EC_issue_59

Page 1







เจาของ

: บริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด

โทรศัพท โทรสาร Homepage Email

: : : :

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชัน้ 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 0 2862 1396-9 0 2862 1395 www.me.co.th, www.technic.in.th info@me.co.th, ad@me.co.th editor@me.co.th

การลดภาวะโลกรอน

ที่ปรึกษา : ดร.ทวี เลิศปญญาวิทย, ดร.สุรควง อัศวานิชย,

ชยันต ศาลิคุปต, สุรชาญ สุวรรณโณดม, ฤทธิ์ ธีระโกเมน, ดร.วุฒชิ ยั นีรนาทวงศ

กองบรรณาธิการผูทรงคุณวุฒิ : ดร.พงษธร จรัญญากรณ,

ดร.วุฒิชัย นีรนาทวงศ, เกชา ธีระโกเมน, ศักดิ์ชัย ทักขิญเสถียร, รศ.ไชยะ แชมชอย, ลือชัย ทองนิล, รศ.ธีรศิลป ทุมวิภาต, รศ.สุมาลี อุณหวณิชย, รศ.ดร.วรพงษ ตัง้ ศรีรตั น, ผศ.ถาวร อมตกิตติ,์ ทนง โชติสรยุทธ

บรรณาธิการอำนวยการ : ผศ.ถาวร อมตกิตติ์ บรรณาธิการจัดการ : บพิธ โคนชัยภูมิ ผูชวยบรรณาธิการจัดการ : ถนัตร รอดประดิษฐ ผูชวยบรรณาธิการขาว : รัตติยา หาวงษ ศิลปกรรม : สุรสั วดี วิบญ ุ นัตพิ งษ, รพีพรรณ เหลืองเกสรสกุล

ธีรยุทธ สวนตะโก

: วิกรม สุพานิชยวทิ ย

ฝายโฆษณา ○

: ลัดดาวัลย สยุ หาวงษ, นิภาพร บำรุงชาติ

ฝายสมาชิก ○

แบบพิมพและแยกสี : บริษทั 48 ฟลม โปรเซส จำกัด พิมพ : บริษทั ส.เอเซียเพรส (1989) จำกัด จัดจำหนาย : บริษัท เพ็ญบุญจัดจำหนาย จำกัด ○

บรรณาธิการผูพิมพและโฆษณา : สมมาตร สุพานิชยวทิ ย ○

(ISSN 1685-3679) เปนวารสารรายสองเดือนทีเ่ นนการ นำเสนอความรู ความคิดเห็น ความคิดสรางสรรค ขอมูลขาวสารตางๆ ของเทคโนโลยีทางวิศวกรรม ไฟฟาและระบบควบคุม และอุตสาหกรรม ตลอดจนการบริหาร การจัดการ ทัง้ นี้ เพือ่ เสริมสรางการพัฒนาทาง วิศวกรรมและการบริหารงานใหเจริญกาวหนายิง่ ขึน้ ขอเขียนหรือบทความ ตางๆ ทีพ่ มิ พเผยแพรใน EC นอกจากจะจัดหามาโดยกองบรรณาธิการ แลว ยังยินดีเปดรับขอเขียนจากบุคคลภายนอก รายละเอียดและขอ กำหนดตางๆ ในการเขียนโปรดติดตอกับบรรณาธิการจัดการ ○

การกลาววาสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงอยางรุนแรง จนทำให เกิดภัยธรรมชาติตามมาอยางหลีกเลี่ยงไมพนนั้น เปนผลพวงมาจากการ เกิดภาวะโลกรอน ถือเปนคำกลาวทีแ่ ทบทุกคนยอมรับ หลายคนยังมองลึกลงไปวา จำเลยอันดับตนๆ ของภาวะโลกรอน ดังกลาว คือ ภาคอุตสาหกรรมซึง่ มีการใชพลังงานทีส่ งู มาก และยังปลอย มลภาวะทีเ่ ปนปญหาตอสิง่ แวดลอมอีกดวย ทัง้ ๆ ทีเ่ ริม่ ตนจากการเพิม่ ขึน้ อยางมากของประชากรโลก ทำใหการบริโภคมากตามไปดวย ซึง่ สงผลให ภาคอุตสาหกรรมตองขยายตัวตาม หากมองอยางละเอียดจะเห็นวา ปจจุบันภาคอุตสาหกรรมก็ได พยายามหาทางลดการใชพลังงานและลดการปลอยกาซเรือนกระจกลง อยางมาก การลดการบริโภคพลังงานในภาคอุตสาหกรรมในปจจุบนั ไดมกี าร พยายามควบคุมตัวประกอบผันแปรทีม่ ผี ลตอการใชพลังงาน คือ ปริมาณ การผลิต, สัดสวนการผลิต และการใชพลังงานจำเพาะ ในการพัฒนาอุตสาหกรรมสาขาตางๆ ไดมกี ารกำหนดแนวทางใน การพัฒนาไว 3 ประเด็น คือ การเพิม่ ผลผลิต, การลดการบริโภคพลังงาน และการลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม นอกเหนือจากแนวทางนโยบายดังกลาว ยังมีการสรางแรงผลักดัน และแรงจูงใจในการลดภาวะโลกรอนจากภาคอุตสาหกรรมโดยผานกลไก ตางๆ เชน พิธสี ารเกียวโต, CDM, การซือ้ ขายคารบอนเครดิต, มาตรการ ชวยเหลือดานการเงินและภาษี, ขอบังคับดานคุณภาพอากาศและการ จัดการของเสีย เปนตน ทางดานของผูบริโภค ซึ่งเปนตัวเรงในการลดภาวะโลกรอนของ ภาคอุตสาหกรรมก็มหี ลายรูปแบบ เชน ฉลากคารบอนฟุตพรินต ทีป่ ระทับ ลงบนสินคา เพือ่ ใหผบู ริโภคเลือกซือ้ สินคาทีส่ รางปญหาตอโลกนอยทีส่ ดุ อีกดวย

บทความใดๆ ทีป่ รากฏอยใู นวารสาร EC อาจเปนการเสนอขอคิดเห็น เฉพาะบุคคลของผเู ขียน วารสาร EC และบริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด ไมจำเปนตองเห็นพอง หรือมีสว นผูกพันเสมอไป สงวนลิขสิทธิ์ © 2555 โดย บริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด ตามพระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิ์

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

5



:35 PM

Ͳ ˤ ͦͲ¯Â Alpac เปสะพายหลังชารจไฟได

การพัฒนาเทคโนโลยีทมี่ คี วามกาวหนาอยางตอเนือ่ ง ทำใหไมวาสิ่งของเครื่องใชประเภทใด ก็สามารถอำนวย ความสะดวกใหกับคนเราไดหลากหลายคลายกับของเลน เขาไปทุกที และ Alpac เปสะพายหลังสำหรับนักเดินทาง นี้ก็เชนเดียวกัน Alpac เปนเปสะพายหลังสำหรับนักเดินทาง ที่มี ขนาดใหญสามารถใสสมั ภาระไดจำนวนมาก ซึง่ ก็คลายกับ เปเดินทางทัว่ ๆ ไป แตทเี่ หนือกวาก็คอื ในขณะเดินทางหาก แบตเตอรีอ่ ปุ กรณอเิ ล็กทรอนิกสตา งๆ ทีค่ ณ ุ ใชอยเู กิดหมด ลง ก็สามารถใชเปนี้ชารจแบตเตอรี่ได เชน โทรศัพท มือถือ เครือ่ งเลนเพลง หรืออุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสอนื่ ๆ

โครงสรางของเปทำจากพลาสติกชัน้ ดี จึงมีความสวย งามทนทาน ทำใหการใชงานในแตละวันเปนไปอยาง สบายๆ นอกจากนีเ้ ป Alpac ก็ยงั มีทใี่ สชดุ ปฐมพยาบาล เบือ้ งตนทีอ่ อกแบบมาอยางดีอกี ดวย เรียกไดวา มีเปเพียงใบ เดียวสามารถเปนไดทงั้ กระเปาเดินทาง ทีช่ ารจแบตเตอรี่ และกระเปาพยาบาลเลยทีเดียว จึงเปนเปทเี่ หมาะสำหรับ เดินทาง หรือการเขาคายพักแรม ที่มา www.tuvie.com

อนาคตดานตรวจคนสำหรับสนามบินนานาชาติ

EC58 Wrold.indd 8

เทคโนโลยี รั ก ษา ความปลอดภั ย ของด า น ตรวจคน เพือ่ ปองกันการ ปลนบนเครือ่ งบิน โดยวิธี การตรวจสอบโลหะ หรือ อาวุธตางๆ ทีใ่ ชในปจจุบนั มี ก ารใช ง านมากว า 4 ทศวรรษแลว จึงมีหลาย หนวยงานไดลงความเห็น วาควรพัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยใหดียิ่งขึ้น ดังนั้น สมาคมขนสงทางอากาศระหวางประเทศ (IATA) จึงทำการพัฒนาระบบขึ้นมา และไดเปดตัวแบบ จำลองการตรวจคนเขาเมืองสำหรับสนามบินนานาชาติใน อนาคต หรือ Check point of the Future ซึง่ เปนแบบ จำลองทีส่ ามารถลดขัน้ ตอนและลดจุดตรวจตามกฏระเบียบ ของการรักษาความปลอดภัยในสนามบินแบบเดิม ใหเหลือ

จุดตรวจสอบเพียงจุดเดียว โดยทำการแยกกลุ ม ผู โดยสารตามประเภทกลุม เสี่ยง ที่อางอิงจากขอมูล พื้นฐานของแตละบุคคล ตั้งแตขั้นตอนแรก โดยระบบตรวจ สอบนีส้ ามารถแยกประเภท ของผู โ ดยสารออกเป น 3 ประเภท และใหมกี ารตรวจสอบผาน 3 ชองทาง ไดแก 1. ชองทางสำหรับผูโดยสารที่มีขอมูลอยูในฐานขอมูลอยู แลว (Known Traveler) 2. ชองทางผโู ดยสารปกติ (Normal) และ 3. ชองทางสำหรับผูโดยสารที่ตองตรวจสอบระบบ ความปลอดภัยเพิ่มเติม (Enhanced Security) หรือผู โดยสารที่ตองสงสัย สนามบินนานาชาติในอนาคตนี้ จะเนนไปยังกลมุ ผู

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555 EC58 Wrold.indd 7

11/19/2011 2:23:34 PM

7 11/19/2011 2:23:29 PM


j }Ô } s ¥ mÔ } s ¢Ôq }q õ } s m ¦ m ¥ q j k ~Ó p« ¥sÓ ¥m ñ pj © Ï pp ¡p j ¡k j q }j


Ͳ ˤ ͦͲ¯Â

โดยสารทีต่ อ งสงสัย ซึง่ ระบบจะทำการคัดแยกประเภทของ ผูโดยสารดวยวิธี ฺBiometrics Identifier โดยใชลักษณะ ทางกายภาพ หรือลักษณะทางพฤติกรรม ที่เปนลักษณะ เฉพาะตัวของแตละคน ในการระบุตัวบุคคลโดยอัตโนมัติ จากการอานขอมูลในหนังสือเดินทาง กอนที่ผูโดยสาร จะเดินทางมาถึงสนามบิน

ปจจุบนั โครงการสนามบินนานาชาติในอนาคตนี้ ได รับความสนใจจากรัฐบาลของประเทศตางๆ กวา 19 ประเทศ และกำลังอยใู นขัน้ ตอนการกำหนดมาตรฐานการ ตรวจสอบ ซึง่ ทาง IATA คาดวาจะสามารถนำเทคโนโลยี นีม้ าใชงานไดจริงภายใน 5-7 ปขา งหนา ที่มา www.iata.org

Liamo เทคโนโลยีขวดนมเด็กยุคใหม เพื่อสุขอนามัยที่ดีของลูกนอยสุดรักของคุณพอคุณ แมยอมใสใจในสิ่งของเครื่องใชอยางพิถีพิถัน และโดย เฉพาะขวดนมที่ตองใชงานหลายครั้งในหนึ่งวัน liamo คือขวดนมเด็กที่ออกแบบพิเศษใหมีสีสันสด ใสมองดูแวววาวเสมือนสีของเครื่องประดับประเภทเพชร นิลจินดา และยังถูกสุขอนามัยอีกดวย

EC58 Wrold.indd 8

ความพิเศษของขวดนม liamo อยูตรงที่มี ความเปนเอกลักษณเฉพาะตัวทีไ่ มมที อี่ นื่ นัน่ คือ เปนขวด นมเพียงหนึง่ เดียวทีม่ กี ลไกการทำความรอนดวยตัวเอง หรือ Liamo Feeding ที่ มี ลั ก ษณะเป น กล อ งหรื อ ตลั บ เพื่ อ ทำหนาที่ถายเทความรอน ที่มีวัสดุองคประกอบหลักเปน

8

EC58 Wrold.indd 10

เกลือและน้ำ รวมไวดว ยกันอยางลงตัว ขัน้ ตอนการทำความ รอนของขวดนมนี้ก็ไมยุงยาก เพียงใสอุปกรณสำหรับ ทำความรอนเขาไปในขวดนม จากนัน้ ก็ปด ฝา โดยเครือ่ ง นี้ ส ามารถทำให นมมีความรอนที่อุณหภูมิสูง ถึง 37 องศา ภายในเวลาเพียง 4 นาที และ เมือ่ ได ความรอนตามอุณหภูมิที่ตอง การแลวก็ถอดเครื่องทำความรอน ออก เพียงแคนกี้ ไ็ ดนมรอน หรือนมอนุ ๆ ใหลูกนอยไดดื่มแลว เรียกไดวาเมื่อใชขวด นม Liamo แลวคุณพอคุณแม ทั้งหลาย จะหมดกังวลเรื่อง สุขอนามัยของลูกรัก อีกทั้ง กล อ งถ า ยเทความร อ นนี้ ยั ง ชวยอำนวยความสะดวกให กับคุณพอคุณแม โดยทำให การอนุ นมทำไดงา ยขึน้ ไมวา จะอยทู ไี่ หนก็สามารถอนุ นมไดงา ยๆ เชน อยบู นเครือ่ งบิน ในรถ อยชู ายหาด หรือในสวนสาธารณะ เปนตน

11/19/2011 2:23:34 PM

ที่มา www.tuvie.com

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555 11/19/2011 2:23:35 PM

EC5


¯ » ° £ £ u¤ ¯w ª· }« ¨· 1 NEW

¥~ × ¦ k ¥m ñ s¡} ­ 1 { r yy cu} Ù c ¢ ,6%1 Ú Á sÀh ufÙ f (& { ÙrÄ wi dÙ r [ l{ i Ù Ù ÙÁ c}Ýr x ÙrÄ } f w u

m j~ 310 ¡mm ­ © 279

s j 264

¨ ­pt ® p k p ¥ ¬ ¦ }× q j }

¥~ × ¦ k ¥m ñ s¡} ­ 1

¥ Û ¥p .........................


:35 PM

Ͳ ˤ ͦͲ¯Â 10 สุดยอดสิง่ ประดิษฐ แหงป 2011 ปจจุบันมนุษยเราไดศึกษา คนควา และพัฒนาสิ่ง อำนวยความสะดวกมากมายหลายรูปแบบ เพือ่ ใหมชี วี ติ อยู อยางสะดวกสบาย โดยใชความรูดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีทคี่ ดิ คนขึน้ นี้ ดังนัน้ เราจึงเห็นสิง่ ประดิษฐทแี่ ปลก ใหม และใชงานไดจริงเกิดขึน้ มากมาย แมบางอยางจะมอง ดูวา ไมนา เปนไปได แตกเ็ ปนไปแลว เชน สิง่ ประดิษฐทเี่ ปน ไดทงั้ รถยนต, เรือ และเปนเครือ่ งบิน เปนตน ซึง่ ทัง้ หมด นีก้ เ็ กิดจากความคิดจากมันสมองและสองมือของมนุษยเรา นั่นเอง ในป 2011 ทีผ่ า นมา เว็บไซต mnbc.com ไดเผย แพรภาพผลงานสิ่งประดิษฐที่ไดรับความสนใจแหงป 10 อันดับแรกไว ดังนี้ 1. มือเทียมอัจฉริยะ ผลงานของมารค สตารค ที่ ประดิษฐขนึ้ มาใหมโี ครงสราง และการทำงานไดเหมือนมือ มนุษย นัน่ คือสามารถหยิบจับแกวน้ำ จับลูกบอลได ดวย ตนทุนการผลิตทีไ่ มมาก มืออัจฉริยะนีช้ ว ยใหผพู กิ ารทางมือ สามารถทำกิจกรรมตางๆ ไดอยางสมบูรณเหมือนคนปกติ

2. ถุงมือบอดี้การด ปองกันศัตรู ที่ประดิษฐขึ้น มาเพือ่ ใชตอ สกู บั อาชญากร แรงบันดาลใจในการประดิษฐ ถุงมือนี้ เกิดขึน้ จากการเสียชีวติ ของคนทีถ่ กู สิงโตภูเขาทำราย ดวยการกัดรางกายจนเสียชีวิต ถุงมือชิ้นนี้มีน้ำหนักไมถึง 3 ปอนด หอหมุ ดวยวัสดุทพี่ ฒ ั นาใหมคี วามแข็งแรงบริเวณ ขอศอก ทีไ่ มเพียงแคใชปอ งกันศัตรูเทานัน้ แตยงั มีไฟฟา

แรงดันสูง กลองวีดโิ อ แสงเลเซอร และไฟฉายรวมอยดู ว ย เพือ่ ใหถงุ มือทำงานไดหลากหลายมากยิง่ ขึน้ 3. เครื่องพรินตอเนกประสงค พัฒนาขึ้นมาเพื่อ อำนวยความสะดวกสบาย ใหกับผูใช เครื่องนี้สามารถ พิมพเอกสาร หรือพิมพขอมูลตางๆ บนวัสดุที่แบนราบ เชน ไม พลาสติก จุดเดนของมันก็คอื มีขนาดเล็ก น้ำหนัก ไมถงึ 1 ปอนด หรือเพียง 0.45 กิโลกรัม พกพาไดงา ย ทำใหสะดวกสบายในการใชงาน

4. The Katal Landing Pad แผนปองกันการเกิด อุ บั ติ เ หตุ สำหรั บ นั ก เล น สกี สิ่ ง ประดิ ษ ฐ ที่ ไ ด รั บ รางวั ล Popular Science Invention Award in 2011 ทีส่ ราง สรรคขึ้นมาโดย แอรอน โคเรท นักเลนสกีผาดโผน ซึ่ง ประสบอุบัติเหตุระหวางเลนสกีหิมะ จนคอเปนอัมพาต ทำใหเขาและเพือ่ นคิดคนการทำแผนขนาดใหญปอ งกันการ เกิดอุบตั เิ หตุจากการเลนสกี แผนปองกันนีท้ ำจากวัสดุไวนิล บรรจุลมทีม่ คี วามนมุ และยืดหยนุ ซึง่ ทำใหการเลนสกีหมิ ะ มีความปลอดภัยและสนุกมากยิ่งขึ้น

5. แวนตากันแดด ไดนามิก อาย เปนแวนกันแดด ทีค่ ดิ คนและประดิษฐขนึ้ มาเปนพิเศษ ประกอบดวยเลนส

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555 EC58 Wrold.indd 7

9 11/19/2011 2:23:29 PM


˫¯ Ë ¿ website ̲½ ·®¾ °·®¿ Á ¯ w §w ´¾¦¦ÂÔ ! www.me.co.th ˤ ¦Á 12 §¾§ ¨°Æ ¬ ˫¯ 500 §¿¤ ¨°½¸¯¾¡ 100 §¿¤ ˤ ¦Á 12 §¾§ ¨º¦¡ ˫¯ 750 §¿¤ ¨°½¸¯¾¡ 150 §¿¤

·Á¤¥Á«Á˵¶·À¸°¾§·®¿ Á ´¿°·¿°Ë¤ ¦Á ˤ ¿¦¾Ô¦ ; ; ; ; ; ;

³ Õ ¥ t¥ ¤ ¥ ¥ «t| ¤ Õz ©z £ ¬ Ö¥ £ ¤ wÕ¥ Õz ©z 300 ¥ / ¨ ¨wÕ¥{¤ Õz ¤z ª w¬Õ ª ¤· £¯ ¨ ¤z ª ¯ w §w §¯ | ¤ ¨ 2555 ¬ wÕ¥ 120 ¥ www.me.co.th ³ Ö ¤ Õ {¥tt¥ ¤·z~ª¸ ¤z ª w¬Õ ª ¬z « ©z 20% ³ Ö ¤ Õ ² t¥ ¤w ¯uÖ¥ ¤z ¤ ¥ 300 ¥ /w /w ¤¸z (³ Õ{¦t¤ {¦ w )


Ͳ ˤ ͦͲ¯Â Dynamic Eye สามารถปองกันแสงแดดจาไดโดยทีไ่ มทำให วัตถุทมี่ องเห็นมีสหี มองลง 6. อุปกรณปองกันตัวเรือด เมื่อพูดถึงตัวเรือดคน จำนวนไมนอ ยอาจไมรจู กั แตในขณะเดียวกันก็มอี กี จำนวน มากที่รูจักดี ตัวเรือดที่ซุกซอนอยูตามเบาะที่นั่ง ที่นอน เปนอันตรายสำหรับมนุษย เพราะมันจะดูดกินเลือดสัตว และคนเปนอาหาร จึงมีผสู รางเครือ่ งตรวจจับตัวเรือดขึน้ ซึ่งปกติจะหาตัวมันไดยากมาก อุปกรณปองกันตัวเรือดนี้ จะสงสัญญาณหลังจากทีต่ รวจพบกลิน่ ฟโรโมนของตัวเรือด โดยเครือ่ งจะทำหนาทีค่ ลายกับจมูกสุนขั ดมกลิน่ อีกทัง้ ยัง สามารถตรวจจับแมลงสาบ และหนูไดดว ย

7. ปากกาตรวจภาวะการตัง้ ครรภ ประดิษฐขนึ้ มา เพื่อตรวจวัดการตั้งครรภขั้นตน เปนอุปกรณที่มีราคาถูก สามารถนำไปใชไดจริงตามสถานพยาบาลตางๆ การใชงาน ปากกานี้ก็งายๆ เพียงแคผูใชขีดปลายปากกาลงบนหยด ปสสาวะ ก็จะมีสเี กิดขึน้ ซึง่ สีตา งๆ จะสามารถบงบอกถึง ความผิดปกติไดอยางรวดเร็วและแมนยำ ปากกานีช้ ว ยให คุณแมสามารถรคู วามผิดปกติของครรภ ซึง่ จะทำใหรกั ษาได ตั้งแตเนิ่นๆ

8. เครื่องเปลี่ยนสิ่งปฏิกูลในยานพาหนะ (Zero Liquid Discharge) เครือ่ งนีจ้ ะทำงานโดยการออกซิไดซ

10 EC58 Wrold.indd 10

และการระเหยสิ่งปฏิกูลออกไป ใหกลายเปนละอองของ เหลว ทีเ่ ปนประโยชนสำหรับเครือ่ งยนตอยางเรือสำราญ ทีม่ สี งิ่ ปฏิกลู จำนวนมาก โดยไมตอ งปลอยลงสทู ะเล 9. บอดี้บอรดไฟฟา สิ่งประดิษฐชิ้นนี้มีมอเตอร เปนตัวชวยทำใหเครื่องยนตทำงานไดรวดเร็ว ขณะที่โลด แลนอยบู นผิวน้ำ ซึง่ ผใู ชสามารถบังคับและควบคุมทิศทาง ดวยแฮนดบังคับ

10. กระจกวิเศษ เปนกระจกทีส่ ามารถบอกอัตราการ เตนของหัวใจของผสู อ งได ดวยการใชกระจกสองดาน แลว ใชโปรแกรมคอมพิวเตอรและเว็บแคม ตรวจจับการสะทอน ของใบหนา จากนั้นก็แปรผลออกมาผานกระจกดานที่มี คนยืนอยู เพียงแคนี้ก็สามารถวัดอัตราการเตนของหัวใจ ไดแลว

ที่มา www.mthai.com

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555 11/19/2011 2:23:35 PM

EC5


§ ¾ § « ̸² °´® ´¿®°Æ

·À¸°¾§ ¿¦´Áµ´ °°® PH%22.6+23

www.facebook.com/meBOOKSHOP


มจพ.ออกแบบและพัฒนา กระทงเซฟตี/้ เครือ่ งตรวจสอบไฟฟารัว่

จากภัยพิบัติน้ำทวมสงผลกระทบตอประชาชนใน หลายพืน้ ที่ กอใหเกิดความเสียหายทัง้ ชีวติ และทรัพยสนิ นอกจากนีย้ งั มีโรคภัยตางๆ ทีม่ ากับน้ำแลว ภัยจากกระแส ไฟฟารัว่ ก็เปนอีกหนึง่ อันตรายทีค่ วรระมัดระวังในพืน้ ทีน่ ้ำ ทวมขัง ซึ่งจะทำใหเกิดไฟฟาลัดวงจร ไฟฟาดูดจนเปน อันตรายตอชีวติ ได ทางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ (มจพ.) ไดเล็งเห็นความสำคัญของเรือ่ งนี้ โดยเห็นวาการเตรียมความพรอมไมใหเกิดไฟฟารัว่ เปนสิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ เพราะการทีส่ ามารถตรวจสอบตำแหนงของไฟฟา รัว่ ไดกอ นจะเปนการดีกวา เพราะจะสามารถแกไขไดงา ย และปลอดภัยกวา จึงไดพฒ ั นาเครือ่ งตรวจสอบไฟฟารัว่ ที่ สามารถตรวจสอบไดรอบทิศทาง 360 องศา โดยไมตอ ง ใชถา นไฟฉาย แตใชไฟฟาทีร่ วั่ เปนพลังงาน เนือ่ งจากการ ใชถานไฟฉายหากถานไฟฉายหมดจะไมสามารถทราบได เลยวาไดเกิดกระแสไฟฟารั่ว

ผศ.ดร.ขจร อินวงษ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระจอมเกลา พระนครเหนือ รวมกับกระทรวงมหาดไทย โดยภาควิชา ครุศาสตรไฟฟา คณะครุศาสตรอตุ สาหกรรม ซึง่ ประกอบ ดวย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ขจร อินวงษ นายสุนันท สองจันทร นายเอกรินทร หวังวัฒนะหิรญ ั นายอธิกานต เพิม่ ทวี นางสาวพัชรินทร แสนพรม และนายหนึง่ อุนตุระ จึงไดออกแบบและพัฒนากระทงเซฟตี้/เครื่องตรวจสอบ ไฟฟารั่ว ซึ่งเปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่มีสัญญาณเตือน เปนแสงดวยหลอดแอลอีดแี ละเสียงดวยออด สงสัญญาณ แสงและเสียงเตือนหากมีกระแสไฟรั่วบริเวณน้ำทวม โดยกระทงเซฟตี/้ เครือ่ งตรวจสอบไฟฟารัว่ เครือ่ งนี้ จะไมมแี หลงพลังงานในตัวเครือ่ ง แตจะอาศัยพลังงานจาก ตำแหนงทีม่ ไี ฟฟารัว่ อีกทัง้ มีความสามารถในการตรวจสอบ ไดรอบทิศทาง 360 องศา สวนประกอบ 1. อิเล็กโทรดตรวจจับพลังงาน 2. สวนจัดเก็บพลังงาน 3. ปรับระดับการเตือนภัย 4. สัญญาณเตือนภัย การทำงาน ในขณะทีเ่ กิดการรัว่ ไหลของกระแสไฟฟา จากแหลงจายผานน้ำไปครบวงจรกับขัว้ ไฟฟาอีกขัว้ หนึง่ ซึง่ อาจจะเปนพื้นดิน หรือสายไฟฟาอีกเสนหนึ่ง จะทำใหมี กระแสไฟฟาไหลผาน บริเวณทีก่ ระแสไฟฟาไหลผานน้ำไป นัน้ จะมีแรงดันไฟฟาตกครอม ถามีแรงดันไฟฟาตกครอม สูง แสดงวาบริเวณนัน้ มีพลังงานสูงดวย ตัวกระทงเซฟตี/้ ตัวเครื่องตรวจสอบไฟฟารั่วเองเมื่อเขาใกลบริเวณที่มี แรงดันไฟฟา สวนจัดเก็บพลังงานของเครือ่ งจะนำพลังงาน เขามาเก็บไวทสี่ ว นเก็บพลังงาน เมือ่ พลังงานไฟฟาสูงพอที่

แผนภาพบล็อกของกระทงเซฟตี้/เครื่องตรวจสอบไฟฟารั่ว

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

11



กระทงเซฟตี้/เครื่องตรวจสอบไฟฟารั่ว

ตัง้ ปรับระดับเอาไว พลังงานทีเ่ ก็บไวจะถูกปลดปลอยไปยัง สวนเตือนภัยทีจ่ ะประกอบดวยแสงคือแอลอีดี และเสียงคือ ออด ถาพืน้ ทีท่ มี่ พี ลังงานนอยอันตรายนอยแสงและเสียง เตือนจะนอยและกะพริบชา แตถาพลังงานมากอันตราย มากแสงและเสียงเตือนจะแรงและเร็วขึน้ ตามลำดับ ทำให สามารถตรวจสอบสภาพการรั่วไหลของกระแสไฟฟาได โดยไมตองมีแหลงพลังงานของตัวกระทงเซฟตี้/ตัวเครื่อง ตรวจสอบไฟฟารั่วเอง แตอาศัยนำพลังงานที่รั่วไหลมา เตือนภัย สำหรับอิเล็กโทรดตรวจจับพลังงานมีการออกแบบ ใหสามารถตรวจจับไดรอบตัวคือ 360 องศา ทำใหกระทง เซฟตี้/เครื่องตรวจสอบไฟฟารั่วสามารถตรวจสอบการรั่ว ไหลของกระแสไฟฟาไดรอบตัว กระทงเซฟตี้/เครื่องตรวจสอบไฟฟารั่ว เปนนวัตกรรมใหมที่ใหความปลอดภัยสูงสุดตอชีวิตและทรัพยสิน

ชวยเตือนภัยขณะเขาไปในบริเวณพืน้ ทีท่ มี่ กี ระแสไฟฟารัว่ และตัวกระทงเซฟตี้/ตัวเครื่องตรวจสอบไฟฟารั่วใชวัสดุ ทีห่ างาย ราคาประหยัด มีตน ทุนในการผลิตเพียงเครือ่ งละ 100 บาทเทานัน้ แตมปี ระโยชนมหาศาล จากสถานการณ น้ำทวมที่ผานมามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ รวมกับกระทรวงมหาดไทยนำไปแจกจายให แกผใู หญบา น กำนัน ผนู ำชุมชน และนายกองคการบริหาร สวนตำบล (อบต.) นำไปใชในทุกพืน้ ทีท่ มี่ นี ้ำทวม สอบถามรายละเอี ย ดได ที่ ผู ช ว ยศาสตราจารย ดร.ขจร อินวงษ ภาควิชาครุศาสตรไฟฟา คณะครุศาสตร อุ ต สาหกรรม มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า พระนครเหนือ โทรศัพท 089 010 7984

รถพนสารเคมีชวี ภาพ

เครือ่ งพนสารเคมีชวี ภาพ มีแนวคิดจากอำเภอสอง พี่นองซึ่งมีเกษตรกรชาวนาเปนจำนวนมาก และจากการ สำรวจพูดคุยกับเกษตรกร พบวามีปญหาอยางเดียวกันที่

12

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

เปนปญหาใหญตงั้ แตในอดีตจนถึงปจจุบนั คือเรือ่ งของการ ฉีดพนสารเคมี ซึง่ เกษตรกรก็ใชการฉีดพนสารเคมีแบบเดิม ทีม่ ขี ายตามทองตลาดทัว่ ไป และยังไมมกี ารตอยอดเกีย่ วกับ



เครือ่ งมือทีช่ าวนาใชในปจจุบนั และสวนใหญเกษตรกรจะ ไดรับสารเคมีแบบเต็มๆ เนื่องจากหัวพนสารเคมีจะอยูที่ ดานหนาเมือ่ ลมพัดก็จะเขาหาตัวเกษตรกรแบบเต็มที่ และ สงผลใหเกษตรกรไดรบั สารเคมีสะสมไปเรือ่ ยๆ จนกระทัง่ รางกายรับไมไหวในระยะเวลาตอมา นักศึกษาสาขาชาง ยนตของวิทยาลัยการอาชีพสองพีน่ อ งจึงพยายามเก็บขอมูล ทดลอง และหาวัสดุใกลตวั มาดัดแปลงใชในงานประดิษฐ ในหัวขอสิง่ ประดิษฐเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ คือรถพนสาร เคมีชวี ภาพ ซึง่ มีการนำผลงานสงเขาประกวดสิง่ ประดิษฐ คนรุนใหมไดรับรางวัลชนะเลิศจังหวัดสุพรรณบุรี และ รางวัลชนะเลิศระดับภาคกลาง ประเภทการพัฒนาคุณภาพ ชีวิต และรางวัลชนะเลิศระดับชาติ ที่จัดโดยสำนักงาน คณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ รถพนสารเคมีชีวภาพ ประดิษฐโดย นายสุวิวัฒน บุญประคม นายพิชัยศักดิ์ พวงวัดโพธิ์ นายเทอดฤทธิ์ ทองดีพนั ธุ และ นายสรศักดิ์ ขำดี จากวิทยาลัยการอาชีพ สองพีน่ อ ง จังหวัดสุพรรณบุรี โดยมี นายชาตรี ยอนใจทัน นายวรรณะ จิตรนพคุณ และ นางสาวจันทรจริ า อนันตพงศ เปนอาจารยทปี่ รึกษา การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงคเพื่อศึกษาประสิทธิภาพ การทำงานของรถพนสารเคมีชีวภาพ โดยการปรับแตง ลอรถจักรยานใหเปนลอตีนตระขาบประกบกับลอยาง เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการขับเคลือ่ นทุกสภาวะ การทำงานมี เครือ่ งยนตเบนซินเล็กอเนกประสงคขนาด 6.5 แรงมา แบบ สตารตมือเปนเครือ่ งตนกำลังขับปม แรงดันสูงขนาด 3 สูบ และยังสงกำลังตอไปขับเคลื่อนลอรถ เพื่อผอนแรงของ เกษตรกรชาวไรชาวนาใหมชี วี ติ ความเปนอยทู ดี่ ปี ราศจาก การไดรบั สารเคมีโดยตรง พรอมทัง้ ยังบรรเทาอาการปวด เมือ่ ยกลามเนือ้ ตามรางกาย และโรคกระดูกไขขอเสือ่ มจาก การตองแบกเครื่องพนยาแบบสะพายหลัง

ประโยชนจากการวิจัยครั้งนี้ 1. เปนการลดตนทุน คาจางแรงงานคน และคา น้ำมันเชื้อเพลิงในการใชเครื่องฉีดยา 2. สามารถลดอันตรายจากการไดรบั สารเคมีจากยา โดยตรง 3. ไดรถพนสารเคมีชีวภาพ ที่สามารถทำงานได อยางมีประสิทธิภาพ 4. สามารถพัฒนาในเชิงพาณิชยแกเกษตรกรทีม่ เี งิน ทุนนอย นายเทิดฤทธิ์ ทองดีพนั ธุ นักเรียน ปวช. ชัน้ ปที่ 3 สาขางานยานยนต กลาววาการที่ชาวนาใชเครื่องแบบ สะพายหลังทำใหไดรับสารเคมีเขาสูรางกาย เราจึงคิด ประดิษฐเครือ่ งฉีดพนขึน้ มาจากวัสดุทหี่ าไดตามทองตลาด ทั่วไป เชนลอรถจักยานก็นำมาแปลงใสลอรถฉีดยา สวน เครือ่ ง ปม ถัง เราก็สามารถหาจากทองตลาดทัว่ ไป นายสรศักดิ์ ขำดี นักเรียน ปวช. ชัน้ ปที่ 3 สาขา งานยานยนต กลาววาแนวคิดคือปจจุบันมีเครื่องสะพาย หลัง เวลาที่ฉีดพนสารเคมีออกไปก็ไดรับสารเคมี เพราะ เวลาลมพัดมาก็จะเขาหาตัวทำใหไดรบั สารเคมี การทีเ่ ราได คิดคนรถพนสารเคมีขนึ้ มาเพือ่ ทีจ่ ะไดไมโดนสารเคมี เพราะ รถทีค่ ดิ คนมาพนสารเคมีออกดานหลัง จึงทำใหไมตอ งโดน สารเคมีที่พนออกไปและไมตองเมื่อยหลัง นายนพดล สุวรรณสุนทร ผอู ำนวยการวิทยาลัยการ อาชีพสองพี่นอง เปดเผยวานักศึกษาทำสิ่งประดิษฐของ คนรุนใหมขึ้นคือ รถพนสารเคมีชีวภาพ เพื่อใหพี่นอง เกษตรกรไดนำไปใชเนนในเรื่องของความปลอดภัย เปน สิง่ ประดิษฐในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ซึง่ เรา ไดรบั รางวัล ชนะเลิศระดับภาค ที่วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี และไดรับ รางวัลชนะเลิศระดับชาติซงึ่ จัดโดยสำนักงานคณะกรรมการ อาชีวศึกษา สิง่ ประดิษฐทไี่ ดสง เขาประกวดเปนผลงานของ

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

13


The “Vega” Thermal oil Boiler fully meets the requirements of manufacturers who to make the maximum economical use of energy in their manufacturing processes. Heating output 400,000 Kcal/Hr up to 5,000,000 Kcal/Hr. “Vega” Boiler enables thermal fluids to be heated up to 350C with out any increase in system pressure. All fitting & dimension is to be Germany standard. Any kind of fuel can be use, Diesel, LPG, Natural Gas, Biogas, Heavy oil or Dual fuel. Boiler to be complete packaged unit with weishaupt burner,KSB. Oil circulation pump, Program logic control & touch screen display.

The Compact HXS range of Steam Boilers are of conventional three pass wet back economic design utilising single pass of flame in the fumace and two passes of straight tubes.

A Vertical tubeless boiler is of relatively simple design offering years of trouble-free operation. Every Fulton boiler is built and stamped to ASME Code and registered with the National Board of Boiler and Pressure Vessel inspectors, U.S.A.

The Load Leveller is unsurpassed in its field. Offering flexibility in instaneous heating combined with storage, it can deliver hot water with a more accurate temperature control than any rival system.

The Costswold Mark lll range, the latest version of the highly successful Costswold design first introduced into the industry in 1964 continue to give you the following advantages : Competitive prices yet manufactured to the highest standards. Quick deliveries met by the use of 13 standard sizes. Modifications easily incorporated to you own specificaton. Full compliance with BS 853:1981. Vertical or horizontal mounting. Technical advice and support from highly qualified Engineers.

Plate heat exchangers are often the most economical and effcient solution for many heat transfer applications, particularly in situations requiring maximum recovery from low grade energy sources. The ReHeat system incorporates the follwing benefits : Flexible unit design and plate configuration. Unique tongue and groove plate and gasket design. High heat transfer co-efficients with low pressure drops. Economic, compact and reliable units. Purpose built units to suit your system.

CF Process Water Heaters This standard range of heat exchangers designed for continuous flow process heatingm provides reliability with economy, The reliability you get as a result of quality construction to BS3274 and the economy as a result of selection from a range of 24 standard sizes.

Heat Exchangers for Special Purposes Our expertise allows us to offer shell and tube heat exchangers for most applications, in a veriety of materials and configurations, to meet your individual needs. We have standard ranges of “U” tube, pull through floating head and fixed tubeplate designs and we have manufactured any special units based on modifications to this standard range. Why not challenge our Engineers to solve your heat transfer problem?


นักเรียน และครูที่ปรึกษา โดยการนำเอาความรูความ สามารถจากการเรียนการสอนมาประยุกตใช ในการคิดคน สิง่ ประดิษฐของคนรนุ ใหมขนึ้ โดยมีครูเปนทีป่ รึกษาและเปน ผลงานของนักเรียนเปนผูกระทำ และเปนนโยบายของ สถานศึกษาที่สนับสนุนเรื่องนี้ ทางดาน นายชาตรี ยอนใจทัน ครูพเิ ศษทีส่ อนสาขา งานยานยนต กลาววาเด็กไดมาขอคำปรึกษาวาพวกเขามี แนวคิดแบบนี้ ซึ่งการที่เด็กไดเลาเรียนไปแลวก็เอาความ รูมาทำประโยชนใหกับทองถิ่นถือวาเปนเรื่องที่ดี โดยได งบประมาณการสนับสนุนมาจากวิทยาลัยการอาชีพสองพี่ นอง และทานผอู ำนวยการ โดยใชงบประมาณหมืน่ กวาบาท แตสวนใหญชาวบานที่มีเครื่องอยูแลวงบก็จะลดนอยลง แนวคิดของเขาดีมากเพราะสวนใหญแลวเด็กจะเปนชาวนา ใชเครื่องฉีดที่เปนรุนเกาเวลาพนสารเคมีก็จะโดนรางกาย พอแมของเขาบาง สะสมไปเรือ่ ยๆ ในการสรางรถพนสารเคมีชวี ภาพนี้ วัสดุทใี่ ชนำมา

จากวัสดุทหี่ าไดงา ยตามทองตลาดทัว่ ไป อยางเชน ลอรถ ที่เราใชขับเคลื่อนสภาวะการทำงาน ดัดแปลงจากลอรถ จักรยาน คุณสมบัติคือมีน้ำหนักเบา การเสียหายในทอง นาจะนอยลง โดยนำมาเชื่อมติดใหเปนลอติดกับลอยาง สวนเครื่องยนตใชเครื่องยนตขนาด 6.5 แรงมา ขับปม และสงกำลังมาขับทีล่ อ ในการฉีดจะเนนฉีดออกทางดาน หลังทีต่ า งจากแบบเกาทีฉ่ ดี ออกดานหนา ใชหวั พนธรรมดา มาเชือ่ มตอความยาว 4 เมตร 6 เมตร หรือ 10 เมตร ก็ได สวนความเร็วในการพนจะเร็วกวาคนฉีด หลังจากประกวด เสร็จเราไดนำไปโชวใหเกษตรกรดูในสถานทีต่ า งๆ เกษตรกร ก็สนใจเพราะเครือ่ งตัวนีม้ ขี นาดเล็กทำใหเกิดความเสียหาย กับทีน่ านอยมาก ผูที่สนใจสามารถมาดูแบบไดที่วิทยาลัยการอาชีพ สองพีน่ อ ง จังหวัดสุพรรณบุรี ชาวนาสามารถเอาไปทำหรือ เอาไปดัดแปลงใชไดเลย

เปดนอยเตือนภัย FloodDuck

จากสถิตผิ เู สียชีวติ จากภัยน้ำทวมทีผ่ า นมา สวนใหญ มาจากผูประสบภัยจมน้ำเสียชีวิต และถูกไฟฟาดูด โดย สถิตคิ นถูกไฟดูดตายในชวงน้ำทวมเพิม่ ขึน้ ถึง 6 เทาตัวใน 1 เดือน เปนสถิตทิ เี่ พิม่ ขึน้ อยางมาก มีวธิ ปี อ งกันดวยการ ตรวจเช็ควากระแสไฟฟารั่วในบริเวณน้ำทวมนี้มีหรือไม สวนใหญจะแนะนำใชไขควงเช็คไฟฟา แตวธิ นี จี้ ะไมสะดวก และในบางครั้ ง อาจเป น อั น ตรายถึ ง ชี วิ ต ได เ หมื อ นกั น

14

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง จึงไดคิดคนอุปกรณตรวจสอบกระแสไฟฟารั่วในน้ำขึ้นมา สำหรับพืน้ ทีท่ มี่ นี ้ำทวมโดยเฉพาะในชือ่ วา “เปดนอยเตือน ภัย (FloodDuck)” โครงการเปดนอยเตือนภัยนีเ้ กิดขึน้ โดยเริม่ ตนจาก อาจารยและศิษยเกากลมุ หนึง่ ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ไดแก อาจารย ดุสิต สุขสวัสดิ์ อาจารยประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร และศิษยเการนุ ที่ 9 หอง W (หลัก สูตรตอเนื่อง) คือ นายจรินทร หาลาภี วิศวกรไฟฟา 7 ฝายวิจยั และพัฒนา การไฟฟานครหลวง และ นายธนาวุฒิ นาคสีห ไดมกี ารพูดคุยและคิดกันวาจะหาอุปกรณอะไรมา ใชตรวจวัดกระแสไฟฟารัว่ ในน้ำไดบา ง เพือ่ ใชเตือนภัยกอน เขาสูพื้นที่บริเวณที่มีไฟรั่วในน้ำ และไดรวมกันออกแบบ และพัฒนาวงจรสำหรับตรวจวัดกระแสไฟฟารัว่ ในน้ำและ สรางตนแบบขึ้นมาทดลองซึ่งก็ไดผลสามารถตรวจวัด กระแสไฟฟารั่วในน้ำได



จากนัน้ จึงไดมกี ารรวบรวมศิษยเกาและศิษยปจ จุบนั ของ สจล. เพื่อรวมกันประกอบตนแบบเพิ่มเติมออกมา จำนวนหนึ่ง โดยมีเจตนารมณเพื่อนำไปมอบใหกับผูที่จะ ตองไปชวยเหลือผูประสบภัยน้ำทวมที่ติดอยูในบานที่ตอง การความชวยเหลือ เจาอุปกรณชว ยสำรวจตัวนีม้ ชี อื่ แสนนารักวา "เปด นอยเตือนภัย” รูปลักษณกน็ า รักไมหยอก ใชเปดนอยตกุ ตา ยางนำมาติดกับตัวเซนเซอรตรวจวัดกระแสไฟที่นำมา ประกอบเปนวงจรเขากับหลอด LED และลำโพง Buzzer เพื่อทำหนาที่ตรวจสอบการเกิดไฟฟารั่วในแหลงน้ำที่ตอง เดินทางเขาไป ดวยการสงสัญญาณเตือนในรูปของแสงและ เสียงทีส่ ะทอนออกมาทางตกุ ตาเปดนอย ดวยพลังงานจาก ถานแบตเตอรี่ ขนาด 2A จำนวน 4 กอน วิธีการใชงานเจาเปดนอยเตือนภัยตัวนี้ก็แสนงาย เพียงแคเปดสวิตชหลอดไฟ LED จะแสดงผลเปนไฟสีเขียว บอกสถานะพรอมทำงาน แลวนำตัวเปดหยอนลอยน้ำใน ลักษณะใหหวั ตัง้ ขึน้ บริเวณทีต่ อ งการตรวจสอบการรัว่ ของ ไฟฟา แนะนำใหทำคันแขวนเอาไว แลวแขวนเจาเปดนอย เตือนภัยนีก้ อ น คอยๆ นำลงไปลอยน้ำในแหลงน้ำทวม เพือ่ ทำการตรวจเช็คกระแสไฟฟา วามีไฟฟารัว่ หรือไม ปลอดภัย หรือเปลา และเมือ่ ตรวจพบกระแสไฟฟารัว่ อยใู นน้ำหลอด

ไฟ LED ในตัวเปดจะแสดงผลเปนไฟสีแดง พรอมสงเสียง ดังเตือนใหรวู า บริเวณทีต่ รวจสอบมีการรัว่ ของกระแสไฟฟา เพื่อเตือนใหรูวาในแหลงน้ำทวมนี้อันตราย ไมปลอดภัย มีกระแสไฟฟารัว่ อยู หากเหยียบย่ำเขาไปก็จะโดนไฟดูดถึง แกชวี ติ ได เมือ่ ใชงานเสร็จก็เช็ดเจาเปดนอยใหแหง และ ตองตรวจเช็คแบตเตอรีก่ อ นใชงานทุกครัง้ ดวยวาหมดแลว หรือยัง หากหมดควรเปลีย่ นแบตเตอรีก่ อ นใชงาน ตนทุน ในการผลิตเจาเปดนอยตัวนี้ ราคาเพียง 150-160 บาท เทานั้นเอง เจาเปดนอยเตือนภัยตัวนี้สามารถวัดไฟรั่วได ในระดับความลึก 50 เซนติเมตร ถามีระดับความลึกมาก ขึ้นจะตองใชอุปกรณเสริม ทีผ่ า นมาเปดนอยเตือนภัยตัวนีไ้ ดรบั การตอบรับเปน ทีต่ อ งการจำนวนมาก จึงตองเพิม่ ทีมงานและอาสาสมัคร ทีข่ ะมักเขมนสรรคสรางอุปกรณดๆี มาชวยผลิตเจาเปดนอย เตือนภัย เพือ่ ชวยเหลือประชาชนยามทุกขยาก ขอขอบคุณ ทีมงานและจิตอาสาทุกๆ ทาน พรอมทั้งหนวยงานตางๆ ที่ใหเงินทุนสนับสนุนในการผลิต ชวยใหการทำงานครั้งนี้ สำเร็จผลเปนอยางดีมา ณ ทีน่ ดี้ ว ย สามารถติดตอสอบถามขอมูลเปดนอยเตือนภัยเพิ่ม เติมที่ โทรศัพท 0 888 736 859 หรือทาง Facebook ที่ http:// www.facebook.com/floodduck54

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

15


...

• Load Profile

• Energy Saving ! " #

• * * .66B (Voltage) 1 6 3 6 0 - 600 V AC / DC * # .66B (Current) . %9 + 4 Channel • * , $ 3 %= * Line Voltage ! $ * 2 P , 2 2 3 Power Supply 7 2 • , 2( P ( % 2 1% Accuracy) • 9 * < = $ * !+ , . %2 2 • , W * # 2 = $ 3 % ! $ # 3 % * < 0.25 W 9+ 3,000 W • *< , # # 4 , * ELOG 3 % 2!*<

' *= # 4 * 5 % P 6 # $

= $ ) , # , ! $ 22) $ + < • = ' Load Curve P % , % = * # 4 5 kWh = $ ,( , .66B • % P 4 = USB • ' , % ' <( * = 2 340 * ) * < . % 2

Terminal Block for Current Transformer (CT) Connections

Voltafe Lead Connections

Mounting Tab

• -

! " # $ • % LCD &' • Sampling Rate $( 1 ) ! • * !+ , . % 8,000 , 2 2 • SMARTware 3 % ( * 4 , * !+ 5 6 ) , # # $ • 7$ 23 * , $ 3 % . %2 9+ 5 ; • ' <( * = 2 40 * ! • 3 % 3 % 2 * ? # CTlogger ( 3 % # .66B ) LIGHTINGlogger ( - .6 ) MAGlogger ( - Magnetic Sensor) CONTACTlogger ( - % , !' )

...

• $ Total On - Time " • $ %&'!" ( " &)

1694, 1694/1

0-2277-9969, 0-2692-3980

http://www.asras.com

10400 0-2277-0995, 0-2692-3978 E-mail : sales@asras.com


กคู นื ระบบไฟฟา/น้ำทวม

ผศ.ชลชัย ธรรมวิวฒ ั นุกรู

chollachai@gmail.com กรรมการผจู ดั การ บริษทั ยูทลิ ติ พ ี้ ลัส จำกัด

ปฏิบตั กิ ารกคู นื ระบบไฟฟาในอาคาร ทีถ่ กู น้ำทวม

แนวทางฟน ฟูระบบไฟฟาของอาคารและโรงงานหลังน้ำทวม เริม่ ตัง้ แตประเมินระดับความเสียหาย ติดตัง้ และการทดสอบ รวมทัง้ การวางแผนงบประมาณ ความพรอมในการเบิกจาย การหาทีมงานทีพ ่ รอมสำหรับการปฏิบตั ิ

ายหลังเหตุการณมหาอุทกภัย ทีเ่ กิดขึน้ ในชวงเดือนกันยายน จนถึงตนเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 ผานไป ก็ไดเวลาทีจ่ ะตองฟน ฟูอาคาร กั น แล ว แน น อนว า การที่ จ ะฟ น ฟู อาคารหรือโรงงานอุตสาหกรรมไดนนั้ ระบบไฟฟาจะเปนระบบแรกทีม่ คี วาม จำเปนที่ทางอาคารจะตองทุมเทงบ ประมาณ หรือวิธกี ารใดๆ ทีจ่ ะทำให อาคารสามารถมีระบบไฟฟาทีใ่ ชงาน ได ถึงแมจะยังไมสมบูรณ 100% ก็ตามที เนือ่ งจากในการฟน ฟูอาคาร นัน้ จำเปนตองใชระบบไฟฟาในดาน ตางๆ เชน ระบบไฟฟาแสงสวาง ระบบไฟฟ า สำหรั บ เครื่ อ งมื อ ต า งๆ เชนเครื่องฉีดน้ำแรงดันสูง พัดลม เปนตน มิฉะนัน้ การฟน ฟูอาคารจะทำ ไดอยางยากลำบากหรือทำไมไดเลย แต ก ารที่ จ ะดำเนิ น การกู คื น ระบบไฟฟาของอาคารทีถ่ กู น้ำทวมให กลับคืนมาไดตามปกตินนั้ จำเปนทีท่ มี งานหรือผดู ำเนินการจะตองมีการวาง แผนที่ดี มีการประมาณคาใชจายที่

16

เหมาะสม มีงบประมาณที่พรอมจะ จายเปนเงินสดทันทีในการซือ้ อุปกรณ ตางๆ ทีข่ าดตลาด ตลอดจนสามารถ หาทีมงานหรือผูรับเหมาที่พรอมจะ ปฏิบตั ติ ามแผนตางๆ ทีท่ างทีมงานได กำหนดไว ผูเขียนเอง ภายหลังจากที่ได ลาออกจากการเปนอาจารยในมหาวิ ท ยาลั ย ก็ ไ ด มี โ อกาสทำงานใน บทบาทของวิศวกรไฟฟาผรู บั เหมากอ สรางบาง และในชวงฟนฟูอาคารนี้ ก็ไดรบั ความไววางใจจากหลายหนวย งานใหเขาไปชวยกคู นื ระบบไฟฟา จึง อยากถายทอดประสบการณในการ ทำงานครัง้ นีใ้ หกบั วิศวกรรนุ นองๆ ที่ นาจะไดเรียนรแู ละเปนแนวทางนำไป ปฏิบัติใหเปนประโยชนตอไป

ใครรับผิดชอบ คาใชจายในการ ดำเนินงาน

ปญหาแรกของการกูคืนระบบ

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

ไฟฟา (หรือสวนอื่นๆ ของอาคารก็ ตาม) ก็คือใครจะเปนผูรับผิดชอบใน เรือ่ งคาใชจา ยทีเ่ กิดขึน้ อันดับแรกเลย ก็ตองดูวาทางอาคารหรือโรงงานมี การทำประกันภัยในเหตุการณอทุ กภัย หรื อ ประกั น ภั ย แบบครอบคลุ ม ทุ ก ความเสีย่ ง (All risk) หรือไม ถามีกจ็ ะ ตองเชิญบริษทั ทีร่ บั ประกันภัยนัน้ เขา มาชวยกันแกปญ  หาดวย แตถา ไมได ทำประกันภัยไว หรือทำประกันภัยไว แต ไ ม ไ ด ค รอบคลุ ม ทุ ก ความเสี่ ย ง ก็อาจจะไมสามารถเบิกเงินเคลมจาก บริ ษั ทประกั นภั ย ได ซึ่ ง แน นอนวา ภาระนีจ้ ะตองตกอยกู บั เจาของอาคาร อยางหลีกเลีย่ งไมได สำหรับในกรณีที่มีบริษัทประกันภัยเขามาชวยแกปญ  หานัน้ บางทีก็ อาจจะตองทำใจไวกอ นเลยวาอาจจะ มีปญ  หาอืน่ ๆ เพิม่ ขึน้ นอกเหนือจากปญหาการฟน ฟู ระบบไฟฟาแลว เชน กรณีน้ำทวม มอเตอรไฟฟา ทางอาคารหรือโรงงาน ตองการที่จะเปลี่ยนมอเตอรใหมไป


กคู นื ระบบไฟฟา/น้ำทวม ตารางที่ 1 ความตองการในการเปลี่ยน/การปรับสภาพของอุปกรณทางไฟฟาที่ไดรับความเสียหายจากน้ำ ตามมาตรฐาน NEMA Equipment

Replace Equipment

May be Reconditioned (Contact the manufacturer.)

Electrical Distribution Equipment (refer to 4.1) Molded case circuit breakers X Low voltage fuses X Switches X Busway (mylar wrapped bars)

X

Busway (powder coated bars)

X

Panelboards X Switchboards X

Motor Control Equipment (refer to 4.2) Adjustable speed drives Comonents containing semiconductors and transistors Electronicall controlled and solid state contactors and starters Overload relays Manual and magnetic controllers Motor control centers (see 4.2.2) Power Equipment (refer to 4.3) Electronic trip units of LV power circuit breakers High-voltage circuit breakers (AC) Low voltage power circuit breakers Protective relays, meters, and current transformers (see section 4.11 for devices that contain electronic components) Low voltage switchgear Medium voltage switchgear Transformers (refer to 4.4) All dry-type transformers regardless of kVA ratings All dry type control circuit transformer Liquid-filled transformers

Cast-resin transformers

Additional Standards Reference (if avilable)

NEMA KS 3-2010, Guidelines for Inspection and Preventive Maintenance of Switches Used in Commercial and Industrial Applications NEMA BU 1.1-2000, General Instructions for Handling, Installation, Operation, and Maintenance of Busway Rated 600 Volts or Less, para. 3.4.4, 9.2.4.2 NEMA PB 1.1-2002, General Instructions for Proper Installation, Operation, and Maintenance of Panelboards Rated 600 Volts or Less, para. 10.3, 10.8.3, 10.8.4 NEMA PB 2.1-2002, General Instructions for Proper Handling, Installation, Operation, and Maintenance of Deadfront Distribution Switchboards Rated 600 Volts or Less, para. 11.3.1.3, 11.10

X X X X X X

X X X

X X X

X X X (Analysis of the insulating medium is required for evaluation of this equipment.) X

เลยเพราะไมเชือ่ ถือคุณภาพงานซอม แตทางบริษัทประกันภัย บอกวานา จะซอมได ถาโรงงานจะเปลี่ยนใหม ก็ตอ งรับผิดชอบคาใชจา ยสวนเกินเอา เอง เปนตน

เกณฑการพิจารณา ซอมหรือเปลี่ยน

สำหรับปญหาที่ตองมีการถก ประเด็นกันนัน้ จำเปนตองมีกฎเกณฑ

ทีไ่ ดรบั การยอมรับจากทุกฝายวากรณี ใดเปนการซอม กรณีใดจำเปนตอง เปลีย่ น มิฉะนัน้ ก็จะไมสามารถเจรจา ตอรองกันได ผเู ขียนเองไดมโี อกาสเขา รวมประชุมในลักษณะนี้อยูบอยครั้ง

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

17


กคู นื ระบบไฟฟา/น้ำทวม ตารางที่ 1 ความตองการในการเปลี่ยน/การปรับสภาพของอุปกรณทางไฟฟาที่ไดรับความเสียหายจากน้ำ ตามมาตรฐาน NEMA (ตอ) Equipment

Replace Equipment

May be Reconditioned (Contact the manufacturer.)

Additional Standards Reference (if avilable)

Conduit, Tubing, Fittings, Outlet Boxes and Junction Boxes (refer to 4.5) Fittings NEMA FB 1-2007 (R2010), Fittings, Cast X Metal Boxes and Conduit Bodies for Conduit, Electrical Metallic Tubing EMT) and Cable Outlet and Junction Boxes NEMA OS 1-2008 (R2010), Sheet-Steel Outlet Boxes, Device Boxes, Covers and Box X Supports NEMA OS 2-2008, Nonmettalic Outlet Boxes, Device Boxes, Covers and Box Supports Conduit and Tubing X Wire, Cable and Flexible Cords (refer to 4.6) Wire or Cable listed for dry X locations (such as NM-B) Wire or cable that is suitable for wet locations (Provided the ends of the wire or cable have not been exposed to water and the wire is not damages.)

X

AFCIs, GFCIs, Surge Protective Devices and Wiring Devices (refer to 4.7) Arc Fault Circuit Interrupters X (AFCI) and Ground Fault Circuit Interrupters (GFC) Surge Protective Devices (transient voltage surge X suppressors, surge arresters, lightning arresters) Wiring Devices (swithches, X receptacles, dimmers, etc.) Other Devices Cable Tray (refer to 4.8)

X (Replace damaged labels.)

