วามปรุ ง แต่ ง กับ ความว่าง สองอย่างแค่นนั้ แหละ ความว่างมันปรุงไม่ได้ อะไรทีป่ รุง เป็ นความอยากได้ มันเป็ นสังขารในขันธ์หา้ ทัง้ หมด ทิ้งหมดเลย วางหมด จะปรุงอะไรก็ช่างมัน ปรุงเป็ นความรูส้ กึ ตัว เราก็เห็นว่า มันปรุงเป็ นความรู ส้ กึ ตัว เราก็วางมันหมด คือ “วาง” หมายถึง ว่ า ไม่ เ ข้า ไปยึ ด ถื อ ความรู ส้ ึ ก ตัว ด้ว ย แต่ ก็ รู ส้ ึ ก ตัว อยู่ มีแ ต่ สัง ขารปรุ ง แต่ ง ทัง้ นัน้ จึง ปรุ ง ขึ้น มาได้ เราก็ ไ ม่ ยึด มัน ทัง้ หมด พอไม่ยดึ ทัง้ หมดมันก็เลยเป็ นความว่าง ม่านอวิชชามันเปิ ดออก ปรุ งแต่ งมี แต่ ไม่มีใจไปยึดความปรุ งแต่ ง มันก็เลยว่างจริงๆ แต่ ถ า้ “อวิช ชา” ไม่ด บั จริง ๆ บางครัง้ ก็เ ผลอไปยึด ความว่า ง หรือหลงยึดถือใจจะให้ว่างอีก ถ้าเราหลงเขา้ ไปยึดว่าง แสดงว่าเรายังไม่ปล่อยวางสังขาร ทัง้ หมด เพราะว่าตัวที่ไปยึดได้ จะต้องเป็ นตัวปรุง แทนที่เรา จะไปจ่ อ อยู่ ต รงว่ า ง เราต้อ งพลิก กลับ มาเห็น ตัว ที่ ป รุ ง ไปยึ ด ความว่าง ซึ่งก็คือตัวเรานัน่ แหละ แล้วเราก็ยอ้ นกลับมาเห็น ผู ย้ ึดความว่างเป็ นตัวปรุง พอเราปล่อยวางตัวปรุงอีกหนหนึ่ง ตัวปรุงก็เป็ นตัวสังขารไป เลยเรียกว่าปล่อยวางสังขาร แลว้ ก็ ปล่อยวางทัง้ วิสงั ขารก็คือความว่างไปด้วยพร้อมกัน ก็เหลือแต่ 204


เหตุแห่งความว่างที่เที่ยงแท้ : จบซะที

ตัว ที่ม นั ยุ ก ยิก ยุ ก ยิก ยุ ก ยิก ... ซึ่ง เป็ น ตัว ปรุ ง กับ ความว่ า ง ตัว เราที่จ ะไปเอาอะไรอีก ไม่มี เพราะว่า ถ้า ยัง มีต วั จะเอาอะไร ใจมันก็ไม่ว่าง มีอวิชชามาบังใจที่ว่างอีก มันเลยว่างมัง่ ไม่ว่างมัง่ เมื่อ มีป ัญ ญารู แ้ จ้ง ว่ า ธรรมชาติ มีอ ยู่ ส องประเภท คื อ ธรรมชาติไม่ปรุงแต่งและธรรมชาติปรุงแต่ง ธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง ในตัวเราซึ่งมีแต่ ความรู ้ ไม่มีตวั ตน ไม่มีรูปพรรณสัณฐานใด ไม่มกี ริยาหรืออาการใด เป็ นเหมือนความว่างของธรรมชาติหรือ จักรวาล มีช่ือสมมุติว่าใจหรือจิตเดิมแท้ หรือวิญญาณธาตุ หรือ ธาตุรู ้ หรือพุทธะ ธรรมชาติไม่ปรุงแต่งนอกตัวเรา คือความว่าง ของธรรมชาติหรือความว่างของจักรวาล ส่วนธรรมชาติปรุงแต่งในตัวเรา คือ “ขันธ์หา้ ” ได้แก่ “รู ป” ซึ่งเป็ นสสาร และ “นาม” คือเวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ซึ่ง เป็ น พลัง งาน ธรรมชาติป รุ ง แต่ ง นอกตัว เรา คือ สสารและ พลังงานในธรรมชาติ ธรรมชาติปรุงแต่งย่อมเป็ นอนิจจัง ไม่เทีย่ ง ทุก ขัง ทนอยู่ ส ภาพเดิม ไม่ไ ด้ ต้อ งเสื่อ มไป ถ้า เป็ น ขัน ธ์ห า้ ก็ ต้องแก่ เจ็บตาย จึงไม่ใช่เป็ นเรา เป็ นตัวเรา เป็ นตัวตนของเรา หรือไม่มีตวั ตนของเราในขันธ์หา้ ธรรมชาติปรุ งแต่งจึงจะเอา มาคิด มาปรุงแต่ง รวมทัง้ เอามาปรุงแต่งยึดถือขันธ์หา้ ได้ ส่วน ธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง มีแต่ความรูท้ ่ีว่างเปล่าจากตัวตนหรือกริยา อาการใด จึงไม่อาจเอามาคิด หรือปรุงแต่งยึดถือได้ 205


