เทคนิค issue 336

Page 1



POT-TECH DS 130 M ˵¥n¯ ˵¤É

˸®¿½·À¸°¾§ ¿¦ º®§À°Å ¤¾Ó´Ï¨ • ¥³ Ã¥ ³ 赮 n %DU • ¥¶£´ ˵ ·ÊÅ n ¥³ Æ n §¶ ¥ ´ · • ¬´£´¥ µ¯º ­¢»£¶Æ n ³Ë à m °& °& • £¯Â ¯¥q ´ + 3 530 9ROW

ARTIC ˵¤É

¨°½¡Á¶ °°® ¾Ô¦Ë¯ÂÓ¯® ¿ ºÁ¢¿²Â°Æ¨·´¯ ·½¡´ Î Í ° ·° ¿ Ë °ÄºÓ ©²Á¢ ¿ ·¿°·¾ Ë °¿½¸ HDPE ¤¦Ì° °½Ì¤ ̲½¨{º ¾¦ ¿°©Å ° º¦Î¦°½¯½¯¿´

ARTIC 130 M • ¥³ Ã¥ ³ 赮 n %DU • ¥¶£´ ˵ ·ÊÅ n §¶ ¥ ´ · • £¯Â ¯¥q ´ + 3 530 9ROW £·¥²  c c ¯³ Ä £³ ¶  ´²¥º m '6

ARTIC 180 T • ¥³ Ã¥ ³ 赮 n %DU • ¥¶£´ ˵ ·ÊÅ n §¶ ¥ ´ · • £¯Â ¯¥q ´ + 3 Æ¡¡i´ 9ROW £·¥²  c c ¯³ Ä £³ ¶  ´²¥º m '6

• £·¥²  c c ¯³ Ä £³ ¶Å ³© $872 21 2))

• £· º i¯ ³ ² ¥³ $17, 6&$/( ¥n¯£ ³ ³ ˵¬µ¥¯

(Ë «¿½°Å ¦ POT-TECH DS 160 T/160 Bar, 140°C, 13 Lts/min, 5.4 H.P./2800 RPM., 380 V.)

PRESS TEC ˵¤É

˸®¿½·À¸°¾§ ¿¦ºÅ¢·¿¸ °°®¸¦¾ • ¥³ Ã¥ ³ 赮 n %DU • ¥¶£´ ˵ ·ÊÅ n §¶ ¥ ´ · • £¯Â ¯¥q ´ + 3 530 9ROW

£·¥²  c c ¯³ Ä £³ ¶  ´²¥º m '6

Optional Accessory Cod. KTRI 39114

ZAPHIR-DST ˵¥n¯ ËµÂ¤É PV5 DS 250T ˵¤É

˸®¿½·À¸°¾§ ¿¦ºÅ¢·¿¸ °°®¸¦¾ ˸®¿½·À¸°¾§ ¿¦ºÅ¢·¿¸ °°®¸¦¾ • ¥³ Ã¥ ³ 赮 n %DU • ¥³ Ã¥ ³ 赮 n %DU • ¥¶£´ ˵ ·ÊÅ n §¶ ¥ ´ · • ¥¶£´ ˵ ·ÊÅ n §¶ ¥ ´ · • ¬´£´¥ ¥³ ¯º ­¢»£¶Æ n °& °& • £¯Â ¯¥q ´ + 3 530 • £¯Â ¯¥q ´ + 3 530 9ROW 9ROW • £·¥²  c c ¯³ Ä £³ ¶Å ³© $872 21 2)) • ¬´¤ · ˵¤´© £ ¥ £·§n¯­£º Â É ¬´¤ · • ³© %RLOHU  | ¬Â §¬ ³Ë ¤´© £ ¥ • £·¥²  c c ¯³ Ä £³ ¶Å ³© $872 21 2))

• £· º i¯ ³ ² ¥³ $17, 6&$/(

¥n¯£ ³ ³ ˵¬µ¥¯

Optional Accessory Cod. KTRI 39118

¥ºm ¶Âª« U %D¥ ³ ² ³

• ¶ ³Ë z £ ˵ n©¤¥² $17, 9,%5$7,21 &283/,1*

m¯ ³ ¬¶ Š§¹¯ ¹Ë¯Â ¥¹Ê¯ · ˵å ³ ¬» º ¥³Ë Ä ¥ ¶ m¯Â¥´  ¹Ê¯ £ ´¥¬´ ¶ ¥²¬¶ ¶¢´ ¯³ ¤¯ ¤·Ê¤£ ¯  ¥¹Ê¯ ç² ¥¶ ´¥ ­§³ ´¥ ´¤ ´ Â¥´ ¤¶ ·¥³ m¯£Â ¥¹Ê¯ ´ ¯¶ ´§· º ¶ ¥n¯£ ¥¶ ´¥¯º ¥ q­³© m¯ ¶Âª«  m ­³© m ¥´¤ ­³©§n´ m¯ ­³©§n´ ³ ­³©Ã ¥ ³ ­³© » Ä § ­³©­£º  ¶Ê£Ã¥ ³ ¶Âª« ­³© ¯ ¯º ¥ q­©³  ¶£Ê  ¶£ ¶Âª«¬´£´¥ Å n ³  ¥¹¯Ê º ¤·­ Ê ¯n

ARTIC MAX 360T ˵¤É

˸®¿½·À¸°¾§ ¿¦¸¦¾ ®¿ ¸°Äº ¾¡¢½ °¾¦ • ¥³ Ã¥ ³ 赮 n %DU Å n 5RWDWLQJ 1R]]OH  ·¤  m´ %DU

• ¥¶£´ ˵ ·ÊÅ n §¶ ¥ ´ · • £¯Â ¯¥q ´ + 3 530 9ROW • ¶ ³Ë z £ ˵ n©¤¥² )/(;,%/( -2,17

(Ë «¿½°Å ¦ 220 Bar, 21.6 Lt/M, 10 H.P./1400 RPM ®Â°½§§Ë¨v¡-¨v¡ º¾¢Í¦®¾¢ÁΦ¢¾´ AUTO ON/OFF)

¯¶ ´£¥² ¬º ¶¬´¥©¶ ¶ ³¤ à © ¬´£Â¬ Å Â ´Æ ¥º  ± 62, ,17+$0$5$ 687+,6$1 :,1,7&+$, 5G 3+$<$7+$, %$1*.2. 7+$,/$1' ¬´ ´­´ Å­ m Ä ¥´ ¬¥² º¥·  ·¤ Å­£m ¥²¤¯ § º¥·


81627_01+02








 บริษัท เอ็มแอนดอี จำกัด 77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชัน้ 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600   02 862 1396-9   02 862 1395   www.me.co.th, www.technic.in.th   info@me.co.th, ad@me.co.th editor@me.co.th

การดำเนินการสีเขียวในภาคอุตสาหกรรม

⌫ ⌦  ดร.ทวี เลิศปญญาวิทย, ดร.สุรควง อัศวานิชย, ชยันต ศาลิคปุ ต, สุรชาญ สุวรรณโณดม, ฤทธิ์ ธีระโกเมน ○

   ดร.พงษธร จรัญญากรณ, ดร.วุฒิชัย นีรนาทวงศ, เกชา ธีระโกเมน, ศักดิช์ ยั ทักขิญเสถียร, รศ.ธีระยุทธ สุวรรณประทีป, รศ.ไชยะ แชมชอย, พงษศักดิ์ บุญธรรมกุล, ผศ.ถาวร อมตกิตติ,์ ทนง โชติสรยุทธ           ○

     ○



ผศ.ถาวร อมตกิตติ์ บพิธ โคนชัยภูมิ ถนัตร รอดประดิษฐ รัตติยา หาวงษ สุรสั วดี วิบญ ุ นัตพิ งษ, ธีรยุทธ สวนตะโก รพีพรรณ เหลืองเกสรสกุล  วิกรม สุพานิชยวทิ ย ○

 ลัดดาวัลย สยุ หาวงษ, นิภาพร บำรุงชาติ

     สมมาตร สุพานิชยวทิ ย ⌫  

 บริษทั 48 ฟลม โปรเซส จำกัด  บริษทั เอเชียเพรส จำกัด  บริษัท เพ็ญบุญจัดจำหนาย จำกัด

(ISSN 0857 6475) เปนวารสารรายเดือนทีเ่ นนการนำเสนอ ความรู ความคิดเห็น ความคิดสรางสรรค ขอมูลขาวสารตางๆ ของ เทคโนโลยีทางดานวิศวกรรม อุตสาหกรรม ตลอดจนการบริหาร การ จัดการ ทั้งนี้ก็เพื่อเสริมสรางการพัฒนาทางวิศวกรรม และการบริหาร งานใหเจริญกาวหนายิง่ ขึน้ ขอเขียนหรือบทความตางๆ ทีพ่ มิ พเผยแพรในเทคนิค นอกจากจะจัด หามาโดยกองบรรณาธิการแลว ยังยินดีเปดรับขอเขียนจากบุคคล ภายนอก รายละเอียดและขอกำหนดตางๆ ในการเขียนโปรดติดตอ กับบรรณาธิการจัดการ ○

บทความใดๆ ทีป่ รากฏอยใู นวารสารเทคนิค อาจเปนการเสนอขอคิด เห็นเฉพาะบุคคลของผเู ขียน วารสารเทคนิค และบริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด ไมจำเปนตองเห็นพอง หรือมีสว นผูกพันเสมอไป

สงวนลิขสิทธิ์ © 2555 โดย บริษัท เอ็มแอนดอี จำกัด ตามพระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิ์

ธุรกิจอุตสาหกรรมเปนกลมุ ทีไ่ ดรบั การกลาวขานมากทีส่ ดุ ในการทำให เกิดปญหาภัยพิบตั ทิ างสิง่ แวดลอม อีกทัง้ การแขงขันทางธุรกิจอุตสาหกรรม ยังเปนตัวผลักดันใหแนวโนมที่กระทบตอสิ่งแวดลอมรุนแรงมากยิ่งขึ้น ภาคอุตสาหกรรมทั่วโลกจึงหาทางปองกันและยับยั้งการกระทบตอ สิ่งแวดลอมดังกลาวหลากหลายรูปแบบ ซึ่งปจจุบันไดมุงเนนไปยังการ ดำเนินการสีเขียวในภาคอุตสาหกรรม ซึง่ เปนแนวทางในการประยุกตและ เพิม่ ขีดความสามารถในการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมใหแขงขันไดและรักษา สิ่งแวดลอมไปพรอมกันไดอยางตอเนื่องและสอดคลองกัน การพิจารณาประเมินการดำเนินการสีเขียวทำไดโดยการเปรียบเทียบ ผลผลิตทีไ่ ดออกมาทัง้ หมดตอการใชปจ จัยการผลิตทัง้ หมด ซึง่ รวมถึงการ ใชวตั ถุดบิ , แรงงาน และทรัพยากรทัง้ หมด การดำเนินการใหตอบสนองตอแนวคิดทางดานสิง่ แวดลอมดังกลาว และการประกอบธุรกิจจึงตองผสมผสานสามสวนอยางเหมาะสม คือ สิง่ แวดลอม, คุณภาพของสินคา และความสามารถในการทำกำไร ดานสิ่งแวดลอมควรมีการนำเทคโนโลยี 3 R มาใช คือ Reuse, Recovery และ Recycling ทางดานคุณภาพนัน้ ควรนำขอมูลจากผบู ริโภค มาพัฒนาและปรังปรุงคุณภาพโดยรวมถึงสิง่ แวดลอม สวนทางดานความ สามารถในการทำกำไรนั้นทำไดโดยใชพลังงานรวมถึงวัตถุดิบใหนอยลง และการพยายามทำใหจำนวนของเสียลดลง ซึง่ จะเปนการเพิม่ กำไรตามมา กลาวไดวาแนวคิดของการดำเนินการสีเขียวเปนการทำงานสอง ดานพรอมกัน คือ ดานนิเวศวิทยาและดานการผลิตที่ลดผลกระทบตอ สิ่งแวดลอม ซึ่งการดำเนินการสีเขียวในภาคอุตสาหกรรม เปนการสราง ผลตอบแทนทีด่ ใี หกบั ธุรกิจโดยการเพิม่ ความสามารถในดานตนทุนทีล่ ดลง และยังเปนการพัฒนาคุณภาพใหสามารถแขงขันไดอีกดวย

าด

พล  ไ ด ฉบับหนาพบกับ (ฉบับที่ 337, เมษายน 2555) ไม • เทคโนโลยีการดักจับและกักเก็บ CO2 • การออกแบบคูลลิ่งทาวเวอรที่ใชกับงานภาคอุตสาหกรรม • TQA - ความสอดคลองของเกณฑและความเขาใจที่ผิดพลาด เกีย่ วกับเกณฑ • การวิเคราะหหนาที่และการทำงานของชิ้นสวนมอเตอรเพื่อ ประกันงานซอม • ฯลฯ 336, มีนาคม 2555

9



การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

กฟผ.ใชงบประมาณหมื่นลานสรางหนวยผลิตโรงไฟฟาแมเมาะ

กฟผ.ใชงบประมาณหมนลานบาท สรางหนวยผลิตไฟฟาใหมที่โรงไฟฟาแมเมาะ กําลังผลิต 600 เมกะวัตต ทดแทนหนวยผลิตที่ปลดระวาง นายสุ ทั ศ น ป ท มสิ ริ วั ฒ น เพื่อใหมีประสิทธิภาพการผลิตมากยิ่งขึ้น ซึ่งขณะนี้อยูระหวาง ผู  ว  า การการไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง กระบวนการจัดทําประชาพิจารณ เพื่อรับฟงความคิดเห็นจาก ประเทศไทย (กฟผ.) กลาววา กฟผ. ประชาชน ซึ่งหากเปนไปตามแผนที่กําหนดคาดวานาจะใช เงินลงทุนกวา 10,000 ลานบาท และใชเวลาในการกอสราง มีแผนกอสรางหนวยผลิตไฟฟาใหม ประมาณ 4-5 ป 1 โรง ภายในโรงไฟฟาแมเมาะ ขณะนี้ยังไมสามารถระบุไดชัดเจนวาโรงไฟฟาใหมนี้ จะ ขนาดกําลังผลิต 600 เมกะวัตต เพื่อเขามาทดแทนหนวยผลิตเดิม เขาระบบไดเมื่อใด เพราะปจจุบันยังอยูระหวางการรับฟงความ ที่ปลดระวางโดยหนวยผลิตไฟฟา นายสุทัศน ปทมสิริวัฒน คิดเห็นจากประชาชน รวมทั้งการทํารายงานผลกระทบดานสิ่ง ใหม นี้ จ ะใช เ ทคโนโลยี ส มั ย ใหม แวดลอมและดานสุขภาพ (EHIA) z

บริษัท กลุมมิตรผล

โรงไฟฟาชีวมวลกลุมมิตรผล มุงมั่นสรางเสถียรภาพใหกับอุตสาหกรรม ดวยการผลิตพลังงานสีขาว

กลุม มิตรผล มุง มัน่ สรางเสถียรภาพใหกบั อุตสาหกรรมออย นาํ ตาลและชีวพลังงานไทยอยางยัง่ ยืน โดยนํานวัตกรรมการจัดการ ที่ ไรของเหลือทิง้ เปลีย่ นเปนสิง่ ทีม่ คี ณ ุ คามาประยุกต ใช ในการดําเนินธุรกิจ เพอสรางมูลคาเพิม่ ทางเศรษฐกิจใหแกชมุ ชนและ ประเทศชาติ นายกฤษฎา มนเทียรวิเชียรฉาย ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร ไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ไดถึง 131 เมกะวัตต (ในชวง และกรรมการผูจ ดั การใหญ กลุม มิตรผล กลาววา หนึง่ ในแนวคิด ฤดูหีบออย) และ 134 เมกะวัตต (นอกฤดูหีบออย) โรงไฟฟาชีวมวลที่จังหวัดสุพรรณบุรีและชัยภูมิของกลุม ที่มุงสรางสรรคสิ่งที่ดีคืนกลับสูสังคมของกลุมมิตรผลคือ การ กําหนดเปาหมายใหมีการพัฒนาอุตสาหกรรมนํ้าตาล ควบคูไป มิตรผล ถือเปนโครงการนํารอง ของการขับเคลื่อนสูพลังงาน กับอุตสาหกรรมการผลิตไฟฟาชีวมวล ดวยความเชีย่ วชาญของ สะอาดในประเทศไทย ตามนิยามของพิธีสารเกียวโต โรงงาน บุคลากร และเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทัง้ สองไดรบั การขึน้ ทะเบียนโดย UNFCCC เรียบรอยแลว และ ในขณะนีก้ าํ ลังอยูใ นระหวางดําเนินการขอคารบอน เครดิต โดย ในปจจุบนั โดยนําชานออยทีเ่ หลือจาก โรงงานทั้งสองแหงนี้สามารถลดการปลอยกาซคารบอนไดถึง กระบวนการผลิตนํ้าตาล จะถูกนํา 200,000 ตันตอป ไปใชเปนเชือ้ เพลิงในการผลิตไอนํา้ นอกจากการใชชานออยเปนเชื้อเพลิงแลว กลุมมิตรผล และกระแสไฟฟาเพื่อนํากลับมาใช ยังรับซื้อเชื้อเพลิงชีวมวลอื่นๆ จากเกษตรกรในพื้นที่ดวย ซึ่ง ในกระบวนการผลิตนํา้ ตาล รวมทัง้ การเกือ้ กูลในลักษณะดังกลาวถือเปนการสรางรายไดใหกบั ชุมชน อุตสาหกรรมตอเนือ่ งอืน่ ๆ ของกลุม นายกฤษฎา มิตรผล อาทิ โรงงานผลิตปารตเิ กิลและลดมลภาวะที่เกิดจากการเผาไรในภาคเกษตรกรรม และยัง มนเทียรวิเชียรฉาย บอรด และโรงงานผลิตเอทานอล ชวยลดการนําเขานํ้ามันเชื้อเพลิงจากตางประเทศอีกดวย จาก ปจจุบันกลุมมิตรผล มีโรงงานไฟฟาชีวมวล 5 แหง การใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการผลิต พรอมทั้งความมุงมั่นใน (ในจังหวัดชัยภูมิ สุพรรณบุรี ขอนแกน กาฬสินธุ และสิงหบุรี) การขับเคลือ่ นเพือ่ โลกสะอาด ทําใหกลุม มิตรผลไดรบั การยอมรับ มีกําลังการผลิต 307 เมกะวัตต และสามารถสงไฟฟาใหกับการ ใหเปนผูนําดานพลังงานชีวมวลในอาเซียน

46

336, มีนาคม 2555



นายกฤษฎา กลาววา อีกหนึ่งความมุงมั่นในการรักษา สิ่งแวดลอมเพื่อโลกสะอาดของกลุมมิตรผลคือ การตัดสินใจ ลงทุนในธุรกิจเอทานอล โดยนําเอาโมลาสและนํ้าออย รวม ทั้ ง พื ช พลั ง งานอื่ น มาใช เ ป น วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต เอทานอล บริสุทธิ์ที่ 99.5% โดยป พ.ศ.2552 สามารถผลิตเอทานอล ได ถึง 800,000 ลิตร/วัน ถือเปนแหลงผลิตเอทานอลที่ใหญที่สุด ในอาเซียน (โรงงานเอทานอลของกลุมมิตรผล ตั้งอยูในจังหวัด ชัยภูมิ กาฬสินธุ และสุพรรณบุรี และที่จังหวัดตาก ในชื่อ แมสอดพลังงานสะอาด) เปนการรวมทุนระหวางบริษัท ผาแดง

อินดัสทรี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ไทยออยล จํากัด (มหาชน) นอกจากพลั ง งานทดแทนสะอาดในรู ป ของเอทานอล บริสทุ ธิแ์ ลว กลุม มิตรผลยังนําเอาอินทรียส ารทีไ่ ดจากกระบวนการผลิตเอทานอลมาพัฒนาเปนปุยนํ้าชีวภาพ ซึ่งอุดมดวย สารอาหารสําคัญสําหรับพืชไร สามารถนํากลับไปใชในไรออย เพื่อปรับปรุงคุณภาพดิน เพิ่มผลผลิตและรักษาสมดุลแหง ธรรมชาติ ถือเปนกระบวนการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอยาง สมบูรณแบบ z

คณะกรรมการยุทธศาสตรเพอการฟนฟูและสรางอนาคตประเทศ

กยอ. พิจารณาหาทําเลใหมสรางนิคมอุตสาหกรรมภาคอีสาน รับโรงงานยายหนีนํ้าทวม

กยอ. เรงหาทําเลใหมสรางนิคมอุตสาหกรรมแถบภาคอีสาน เพื่อรองรับโรงงานภาคกลางยายหนีนํ้าทวมซํ้า โดยกําหนดพื้นที่ ตามแนวเสนทางระเบียงเศรษฐกิจตะวันออกและตะวันตก พรอมระบุจุดเดนเชื่อมกับประเทศเพื่อบานได ในงานสัมมนาเจาะลึก 6 มาตรการเรงดวนบริหารจัดการ ปลอดภั ย จากนํ้ า ท ว ม ดั ง นั้ น จึ ง นํ้ า ป 2555 เรื่ อ งทิ ศ ทางประเทศไทยกั บ ความเชื่ อ มั่ น ด า น จําเปนตองหาพื้นที่เศรษฐกิจใหม ภัยพิบัติ นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ เลขาธิการสํานักงานคณะ โดยดูพนื้ ทีท่ จี่ ะไดรบั ผลกระทบนอย กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) กลาว ที่สุด และตองหามาตรการจูงใจ วา คณะกรรมการยุทธศาสตรเพื่อการฟนฟูและสรางอนาคต ทั้งเรื่องการสงเสริมการลงทุนจาก ประเทศ (กยอ.) อยูระหวางการพิจารณาพื้นที่เศรษฐกิจใหม บีโอไอ อัตราภาษี และโครงสราง เพื่อรองรับอุตสาหกรรมที่จําเปนตองยายฐานออกไปจากแหง พื้นฐานเพื่อรองรับ เดิม โดยกําหนดพื้นที่ตามแนวเสนทางระเบียงเศรษฐกิจตะวันทั้งนี้ การบริหารจัดการนํ้า นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ ออกและตะวันตก ซึง่ เบือ้ งตนจะอยูใ นพืน้ ทีภ่ าคตะวันออกเฉียง โดยการสรางระบบปองกันในระยะ เหนือเปนหลัก เพื่อเชื่อมตอไปยังประเทศเพื่อนบาน เรงดวน คาดวาจะใชวงเงินรวม 120,000 ลานบาท นอกจาก นายอาคม กลาววา ผูประกอบการโรงงานสวนใหญ ทั้ง ดําเนินการตามแผนงานแลว สิง่ จําเปนอีกประการ คือ ตองสราง ในจังหวัดนนทบุรีและพระนครศรีอยุธยา ที่ถูกนํ้าทวม ยังยืนยัน ความสมดุลเรือ่ งทีเ่ กีย่ วของทัง้ เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดลอม ที่จะลงทุนในประเทศไทยตอ แตอาจยายโรงงานไปยังพื้นที่ที่ รวมถึงกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน z สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