Fire Pump Controllers

Luminaires (lighting fixtures), ballasts and LED Drivers (refer to 4.9) Motors (refer to 4.10) Signaling, Protection and Communications systems (refer to 4.11)

เลยถือโอกาสนีน้ ำประสบการณมาเลา สูกัน

ระดับความเสียหาย

ผูเขียนจะแบงเกณฑพิจารณา ความเสี ย หายของระบบไฟฟ า จาก สภาพทีพ่ บเห็นเปน 3 กรณี ดังนี้ 1. ระดั บ ความเสี ย หายเล็ ก นอย เปนสภาพความเสียหายเพียง เล็กนอยเนือ่ งจากระดับของน้ำทีท่ ว ม

18

X

NEMA ICS 15-2011, Instructions for the Handling, Installation, Operation, and Maintenance of Electric Fire Pump Controllers Rated Not More Than 600 V

X

ANSI/IEEE 43-2000, A2 and A3

X

X

ไมสูง ไมมีผลตอความเสียหายของ อุปกรณในระบบไฟฟา นอกจากความ เสียหายของชุดตเู หล็ก (Housing) ที่ หอหมุ อุปกรณไฟฟาขางในทีอ่ าจมีน้ำ ทวมเพียงเล็กนอยเทานั้น 2. ระดั บ ความเสี ย หายปาน กลาง เปนสภาพความเสียหายอัน เนื่องมาจากระดับของน้ำที่ทวมสูง คอนขางมากแตยังไมถึงกับทวมจุด เชือ่ มตอทางไฟฟา เปนเพียงแตทว ม

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

ชุด Housing ในระดับสูง หรือทวม ชุดอุปกรณไฟฟาในระดับคอนขางสูง หรือไมทว มอุปกรณไฟฟาแตอาจจะมี ผลเสียหายจากความชื้นที่มีไอระเหย ของน้ำเปนเวลานาน 3. ระดั บ ความเสี ย หายมาก เปนสภาพความเสียหายที่รุนแรงอัน เนื่องมาจากระดับน้ำที่ทวมอุปกรณ ไฟฟาจนถึงจุดตอทางไฟฟา รวมไปถึง ชุด Housing ดวย


กคู นื ระบบไฟฟา/น้ำทวม RMU 1

RMU 2

Transformer 1

Transformer 2

MDB 1

MDB 2

รูปที่ 1 ไดอะแกรมวงจรจายระบบไฟฟาแรงสูงผาน RMU

มาตรฐานที่เปนที่ยอมรับ

จากเหตุการณน้ำทวมนี้ ผเู ขียน ก็ไดพยายามหาขอมูลที่เกี่ยวของกับ มาตรฐานที่เปนที่ยอมรับกันอยูนาน พอสมควร และก็ไดพบวามีมาตรฐาน ทีเ่ กีย่ วของตรงกับเหตุการณน้ำทวมใน บานเราอยู คือ “Guidelines for Handling Water-Damaged Electrical Equipment” และ “Evaluating Water-Damaged Electrical Equipment” ของ NEMA ซึง่ ไดกลาวถึงการ แนะนำใหผูใชทราบถึงการซอมหรือ การเปลีย่ นอุปกรณไฟฟาตางๆ ทีเ่ สีย หายจากการที่น้ำทวมถึง ซึ่งไดมีการ สรุปแยกเปนตารางตามตารางที่ 1 เมือ่ ผเู ขียนนำเสนอขอมูลนีใ้ นที่ ประชุม ก็เปนทีย่ อมรับกันของทุกฝาย วาอุปกรณใดควรจะซอม อุปกรณใด ควรจะเปลีย่ น จึงเปนอันจบประเด็น แรกไปได ในประเด็นตอมา มีการ ถกเถียงกันอีกวา อุปกรณอนื่ ๆ ทีไ่ มได ปรากฎในตารางของ NEMA จะยอม รับกันอยางไร หรือถาในกรณีที่มีน้ำ ท ว มอุ ป กรณ ไ ฟฟ า เพี ย งเล็ ก น อ ย จำเปนจะตองเปลี่ยนใหมหรือเปลา หรือควรจะซอมดี ปญหาเหลานีไ้ ดมี การพูดคุยกันอยนู านพอควร แตกม็ ขี อ สรุปที่ยอมรับกันไดวา 1. สำหรั บ อุ ป กรณ ไ ฟฟ า ที่

รูปที่ 2 MDB ในหองไฟฟาที่ถูกน้ำทวมของโรงงานแหงหนึ่ง

สำคั ญ และมี น้ำ ท ว มถึ ง จุ ด ต อ ทาง ไฟฟ า เชน หมอแปลงไฟฟาชนิด น้ำมันตั้งพื้น มีน้ำทวมถึงบุชชิ่ง มี โอกาสที่น้ำทวมขังนานนับแรมเดือน จะเขาไปในตัวถังหมอแปลงไฟฟาได ควรที่จะเปลี่ยนใหม หรือยกไปซอม ใหญทโี่ รงงาน เปนตน 2. ถาน้ำทวมไมถึงจุดตอทาง ไฟฟาและไมเกิดความเสียหายทาง กายภาพมาก สามารถที่จะทำการ ซอมแซมและทดสอบการใชงานได เชน หมอแปลงไฟฟาชนิดน้ำมันตัง้ พืน้ มีน้ำทวมตัวถังโดยรอบ แตระดับน้ำไม สูงถึงบุชชิง่ สามารถทีจ่ ะทำการทดสอบ และซอมแซมได เปนตน เมือ่ ไดขอ สรุปหรือขอตกลงทีท่ กุ ฝายยอมรับกันเชนนีแ้ ลว แผนตอไป ก็คือ การทำงานกูคืนระบบไฟฟาให กลับคืนมาไดโดยเร็วที่สุด

การติดตั้ง ระบบไฟฟาชั่วคราว

สำหรั บ การทำงานนี้ ระบบ ไฟฟาชัว่ คราวเปนสิง่ สำคัญลำดับแรก ของการวางแผน การติดตั้งระบบ ไฟฟาชั่วคราวสามารถทำไดหลายวิธี ขึน้ อยกู บั วาจะเลือกวิธไี หนทีเ่ หมาะกับ สภาพอาคารหรือโรงงานแตละที่นั้น

1. ระบบไฟฟาชั่วคราวแบบ เคลื่อนที่ได หรือเครื่องกำเนิดไฟฟา สำรองนัน่ เอง ปจจุบนั มีเครือ่ งกำเนิด ชนิดนีอ้ ยหู ลายขนาดพิกดั ใหเลือกซือ้ หรือใชบริการเชาตามตองการ แต เครือ่ งกำเนิดไฟฟาสำรองนีผ้ ใู ชจะตอง เสียคาใชจา ยในสวนของคาน้ำมันเชือ้ เพลิง ซึง่ จะมีคา ใชจา ยตอวันคอนขาง สูง ทัง้ นีก้ ย็ งั ขึน้ อยกู บั ทีมงานของแตละ สถานที่ ทีจ่ ะเปนผวู างแผนวาจำเปน ตองใชตรงจุดไหนหรือไม อยางไร แตอยางไรก็ตาม ในการใชงาน ก็มีขอจำกัดอยูพอสมควร กลาวคือ เนือ่ งจากถาเปนเครือ่ งยนตขนาดเล็ก ก็จะไมสามารถจายโหลดพิกัดสูงได มากนัก อาจจายไดแคเพียงโหลดแสง สวาง หรือเครือ่ งใชไฟฟาขนาดเล็กไม เกิน 3,000 วัตต เปนตน นอกจากนี้ ในการใชงานก็จะมี ปญหาเรื่องของเสียงที่คอนขางจะดัง มากเวลาทำงาน หรือถาเปนเครื่อง กำเนิดไฟฟาขนาดใหญ เชน 100 kVA ขึ้นไป ก็จะสามารถจายโหลดไดมาก ขึน้ แตจะมีปญ  หาในเรือ่ งการขนยาย เนื่องจากเครื่องจะมีน้ำหนักคอนขาง มาก ตองใชรถยกจึงจะสามารถยาย ตำแหนงที่ติดตั้งได 2. ระบบไฟฟาชั่วคราวแบบ อยกู บั ที่ ในทีน่ จี้ ะหมายถึงการทำตเู มน

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

19


กคู นื ระบบไฟฟา/น้ำทวม

รูปที่ 3 การติดตัง้ ตู MDB ชัว่ คราว สำหรับงานฟนฟูหนาหองไฟฟา

ไฟฟาชั่วคราว แลวรับไฟฟาแรงต่ำ จากหมอแปลงไฟฟามาจายโหลดที่ ตองการ ทั้งนี้ในบางอาคารที่หมอ แปลงไฟฟามีปญหาถูกน้ำทวมดวย ก็จำเปนจะตองติดตัง้ หมอแปลงไฟฟา ชั่วคราวกอน ในสวนของสายไฟฟาแรงสูงที่ จายเขาหมอแปลงไฟฟา ก็จำเปนตอง ตรวจสอบดูกอ นวาถูกน้ำทวมหัวสาย แรงสูงหรือไม ในกรณีที่ถูกน้ำทวม ดวยก็จำเปนตองทดสอบสายวายังคง มีความชื้นในสายไฟฟาหรือไม ถามี ก็ตอ งทำการไลความชืน้ ออกกอน แลว ทดสอบใหมจนกวาจะแนใจวาสายไฟฟา นั้นสามารถที่จะใชงานได ในการทดสอบนี้ สามารถปรึกษา กับการไฟฟาสวนภูมภิ าคได หรืออาจ จะจางบริษทั เอกชนเขามาเปนผดู ำเนิน การใหก็ได ทางอาคารหรือโรงงานจำเปนที่ จะตองสัง่ ทำตเู มนไฟฟาชัว่ คราว หรือ ถาหากจะวาจางผรู บั เหมาเขามาดำเนิน งาน ก็สามารถมอบใหเปนภาระของ บริษทั ผรู บั เหมาเปนผจู ดั หาตเู มนไฟฟา ชั่วคราวใหก็จะสะดวก เสมือนเปน การเชาตูเมนไฟฟาชั่วคราวนี้นั่นเอง และในสวนของสายไฟฟาที่ตอจากตู เมนไฟฟาชัว่ คราวนี้ ก็เปนหนาที่ของ ทีมงานวางแผนวาจะตองเดินสายไฟฟา

20

รูปที่ 4 วงจรแสงสวางในระบบมีการตัดตอวงจรใหม เพือ่ ใหอาคารมีไฟฟาแสงสวางสำหรับทำกิจกรรมตางๆ

จากตูเมนไฟฟาชั่วคราวนี้ไปยังจุดใด บาง โดยมีสงิ่ ทีจ่ ะตองระมัดระวังไวก็ คือ ลักษณะของการเดินสายจะตองมี ความปลอดภัยในการใชงานดวย รวม ทัง้ ขนาดสายไฟฟาก็จะตองเหมาะสม กับโหลดที่ใชงานดวยเชนกัน

ระบบไฟฟาแสงสวาง

เมื่อมีระบบไฟฟาชั่วคราวใช งานแลว โหลดที่จะจายใชงานสวน แรกเลยก็คือโหลดแสงสวางนั่นเอง สำหรับโหลดแสงสวางในอาคารนั้น ทีมงานอาจจะตองปรับปรุงหรือตัดตอ วงจรเพื่อจายไฟฟาจากตูเมนไฟฟา ชั่ ว คราวเข า กั บ ระบบแสงสว า งใน อาคาร เพื่อใหสามารถใชงานแสง สวางได ซึง่ จะทำใหเกิดความสะดวก ในการทำกิจกรรมตางๆ ของแผนก อืน่ ๆ ในอาคารหรือโรงงานดวย โดยสวนใหญแลวระบบแสง สวางทีต่ ดิ ตัง้ ในอาคารหรือโรงงานนัน้ มักจะควบคุมวงจรแสงสวางจากเซอรกิตเบรกเกอรยอ ยในตโู หลดเซ็นเตอร ดังนั้นการที่จะจายไฟฟาชั่วคราวเขา กับระบบไฟฟาแสงสวางก็สามารถกระทำไดทแี่ ผงโหลดเซ็นเตอรเหลานี้ ซึง่ ทีมงานของอาคารจะตองมีคนทีท่ ราบ ถึงจุดตอสายตางๆ เหลานีอ้ ยแู ลว สำหรั บ โหลดเต า รั บ ทั่ ว ไปใน

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

อาคารหรือโรงงานทีถ่ กู น้ำทวม กอนที่ จะใชงานจำเปนทีจ่ ะตองมีการทดสอบ กอนเสมอ โหลดเตารับเหลานี้ถูกน้ำ ทวมขังเปนเวลานาน เมือ่ น้ำแหงจะเกิด ออกไซดเกาะติดในสวนทีเ่ ปนโลหะดาน ใน ซึ่งอาจจะทำใหเกิดการลัดวงจร เสียหายได ตามตารางที่ 1 จะแนะนำ ใหเปลี่ยนเตารับใหมเลย ดังนั้น ทีม งานจะตองวางแผนเปลี่ยนอุปกรณ เตารับตางๆ เหลานีใ้ นลำดับตอไป

เครื่องจักรกล ที่ถูกน้ำทวม

สำหรับเครื่องจักรในกระบวน การผลิตทัง้ หลายทีถ่ กู น้ำทวมเสียหาย นั้น จะมีสวนของการประกันความ เสียหายของเครือ่ งจักรอยู หรือถาไม อยูในระยะประกัน ก็จำเปนจะตอง ดูสภาพความเสียหายวา การซอมหรือ การซื้อเครื่องจักรใหมนั้น แบบไหน จะคมุ คากวากัน และถาจะซอม จะให ใครเปนผูซอม และใชระยะเวลาใน การซอมนานแคไหน หรือถาจะซื้อ ใหมจะตองใชระยะเวลาในการสัง่ ซือ้ กีว่ นั เปนตน ปญหาตางๆ เหลานี้ ผบู ริหาร ควรจะเปนผเู ขามาเปนผตู ดั สินใจ โดย รับขอมูลตางๆ จากทีมงานมาวิเคราะห


กคู นื ระบบไฟฟา/น้ำทวม

รูปที่ 5 สีที่ทาบัสบารทองแดงไวเกิดหลุดลอน พรอมทัง้ เกิดสนิมทีเ่ ทอรมนิ อลตอสายไฟฟา

ระบบจายไฟฟา เขาอาคาร/โรงงาน

โดยทั่วไปแลว ถาเปนอาคาร หรือโรงงานขนาดใหญ จะรับซือ้ ไฟฟา แรงสูงจากการไฟฟาฯ แลวทำการ จายโหลดดวยระบบไฟฟาแรงสูงเปน ลักษณะของวงแหวน หรือ Loop โดย มีอุปกรณตัดตอนไฟฟาแรงสูงที่เรียก วา Ring Main Unit (RMU) เปนตัว ตัดตอวงจรไฟฟาแรงสูงเขาระบบ ถัด จากนัน้ ก็จะเปนในสวนของไฟฟาแรง สูงจาก RMU จายใหกับหมอแปลง ไฟฟาเพื่อใหหมอแปลงไฟฟาแปลง เปนระบบไฟฟาแรงต่ำจายใหอาคาร ตอไป สามารถเขียนเปนไดอะแกรม วงจรไดดงั รูปที่ 1 ในสวนของ RMU ทีถ่ กู น้ำทวม จนถึงจุดตอทางไฟฟานัน้ ผเู ขียนแนะ นำใหทำการเปลีย่ น RMU จะดีทสี่ ดุ เพราะระบบไฟฟาแรงสูงนัน้ คอนขาง ที่จะอันตรายจากความชื้นหรือน้ำที่ เขาไปยังจุดตอ (Plug in unit) หรือ แผงควบคุมอิเล็กทรอนิกส แตการ จะเปลี่ยนหรือทำงานเกี่ยวกับไฟฟา แรงสูงนัน้ ทางอาคารหรือโรงงานอาจ จะไมสามารถทำเองได ควรจะมอบให บริษทั ผรู บั เหมามืออาชีพเปนผดู ำเนิน การใหจะดีกวา

รูปที่ 6 แผงยอยและโหลดเซ็นเตอรทถี่ กู น้ำทวมในระดับสูง

สวน RMU อืน่ ๆ ในระบบทีต่ อ อยเู ปนวงแหวนหรือ Loop เดียวกัน นั้น ก็จำเปนที่จะตองทำการทดสอบ รวมกันไปดวยทั้งหมดถึงแมวาน้ำจะ ทวมไมถงึ ก็ตาม ควรจะมอบใหบริษทั ผรู บั เหมาทำการทดสอบทัง้ ตัว RMU และระบบสายไฟฟาแรงสูงเพือ่ ตรวจ สอบระบบทัง้ หมด กอนทีจ่ ะจายไฟฟา เขาระบบ วิธีการทดสอบที่กระทำกันอยู จะมีอยู 2 การทดสอบ คือ 1. การทดสอบคาความเปน ฉนวนของสายไฟฟา หรือที่เรียกกัน ในภาษาชางวาการทำ Mega Ohm Test นัน่ เอง ซึง่ ก็คอื การใชเมกกะโอหมมิเตอร ทำการวัดคาความเปน ฉนวนระหวางสายไฟฟา และระหวาง สายไฟฟ า กั บ กราวด โดยการจ า ย ไฟฟาแรงดันสูง (โดยทัว่ ไปจะใชระดับ 5,000 V) แลวอานคาจากเครือ่ งมือวัด เปรียบเทียบกับคามาตรฐานทีย่ อมรับ 2. ก า ร ท ด ส อ บ ค า ค ว า ม สามารถในการรั บ แรงดั น ไฟฟ า แรงสูง หรือทีเ่ รียกกันในภาษาชางวา การทำ D.C. Hi-Pot Test นั่นเอง (คำเต็มๆ คือ D.C. High Potential Test) เปนการทดสอบการจายคาแรง ดันสูงเกินกวาพิกัดรับแรงดันไฟฟา ของสายไฟฟาแรงสูง เพือ่ ดูคา กระแส

รัว่ ไหล (Leakage current) วาอยใู น เกณฑทรี่ บั ไดหรือไม และไมเกิด Flash over ที่ขั้วตอสายไฟฟา ถาทดสอบ ผานก็เปนอันแนใจวาสามารถใชงาน สายไฟฟาแรงสูงนั้นไดแนนอน ขอควรระวัง ในการทดสอบนี้ ทีมงานกับผูทดสอบควรจะทำการตก ลงกันกอนวาจะทดสอบทีแ่ รงดันเทาใด เนือ่ งจากเปนการทดสอบสายไฟฟาที่ มีการใชงานมาแลว ไมใชการทดสอบ สายไฟฟาทีต่ ดิ ตัง้ ใหม ซึง่ ถาหากเปน สายที่มีอายุการใชงานมานานแลว ยอมมีคา ความเสือ่ มสภาพทางกายภาพ อยเู สมอ การทดสอบดวยคาแรงดันที่ สู ง กว า ปกติ ม ากๆ จะยิ่ง ทำใหสาย ไฟฟาแรงสูงนัน้ มีโอกาสทีจ่ ะชำรุดเสีย หายอันเนือ่ งมาจากการทดสอบได

หมอแปลงไฟฟา

หมอแปลงไฟฟาเปนอุปกรณที่ มีราคาสูงและตองมีการใชเวลาในการ สัง่ ซอมหรือสัง่ ซือ้ ใหม โดยทัว่ ไปทีน่ ยิ ม ใชงานจะมีอยู 2 ประเภท คือ หมอ แปลงไฟฟาชนิดน้ำมัน (Oil type) และหมอแปลงไฟฟาชนิดแหง (Dry type) หม อ แปลงไฟฟ า ชนิ ด น้ำ มั น จะพบเห็นกันทัว่ ไป นิยมติดตัง้ ไวภาย นอกอาคาร โดยมากมักจะติดตัง้ บนที่

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

21


กคู นื ระบบไฟฟา/น้ำทวม

รูปที่ 7 เครือ่ งกำเนิดไฟฟาขนาดเล็ก

สูง (นัง่ รานหมอแปลงไฟฟา) ซึง่ มัก จะรอดพนจากการถูกน้ำทวม แตกม็ ี การติดตัง้ หมอแปลงไฟฟาชนิดน้ำมัน นี้ในระดับพื้น โดยเฉพาะหมอแปลง ไฟฟาทีม่ ขี นาดใหญและมีน้ำหนักมาก อยเู ชนกัน การติดตัง้ ในลักษณะนีก้ ท็ ำ ใหเมือ่ เกิดอุทกภัยน้ำทวม น้ำก็จะทวม หมอแปลงไฟฟาไปดวย เกณฑในการ พิจารณาใชงานหมอแปลงไฟฟาทีถ่ กู น้ำทวมนัน้ ควรพิจารณาจากระดับน้ำ ทีท่ ว มตัวถังหมอแปลงไฟฟา กลาวคือ ถาน้ำทวมไมถึงฝาถังดานบน ของหมอแปลงไฟฟา ก็มีแนวโนมที่ ดีวาหมอแปลงไฟฟานั้นอาจจะไมมี ความเสียหายมากนัก ควรจะทำการ ทำความสะอาดและตรวจสอบสภาพ เบื้องตน เชน ตรวจสอบรอยรั่วซึม ของน้ำมันทีต่ วั ถัง การเกิดสนิม การ กัดกรอนของตัวถัง ตรวจเช็คปะเก็น (ทัง้ ปะเก็นลูกถวยแรงสูง แรงต่ำ และ ปะเก็นแท็ป) ตรวจสอบวาลวเดรน น้ำมัน ตรวจสอบรีเลยและเทอรโมมิเตอร (มีโอกาสสูงทีน่ ้ำจะซึมเขาไป) นอกจากนี้ เพือ่ ความแนใจและ ปลอดภัยในการใชงานหมอแปลงนั้น จำเปนตองทดสอบหมอแปลงกอนใช งาน โดยจะตองทำการทดสอบคา ความเปนฉนวนของขดลวด (Insulation Resistance Test) ควรจะมีคา

22

รูปที่ 8 หมอแปลงทีถ่ กู น้ำทวมขังเปนแรมเดือน เกิดสนิม และน้ำเขาทางปะเก็นดานบนอาคาร

มากกวา 500 เมกกะโอหมขึน้ ไป และ ทดสอบคาความเปนฉนวนของน้ำมัน (เดรนน้ำ มั น ออกมาทดสอบ Oil dielectric strength) ควรจะมีคา ทดสอบมากกวา 26 kV ทั้งหมดนี้ สามารถเรียกใชบริการจากบริษทั ผผู ลิต หมอแปลงไฟฟา หรือวาจางบริษัทผู รับเหมาทำการตรวจสอบใหได สวนกรณีทนี่ ้ำทวมจนถึงระดับ ฝาถังหมอแปลงไฟฟา และมีน้ำทวม ขังมากกวา 1 สัปดาห มีโอกาสอยาง มากทีน่ ้ำจะซึมเขาในตัวถังหมอแปลง ไฟฟาผานซีลยางและปะเก็นฝาถัง ทำใหกระทบกับกระดาษฉนวนของ ขดลวดภายในหรือแกนเหล็กภายใน ของหมอแปลงไฟฟา รวมไปถึงเศษดิน โคลนตางๆ ทีป่ นมากับน้ำทวมสะสม เขาไปในตัวหมอแปลงไฟฟาดวย ใน กรณีเชนนี้ ผเู ขียนแนะนำใหยกหมอ แปลงไฟฟานีก้ ลับไปซอมใหญ (Overhaul) ทีโ่ รงงานจะดีทสี่ ดุ สำหรับหมอแปลงไฟฟาชนิด แห ง โดยมากมั ก จะติ ด ตั้ ง ภายใน อาคาร และถาถูกน้ำทวมก็จะมีความ เสียหายในลักษณะของน้ำทวมซึมเขา กระดาษฉนวน (ถาไมใชชนิด 100% Full cast resin) ทำใหมโี อกาสทีจ่ ะ เกิดการลัดวงจรของขดลวด (Short turn) คอนขางสูง แนะนำใหสง ซอม

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

ทีโ่ รงงาน หรือเปลีย่ นหมอแปลงไฟฟา ใหม แลวขายซากคืนใหกบั โรงงานผลิต

MDB จมน้ำ

ในสวนของตกู ระจายโหลดหลัก (Main Distribution Board, MDB) ของอาคารนั้น ทั้งแบบติดตั้งบนพื้น และติดตัง้ บนผนังของบริเวณชัน้ ลาง ของอาคาร มักจะไดรบั ความเสียหาย จากเหตุการณน้ำทวมโดยตรง มีทงั้ น้ำ ทวมบางสวนและน้ำทวมมิดตู 100% โดยเฉพาะอาคารที่มีการสรางหอง ไฟฟ า ไว ใ นชั้ น ใต ดิ น จะได รั บ ผล กระทบจากน้ำทวมเต็มที่ ทั้งในสวน ของ MDB, Bus Duct, Generator และระบบการเดิ น สายไฟทั้ ง หมด จำเปนตองวางแผนการกูคืนระบบ ไฟฟาอยางระมัดระวัง เพราะตองมี การวางแผนการรื้อถอนรวมกับการ วางแผนใชระบบไฟฟาชั่วคราวและ แผนการติดตัง้ ระบบไฟฟาใหม ซึง่ ถา จำเปนอาจจะตองเชิญวิศวกรผูออก แบบเดิมหรือวิศวกรไฟฟาทีม่ ปี ระสบการณสงู เขามาชวยรวมวางแผนและ ดำเนินการให สำหรับตู MDB ทีถ่ กู น้ำทวมนัน้ ความเสียหายทีจ่ ะเกิดขึน้ ประกอบไป ดวย ตัวโครงโลหะของตทู ถี่ กู น้ำทวม ขังจะเกิดสนิมกัดกรอนในอนาคต ถา


กคู นื ระบบไฟฟา/น้ำทวม

รูปที่ 9 RMU และชุด Housing ภายนอกอาคารถูกน้ำทวมเสียหาย

เปนไปไดควรจะสงไปขัดและพนสี ใหมทโี่ รงงานประกอบ แตกจ็ ะติดขัด ในเงือ่ นไขของเวลา เนือ่ งจากในชวง นีโ้ รงงานเหลานีก้ จ็ ะมีงานคอนขางลน มืออยแู ลว งานซอมจึงเปนงานทีโ่ รงงานประกอบยังไมสามารถรับงานได หรือถารับไวกต็ อ งรอเวลาอีกนาน ดัง นัน้ ทีมงานจะตองวางแผนในเรือ่ งนีก้ อ น อุปกรณในตู MDB ที่สำคัญ ก็คือ เซอรกิตเบรกเกอร (Circuit breaker) ทีถ่ กู น้ำทวมไปดวยพรอมกัน จากตารางที่ 1 พบวาทาง NEMA แนะนำใหเปลีย่ นใหมเลย เนือ่ งจากมี โอกาสทีน่ ้ำจะเขาไปขังในตัวเซอรกติ เบรกเกอรสงู ผเู ขียนพบวา เมือ่ ถอดเซอรกติ เบรกเกอรออกมาเขยาดู จะไดยิน เสียงน้ำที่ขังอยูภายในชัดเจน ซึ่งจะ เกิดอันตรายอยางมากถาหากนำไปใช งาน หรือถึงแมวา จะนำเซอรกติ เบรกเกอรนั้นไปอบไลความชื้นภายในจน แหงแลวก็ตาม ก็ไมมีใครที่สามารถ รับรองไดวา เซอรกติ เบรกเกอรตวั นัน้ จะยังคงสามารถใชงานไดอยางปลอดภัย (อาจเกิดสนิมทีโ่ ลหะภายใน การจาย กระแสเขาไปในตัวเซอรกติ เบรกเกอร อาจจะทำใหเกิดการลัดวงจรได) ผู เขียนเชือ่ วาเซอรกติ เบรกเกอรเหลานี้ จะถูกนำออกมาขายในตลาดของเกา

รูปที่ 10 RMU ใน Housing ถูกน้ำทวมเสียหาย

ในอีกไมนานนี้ จึงขอใหผูอานระมัด ระวังในการใชงานอุปกรณเหลานีด้ ว ย นอกจากนี้ อุปกรณบสั บารทอง แดงในตู MDB ก็จะเกิดปญหาออกไซดเกาะทีผ่ วิ เปนคราบสนิมตอไป ถึง แมวาจะทำการพนสีบัสบารไวแลวก็ ตาม จึงควรนำบัสบารออกมาทำความ สะอาดและพนสีใหมดวยเชนกัน

สรุป และวางแผน

การวางแผนกคู นื ระบบไฟฟาที่ ถูกน้ำทวมนัน้ จะตองอาศัยความรวม มื อ ของที ม งานทุ ก คนตั้ ง แต ร ะดั บ บริหาร ผจู ดั การแผนกตางๆ วิศวกร ตลอดจนชางเทคนิคและคนงานของ อาคาร ผู บ ริ ห ารระดั บ สู ง มี ห น า ที่ กำหนดนโยบาย การอนุมตั เิ บิกเงินคา ใชจา ย โดยรับทราบขอมูลตางๆ จาก ระดับปฏิบตั กิ าร ซึง่ จะตองมีขอ มูลที่ เปนจริง ชงปญหาหนางานที่แทจริง ขึน้ มาใหผบู ริหารรับทราบ โดยจะตอง ครอบคลุมปญหาทุกดาน และเสนอ แนวทางหรือวิธีการแกไขปญหาที่คิด วาเปนไปได เพือ่ ใหผบู ริหารสามารถ ตัดสินใจไดอยางดีที่สุด สำหรับแผนการแกปญหาใน เรื่องนี้ ผูเขียนขอเสนอวิธีการแกไข ปญหาออกเปน 3 ระยะดังนี้ 1. แผนการแกปญหาเฉพาะ

หนา หมายถึง การวางแผนหลังจาก น้ำเริ่มลด เพื่อกำหนดมาตรการใน การที่จะติดตั้งระบบไฟฟาชั่วคราว เพือ่ ใหอาคารสามารถมีระบบไฟฟาชัว่ คราวใช ง านได ก อ นสำหรั บ การทำ กิจกรรมฟนฟูอาคาร เชน การลาง ทำความสะอาด การเก็บกวาดขยะ เปนตน ผบู ริหารจะเปนผกู ำหนดแนว ทางการหาอุปกรณสำหรับการติดตั้ง ระบบไฟฟาชัว่ คราว โดยผปู ฏิบตั งิ าน จะต อ งนำเสนอข อ มู ล ให ผู บ ริ ห าร ทราบถึงความจำเปนในการใชงาน ไฟฟาชัว่ คราวในจุดตางๆ ของอาคาร ซึ่ ง จะมี ค า ใช จ า ยที่ ผู บ ริ ห ารจะต อ ง คำนึงถึงดวย 2. แผนจ า ยไฟฟ า เข า ระบบ เดิม หมายถึง การที่จะทำการซอม หรือเปลี่ยนอุปกรณตางๆ ในระบบ ไฟฟา เพื่อใหอาคารสามารถมีระบบ ไฟฟาใชงานไดเหมือนเดิมเปนปกติ ในการนี้ ผู บ ริ ห ารต อ งการรั บ ทราบ ขอมูลความเสียหายของระบบ วามี อะไรเสียหายบาง และจะสามารถหา อะไหลเพื่อซอมหรือซื้ออุปกรณใหม เพือ่ ทดแทนอุปกรณทชี่ ำรุดเสียหายได หรือไม หรือถาจะมีการวาจางบริษทั ผู รับเหมาภายนอกมาชวยทำการติดตัง้ ระบบไฟฟาให จะตองทำอะไรบาง ทัง้ นีใ้ นสวนของการดำเนินงาน

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

23


กคู นื ระบบไฟฟา/น้ำทวม

รูปที่ 11 RMU ใหม ติดตัง้ แทนบนแทนเดิม

อาจจะไมสามารถใชวิธีการปกติใน การทำงาน เชน การเรียกบริษทั ผรู บั เหมา 3-4 ราย เขามาทำการเสนอ ราคาคาดำเนินการ จะไมไดราคาที่ ใกลเคียงกันเลย เนือ่ งจากไมมขี อ มูล กลางวาจะตองทำอะไรบาง ใชวัสดุ อะไร ยีห่ อ ผลิตภัณฑทจี่ ะซือ้ มาติดตัง้ อาจจะขาดตลาด แรงงานชางของผู รับเหมามีงานลนมือ ฯลฯ เปนตน ด ว ยเงื่ อ นไขของเวลาที่ ทุ ก ๆ อาคารหรือโรงงานที่ถูกน้ำทวมตอง การฟนฟูโดยเร็วกันทั้งสิ้น จึงอาจ จะตองยอมเชิญผูรับเหมา 1-2 ราย เขามาดูสถานที่และเสนอราคาแลว พิจารณาถึงความเหมาะสมของราคา ที่เสนอวาอยูในงบประมาณที่ตั้งไว หรือไม และคมุ กับเงินทีจ่ า ยแพงกวา ปกติแตไดระยะเวลาในการใชไฟฟา เร็วขึน้ หรือไม ในกรณี ที่ จ ะต อ งมี ก ารซื้ อ อุปกรณทมี่ รี าคาแพง เชน RMU หรือ หมอแปลงไฟฟา ทางผูบริหารอาจ จะตองจำเปนอนุมตั เิ งินสดจายใหผรู บั เหมาลวงหนาเพือ่ จัดซือ้ อุปกรณเหลา นั้น มิฉะนั้นก็อาจจะไมสามารถหา อุปกรณมาติดตัง้ ทดแทนได แมกระทัง่ สายไฟฟาหรือเซอรกิตเบรกเกอรเอง ก็ตามที อาจจะหาซื้อในขนาดพิกัด และยี่หอที่ตองการไดยาก หรือถา

24

รูปที่ 12 เครือ่ งทดสอบ D.C. Hi-Pot Test

จะเปลีย่ นรนุ เปลีย่ นยีห่ อ ก็อาจจะเกิด ปญหาอืน่ ตามมาอีก เชน ถาตองการ เปลีย่ นเซอรกติ เบรกเกอรในตู MDB ถาจะเปลี่ยนรุนหรือยี่หออื่นมาติดตั้ง ทดแทน จะพบป ญ หาในเรื่ อ งของ ขนาดอุปกรณที่จะตองมีการยึดน็อต เขากับจุดยึดเดิมซึ่งอาจเขากันไมได จะตองมีการปรับเปลี่ยนจุดยึดใหม (Modify) หรื อ ป ญ หาของก า นสั บ เซอรกิตเบรกเกอรไมเหมาะสมกับ ฝาปดตเู ดิม ทำใหปด ฝาตไู มได เปนตน 3. แผนการปองกันปญหาใน กรณีที่จะเกิดน้ำทวมอีก ในแผนนี้ จะเปนการวางแผนเผื่ออนาคตเพื่อ ปองกันความเสียหายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ อีก เชน การวางแผนยกระดับหมอ แปลงไฟฟาทีต่ ดิ ตัง้ บนพืน้ ใหยกขึน้ ตัง้ บนนัง่ รานหมอแปลงไฟฟาแทน หรือ ยายตำแหนงของตู MDB ขึน้ ไปไวยงั ชัน้ บนของอาคารทีน่ ้ำทวมไมถงึ เปน ตน ซึ่งก็จะมีคาใชจายที่เกิดขึ้นพอ สมควร จำเปนทีจ่ ะตองวางแผนลวงหนา วาจะทำไปในปจจุบนั นีเ้ ลย หรือจะรอ ในอนาคตคอยดำเนินการ เปนตน ผูเขียนหวังวาบทความนี้คงจะ มีประโยชนสำหรับวิศวกรทุกทานที่ ทำงานในอาคารทีถ่ กู น้ำทวมนีอ้ ยู ซึง่ อาจจะไม ค อ ยมี โ อกาสได พ บกั บ ผู บริหารของหนวยงานบอยนัก ดังนัน้

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

อาจจะนำเสนอบทความนีใ้ หผบู ริหาร ไดอา น เพือ่ ใหเกิดมุมมองของการแก ปญหามากขึน้ เพราะผบู ริหารเองบาง คนก็มกั จะตัดสินใจเองโดยไมมขี อ มูล จากผูปฏิบัติงานที่ถูกตอง แตจำเปน ตองสั่งการโดยเร็ว ทำใหในบางครั้ง เปนการแกปญ  หาทีไ่ มถกู ตองตามหลัก วิศวกรรม จึงมีโอกาสหรือความเสีย่ ง ที่จะเกิดอันตรายไดโดยงาย และขอ ฝากไปยังผบู ริหารวาการตัดสินใจใดๆ จำเปนทีจ่ ะตองมีขอ มูลเปรียบเทียบขอ ดี ขอเสียตางๆ กอนเสมอ ซึง่ ขอมูล ตางๆ เหลานีจ้ ะสามารถหาไดจากลูก นองทีท่ ำหนาทีป่ ฏิบตั งิ านอยเู ปนประจำอยูแลว


ผศ. ถาวร อมตกิตติ์

คอนเวอรเตอรอิเล็กทรอนิกสกําลัง

การใชงานของ คอนเวอรเตอร อิเล็กทรอนิกสกําลัง

ปจจุบันคอนเวอรเตอรแบบอิเล็กทรอนิกสกําลังนิยมใชกับระบบไฟฟาและอุปกรณ จํานวนมาก ทั้งในภาคกําลังไฟฟาและไฟฟาสื่อสารรวมทั้งระบบคอมพิวเตอร ซึ่งการใชงานหลากหลายรูปแบบนั้นความเหมาะสมตอการใชงานยอมตางกัน

ารที่ ค อนเวอร เ ตอร มี ห ลาย ชนิดการใชงานยอมแตกตาง กันและวิธีการนํามาใชก็แตกตางกัน ดังนั้นบทความนี้จะไดกลาวถึงหลัก เกณฑในการนําคอนเวอรเตอรอเิ ล็กทรอนิกสกําลังมาใชงานทั้งในสวน ของผูใชไฟฟาและในสวนของผูผลิต ไฟฟา

การนําคอนเวอรเตอร อิเล็กทรอนิกสกําลัง มาใชงาน

หลักการและการควบคุมคอนเวอรเตอรอิเล็กทรอนิกสกําลังชนิด ตางๆ มีการนํามาใชงานทีแ่ ตกตางกัน การทราบถึงคุณสมบัตแิ ละสมรรถนะ เพียงอยางเดียวยอมไมเพียงพอ ยัง จะตองทราบถึงขอกําหนดและราย ละเอียดปลีกยอยของความตองการ ใชงานจึงทําใหใชงานไดอยางมีประสิทธิผล 1. แหลงจายไฟฟา DC แหลง จายไฟฟา DC นํามาใชในการจาย ไฟฟาใหกับสวนประกอบตางๆ ใน อุ ป กรณ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส โ ดยขึ้ น กั บ ลักษณะเฉพาะของอุปกรณนนั้ ๆ เชน

การคุมคาตามไฟฟาดานเขาและโหลด, การตอบสนองที่ดี, การสอดคลองกับ มาตรฐานคุณภาพของไฟฟาดานเขา และการรบกวนทางแมเหล็กไฟฟา (EMI) รวมทั้งการสํารองพลังงานให เพี ย งพอต อ ภาวะที่ ไ ฟฟ า ด า นเข า ขัดของในชวงเวลาสั้นๆ ลั ก ษณะทั่ ว ไปที่ ต  อ งการจาก แหลงจายไฟฟา DC เปนดังนี้ 1. การคุมคาแรงดันไฟฟาดาน ออกตามไฟฟาดานเขาและโหลด : แหลงจายไฟฟาแรงดันตํา่ และกระแส สูงจะตองมีการคุมคาแรงดันไฟฟาที่ โหลดและแรงดันไฟฟาตกในสายทีต่ อ เขากับโหลด นอกจากนัน้ จะตองมีขอ กําหนดของเวลาตอบสนองและการ พุงเกิน (Overshoot) ที่ดานออกจาก การเปลี่ยนโหลดเปนขั้น 2. ขอจํากัดกระแสไฟฟาดาน ออก : เมือ่ กระแสไฟฟาดานออกสูงเกิน คาทีก่ าํ หนด การจํากัดกระแสไฟฟาจะ ตองแปรตามแรงดันไฟฟาดานออก 3. การแยกโดด : ไฟฟาดานเขา จะตองแยกออกจากไฟฟาดานออก 4. การสตารตแบบนิม่ นวล (Soft start) : เพื่อจํากัดกระแสกระชาก (Inrush) ของคาปาซิเตอรทเี่ ริม่ ชารจ

5. เวลาทํางานสํารอง : โดย ปกติการใชไฟฟาจะมีขอกําหนดเวลา ทํางานทีไ่ มมแี รงดันไฟฟาดานเขา ซึง่ อาจจะมีการเก็บพลังงานไวในคาปาซิเตอรก็ได 6. การพัก : ปกติแลวแหลง จายไฟฟาจะมีประสิทธิภาพตํา่ ทีภ่ าวะ โหลดนอย ดังนัน้ จึงควรมีการตรวจจับ สภาพโหลดนอยของอุปกรณที่โยก ยายไดและรับไฟฟาจากแบตเตอรี่ แลวจึงเปลี่ยนภาวะการทํางานของ แหลงจายไฟฟาเพื่อลดความสูญเสีย เชน การลดความถี่สวิตชิง 7. มีการแกตัวประกอบกําลัง ทางดานหนา 8. การสอดคลองกับ EMI ตาม มาตรฐานที่กําหนด 9. การสอดคล อ งกั บ สภาพ แวดลอม : มีการทํางานที่เหมาะสม ตอความชื้น, อุณหภูมิและความสูง 2. ชุดขับไฟฟา ปกติแลวการ ใหมอเตอร AC รับไฟฟา AC โดยตรง หรือใหมอเตอร DC รับไฟฟา DC ที่ ออกจากเร็กติไฟเออรโดยตรง จะทํา ใหประสิทธิภาพในการทํางานลดลง เนือ่ งจากการควบคุมไมดนี กั มอเตอร ที่รับไฟฟาจากคอนเวอรเตอรแบบ

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555 25


คอนเวอรเตอรอิเล็กทรอนิกสกําลัง ควบคุมเวกเตอรของมอเตอรเหนี่ยว นําแบบกรงกระรอก ดานเขาเปนเร็กติไฟเออรแบบบริดจไดโอด 3 เฟส หรือ 1 เฟส สวิตชควบคุมที่ตอขนาน กั บ รี ซิ ส เตอร จ ะจํ า กั ด กระแสไฟฟ า ดานออกระหวางคาปาซิเตอรของบัส DC เริ่มชารจ อินเวอรเตอร PWM 3 เฟสจะแปลงแรงดันไฟฟา DC เปน AC 3 เฟสที่ปรับขนาดและความถี่ได หากเร็กติไฟเออรสามารถถายโอน ไฟฟาไดสองทิศทางจะทําใหสามารถ ถายโอนพลังงานไปยังแหลงกําเนิด ก็ได หรือชารจคาปาซิเตอรของบัส DC ก็ได ชุดเบรกจะมีรีซิสเตอรและ สวิตชควบคุมที่ตอขนานกับบัส DC เพื่อจํากัดแรงดันไฟฟาของบัส DC ชุดขับควบคุมอาจจะเปนไมโครคอนโทรลเลอร ห รื อ โปรเซสเซอร สัญญาณดิจติ อล (Digital processor - DSP) ซึ่งนิยมใช DSP เนื่องจาก ประยุกตใชกับคอมพิวเตอรไดมาก กวาและตอบสนองสัญญาณทัง้ ความ เร็วหรือตําแหนงไดดี โดยทั่วไปแลว เครื่องจักร AC อาจจะควบคุมเวกเตอรหรือควบคุมแรงบิดโดยตรงก็ได ซึ่ ง อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส กํ า ลั ง จะควบคุ ม กระแสไฟฟาดานออกดวยแบนดวดิ ช สูง (1 kHz) ในการควบคุมกระแสไฟฟานัน้

รูปที่ 1 ตัวอยางของชุดขับ AC ที่ควบคุมเวกเตอร

อิเล็กทรอนิกสกําลังที่มีการควบคุ ม อยางเหมาะสมจะเพิ่มประสิทธิภาพ ของระบบทัง้ หมดไดมากขึน้ เนือ่ งจาก สามารถทํางานแบบแปรความเร็วได นั่ น คื อ การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของ ระบบด ว ยชุ ด ขั บ มอเตอร ที่ ค วบคุ ม ทางอิเล็กทรอนิกสจะทําใหประหยัดได มาก และสมรรถนะในการตอบสนอง เร็วขึ้น อีกทั้งเปนการควบคุมที่เที่ยง ตรงมากขึ้น 1. ชุดขับ AC ที่ควบคุมเวกเตอร ชุดขับ AC ที่ควบคุมเวกเตอร ตามตัวอยางในรูปที่ 1 นํามาใชกับ เครื่ อ งจั ก รที่ มี ม อเตอร ไ ด อ ย า งมี ประสิทธิภาพ รูปที่ 2 แสดงไดอะแกรมพื้น ฐานของชุดขับของเครือ่ งจักรซิงโครนัสแบบแมเหล็กถาวร (Premanent magnet synchrinous machine) ที่ ตัวจํากัด กระแสกระชาก เบรก เร็กติไฟเออร

AC 3 เฟส

อินเวอรเตอร 3 เฟส + Vin -

VABC

iABC ตัวเขา รหัส

OPI ตํ า แหนง กระแสไฟฟา โปรเซสเซอรสัญญาณดิจิตอล (DSP)

การแยกโดดทางแสง (OPI) บัสสอสาร

รูปที่ 2 ชุดขับ AC 3 เฟสที่ควบคุมเวกเตอร

26

มอเตอร

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

จะสรางเวกเตอรแรงดันไฟฟาอางอิง โดยใช PWM แบบสเปซเวกเตอร ซึ่งควบคุมกระแสไฟฟาและ PWM จาก DSP ดวยสัญญาณสวิตชิงให อินเวอรเตอรและชุดเบรก สัญญาณสวิตชิงดังกลาวถูกแยกโดดทางแสง (Optical isolation) และเขาสูเกต สวิตชควบคุม สวนกระแสไฟฟาดาน ออกจากอินเวอรเตอรจะมีตวั ตรวจจับ และสงสัญญาณกระแสไฟฟาแอนะลอกเขาสูคอนเวอรเตอรที่แปลงให เปนสัญญาณของ DSP วงจรเขารหัส ทางแสงใชสําหรับการสงสัญญาณ ตําแหนงโรเตอร

รูปที่ 3 ตัวอยางของชุดขับ SRM

2. ชุดขับ SRM ตัวอยางของ ชุ ด ขั บ เครื่ อ งจั ก รแบบสวิ ต ช ค วาม ตานทานแมเหล็ก (Switched reluctance machine - SRM) แสดงใน รูปที่ 3 ซึ่งโครงสรางพื้นฐานของชุด ขับ SRM จะเหมือนกับชุดขับมอเตอร AC แตมีคอนเวอรเตอรแตกตางกัน ตามคุณลักษณะของเครื่องจักร รูปที่ 4 (ก) แสดงหนาตัดของ SRM แบบ 4 เฟส ซึ่งแตละเฟสจะมี ขดลวดพันบนขั้วสเตเตอรที่อยูตรง ขามกัน เมื่อใดก็ตามที่ขั้วโรเตอรอยู แนวเดียวกับขัว้ สเตเตอรกจ็ ะไมมแี รง


คอนเวอรเตอรอิเล็กทรอนิกสกําลัง S1

(ก) หนาตัด SRM แบบ 4 เฟส

D2

+

iph

Vdc -

+ Vph D1

S2

(ข) คอนเวอรเตอรแบบบริดจไมสมมาตร

รูปที่ 4 ชุดขับ SRM

บิดบนโรเตอร และ ia จะลดลงเปน ศูนย ซึ่งการมีไฟและไมมีไฟในเฟส ทําใหเกิดการหมุนไดตอเนื่อง คอนเวอร เ ตอร จ ะมี แ รงดั น ไฟฟาสองทิศทางเพื่อใหเพิ่มหรือลด กระแสไฟฟาในขดลวด ทีค่ วามเร็วตํา่ นั้นแรงแมเหล็กไฟฟาของเครื่องจักร จะตํา่ มากจนกระแสไฟฟาของขดลวด ตองควบคุมดวยการควบคุมกระแส ฮีสเตอริซีส โดยปกติแลวแรงบิดรวม ที่ เ กิ ด จากเครื่ อ งจั ก รจะมี ริ ป เป ล สู ง แรงบิดเฉลี่ยจะขึ้นกับมุมนํากระแส (Turn-On) และหยุดกระแส (TurnOff) ซึง่ ตําแหนงโรเตอรขนึ้ กับขดลวด เฟสที่มีไฟและไมมีไฟ คอนเวอรเตอรแบบบริดจไม สมมาตร (Asymmetric bridge converter) มีวงจรตามรูปที่ 4 (ข) โดย แสดงเปน 1 เฟส ซึ่งการทํางานของ คอนเวอรเตอรชนิดนี้จะเปนดังนี้ - มีไฟ : (S1, S2) On, (D1, D2) Off จะได vph = Vdc - ไมมีไฟ : (D1, D2) On, (S1, S2) Off จะได vph = -Vdc - ลูปแรงดันเปนศูนย : (S1, D2) on, (S2, D1) Off หรือ (S2, D1) On, (S1, D2) Off จะได vph = 0 3. การชารจแบตเตอรี่ การชารจ แบตเตอรี่จะมีการนําคอนเวอรเตอร

AC-DC และ DC-DC มาใชกันเปน ส ว นใหญ เช น แบตเตอรี่ ใ นงาน โทรคมนาคม, รถไฟฟาและรถไฟฟา ไฮบริด, อุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสทโี่ ยกยาย ได, การสํารองพลังงานเพื่อใหระบบ ไฟฟามีความมัน่ คง เปนตน แบตเตอรีต่ ะกัว่ กรดจะมีวธิ ที าํ งาน ตามมาตรฐานของชารจเจอรอยู 3 วิธี คือ 1. การชารจกระแสไฟฟาคงที่ (หรือบั๊ก) ระหวางการชารจภาวะตํ่า 2. การชารจแรงดันไฟฟาคงที่ หลังจากชารจไปประมาณ 80% 3. การชารจ “ทรงตัว” (float) หลังจากแบตเตอรีม่ คี า ถึงแรงดันไฟฟา เปดวงจร คอนเวอรเตอรควรมีการทํางาน ทีพ่ กิ ดั กระแสสูงสุดในชวงแรงดันไฟฟา ดานออกไดอยางมีประสิทธิภาพ และจะ ตองแยกโดดจากไฟฟาดานเขาโดยมี การแกตัวประกอบกําลังอีกดวย ปจจุบนั มีการนําแบตเตอรีล่ เิ ทียม ไอออน (Li-ion) มาใชอยางกวางขวาง ในงานทีโ่ ยกยายได เชน คอมพิวเตอร แลปทอป, PDA, โทรศัพทมอื ถือ เปนตน นอกจากนัน้ ยังมีการนําแบตเตอรีน่ กิ เกิลเมทัลไฮไดร (NiMH) มาใชใน รถไฟฟาแบบไฮบริดอีกดวย ขอดีของ แบตเตอรี่ Li-ion คือ ใหพลังงานได

มากและแรงดันไฟฟาของเซลลมีคา สูง อีกทั้งมีอัตราการดิสชารจตัวเอง ตํ่า สวนขอดอยของแบตเตอรี่ Li-ion คือ ทนตอความเครียดทางไฟฟาไดไม ดีนกั และมีชว งอุณหภูมจิ าํ กัดในการใช งาน ข อ ควรระวั ง ทางด า นแรงดั น ไฟฟาของแบตเตอรี่ คือ แรงดันไฟฟา สูงเกินที่จะทําใหแบตเอตรี่เสียหาย และแรงดันไฟฟาตํา่ เกินทีจ่ ะทําใหอายุ แบตเตอรี่ลดลง คอนเวอรเตอรทเี่ ปนชารจเจอร แบบเชิงเสนจะนํามาใชกับแบตเตอรี่ แบบเซลลเดีย่ วทีต่ อ งการกระแสชารจ ตํ่า สวนคอนเวอรเตอรแบบวิธีสวิตช จะใชกบั การชารจทีก่ ระแสสูงและแรง ดันสูง 4. การสองสวางแบบโซลิดสเตตและหลอดฟลู อ อเรสเซนต แมวาการสองสวางดวยหลอดไสจะมี ประสิทธิภาพดอยทีส่ ดุ แตกม็ รี าคาตอ ลูเมนตถูกที่สุด สวนขอดีของหลอด ฟลู ออเรสเซนตแบบคอมแพกต คือ ประสิทธิภาพสูงและเปลีย่ นแทนหลอด ไสไดงาย นอกจากนั้น หลอดฟลูออเรสเซนตสามารถปลอยแสงอัลตราไวโอเลตเพือ่ ใชในงานทางอุตสาหกรรม ตางๆ ได เชน การฆาเชือ้ โรค, การรักษา พยาบาล เปนตน โดยปกติหลอดฟลูออเรสเซนต แบบคอมแพกตและหลอดทางอุตสาหกรรมจะรับไฟฟาจากคอนเวอรเตอรวธิ ี สวิตชทเี่ รียกวา “บัลลาสตอเิ ล็กทรอนิกส” เชน คอนเวอรเตอรที่มีอินเวอรเตอรแบบบริดจเต็มหรือบริดจครึ่งที่ ดานออกตอกับวงจร L-C-C ที่ตอกัน แบบอนุกรมทัง้ หมด แรงดันไฟฟา DC ทีเ่ ขาสูอ นิ เวอรเตอรอาจจะมาจากเร็กติไฟเออรแบบบริดจไดโอด ไสหลอด จะต อ อนุ ก รมกั บ ชุ ด L-C-C โดย สองไสหลอดจะขนานกับคาปาซิเตอร

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555 27


คอนเวอรเตอรอิเล็กทรอนิกสกําลัง หนึ่งตัว สวนคาปาซิเตอรตัวอื่นจะ จํากัด DC และจูนการทํางานของชุด L-C-C ใหไดคณ ุ ลักษณะตามทีต่ อ งการ เมือ่ หลอดฟลูออเรสเซนตแบบ คอมแพกต OFF (แกสภายในไมแตก ตัวเปนไอออน) ก็จะเหมือนกับการ เปดวงจร โดยอินเวอรเตอรจะตอกับ วงจรอนุกรม LC เรโซแนนตไดอยาง มี ป ระสิ ท ธิ ผ ล การที่ จ ะทํ า ให แ ก ส ภายในหลอดไฟแตกตัวเปนไอออนได นัน้ ไสหลอดจะตองถูกทําใหรอ นดวย แรงดันไฟฟาสูง (เปน kV) ครอม หลอดเปนเวลาสัน้ ๆ เมือ่ หลอดไฟ ON (แกสแตกตัวเปนไอออน) ก็จะมีสภาพ เปนโหลดรีซิสทีฟ และโหลดของอินเวอรเตอรก็จะเปนวงจรชุด L-C-C ที่รีซิสแตนซสมมูลของหลอดขนาน กับคาปาซิเตอรหนึ่งตัว คลื่นจตุรัส ความถี่สูงดานออกของอินเวอรเตอร จะอยู  ใ นช ว ง 20-100 kHz ซึ่ ง ที่ ความถี่ดังกลาวจะทําใหไดแสงสวาง เพิ่มขึ้น ความถีส่ วิตชิงจะเปลีย่ นแปลง เพื่อควบคุมการทํางานของบัลลาสต ในภาวะเริ่มตนวงจร L-C-C และ หลอดไฟจะถูกกระตุน ทีค่ วามถีส่ งู กวา ความถี่เรโซแนนตเรียกวา การอุน หลอด (Preheat) ซึ่งไสหลอดจะมี อุณหภูมิสูงขึ้น หลังจากนั้นความถี่ สวิตชิงจะลดไปอยูท คี่ วามถีเ่ รโซแนนต เพือ่ ใหแรงดันไฟฟาครอมหลอดไฟสูง ขึ้ น จนแกส ภายในหลอดไฟแตกตัว เปนไอออนและหลอดไฟก็จะสวาง หลั ง จากนั้ น หลอดไฟจะมี ส ภาพ เหมือนกับโหลดรีซิสทีฟ และกําลัง ดานออกของหลอดไฟจะถูกควบคุม ความตางเฟสระหวางแรงดันไฟฟา กับกระแสไฟฟาของอินเวอรเตอร หลอดไฟฟาชนิดปลอยประจุ ความเขมสูง (High intensity discharge - HID) นํามาใชงานจํานวน

28

มาก เชน ไฟถนน, สนามกีฬา เปนตน หลอดไฟชนิดนี้มีสามแบบ คือ ไอ ปรอท, ไอโซเดียม และเมทัลฮาไลด บัลลาสตสําหรับหลอดไฟดังกลาวจะ แตกตางจากหลอดฟลูออเรสเซนต เนื่ อ งจากหลอดไฟชนิ ด นี้ ทํ า งานที่ ความถี่สูงโดยเรโซแนนซในชวง 10100 kHz ดังนัน้ จึงไมนยิ มนําบัลลาสต อิเล็กทรอนิกสมาใชกับหลอดไฟ HID ปจจุบนั มีการนําไดโอดปลอยแสง (Light emitting diode - LED) มา ใชในงานตางๆ เชน ไฟจราจร, ปาย ทางออก, ปายบอกทาง เปนตน เนือ่ ง จากมีขอ ดี คือ นํากระแสไดเร็ว, ประสิทธิภาพสูง, ทนตอการสั่น และอายุ ใชงานยาวนาน ซึง่ การสองสวางแบบ โซลิดสเตตจะใช LED จํานวนมากตอ อนุกรมกัน (สตริง) โดยรับไฟฟามา จากคอนเวอรเตอรวธิ สี วิตชทคี่ วบคุม กระแสไฟฟา DC ดานออก 5. การใชงานในรถยนต ใน รถยนตมีการควบคุมดวยไฟฟามาก ขึ้นอยางตอเนื่องเพราะความสะดวก สบายมากกวาและทดแทนระบบทาง กลไดมากขึ้น เชน การยกระดับรถ, พวงมาลัยไฟฟา เปนตน ปจจุบันรถไฟฟาไฮบริดถูกนํา มาใชงานเชิงพาณิชยมากขึ้นเนื่อง จากมีขอ ดีจาํ นวนมาก เชน ไดระยะทาง มากขึ้น, ปลอยไอเสียตํ่า เปนตน ซึง่ ความคิดพื้นฐานของรถไฟฟาไฮบริด คือ 1. เครื่องยนตทํางานที่ประสิทธิภาพเหมาะสมไดที่ความเร็วสูง 2. ระหวางเริม่ เรงความเร็วและ ที่ความเร็วตํ่านั้นจะใชกําลังมาจาก มอเตอรที่รับไฟฟาจากแบตเตอรี่ ซึ่ง เปนการลดความสูญเสียและลดการ ปลอยไอเสีย 3. ทีภ่ าวะการเรงสูงนัน้ จะไดกาํ ลัง มาจากทัง้ เครือ่ งยนตและแบตเตอรี่

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

4. ทีภ่ าวะความเร็วสูงนัน้ แบตเตอรี่ จ ะถู ก ชาร จ จากเครื่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟาขับโดยเครื่องยนต ซึ่งมอเตอร ที่ใชในการขับเคลื่อนทางกลจะถูกใช เปนเครื่องกําเนิดไฟฟาดวย 5. ทีภ่ าวะเบรกนัน้ เครือ่ งกําเนิด ไฟฟาจะปอนพลังงานกลับเขาสูแ บตเตอรี่ คอนเวอรเตอรแบบอิเล็กทรอนิกสกาํ ลังจะใชในการควบคุมมอเตอร และเครื่องกําเนิดไฟฟา รวมทั้งการ ชารจแบตเตอรี่ ปจจุบันกําลังพัฒนา รถไฟฟาทีใ่ ชเซลลเชือ้ เพลิงเปนแหลง กําเนิดไฟฟาและสํารองพลังงาน ซึ่ง จะตองใชคอนเวอรเตอรใชรวมกับ เซลล เ ชื้ อ เพลิ ง , ชุ ด เก็ บ พลั ง งาน, มอเตอรและเครื่องกําเนิดไฟฟา รวม ทั้งโหลดอื่นๆ ที่ควบคุมดวยไฟฟา

การผลิตไฟฟากับ อิเล็กทรอนิกสกําลัง

อุปกรณอิเล็กทรอนิกสกําลังมี แนวโนมในการนํามาใชกับการผลิต ไฟฟา, การสงไฟฟา, การจําหนายไฟฟา และผู  ใ ช ป ลายทาง โดยอยู  บ นจุ ด ประสงคของความตองการพลังงาน, การประหยัด, สภาพแวดลอม และขอ กําหนดในการผลิตไฟฟาและสงไฟฟา รวมทั้งความเสถียรของระบบไฟฟา อีกดวย ปจจุบันการผลิตไฟฟามีการใช พลังงานทดแทนมากขึ้น เชน แสง อาทิตย, ลม, นํ้า, ไฮโดรเจน เปนตน โดยตอเชือ่ มระบบผานคอนเวอรเตอร แบบอิเล็กทรอนิกสกาํ ลัง การแกปญ  หา คุณภาพไฟฟา เชน แรงดันไฟฟาตกชัว่ ขณะ (Sag), ฮารมอนิก และแรงดันไฟ กระเพือ่ ม เปนตน ทีเ่ กิดจากอิเล็กทรอนิกสหรือใหกับอิเล็กทรอนิกสจึง จําเปนมากขึน้


คอนเวอรเตอรอิเล็กทรอนิกสกําลัง SSB

SSB ASD STATCOM

DVR

UPFC HVDC

ผลิตไฟฟา

Microgrid สายสง

สายจําหนาย

ผู ใชไฟ

รูปที่ 5 ตัวอยางการตอเครือขายระบบไฟฟากับอุปกรณอิเล็กทรอนิกสกําลัง

อุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสกาํ ลังถูก นํามาใชงานมากขึ้นในระบบไฟฟาที่ เรียกวา “ระบบสายสง AC แบบ ยืดหยุน ” (Flexible AC transmission system - FACT) โดยมีการตอเชื่อม เปนกริดไฟฟาตามตัวอยางในรูปที่ 5 1. ระบบสายสง AC แบบยืด หยุน ระบบสายสง AC แบบยืดหยุน (FACT) เปนระบบที่นําอุปกรณและ คอนเวอร เ ตอร แ บบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส กําลังชนิดตางๆ มาใชควบคุมการไหล ของกําลังในระบบสายสง AC แรงดัน สูง ซึง่ อุปกรณในระบบ FACT มีความ สามารถในการทํางานหลักดังนี้ - ควบคุมการไหลของไฟฟาในสาย สงไดตามที่ตองการ - เพิ่มขนาดกําลังสายสงไดโดยไม ตองมีสายสงใหม - ปรับปรุงทรานเซียนตและความ เสถี ย รของแรงดั น ไฟฟ า รวมทั้ ง คุณภาพไฟฟาไดดี อุปกรณ FACT ที่แตกตางกัน จะควบคุมตัวแปรของระบบสายสงที่ แตกตางกัน เชน อิมพีแดนซของ สายสง, ขนาดแรงดันไฟฟาบัส, มุม เฟส เปนตน เพื่อควบคุมการไหลของ ไฟฟาและความเสถียรใหมากขึ้น 1. คาปาซิเตอรอนุกรมทีค่ วบคุม ดวยไทริสเตอร ในระยะแรกอุปกรณ

รูปที่ 6 ตัวอยางของคาปาซิเตอรอนุกรมที่ควบคุมดวยไทริสเตอร

FACT อยูบนพื้นฐานของไทริสเตอร เชน คาปาซิเตอรอนุกรมทีค่ วบคุมดวย ไทริ ส เตอร (Tyrister-controlled series capacitor - TCSC) ตามรูป ที่ 6 ซึ่ง TCSC เปนอุปกรณ FACT ที่ ตอแบบอนุกรมเพื่อควบคุมอิมพีแดน ซของสายสง รูปที่ 7 (ก) แสดงรายละเอียด

พื้นฐานของ TCSC ที่มีคาปาซิเตอร ขนานกั บ รี แ อกเตอร ที่ ค วบคุ ม ด ว ย ไทริสเตอร (Thyrister-controllered reactor - TCR) ดังนัน้ การควบคุมมุม การลัน่ (Firing angle) ของไทริสเตอร และคารีแอกแตนซของ TCR ทําให สามารถควบคุมอิมพีแดนซหลักมูล ของ TCSC ไดอยางตอเนื่อง มุมการ