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ดัง นัน้ ผู ม้ ีป ญ ั ญาย่ อ มพิจ ารณาได้ว่ า มัน ต้อ งหลงเอา ธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งมาหลงคิด หลงปรุงแต่ง ว่าขันธ์หา้ ทัง้ ตัว หรือทัง้ รูปและนาม เป็ นตัวตนคงที่ เป็ นเรา เป็ นตัวเรา เป็ นตัวตน ของเรา หรือมีตวั เราเป็ นตัวเป็ นตนอยู่ในขันธ์หา้ หรือหลงยึดถือ ความคิด อาการต่างๆ หรืออารมณ์ต่างๆ ว่าเป็ นเรา เป็ นตัวเรา เป็ นตัวตนของเรา เช่น หลงยึดถือว่าตัวเราเป็ นผูม้ เี วทนา ตัวเรา เป็ นผูจ้ ำ� ได้หมายรู ้ ตัวเราเป็ นผูค้ ิด ตัวเราเป็ นผูร้ ู ส้ กึ ตัว ตัวเรา เป็ นผู ร้ ู ้ ผู เ้ ขา้ ใจ ผู ร้ ู แ้ จ้ง ตัวเรา… ซึ่งลว้ นแต่ เป็ นสังขาร หรือ ธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง หรือเป็ นขันธ์หา้ จึงเอามาคิดมาปรุงแต่ง ได้ ซึ่งธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง ไม่อาจเอามาคิดมาปรุงแต่งได้ ดัง นัน้ เมื่อ มีก ริย าหรือ อาการใดจากไม่ มีเ ป็ น มีข้ ึน มา ปรากฏขึ้นมาแล ้วดับไป หายไป ไปมีความรูส้ กึ นึก คิด ตรึกตรอง ปรุงแต่งอย่างอื่นๆ อีก แมจ้ ะปรุงแต่งว่าเป็ นเรา หรือตัวเรา หรือ ของเรา ก็ลว้ นแต่เป็ นสังขารปรุงแต่งทัง้ นัน้ จึงต้องปล่อยวางไป เสียทัง้ หมด คือไม่ว่าจะคิด จะปรุงแต่งอย่างไร หรือมีกริยาอาการ อย่างไร แมแ้ ต่ความรู ส้ กึ ตัว (สติ สัมปชัญญะ) หรือผูร้ ู ้ ผูเ้ ห็น ผูเ้ ข ้าใจ ผูร้ ูแ้ จ้ง ก็ไม่หลงยึดถือว่าตัวเราเป็ นผูค้ ดิ ผูป้ รุงแต่ง ตัวเรา เป็ นผูร้ ู ส้ กึ ตัว เป็ นผูร้ ู ้ เป็ นผูเ้ ห็น เป็ นผูร้ ู แ้ จ้ง โดยสิ้นหลงยึดมัน่ ถือมัน่ ว่าเป็ นเรา เป็ นตัวเรา หรือเป็ นตัวตนของเราโดยสิ้นเชิง 206