สศอ.ใชงบประมาณ 50 ลาน ผุด 5 โครงการใหญ พัฒนาสิ่งทอและเครื่องนุงหมไทยหนีคูแขง

สศอ.มุงยกระดับอุตสาหกรรมสิ่งทอหนีคูแขง โดยยกเครองครั้งใหญทั้งกระบวนการ หวังสรางมิติ ใหมในวงการสิ่งทออาเซียน นายอภิวัฒน อสมาภรณ รองผูอํานวยการสํานักงาน เครือ่ งนุง หมไทย เปนอุตสาหกรรม เศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เผยวา อุตสาหกรรมสิ่งทอและ แรกๆ ที่มีการพัฒนาใหเกิดความ

นายอภิวัฒน อสมาภรณ

336, มีนาคม 2555 47



ครบวงจรในประเทศไทย เมื่อเกิดผลกระทบจากสภาวะการคา โลกที่มีการแขงขันเสรีในปจจุบัน และปญหาวิกฤตเศรษฐกิจใน สหรัฐอเมริกา สงผลกระทบตออุตสาหกรรมสิง่ ทอและเครือ่ งนุง หมของไทยเปนอยางมาก ดังนั้น สศอ.จึงไดรวมมือกับสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรม สิ่งทอ จัดทําโครงการวิจัยและพัฒนาโครงการตางๆ รวม 5 โครงการ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาพดานการผลิต ของอุตสาหกรรมสิง่ ทอและเครือ่ งนุง หมไทย ภายใตงบประมาณ ป 2554 จํานวนกวา 50 ลานบาท ซึ่งประกอบดวยโครงการ ตางๆ ดังนี้ 1. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑและเครื่องนุงหมไทยเพื่อ สนองตอบผูผลิตใน ASEAN และ BIMSTEC 2. โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตในอุตสาหกรรมสิง่ ทอและเครือ่ งนุง หมดวยการบํารุงรักษาเครือ่ งจักรแบบ ทวีผล (Total Productive Maintenance: TPM) 3. โครงการเพิ่มผลิตภาพการผลิตโดยการจัดทําและ ใชระบบมาตรฐานฝมือแรงงาน พรอมกําหนดอัตราคาจางให สอดคลองกับมาตรฐานฝมือแรงงานในอุตสาหกรรมสิ่งทอ และ เครื่องนุงหม 4. โครงการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑเคหะสิ่งทอและผาผืน ดวยเทคโนโลยีฟอกยอมตกแตงสําเร็จ 5. โครงการจัดทําแนวทางปฎิบัติที่เปนเลิศเพื่อพัฒนา ประสิทธิภาพและผลิตภาพดานการผลิต สําหรับอุตสาหกรรม สิ่งทอและเครื่องนุงหม (Best Practices for Productivity Improvement in Production) ผลการดําเนินงานทั้ง 5 โครงการ ถือเปนกลไกที่จะชวย ขับเคลื่อนใหอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหมของไทยกาว ไปอยางมีประสิทธิภาพ สามารถรักษาขีดความสามารถไดเปน

อยางดี เชน การดําเนินการจัดทําแนวทางการปฎิบัติที่เปนเลิศ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาพดานการผลิต สําหรับ อุตสาหกรรมสิง่ ทอและเครือ่ งนุง หม ซึง่ มีผปู ระกอบการเขารวม โครงการ จํานวน 89 บริษัท โดยแบงเปน 2 กลุม คือ 1. กลุ  ม อุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอ เป น อุ ต สาหกรรมต น นํ้ า และกลางนํ้า โดยแตละบริษัทที่เขารวมโครงการมีระบบและ กระบวนการผลิตที่แตกตางกันมากในแตละกลุมอุตสาหกรรม โดยแบงอุตสาหกรรมดังกลาวออกเปนประเภท เชน อุตสาหกรรม เสนใย เสนดาย ถักผา ทอผา ฟอกยอมและตกแตงสําเร็จ เปนตน โดยมีผูเขารวมโครงการ จํานวน 35 บริษทั 2. กลุม อุตสาหกรรมเครือ่ งนุง หม เปนอุตสาหกรรมปลาย นํ้า โดยมีผูเขารวมโครงการ จํานวน 54 บริษัท จากการดําเนิน การจัดทําแนวทางปฎิบตั ทิ เี่ ปนเลิศ ซึง่ สามารถเพิม่ ผลผลิต หรือ ลดของเสียหรือลดตนทุนการผลิต โดยสงผลตอการประหยัด ตนทุนซึ่งสามารถสรุปภาพรวม โดยมีมูลคารวม 168,413,642 (บาท/โครงการ) 460,747,850 (บาท/ป) ขณะที่โครงการวิจัย พัฒนาผลิตภัณฑเคหะสิง่ ทอและผาผืนดวยเทคโนโลยีฟอกยอม ตกแตงสําเร็จ เกิดการทําวิจัยพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ เคหะสิ่งทอและผาผืน มีมูลคาเพิ่มขึ้น 10-30% นายอภิวัฒน กลาววา ผลการดําเนินโครงการที่ไดยก ตัวอยางมา ถือวาเปนแนวทางการยกระดับใหอุตสาหกรรมสิ่ง ทอและเครื่องนุงหมไทยมีการพัฒนาที่ยั่งยืน แมจะไดรับผล กระทบจากประเทศคูแ ขงทีพ่ ยายามแยงตลาดดวยการหัน่ ราคา ซึ่งประเทศไทยจะไมแขงขันดวยวิธีดังกลาว แตจะหนีคูแขง ดวยการยกระดับขีดความสามารถที่มากกวา มีนวัตกรรมที่มี เทคโนโลยีที่สูงขึ้น ผลิตสินคาในจํานวนไมมากแตมีมูลคาที่มาก กวา จึงจะเปนทางออกที่ยั่งยืนสําหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอและ เครื่องนุงหมของไทย z

บริษัท บางกอกโซลาร เพาเวอร

บางกอกโซลาร รับงานกอสรางโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย

บางกอกโซลาร รับงานกอสรางโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยมูลคา 6,000 ลานบาท ของบริษัท สมารท กรีน เอ็นเนอรจีฯ ใน 3 จังหวัดภาคอีสาน นายพดดวง คงคามี ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการ บริษัท โรงไฟฟาแสงอาทิตยไปแลวจํานวน 25 เมกะวัตต ในพื้นที่ 15 บางกอกโซลาร เพาเวอร จํากัด กลาววา จากทีบ่ ริษทั ไดรบั สัญญา จังหวัด เชน ฉะเชิงเทรา อางทอง เพชรบุรี อุดรธานี นครสวรรค ซื้อขายไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย โดยไดรับการสนับสนุน ลพบุรี นครราชสีมา ประจวบคีรีขันธ พระนครศรีอยุธยา และ คาไฟฟาสวนเพิ่มหรือ Adder 8 บาทตอหนวย เปนระยะเวลา สระบุรี เปนตน โดยในป 2555 นี้จะลงทุนกอสรางอีก 15 10 ป จํานวน 80 เมกะวัตต ซึ่งที่ผานมาไดลงทุนกอสราง เมกะวัตต ในพืน้ ทีด่ งั กลาว โดยใชเงินลงทุนราว 1,500 ลานบาท

48

336, มีนาคม 2555



และจะจายไฟฟาเขาระบบไดปลายปนี้ ทัง้ นี้ เพือ่ ใหการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมาย กลางป 2556 บริษัทจะใชเงินลงทุนอีกประมาณ 4,000 ลานบาท ใน การกอสรางโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยอีก 40 เมกะวัตต ที่ จะเปนการเพิ่มกําลังการผลิตจากโรงไฟฟาตางๆ ที่มีอยู และยัง มีการลงทุนทําโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยในประเทศอิตาลี 10 เมกะวัตต และเยอรมนีอีก 3 เมกะวัตต นอกจากนี้ จากการที่บริษัทเปนผูผลิตแผงโซลารเซลล ดวย ลาสุดบริษัทไดรับความไววางใจจากบริษัท สมารท กรีน เอ็นเนอรจี จํากัด ใหเปนผูจัดหาแผงโซลารเซลลและรับเหมา กอสรางโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ขนาดกําลังการผลิต 27 เมกะวัตต ในจังหวัดชัยภูมิ ซึ่งจะกอสรางแลวเสร็จปลายปนี้ รวมถึงโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยในพื้นที่จังหวัดรอยเอ็ด ขนาด 12 เมกะวัตต และในจังหวัดขอนแกนอีกขนาด 40 เมกะวัตต รวมมูลคาการจัดจางประมาณ 6,000 ลานบาท ที่จะ แลวเสร็จภายในป 2556

นายพดดวง กลาวอีกวา จากความไมชดั เจนของนโยบาย การสงเสริมพลังงานทดแทนในชวงที่ผานมา ทําใหการออกใบ อนุญาตซื้อขายไฟฟาหยุดชะงักไป ทําใหในชวงปที่ผานมาการ กอสรางโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยเกิดขึ้นนอย ทําใหรายได จากการรับเหมากอสรางโรงไฟฟาลดลงดวย เห็นไดจากบริษทั มี รายไดจากการรับเหมากอสรางเพียง 800 ลานบาท ในชวงปที่ ผานมา ประกอบกับมีผปู ระกอบการทีม่ าลงนามซือ้ แผงจากบริษทั บางกอกโซลารฯ แลวแตไมสามารถขึน้ โครงการได เนือ่ งจากยัง ไมไดรับการอนุมัติสัญญาซื้อขายไฟฟา อยางไรก็ตาม การทีภ่ าครัฐจะใหการสนับสนุนรับซือ้ ไฟฟา ในรูปแบบใดก็ตาม แตอยากใหรฐั บาลมีความชัดเจนออกมาโดย เร็ว เพื่อที่บริษัทจะไดไปตัดสินใจลงทุนตอเนื่อง เพราะมองวา เวลานีต้ น ทุนแผงโซลารเซลลลดลงอยางตอเนือ่ ง และประมาณ การวาภายในระยะเวลา 5-10 ป การผลิตไฟฟาจากพลังงานแสง อาทิตย จะสามารถแขงขันกับการผลิตไฟฟาจากฟอสซิลได z

สมาคมอุตสาหกรรมแมพิมพไทย

อุตสาหกรรมแมพิมพยิ้มรับป 2555 ที่คาดวาการผลิตจะขยายตัว

อุตสาหกรรมแมพิมพเตรียมยิ้มรับปทอง 2555 วิกฤตนํ้าทวมสงผลใหโรงงานแหสั่งแมพิมพใหมทดแทนของเกาที่จมนํ้า ตั้งเปาการผลิตขยายตัวเพิ่ม 20% นายวิโรจน ศิริธนาศาสตร นายกสมาคมอุตสาหกรรม หายจากภัยสึนามิเมื่อตนป 2554 ยังคงมีแนวโนมกระจายความ แมพมิ พไทย กลาววา ในป 2555 คาดการณวา การผลิตแมพมิ พ เสี่ยงเขามาตั้งฐานการผลิตในประเทศไทย เนื่องจากมีความ ในประเทศไทยจะเติบโตเพิ่มขึ้น 20% เมื่อเทียบกับป 2554 แข็งแกรงในคลัสเตอรอตุ สาหกรรมอิเล็กทรอนิกสและยานยนต หรือคิดเปนมูลคาประมาณ 32,000 ลานบาท สูงขึ้นจากปกอนที่ ซึง่ หากกลุม บริษทั ญีป่ นุ ยายเขามาตัง้ ฐานผลิตในประเทศไทยก็จะ มีมูลคาราว 28,000 ลานบาท เนื่องจากประเทศไทยเพิ่งประสบ ทําใหมีความตองการใชแมพิมพมากขึ้น กับปญหาอุทกภัย ที่ทําใหโรงงานจํานวนมากถูกนํ้าทวมและ นายวิโรจน กลาวอีกวา ในสวนของการสงออก อุตสาหกรรมแมพิมพไทยจะพยายามเพิ่มสัดสวนในการสงออกมากขึ้น แมพิมพในโรงงานไดรับความเสียหาย ดังนั้น ในป 2555 จึงเปนชวงฟนฟูและซอมแซมโรงงาน โดยตัง้ เปาวาจะมีมลู คาการสงออกในป 2555 เพิม่ ขึน้ เปน 2,000 โดยเฉพาะอยางยิ่งการซอมหรือสั่งซื้อแมพิมพใหมเพื่อทดแทน ลานบาท จากปจจุบนั มีมลู คาสงออกเฉลีย่ เพียง 1,000 ลานบาท แผนการผลักดันการสงออก คือการนําผูประกอบการไทยไป แมพิมพเดิมที่อาจไดรับความเสียหายมาก ในป 2555 แมพิมพไทยจะมีการผลิตมากขึ้น ตลาดใน โรดโชวในประเทศเปาหมาย โดยเฉพาะตลาดในแถบอาเซียน ประเทศมีแนวโนมขยายตัวดี อันเปนผลมาจากปจจัยสําคัญ 3 ไดแก เวียดนามและอินโดนีเซีย ซึง่ มีการเติบโตของอุตสาหกรรม เรื่อง คือ 1.ความตองการซื้อแมพิมพใหม เพื่อทดแทนแมพิมพ ยานยนตทนี่ า สนใจ โดยทางสมาคมไดมกี ารนําผูป ระกอบการไป ทีเ่ สียหายจากนํา้ ทวม 2.อุตสาหกรรมยานยนตยงั เติบโต และจะ รวมงานแสดงสินคาเครือ่ งจักรกลและโลหการเปนประจําทุกปอยู มีโมเดลรถยนตรุนใหมๆ ที่ทยอยเปลี่ยนในตลาดอยางตอเนื่อง แลว และที่ผานมาก็ไดรับการตอบรับที่คอนขางดีจากลูกคาใน และ 3.กลุมทุนจากเมืองเซนได ประเทศญี่ปุนที่ไดรับความเสีย กลุมอุตสาหกรรมสนับสนุนของอุตสาหกรรมยานยนต

336, มีนาคม 2555 49



นอกจากนีย้ งั มีตลาดอืน่ ทีน่ า สนใจ และสมาคมอุตสาหกรรม แมพมิ พไทยอยูร ะหวางการวางแผนนําผูป ระกอบการเดินทางไป โรดโชวศกึ ษาลูท างการคาภายในปนี้ 2 ประเทศ นัน่ คือ ประเทศ ปากีสถาน ซึ่งเปนประเทศที่มีแรงงานจํานวนมาก ที่สําคัญคือมี กลุม ทุนจากเกาหลีใตไปลงทุนในอุตสาหกรรมรถยนตและชิน้ สวน พลาสติกอยูแ ลวพอสมควร ดังนัน้ จึงมองวานาจะมีความตองการ

แมพมิ พคอ นขางมาก สวนอีกประเทศหนึง่ คือ ประเทศแอฟริกา ที่กําลังเปนตลาดใหมไดรับความสนใจจากนักลงทุน โดยเฉพาะ นักลงทุนญี่ปุนที่เริ่มเขาไปลงทุนผลิตรถกระบะขับเคลื่อน 4 ลอ สําหรับสถิตติ ลาดสงออกแมพมิ พทสี่ าํ คัญของไทย อันดับ หนึ่ง คือ ประเทศญี่ปุน รองลงมาเปนประเทศอินโดนีเซีย z

บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน)

EGCO ใชงบประมาณ 340 ลานบาทในโครงการผลิตไฟฟาแสงอาทิตย

EGCO ใชเงินประมาณ 340 ลานบาทลงทุนในโครงการโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยของบริษัท เอสพีพี โฟร สํ า หรั บ โครงการผลิ ต ไฟฟ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย ข อง นายสหั ส ประทั ก ษ นุ กู ล SPP4 เปนโครงการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยขนาด กรรมการผู  จั ด การใหญ บริ ษั ท กําลังผลิตติดตั้ง 6 เมกะวัตต ตั้งอยูในพื้นที่รอยตอระหวาง ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) หรือ จังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดอุบลราชธานี มีสัญญาซื้อขาย EGCO เผยวา EGCO ไดเขาลงทุน ประเภท Non-Firm สําหรับผูผลิตไฟฟารายเล็กมากกับการ ในโครงการโรงไฟฟาพลังงานแสง ไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) และไดรับเงินสนับสนุน (Adder) อาทิตยของบริษัท เอสพีพี โฟร จากกองทุนพัฒนาไฟฟา สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการ จํากัด (SPP4) โดยถือหุน ในสัดสวน 99.99% จากบริ ษั ท MEMC นายสหัส ประทักษนุกูล พลังงาน (สกพ.) จํานวน 8 บาทตอหนวย เปนระยะเวลา 10 Singapore Pte Ltd. โดยใชเงิน ป ซึ่งเริ่มเดินเครื่องเชิงพาณิชยไปเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2555 ลงทุนประมาณ 340 ลานบาท ที่ผานมา การลงทุนนี้เปนการดําเนินธุรกิจที่เปนไปตามเปาหมาย โครงการนีม้ กี ารติดตัง้ ระบบปรับแผงโซลาเซลลแบบหมุน ของ EGCO ในการขยายธุรกิจพลังงานทดแทน ซึ่งสอดคลอง ตามดวงอาทิตยของเอกชนแหงแรกของประเทศไทย ทําใหมี กับนโยบายของภาครัฐ ที่สนับสนุนเรื่องพลังงานทดแทนและ ประสิทธิภาพในการผลิตพลังงานไฟฟาเพิ่มขึ้นมากกวาระบบ พลังงานสะอาด และรายการดังกลาวไมใชรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ติดตั้งแบบคงที่ z

ชวยลดภาวะโลกรอนดวยการใชพลังงานไฟฟาอยางรูคุณคา

ไฟฟ า เป น พลั ง งานที่ ใ กล ตั ว เรา การปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมโดยหั น มาประหยั ด พลั ง งานไฟฟ า กั น คนละเล็ ก ละน อ ย นั บ ว า เป น ส ว นสํ า คั ญ ที่ จ ะช ว ยลดก า ซคาร บ อนไดออกไซด (CO 2) ซึ่ ง ก็ เ ป น การลด โลกรอนได ซึ่งการลดการใชไฟฟาทุกๆ 1 หนวย (kWh) จะชวยลดการปลอย CO2 ได 0.5610 กก. และ การลดโลกรอนจากการใชไฟฟาสามารถทําไดงายๆ ดังนี้ 1. ใชเครื่องใชไฟฟาที่มีฉลากประหยัดไฟฟาเบอร 5 2. ใชหลอดไฟฟาชนิดประหยัดพลังงาน 3. ใชหลอดตะเกียบแทนหลอดไส โดยหลอดตะเกียบประหยัดไฟมากกวาหลอดไสถึง 80% 4. ปดไฟดวงที่ไมใชงานและเปดเมื่อจําเปน 5. ไมเปดเครื่องใชไฟฟาทิ้งไว และถอดปลั๊กทุกครั้งเมื่อไมใชงาน 6. เปดแอรที่อุณหภูมิ 25 องศา เพราะการปรับอุณหภูมิเพิ่มทุกๆ 1 องศาจะชวยประหยัด พลังงานไฟฟาประมาณ 10% 7. ตากผาดวยแสงแดดแทนการอบแหงดวยเครื่องอบไฟฟา 8. การขึ้นลงอาคารที่มีจํานวนชั้นไมมากควรใชการขึ้นลงบันไดแทนการใชลิฟต

50

336, มีนาคม 2555



เทคนิครอบโลก

Landstorm ยานยนตแหงอนาคตป 2058 Landstorm คือยานยนตในแนวคิดที่ไดรับการออกแบบ สำหรับอนาคตในป 2058 หรืออีก 46 ปขางหนา แรงบันดาลใจทีท่ ำใหคดิ คนและออกแบบยานยนตนี้ ขึน้ มา ก็เนือ่ งจากในอนาคตยานพาหนะธรรมดาๆ ทั่วไปที่ใชกันอยูจะไมสามารถ ใชงานได เพราะมีภยั ธรรมชาติ เกิดขึ้นอยางมากมายในทุกรูป แบบและเกิดถี่ขึ้นเรื่อยๆ จน ทำใหโลกเปลี่ยนแปลงไปจาก เดิมนัน่ เอง

ในหลากหลายรูปแบบ ทัง้ ภารกิจสอดแนม, การขนสงอาหารและ น้ำไปยังพืน้ ทีป่ ระสบภัยพิบตั ,ิ พ็อดทางการ แพทยสามารถใชรองรับการรักษาผู ปวยไดสองคนพรอมกัน, สวนพ็อด สำหรับงานขุดคนหา ซึ่งจะมี การทำงานเหมือนเครนหนุ ยนต ทีส่ ามารถเคลื่อนยายซากปรัก หักพังขนาดใหญได และพ็อด กูชีพ-ผจญเพลิงก็จะมีถังบรรจุ น้ำได 750 แกลลอน และยัง

ดังนั้น เมื่ออากาศยานหรือยานพาหนะตางๆ ไมมี ประสิทธิภาพเพียงพอทีจ่ ะปฏิบตั กิ ารภาคสนามในบางพืน้ ที่ เชน บริเวณที่เกิดภัยพิบัติอยูบอยๆ เนื่องจากไดรับผลกระทบจาก ปญหาโลกรอนทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต ผอู อกแบบจึงไดออกแบบ ยานยนต Landstorm นี้ขึ้นมา เพื่อใหใชงานไดในทุกสภาพ ภูมิประเทศ โดยไดรวมเอาอุปกรณและเครื่องไมเครื่องมือเบ็ด เตล็ดขนาดเล็กทีพ่ รอมใชในงานตางๆ ซอนไวภายในยาน และ ยังสามารถสลับสับเปลีย่ นพ็อด (pod หองยานยนตทถี่ อดออก ได) ทีอ่ ยดู า นหลังของยานได โดยพ็อดนีม้ หี ลากหลายแบบ ซึง่ จะถูกนำไปติดตั้งกับยานกอนที่จะถูกสงออกไปยังพื้นที่สำหรับ ปฏิบตั กิ ารพิเศษ พ็อดของยานยนตนอี้ อกแบบใหรองรับการใชงานภาคสนาม

สามารถสูบน้ำจากแหลงน้ำตางๆ ไดโดยปม ทีต่ ดิ ตัง้ อยภู ายนอก ตัวยาน Landstorm มีกลไกในลักษณะเปนขาหรือลอแบบไฮดรอลิก 4 ขา ซึง่ สามารถเคลือ่ นตัวไดอยางอิสระจากกัน จึงเปนประโยชน อยางยิง่ ตอการหาเสนทางเขาไปในภูมปิ ระเทศทีก่ วางมากๆ และ ยากตอการเขาถึงเปาหมาย ซึง่ กลไกขับแบบไฮดรอลิกนี้ เปนการ สงแรงมาจากตัวขับที่เปนมอเตอรไฟฟาและเซลลเชื้อเพลิง ไฮโดรเจน ยานยนตนจี้ งึ มีน้ำหนักเบา เนือ่ งจากไมตอ งใชกลไก ชิน้ สวนในการสงแรงขับชุดลอ ยิง่ ไปกวานัน้ Landstorm ยัง สามารถปลอยรมลอยตัวลงจากอากาศยานได ซึ่งใชในกรณีที่ บริเวณปลายทางอยหู า งไกลจากสถานียอ ย จากนัน้ จึงเคลือ่ นเขา สูพื้นที่เปาหมายตอไป

336, มีนาคม 2555 51


¦·¬ ´ ¸ °¨ Á ¸¥¦r¤°Á °¦r (Å ¥Â¨ r) ¶ ´

TL GEAR MOTOR (THAILAND) CO., LTD.