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555 29


คอนเวอรเตอรอิเล็กทรอนิกสกําลัง การปรับตั้ง การปอนกลับ

ตัวควบคุม L

Iline

Pe

Pe A2

XL

C โมดูล TCSC (ก) รายละเอียด

V2 sin δ X(1-s)

A1

δ

(ข) ความเสถียรของทรานเซียนต

รูปที่ 7 รายละเอียดพื้นฐานของคาปาซิเตอรอนุกรมที่ควบคุมดวยไทริสเตอร

รูปที่ 8 ตัวชดเชยแบบอนุกรมซิงโครนัสสแตติก

แรงดันไฟฟา, มุมเฟส และอิมพีแดนซ ของสายสงไดในเวลาเดียวกัน รูปที่ 9 (ก) แสดงไดอะแกรมของ UPFC ซึ่ง ประกอบดวยคอนเวอรเตอรแหลง กําเนิดแรงดันไฟฟา (Voltage source converter - VSC) ทีม่ ตี วั ควบคุมแยก กันแตรว มกันเชือ่ มตอ DC ดวยคาปาซิเตอรเก็บพลังงาน DC รูปที่ 9 (ข) เปนความสามารถ ของคอนเวอรเตอรอนุกรมของ UFPC ในการควบคุ ม ขนาดของแรงดั น ไฟฟา, มุมเฟส และอิมพีแดนซ การ ปอนแรงดันไฟฟารวมเฟสหรือไมรว ม เฟสกับแรงดันไฟฟาของสายสงนั้น ทําใหสามารถคุมคาแรงดันไฟฟาได ซึง่ การรวมเฟสจะใหการควบคุมขนาด ของแรงดันไฟฟาไดสูงสุด สวนการ ควบคุมอิมพีแดนซนั้นขนาดของแรง ดันไฟฟาทีป่ อ นจะขึน้ กับกระแสไฟฟา และเฟสของสายสง ในกรณีที่ตอง การควบคุมมุมเฟสนั้นจะควบคุมแรง ดันไฟฟาทีป่ อ นใหสง แรงดันไฟฟาทีม่ ี มุ ม เฟสตามต อ งการโดยไม เ ปลี่ ย น ขนาด 2. ไฟฟาทั่วไป โหลดที่เปน ดิจติ อล เชน โหลดของโรงงานอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอรและศูนยขอ มูล จะตองการไฟฟาทีส่ ะอาดและไมหยุด ชะงัก ซึง่ โหลดดังกลาวไดรบั ผลกระทบ มาจากปญหาคุณภาพไฟฟา เชน ไฟฟา ตกชั่วขณะ (Sag), ไฟฟาหยุดชะงัก, ฮารมอนิกในแรงดันไฟฟา, ความไมสมดุลของเฟส, แรงดันไฟฟากระเพื่อม

ลั่น α เริ่มวัดจากแรงดันไฟฟาของ 3. ตั ว ควบคุ ม การไหลของ คาปาซิเตอร เชน อิมพีแดนซของ ไฟฟารวมกัน (Unified power flow คาปาซิทฟี มีคา 0.5 pu และรีแอกแตน controller - UPFC) เปนอุปกรณ ซ ของอินดักทีฟมีคา 0.1667 pu FACT ที่รวมการทํางานของ STATทําใหควบคุมอิมพีแดนซของ TCSC COM กับ SSSC โดยสามารถปอน ไดตั้งแตคาคาปาซิทีฟ 4 pu ถึงคา กระแสไฟฟาขนาน (ชันต) หรือแรง อินดักทีฟ 2 pu การควบคุม TCSC ดันไฟฟาอนุกรมสําหรับการไหลของ ในความเสถียรของทรานเซียนตแสดง กําลังจริง ทําใหควบคุมกําลังจริงและ ในรูปที่ 7(ข) ทําใหสามารถควบคุม กําลังรีแอกทีฟไดอยางอิสระตอกัน การชดเชยได UPFC สามารถควบคุมตัวแปร 2. ตัวชดเชยแบบอนุกรมซิง- ทั้งหมดของระบบไฟฟา เชน ขนาด โครนัสสแตติก (Static synchronous series compensator - SSSC) ตาม V1 δ 1 V2 δ 2 V'1 + Vinj V1 รูปที่ 8 เปนอุปกรณที่ตอแบบอนุกรม iinj โดยปอนแรงดันไฟฟาทีค่ วามถีซ่ งิ โครShunt V Series นัสกับสายสงไฟฟา ซึ่ง SSSC จะ VSC VSC lline เช อมต อ ควบคุมการไหลของไฟฟาดวยการ ควบคุ ม ขนาด ควบคุ ม อิ ม พี แดนซ ควบคุมเฟส DC ควบคุมขนาดแรงดันไฟฟา, มุมเฟส (ข) ความสามารถในการควบคุม (ก) รายละเอียด และอิมพีแดนซของสายสง รูปที่ 9 ตัวควบคุมการไหลของไฟฟารวมกัน

30

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555


คอนเวอรเตอรอิเล็กทรอนิกสกําลัง ฟอลต ฟอลต

iS

แรงดันที่ปอน

iL A

+ VS -

C

-

UPQC

รูปที่ 10 การใชตัวกูคืนแรงดันไฟฟาแบบไดนามิก

เปนตน ระบบอิเล็กทรอนิกสกําลังจึง ต อ งมี ก ารลดปญหาคุณภาพไฟฟาใน ระบบจําหนายของการไฟฟาฯ (33 kV) 1. ตัวกูคืนแรงดันไฟฟาแบบ ไดนามิก (Dynamic voltage restorer - DVR) จะชวยแกปญหาเนือ่ งจากไฟ ตกในชวงเวลาสัน้ ๆ ซึง่ ทําใหเกิดความ สูญเสียทางอุตสาหกรรมเปนจํานวนมาก DVR เปนอุปกรณไฟฟาทัว่ ไปที่ ถูกติดตัง้ มากทีส่ ดุ เพือ่ ปองกันอุปกรณ ไวจากการรบกวนของแรงดันไฟฟาชวง เวลาสัน้ รูปที่ 10 แสดงรายละเอียด ของ DVR ซึง่ เปนคอนเวอรเตอรแหลง กํ า เนิ ด แรงดั น ไฟฟ า ที่ ป  อ นแรงดั น ไฟฟาความถี่ไลนในขนาดและเฟสที่ เหมาะสมโดยคุมคาแรงดันไฟฟาครอม โหลดไว และการรบกวนจากแรงดัน ไฟฟาดานเขาไมกระจายไปยังโหลด คอนเวอรเตอรดงั กลาวใชสวิตช IGBT ซึง่ ทํางานทีค่ วามถีห่ ลายสิบกิโลเฮิรตซ 2. ตัวปรับคุณภาพไฟฟารวมกัน (Unified power quality conditioner - UPQC) สามารถปอนกระแส ไฟฟาขนาน (ชันต) และแรงดันไฟฟา อนุกรมไดพรอมกัน รูปที่ 11 แสดง รายละเอี ย ดของ UPQC โดยมี โครงสรางเหมือนกับ UPFC ที่ใชใน ระบบสายสงคือ ประกอบดวยคอนเวอรเตอรแหลงกําเนิดแรงดันไฟฟา สองชุดรวมกันเชื่อมตอ DC คอนเวอรเตอรหนึง่ ชุดจะตออนุกรมกับสาย

+ VL โหลด

iinj

โหลด วิกฤติ

DVR

B

Vinj

รูปที่ 11 ตัวปรับคุณภาพไฟฟารวมกัน

จําหนายไฟฟาและปอนแรงดันไฟฟา ที่ควบคุม สวนคอนเวอรเตอรอีกหนึ่ง ชุดจะตอขนานโดยปอนกระแสไฟฟา ที่ควบคุม ดังนั้น UPQC จึงแกความ ไมสมดุลและความผิดเพีย้ นในแรงดัน ไฟฟาไดพรอมกับกระแสโหลด การทีส่ วิตชแบบโซลิดสเตตถูก นํามาใชในการตอกับโหลดวิกฤตเพื่อ ใหไดสายปอนหลายชุดหรือเพื่อตัด กระแสลัดวงจร จึงถูกพิจารณาเปน อุปกรณไฟฟาทัว่ ไป ทัง้ นีก้ ารจัดรูปแบบ อุปกรณเครือขายจะประกอบดวยตัว จํากัดกระแสแบบโซลิดสเตต (Solidstate current limiter - SSCL) และ เบรกเกอรแบบโซลิดสเตต (Solidstate breaker - SSB) รวมทั้งสวิตช ถายโอนแบบโซลิดสเตต (Solid-state transfer switch - SSTS) ทําให

พลังงานนํ้า

ทํางานไดเร็วกวาสวิตชทางกลแบบ ธรรมดาและสรางความเชือ่ ถือไดมาก ขึ้นในระบบจําหนายไฟฟา 3. การเชือ่ มโยงการผลิตไฟฟา สําหรับระบบจําหนายไฟฟา การผลิต ไฟฟาสําหรับระบบจําหนายไฟฟาเปน องคประกอบสําคัญในกริดไฟฟายุค ใหม การผลิตไฟฟาสําหรับระบบจําหนาย ไฟฟาทีใ่ ชพลังงานทดแทน เชน แสง อาทิตย, ลม, นํา้ , ไฮโดรเจน เปนตน จะ เป น แหล ง พลั ง งานสนั บ สนุ น ในยุ ค พลังงานขาดแคลนตามรูปที่ 12 เซลลเชื้อเพลิง, แรงดันไฟฟา พลังงานแสง (Photovoltaic - PV), พลังงานลม และเทอรไบนขนาดเล็ก เปนเทคโนโลยีใหมในการผลิตไฟฟา สําหรับระบบจําหนายไฟฟา โดยสวน ใหญจะตองใชคอนเวอรเตอรแบบ แบตเตอรี่

พลังงานลม เซลลเชื้อเพลิง

เซลล แสงอาทิตย

กริดไฟฟา โรงไฟฟา

ชีวมวล

การจัดการพลังงาน

ดีมานด

รูปที่ 12 การผลิตไฟฟาเชื่อมโยงกับระบบจําหนายไฟฟา

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555 31


คอนเวอรเตอรอิเล็กทรอนิกสกําลัง อิเล็กทรอนิกสกําลังในการเชื่อมโยง กับเครือขายของระบบไฟฟา เซลล เชื้อเพลิงและแรงดันไฟฟาพลังงาน แสงจะต อ งมี ก ารแปลงไฟฟ า DC เปน AC สวนเทอรไบขนาดเล็กจะ ตองมีการแปลงความถี่ไฟฟาสูงเปน ความถี่ไฟฟาของสายสง รูปที่ 13 แสดงไดอะแกรมของ คอนเวอรเตอรที่ใชในการตอแรงดัน ไฟฟาพลังงานแสงกับการไฟฟาฯ แรง ดันไฟฟาดานเขาจากเซลลแสงอาทิตย (โดยปกติอยูระหวาง 52 V ถึง 90 V) ถูกแปลงใหมคี า สูงขึน้ ซึง่ แรงดันไฟฟา DC ทีถ่ กู คุมคาและแยกโดดไดมาจาก คอนเวอรเตอร DC-DC ความถี่สูง แรงดั น ไฟฟ า ต อ เชื่ อ ม DC จะถู ก แปลงเปนแรงดันไฟฟา AC 50Hz โดยใชคอนเวอรเตอรแหลงกําเนิด แรงดันไฟฟาแบบ PWM เซลลเชื้อ เพลิงจะถูกเชือ่ มโยงเขากับกริดไฟฟา ตามไดอะแกรมขางตน ในกรณีของการผลิตไฟฟาจาก ลมขนาดใหญจะประกอบดวยกังหัน ลมหลายเมกะวัตตหลายชุดที่ตอเขา กับกริดไฟฟาฯ ผานเครือขายตัวเก็บ (Collector) แรงดันไฟฟาปานกลาง ตามรูปที่ 14 เครือ่ งกําเนิดไฟฟาชนิดเหนีย่ ว นําแบบโรเตอรแบบพันดวยขดลวด เพื่อผลิตไฟฟาจากลมตามรูปที่ 15 เปนเทคโนโลยีการผลิตไฟฟาจากลม ทีใ่ ชกนั อยางกวางขวาง ซึง่ เครือ่ งกําเนิด ไฟฟาชนิดนีจ้ ะใหพลังงานสูงสุดแมวา ความเร็วลมจะเปลีย่ นแปลง ขดลวด สเตเตอรจะตอโดยตรงเขากับกริ ด ไฟฟาโดยจายกระแสไฟฟาที่ความถี่ ตางๆ ไดจากการควบคุมดวยคอนเวอรเตอร PWM ซึ่งหากควบคุม กระแสไฟฟ า ของโรเตอร ไ ด อ ย า ง เหมาะสม เครื่องกําเนิดไฟฟาชนิดนี้ จะผลิตไฟฟาจากความเร็วตางๆ ได

32

คอนเวอรเตอร DC-DC แบบแยกโดดที่ สํารองพลังงาน แบบไดนามิก

เซลล เชื้อเพลิง

อินเวอรเตอร แบบแยกเฟส

ไลน นิวทรัล ไลน

รูปที่ 13 การตอเซลลเชื้อเพลิงเขากับกริดไฟฟา

รูปที่ 14 ฟารมกังหันลมในการผลิตไฟฟาขนาดใหญ เครองกําเนิดไฟฟาชนิดเหนี่ยวนํา โรเตอรพันดวยขดลวด Vs,abc กังหันลม

Vdc อินเวอรเตอร ดานโรเตอร

อินเวอรเตอร ดานกริดไฟฟา

รูปที่ 15 การตอเครื่องกําเนิดไฟฟาจากลมเขากับกริดไฟฟา

และยั ง เป น การสร า งหรื อ ลดกํ า ลั ง รีแอกทีฟไดอีกดวย

เอกสารอางอิง

1. R. Middlebrook, S. Cuk, “Advances in Switched-mode Power Conversion”, TEGLAco, vol.1, 1981 2. N. Mohan, W.P. Robbins, “Power Electronics Converters, Application, and Design”, 3rd ed., John Wiley&Sons, 2003 3. R.W. Erickson, D. Maksimovic, “Foundamentals of Power Electronics”, 2nd ed., Springer-Verlag, 2001

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

4. J.G. Kassakian, J.M. Miller, N. Traub, “Automotive electronics power up”, IEEE Spectum, vol. 37, May 2000 5. A.I. Pressman, “Swiching Power Supply Design”, 2nd ed., McGrawHill, 1997 6. K. Billings, “Switchmode Power Supply Handbook”, 2nd. ed. McGraw-Hill, 1999. 7. V. Vorperian, “Simpliflied analysis of PWM convertor using model of PWM switch part i : Continuous conduction mode”, IEEE Transaction on Aerospace ands Electronic Systems, vol.26, May 1990 8. N. Mohan, “Advanced Electronic Drives”, MNPERE, 2001


NEC Code 2011

ขวัญชัย กุลสันติธํารงค kwanchai2002@hotmail.com

10 การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ ใน NEC Code 2011 การปรับปรุงมาตรฐานทางไฟฟา NEC Code 2011 มีสาระเกี่ยวของทั้ง เครื่องตัดวงจรไฟฟาเมื่อกระแสรั่วลงดิน (GFCI), เครื่องตัดวงจรไฟฟา เมื่อเกิดอารกไฟฟา (AFCI), กฏการตอลงดิน, กฏการตอฝาก, ขอแนะนําเกี่ยวกับการติดตั้งตัวนําไฟฟา

นประเทศสหรัฐอเมริกา วิศวกรไฟฟา (มืออาชีพ) หลายๆ คน อาจจะมีความรูส กึ ทัง้ รักทัง้ ชังในมาตรฐาน National Electrical Code (NEC) ขาวดีก็คือ มาตรฐานฉบับนี้จะมีการปรับปรุงทุกๆ 3 ป เรียกวาใครไม ชอบตรงไหนก็ทนเอาหนอย เพราะมีชวงการแกไขกันไม นานนักถามีเหตุผลทีจ่ ะแกไขทีด่ พี อ แตขา วรายก็คอื 3 ปนนั้ ก็ไวเหมือนกัน โดยเฉพาะอยางยิง่ เมือ่ วิศวกรไฟฟาเริม่ เขาใจ และคุน เคยกับมาตรฐานกันไมทนั ไรก็มมี าตรฐานฉบับใหมออก มาอีกแลว อยางไรก็ตาม เทคโนโลยีใหมๆ การพัฒนาผลิตภัณฑ ใหมๆ และการวิจัยใหมๆ เปนสิ่งผลักดันใหจําเปนตองมี การปรับปรุงมาตรฐาน NEC อยางตอเนือ่ ง ในบทความฉบับ นีไ้ ดนาํ เสนอสรุปการเปลีย่ นแปลงหลักๆ ของ NEC 2011 ซึง่ ประกอบดวยความตองการใหมของเครือ่ งตัดวงจรไฟฟาเมือ่ กระแสรัว่ ลงดิน (GFCI), เครือ่ งตัดวงจรไฟฟาเมือ่ เกิดอารก ไฟฟา (AFCI), กฏการตอลงดิน, กฏการตอฝาก จนถึงขอ แนะนําเกี่ยวกับการติดตั้งตัวนําไฟฟา รวมถึงบทวิเคราะห ถึงความจําเปนทีต่ อ งปรับปรุง เพิม่ เติม และแกไขมาตรฐาน ในขอนั้นๆ รวมถึงประโยชนที่จะไดรับ ดังนัน้ เพือ่ ใหทนั กับการเปลีย่ น แปลงของโลกในยุค โลกาภิวฒ ั น ผมขอนําเสนอบทความนีเ้ พือ่ เปนขอมูลเบือ้ งตน ถึงการปรับปรุงมาตรฐานทางไฟฟา NEC Code 2011 ครัง้ ลาสุดนี้ ซึง่ มาตรฐาน NEC เปนมาตรฐานทีใ่ ชอา งอิงอยูใ น ขณะนีก้ นั ทัว่ โลก รวมถึงในประเทศไทยนี้ดวย

110.24 Available Fault Current มาตรฐานขอนี้เปนความตอง การใหมที่ตองการให ทําเครื่องหมายที่อุปกรณถึงขนาดกระแสไฟฟาลัดวงจรที่ สามารถจะเกิดขึน้ ได โดยตองแกไขใหเปนขอมูลลาสุดหาก มีการปรับปรุงระบบไฟฟากําลังเกิดขึ้น โดยมีเนื้อหาดังนี้ (A) Field Marking ตองมีการติดปายแสดงราย ละเอียดของกระแสไฟฟาลัดวงจรสูงสุดที่อาจจะเกิดขึ้น ไดใหชัดเจนที่บริภัณฑประธาน (ของสถานที่ที่ไมใชที่พัก อาศัย) โดยตองระบุวนั ทีท่ คี่ าํ นวณนี้ ปายนีต้ อ งทนตอสภาพ แวดลอมดวย (B) Modification ในกรณีทมี่ กี ารปรับปรุงระบบ ไฟฟากําลังจนกระทบตอขนาดกระแสไฟฟาลัดวงจรสูงสุดที่ บริภณ ั ฑประธาน ตองมีการคํานวณคากระแสไฟฟาลัดวงจร สูงสุดทีบ่ ริภณ ั ฑใหมเพือ่ ใหแนใจวาบริภณ ั ฑประธานมีพกิ ดั เพียงพอที่จะรับกระแสไฟฟาลัดวงจรสูงสุดที่ขั้วตอสายได ตองมีการแกไขรายละเอียดของปายใหแสดงคาลาสุดของ ขนาดกระแสไฟฟาลัดวงจรดวย วิเคราะห โดยทั่วไปอุปกรณไฟฟาทุกชนิดจะมีพิกัด ตัดวงจรหรือพิกัดตัดกระแสที่มากกวาขนาดกระแสไฟฟา ลัดวงจรสูงสุด เนือ่ งจากวา เมือ่ เวลาผานไปในอาคารหรือโครงการนัน้ ๆ อาจจะมีการปรับปรุงเพือ่ เพิม่ ขนาดหมอแปลงไฟ ฟาใหเกิดประสิทธิภาพหรือเพื่อเพิ่มความสามารถในการ จายพลังงานไฟฟา เมือ่ เกิดกรณีนขี้ นึ้ จะทําใหขนาดกระแส

1

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

33


NEC Code 2011 $ $YDLODEOH )DXOW &XUUHQW )LHOG 0DUNLQJ

ъѼѥѯзіѪѷѠкўєѥѕъѨѷэіѧѓѤцфҙюіѣыѥь ъѨѷѳєҕѲнҕеѠкъѨѷѠѕѬҕѠѥћѤѕ ѱчѕъѨѷ ѰѝчкщѩкеьѥчдіѣѰѝѳђђґѥјѤчњк ліъѨѷлѣѯдѧчеѩѸьѳчҖ оѩѷкѲьдіцѨ $ )LHOG 0DUNLQJ лѣшҖѠкѰлҖкњѤь ъѨ шѧ ѷ чшѤѸк ѰјѣюґѥѕѰѝчклѣшҖѠкъь шҕѠѝѓѥёѰњчјҖѠєъѨѷѯюҝьѠѕѬҕ ZZZ PLNHKROW FRP

ъѨѷєѥ ZZZ PLNHKROW FRP

รูปที่ 1 การทําเครื่องหมายแสดงขนาดกระแสไฟฟาลัดวงจรที่สามารถจะเกิดขึ้นไดที่อุปกรณ (110.24 Available Fault current (A) Field Marking)

ไฟฟาลัดวงจรสูงสุดจะเพิ่มขึ้นจนทําใหระบบการเดินสาย ไฟฟาไมเปนไปตามมาตรฐานและเปนอันตรายได มาตรฐาน NEC ตองการที่จะทําใหผูใชมาตรฐานมี ความตืน่ ตัววาเมือ่ มีการเปลีย่ นขนาดหมอแปลงไฟฟากําลัง หรือติดตั้งเครื่องกําเนิดไฟฟาสํารองใหม ตองมีการตรวจ สอบพิกดั ตัดวงจรของอุปกรณไฟฟาทีเ่ กีย่ วของใหมทกุ ครัง้ GFCI 2 210.8 Protection มาตรฐานขอนีก้ าํ หนดความตองการใหมเกีย่ วกับการ เขาถึง (Accessibility) เครื่องตัดวงจรไฟฟาเมื่อกระแส รั่วลงดินเพื่อทดสอบและรีเซ็ตอุปกรณใหทํางานใหม โดย มีเนื้อหาดังนี้ เครือ่ งตัดวงจรไฟฟาเมือ่ กระ แสรัว่ ลงดินตองติดตัง้ ในบริเวณที่เขาถึงไดงาย (Readily accessible) วิเคราะห เมื่อกอนมาตรฐาน NEC ไมไดกําหนด ความตองการในการเขาถึงอุปกรณเพื่อทดสอบหรือรีเซ็ต อุปกรณใหม ทําใหเกิดปญหา 2 ประการ คือ ประการแรก เจาของอาคารตองใชบันไดในการปน ปาย ทําใหเกิดความไมสะดวกในการเขาถึงอุปกรณเพื่อ ทําการรีเซ็ตอุปกรณใหมอีกครั้งเมื่อเครื่องตัดวงจรไฟฟาฯ ทํางาน ประการทีส่ อง เครือ่ งตัดวงจรไฟฟาฯ ทีไ่ ดมาตรฐาน ตองมีการทดสอบอุปกรณทกุ เดือน ผูใ ชงานสวนใหญละเลยที่

34

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

จะทดสอบอุปกรณดงั กลาว ผูใ ชงานบางคนตองการจะทดสอบ อุปกรณ แตไมตอ งการใชบนั ไดหรือเครือ่ งมืออืน่ ๆ เพือ่ เขา ถึงเครือ่ งตัดวงจรไฟฟาฯ ถาไมสามารถเขาถึงเครือ่ งตัดวงจร ไฟฟาฯ นั้นไดโดยงาย มาตรฐานยังไดกําหนดใหเพิ่มตําแหนงที่ตองติดตั้ง เตารับไฟฟาที่มีการปองกันกระแสรั่วลงดินในบริเวณดูแล ผูปวย (patient care areas) ของสถานพยาบาล โดยมี เนื้อหาดังนี้ 210.8(B)(5) Sink เตารับไฟฟาขนาด 15 A และ 20 A ที่พิกัดแรงดัน 125 V ที่ติดตั้งภายในระยะ 6 ฟุต จากขอบของอางลางมือตองมีการปองกันกระแสรั่วลงดิน Ex. 1: ในหองทดลองในโรงงานอุตสาหกรรมการ ตัดไฟของเตารับอาจจะกอใหเกิดอันตรายมากกวาดังนั้น ไมตองมีการปองกันกระแสรั่วลงดินที่เตารับ Ex. 2: เตารับไฟฟาที่ติดตั้งที่เตียงคนไขในพื้นที่ General care หรือ Critical care areas ภายในสถานพยาบาล ไมตอ งมีการปองกันกระแสรัว่ ลงดิน วิเคราะห การเปลี่ยนแปลงจากมาตรฐาน NEC 2008 กํ า หนดให ต  อ งมี ก ารป อ งกั น กระแสรั่ ว ลงดิ น ใน บริเวณที่อยูใกลกับอางลางมือภายในสถานที่ที่ไมใชที่อยู อาศัย (Nondwelling occupancies) เนื่องจากวามีขอ กังวลถึงความจําเปนตองใชอุปกรณชวยชีวิตที่ตองรับไฟ จากเตารับที่ไมตองมีการปองกันกระแสรั่วลงดิน ดังนั้นจึง


NEC Code 2011 ทําใหตองเพิ่มขอยกเวนกับเตารับไฟฟาทั้งหมดในบริเวณ ที่รักษาคนไข (Patient care area) ไมตองมีการปองกัน กระแสรั่วลงดิน มาตรฐานยังไดกําหนดใหเพิ่มการปองกันกระแสรั่ว ลงดินในบริเวณที่ชื้นแฉะที่อยูภายในสถานที่ที่ไมใชที่อยู อาศัย 210.8(B)(6) Indoor wet locations เตารับไฟฟา ขนาด 15 A และ 20 A ที่พิกัดแรงดัน 125 V ที่ติดตั้ง ในบริเวณที่ชื้นแฉะที่อยูอาคารตองมีการปองกันกระแส รั่วลงดิน วิเคราะห ในหลายพืน้ ทีท่ อี่ ยูภ ายในอาคารเชน ทีล่ า ง รถ, ทีเ่ ตรียมอาหาร และพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ทีม่ ลี กั ษณะเดียวกัน มี โอกาสทีผ่ ทู ปี่ ฏิบตั งิ านอยูจ ะไดรบั อันตรายจากไฟฟาดูดเชน เดียวกับบริเวณทีอ่ ยูภ ายนอกอาคาร แตกไ็ มเคยมีการปองกัน กระแสรัว่ ลงดินเลย ในการปรับปรุงมาตรฐาน NEC 2011 ฉบับนีจ้ งึ ไดเพิม่ การปองกันกระแสรัว่ ลงดินเชนเดียวกันกับ ทีไ่ ดมกี ารปองกันกับบริเวณทีอ่ ยูภ ายนอกอาคาร มาตรฐานยั ง ได กํ า หนดให มี ก ารเพิ่ ม การป อ งกั น กระแสรั่วลงดินของเตารับที่อยูใกลฝกบัว (Shower) 210.8(B)(7) Locker Rooms เตารับไฟฟาทัง้ หมด ที่มีขนาด 15 A และ 20 A ที่พิกัดแรงดัน 125 V ซึ่งติด ตั้งในหองล็อกเกอรที่มีฝกบัวติดตั้งอยู ตองมีการปองกัน กระแสรั่วลงดิน

วิเคราะห การปองกันกระแสรั่วลงดินของเตารับ ไฟฟาที่ติดตั้งในหองอาบนํ้าไดมีการบังคับใชนานแลว รวม ถึงคํานิยามของคําวา “หองอาบนํ้า” (Bathroom) ก็ไดมี การกําหนดไวอยางชัดเจนในมาตรฐานขอ 100 แตก็ยังไม ครอบคลุมถึง “หองล็อกเกอร” แตก็มีอันตรายเกิดขึ้นเชน เดียวกันในหองล็อกเกอร และบางทีก็อาจจะมากกวาดวย ซํ้า เพราะหองล็อกเกอรสมัยนี้มักจะมีฝกบัวไวใชอาบนํ้า ดวย แถมพื้นก็ยังปูกระเบื้อง คนที่ใชก็มักจะเดินเทาเปลา ทั้งๆ ที่เทายังเปยกอยู และมีโอกาสที่คนจะใชอุปกรณ ไฟฟาเชน เครื่องโกนหนวด, เครื่องเปาผม, เครื่องมวน ผม เปนตน ดังนัน้ การปองกันกระแสรัว่ ลงดินของเตารับไฟฟาใน หองล็อกเกอรจึงมีความจําเปนที่ตองเพิ่มเติมในมาตรฐาน NEC 2011 มาตรฐานไดกาํ หนดใหเพิม่ เติมการปองกันกระแสรัว่ ลงดินของเตารับไฟฟาทีต่ ดิ ตัง้ ในอูซ อ มรถยนต หรือโรงซอม รถยนต (ที่ไมใชอยูในบานพักอาศัย) 210.8(B)(8) Garage เตารับไฟฟาทัง้ หมดทีม่ ขี นาด 15 A และ 20 A ที่พิกัดแรงดัน 125 V ซึ่งติดตั้งในอูซอม รถยนต โรงซอมรถยนต และพื้นที่ที่มีลักษณะเดียวกันที่ ซึ่งมีการใชอุปกรณในการตรวจสอบ, อุปกรณไฟฟาที่ใช งานดวยมือ หรือไฟฟาแสงสวางชนิดใชมือถือตองมีการ ปองกันกระแสรั่วลงดิน % *)&, 3URWHFWHG 5HFHSWDFOHV 2WKHU 7KDQ 'ZHOOLQJ 8QLW *DUDJHV

ѯшҖѥіѤэѳђђґѥъѤѸкўєчъѨѷєѨеьѥч $ Ѱјѣ $ ъѨѷёѧдѤч 9 оѩѷкшѧчшѤѸкѲь ѠѬҕоҕѠєіщѕьшҙ ѱікоҕѠєіщѕьшҙ Ѱјѣ ёѪѸьъѨѷъѨѷєѨјѤдќцѣѯчѨѕњдѤь шҖѠкєѨдѥі юґѠкдѤьдіѣѰѝіѤѷњјкчѧь ъѨѷєѥ ZZZ PLNHKROW FRP

ѯшҖѥіѤэшҖѠкєѨ дѥіюґѠкдѤь діѣѰѝіѤѷњјкчѧь ZZZ PLNHKROW FRP

รูปที่ 2 ตําแหนงปองกันกระแสรั่วลงดินของเตารับไฟฟาที่ติดตั้งในอูซอมรถยนต (210.8(B)(8) GFCI - Protected Receptacles other than Dwelling Unit Garage)

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

35


NEC Code 2011 วิเคราะห มาตรฐานใหมนขี้ ยายการปองกันกระแสรั่ว ลงดินใหครอบคลุมอู (รับ) ซอมรถยนต ทีผ่ า นมามาตรฐาน ขอ 511 ใหมีการปองกันกระแสเกินเฉพาะโรงซอมรถยนต ที่มีของเหลวหรือกาซที่ติดไฟไดงายที่ใชเปนเชื้อเพลิง ซึ่งจริงๆ แลวอันตรายที่เกิดจากไฟฟาดูดไมไดขึ้นอยูกับ ประเภทของเชื้อเพลิงที่ใชแตอยางใด 250.2 Bonding Jumper, 3 Supply - Side มีการเพิ่มเติมคํานิยามใหมของคําวา “supply side bonding jumper” สายตอฝากดานไฟเขา 250.2 นิยาม Bonding Jumper, Supply - Side: สายตอฝาก ดานไฟเขา หมายถึง ตัวนําทีอ่ ยูท ดี่ า นไฟเขาหรืออยูภ ายใน ระบบประธานหรือระบบที่มีตัวจายแยกตางหาก เพื่อให แนใจวาการนําไฟฟาระหวางสวนที่เปนโลหะที่ตองการมี การตอถึงกันทางไฟฟา วิเคราะห เนือ่ งจากมีการใชสายตอฝากของบริภณ ั ฑ กันบอยๆ ถึงแมวาการกําหนดขนาดของสายตอฝากขึ้นอยู กับตําแหนงของสายตอฝากในวงจร โดยทั่วไปขนาดของ ตัวนําที่ใชตอฝากที่อยูหลังเครื่องปองกันกระแสเกินเปน ไปตามตารางที่ 250.122 ซึ่งขึ้นอยูกับพิกัดเครื่องปองกัน กระแสเกิน การกําหนดขนาดของตัวนําที่ใชตอฝากที่อยู ดานหนาของเครื่องปองกันกระแสเกิน เชน ดานไฟเขา

ของระบบประธานหรืออยูระหวางหมอแปลงไฟฟาและ แผงยอยเปนไปตามตาราง 250.66 และกฏ 12 1/2 % ในขอ 250.102(C) การแกไขมาตรฐานใหมนไี้ มเพียงแตกาํ หนดคํานิยาม ใหมใหกับตัวนําที่มีอยูเดิมใหมีความเที่ยงตรงขึ้นแลว ยัง ชวยใหขจัดความสับสนในการกําหนดขนาดตัวนําที่ใชตอ ฝากหมดไปดวย Grounding 4 250.30 Separately, Derived System หมวดนี้ มี ก ารเรี ย บเรี ย งใหม แ ละแก ไ ขเพื่ อ ให ครอบคลุมความตองการของการตอลงดินและการตอฝาก ของระบบที่มีตัวจายแยกตางหาก โดยมีเนื้อหาดังนี้ (A) Grounded Systems ระบบที่มีตัวจายแยก ตางหากตองมีการตอลงดินและตอฝากตามมาตรฐานขอ (A)(1) ถึง (A)(8) (3) System Neutral Conductor Size: ความ ตองการเหลานี้มีผลบังคับในกรณีที่มีการตอฝากที่เครื่อง ปลดวงจรแทนที่จะเปนที่แหลงจายไฟ (a) Sizing for Single Raceway: เนื่องจากตัวนํา นิวทรัลของระบบทีม่ ตี วั จายแยกตางหากถูกใชเปนทางผาน ทีม่ ปี ระสิทธิผลของกระแสรัว่ ลงดิน ดังนัน้ ตัวนํานิวทรัลตอง เดินสายไปพรอมกับตัวนําที่ไมไดตอลงดินของระบบที่มีตัว จายแยกตางหากและตองมีขนาดไมเล็กไปกวาที่ระบุไวใน %RQGLQJ -XPSHU 6XSSO\ 6LGH 66%- 'HILQLWLRQ ѝѥѕшҕѠѐѥдѲь іѣээюіѣыѥь

шѤњьѼѥшҕѠјкчѧь еѠкэіѧѓѤцфҙ

ѝѥѕшҕѠѐѥд чҖѥьѳђѯ еҖѥ

ѝѥѕшҕѠѐѥдчҖѥьѳђѯеҖѥ %RQGLQJ -XPSHU 6XSSO\ 6LGH 66%- ўєѥѕщѩк шѤњьѼѥъѨѷѠѕѬҕъѨѷчҖѥьѳђѯеҖѥўіѪѠѠѕѬҕѓѥѕѲьіѣээюіѣыѥьўіѪѠ іѣээъѨѷєѨшѤњлҕѥѕѰѕдшҕѥкўѥд ѯёѪѷѠѲўҖѰьҕѲлњҕѥдѥіьѼѥѳђђґѥіѣўњҕѥк ѝҕњьъѨѷѯюҝьѱјўѣъѨѷшҖѠкдѥієѨдѥішҕѠщѩкдѤьъѥкѳђђґѥ ъѨѷєѥ ZZZ PLNHKROW FRP

ZZZ PLNHKROW FRP

รูปที่ 3 การใหนิยามใหมของ “สายตอฝากดานไฟเขา” (250.2 Definition: Supply-Side Bonding Jumper (SSBJ))

36

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555


NEC Code 2011 ตาราง 250.66 โดยขึ้นอยูกับพื้นที่ของตัวนําที่ไมไดตอลง ดินของระบบที่มีตัวจายแยกตางหาก (b) Parallel Conductors in Two or More Raceways: ถาตัวนําของระบบทีม่ ตี วั จายแยกตางหากเดินสายขนานกัน อยูภ ายในสองชองเดินสายหรือมากกวา ตัวนํานิวทรัลของ ระบบที่มีตัวจายแยกตางหากที่อยูภายในแตละชองเดิน สายหรือสายเคเบิลตองมีขนาดไมเล็กกวาทีร่ ะบุไวในตาราง 250.66 โดยขึน้ อยูก บั ขนาดของตัวนําทีไ่ มไดตอ ลงดินทีใ่ หญ ทีส่ ดุ ในชองเดินสายหรือสายเคเบิล กําหนดใหขนาดของตัว นํานิวทรัลของระบบทีม่ ตี วั จายแยกตางหากตองมีขนาดไมเล็ก กวา 1/0 AWG (6) Grounding Electrode Conductor, Multiple Separately Derived Systems (a) Common Grounding Electrode Conductor: สิ่งใดสิ่งหนึ่งตอไปนี้สามารถใชเปนตัวนําตอหลักดินหรือ สายตอหลักดินรวมได (1) ตัวนําทองแดงที่ไมเล็กกวา 3/0 AWG หรือ ตัวนํา อะลูมิเนียมที่ไมเล็กกวา 250 kcmil (2) อาคารทีเ่ ปนโครงโลหะ / โครงสรางโลหะที่มีคุณสมบัติ ตามมาตรฐาน ขอ 250.52(A)(2) หรือ มีการตอลงดิน ดวยตัวนําทองแดงขนาดไมเล็กกวา 3/0 AWG หรือ ตัวนําอะลูมเิ นียมขนาดไมเล็กกวา 250 kcmil

(C) Outdoor Source ถาระบบทีม่ ตี วั จายแยกตาง หากอยูภ ายนอกอาคารหรือภายนอกโครงสรางใดๆ ตองทําการ เชือ่ มตอกับหลักดิน ณ บริเวณทีร่ ะบบทีม่ ตี วั จายแยกตางหาก ติดตัง้ อยู วิเคราะห เมื่อพิจารณาเนื้อหาในหมวดนี้ อาจพูดไม ไดเต็มปากวาเปนการปรับปรุงและแกไขใหมทั้งหมด แตมี บางหัวขอที่นาสนใจ Section 250.30(A)(3) เปนการนําขอความที่เมื่อ กอนอยูในหัวขอ 250.30(A)(8) มาใช อยางไรก็ตาม มีการ เพิม่ เติมขอความใหมเพือ่ เปนแนวทางในการคํานวณขนาด ของตัวนําทีต่ อ ลงดินของระบบ Delta (Corner grounded) ในกรณีนตี้ วั นําทีต่ อ ลงดินตองมีขนาดเดียวกับตัวนําทีไ่ มได ตอลงดิน Section 250.30(A)(6) ไดเปลี่ยนแปลงตัวนําตอ หลักดินหรือสายตอหลักดินของระบบที่มีตัวจายแยกตาง หากหลายระบบ โดยสามารถใชโครงโลหะเพื่อตอระบบ ที่มีตัวจายแยกตางหากหลายระบบลงดินในกรณีที่โครง โลหะเปนไปตามมาตรฐานขอ 250.52(A)(2) หรือตอกับ ระบบหลักดินดวยตัวนําที่มีขนาดไมนอยกวา 3/0 AWG CU หรือ 250 kcmil AL Section 250.90(C) เปนหมวดใหมในมาตรฐาน NEC 2011

$ D 6HSDUDWHO\ 'HULYHG 6\VWHP 6'6 ± 1HXWUDO 6L]H 6\VWHP %RQGLQJ -XPSHU DW 'LVFRQQHFW шѤњьѼѥьѧњъіѤјлѣшҖѠкѯчѧьѝѥѕѳю ёіҖѠєдѤэшѤњьѼѥъѨѷѳєҕѳчҖшҕѠјкчѧь ѝѥѕшҕѠѐѥд еѠкіѣээ

ѯзіѪѷѠкюјчњклі діцѨѲнҖнҕѠкѯчѧьѝѥѕнҕѠкѯчѨѕњ ѰјѣєѨдѥішҕѠѐѥдъѨѷѯзіѪѷѠкюјчњклі шѤњьѼѥ ьѧњъіѤјлѣшҖѠкєѨеьѥчѳєҕѯјѶддњҕѥъѨѷіѣэѫѳњҖѲьшѥіѥк ѱчѕеѩѸьѠѕѬҕдѤэ ёѪѸьъѨѷеѠкшѤњьѼѥъѨѷѳєҕѳчҖшҕѠјкчѧьеѠкіѣээъѨѷєѨшѤњлҕѥѕѰѕдшҕѥкўѥд ъѨѷєѥ ZZZ PLNHKROW FRP

ZZZ PLNHKROW FRP

รูปที่ 4 แกไขและเรียบเรียงใหมเกี่ยวกับการตอลงดินและการตอฝากของระบบที่มีตัวจายแยก (250.30(A)(3)(a) Separately Derived System (SDS) - Neutral Size System Bonding Jumper at Disconnect)

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

37


NEC Code 2011 250.52 (A) Electrodes Permitted for Grounding มีการปรับปรุงมาตรฐานขอนีใ้ หมเพือ่ กําหนดวากรณี ใดสามารถใชโครงโลหะ (Structural metal frame) เปน หลักดินได รวมถึงอธิบายความตองการของแทงตัวนํา หุมดวยคอนกรีต, แทงหลักดิน และแผนตัวนําไฟฟาที่ใช แทนหลักดิน 250.52 ชนิดของหลักดิน (Grounding Electrode Types) (A) ตัวนําที่อนุญาตใหใชเปนหลักดิน (1) ยอมใหใชทอประปาชนิดโลหะฝงใตดินและ สัมผัสกับดินที่ความลึกตั้งแต 10 ฟุต (ประมาณ 3 เมตร) เปนตนไปเปนหลักดิน (2) อาคารทีเ่ ปนโครงโลหะหรือโครงสรางทีเ่ ปนโลหะ สามารถใชเปนหลักดินไดเมื่อเปนไปตามเงื่อนไขอยางใด อยางหนึ่งดังตอไปนี้ (1) มีโครงสรางโลหะอยางนอยสวนใดสวนหนึ่งที่สัมผัส กับดินโดยตรงที่ความลึกตั้งแต 10 ฟุตหรือมากกวา นั้นโดยมีหรือไมมีคอนกรีตหอหุมก็ได (2) มีสลัก (Bolt) ทีท่ าํ หนาทีย่ ดึ เสาเหล็กใหแข็งแรงเชือ่ ม ตอกับหลักดินที่หุมดวยคอนกรีตดวยวิธีการเชื่อม, วิธี Exothermic welding หรือวิธีอื่นที่ไดรับการ ยอมรับ

5

ѱзікѝіҖѥкѱјўѣ ѯюҝьўјѤдчѧь

(3) หลักดินทีห่ อ หุม ดวยคอนกรีต (Concrete - Enhanced Electrode) ตองมีความยาว 20 ฟุตของ (1) หรือ (2) อยางใดอยางหนึ่ง (1) เหล็กเสริมแรงเปลือย หรือเคลือบดวยสังกะสี (zincgalvanized) หรืออื่นๆ ที่มีขนาดเสนผานศูนยไมนอย กวา 1/2 นิ้ว มีคุณสมบัตินําไฟฟาได จํานวนหนึ่งแทง หรือมากกวา ซึง่ เชือ่ มตอกันดวยวิธที างกลเชนผูกดวย ลวด, ดวยวิธีการเชื่อม หรือวิธีที่มีประสิทธิผลอื่นๆ ทําใหมีความยาว 20 ฟุตหรือมากกวา (2) ตัวนําทองแดงเปลือยมีขนาดไมเล็กกวา 4 AWG (4) หลั ก ดิ น ที่ มี ลั ก ษณะเป น วงกลม (Ground Ring Electrode) ประกอบดวยตัวนําทองแดงเปลือย ยาวอยางนอย 20 ฟุตขนาดไมเล็กกวา 2 AWG ฝงดิน โดยตรงรอบอาคารหรือโครงสรางทําหนาที่เปนหลักดินได (5) หลักดินชนิดแทงและทอ (Ground Rod and Pipe Electrode) หลักดินชนิดนี้ตองมีความยาวไมนอย กวา 8 ฟุต และตองสัมผัสกับดินโดยตรง (b) หลักดินชนิดแทง (Rod - type electrode): ตอง มีเสนผานศูนยกลางอยางนอย 5/8 นิ้ว เวนแตวากําหนด ไวเปนอยางอื่น (6) หลักดินที่ไดรับการรับรอง (Listed Electrode) (7) หลักดินชนิดแผน (Ground Plate Electode) เหล็กแผนเปลือยหรือเคลือบดวยสารที่นําไฟฟาไดมีความ $ 0HWDO )UDPH RI %XLOGLQJ (OHFWURGH

ѝјѤдѯдјѨѕњъѨѷѲнҖѕѩчѯѝѥѯўјѶдѲўҖѰеѶкѰікоѩѷкшҕѠдѤэўјѤдчѧьъѨѷ ўѫҖєчҖњѕзѠьдіѨш шѥє $

чҖњѕњѧыѨдѥіѯнѪѷѠє дѥіѯнѪѷѠєѰээ ([RWKHUPLF ўіѪѠњѧыѨѠѪѷьъѨѷѳчҖіѤэдѥіѕѠєіѤэ ъѨѷєѥ ZZZ PLNHKROW FRP

ZZZ PLNHKROW FRP

รูปที่ 5 การกําหนดการใชโครงโลหะของอาคารเปนหลักดิน (250.52(A)(2)(2) Metal Frame of Building Electrode)

38

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555


NEC Code 2011 หนาไมนอ ยกวา 1/4 นิว้ หรือแผนทองแดงทีไ่ มมกี ารเคลือบ ใดๆ มีความหนาไมนอ ยกวา 0.06 นิว้ มีพนื้ ทีผ่ วิ ไมนอ ยกวา 2 ตารางฟุต (8) ระบบหลักดินโลหะฝงใตดนิ (Metal underground system electrode) ระบบทอโลหะฝงดิน, ถังนํ้าโลหะ ใตดนิ และตัวถังโลหะของบอนํา้ ใตดนิ สามารถใชเปนหลัก ดินได วิเคราะห ในการปรับปรุงมาตรฐาน NEC Code หลายครั้งที่ผานมา ไดพยายามที่จะระบุใหชัดเจนวาเมื่อ ไหรสามารถใชโครงสรางเหล็กของอาคารหรือสิง่ ปลูกสราง เปนหลักดินได ที่ผานมามาตรฐานอนุญาตใหใชโครงสราง โลหะเปนหลักดินไดถา ไดเชือ่ มตอกับแทงหลักดินทีม่ คี วาม ตานทานเทียบกับดิน 25 โอหมตามมาตรฐานฉบับกอนขอ 250.56 ซึ่งฉบับปรับปรุงใหมนี้ไดตัดออกไปแลว เนื่องจาก เปนวิธีที่ไมมีความจําเปนอีกตอไป Rod, Pipe, 6 250.53(A) and Plate Electrode ไดปรับปรุงกฏ 25 โอหมใหเหมาะสมขึ้น และมีการ อธิบายทางเทคนิคใหชัดเจนรวมถึงมีการเรียบเรียงเนื้อหา ในหมวดนี้ใหม 250.53 Grounding Electrode Installation Requirement (A) Rod, Pipe or Plate Electrode (1) Below Permanent Moisture Level: ถาทําได

ตองฝงหลักดินทีม่ ลี กั ษณะเปนแทง, เปนทอ หรือเปนแผนให อยูใ ตระดับความชืน้ ถาวร และหลักดินเหลานีต้ อ งปราศจาก การเคลือบดวยสารทีไ่ มนาํ ไฟฟา เชน สี หรืออีนาเมล (2) Supplemental Electrode: หลักดินเดีย่ วจํานวน แทงเดียว, ทอเดียว หรือแผนเดียว ตองเสริมดวยหลักดิน อืน่ ๆ เพิม่ เติม โดยหลักดินเสริมเพิม่ เติมตองเชือ่ มตอกับสิง่ ใดสิ่งหนึ่งดังตอไปนี้ (1) หลักดินเดี่ยวจํานวนแทงเดียว, ทอเดียว หรือ แผน เดียวดังกลาว (2) สายตอหลักดิน (Grounding electrode conductor) ของหลักดินเดี่ยวดังกลาว (3) ตัวนํานิวทรัลของตัวนําประธาน (Service entrance conductor) (4) ทอสายของตัวนําประธานที่มีการตอลงดิน (5) สิ่งหอหุมของบริภัณฑประธาน Ex.: ถาหลักดินเดีย่ วจํานวนแทงเดียว, ทอเดียว หรือ แผนเดียวดังกลาวมีคาความตานทานเทียบกับดิน (Earth contact resistance) 25 โอหมหรือนอยกวานั้น ไมจําเปน ตองมีหลักดินเสริมเพิ่มเติม (3) ระยะหาง (Spacing): ตองติดตั้งหลักดินเสริม เพิ่มเติมใกลกับหลักดินเดี่ยวไมนอยกวา 6 ฟุต Note: สามารถปรับปรุงประสิทธิภาพของหลักดินที่ ขนานกันใหดีขึ้นไดโดยมีระยะหางระหวางหลักดินทั้งสอง อยางนอยสองเทาของหลักดินที่ยาวที่สุด $ 6XSSOHPHQWDO (OHFWURGH 6SDFLQJ ўјѤдчѧьѯѝіѧєъѨѷшѧчшѤѸк ѯюҝьѰъҕкѯчѨѕњ ъҕѠѯчѨѕњ ўіѪѠѰяҕьѯчѨѕњ шҖѠкѯѝіѧє чҖњѕўјѤдчѧьѠѪѷьѵ ѯёѧѷє ѯшѧє ѱчѕєѨіѣѕѣіѣўњҕѥк дѤьѳєҕьҖѠѕдњҕѥ ђѫш

ъѨѷєѥ ZZZ PLNHKROW FRP

іѣѕѣьҖѠѕъѨѷѝѫч ђѫш

ZZZ PLNHKROW FRP

รูปที่ 6 การปรับปรุงเกี่ยวกับหลักดิน (250.53(A)(3) Supplemental Electrode Spacing)

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

39


NEC Code 2011 วิเคราะห มาตรฐานขอนี้ไดกําหนดความตานทาน เทียบกับดิน 25 โอหมเปนขอยกเวน ซึ่งสอดคลองกับขอ ปฏิบัติในวงการการติดตั้งทางไฟฟาที่มักจะติดตั้งหลักดิน จํานวน 2 หลักแทนที่จะวัดคาความตานทานเทียบกับดิน ของหลักดินเดี่ยว Use of Equipment 7 250.121 Grounding Conductors มาตรฐานขอนี้เปนมาตรฐานขอใหมที่เพิ่มเติมเพื่อ หามไมใหใชตวั นําสําหรับตอลงดินหรือสายดินของบริภณ ั ฑ (Equipment grounding conductor) เปนตัวนําตอหลักดิน หรือสายตอหลักดิน (Grounding electrode conductor) 250.121 Use of Equipment Grounding Conductors หามไมใหใชตัวนําสําหรับตอลงดินหรือสายดิน ของบริภัณฑเปนตัวนําตอหลักดินหรือสายตอหลักดิน วิเคราะห ตัวนําตอหลักดินหรือสายตอหลักดิน (GEC) ถูกออกแบบใหเปนทางผานที่กระแสเหนี่ยวนํา จากฟาผาไหลลงดิน ขณะทีต่ วั นําสําหรับตอลงดินหรือสาย ดินของบริภัณฑ (EGC) เปนเสนทางที่กระแสรั่วลงดิน ไหลกลับสูแ หลงจายไฟของระบบเพือ่ ทําใหอปุ กรณปอ งกัน กระแสเกินตัดวงจรในขณะเกิดสภาวะกระแสรั่วลงดิน การกําหนดขนาดของตัว นําทัง้ สองชนิดนีม้ คี วาม แตกตางกั น การกํ า หนดขนาดของตั ว นํ า สํ า หรั บ ต อ ลง ดินหรือสายดินของบริภัณฑเปนไปตามมาตรฐาน NEC

Clause 250.122 ขณะที่การกําหนดขนาดของตั ว นต อ หลั ก ดิ น หรื อ สายตอหลักดินเปนไปตามมาตรฐาน NEC Clause 250.66 เพราะว า ตัวนําเหลานีอ้ อกแบบภายใต ขอกําหนด, ขนาดของตัวนําและวิธกี ารติดตัง้ ทีแ่ ตกตางกัน จึงเปนเหตุผลทีต่ อ งกําหนดขอกําหนดใหมเพิม่ เติมเพือ่ ยืนยัน วาไมมตี วั นําใดๆเพียงตัวนําเดียวทีจ่ ะทําหนาทีไ่ ดทงั้ สองอยาง Underground 8 300.5 Installation อนุญาตใหตดิ ตัง้ สายเคเบิลชนิด MI และ ชนิด MC ใตอาคารโดยไมตองติดตั้งในทอสาย 300.5(C) Cables Under Buildings สายเคเบิล ที่ติดตั้งฝงดินใตอาคารตองติดตั้งอยูภายในทอสายโดย ปลายทอสายดังกลาวนี้ตองอยูพนออกมาจากผนังของ อาคาร Ex. 2: อนุญาตใหติดตั้งสายเคเบิลชนิด MC ที่ กําหนดใหสามารถฝงดินโดยตรงใตตวั อาคารไดโดยไมตอ ง ติดตั้งในทอสาย [330.10(A)(5)] วิเคราะห ถึงแมวาสายเคเบิลชนิด MC กําหนด ใหสามารถฝงดินไดโดยตรงและหุมดวยคอนกรีต แต เดิมมาตรฐานขอนีไ้ มอนุญาตใหฝง สายเคเบิลใตอาคาร การ เปลี่ ย นแปลงนี้ อ นุ ญ าตให ติ ด ตั้ ง สายเคเบิ ล ใต พื้ น ของ อาคารได ซึง่ วิธกี ารติดตัง้ นีไ้ ดรบั การยอมรับจากผูตรวจสอบ มาเปนระยะเวลาหนึง่ แลว & ([ 7\SH 0& &DEOH 8QGHU %XLOGLQJV

ѠьѫрѥшѧѲўҖшѧчшѤѸкѯзѯэѧјньѧч 0& ѝѥєѥіщѐқкчѧь ѳчҖѱчѕшікѲшҖшѤњѠѥзѥіўіѪѠзѠьдіѨш ѱчѕѳєҕшҖѠк шѧчшѤѸкѲьъҕѠѝѥѕ шѥє $

ѰјѣѲьъѨѷ ѯюҍѕд шѥє $

ъѨѷєѥ ZZZ PLNHKROW FRP

ZZZ PLNHKROW FRP

รูปที่ 7 ติดตั้งสายเคเบิลชนิด MC ใตอาคารโดยไมตองติดตั้งในทอสาย (300.5(C) Ex. 2 Type MC cables under Buildings)

40

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555


NEC Code 2011 404.2(C) Switches Controlling Lighting เปนกฏขอใหมทตี่ อ งการใหมตี วั นํานิวทรัลทีเ่ กือบทุก ตําแหนงของสวิตซไฟแสงสวาง 404.2 Switch Connections (C) Switches Controlling Lighting สวิตซไฟแสง สวางทีค่ วบคุมโหลดไฟฟาแสงสวางชนิด Line-to-Neutral ตองเดินสายนิวทรัลไวที่ตําแหนงสวิตซ Ex: ไมตองมีตัวนํานิวทรัลที่ตําแหนงสวิตซ ถา (1) ตัวนําของสวิตซไฟแสงสวางทีเ่ ดินสายเขากลอง อุปกรณไปยังทอสาย ซึ่งทอสายดังกลาวตองมีขนาดพื้นที่ หนาตัดเพียงพอที่จะเดินสายนิวทรัลได (2) ระบบการเดินสาย (Cable assemblies) ของ สวิตซไฟแสงสวางที่เดินสายเขากลองอุปกรณผานไปยัง ชองโลงที่เปดไวอยูที่ดานบนหรือดานลางบนชั้นเดียวกัน หรือเดินผานผนัง, พื้น หรือ ฝา ที่ยังไมไดมีการปดมิดชิด อีกดานหนึ่ง Note: ตัวนํานิวทรัลมีหนาที่ทําใหวงจรไฟฟาของ อุปกรณควบคุมไฟแสงสวางชนิดอิเล็กทรอนิกสเปนวงจร ปดสมบรูณ วิเคราะห เนื่องจากอุปกรณควบคุมไฟฟาแสงสวาง (เชน อุปกรณชนิด Occupancy sensors) ตองการให สวิตซไฟแสงสวางมีแรงดันไฟฟาและกระแสไฟฟาพรอม

9

ทํางาน (Standby) ตลอดเวลา แตชา งไฟฟาสวนใหญไมได เดินสายนิวทรัลรอไวทตี่ าํ แหนงสวิตซ ผลก็คอื สายดินของ อุปกรณไฟฟาถูกนํามาใชเปนตัวนํานิวทรัลแทน ขณะทีป่ กติ กระแสไฟฟาที่ไหลในสายดินของอุปกรณไฟฟามักจะนอย กวา 0.5 mA แตเมื่อรวมๆ กับสวิตซที่มีจํานวนมาก ทําให เกิดกระแสไฟฟาปริมาณมากที่ไมอาจยอมรับไดไหลอยูใน สายดินของอุปกรณไฟฟา มีขอยกเวนสองขอที่พิจารณาถึงตําแหนงของสวิตซ ที่มีทอสายที่ติดตั้งอยูในบริเวณที่สามารถเขาถึงได ทอสาย ตองมีขนาดพืน้ ทีห่ นาตัดเพียงพอทีจ่ ะสามารถติดตัง้ สายนิว ทรัลเพิม่ เติมภายหลังได ขอยกเวนอีกขอหนึง่ อนุญาตใหไม ตองเดินสายนิวทรัลทิ้งไวในกรณีที่สามารถเปลี่ยนแปลง การเดินสายภายหลังโดยไมตองรื้อผนังหรือฝาเพดานที่ทํา สําเร็จแลว 450.14 Disconnecting Means หมวดนี้เปนหมวดใหม โดยกําหนดใหมีเครื่องปลด วงจรที่หมอแปลงไฟฟา 450.14 Disconnecting Means สํ า หรั บ หมอแปลงไฟฟาที่ไมใชชนิด Class 2 และ Class 3 ตองมีเครื่องมือที่ทําหนาที่ตัดตัวนําปฐมภูมิที่ไมถูกตอลง ดินของหมอแปลงไฟฟาออก เครื่องปลดวงจรตองอยู

10

& ([ 1HXWUDO DW 6ZLWFK 2XWOHWV 5DFHZD\V

ѳєҕшҖѠкєѨшѤњьѼѥьѧњъіѤјъѨѷшѼѥѰўьҕк ѝњѧшнҙ щҖѥъҕѠѝѥѕєѨёѪѸьъѨѷўьҖчшѤч ѯёѨѕкёѠъѨѷлѣѯчѧьѝѥѕьѧњъіѤјѳчҖ

ъѨѷєѥ ZZZ PLNHKROW FRP

ZZZ PLNHKROW FRP

รูปที่ 8 ความตองการใหมีตัวนํานิวทรัลที่เกือบทุกตําแหนงของสวิตซไฟแสงสวาง (404.2(C) Ex. (1) Neutral at Switch Outlets - Raceways)

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

41


NEC Code 2011 7UDQVIRUPHU 'LVFRQQHFW ѯзіѪѷѠкюјчњкліўєҖѠѰюјкъѨѷ ѠѕѬҕѲьѠѕѬҕѲьлѫчзњэзѫєъѨѷўҕѥк ѠѠдѳю лѣшҖѠкєѨѯзіѪѷѠкўєѥѕ ѰѝчкѯзіѪѷѠкюјчњкліъѨѷўєҖѠ Ѱюјкѳђђґѥ ѰјѣѯзіѪѷѠкюјч њклішҖѠкѯюҝьньѧчъѨѷјѶѠдѳчҖ

ъѨѷєѥ ZZZ PLNHKROW FRP

ѯзіѪѷѠкюјчњклі ўєҖѠѰюјкшҖѠк ѠѕѬҕѲьшѼѥѰўьҕкъѨѷ єѠкѯўѶьѳчҖлѥд ўєҖѠѰюјк

ZZZ PLNHKROW FRP

รูปที่ 9 กําหนดใหมีเครื่องปลดวงจรที่หมอแปลงไฟฟา (450.14 Disconnecting Means - Transformer Disconnect)

ในตําแหนงที่มองเห็นไดจากหมอแปลงไฟฟา เวนแตวา ไดมีการทําเครื่องหมายแสดงตําแหนงเครื่องปลดวงจร ไวที่หมอแปลงไฟฟาและเครื่องปลดวงจรตองเปนชนิดที่ ล็อกได วิเคราะห ถึงแมวา วิศวกรไฟฟาเชือ่ วาความตองการ นี้ไดระบุไวในมาตรฐาน NEC แลว แตในฉบับพิมพครั้งที่ แลว ปรากฏวาหมอแปลงไฟฟาเปนอุปกรณไฟฟาเพียง ชนิดเดียวที่ไมเคยตองการเครื่องปลดวงจร ถึงแมวาจะมี จํานวนผูบาดเจ็บบันทึกไวเพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนแปลง

นี้ แตก็ยากที่จะโตเถียงวาความตองการนี้ไมไดเพิ่มความ ปลอดภัยใหกับผูปฏิบัติงานมากขึ้น (ดังนั้นจึงควรเพิ่มใน มาตรฐานฉบับปรับปรุงใหมนี้)