เหตุแห่งความว่างที่เที่ยงแท้ : จบซะที

เมื่อ สิ้น ความหลงยึด มัน่ ถือ มัน่ ว่า ขัน ธ์ห า้ เป็ น ตัว ตนคงที่ เป็ นเรา เป็ นตัวเรา เป็ นตัวตนของเรา หรือมีตวั ตนของเราอยู่ ในขันธ์หา้ แลว้ ความหลงมีตวั เราที่ไปร่วมปรุงแต่งกับความคิด และอารมณ์ก็หายไป ก็เหลือแต่ขนั ธ์หา้ ที่ปรุงแต่ง แต่ไม่มตี วั เรา ไปร่ วมปรุงแต่งกับขันธ์หา้ ก็เลยเป็ นความว่าง เหตุท่ีไม่เจอใจ ว่างเปล่าแต่แรกก็เพราะว่ามีตวั เราไปร่วมปรุงแต่ง เลยกลาย เป็ นอวิช ชา เป็ นม่ า นมาบัง ใจให้ไ ม่ พ บเห็น ความว่ า ง ก่ อ นที่ พระอานนท์ท่านจะบรรลุอรหันต์ท่านยังเอาตัวท่านไปพยายาม รูล้ ะปล่อยวาง แต่ตอนทีท่ ่านจะเอนตัวลงนอน ในขณะทีศ่ ีรษะยัง ไม่ทนั ถึงหมอน ท่านก็บรรลุอรหันต์ไปตอนนัน้ ก็เพราะท่านวาง หมด วางแลว้ เลิกหลงเล่นจะเอาตัวเราไปบรรลุนิพพาน อันนี้ วางจริงๆ ไม่กลับมาเล่นอีก ก็พบกับความว่างที่เที่ยงแท้

207


“ ในใจที่ว่างเปล่า มีความเคลื่อนไหว มีความปรุงแต่ง เกิด... ดับ แต่ ใจไม่เคลื่อนไหว ไม่ปรุงแต่ง ไม่เกิด... ไม่ดับ ”


จบซะที

๒๑ คัมภีร์ ไร้ตัวอักษร เมือ่ สิ้นหลงสังขาร หรือสิ้นหลงปรุงแต่ง หรือสิ้นหลงยึดถือ สังขาร ความเป็ นจริงตามธรรมชาติก็ปรากฏแก่ ใจว่า ในความ ปรุ ง แต่ ง มีใ จที่ไ ม่ป รุ ง แต่ ง เป็ น ของคู่ ก นั อยู่ แ ล ว้ และไม่มีใ คร ยึดความไม่ปรุงแต่ ง ปรุงแต่ งก็ปรุงแต่ งไป แต่ ไม่มใี ครไปยึด เมื่อไม่มผี ู้ไปยึด อวิชชาที่เป็ นเสมือนม่านที่บงั ตาใจไวก้ ็ถูกเปิ ด ออก เลยพบความว่าง ความว่ า ง หรื อ ความไม่ ป รุ ง แต่ ง มีอ ยู่ แ ล ว้ ในธรรมชาติ แต่ท่เี รามองไม่เห็นเพราะเราไปยึดความปรุงแต่ง ไปวุ่นวายกับ ความปรุ งแต่ ง เอาความปรุ งแต่ งไปท�ำโน่ นท�ำนี่ เราไม่ปล่อย วางความปรุงแต่ ง แต่ กลับเอาความปรุงแต่ งซึ่งก็คือขันธ์หา้ ไป ท�ำอะไรๆ จะไปท�ำให้ใจว่าง จะไปท�ำให้ขนั ธ์หา้ ไปถึงนิพพาน ทัง้ ๆ ที่นิพพานคือสิ้นยึดขันธ์หา้ 209