1558/35 . µ µ- ¦µ  ª µ µ Á µ µ ¦» Á ¡² 10260 1558/35 BANGNA-TRAD RD., BANGNA, BANGNA, BANGKOK 10260 TEL : 02 182 0391-4. 02 337 3500-4 FAX : 02 182 0395, 02 337 3507 E-mail : tlgearmotor@hotmail.com

ª}¢² | ² Digital ¥ v´ v§ ¦ ¢ ´ Øy § ± ¸ y| ª³¹ Speed Feedback

VARIATOR

CLUTCH, BRAKE, CLUTCH & BRAKE VACUUM PUMP

RING BLOWER

VS CONTROL DIGITAL DC CONTROL

DC MOTOR

DC MOTOR

ROTARY VIBRATOR


เทคนิครอบโลก

สวนลอของ Landstorm ไดรบั การออกแบบใหมลี กั ษณะ เดนเฉพาะเหมือนมีฝก ถัว่ ขนาดเล็กพันโดยรอบ ทำใหสามารถยึด เกาะกับพืน้ ผิวลักษณะตางๆ ไดเปนอยางดี เชน ดินรวน, โคลน หรือหิมะ โดยการปรับ เพิ่มแรงกดไปที่พื้นผิวลอ หรือ บริเวณขอบลอ เพื่อใหยึด เกาะกับพืน้ ไดอยางเหมาะสม ซึ่งนอกจากทำหนาที่เปนลอ ยานยนตแลว ทีล่ อ ยังมีตะขอ ยึดสำหรับติดตัง้ ปน หรือเครือ่ งกวาน ซึง่ จะเปนประโยชนตอ การ ลากดึงซากปรักหักพัง หรือใชลากจูงรถยนตทวั่ ๆ ไป จนกระทัง่ เมือ่ Landstorm ไปถึงบริเวณปลายทาง ทีมปฏิบตั กิ ารก็จะเริม่ งานกูชีพและชวยเหลือผูบาดเจ็บและรอดชีวิต คนขั บ และคนนำทางของ Landstorm แทบจะไม มี อุปสรรคเกีย่ วกับการคนหา ไมวา บริเวณปลายทางจะอยไู กลเพียง ใด เมือ่ ใชเทคโนโลยี HUD ความสามารถสูงทีม่ กี ลอง MultiSight

(กลองตรวจจับรังสีอนิ ฟราเรด, มองเห็นในตอนกลางคืน, มอง เห็นในสภาพอากาศหนาวเย็น) ซึง่ เปนการเพิม่ ขีดความสามารถ ขัน้ สูงจากคอมพิวเตอรแบบปญญาประดิษฐ (AI) ยิง่ ไปกวานัน้ ยังมีคณ ุ สมบัตเิ ดน พิเศษสุดทางระบบสารสนเทศ แบบอิ น เทอร แ อกที ฟ ซึ่ ง จะตอบสนองตอการควบคุม ไปตามเสนใยประสาทของผู ควบคุม นั่นหมายความวา เทคโนโลยีสารสนเทศถูกควบคุมไปตามความคิดของคนทีค่ วบคุม ในสวนของหองบังคับยานนั้น สวนหนึ่งไดแบงเปนหอง แยกอิสระไวสำหรับเก็บอุปกรณตา งๆ รวมทัง้ ใชเปนหนวยพลังงาน สำรองขนาดเล็ก ที่สามารถเริ่มปฏิบัติการไดทันทีหากแหลง พลังงานหลักลมเหลว หรือเกิดขัดของไมวา กรณีใดๆ ก็ตาม • ที่มา www.tuvei.com

Sub-Biosphere 2 อันทีจ่ ริง Sub-Biosphere เปนธนาคารสำหรับเก็บเมล็ด พันธุพืช ที่สรางขึ้นเพื่อเก็บเมล็ดพันธุตางๆ เอาไวใหแกมวล มนุษยชาติหากเกิดกรณีน้ำทวมโลก พืชพันธถุ กู ทำลายหมดสิน้

แตในครัง้ นีเ้ ราจะมาพูดถึง Sub-Biosphere 2 ซึง่ เปน การนำเอาแนวคิดจากธนาคารพันธุพืชที่สรางขึ้นมาดังที่กลาว ขางตน แลวนำมาปรับใชเพือ่ ใหเปนทีอ่ ยอู าศัยรวมกันของมนุษย

มนุษยกจ็ ะไมมเี มล็ดพันธไุ วใชปลูกเพือ่ การดำรงคชพี ในอนาคต โดยธนาคารเก็บเมล็ดพันธุพืชเขาสรางบนภูเขาสูง ซึ่งมีการ คำนวณแลววาจะรอดพนจากน้ำทวมหากเกิดน้ำทวมโลกขึน้ มา จริงๆ

และสัตวในอนาคต โดยนำมาสรางอยใู นน้ำใหมลี กั ษณะเหมือน ลูกแกวกลมๆ ขนาดใหญ ทีค่ รึง่ หนึง่ ของลูกแกวอยใู นน้ำอีกครึง่ หนึง่ อยเู หนือน้ำ การสราง Sub-Biosphere 2 ขึน้ มาก็เพือ่ ใชเปนทีอ่ ยอู าศัย

52

336, มีนาคม 2555



เทคนิครอบโลก

ของมนุษยและสัตวโลกในอนาคคต รวมถึงพืชพันธุอื่นๆ ให สามารถอยูรวมกันไดเมื่อถึงเวลาที่เกิดน้ำทวมโลกขึ้นมาจริงๆ และยังเปนทีอ่ ยอู าศัยทีม่ นุษยตอ งมีชวี ติ อยรู ว มกับน้ำไดพรอมกับ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ดังนัน้ Sub- Biosphere 2 จึงเปนตัวอยางแรกของแนวคิด ในการออกแบบและสรางทีอ่ ยอู าศัยใตน้ำในระยะยาว เพือ่ เปน ทีอ่ ยอู าศัยรวมกันของมนุษย พืช และสัตว และทีน่ จี่ ะเปนสถาน ที่สำหรับการอยูอาศัยของผูคนที่สอดรับกับชีวิตบนพื้นที่ปกติ โครงสรางของ Sub-Biosphere 2 นีอ้ อกแบบใหมคี วาม แปลกใหมล้ำสมัย และเปนสิง่ กอสรางทีม่ หัศจรรย ดวยการสราง สิง่ อำนวยความสะดวกตางๆ ไวใตน้ำอยางครบครัน ในขณะเดียว กันก็ยังคงอนุรักษหรือดำรงไวซึ่งเอกลักษณและความโดดเดน ตามความเปนจริงของการดำเนินชีวิตของมนุษย ซึ่งเปนการ ออกแบบเปนพิเศษสำหรับนักสำรวจใตน้ำ, นักทองเทีย่ ว และ นักวิทยาศาสตรดานสมุทรศาสตร

ภายใน Sub-Biosphere 2 นี้มีสิ่งอำนวยความสะดวก สำหรั บ การอยู อ าศั ย รวมกั น ในระยะยาวสำหรั บ มนุ ษ ย พื ช และสัตว ในโลกใตน้ำทีม่ ขี นาดไมใหญโตนัก ซึง่ Phil Pauley ผูออกแบบคาดหวังวาจะใหทกุ คนอยไู ดอยางเปนปกติใน SubBio-sphere 2 ดวยการจัดระบบอำนวยความสะดวกตางๆ ไวอยางสมบูรณ เชน ระบบอากาศบริสทุ ธิ,์ ระบบน้ำดืม่ สะอาด, ดานอาหาร, ระบบไฟฟาที่จำเปน และการใชทรัพยากรอื่นๆ โดยผานระบบการจัดการของนวัตกรรมควบคุมความกดอากาศ ซึ่งระบบทั้งหมดนี้ไดเตรียมพรอมไวในสิ่งกอสรางที่อยูใตน้ำที่มี ความลึกมาก

ดวยเทคโนโลยีการออกแบบทีล่ ้ำหนานี้ Sub-Biosphere 2 จึงเปนเหมือนธนาคารเมล็ดพันธุที่เพียบพรอมดวยสิ่งตางๆ และยังเปนทีอ่ ยอู าศัยของมนุษย ลักษณะของ Sub-Biosphere 2 คือเปนสถาปตยกรรมรูปโดมทรงกลมขนาดใหญอยตู รงกลาง รายลอมดวยโดมทรงกลมขนาดรองลงมาอีก 8 โดมทีใ่ ชสำหรับ เปนที่อยูอาศัยของสิ่งมีชีวิต ไมวาจะเปนมนุษย พืชและสัตว โดยมีการวางระบบการจัดการ และสิง่ อำนวยความสะดวกตางๆ ไวอยางครบครัน ซึ่งหากมีปญหาเกิดขึ้นระบบการจัดการจาก สวนกลางทีม่ กี ารเชือ่ มโยงดวยระบบอิเล็กทรอนิกสจะทำหนาที่ แจงเตือน การดำเนินชีวติ ภายใน Sub-Biosphere 2 จะเพียบพรอม ดวยสิง่ อำนวยความสะดวก เชน มีทา เรือสำหรับการเดินทางไป มาหาสู ในกรณีที่ไมตองการใชทางเดินที่มีการเชื่อมโยงไวเปน อยางดี โครงสรางทัง้ หมดของ Sub-Biosphere 2 จะมีระบบ พิเศษเพือ่ ทำหนาทีย่ กโครงสรางใหลอยเหนือน้ำเสมือนการสราง เรือขนาดใหญ ทีม่ รี ะบบควบคุมการจม ดวยเทคโนโลยีทลี่ ้ำสมัยจะทำให Sub-Biosphere 2 คือ ทีอ่ ยอู าศัยทีด่ ที สี่ ดุ อีกสิง่ หนึง่ โดยระบบยกนีจ้ ะเชือ่ มตอใหโครง สรางและพืน้ ผิวของ Sub-Biosphere 2 ทัง้ 8 โดมเชือ่ มตอกัน ดวยอุโมงคแบบแทงขนาดใหญ ซึง่ จะทำใหการอยอู าศัยเปนไป อยางสะดวกสบายและเปนธรรมชาติทสี่ ดุ นัน่ เอง • ที่มา www.gizmag.com

336, มีนาคม 2555 53



เทคนิครอบโลก

Bionic Arch สถาปตยกรรมเมืองใหมในอนาคตอันใกล Bionic Arch เปนสถาปตยกรรมการออกแบบอาคารสูง แหงอนาคต ที่นายวินเซนต คัลลีบัต (Vincent Callebaut) สถาปนิกชาวเบลเยียมผทู เี่ คยออกแบบเมืองลอยน้ำ Lilypad City ไดนำแนวคิดเดิมๆ ทีเ่ คยมีมาพัฒนาใหมคี วามยัง่ ยืน สำหรับเปน

ที่ อ ยู อ าศั ย รองรั บ การ เปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิต และความเป น อยู ข อง มนุษยยุคใหม และเพื่อ แก ไ ขป ญ หาการจั ด การ เมืองในอนาคตอันใกลนี้ โครงการ Bionic Arch เปนการแขงขันการ ออกแบบโครงการเมืองเกตเวย Taichung ในไตหวัน ที่ คัลลีบตั ไดออกแบบให อาคาร Bionic Arch แหง นีเ้ ปนอาคารแหงอนาคตที่ มี ค วามสวยงามโดดเด น แปลกตา สามารถอยอู าศัย ไดจริง โดยสรางอาคาร ใหเปนลักษณะวงรี และมี อี ก หนึ่ ง อาคารตรงกลาง เป น เสมื อ นเส น ผ า ศู น ย กลางตามยาว จึ ง มองดู เปนอาคารที่มีรูปทรงสวย งามมีสวนที่โปรงโลงเปน ชองที่ลมสามารถพัดผาน

54

336, มีนาคม 2555

ไดดี โดยแตละชัน้ ของอาคารถามองจากดานนอกจะเห็นเสมือน เปนฟนเลื่อยที่ซอนกันอยู

อาคารแหงนีม้ ชี อื่ วา Taiwan R.O.C เปนอาคารทีอ่ อกแบบ ไดอยางสมบูรณแบบ ลงตัว กลมกลืน และสอดคลองกับวิถชี วี ติ ในสังคม วัฒนธรรม และความเปนอยทู หี่ ลากหลายของไตหวัน ทั้งในปจจุบันและอนาคตไดเปนอยางดี อาคารแหงนีจ้ ะเปนอาคารสีเขียว ทีม่ เี อกลัษณเฉพาะอยาง เหนือชัน้ ทีไ่ ดรวมเอาสิง่ ดีๆ ทีห่ ลากหลายเขาไวดว ยกันอยางสอด



เทคนิครอบโลก

รูปแบบเมืองในแนวตั้งที่เพียบพรอมดวยพื้นที่สีเขียวไวอยาง สมบูรณ โดยสวนดานหนาของอาคาร จะเปนพืน้ ทีส่ ำคัญ สำหรับ การทำกิจกรรมตางๆ รวมกันของผคู นทีอ่ าศัยในอาคารแหงนี้ การออกแบบอาคารสีเขียวแหงนี้ มีจดุ ประสงคทสี่ ำคัญอีก อยางหนึง่ คือ เปนโอเอซิสทาวเวอรทสี่ ำคัญของไตหวัน ทีจ่ ะกลาย เปนตัวอยางการสรางระบบการอยรู ว มกับธรรมชาติ และรักษา ธรรมชาติได 100% อาคาร Bionic Arch หรือ Taiwan R.O.C แหงนีเ้ ปนอาคารทีม่ อี ปุ กรณชว ยดูดซับกาซคารบอนไดออกไซด ในบรรยากาศ และเปนอาคารทีเ่ นนการใชพลังงานจากธรรมชาติ เปนอันดับแรก เชน การใชพลังงานแสงอาทิตย พลังงานความ รอน พลังงานลม พลังงานน้ำ เปนตน • คลอง ไมวา จะเปนสิง่ แวดลอม พืน้ ทีส่ เี ขียว พืน้ ทีส่ นั ทนาการ พืน้ ทีพ่ กั ผอน สวนลอยฟา ซึง่ เปนการรวมเอาแพลตฟอรมหรือ

ทีม่ า www.planetcustodian.com

ยานพาหนะสวนบุคคลของโลกยุคใหม ยานพาหนะสวนบุคคลของโลกยุคใหมนี้มีชื่อวา ParaMoto Trike เปนพาหนะแบบทีน่ งั่ เดียว ซึง่ เหมาะกับการเดิน ทางในยุคปจจุบนั ซึง่ Zvezdan Nedeljkovic ออกแบบขึน้ มา เปนพิเศษตามความตองการหรือจุดประสงคหลักๆ พื้นฐาน 3 ประการ นัน่ คือ ออกแบบใหสามารถขับขีไ่ ดเหมือนรถจักรยาน ยนตสองลอ, มีน้ำหนักเบาสามารถบินได และใหมคี วามสวยงาม ใชงานงาย แม ParaMoto Trike จะไดรับการออกแบบใหขับขี่ได เหมือนรถจักรยานยนตสองลอ แตมสี ามลอจึงมีสมรรถนะและ การทรงตัวทีด่ กี วา การใชงานก็งา ยโดยขณะทีอ่ ยบู นพืน้ สามารถ ปรับเปลี่ยนรูปแบบการใชงานใหเปนเหมือนรถจักรยานเพื่อใช เทาถีบ (ปน ) บนพืน้ ปกติได และเมือ่ ตองการจะใชเปนเครือ่ งรอน

336, มีนาคม 2555 55



เทคนิครอบโลก

เพื่ อ การเดิ น ทางบน อากาศก็ ส ามารถปรั บ เปลี่ยนและขับชมทิวทัศนรอบเมืองไปพรอมๆ กับการเดินทางไดดวย Zvezdan Nedeljkovic ผอู อกแบบยืนยัน วา ParaMoto Trike เปนยานพาหนะทีใ่ ชงานงาย ขับขีง่ า ย แม จะใชเปนเครือ่ งรอนก็สามารถใชบนิ รอนไดงา ย ซึง่ นับวาเปนการ เดินทางที่สนุกและตื่นเตน และมีความปลอดภัย ใชพลังงาน

ไฟฟาในการขับเคลือ่ น เหมาะสำหรับผทู ชี่ นื่ ชอบความสนุกและ แปลกใหมในการเดินทาง • ที่มา www.tuvie.com /www. inhabitat.com

แพทยไทยปลูกถายตับออนได ดวยความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวม ทัง้ ดานการแพทย ทำใหคนเราสามารถคิดคนสิง่ ตางๆ ได แม อวัยวะทีช่ ำรุดเสียหายก็สามารถเปลีย่ นได แทบจะเรียกวาเปลีย่ น ไดทุกชิ้นสวนเลยทีเดียว และเมื่อเร็วๆ นี้คณะแพทยไทยจาก โรงพยาบาลศิริราช สามารถปลูกถายและเปลี่ยนตับออนได สำเร็จ ซึง่ นับเปนครัง้ แรกในประเทศไทย การผาตัดเปลีย่ นตับออนทีว่ า นี้ เปนการรักษาโรคสำหรับผูปวยโรค ตับ เบาหวานชนิดที่ 1 ซึ่งเปนโรคที่เกิด จากความผิดปกติของตับออนเอง ทีไ่ ม สามารถผลิ ต ฮอร โ มนอิ น ซู ลิ น ซึ่ ง ทำหนาทีค่ วบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ได เบาหวานชนิดที่ 1 ทีว่ า นีเ้ ปนเบา หวานที่มีผูปวยสวนนอยคือมีเพียง 10% ของผปู ว ยโรคเบาหวานทัง้ หมด ในประเทศไทย เมือ่ เทียบกับเบาหวาน ชนิดที่ 2 ทีเ่ กิดจากพฤติกรรมการใชชวี ติ การกิน ทีม่ กั พบในวัย สูงอายุและคนอวน ในผปู ว ยเบาหวานชนิดที่ 1 ตับออนจะสรางอินซูลนิ ไดนอ ย หรือไมสรางเลย ทำใหระดับน้ำตาลในเลือดของผปู ว ยไมนงิ่ นัน่ คือขึน้ ๆ ลงๆ ต่ำเกินไปและสูงเกินไปอยตู ลอดเวลา จึงสงผลเสีย ตอสุขภาพและคุณภาพชีวติ หากต่ำเกินไปอาจช็อคจนเสียชีวติ ได หากสูงเกินไปจะสงผลตอไต ทำใหไตวาย จอประสาทตาเสือ่ ม หลอดเลือดหัวใจตีบ เปนตน

56

336, มีนาคม 2555

การรักษาที่ทำโดยทั่วไปคือ ฉีดอินซูลินเพื่อปรับระดับ น้ำตาลในเลือดวันละ 3-4 ครัง้ แตกไ็ มไดผลดีนกั และโดยมาก แลวผปู ว ยจะมีภาวะไตวายรวมดวยเพราะควบคุมน้ำตาลไดยาก จึงตองอาศัยการปลูกถายเปลีย่ นตับออน ทีถ่ อื วาเปนเรือ่ งใหมของ ประเทศไทย แตแพทยไทยก็สามารถทำได Oesophagus ตับออน

Right lobe of liver

Left lobe of liver Common hepatic duct

Gall bladder Cystic duct

Common bile duct Duodenum Pylorus

Small intestine Pancreas

อยางไรก็ตาม การปลูกถายเปลี่ยนตับออนนี้ จะใชเพื่อ รักษาผปู ว ยเบาหวานชนิดที่ 1 เทานัน้ ถาเปนเบาหวานชนิดที่ 2 หรือมะเร็งตับออน เนือ้ งอกตับออน และตับออนอักเสบเรือ้ รัง จากการดื่มสุรา ไมสามารถรักษาดวยวิธีนี้ได สวนคาใชจาย ก็ประมาณ 300,000 บาท ซึง่ ก็นบั วาเปนคาใชจา ยทีถ่ กู ทีส่ ดุ ใน โลกเลยทีเดียว เห็นไหมละครับวาแพทยไทยก็ทำได • ที่มา www.si.mahidol.ac.th


• ¤ ©t ¥° £ §t¥ ¯ ¨· £ ¯}ª¸ ¯ §zu z¯w ª· z Õ ³ {¥t ¸¦ ¤ ¯ Ý °t× ° ¨{¨ ª °t× }¥ § • ¤ § ¤¸z¯w ª· z Õ ³ ° £ £ Õ °t× u z Ö ¸¦ « ¥ t ° £¯ ¥ «t} §

o¼Â ¶® nµ¥Â nÁ¡¸¥ o¼Á ¸¥ªÄ ¦³Á «Å ¥

¦·¬ ´ Á ¦º°É ¡n Å¢ ´¨Á °¦r ( ¦³Á «Å ¥) ¶ ´ BALTUR BURNERS (THAILAND) CO., LTD.

­¶ ´ µ Ä® n : 32 ¡¦³¦µ¤ ¸É 2  ª nµ oµ¤ Á µ » Á ¸¥ ¦» Á ¡² 10150 Fax : 02 898 3336 Tel : 02 898 3000 (Auto) E-mail : sales_bangkok@vanichgroup.com http://www.vanichgroup.com ­µ µ®µ Ä® n : 15 .à ·ª · ¥³ »¨ 4 .®µ Ä® n °.®µ Ä® n .­ ¨µ 90110 E-mail : sales_southern@vanichgroup.com Tel : 07 423 9649, 09 488 6992 Fax : 07 423 9650

• ¤ ©t ¥° £ §t¥ ¯ ¨· £ ¯}ª¸ ¯ §zu z¯w ª· z Õ ³ {¥t ¸¦ ¤ ¯ Ý °t× ° ¨{¨ ª °t× }¥ § • ¤ § ¤¸z¯w ª· z Õ ³ ° £ £ Õ °t× u z Ö ¸¦ « ¥ t ° £¯ ¥ «t} §

o¼Â ¶® nµ¥Â nÁ¡¸¥ o¼Á ¸¥ªÄ ¦³Á «Å ¥

¦·¬´ °µ¦r.°¨. Á ·¦r Á °¦r ( ¦³Á «Å ¥) ¶ ´ R.L. BURNER (THAILAND) CO., LTD.