เอกสารอางอิง

1. NEC 2011 Changes : EC&M October 2010 2. www.ecmweb.com

w« ¥ ³ Ñ¥ }« ¨· 1

w« ¥ ³ Ñ¥ }« ¨· 1 ISBN 978-974-686-106-9 Ö°¬ Õz M&E u ¥ 18.5 u 26.0 ~ . {¦ 260 Ö¥ t £ ¥ Ù ¥w¥ 215 ¥

w« ¥ ³ Ñ¥ }« ¨· 1 ¯ Ý ¤z ª ¨ · w ¥ ¥z Ö¥ ³ Ñ¥{¥t ¥ ¥ ¯ w §w ° £ ¥ ¥ EC ± ° Õz¯ ª ¸ ¥ t¯ Ý 6 ¤tµ ³ Ö°tÕ w« ¥ ³ Ñ¥ ° z ¤ ³ Ñ¥ ¡¥ Ù §t ¬ ¯¨ w¥ ¥~§¯ Ù- ¤ £t t¦ ¤z ° £ t¥ Õ z § ° £t¥ Ñ zt¤ Ñ¥ Õ¥ ² ° Õ £ ¨ w ¥ ¨· Õ¥ ²{ ¥t ¥ ¯}Õ t¥ ¦ {° £ ¤ «zw« ¥ ³ Ñ¥² Ö ¯ ¥£ , w ¥ ¯}ª · ª ³ Ö ¥z³ Ñ¥ w ¥ ¤ · wz² £ ¨w· §{¥ ¥ Õ¥z ¨ · Ö , t¥ £¯ § wÕ¥ £ ¤ w ¥ § ¯ ¨ ¸ u z° z ¤ ² £ ³ Ñ¥ ¥ ¥ ¥ G5/4, ° z ¤ ³ t-¯ § · , t¥ t , t¥ w¦ wÕ¥° z ¤ t² ¥ ³ Ñ¥, Û ¥° z ¤ t}¤· u £² £ ³ Ñ¥, t¥ Ñ zt¤ « t Ù §¯ ¶t §t Ù² £ ³ Ñ¥{¥t° z ¤ ³ Ñ¥¯t§ }¤ · u £, t¥ w w« u ¯u ¡¥ Ù §tu z « t Ù ³ Ñ¥, w ¥ ¥ ¥ ² t¥ ¤ t £° ¡¥ Ù §tu z ¤ ¯t¶ £{«, ¥¯ «° £ t £ u z¡¥ Ù §t, ¯ ª t ¬ ¯¨ ° Õ £} § ² Öw § ¯ ª · zwÕ¥³ Ñ¥, t¥ ¤ «z £ § § ¥ t¥ ²}Ö ¤zz¥ ³ Ñ¥u z UPS

Ö¬ ²{ ¥ ¥ ¯ ª t~ª¸ ³ Ö ¨· ¬ Ù ¤z ª ¯ ¶ ° Ù ¨ ª ¤·z~ª¸ ³ Ö ¨·

§ ¤ ¯ ¶ ° Ù ¨ {¦t¤ ¯ ¶ ° Ù ¨

42

(­BTS ¥ ¨t «z « )¨ 77/111 ¥w¥ § ¥ ¥ ¯ Ù }¤¸ 26 t «z « ¨ °u zw z Ö ³ ¯u w z ¥ t «z¯ ¢ 10600 ± ¤ Ù 02 862 1396-9 ± ¥ 02 862 1395 ¯ ¶ ³~ Ù www.me.co.th, www.technic.in.th ¨¯ Ù member@me.co.th

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555


RFID-โรงงานอัตโนมัติ

ดร. ธีรวัฒน เทพมณี

สาขาวิชาวิศวกรรมการวัดและควบคุม คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

RFID

เทคโนโลยีอจั ฉริยะในโรงงานอัตโนมัติ

มารจู กั กับเทคโนโลยี RFID และขอพิจารณาในการเลือกใชระบบ RFID สำหรับโรงงานแบบอัตโนมัติ รวมทัง้ ตัวอยางลักษณะการใชงาน

มื่อ RFID (Radio Frequency Identification) เปนเทคโนโลยี อัจฉริยะที่สามารถอานคาจากปาย อิเล็กทรอนิกส (Tag) ไดอยางถูกตอง รวดเร็ว โดยผานคลืน่ วิทยุจากระยะที่ หางออกไป ไมจำเปนตองอาศัยการ สัมผัส และอานคาไดนอกแนวเสน สายตา (Non-Line of Sight) แมใน สภาพที่เปยกชื้น มีแรงสั่นสะเทือน เพือ่ ตรวจ ติดตาม และบันทึกขอมูล ทีต่ ดิ อยกู บั ปาย จึงมีการนำเทคโนโลยี นีเ้ ขามาประยุกตใชในภาคอุตสาหกรรม ในปจจุบนั เนือ่ งจากภาคอุตสาหกรรม จำเปนตองมีการพัฒนา ปรับตัว และ เปลี่ยนแปลงใหทันกับการแขงขันใน โลกธุรกิจยุคโลกาภิวัฒน การนำเทคโนโลยี RFID เขามา ประยุ ก ต ใ ช ใ นภาคอุ ต สาหกรรม สามารถทำไดหลากหลายรูปแบบ เพือ่ ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจ ติดตาม และบันทึกขอมูลของผลิตภัณฑวา เอกลักษณ คือ อะไร ผลิตที่ ไหน ผลิตเมือ่ ไหร ผลิตอยางไร และ ใครเปนผผู ลิต ไมเพียงแตในสวนของ หวงโซอปุ ทาน (Supply chain) และ ระบบโลจิสติกส (Logistics) เทานัน้ แตยังมีในสวนของสายการผลิตใน โรงงานอัตโนมัติอีกดวย

ฐานขอมูล สวนหลัง

เครือ่ งอาน ปายอิเล็กทรอนิกส

รูปที่ 1 โครงสรางสถาปตยกรรม RFID

โครงสราง สถาปตยกรรม RFID

โครงสรางสถาปตยกรรม RFID ดังรูปที่ 1 มีองคประกอบหลักทีส่ ำคัญ คือ ปายอิเล็กทรอนิกส (RFID Tag) เครือ่ งอานสัญญาณ (Reader) สาย อากาศ (Antenna) และมิดเดิลแวร (Middleware) เมือ่ ปายอิเล็กทรอนิกสเคลือ่ นที่ เขามาในบริเวณทีเ่ ครือ่ งอานสัญญาณ ติดตัง้ อยู เครือ่ งอานสัญญาณจะกระตนุ ใหปา ยอิเล็กทรอนิกสสง ขอมูลกลับมา ยังเครือ่ งอานสัญญาณ โดยขอมูลทีส่ ง มาจากปายอิเล็กทรอนิกสจะถูกประมวล ผลโดยมิดเดิลแวร และถูกถายโอนมา จัดเก็บไวในฐานขอมูล (Backend database) เพื่อนำขอมูลผานเขาสู กระบวนการตอไป

1. RFID Tag ปายอิเล็กทรอนิกส มีสว นทีเ่ ปนไมโครชิป (Microchip) ทีใ่ ชควบคุมการรับสงสัญญาณ วิทยุและการประมวลสัญญาณยึดติด กั บ ส ว นของขดลวดที่ ทำหน า ที่ เ ป น สายอากาศ โดยปายอิเล็กทรอนิกส ถูกนำไปติดไวกบั วัตถุตา งๆ เชน ผลิตภัณฑ หรือสิง่ ของใดๆ ทีต่ อ งการตรวจ ติดตาม และบันทึกขอมูล โดยปาย อิเล็กทรอนิกสมวี ธิ กี ารแบงชนิด 3 วิธี ดวยกัน ดังนี้ 1. การแบ ง ชนิ ด ตามความ สามารถในการสือ่ สารขอมูลผานคลืน่ วิทยุ - ชนิดพาสซีฟ (Passive tag) - ชนิดเซมิแอกทีฟ (Semi-active tag) / เซมิพาสซีฟ (Semi-passive tag) - ชนิดแอกทีฟ (Active tag)

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

43


RFID-โรงงานอัตโนมัติ 2. การแบ ง ชนิ ด ตามหน ว ย ความจำ - ชนิ ด อ า นได อ ย า งเดี ย ว (Read only) - ชนิ ด อ า น/เขี ย นได อ ย า งอิ ส ระ (Read/Write) - ชนิดเขียนไดครั้งเดียวและอานได อยางอิสระ (Write once and Read many) 3. การแบ ง ตามความถี่ ข อง คลื่นวิทยุที่สามารถตอบสนองได - ยานความถีต่ ่ำ (Low Frequency: LF) 100-500 kHz - ยานความถีส่ งู (High Frequency: HF) 10-15 MHz - ยานความถี่สูงยิ่ง (Ultra High Frequency: UHF) 850-950 MHz - ยานความถี่ไมโครเวฟ (Microwave Frequency) 2.4-5.8 GHz 2. RFID Reader เครือ่ งอาน สัญญาณสงคลืน่ วิทยุไปยังปายอิเล็กทรอนิกส จากนัน้ ปายอิเล็กทรอนิกส จะตอบสนองโดยสงขอมูลที่ตองการ กลับมา เครื่องอานสัญญาณอาจมี ความสามารถในการประมวลผลและ การจัดเก็บขอมูล เครือ่ งอานสัญญาณ ถูกเชือ่ มตอกับอุปกรณทใี่ ชเปนสวนจัด เก็บฐานขอมูล (เชน คอมพิวเตอร) ผานมิดเดิลแวร (เชน ไมโครคอนโทรลเลอร) โดยเครื่องอานสัญญาณมีวิธี การแบงชนิด 2 วิธดี ว ยกัน ดังนี้ 1. การแบงชนิดตามทำเลทีต่ ดิ ตั้งในการใชงาน - ชนิดพกพา (Handheld reader) - ชนิดอยกู บั ที่ (Fixed reader) 2. การแบ ง ตามความถี่ ข อง คลื่นวิทยุที่สรางขึ้นมา - ชนิดความถี่เดียว - ชนิดหลายความถี่ 3. RFID Antenna ในระบบ RFID สายอากาศถูกแบงออกเปน

44

สายอากาศของปายอิเล็กทรอนิกส และสายอากาศของเครือ่ งอานสัญญาณ โดยที่ 1. สายอากาศของปายอิเล็กทรอนิกส ทำมาจากขดลวดเพือ่ ใชใน การสื่อสารขอมูลระหวางปายอิเล็กทรอนิ ก ส แ ละเครื่ อ งอ า นสั ญ ญาณ ขนาดของขดลวดสายอากาศนี้มีผล ตอระยะทางในการสื่อสารระหวาง ปายอิเล็กทรอนิกสและเครื่องอาน สัญญาณ โดยขดลวดเสนใหญจะให ระยะทางในการสื่อสารที่ไกลกวา รูปแบบของขดลวดสายอากาศ มีหลากหลายรูปแบบทั้งนี้ขึ้นอยูกับ ชนิดของปายอิเล็กทรอนิกส ดังเชน ปายอิเล็กทรอนิกสชนิด LF และ HF นิยมใชขดลวดสายอากาศที่สามารถ เหนีย่ วนำ (Couple) กับขดลวดสาย อากาศของเครื่องอานสัญญาณเพื่อ สรางสนามแมเหล็ก สวนสายอากาศ ของปายอิเล็กทรอนิกสชนิด UHF มี รูปรางคลายกับสายอากาศของวิทยุ หรือโทรทัศนรนุ เกา เปนตน 2. สายอากาศของเครื่องอาน สัญญาณ เปนตัวสรางสนามแมเหล็ก ไฟฟา โดยอาศัยทฤษฎีการเหนี่ยว นำสั ญ ญาณไฟฟ า เพื่ อ ให ไ ด ค ลื่ น สัญญาณที่มีความถี่เทากับความถี่ที่ ปายอิเล็กทรอนิกสสามารถตอบสนอง ได โดยเครื่องอานสัญญาณหนึ่งตัว

Data Carrier (ID Tag)

จะมีสายอากาศเดียวหรือมีมากกวา ก็ได และสายอากาศทีใ่ ชในเครือ่ งอาน สัญญาณก็มหี ลากหลายรูปแบบ โดย แตละรูปแบบมีความแตกตางกันใน ดานโครงสรางและการใชงาน 4. RFID Middleware โดย ทัว่ ไป ฟงกชนั การทำงานของมิดเดิลแวรของ RFID มี 4 ลำดับชัน้ ดังนี้ 1. เชื่อมตอกับเครื่องอานสัญญาณ (Reader application programming interface) 2. จั ด การสั ญ ญาณข อ มู ล (Data management) 3. จัดการในดานความปลอดภัยใน การเขาถึงขอมูล (Security) 4. จัดการการผสานการทำงานของ สวนตางๆ (Integration management)

ระบบ RFID ในโรงงานอัตโนมัติ

ในมุมมองของผูใชงานที่เกี่ยว ของกับโรงงานอัตโนมัติ องคประกอบ ที่สำคัญของระบบ RFID สามารถ แสดงไดดงั รูปที่ 2 เมือ่ เปรียบเทียบกับ โครงสรางสถาปตยกรรมของ RFID ดังรูปที่ 1 พบวา บริษทั ผผู ลิตทางดาน โรงงานอั ต โนมั ติ บ างรายใช คำว า “Data carrier” (หรือ ID Tag) แทน

Read/Write Head (สายอากาศ) การสงขอมูลแบบไรสาย

ตอถึงกัน ดวยเคเบิล RFID Controller

RS232C, RS485 DeviceNet. etc.

Host Device (PC/PLC)

รูปที่ 2 ระบบ RFID ในมุมมองของผใู ชงานทีเ่ กีย่ วของกับโรงงานอัตโนมัติ

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555


RFID-โรงงานอัตโนมัติ Host Device

ID Tag RFID Controller

Read/Write Antenna

รูปที่ 3 ตัวอยางองคประกอบของระบบ RFID ที่ใชในโรงงานอัตโนมัติ ตัวสง

Electromagnetic Coupling

มอดูเลต

ตัวรับ ถอดรหัส ตัวสง

แม เหล็ก

มอดูเลต

ขอพิจารณาเลือก ระบบ RFID ในโรงงานอัตโนมัติ

ตัวรับ ถอดรหัส Read/Write

ID Tag

รูปที่ 4 วิธีการแผคลื่นแมเหล็กไฟฟา ตัวสง

ตัวรับ มอดูเลต

ถอดรหัส

Electromagnetic Induction

ตัวแบง สัญญาณ

ตัวรับ

ตัวสง ถอดรหัส

มอดูเลต

Read/Write Antenna

ID Tag

รูปที่ 5 วิธกี ารเหนีย่ วนำคลืน่ แมเหล็กไฟฟา

วงจรสะทอนคลืน่

ตัวสง ตัวรับ

สายอากาศรวม ไมโครเวฟ Read/Write Antenna

สายอากาศราบ

ตัวสง

ตัวรับ ID Tag

รูปที่ 6 การใชหลักการของไมโครเวฟ

ปายอิเล็กทรอนิกส และคำวา “Read/ Write Head” (หรือ Read/Write Antenna) แทนเครือ่ งอานสัญญาณ นอกจากนี้ ยังไดมกี ารใช RFID controller เพื่อทำหนาที่ในสวนมิด เดิลแวร และใชคอมพิวเตอร PC หรือ ตัวควบคุม PLC (Programmable Logic Controller) เปนอุปกรณที่ ใชในการจัดเก็บฐานขอมูล (Host device) ในรูปที่ 3 แสดงตัวอยางองค ประกอบของระบบ RFID ทีใ่ ชงานใน โรงงานอัตโนมัติ

การสื่อสารระหวางปายอิเล็กทรอนิ ก ส แ ละเครื่ อ งอ า นสั ญ ญาณ ในระบบ RFID เปนการรับสงขอมูล แบบไรสาย (Wireless transmission) โดยตัวสงขอมูล (Transmitter) จะทำ การมอดูเลต (Modulation) ขอมูล ที่ ต อ งการสงกับคลื่นพาห (Carrier frequency) ซึ่งเปนคลื่นความถี่วิทยุ แลวสงออกไปทีต่ วั รับขอมูล (Receiver) จะทำการถอดรหัสสัญญาณทีไ่ ด รับ (Recovery) เพือ่ นำขอมูลไปใชตอ ไป ในการรับสงขอมูลระหวางปาย อิเล็กทรอนิกสและเครือ่ งอานสัญญาณ ดังกลาวนีถ้ กู แบงออกเปน 2 วิธดี ว ย กัน คือ วิธกี ารแผคลืน่ แมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic coupling) ดัง แสดงในรูปที่ 4 และวิธกี ารเหนีย่ วนำ คลืน่ แมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic induction) ดังแสดงในรูปที่ 5 นอก จากนั้ น ยั ง มี ก ารใช ห ลั ก การของ ไมโครเวฟ ในการรับสงขอมูลระหวาง ปายอิเล็กทรอนิกสและเครื่องอาน สัญญาณดังแสดงในรูปที่ 6 อีกดวย

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

45


RFID-โรงงานอัตโนมัติ ตารางที่ 1 เปรียบเทียบระบบ RFID แตละระบบ

% & ' ' $ & * + , # ' / ' ' ' & : $; * # '$<< 8 ! # '$<< 8 ' => = (Permeability) ;" ?, $' ? /7 ' ( @)

" (Coupling) (Inductive) ! ! 530 kHz 134 kHz 13.56 MHz 0-100 mm 0-50 mm 0-30 mm 0-50 mm 10 kbps 210 kbps 53 kbps % 7 # 8 % 7 # 8

ตารางที่ 2 คุณ สมบัตทิ สี่ ำคัญระบบ RFID แตละระบบ %?8' $

(Coupling) ! % & 530 kHz 134 kHz ' ' 0-100 mm 0-50 mm A?D : : - (FIF ) : : &> E ! : : PLC RFID Module : : ' K'" $ $; $ 7 ; , * : >; $ 'G 7 8@ ' K

7 7 : : ' K : : ' K &> : < : ! ' & $; $ 7 ; , * : : ! : : ;" : : ' % : : ;" $ : : ?8 G+ '+ : : ! : >; $ 'G 7 8@ : $ #" : >; $ 'G 7 8@ / 10,000

: : * " : :

ในตารางที่ 1 แสดงขอเปรียบ เทียบระบบ RFID และตารางที่ 2 แสดงคุ ณ สมบั ติ ที่ สำคั ญ ของแต ล ะ ระบบ เพื่อใหผูใชงานเขาใจในทาง เลือกตางๆ นอกจากนี้ ยังมีขอมูล สำหรับการพิจารณาประกอบการตัด สินใจเลือกระบบ RFID ใหมีความ สอดคล อ งกั บ การควบคุ ม หรื อ การ ทำงานของสายการผลิตในโรงงาน

46

" (Inductive) ! 13.56 MHz 0-30 mm 0-50 mm : : : : : >; $ 'G 7 8@ : : : : : : : : : >; $ 'G 7 8@ : : : : : : : : : : >; $ 'G 7 8@ : : : >; $ 'G 7 8@ : : : : :

อัตโนมัติ 1. ความเร็วในการรับสงขอมูล ระหวางปายอิเล็กทรอนิกสและเครือ่ ง อานสัญญาณในระบบ RFID ในขณะที่ ID Tag (หรือ Read/ Write Antenna) มีการเคลือ่ นที่ การ รับสงขอมูลระหวาง ID Tag และ Read/Write Antenna ควรมีความ เร็วสูงมากพอทีอ่ า นและบันทึกขอมูล

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

#$ # $

(Back scattering) 920-925 MHz 0-5 m % 7 # 8 % 7 # 8 % 7 # 8

#$ # $

(Back scattering) 920-925 MHz 0-5 m : : : : : >; $ 'G 7 8@ : : >; $ 'G 7 8@ >; $ 'G 7 8@ >; $ 'G 7 8@ >; $ 'G 7 8@ >; $ 'G 7 8@ >; $ 'G 7 8@ : >; $ 'G 7 8@ : :

รูปที่ 7 ตัวอยางการรับสงขอมูลระหวาง ID Tag ทีม่ กี ารเคลือ่ นทีแ่ ละ Read/Write Antenna


RFID-โรงงานอัตโนมัติ Write Antenna จะขึน้ อยกู บั ขนาดของ ขอมูลที่ตองการอานหรือบันทึกดวย 2. ความสามารถในการแยก ความแตกตางของปายอิเล็กทรอนิกส แตละชิ้น ในกรณี ที่ ร ะบบ RFID ไม สามารถอานคาจาก ID Tag หลายชิน้ ในเวลาเดี ย วกั น ได Read/Write Antenna ควรมีความสามารถในการ แยกความแตกตางของ ID Tag แต ละชิ้นที่วางเรียงหางกันในระยะแคบ เชน ระยะหางเพียงแค 2-3 cm (ดูรปู ที่ 8) 3. กลองทีห่ อ หมุ ID Tag และ Read/Write Antenna ควรทนตอ สภาพแวดลอมในการใชงาน โดยมี คุณสมบัติตามมาตรฐานสากล เชน มาตรฐานการปองกัน IP67 4. มีการติดตั้งใชงานที่งาย 5. มีคา บำรุงรักษาต่ำ

รูปที่ 8 ตัวอยางการวางเรียง ID Tag แตละชิน้ หางกันในระยะแคบ

ไดอยางถูกตอง เนือ่ งจากสายการผลิต ในโรงงานอัตโนมัตมิ กี ารเคลือ่ นทีข่ อง สายพานตามขั้นตอนการผลิต (ดูรูป ที่ 7) ถาการรับสงขอมูลระหวาง ID Tag และ Read/Write Antenna ทำไดชา อาจสงผลตออัตราการผลิต ของโรงงาน ทัง้ นี้ ความเร็วในการรับ สงขอมูลระหวาง ID Tag และ Read/

ตัวอยางการใชงาน ระบบ RFID ในโรงงานอัตโนมัติ

โรงงานอัตโนมัติในหลายภาค อุตสาหกรรม เชน อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสหรือเซมิคอนดักเตอร อุตสาหกรรมยานยนต อุตสาหกรรมอาหาร และอืน่ ๆ สามารถนำระบบ RFID มา ประยุกตใชได ดังตัวอยางตอไปนี้ ตัวอยางที่ 1 การบันทึกขอมูล ในสายการผลิต ในสายการผลิ ต จำเป น ต อ ง ทราบข อ มู ล ต า งๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ กระบวนการผลิต เชน รายละเอียด ขัน้ ตอนการทำงาน ระยะเวลาทีใ่ ชใน แตละแผนกตามขัน้ ตอนการผลิต เพือ่ นำไปใชในการควบคุมคุณภาพหรือ การปรั บ ปรุ ง สายการผลิ ต เพื่ อ เพิ่ ม

ดำเนินการ กระบวนการ A เขียนเวลาเริ่ม กระบวนการ A ไวใน ID Tag

กระบวนการ A

กระบวนการ C

กระบวนการ C

ชิน้ งาน

ชิน้ งาน

R/W Head

R/W Head กระบวนการ B

ID Controller

กระบวนการ B

ID Controller

เวลา A

คอมพิวเตอรควบคุม

B กระบวนการ

กระบวนการ A

C

เวลา

คอมพิวเตอรควบคุม

กระบวนการ C

A

กระบวนการ A

B กระบวนการ

C

กระบวนการ C

ชิน้ งาน

ชิน้ งาน เขียนเวลาสิ้นสุด กระบวนการ A ไวใน ID Tag

R/W Head

R/W Head กระบวนการ B

ID Controller

ID Controller

เวลา

คอมพิวเตอรควบคุม

เวลาที่ใชไปในแตละกระบวนการของผลิตภัณฑ

กระบวนการ B

A

B กระบวนการ

C

เวลานำ ของผลิตภัณฑ

เวลา

คอมพิวเตอรควบคุม

A

B กระบวนการ

C

รูปที่ 9 ตัวอยางระบบ RFID ทีใ่ ชในการบันทึกขอมูลในสายการผลิต

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

47


RFID-โรงงานอัตโนมัติ อัตราการผลิต ผูใชงานสามารถนำ ระบบ RFID ไปใชในการตรวจ ติด ตาม และบันทึกขอมูลดังกลาวได ดังกรณีตวั อยางในรูปที่ 9 ซึง่ เปนสายการผลิตที่มี 3 ขั้นตอนการ ทำงาน (เรียงจาก A, B และ C) โดย ติดปายอิเล็กทรอนิกสไวทถี่ าดรองชิน้ งาน (หรือทีช่ นิ้ งาน) และติดตัง้ เครือ่ ง อานสัญญาณจำนวน 6 ตัว (ใช 2 ตัว ตอ 1 ขัน้ ตอน) เพือ่ บันทึกคาเวลากอน และหลังการทำงานในแตละขั้นตอน ลงในปายอิเล็กทรอนิกส หลังจาก เสร็จขัน้ ตอน C ก็สามารถอานขอมูล ทีถ่ กู บันทึกไวทปี่ า ยอิเล็กทรอนิกสเพือ่ นำไปวิเคราะหตอไป ตัวอยางที่ 2 กระบวนการผลิต แผงวงจร PCB แบบแบตช ในกระบวนการผลิตแผงวงจร พิมพสำเร็จหรือแผง PCB (Printed Circuit Board) ที่มีการผลิตแบบ แบตช (Batch Process) ผูใชงาน สามารถนำระบบ RFID ไปใชในการ ควบคุมการผลิตได ดังกรณีตวั อยางในรูปที่ 10 โดย ปายอิเล็กทรอนิกสทตี่ ดิ ไวถาดทีเ่ สียบ ในกลองบรรจุชิ้นงาน (Magazine Rack) มีขอมูลเกี่ยวกับการผลิตแผง PCB เชน หมายเลขการผลิต หมาย เลขรนุ ขนาดของแผงวงจร จำนวน แผงวงจร และอืน่ ๆ ถูกบันทึกไว ขอ มูลจากปายอิเล็กทรอนิกสถกู สงมายัง เครือ่ งอานสัญญาณ ก็จะเริม่ ขัน้ ตอน การผลิตอยางอัตโนมัติ และหลังจาก เสร็จสิ้นกระบวนการผลิต ขอมูลที่ เกี่ยวกับการผลิต รวมไปถึงผลการ ตรวจสอบชิน้ งาน (Inspection) เชน OK หรือ NG ก็จะถูกบันทึกลงใน ปายอิเล็กทรอนิกสที่ติดไวกับถาดใน กลองบรรจุชนิ้ งานดวยเชนกัน และที่ บริเวณกลองสำหรับใสแผงวงจรที่ เสร็จแลว (Unloader) ก็จะมีเครื่อง

48

Magazine rack

ID Controller Unloader

PLC คอมพิวเตอรควบคุม

รูปที่ 10 ตัวอยางระบบ RFID ที่ใชในกระบวนการผลิตแผนวงจร PCB แบบแบตช

รูปที่ 11 ตัวอยางระบบ RFID ทีใ่ ชในการอานและบันทึกขอมูลเกีย่ วกับวิธกี ารผลิต

ID Tag

สายอากาศ

อานหมายเลขหนวย

รูปที่ 12 ตัวอยางระบบ RFID ที่ใชในการควบคุมเสนทาง การลำเลียงชิน้ งานบนสายพานทีม่ คี วามเร็วสูง

อานสัญญาณเพื่อทำการคัดแยกชิ้น งาน NG เพือ่ นำกลับไปปรับปรุงแกไข ตอไป

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

ตั ว อย า งที่ 3 การอ า นและ บันทึกขอมูลเกี่ยวกับวิธีการผลิต ในสายการผลิตตางๆ ผใู ชงาน


RFID-โรงงานอัตโนมัติ C อานขอมูลสวนประกอบและ คำสั่งกระบวนการถัดไป จาก ID Tag

คำสั่ง : ใหไปที่ A เซนเซอร คอนโทรลเลอร RFID

C

B

A

B

A

เซนเซอร คอนโทรลเลอร RFID

PLC

PLC

รูปที่ 13 ตัวอยางระบบ RFID ที่ใชในการลำเลียงกลองใสชิ้นสวนบนสายพาน

อานขอมูล องคกรประกอบ จาก ID Tag

ควบคุมเสนทาง

ควบคุมเสนทาง

คอนโทรลเลอร

คอนโทรลเลอร

ผลิตภัณฑ 1

ผลิตภัณฑ 1 ผลิตภัณฑ 2

ใชเพื่อ ผลิตภัณฑ 2 หรือไม ไม! ใหดำเนินการตอไป

ผลิตภัณฑ 2 ผลิตภัณฑ 3

ผลิตภัณฑ 3

รูปที่ 14 ตัวอยางระบบ RFID ที่ใชในการคัดแยกผลิตภัณฑเพื่อจัดเก็บในคลังสินคา

สามารถนำระบบ RFID ไปใชในการ อานและบันทึกขอมูลเกี่ยวกับวิธีการ ผลิ ต ในแต ล ะขั้ น ตอนได ดั ง กรณี ตัวอยางในรูปที่ 11 ปายอิเล็กทรอนิกส ถูกติดไวทถี่ าดรองชิน้ งาน ซึง่ มีขอ มูล เกี่ยวกับวิธีการผลิตในแตละขั้นตอน บันทึกไว เมือ่ ถาดรองชิน้ งานเคลือ่ น ทีเ่ ขามาในระยะทีเ่ ครือ่ งอานสัญญาณ ติดตัง้ ไวในแตละจุดของสายการผลิต ผปู ฏิบตั งิ าน (Operator) ในแตละขัน้ ตอนก็ ส ามารถทราบวิ ธี ก ารทำงาน หรือขั้นตอนการทำงานที่ถูกตองได หลั ง จากเสร็ จ สิ้ น การทำงาน ของผปู ฏิบตั งิ าน ขอมูลทีเ่ กีย่ วกับการ ทำงานรวมถึงการระบุตวั ผปู ฏิบตั งิ าน ก็จะถูกบันทึกลงในปายอิเล็กทรอนิกส เพือ่ เก็บไวเปนประวัติ ทำใหการตรวจ สอบยอนกลับ (Traceability) ทำได งายและสะดวกมากยิง่ ขึน้ ตัวอยางที่ 4 การควบคุมเสน ทางการลำเลียงชิน้ งานบนสายพานที่

มีความเร็วสูง ในสายการผลิ ต ผู ใ ช ง าน สามารถกำหนดเสนทางการลำเลียง ชิ้นงานบนสายพานที่มีความเร็วสูง เชน ระบบการขนยายเหนือศีรษะ OHT (Overhead transport) โดยใช ระบบ RFID แทนสัญญาณตรวจจับ ตำแหนงเชิงกล (Mechanical flag) ที่ ใ ช เ ซนเซอร ต รวจจั บ ด ว ยลำแสง (Photoelectronic sensor) ได ดัง กรณีตวั อยางในรูปที่ 12 โดยติดปาย อิเล็กทรอนิกสที่ถูกบันทึกขอมูลเกี่ยว กับจุดหมายปลายทาง (เชน หมายเลข ยูนติ ) ไวทถี่ าดรองชิน้ งาน และติดตัง้ เครื่ อ งอ า นสั ญ ญาณไว ใ นตำแหน ง กอนถึงทางแยกของสายพานลำเลียง เมื่อถาดรองชิ้นงานเคลื่อนที่ เขามาในระยะที่เครื่องอานสัญญาณ อานขอมูลได หมายเลขยูนิตของชิ้น งานก็จะถูกสงตอไปยังตัวควบคุม PLC ทีเ่ ชือ่ มตอกับเครือ่ งอานสัญญาณเพือ่

ประมวลผลในการควบคุมเสนทางการ ลำเลียงชิ้นงานไปยังจุดหมายปลาย ทางที่ตองการได ตัวอยางที่ 5 การลำเลียงกลอง ใส ชิ้ น ส ว นที่ ใ ช ป ระกอบชิ้ น งาน บนสายพาน ในสายการผลิตของอุตสาหกรรมจำพวกเครือ่ งใชไฟฟา มักมีการ ลำเลี ย งกล อ งใส ชิ้ น ส ว นต า งๆ ที่ จำเปนตองใชในการประกอบชิ้นงาน (Carrier box) บนสายพานไปยังแต ละแผนกตามขั้นตอนการผลิต ผูใช งานสามารถนำระบบ RFID มาใช แทนระบบบารโคด (Barcode) แบบ เดิมได เนื่องจากระบบ RFID มีขอ ดีหลายประการเมื่อเทียบกับระบบ บารโคด เชน ความสามารถตรวจ สอบตำแหนงของวัตถุไดดวยขอมูล ในปายอิเล็กทรอนิกส การอานคาจาก ปายอิเล็กทรอนิกสทำไดเร็วกวา ความ จุในการบันทึกขอมูลของปายอิเล็ก-

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

49


RFID-โรงงานอัตโนมัติ ทรอนิกสมากกวา และเขียนทับขอมูล ไดทำใหสามารถนำปายอิเล็กทรอนิกส กลับมาใชใหมได นอกจากนี้ ยังลดปญหาที่เกิด จากการอานขอมูลซ้ำทีอ่ าจเกิดขึน้ จาก ระบบบารโคดได ดังกรณีตวั อยางใน รูปที่ 13 ปายอิเล็กทรอนิกสถกู ติดไว ทีข่ า งกลองใสชนิ้ สวน เมือ่ กลองใสชนิ้ สวนเคลื่อนที่เขามาในระยะที่เครื่อง อ า นสั ญ ญาณอ า นข อ มู ล ได ข อ มู ล เกีย่ วกับรายการชิน้ สวนทีต่ อ งใชในแต ละแผนกและเสนทางการลำเลียงทีถ่ กู บันทึกไวในปายอิเล็กทรอนิกสจะถูก สงตอไปยังตัวควบคุม PLC ทีเ่ ชือ่ มตอ กับเครื่องอานสัญญาณเพื่อประมวล ผลและควบคุมในการทำงานตอไป ตัวอยางที่ 6 การคัดแยกผลิต ภัณฑเพื่อจัดเก็บในคลังสินคา ในบางสายการผลิตอาจมีการ ผลิตชิน้ งานทีม่ รี ปู รางแตกตางกัน แต มีลำดับขัน้ ตอนการผลิตทีม่ เี หมือนกัน เช น การฉี ด ขึ้ น รู ป พลาสติ ก การ ลำเลียงชิน้ งานทีผ่ ลิตเสร็จแลว (ผลิตภัณฑ) แตละประเภทไปจัดเก็บในคลัง สินคาจึงตองมีการคัดแยก ผูใชงาน สามารถนำระบบ RFID มาเพิม่ ประสิทธิภาพในระบบการคัดแยกนี้ได ดังกรณีตวั อยางในรูปที่ 14 ที่ มีการคัดแยกการจัดเก็บผลิตภัณฑ 3 ประเภทดวยกัน โดยติดปายอิเล็กทรอนิกสไวทถี่ าดรองชิน้ งาน ซึง่ ปาย อิเล็กทรอนิกสนี้จะถูกบันทึกขอมูล เกี่ยวกับผลิตภัณฑวาเปนผลิตภัณฑ ประเภทใด และติ ด ตั้ ง เครื่ อ งอ า น สัญญาณไวในแตละจุดกอนถึงทาง แยกของสายพานลำเลียงไปยังแตละ คลังสินคา เมือ่ ถาดรองชิน้ งานเคลือ่ น ทีเ่ ขามาในระยะทีเ่ ครือ่ งอานสัญญาณ ตัวแรกอานขอมูลได ขอมูลจากปาย อิเล็กทรอนิกสก็จะถูกประมวลผลวา เปนผลิตภัณฑชนิดที่ 1 (Product 1)

50

B

A

C

สายอากาศ

คอนโทรลเลอร

คอมพิวเตอร ควบคุม

PLC

รูปที่ 15 ตัวอยางระบบ RFID ทีใ่ ชในการวัดและผสมวัตถุดบิ อัตโนมัติ

หรือไม ถาใชกจ็ ะถูกลำเลียงไปจัดเก็บ ในคลังสินคา แตถา ไมใชกจ็ ะถูกลำเลียง เคลือ่ นทีต่ อ ไปยังเครือ่ งอานสัญญาณ ตัวทีส่ อง แลวมีการตรวจเช็คขอมูลที่ ปายอิเล็กทรอนิกสเพือ่ คัดแยกในการ จัดเก็บใหตรงตามประเภทตอไป ตัวอยางที่ 7 การวัดและผสม วัตถุดิบอัตโนมัติ ในสายการผลิตทีม่ กี ารผสมวัตถุ ดิบตางๆ ตามอัตราสวนทีต่ อ งการ ดัง เชน อุตสาหกรรมอาหาร ผูใชงาน สามารถนำระบบ RFID มาเพิม่ ประสิทธิภาพในการผสมวัตถุดบิ อัตโนมัติ นี้ได ดังกรณีตวั อยางในรูปที่ 15 ที่ มีถงั เก็บวัตถุดบิ 3 ชนิดดวยกัน (A, B และ C) โดยปายอิเล็กทรอนิกสถกู ติดไวทถี่ งั บรรจุ และติดตัง้ เครือ่ งอาน สั ญ ญาณเอาไว ใ นตำแหน ง ก อ นถั ง บรรจุจะเคลื่อนที่เขาสูกระบวนการ และติดตัง้ เอาไวในตำแหนงใกลกบั ถัง เก็บวัตถุดิบแตละชนิด เมื่อถังบรรจุ เคลื่อนที่เขามาในระยะที่เครื่องอาน สัญญาณตัวแรกอานขอมูลได ขอมูล จากปายอิเล็กทรอนิกสก็จะถูกประมวลผลวามีสว นผสมใดบางและอัตรา สวนในการผสมเทาใด และถูกสงตอ ไปยังตัวควบคุม PLC ทีเ่ ชือ่ มตอกับ เครื่องอานสัญญาณเพื่อควบคุมการ ทำงานตอไป

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

สวนเครือ่ งอานสัญญาณใกลกบั ถังเก็บวัตถุดิบแตละชนิดทำหนาที่ใน การบันทึกขอมูลที่เกี่ยวกับวัตถุดิบที่ เติมลงไป (เชน คาน้ำหนักจริง) ลงใน ปายอิเล็กทรอนิกส เพื่อนำไปใชใน การตรวจสอบยอนกลับได กิตติกรรมประกาศ - บทความนี้ ไดจดั ทำภายใต “โครง การจัดทำกรณีศกึ ษาอารเอฟไอดี” โดยความรวมมือระหวางสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง และสถาบันสง เสริมความเปนเลิศทางเทคโนโลยี อารเอฟไอดีแหงประเทศไทย - ไดรับความอนุเคราะหขอมูลจาก บริษัท ออมรอน อีเล็กทรอนิกส จำกัด

เอกสารอางอิง

1. Bogdan M. Wilamowski and J. David Irwin, Industrial Communications Systems, CRC Press, Taylor & Francis Group, 2011 2. www.rfid.or.th 3. www.omron-ap.co.th


RFID

อ.วิโรจน ธนโชติชัยกุล

RFID อิเล็กทรอนิกสบารโคด

เทคโนโลยีระบุเอกลักษณของวัตถุอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเปนแบบอิเล็กทรอนิกส โดยอาศัยการแพรกระจายคลื่นวิทยุออกไปเพื่อการอานขอมูลจากตัววัตถุ แทนการใชแสงอินฟราเรดที่ใชกับบารโคดแบบเดิม

วามเดิมจาก EC ฉบับที่ 57 ผู เขียนไดเสนอเรื่องของการระบุ เอกลักษณของวัตถุและสิ่งของ โดย ใชรหัสแทง หรือบารโคด ซึง่ ถูกนํามา ใชอยางแพรหลายและมีรูปแบบการ ใชที่แตกตางกันไป สวนในบทความ นี้จะมาทําความรูจักกับ วิธีการระบุ เอกลักษณของวัตถุอีกรูปแบบหนึ่ง ซึง่ เปนแบบอิเล็กทรอนิกส โดยการนํา หลักการแพรกระจายคลืน่ วิทยุออกไป แทนการใชแสงอินฟราเรดในการอาน ขอมูลจากตัววัตถุ ทีเ่ ราเรียกวา RFID ยอมาจากคําวา “Radio Frequency Identification” เปนระบบชี้เฉพาะ อัตโนมัติ Auto-ID แบบไรสาย (Wireless) นั่นเอง

องคประกอบของ ระบบ RFID

ระบบ RFID มีองคประกอบ ที่สําคัญสองสวน คือ 1. RFID Tag และ 2. Reader 1. RFID Tag หรือเรียกอีก ชื่อหนึ่งวา ทรานสปอนเดอร (Transponder) มาจากคําวา ทรานสมิตเตอร (Transmitter) ผสมกับคําวา เรสปอนเดอร (Responder) โดยแท็ก RFID จะทําหนาที่สงสัญญาณวิทยุ หรือขอมูลที่บันทึกอยูในไมโครชิปไป ที่ตัวอานขอมูล การสื่อสารระหวาง แท็ก RFID และตัวอานขอมูลจะเปน แบบไรสายผานอากาศ

ภายในแท็กจะประกอบไปดวย ไมโครชิ ป ซึ่ ง เชื่ อ มต อ อยู  กั บ สาย อากาศ ไมโครชิปที่อยูในแท็กจะมี หนวยความจํา ซึ่งอาจเปนแบบอาน ไดอยางเดียว (ROM) หรือทั้งอาน ทั้งเขียน (RAM) ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความ ตองการในการใชงาน โดยปกติ ห น ว ยความจํ า แบบ ROM จะใชเก็บขอมูลเกี่ยวกับการ รักษาความปลอดภัย เชน ขอมูลของ รหัส Password หรือขอมูลความ ลับบุคคล ในขณะที่ RAM จะใชเก็บ ขอมูลชั่วคราวในระหวางที่แท็กและ ตัวอานขอมูลทําการติดตอสื่อสารกัน โดยที่สามารถแบงชนิดของแท็กออก เปน 2 แบบ ไดแก

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555

51


RFID

รูปที่ 2 แท็ก RFID แบบ Passive

รูปที่ 1 แท็ก RFID แบบ Active

1. Active Tag แท็กแบบนี้จะ มีแบตเตอรี่อยูภายใน เพื่อเปนแหลง จายไฟฟาใหกับวงจรภายใน เราจะ สามารถทั้งอานและเขียนขอมูลลง ในแท็กแบบนี้ได และการที่ตองใช แบตเตอรี่ จึงทําใหแท็กแบบ Active มีอายุการใชงานจํากัดตามอายุของ แบตเตอรี่ เมื่อแบตเตอรี่หมดก็ตอง นําไปทิ้ง ไมสามารถนํากลับมาใชใหม ได เนื่องจากจะมีการซีลปดผนึกไว จึงไมสามารถเปลี่ยนแบตเตอรี่ได แท็กแบบ Active มีกาํ ลังสงสูง และระยะการรับสงขอมูลไดไกลกวา แท็กแบบ Passive และยังสามารถ ทํางานในบริเวณที่มีสัญญาณรบกวน ไดดีอีกดวย 2. Passive Tag แท็กแบบ นี้จะไมมีแบตเตอรี่อยูภายใน แตจะ ทํางานโดยอาศัยพลังงานไฟฟาทีเ่ กิด จากการเหนีย่ วนําคลืน่ แมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic) จากตัวอานขอมูล จึงทําใหแท็กแบบ Passive มีนํ้าหนัก เบากวาแท็กแบบ Active จึงมีอายุ การใชงานไมจาํ กัด ราคาก็ถกู กวา แต ขอเสีย คือ ระยะการรับสงขอมูลใกล และตัวอานขอมูลจะตองมีความไวสูง นอกจากนี้ แท็กแบบ Passive มักจะมีปญหาเมื่อนําไปใชงานในสิ่งแวดลอมที่มีสัญญาณแมเหล็กไฟฟา รบกวนสูงอีกดวย แตเมือ่ เปรียบเทียบ ทั้งสองแบบแลว แท็กแบบ Passive ยังเปนทีน่ ยิ มมากกวาในเรือ่ งราคาถูก และอายุการใชงานอยางไมจาํ กัดนัน้ เอง

52

2. Reader หรือ Interrogator หรือตัวอานขอมูล ซึ่งเปนตัวรับ คลืน่ วิทยุขอ มูลทีส่ ง มาจากแท็ก RFID แลวทําการตรวจสอบความผิดพลาด ของข อ มู ล รวมทั้ ง ถอดรหั ส ข อ มู ล และนําขอมูลนั้นไปใชตอไป ตัวอานขอมูลที่ดีนั้นจะตองมี ระบบปองกันเหตุการณการอานซํ้า ของขอมูลที่เรียกวา ระบบ "Hands Down Polling" โดยตัวอานจะสั่งให แท็กหยุดการสงขอมูลในกรณีที่แท็ก ถูกวางทิ้งไวในบริเวณสนามแมเหล็ก

รูปที่ 3 ตัวอานขอมูลแท็ก RFID

ไฟฟาที่อยูในระยะการรับ-สงขอมูล ทําใหการรับหรืออานขอมูลจากแท็ก ซํ้าอยูเรื่อยๆ ไมสิ้นสุด หรืออาจเกิด กรณีที่มีแท็กอยูในบริเวณสนามแม เหล็กไฟฟาพรอมกันหลายอัน หรือที่ เรียกวา "Batch Reading" ดังนั้น ตัวอานจึงควรจะมีความสามารถใน การจัดลําดับการอานแท็กแตละตัวได

หลักการทํางาน

1. ตัวอานจะสงคลื่นแมเหล็ก ไฟฟาออกมาอยูต ลอดเวลา และคอย ตรวจจับวาแท็กเขามาอยูในบริเวณ ของสนามแมเหล็กไฟฟานั้นหรือไม หรือคอยตรวจจับคลืน่ ทีม่ กี ารมอดูเลต มาจากแท็ก 2. เมื่อมีแท็ก RFID เขามาอยู ในบริเวณสนามแมเหล็กไฟฟาแลว แท็กก็จะไดรับคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ สงออกมาจากตัวอาน แลวจึงแปลง ไปเปนพลังงานไฟฟา ทําใหแท็กเริ่ม ทํางาน และสะทอนคลื่นโตตอบกลับ ไมโครชิป แท็ก

แท็ก

สายอากาศ เชอมตอสัญญาณดวยการเหนี่ยวนํา (Inductive coupling)

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555

เชอมตอสัญญาณดวยการแพรกระจาย (Propagation coupling)

รูปที่ 4 การทํางานของระบบอานแท็ก


RFID ¥ ¥z ¨· ¯ ¨ ¯ ¨ w« ¤ § Õ¥zµ u z° ¶t 5),' ° Õ £° w« ¤ §u z° ¶t £¯ u z° ¶t 3DVVLYH t©·z $FWLYH $FWLYH ° Õz ¤zz¥ ³ Õ ¨° Õzt¼¥¯ § ¤zz¥ ¨° Õzt¼¥¯ § ¤zz¥ ² ¤ ¯ z ¨° Õzt¼¥¯ § ¤zz¥ ² ¤ ¯ z ² ¤ ¯ z ° Õ{£ ¥ ¤ ¤zz¥ ° ¯ ¨· ° ¯ ¨· ¨· Õz ¥{¥t¯w ª· z Õ¥ t¥ § Õ ª· ¥ ¯w ª· z Õ¥ {£¯ Ý ¤ t¼¥ ¯w ª· z Õ¥ {£¯ Ý ¤ t¼¥ ¯w ª· z Õ¥ ª ° ¶t{£¯ Ý ¤ t¥ ¯ §· Ö t¥ ª· ¥ t¥ ¯ §· Ö t¥ ª· ¥ t¼¥ t¥ ¯ §· Ö t¥ ª· ¥ u ¥ ¯ ¶t t ¥z ² Õ s s s s §¸ £ £t¥ Õ¥ ¤¸ ©z ¥ ¯ ¥ t ¥z ³t ©z ¯ ³t ³t ©z t§± ¯ t¥ t° Õ g Õ¥ Õ¥z¯ ¨ 52 UHDG RQO\ w ¥ {¼¥ g ¯u¨ ©·zw ¤¸z° £ Õ¥ ³ Ö ¥ w ¤¸z :250 ZULWH RQFH UHDG PDQ\ g Õ¥ ° £¯u¨ 5: UHDG ZULWH u ¥ Õ w ¥ {¼¥ ³ Ù ¬z ©z 0% ¥z° ¶t ¥{ ¬z ©z N% ¥w¥ ³ Õ° z ¥ t ¥z ° z

ออกไปยังตัวอาน พรอมกับขอมูลที่ บันทึกอยูในไมโครชิป โดยอาศัยคลื่น พาห (Carrier wave) ที่ถูกมอดูเลต (Modulate) เรียบรอยแลว ออกมา ทางสายอากาศที่อยูภายในแท็ก 3. คลืน่ พาหทถี่ กู สงออกมาจาก แท็ ก จะเกิ ด การเปลี่ ย นแปลงทาง Amplitude, Frequency หรือ Phase ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวิธีการมอดูเลต ซึ่งตัว อานจะตรวจจับความเปลี่ยนแปลง ของคลื่นพาห ทําการถอดรหัส แลว แปลงออกมาเปนขอมูลเพื่อนําขอมูล ไปใชงานตอไป

ยานความถี่ใชงาน

ยานความถีใ่ ชงาน (Operating frequency) ถื อ เป น คุ ณ สมบั ติ สําคัญ อีกประการหนึ่งในการเลือก ใชอุปกรณ RFID ทั้งระบบ ซึ่งหมาย ถึง คลื่นความถี่วิทยุที่เครื่องอานสง ออกไปเทานั้น โดยไมสนใจวาแท็ก RFID จะส ง คลื่ น ความถี่ ใ นย า นใด ตอบกลับมา ในบางกรณี แท็ก RFID อาจ สงคลื่นความถี่เดิมกลับไปหาเครื่อง อานก็ได โดยอาศัยเทคนิคการเปรียบ เที ย บสั ญ ญาณแบบโหลดในการ แยกแยะความแตกตางของสัญญาณ ที่รับและสง

โดยทั่ ว ไปย า นความถี่ ใ ช ง าน ของอุปกรณ RFID สามารถแบงออก ไดเปน 4 ยานความถี่ ตามตารางที่ 1 สําหรับแท็กแบบ Active สามารถ ทํางานไดระยะไกลถึง 100 เมตร ซึ่ง โดยทั่ ว ไป มั ก นิ ย มใช ใ นงานขนาด ใหญ เชน ตูบรรจุสินคา และรถยนต เปนตน โดยใชความถี่ 455 MHz, 2.45 GHz หรือ 5.8 GHz และมีระยะ การทํางานตั้งแต 20 เมตร ถึง 100 เมตร เปนตน ตารางที่ 2 แสดงใหเห็นวา โดยทั่วไประยะการทํางานของแท็ก จะเพิม่ ขึน้ เมือ่ ความถีเ่ พิม่ ขึน้ อยางไร ก็ตาม ในการใชงานจริงระยะการทํา งานของแท็กยังขึ้นอยูกับปจจัยอื่นๆ

อีก เชน พลังงานที่สงมาจากเครื่อง อาน ขนาดของสายอากาศ เทคนิค ในการรับสงขอมูล และประเภทของ แท็ก เปนตน ในทางปฏิบัติระบบ RFID ที่ ทํางานในยานความถี่ตํ่า (LF) และ ความถีส่ งู (HF) จะใชความถีเ่ ดียวกัน ทุกประเทศ เชน ยานความถี่ตํ่าจะใช ความถี่ 135 kHz และยานความถี่ สูงจะใชความถี่ 13.56 MHz เปนตน อย า งไรก็ ต าม ยั ง ไม มี ก ารกํ า หนด ความถีท่ จี่ ะใชในระบบ RFID ทีท่ าํ งาน ในยานความถี่สูงยิ่ง (UHF) ดังนั้น ความถี่ ใ ช ง านในย า นความถี่ สู ง ยิ่ ง ในแตละประเทศจึงแตกตางกัน ตาม ตารางที่ 3

¥ ¥z ¨· £ £t¥ ¼¥z¥ u z° ¶t° 3DVVLYH ² ° Õ £ Õ¥ w ¥ ¨· ¨·²}Öz¥ Õ¥ w ¥ ¨· }Õ zw ¥ ¨· w ¥ ¥ w ª· £ £t¥ ¼¥z¥ w ¥ ¨· ·¼¥ /) N+] N+] NP NP FP w ¥ ¨· ¬z +) 0+] 0+] P P FP w ¥ ¨· ¬z §·z 8+) 0+] *+] P FP P w ¥ ¨·³ ±w ¯ *+] *+] FP PP ! P ¥ ¥z ¨· w ¥ ¨·²}Öz¥ 5),' ² Õ¥ w ¥ ¨· Õ¥zµ u z° Õ £ £¯ £¯ w ¥ ¨· /) w ¥ ¨· +) w ¥ ¨· 8+) w ¥ ¨·³ ±w ¯ ¤ 0+] 0+] 0+] *+] ¯ §t¥ *+] «± 0+] 0+] 0+] *+] {¨ 0+] 0+] 1 $ 1 $ § ¯ ¨ 0+] 1 $ 0+] *+] ¨· «Ð 0+] 0+] 0+] *+] §zw± Ù 0+] 0+] 0+] *+]

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555

53


RFID

ขอพิจารณา ในการเลือกใช อุปกรณ RFID

เทคโนโลยี RFID ทําใหเกิด ความสะดวกและความคลองตัวใน การใชงานดานตางๆ จึงทําใหเปนที่ นิยมอยางแพรหลาย ซึ่งจะเห็นไดวา ในปจจุบันมีการนําระบบ RFID มาใช งานในหลายๆ ดาน เชน ระบบ ขนสง, ระบบระบุสตั วบตั ร, ระบบอัตโนมัตใิ น โรงงานอุตสาหกรรม, และระบบผาน เขาออก เปนตน ในการนํ า ระบบ RFID ไป ใชงาน ผูใชจะตองทําการเลือกและ ปรับแตงพารามิเตอรตางๆ ในระบบ RFID ใหเหมาะสมสําหรับแตละงาน ประยุ ก ต เ พื่ อ ให เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพ สูงสุด โดยทัว่ ไปไมมคี าํ ตอบทีแ่ นนอน วา งานประยุกตแบบใดจะตองเลือก ใชพารามิเตอรแบบไหน นั่นคือ ยัง ไมมีการกําหนดกฎเกณฑใดๆ ที่ใช ระบุเงื่อนไขการใชงานระบบ RFID อยางชัดเจน ดังนั้นจึงเปนการยาก ที่ ผู  ใ ช จ ะเลื อ กระบบ RFID ให เหมาะสมกับงานประยุกตที่ตองการ ในสวนนี้จะกลาวถึงหลักการ พื้นฐานที่ผูใชงานเทคโนโลยี RFID ควรทราบ เพื่อใชเปนแนวทางในการ

ตัดสินใจเลือกใชอุปกรณ RFID ใหได ตรงกับความตองการใชงานมากที่สุด โดยจะใชหลักเกณฑในการพิจารณา 4 ดาน คือ ความถี่ที่ใชงาน, ระยะทํา การ, ขอกําหนดดานความปลอดภัย, และขนาดของหนวยความจํา ดังราย ละเอียดตอไปนี้ 1. ความถีท่ ใี่ ชงาน จากตาราง ที่ 2 จะพบวาโดยทั่วไประบบ RFID ที่ใชงานยานความถี่ในชวง 100 kHz ถึง 30 MHz ทั้งนี้รูปแบบการรับ-สง ขอมูล ระหวางแท็ก RFID กับเครื่อง อานจะเปนแบบเหนีย่ วนํา (Inductive coupling) ในขณะที่ระบบ RFID ที่ใชงาน ยานความถีใ่ นชวง 2.45 GHz ถึง 5.8 GHz จะรับ-สงขอมูลโดยการแพร กระจาย (Propagation coupling) ซึ่งผูใชจะตองทําความเขาใจเกี่ยว กับพฤติกรรมการแพรกระจายของ สัญญาณที่ใชในระบบ RFID ใหดี เพื่อใหสามารถนํามาใชงานใหเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ตัวอยางเชน การดูดซับคลื่น สัญญาณของตัวนําที่ไมนําหรือวัสดุ ที่ไมเปนตัวนํา (Non-conductive substance) ทีค่ วามถีใ่ ชงาน 100 kHz จะมีอัตราดูดซับที่ตํ่ากวา 100,000 เทา ของการใชงานที่ความถี่ 1 GHz เชน การใชงานระบบ RFID ที่ยาน

ฐานขอมูลคอมพิวเตอร

ไมโคร คอม พิวเตอร

ตัวอาน RFID ชิปอินเทอรเฟส กับคลนวิทยุ เครองอาน รูปที่ 5 อุปกรณในระบบ RFID

54

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555

แท็ก

ความถี่ 1 GHz ในกรณีที่มีฝนตกจะ กอใหเกิดปญหาการลดทอนสัญญาณ มากกวาการใชงานระบบ RFID ทีย่ า น ความถี่ 100 kHz เปนตน นอกจากนั้น ระบบ RFID ที่ใช งานยานความถี่ตํ่าจะมีความสามารถ ในการทะลุทะลวงไดสูงกวา (แตสง ไปไดใกลกวา) ระบบ RFID ที่ใชงาน ยานความถี่สูง ระบบ RFID ทีท่ าํ งานโดยอาศัย การแพรกระจายคลื่นแมเหล็กไฟฟา จะสามารถครอบคลุมพื้นที่ใชงานได มากกวา (2-15 เมตร) ระบบ RFID ที่ ทํ า งานโดยอาศั ย การเหนี่ ย วนํ า อยางไรก็ตาม แท็กที่ทํางานในยาน ไมโครเวฟต อ งการพลั ง งานจาก แบตเตอรี่ภายในแท็กเอง เนื่องจาก พลังงานที่สงมาจากเครื่องอานผาน ทางคลื่นวิทยุไมเพียงพอตอการใช งานจึงทําใหแท็กมีขนาดใหญ นอกจากนี้ สั ญ ญาณรบกวน คลื่นแมเหล็กไฟฟา (เชน จากการ ทํางานของมอเตอรไฟฟา หรือเครือ่ ง จักรกลตางๆ) จะมีผลกระทบตอระบบ RFID ที่ใชงานยานความถี่ไมโครเวฟ นอยกวาระบบ RFID ที่ทํางานโดย อาศัยหลักการเหนี่ยวนํา ดังนั้นโดย ทัว่ ไประบบ RFID ทีใ่ ชงานยานความถี่ ไมโครเวฟมักจะนํามาใชงานในสาย การผลิ ต ของโรงงานอุ ต สาหกรรม เชน โรงงานประกอบรถยนต เปนตน 2. ระยะการอาน ระยะการ อานระหวางแท็กกับเครื่องอานจะขึ้น อยูก บั ปจจัยสําคัญ 3 อยาง ดังตอไปนี้ 1. ความเทีย่ งตรงของตําแหนง การใชงานของแท็ก ในการใชงาน แท็กแบบไรสัมผัสเพื่อผานการเขา ออกช อ งทางเข า สู  ร ถไฟฟ า ใต ดิ น ระบบนีไ้ มตอ งการความเทีย่ งตรงของ ตําแหนงแท็กมากนัก เนือ่ งจากในทาง ปฏิบัติผูโดยสารทุกคนจะตองนําบัตร


RFID

รูปที่ 6 ชองเขาออกรถไฟฟาใตดินใชระบบ RFID

มาแตะในระยะที่เกือบจะสัมผัสกับ เครื่องอานอยูแลว ดังนั้นสิ่งที่ควรใหความสําคัญ คือ ระยะหางขั้นตํ่าที่ยอมใหแท็กที่ อยูใกลกัน ซึ่งในที่นี้ก็คือ ระยะหาง ระหวางผูโ ดยสารปจจุบนั กับผูโ ดยสาร คนถั ด ไปที่ กํ า ลั ง เดิ น ตามมา (โดย ทัว่ ไปมีระยะไมเกิน 5-10 เซนติเมตร) เพือ่ ใหมนั่ ใจวาสัญญาณทีส่ ง ออกจาก เครื่องอานจะไปถึงปายแท็กที่อยูใกล เครื่องอานมากที่สุดเพียงปายเดียว (จะไมถูกสงไปไกลจนถึงปาย RFID ของผูโ ดยสารคนถัดไป) มิฉะนัน้ จะทํา ใหปายแท็กทั้งสองสงสัญญาณออก มาพรอมกัน ทําใหเกิดการชนกันของ ขอมูลได 2. ระยะหางระหวางแท็ก การ ติดตัง้ แท็ก RFID ลงในตัวถังรถยนต ที่อยูในกระบวนการผลิตเพื่อใชบอก ลํ า ดั บ และแสดงตั ว ตนเมื่ อ เข า สู  กระบวนการตางๆ โดยทั่วไปจะใช แท็กทีท่ าํ งานในยานความถีไ่ มโครเวฟ โดยระยะการอาน-เขียนขอมูลระหวาง แท็ก และเครื่องอานจะถูกออกแบบ ใหมีระยะทําการที่ไกล และระยะหาง ระหวางแท็กจะตองมีความกวางเพียง พอทีจ่ ะทําใหมแี ท็กเพียงอันเดียวทีอ่ ยู ในพื้นที่ทําการของเครื่องอาน ในทางปฏิ บั ติ ระบบ RFID ลั ก ษณะนี้ จ ะใช ค ลื่ น ไมโครเวฟที่ มี สนามแมเหล็กไฟฟาแบบมีทิศทาง

รูปที่ 7 แท็ก RFID ที่ตัวถังรถยนตในสายการผลิต

(Directional beam) จะมี ข  อ ดี มากกวาระบบ RFID แบบเหนี่ยว นําที่มีสนามแมเหล็กไฟฟาแบบกวาง และไมมีทิศทาง (Non-directional) 3. ความเร็วการเคลื่อนที่ของ แท็ก ความเร็วในการเคลื่อนที่ของ แท็ ก เมื่ อ เที ย บกั บ เครื่ อ งอ า นและ ระยะการอานขอมูลจะเปนตัวกําหนด ระยะเวลาทีส่ ามารถใชงานไดในพืน้ ที่ ทําการของเครื่องอาน ตัวอยางเชน การนําแท็ก RFID มาติดตัง้ ในรถยนต ที่ว่ิงในสายการผลิต วิศวกรระบบจะ ตองคํานึงถึงความเร็วของสายพาน ที่นําตัวรถเขาสูระบบและเวลาที่แท็ก จะอยูในพื้นที่ทําการ เพื่อใชในการ คํานวณระยะเวลาทีส่ ามารถใชในการ รับ-สงขอมูลระหวางแท็กกับเครื่อง อานใหตรงตามความตองการ 3. ข อ กํ า หนดด า นความ ปลอดภั ย ข อ กํ า หนดด า นความ ปลอดภัยในการใชงานระบบ RFID ประกอบไปดวย 2 สวน คือ การตรวจ ยืนยันแท็ก RFID (Authentication) และการเขารหัสลับ (Encryption) ของขอมูลที่รับ-สงระหวางแท็กและ เครือ่ งอาน การเพิม่ ฟงกชนั่ การรักษา ความปลอดภัยเขาไปในระบบ RFID จะเป น การเพิ่ ม ค า ใช จ  า ยค อ นข า ง มาก ดั ง นั้ น ผู  ใ ช ง านต อ งพิ จ ารณา ใหรอบคอบวาการใชงานนั้นมีความ จําเปนตองใชมาตรการรักษาความ