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ที่ถูก ต้อ งตามธรรม ต้อ งเห็น ขัน ธ์ห า้ เป็ น ความปรุ ง แต่ ง ทัง้ นัน้ ไม่อาจยึดมัน่ ถือมัน่ ได้ ปรุงแต่งก็ปรุงแต่งไป ยังไม่ตาย จะไปดับ ขัน ธ์ห า้ ไม่ไ ด้ ปล่อ ยมัน ช่ า งมัน เห็น แล ว้ ปล่อ ยวาง ทุกขณะปัจจุบนั มีสติรูอ้ ยู่ทป่ี ระตูใจ ละอยู่ทป่ี ระตูใจ ปล่อยวางที่ ประตูใจ เมือ่ เลิกเอาตัวเราไปไล่รูเ้ ท่าทัน ไล่รู ้ ไล่ละ ไล่ปล่อย ไล่วาง คือไม่เอาสังขารไปท�ำอะไรวุ่นวาย นัน่ แหละ ม่านบังตาจะเปิ ด พบใจที่ว่างเปล่าที่มอี ยู่แลว้ ตราบใดทีย่ งั ปฏิบตั ิโดยมีผูจ้ ะเอา จะเอา จะเอา... ก็จะหลง ยึดขันธ์เป็ นเรา เป็ นตัวเรา หรือเป็ นตัวตนของเรา หรือตัวเราเป็ น ขันธ์หา้ แลว้ เอาตัวเราไปคิดนึก ตรึกตรอง วิเคราะห์ วิจยั ปรับๆ แต่งๆ ไปตามกิเลส เกลียดทุกข์รกั สุข ดีรกั ชัว่ ชัง ซึ่งเป็ นทางตรง ขา้ มกับนิพพาน เดินจงกรมนัง่ สมาธิรูปแบบสวยงามก็เพื่อจะ ไปเอานิพพาน ไปเอาความสุขที่ทุกข์ไม่มี ไปเอาว่าง โล่ง โปร่ง สบายที่หมายเอาไว้ในใจ ซึ่งลว้ นเป็ นกิเลสไม่มที างพน้ ทุกข์ไป ได้ ต้องอ่านใจตนเองให้ขาด ต้องสิ้นผูจ้ ะเอาจึงจะสิ้นทุกข์ ต้อง ปล่อยวางผูจ้ ะเอา อาการอะไรก็เป็ นสังขาร ยึดถือเป็ นสาระไม่ได้ การปฏิบตั ิธรรมไม่ใช่เพื่อให้ใครได้ส่งิ มหัศจรรย์อะไรเลย สิ่งที่มหัศจรรย์ท่ีสุด คือ... ...ปล่อยวางแม้แต่ส่งิ ที่มหัศจรรย์!... 210


คัมภีร์ไร้ตวั อักษร : จบซะที

เคยเห็นพระพุทธรู ปปางปฐมเทศนาไหม พระหัตถ์ขวายก ขึ้นเสมอพระอุระ จีบนิ้ว พระหัตถ์หนั ออกจากองค์ พระหัตถ์ซา้ ย ประคองพระหัตถ์ขวาหันเขา้ หาองค์ เป็ นปางที่แสดงนามธรรม ผ่านรู ปธรรมได้ชดั เจนถึงเส้นทางสุดโต่งสองสายที่ให้งดเวน้ คือ ถ้าสิง่ ใดไม่ชอบ พยายามดิ้นรนผลักไส และถ้าสิง่ ใดชอบ อยากได้ อยากเอาดูดเขา้ หาตัว เป็ นการยึดถือ เกาะเกี่ยว พัวพัน เป็ นกิเลส ตัณหา เป็ นเหตุให้เกิดทุกข์หรือไม่ส้ นิ ทุกข์ ทัง้ ทีค่ วามเป็ นจริงแล ้ว สิง่ หนึ่งสิง่ ใดทีเ่ กิดขึ้น สิง่ นัน้ ย่อมดับไปเป็ นธรรมดา ไม่อาจยึดมัน่ ถือมัน่ ได้ พระพุท ธองค์ท รงสอนให้เ รารู จ้ กั ขัน ธ์ห า้ เห็ น ขัน ธ์ห า้ อย่างชัดเจนแก่ใจว่าเป็ นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แลว้ ปล่อยวาง ขันธ์หา้ เสีย เมือ่ ปล่อยวางขันธ์หา้ ก็จะพบความว่าง พบแลว้ ไม่มี ผไู้ ปยึด วางหมดทัง้ ขันธ์หา้ และความว่าง ก็พ ้นทุกข์ จบภพ จบชาติ จบการเวีย นวน เสมือ นนามธรรมที่ถ่ า ยทอดผ่ า นรู ป ธรรมที่ ปล่อยวางพระหัตถ์ลงทัง้ สองขา้ งในพระพุทธรู ปปางตรัสรู ้ หนังสือเล่มนี้ เดินทางมาถึงบทสุดท้ายแลว้ อธิบายธรรม ผ่านตัวหนังสือซึ่งเป็ นสิ่งปรุงแต่ง เป็ นสมมุติบญั ญัติ บอกให้รู ้ ถึงธรรมชาติตามความเป็ นจริงของขันธ์หา้ สิ่งที่มี สิ่งที่กระเพือ่ ม สิ่งที่ปรากฏ มีแต่สงั ขารปรุงแต่ง เกิดขึ้นแลว้ ดับไป มีแลว้ หายไป ไม่มตี วั เราผูเ้ ดินทางแต่แรกแล ้ว ไม่มตี วั เราผู้ไปถึง และไม่มสี ง่ิ ใด 211