­¶ ´ µ Ä® n : 32/6 ¡¦³¦µ¤ ¸É 2  ª nµ oµ¤ Á µ » Á ¸¥ ¦» Á ¡² 10150 Tel : 02 898 3343 Fax : 02 898 3323 E-mail : services@rlburners.com http://www.rlburners.com ­µ µ®µ Ä® n Tel : 07 455 9340-1 Fax : 07 455 9343


รศ.ดร.มนตรี พิรุณเกษตร

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

การจําลองการถายโอนมวล และความรอนในแผงขยายฟลม แบบแผ น ระนาบวางขนานกั น การใชเทคนิคคํานวณซํ้าดวยวิธีของ Runge-Kutta อันดับที่ 4 เพื่อวิเคราะห

หาตัวแปร คือ อุณหภูมิของอากาศ อุณหภูมิของนํ้า อัตราสวนความชื้นในอากาศ และอัตราการไหลของนํ้าในระดับความสูงของแผงขยายฟลมนํ้า เพื่อจําลองสภาวะการทํางานของคูลลิ่งทาวเวอร

มื่อทราบแบบจําลองทางคณิตศาสตรของระบบที่ตองการ ศึกษาตัวแปรของระบบนั้น เทคนิคที่นํามาวิเคราะหแบบ จําลองที่เหมาะสมขึ้นอยูกับรูปแบบของสมการที่นํามาพิจารณา ในทีน่ จี้ ะพิจารณาแบบจําลองทางคณิตศาสตรเปนชุดสมการการ ถายโอนมวลและการถายโอนพลังงานในแผงขยายฟลม นํา้ ในรูป ของสมการเชิงอนุพันธ และอาศัยเทคนิคการคํานวณซํ้าดวย วิธีของ รุงเง คุตตา อันดับที่ 4 (fourth order Runge-Kutta method) วิเคราะหหาตัวแปรของแบบจําลอง อันไดแก อุณหภูมิ ของอากาศ อุณหภูมิของนํ้า อัตราสวนความชื้นในอากาศ และ อัตราการไหลของนํา้ ในระดับความสูงของแผงขยายฟลม นํา้ เพือ่ ใชเปนแนวทางศึกษาการจําลองสถานการณการทํางานของคูล ลิ่งทาวเวอรตอไป การตรวจสอบความเที่ยงตรงของแบบจําลองนั้น จะ กระทําโดยการเปรียบเทียบตัวแปรที่คํานวณดวยแบบจําลอง ซึ่งไดเขียนเปนโปรแกรมคอมพิวเตอรกับตัวแปรดังกลาวที่เก็บ หรือวัดจากผลการทดลองกับแผงขยายฟลม นํา้ ทีส่ รางขึน้ มาเปน ตัวอุปกรณแบบจําลอง การศึ ก ษาอิ ท ธิ พ ลของตั ว แปรหรื อ สภาวะแวดล อ มที่ เปลี่ยนแปลงไปจะสงผลกระทบตอการทํางานของแผงขยาย ฟลมนํ้า และทําใหตัวแปรตัวอื่นเปลี่ยนแปลงคาไปอยางไรจะ อาศัยการจําลองสถานการณไดดวยเชนกัน

การเตรียมสมการ ที่ใชในแบบจําลอง

กระบวนการถายโอนมวลจากฟลมนํ้าสูอากาศจะเกิดขึ้น ได ก็ตอเมื่อมีผลจากไอนํ้าที่ผิวฟลมไอนํ้ามีความดันอิ่มตัวที่สูง กวาความดันไอนํ้าในอากาศ จะเกิดผลตางระหวางอัตราสวน ความชืน้ ในอากาศกับอัตราสวนความชืน้ ของอากาศอิม่ ตัวทีฟ่ ล ม นํ้า ทําใหเกิดแรงขับและเกิดการถายเทมวลออกจากผิวฟลมไป สูอากาศ ดังรูปที่ 1 การคํานวณปริมาณการแพรของมวลออกจากผิวฟลม นัน้ พิจารณาเชนเดียวกับการพาความรอน ในรูปของ ¥t¥ }ª¸ ω

§ Ì Ù ¨ ¸ ª ¨· $ ¤ ¥ Õ w ¥ }ª¸ ωV m"diff

¸¼¥

รูปที่ 1 การถายโอนมวลออกจากผิวฟลมนํ้าเขาสูอากาศ

336, มีนาคม 2555 57 TN336 heat .indd 57

17/4/2555 16:30:40



T conv = α(Ts – T∞) โดยที่ α = สัมประสิทธิ์การพาความรอน Ts = อุณหภูมิที่ผิวของแข็ง T∞ = อุณหภูมิของของไหลโดยรอบ ดังนั้นที่ผิวสัมผัสรวมระหวางอากาศกับฟลมนํ้าบนแผง ขยายฟลมนํ้า ฟลักซมวลที่แพรออกสูอากาศจะขึ้นอยูกับความ แตกตางระหวางความดันอิม่ ตัวของไอนํา้ ในอากาศทีอ่ ณ ุ หภูมนิ าํ้ กับ ความดันยอยของไอนํา้ ในอากาศทีต่ าํ แหนงพิจารณาเดียวกัน เนือ่ งจากอัตราสวนความชืน้ ในอากาศขึน้ อยูก บั ความดันยอยของ ไอนํ้าในอากาศ จึงเขียนฟลักซมวลที่แพรออกจากฟลมนํ้าในรูป ของผลตางของอัตราสวนความชื้นในอากาศดังนี้ … (1) m"diff = Gm(ωS – ω) Gm = ความนําการถายโอนมวล (mass transfer conductance, kg/m2.s) ωS = อัตราสวนความชื้นของอากาศอิ่มตัวที่อุณหภูมิขณะ นั้นของนํ้า ω = อัตราสวนความชืน ้ ของอากาศทีต่ าํ แหนงเดียวกันกับ ωS ดังนั้นอัตราการแพรทั้งหมดของมวล บนผิวฟลมนํ้าที่มี พื้นที่ A คํานวณไดจาก (หนวย kg/s) … (2) P GLII = m"diffA การจําลองสถานการณการถายโอนมวลและความรอน ระหวางนํา้ และอากาศบนผิวแผงขยายฟลม นํา้ สมมติฐานในการ เตรียมสมการเชิงอนุพันธที่นํามาใชในแบบจําลองมีดังตอไปนี้ 1. พิจารณาการถายโอนมวลและถายโอนความรอนอยู ภายใตสภาวะคงตัวและการไหลคงตัว 2. บนหนาตัดขวางของแผงขยายฟลม นํา้ ทีร่ ะดับความสูง ใดๆ พิจารณาอุณหภูมิของอากาศและนํ้ามีคาสมํ่าเสมอ ตลอด ทั่วหนาตัดขวางนั้น 3. ทีร่ ะดับความสูงหนึง่ ๆ ของแผงขยายฟลม นํา้ จะสมมติ ใหอณ ุ หภูมขิ องฟลม นํา้ (water film temperature) เปนอุณหภูมิ เดียวกับอุณหภูมิของนํ้า 4. ไมคํานึงถึงผลของการสูญเสียนํ้าโดยละอองนํ้าลอย ติดไปกับอากาศ และผลของการโบวดาวนเพื่อเจือจางสาร แขวนลอยในนํ้า 5. พิจารณาพืน้ ทีถ่ า ยโอนมวลและพืน้ ทีถ่ า ยโอนความรอน เปนพื้นที่เดียวกัน 6. ความจุความรอนจําเพาะของอากาศแหง ไอนํ้า และ นํ้ามีคาคงตัว ความจุความรอนจําเพาะของอากาศชื้นพิจารณา จากผลรวมระหวาง ความจุความรอนจําเพาะของอากาศแหง และ ผลคูณของอัตราสวนความชืน้ กับ ความจุความรอนจําเพาะ ของไอนํ้าในอากาศ

58 TN336 heat .indd 58

7. เลขเลวิส (Lewis number) เทากับ 1

สมดุลมวลของไอนํ้าในอากาศ จากฟลักซมวลที่แพรออกจาก แผงขยายฟลมนํ้า

ในรูปที่ 2 พิจารณาแผงขยายฟลม นํา้ เปนปริมาตรควบคุม โดยมีพื้นที่หนาตัดคงตัวและสูง Δz การถายโอนมวลบนผิวแผง ขยายฟลมพื้นที่ ΔA = PΔz โดยที่ P คือ เสนรอบรูปเปยก ของหนาตัดแผงขยายฟลมนํ้า โดยสมมติวาไมคิดมวลสูญเสีย ของไอนํ้า ขณะไหลผานแผงขยายฟลมนํ้า จากสมดุลของมวล ไอนํา้ ในอากาศ พบวาปริมาณความชืน้ ในอากาศทีเ่ พิม่ ขึน้ เทากับ ปริมาณไอนํ้าที่ระเหยออกจากผิวฟลมนํ้าบนแผงขยายฟลมนํ้า จากสมการสมดุลมวลของไอนํ้าและมวลไอนํ้าที่ระเหยจากผิว ฟลมนํ้า จะได … (3) P GD Z $ '$ P GD Z $ P GLII '$ P GD = อัตราการไหลโดยมวลของอากาศแหง, kg-dry air/s PGD ω $ + Δ$ ΔA = pΔz

P GLII Δ$ PGD ω $

รูปที่ 2 สมดุลของมวลไอนํ้าในอากาศบนแผงขยายฟลมนํ้า ในชวงความสูง Δz

บนพื้นฐานของทฤษฎีการถายโอนมวลในอัตราตํ่า อัตรา การระเหยของฟลมนํ้าบนแผงขยายฟลมนํ้าจะประมาณในรูป ของสมการ (1) เนื่องจากเสนรอบรูปเปยกของหนาตัดแผง ขยายฟลมนํ้ามีคาคงตัว และพื้นที่ผิวถายโอนมวล คือ ΔA = PΔz สมการ (3) หารดวย Δz ตลอด และใสลิมิตให Δz เขา ใกลศูนยจะได GZ S*P Z6 Z

… (4) P G] GD

สมดุลมวลระหวางนํ้า (ที่ไหลจากดานบนสูดานลาง) และไอนํ้าในอากาศ

ในรูปที่ 3 พิจารณาแผงขยายฟลมนํ้าในคูลลิ่งทาวเวอร

336, มีนาคม 2555 17/4/2555 16:30:54



PZ $ + Δ$

PGD ω $ + Δ$

PGDKD $ + Δ$ z+Δz q"conv ΔA ΔA = pΔz

ΔA = pΔz (m"conv ΔA)hfilm

z

PZ $

PGD ω $

PGDKD $

รูปที่ 3 สมดุลของมวลระหวางนํ้าและไอนํ้าในอากาศ บนพื้นที่ผิวฟลมขนาด ΔA=PΔz

รูปที่ 4 สมดุลของพลังงานของอากาศชื้นบนพื้นที่ผิวฟลม ขนาด ΔA = PΔz

แบบไหลสวนทางในชวงความสูง Δz เปนปริมาตรควบคุม มี P เสนรอบรูปเปยกเปนคาคงตัว โดยมีไอนํ้าในอากาศเขาที่ z = z และออกที่ z = z + Δz สวนนํ้าที่อุณหภูมิสูงกวาเขาที่ z = z + Δz และนํ้าที่อุณหภูมิตํ่ากวาออกที่ z = z โดยสมมติวา ไมมีมวลนํ้าสูญเสียเนื่องจากการเกิดละอองนํ้าที่ลอยติดไปกับ อากาศ จากสมดุลมวลระหวางไอนํ้าในอากาศและนํ้ารอนจะ เขียนไดวา

ออกจากฟลมนํ้าซึ่งพิจารณาที่อุณหภูมิฟลมนํ้า และคํานวณ ไดจาก hflm = 2,501 + 1.789Tf + 5.337 × 10–5 [(Tf + 273.15)2 – 273.162] + 1.952 × 10–7[(Tf + 273.15)3 – 273.16 3 ] – 5 × 10 –11 [(T f + 273.15) 4 … (7) – 273.164] สําหรับ hflm ในสมการ (7) ไดจากการขึ้นรูปสมการ (fitting of equations) ในตารางไอนํ้าในชวงอุณหภูมิ 0-100 °C โดยที่ Tf มีหนวยเปน °C สําหรับการพาความรอนออกจากผิวฟลมนํ้ารอนสูอากาศ ถากําหนดให Tf = อุณหภูมิของฟลมนํ้า Ta = อุณหภูมิของอากาศที่ไหลผานฟลมนํ้าที่ตําแหนง เดียวกับ Tf α = สัมประสิทธิ์การพาความรอนที่ผิวฟลมนํ้า ฟลักซการพาความรอนบนฟลมนํ้า (q”conv, kW/m2) คํานวณจาก … (8) q”conv = α(Tf – Ta) = GhCpa(Tf – Ta) Gh = ความนําการถายโอนความรอน (heat transfer conductance, kg/s.m2) ซึ่งมีหนวยเดียวกันกับ Gm Cpa = ความจุความรอนจําเพาะของอากาศชื้น ในหนวย kJ/kg-da.°C พิจารณาจากผลรวมของความจุความรอนจําเพาะของ อากาศ (Cpda, kJ/kg-da.°C) และความจุความรอนจําเพาะ ของไอนํ้าในอากาศ (Cpv, kJ/kg-vapor.°C) และอยูในรูปของ … (9) Cpa = Cpda + ωCpv = 1.005 + 1.88ω และจากสมการ (8) ความนําการถายโอนความรอน สามารถหาไดจาก

P GD Z $ '$ P GD Z $ P Z $ P Z $ '$ = 0 … (5) P Z = อัตราการไหลโดยมวลของนํ้าผานแผงขยายฟลมนํ้า, kg/s จัดสมการ (5) ใหมและหารสมการดวย Δz ตลอด และ ใสลิมิตให Δz เขาใกลศูนยจะได GZ GP Z = … (6) P GD S*P ZV Z G] G] จากสมการ (6) นี้จะพบวาปริมาณไอนํ้าในอากาศที่เพิ่ม ขึ้น (ขณะไหลขึ้น) จะเทากับปริมาณของนํ้าที่ลดลง (ขณะไหล ลงมาตามแผงขยายฟลมนํ้า) นอกจากนี้ การถายโอนมวลจาก ฟลมนํ้าสูอากาศขึ้นอยูกับ แบบของแผงขยายฟลมนํ้า อัตรา การไหลของนํา้ และอัตราการไหลของอากาศทีไ่ หลเขาแผงขยาย ฟลม ระยะพิตช (pitch) ของแผงขยายฟลมนํ้า และความหนา ของฟลมนํ้า เปนตน

สมดุลของพลังงานของอากาศชื้น ขณะไหลผานแผงขยายฟลมนํ้า

พิจารณาการถายโอนความรอนจากฟลมนํ้าบนแผงขยาย ฟลมนํ้าเขาสูอากาศชื้นขณะไหลผานดังรูปที่ 4 โดยอากาศจะ รับความรอนจากฟลม นํา้ ในรูปของการพาความรอน (q”convΔA) และความรอนแฝงอันเกิดจากผลการถายโอนมวลนํ้าออกจาก ฟลม นํา้ (m”diffΔAhflm) โดยที่ hflm คือ เอนทัลปของนํา้ ทีร่ ะเหย

D … (10) & SD สําหรับการระเหยตัวของนํ้าเขาไปในอากาศจะพิจารณา

Gh =

336, มีนาคม 2555 59 TN336 heat .indd 59

17/4/2555 16:30:55



เปนการถายโอนมวลในอัตราที่ตํ่า และการถายโอนมวลเกิดขึ้น ในของผสมระหวางอากาศและไอนํา้ ทีพ่ จิ ารณาเปนของผสมเจือ จาง (dilute water vapor and air mixture) ซึ่งพบวาของผสม อากาศกับไอนํ้าจะมีเลขชมิดต (Schmidt number, Sc) เทากับ 0.61 และเลขแพรนดเทิล (Prandtle number, Pr) เทากับ 0.69 ดังนั้นเลขเลวิส (Lewis, Le) คือ Le = Pr/Sc = 0.69/0.61 = 1.13 และจะไดอตั ราสวน Gm/Gh = (1.13)2/3 = 1.08 ดังนัน้ การ วิเคราะหการถายโอนมวลและการถายโอนความรอนในอากาศ ชื้น จึงกําหนดให Gm = Gh (หรืออยูในกรณีของ Le = 1) จาก สมการ (8) และ (9) จะเขียนไดดังนี้ … (11) q”conv = Gm(1.005 + 1.88ω)(Tf – Ta) ในรูปที่ 4 จากสมการสมดุลของพลังงานของอากาศชื้น เขียนไดวา

P GD KD $ '$ P GD KD $ T FRQY '$ P GLII '$ K IOP จัดสมการใหมและหารสมการดวย Δz ตลอด และใสลมิ ติ ให Δz เขาใกลศูนย โดยที่ ΔA = PΔz จะได GK … (12) P GD D = Pq"conv + Pm"diffhfilm G] สมการ (12) นี้พบวา สวนเพิ่มของเอนทัลปของอากาศ ชื้นขณะไหลขึ้น จะมีปริมาณเทากับผลรวมระหวางปริมาณการ พาความรอนออกจากฟลม นํา้ และปริมาณความรอนแฝงจากการ ระเหยตัวของนํ้าบนฟลมนํ้าสูอากาศขณะไหลผาน แทนคาในพจนทางขวามือของสมการ (12) และจัดสมการ ใหม จะได GKD = 3*P ª Z 7I 7D º … (13) G] P GD «¬ ZV Z K ILOP »¼

สมดุลพลังงานของอากาศชื้น และนํ้าขณะไหลผานแผง ขยายฟลมนํ้า

พิจารณาการถายโอนความรอนระหวางนํ้าที่ไหลลงและ อากาศชื้นที่ไหลขึ้นผานแผงขยายฟลมนํ้าในชวงของ ความสูง Δz และมีพื้นที่ผิว ΔA = PΔz ดังรูปที่ 5 ในที่นี้สมมติวาไมมี พลังงานสูญเสียออกจากปริมาตรควบคุมดังกลาว จากสมดุล พลังงานบนปริมาตรควบคุมเขียนไดวา

P Z KZ $ '$ P Z KZ $ = P GD KD $ '$ KD $ หารสมการดวย Δz ตลอด และใสลิมิตให Δz เขาใกล ศูนยจะได

60 TN336 heat .indd 60

PZKZ $ + Δ$

PGDKD $ + Δ$

ΔA = pΔz

PZKZ $

PGDKD $

รูปที่ 5 สมดุลพลังงานระหวางนํ้าและอากาศชื้นขณะไหลผาน แผงขยายฟลมนํ้าชวง ΔA = PΔz

G P Z KZ

GK P GD D G] G] GP Z GKD GK Z K P Z P GD G] G] Z G] 3* Z 7 7

GK Z P ª Z Z K I Z D Z K º P Z «¬ V G] ILOP V Z» ¼

… (14) จากสมการที่วิเคราะหไดเปนสมการในแบบจําลองทาง คณิตศาสตรโดยอาศัยพื้นฐานของการถายโอนมวลและความ รอนจากนํ้าสูอากาศ โดยกําหนดตัวแปรในแบบจําลองภายใต สภาวะคงตัว (steady state) มีทั้งสิ้น 4 ตัวแปร คือ อัตรา การไหลโดยมวลของนํ้า ( P Z , kg/s) อัตราสวนความชื้น (ω, kg-vapor/kg-dry air) อุณหภูมิของนํ้า (Tf, °C) และอุณหภูมิ กระเปาะแหงของอากาศ (Ta, °C) ในที่นี้กําหนดใหเอนทัลป ของอากาศชื้น (ha) ขึ้นอยูกับอัตราสวนความชื้นและอุณหภูมิ กระเปาะแหงของอากาศ และเอนทัลปของนํ้า (hw) ขึ้นอยูกับ อุณหภูมิของนํ้า สํ า หรั บ เอนทั ล ป ข องอากาศชื้ น พิ จ ารณาจากผลรวม ระหวางเอนทัลปของอากาศแหง และเอนทัลปของไอนํ้าใน อากาศนั้น โดยกําหนดสภาวะอางอิงอยู 0 °C และกําหนดให อากาศแหงและไอนํ้าในอากาศนั้นมีเอนทัลปเปนศูนย ปริมาณ ความรอนแฝงของการระเหยตัวของนํ้า เทากับ 2,501 kJ/kgvapor และไอนํ้าในอากาศมีความจุความรอนจําเพาะคงที่ Cpv = 1.88 kJ/kg-vapor.K ดังนั้น … (15) ha = 1.005Ta + ω(2,501 + 1.88Ta) จากสมการ (14) และ (15) โดยที่ Gm = Gh = α/Cpa จะเขียนใหมไดดังนี้ G7D = Z u § 3D · … (16) ¨& P ¸ G] © SD GD ¹ ª Z 7I 7D º » u « ZV Z K IOP «¬ 7D ZV Z »¼

336, มีนาคม 2555 17/4/2555 16:30:55



สําหรับอุณหภูมินํ้าจะพิจารณาเปนอุณหภูมิฟลมนํ้า และ ใชเอนทัลปของนํ้าในสภาพของเหลวอิ่มตัวจะพิจารณาจากการ ขึน้ รูปสมการจากขอมูลในตารางไอนํา้ ในชวงของ 25-49 °C ดังนี้ … (17) hw = 4.179Tf + 0.4164 จากสมการ (14) และ (17) โดยที่ Gm = Gh = α/Cpa จะได G7I = u § 3D · หรือ ¨& P ¸ G] © SD GD ¹ Z 7I 7D º ª u «¬ ZV Z K IOP ZV Z K Z »¼ G7I u § 3D · … (18) = ¨& P ¸ G] © SD GD ¹ ª Z 7I 7D º » u « ZV Z K IOP «¬ ZV Z 7I »¼ GZ § 3D · = Z Z (จากสมการ (4)) … (19) G] ¨© &SD P GD ¸¹ V GP Z = § 3D · (จากสมการ (6)) … (20) ¨ & ¸ ZV Z

G] SD © ¹ นั่นคือ ชุดสมการในแบบจําลองสถานการณการทํางาน ของแผงขยายฟลม นํา้ นี้ ประกอบดวยสมการ 4 สมการ คือ (16) (18) 19) และ (20) คาของ Cpa, hflm, ω, ωs, P Z , P GD , P และ α จะ พิจารณาจากการคํานวณดวยสมการเพิ่มเติมดังนี้

Ps = 0.0034(WBT)2 + 0.0108WBT + 0.7645 … (22ก) ในชวงของ WBT ตั้งแต 28 °C จนถึง 60 °C ใชสมการ Ps = 0.0109(WBT)2 – 0.4754WBT + 8.7967 … (22ข) สําหรับความรอนแฝงของการระเหยของนํ้า (hfg) และ เอนทัลปอิ่มตัวของนํ้า (hf) จะพิจารณาที่ WBT จากขอมูลใน ตารางไอนํ้าที่ใชงานในชวงอุณหภูมิตั้งแต 5 °C ถึง 60 °C ใช สมการรูปของ … (23) hfg = 2501.8 – 2.387WBT … (24) hf = 4.182WBT + 0.2293

การคํานวณอัตราสวนความชื้น ของอากาศอิ่มตัว (ωs)