ปลอดภัยหรือไม หรือถาใชก็ควรใช ในระดับใด เพื่อใหการลงทุนเปนไป อยางเหมาะสมที่สุด ตัวอยางเชน ในกรณีของระบบ สายการผลิตรถยนต การติดตั้งแท็ก RFID ในรถยนตจะใชแสดงตําแหนง เทานัน้ และโดยทัว่ ไปในสายการผลิต มักจะมีระบบปองกันบุคคลภายนอกที่ ไมเกี่ยวของกับงานนั้นเขาไปในพื้นที่ ทํ า งาน ดั ง นั้ น การออกแบบระบบ RFID ในกรณีนี้จึงไมจําเปนตองมี การรักษาความปลอดภัย เพราะจะ เปนการสิ้นเปลืองงบประมาณ อยางไรก็ตาม สําหรับการใชงาน อื่นๆ เชน บัตรเติมเงิน และบัตรโดย สารรถไฟฟาใตดิน เปนตน มีความ จําเปนตองมีขอกําหนดทางดานการ รักษาความปลอดภัย ทั้งกระบวนการ ตรวจยืนยันผูใชและการเขารหัสลับ เพราะว า ถ า มี ก ารปลอมแปลงบั ต ร หรือมีการแกไขขอมูลในบัตรเพื่อนํา ไปใชก็จะสงผลใหเกิดความเสียหาย ตอธุรกิจได 4. ขนาดของหนวยความจํา โดยทัว่ ไปราคาของแท็กจะสัมพันธกบั ลักษณะและขนาดของหนวยความจํา ที่บรรจุอยูภายในแท็ก ในการใชงาน ในระดับสาธารณะ เชน ระบบขนสง จะนิยมใชแท็กที่มีหนวยความจํานอย หรือแท็กแบบที่ไมสามารถโปรแกรม ไดเพื่อควบคุมตนทุนของบัตร

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555

55


RFID ¥ ¥z ¨· t¥ ° Õz ª¸ ¨·²}Öz¥ u z £ 5),' Õ¥ w ¥ ¨· 8+) ª¸ ¨· ª¸ ¨· ª¸ ¨· ª¸ ¨· §t¥ ° §t¥ «± £ ¤ tt ¥z ¯ §t¥¯ ª ¯ §t¥t ¥z ¯ ¯}¨ ¯ ¯ ¨ ¤ ¯~¨ ° £³~ ¨¯ ¨ ° £° ~§ Ìt £ ¤ t ° £° ~§ Ìt £ ¤ t Õ z¥ w w« «± &()7 ¤ ¯ §t¥ )&& ¨· «Ð 03+37 0LQLVWU\ RI 3XEOLF (XURSHDQ &RQIHUHQFH RI 3RVWDO )HGHUDO &RPPXQLFDWLRQV 0DQDJHPHQW +RPH $IIDLUV DQG 7HOHFRPPXQLFDWLRQV &RPPLVVLRQ 3RVWV DQG 7HOHFRPPXQLFDWLRQV w ¥ ¨· 8+) ¨·²}Ö 0+] 0+] 0+] t¼¥ ¤zz¥ ¬z « ¤ Ù (,53 ¤ Ù (,53

อยางไรก็ตาม ในกรณีทมี่ คี วาม จํ า เป น จะต อ งมี ก ารบั น ทึ ก ข อ มู ล จํานวนมากหรือเขียนทับขอมูลลงใน หนวยความจําบอยๆ ผูอ อกแบบระบบ ควรพิจารณาเลือกใชหนวยความจํา แบบ EEPROM หรือ SRAM หนวยความจําแบบ EEPROM นิยมใชในระบบ RFID ที่มีการรับ-สง ขอมูลแบบเหนีย่ วนํา โดยมีขนาดของ หนวยความจําตัง้ แต 16 ไบต จนถึง 8 กิโลไบต ในขณะทีห่ นวยความจําแบบ SRAM ทีม่ กั จะมาพรอมกับแบตเตอรี่ สํารอง จะนิยมใชในการรับ-สงขอมูล ในยานความถี่ไมโครเวฟ โดยมีขนาด ของหนวยความจําตั้งแต 256 ไบต จนถึง 64 กิโลไบต 5. กฎข อ บั ง คั บ ของระบบ RFID กฎขอบังคับ (Regulation) คือ กฎขอบังคับทีป่ ระกาศโดยรัฐบาล หรือภาครัฐเพื่อกําหนดใหหนวยงาน ตางๆ ตองทําตามกฎระเบียบเหลา นั้น โดยถาใครฝาฝนกฎระเบียบก็จะ ตองถูกลงโทษ (เชน จายคาปรับ) กฎ ขอบังคับที่ดีจะตองสามารถปองกัน ป ญ หาที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น ในภายหลั ง ได และถาจําเปนก็สามารถที่จะปรับ เปลี่ยนหรือแกไขได ตัวอยางเชน การควบคุมสินคา ราคา คาจาง มลภาวะ และมาตรฐาน ของผลผลิต ของสินคาหรือบริการ โดยรวมไปถึ ง กฎข อ บั ง คั บ ในการ สรางอุปกรณของระบบ RFID ซึ่งถูก กําหนดขึ้นมาเพื่อทําใหอุปกรณและ ระบบที่สรางขึ้นมามีความปลอดภัย

56

และไม ไ ปรบกวนการทํ า งานของ บริ ก ารอื่ น ๆ ที่ ใ ช ย  า นความถี่ วิ ท ยุ เหมือนกัน 1. กฎขอบังคับดานความถีท่ ใี่ ช งาน เครือ่ งอานและแท็ก RFID จะใช คลื่นวิทยุ (หรือคลื่นแมเหล็กไฟฟา) ณ ความถีท่ ใี่ ชงานหนึง่ ๆ ในการติดตอ สือ่ สาร โดยคลืน่ แมเหล็กไฟฟาทีใ่ ชใน ระบบ RFID จะอยูในชวงสเปกตรัม ความถี่ ข องคลื่ น วิ ท ยุ ซึ่ ง มี ก ารให บริการทางดานวิทยุ โทรทัศน และ โทรศัพทเคลื่อนที่มากอนแลว ดังนั้น เพือ่ ไมใหการใชงานความถีท่ บั ซอนกัน (ซึ่งกอใหเกิดการรบกวนกัน) จึงไดมี การกําหนดกฎขอบังคับดานความถี่ท่ี ใชงานสําหรับระบบ RFID ดังนี้ - ยานความถีต่ าํ่ (LF: Low frequency) อุปกรณ RFID ตองใชความถี่ 125 kHz หรือ 134 kHz สําหรับ ทุกประเทศ - ยานความถีส่ งู (HF: High frequency) อุปกรณ RFID ตองใชความถี่ 13.56 MHz สําหรับทุกประเทศ - ยานความถี่สูงยิ่ง (UHF: Ultra high frequency) และยานความถี่ ไมโครเวฟ (Microwave frequency) อุปกรณ RFID จะใชความถี่ที่ แตกตางกันไปในแตละประเทศ 2. กฎขอบังคับดานพื้นที่ ถา ระบบ RFID ทีใ่ ชงานในแตละประเทศ ใช ค วามถี่ ที่ แ ตกต า งกั น อุ ป กรณ RFID ของแต ล ะประเทศก็ จ ะไม สามารถนํามาใชงานในประเทศอื่นๆ ได และเนื่องจากระบบ RFID ที่ใช

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555

งานยานความถี่ UHF กําลังเริ่มเปน ที่นิยมใชงานอยางแพรหลาย ดังนั้น สหภาพโทรคมนาคมระหวางประเทศ (ITU: International Telecommunication Union) จึงมีการจัดสรรการ ใชงานยานความถี่ UHF ออกเปน 3 พื้นที่ ดังแสดงในตารางที่ 4 สําหรับ ตัวอยางความถีใ่ ชงานสําหรับอุปกรณ RFID ของแตละประเทศสามารถดูได จากตารางที่ 3 3. ขอบังคับดานความปลอดภัย เมื่อรางกายของมนุษยอยูในสภาพ แวดลอมที่มีคลื่นวิทยุ ก็จะดูดกลืน พลั ง งานของคลื่ น วิ ท ยุ เ ข า มาใน รางกาย ซึง่ เปนอันตรายไดถา รางกาย ไดรับพลังงานมากเกินกวาเกณฑที่ กําหนด โดยอาจทําใหเกิดผลกระทบ ตางๆ ได เชน การเปลี่ยนแปลงในวง ชีวติ และการขยายตัวของเซลล (Cell cycle and cell proliferation), การ เปลีย่ นแปลงในเยือ่ หุม สมองทีป่ อ งกัน สมองจากสารพิษภายนอก หรือการ เปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟาในสมอง เปนตน

มาตรฐาน ของระบบ RFID

มาตรฐาน คื อ ข อ กํ า หนดที่ ควรปฏิบัติเพื่อทําใหอุปกรณที่ผลิต จากโรงงานต า งๆ สามารถใช ง าน รวมกันได ในทางอุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี ไ ด นิ ย ามการทํ า ให เ ป น มาตรฐาน (Standardization) วา


RFID ¥ ¥z ¨· ¤ Õ¥z ¥ ¥ u z ,62 ¨·²}Ö² £ 5),' ¥ ¥ ,62 w¼¥ § ¥ ISO/IEC 15961

Information exchange in a radio frequency identification (RFID) system (data protocol for application interface) for item management

ISO/IEC 15962

Data encoding rules and logical memory functions for item management

ISO/IEC 15963

Unique identification for RF tags

ISO/IEC 18000-i (i = 1, 2, 3, ...)

Parameters for air interface communications for different operating frequencies

ISO/IEC 18047-i (i = 1, 2, 3, ...)

RFID device tests methods for different operating frequencies

ISO/IEC 19762-3

Automatic identification and data capture (AIDC) techniques: vocabulary

ISO/IEC 24730-1

Real-time locating systems (RTLS): application program interface (API)

หมายถึง กระบวนการในการสราง มาตรฐานทางเทคนิคเพือ่ ใหผปู ระกอบการตางๆ ไดรับผลประโยชนรวมกัน โดยปราศจากการแขงขัน กลาวคือ สินคาของแตละโรงงานที่ผลิตตาม มาตรฐานเดียวกันก็จะสามารถทํางาน รวมกันไดอยางไมมปี ญ  หา แตถา สินคา นั้นผลิตโดยใชมาตรฐานที่ตางกัน ก็ จะไมสามารถนํามาใชงานรวมกันได โดยทัว่ ไปมาตรฐานทางเทคนิค ของอุปกรณไฟฟาจะถูกกําหนดโดย หนวยงานตางๆ เชน ISO (International Organization for Standardization), IEC (International Electrotechnical Commission), และ ITU (International Telecommunications Union) มาตรฐานของสิ น ค า ถื อ ว า เป น ส ว นสํ า คั ญ ของธุ ร กิ จ เพื่ อ ให อุตสาหกรรมตางๆ สามารถทํางาน รวมกันได การมีมาตรฐานทางดาน อุตสาหกรรมจึงมีขอดีมากมาย เชน - ทําใหผผู ลิต สามารถผลิตสินคาได อยางมัน่ ใจ เพราะวาผูผ ลิตทุกราย ผลิตสินคาตามมาตรฐานเดียวกัน - ทําใหผผู ลิตประหยัดคาใชจา ยและ งายตอการผลิตอุปกรณตางๆ - ทําใหผูซื้อไดรับประโยชนโดยตรง เนื่องจากสามารถเลือกซื้อสินคา ไดตามที่ตองการ

- ทํ า ให ลู ก ค า มั่ น ใจในสิ น ค า ที่ ซื้ อ เพราะวาสินคานัน้ ผลิตจากเทคโนโลยีที่ไดรับมาตรฐาน ในป จ จุ บั น องค ก รที่ กํ า หนด มาตรฐานของอุปกรณในระบบ RFID ที่ เ ป น ที่ ย อมรั บ กั น ทั่ ว โลกมี อ ยู  2 องคกร คือ ISO และ EPCglobal 1. มาตรฐาน ISO ISO คือ องคกรมาตรฐานสากลที่ประกอบไป ดวยตัวแทนจากหนวยงานมาตรฐาน ของหลายๆ ประเทศ โดยเริ่มกอตั้ง เมือ่ วันที่ 23 กุมภาพันธ ค.ศ. 1947 องคกร ISO จะเปนผูกําหนดมาตรฐานทางดานอุตสาหกรรมและการคา ดานตางๆ ซึง่ รูจ กั กันทัว่ ไปวา “มาตรฐาน ISO” (ISO standards) ปจจุบนั องคกร ISO ไดกาํ หนดมาตรฐานของ ระบบ RFID ในแตละดาน ดังนี้ - มาตรฐานการระบุตัวตน โดยจะ กล า วถึ ง เรื่ อ งของการเข า รหั ส ขอมูลตางๆ ในแท็ก - โปรโตคอลการติดตอสื่อสาร โดย กําหนดขัน้ ตอนการสือ่ สารระหวาง แท็ก และเครื่องอาน - โปรโตคอลสําหรับการติดตอกับ อุปกรณเสริมในระบบ RFID เชน เครื่องคอมพิวเตอร - มาตรฐานที่เกี่ยวกับการทดสอบ การเขากันได และความปลอดภัย ตารางที่ 5 แสดงตั ว อย า ง

มาตรฐานของ ISO ที่ ใ ช ใ นระบบ RFID โดยที่พารามิเตอร i จะบงบอก ถึ ง ความถี่ ที่ ใ ช ง านที่ แ ตกต า งกั น นอกจากนี้ โปรโตคอลการเชื่อมตอ ผานทางอากาศ (Air interface) จะ นิยามกฎการสื่อสารระหวางเครื่อง อานและแท็ก เชน การเขารหัสขอมูล การมอดู เ ลชั่ น ดี ม อดู เ ลชั่ น และ คําสัง่ ตางๆ ทีเ่ กีย่ วกับการทํางานของ แท็ก (เชน การอาน การเขียน การ เปลี่ ย นแปลง การยกเลิ ก การใช งานแท็ก เปนตน) รวมทั้งอัลกอริทึม ปองกันการชนกันของขอมูล ในทางปฏิ บั ติ องค ก ร ISO ได กํ า หนดมาตรฐานการใช ง านใน หลายๆ ดาน เชน ระบบเครือขาย คอมพิวเตอร ระบบการผลิต และ ระบบ RFID เปนตน อยางไรก็ตาม มาตรฐานของระบบ RFID ที่ เ ป น ที่ นิ ย มทั่ ว ไปอี ก มาตรฐานหนึ่ ง ก็ คื อ มาตรฐาน EPCglobal 2. มาตรฐาน EPCglobal ศูนย Auto-ID แหง MIT (Massachusetts institute of technology) ทํ า งานร ว มกั บ อุ ต สาหกรรมชั้ น นํ า และสถาบั น ต า งๆ ทั่ ว โลก ในการ ออกแบบระบบ RFID ทีเ่ ปนประโยชน ทางดาน Global supply chain โดย ระบบนี้จะประกอบดวยรหัส EPC, เทคโนโลยี RFID, และโปรแกรม สนับสนุนตามมาตรฐาน EPCglobal โดยระบบนี้จะเรียกวาเครือขาย EPCglobal (EPCglobal network) ซึ่ง จะใหบริการ 5 ดาน ดังนี้ 1. การกําหนดหมายเลขรหัส ID ที่เปนหนึ่งเดียวสําหรับสินคาที่ ตองการจะระบุตัวตน 2. การตรวจหาและการระบุตวั ตนของสินคา 3. รวบรวมและการกรองขอมูล โดยจะอยูในสวนของการแลกเปลี่ยน

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555

57


RFID ขอมูลกันระหวางเครื่องอานและฐาน ข อ มู ล และข อ มู ล ที่ สํ า คั ญ ก็ จ ะถู ก บันทึกในฐานขอมูล 4. การสอบถามและการจั ด เก็บขอมูล 5. การระบุตําแหนงของขอมูล ในปจจุบันนี้ EPCglobal เปน ผูนําในการพัฒนามาตรฐานสําหรับ สินคาที่ใชรหัส EPC เพื่อรองรับการ ใชเทคโนโลยี RFID ในเครือขายการ คาทั่วโลก ตัวอยางเชน มาตรฐาน EPCglobal Gen 2 ไดรับการอนุมัติ ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2004 เพื่อ ใชเปนมาตรฐานของแท็ก RFID ที่ สามารถใชงานไดทั่วโลก และรองรับ ผูผลิตรายใหญตางๆ โดยแท็ก RFID ทีใ่ ชมาตรฐานนีจ้ ะเรียกวา แท็ก EPC (EPC tag) สําหรับตัวอยางโครงสรางของ หมายเลขรหัส EPC ในรูปของเลข ฐานสิบหก (Hexadecimal) ดังแสดง ในรูปที่ 8 ซึ่งแตละสวนมีความหมาย ดังนี้ - สวนหัว (Header) เปนตัวกําหนด ความยาว ประเภท โครงสราง เวอรชัน และรุนของรหัส EPC - หมายเลขผู  จั ด การ (Manager number) เปนตัวกําหนดชือ่ บริษทั หรือหนวยงาน

Header

Manager Humber

Serial Number

รูปที่ 8 ตัวอยางโครงสรางของหมายเลขรหัส EPC ในรูปของเลขฐานสิบหก (Hexadecimal)

- ระดับชัน้ ของวัตถุ (Object class) เปนตัวกําหนดชื่อสินคา - หมายเลขประจํา (Serial number) คื อ หมายเลขประจํ า ของสิ น ค า แตละชั้น

การประยุกตใชงาน ระบบ RFID

RFID เปนหนึ่งในเทคโนโลยี ที่เกี่ยวกับระบบการระบุเอกลักษณ ดวยคลื่นวิทยุ สามารถใชในการระบุ เอกลักษณของวัตถุ บอกตําแหนง ติดตาม และตรวจสอบสินคา โดยการ ใชแท็กที่ฝงไมโครชิปเก็บขอมูล และ สายอากาศ ทํางานโดยใชเครื่องอาน ที่สื่อสารกับแท็กดวยคลื่นวิทยุในการ อานและเขียนขอมูล ปจจุบัน มีการประยุกตใชแท็ก RFID กันอยางแพรหลาย โดยนํา มาใช แ ทนระบบบาร โ ค ด แบบเดิ ม

รูปที่ 9 ตัวอยางสินคาที่มีการติดแท็ก RFID

58

Object class

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555

เนื่องจาก RFID มีความสะดวกสบาย ในการใชงานมากกวา ไมจําเปนตอง นํ า วั ต ถุ ม าอ า นด ว ยเครื่ อ งอ า นบาร โคด เพียงแคนาํ วัตถุทตี่ ดิ แท็กไปผาน บริเวณที่มีเครื่องอานสัญญาณก็จะ สามารถอานคาไดทนั ที ทําใหสามารถ ใหบริการไดอยางรวดเร็วมากขึ้น ตัวอยางการประยุกตใช RFID ในปจจุบัน ไดแก 1. การพาณิชย เพื่อการทํา สต็อกสินคา และการขายสินคา โดย นํามาใชแทนรหัสบารโคดแบบเดิม เนือ่ งจาก RFID มีคณ ุ สมบัตทิ สี่ ามารถ ตรวจสอบตําแหนงของวัตถุไดดว ยขอ มูลในแท็ก ทําใหการตรวจสอบสินคา ทําไดสะดวก สามารถรูตําแหนงของ สินคาแตละชั้นที่อยูในรานไดทันที การอ า นค า จากแท็ ก ก็ ทํ า ได อ ย า ง รวดเร็วกวาบารโคด และบรรจุขอมูล ไดหลากหลายกวา 2. การจราจร/ขนสง มีการ

รูปที่ 10 มีการใชแท็ก RFID กับรถยนตที่ใชบริการทางดวน


RFID ฝงชิปที่ทํางานโดย ไรการสัมผัสไวภายใน ปกหนังสือเดินทาง

แผนเคลือบปองกัน ดวยลามิเนต หนาแสดงขอมูล และภาพถาย ฝงชิปไวภายใน แผนเคลือบปองกันดวยลามิเนต

โมดูลไรการสัมผัส ชิปวงจรรวม สายอากาศ

รูปที่ 11 RFID Passport

ประยุ ก ต ใ ช ร ะบบ RFID กั บ การ คํ า นวณค า ขึ้ น ลงทางด ว น โดยรถ ที่ตองการใชทางดวนจะติดแท็กไว บริเวณกระจกหนา เมื่อรถแลนผาน เครื่องอานสัญญาณบริเวณทางขึ้น

และทางลง เครื่องจะทําการคํานวณ คาใชจายใหโดยอัตโนมัติ 3. หนั ง สื อ เดิ น ทางและใบ ขับขี่ มีหลายประเทศในปจจุบันที่ได ฝงแท็ก RFID ไวในหนังสือเดินทาง

และใบขับขี่ โดยภายในแท็กนั้นจะมี ขอมูลของบุคคลทีเ่ ปนเจาของ เพือ่ ให สามารถตรวจสอบขอมูลไดทนั ทีทเี่ ดิน ผานบริเวณเครือ่ งอานสัญญาณ ทําให เพิ่ ม ความรวดเร็ ว ในการให บ ริ ก าร และชวยในการรักษาความปลอดภัย และมีประสิทธิภาพมากขึ้น 4. ระบบงานหองสมุด เปน การนํ า เทคโนโลยี RFID มาใช ใ น กระบวนการยืม-คืนหนังสือและสื่อ โสตทัศนดวยตนเอง โดยทั่วไปหองสมุดแตละแหง จะมีการพัฒนาฐานขอมูลเพื่อจัดเก็บ รายละเอียดทางบรรณานุกรมและ สถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อใชในการตรวจสอบขอมูลเกี่ยว กับยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศแตละ รายการของหองสมุด โดยทรัพยากร สารสนเทศแต ล ะรายการจะได รั บ ตัวเลขที่เฉพาะรายการ (บารโคด) ซึ่งไมไดมีความสัมพันธกันระหวาง ชื่อผูแตง และชื่อเรื่องของทรัพยากร สารสนเทศรายการนั้นๆ การยืม-คืน ทรัพยากรสารสนเทศที่ใชเทคโนโลยี บารโคด ผูใชตองติดตอขอความชวย เหลือจากบรรณารักษ/เจาหนาที่ จาก

การจัดการ ชั้นวางหนังสือ บริการตรวจสอบ การยืม/คืน ตรวจสอบการยืม/คืน ดวยตนเอง สงหนังสือคืน

ติดแท็ก ตรวจจับการขโมย

รูปที่ 12 ระบบงานหองสมุดที่ใช RFID

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555

59


RFID นั้นบรรณารักษ/เจาหนาที่จะนําแถบ บารโคดทีต่ ดิ กับทรัพยากรสารสนเทศ นั้นไปไวในบริเวณที่เครื่องอานรหัส บารโคด โดยสามารถอานไดทีละเลม แตสําหรับเทคโนโลยี RFID นั้นมีลักษณะคลายกับบารโคด และ ยังสามารถรองรับความตองการอีก หลายๆ อยางที่บารโคดไมสามารถ ตอบสนองได กลาวคือ เทคโนโลยี บารโคดเปนระบบทีอ่ า นไดอยางเดียว ไมสามารถเปลีย่ นแปลงขอมูลทีอ่ ยูบ น บารโคดได แตแท็ก RFID สามารถ อ า นและบั น ทึ ก ข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม นอก เหนือจากตัวเลขและเพิ่มเติมขอมูล ภายหลังได นอกจากนี้ ระบบเทคโนโลยี RFID เปนเทคโนโลยีที่สามารถสง ขอมูลทุกอยางผานคลื่นความถี่วิทยุ ดังนั้นการอานขอมูลจากปาย RFID จึงตองการเพียงใหแท็กขอมูลอยูใน บริเวณที่เครื่องอานอานได และผูใช สามารถยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศ ไดดวยตนเอง นอกจากนี้ เมื่อมีการ ยืม-คืนผานเทคโนโลยี RFID ฐาน ข อ มู ล ทรั พ ยากรสารสนเทศจะถู ก ปรับปรุงขอมูลเปนปจจุบันทันที 5. การขนสงสินคา ผูส ง มอบ สินคาในปจจุบันจะมีการตรวจสอบ สินคาที่จะจัดสงนั้นวามีความปลอดภัยสําหรับการขนสงหรือไม จะไมถูก

เปดระหวางทาง ไมมกี ารสูญหายหรือ สับเปลี่ยน ผูสงมอบสินคาจึงไดนํา ระบบ E-Seal เขามาใชในการขนสง E-Seal ยอมาจาก Electronic Seal คือ เทคโนโลยีการใชระบบปดตู สินคาแบบอิเล็กทรอนิกส เพือ่ ชวยใน การขนสงสินคาอยางปลอดภัย โดย การนํา E-Seal ไปล็อกไวที่ประตูตู สินคาเพื่อปกปองการขนถายตูสินคา ไมใหมกี ารเปลีย่ นแปลงสิง่ ของทีบ่ รรจุ ภายในตูข นสง สามารถตรวจสอบตัง้ แต จุดเริ่มตนไปจนถึงปลายทาง และยัง สามารถเช็คสถานะของการขนสงตู สินคาไดวา อยูท ใี่ ด และหากมีการเปด ตูกอนถึงจุดหมายปลายทาง E-Seal ก็จะสงสัญญาณวิทยุแจงเตือนไปยัง ระบบติ ด ตามตู  สิ น ค า ได ทั น ที อ ย า ง รวดเร็ว ประเทศสหรัฐอเมริกาเรียก ระบบนี้วา Transportation Security System (TSS) ระบบ TSS ประกอบดวย 3 สวนหลัก คือ 1. สลั ก สํ า หรั บ ล็ อ กตู  สิ น ค า โดยมี แท็ก RFID หรือ E-Seal 2. เครื่องอาน (Reader) 3. เสาสัญญาณ (Signpost) หลักการทํางานจะอาศัยเทคโนโลยี RFID โดยการป ด ผนึ ก ตู  สินคาดวยแท็กแบบ Active หรือ E-Seal เมื่ อ ตู  สิ น ค า ถู ก ส ง ผ า นไป

รูปที่ 13 ระบบขนสงสินคาเริ่มมีการใชระบบ RFID อยางแพรหลาย

60

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555

ตามที่ตางๆ เชน ประตูทา หรือบน เรือขนสง ในแตละที่จะมี Signpost ที่ ค อยส ง สั ญ ญาณบอกถึ ง ค า รหั ส เฉพาะของ Signpost นั้นๆ รวมถึง การสงสัญญาณเพื่ออัปเดตคาตางๆ ของแท็ก RFID เมื่อตองการตรวจ ดู ส ภาพป จ จุ บั น ของตู  สิ น ค า แท็ ก จะสงสัญญาณทั้ง รหัสของตัวเอง รหัสของ Signpost ที่อยูในบริเวณ เดียวกัน และสถานภาพปจจุบันของ ตูไปใหตัวอาน ซึ่งจะทําหนาที่เชื่อม ตอกับระบบคอมพิวเตอรกลางผาน ระบบดาวเทียม การติดตอระหวาง Signpost กับแท็ก จะใชคลื่นความถี่ตํ่า (LF) ยาน 132 KHz ระยะไมเกิน 4 เมตร ซึ่งสามารถถายโอนขอมูลไดอยางมี ประสิทธิภาพและดวยความรวดเร็ว ในขณะที่ ก ารติ ด ต อ ระหว า ง แท็ก กับตัวอาน จะใชในยานความถี่ สู ง กว า (UHF) ย า น 433 MHz ซึ่ง มีรัศมีทํางานกวางกวา ในระยะ ประมาณ 100 เมตร รวมถึงมีความ สามารถในการรองรั บ จํ า นวนแท็ ก RFID ที่สงขอมูลมาพรอมๆ กันได มากกว า แม ใ นสภาพแวดล อ มที่ มี สัญญาณรบกวนมาก ซึ่งการทํางาน ของระบบดั ง กล า วทํ า ให ผู  ที่ อ ยู  ส ว นกลางสามารถตรวจสอบความ ปลอดภัย รวมถึง ทําการติดตามความ เคลื่ อ นไหวได ใ นเวลาจริ ง (Realtime) กําหนดการขนถายสินคาเขาออก หรือเปลี่ยนแปลงเสนทางการ เดินทางไดตลอดเวลา 6. ระบบการตรวจสอบยอน กลับในผลิตภัณฑสด (Traceability System of Fresh) เปนประเด็น สํ า คั ญ ที่ ผู  ส  ง ออกของไทยไปตลาด สหภาพยุโรปควรใหความสนใจกับ การใชเทคโนโลยี RFID เขามาใชใน ระบบบริหารจัดการขอมูล ทั้งการจัด


RFID แท็ก RFID ติดตอ กับเสาสัญญาณ คลื่นความถี่ตํ่า (LF) ยาน 132 kHz แท็ก RFID ติดตอกับตัวอาน คลื่นความถี่สูงยิ่ง (UHF) ยาน 433 kHz ตัวอาน

ประมาณ 100 เมตร

เสาสัญญาณ

ประมาณ 4 เมตร

รูปที่ 14 ระบบ TSS ที่ใชในระบบขนสง

เก็บขอมูล รวบรวม ถายโอน สําเนา และวิเคราะหขอมูล เพื่อใหสามารถ ตรวจสอบยอนกลับและเขาถึงขอมูล ได อ ย า งครบวงจร และยั ง ช ว ยให ผู  บ ริ โ ภคสามารถตรวจสอบข อ มู ล ความปลอดภัยของอาหารในทุกขั้น ตอนตลอดห ว งโซ ก ารผลิ ต ตั้ ง แต จากฟารมจนถึงผูบริโภค โดยจะเปน ประโยชนอยางมากในการตรวจสอบ ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับผลิตภัณฑ อาหาร ทําใหทราบตนเหตุของความ ผิดปกติไดอยางรวดเร็ว แมนยํา และ ชวยลดผลกระทบจากความเสียหายที่ จะเกิดขึ้นได

การตรวจสอบยอน กลับของผลิตภัณฑ อาหารสด

RFID เปนเทคโนโลยีทถี่ อื ไดวา มีบทบาทสําคัญตอการตรวจสอบยอน กลับไดของผลิตภัณฑ ดังนั้นเพื่อให เห็นภาพของกระบวนการตรวจสอบ ยอนกลับไดงายขึ้น จะยกตัวอยาง กระบวนการตรวจสอบยอนกลับของ ผลิตภัณฑอาหารสดตามขั้นตอนดังนี้ 1. ฟาร ม จะทํ า การบั น ทึ ก ขอมูลกิจกรรมภายในกระบวนผลิต เริม่ ตนจากการลงทะเบียนสถานที่ ลง ทะเบียนเกษตรกรผูผ ลิต วัตถุดบิ ทีใ่ ช

ในการผลิต เชน ในเกษตรกรรมที่ใช เมล็ดพันธุหรือตนพันธุในการเพาะ ปลูก กิจกรรมตางๆ ในการผลิต อาทิ การใช ปุ  ย (อิ น ทรี ย  แ ละอนิ น ทรี ย  ) แหลงนํา้ และวิธกี ารใช การใชสารเคมี ตางๆ วิธีการใชเครื่องมือที่ใชในการ ดูแลเก็บรักษา ตลอดจนการปฏิบัติ หลังการใช ซึง่ ทุกกิจกรรมทีเ่ กษตรกร ปฏิบัติ จะตองถูกบันทึกลงในระบบ ฐานขอมูล 2. ผลผลิต หลังจากเกษตรกร ไดเก็บผลผลิตแลว ก็จะนําวัตถุดิบที่ เก็บนั้นไปสงบริษัทผูรับซื้อหรือบริษัท ผูสงออกจะทําการชั่งนํ้าหนักและคัด แยกเกรด และจัดเรียง แลวจึงนําสง โรงงาน เมื่อโรงงานไดรับวัตถุดิบ จะ มีการตรวจสอบนํา้ หนักและบันทึกการ รับวัตถุดิบ จากนั้นจะนําไปเขาหอง เย็นเพื่อรอการผลิต ในกระบวนการผลิต จะเริม่ จาก การคัด ตัดแตงวัตถุดิบ และบรรจุใน ภาชนะ เชน ถุง ถาด มัด และบรรจุ ลงกลองตามคําสัง่ ซือ้ ของลูกคาแตละ ราย ในกระบวนการนี้ขอมูลสําคัญ ตางๆ จะถูกบันทึกไวในระบบตรวจ สอบยอนกลับ 3. ค ว บ คุ ม ก า ร ผ ลิ ต ใ น ระหวางการผลิต เจาหนาที่ฝายควบคุมคุณภาพจะสุมตรวจสอบเพื่อหา สารพิษตกคาง รวมทั้งเชื้อจุลินทรีย

ทั้งที่เปนวัตถุดิบในกระบวนการผลิต และที่ผลิตเปนสินคาเรียบรอยแลว พรอมกับนําผลการตรวจสอบบันทึก ลงในระบบฐานขอมูลเพื่อนําไปใชใน การตรวจสอบยอนกลับ เพื่อใหมั่นใจ ไดวา สินคาที่สงออกปลอดจากสาร พิษตกคางและเชื้อจุลินทรีย ที่เปน อันตรายตอผูบริโภค 4. การสงออก ในแตละครั้ง ของการสงออกจะมีการบันทึกวันที่ สงออก เลขทีใ่ บนําสงสินคา ชือ่ ลูกคา ประเภทสินคา วันที่ผลิตสินคา และ จํานวนทีส่ ง ออก เพือ่ ใหสามารถตรวจ สอบผูซื้อปลายทางได 5. ผู  บ ริ โ ภค สามารถตรวจ สอบที่กระบวนการใดๆ ในสายการ ผลิตได โดยสามารถตรวจสอบยอน กลั บ หรื อ ตรวจสอบเข า ไปข า งหน า ไดตลอดสายการผลิตผานระบบฐาน ขอมูลทางอินเทอรเน็ต ดังตัวอยาง เชน ผูใชเริ่มตรวจสอบจุดที่สงออก โดยคนหาจากวันที่สงออกและรหัส ลูกคา จากนั้น ระบบจะทําการคนหา ข อ มู ล ตามเงื่ อ นไขดั ง กล า ว โดย จะแสดงผลการสอบย อ นกลั บ ของ กิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วข อ งตั้ ง แต ก ารส ง ออกยอนกลับไปถึงฟารมที่ผลิต รวม ถึ ง สามารถตรวจสอบผลการตรวจ คุณภาพดานตางๆ และบรรจุภัณฑ ที่ ใชในการผลิตไดอีกดวย จุ ด เด น ของ RFID สํ า หรั บ การนํามาใชในอุตสาหกรรมอาหาร คื อ การที่ ภ าคอุ ต สาหกรรมต อ ง ควบคุมวัตถุดิบจํานวนมากและมีการ เคลื่ อ นไหวเข า ออกสู ง ในแต ล ะวั น การบั น ทึ ก ข อ มู ล ผ า นกระดาษอาจ ทํ า ให ต  อ งใช ก ระดาษปริ ม าณมาก ซึ่งกอใหเกิดปญหาเรื่องการจัดเก็บ และสูญหาย และการเชื่อมโยงความ สัมพันธของขอมูลเพือ่ ตรวจสอบยอน กลับตองใชผเู ชีย่ วชาญทีช่ าํ นาญ และ

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555

61


RFID โรงงาน

ฟารมเกษตร

โลจิสติก

ศูนยกระจายสินคา

รานคาปลีก ความสามารถในการตรวจ ยอนกลับของผลิตภัณฑ

รูปที่ 15 RFID สามารถทําใหกระบวนการตรวจสอบยอนกลับ ในอุตสาหกรรมอาหารทําไดงายและรวดเร็ว

ใชเวลาในการคนหามาก ซึ่งมีโอกาส ของการผิดพลาดสูง ในขณะที่ระบบ ตรวจสอบยอนกลับ โดยคอมพิวเตอร สามารถชวยแกไขปญหาเหลานี้ได โดยพนักงานทําการบันทึกขอมูลผาน เครื่องคอมพิวเตอรในแตละวัน และ เมื่อนํา RFID มาใช ระบบ RFID จะ ช ว ยบั น ทึ ก ข อ มู ล โดยอั ต โนมั ติ ซึ่ ง สามารถชวยผูประกอบการไดดังนี้ - การบั น ทึ ก ข อ มู ล แบบอั ต โนมั ติ ขณะปฏิบัติงาน - ลดแรงงานและเวลาในการบันทึก ขอมูล - มีความถูกตองของขอมูลสูง - การวิเคราะหขอมูลแบบเวลาจริง หรือการควบคุมกําลังการผลิตได ณ ตอนนั้น จากที่ ก ล า วมา จะเห็ น ได ว  า มีการประยุกตใชเทคโนโลยี RFID กันอยางแพรหลาย ดวยคุณสมบัติ ที่สามารถอานขอมูลไดอยางรวดเร็ว และสามารถใชอานขอมูลจากวัตถุที่ มีการเคลื่อนที่อยูก็ได ทําให RFID เปนทางเลือกใหม สําหรับการระบุ

62

เอกลักษณ และการรับสงขอมูลใน ระยะหางกัน จึงมีการนํามาใชมาก ขึ้นในธุรกิจและการใหบริการตางๆ ในปจจุบัน เปนยุคการสื่อสารขอมูล ไรสาย ที่อํานวยความสะดวกใหแกผู ใชและเพิม่ ประสิทธิภาพในการทํางาน

บทสรุป

RFID เปนเรื่องใหม หากตองการใหผูประกอบการของไทยเปนผู ผลิต เพื่อสรางมูลคาเพิ่ม (Value added) ให กั บ ธุ ร กิ จ ผู  ที่ ค วรจะมี บทบาทหลักในการเขามาผลักดันตอง เกิดขึ้นทั้งภาครัฐและเอกชนทั่วไป ที่ ตองรวมมือกันสงเสริมใหมกี ารพัฒนา เทคโนโลยีนี้อยางจริงจังในประเทศ ความชวยเหลือจากภาครัฐอาจทําได ในหลายรูปแบบ เชน เริม่ จากการชวย เหลือผูผ ลิตเครือ่ งอาน และแท็กหรือ ปายสัญญาณ เพื่อใหสามารถผลิตได ดวยตัวเอง หากเปรียบเทียบความตื่นตัว และการสนับสนุนจากภาครัฐระหวาง ประเทศไทยและต า งประเทศแล ว

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555

ประเทศไทยยังถูกทิ้งหางใหอยูขาง หลังพอสมควร ซึ่งเทคโนโลยี RFID ตองการคนทีม่ คี วามชํานาญ และตอง อาศัยเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกสชนั้ สูง ตลอดจนเงินทุนสนับสนุนการพัฒนา เพราะฉะนัน้ จึงเปนเรือ่ งทีภ่ าครัฐของ ไทยตองใหความสําคัญและหันมาสง เสริมพัฒนาอยางจริงจัง แมวา RFID จะเปนเทคโนโลยี ที่ ช  ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพในการทํ า งาน เพียงใด แตก็ยังมีปญหาในการนํา มาใช เชน ไมสามารถใชขามระบบ ความถี่ได รวมถึงไมสามารถตรวจ สอบไดเมือ่ สินคาอยูน อกเขตคลืน่ วิทยุ นอกจากนี้ สิ่งที่ควรพิจารณา ปรับปรุงเกี่ยวกับระบบ RFID คือ เรื่องของมาตรฐานของระบบ เพราะ ปจจุบันผูผลิตตางก็มีมาตรฐานเปน ของตัวเอง ไมวาจะเปนความถี่ที่ใช งานหรือโปรโตคอล (Protocol) ที่ยัง ไมสามารถนําแท็กจากผูผ ลิตรายหนึง่ มาใชกับตัวอานขอมูลของผูผลิตอีก รายหนึ่ง อยางไรก็ตาม หลายองคกร ไดตระหนักถึงปญหานี้ และไดเริ่มมี การพัฒนาระบบมาตรฐานขึ้นมา เชื่อวาอีกไมนานนี้เทคโนโลยี RFID จะมีบทบาทมากตออุตสาหกรรมไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งการ เชื่อมโยงการทํางานตลอดสายของ หวงโซอุปทาน ถ า ถามว า จํ า เป น หรื อ ไม ที่ ผูป ระกอบการไทยตองวิง่ ตามเทคโนโลยีนี้ สิ่งที่ควรพิจารณาก็คือ ถาหาก ตองการมุงไปที่การเพิ่มประสิทธิภาพ และความรวดเร็วในการบริหารขอมูล แลว RFID อาจเปนทางเลือกสําคัญที่ ผูบริหารองคกรตองตัดสินใจ


ณัฐพล จะสูงเนิน

การประมวลผลภาพ

สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

เรียนรวู ธิ กี ารประมวลผลภาพ ขัน้ พืน้ ฐานดวย

Microsoft Visual C++.NET การประมวลผลภาพไดถกู นำมาใชงานจริงในงานอุตสาหกรรมอยาง หลากหลาย โดยทำงานรวมกับเครือ่ งจักรทีเ่ ปนระบบอัตโนมัติ เชน งานตรวจสอบชิน้ สวนอิเล็กทรอนิกส รวมถึงสรางเครือ่ งมือวัดขนาดแบบไมสมั ผัสชิน้ งาน

ารประมวลผลภาพดิจิทัล (Digital Image Processing) เปนกระบวนการทีเ่ กีย่ วของกับการแปลง ขอมูลภาพที่อยูในรูปแบบขอมูลดิจิทัล (Digital format) ซึง่ สามารถทีจ่ ะนำเอาขอมูลภาพเหลานีจ้ ดั การผานกระบวน การตางๆ ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรได ภาพดิ จิ ทั ล เป น ภาพที่ ป ระกอบด ว ยจุ ด ภาพเล็ ก ๆ จำนวนมาก หรือเรียกวา พิกเซล (Pixel) โดยคอมพิวเตอร จะอาศัยตัวเลขแทนคาของระดับสีหรือระดับความสวาง ของแต ล ะพิ ก เซล ซึ่ ง สามารถปรั บ แต ง เพื่ อ การแก ไ ข ปรับปรุง และแสดงผลภาพตามตองการได ดังนั้นภาพ ดิจิทัลจึงมีขอดีตรงที่ สามารถนำมาประมวลผลปรับปรุง คุณภาพขอมูลโดยอาศัยกระบวนการตางๆซึ่งเปนไปตาม หลักการประมวลผลภาพดวยคอมพิวเตอรได ซึง่ แนนอน วากระบวนการประมวลผลภาพเหลานี้ในปจจุบันไดถูก นำมาใชงานจริงในงานอุตสาหกรรม โดยทำงานรวมกับ เครือ่ งจักรเปนระบบอัตโนมัติ เชน งานตรวจสอบชิน้ สวน อิเล็กทรอนิกส รวมถึงสรางเครือ่ งมือวัดขนาดแบบไมสมั ผัส ชิน้ งาน เปนตน สำหรับบทความนี้จะหยิบยกกระบวนการประมวล ผลภาพอยางงายที่สามารถประยุกตตอยอดไดดวยตนเอง โดยอาศัยโปรแกรม Microsoft Visual C++.NET เปน เครื่องมือในการพัฒนาองคความรูดังกลาว

ลักษณะและความหมายของ Pixel

ในโลกของกราฟกทีใ่ ชในงานคอมพิวเตอร พิกเซลถือ เปนหนวยยอยทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ของรูปภาพ เปนจุดเล็กๆ ทีร่ วม กันทำใหเกิดภาพขึน้ ภาพหนึง่ จะประกอบดวยพิกเซลหรือ จุดมากมาย ซึง่ แตละภาพทีส่ รางขึน้ จะมีความหนาแนนของ จุดหรือพิกเซลเหลานีแ้ ตกตางกันไป ความหนาแนนของจุด นี้เปนตัวบอกถึงความละเอียดของภาพ โดยมีหนวยเปน ppi (Pixel Per Inch) คือ จำนวนจุดตอนิว้ พิกเซลมีความสำคัญตอการสรางภาพของคอมพิวเตอรมาก เพราะทุกสวนของกราฟก เชน จุด เสน แบบลาย และสีของภาพนัน้ เริม่ จาก Pixel ทัง้ สิน้ เมือ่ เราขยายภาพ จะเห็นเปนภาพจุด โดยปกติแลวภาพทีม่ คี วามละเอียดสูง หรือคุณภาพดีควรจะมีคา ความละเอียด 300 x 300 ppi ขึน้ ไป ยิง่ คา ppi สูงขึน้ เทาไร ภาพก็จะมีความละเอียดคมชัด มากขึน้ เทานัน้ ขณะเดียวกัน จุดพิกเซลแตละจุดก็จะแสดงคุณ สมบัตทิ างสีใหแกภาพดวย โดยแตละจุดจะเปนตัวสรางสี ประกอบกันเปนภาพรวม ซึ่งอาจมีขนาดความเขมและสี แตกตางกันได ทำใหเกิดเปนภาพทีม่ สี สี นั ตางๆ การแสดงผลของอุ ป กรณ แ สดงผล (Output devices) ไมวา จะเปนเครือ่ งพิมพแบบ Dot-Matrix หรือ

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

63


การประมวลผลภาพ แบบ Laser รวมทั้งจอภาพ จะเปนการแสดงผลแบบ Raster devices นัน่ คือ อาศัยการรวมกันของพิกเซล ออก มาเปนรูป

2. เลือก Application Type เปนรูปแบบ Single Document และทำการยกเลิ ก Document/ View Architecture Support ดังรูปที่ 2

ภาพชนิด Bitmap

บิ ต แมพ (Bitmap) เป น ภาพแปรผั น ตามความ ละเอียดแบบ (Resolution dependent) ประกอบขึน้ ดวย จุดสีตา งๆ ทีม่ จี ำนวนคงทีต่ ายตัวตามการสรางภาพทีม่ คี วาม ละเอียดของภาพตางกันไป หากขยายภาพบิตแมพ ก็จะ พบวามีลกั ษณะเปนตารางเล็กๆ ซึง่ แตละบิต คือ สวนหนึง่ ของขอมูลคอมพิวเตอร เนื่องจากบิตแมพมีคาพิกเซล จำนวนคงที่ จึงทำใหมขี อ จำกัดในเรือ่ งการขยายขนาดภาพ การเปลีย่ นขนาดภาพทำโดยเพิม่ หรือลดจำนวนพิกเซลจาก ทีม่ อี ยเู ดิม เมือ่ ขยายภาพใหใหญขนึ้ ความละเอียดของภาพ จึงลดลง และถาเพิม่ คาความละเอียดมากขึน้ ก็จะทำใหไฟล มีขนาดใหญและเปลืองเนือ้ ทีห่ นวยความจำมากขึน้ ตามไปดวย ภาพทีข่ ยายโตขึน้ จะมองเห็นเปนตารางสีเ่ หลีย่ มเรียง ตอกัน ไฟลภาพแบบบิตแมพในระบบวินโดวส คือ ไฟลที่ มีนามสกุล .BMP , .PCX , .TIF, .GIF, .JPG, .MSP, .PCD เปนตน

รูปที่ 2 กำหนด Application Type เปน Single document และยกเลิกในสวนของ Document/View architecture support

3. ใน Advance Features Tap ไมจำเปนตองเลือก Support ActiveX Control

การสรางโปรแกรมประมวล ผลภาพ

ตัวอยางตอไปนีแ้ สดงวิธกี ารเขียนโปรแกรมสำหรับ การอานขอมูลภาพบิตแมพ โดยจะใชคลาส CBitmap เพือ่ อานไฟลบติ แมพจาก Resource ในการสรางเราจะใชเท มเพลต MFC Applications เพื่ อ สร า งโค ด หลั ก ของ โปรแกรม ตามขัน้ ตอนดังนี้ 1. เปดโปรแกรม MS Visual C++ สรางโปรแกรม ดวย MFC Applications Wizard ดังรูปที่ 1

4. ใน User Interface Features Tap ไมตอ งเลือก Docking Toolbar และเลือก Finish

รูปที่ 1 เริม่ ตนสราง Project ใหม

รูปที่ 4 กำหนด Advance Interface Features โดยยกเลิกในสวนของ ActiveX controls

64

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

รูปที่ 3 กำหนด User Interface Features ในสวนของ Main frame style และ Toolbar Support


การประมวลผลภาพ Microsoft Visual C++ ทำการสราง Applications ตามทีก่ ำหนดในขัน้ ตอนตางๆ จะไดผลรันโปรแกรม ImageColor ดังรูปที่ 5

การประมวลผลภาพจะตองนำรูปที่ตองการเขามา เก็บไวใน Project สามารถทำไดโดยเลือกที่ Resource และ ทำการ Add Resource.. ดังรูปที่ 6

Class Wizard สรางโคดให อัตโนมัติ ผลการรัน โปรแกรม

รูปที่ 5 ผลของโปรแกรมที่ Class Wizard สรางขึ้นอัตโนมัติ เลือก Resource ชนิด Bitmap

เลือกภาพ ที่ตองการ

รูปที่ 6 การนำภาพบิตแมพเขาในโปรเจ็กต ImageColor

มีไดเร็กทอรี่ IDB_BITMAP1 เพิม่ เขามา

รูปที่ 7 ผลของภาพบิตแมพที่นำเขาโปรเจ็กต

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

65


การประมวลผลภาพ

ทำความรจู กั คลาส CBitmap กอนเขียนโปรแกรม

คลาสทีร่ วมฟงกชนั ตางๆ สำหรับการจัดการรูปภาพ ชนิดบิตแมพ อยางเชน การอานไฟลบติ แมพมาเก็บไวใน หนวยความจำหรือการเก็บไวใน Object ของ CBitmap เราจะใชความสามารถตางๆ ของคลาสนีใ้ ชในการประมวล ผลภาพ ฟงกชนั และโอเปอรเรเตอรทสี่ ำคัญของ CBitmap มีดังนี้ 1. CBitmap::CreateCompatibleBitmap สราง บิตแมพใหมโครงสรางเดียวกับ DC ตองกำหนดคา DC ใน หนวยความจำ ขนาดความกวาง ความสูง โดยปกติแลว คา DC ในหนวยความจำจะสอดคลองกับ DC ของจอภาพ เสมอ (DC คือ Device Context) BOOL CreateCompatibleBitmap{ CDC* pDC, int nWidth, int nHeight };

2. CBitmap::LoadBitmap ใชโหลดบิตแมพจาก Resource เขามาเก็บไวในออบเจ็กตของ CBitmap BOOL LoadBitmap{ LPCTSTR lpszResourceName }; BOOL LoadBitmap{ UINT nIDRersource };

• • • • •

โดยทีก่ ำหนดคาตางๆ ดังนี้ x, y คาพิกดั ของจอภาพทีเ่ ราตองการแสดงผลบนหนา จอคอมพิวเตอร โดยในทีน่ จี้ ะเปนหนวยโลจิคอล (Pixel) 1 หนวย เทากับ 1 Pixel nWidth, nHeight กำหนดความกวางและความสูงของ Image บนหนาจอคอมพิวเตอร pSrcDC คือ พอยเตอรทชี่ ไี้ ปยังหนวยความจำ xSrc, ySrc กำหนดคา x, y ของภาพตนฉบับ ปกติจะ กำหนดคา x , y เปน 0 dwRop กำหนดโหมดการทำโอเปอรเรเตอรลอจิก ปกติ ใช SRCCOPY คือ การก็อปปข อ มูลเหมือนตนฉบับทัง้ หมด

ตัวอยางที่ 1 โปรแกรมโหลดภาพบิตแมพ จาก Resource

ขั้นตอนตางๆ ที่กลาวมาในขางตนเปนเพียงการ นำขอมูลภาพเก็บใน Resource ของ Project ตอไปจะตอง เขียนโปรแกรมเพือ่ นำขอมูลภาพเขามาเก็บในหนวยความ จำของออบเจ็กตของคลาส CBitmap และแสดงผลขอมูล โดยการโอนยายหนวยความจำผาน Device Context (CDC) โดยใชฟง กชนั BitBlt เราก็จะไดโปรแกรมแสดง ผลภาพแบบบิตแมพ ดังรูปที่ 8

3. CBitmap::GetBitmap ใชเพือ่ เอาขอมูลทีเ่ กีย่ ว กับบิตแมพ เชน ความสูง ความกวาง ขอมูลจะเก็บอยใู น รูปแบบโครงสราง int GetBitmap{ BITMAP* pBitMap };

ฟงกชนั ทีส่ ำคัญอีกตัวทีเ่ ราตองนำมาใชสำหรับเขียน โปรแกรมประมวลผลภาพ เปนตัวกลางสำหรับโอนยาย ขอมูลจากหนวยความจำไปสจู อภาพ ทำใหเราสามารถมอง เห็นผลของภาพตางๆ ไดนั่นเอง โดยใชฟงกชัน BitBlt ของคลาส CDC BOOL BitBit{ int x, int y, int nWidth, int nHeight, CDC* pSrcDC, CDC* pDC, int xSrc, int ySrc, int x, DWORD dwRop, };

66

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

รูปที่ 8 โปรแกรมแสดงภาพบิตแมพ

ขั้นตอนที่ 1 ประกาศตัวแปรชนิด private ชื่อ m_pImage และ m_Size ลงในคลาส CChildView ในไฟล ChildView.h ดังรูปที่ 9 และโคดดังนี้ //ChildView.h class CChildView : public CWnd { ............ private: CBitmap m_pImage; CSize m_Size; ............ }


การประมวลผลภาพ

รูปที่ 9 การเพิ่มตัวแปรลงในคลาส CChildView

ขัน้ ตอนที่ 2 ดับเบิลคลิก ที่ CChildView(Void) เพือ่ เขาไปแกไขโคดโปรแกรมในสวนของ Constructer เพราะ เมือ่ โปรแกรมเริม่ ทำงาน CChildView(Void) ก็จะถูกเรียก ดังนั้นเราจะทำการโหลดภาพบิตแมพในฟงกชันนี้ ดังรูป ที่ 10 และเขียนโคดโปรแกรมลงในไฟล ChildView.cpp ดังนี้

รูปที่ 11 การเพิ่มโคดลงใน OnPaint ของคลาส CChildView //ChildView.cpp void CChildView::OnPaint() { this CPaintDC dc(this this); //device context for //painting CDC memDC; memDC.CreateCompatibleDC(&dc); memDC.SelectObject(&m_pImage); dc.TextOut(20,10, "The original image"); dc.BitBlt(20,30,m_Size.cx,m_Size.cy, &memDC,0,0,SRCCOPY); //Do not call CWnd::OnPaint() //for painting messages }

จากนัน้ คอมไพลไฟลทงั้ หมด โดยคลิกทีเ่ มนู Build > Build ImageColor และ Run โปรแกรม โดยกด Ctrl+F5 จะเห็นภาพบิตแมพแสดงในโปรแกรมทีส่ รางขึน้ ดังรูปที่ 12

รูปที่ 10 การเพิ่มโคดลงใน Constructer ของคลาส CChildView //ChildView.cpp CChildView::CChildView() { m_pImage.LoadBitmap(IDB_BITMAP1); }

การเพิ่มโคดโปรแกรมสวนนี้จะทำการโหลดขอมูล จาก Resource ที่เราทำการเก็บภาพชนิดบิตแมพ ชื่อ IDB_BITMAP1 เอาไว มาเก็บไวในออบเจ็กตของ CBitmap คือ m_pImage ขัน้ ตอนที่ 3 ดับเบิลคลิก ที่ OnPaint (void) ในคลาส CChildView เพือ่ ทำการเพิม่ โคดโปรแกรมใหมกี ารวาดภาพ บิตแมพลงในวินโดวลกู ของโปรแกรม ดังรูปที่ 11 และโคด โปรแกรมดังนี้

รูปที่ 12 ผลของโปรแกรมแสดงภาพบิตแมพดวย Visual C++

ตัวอยางที่ 2 โปรแกรมแยกองคประกอบ ของสี

ตัวอยางตอไปนี้จะเปนการสรางโปรแกรมประมวล ผลภาพสำหรับแสดงองคประกอบของสีภาพบิตแมพ โดย จะพัฒนาโปรแกรมตอจากเดิมทีไ่ ดกลาวมาขางตน กำหนด ใหโปรแกรมสามารถแสดงองคประกอบของสีแดง สีเขียว สีน้ำเงิน และ ภาพขาวดำ ใหแกไขโคดโปรแกรมดังตอไปนี้

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

67


การประมวลผลภาพ ขัน้ ตอนที่ 1 เพิม่ ตัวแปรชนิด private ลงในคลาส CChildView ดังรูปที่ 13 ตัวแปร **f คือ ตัวแปรพอยเตอร สำหรับชีค้ า ในพอยเตอรของ *f โดยเราจะกำหนดใหตวั แปร เปนแบบ Dynamic Variable ใหมขี นาดไมเกินคา N ใช สำหรับเปนอาเรยสองมิตเิ ก็บคา Pixel ของภาพบิตแมพ, ตัวแปร sImage ใชสำหรับเก็บขนาดของภาพสวนตางๆ ที่ เราตองการนำมาประมวลผล, ตัวแปร Home ใชสำหรับเก็บ คาเริ่มตนของตำแหนงภาพที่เราตองการประมวลผลภาพ

//ChildView.cpp CChildView::CChildView() { f = new int *[N+1]; for (int int i=0;i<=N;i++) { f[i] = new int [N+1]; } Home = CPoint(10,30); sImage = CSize(200,100); m_pImage.LoadBitmap(IDB_BITMAP1); }

ขั้ น ตอนที่ 3 เพิ่ ม โค ด โปรแกรมลงในฟ ง ก ชั น OnPaint(void) ของคลาส CChildView โดยกำหนด memDC เปนออบเจ็กตของ CDC (Device Context) สำหรับเปน DC หนวยความจำ และกำหนดใหสราง DC หนวยความจำทีส่ อดคลองกับ DC จอภาพ โดยใชฟง กชนั CreateCompatibleDC และโอนยายขอมูลบิตแมพมาเก็บ ไวใน DC หนวยความจำ โดยใชฟง กชนั SelectObject สุดทายจะใช BitBlt นำขอมูลจาก DC หนวยความ จำออกแสดงทางจอภาพของคอมพิวเตอร ตามขนาดเดิม ของภาพบิตแมพจาก Resource ดังรูปที่ 15 และโคด โปรแกรมดังนี้

รูปที่ 13 การเพิ่มตัวแปรในคลาส CChildView //ChildView.h #define N 500 class CChildView : public CWnd { ............ private private: CBitmap m_pImage; int **f; CSize sImage; CPoint Home; ............ }

ขัน้ ตอนที่ 2 กำหนดคาตางๆ ทีจ่ ำเปนตอการประมวล ผลภาพ ใหทำการสราง Dynamic Variable ของตัวแปร **f โดยกำหนดใหมคี า เทากับ 500 หรือเทากับ N นัน่ เอง เราจะใชเปนตัวแปรสำหรับรับคาพิกเซลของภาพ และ กำหนดคาเริม่ ตนใหกบั sImage และ Home ดังรูปที่ 14

รูปที่ 15 เพิม่ โคดในฟงกชนั OnPaint(void)

1

//ChildView.cpp Void CChildView::OnPaint() { this CPaintDC dc(this this); //device context for //painting CDC memDC; memDC.CreateCompatibleDC(&dc); memDC.SelectObject(&m_pImage); dc.TextOut(10,10, "The original image"); dc.BitBlt(Home.x,Home.y,400,320,&memDC, 0,0,SRCCOPY); CWinApp* app = AfxGetApp(); if (app) app->m_pMainWnd->SetWindowPos(NULL, 50, 50, 700, 700, SWP_SHOWWINDOW ); }

ขั้ น ตอนที่ 4 กำหนด Window Message ชื่อ WM_LBUTTONDOWN ของคลาส CChildView ทำได โดย เลือกที่ Tap Class Wizard แลวคลิกขวาเลือก Properties เลือก Message WM_LBUTTONDOWN รูปที่ 14 กำหนดคาใหกับ Constructers ของคลาส CChildView > OnLButtonDown ดังรูปที่ 16 แลวแทรกโคดดังนี้

68

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555


การประมวลผลภาพ 6 3

รูปที่ 16 เพิ่มโคดลงในฟงกชัน OnLButtonDown //ChildView.cpp void CChildView:: OnLButtonDown(UINT nFlags, CPoint point) { this CClientDC dc(this this); int r,g,b,bw; dc.TextOut(440,Home.y-20,"Extract from the original image"); dc.TextOut(440,180,"Gray scale by setting r=g=b"); dc.TextOut(10,380,"Red scale by setting g=b=0"); dc.TextOut(220,380,"Green scale by setting r=b=0"); dc.TextOut(430,380,"Blue scale by setting r=g=0"); for (int int j=0;j<= sImage.cy;j++) for (int int i=0;i<= sImage.cx ;i++) 2 { f[i][j] = dc.GetPixel(Home.x+i+80, Home.y+j+100); 4 dc.SetPixel(440+i,Home.y+j,f[i][j]); r = f[i][j]>>16; dc.SetPixel(10+i,400+j,r); 5 g = r<<8;

}

dc.SetPixel(220+i,400+j,g); b = g<<8; dc.SetPixel(430+i,400+j,b); bw = r+g+b; dc.SetPixel(440+i,200+j,bw);

} dc.TextOut(10,510, "ภาพตนแบบเฉพาะสวนสีแดง"); for (int int j=0;j<=sImage.cy;j++) for (int int i=0;i<=sImage.cx;i++) { f[i][j]=dc.GetPixel(Home.x+i+50, Home.y+j+100); 7 r = f[i][j] >> 16; dc.SetPixel(10+i,530+j,RGB(r,0,0)); } dc.TextOut(220,510, "ภาพตนแบบเฉพาะสวนสีเขียว "); for (int int j=0;j<=sImage.cy;j++) for (int int i=0;i<=sImage.cx;i++) { f[i][j]=dc.GetPixel(Home.x+i+50, Home.y+j+100); 8 g = (f[i][j] >> 8); dc.SetPixel(220+i,530+j,RGB(0,g,0)); } dc.TextOut(430,510, "ภาพตนแบบเฉพาะสวนน้ำเงิน "); for (int int j=0;j<=sImage.cy;j++) for (int int i=0;i<=sImage.cx;i++) { f[i][j]=dc.GetPixel(Home.x+i+50, Home.y+j+100); b = (f[i][j]); dc.SetPixel(430+i,530+j,RGB(0,0,b)); } CWnd::OnLButtonDown(nFlags, point);