หลวงตาณรงค์ศกั ดิ์ ขีณาลโย

ที่จะไปถึง เพราะมีแต่ ดิน น�ำ ้ ลม ไฟ และธาตุรู ้ มีแต่ความรู .้ .. รู.้ .. รู.้ .. เขา้ ใจ... เขา้ ใจ... เขา้ ใจ... ปล่อยวาง... ปล่อยวาง... ปล่อย วาง... ความหลงยึดถือตัง้ แต่ หน้าปกจนหน้าสุ ดท้าย คัมภีรน์ ้ ี ก็ไม่ตอ้ งมีตวั อักษรใดๆ อีกเลย ว่างเปล่า จากใจสู่ใจ เขา้ ใจถึงใจที่ ว่างเปล่า ไม่เอาอะไร ไม่ยดึ ถืออะไรเลย ไม่แบกความรูไ้ ว ้ วางหมด แมก้ ระทัง่ ความรู ้ ไม่ยดึ ความรู ว้ ่าตัวเราเป็ นผูร้ ู ้ รู ห้ มด วางหมด ไม่มใี ครยึด วางตัวเราผูร้ ู ้ ผูเ้ ห็น ผูเ้ ขา้ ใจ ถ้าอ่านจบ รู แ้ ลว้ เขา้ ใจ แลว้ แต่หลงยึดว่ามีตวั เราเป็ นคนเขา้ ใจ ตัวเรารู เ้ ห็นหมด ก็ยงั เป็ นทิฏฐิมานะ เป็ นมิจฉาทิฏฐิ เป็ นความหลงผิด เป็ นความยึดถือ เป็ นกิเลส สุดท้ายวางหมด ปล่อยวางความหลงยึดถือว่า ตัวเราเป็ นผูร้ ู ้ ผูเ้ ห็น ผูเ้ ขา้ ใจ ผูร้ ู แ้ จ้ง เหลือแค่ความรู ท้ ่ไี ม่มใี ครไปยึด อวิชชาก็ ดับลง อุปาทานขันธ์ทงั้ ห้าดับลง สังขารวางแล ้ว วางหมดก็วา่ งหมด ก็พบใจ “ว่าง” คือใจทีเ่ ป็ นธาตุรู ้ คือจิตเดิมแท้ เป็ นความว่าง พบใจ ที่เป็ นความว่างเรียกว่าดวงตาเห็นธรรมแลว้ เขา้ ถึงใจว่างแลว้ ไม่หลงยึดความว่าง หลงรักษาใจให้ว่าง ปล่อยวางความหลงยึดถือ หลงรักษาใจให้วา่ ง ซึง่ ยังเป็ นภาระหนัก ปล่อยวางภาระหนัก ก็ว่างเปล่า ความว่างก็คงเป็ นเพียงความว่าง ของเขาไปเสีย ไม่มผี ู เ้ ดินทางเขา้ ไปถึงความว่าง ความว่างเป็ น 212


คัมภีร์ไร้ตวั อักษร : จบซะที

ธรรมชาติท่ีมอี ยู่แต่ เดิม ปล่อยความหลงยึดถือความว่างเปล่า ไม่ แ บกความว่ า งเปล่า ไม่ มีใ ครแบกทัง้ ความว่ า งและสัง ขาร จึงพน้ ทุกข์ เรียกว่า “นิพพาน” นิ พพานัง ปรมัง สุญญัง นิพพานว่างจากความหลงยึดมัน่ ถือมัน่ ทัง้ สมมุติ (สังขาร) และวิมตุ ติ (ความว่าง) นิ พพานัง ปรมัง สุขงั นิพพานเป็ นสุขอย่างยิ่งที่เหนือความรู ส้ กึ เป็ นสุข และเป็ นทุกข์ เมือ่ ถึงเวลาที่ธาตุขนั ธ์ตอ้ งแตกดับก็คืนขันธ์หา้ คืนธาตุดนิ ธาตุนำ �้ ธาตุลม ธาตุไฟ และธาตุรูส้ ู่ธรรมชาติอย่างธรรมชาติ ที่ไ ม่ ยึด ถือ ต่ อ กัน จิต เดิม แท้ท่ีส้ ิน อวิช ชาแล ว้ ก็ เ ป็ น ธาตุ รู ท้ ่ี ว่างเปล่า คืนรวมเป็ นหนึ่งเดียวกับความว่างเปล่าในธรรมชาติ แมน้ ิพพาน ก็ไม่มีใครยึดนิพพาน นิพพานยังคงเป็ นนิพพาน อยู่อย่างนัน้ ... จบซะที

213



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.