เนื่ อ งจากค า อั ต ราส ว นความชื้ น ของอากาศอิ่ ม ตั ว นี้ พิจารณาจากอากาศชื้นอิ่มตัวที่อุณหภูมิฟลมนํ้า (Tf) โดยปรกติ แลวนํ้าในแผงขยายฟลมนํ้าเปนนํ้าที่มีอุณหภูมิสูงกวาอุณหภูมิ อากาศโดยรอบ จึงเลือกพิจารณาในชวงอุณหภูมิตั้งแต 28 °C จนถึง 60 °C สําหรับในการทําแบบจําลองนี้ อัตราสวนความชื้นของอากาศอิ่มตัวคํานวณจาก 36I ωS = … (25) 36I PSf = ความดันไอนํา้ อิม่ ตัวทีอ่ ณ ุ หภูมเิ ดียวกับฟลม นํา้ ในชวง ของตั้งแต 28 °C จนถึง 60 °C คํานวณจาก … (26) PSf = 0.0109Tf2 – 0.4754Tf + 8.7967

การคํานวณอัตราสวนความชื้น (ω) การคํานวณอัตราการไหล ในแบบจําลองจะใชสมการคํานวณ ω ซึง่ ขึน้ อยูก บั สภาวะ อากาศ ในการกําหนดสภาวะของอากาศขณะไหลผานฟลม นํา้ จะ โดยมวลของนํ้า ( P Z )

ใชอุณหภูมิกระเปาะแหง (DBT หรือ Ta) และอุณหภูมิกระเปาะ เปยก (WBT) จากการวิเคราะหกระบวนการทําใหอากาศอิ่มตัว แบบแอเดียแบติกจะสามารถคํานวณ ω ไดจาก

ª :%7 '%7 § 3V ·K º ¨ 3 ¸ IJ » « © V¹ ¼ ω= ¬ … (21) '%7 K I

ในสมการ (21) Ps คือ ความดันอิม่ ตัวของไอนํา้ ในอากาศ โดยพิจารณาที่ WBT ในที่นี้ไดขึ้นรูปสมการของ Ps จากขอมูล ในตารางไอนํ้าที่ใชงานในชวงอุณหภูมิตั้งแต 6 °C ถึง 60 °C ดังตอไปนี้ ในชวงของ WBT ตั้งแต 6 °C จนถึง 28 °C ใชสมการ

เนื่องจากการตรวจสอบความเที่ยงตรงของแบบจําลอง จะตองอาศัยการรันโปรแกรมคอมพิวเตอรแลวเปรียบเทียบ กับขอมูลที่วัดไดจากผลการทดลอง จากการทดลองรันเครื่อง ทดสอบการทํางานของแผงขยายฟลมนํ้านั้นจะกําหนดอัตรา การไหลของอากาศและอัตราการไหลของนํ้าคงตัวระหวางการ ทดลองที่ HWT 3 คา ไดแก 36.2, 38.2, และ 40.2 °C ตาม ลําดับ ในที่นี้กําหนดใช • อัตราการไหลเชิงปริมาตรของนํ้า, 9 Z = 52.36 L/min • อัตราการไหลเชิงปริมาตรของอากาศ, 9 D = 16.4 m3/min ดังนั้นอัตราการไหลเชิงมวลของนํ้าคํานวณไดในพจน ของ 9Z P Z = U I 9 Z u … (27)

336, มีนาคม 2555 61 TN336 heat .indd 61

17/4/2555 16:30:57


ºÃÔÉ·Ñ àºÃ¹¹Ô¤Ê à·¤â¹âÅÂÕ ¨Ó¡Ñ´ BRAINICS TECHNOLOGY CO., LTD. 48/184-185 «ÍÂÃÒÁ¤Óá˧ 104 ¶¹¹ÃÒÁ¤Óá˧ ÊоҹÊÙ§ ¡ÃØ§à·¾Ï 10240

E-mail : sales@elettronicathailand.net www.elettronicathailand.net

â·ÃÈѾ· : 0-2729-4833 â·ÃÊÒà 0-2729-4834


โดยที่ความหนาแนนของนํ้าคํานวณไดจาก ρf = 2.116235 × 10–10 (Tf + 273.15)6 – 4.0524 × 10–7 (Tf + 273.15)5 + 3.221635 × 10–4 (Tf + 273.15)4 – 1.36077 × 10–1 (Tf + 273.15)3 + 32.1989 (Tf + 273.15)2 – 4,045.674 (Tf + 273.15) + 211,816.2 … (28) ในสมการ (28) Tf มีหนวยเปน °C การคํานวณอัตราการไหลโดยปริมาตรของอากาศแหง ผานแผงขยายฟลม นํา้ พิจารณาจากผลคูณระหวางความเร็วของ อากาศ (va) และพืน้ ทีห่ นาตัดดานหนากอนถึงแผงขยายฟลม นํา้ (Afr) สวนความหนาแนนของอากาศชื้นคํานวณได Z ª º § · ρa = '%7 ¨ ¸ … (29) «¬ © ¹»¼ อัตราการไหลโดยมวลของอากาศชื้นคํานวณจาก P D = ρavaAfr … (30) อัตราการไหลโดยมวลของอากาศแหงคํานวณจาก P GD = P D … (31) Z

ระหวางแผนหรือระยะพิตช (p) และจํานวนแผนทัง้ หมดทีใ่ ช (nP) รายละเอียดตางๆ ที่ตองคํานวณไดแกเสนรอบรูปเปยก (P) พื้นที่ดานหนา (Afr) ความหนาของชั้นชิดผิวบนแผนระนาบ (δ) พืน้ ทีห่ นาตัดของแผงขยายฟลม นํา้ (AC) และเสนผานศูนยกลาง ไฮดรอลิกของหนาตัด (dh) ซึ่งแตละพจนคํานวณไดดังนี้ … (32) P = 2(n – 1)WP … (33) Afr = (n – 1)WPp … (34) AC = (n – 1)[p – (t + 2δ)]WP จากสมการ (33) และ (34) จะเขียนในรูปของ AC = $ IU ª W G º … (35) «¬ S »¼ เสนผานศูนยกลางไฮดรอลิกของหนาตัดแผงขยายฟลม นํ้าคํานวณจาก dh = 4AC/P และจะได

เสนรอบรูปเปยก พื้นที่ดานหนา และพื้นที่หนาตัดของแผง ขยายฟลมนํ้า

สําหรับการไหลระหวางแผนระนาบคูข นานนัน้ ฟลม นํา้ บน แผนระนาบไหลลง สวนอากาศไหลสวนจากดานลางขึ้นดานบน สําหรับการไหลของนํา้ เปนการไหลแบบชัน้ ชิดผิวบางๆ ความหนา ของชั้นชิดผิว (δ) จะถูกกําหนดดวยเลขเรยโนลด Rew = P Z = P Z $ IU S … (37) PZ 3P Z โดยที่ ความหนืดสัมบูรณของนํ้าที่อุณหภูมิอยูในชวง 21.85 ถึง 86.85 °C จะคํานวณไดจาก

เนื่องจากพิจารณาแผงขยายฟลมนํ้ามีลักษณะเปนแผน ระนาบคูขนานดังแสดงในรูปที่ 6 ซึ่งมีการกําหนดขนาดดวย ความกวาง (wP) ความสูง (H) ความหนาของแผน (t) ระยะหาง

dh = 2[p – (t + 2δ)]

… (36)

สัมประสิทธิ์การพาความรอน ของฟลมนํ้าบนแผนระนาบขนาน

รูปที่ 6 แผงขยายฟลมนํ้าแบบแผนระนาบคูขนาน

62 TN336 heat .indd 62

336, มีนาคม 2555 17/4/2555 16:31:00



= [0.1254 (Tflm + 273.15)2 – 91.415 (Tflm + 273.15) + 16,996]10–6 … (38) ในสมการ (38) Tflm มีหนวยเปน °C สําหรับความหนาของชั้นฟลมนํ้า พิจารณาในชวงของ Rew ดังนี้ δ = 0.0672(vw2/g)1/3Rew2/3 สําหรับ Rew > 1,600 …(39ก) δ = 0.909(vw2/g)1/3Rew1/3สําหรับ Rew < 1,600 … (39ข) ถาอากาศไหลขึน้ ระหวางแผนระนาบคูข นานทีม่ พี นื้ ทีห่ นา ตัด AC เลขเรยโนลดของอากาศชื้นคํานวณจาก Rea = U D Y D GK โดยที่ va = P D /ρaAC ดังนั้น P μw

D

Rea = P D $ & GK PD

… (40)

โดยที่ความหนืดของอากาศชื้นคํานวณจาก μda = 0.0422DBT + 17,423)10–6 μv = 0.0400002Tf – 2.909737)10–6 สมมติใหอากาศเปนแกสอุดมคติ ดังนัน้ ความหนืดสัมบูรณ ของอากาศชื้นคํานวณจาก =

P GD ZP Y

… (41) Z สําหรับการถายโอนมวลระหวางฟลม นํา้ และอากาศ ความ นําการถายโอนมวลคํานวณจาก *P GK 5 6F 5H = … (42) D Z F D' โดยที่ D = สัมประสิทธิก์ ารแพรทวิภาค (binary diffusion coefficient) Sc = เลขชมิดต (Schmidt number) สมการ (42) ใชไดสําหรับ Rea อยูในชวงของ 2,000 ถึง 20,000 และ Rew นอยกวา 1,200 อากาศชืน้ ประกอบดวยอากาศแหงและไอนํา้ ซึง่ พิจารณา เปนของผสมเจือจาง สัมประสิทธิ์การแพรทวิภาคระหวางไอนํ้า กับอากาศจึงคํานวณไดจาก … (43) D = u ª '%7 º »¼ «¬ เนือ่ งจาก Sc = μa/ρa D สมการ (42) จึงเขียนใหมไดดงั นี้ P Gm = 0Z §¨ D ·¸6F 5HD 5H Z … (44) © 0D G K ¹ เนื่องจากการวิเคราะหการถายโอนมวลและความรอนใน อากาศชื้นนั้น Gm = Gh = α/Cpa จากสมการ (44) สัมประสิทธิ์การพาความรอนบนแผน ระนาบคูขนานคํานวณไดจาก μa

α

= 0Z &SD §¨

P D · ¸6F 5H D 5H Z … (45) 0 © D GK ¹

ในสมการ (45) นั้น Ma = 28.9, Mw = 18 และ Cpa = 1.005 + 1.88ω

วิธีหาผลเฉลยของการจําลองแบบ และขั้นตอนการวิเคราะห

ในแบบจําลองนี้ประกอบดวยสมการ (16), (18), (19) และ (20) ทัง้ หมด 4 สมการ ตัวแปรในแบบจําลองจํานวนทัง้ สิน้ 4 ตัว คือ Ta, Tf, P D และ ω โดยจะคํานวณคาตัวแปรใน แบบจําลองดวยวิธีของ รุงเง คุตตา อันดับที่ 4 (fourth order Runge-Kutta method) ในการจําลองสถานการณดวยวิธีของ รุงเง คุตตา อันดับที่ 4 นีจ้ ะกําหนดฟงกชนั f1(Ta, Tf, ω) = dTa/ dz, f2(Ta, Tf, P D, ω) = dTf/dz, f3 (ω) = dω/dz และ f4(ω) = dP D/dz โดยกําหนดชุดสมการในการคํานวณดวยวิธีของ รุงเง คุตตา ดังนี้ พรอมทั้งเขียนโปรแกรมดวยภาษา Visual Basic และรัน โปรแกรมหาคาตัวแปรในแบบจําลองทั้ง 4 ตัวดังกลาวนั้น D D D D Ta,i+1= Ta,i E E E E Tf,i+1 = Tf,i F F F F ωi+1 = ZL G G G G P Z L = P Z L โดยที่ a1 = '] I 7D L 7I L ZL

b1 = '] I 7D L 7I L ZL P Z L

c1 = '] I ZL

d1 = '] I ZL

D E F a2 = '] I 7D L 7I L ZL

D E F G b2 = '] I 7D L 7I L ZL P Z L

F c2 = '] I ZL

F d2 = '] I ZL

E D F a3 = '] I 7D L 7I L ZL D E F G b3 = '] I 7D L 7I L ZL P Z L F c3 = '] I ZL

336, มีนาคม 2555 63 TN336 heat .indd 63

17/4/2555 16:31:01


¦´ Á®¤µ °°  · ´ Ê Ä®o ¶ ¦¹ ¬µ ¦³ Å¢¢jµ ¨³¦³ Automation Ä Ã¦ µ » ¦³Á£ °µ ·Á n SCADA, PLC, HMI, Touch Screen, o¼ SWITCH BOARD etc. ¦´ n°¤ INVERTER, PLC, SERVO MOTOR » ¥¸®É °o

§ ¤ ¯ ¯~¨ ¯ w ¥ ¯ Ù w ± {¦t¤

Á¥¸¥É ¤ ¤ website ° Á¦µ

http://www.asiatech-si.com 54 ~. }§ ¥ § 18 . «u « § 101/1 °u z ¥z ¥ ¯u ¥z ¥ t «z¯ ¢ 10260 E-mail : sales@asiatech.co.th Tel. 02 399 5443, 02 747 9009 Fax. 02 399 5047


F d3 = '] I ZL a4 = '] I 7D L D 7I L E ZL F b4 = '] I 7D L D 7I L E ZL F P Z L G

c4 = '] I ZL F d4 = '] I ZL F โดยที่ a1, a2, a3, a4, b1, b2, b3, b4, c1, c2, c3, c4, d1, d2, d3 และ d4 เรียกวา สมการรีคูชัน (recursion equations) ของ รุงเง คุตตา และ Δz คือ ขนาดชวงความสูง (increment) ของแผงขยายฟลม นํา้ ทีก่ าํ หนดเปนชวงพิจารณาตัวแปรในแบบ จําลอง สําหรับคาเริ่มตนของตัวแปรในแบบจําลอง (Ta, Tf, P D และ ω) นัน้ พิจารณาเปนคาของแตละตัวแปรทีต่ าํ แหนงดานลาง สุดของแผงขยายฟลมนํ้า (ที่ z = 0) ขอมูลทีส่ ามารถวัดไดจากการทดสอบแผงขยายฟลม นํา้ ที่ สรางเปนโมเดลนัน้ จะใชอา งอิงเปนขอมูลในการพิจารณาของคา คงตัวและคาเริ่มตนของตัวแปรในแบบจําลอง ดังนี้ - อัตราการไหลโดยปริมาตรของอากาศผานแผงขยายฟลม นํา้ , 9 D = ______ m3/min - อัตราการไหลโดยปริมาตรของนํ้าผานแผงขยายฟลมนํ้า, 9 Z = ______ L/min - อุณหภูมิกระเปาะแหงทางเขาแผงขยายฟลมนํ้า, DBT หรือ Ta = ______ °C - อุณหภูมิกระเปาะเปยกทางเขาแผงขยายฟลมนํ้า, WBT = ______ °C - อุณหภูมิของนํ้าเย็นทางออกแผงขยายฟลมนํ้า, Tf = ______ °C จากคากําหนดตางๆ ที่กลาวมา จะพิจารณาใหคาเริ่มตน ของตัวแปรในแบบจําลองเปนคาที่ดานลางสุดของแผงขยาย ฟลมนํ้า ซึ่งพิจารณาเปนคาที่ระดับความสูงอางอิงดานลางของ แผงขยายฟลมนํ้า (z = 0) ซึ่งไดแก อุณหภูมิกระเปาะแหง ทางเขาแผงขยายฟลมนํ้าใชเปนคาเริ่มตนของ Ta ที่อุณหภูมิ กระเปาะแหงทางเขาแผงขยายฟลมนํ้าและอุณหภูมิกระเปาะ เปยกทางเขาแผงขยายฟลมนํ้าที่ทราบคาจะใชคํานวณคาเริ่ม ตนของ ω, ที่อุณหภูมิของนํ้าเย็นทางออกแผงขยายฟลมนํ้า และอัตราการไหลโดยปริมาตรของนํ้าผานแผงขยายฟลมนํ้าที่ ทราบคานํามาใชคํานวณคาเริ่มตนของอัตราการไหลโดยมวล ของนํ้า P Z และอุณหภูมิของนํ้าเย็นทางออกแผงขยายฟลม นํ้าเปนคาเริ่มตนของ Tf ขอมูล ในการพิจารณาของคาเริ่มตนของตัวแปร ในแบบจําลอง ทางคณิตศาสตรมีทั้งหมด 3 ชุดดังนี้ 1. ที่อุณหภูมินํ้ารอนเขาคูลลิ่งทาวเวอร HWT = 36.2 °C ที่ดานลางของคูลลิ่งทาวเวอรนั้นกําหนดคาเริ่มตนที่ Z = 0 เปน

64 TN336 heat .indd 64

คาของ 9 D = 16.4 m3/min, 9 Z = 52.36 L/min, Ta = 31.68 °C, WBT = 27.34 °C, Tf = 35.74 °C 2. ที่อุณหภูมินํ้ารอนเขาคูลลิ่งทาวเวอร HWT= 38.2 °C ที่ดานลางของคูลลิ่งทาวเวอรนั้นกําหนดคาเริ่มตนที่ Z = 0 เปน คาของ 9 D = 16.4 m3/min, 9 Z = 52.36 L/min, Ta = 31.93 °C, WBT = 27.34 °C, Tf = 37.76 °C 3. ที่อุณหภูมินํ้ารอนเขาคูลลิ่งทาวเวอร HWT = 40.2 °C ที่ดานลางของคูลลิ่งทาวเวอรนั้นกําหนดคาเริ่มตนที่ Z = 0 เปน คาของ 9 D = 16.4 m3/min, 9 Z = 52.36 L/min, Ta = 32.5 °C, WBT = 27.34 °C, Tf = 39.67 °C • ขนาดและรายละเอียดของแผงขยายฟลมนํ้าที่ทําเปนแบบ จําลองทดสอบ : - ลักษณะเปนแผนระนาบขนานกันและมีจํานวนทั้งหมด 6 แผน - ระยะหางระหวางแผนระนาบ 0.056 m - ขนาดกวางและยาวของแผงขยายฟลมนํา้ 0.45 m × 0.45 m - ความหนาของแผงขยายฟลมนํ้า 0.002 m • กําหนดใชความเร็วของอากาศในแบบจําลอง = 2.16 m/s • ความเรงเนื่องจากความโนมถวง g = 9.807 m/s2 • จํานวนชั้นความสูงของแผงขยายฟลมนํ้าในแบบจําลองทาง คณิตศาสตรที่พิจารณาตลอดความสูง 0.45 m = 9 layer

ผลการจําลองสถานการณการ ทํางานแผงขยายฟลมนํ้า

ขอมูลทั้งหมดขางตนนั้นจะนําไปเปนตัวแปรปอนของ โปรแกรมคอมพิวเตอร เมื่อรันโปรแกรมจะไดผลดังตารางที่ 1, 2 และ 3 สําหรับคาเริ่มตน (คาที่พิจารณาดานลางของแผง ขยายฟลมนํ้าหรือทางเขาของอากาศ) ของการคํานวณแสดงไว ¥ ¥z ¨· t¥ {¼¥ z ¥ t¥ Ù Ö § ¨u z «z¯z w« ¥ ¤ ¤ ¨· ¨· +:7 °& 9 D P PLQ 9 Z / PLQ 7D °& :%7 °& 7I °& P Z Z Ta Tf ω (m)

(°C)

(°C)

(kg/kg dry air)

(kg/s)

0

31.68

35.74

0.0211

0.8703

0.05

31.71

35.76

0.0212

0.8704

0.10

31.74

35.78

0.0213

0.8704

0.15

31.77

35.80

0.0214

0.8704

0.20

31.80

35.82

0.0215

0.8705

0.25

31.83

35.84

0.0216

0.8705

0.30

31.86

35.86

0.0217

0.8705

0.35

31.89

35.88

0.0219

0.8706

0.40

31.91

35.90

0.0220

0.8706

0.45

31.94

35.92

0.0221

0.8706

336, มีนาคม 2555 17/4/2555 16:31:06



¥ ¥z ¨· t¥ {¼¥ z ¥ t¥ Ù Ö § ¨u z «z¯z w« ¥ ¤ ¤ ¨· ¨· +:7 °& 9 D P PLQ 9 Z / PLQ 7D °& :%7 °& 7I °& P Z Z Ta Tf ω (m)

(°C)

(°C)

(kg/kg dry air)

(kg/s)

¥ ¥z ¨· t¥ {¼¥ z ¥ t¥ Ù Ö § ¨u z «z¯z w« ¥ ¤ ¤ ¨· ¨· +:7 °& 9 D P PLQ 9 Z / PLQ 7D °& :%7 °& 7I °& P Z Z Ta Tf ω (m)

(°C)

(°C)

(kg/kg dry air)

(kg/s)

0.8691

0

31.93

37.76

0.0210

0.8697

0

32.50

39.67

0.0207

0.05

31.97

37.79

0.0211

0.8698

0.05

32.55

39.73

0.0209

0.8692

0.10

32.02

37.81

0.0213

0.8698

0.10

32.61

39.77

0.0211

0.8692

0.15

32.06

37.84

0.0214

0.8698

0.15

32.66

39.80

0.0213

0.8693

0.20

32.10

37.87

0.0215

0.8699

0.20

32.71

39.83

0.0215

0.8693

0.25

32.14

37.89

0.0217

0.8699

0.25

32.77

39.87

0.0216

0.8694

32.82

39.90

0.0218

0.8694

0.30

32.19

37.92

0.0218

0.8700

0.30

0.35

32.23

37.95

0.0220

0.8700

0.35

32.87

39.93

0.0220

0.8695

0.40

32.27

37.97

0.0221

0.8701

0.40

32.93

39.96

0.0222

0.8695

0.45

32.31

38.00

0.0223

0.8701

0.45

32.98

40.0

0.0224

0.8696

รูปที่ 7 แบบจําลองของแผงขยายฟลมนํ้าแบบแผนขนานที่ออกแบบและสรางขึ้น

ในบรรทัดบนสุดในแตละตาราง และบรรทัดลางสุดของแตละ ตารางแสดงคาทีพ่ จิ ารณาดานบนสุดของแผงขยายฟลม นํา้ หรือ ทางออกของอากาศ การเปรียบเทียบอุณหภูมิกระเปาะแหงและอุณหภูมิของ นํ้าคาคํานวณและคาที่วัดที่ระดับความสูง 0.1, 0.2, 0.3, 0.4, 0.45 m ดังแสดงในตารางที่ 4, 5 และ 6 ในแตละตารางจะ กําหนดใชอัตราการไหลเชิงปริมาตรของอากาศและของนํ้าเปน คาเดียวกัน กลาวคือ 9 D = 16.4 m3/min, 9 Z = 52.36 L/min จะพบวาอุณหภูมิกระเปาะแหงและอุณหภูมิของนํ้าคาคํานวณ จะมีคาใกลเคียงกับคาที่วัดไดจากการทดลอง โดยพิจารณา ความคลาดเคลื่อนทั้งหมดในตารางทั้งสามนั้นตํ่ากวา 1% ใน แบบจําลอง สถานการณดวยวิธีของ รุงเง คุตตา อันดับที่ 4 จะใชคํานวณ ตัวแปรในแบบจําลองจํานวน 4 ตัว คือ Ta, Tf,

¥ ¥z ¨· t¥ ¯ ¨ ¯ ¨ £ Õ¥z {¥t° {¼¥ z ¥ t¥ Ù Ö § ¨u z «z¯z w« ¥ ¤ ¤ ¨· t¤ {¥tt¥ z ° {¼¥ zw¬ §·z ¥ ¯ Ù ¨·¯ § ¯w ª· z ¼¥z¥ ¨· +:7 °& Z Ta (°C) w ¥ Tf (°C) w ¥ (m) w¼¥ z ¯w ª· w¼¥ z ¯w ª· 0