เมือ่ ทำการเพิม่ โคดโปรแกรมตางๆ สมบูรณแลว จาก นัน้ ไปที่ Build > Build ColorImage แลวรันโปรแกรม Ctrl+F5 ผลของโปรแกรมดังรูปที่ 17

dc.TextOut(10,10,"The original image");

The original image

Extract from the original image

2

1

dc.SetPixel(440+i,Home.y+j,f [ i ][ j ]);

Gray scale by setting r-g-b

3

dc.SetPixel(440+i,200+j,bw); dc.BitBlt (Home.x,Home.y,400,320,&memDC,0,0,SRCCOPY);

Red scale by setting g=b=0

Green scale by setting r=b=0

ภาพตนแบบเฉพาะสวนสีแดง

ภาพตนแบบเฉพาะสวนสีเขียว

7

Blue scale by setting r=g=0

5

4

6

ภาพตนแบบเฉพาะสวนสีน้ำเงิน

8

9

รูปที่ 17 ผลของโปรแกรม Color Image Processing

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

69


การประมวลผลภาพ ตัวอยางโปรแกรม ColorImage //ChildView.h : interface of //the CChildView class #pragma once //CChildView window #define N 500 class CChildView : public CWnd { //Construction public public: CChildView(); private private: CBitmap m_pImage; int **f; CSize sImage; CPoint Home; public public: //Overrides protected: virtual BOOL PreCreateWindow(CREATESTRUCT& cs); //Implementation public public: virtual ~CChildView(); //Generated message map functions protected protected: afx_msg void OnPaint(); DECLARE_MESSAGE_MAP() public: afx_msg void OnLButtonDown(UINT nFlags, CPoint point); }; //ChildView.cpp : implementation of //the CChildView class #include "stdafx.h" #include "ImageColor.h" #include "ChildView.h" #include ".\childview.h" #ifdef _DEBUG #define new DEBUG_NEW #endif //CChildView CChildView::CChildView() { f = new int *[N+1]; for (int int i=0;i<=N;i++) { f[i] = new int [N+1]; } Home = CPoint(10,30); sImage = CSize(200,100); m_pImage.LoadBitmap(IDB_BITMAP1); } CChildView::~CChildView() { for (int int i=0;i<=N;i++) delete f[i]; delete f; } BEGIN_MESSAGE_MAP(CChildView, CWnd) ON_WM_PAINT() ON_WM_LBUTTONDOWN() END_MESSAGE_MAP() //CChildView message handlers BOOL CChildView:: PreCreateWindow(CREATESTRUCT& cs) { if (!CWnd::PreCreateWindow(cs)) return FALSE; cs.dwExStyle |= WS_EX_CLIENTEDGE; cs.style &= ~WS_BORDER; cs.lpszClass = AfxRegisterWndClass(CS_HREDRAW |CS_VREDRAW|CS_DBLCLKS, ::LoadCursor(NULL, IDC_ARROW), reinterpret reinterpret_cast<HBRUSH>

70

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

}

(COLOR_WINDOW+1), NULL); return TRUE;

void CChildView::OnPaint() { this CPaintDC dc(this this); //device context for //painting CDC memDC; memDC.CreateCompatibleDC(&dc); memDC.SelectObject(&m_pImage); dc.TextOut(10,10,"The original image"); dc.BitBlt(Home.x,Home.y,400,320,&memDC, 0,0,SRCCOPY); CWinApp* app = AfxGetApp(); if (app) app->m_pMainWnd->SetWindowPos(NULL, 50, 50, 700, 700, SWP_SHOWWINDOW ); //Do not call CWnd::OnPaint() for //painting messages } void CChildView ::OnLButtonDown(UINT nFlags,CPoint point) { this CClientDC dc(this this); int r,g,b,bw; dc.TextOut(440,Home.y-20,"Extract from the original image"); dc.TextOut(440,180,"Gray scale by setting r=g=b"); dc.TextOut(10,380,"Red scale by setting g=b=0"); dc.TextOut(220,380,"Green scale by setting r=b=0"); dc.TextOut(430,380,"Blue scale by setting r=g=0"); for (int int j=0;j<= sImage.cy;j++) for (int int i=0;i<= sImage.cx ;i++) { f[i][j] = dc.GetPixel(Home.x+i+80, Home.y+j+100); dc.SetPixel(440+i,Home.y+j,f[i][j]); r = f[i][j]>>16; dc.SetPixel(10+i,400+j,r); g = r<<8; dc.SetPixel(220+i,400+j,g); b = g<<8; dc.SetPixel(430+i,400+j,b); bw = r+g+b; dc.SetPixel(440+i,200+j,bw); } dc.TextOut(10,510, "ภาพตนแบบเฉพาะสวนสีแดง "); for (int int j=0;j<=sImage.cy;j++) for (int int i=0;i<=sImage.cx;i++) { f[i][j]=dc.GetPixel(Home.x+i+50, Home.y+j+100); r = f[i][j]>>16; dc.SetPixel(10+i,530+j,RGB(r,0,0)); } dc.TextOut(220,510, "ภาพตนแบบเฉพาะสวนสีเขียว "); for (int int j=0;j<=sImage.cy;j++) for (int int i=0;i<=sImage.cx;i++) { f[i][j]=dc.GetPixel(Home.x+i+50, Home.y+j+100); g = (f[i][j] >> 8); dc.SetPixel(220+i,530+j,RGB(0,g,0)); } dc.TextOut(430,510, "ภาพตนแบบเฉพาะสวนสีน้ำเงิน "); for (int int j=0;j<=sImage.cy;j++) for (int int i=0;i<=sImage.cx;i++) { f[i][j]=dc.GetPixel(Home.x+i+50, Home.y+j+100); b = (f[i][j]); dc.SetPixel(430+i,530+j,RGB(0,0,b)); } CWnd::OnLButtonDown(nFlags, point); }


การประมวลผลภาพ ตัวอยางที่ 3 โปรแกรมหาขอบภาพ

การหาขอบภาพ (Edge Detection) เปนการหาเสน รอบวัตถุทอี่ ยใู นภาพ เมือ่ ทราบเสนรอบวัตถุ เราจะสามารถ คำนวณหาพืน้ ที่ (ขนาด) หรือรจู ำชนิดของวัตถุนนั้ ได อยาง ไรก็ตาม การหาขอบภาพทีถ่ กู ตองสมบูรณไมใชเปนเรือ่ งที่ งาย โดยเฉพาะอยางยิง่ การหาขอบของภาพทีม่ คี ณ ุ ภาพต่ำ มีความแตกตางระหวางพืน้ หนากับพืน้ หลังนอย หรือมีความ สวางไมสม่ำเสมอทัว่ ภาพ ขอบภาพเกิดจากความแตกตาง ของความเขมแสงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง หากความ แตกตางนีม้ คี า มากขอบภาพก็จะเห็นไดชดั ถาความแตกตาง มีคา นอยขอบภาพก็จะไมชดั เจน ซึง่ ในบทความนีจ้ ะกลาว ถึงเทคนิคเบื้องตนในการหาขอบภาพ การสรางโปรแกรมสำหรับการตรวจหาขอบภาพดวย Visual C++ ใหเราทำการสรางโปรเจ็กตใหมชื่อ EdgeDetect โดยมีขั้นตอนการสรางเชนเดียวกับหัวขอ "การ สรางโปรแกรมประมวลผลภาพ" ทีก่ ลาวมาตอนตน แลว ทำการ Add Resource ขอมูลภาพบิตแมพใหเรียบรอย ก็จะไดโปรเจ็กตใหมดงั รูปที่ 18

รูปที่ 19 การเพิ่มตัวแปรชนิด private ลงในคลาส ChildView

ขัน้ ตอนที่ 2 เพิม่ โคดโปรแกรมสำหรับ Constructers ของคลาส CChildView เมือ่ โปรแกรมเริม่ ทำงานในสวน ของ Constructers จะเริ่มทำงาน ดังนั้นจะกำหนดให Dynamic array ของ **f ใหมขี นาดเทากับ N คือ 200 กำหนดคา Home สำหรับเปนจุดเริม่ ของขอบภาพ ที่ตองการประมวลผล และกำหนดคาขนาดของภาพที่ ตองการประมวลผล โคดโปรแกรมดังรูปที่ 20 และโคด โปรแกรมดังนี้

รูปที่ 18 สรางโปรเจ็กตใหมแบบ Single Document

ขัน้ ตอนที่ 1 เพิม่ ตัวแปรชนิด private ลงในคลาส ChildView และกำหนด Preprocessor ของ N ไวภาย นอกคลาสมี ค า เท า กั บ 200 ตั ว แปรที่ เ พิ่ ม เข า มา คื อ threshold ใชเปนตัวแปรสำหรับการคำนวณหาขอบภาพ การเพิม่ ตัวแปรดังรูปที่ 19 และโคดโปรแกรมดังนี้ //CChildView.h #define N 200 class CChildView : public CWnd { private private: CBitmap bmp; CPoint Home; CSize sImage; double threshold; int **f; ............ }

รูปที่ 20 เพิม่ โคดโปรแกรม Constructers ของคลาส CChildView CChildView::CChildView() { new int *[N+1]; f=new for (int int i=0;i<=N;i++) new int [N+1]; f[i]=new Home=CPoint(10,50); sImage=CSize(200,100); threshold=0; bmp.LoadBitmap(IDB_BITMAP1); }

ขั้นตอนที่ 3 เพิ่มโคดโปรแกรมลงในฟงกชัน OnPaint (void) ของคลาส CChildView โดยกำหนด memDC เปนออบเจ็กตของ CDC (Device Context) สำหรับเปน DC หนวยความจำ และกำหนดใหสราง DC หนวยควมจำ

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

71


การประมวลผลภาพ ตัวอยางโปรแกรม EdgeDetect //ChildView.h : interface of //the CChildView class #pragma once #define N 200 class CChildView : public CWnd { //Construction public public: CChildView(); //Operations private private: CBitmap bmp; CPoint Home; CSize sImage; double threshold; int **f; //Overrides protected protected: virtual BOOL PreCreateWindow(CREATESTRUCT& cs); //Implementation public public: virtual ~CChildView(); //Generated message map functions protected protected: afx_msg void OnPaint(); DECLARE_MESSAGE_MAP() public public: afx_msg void OnLButtonDown(UINT nFlags, CPoint point); }; //ChildView.cpp : implementation of //the CChildView class #include "stdafx.h" #include "EdgeDetect.h" #include "ChildView.h" #include ".\childview.h" #ifdef _DEBUG #define new DEBUG_NEW #endif //CChildView CChildView::CChildView() { new int *[N+1]; f=new for (int int i=0;i<=N;i++) new int [N+1]; f[i]=new Home=CPoint(10,50); sImage=CSize(200,100); threshold=0; bmp.LoadBitmap(IDB_BITMAP1); } CChildView::~CChildView() { for (int int i=0;i<=N;i++) delete f[i]; delete f; } BEGIN_MESSAGE_MAP(CChildView, CWnd) ON_WM_PAINT() ON_WM_LBUTTONDOWN() END_MESSAGE_MAP() //CChildView message handlers BOOL CChildView ::PreCreateWindow(CREATESTRUCT& cs) { if (!CWnd::PreCreateWindow(cs)) return FALSE; cs.dwExStyle |= WS_EX_CLIENTEDGE; cs.style &= ~WS_BORDER; cs.lpszClass = AfxRegisterWndClass(CS_HREDRAW |CS_VREDRAW|CS_DBLCLKS, ::LoadCursor(NULL, IDC_ARROW), reinterpret_cast reinterpret_cast<HBRUSH> (COLOR_WINDOW+1), NULL); return TRUE; }

72

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

void CChildView::OnPaint() { this this); //device context for CPaintDC dc(this //painting CDC memDC; memDC.CreateCompatibleDC(&dc); memDC.SelectObject(&bmp); dc.BitBlt(Home.x,Home.y,400,300,&memDC, 0,0,SRCCOPY); for (int int j=0;j<=sImage.cy;j++) for (int int i=0;i<=sImage.cx;i++) { f[i][j]=dc.GetPixel(Home.x+i+50, Home.y+j+100); threshold += (double)f[i][j]; } double threshold /= (double double)(N*N); CWinApp* app = AfxGetApp(); if (app) app->m_pMainWnd->SetWindowPos(NULL, 50, 50, 700, 500, SWP_SHOWWINDOW ); //Do not call CWnd::OnPaint() for //painting messages } void CChildView ::OnLButtonDown(UINT nFlags,CPoint point) { //TODO: Add your message handler code here //and/or call default this CClientDC dc(this this); int Sy,Sx,S,L; dc.TextOut(440,Home.y-40,"Sobel Mtd"); dc.TextOut(440,Home.y-10+sImage.cy, "Laplacian 1 Mtd"); dc.TextOut(440,Home.y+20+2*sImage.cy, "Laplacian 2 Mtd"); for (int int j=1;j<=sImage.cy-1;j++) for (int int i=1;i<=sImage.cx-1;i++) { //Sobel masking for detecting the edges Sy= f[i-1][j+1] // horizontal kernel -f[i+1][j+1] +2*f[i-1][j] -2*f[i+1][j] +f[i-1][j-1] -f[i+1][j-1]; Sx=-f[i-1][j+1] // vertical kernel -2*f[i][j+1] -f[i+1][j+1] +f[i-1][j-1] +2*f[i][j-1] +f[i+1][j-1]; S=abs(Sy) + abs(Sx); if (S<=(int int int)threshold) S=RGB(0,0,0); else S=RGB(255,255,255); dc.SetPixel(440+i,Home.y-25+j,S); //Laplacian masking for //detecting the edges L=-f[i][j+1] -f[i-1][j] // kernel 1 +4*f[i][j] -f[i+1][j]-f[i][j-1]; L=abs(L); if (L<=(int int int)threshold) L=RGB(0,0,0); else L=RGB(255,255,255); dc.SetPixel(440+i, Home.y+5+sImage.cy+j,L); L=-f[i-1][j+1] -f[i][j+1] // kernel 2 -f[i+1][j+1] -f[i-1][j] +8*f[i][j] -f[i+1][j] -f[i-1][j-1] -f[i][j-1] -f[i+1][j-1]; L=abs(L); if (L<=(int int int)threshold) L=RGB(0,0,0); else L=RGB(255,255,255); dc.SetPixel(440+i, Home.y+35+2*sImage.cy+j,L); } CWnd::OnLButtonDown(nFlags, point); }


การประมวลผลภาพ ทีส่ อดคลองกับ DC จอภาพ โดยใชฟง กชนั CreateCompatibleDC และโอนยายขอมูลบิตแมพมาเก็บไวใน DC หนวยความจำ โดยใชฟง กชนั SelectObject สุดทายจะใช BitBlt นำขอมูลจาก DC หนวยความจำ ออกแสดงทาง จอภาพของคอมพิวเตอร ตามขนาดเดิมของ BITMAP จาก Resource ดังรูปที่ 21 และโคดโปรแกรมดังนี้

รูปที่ 21 OnPaint() void CChildView::OnPaint() { this CPaintDC dc(this this); //device context for //painting CDC memDC; memDC.CreateCompatibleDC(&dc); memDC.SelectObject(&bmp); dc.BitBlt(Home.x,Home.y,400,300,&memDC, 0,0,SRCCOPY); for (int int j=0;j<=sImage.cy;j++) for (int int i=0;i<=sImage.cx;i++) 1 { f[i][j]=dc.GetPixel(Home.x+i+50, Home.y+j+100); double double)f[i][j]; threshold += (double } double threshold /= (double double)(N*N); CWinApp* app = AfxGetApp(); if (app) app->m_pMainWnd-> SetWindowPos(NULL, 50, 50, 700, 500, SWP_SHOWWINDOW ); }

ขั้ น ตอนที่ 4 กำหนด Window Message ชื่อ WM_LBUTTONDOWN ของคลาส CChildView ทำได โดย เลือกที่ Tap Class Wizard แลวคลิกขวาเลือก

รูปที่ 22 WM_LBUTTONDOWN ของคลาส CChildView

Properties เลือก Message WM_LBUTTONDOWN > OnLButtonDown ดังรูปที่ 22 แลวแทรกโคดดังนี้ void CChildView ::OnLButtonDown(UINT nFlags,CPoint point) { //TODO: Add your message handler code here CWnd::OnLButtonDown(nFlags, point); }

สำหรับการหาขอบภาพนัน้ ไดเลือกใช 3 วิธกี าร คือ 1. Sobel Filtering Method ⎡ 1 0 −1⎤ ⎡ 1 2 1⎤ Sy = ⎢ 0 0 0 ⎥ ; Sx = ⎢ 2 0 − 2 ⎥ ⎣− 1 0 − 1 ⎦ ⎣− 1 − 2 − 1 ⎦ S = S 2x + S 2y 2. Laplacian Filtering Method: Kernel 1 ⎡ 0 0 0⎤ ⎡ 0 1 0⎤ L = ⎢ 1 − 2 1⎥ + ⎢ 0 − 2 0⎥ ⎣ 0 0 0⎦ ⎣ 0 1 0⎦ ⎡ 0 1 0⎤ = ⎢ 1 − 4 1⎥ ⎣ 0 1 0⎦ 3. Laplacian Filtering Method: Kernel 2

⎡− 1 − 1 − 1 ⎤ L = ⎢− 1 − 8 − 1 ⎥ ⎣− 1 − 1 − 1 ⎦ ดังนั้นจึงเพิ่มโคดโปรแกรมในสวนของการหาขอบ ภาพดังนี้ void CChildView ::OnLButtonDown(UINT nFlags,CPoint point) { //TODO: Add your message handler code here //and/or call default this this); CClientDC dc(this int Sy,Sx,S,L; dc.TextOut(440,Home.y-40,"Sobel Mtd"); dc.TextOut(440,Home.y-10+sImage.cy, "Laplacian 1 Mtd"); dc.TextOut(440,Home.y+20+2*sImage.cy, "Laplacian 2 Mtd"); for (int int j=1;j<=sImage.cy-1;j++) for (int int i=1;i<=sImage.cx-1;i++) { //Sobel masking for detecting the edges Sy= f[i-1][j+1] //horizontal kernel -f[i+1][j+1] +2*f[i-1][j] -2*f[i+1][j] +f[i-1][j-1] -f[i+1][j-1]; Sx=-f[i-1][j+1] //vertical kernel -2*f[i][j+1] -f[i+1][j+1] +f[i-1][j-1] +2*f[i][j-1] +f[i+1][j-1]; S=abs(Sy)+abs(Sx); if (S<=(int int int)threshold) S=RGB(0,0,0); else S=RGB(255,255,255); 2 dc.SetPixel(440+i,Home.y-25+j,S); //Laplacian masking for detecting //the edges L=-f[i][j+1] -f[i-1][j] //kernel 1

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

73


การประมวลผลภาพ

1

Sobel Mtd 2

Laplacian 1 Mtd 3

Laplacian 2 Mtd 4

รูปที่ 23 ผลของโปรแกรมตรวจหาขอบภาพ

3

4

}

+4*f[i][j] -f[i+1][j] -f[i][j-1]; L=abs(L); if (L<=(int)threshold) L=RGB(0,0,0); else L=RGB(255,255,255); dc.SetPixel(440+i,Home.y+5 +sImage.cy+j,L); L=-f[i-1][j+1] -f[i][j+1] //kernel 2 -f[i+1][j+1] -f[i-1][j] +8*f[i][j] -f[i+1][j] -f[i-1][j-1] -f[i][j-1] -f[i+1][j-1]; L=abs(L); if (L<=(int int int)threshold) L=RGB(0,0,0); else L=RGB(255,255,255); dc.SetPixel(440+i, Home.y+35+2*sImage.cy+j,L);

บทความนีเ้ ปนเพียงสวนเล็กๆ ของศาสตรแขนงหนึง่ ในดานการประมวลผลภาพดิจทิ ลั ซึง่ ผเู ขียนตองการเสนอ ใหผูอานไดเห็นถึงกระบวนการที่ไดมาซึ่งผลลัพธที่เราตอง การ เชน การแยกองคประกอบสี การหาขอบภาพ เปน ตน ซึง่ เปนวิธกี ารพืน้ ฐานทีส่ ำคัญตอการนำไปประยุกตใช ในงานอุตสาหกรรม ถาหากผูอานพอมีความรูทางดาน โปรแกรมคอมพิ ว เตอร ก็ จ ะสามารถนำหลั ก การนี้ ไ ป ประยุกตใชงานหรือพัฒนาใหมีความสามารถเพิ่มขึ้นได ไมยาก

} CWnd::OnLButtonDown(nFlags, point);

เมือ่ แกไขโปรแกรมเรียบรอยแลว ทำการ Build > Build EdgeDetect และรันโปรแกรม EdgeDetect ได ผลของโปรแกรมดังรูปที่ 23

www.facebook.com/meBOOKSHOP ̸² °´® ´¿®°Æ ·Ø¿¸°¾§ ¿¦´Áµ´ °°® ´¿°·¿° ·¾®®¦¿¤¿ ´Áµ´ °°® µÆ¦¯×¸¦¾ ·Äº¤¿ ´Áµ´ °°®

z z z

74

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555


การประเมินคารบอนฟุตพรินต

กองบรรณาธิการ

การประเมิน

คาร บ อนฟุ ต พริ น ต ข ององค ก ร การลดภาวะโลกรอน เปนสิ่งที่ทุกองคกรตองดําเนินการในยุคนี้ คารบอนฟุตพรินต

เปนแนวทางหนึ่งของการลดกาซเรือนกระจก การประเมินคารบอนฟุตพรินตจึงเปนวิธี การทางมาตรฐานสากลเพื่อแกปญหาโลกรอนของภาคอุตสาหกรรม

ารปลอยกาซเรือนกระจกจากกิจกรรมตางๆ ของมนุษยอยางตอ เนื่อง ทั้งการใชพลังงานการเกษตรกรรม, การพัฒนาและการขยายตัว ของภาคอุตสาหกรรม, การขนสง, การตัดไมทําลายปา และการทําลาย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในรูปแบบอืน่ ๆ ลวนเปนสาเหตุสาํ คัญ ของการเกิดภาวะโลกรอน และนับ วันปญหาดังกลาวยิ่งทวีความรุนแรง มากขึ้น จากผลกระทบของภาวะโลก รอน ทําใหประเทศตางๆ ทั่วโลกตื่น ตัวในการดําเนินงานเพือ่ ลดการปลอย กาซเรือนกระจก การจัดทําคารบอน ฟุตพรินตขององคกร (Carbon footprint for organization - CFO หรือ Corporate carbon footprint -

CCF) เปนวิธีหนึ่งในการแสดงขอมูล ปริมาณกาซเรือนกระจกที่ปลอยจาก การดําเนินงานขององคกร ซึง่ นําไปสู การกําหนดแนวทางการบริหารจัดการ เพื่ อ ลดการปล อ ยก า ซเรื อ นกระจก ไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งในระดับ หนวยงาน, บริษัท หรือโรงงานระดับ อุตสาหกรรม และระดับประเทศ การเลือกซือ้ สินคาหรือบริการที่ มีการปลอยกาซเรือนกระจกนอย เปน ทางหนึ่งที่ผูบริโภคมีสวนรวมในการ บริหารจัดการกาซเรือนกระจก และ เปนกลไกทางการตลาดในการกระตุน

ใหผูผลิตพัฒนาสินคาที่ลดการปลอย กาซเรือนกระจกตามความตองการ ของผูบริโภคดวย แตผูบริโภคจําเปน จะตองมีขอมูลในการตัดสินใจเลือก ซื้ อ โดยใช ค าร บ อนฟุ ต พริ น ต ข อง ผลิตภัณฑ เพื่อประกอบการตัดสินใจ "คารบอนฟุตพรินต" หมายถึง ปริมาณกาซเรือนกระจกที่ปลอยออก มาจากผลิตภัณฑแตละหนวย ตลอด วั ฎ จั ก รชี วิ ต ของผลิ ต ภั ณ ฑ ตั้ ง แต การไดมาซึ่งวัตถุดิบ, การขนสง, การ ประกอบชิน้ สวน, การใชงาน และการ จัดการซากผลิตภัณฑหลังใชงาน โดย

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555

75


การประเมินคารบอนฟุตพรินต

คํานวณออกมาในรูปของคารบอนไดออกไซดเทียบเทา การประเมินคารบอนฟุตพรินต ขององคกร จึงเปนเครื่องมือในการ ประเมินการปลอยกาซเรือนกระจก ที่เกิดขึ้น จากการดําเนินกิจกรรมตางๆ ทัง้ การผลิตและการบริการขององคกร ซึ่งชวยเสริมสรางศักยภาพใหกับผู ประกอบการและธุรกิจไทยสามารถ แขงขันไดในตลาดโลก

แนวทางการประเมิน คารบอนฟุตพรินต

การประเมินคารบอนฟุตพรินต ขององคกร เปนวิธีคํานวณปริมาณ การปลอยและดูดกลับกาซเรือนกระจก ทีเ่ กิดจากกิจกรรมการดําเนินงานของ องคกร หรือทีเ่ รียกวา “คารบอนฟุตพรินตขององคกร” โดยแบงกิจกรรม ที่มีการปลอยและดูดกลับกาซเรือน กระจกจากการดําเนินงานขององคกร ไว 3 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 เปนการปลอยและ ดูดกลับกาซเรือนกระจกทางตรงของ องคกร

76

ประเภทที่ 2 เปนการปลอยและ ดูดกลับกาซเรือนกระจกทางออมจาก การใชพลังงาน ประเภทที่ 3 เปนการปลอยและ ดูดกลับกาซเรือนกระจกทางออมอืน่ ๆ หลักการแสดงผล คารบอนฟุตพรินต การแสดงผลปริมาณกาซเรือนกระจกที่ ป ล อ ยและดู ด กลั บ จาก กิจกรรมขององคกร หรือคาคารบอน ฟุตพรินตขององคกร มีองคประกอบ พื้นฐานที่สําคัญ 5 ประการ คือ 1. ความตรงประเด็น (Relevance) เลือกแหลงปลอยกาซเรือนกระจก, แหลงดูดซับกาซเรือนกระจก, แหลงกักเก็บกาซเรือนกระจก, ขอมูล รวมถึงวิธกี ารวัดและคํานวณทีเ่ หมาะ สมกั บ ความต อ งการของกลุ  ม เป า หมาย ซึ่งปริมาณกาซเรือนกระจก ที่เก็บรวบรวมหรือประเมินได ควร สะท อ นถึ ง ปริ ม าณการปล อ ยและ ดู ด กลั บ กา ซเรื อนกระจกที่เ กี่ ยวกั บ องคกร และชวยตัดสินใจในนโยบาย ขององคกร 2. ความสมบูรณ (Completeness) ปริมาณการปลอยและดูดกลับ กาซเรือนกระจกที่เก็บรวบรวมหรือ

1

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555

ประเมินได ควรเปนปริมาณการปลอย และดูดกลับกาซเรือนกระจกจากทุก กิจกรรมที่เกี่ยวกับองคกร 3. ความไมขัดแยงกัน (Consistency) ขอมูลเกีย่ วของกับการเก็บ รวบรวมหรือคํานวณปริมาณการปลอย และดูดกลับกาซเรือนกระจกทีไ่ ด เมือ่ เปรียบเทียบกันจะตองไมขัดแยงกัน 4. ความถูกตอง (Accuracy) ลดอคติ และความไม แ น น อน ใน การรวบรวมหรือคํานวณปริมาณการ ปลอยและดูดกลับกาซเรือนกระจก ใหไดมากที่สุด 5. ความโปรงใส (Transparency) เปดเผยขอมูลเกี่ยวของกับ การรวบรวมหรือคํานวณปริมาณการ ปลอยและดูดกลับกาซเรือนกระจกที่ เพียงพอและเหมาะสม สามารถตรวจ สอบได เพื่อใชตัดสินใจความเชื่อมั่น อยางมีเหตุผล

2

ชนิดและหนวยปริมาณ กาซเรือนกระจก ชนิ ด และหน ว ยการแสดง ปริมาณกาซเรือนกระจก พรอมคา ศักยภาพในการทําใหเกิดภาวะโลก รอนมีดังนี้


การประเมินคารบอนฟุตพรินต 1. ชนิดของกาซเรือนกระจก มีกาซเรือนกระจก คือ คารบอนไดออกไซด, มีเทน, ไนตรัสออกไซด, กลุมไฮโดรฟลูออโรคารบอน, กลุม เพอรฟลูออโรคารบอนและซัลเฟอร เฮ็กซาฟลูโอไรด และกาซอื่นๆ ที่มี คุณสมบัติเปนกาซเรือนกระจก 2. ค า ศั ก ยภาพที่ ทํ า ให เ กิ ด ภาวะโลกรอน คํานวณไดจากปริมาณ กาซเรือนกระจกแตละชนิดที่ปลอย ออกมา และแปลงคาใหอยูในรูปของ

ก า ซคาร บ อนไดออกไซด เ ที ย บเท า โดยใชคาศักยภาพในการทําใหเกิด ภาวะโลกรอนในรอบ 100 ป ของ IPCC (GWP 100) ลาสุดเปนเกณฑ เชน กาซมีเทนมีคา GWP100 เทากับ 25 หมายความวา กาซมีเทน 1 กิโลกรัม มีศักยภาพในการทําใหเกิดภาวะโลก รอนเทากับกาซคารบอนไดออกไซด 25 กิโลกรัม 3. หน ว ยปริ ม าณก า ซเรื อ น กระจกที่ ป ล อ ยและดู ด กลั บ ของ

องคกร คือ คาคารบอนฟุตพรินต ในหน ว ยตั น (กิ โ ลกรั ม ) ของก า ซ เรื อ นกระจกแต ล ะชนิ ด และรวม อยูในหนวยตัน (กิโลกรัม) ของกาซ คารบอนไดออกไซดเทียบเทา การพัฒนาและออกแบบบัญชี รายการปริมาณกาซเรือนกระจก การพัฒนาและออกแบบบัญชี รายการปริ ม าณก า ซเรื อ นกระจก ประกอบดวยขั้นตอนหลัก 3 ขั้นตอน คื อ กํ า หนดขอบเขตขององค ก ร,

3

u¤¸ t¥ §{¥ ¥° £{¤ ¼¥w¥ Ù « § Ùu z § ¤ Ù ¯ §·

³ Õ

¥ Ù± ² ¤w ¨·¯ ¶ ³~ Ùu z t ZZZ WJR RU WK

Ö zt¥ ¨· ©t ¥ }Õ £¯ § w¥ Ù « § Ù ª ³ Õ

t zwÙt¥ § ¥ {¤ t¥ t×¥~¯ ª t £{t ¬Ö ² Öw ¥ ¯ ¶ ² ¨· £}«

²}Õ

§ ¤ ¯ Ý ¬Ö £¯ § w¥ Ù « § Ù Ö ¯ z

§ Õ ¨· ©t ¥² Ö ¥ ¼¥¯ § t¥ £¯ § w¥ Ù « § Ù

§ ¤ ¯u¨ uÖ t¼¥ ¯| ¥£ § ¤ Ù ¥t ¤z³ Õ ¨² ZZZ WJR RU WK

¨· ©t ¥¯u¨ uÖ t¼¥ ¯| ¥£ § ¤ Ù ¥t ¤z³ Õ ¨² ZZZ WJR RU WK

§ ¤ ª ¨· ©t ¥ ¥ ² ¨· £u« t¥ §{¥ ¥ { ° £ ¤ ³ Õ z² ¨· £}« w £t t¥ ¯ w §w Ö¥ w¥ Ù « § ต u z § ¤ Ù Õ¥ ª ³ Õ Õ¥ § ¤ z ¥ ¤ z w¥ Ù « § Ùu z § ¤ Ù ¨· Õ¥ t¥

§ ¤ ª ¨· ©t ¥¯ ª t ¬Ö w {¥t zwÙt ¨·u©¸ £¯ ¨ t¤ t ¬³ Ö{¥t ZZZ WJR RU WK

¯ u¥ «t¥ ±w zt¥ ¯ t ¥ ¤¸z ³ Õ

t¥ £¯ § ± ¬Ö Õ¥ ª ³ Õ Õ¥ ¬Ö z ¥ ¤ z ° £°{Öz t¥ ¬Ö Õz¯ t ¥ ° £ ² ¤ z ² Ö t ° £ § ¤ ª· ¤w ° £}¼¥ £¯z§ wÕ¥ ¤w ¥ ° £ wÕ¥ ¯ ¨ ¥

³ Õ

t¥ §{¥ ¥± w £ ¼¥z¥ z¯ § t¥ ²}Öw¥ Ù « § Ù Õ¥ ª ³ Õ Õ¥ t °{Öz ³ ¤z § ¤ ° £ § ¤ }¼¥ £wÕ¥ ¯ ¨ ¤ z ¥ Õ § ¤ Ù Õ Í ² Öt¤ t ° Ö {©z ¼¥¯w ª· z ¥ w¥ Ù « § Ù³ ²}Ö

{

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555

77


การประเมินคารบอนฟุตพรินต กําหนดขอบเขตของการดําเนินงาน และคํานวณการปลอยและดูดกลับ กาซเรือนกระจก 1. กํ า ห น ด ข อ บ เ ข ต ข อ ง องคกร โครงสรางโดยทั่วไปองคกร อาจประกอบดวยหนวยธุรกิจ หรือ โรงงานมากกวาหนึ่งโรง การกําหนด ขอบเขตขององค ก รเพื่ อ คํ า นวณ คารบอนฟุตพรินต จึงเปนขั้นตอนที่ สํ า คั ญ และต อ งมี ค วามชั ด เจนและ เหมาะสม โดยประกอบดวย 1. กํ า หนดเป า หมายของ การคํานวณคารบอนฟุตพรินต ให สอดคลองกับวัตถุประสงคของการนํา ผลศึกษาไปใชงาน 2. กําหนดขอบเขตขององคกร ในการรวบรวมแหลงปลอยและแหลง ดูดซับกาซเรือนกระจก ซึ่งสามารถ ทําได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบแรกเปน แบบควบคุม โดยแบงเปนการควบคุม การดําเนินงานและการควบคุมทาง การเงิน สวนรูปแบบที่สองเปนแบบ ปนสวนตามกรรมสิทธิ์ โดยปนตาม สัดสวนของลักษณะการรวมทุน หรือ ลงทุนในอุปกรณ หรือหนวยผลิตนัน้ ๆ 2. กําหนดขอบเขตของการ ดําเนินงาน โดยระบุกิจกรรมที่มีการ ปลอยและดูดกลับกาซเรือนกระจกที่ สัมพันธกบั การดําเนินงานขององคกร ซึ่งแบงเปน 3 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 การปลอยและ ดูดกลับกาซเรือนกระจกทางตรงของ องคกร ไดแก กาซเรือนกระจกที่เกิด ขึ้นโดยตรงจากกิจกรรมตางๆ ภายใน องคกร ดังนี้ 1. จากการเผาไหม ที่ อ ยู  กั บ ที่ เช น การผลิตไฟฟา, ความรอน และ ไอนํ้า หรือการเผาไหมของเชื้อเพลิงจากการใชงานของอุปกรณ และเครื่องจักร หรือการเผาไหม ของเชื้อเพลิงที่ใชในการหุงตม

78

ฉลากคารบอนฟุตพรินต

2. จากกระบวนการ ไดแก กระบวนการจากปฏิกิริยาเคมีในกระบวนการผลิต 3. จากการเผาไหมที่มีการเคลื่อนที่ เชน การเผาไหมของเชือ้ เพลิงจาก กิจกรรมการขนสง 4. จากการรั่วไหลและอื่นๆ เชน การ รั่ ว ซึ ม ของก า ซเรื อ นกระจกออก สูบรรยากาศภายนอกจากหนวย ผลิตภายในโรงงาน 5. จากการเผาไหมชีวมวล ประเภทที่ 2 การปลอยและดูด กลับกาซเรือนกระจกทางออมจากการ ใชพลังงาน ไดแก ปริมาณกาซเรือน กระจกทีเ่ กิดจากการผลิตไฟฟา ความ รอน หรือไอนํ้าจากภายนอกเพื่อใช งานในองคกร ประเภทที่ 3 การปลอยและ ดูดกลับกาซเรือนกระจกทางออมอืน่ ๆ ไดแก จากกิจกรรมตางๆ นอกเหนือ จากทีร่ ะบุในประเภทที่ 1 และ 2 เชน การเดินทางของพนักงานเพื่อประชุม สัมมนา และติดตอธุรกิจเกีย่ วกับองคกรดวยระบบการขนสงประเภทตางๆ 3. คํานวณปริมาณการปลอย และดู ด กลั บ ก า ซเรื อ นกระจก ประกอบดวย 1. การกําหนดขั้นตอนการคํานวณ 2. การระบุแหลงปลอยและแหลงดูด ซับกาซเรือนกระจก 3. การคัดเลือกวิธีการคํานวณ 4. การคัดเลือกและเก็บขอมูลกิจกรรม การปล อ ยและดู ด ซั บ ก า ซเรื อ น กระจก

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555

ฉลากลดคารบอน

5. การคัดเลือกหรือพัฒนาคาแฟกเตอรการปลอยหรือดูดกลับกาซ เรือนกระจก ขณะนี้ ห ลายประเทศได นํ า คารบอนฟุตพรินตมาใชกันแลว โดย เฉพาะประเทศในกลุมสหภาพยุโรป สินคาที่ติดเครื่องหมายฟุตพรินตจึง มีแนวโนมขยายตัวมากยิ่งขึ้น โดยมี ประเทศผูนําเขาสินคาจากไทย ซึ่ง ปจจุบนั มีบริษทั นํารองในประเทศไทย ที่ ดํ า เนิ น การด า นนี้ ห ลายสิ บ บริ ษั ท เชน บ.นํา้ ตาลมิตรผล, บ.อาหารสยาม, บ.เบทาโกร, บ.สหฟารม เปนตน กลาวไดวา เครื่องหมายคารบอนฟุ ต พริ น ต ที่ ติ ด บนสิ น ค า หรื อ ผลิตภัณฑตางๆ เปนการแสดงขอมูล ใหผูบริโภคไดทราบวา ตลอดวัฏจักร ชีวิตของผลิตภัณฑนั้นๆ มีการปลด ปลอยกาซเรือนกระจกออกมาปริมาณ เทาใด ตั้งแตกระบวนการหาวัตถุดิบ, การผลิต, การขนสง, การใชงาน และ การกําจัดเมื่อกลายเปนของเสีย ซึ่ง ชวยในการตัดสินใจชื้อของผูบริโภค และกระตุน ใหผปู ระกอบการปรับเปลีย่ น เทคโนโลยีในการผลิตใหเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอมมากยิ่งขึ้น

ที่มา “แนวทางการประเมินคารบอนฟุต พรินตขององคกร” โครงการสงเสริมการ จัดทําคารบอนฟุตพรินตขององคกร โดย องค ก ารบริ ห ารจั ด การก า ซเรื อ นกระจก (องคการมหาชน) พิมพครั้งที่ 1 (กรกฎาคม 2554)


เยี่ยมชม

กองบรรณาธิการ

เยี่ยมชม โรงไฟฟา บริองคษัทกรผลิผลิ ต ไฟฟ า ราชบุ ร ี จํ า กั ด ตพลังงานไฟฟา ที่มีประสิทธิภาพในการเดินเครื่อง และการบริหารจัดการดานคุณภาพ รวมทั้งการบริหารจัดการ ดานสิ่งแวดลอม จนเปนที่ยอมรับในระดับสากล

ปั

จจุบันไฟฟาเปนปจจัยสําคัญ ที่ สุ ด ป จ จั ย หนึ่ ง สํ า หรั บ การ ดํารงชีวติ ประจําวันของประชากรโลก กิจการตางๆ ทัง้ การสือ่ สาร การคมนาคม การใหความรู การศึกษา และการมีสว นรวมในสังคม ตางก็ขาด ไฟฟาไมได ไฟฟาเปนตัวแปรสําคัญในการ พัฒนาเศรษฐกิจ การเพิม่ ผลผลิต ทัง้ การเกษตรและอุตสาหกรรมทีท่ นั สมัย

ทีท่ าํ ใหเกิดการกระจายรายได และเสริม สรางขีดความสามารถในการแขงขันใน ดานการผลิตและการขายสินคา ซึง่ ตอง ใชพลังไฟฟาเปนตัวขับเคลือ่ นเชนกัน วารสาร EC ฉบับนี้จึงขอพา ทานผูอานเขาเยี่ยมชมและรับความรู จาก บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรี จํากัด ซึ่งมีกระบวนการผลิตพลังงานไฟฟา และการจัดการในดานตางๆ อยางมี ประสิทธิภาพ

ที่ตั้งและ ความเปนมา

บริษทั ผลิตไฟฟาราชบุรี จํากัด ตั้งอยูที่อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี มี พื้นที่กวางขวางถึง 2,015 ไร ซึ่งเปน ที่ ตั้ ง ของโรงไฟฟ า ราชบุ รี ต ามรู ป ที่ 1 เนื่องจากมีความเหมาะสมในดาน ตางๆ เชน ความจําเปนดานระบบ สายสงไฟฟาแรงสูง, แนวทอที่จะใช

รูปที่ 1 โรงไฟฟาราชบุรี

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555 79


เยี่ยมชม

รูปที่ 2 คุณนพพล มิลินทางกูร และคุณประจวบ อุชชิน

ลําเลียงเชื้อเพลิง, แหลงนํ้าที่จะนํา มาใชในการผลิต/ปริมาณการใชนํ้า ของชุมชน, การยอมรับของชุมชน ดวยกระบวนการมีสวนรวมและการ วิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม การเขาเยี่ยมชมครั้งนี้ เราได รับเกียรติจากคุณนพพล มิลนิ ทางกูร กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ผลิต ไฟฟาราชบุรโี ฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) และคุณประจวบ อุชชิน กรรมการผู- จัดการ บริษทั ผลิตไฟฟาราชบุรี จํากัด ตามรูปที่ 2 ที่ไดใหขอมูลและนําการ เยี่ยมชมครั้งนี้เปนอยางดีและเปน กันเอง บริษทั ผลิตไฟฟาราชบุรโี ฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) เปนบริษัทลงทุนใน ธุรกิจผลิตไฟฟาชัน้ นําของประเทศไทย กอตัง้ เมือ่ วันที่ 7 มีนาคม 2543 ตามมติ คณะรัฐมนตรีเมือ่ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2542 ที่ใหระดมทุนจากภาคเอกชน ในโครงการโรงไฟฟาราชบุรี ดวยการ

5$7&+*(1

จําหนายหุนสามัญของบริษัทฯ แก ประชาชนจํานวน 580 ลานหุน ซึ่ง ดําเนินการไดสําเร็จในเดือนตุลาคม 2543 ป จ จุ บั น บริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ า ราชบุรโี ฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) มีกาํ ลัง ผลิตติดตั้งทั้งหมด 4,346.75 เมกะวัตต จากการลงทุนในโครงการโรงไฟฟาซึ่งมีการเดินเครื่องเชิงพาณิชย แลว ทําใหบริษัทฯ มีกําลังผลิตตาม สัดสวนการถือหุน คือ โรงไฟฟาราชบุรี มีกําลังผลิต 3,645 เมกะวัตต, โรงไฟฟ า ราชบุ รี เ พาเวอร มี กํ า ลั ง ผลิ ต 25% ของกําลังการผลิตรวม 1,400 เมกะวัตต และโรงไฟฟาไตรเอนเนอจี้ มีกําลังผลิต 50% ของกําลังการผลิต รวม 700 เมกะวัตต กระแสไฟฟ า ที่ ผ ลิ ต จากโรงไฟฟาราชบุรที งั้ หมด ไดจาํ หนายใหแก การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) เพียงรายเดียว โดยสงเขา

2WKHUV (*$7

,33

รูปที่ 3 สัดสวนการผลิตไฟฟาของโรงไฟฟาราชบุรี

80

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

ระบบสงไฟฟาแรงดันสูง ของ กฟผ. ที่แรงดันขนาด 230 กิโลโวลต และ 500 กิโลโวลต ทั้งนี้ปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรี จํากัด เปนผูผลิต ไฟฟาเอกชนรายใหญ ซึง่ เปนเจาของ และบริหารงานโรงไฟฟาราชบุรีที่มี กําลังผลิตติดตัง้ รวม 3,645 เมกะวัตต หรือคิดเปนรอยละ 11.92% ของ ทั้ ง ประเทศ โดยสั ด ส ว นการผลิ ต ไฟฟาของโรงไฟฟาราชบุรีตามรูปที่ 3 หากรวมกําลังการผลิตของทั้งสาม บริษัท จะไดกําลังการผลิตในพื้นที่ แหงนี้ 5,745 เมกะวัตต คิดเปน ประมาณ 19% ของกําลังการผลิต ในประเทศ

การผลิตไฟฟาและ ปจจัยการผลิตไฟฟา

โรงไฟฟาราชบุรีใชเชื้อเพลิง ผลิ ต ไฟฟ า ในป 2553 เป น ก า ซ ธรรมชาติ 97.27%, นํา้ มันเตา 2.59% และนํ้ามันดีเซล 0.14% ซึ่งมีปจจัย การผลิตที่สําคัญ 2 ประการคือ 1. เชื้อเพลิง ประกอบดวย - ก า ซธรรมชาติ โรงไฟฟ า ราชบุรี เปนโรงไฟฟาที่ใชกาซธรรม ชาติเปนเชื้อเพลิงหลัก ในการผลิต กระแสไฟฟาของโรงไฟฟา ซึง่ ไดจาก แหล ง ยาดานาและแหล ง เยตากุ น ประเทศเมี ย นมาร โดยมี บริ ษั ท ปตท. จํากัด (มหาชน) เปนผูจัดหา ตามสัญญาระยะยาว 25 ป โดยสง ผานทอสงกาซธรรมชาติมายังศูนย ปฏิบัติการระบบทอเขต 5 ของ ปตท. ก อ นส ง มายั ง โรงไฟฟ า ราชบุ รี ต าม รูปที่ 4 โดยไมมีการกักเก็บไวภายใน โรงไฟฟาราชบุรี รวมทอสงกาซยาว ประมาณ 703 กิโลเมตร - นํ้ามันเตาและนํ้ามันดีเซล ในกรณี ที่ เ ชื้ อ เพลิ ง หลั ก คื อ ก า ซ


เยี่ยมชม ธรรมชาติมีไมเพียงพอ หรือแทนขุด เจาะก า ซธรรมชาติ ห ยุ ด เดิ น เครื่ อ ง โรงไฟฟ า ราชบุ รี จ ะเดิ น เครื่ อ งผลิ ต กระแสไฟฟาดวยเชื้อเพลิงสํารองที่ เก็บสํารองไวตามรูปที่ 5 ซึ่งมีอยู 2

ชนิดคือ นํ้ามันเตาและนํ้ามันดีเซล โดยการสํารองนี้จะมีผลใหโรงไฟฟา พลังความรอนสามารถเดินเครือ่ งดวย นํ้ามันเตาได 5 วัน และโรงไฟฟาพลัง ความรอนรวมสามารถเดินเครือ่ งดวย

รูปที่ 4 ศูนยปฏิบัติการระบบทอเขต 5 และสถานีรับกาซ

นํ้ามันดีเซลได 3 วัน 2. นํา้ โรงไฟฟาราชบุรใี ชนาํ้ ดิบ จากแมนํ้าแมกลอง โดยมีสถานีสูบ นํ้ า ตั้ ง อยู  บ ริ เ วณฝ  ง ซ า ยของแม นํ้ า แมกลอง ตําบลทาราบ อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี และสงผานทอสงนํ้า มาเก็บไวในอางเก็บนํ้าดิบภายในโรงไฟฟาราชบุรีตามรูปที่ 6 ซึ่งมีความจุ 1.68 ลานลูกบาศกเมตร และเก็บนํ้า ไวใชผลิตกระแสไฟฟาไดประมาณ 7 วัน นํ้าดิบที่นํามาจากแมนํ้าแมกลอง จะผานกระบวนการปรับปรุงคุณภาพ เพือ่ ใหไดนาํ้ สะอาดทีป่ ราศจากแรธาตุ

รูปที่ 6 อางเก็บนํ้าดิบของโรงไฟฟา

รูปที่ 5 ถังเก็บสํารองนํ้ามันเชื้อเพลิง

รูปที่ 7 ศูนยควบคุมการผลิตและจายไฟฟา

สําหรับตมเพือ่ ผลิตกระแสไฟฟาตอไป ทั้งนี้ปริมาณนํ้าจากแมนํ้าแมกลองที่ สู บ เข า โรงไฟฟ า จะมี เ พี ย ง 0.59% ของเขื่อนแมกลองเทานั้น

ประเภทของ โรงไฟฟาราชบุรี

รูปที่ 8 โรงไฟฟาพลังงานความรอน

โรงไฟฟาราชบุรีมีสองประเภท คือ 1.โรงไฟฟาพลังความรอน (Thermal power plant) และ 2.โรงไฟฟา

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555 81


เยี่ยมชม

รูปที่ 9 กระบวนการผลิตไฟฟาพลังความรอน

พลังความรอนรวม (Combined cycle power plant) โดยมีศนู ยควบคุมการ ผลิตและจายไฟฟาตามรูปที่ 7 ทีค่ วบคุม การจายไฟฟาและจายโหลดทดแทนกัน ไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

โรงไฟฟาพลังความรอน

โรงไฟฟ า พลั ง ความร อ นมี ขนาดกําลังการผลิตเครื่องละ 735 เมกะวัตต ตามรูปที่ 8 จํานวน 2 เครื่ อ ง รวมกํ า ลั ง การผลิ ต 1,470

เมกะวัตต โดยใชเชื้อเพลิงหลักคือ กาซธรรมชาติ และเชื้อเพลิงสํารอง คือนํ้ามันเตา โรงไฟฟ า พลั ง ความร อ นคื อ โรงไฟฟาทีใ่ ชความรอนจากเชือ้ เพลิง ชนิดกาซธรรมชาติหรือนํา้ มันเตา เพือ่ ตมนํ้าใหกลายเปนไอนํ้า ขับเครื่อง กังหันไอนํ้าใหหมุน โดยเครื่องกังหัน ไอนํ้าจะสงพลังงานกลผานเพลาไป ยังเครือ่ งกําเนิดไฟฟา และผลิตไฟฟา ออกมาตามรูปที่ 9

รูปที่ 10 เครื่องกังหันไอนํ้า

82

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

หมอกําเนิดไอนํา้ ของโรงไฟฟา เปนชนิด Critical boiler ทําความรอน ได 538 องศาเซลเซียส อัตราการไหล 2,530 ตันตอชั่วโมง และความดัน 254 บาร โดยตอไปยังเครื่องกังหัน ไอนํ้าตามรูปที่ 10 เครื่องกําเนิดไฟฟามีความเร็ว รอบ 3,000 รอบตอนาที ชนิด 3 เฟส ขนาดกําลัง 990 เมกะวัตต แรงดัน ไฟฟา 24 กิโลโวลต และกระแสไฟฟา 23,816 แอมป เนื่ อ งจากเป น โรงไฟฟ า พลั ง ความรอน จึงตองมีการระบายความ ร อ นด ว ยหอหล อ เย็ น ตามรู ป ที่ 11 ซึ่ ง การทํ า งานของหอหล อ เย็ น จะมี นํ้ า ที่ อุ ณ หภู มิ สู ง เข า สู  ห อหล อ เย็ น ได เ ป น นํ้ า ที่ อุ ณ หภู มิ ตํ่ า กว า ส ง เข า เครื่องควบแนนที่ตอกับเครื่องกังหัน ไอนํ้า สวนการระบายความรอนจาก หอหลอเย็นนั้นจะนํานํ้าใสจากถังเก็บ นํ้าใส ผานปมสูบนํ้าเขาสูหอหลอเย็น ซึง่ นํา้ ทีร่ ะบายจากหอหลอเย็นจะผาน การบําบัดอยางถูกตอง


เยี่ยมชม

รูปที่ 11 หอหลอเย็น

รูปที่ 12 กระบวนการ Flue Gas Desulphurization (FGD)

รูปที่ 13 กระบวนการผลิตไฟฟาพลังความรอนรวม

กระบวนการทีส่ าํ คัญอีกประการ หนึ่ ง ของโรงไฟฟ า ราชบุ รี คื อ Flue Gas Desulphurization (FGD) ซึ่ง เปนกระบวนการดักจับกาซซัลเฟอรไดออกไซด โดยแตละหมอไอนํ้าจะมี หอดูดซับ ซึ่งไอรอนจากหมอไอนํ้าถูก

สูบผานอุปกรณดูดซับกาซซัลเฟอรไดออกไซด และมีการฉีดนํ้าหินปูนให เกิดปฏิกิริยาเคมี ไดเปนยิปซัมเหลว แลวจึงแยกนํ้าออกจากยิปซัมเหลว ไดเปนผงยิปซัมไหลตามสายพานลง สูกองยิปซัมตอไปตามรูปที่ 12

โรงไฟฟาพลังความรอนรวม

โรงไฟฟา พลัง ความรอ นร ว ม มีขนาดกําลังการผลิตเครื่องละ 725 เมกะวัตต จํานวน 3 เครือ่ ง รวมกําลัง การผลิต 2,175 เมกะวัตต โดยใช เชื้อเพลิงหลักคือกาซธรรมชาติ และ

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555 83


เยี่ยมชม

รูปที่ 14 ระบบ Heat recovery steam generator (HRSG)

เชื้อเพลิงสํารองคือนํ้ามันดีเซล โรงไฟฟาพลังความรอนรวมคือ โรงไฟฟาที่ประกอบดวยเทคโนโลยี การผลิตไฟฟา 2 ระบบรวมกันคือ เทคโนโลยีกังหันกาซและเทคโนโลยี กั ง หั น ไอนํ้ า โดยนํ า ความร อ นจาก ไอเสี ย ที่ อ อกจากเครื่ อ งกั ง หั น ก า ซ ซึ่ ง มี อุ ณ หภู มิ สู ง ถึ ง 600 องศา เซลเซียส มาใชในการตมนํ้าใหเปน ไอ เพือ่ ขับเคลือ่ นกังหันไอนํา้ ใหหมุน ผลิตไฟฟาตอไปตามรูปที่ 13 เปน การนําความรอนมาใชประโยชนสองตอ เนือ่ งจากเปนโรงไฟฟาพลังความ รอนรวม จึงมี Heat recovery steam generator (HRSG) ในกระบวนการ ผลิตไฟฟา ซึ่งเปนชนิดทอแนวดิ่ง โดยมีอตั ราการไหล 270 ตันตอชัว่ โมง และทํ า ความร อ นได 568 องศา เซลเซียส ตามรูปที่ 14

มาตรการ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม

บริษทั ผลิตไฟฟาราชบุรี จํากัด มีการดําเนินการและการจัดการดาน ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม ที่ ถือวาประสบความสําเร็จไดเปนอยาง

84

ดี ซึ่งพอจะสรุปไดดังนี้ 1. มาตรการ ด า นความปลอดภั ย 2. มาตรการ ดานสิ่งแวดลอม 3. การจัดการสิ่งแวดล อ มของโรงไฟฟ า ราชบุ รี 4. การจัดการของเสีย และ 5. สภาพ ความรอน

มาตรการดานความ ปลอดภัย

การเดิ น เครื่ อ งผลิ ต ไฟฟ า อาจเกิดอุบัติภัยได โรงไฟฟาราชบุรี จึ ง มี ม าตรการป อ งกั น ให เ กิ ด ความ ปลอดภั ย และลดความสู ญ เสี ย ต อ บุคคล ทรัพยสิน และสิ่งแวดลอมคือ 1. การปองกันความบกพรอง ของอุ ป กรณ โดยมี ก ารออกแบบ อุ ป กรณ แ ละระบบควบคุ ม เพื่ อ ป อ งกั น ความเสี ย หายอุ ป กรณ ใ น กระบวนการผลิตกระแสไฟฟา และ ปองกันความบกพรองที่อาจเกิดขึ้น โดยเฉพาะระบบปองกันอัคคีภัย โดย มีระบบปองกันอัคคีภัยแบบอัตโนมัติ ตามมาตรฐาน NFPA เชน ระบบ แจงเหตุเพลิงไหม, ระบบนํา้ ดับเพลิง, ระบบหัวกระจายนํ้าดับเพลิง, ระบบ ดับเพลิงโดยใชกาซ, ระบบโฟมดับ เพลิง, ระบบปม นํา้ ดับเพลิง สวนพืน้ ที่ ที่มีความเสี่ยงระดับตํ่า จะมีระบบดับ

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

เพลิงแบบมือถือ และระบบแจงเหตุ เพลิงไหม 2. การปองกันกรณีความบก พรองของผูป ฏิบตั งิ าน โดยนําระบบ การบริหารความสูญเสียมาบริหารจัด การความปลอดภัยภายในโรงไฟฟา โดยมีวิธีปฏิบัติและขอกําหนดดาน ความปลอดภั ย ให พ นั ก งานปฏิ บั ติ สวนผูรับเหมาจะตองผานการอบรม ใหทราบกฎระเบียบตางๆ กอนเขา พื้ น ที่ ทํ า งาน นอกจากนี้ บุ ค ลากรที่ ควบคุ ม การเดิ น เครื่ อ งผลิ ต ไฟฟ า จะอบรมการแกไขปญหาตางๆ รวม ทั้ ง ทดสอบสมรรถภาพในศู น ย ฝ  ก อบรมควบคุมการเดินเครื่องจําลอง อยูเสมอ

มาตรการดานสิ่งแวดลอม

บริษัทฯ ไดตระหนักถึงความ สําคัญของวิถีชีวิตชุมชน สังคม และ คุณภาพสิง่ แวดลอม จึงผลิตพลังงาน ไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และสงผลกระทบตอสิง่ แวดลอมนอย ที่สุดคือ 1. สรางความสัมพันธที่ดีตอ ชุมชน โดยรับผิดชอบตอสังคมและ สิ่งแวดลอมในฐานะที่เปนสวนหนึ่ง ของสังคม


เยี่ยมชม 2. สรางจิตสํานึกใหผูปฏิบัติ งาน เกิดความรูความเขาใจ ในการ ดูแลรักษาสิ่งแวดลอม เพื่อลดภาวะ โลกรอน 3. ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ คําสั่ง ดานสิ่งแวดลอมของ ประเทศ ตลอดจนขอบังคับของทอง ถิ่น 4. ปฏิบัติตามมาตรการปอง กันมลภาวะ จากกระบวนการผลิต และกิ จ กรรมอื่ น ๆ ที่ ก ระทบต อ สิ่ ง แวดลอมอยางเปนระบบ รวมถึงการ ปองกันและระงับเหตุฉุกเฉิน โดยมี พัฒนาการอยางตอเนื่อง 5. ใชทรัพยากรอยางเกิดประโยชนสูงสุด รวมทั้งอนุรักษพลังงาน และสิ่งแวดลอม

การจัดการสิ่งแวดลอมของ โรงไฟฟาราชบุรี

บริษัทฯ มีมาตรการจัดการสิ่ง แวดลอมของโรงไฟฟาราชบุรีอยาง เปนระบบ เพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในดานตางๆ ซึ่งมาตรการ สําคัญที่ไดดําเนินการมีดังนี้ 1. ดานคุณภาพอากาศ ติดตั้ง เครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด

(FGD) ที่กําจัดไดถึง 97.2%, ติดตั้ง เตาเผาที่ลดการเกิดกาซออกไซดของ ไนโตรเจนใหอยูใ นระดับตํา่ และนํากาซ ไอเสียในกระบวนการผลิตมาใชใหม, ใช ระบบเผาไหมเชือ้ เพลิงทีค่ วบคุมการเกิด กาซออกไซดของไนโตรเจน ทัง้ นีโ้ รงไฟฟาราชบุรีใชระบบตรวจวัดปริมาณ สารเจือปนในอากาศจากปลองโรงไฟฟา ทุกปลองอย างต อเนื่อง โดยบันทึก คาทุก 15 นาที และจัดเก็บขอมูลทุก วัน นอกจากนั้ น ยั ง ได ติ ด ตั้ ง เครื่ อ ง ตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ ทั่ ว ไปและเก็ บ อย า งต อ เนื่ อ งตลอด 24 ชั่วโมง ในบริเวณชุมชนรอบโรงไฟฟาจํานวน 4 สถานี เพื่อตรวจวัด กาซซัลเฟอรไดออกไซด ไนโตรเจนไดออกไซด โอโซน ฝุนละอองขนาด เล็กกวา 10 ไมครอน 2. ดานคุณภาพนํ้า นํ้าทิ้งจาก บริเวณเติมสารเคมีและนํ้าจากการ ลางเรซินในกระบวนการทํานํ้าปลอด แรธาตุ จะกักไวในบอปรับสภาพนํ้า เพื่อบําบัดใหมีสภาพเปนกลางและ ตกตะกอน แลวจึงปลอยเขาสูบอพัก สวนนํ้าจากหอหลอเย็นที่มีความขุน จะระบายสูบอพักที่ 1 ใหตกตะกอน และลดอุณหภูมิ แลวจึงระบายสูบอ

พักที่ 2 เพื่อปรับสภาพนํ้าใหใกลเคียง ธรรมชาติกอนปลอยสูคลองระบาย นํา้ ทัง้ นีน้ าํ้ ใชทวั่ ไปจะบําบัดโดยระบบ เติมอากาศ และคลอรีนเพื่อฆาเชื้อ โรคกอนปลอยสูอางทดนํ้า และพัก ใหคลอรีนระเหยแลวจึงนําไปรดนํ้า ตนไม นอกจากนี้ยังมีโครงการลดการ ระบายนํา้ ลงคลองบางปาคือ โครงการ ลดการระบายนํ้ า ด ว ยวิ ถี ธ รรมชาติ โดยใช พื้ น ที่ 350 ไร , โครงการ เพิ่ ม ระบบรดนํ้ า ต น ไม ใ นโรงไฟฟ า , โครงการปรับปรุงคุณภาพนํ้าทิ้งกลับ มาใชใหม ในกรณีของโครงการปรับปรุง คุณภาพนํ้าทิ้งกลับมาใชใหมนั้น ไดใช เทคโนโลยี Reverse osmosis (RO) ที่ใชงบประมาณกวา 200 ลานบาท ตามรูปที่ 15 ซึ่งเปนการนํานํ้าจาก บอพักนํ้าที่ 1 มาผานกระบวนการ กรองอย า งละเอี ย ดหลายขั้ น ตอน จนถึงการกรองระดับเซลล ทําใหได นํา้ คุณภาพดีกลับมาใชในกระบวนการ ผลิตไฟฟาใหม ซึง่ ลดการระบายนํา้ ได ถึง 139 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง 3. ดานควบคุมเสียง เสียงจาก โรงไฟฟามาจากหมอไอนํ้าและเครื่อง กําเนิดไฟฟากังหันแกส ซึง่ บริษทั ฯ ได