31.68

31.68

-

35.74

35.74

-

0.1

31.74

31.73

0.032%

35.78

35.79

0.028%

0.2

31.80

31.84

0.126%

35.82

35.86

0.112%

0.3

31.86

31.91

0.157%

35.86

35.94

0.223%

0.4

31.91

32.02

0.344%

35.90

36.03

0.361%

0.45

31.94

32.15

0.655%

35.92

36.20

0.776%

P Z และ ω และไดผลใกลเคียงกับคาทีว่ ดั ไดในคูลลิง่ ทาวเวอร แบบจําลอง และเปนที่ยอมรับไดระดับหนึ่ง ในแบบจําลองทาง คณิตศาสตรดวยวิธีของ รุงเง คุตตา อันดับที่ 4 นี้ยังสามารถ คํานวณตัวแปรทั้งสี่ในแบบจําลองภายใตการกําหนดระยะหาง

336, มีนาคม 2555 65 TN336 heat .indd 65

17/4/2555 16:31:09



¥ ¥z ¨· t¥ ¯ ¨ ¯ ¨ £ Õ¥z {¥t° {¼¥ z ¥ t¥ Ù Ö § ¨u z «z¯z w« ¥ ¤ ¤ ¨· t¤ {¥tt¥ z ° {¼¥ zw¬ §·z ¥ ¯ Ù ¨·¯ § ¯w ª· z ¼¥z¥ ¨· +:7 °& Z Ta (°C) w ¥ Tf (°C) w ¥ (m) w¼¥ z ¯w ª· w¼¥ z ¯w ª· 0

31.93

31.93

-

37.76

37.76

-

0.1

32.02

32.01

0.031%

37.81

37.79

0.053%

0.2

32.10

31.84

0.813%

37.87

37.86

0.026%

0.3

32.19

32.21

0.062%

37.92

37.97

0.132%

0.4

32.27

32.35

0.248%

37.97

38.08

0.289%

0.45

32.31

32.50

0.586%

38.0

38.20

0.525%

¥ ¥z ¨· t¥ ¯ ¨ ¯ ¨ £ Õ¥z {¥t° {¼¥ z ¥ t¥ Ù Ö § ¨u z «z¯z w« ¥ ¤ ¤ ¨· t¤ {¥tt¥ z ° {¼¥ zw¬ §·z ¥ ¯ Ù ¨·¯ § ¯w ª· z ¼¥z¥ ¨· +:7 °& Z Ta (°C) w ¥ Tf (°C) w ¥ (m) w¼¥ z ¯w ª· w¼¥ z ¯w ª· 0

32.50

32.50

-

39.70

39.70

-

0.1

32.61

32.56

0.155%

39.77

39.70

0.176%

0.2

32.71

32.72

0.031%

39.83

39.78

0.126%

0.3

32.82

32.85

0.091%

39.90

39.87

0.075%

0.4

32.93

33.01

0.243%

39.96

39.99

0.075%

0.45

32.98

33.20

0.665%

40.0

40.20

0.500%

ระหวางแผนคูขนานในคาตางๆ ได เพื่อศึกษาอิทธิพลของระยะ หางระหวางแผนคูขนานที่มีตอสมรรถนะของแผงขยายฟลม นํ้าตอไป

สรุปและวิจารณ

การศึกษาสมรรถนะการทํางานของแผงขยายฟลมนํ้า อยางงาย เชน แผงขยายฟลม นํา้ แบบแผนระนาบขนานกัน โดย อาศัยแบบจําลองทางคณิตศาสตร แลวอาศัยการวิเคราะหเชิง ตัวเลขตามวิธีของ รุงเง คุตตา อันดับที่ 4 จะสามารถทํานาย อุณหภูมิกระเปาะแหงของอากาศ (Ta) อุณหภูมิของนํ้า (Tf) อัตราสวนความชืน้ (ω) และอัตราการไหลโดยมวลของนํา้ ( P Z)

ที่ระดับความสูงของแผงขยายฟลมนํ้าคาตางๆ แบบจําลองทาง คณิตศาสตรนี้ใหความเที่ยงตรงและใกลเคียงกับคาที่วัดไดจาก การทดลองและความคลาดเคลื่อนตํ่ากวา 1 % สําหรับการ นําไปใชทํานายกับแผงขยายฟลมนํ้าที่ใชงานจริงนั้นยังตอง พัฒนาสมการและการกําหนดพจนที่สัมพันธและสอดคลอง กับการออกแบบใชงานจริง เชน พื้นที่ถายโอนมวลหรือถาย โอนความรอนพิจารณาในพจนของพื้นที่ถายโอนตอหนึ่งหนวย ปริมาตรของแผงขยายฟลมนํ้า และปริมาตรทั้งหมดของแผง ขยายฟลมนํ้า ซึ่งจะตองพัฒนาแบบจําลองทางคณิตศาสตร ใหมที่เหมาะสมกับแผงขยายฟลมนํ้าที่ออกแบบใชงานจริงใน คูลลิ่งทาวเวอรตอไป

เอกสารอางอิง

1. Mills, A.F., “Heat and Mass Transfer”, Richard D. Irwin Inc., Chicago, 1995. 2. Hill, G.B., Pring E.J. and Osborn P.D., “Cooling Towers Principles and Practice”, Butterworth-Heinemann Ltd., London, 3rd ed., 1990. 3. Nicholas P.Ch. and Paul N.Ch., “Cooling Tower (Selection, Design and Practice)”, Ann arbor Science Publishers, the Butterworth-Group, Michigan, 2nd ed., 1983. 4. British Standard Institution, “British Standard Specification for Water Cooling Towers”, Method for Performance Testing, BS 4485 ; Part 2, 1988. 5. Cooling Tower Institute, “Acceptance Test Code for Water Cooling Towers”, CTI Code ATC-105, 1982. 6. Cooling Tower Institute, “Cooling Tower Performance Curves”, 1967. 7. Cooling Tower Institute, “Cooling Tower Manual Chapter 5”, July, 1983.

ระบบปรับอากาศ-ทําความเย็น ชุดที่ 4

ระบบปรับอากาศ-ทําความเย็น ชุดที่ 4 ISBN 978-974-686-111-3 ผูแตง เทคนิค/เอ็มแอนดอี บจ. ขนาด 18.5 ด 26.0 ซม. จํานวน 336 หนา กระดาษ ปอนด ราคา 280 บาท

ระบบปรับอากาศ-ทําความเย็น ชุดที่ 4 เปนหนังสือที่รวบรวมบทความจากวารสารเทคนิค โดยแบง เนื้อหาออกเปน 3 หมวดหลักๆ ไดแก การทําความเย็น, ระบบปรับอากาศ และการระบายอากาศ เริ่มตั้งแต ระบบทําความเย็นแบบเทอรโมอิเล็กทริก, แนวทางการตรวจวัดและวิเคราะหสมรรถนะ ของเครื่องทํานํ้าเย็น, นํ้ายาแอมโมเนียในระบบการทําความเย็น, คุณลักษณะของแอมโมเนีย, การรั่วไหล ของแอมโมเนีย และการบริหารความเสี่ยงจากอุบัติเหตุ การชีบ้ ง อันตรายและการประเมินความเสีย่ งดวยแบบบัญชีตรวจสอบ, สิง่ ทีค่ วรรูเ กีย่ วกับสารทําความ เย็น, ระบบทํา ความเย็นแบบอุณหภูมิตํ่ากับการคํานวณสมรรถนะการทําความเย็น, คูลลิ่งทาวเวอร ภาค คํานวณ, การคํานวณ KaV/L ตามวิธี Tchebycheff, การหาขนาดของคูลลิ่งทาวเวอรชนิดไหลสวนทางตาม ทฤษฎีเมอรเคิล, โปรแกรมคอมพิวเตอรชวยคํานวณ การใชและการบํารุงรักษา หอผึ่งเย็น ¢Ô ¨q ¥ jt ® ©}Ô ­ ¢ × p ¥ ¬ ¦ }× ­pt ® ©}Ô ­ (BTS j ¡p ¡ ) 77/111 m ¥ × s ® 26 j ¡p ¡ ¦k pm p~Ô © ¥k~m p j ¡p¥ 10600 § × 02 862 1396-9 § 02 862 1395 ¥ ¬ ©t~× www.me.co.th ¥ × member@me.co.th

66 TN336 heat .indd 66

336, มีนาคม 2555 17/4/2555 16:31:10



โชคชัย อลงกรณทักษิณ

alongkrontuksin@liverpool.in.th อาจารยพิเศษสาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยปทุมธานี

การปองกันอันตราย จากการใชกระเชาไฟฟา

กระเชาไฟฟามีอยางหลากหลายชนิด จึงตองรูจักโครงสรางของแตละชนิด เพื่อการตรวจสอบและทดสอบกระเชาไฟฟาใหเกิดความปลอดภัย

นยุคที่โลกมีประชากรมากมายและ เพิ่มมากขึ้นแตละป พื้นที่วางเปลา ที่ยังไมมีผูอยูอาศัยนับวันก็จะลดลง สวนทางตรงกันขามอยางหลีกเลีย่ งไมได ดังจะปรากฏเห็นไดจากปริมาณสิ่งปลูก สรางที่มีความสูงมีจํานวนมากขึ้น ทั้งนี้ ก็เพื่อเปนการใชพื้นที่ในแนวดิ่งทดแทน เชน อาคารสูง โรงงานอุตสาหกรรมขนาด ใหญ ฯลฯ ดังจะเห็นไดจากขอมูลสถิติ การจดทะเบียนอาคารสูงของศูนยขอมูล อสังหาริมทรัพย โดยในการกอสรางงานสถาปตยกรรมขนาดใหญๆ เหลานี้จําเปนอยาง ยิ่งที่จะตองอาศัยเครื่องจักรกลทุนแรง เขามาชวยในการทํางาน เพื่อเปนการ ประหยัดเวลา ลดตนทุนในงานกอสราง ลงนั่ น เอง โดยหนึ่ ง ในเครื่ อ งจั ก รกล ทุนแรงที่เราจะมาทําความรูจักกันก็คือ “กระเชาไฟฟา” (Gondola)

กระเชาไฟฟาคืออะไร

กระเชาไฟฟาจัดเปนเครื่องจักรกลทุนแรง ที่มนุษยเราสรางขึ้นมาเพื่อ ใช ใ นงานยก-เคลื่ อ นย า ยคนและวั ส ดุ สิ่งของ ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ โดย

ในประเทศไทยของเรามีกฎหมายทีเ่ กีย่ วของบังคับใชอยูใ นขอ 2 ของ “กฎกระทรวง กํ า หนดมาตรฐานในการบริ ห ารและ การจัดการดานความปลอดภัย อาชีว-

อนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน เกี่ยวกับเครื่องจักร ปนจั่น และหมอนํ้า พ.ศ. 2552” ซึ่งกําหนดตองมีการตรวจ สอบความปลอดภัยภายหลังการติดตั้ง

รูปที่ 1 กระเชาไฟฟาใชภายนอกอาคาร อาคารสูงที่จดทะเบียนในแตละป อาคารสูงที่จดทะเบียนใน 3 ไตรมาสแรกของป 80,000 70,000 60,000 50,000 40,000 30,000 20,000 10,000 0

2547 2548 2549 2549 2550 พศ. รูปที่ 2 สถิติอาคารสูงในเขตกรุงเทพ-ปริมณฑล พ.ศ. 2547-2550

336, มีนาคม 2555 67



ใชงาน, การฝกอบรมผูปฏิบัติงานและ ผูเกี่ยวของ, การสวมใสเครื่องปองกัน อั น ตราย, การจั ด ทํ า เอกสาร-คู  มื อ กฎความปลอดภัยในการติดตั้ง-ใชงานซอมบํารุงรักษา ฯลฯ เพื่อใหเกิดความ ปลอดภัยในการทํางาน

ชนิดของกระเชาไฟฟา

กระเชาไฟฟาที่มีใชงานอยูในบาน เราทุกวันนีส้ ามารถทีจ่ ะแบงตามชนิดการ ใชงานไดดังนี้ 1. ชนิ ด โครงสร า งถ ว งนํ้ า หนั ก เคลื่อนที่ได 1. Jib arm model - Drum winding type (2-Wire) เปนกระเชาไฟฟา แบบยกแขน 2 สลิง ใชงานกับอาคารที่ หลากหลายสมบูรณแบบ ประสิทธิภาพ การทํางานและตําแหนงที่ดี

2. Jib arm model - Drum winding type (4-Wire) เปนกระเชา ไฟฟาแบบยกแขน 4 สลิง เปนกระเชา รุนใหมหัวเล็ก ไมกินพื้นที่ เปนที่นิยมใช ดีมากสําหรับอาคารสูงๆ แลวยังมีสลิง 4 เสนชวยเสริมความปลอดภัย 3. Sliding arm model - Drum winding type (2-Wire) เปนกระเชา ไฟฟาแบบเคลื่อนแขน 2 สลิง กระเชานี้ ชวยในการที่จะเขาไปยังพื้นที่ที่ทําความ สะอาดไดยากเพราะจะมีชดุ แขนเคลือ่ นที่ ชวยเขาถึงระเบียง 4. Slidding arm model - Drum winding type (4-Wire) กระเชาไฟฟา แบบเคลื่อนแขน 4 สลิง เปนกระเชาที่ เหมาะกับอาคารขนาดกลางและสูง มี 4 สลิงยึดกับกระเชา เคลื่อนที่ไดหลาก หลายตามแนวแกน

5. Multi-arm type เปนกระเชา ไฟฟาที่ใชกับอาคารสูงๆ มีหลายรูปแบบ การใชงาน เหมือนกับเครน สามารถใช งานอเนกประสงค และเคลื่อนแขนได ยาว เหวี่ยงแขนได 6. Fix arm model เปนกระเชา เคลือ่ นทีไ่ มได (บางรุน เคลือ่ นทีไ่ ด) กระเชา ชนิดนีเ้ หมาะกับการขนของ ลักษณะเหมือน ทาวเวอรเครนแตใชงานเกี่ยวกับอาคาร ในการตอเติม 7. Mono-rail type เปนกระเชา ไฟฟารางเดีย่ ว เปนกระเชาทีใ่ ชพนื้ ทีน่ อ ย เหมาะกับอาคารทีต่ อ งการความสวยงาม กระเชานีส้ ามารถเก็บตามมุมตึกได แตไม สามารถรับแรงมากๆ ได 8. Arch type เปนกระเชาทําความ สะอาดโดม หรืออาคารที่มีหลังคาโคง ตัวกระเชาจะเคลื่อนที่ตามสวนโคงของ

รูปที่ 3 Jib Arm Model - Drum Winding Type (2-Wire)

รูปที่ 4 Jib Arm Model - Drum Winding Type (4-Wire)

รูปที่ 5 Sliding Arm Model - Drum Winding Type (2-Wire)

รูปที่ 6 Slidding Arm Model - Drum Winding Type (4-Wire)

68

336, มีนาคม 2555



รูปที่ 7 Multi-Arm Type

รูปที่ 8 Fix Arm Model

รูปที่ 9 Mono-Rail Type

รูปที่ 10 Arch Type

กระจกและสามารถเคลื่อนตามรางตรง ขาเลื่อนได 9. Deck type and Chair type เปนกระเชาแบบรถ สามารถเขาไปในรถ ได เหมาะกับอาคารทีม่ คี วามลาดชันหรือ เอียง 2. ชนิ ด โครงสร า งถ ว งนํ้ า หนั ก อยูกับที่ 1. Automatic gondola กระเชา แบบอัตโนมัติ ซึ่งกระเชาแบบนี้สามารถ ทําตามการควบคุมของปุม “control” แตผู ควบคุมตองมีความสามารถมากแตมคี วาม สะดวกสบายในการใชงานเปนอยางยิ่ง 2. Suspension platform เปน กระเชาแบบที่นิยมใหเชาในประเทศไทย กระเชาแบบนี้จะประหยัดคาใชจาย แต นิยมติดตั้งไมถาวร นิยมใชงานในงาน กอสรางอาคารและงานติดตัง้ กระจกและ ตกแตงอาคารในประเทศ

รูปที่ 11 Deck Type and Chair Type

จุดตรวจสอบ ความปลอดภัย ของกระเชาไฟฟา

ในการตรวจสอบ (Inspection) กระเชาไฟฟานั้นเปนงานที่สําคัญเปน

อยางมาก ทั้งนี้เนื่องจากวาภายหลังการ ติดตัง้ ใหมหรือยายตําแหนงติดตัง้ กระเชา ไฟฟา จะตองทําการตรวจสอบกอนใช งานเสมอ โดยการตรวจสอบจะต อ ง ครอบคลุมในประเด็นดังตอไปนี้ • ตัวกระเชาไฟฟา

336, มีนาคม 2555 69


·À¸°¾§Ë¢¿¸²º® Ë¢¿Ë©¿ºÅ¢·¿¸ °°® Ë¢¿º§ Air Heater, Dryer ¼²¼

Oxy fuel combustion with lower NOx for higher efficiencies in heat-intensive processes.

Field proven low emissions burner for kilns, furnaces and oxidizers. Available in a wide range of capacities; turndown as high as 40 : 1

Low NO2 and CO production for direct-fired make-up air applications. Capacities up to 750,000 Btu/hr/ft air make-up; 1,000,000 Btu/hr/ft process heating with high turndown.

Electronically links several actuators to user's process controller to optimize fuel efficiency and meet stringent emissions standards. 0.1 degree accuracy through 800 adjustment points. Sizes from 1" to 16"; cast iron, carbon steel and brass body options.

Electrically actuated shut-off and vent valves. 3/8" through 6" diameter line sizes, high Cv flow factors, line pressures up to 600 PSIG. Manual and automatic versions. UL, FM, CGA listed, IRI approvable. CSA certified.

Near zero pollutants and reliable performance in a convenient packaged burner.

The new SMARTLINK® Meter is one of the only self-checking flow meters in its class. Offering precise, mass flow measurement for fuel, air and combustion streams, SMARTLINK® Meter displays accurate flow measurement, over a wide turn down range, with no moving parts, SMARTLINK® Meter is sure to give customers the winning edge in efficiency.

For process air heating, providing clean combustion. Heat release to 16,500,000 Btu/hr. Internal fuel/air proportioning system simplifies adjustment.

Integral control and powerful closing spring for reliable shut-off Compact design; cast iron, carbon steel or stainless steel bodies; many trim options available. 3/4” to 6” diameter line sizes. Actuator rated for NEMA 1, 3, 3S, 4, & 12. FM, CSA and CE approved.

Medium velocity refractory block design gives discharge velocities to 275 ft/sec. Nominal heat release of up to 8,400,000 Btu/hr. Capable of on-ratio, excess fuel or excess air firing on gas oil.

{¤ {¦ Õ¥ ° £ §t¥ ±

§ ¤ « ¯ ¨ · ° £ ¥ {¦t¤

1314 - 1322 ¨ w § Ù °u z z ¯u z t «z¯ ¢ 10250 Tel : 02 322 9365-6 FAX : 02 322 9360 E-mail : info@boonyium.com Website : http//www.boonyium.com


รูปที่ 12 Automatic Gondola

• • • • •

ผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ กฎระเบียบความปลอดภัยในการทํางาน ระบบการซอมบํารุงรักษากระเชาไฟฟา อุปกรณที่ใชงานรวมกับกระเชาไฟฟา การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายและแนว ปฏิบัติทางวิศวกรรมที่เกี่ยวของ และ ในส ว นของการตรวจสอบชิ้ น ส ว น อุปกรณประกอบของกระเชาไฟฟามี รายละเอียดดังตอไปนี้ 1. โครงสรางถวงนํ้าหนัก ตาม ปกติแลวจะติดตัง้ อยูท ตี่ าํ แหนงชัน้ สูงสุด ที่กระเชาเคลื่อนที่ขึ้นไปทํางาน ซึ่งโครงสรางถวงนํ้าหนักยังมีสวนประกอบยอยๆ ดังตอไปนี้ 1. โครงสรางถวงนํ้าหนัก จะตองอยูใน สภาพที่ดีไมมีรอยแตกราว 2. โบลตยึดจุดตอตางๆ ของโครงสราง ซึ่งควรมีคาความแข็งแรงอยางนอย เกรด 8.8 3. สลิงผูกรั้งโครงสรางและเกลียวเรง (Sling & Grip and Turnbuckle) 4. กอนนํ้าหนักถวง (Counter weight) 2. โครงเหล็กตูก ระเชาไฟฟา จะ ตองอยูใ นสภาพทีด่ ไี มมรี อยแตกราว และ พื้นทางเดินอยูในสภาพที่ดี และควรหอ หุมวัสดุปองกันสิ่งของตกหลน 3. ชุ ด ต น กํ า ลั ง ขั บ ไต ก ระเช า ไฟฟาขึ้น-ลง โดยสลิงที่ติดตั้งอยูกับชุด

70

336, มีนาคม 2555

รูปที่ 13 Suspension platform กับงานทําความสะอาดกระจกนอกอาคาร

ตนกําลังขับไตกระเชาไฟฟาขึ้น-ลงนั้น จะตองไมชํารุดเสียหาย, อุปกรณล็อก เมื่อกระเชาตกอิสระ (Free fall) ตอง ทํางานปกติ ตลอดจนคันโยกปลดเบรก ที่มอเตอรตนกําลังขับตองใชงานไดดีอยู เสมอ (Brake release test) 4. สายชูชีพ (Life line) และสลิง ประคองกระเชาไฟฟา (Wire guide) จะ ตองอยูในสภาพพรอมใชงาน

การทดสอบ กระเชาไฟฟา

ในการทดสอบ (Test) หลายๆ ทาน มี ค วามเข า ใจที่ ค ลาดเคลื่ อ นสั บ สนอยู  เสมอระหวางกับคําที่วา “ตรวจสอบ (Inspection)” ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากขอความทีร่ ะบุ ในกฎหมายความปลอดภัยสวนใหญแลว คําวา “ตรวจสอบ” จะเปนสวนหนึ่งของ คําวาทดสอบเสมอ ซึ่งก็หมายความวา ถาจะทําการทดสอบก็ควรเริ่มตรวจสอบ ใหเสร็จเสียกอน จากนั้นจึงจะเริ่มลงมือ ทดสอบได โดยในการทดสอบกระเชา ไฟฟานั้นมีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. ทดสอบระบบการทํ า งาน ตางๆ (Functional or Running test) เปนการกดปุมสวิตชควบคุมตางๆ วา ทํางานเปนปกติหรือไม ซึ่งในขั้นตอนนี้