รูปที่ 15 โครงการปรับปรุงคุณภาพนํ้าทิ้งกลับมาใชใหม

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555 85


เยี่ยมชม

ควบคุมระดับเสียงคือ หยุดกิจกรรมที่ กอใหเกิดเสียงรบกวนชุมชนในเวลา กลางคืน, ใชอุปกรณควบคุมเสียง ภายในโรงไฟฟ า ในช ว งเดิ น เครื่ อ ง โดยติดตั้งวัสดุอุปกรณปองกันเสียง ที่เครื่องจักรหรืออุปกรณ ไมใหระดับ ความดังของเสียงเกิน 85 เดซิเบล อีกทั้งใหผูปฏิบัติงานภายในโรงไฟฟา ใชอุปกรณปองกันเสียงในพื้นที่เสียง ดัง ทั้งนี้บริษัทฯ ไดตรวจวัดเสียง 3 จุดคือ ภายในโรงไฟฟา บานสามเรือน และบานชาวเหนือ โดยตรวจวัด 3 วัน ติดตอกันในทุก 3 เดือน

การจัดการของเสีย

บริษทั ฯ ไดคดั แยกประเภทขยะ มูลฝอยและของเสียเปนขยะเปยก, ขยะติดเชื้อ และของเสียอันตราย ซึ่งกากนํ้ามันไดรวบรวมไวในอาคาร เก็บกากนํ้ามัน เพื่อขนยายและกําจัด ตามวิธีที่กําหนดใน ISO 14001 สวน ตะกอนจากระบบปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพ นํ้าจะนําไปผสมดินปลูกตนไมภายใน

โรงไฟฟา และยิปซัมจากระบบกําจัด กาซซัลเฟอรไดออกไซดนั้น ไดเก็บ ไวในบอฝงกลบยิปซัมที่ปูรองพื้นรอบ บอดวยแผนพลาสติก HDPE แต ปจจุบนั ไมมกี ารฝงกลบแลวเพราะมีผู มาขอรับไปใชใหเกิดประโยชน

สภาพความรอน

บริษัทฯ ไดกําหนดมาตรการ ปองกันเพื่อลดผลกระทบจากความ รอนคือ อุปกรณในโรงไฟฟาทีม่ อี ณ ุ หภูมิ สูงเกิน 54 องศาเซลเซียส จะถูกหอ หุมดวยฉนวน 2 ชั้น และมีการกอ สรางปลองระบายไอเสียจากการเผาไหม ของโรงไฟฟาพลังความรอนใหสงู 150 เมตร และโรงไฟฟาพลังความรอนรวม ใหสงู 35 เมตร ซึง่ จากการตรวจวัด อุณหภูมภิ ายในโรงไฟฟา พบวาอุณหภูมิ เฉลีย่ สูงสุดทีว่ ดั ไดเทากับ 30.2 องศา เซลเซี ย ส ที่ บ ริ เ วณรอบโรงไฟฟ า พลังความรอนรวม ขณะที่อุณหภูมิ บริเวณเขตรัว้ โรงไฟฟามีคา เฉลีย่ เทากับ 27.6 องศาเซลเซียส นอกจากนี้ยังให

ขอมูล บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรี จํากัด Ratchaburi Electricity Generating Co., Ltd ที่ตั้ง 128 หมู 6 ตําบลพิกุลทอง อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 7000 โทรศัพท 0 2978 5111, 0 3271 9111 โทรสาร 0 2978 5110, 0 3271 9110 เว็บไซต www.ratch.co.th

86

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ และภูมสิ ารสนเทศ (องคการมหาชน) ศึกษาอุณหภูมพิ นื้ ผิวดินดวยดาวเทียม แลวเก็บคาอุณหภูมแิ ละแสดงผลเปน อุณหภูมสิ รี ะดับตางๆ ทัง้ บริเวณโรงไฟฟาและบริเวณใกลเคียง กลาวไดวาบริษัท ผลิตไฟฟา ราชบุรี จํ า กั ด (มหาชน) ได มุ  ง มั่ น ในการผลิ ต พลั ง งานไฟฟ า อย า งมี ประสิทธิภาพ ซึ่งถือวามีสวนชวยให เกิดความมั่นคงในดานพลังงานของ ประเทศ และเป น การสร า งความ แข็งแกรงใหกบั เศรษฐกิจของประเทศ และเป น การเพิ่ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต ของ คนในประเทศอีกดวย กองบรรณาธิการวารสาร EC ขอขอบคุ ณ ผู  บ ริ ห ารและเจ า หน า ที่ ของบริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรี จํากัด ที่ใหโอกาสเขาเยี่ยมชมและนําความ รูมาเผยแพรตอผูอานไดเปนอยางดี


˹֧è ã¹â¤Ã§กÒà กÒþѲ¹Ò¢Õ´¤ÇÒÁÊÒÁÒöÇÔÈÇกà áÅЪ ҧ෤¹Ô¤ä·Â · ҹ㴻ÃÐʧ¤ ¨Ðà» ¹¹Ñกà¢Õ¹à ÇÁกѺàÃÒ áµ Â§Ñ äÁ Á»Õ ÃÐʺกÒó àªÔ­à¢Õ¹º·¤ÇÒÁ·Ò§ÇÔªÒªÕ¾ÇÔÈÇกÃÃÁ áÅÐÊ §ÁÒ·Õกè ͧºÃóҸÔกÒÃä´ ºÃÔÉ·Ñ àÍçÁá͹´ ÍÕ ¨ÓกÑ´ ÂÔ¹´Õʧ àÊÃÔÁ¹Ñกà¢Õ¹ãËÁ â´Âä´ ¨´Ñ ¹Ñกà¢Õ¹Á×ÍÍÒªÕ¾áÅÐ ¼ ·Ù ç¤Ø³ÇزÁÔ Òà» ¹¾Õàè ÅÕÂé §ª Ç¢ѴàกÅÒáÅÐàÊÃÔÁº·¤ÇÒÁ¢Í§· Ò¹ãË ÊÁºÙó ´§Ñè Á×ÍÍÒªÕ¾ ʹã¨! µÔ´µ Í¢Íá¹Ç·Ò§ áÅÐÃٻẺกÒÃà¢Õ¹º·¤ÇÒÁ ä´ ·ÕèºÃóҸÔกÒèѴกÒà â·ÃÈѾ· 02 862 1396-9 ÍÕàÁÅ editor@me.co.th (º·¤ÇÒÁ·Õ´è Õ ¤ÇÃÁÕû٠»ÃÐกͺ´ ÇÂ)

ºÃÔÉ·Ñ àÍçÁá͹´ ÍÕ ¨ÓกÑ´

(BTS ʶҹÕกÃا¸¹ºØÃÕ) 77/111 ÍÒ¤ÒÃÊÔ ¹ ÊҸ÷ÒÇàÇÍà ªÑé ¹ 26 ¶¹¹กÃØ § ¸¹ºØ ÃÕ á¢Ç§¤Åͧµ ¹ ä·Ã ࢵ¤ÅͧÊÒ¹ กÃØ § à·¾Ï 10600 â·ÃÈѾ· 02 862 1396-9 â·ÃÊÒà 02 862 1395 àÇçºä«µ www.me.co.th, www.technic.in.th ÍÕàÁÅ editor@me.co.th

ºÃÔÉ·Ñ ËÃ×Í˹ ǧҹ㴷ÕÁè µÕ Óá˹ §Ç Ò§ ʹ㨻ÃÐกÒÈã¹àǺ䫵 www.me.co.th «Ö§è à» ¹àǺ䫵 ¢Í§ ºÃÔÉ·Ñ àÍçÁá͹´ ÍÕ ¨ÓกÑ´ ¼ ¼ Ù ÅÔµÇÒÃÊÒÃà·¤¹Ô¤, ÇÒÃÊÒà EC áÅР˹ѧÊ×Í-¤ ÁÙ Í× µ Ò§æ ·Ò§ÇÔÈÇกÃÃÁ â»Ã´àµÃÕÂÁ¢ ÍÁÙÅã¹กÒÃÃѺÊÁѤà q µÓá˹ §§Ò¹ q ¤Ø³ÇØ²Ô q ·ÕèÍ ٠q ÍÒÂØ, à¾È q ºÃÔÉÑ· q áÅÐÍ×¹ è æ ·Õ¨è Óà» ¹ã¹กÒÃÃѺÊÁѤçҹ q »ÃÐʺกÒó q ¨Ñ§ËÇÑ´·ÕèÃѺࢠҷӧҹ

ºÃÔÉ·Ñ àÍçÁá͹´ ÍÕ ¨ÓกÑ´

(BTS ʶҹÕกÃا¸¹ºØÃÕ) 77/111 ÍÒ¤ÒÃÊÔ ¹ ÊҸ÷ÒÇàÇÍà ªÑé ¹ 26 ¶¹¹กÃØ § ¸¹ºØ ÃÕ á¢Ç§¤Åͧµ ¹ ä·Ã ࢵ¤ÅͧÊÒ¹ กÃØ § à·¾Ï 10600 â·ÃÈѾ· 02 862 1396-9 â·ÃÊÒà 02 862 1395 àÇçºä«µ www.me.co.th, www.technic.in.th ÍÕàÁÅ editor@me.co.th

59, ÁกÃÒ¤Á-กØÁÀҾѹ¸ 2555

87


หนังสือ - ซอฟตแวร

การประหยัดพลังงาน ชุดที่ 1

การประหยัดพลังงาน ชุดที่ 1 เปนหนังสือที่รวบรวมบทความจาก วารสารเทคนิคและวารสาร EC โดย แบงเนื้อหาออกเปนหมวด ดังนี้ หมวดการทําความเย็น ปรับ อากาศ ระบายอากาศ ซึ่งมีบทความ นาสนใจ เชน วิธปี ระหยัดคาแอร, การ อนุรักษพลังงานในระบบปรับอากาศ, การใช-บํารุงรักษา และปรับปรุงระบบ ปรับอากาศ เพื่อใหเกิดการประหยัด พลังงาน, การประหยัดพลังงานใน ส ว นนํ้ า เย็ น ของระบบปรั บ อากาศ แบบทํานํ้าเย็น, ขั้นตอนการเปดและ ปดระบบปรับอากาศเพื่อการอนุรักษ พลั ง งาน, เครื่ อ งปรั บ อากาศแบบ สูญเสียพลังงานนอยที่สุด หมวดเตาเผา เตาอบ หองอบ มีบทความทีน่ า สนใจ เชน การอนุรกั ษ พลังงานสําหรับเตาเผา, เทคโนโลยี การผลิตยางแผนรมควันและแนวทาง การออกแบบห อ งรมเพื่ อ ประหยั ด พลังงาน, ลดการใชพลังงาน ตัดคาใช จายดวย Regenerative Burner, การ ปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงาน ของเครื่องอบแหงแบบพนฝอย หมวดสตีมแทรป ไอนํ้า ความ รอน มีบทความนาสนใจ เชน ลดการ สูญเสีย เพิม่ ผลกําไร ดวยการใชสตีม-

แทรปอยางเหมาะสม, การนําความ รอนทิ้งในไอเสียกลับมาใชประโยชน, แนวทางประหยัดจากการหุมฉนวน สําหรับทอสงไอนํ้า หมวดระบบไฟฟา การวัดผล การติดตาม ซึ่งมีบทความนาสนใจ เช น การลดค า กํ า ลั ง ไฟฟ า สู ง สุ ด Peak Shaving, เพิ่มคาเพาเวอร แฟกเตอรแลวไดอะไรขึ้นมา, การ ประหยัดพลังงาน โดยการควบคุม ความเร็วรอบมอเตอร, การประหยัด พลังงาน, การประยุกตใชงาน, ระบบ เก็บพลังงานดวยนํ้าแข็ง, การเลือก ฉนวนเพื่ อ การประหยั ด พลั ง งาน, มาวางแผนการใช พ ลั ง งานอย า ง ประหยัดและคุมคา, การประหยัด

โปรแกรม Monitor Calibration Wizard หนวยงานหลายแหงในปจจุบนั มีการใชมอนิเตอรเปนจํานวนมาก โดย เฉพาะการใชงานทีเ่ ปนระบบเครือขาย และต อ งการให ร ะบบรวมทั้ ง โทนสี และอืน่ ๆ ของแตละมอนิเตอร มีคณ ุ ลักษณะในการแสดงผลไดเทาเทียม

88

กันเหมือนเปนมอนิเตอรตัวเดียวกัน วารสาร EC ฉบับนีจ้ งึ ขอแนะนํา โปรแกรม Monitor Calibration Wizard เพื่อใชเปนเครื่องมืออยาง งาย ในการเปรียบเทียบการแสดงผล สีของมอนิเตอร เนื่องจากปญหาที่

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555

พลังงานในครัวเรือน เพื่อชวยชาติ ทําไดงาย, แนวทางเบื้องตนสําหรับ การอนุรักษพลังงาน, ขั้นตอนปฏิบัติการประหยัดพลังงานในภาคอุตสาหกรรม, ทําบานหรืออาคารใหอยู สบาย และประหยัดพลังงาน โดย ลดความรอนจากดวงอาทิตย, การ ปรับปรุงผนังทึบของอาคารหรือบาน อยูอาศัย เพื่อลดความรอนจากรังสี ดวงอาทิตย, อาคารแตละประเภท สามารถประหยัดพลังงานไดอยางไร, ขอคิดสําหรับเลือกซื้อและปรับปรุง บานใหประหยัดพลังงาน, คิดอยางไร ถูกหรือผิด สําหรับการออกแบบและ สรางบานใหประหยัดพลังงาน หนั ง สื อ เล ม นี้ จั ด พิ ม พ โ ดย บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด หนา 292 หนา ราคา 240 บาท สนใจสั่งซื้อหรือเลือกชมไดที่ ศูนยหนังสือเอ็มแอนดอี เลขที่ 77/111 สินสาธรทาวเวอร ชัน้ 26 ถ.กรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุ ง เทพฯ 10600 (BTS สถานี กรุงธนบุรี) โทรศัพท 0 2862 13969 โทรสาร 0 2862 1395 อีเมล member@me.co.th เว็บไซต www. technic.in.th, www.me.co.th หรือ ตามศูนยหนังสือชั้นนําทั่วไป


หนังสือ - ซอฟตแวร พบบอยๆ ในมอนิเตอร คือ มืดเกิน ไป, สวางเกินไป, สีจางเกินไป หรือ สีผิดเพี้ยน

โปรแกรมนี้ผลิตโดย Hex2Bit ซึง่ เปนโปรแกรมประเภทการประยุกต ทางดานกราฟกคอมพิวเตอร ขอดี

ลักษณะของโปรแกรม

การปรับเทียบสีของจอภาพ

ของโปรแกรมนี้คือใชงานงาย โดย มีการดําเนินการเปนขั้นตอนที่มีตัว ชวยในทุกขั้นตอน อีกทั้งนํามาใชกับ ทุกจอภาพได ในการใชงานสามารถ จัดทําเปนรายละเอียดเฉพาะตัวผูใช ที่ใชไดสมรรถนะเดียวกันในผูใชที่มี หลายมอนิเตอร อีกทั้งยังสามารถกําหนดราย ละเอี ย ดเฉพาะตั ว ของมอนิ เ ตอร แต ล ะตั ว ได หรื อ มอนิ เ ตอร แ ต ล ะ ตัวมีสมรรถนะสีใหขึ้นกับภาวะตางๆ ในการทํางาน เชน เกม, ภาพยนตร, เอกสารการบรรยาย, เอกสารการ ทํางาน หรืองานกราฟกเปนตน ความสามารถของโปรแกรม คือ ทุกครั้งที่เปดเครื่องเพื่อสตารต วินโดวส ก็ใหสามารถโหลดโปรแกรม นี้ไดตั้งแตเริ่มตนโดยอัตโนมัติ อีกทั้ง ยังสามารถปองกันโปรแกรมอื่นมา เปลี่ยนสภาพสีที่ไดปรับตั้งไวไดอีก ดวย ซึ่งที่ประสบปญหาบอยๆ คือ บางโปรแกรมที่แสงจามาก จนผูใช ตองปรับลดความจาลง และเมื่อใช เสร็ จ ต อ งปรั บ เพิ่ ม แสงอี ก ทุ ก ครั้ ง ซึ่งอาจจะไดแสงไมเทาเดิม หรือลืม ปรับไปเลยก็มี โปรแกรมนี้ผลิตออกมาตั้งแต 17 ธันวาคม 2002 โดยรองรับระบบ ปฏิบัติการวินโดวส 95 ขึ้นไป ผูสนใจ ดาวนโหลดฟรี ไดที่ www.hex2bit. com

www.facebook.com/meBOOKSHOP แหลงรวมความรูสําหรับงานวิศวกรรม วารสาร สัมมนาทางวิศวกรรม ศูนย์หนังสือทางวิศวกรรม

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555

89


ขาว นายกรัฐมนตรี เปดโครงการบัตรเครดิตพลังงาน NGV

นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เปน ประธานเปดโครงการบัตรเครดิตพลังงาน NGV พรอมดวย นายพิชัย นริพทะพันธ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน งานเป ด ตั ว โครงการบั ต รเครดิ ต NGV จั ด โดย กระทรวงพลังงาน รวมกับ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) และธนาคารกรุงไทย ซึ่งเปนโครงการที่จัดขึ้นเพื่อบรรเทา ภาระค า ใช จ  า ยด า นเชื้ อ เพลิ ง ให แ ก ผู  ขั บ ขี่ ร ถรั บ จ า ง สาธารณะ กลุมรถแท็กซี่ รถสามลอ และรถตูรวม ขสมก. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในชวงที่มีการปรับ ราคาจําหนายกาซ NGV เพื่อใหสะทอนตนทุนที่แทจริงใน ป 2555 ซึ่งเปนหนึ่งในนโยบายของรัฐบาล เพื่อแกปญหา

คาครองชีพของประชาชน และบรรเทา ผลกระทบจากสถานการณอุทกภัยที่ เกิดขึน้ ดวยการใหวงเงินเครดิต 3,000 บาท ตอเดือน สําหรับชําระคากาซแทน เงินสด และสิทธิสวนลดราคาขายปลีก กาซ จํานวน 50 สตางค ถึง 2 บาทตอ กิโลกรัม ซึง่ แลวแตชว งดวย แตวงเงิน สวนลดไดไมเกินมูลคายอดการซือ้ กาซ 9,000 บาทตอเดือน วั ต ถุ ป ระสงค ข องโครงการ นี้ น อกจากต อ งการดู แ ลรายได ข อง ประชาชนแลว ยังตองการลดรายจายใหประชาชนดวย เพราะพลังงานถือเปนสวนหนึ่งที่ชวยลดคาใชจายของ ประชาชนได และหวั ง ว า บั ต รเครดิ ต พลั ง งานจะเป น ประโยชนตอประชาชน และผูขับขี่รถรับจางสาธารณะ สําหรับผูข บั ขีร่ ถรับจางสาธารณะ ทีย่ งั ไมไดสมัครเขา รวมโครงการ ที่จัดขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม 2554 ที่ผานมา สามารถสมัครไดที่ บริษัทติดตั้ง NGV มาตรฐานที่ ปตท. รับรองในกรุงเทพฯ และปริมณฑล จํานวน 14 แหง ซึ่ง โครงการนี้ไดเริ่มใชวงเงินบัตรเครดิตไดตั้งแต 1 ธันวาคม 2554 สวนการลดราคาขายปลีกกาซเอ็นจีวี จะเริ่มใชได ตั้งแต 16 มกราคม 2555 ถึง สิ้นป 2558

สํานักสงเสริมธุรกิจ SMEs เพื่อการสงออกจัดสัมมนาสัญจร ธุรกิจติดปกฯ

สํานักสงเสริมธุรกิจ SMEs เพื่อการสงออก กรมสง เสริมการสงออก จัดสัมมนา “ธุรกิจติดปก : จุดประกาย ความคิด SMEs พลังแหงการสรางสรรค 360 องศา”

90

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดกาญจนบุรี ระดมนักวิชาการและผูเ ชีย่ วชาญ เฉพาะดานเสริมความรู เพื่อเตรียมความพรอมผูประกอบ การไทยสูการสงออก หวังผลักดันภาคธุรกิจ SMEs ไทย เติบโตอยางยั่งยืน นางจิรภาพรรณ มลิทอง ผูอํานวยการสํานักสง เสริมธุรกิจ SMEs เพื่อการสงออก กลาววาผูประกอบการ SMEs มีความสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโดยรวม ของประเทศ และมีบทบาทสําคัญในการเปนรากฐานการ พัฒนาที่ยั่งยืนกอใหเกิดการจางงาน โดยคิดเปนสัดสวน รอยละ 76 ของการจางงานรวมของประเทศ และสราง รายไดจากการสงออกไดถึง 30% กรมสงเสริมการสงออกจึงมุงใหการสงเสริม และ


ขาว เตรียมความพรอมแกผูประกอบการ SMEs เพื่อเพิ่มขีด ความสามารถทางการตลาดและการคาระหวางประเทศ อันเปนการยกระดับภาพลักษณที่ดีของธุรกิจ SMEs ไทย ใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล การจัดสัมมนาสัญจรครั้ง นี้ ไดคัดสรรนักวิชาการ และผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานมาให ความรูแ บบองครวม เพือ่ พัฒนาศักยภาพภาคธุรกิจ SMEs ไทยใหพรอมแขงขันในระดับสากล ภายในงาน ผูประกอบการไดพบปะหารือกับผูแทน จากสถาบันการเงิน หนวยงานภาครัฐและเอกชนที่ออก หนวยเคลื่อนที่ เพื่อใหการสนับสนุนและใหบริการ SMEs ในดานตางๆ อาทิ หนวยใหคําปรึกษาดานการสงออกนอก สถานทีข่ องศูนยบริการ SMEs เพือ่ การสงออก, IP Mobile Unit เพื่อใหบริการขอมูลและการจดทะเบียนลิขสิทธิ์ สิทธิ บัตร, กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ และกรมการคา

ตางประเทศ ใหขอมูลเกี่ยวกับขอตกลงเขตการคาเสรีทั้ง หลายที่ผูประกอบการสามารถใชประโยชนในการสงออก และการออกใบรับรองตางๆ ที่จําเปนตอการดําเนินธุรกิจ สงออก ตลอดจน สวทช. ซึ่งมีบทบาทสําคัญในดานการ สงเสริมพัฒนาเทคโนโลยีดานตางๆ ในการเพิ่มขีดความ สามารถในการแขงขันของภาคเอกชนไทย การสัมมนานี้ เปนสวนหนึ่งของโครงการสงเสริม และพัฒนาขีดความสามารถผูประกอบการ SMEs ที่มุง สรางผูประกอบการสงออก SMEs รุนใหมที่มีศักยภาพที่รู รอบและรูจ ริง ใหเปนกําลังในการขับเคลือ่ นภาคการสงออก ของประเทศ โดยกรมสงเสริมการสงออกมีแผนจะเดินสาย จัดสัมมนาใหความรูแกผูประกอบการอยางตอเนื่อง ทั้งใน สวนกลางและสวนภูมิภาค เพื่อผลักดันภาคธุรกิจ SMEs ไทยใหพรอมสูการแขงขันในเวทีการคาโลก

เอส.ที.คอนโทรล จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ดานการเขียนโปรแกรม บนหนาจอแบบสัมผัส HMI และการประยุกตใชงาน

บริ ษั ท เอส.ที . คอนโทรล จํากัด ไดจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การเขียนโปรแกรมสําหรับ หนาจอแสดงผลแบบสัมผัส (HMI) และการประยุ ก ต ใ ช ง านกั บ อิ น เวอร เ ตอร แ ละเซอร โ ว” ให กั บ ลูกคา ณ โรงแรมเอกคอนโดวิว จ.ชลบุรี เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2554 ที่ผานมา โดยมีวัตถุประสงค เพื่อให ผูเขารวมสัมมนามีความรูความ เขาใจภาพรวมของระบบควบคุม แบบอัตโนมัติ และการประยุกต ใชงานหนาจอแสดงผลแบบสัมผัส และสามารถเขียน โปรแกรมเบื้องตนได รวมทั้งสามารถนําไปประยุกตใชงาน จริงได อีกทัง้ ยังสามารถเปนตัวแทนในการถายทอดความรู ทางเทคโนโลยีจากผูผลิตที่เกี่ยวของกับอุปกรณไฟฟาและ อุปกรณควบคุมอัตโนมัตอิ ตุ สาหกรรม อันจะเปนการเพิม่ ขีด ความสามารถของหนวยผลิตตางๆ สําหรับอุตสาหกรรมไทย

โดยในป 2555 นี้ บริษัท เอส.ที คอนโทรล จะมีการ จัดสัมมนาใหความรูด า นการเขียนโปรแกรมสําหรับหนาจอ แสดงผลแบบสัมผัส และการประยุกตใชงานกับอินเวอรเตอรและเซอรโว ใหกับลูกคาในพื้นที่ตางๆ อยางตอเนื่อง สนใจสอบถามรายละเอียดไดที่ บริษัท เอส.ที.คอนโทรล จํากัด

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555 91


ขาว วิศวะฯ จุฬาฯ รวมกับกลุม SME วังนอยชุบชีวิตเครื่องจักรหลังนํ้าลด

คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับกลุมธุรกิจ SME เขตพื้นที่ อําเภอวังนอย จังหวัด พระนครศรีอยุธยา จัดกิจกรรมชุบชีวิตเครื่องจักรหลังนํ้า ลด ทั้งมอเตอรและแผงวงจร ซึ่งเปรียบเสมือน หัวใจและ สมองของการดําเนินงาน โดยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดนําคณะคณาจารย และนิสิตรวมถายทอดเทคนิค และบริจาคสารละลาย มหัศจรรย “SM” ที่คิดคนโดยคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซึง่ เปนสารทีช่ ว ยพลิกฟน คืนชีวติ เครื่องจักรใหกลับมาใชงานไดใหมภายใน 1 วัน พรอมทั้ง นําชมตัวอยางผูป ระกอบการ SME ทีพ่ ลิกฟน เครือ่ งจักรได

สําเร็จแลว ซึง่ ไดแก โรงงานลูกชิน้ จุฑารส ทีใ่ ชงบประมาณ ไมถึง 2 แสนบาทในการพลิกฟนเครื่องจักรแทนที่จะตอง ใชงบกวา 2 ลานบาท หากตองซื้อเครื่องจักรทดแทนชุด ที่ถูกนํ้าทวม กิจกรรมชุบชีวิตเครื่องจักรหลังนํ้าลดนี้ นําทีมโดย รศ. ดร.บุญสม เลิศหิรญ ั วงศ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ รศ. ดร.มานะ ศรียุทธศักดิ์ ผูคิดคนสารละลายมหัศจรรย SM พรอมดวยเจาของ โรงงานจุฑารส, อบต.ลําไทร และกลุม SME ยานวังนอย กิจกรรมนี้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2554 ณ โรงงานจุฑารส อ.วังนอย จ.พระนครศรีอยุธยา

เลคิเซเปดตัวโครงการ Fast Power Service By LeKise

เมื่อเร็วๆ นี้ นายสมนึก โอวุฒิธรรม CEO บริษัท เลคิเซ ไลทตงิ้ จํากัด พรอมดวย นางสาวรัฐวิไล รังษีสงิ ห พิพัฒน กรรมการผูจัดการ และทีมผูบริหาร รวมเปดตัว โครงการ Fast Power Service By LeKise เพือ่ ใหบริการตรวจ เช็คระบบไฟฟา ระบบสองสวางและอุปกรณไฟฟา สําหรับ ผูป ระสบภัยนํา้ ทวม เพือ่ ใหเกิดความปลอดภัยสูงสุดสําหรับ ผูป ระสบภัยภายหลังนํา้ ลด ทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว การใหบริการภายใตโครงการ Fast Power Service By LeKise ในครั้งนี้ เปนบริการฟรีแบบไมมีคาใชจาย ซึ่ ง ถื อ เป น ส ว นหนึ่ ง ในการบรรเทาทุ ก ข แ ก ผู  ป ระสบภั ย จากบริษัทเลคิเซ ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะดานที่สามารถ ใหการสนับสนุนได สําหรับขั้นตอนของการตรวจสภาพระบบไฟฟา ทีม งานผูเชี่ยวชาญจะทําการตรวจสอบสภาพภายนอกของ ระบบไฟฟา สายไฟและระบบสองสวางวาเกิดการเสีย

92

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

หาย ชํ า รุ ด และเหมาะสมมากน อ ย ขนาดไหน จากนั้นทําการตรวจสอบดวย เครื่ อ งมั ล ติ มิ เ ตอร อี ก ครั้ ง เพื่ อ ตรวจ สอบคาทางไฟฟาภายในทั้งหมดอยาง ละเอียด และสรุปรายละเอียดจุดที่เกิด การชํารุดเสียหาย หรือจุดที่สมควรตอง เปลี่ยน เนื่องจากความเกา ชํารุด หรือ ไม เ หมาะสมกั บ การใช ง านในป จ จุ บั น เพื่อใชเปนขอมูลประกอบใหทางลูกคา ในการตัดสินใจ วาจะทําการเปลี่ยนหรือไม โดยถาหาก ลูกคามีความตองการเปลี่ยนทางทีมงานจะทําการเปลี่ยน ใหฟรีเชนเดียวกัน พรอมกันนี้ยังไดจัดโปรโมชั่นพิเศษมอบโชคปลอบ ขวัญแกผูประสบภัยนํ้าทวม โดยสามารถสอบถามราย ละเอียดหรือขอรับบริการตรวจเช็คระบบไฟฟาฟรี ไดทศี่ นู ย บริการลูกคา โทรศัพท 034 419 299 ตอฝายการตลาด หรือ 081 753 4348 ทุกวันในเวลาทําการ ในเวลาใกลเคียงกันนี้ เลคิเซ ไลทตงิ้ ไดรว มกับโรงพยาบาลกรุงเทพ-ภูเก็ต บริจาคหลอดไฟใหกบั ชุมชนราไวย จังหวัดภูเก็ต เเพือ่ นําไปใชในกิจการของชุมชน พรอมทัง้ นํา ไปใชเปนหลอดไฟสํารองดวย กิจกรรมนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการแบงสรรปน แสงสูส งั คม ซึง่ เปนหนึง่ ในหลายๆ โครงการที่ บริษทั เลคิเซ จัดทําขึ้นเพื่อมอบสิ่งดีๆ คืนสูสังคมในรูปแบบตางๆ


ขาว สศอ. สรางนักออกแบบอัญมณีรุนใหม

สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) จัดสรรค งบประมาณภายใต แ ผนแม บ ทการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ และผลิตภาพปงบประมาณ 2554 เพื่อจัดทําโครงการ พัฒนาการออกแบบอุตสาหกรรมอัญมณีและเครือ่ งประดับ ไทย โดยตั้งเปาพัฒนานักออกแบบ 200 ราย เนนการ ออกแบบดวยมือ, การออกแบบดวยคอมพิวเตอรและ การสรางตนแบบ เพื่อใหสามารถนําเทคโนโลยีมาพัฒนา ผลิตภัณฑ ใหเกิดความแตกตางและสอดคลองกับความ ตองการของตลาดในปจจุบัน เปนการเพิ่มมูลคาของสินคา อีกทั้งยังเปนกาวสําคัญในการนําไปสูการสรางตราสินคา และกําหนดทิศทางไดในอนาคต อีกทั้งยังจัด Workshop สําหรับนักออกแบบมือ

อาชีพ เพื่อพัฒนาศักยภาพและเปดโลกทัศนดานการ ออกแบบผลิตภัณฑ เนนการเรียนรูก ารสรางแรงบันดาลใจ จากนักออกแบบอัญมณีและเครือ่ งประดับทีม่ ชี อื่ เสียง รวม ถึงเรียนรูแนวคิดการออกแบบเครื่องประดับใหประสบผล สําเร็จ เพราะแฟชั่นของสินคาอัญมณีและเครื่องประดับ เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว นอกจากนี้ยังมีการจัดสัมมนาในหัวขอการพัฒนา ดานการออกแบบแกผูประกอบการ นักเรียน-นักศึกษา และบุคคลทัว่ ไปทีส่ นใจ เพือ่ กระตุน ใหอตุ สาหกรรมอัญมณี และเครื่องประดับของไทยใหเกิดความคึกคักตลอดเวลา ซึ่งจะสงผลตอการพัฒนานักออกแบบรุนใหมอยางไมหยุด ยั้งตอไป

Franco-Thai Symposium 2012 งานประชุมสัมมนาไทย-ฝรั่งเศส ดานเทคโนโลยีและการวิจัย

สถานเอกอัครราชทูตฝรัง่ เศสประจําประเทศไทย ขอ เชิญรวมงานประชุมสัมมนาไทย-ฝรั่งเศส ดานเทคโนโลยี และการวิจัย “Franco-Thai Symposium 2012” ซึ่งจะ จัดขึ้นระหวางวันที่ 1-3 กุมภาพันธ 2555 ณ หองจูปเตอร อิมแพค เมืองทองธานี ภายในงานจะมีการบรรยายพิเศษเกีย่ วกับนวัตกรรม ดานพลังงานและเทคโนโลยีชีวภาพ จากบริษัทชั้นนําของ ฝรั่งเศส ดังนี้ บริษัท Abalone ผูนําดานโครงการผลิตพลังงาน สํ า หรั บ อาคาร โดยอาศั ย เทคโนโลยี ก ารผลิ ต พลั ง งาน จากไฮโดรเจน เซลลเชื้อเพลิง เซลลแสงอาทิตย และ

พลังงานลม ฯลฯ จะมาแลกเปลี่ยนประสบการณ ในเรื่อง เกี่ยวกับอาคารผลิตพลังงานแบบพึ่งพาตัวเอง ซึ่งมีอัตรา การปลอยมลภาวะที่เปนศูนย บริษัท LFB ผูนําดานการคนควาวิจัย และผลิต เภสัชภัณฑจากเกล็ดเลือด เพื่อใชในการรักษาผูปวยทาง ดานระบบโลหิต รวมถึงการคิดคนโปรตีนแบบใหมจาก เทคโนโลยีชวี ภาพเพือ่ ใชในทางการแพทย จะบรรยายเรือ่ ง เกี่ยวกับนวัตกรรมโปรตีนบําบัด ผลิตภัณฑทางการแพทย จากพลาสมาและกลุมโปรตีนชนิดใหมที่ไดจากกระบวน การทางเทคโนโลยีชวี ภาพ โดยผูเ ชีย่ วชาญเฉพาะดานจาก บริษัท LFB SA

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555 93


ขาว สําหรับกลุมเปาหมายในการเขาฟงสัมมนาครั้งนี้ ไดแก เจาหนาทีแ่ ละนักวิจยั ดานเทคโนโลยีชวี ภาพจากภาค รัฐและเอกชน ผูนําเขาและจัดจําหนายเครื่องมือ/เภสัชภัณฑ วัสดุและเทคโนโลยีดานพลังงาน รวมถึงสถาปนิก วิศวกร และบริษัทอสังหาริมทรัพย จุดประสงคของการจัดงานประชุม เพื่อแลกเปลี่ยน ความรูเกี่ยวกับนวัตกรรมดานพลังงาน และ เทคโนโลยี ชีวภาพ ที่เปนประโยชนตอวงการ นอกจากนี้ ยังเปน

เวทีใหผูประกอบการไทยไดมีโอกาสพบปะกับผูผลิตและ ผูใหบริการชั้นนําจากฝรั่งเศส โดยสามารถสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ฝายการ พาณิชย ยูบฟี รานซ แหงสถานเอกอัครราชทูตฝรัง่ เศสประจํา ประเทศไทย โทรศัพท 02 352 4111 email:chuenrat. mengtrakul@ubifrance.fr หรือที่ www.francothaiscience.com/symposium2012

กรมสงเสริมการสงออกจัดสัมมนายกระดับเสื้อผาสําเร็จรูปไทยสูสากล

กรมสงเสริมการสงออก โดยสถาบันฝกอบรมการคา ระหวางประเทศ จัดสัมมนาเรื่อง “ตลาดเสื้อผาสําเร็จรูป สูความเปนสากล” เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2555 เพื่อให ผูประกอบการไดทราบถึงกลยุทธการพัฒนาผลิตภัณฑ การควบคุมมาตรฐานและคุณภาพเสื้อผาสําเร็จรูป ตลอด จนการพัฒนาเสื้อผาสําเร็จรูปไปสูการสรางแบรนด ซึ่ง สอดคลองกับความตองการของกลุมเปาหมายในแตละ ตลาดทั่วโลก ที่มีพฤติกรรมการบริโภคสินคาที่หลากหลาย นางสาวกาญจนา เทพารักษ ผูอ าํ นวยการสถาบันฝก อบรมการคาระหวางประเทศ เผยวา ปจจุบนั การพัฒนารูป แบบสินคาใหตรงตามความตองการของตลาดและกลุม

เปาหมายนั้น มีความสําคัญ และเปนสิ่งที่ผูประกอบการ ควรตระหนักเปนอยางมาก เนื่องจากตลาดมีการแขงขัน ที่สูงขึ้น ผูประกอบการจําเปนตองพัฒนาผลิตภัณฑ มีการ ควบคุมคุณภาพและมาตรฐานของสินคาเพื่อใหสามารถ แขงขันในตลาดได ดังนั้น การสัมมนาจึงเปนอีกแนวทางหนึ่งที่สามารถ เพิ่มศักยภาพใหผูประกอบการแขงขันและขยายตลาด เสื้ อ ผ า สํ า เร็ จ รู ป ไปสู  ต ลาดโลกได อ ย า งมั่ ง คง ซึ่ ง มี ผู  ประกอบการเสื้อผาสําเร็จรูปสนใจเขารวมสัมมนาจํานวน มาก

ฮิตาชิเตรียมแสดงนวัตกรรมลํ้าสมัยเพื่อสังคมเมืองที่ยั่งยืน ในงานมหกรรม บีโอไอ แฟร 2011

บริษัท ฮิตาชิ เอเซีย จํากัด พรอมแลวสําหรับการ เขารวมงานมหกรรมแสดงนิทรรศการ “บีโอไอ แฟร 2011” ซึ่งจะจัดขึ้นระหวางวันที่ 5-20 มกราคม 2555 ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี ภายใตแนวคิด “Tomorrow Together” โดย อาคารแสดงนิทรรศการของฮิตาชิหรือ “Hitachi Pavilion” จะจัดแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมลํ้ายุคของฮิตาชิที่จะ ชวยพัฒนาคุณภาพชีวติ และสังคมเมืองใหดขี นึ้ อยางยัง่ ยืน บริษทั ฮิตาชิ ดําเนินธุรกิจตามแนวคิด ในการพัฒนา สังคมดวยการยกระดับเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ โดยมุง มั่นพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคม ในระดับสากลมาโดย ตลอด ตั้งแตเริ่มจัดตั้งบริษัท มร.คาซูโอ คาราซาวา กรรมการผูจัดการ บริษัท ฮิตาชิ เอเซีย (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา อาคารแสดง นิทรรศการ Hitachi Pavilion ที่จะแสดงในงาน บีโอไอ

94

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

แฟร 2011 นั้นฮิตาชิจะนําเสนอเรื่องราวอยางโดดเดนไม ซํา้ ใคร เพือ่ สะทอนถึงเทคโนโลยีทกี่ า วลํา้ และเพือ่ แสดงให เห็นวาการใชเทคโนโลยีสีเขียวสามารถสรางความสะดวก สบายและยังชวยพัฒนาสังคมเมืองไดอยางยั่งยืน สําหรับแนวคิด Tomorrow Together สรางสรรค ขึน้ เพือ่ ใหสอดคลองกับโครงการลาสุดของฮิตาชิในภูมภิ าค เอเซีย ซึ่งบอกเลาเรื่องราววาเทคโนโลยีของฮิตาชิชวยให สังคมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ดวยการยกระดับความสะดวก สบายและความยั่งยืนในสังคม และเมื่อเร็วๆ นี้ ฮิตาชิ ไดบริจาคเงินจํานวน 30 ลานเยน (ประมาณ 375,000 ดอลลารสหรัฐ หรือประมาณ 11,250,000 บาท) เพื่อชวยเหลือผูประสบภัยนํ้าทวมใน ประเทศไทย รวมถึงใชในการฟนฟูบริเวณที่เสียหายจาก อุทกภัยที่เกิดขึ้นครั้งนี้ดวย


ขาว รัฐบาลแจกคูปอง 2,000 บาท ชวยครัวเรือนที่นํ้าทวม นําไปซื้อเครื่องใชไฟฟา

รัฐบาลโดยกระทรวงพลังงาน ไดจัดมหกรรมสินคา เบอร 5 เพื่อเยียวยาผูประสบอุทกภัยใน 28 จังหวัด ระหวางวันที่ 27 ธันวาคม 2554 ถึง 4 มกราคม 2555 ที่ศูนยประชุมไบเทค บางนา และที่ศาลากลางจังหวัดทุก จังหวัดที่ประสบอุทกภัยนํ้าทวม ในมหกรรมสินคานี้ มีผผู ลิตเครือ่ งใชไฟฟากวา 200 ราย ไดนําสินคาเบอร 5 มาจําหนายและลดราคาตั้งแต 5-30 เปอรเซ็นต เพือ่ ชวยเยียวยาผูป ระสบอุทกภัย เชน ตู เย็น เครื่องปรับอากาศ พัดลมไฟฟา หมอหุงขาว เตาแกส ฉนวนใยแกว จอคอมพิวเตอร เปนตน โดยรัฐบาลมีคปู องมูลคา 2,000 บาทตอครัวเรือน ให

กับผูป ระสบอุทกภัยทีม่ าลงทะเบียนในงาน ทีน่ าํ หลักฐานมา แสดง เชน บัตรประชาชน ทะเบียนบาน เพือ่ ยืนยันวาเปนผู ไดรบั ผลกระทบจากอุทกภัย และคูปองทีไ่ ดนสี้ ามารถนําไป ซือ้ สินคาโดยใชเปนสวนลดไมเกิน 20% ตอชิน้ เชน สินคา ราคา 10,000 บาท มีสวนลด 2,000 บาท นายพิชัย นริพทะพันธุ รัฐมนตรีวาการกระทรวง พลังงาน กลาวา ตนหวังวาโครงการนีจ้ ะชวยเยียวยาผูป ระสบ ภัยได 1 ลานครัวเรือน โดยเครือ่ งใชไฟฟาทีจ่ าํ หนายไดเนน เครื่องใชไฟฟาที่ประหยัดพลังงาน ซึ่งนอกจากจะเปนการ เยียวยาผูป ระสบภัย ทีเ่ ครือ่ งใชไฟฟาเสียหายจากนํา้ ทวมแลว ยังชวยลดการใชพลังงานในอนาคตไดอกี ดวย

อบจ. สมุทรสาครเปดหองสมุดมีชีวิต SK Park เพื่อเยาวชน

เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2554 องคการบริหารสวน จังหวัด (อบจ.) สมุทรสาคร ไดเปดศูนยบริการทางการ ศึกษา หรือหองสมุดมีชีวิต /อุทยานการเรียนรูสมุทรสาคร (SK park) เพื่อใชเปนแหลงเรียนรูที่ทันสมัยแหงแรก ของจังหวัด บนเนื้อที่กวา 2,000 ตารางเมตร ตั้งอยูบน ถนนเจษฏางค ต.มหาชัย อ.เมือง จ.สมุทรสาคร ดาน หลังวิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร โดยเริ่มเปดใหบริการแก ประชาชนตั้งแตวันที่ 16 ธันวาคม 2554 เปนตนไป สํ า หรั บ แนวคิ ด การจั ด ทํ า ห อ งสมุ ด มี ชี วิ ต แห ง นี้ เนื่องจากจังหวัดสมุทรสาครใหความสําคัญดานการศึกษา ของเด็ ก และเยาวชนในพื้ น ที่ โดยเฉพาะเด็ ก ที่ มี ฐ านะ ยากจนใหไดรับโอกาสในการเขาถึงแหลงเรียนรูที่ทันสมัย เทาเทียมกับเด็กในกรุงเทพฯ เพือ่ ลดชองวางในการเรียนรู

อุทยานการเรียนรูสมุทรสาคร หรือ SK park ไดรับการ สนับสนุนจากอุทยานการเรียน รู TK park กรุงเทพฯ ในฐานะ หองสมุดมีชีวิตตนแบบ ที่เขามา ใหความชวยเหลือในดานการฝก อบรมใหกับบุคลากร ใหมีความ รู ความเขาใจ และเพิ่มทักษะ การบริหารจัดการ ทั้งงานดาน บรรณารักษ ไอที การติดตั้งและเชื่อมโยงระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ การบริหารจัดการระบบหองสมุดอัตโนมัติ ระบบสมาชิก การคัดเลือกหนังสือทีเ่ หมาะสมสําหรับผูอ า น แตละชวงวัย สนับสนุนสื่อการเรียนรู และเกมสรางสรรค รวมถึงการสนับสนุนหนังสือตัวอยางกวา 1,500 เลม เพื่อ เปนแนวทางในการจัดหาหนังสือและสือ่ เพือ่ การเรียนรูท มี่ ี คุณภาพและเหมาะสมกับผูใชบริการตอไป ทาง อบจ.สมุทรสาคร หวังวาอุทยานการเรียนรู สมุทรสาครแหงนี้ จะชวยใหเด็กเยาวชน และประชาชน ในจังหวัดสมุทรสาคร ไดตระหนักถึงการมีสวนรวมในการ เขาถึงและพัฒนาแหลงเรียนรูในทองถิ่น ตลอดจนชวยจุด ประกายนิสยั รักการอาน การเรียนรูแ ละเกิดวัฒนธรรมการ อานการเรียนรูในทองถิ่นไดอยางยั่งยืนตอไป

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555 95


งานแสดงสินคาและสัมมนา ตารางงานแสดงสินคา ª´ ¸É ¤ ¦µ ¤

¦³Á£ ­ µ ¸É ­ µ ¸É · n° µ ­ «´ ¥£µ¡ ° °» ­µ® ¦¦¤ °·¤Â¡È Á¤º° ° µ ¸ %2, Å ¥ ¨° Á à 襸¨³ ª´ ¦¦¤Ä®¤nÇ Á¡ºÉ°Á¡·É¤ ¦³­· ·£µ¡ ¨³¡´ µ ªµ¤­µ¤µ¦ Ä µ¦  n ´ ° £µ °» ­µ® ¦¦¤ ¤ ¦µ ¤ 7KDLODQG (6&2 )DLU µ ­´¤¤ µ · ¦¦« µ¦ oµ ¦·¬´ «¼ ¥r µ¦ ¦³ »¤Â®n µ · (6&2 ,QIRUPDWLRQ ´ µ¦¡¨´ µ ­·¦· · ·Í &HQWHU »¤£µ¡´ r *UDSKLFDO 6\VWHP µ ­ ª´ ¦¦¤Â¨³ ªµ¤¦¼o ®o° *UDQG 5DWFKDGD 1DWLRQDO ,QVWUXPHQWV 'HVLJQ 6XPPLW Á ¸É¥ª ´ *UDSKLFDO 6\VWHP 'HVLJQ %DOOURRP °µ µ¦ µ¦ ·¡¥r $6($1 æ ¦¤Á oµ¡¦³¥µ µ¦r ¦´ µ Á¡ºÉ°ª·«ª ¦ ´ ª· ¥µ«µ­ ¦r ¨³ °µ µ¦¥r ´Éª£¼¤·£µ °µÁ ¸¥ »¤£µ¡´ r 7KDLODQG ,QGXVWULDO )DLU µ¦­´¤¤ µ ¨³ µ ­ Á à 襸 %,7(& 7%3 3XEOLFDWLRQ &R /WG °» ­µ® ¦¦¤ Á ¦ºÉ° ´ ¦ ¨ Á ¦ºÉ° ¤º° »¤£µ¡´ r )RRG 3DFN µ ­ Á ¦ºÉ° ´ ¦ ¨³°» ¦ r Ä %,7(& 7%3 3XEOLFDWLRQ &R /WG µ¦ ¦¦ »®¸ ®n°°µ®µ¦ »¤£µ¡´ r ,/'(; %DQJNRN µ ­ ­· oµ «»­´ ªrÁ¡ºÉ° ° ­ ° «¼ ¥r µ¦ ¦³ »¤Â®n µ · 1(2 ªµ¤ o° µ¦ oµ Á à 襸¨³ µ¦ ­·¦· · ·Í ¨· ° °» ­µ® ¦¦¤ «»­´ ªrÅ ¥ ¤¸ µ ¤ 5XEEHU 7HFKQRORJ\ µ ­ °» ­µ® ¦¦¤Â¨³Á à 襸 %,7(& 7HFKQR%L] ([SR µ oµ ¥µ ¨³¥µ ¦ &RPPXQLFDWLRQV ¡§¬£µ ¤ ,QWHUPDFK µ ¦³ »¤Â¨³ µ ­ Á à 襸 %,7(& 8%0 $VLD 7KDLODQG µ oµ °» ­µ® ¦¦¤Á ¦ºÉ° ´ ¦ ¨ ¨³ µ ,$ 5RERWLFV 6KHHW 0HWDO $VLD :HOGWHFK 0ROGH[ /RJLV3UR ¡§¬£µ ¤ 68%&21 7KDLODQG µ ­ °» ­µ® ¦¦¤¦´ nª µ¦ ¨· %,7(& 8%0 $VLD 7KDLODQG Á¡ºÉ° µ¦ ´ ºÊ° ·Ê ­nª °» ­µ® ¦¦¤ ¡§¬£µ ¤ $XWRPRWLYH µ ­´¤¤ µ ¨³ µ ­ Á à 襸 %,7(& 8%0 $VLD 7KDLODQG (QJLQHHULQJ $VLD µ oµ Á ¦ºÉ° ´ ¦ Á ¦ºÉ° ¤º° Ä µ °» ­µ® ¦¦¤ ¦³ ° ¥µ ¥ r ¤· » µ¥ 3XPSV 9DOYHV $VLD µ ­´¤¤ µ ¨³ µ ­ Á à 襸 %,7(& 8%0 $VLD 7KDLODQG °» ­µ® ¦¦¤ µ oµ ¦³ { ¤ ªµ¨rª n° ¨³ o° n° ¤· » µ¥ 3URSDN $VLD µ ­´¤¤ µ ¨³ µ ­ Á à 襸 %,7(& %(6 ¦³ ª µ¦ ¨· ¨³ ¦¦ »£´ r ¤· » µ¥ $VVHPEO\ 7HFKQRORJ\ µ ¦³ »¤ ¨³ µ ­ Á à 襸 %,7(& ¦¸Ê Á ¦ Á È r µ oµ Á ¦ºÉ° ´ ¦ Á ¦ºÉ° ¤º°Ä µ °» ­µ® ¦¦¤ ¦³Á£ nµ Ç ®¤µ¥Á® » µ¦µ ¸Ê°µ Á ¨¸É¥  ¨ Å o ¦» µ · n°°¸ ¦´Ê ® ¹É ´ ¼o ´ µ¤®¤µ¥Á¨ à ¦«´¡ r ´ ¨nµª ¦·¬´ ¦¸Ê Á ¦ Á È r ε ´ «¼ ¥r ¦³­µ µ ¸Ã°Å°Â¢¦r %2, à ¦«´¡ r à ¦­µ¦ à ¦«´¡ r n° 1DWLRQDO ,QVWUXPHQWV $6($1 8%0 $VLD 7KDLODQG &R /WG à ¦«´¡ r ZZZ QL FRP DVHDQ HYHQWV à ¦«´¡ r n° à ¦­µ¦ 7%3 3XEOLFDWLRQ &R /WG 7HFKQR%L] &RPPXQLFDWLRQV &R /WG à ¦«´¡ r à ¦­µ¦ à ¦«´¡ r à ¦­µ¦ (6&2 ,QIRUPDWLRQ &HQWHU 1 & & ([KLELWLRQ 2UJDQL]HU &R /WG 1(2 à ¦«´¡ r ZZZ WKDLHVFR RUJ à ¦«´¡ r ZZZ LOGH[ FRP ¦·¬´  Ȱ Á°È r · · ´É Á °¦rª·­Á ­ ε ´ %(6 à ¦«´¡ r à ¦­µ¦

96

ºÉ° µ %2, )$,5

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555


งานแสดงสินคาและสัมมนา ตารางฝกอบรมและสัมมนาจัดโดยบริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด และ

เสนอ...การอบรมสัมมนา

ลับสมองเพิ่มศักยภาพ เพื่อเพิ่มทักษะ, ประสิทธิภาพ และผลกําไร

®´ª o° ª´ ¸É ­ µ ¸É µ¦ ¦ª ­° ¨³ 妻 ¦´ ¬µ¦³ Å¢¢jµ°¥nµ ¤º°°µ ¸¡ ¤· » µ¥ æ ¦¤Â ¦ r Á ° ª·¨¨r µ¦°°  ¨³ 妻 ¦´ ¬µ¦³ ε ªµ¤Á¥È ­Îµ®¦´ °» ­µ® ¦¦¤ ¦ µ ¤ æ ¦¤Â ¦ r Á ° ª·¨¨r Á · Ä µ¦Á¨º° ¨³Ä o µ oµ n° ªµ¨rª { ¤ ­· ®µ ¤ æ ¦¤Â ¦ r Á ° ª·¨¨r µ¦°°  ¨³ · ´Ê ¦³ Å¢¢jµ ´ ¥µ¥ æ ¦¤Â ¦ r Á ° ª·¨¨r ®¤µ¥Á® » µ¦µ ¸Ê°µ Á ¨¸É¥  ¨ Å o ¦» µ · n°°¸ ¦´Ê ® ¹É ´ ¼o ´ µ¤®¤µ¥Á¨ à ¦«´¡ r ´ ¨nµª ­° µ¤¦µ¥¨³Á°¸¥ Á¡·É¤Á ·¤Å o ¸É ¦·¬´ Á°È¤Â° r°¸ ε ´ 0 ( °µ µ¦­· ­µ ¦ µªÁª°¦r ´Ê  ª ¨° o Å ¦ Á ¨° ­µ ¦» Á ¡² à ¦«´¡ r à ¦­µ¦ ZZZ PH FR WK HPDLO LQIR# PH FR WK

¼o ´ Á°È¤Â° r°¸ Á°È¤Â° r°¸ Á°È¤Â° r°¸ Á°È¤Â° r°¸

µ¦µ f ° ¦¤Â¨³­´ ¤¤ µ ตารางฝ กอบรมและสั มมนา ª´ ¸É ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤

®´ª o° µ¦ ­° Á ¦ºÉ° ´É ¨³ µ¦­° Á ¸¥ »o¤ Êε® ´ ¤µ ¦ µ ¼o · ´ · µ ¦³ 妳 j° ´ ­·É ª ¨o°¤Á } ¡·¬ oµ ¤¨¡·¬ Êε µ¦Á ºÉ°¤ n°¤Â¤n¡·¤¡r oª¥ ¦³ ª µ¦ 7,* µ¦ ¦´ ¦» ­µ¥ µ¦ ¨· oª¥Ã ¦Â ¦¤ 3UR0RGHO 6LPXODWLRQ Á à 襸 ´ Á º° 讳 ­Îµ®¦´ Á ¦ºÉ° ¸Á°È ¸ µ¦ ´ Á È Á° ­µ¦Ä®o®µ nµ¥Â¨³Á } ¦³ µ¦ ¸ ªµ¤Ä ¦µ¥ µ ¨ µ¦­° Á ¸¥ &RPPXQLFDWLRQ 6NLOOV Á ¦ µ n°¦° °¥nµ ¤¸ ¨¥» r µ¦ 妻 ¦´ ¬µÂ¨³ µ¦Â oÅ ¦³ ű ¦°¨· /RJLVWLFV DQG 6XSSO\ &KDLQ µ¦ªµ  ¨¥» r° r ¦­¼n ªµ¤Á } Á¨·« Á · µ ´ ¹Ê ¦¼ 63& ,QWHUSUHWDWLRQ 63& IRU (QJLQHHU ¼o ª »¤¦³ ε ´ ¤¨¡·¬°µ µ« µ¦ ¦ª ­° » £µ¡ oª¥ª· ¸ ´ ´ª°¥nµ Á¡ºÉ° µ¦¥°¤¦´ 4XDOLW\ $ZDUHQHVV ª· ¸ µ¦Â¨³Á · µ¦ ¦ª ­° ®¤o° Êε ,62 ,(& 5HTXLUHPHQW µ¦°°  ¤n¡·¤¡r n°Á ºÉ° oª¥ °¢ rª¦r µ¦ ª »¤ » £µ¡Å¢¢jµÂ¨³ ¦³ ­ ´ ­ » ­Îµ®¦´ ¦³ °¤¡·ªÁ °¦r µ¦ · ´Ê ¨³ µ¦Á · ­µ¥¦³ Å¢¢jµ°» ­µ® ¦¦¤ µ¦Ä oÁ à 襸£µ¡ nµ¥ ªµ¤¦o° °· ¢¦µÁ¦ °¥nµ ¤º°°µ ¸¡

­ µ ¸É ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ª­ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ µ ´ Á¡·É¤ ¨ ¨· ®n µ · ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 +&%, ­ µ ´ Á¡·É¤ ¨ ¨· ®n µ · ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ µ ´ Á¡·É¤ ¨ ¨· ®n µ · ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ª­ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 +&%, ª­ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ª­ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ª­

¼o ´ ­ ­ ª­ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ ­ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ )73, ­ ­ +&%, )73, ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ ­ )73, ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ ­ ª­ ­ ­ +&%, ª­ ­ ­ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ª­ ­ ­ ª­

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555 97


งานแสดงสินคาและสัมมนา ª´ ¸É ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤ ¤ ¦µ ¤

­ µ ¸É ¼o ´ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ª­ ª­ ª­ ª­ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ª­ ª­ ª­ ª­ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ µ ´ Á¡·É¤ ¨ ¨· ®n µ · )73, +&%, +&%, ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ «¼ ¥r¡´ µ 妻 ¦´ ¬µ «¼ ¥r¡´ µ 妻 ¦´ ¬µ ű ¦°¨· Á · ¦» ű ¦°¨· Á · ¦» ¤ ¦µ ¤ µ¦ 妻 ¦´ ¬µÁ ¦ºÉ° ´ ¦ ¨Á¡ºÉ°Á¡·É¤ nµ ªµ¤ nµÁ ºÉ° º° ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ¤ ¦µ ¤ ¨¥» r ¦·®µ¦ ªµ¤Á­¸É¥ ­ µ ´ Á¡·É¤ ¨ ¨· ®n µ · )73, ¤ ¦µ ¤ ¼o ª »¤¦³ µ¦ ´ µ¦ µ °» ­µ® ¦¦¤ ª­ ª­ ¤ ¦µ ¤ µ¦ ´ 妳 ¦³ ´ µ n°¤Á · · ´ · ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ¤ ¦µ ¤ µ ´ Á µÂ¤n¡·¤¡r ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ¤ ¦µ ¤ :DUHKRXVH 0DQDJHPHQW ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ¤ ¦µ ¤ 3URIHVVLRQDO (PDLO :ULWLQJ $QG 5HSRUW :ULWLQJ +&%, +&%, ¤ ¦µ ¤ ¼o · ´ · µ ¦³ j° ´ ­·É ª ¨o°¤Á } ¡·¬ oµ ¤¨¡·¬ µ °» ­µ® ¦¦¤ ª­ ª­ ¤ ¦µ ¤ ¦·®µ¦ ´ µ¦Â¨³¡´ µÅ o ¨°¥nµ ¤n ¥Îµ oª¥ µ¦ εĮo¤° Á®È ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ¤ ¦µ ¤ 2(( 2YHUDO (TXLSPHQW (IIHFWLYHQHVV ¨³ µ¦ ¦·®µ¦ µ¦ n°¤ 妻 +&%, +&%, «¼ ¥r¡´ µ 妻 ¦´ ¬µ «¼ ¥r¡´ µ 妻 ¦´ ¬µ ¤ ¡ µ¦ n°¤ 妻 ¨³ µ¦ªµ  ε¦» ¦´ ¬µ¦³ ·ªÂ¤ · ¨³ µ¦Ä o ¡¨´ µ ¨¤°´ °¥nµ ¤¸ ¦³­· ·£µ¡ ű ¦°¨· Á · ¦» ű ¦°¨· Á · ¦» ¤ ¦µ ¤ µ¦­¦oµ ª´ ¦¦¤ ªµ¤ ¨° £´¥ oª¥ %%6 ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ¤ ¡ µ¦°°  ¦³ ´ Á ¨ºÉ° µ ¨¦³ °´ à ¤´ · ¡ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ »¤£µ¡´ r µ¦ª´ ª·Á ¦µ³®r¨³ ª »¤Á­¸¥ ­· oµÂ¨³Ã¦ µ ­ µ ´ Á¡·É¤ ¨ ¨· ®n µ · )73, »¤£µ¡´ r Á · µ¦ªµ  µ ­¼n µ¦ · ´ · +&%, +&%, »¤£µ¡´ r µ¦¡´ µÂ¨³­¦oµ ªµ¤¦´ ªµ¤ ¼ ¡´ ° r ¦ »¤£µ¡´ r Á · µ¦­»n¤ ´ª°¥nµ Á¡ºÉ° µ¦¥°¤¦´ ­ µ ´ Á¡·É¤ ¨ ¨· ®n µ · )73, ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ »¤£µ¡´ r µ¦­° Á ¸¥ Á ¦ºÉ° ¤º°ª´ °» ­µ® ¦¦¤ · nµ Ç »¤£µ¡´ r µ¦ªµ  ¨³ ª »¤ µ¦ ¨· +&%, +&%, »¤£µ¡´ r µ¦°°  ¦³ n°£µ¥Ä °µ µ¦ ª­ ª­ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ »¤£µ¡´ r µ¦ ´ )RUNOLIW Á ¦ºÉ° ¥ r °¥nµ ¼ ª· ¸ ®¤µ¥Á® » µ¦µ ¸Ê°µ Á ¨¸É¥  ¨ Å o ¦» µ · n°°¸ ¦´Ê ® ¹É ´ ¼o ´ µ¤®¤µ¥Á¨ à ¦«´¡ r ´ ¨nµª ­¤µ ¤ª·«ª ¦¦¤­ µ ®n ¦³Á «Å ¥ Ä ¡¦³ ¦¤¦µ ¼ ´¤£r ª­ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ 7*, à ¦«´¡ r à ¦­µ¦ à ¦«´¡ r à ¦­µ¦ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ­ µ ´ Á¡·É¤ ¨ ¨· ®n µ · )73, à ¦«´¡ r n° à ¦­µ¦ à ¦«´¡ r n° à ¦­µ¦ ­ µ ´ Á­¦·¤­¦oµ ¸ ªµ¤­µ¤µ¦ ¤ »¬¥r +&%, «¼ ¥r¡´ µ 妻 ¦´ ¬µÅ± ¦°¨· Á · ¦» ­£µ°» ­µ® ¦¦¤Â®n ¦³Á «Å ¥ à ¦«´¡ r n° à ¦­µ¦ à ¦«´¡ r à ¦­µ¦

98

®´ª o° µ¦ªµ  ε¦» ¦´ ¬µÁ ¦ºÉ° ´ ¦ ¨Á · j° ´ µ¦ ´ ¸ ¦·®µ¦ ­Îµ®¦´ ª·«ª ¦ ¨³ ¼o ¦·®µ¦ ¸ÉŤnÄ n ´ ´ ¸ ¼o · ´ · µ ¦³ 妳 j° ´ ­·É ª ¨o°¤Á } ¡·¬ oµ ¤¨¡·¬°µ µ« µ¦ ¦´ ­¤ »¨Á ¦ºÉ° ´ ¦ °» ¦ r ·Ê ­nª ®¤» Á · · ´ · µ¦°°  ¨³ µ¦Ä o µ à ¦ ­¦oµ Á®¨È ¼o ´ µ¦­·É ª ¨o°¤ µ¦«¹ ¬µ ªµ¤­µ¤µ¦ ° ¦³ ª µ¦ µ¦Á ¸¥ à ¦Â ¦¤ ¸Á°È ¸ ­Îµ®¦´ µ ´ µ¦Á ¸¥ à ¦Â ¦¤ &1& 0DFKLQLQJ &HQWHU oª¥Ã ¦Â ¦¤ 6LPXODWLRQ µ¦ ª »¤¦³ ´ Á ¨ºÉ° Á °¦rꤵ­Á °¦rÅ ¦r¢ µ¦ ¦·®µ¦ ªµ¤ ´ Â¥o °¥nµ ­¦oµ ­¦¦ r µ¦ª·Á ¦µ³®r­µÁ® » ° µ¦Á · °» ´ ·Á® »Â¨³ µ¦­° ­ª °» ´ ·Á® » µ¦ ¦·®µ¦ µ¦ ¨· ­Îµ®¦´ ®´ª® oµ µ ¦³ ª »¤ ·ªÂ¤ · Å¢¢jµ Å ¦Ã 襸 ´Ê ­¼ ° ¦³ ű ¦°¨·

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555


ผลิตภัณฑ Hioki IM 3570 เครื่องวัดความตานทาน และ Hioki MR 8880-20 เครื่องวัดและบันทึกสัญญาณไฟฟา

Hioki IM 3570 Impedance Analyzer เครื่องมือวัดความตาน ทาน LCR และ DCR ดวยความเร็ว สูงและมีความแมนยําสูง สามารถ บันทึกขอมูลผาน USB Memory และ เชื่อมตอผาน USB, GP-IB และ RS-232C เหมาะสําหรับงานใน Production line และ งาน R&D มีจุด เดน ดังนี้ - รองรับการวัด LCR measurement, DCR measurement, and sweep measurement

- สามารถปรั บ แรงดั น ในการ ทดสอบจาก 50 mV ถึง 5 Vrms - Measurement frequency จาก 4Hz ถึง 5M Hz - High speed testing 1.5 ms (1 kHz) และ 0.5 ms (100 KHz) - มีฟง กชน่ั DC bias measurement, Comparator and Memory

Hioki MR 8880-20 Memory HiCorder เครื่ อ งวั ด และบั น ทึ ก สัญญาณทางไฟฟา รองรับ 4 แอนะล็อก และ 8 ลอจิกอินพุต รองรับ

การเก็บขอมูลผาน CF card และ USB memory เชือ่ มตอคอมพิวเตอร ผาน USB พรอมซอฟตแวรสําหรับ การวิเคราะหและทํารายงาน โดยมี จุดเดน ดังนี้ - มาตรฐานความปลอดภัย CATIII 600 V รองรับการวัดแรงดัน 480 V ไดอยางปลอดภัย - เก็บขอมูลสูงสุดดวยความเร็ว 1 ลานครั้งตอวินาที - มีแบตเตอรี่ในตัว เหมาะแกการ เคลอนยายไปใชงานตามจุดตางๆ - มีพรินเตอร (ออปชั่น) สามารถ พิมพรูปคลนออกมาในแบบ real time - ต อ ใช ง านและปรั บ ตั้ ง ค า ด ว ย function presets

หนาจอแสดงผลแบบสัมผัส (HMI) รุน Monitouch V8 Series

หน า จอแสดงผลแบบสั ม ผั ส (HMI : Touch screen) รุน Monitouch V8 Series ผลิตภัณฑคณ ุ ภาพ จากญีป่ นุ ซึง่ มีหนาจอแสดงผลขนาด ตางๆ ตั้งแต 5.7, 8.4, 10.4, 12.1 และ 15 นิว้ ใหเลือกใชงานตามความ

100

ตองการ และยังสามารถเลือกรุน เพอ ใหรองรับการสอสารทั้งแบบ Serial และ Ethernet โดยมีคุณสมบัติเดน ดังนี้ - มีพอรต Serial 3 พอรต ทําให สามารถเชอมตออุปกรณตา งชนิด

59 มกราคม-กุมภาพันธ 2555

ไดพรอมกันถึง 3 Network Protocol - กรณี ที่ ต  อ งการสื่ อ สารหลายๆ โปรโตคอล สามารถเลือกรุนที่มี พอรต Ethernet เพื่อใหสามารถ สือ่ สารไดสงู สุด 8 Network Protocol - สามารถแลกเปลีย่ นขอมูลระหวาง PLC และอุปกรณตางๆ ได โดย การตั้งคาใน Feature Device Memory Map โดยไมตองเขียน โปรแกรม


ผลิตภัณฑ - สามารถเก็บขอมูล Alarm และ/ หรือ Sampling โดยใชหนวยความ จําภายในและ CF-Card พรอม กันโดยไมตอ งเขียนโปรแกรม - ในกรณี เ ขี ย นโปรแกรมหน า จอ หลายๆ หนา แลวหนวยความจํา

เต็ม สามารถขยายหนวยความจํา ได โดยใช CF-Card - มีหนาจอแสดงผลสําเร็จเพอนําไป ใช ในโปรเจคไฟล ซึง่ เรียกวา Component parts เชนในกรณีมกี ารใช งาน อินเวอรเตอร ก็สามารถเรียก

Component part มาวางบน หนาจอ เพอใชสั่งการและตั้งคา พารามิเตอรตา งๆ ในอินเวอรเตอร ไดเลย (ซึง่ จะประกอบไปดวยหนา จอตางๆ หลายๆ หนาแบบสําเร็จ โดยไมตองเขียนเอง)

อุปกรณปรับความเร็วรอบมอเตอรกระแสสลับ Fuji รุน FVR-Micro Series อุปกรณปรับความเร็วรอบมอเตอรกระแสสลับ Fuji รุน FVR-Micro Series เปน AC Drive รุนใหมจาก Fuji ประเทศญีป่ นุ ซึง่ มีหลายขนาดใหเลือก ใชตามความตองการ และมีระดับ แรงดันใชงานที่ 220 Vac และ 380 Vac มีขนาดเล็กกะทัดรัดใชงานงาย และฟ ง ก ชั่ น การควบคุ ม มอเตอร ที่ ครบถวน เปนรุน ทีอ่ อกแบบมาสําหรับ เครองจักรขนาดเล็ก-ไมซับซอน โดย มีคุณสมบัติ ดังนี้ - ประหยัดเนื้อที่ภายในตูไฟฟาดวย ความกวางเพียง 72 mm (0.2-1.5 kW) และ 100 mm (2.2-3.7 kW) - มีขนาดตั้งแต 0.2-3.7 kW, แรง ดันใชงาน 1 Phaes, 220 Vac (200-240 Vac ) และ 3 Phase,

-

-

-

-

380 Vac (380-460 Vac) รองรั บ แรงบิ ด ขณะออกตั ว มอเตอร 150% มีชอ งตอสอสารแบบ RS485 ในตัว (ModBus RTU Protocal/ASCII) มี Potentiometer ที่ใช ในการปรับ ความเร็วในตัว และรองรับสําหรับ การตอจากภายนอก รองรับการทํางานแบบ Pattern และ Wobble ซึ่งสามารถลดการ ต อ สายและอุ ป กรณ อื่ น ได ม าก ทําใหประหยัดคาใชจาย รองรับการตอใชงานทัง้ แบบ sink และ source สามารถใชงานรวม กับอุปกรณทม่ี เี อาตพตุ แบบ NPN และ PNP มีระบบการปองกันความเสียหาย

ของมอเตอรและตัวเครอง เชน Inrush current, Over Voltage, Under Voltage, Over Current, Thermal Over Load Relay, พรอมดวย Relay แสดงสถานะ และหนาจอ LED 7 Segment - สามารถจดจําขอมูลการ Alarm ของเครองได 6 ครั้งลาสุด

TL175 TwistGuard Test Leads และ Fiber OneShot PRO

Fluke TL175 TwistGuard ชุดสายวัดมิเตอรแบบปรับปลายวัด ได เปนสายวัดสําหรับมิเตอรรนุ พิเศษ ที่ปรับความยาวฉนวนที่ปลายวัดได เพือ่ ใหเหมาะกับลักษณะการใชงานที่ แตกตางกัน เพิ่มความสะดวกและ ความปลอดภัยในการใชงาน ตัวสาย มีความยืดหยุนสูง ทั้งในอุณหภูมิสูง

59 มกราคม-กุมภาพันธ 2555 101


ผลิตภัณฑ

และเย็นจัด มีเปลือกฉนวน 2 ชั้น ทนทานตอการดัดงอไดกวา 30,000 ครั้ง เปนอุปกรณที่ไดรับมาตรฐาน ความปลอดภัย CAT II 1000 V, CAT III 1000 V, CAT IV 600 V รองรับ กระแส 10 แอมป ใชไดกับเครื่องมือ วัดทัว่ ไปทีม่ ชี อ งเสียบมาตรฐานขนาด 4 มิลลิเมตร

Fiber OneShot PRO เครือ่ ง วิเคราะหการเชื่อมตอสายไฟเบอร สําหรับตรวจวัดระยะจุดที่เกิดปญหา

ไดไกลถึง 23 กิโลเมตร เปนอุปกรณ ที่เหมาะสําหรับการตรวจซอมเครือ ขายไฟเบอรออปติกแบบซิงเกิลโหมด FTTx, Hybrid Fiber Coax (HFC), ไฟเบอรลงิ คระหวางสํานักงาน โดยมี คุณสมบัติ ดังนี้ - ใชตรวจหาตําแหนงจุดเชอมตอที่ มี ก ารสู ญ เสี ย สั ญ ญาณสู ง หรื อ สัญญาณสูญหาย - ตรวจวัดความยาวสายไฟเบอรได ถึง 75,459 ฟุต (23,000 เมตร)

- ตรวจสอบสถานะพอรตวาพรอม ใชงานหรือไม - หาตําแหนงสายงอ, จุดเชอมตอ ที่มีการสูญเสียสูง ในสายไฟเบอร แบบซิงเกิลโหมด - เก็บบันทึกผลการวัดได 99 ผลลัพธ สําหรับเรียกดูภายหลัง - ตรวจรับรองการเชอมตอชองสัญญาณไฟเบอร - ระบุ ตํ า แหน ง ที่ เ กิ ด จุ ด เชื่ อ มต อ แสงที่ไมดี - สามารถรายงานผลไดพรอมกัน 9 เหตุการณ สนใจสอบถามรายละเอี ย ด เพิ่มเติมไดที่ บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จํากัด

In-Sight 1740 series เครื่องอานรหัสแผนเวเฟอรแบบใหม ค็อกเนกซ คอรปอเรชั่น จํากัด (NASDAQ: CGNX) แนะนําเครื่อง อานรหัส (ID) แผนเวเฟอรแบบใหม In-Sight 1740 series ทีม่ าพรอมกับ ซอฟตแวร In-Sight Explorer Wafer ID version 4.5.0 ซึง่ ออกแบบสําหรับ การปรั บ ปรุ ง ทั้ ง อั ต ราการอ า นและ ความนาเชื่อถือและงายสําหรับการ

102

ตัง้ คา ทําใหสามารถใชงานรวมกับเครือ่ ง มือควบคุมและผลิตแผนเวเฟอรได เปนอยางดี ดวยคุณลักษณะที่หลากหลาย นี้ ทําใหมนั่ ใจไดถงึ ชวงเวลาทีใ่ ชงานได สูงสุดของเครือ่ งมือ โดยไมมกี ารหยุด หรือขัดจังหวะการทํางานจากคนในขัน้ ตอนการอานคารหัสของแผนเวเฟอร

59 มกราคม-กุมภาพันธ 2555

และด ว ยประสิ ท ธิ ภ าพการ ประมวลผลทีส่ งู ขึน้ ทําใหเครือ่ งอาน รหัสแผนเวเฟอร In-Sight 1740 series สามารถลดเวลาในการอานรหัสไดถงึ 40% และชวยใหเครื่องอานรหัสนี้มี ขอดีในดานการหาสมรรถนะการทํา งานทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ แบบอัตโนมัติ จึง สามารถเพิ่มอัตราการอานและความ


ผลิตภัณฑ นาเชื่อถือไดดีแมกระทั่งเครื่องหมาย (Mark) รหัสทีย่ ากตอการอาน ขณะที่ ยังมั่นใจไดถึงการทํางานที่ไรปญหา

ในเครื่องอาน In-Sight 1740 series ประกอบดวยระบบการสอง สว า งคุ ณ ภาพสู ง ที่ ร วมอยู  ใ นตั ว อุปกรณ ทําใหสรางภาพเฉพาะทีส่ วาง และมีความสามารถในการอานไดสูง สรางระบบการสองสวางที่มีคุณภาพ สูงสุดในอุตสาหกรรม พรอมทั้งยังมี หลอด LED ภายนอกที่จัดเรียงกัน เปนแถว ชวยใหไดภาพที่มีคาความ เปรียบตางสูงเปนพิเศษสําหรับเครือ่ ง หมายรหัสของแผนเวเฟอรทุกชนิด อีกทั้งยังใชสารเคลือบชนิดใหมที่ได รับการพัฒนาขึ้นมาเปนพิเศษ ทําให เครือ่ งอานรหัส In-Sight 1740 series ขยายการใช ง านเพื่ อ รองรั บ ความ ทาทายเรื่องระบบจับภาพแบบใหม ลาสุด ที่ใชกําลังสองสวางสูงเปน พิเศษจากพอรตตอขยายภายนอก In-Sight 1740 series เปนการ ปรับปรุงกลุม ผลิตภัณฑทมี่ กี ารพิจารณาวาเปนมาตรฐานในอุตสาหกรรม

เซมิคอนดัคเตอร สําหรับเครื่องอาน รหัสแผนเวเฟอร ซึง่ ระบบใหมนมี้ กี าร อั พ เกรดหลายอย า งเพื่ อ เอาชนะ ปญหาเรื่องคุณภาพของการจับภาพ ในการอ า นรหั ส แผ น เวเฟอร เช น การกรองสัญญาณเพื่อยกระดับภาพ อั ต โนมั ติ (ซึ่ ง เป น คุ ณ ลั ก ษณะที่ มี เฉพาะ Cognex) เครือ่ งอานรหัส In-Sight 1740 series ใหมนี้สามารถเขากันไดกับ ระบบเดิม 100% โดยมีมิติขนาดรูป แบบรูตดิ ตัง้ และชุดควบคุมระยะไกล ที่เหมือนกัน ทําใหเครื่องอานรหัส In-Sight 1740 series สามารถใชได กับทุกงานเหมือนกับเครื่องอานรหัส In-Sight 1720 series ที่ใชอยูใน ปจจุบัน ซอฟตแวร In-Sight Explorer Power version 4.5.0 ใหมนี้ประกอบดวยเครื่องมือที่เพิ่มเขามาใหม ดังนี้

1. การกรองสัญญาณ เพื่อยก ระดั บ ภาพอั ต โนมั ติ สํ า หรั บ การแก ปญหาเรื่องภาพคุณภาพตํ่าที่ไดจาก การจับภาพ สวนใหญแลวตัวกรอง สัญญาณเพือ่ ยกระดับสามารถเปลีย่ น ความล ม เหลวในการอ า นรหั ส เป น ความสําเร็จในการอานรหัสแทน โดย ไมจําเปนตองใหคนเขามาวุนวายกับ ระบบ 2. การรองรับที่ยกระดับสูงขึ้น สําหรับแผนเวเฟอรขนาด 300 มม. ตามมาตรฐาน SEMI M1.15 สําหรับ แผนเวเฟอรขนาด 300 มม. สามารถ ใชงานไดทั้งรหัส T7 Data Matrix code และเครื่องหมาย OCR mark ดวยซอฟตแวรเวอรชั่น 4.5.0 ใหม ของค็อกเนกซทไี่ ดปรับปรุงสมรรถนะ การทํางานบนเครือ่ งหมายตามมาตรฐาน SEMI M1.15 โดยพยายามอานรหัส T7 กอนในครัง้ แรก โดยใชเทคโนโลยี Cognex IDMax ที่เปนสิทธิบัตรของ บริษัท โดยเครื่องหมาย OCR จะถูก ใชเปนเครื่องหมายสํารองถารหัส T7 มีคณ ุ ภาพตํา่ เกินจะอานและประมวล ผลได ความนาเชื่อถือสูงสุดเปนสิ่งที่ สามารถรับประกันได และเครือ่ งอาน รหัสนี้มีความงายในการบํารุงรักษา มากขึ้นเนื่องจากมีการตั้งคาที่จําเปน ไมกี่ขั้นตอนเทานั้น

Trek 520 Electrostatic Voltmeter และ Trek 152 Surface Resistance Meter Trek 520 Electrostatic Voltmeter เปนโวลตมิเตอรวัดคาประจุ แบบไมสัมผัส สําหรับใชในงานผลิต ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส กระบวนการ ผลิต LCD สวนประกอบและอุปกรณ

ตางๆ ที่มีความไวตอไฟฟาสถิตสูง ซึ่งมีคุณสมบัติ ดังนี้ - วัดคา Voltage ตั้งแต 0 ถึง ±2 kV DC - หัวโพรบขนาดเล็ก สามารถวัดบน

59 มกราคม-กุมภาพันธ 2555 103


ผลิตภัณฑ พื้นที่ขนาดเล็กหรือบนตัวไอซีได อยางแมนยํา - วัดคาที่ระยะหางสูงสุด 25 mm ได โดยที่คาวัดไมผิดเพี้ยน - ใชเทคโนโลยี Voltage Feedback ทําใหคาที่วัดไดมีความแมนยําสูง กวา Field meter - มีระบบ DC Stable สําหรับงาน ในสภาวะแวดลอมแบบ ionized - มีปุม Hold สําหรับคางคาวัดบน หนาจอ Trek 152 Surface Resis tance Meter เปนมิเตอรสําหรับวัด คาความตานทานบนพืน้ ผิว เชน พืน้ ที่

ประกอบชิ้นสวนอิเล็​็กทรอนิกส ชุด สวมใสถงุ มือ ถาดบรรจุชนิ้ สวนอิเล็กทรอนิกสหรือวัสดุตางๆ เชน Insulative material, Dissipative Material โดยมีคุณสมบัติเดน ดังนี้ - สามารถวัดความตานทานไดตงั้ แต 103 ถึง 1013 โอหม

Paulstra แทนรองกันสะเทือนแบบโลหะ

การสัน่ สะเทือนเปนปจจัยหลัก ทีส่ รางความลาใหกบั โครงสรางตางๆ ซึ่งเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดความเสีย หายอยางรุนแรง การสั่นสะเทือนที่ เกิดจากการทํางานของเครือ่ งจักรมัก จะเกิดขึ้นเสมอและหลีกเลี่ยงไมได นอกจากนี้เครื่องจักรบางประเภทถูก ออกแบบใหสรางแรงกระแทกอีกดวย เชน เครื่องจักรเพื่อการขึ้นรูปตางๆ (presses, punching, stamping) เปนตน ดวยเหตุนี้ ชิ้นสวนเครื่องจักร และอุปกรณบริเวณใกลเคียง จึงเกิด ความลาสะสมอยูเ สมอและเกิดความ

104

เสียหายตามมาในที่สุด ซึ่งจะใชเวลา มากหรือนอยขึน้ กับขนาดของแรงสัน่ สะเทือนและระยะเวลาที่เกิดแรงสั่น สะเทือนนั้น ดังนั้น เพื่อยืดอายุการใชงาน ของเครื่องจักรและลดปญหาที่มีตอ โครงสรางหรืออุปกรณอนื่ บริเวณใกล เคียง จึงมีความจําเปนที่ตองกําจัด แรงสั่นสะเทือนใหลดลง โดยวิธีที่ สามารถทําไดอยางงายๆ คือ การติด ตั้ ง แท น รองกั น สะเทื อ น ซึ่ ง อาศั ย คุณสมบัติยืดหยุนของสปริงเพื่อลด การสงผานแรงสั่นสะเทือนในชวง ความถีท่ เี่ ครือ่ งจักรทํางานปกติ และ

59 มกราคม-กุมภาพันธ 2555

- สามารถเลือก Output Voltage ใหเหมาะสมกับวัสดุที่วัดได - สามารถวั ด ค า ได ต ามมาตรฐาน ANSI/ESD เชน STM 2.1 สําหรับ เครองแตงกาย STM 4.1 สําหรับ พืน้ ทีป่ ฎิบตั งิ าน STM 7.1 สําหรับ พื้น - โพรบแบบ Two-point สามารถ วัดพืน้ ทีเ่ ล็กๆ ได เชน ในชองใส IC - มี Test Current Limit เพอความ ปลอดภัย สนใจรายละเอียดเพิ่มเติมติด ตอไดที่ บริษัท แอสราส จํากัด

ตัวหนวงเพื่อลดการสงผานแรงสั่น สะเทือนในชวงความถีต่ าํ่ เชน ความถี่ เริม่ เดินเครือ่ งจักร (ความถีส่ นั่ พอง) ด ว ยการติ ด ตั้ ง ตั ว รองแท น เครือ่ งจักรแบบโลหะของพอลสตรา (Paulstra metal Mountings) ซึ่งมี ลักษณะสําคัญคือทําจากขดลวดเหล็ก กลาไรสนิม (stainless steel) นํามา อัดเขาดวยกันเพื่อใหเกิดคุณสมบัติ ยื ด หยุ  น ของสปริ ง และตั ว หน ว งใน เวลาเดียวกันโดยมีคุณสมบัติพิเศษ คือสามารถทํางานดวยคาความถีธ่ รรมชาติตาํ่ สุดถึง 1.5 Hz ทําใหลดการสง ผานแรงสัน่ สะเทือนในทุกชวงความถีไ่ ด สูงสุดถึง 99 % รวมถึงชวยลดการสง ผานแรงกระแทกไดอยางดีเยีย่ ม แทนรองกันสะเทือนแบบโลหะ ของพอลสตรา (Paulstra) มีความ ทนทานตอสารเคมีทมี่ กี ารสัมผัสขณะ ใชงานจึงสามารถใชกับงานไดหลาย ประเภท เชน งานอุตสาหกรรม, งาน ขนสง, งานทางทะเล, งานอากาศยาน


ผลิตภัณฑ และงานดานการทหาร เปนตน โดย มีหลายขนาดใหเลือกใช เพือ่ ใหเหมาะ สมกับนํา้ หนักเครือ่ งจักร ทําใหสามารถ ลดการสงผานแรงสัน่ สะเทือนสําหรับ อุปกรณทมี่ ขี นาดเล็กนํา้ หนักเบาอยาง อุ ป กรณ จั บ สั ญ ญาณหรื อ อุ ป กรณ อิเล็กทรอนิกส จนถึงเครื่องจักรที่มี

ขนาดใหญนํ้าหนักมากซึ่งครอบคลุม การใชงานทุกประเภท เชน พัดลม, เครือ่ งปรับอากาศ, ปม , คอมเพรสเซอร, เครื่องจักรการเกษตร, เครื่องกลึง, เครือ่ งอัดไฮดรอลิก เปนตน สวนพอลสตราและไวบราชอค (Paulstra&Vibrachoc) เปนอุปกรณ

กั น สะเทื อ นจากฝรั่ ง เศส ซึ่ ง ได รั บ ความนิยมเชื่อถือและมีการใชงาน อยางกวางขวางในงานดานตางๆ เชน ระบบขนสงมวลชน (รถไฟ, รถไฟ ฟา, รถไฟฟาใตดนิ , เครือ่ งบินโดยสาร), งาน ดานการทหาร (เรือรบ, เรือดํานํ้า, เฮลิคอปเตอร) เปนตน

Crompton 220V มอเตอรประสิทธิภาพสูง มอเตอร Crompton เป น มอเตอรขนาด 220V ประสิทธิภาพสูง ที่มีคุณสมบัติเดน ดังนี้ - มี อุ ป กรณ ตั ด กระแสไฟฟ า เกิ น (Overload) เพอปองกันมอเตอรไหม - ระบบปองกัน IP 55 สามารถกัน ละอองนํ้าและฝุนได Insulation Class F สามารถทนความรอนได 155 องศา - Case เปนอะลูมิเนียม และเหล็ก หลอ

- สามารถเลือกแรงดันระบบไฟฟา ทีใ่ ชในการตอไดทงั้ แบบไฟสูงหรือ ไฟตํ่า - มีชอ งหรือรูสาํ หรับอัด และถายเท จาระบี ที่ตลับลูกปน ทั้งดานหนา และดานหลัง - มีขนาดใหเลือกตั้งแต 0.25 HP1500 HP ทั้งแบบขาตั้งและหนา แปลน - มีอนิ เวอรเตอร มอเตอร (Ventilator Fan-Air Blower) ทําหนาที่

ปรั บ อุ ณ หภู มิ ใ ห ค งที่ ในขณะที่ ความถี่ Hz ของมอเตอรเปลี่ยน ไป

Motive Pump ปมนํ้าหอยโขงประสิทธิภาพสูง

Motive Pump เปนปม นํา้ หอย โขงประสิทธิภาพสูง ชนิดใบพัดเดี่ยว (ทีม่ ใี หเลือกทัง้ ใบพัดทองเหลือง และ

เหล็กหลอ) มอเตอร มีใหเลือกใชทั้ง แบบไฟ 220 V และ 380 V ตัวปม ผลิตจากเหล็กหลอ เพลามอเตอรเปน

เหล็ก AISI 1045 และสเตนเลส AISI 1420 กันรอยรัว่ ดวยแมคคานิคอลซีล แบบเซรามิก และกราไฟต ซึง่ กันนํา้ ได ดี มอเตอรระบายความรอนดวยพัดลม มาตรฐาน IP 44 ฉนวน CLASS B ผลิตตามมาตรฐาน IEC 60034-1, IEC 335-1, IEC 34-1, ISO 2548 อุณหภูมิของเหลวสูงสุดไมควรเกิน 90 °C ปม นํา้ หอยโขง ใชกบั นํา้ สะอาด สําหรับงานภาคเกษตรกรรม, งาน อุ ต สาหกรรม, งานสาธารณู ป โภค และอาคารสถานที่ตางๆ

59 มกราคม-กุมภาพันธ 2555 105


ผลิตภัณฑ ชุดเกียรมุมฉากที่สามารถชี้คาตําแหนงไดแมนยํา ชุ ด เกี ย ร มุ ม ฉาก Mitrpak สหรัฐอเมริกา ที่ออกแบบสําหรับใช งานกับระบบสายพานลําเลียง, การ ผลิต, การบรรจุภัณฑ และในกระบวนการตางๆ ทีต่ อ งการระบุหรือชีค้ า ตํ า แหน ง ที่ ล ะเอี ย ดแม น ยํ า สํ า หรั บ เกียรมุมฉาก ตัวขับ เปนไปตามขอ กําหนด AGMA Class 1 Service Condition (1.0 service factor) และ ใหการหมุนที่ราบรื่น, การทํางานที่ ปราศจากการสัน่ เหมือนกับคา Backlash เปนศูนย รองรับการใชงานกับ เพลาอินพุต 1 เพลา และ เอาตพุต 1 เพลา หรือเพลาคูในอัตราทด 1:1

หรือ 2:1 โดยมีขนาดเพลาเอาตพตุ 8 มม. 11 มม. 14 มม. 19 มม. และ 24 มม. ชุดเกียรมุมฉากนี้ มีเฟองดอก จอกแบบเฉียงทีท่ าํ จากเหล็กกลาเจือแข็ง (Hardened alloy steel) ประกอบ

อยูในตัวเรือนอะลูมิเนียมที่ทนทาน พรอมทั้งเพลาขับทําจากเหล็กกลาไร สนิม โดยยึดเขากันดวยล็อกนัตและ ปดริมขอบดวยซีลจาระบีเพื่อปองกัน สิ่งปนเปอน

Eternus DX60 S2 ระบบจัดเก็บขอมูลรุนใหม จาก ฟูจิตสึ Eternus DX60 S2 เปนระบบ จัดเก็บขอมูลประสิทธิภาพสูงรุนใหม จาก ฟูจิตสึ สําหรับธุรกิจ SME ที่ รองรับการใชงานดานสารสนเทศ ที่ เหมาะสําหรับธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดเล็ก ทีเ่ นนเรือ่ งความคุม คาดาน ราคา และความสามารถในการขยาย ระบบให ร องรั บ ตามความต อ งการ ของข อ มู ล ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น สํ า หรั บ ธุ ร กิ จ ขนาดกลางและขนาดเล็ก ดวยการ ผนวกคุ ณ สมบั ติ ด  า นประสิ ท ธิ ภ าพ และการทํางานทีแ่ ข็งแกรง ผนวกกับ ความยืดหยุนและงายในการใชงาน ซึ่งจะชวยผูใชงานแกปญหาในเรื่อง ของการจั ด การและความต อ งการ พื้นที่ที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ของขอมูลดวย ตนทุนที่เหมาะสม Eternus DX60 S2 เป น ผลิตภัณฑที่พัฒนาขึ้นมาโดยเฉพาะ เพื่อธุรกิจขนาดกลางและเล็กที่ตอง การควบรวมและจัดการระบบขอมูล

106

จากศูนยกลาง ตลอดจนระบบจัดเก็บ ข อ มู ล ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได ใ ห กั บ สํ า นั ก งาน สาขา นอกจากนีย้ งั รองรับการใชงาน ดานสารสนเทศในดานตางๆ ไมวาจะ เปนแอพพลิเคชั่นสําคัญๆ ดานธุรกิจ ฐานขอมูล เซิรฟเวอรเสมือน และ คลังขอมูลของธุรกิจ ผลิตภัณฑกลุม Eternus กําลัง จะเปนโซลูชนั ดานจัดเก็บขอมูลทีค่ รบ วงจรของฟูจติ สึ ทีต่ อบสนองธุรกิจได ทุกขนาด และเปนเบื้องหลังความ สําเร็จของธุรกิจในดานประสิทธิภาพ เสถียรภาพและพลังในการปกปอง และจัดการขอมูลทุกรูปแบบที่อยูใน ธุรกิจ

59 มกราคม-กุมภาพันธ 2555

ดวยความสามารถในการขยาย ความจุสูงสุดถึง 72 TB เทียบไดกับ การบันทึกรายการทีวใี นคุณภาพแบบ ดีวีดีมากถึง 72,000 ชั่วโมง หรือ มากกวา 8 ป แบบไมหยุด Eternus DX60 S2 เปนผลิตภัณฑในตระกูล Eternus DX ที่ฟูจิตสึไดพัฒนาระบบ จัดเก็บขอมูล รวมถึงสถาปตยกรรมที่ สอดคล อ ง และซอฟต แ วร ใ นการ บริ ห ารจั ด การที่ เ หมาะสม ซึ่ ง เป น ระบบจัดเก็บขอมูลที่สามารถผนวก เขาดวยกันไดอยางไรรอยตอ ไมวา จะ เป น ระบบสํ า หรั บ การใช ง านทั่ ว ไป จนถึงรุนที่ใชงานสําหรับศูนยขอมูล เพือ่ ใหไดระบบจัดเก็บขอมูลทีม่ นั่ ใจได


ผลิตภัณฑ วาจะมีประสิทธิภาพดานการใชงานใน ธุรกิจและรองรับการเติบโตในอนาคต Eternus DX60 S2 ชวยให ระบบจัดเก็บขอมูลทําไดงา ยและตรง ไปตรงมา ดวยระบบการจัดการของ ซอฟตแวร Eternus SF Express ที่มาพรอมกับ Eternus DX60 S2 ซึง่ จะชวยขยายประสิทธิภาพดานการ ใชงาน ไมวา จะเปนขัน้ ตอนการติดตัง้ ปรับแกและบริหารจัดการโครงสราง ของระบบจัดเก็บขอมูล นอกจากนี้ ยังทํางานเชื่อมกับ

โครงสร า งด า นไอที ที่ มี อ ยู  รวมถึ ง ระบบปฏิบัติการที่อยูบนโฮสตเซิรฟเวอร และยังรองรับการทํางานรวม กับเซิรฟเวอร ระบบเครือขายและ โซลูชันการสํารองขอมูลจากหลาย แบรนด โดยสามารถทํางานไดอยาง รวดเร็วบนระบบของ Eternus ชวย ลดทัง้ เวลาและภาระใหกบั ผูด แู ลระบบ อยางเห็นไดชัด Eternus DX60 S2 จึงเปน ผลิตภัณฑหลักของโปรแกรมดานชอง ทางของระบบจัดเก็บขอมูล เพือ่ ตอบ

โจทยธุรกิจขนาดกลางและเล็ก ดวย ระบบทีอ่ อกแบบเพือ่ ตอบสนองความ ตองการ และสรางโอกาสทางธุรกิจให กับพันธมิตร Eternus DX60 S2 นี้ สามารถขยายดิสกแบบ RAID ได สูงสุด 24 ลูกรองรับความเปลี่ยน แปลงไดตามความตองการของธุรกิจ อีกทั้งยังสามารถเลือกที่จะเพิ่มการ เชือ่ มตอแบบ iSCSI และ SAS สําหรับ การรองรับระบบ Fibre Channel ที่ ชวยใหความคุมคาสูงสุดใหกับการ ลงทุนดานทรัพยากรสารสนเทศ

Kodak Prosper 5000XL Press เครื่องพิมพสีอิงคเจ็ทความเร็วสูง

Kodak Prosper 5000XL Press เครือ่ งพิมพสอี งิ คเจ็ทความเร็ว สูง ที่เหมาะสําหรับการพิมพงานใน ปริมาณมาก และมีขอมูลที่แตกตาง หลากหลาย เพื่อตอบสนองความ ตองการลูกคาเฉพาะกลุม ดวยระบบ การพิมพที่ลํ้าหนามากถึง 175 Lpi

ความเร็วการปอนแบบมวนสูงถึง 650 ฟุตตอนาที หรือ 200 เมตรตอนาที เครื่องพิมพสีอิงคเจ็ทรุนนี้รอง รับงานพิมพตอเดือนสูงถึง 90 ลาน หนากระดาษ A4 และสามารถพิมพ ลงบนกระดาษแบบ Coated และ Uncoated รวมถึงกระดาษเคลือบมัน ที่มีนํ้าหนักมาตรฐานอยูระหวาง 45

gsm-300 gsm (30 lbs.-200 lbs.) ซึ่งมีการผสมผสานที่ลงตัวระหวาง ความเร็วและคุณภาพ โดยสามารถ สรางชิน้ งานไดสงู สุด สําหรับกลุม การ พิมพ 8 หนา 12 หนา และ 16 หนา

ไขปัญหาไฟฟ้า

ถาม : หากพบเครื่องวัดหนวยไฟฟาจมนํ้า แตมีความจําเปนตองเดินทางสัญจรผาน จะทราบไดอยางไรวามีไฟรั่วบริเวณนั้น ตอบ : หลีกเลี่ยงใหหางจากเครื่องวัดหนวยไฟฟานั้นถายังไมมีการตัดไฟ และใหแจงการไฟฟา ที่รับผิดชอบมาตัดกระแสไฟฟาทันที ถาม : เตารับและอุปกรณไฟฟาที่จมนํ้า หลังนํ้าลดแลว จะมีวิธีการตรวจสอบอยางไรวาสามารถ นํากลับมาใชงานไดตามปกติ ตอบ : กรณีเตารับ แนะนําใหเปลี่ยนใหม เนื่องจากอาจมีสนิมหรือขี้เกลือ อันเนื่องจากโลหะแชในนํ้า หากเปนอุปกรณไฟฟาควรใหชางที่มีประสบการณตรวจสอบวาสามารถนํากลับมาใชงานไดหรือไม ที่มา การไฟฟานครหลวง

59 มกราคม-กุมภาพันธ 2555 107


(

) .......................................... ..............................................

/

( ........................................................)

EC

* !" # $"% & $ " " ' * / - ..................................................................................................................................................................... ...................................................................................... ..................... ................. ............................................................................................................ ........................................................................................ !" # !". ..................................... $ !# ." .........................

/% .................................................................................................................... & .............................................................................................. / ' ........................................................................... ( / .................................................................................................................. ) ' ......................................................................................... * +" ., ........................................................................ 0! !,.................................................................................................... 0! .................................................... $ & ............................................ E-mail...................................................................................... ........................................................................................................................... !". ......................... $ !# ." ..................... /% ...................................................................................................... & ................................................................................................ / ' ................................................................................................. ( / ............................................................................................................. ) ' ....................................................................................................... * +" ., ......................................................... 0! !,............................................................................................................................. 0! ..................................................................................................... 1 2) " ' ......................................................................................................................................................................................................... ( ! ) ......................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

! /"# $ % ! !/% EC & '

& ' ( ) 12 24 5 x 12 5 x 24

% ! ! ( ) $B FG ( 50 )

500 950 1,800 3,300

$B & ( 75 )

750 1,450 2,700 4,950

EC ( 2 ) ( 50 )

540 1,000 1,900 3,250

. .................................!" .................................#

$ % & ' ...........................................................

" 6 ! $ 6 !

" # $ % & # ' / 6 / A * " (+ . * ) ' $ % & # + + / BC - : 6 * + , - /

- 158-0-82377-9 @ $ : " % 6 @ $ + , 7 % * + 6 - # :

- 032-2-71585-4 + / , * + 6 , " & -

- 055-2-30081-7 # % / 6 6 @ 7 * + < - / *

- 240-2-03096-5 " * + > * - , , - 153-1-25818-2 ! ) ** < . ........................................................... ** (

!" #$% (Pay in) & " # #' % * + , -" ", ."* : : : - @ 6 ,

www.me.co.th 77/111 26 10600 02 862 1396-9 02 862 1395 E-mail : member@me.co.th (BTS

)

108

59, - 2555


!" # $ " % - ........................................................................................................................................... ................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................... ................................................ E-mail...............................................................................

2101 1113 1114 1116 1104 1115 1106 1107 1108 1109 1110 1111 1112 1117

EC

....................................................................... !"

15 % 10 %

1 ( , , !, " ) 2 ( , , , " ) 3 ( , # $%!, , "& , , ! ) 4 ( " $' , *$- , + . - , , ! , " ) 5 ( " $' , *$, +. , - ! , " ) 6 ( " $' , / $, *$, , , , ! , +. , : ) 7 ( ;$; $ /, ; < , / ,

=;% ) 8 ( " , , >$# , < ? %) 9 ( , , / $) 10 ( "< , "& ) 11 ( + . , % @$, $) 12 ( # $%!, $%!, < $ ) 1 NEW

600 220 180 220 185 220 220 230 240 190 195 155 155 295

510 187 153 187 158 187 187 196 204 162 166 132 132 251

540 198 162 198 167 198 198 207 216 171 176 140 140 266

120 140 240 180 160 165 195 215 235 310 305 100 250 150

102 119 204 153 136 141 166 183 200 264 260 85 213 128

108 126 216 162 144 149 176 194 212 279 275 90 225 135

- 1201 1202 1203 1204 1205 1206 1207 1208 1209 1210 1211 2201 2202 2203

"AAB 1 ( % C $ , B $ % <% "AAB , $ !, < / "AAB ) "AAB 2 ( B $ % <% "AAB , < $ "AAB , < / "AAB , % !) "AAB 3 ("A , % !, < / , "AAB , ) "AAB 4 ( $ "AAB , "A , * $ ! D % !, "AAB " ) "AAB 5 ( , , ? %) "AAB 6 ( % !, $ "AAB , < / ) "AAB 7 ("AAB " , % $, & ! $ ) NEW 1 ("A% - D , & ! $ , UPS, PF, % $) 2 ("A% - D , & ! $ , UPS, PF, % $) NEW

! " 1 NEW # $ %! & 1 NEW "AAB

"AAB % $ ( D ) E D"AAB G / $; H EAGLE

77/111 26 10600 ! " 02 862 1396-9 ! 02 862 1395 E-mail : member@me.co.th www.me.co.th

(BTS ') & *+ )

! " " #$ % " &' % ' ( #) 7 % # # + , / ) - # &' $ . # 0 # &' % ". 7 $ 1 1 ' $"

500 50

*$ ' & $- ! . % &! / ! + ! $ ( . '$ ' + ) / ! '!* %/ ;< $- ! . + & * ' ) &'$ + &'$& ; ' ' > / + ; $ ; ' &'$ + ;?@ ' ) & *+ + & *A ; +; ' ' % &'$

% &! 158-0-82377-9 032-2-71585-4 055-2-30081-7 240-2-03096-5 153-1-25818-2

! ................................ ( 3 4 5 3"6 7 3"6 # 3 .% 5 4 ."/ ) !" #$% (Pay in) & " # #' * # + , -" ", ."/ 0 : ! 1# & # 2

59, - 2555 109


!" # $ " % - ........................................................................................................................................... ................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................... ................................................ E-mail...............................................................................

2204 2205 2206 2207 2209

EC

....................................................................... !"

-

15 % 10 %

D $' C $

1 "AAB "AAB < D $ < $ < D $> % !"AAB % % ' "AAB

320 270 160 200 470

272 230 136 170 400

288 243 144 180 423

125 165 260 280 500

107 141 221 238 425

113 149 234 252 450

165 170 175 205 240 245 320 680 70 280 300 370

141 145 149 175 204 209 272 578 60 238 255 315

149 153 158 185 216 221 288 612 63 252 270 333

120 220 280 420

102 187 160 357

108 198 170 378

- - 1301 1302 1303 1304 2301

1 ( , , , , )

2 (D $' C $ , !, < D $,) C ! & A- ;. 3 ( *$, , ) NEW C ! & A- ;. 4 ( *$, !, M ) NEW

< / $

-! " - # $-% &' "( 1406 1407 1501 1502 1503 1504 2401 2402 2403 2404 2405 2406

H $

1 ( , !"#$ , % ) H $

2 ( & ' * & + , + , % - ) >$# 1 ( !>$# , $, ;: , D/ , H NO$ ) >$# 2 (>$# / , D $ , >$# " ) )/ ; !' 3 ( D $ , ;: , $, >$# / ) NEW )/ ; !' 4 ( D $ , ;: , D/ , !>$# ) NEW E D < $ <

Q$ G$ ? % R H R! $ ;$; < G$ > % H M < $ % <

M H T % $ <! $ $ D $ M

' - - )* 1701 1702 2502 2503

! + . ( 1) / CD E ( 2) /? " /

' >&

% <

NEW

( )

77/111 26 10600 ! " 02 862 1396-9 ! 02 862 1395 E-mail : member@me.co.th www.me.co.th

*$ ' & $- ! . % &! / ! + ! $ ( . '$ ' + ) / ! '!* %/ ;< $- ! . + & * ' ) &'$ + &'$& ; ' ' > / + ; $ ; ' &'$ + ;?@ ' ) & *+ + & *A ; +; ' ' % &'$

(BTS ') & *+ )

! " " #$ % " &' % ' ( #) 7 % # # + , / ) - # &' $ . # 0 # &' % ". 7 $ 1 1 ' $"

500 50

110

% &! 158-0-82377-9 032-2-71585-4 055-2-30081-7 240-2-03096-5 153-1-25818-2

! ................................ ( ! "# " $ ) !" #$% (Pay in) & " # #' * # + , -" ", ."/ :

59, - 2555


!" # $ " % - ........................................................................................................................................... ................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................... ................................................ E-mail...............................................................................

15 % 10 %

+ 1801 1802

EC ....................................................................... !"

& C >;! !** 1 (HVAC, % ? - , " $' - / $, "AAB ) & C >;! !** 2 (HVAC, , " $' - / $, "AAB )

NEW NEW

240 255

204 217

216 230

270

230

243

310 260 130 95 350 240

264 221 111 60 200 204

279 234 117 70 210 216

350 290 220

298 247 187

315 261 198

280 150 270 240 230

238 80 230 204 196

252 90 243 216 207

250 60 120

213 51 102

225 54 108

( , " . ( - . ( 2601

" ; $; ! 1

"(-/ . 1715 2702 2703 2704 2705 2706

* @ > NEW Y$ $ / $ $< C &. &F' &. $ * @ > - * (GMAW-Welding)

( ) ( )

$ 2802 2803 2804

$ $ $%! D $ # $%! $ # $%! < $

" - (% 0 1901 2901 2902 2903 2904

& %! & '$ *

' >&

< ;$; >E \! >E \! ? %$' < % <

NEW

( )

2001 2002 2003

/ ' %/$

$ Engineering Quick Reference 2554 NEW

77/111 26 10600 ! " 02 862 1396-9 ! 02 862 1395 E-mail : member@me.co.th www.me.co.th (BTS )

! " " #$ % " &' % ' ( #) 7 % # # + , / ) - # &' $ . # 0 # &' % ". 7 $ 1 1 ' $"

500 50

*$ ' & $- ! . % &! / ! + ! $ ( . '$ ' + ) / ! '!* %/ ;< $- ! . + & * ' ) &'$ + &'$& ; ' ' > / + ; $ ; ' &'$ + ;?@ ' ) & *+ + & *A ; +; ' ' % &'$

% &! 158-0-82377-9 032-2-71585-4 055-2-30081-7 240-2-03096-5 153-1-25818-2

! ................................ ( ! "# " $ ) !" #$% (Pay in) & " # #' * # + , -" ", ."/ :

59, - 2555 111


!" # $ " % - ........................................................................................................................................... ................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................... ................................................ E-mail...............................................................................

/

10%

" # +- + )# 1 " # +- + )# 2 " # +- + )# 3 " # +- + )# 4 " # +- + )# 5 + + (

+ + Waste Water Engineering Design Calculation " # & ( # - & ( # " #

(

) ( & ( # )# 1 (

) ( & ( # )# 2

100 300 200 500 400 500 100 100 400 100 200 200 300 400

3035 3374 3447 3609 6003 6094 6368 6385 6415 6637 6998

5052 5399 5061 5142 5225 5063 5064 5053 5058 5146 5054 5055 5059 5072

90 270 180 450 360 450 90 90 360 90 180 180 270 360

3064 3203 3844 5066 5843 6239 6370 6439 6421 6808 6882 6933

NEW NEW ! " # % ! &# # NEW " ' ! (

! NEW )# & 1 (#) # ' (*) )# & 2 ! +(#) # '( , NEW " # % NEW (

(#) # ' (

- ( ./ :' - '

195 180 320 300 300 380 180 250 250 180 150 230

176 162 288 270 270 342 162 225 225 162 135 207

295 250 120 195 150 195 150 230 180 320 135 260 250 165

266 225 108 176 135 176 135 207 162 288 122 234 225 149

! " # 3161 3229 3405 3526 3691 3 959 6089 6103 6210 6420 6563 6579 6956 6972

`

A..` + NEW R 'B ! # NEW b A..` + R NEW (

A..`

PLC CD PLC - # =

A..`

: : '( : ' # ( A..` ELECTRICAL TRANSFORMER )# # = A..` B F & A..` 1

PLC :R : '( : ' + A..` (% ! ) NEW

77/111 26 ! 10600 " 02 862 1396-9 02 862 1395 E-mail : member@me.co.th www.me.co.th (BTS )

112

10%

& + # R ( & " A + A\ ! # # ! # + # R ( " : R : HEAT PUMP

A\ ( :) # + ! # A +% B, B (# '( A\ ' (# '( (# 'A..`

155 250 245 150 250 175 200 350 380 135 220

140 225 221 135 225 158 180 315 342 122 198

- * ( ; 185 NEW

- : ( ! 160 (* ( !# + * 180 NEW 250 111 - ! # !# !<= (Quality Control) 275

+ ! @ #& +A @ (Maintenance the Profit ) 650 ( B, & # ,) ) F G 185 NEW 185 (

" # - A )B #& * * (Spare Parts H) 350 - ...

* (

(Introduction to Lean) 100 ! #" ' ,) K & M! -A - O@ 290 !# !<= 520 &# G = + A :R (Kaizen) 160 ZERO LOSS TPM % B- ) 230 # ' 180 & # 300 # * ; 250 ! 330 + * ( !# NEW 290 NEW 250 '

(MSA) Layout Kaizen ! ' ' NEW 230 A :R # F

180 G # \ & ( A ]K (* 200 NEW 200 ( B, & # (

( * 200 " #( # = 200 (* ( !# * % ! B #) 280

167 144 162 225 248 585 167 167 315 90 261 468 144 207 162 270 225 297 261 225 207 162 180 180 180 180 252

NEW

3159 3278 3408 3483 3626 3807 3821 3984 4871 6055 6076 6266 6268 6281 6372 6321 6358 6381 6416 6418 6424 6432 6445 6514 6571 6603 6982

( . ) !" # $ % & '% * ! % + '% * !$ ! % '% !,/ % & # # '% # : !# ! % $ $ ; '%

500 50

! " " #$ % " &' % ' ( #) 7 % # # + , / ) - # &' $ . # 0 # &' % ". 7 $ 1 1 ' $"

EC ....................................................................... !"

158-0-82377-9 032-2-71585-4 055-2-30081-7 240-2-03096-5 153-1-25818-2

................................ ( ) ! " # $ %& '! * +, - . (Pay in) / * 0 '$1 # $ %"2 3 %4 *# 3 # #5 : - 6 / 7

59, - 2555


!" # $ " % - ........................................................................................................................................... ................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................... ................................................ E-mail...............................................................................

3284 6098 6279 6913

./ . ! " #

NEW

10%

160 180 420 330

144 162 378 297

145 230 250 280 180 185 95 160 195 200 160 200 80

131 207 225 252 162 167 86 144 176 180 144 180 72

3471 ( (

# , NEW 175 3479 Mind Map Mind Manager (= ; ) 220 3500 B K) A#) R 150 3561 b G # : Toyota Culture 485 3564 @ < R @ < Retire Young Retire 250 3588 ! G' ' Strategies for the Geen 359 3663 - ! CEO 245 3817 Competency # F B-B, j R * 200 3820 & # , & 145 3866 : ' B j " NEW 170 6229 Logical Thinking ) # , ! & A 200 6973 G'( 130

259 240 495 229 198 198 155 199 115 299

234 216 446 207 179 179 140 180 104 270

' "'"&#/ '"&# 3022 & " F ' 3271 ( K ] ,) ' 3330 , ( ) & 3393 O@} ( ; A..` ' 3565 & ' 3 593 & " F ' 3765 & ' 3814 & ' : 3930 ! " # $% & $ ' () * NEW 6278 & '( ~ : NEW 6674 R ' F ' 6886 & ' % EFI (% ! B #) ) 6966 ;

% +# , R ' NEW

$ & # 3042 ) # (

(

# NEW 3016 ) NEW 3044 Auto CAD 2010 (

" # H 3307

" & - 3413 " G! - NEW NEW 3417 #

3581 ( A 3608

# 3815 & # ( ) NEW 8871 AutoCAD 2009+CD

EC ....................................................................... !"

10%

/$ %"

158 198 135 437 225 324 221 180 131 153 180 117

& / ' 3058 3219 3628 6310 6386

#R R A ' ( B #)* ) Social Media NEW !< R j ! A - (#) ( ) K & M! , -

180 180 200 180 NEW 295

162 162 180 162 266

$ 3049 ) 100 100 G @ ! = 3054 = , =,

3105 ! + ' , ) , # Detox HANDBOOK 3840 Anti-Aging , 3983 ) 100 ) # # ! 6330 - ( B- & # "- 'B )

165 165 169 245 195 195

149 149 153 221 176 176

325 185 190 160 195 99

293 167 171 144 176 90

/$ %" 3066 - # !@ ' 3224 ` # A * G' 3297 %#G! - ) A B j ) 3407 - , ! G' Strategic Management 3401 TQM )# b ' ) # j " 3466 + (

# ,

200 95 180 190 175 175

77/111 26 ! 10600 " 02 862 1396-9 02 862 1395 E-mail : member@me.co.th www.me.co.th (BTS )

! " " #$ % " &' % ' ( #) 7 % # # + , / ) - # &' $ . # 0 # &' % ". 7 $ 1 1 ' $"

500 50

180 86 162 171 158 158

0001 ) ) )

0002 B - 3 0003 - M 3443 - ! #A - O@ % # 3760 Love Analysis # "- '( ) Vol.2 3763 R# ", (% K)

( . ) !" # $ % & '% * ! % + '% * !$ ! % '% !,/ % & # # '% # : !# ! % $ $ ; '%

158-0-82377-9 032-2-71585-4 055-2-30081-7 240-2-03096-5 153-1-25818-2

................................ ( ) !" #$% (Pay in) & " # #' * # + , -" ", ."/ 0 : ! 1# & # 2

59, - 2555 113


ดัชนีโฆษณา Á ¡¸ Á ¦ ·Ê ¦»p hh Á°¢ Á° Á ®¨´ Ä ¸Á¤ ­r hhh h ® oµÄ Á°È¤Â° r°¸ ® oµ ­¸ Á à 襸°· ­ ¦¼Á¤ r hh ­¸ °­¦µ­ Á¤Á °¦rà ¦ · r ­¸ űÁ Á°È ·Á ¸¥¦·É hhhh Á° ¸ ¸ ®¨´ ดัชนีโฆษณาไดจัดทําขึ้นเพื่อสะดวกตอการคนหารายชื่อบริษัทตางๆ ที่ลงโฆษณาในวารสารฉบับนี้ โดยไมมีขอผูกมัดใดๆ กับบริษัทที่ลงโฆษณาแตอยางใด

ผูสนใจสามารถสั่งซื้อไดที่ศูนยหนังสือ เอ็มแอนดอี หรือสั่งซื้อไดที่

114

59, มกราคม-กุมภาพันธ์ 2555


²¾ กลั§บ·Æส «ูพÄÔ¦ื้น ¿¦ ฐาน ผศ. ถาวร อมตกิตติ์

การใชโวลตมเิ ตอร

ารตรวจอุปกรณไฟฟาและอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกส เชน ทรานซิสเตอรและตัวกรองไฟฟานั้น หาก ไมมีเทคนิคในการใชเครื่องมือวัดก็ เปรียบเสมือนคนตาบอด ซึง่ เครือ่ งมือ วัดพืน้ ฐานทีม่ คี วามสำคัญในการตรวจ และทดสอบไฟฟาไดเปนอยางดี คือ โวลตมิเตอร โวลตมเิ ตอรเปนเครือ่ งมือวัดที่ มีความสามารถหลากหลาย จนถือวา เปนเครื่องมือชุดสำเร็จรูปที่พกพาได สะดวกและชนิดติดตรึง โดยมีทงั้ แบบ เข็มและแบบดิจทิ ลั ตามรูปที่ 1 ปจจุบนั โวลตมเิ ตอรเปนเครือ่ ง มือวัดทีท่ ำงานไดหลายหนาที่ รวมไป

ถึงการเปนตัวบันทึกขอมูลของเครือ่ ง คอมพิวเตอรสวนบุคคลก็ได ดังนั้น หากมีมเิ ตอรทสี่ ามารถวัดโวลต, แอมป, โอหม และการทดสอบตางๆ ไดนั้น สิง่ แรกทีค่ วรกระทำกอน คือ ศึกษาคู มือและทำความคุนเคยกับโพรบใน การทำงานตางๆ นอกจากนัน้ จะตอง ทราบถึงการปรับตัง้ สวิตชอยางถูกตอง เพื่อใหเกิดความปลอดภัยและแสดง ผลไดอยางชัดเจน ในการวัดโวลตและโอหมนิยม ใชเครื่องวัดโวลต-โอหมมิเตอรอยาง งายๆ ตามรูปที่ 2 ซึง่ อาจจะเปนแบบ โพรบและแบบแคลมปที่สะดวกตอ การใชงาน

รูปที่ 1 โวลตมเิ ตอรรปู แบบตางๆ

การวัดสัญญาณไฟฟากระแส สลับความถี่ต่ำและไฟฟากระแสตรง ถือวาเปนการวัดแบบพืน้ ฐาน มิเตอร บางชนิ ด อาจจะวั ด สั ญ ญาณไฟฟ า กระแสสลับไดเปนคา "rms จริง" (true-rms) หรืออาจจะเปนคา "rms เทียม" (pseudo-rms) ดังนัน้ จึงควร ทราบถึ ง ขอบเขตจำกั ด ความถี่ ข อง มิเตอรที่จะใชจากคูมืออยางจริงจัง การวัด rms เทียมจะถูกตอง เฉพาะสัญญาณไฟฟากระแสสลับที่ เปนคลืน่ ไซนูซอยดเทานัน้ แตจะเกิด ผิดพลาดเมือ่ วัดรูปคลืน่ จตุรสั (square) หรือรูปคลื่นสามเหลี่ยม (triangle) หรือสัญญาณทีไ่ มเปนไซนูซอยด การ

รูปที่ 2 การใชมิเตอรวัดโวลต-โอหมลักษณะตางๆ

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

115


กลับสูพื้นฐาน โพรบ

รีซสิ แตนซ ทางผิว

มิเตอร มองเปนขนาน

โพรบ รูปที่ 3 การวัดกระแสไฟฟาโดยใชกฎของโอหม

ใชงานทีเ่ กินขอบเขตจำกัดความถีข่ อง มิเตอรจะทำใหความเทีย่ งตรงลดนอย ลง โดยสวนใหญแลวการใชโวลต มิเตอรจะตองการชุดตอตางๆ เพือ่ วัด กระแสไฟฟา ความผิดพลาดและพลัง้ เผลอที่เกิดบอยๆ คือ การนำโพรบ สำหรับวัดแรงดันไฟฟามาใชวดั กระแส ไฟฟา ซึง่ หากมิเตอรไมมฟี ว สปอ งกัน กระแสสูงไดอยางเพียงพอ จะทำให เกิดอันตรายตอผูใชงานได ในการวั ด กระแสไฟฟ า ที่ มี ความถีส่ งู และมีคา ต่ำดวยมิเตอรโดย ตรงจะทำไดยากกวา เนือ่ งจากมิเตอร อาจจะไม มี ค วามละเอี ย ดเพี ย งพอ หรือบางครั้งความยาวของสายโพรบ และอิ ม พี แ ดนซ ข องมิ เ ตอร อ าจจะ รบกวนวงจรความถีส่ งู ได เชน การวัด กระแสไฟฟาโดยตรงโดยวัดแรงดัน ไฟฟ า คร อ มตั ว ต า นทานที่ ท ราบค า แลวใชกฎของโอหมหาคากระแสไฟฟา (I = V/R) ตามรูปที่ 3 จากรูปที่ 3 นั้น หากตัวตาน ทานมีคา 10 โอหม และวัดแรงดัน ไฟฟาครอมตัวตานทานไดเปน 10 mV แสดงวามีกระแสไฟฟาไหล 1 mA (10 mV / 10Ω)

116

ตัวตานทาน

รูปที่ 4 รีซิสแตนซอื่นอาจมีผลใหการวัดผิดพลาด

รูปที่ 5 มิเตอรตรวจวัดทีจ่ ดั ทำเปนระบบเครือขายได

ตัวตานทานที่ใสในวงจรเพื่อ ทำการวัดตามรูปที่ 3 อาจจะทำใหเกิด ความผิดพลาดได เนื่องจากหากตัว ตานทานมีคาต่ำมากก็อาจจะทำให รีซิสแตนซของโพรบมีผลตอการวัด มากขึ้น ซึ่งบางครั้งอาจจะสูงถึง 1 โอหม ในกรณีนี้จะตองแตะโพรบทั้ง สองขางและบันทึกคารีซสิ แตนซทวี่ ดั ไดของโพรบ เพือ่ ใชลบออกจากการวัด ใหไดคา ทีถ่ กู ตอง ทัง้ นีห้ ากตัวตานทาน มีคา สูงเกินรอยกิโลโอหมจะตองไมให รีซสิ แตนซอนื่ ขนานกับรีซสิ แตนซอนื่ ทีไ่ มรคู า เชน รีซสิ แตนซทางผิว (skin resistance) ของมือ ซึ่งอาจจะมีคา ตัง้ แต 50 kΩ ถึงมากกวา 1 MΩ ตาม รูปที่ 4 ดังนัน้ หากสัมผัสโพรบทีจ่ ะวัด ก็จะทำใหคารีซิสแตนซมีผลตอคาที่ อานไดทันที

59, มกราคม-กุมภาพันธ 2555

ปจจุบันนิยมจัดเก็บขอมูลที่วัด จากโวลตมิเตอรดังกลาวไวเพื่อตรวจ สอบและวิเคราะหระบบไฟฟา ซึง่ อาจ ประกอบดวยเซนเซอรตา งๆ รวมกับ โวลตมเิ ตอรแบบดิจทิ ลั และตัวบันทึก ขอมูล นอกจากนั้น ยังสามารถรับ สัญญาณดานเขาทีเ่ ปนแบบแอนะลอก จากเซนเซอรมาเปลีย่ นเปนสัญญาณ ดิจทิ ลั และจัดเก็บไวในหนวยความจำ เพือ่ นำไปใชงานตอไป ซึง่ เปนรูปแบบ อยางงายตามรูปที่ 5 ทำใหสามารถจัด ทำเปนระบบเครือขายรวมกับขอมูล อื่นๆ ไดอยางสมบูรณ นั่นคือ เปน ระบบเครือขายในการตรวจวัดและ ควบคุมนั่นเอง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.