จะมี ก ารใส นํ้ า หนั ก เพิ่ ม ขึ้ น ที ล ะ 25% ของนํ้าหนักบรรทุกที่ปลอดภัย (Safety Working Load : SWL) จนกระทั่งเพิ่ม นํ้าหนักทดสอบครบเทากับ 1.1 เทาของ SWL 2. ทดสอบการยุบตัว (Load test) เพื่อตรวจสอบความแข็งแรงของโครงสรางตางๆ (Strong test) โดยนํ้าหนัก ที่ใชในการทดสอบมีคาเทากับ 1.1 เทา ของ SWL และจับเวลานาน 10 นาที ซึ่งจะตองยุบตัว (ลื่นไถล) ลงมาไดไม เกิน 10 mm 3. ทดสอบการตั ด (หยุ ด จ า ย) กระแสไฟฟา เพื่อดูวาเมื่อไมมีกระแส ไฟฟาแลว ผูควบคุมสามารถนํากระเชา ไฟฟ า เคลื่ อ นที่ ล งมาได โ ดยใช คั น โยก ปลดเบรกที่มอเตอรตนกําลังขับไดหรือ ไม (Brake release test)

เอกสารอางอิง

- โชคชั ย อลงกรณ ทั ก ษิ ณ , 2548, "การ ใชเครนอยางปลอดภัย" (อัดสําเนา), บริษัท เทอมอล แอนด ทรานสมิชชัน แมชชีน จํากัด, กรุงเทพฯ



วินัย เวชวิทยาขลัง

ผูจัดการศูนยฝกอบรมทางเทคนิค บริษัท ปูนซิเมนตไทย (ทาหลวง) จํากัด

วิเคราะหหนาที่และการทํางาน ของชิ้นสวนเครื่องจักร และประมาณอายุประกันงานซอม

การจัดการและดําเนินการทางขอมูลเกี่ยวกับชิ้นสวนและเครื่องจักร เพื่อนํามาใชวิเคราะหหนาที่และการทํางานของชิ้นสวนเครื่องจักรที่จะซอม เพื่อใหสามารถประมาณอายุการใชงานภายหลังการซอมได นานเทาใด ก็คอื การวิเคราะหหนาทีแ่ ละ การทํางานของชิน้ สวนและเครือ่ งจักร

ารซ อ มเครื่ อ งจั ก รและอุ ป กรณ ตางๆ ในระบบประกันงานซอมไม เพียงแตจะซอมเพือ่ ใหเครือ่ งจักรสามารถ ทํางานไดเหมือนกับงานซอมโดยทัว่ ไป แต สิง่ สําคัญก็คอื การรับประกันวาเครือ่ งจักร นัน้ จะตองสามารถใชงานไดตามขอกําหนด ในระยะประกัน ซึ่งแนวทางปฏิบัติที่จะ ทําใหรไู ดวา ชิน้ สวนหรือเครือ่ งจักรทีไ่ ดซอ ม เปลี่ยนอะไหลมานั้นจะสามารถใชงานได

การจัดการงานซอม

เพือ่ ใหงานซอมประกอบเครือ่ งจักร อุปกรณไดมาตรฐานและมีคณ ุ ภาพ เปนที่ มัน่ ใจและเชือ่ ถือได จะตองมีการวางแผน การจัดลําดับกอน-หลัง การเตรียมความ พรอมกอนดําเนินการทัง้ ดานสถานที่ วัสดุ

u¤¸ t £ t¥ £t¤ z¥ ~Õ

¯ §·

1

¼¥ { ¯w ª· z{¤t

5

uÖ ¬ £ ¤ § ¥ ¥ t¥ ~Õ

2

w¤ ¯ ª t ¯w ª· z{¤t

6

¨ ¥ t¥ Ñ zt¤ %'" N

3

4

อะไหล คูม อื แบบ เครือ่ งมือ และชาง ซอม โดยจะตองพิจารณาความพรอมตางๆ เหลานี้ คือ 1. ความพรอมดานสถานที่ รวม ทั้งสภาพการณ สภาพแวดลอมที่ทําให งานซอม ประกอบเครื่องจักร ไมเกิดการ เสื่อมสภาพ ขัดของขณะทํางาน 2. ความพร อ มด า นเครื่ อ งมื อ เครือ่ งมือกล เครือ่ งมือวัดละเอียด อุปกรณ

10

11

Y

P D C A

¯ ª t § ¨ £t¤ z¥ ~Õ

14

t¼¥ £ t¥ £t¤ z¥ ~Õ

15

{

§¯w ¥£ Ù Û ¥

°tÖ³u ¤ «z

7

{ w« ¤ §

9

¬Õ² £ £ £t¤ z¥ ~Õ "

N

¯t¶ ¤ ©t uÖ ¬ £ ¤ §

12 §¯w ¥£ Ù° ± Ö

¼¥¯ § t¥ ~Õ

8

t¥ ¯ ª· ¥

13

¼¥ ¥ ¥ « t¥ ²}Öz¥

Y P D C A

รูปที่ 1 กระบวนการและขั้นตอนในงานประกันงานซอม

336, มีนาคม 2555 71



§¯w ¥£ Ùw ¥ ¯ ¨ ¥ }§¸ Õ ¨· t

§¯w ¥£ Ù Ö¥ ¨·}§¸ Õ £t ¥ ¥ ²}Öz¥ § ¨ £t

¯zª· ³ut¥ £t¤ z¥ ~Õ

; ¯ ¥ ; z £ ¥ ; 4&

¼¥¯ § t¥ ~Õ { 4&

30 ¼¥ «z ¤t ¥ ¯}§z Ñ zt¤ ¥ °

«u ¥ tÕ Õz ¯w ª· Ö¥ 3R0 3G0 ¼¥ «z ¤t ¥ ¯}§z ¥t Ù

£ ¼¥ «z ¤t ¥

$0 ¼¥ «z ¤t ¥ ± ¬Ö²}Öz¥

£}« « ¥ z¥ uÖ ¯ ° £t¥ £t¤ z¥ ~Õ รูปที่ 2 องคประกอบการประกันงานซอม

ทางกล-ทางไฟฟา เครื่องวัด มิเตอร เครื่องทุนแรง สําหรับงานถอด-ประกอบ โดยจัดทําเปนรายการที่ตองใชงาน โดย ไมทําใหงานซอมมีตําหนิ เกิดการเสื่อม สภาพ และขัดของในขณะทํางาน 3. ความพรอมดานขอมูล โดย ศึกษาแบบ คูมือ พิกัดงานสวมประกอบ แรงบิด การกวดขันแนน การล็อกปองกัน การหลวมคลาย ขัน้ ตอน ลําดับกอน-หลัง เพือ่ ปองกันความผิดพลาดทีจ่ ะทําใหงาน

ซอมเกิดการขัดของในขณะทํางาน 4. พั ฒ นาขั้ น ตอนปฏิ บั ติ แ ละ มาตรฐาน โดยหาวิธีการปฏิบัติและการ ใช เ ครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ ต  า งๆ ที่ จ ะทํ า ให งานซอมมีมาตรฐาน และมีประสิทธิภาพ ยิง่ ขึน้ 5. การบันทึกขอมูล บันทึกขอมูล และรายละเอียดตางๆ เชน คาพิกดั ภาพ ถาย ขั้นตอนการถอด-ประกอบ หรือถา เปนเครื่องจักรใหมที่มีความสําคัญ หรือ

(ก) เครองจักรในกระบวนการ รูปที่ 3 การวิเคราะหหนาที่และการทํางานของเครื่องจักร

72

336, มีนาคม 2555

เครื่องจักรที่ยังไมเคยมีการถอดซอมมา กอน จะมีการบันทึกวิดีโอเอาไว เพื่อใช ในการศึกษาและการวางแผนสําหรับการ ซอมในครั้งตอๆ ไป

การวิเคราะหหนาที่ ชิ้นสวนเครื่องจักร

ตามที่ เ ราทราบมาตั้ ง แต ต  น ก็ คือ กอนที่จะลงมือถอดซอม-ประกอบ เครือ่ งจักร ชางมืออาชีพจะตองมีพนื้ ฐาน ความรู ความเขาใจ สามารถอาน-เขียน รางแบบโครงสรางและสวนประกอบของ เครื่องจักรไดเปนอยางดี นอกจากนั้น จะ ตองมีความรูแ ละสามารถวิเคราะหหนาที่ การทํางานของชิ้นสวนแตละชิ้นวา ทํา หนาที่อะไร มีการทํางานอยางไร ซึ่งชิ้น สวนตางๆ ภายหลังการซอมประกอบ แลวจะตองทํางานตามหนาที่นั้นไดอยาง ถูกตอง จึงจะทําใหเกิดความมั่นใจได วาเครื่องจักรจะไมเกิดการเสียขัดของ ระหวางการทํางานกอนถึงกําหนดเวลา ประกันงานซอม ชางซอมโดยทั่วไป เมื่อถอดของ เกาออก แลวนําของใหมประกอบกลับเขา ตามเดิม ก็จะถือเปนการสิ้นสุดการซอม

(ข) ชิ้นสวนของเครองจักร



แตสําหรับการประกันงานซอม จะตองมี การศึกษาและวิเคราะหหนาทีก่ ารทํางาน ของชิ้นสวน โดยเฉพาะกรณีที่มีการนํา วัสดุอะไหลชนิดใหมมาใชทดแทน เชน ไมสามารถจัดหาจัดซื้อไดตามรายการ ของแททกี่ าํ หนดไว ไมมใี นรายการอะไหล เครื่องจักร มีการกลึงขึ้นรูปขึ้นมาใหม การดัดแปลงชิ้นสวนเพื่อปรับสภาพและ ซอมสวนที่ชํารุด เปนตน ตัวอยางเชน เกียรมอเตอรที่ทํา งานดวยความดันจากปม นํา้ มันไฮดรอลิกส โดยแบริ่ ง ระหว า งป  ม กั บ เกี ย ร เ ป น ซี ล แบริ่งปกติ แตจากการซอม ไดมีการ แก ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดยการกลึ ง แผ น บาง ปดซอนหนาซีลเพื่อเพิ่มความแข็งแรง มากขึ้น ซึ่งชวยปองกันการรั่วซึมไดผลดี ยิ่งขึ้น หรือมีการซอมโดยการปรับระยะ หาง พิกัดการซอมประกอบ การกวดขัน แนน การสึกหรอ ซึง่ ชางซอมจะตองตัดสิน ใจ เพื่ อ ให ชิ้ น ส ว นแต ล ะชิ้ น สามารถ ทําหนาที่ตามที่กําหนดได โดยไมทําให เครื่องจักรเสื่อมสภาพ เกิดการขัดของ ในขณะทํางาน นอกจากนี้ สิ่งสําคัญที่ขาดไมได สําหรับการประกันงานซอมก็คอื ชางซอม จะตองสามารถประเมินอายุการใชงาน ชิ้นสวนแตละชิ้น เพื่อประมาณการระยะ เวลาประกันงานซอมเครื่องจักรได ซึ่งจะ ตางไปจากงานซอมทัว่ ๆ ไปทีซ่ อ มโดยการ ถอดเปลี่ยนอะไหลเพียงแคใหใชงานได โดยที่ไมไดประมาณการอายุใชงานและ คุณภาพงาน ซึ่งเมื่อนําไปใชงานแลว ก็ มักจะเสียเร็ว แลวก็นํามาซอมใหม เปน เชนนี้เรื่อยไป

ทําไมตองวิเคราะห หนาที่ชิ้นสวน

1. สรางความเขาใจและมั่นใจ ใหกับชางซอม ชิ้นสวนอะไหลแตละชิ้น

จะตองทํางานไดอยางถูกตองตามหนาที่ โดยไมเกิดการเสื่อมสภาพ เสีย ขัดของ กอนถึงเวลาประกันงานซอม 2. งายตอการวิเคราะหและบง ชี้ ป  ญ หา เมื่ อ เครื่ อ งจั ก รเกิ ด การเสี ย ขัดของ จะชวยใหสามารถวิเคราะห เพื่อ บงชี้สาเหตุของการผิดปกตินั้นได ทําให สามารถตัดสินใจแกปญหาตอไปได เชน จะใหใชงานเครือ่ งจักรนัน้ ตอไป หรือตอง หยุดซอมกอน เพื่อใหสามารถใชงานได จนถึงระยะเวลาประกันงานซอม 3. ปองกัน และลดความเสี่ยง ความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้น ทําใหมั่นใจ ไดวางานซอมเครื่องจักรจะสามารถใช งานไดตลอดระยะเวลาประกันงานซอม 4. พั ฒ นาและยกระดั บ ทั ก ษะ ฝมอื ชาง ทําใหการพัฒนา ถายทอด สอน งานเขาใจงาย รวดเร็ว กรณีตัวอยาง ในโรงงานแหงหนึ่ง ไดกําหนดระยะเวลาซอมเกียรขับเครื่อง รีดยางตามแผนทุกๆ 5 ป โดยใชชาง ผูเชี่ยวชาญ จากบริษัทผูผลิตเกียรราย นั้นๆ โดยที่โรงงานผูใชเครื่องจักรมีการ กําหนดคาการสั่นสะเทือนไวสูงกวาใน รายการประกันงานซอม ภายหลังจากที่ ไดดาํ เนินการซอมแลว ผูใ ชเครือ่ งจักรได

รองวาผูซ อ มไมสามารถทําไดตามเงือ่ นไข ที่กําหนด ผูซอมจึงนําขอมูลเครื่องจักร การวิเคราะหหนาที่ บันทึกการซอม พิกัด ตางๆ แตละขั้นตอนมาวิเคราะหทบทวน และใหการยืนยันจากผูเชี่ยวชาญทาน อื่ น ๆ ซึ่ ง ยื น ยั น ตรงกั น ว า งานซ อ มนั้ น ไดทําอยางถูกตองตามขั้นตอนและได มาตรฐาน พรอมกับมีหนังสือรับรอง เปน ลายลักษณอักษรจากบริษัทผูผลิตเกียร รายนัน้ และประกันวาเครือ่ งจักรสามารถ ใชงานได ไมเสียหายขัดของกอนถึงเวลา ประกันงานซอม เปนการสรางความมัน่ ใจ ทั้งฝายซอม และผูใชงานเครื่องจักร

ขั้นตอนดําเนินการ กอนวิเคราะห หนาที่ชิ้นสวน

เนื่ อ งจากชิ้ น ส ว นประกอบของ เครื่องจักรมีอยูเปนจํานวนมาก ดังนั้น เพือ่ ใหเปนมาตรฐานสําหรับการวิเคราะห หนาที่การทํางานของชิ้นสวน จะตองมี การจัดตัง้ ทีมงานทีเ่ กีย่ วของ ไมวา จะเปน พนักงานจากฝายซอม ที่มีความรูความ เขาใจถึงโครงสรางและสวนประกอบของ เครื่องจักรเปนอยางดี พนักงานผลิต ที่

¨· ©t ¥

¤ Ö¥ t¥ §

¨ z¥

¤tz¥ w w« t¥ § ¬Ö¯}¨· }¥ ¯| ¥£¯ ª· z

¤ Ö¥ Ð¥ ~Õ ¼¥ «z

¤tz¥ ~Õ }Õ¥z¯ w §w ¥zt ³ Ñ¥ ¤ w w« z¥ ¤ «

รูปที่ 4 การตั้งทีมงานวิเคราะหหนาที่และการทํางานของชิ้นสวนเครื่องจักร

336, มีนาคม 2555 73



มีความรูความเขาใจในสวนของหนาที่ การทํางานเครื่องจักร สวนในกรณีที่เปน เครื่ อ งจั ก รใหม ที่ ไ ม มี ป ระสบการณ ม า กอน อาจจะตองติดตอตัวแทนจําหนาย หรือชางเทคนิคจากบริษัทผูผลิตเครื่อง จักรนั้นๆ มาใหการแนะนําและฝกอบรม ทักษะฝมือ โดยเลือกเฉพาะเครื่องจักร ในระบบประกันงานซอม สําหรับขัน้ ตอนดําเนินการกอนทีจ่ ะ วิเคราะหหนาที่ชิ้นสวนมีดังนี้ 1. ตัง้ ทีมงาน เพือ่ ใหการวิเคราะห หน า ที่ ข องชิ้ น ส ว นได อ ย า งครบถ ว น และมีความถูกตอง จําเปนตองอาศัย ผูที่เกี่ยวของกับเครื่องจักรนั้นๆ มารวม ดํ า เนิ น การ ตั้ ง แต หั ว หน า งาน และ พนักงาน ทั้งในฝายงานซอม การผลิต การตรวจสภาพ (Inspector) งานทาง กล งานทางไฟฟา เครื่องมือวัด รวมถึง ผูเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง โดยแบงเปน กลุม ตามเครือ่ งจักรนัน้ ๆ กลุม ละ 4-5 คน โดยทุกคนจะตองมีความรูความเขาใจ วัตถุประสงค และมีเปาหมายรวมกัน ทีมงานทีต่ งั้ ขึน้ มา ควรจะประกอบ ไปดวยผูที่เกี่ยวของตางๆ คือ 1. ทีป่ รึกษา ประกอบดวย ผูจ ดั การ ฝาย ทัง้ ฝายผลิต และฝายซอม เพือ่ ใหคาํ ปรึกษา ใหความรู และแนะนําการแกไข ปญหา และสนับสนุนทีมงาน 2. หั ว หน า งานผลิ ต เพื่ อ ให คํ า แนะนํ า การเดิ น เครื่ อ ง การควบคุ ม เครื่องจักร ขั้นตอนการผลิต ที่ถูกตอง 3. พนักงานผลิต ที่ทําหนาที่เดิน ควบคุมการทํางานของเครื่อง 4. หัวหนาชาง เปนผูที่มีความรู ความเขาใจสวนประกอบและการทํางาน ของเครือ่ งจักร สามารถใหคาํ แนะนําการ ซอม การปรับแตงที่ถูกตองได 5. ชางซอม เปนผูที่ทําหนาที่ซอม และบํารุงรักษาเครื่องจักร ทั้งงานซอม ทางกล ไฟฟา งานซอมเครื่องวัด และ งานสนับสนุนตางๆ (Utility)

74

336, มีนาคม 2555

6. ผูเชี่ยวชาญ เปนผูที่มีความ รู  และเชี่ ย วชาญงานเฉพาะด า นนั้ น ๆ สามารถใหคําแนะนํา และแกไขปญหา เพิ่มเติม 2. เตรียมการ เปนการสื่อสาร ความเขาใจใหถูกตองตรงกัน จากการ รวบรวมแบบ ขอมูล การเปลี่ยนแปลงที่ สําคัญ และที่ขาดไมไดก็คือ ประวัติการ เสียขัดของของเครื่องจักรที่ผานมา รวม ถึงสถิติ อายุการใชงานแตละครั้ง การใช วัสดุอะไหล คาใชจาย โดยอาจจะยอนไป ดูขอมูลในชวง 2-3 ปที่ผานมา นอกจากนี้ จะตองศึกษาวิธีการ มาตรฐาน แผนการบํารุงรักษาเครือ่ งจักร (PM) ในปจจุบัน วาทําอยางไร เพื่อใช เปรียบเทียบกับการเสียขัดของของชิ้น สวนเครื่องจักร 3. เครื่องจักรและอุปกรณ เพื่อ ใหการวิเคราะหหนาทีช่ นิ้ สวนเปนมาตรฐาน เดียวกัน อาจจะแบงเครื่องจักรที่เหมือน กัน เปนกลุม ๆ เชน มอเตอร ปม นํา้ เครือ่ ง อั ด อากาศ พั ด ลม โบลว เ ออร เกี ย ร สายพานลําเลียง ลูกกลิ้งบดรีด คูลเลอร เครื่องยนต เปนตน โดยมีแนวคิดวา เครือ่ งจักรประเภท เดียวกัน จะมีโครงสรางชิ้นสวนประกอบ ที่เหมือนกัน ซึ่งจะทําใหการจําแนกชิ้น สวนเพื่อใหการวิเคราะหหนาที่และการ ทํางานสามารถทําไดงา ย สะดวก รวดเร็ว และเปนมาตรฐานเดียวกัน ยกเวนเครื่องจักรที่มีการเปลี่ยนแปลง แบบ รุน เพิม่ เติม ก็จะตองวิเคราะห ชิ้ น ส ว นนั้ น ๆ เพิ่ ม เติ ม ด ว ย แต ก็ ยั ง สามารถทําไดงาย สะดวก รวดเร็วขึ้น เพราะสวนประกอบอื่นๆ ยังคงเดิม

ขั้นตอนการวิเคราะห หนาที่และการทํางาน

1. จัดลําดับรายการชิน้ สวนประ-

กอบ

2. กําหนดชื่อชิ้นสวนประกอบ แตละชิน้ 3. ระบุหนาที่การทํางานแตละ ชิน้ สวน 4. มาตรฐานกําหนดหรือขอมูล จําเพาะ (Specification) ไดกําหนดไว เปนอยางไร เชน ความหนา กวาง ยาว

¯ §· Ö {¼¥° t}§¸ Õ t¼¥ }ª· ° Õ £}§¸ Õ §¯w ¥£ Ù Ö¥ ¨·° £ t¥ ¼¥z¥ ° Õ £}§¸ Õ ¥ ¥ t¼¥ Ö¥ ¨· ° £t¥ ¼¥z¥ Õ t¼¥ § ¨t¥ t¥ ¼¥ w¬Õ ª t¥ ~Õ ¤ ° Õz t¼¥ {« { w« ¥ z¥ ~Õ §¯w ¥£ Ù t¥ ~Õ ¤ ° Õz £ ¥ ¥ «t¥ ²}Öz¥ ² t¥ £t¤ z¥ ~Õ ³ Õ ¯ ¥ £t¤ z¥ ~Õ ³ Ö ¥ t¼¥ ²}Õ ª ³ Õ ²}Õ ¤ ©tt¥ °tÖ³u t¥ ¤ «z {

รูปที่ 5 ขั้นตอนการวิเคราะหหนาที่และการ ทํางานของชิ้นสวนเครื่องจักร



รูปที่ 6 การวัดและบันทึกคา Clearance การปรับแตง สําหรับทําประวัติขอมูล

ปริมาตร เสนผาศูนยกลาง ระยะชิดหาง (Clearance) พิกัดสวมเผื่อ ความดัน อัตราการไหล หมายเลขวัสดุ (Parts Number) ตามผูผลิตกําหนด หรือแบริ่ง

นัมเบอร 6205 ความหนืด เกรด สาร หลอลื่น เปนตน 5. วิธีการซอม ปรับแตง กําหนด วิ ธี ก ารซ อ ม ประกอบ การปรั บ แต ง

ѲэшіњлѝѓѥёѯзіѪѷѠклѤді іўѤѝ њѤьъѨѷ яѬҖзњэзѫє дѥішіњл яҕѥь ѳєҕяҕѥь ѲэёѤчјє 'ZJ 1R««««««« 6W 1R«««««« ѯёјѥ 'ZJ 1R««««««« 6W 1R«««««« шѫҗдшѥ ѯэѠіҙ 3'1 6W 1R«««««««««««««««««« 6W 1R« ѰэіѧѷкчҖѥьѲэёѤч & 6W 1R« ѰэіѧѷкчҖѥь 3XOOH\ & &RXSOLQJ 7\SH 1 (83(; 6W 1R« дѥішіњл ѝҕњьеѠкѯзіѪѷѠклѤдіѰјѣлѫчшіњлѝѠэ юдшѧ юіѤэ оҕѠє ѯюјѨѷѕь Ѱшҕк шіњлѝѓѥёдѥіѝѩддіҕѠь ѰшдіҖѥњ ѰьњѯнѪѷѠє дѥіўјњєзјѥѕеѠкѝдіѬеѠкѲэёѤч њѤчеьѥчеѠкнҕѠкњҕѥкіѣўњҕѥкѲэёѤчдѤэъҕѠјєчѬч дѥіњѤчшҖѠкўєѫьњѤчѱчѕ лѫчњѤч јҕѥк эь ўѥлѫчдњҖѥкѝѫчѰјѣѰзэ зҕѥдѼѥўьч єє єє ѝѫчшҖѠкѳєҕѯдѧьзҕѥдѼѥўьч њѤчліѧк њѤчзҕѥ 2YHUODS еѠкѲэёѤчјєдѤэъҕѠјєчѬч єє зҕѥдѼѥўьч њѤчліѧк њѤчзҕѥіѣўњҕѥкѲэёѤчјєдѤэдіѣѱюікёѤчјє єє зҕѥдѼѥўьч њѤчліѧк шіњлѝѓѥёдѥіѰшдіҖѥњ дѥіўјњєзјѥѕеѠкѝдіѬѕѩчеѠкшѫҗдшѥ њѤч &OHDUDQFH еѠкѰэіѧѷкчҖѥьёѫјѯјѕҙ F зҕѥдѼѥўьч єє њѤчліѧк њѤч &OHDUDQFH еѠкѰэіѧѷкчҖѥьѲэёѤчјє F зҕѥдѼѥўьч єє њѤчліѧк шіњлѝѓѥёјѬдѕѥк дѥіўјњєзјѥѕеѠкѝдіѬѕѩчзѤююјѧк 7\SH 1 (83(; њѤчзҕѥ *DS іѣўњҕѥкзѤююјѧк зҕѥдѼѥўьч єє њѤчліѧк њѤчзҕѥ $OLJQPHQW ѰьњіѤћєѨ зҕѥдѼѥўьч єє њѤчліѧк +70

нѪѷѠѯзіѪѷѠклѤді ёѤчјє &RROHU +L 7HFK 0DLQWHQDQFH &R /WG ўьҕњѕкѥь оҕѠє +L 7HFK яѬҖютѧэѤшѧ јѼѥчѤэ іѥѕдѥі 6SDUH SDUW

ชิ้นสวนนั้นๆ ใหสามารถทําหนาที่ตามที่ กําหนดไดถูกตอง 6. จุ ด ตรวจสอบคุ ณ ภาพงาน ซอม เปนการบงชี้จุด ตําแหนงที่สําคัญ แตละจุด ใหชางซอมประกอบตรวจสอบ เชน ขนาด พิกัด ระยะตางๆ เปนการ ปองกันการเสื่อมสภาพ การเสียขัดของ กอนระยะประกัน ตัวอยางเชน การประกอบแบริ่ง สวมเขากับเพลาปม จุดตรวจสอบทีส่ าํ คัญ คือ การวัดขนาดพิกัดของเพลา เมื่อประกอบแบริ่งแลว จุดตรวจ สอบ คือ ระยะหางระหวางเม็ดลูกปนกับ รางวิ่ง ที่เรียกวา Clearance 4$ 3DJH ўєѥѕѯўшѫ

รูปที่ 7 ตัวอยางใบตรวจสภาพเครื่องจักร

336, มีนาคม 2555 75



รูปที่ 8 งานวัดและตรวจสอบคุณภาพของชุดเกียร

เมื่อประกอบเพลา ลูกปนสวมกับ เสื้อปม จุดตรวจสอบ คือ พิกัดรูเสื้อปม เปนตน จากประสบการณพบวา สวนมาก ไมมีการบันทึกขอมูลเหลานี้ มักมองขาม หรือไมมีการตรวจสอบความถูกตองและ คุณภาพงานซอมแตละจุด ซึ่งเมื่อเกิด ความเสียหายอีก โดยสวนมากก็จะนําแบริ่งใหมมาสวมประกอบเขากับเพลา และ เสือ้ ปม ทันที โดยไมมกี ารกําหนดจุดตรวจ สอบคุณภาพ ทําใหงานซอมเครื่องจักร เสียหรือขัดของบอยๆ ซํ้าแลวซํ้าอีก จึง เปนเหตุผลหนึ่งที่ฝายซอม ไมกลาที่จะ ทําระบบประกันงานซอม 1. ผูตรวจสอบคุณภาพงานซอม เพื่อปองกันการผิดพลาดจากงานซอม ประกอบ ผูค วบคุมงานซอม และชางซอม จะตองมีความรูค วามเขาใจถึงจุดควบคุม ที่สําคัญของแตละขั้นตอน วาแตละขั้น ตอน มีจุดใดที่จะตองระมัดระวัง ตองมี ความพิถีพิถัน เรื่องความละเอียด ถูก ตอง เที่ยงตรง ที่เปนคุณภาพงานซอม ที่เปนหัวใจหลักของงานซอม ช า งซ อ มเองส ว นมากที่ ยั ง ขาด ความรูความเขาใจถึงจุดตรวจสอบและ ควบคุมคุณภาพงานซอม มักจะนําชิ้น สวนอะไหลมาเปลี่ยนแลวประกอบเขา ตามปกติ โดยไมมีการควบคุมและตรวจ สอบคุณภาพงานซอม เพือ่ ใหงานประกันคุณภาพงานซอม เปนไปตามระบบ ไดมีการแบงผูรับผิด ชอบการตรวจสอบคุณภาพเปน 2 ฝาย คือ

76

336, มีนาคม 2555

1. ฝายชางซอมประกอบ : ซึง่ ก็คอื ผูทําหนาที่ประกอบเครื่องจักรอุปกรณ ตามขั้นตอน คูมือ แบบเอกสาร 2. ฝายตรวจติดตามคุณภาพงาน ซอม : รูปแบบวิธีการคลายกับกระบวน การผลิตในงานอุตสาหกรรม แบงเปน ฝายผลิต ฝายควบคุณคุณภาพสินคา แตงานซอมจะเปนการกําหนดจุดติดตาม คุณภาพงานซอม โดยผูทําหนาที่ตรวจ สอบคุณภาพงานซอม จะตองมีคณ ุ สมบัติ ตางๆ ดังนี้ 1. มีความรู มีความเชี่ยวชาญ มีทักษะ ชางฝมือ มีประสบการณ เฉพาะงาน นั้นโดยเฉพาะ 2. สามารถอานคูม อื แบบ รางแบบ สัง่ งาน จําแนก แกะ ถอดแบบชิน้ สวน เขาใจ รายละเอียด สวนประกอบ หนาที่การ

ทํางานของชิ้นสวน 3. เข า ใจขั้ น ตอน การถอด ประกอบ เครือ่ งจักรเปนอยางดี สามารถประสาน งาน แกไขปญหาเฉพาะหนาไดดี 4. มีความรู ความเขาใจ สามารถกําหนด จุ ด ควบคุ ม คุ ณ ภาพงานซ อ มแต ล ะ จุดแตละขั้นตอนที่มีผลตอการเสื่อม สภาพ การผิดปกติ การขัดของของ เครื่อจักรได สามารถตัดสินใจ แกไข เปลี่ยนแปลง หรือทดแทน กรณีที่ไม เปนไปตามขอกําหนดไดดี 5. มีสมาธิ ความละเอียด รอบคอบ สนใจ ติดตาม เทคโนโลยี ความกาวหนา การ เปลีย่ นแปลง ขัน้ ตอน วิธี วัสดุอะไหล งานซอมประกอบใหมๆ อยูเ สมอ 2. สาเหตุท่ีตองมีการตรวจสอบ คุณภาพงานซอม 1. เปนการทวนสอบซํา้ เพือ่ สรางความมั่น ใจใหกับชางซอมประกอบเครื่องจักร อุปกรณ วาสามารถทําหนาที่และการ ทํางานไดอยางถูกตอง ไมเสือ่ มสภาพ เสีย ขัดของระหวางประกันงานซอม 2. มี ค วามมั่ น ใจว า ข อ กํ า หนด พิ กั ด มาตรฐานถูกตองยืนยันตรงกันระหวาง ชางซอม กับผูต รวจสอบคุณภาพ 3. เปนการตรวจสอบ ติดตามเก็บความ

รูปที่ 9 กราฟเปอรเซ็นตและจํานวนเวลาการใชงานแตละครั้ง


G-FIN

I-FIN

L-FIN

KL-FIN

-

HEAT EXCHANGER COIL STEAM WASTE HEAT BOILER AIR COOLER & OIL COOLER HIGH TEMPERATURE GAS TO LIQUID HEATTRANSFER EQUIPMENT

SERRATED FIN

SOLID FIN

Hotoil Air Heater

Coil Steam Air Heater

âŒŤ 9 . 64

10150 9 Soi Ekachai 64, Ekachai Rd., Bangbon, Bangkok 10150 THAILAND

SHELL & TUBE AIR DRYER

&

!" #$ % # Tel : (662) 451-0514, 451-0517, 451-2133, 451-2164-5 Fax : (662) 451-0512

Email : santi_sci@hotmail.com www.sci-fintube.com


¥ ¥z ¨· §¯w ¥£ Ù Ö¥ ¨·}§¸ Õ u zt¥ ~Õ £t Ûà t¥ §¯w ¥£ Ù Ö¥ ¨·}§¸ Õ u zt¥ ~Õ £t Ûà ¨· }ª· Ö¥ ¨·u z}§¸ uÖ t¼¥ t¥ ~Õ £t ² Ö³ Ö ¥ ¨· ¤ uÖ t¥ { Õ t¼¥ ¯ ª¸ Ûà t¼¥ § ¥z ¸¼¥¯uÖ¥ t ¶ t° Õ ² Ûà

³ Õ° t Ö¥ ¤·

¼¥ £ ¥ { Ö¥ ° t Ö¥ ¤· Ö ¨~© ©t ³ Õ « ¤ ¼¥ £ ¥ }Õ z ¥z¯uÖ¥ t ¸¼¥ ° z § u¤ ° Õ ¯uÖ¥¯t ¨ « ¥ ° z § u¤ ° Õ 1P ¯u¶ ¥ §t¥ ²}Ö £°{° u¤ ° Õ ©z ª ² ¤ Ûà Ö¥zt¥ ³ § ¥zt¥ « ¼¥ £ ¥ { ° t t¥ § t¥ ° t Ö¥ u z ¸¼¥ Ö¥ Ö ¨~© ©t ¬ § ¥z² Ûà ² Ö Õ ±wÖz Õ¥¯ ¥ t³ ¥z Õ ¥z tu z Ûà ²}Ö t z ¨· « Ûà t Ö £ £ ¬ Ùt ¥z² Ûà t¤ wÖ { ©z Õ¥¯ ¥ Õ ¥z t £ £ ¬ Ùt ¥z² Ûà 0& 6HDO Ñ zt¤ ¸¼¥ ¤· Ö¥ ¤ ¤ ¯ ¨ § ¬ § ¤ ¤ ³ Õ ¨ u¨ uÕ § ¤ ¤ ³ Õ § ¯ ¨ z ·¼¥¯ t¤ £t ~¨ ¤ « Ö t¥ ª «Õ u z §z §z¯uÖ¥t¤ ² Ûà ³ Õ § wÖ¥z £t ~¨ t¤ ¤ )L[HG ² Õ¯ § ¸¼¥² Ûà « ¤ ¤ ° § t¤ ~¨ ¤ {t¥ ¤· 0RYH ° §·z t¥ ¯ ¨ u ¥ ¬ ¥ ¼¥ £ ¥ ¯ ¥ ¬° §·z « w Õ z ³ Õ £ « ¥ £ Õ¥z ¯uÖ¥t¤ ¯ ¥ t z ¯ ¨ z t § § ¤ ¤ t ¨ ¨·° z² ¤ Õ¥¯ ¥ u ¥ ' Ö¥ t ¤ ©tu ¥ 1R &O 1R BBBB t¥ ¯ ª· ¯ Ý £ ¤ § uÖ ¬ ¯ ¥ u¤ « ² u ¥ ' w ¥ t ¤ ©t §t¤ u ¥ ¤ Ûà ¯ ¥ £ £ t¥ ¯ ª· t¥ { £t ² ¤ ¯ Ý £ ¤ §uÖ ¬ ° §·z Ö¥° ° zu z¯ ¥ ° zu z¯ ¥ ± PP w ¥ ¥ Ö¥ u¤ ¯ ¥ « u ¥ ¬ §· ¼¥ £ ¥ Õ z §· §· t¤ z ¤¸z|¥tt¤ ¯ ¥ ³ Õ ° Õ ¯ ¥ Ûà ¯ ¥ Ö¥° ²}Ö § ¯ ¨ z © ° Õ t¤ ¯ ¥ ¯ ¥ ° Õ ¯ ¶t z t ¤ Õ¥ ¯ ¥ ¶ t t ¬ Õ ¬ ¥z¯ § ¸¼¥ u ¥ ¬ Ùt ¥z ¬ ¥ £ £ Õ¥z ¥ Õ ¬ ¥tt Õ¥ £ £ Õ¥z ¥ Õ ¯uÖ¥ Ûà ² ¯ Õ¥ u zu ¥ Õ t u¤ ° Õ uÖ Õ Ö¥ ¯t{ ¬ ¥t¥ ³ Õ Ö ° ¥ Ù Õ ¥z ¬ t Õ¥ ¥ Ù « ¥ Ù t¤ ¤· Õ¥ztÖ ¤z « ¥ Ù t¤ ¸¼¥ ³ Õ ¤· £ ¥ ³ Õ t t ³ Õ « ¤ ¯ § ¸¼¥ t¥ ¤·

เรียบรอยของงาน สรางความเชื่อมั่น และความพึงพอใจใหกับผูใชบริการ และลูกคา 7. ผล หมายถึง การรายงานผล ของการซอมประกอบทําไดถูกตอง เปน ไปตามขอกําหนดหนาที่การทํางานของ

ชิ้นสวนอุปกรณหรือไม บางกรณีมีปญหาหนางาน เชน ถอดชิ้นสวนเครื่องจักรอุปกรณไมได ใช เวลาแกปญ  หามากกวาเวลาทีก่ าํ หนดตาม แผน ขณะที่ทางโรงงานก็ตองการเดิน เครือ่ งเพือ่ ผลิตสินคาสงมอบใหการตลาด

£ ¥ t¥ °tÖ³u ¨· ¨ ¥ « ³ Õ¯ Ý ¥ uÖ t¼¥ ! Í ¯w ª t t¤ ©t

! Í

! Í

¨t¥ Õ t ¨·¯ ¥

! Í

! Í

! Í

! Í

ทําใหชิ้นสวน บางรายการไมสามารถ ถอด ซอมเปลี่ยนตามแผนได ก็จะตองมี การระบุรายงานในผลนี้ เพื่อใชพิจารณา เงื่อนไขประกันงานซอมใหม 8. การประมาณอายุใชงานชิ้น สวนเครื่องจักร สิ่งสําคัญที่จะขาดไมได

336, มีนาคม 2555 77



เลย สําหรับการจัดทําระบบประกันงาน ซอมก็คือ การประมาณอายุใชงานชิ้น สวน ขณะประกอบใชงานจะตองเปนไป ตามมาตรฐาน รวมทั้งในกรณีที่ใชวัสดุ ทดแทน หรือมีการแกไขแบบขนาดรูป รางและคาพิกดั ตางๆ เพือ่ กําหนดเงือ่ นไข และระยะเวลาประกั น งานซ อ ม โดย พิจารณาจากชิ้นสวนที่มีอายุงานสั้นสุด มากําหนดเปนระยะเวลาประกันการใช งานเครือ่ งจักร หรือการพิจารณาปรับปรุง ชิ้ น ส ว นอะไหล ใ ห มี อ ายุ ใ ช ง านมากขึ้ น เพื่อใหอายุโดยรวมของเครื่องจักรมีอายุ ใชงานมากขึ้นเชนกัน ในการประมาณอายุใชงานเครื่อง จักรและอุปกรณ โดยทั่วไปอาจจะเปน เรื่องยากสําหรับชางซอมบํารุงรักษาที่ จะบอกได ว  าเครื่อ งจักรอุ ปกรณแตล ะ ชิ้นสวนนั้นจะสามารถใชงานไดในระยะ มาก-นอยเทาใด ไมวาจะเปนระยะเวลา หรือระยะทาง อย า งไรก็ ต าม ในการประมาณ ระยะเวลาประกันงานซอม ก็จําเปนตอง ใชขอมูลและวิธีการดังตอไปนี้

แตถามีการเก็บประวัติขอมูลการ ใชงาน การเสียขัดของ เอาไวตั้งแตแรก ก็สามารถประมาณระยะเวลาประกันงาน ซอมเครื่องจักรโดยรวมทั้งหมดได โดย ประมาณระยะเวลาประกันงานซอมจาก ขอมูลดังนี้ 1. ขอมูลประวัติ เปนขอมูลจากการ ใชงานจริง ดูวามีการเสีย, ระยะเวลาใช งานตั้งแตแรกกอนซอมประกอบ 2. อายุใชงานเฉลี่ยตอการซอม แตละครัง้ (Mean Time Between Failure: MTBF) การใชขอ มูลคํานวณหาอายุ ใชงานเฉลีย่ ตอการซอมแตละครัง้ โดยใช ขอมูลสถิติ 8 ถึง 12 ครั้ง ¥ j ¨sÔp ¥m ­ pq j BTBF = q² m ®p ­t Ó ­ ¥ ~¡ q j j ¥ q jp tÓ เวลารวมการใช ง านเครื่ อ งจั ก ร กําหนดเวลาเปนเดือน หมายความวา ในเวลา 1 เดือน เครื่องจักรใชเวลาเดิน เครื่องสุทธิกี่ชั่วโมง (Run time) โดย

หักลบเวลาหยุดอื่นๆ ทั้งหมด คือ การ หยุดเนื่องจากการเสียขัดของ ทั้งที่เกิด จากฝายซอม ฝายผลิต รวมถึงเวลาอื่นๆ เชน รอวัสดุอะไหล มีการหยุดเพือ่ เปลีย่ น แบบ รุน ผลิตภัณฑ รอพนักงานผลิต รอความพรอมสภาพการเดินเครื่องจักร (Setting time) ภั ย จากไฟฟ า ดั บ ฝน ตกหนัก ฉุกเฉิน เหลือเปนเวลาเดินเครือ่ ง สุทธิที่เครื่องทํางานจริง สะสมเวลาตอ เนื่องกันในกรณี 8 ถึง 12 ครั้ง หรือใช เวลา 8 ถึง 12 เดือน ตามความเหมาะสม สวนจํานวนครั้งที่ซอมที่มีสาเหตุ มาจากการเสียจากงานซอม หมายความ วา จํานวนนับเปนครั้งที่เครื่องจักรหยุด ขัดของ ทํางานไมได โดยที่มีสาเหตุมา จากงานซ อ มเท า นั้ น ส ว นสาเหตุ อื่ น ๆ เชน พนักงานผลิตเดินเครื่องผิดพลาด รอวัสดุประกอบ ผลิต การเปลี่ยนแบบ รุน ภัยธรรมชาติจากไฟฟาดับ ฝนตกหนัก ฉุกเฉิน ก็สามารถประมาณคาเฉลี่ยอายุ ใชงานแตละครั้งหลังการซอมแตละครั้ง วามีอายุใชงานไดมาก-นอยเทาใด เพื่อ กําหนดเปนเวลาประกันงานซอม

รูปที่ 10 ตัวอยางเอกสารแสดงขอมูลของชิ้นสวน ที่ใชประกอบใบรับรองมาตรฐาน

78

336, มีนาคม 2555



ε µ¥ BBBBBBBB ³Ä o µ Å o°¸ µ Á nµÄ รูปที่ 11 กราฟขอมูลสุขภาพเครื่องจักร ซึ่งจะนํามาทํานายอายุการใชงาน

ปจจุบันนี้ มีโปรแกรมเชิงสถิติที่ สามารถคํานวณหาคาอายุใชงานเฉลี่ย (MTBF) ทําใหงาย สะดวก รวดเร็วขึ้น 3. ผู  ผ ลิ ต เครื่ อ งจั ก ร เป น การ กําหนดเวลาประกันงานซอม ตามผูผลิต เครื่ อ งจั ก รหรื อ ชิ้ น ส ว นอุ ป กรณ แ ต ล ะ รายการ ที่ใชซอมประกอบ เชนเดียว กับการกําหนดอายุใชงานอุปกรณ เครือ่ ง ไฟฟา อิเล็กทรอนิกส ประกันการใชงาน 5 ป ซีล ยาง โอริง เก็บ ประกอบใชงานบํารุง รักษาถูกตอง 3 ถึง 5 ป เชนเดียวกับ แบริ่ง ตลับลูกปน 3 ถึง 5 ป ตลับ ลูกปนลอหนารถยนต มากกวา 200,000 กิโลเมตร สายพานไทมมิ่งเครื่องยนต 100,000 กิโลเมตร แบตเตอรี่รถยนต 3 ป เปนตน สําหรับงานซอมเครื่องจักร ก็ ส ามารถประมาณอายุ ใ ช ง านได ถ า รายการวัสดุอะไหลใดที่ไมมีประวัติอายุ ใชงานมากอน ก็สามารถติดตอขอขอมูล จากผูผลิต ตัวแทนจําหนายได 4. ใบรับรองประกันอายุใชงาน บางกรณีที่เปนเครื่องจักรอุปกรณสําคัญ เพื่อความมั่นใจวาวัสดุอะไหลที่ใชซอม ประกอบจะสามารถใชงานไดตลอดอายุ เวลาประกันงานซอม ก็สามารถติดตอขอ ใบรับรองมาตรฐาน คุณภาพ และอายุใช งานจากผูผลิตได เพื่อนํามาพิจารณาใช ประมาณอายุการประกันงานซอมชิน้ สวน

อุปกรณแตละชิ้นตอไป 5. แนวโนมขอมูการวัดสุขภาพ เครื่ อ งจั ก ร เป น ข อ มู ล แรกที่ ช  า งซ อ ม ประกอบเครือ่ งจักรจะตองเก็บวัดคา หรือ นําประวัติขอมูลยอนหลังมาดูชวงเวลา อายุการใชงานที่ผานมามีการเปลี่ยนซอมชิ้นสวนอะไหลอะไรบาง ชิ้นสวน เครื่ อ งจั ก รบางชนิ ด สามารถตรวจวั ด สุขภาพอายุใชงานที่ผานมาได เชน ปม นํ้า พัดลม โบวเออร เกียร มอเตอร ลูก กลิ้ ง โรลเรอร โดยการตรวจวั ด สภาพ ตลับลูกปนแบริ่ง วัดความรอน อาจจะ วัดดวยอินฟราเรด หรือถายภาพความ รอน (Thermographic) ฟงเสียง วัดการ สั่นสะเทือน วิเคราะหสารหลอลื่น การ เสียดสี สึกหรอบาง ผุกรอน ถาเปนขอมูลทางไฟฟา เชน ขนาด ความเร็วรอบ โวลต แอมแปร ความ ตานทาน คาความเปนฉนวน ความสิ้น เปลืองพลังงาน การสูญเสียทางไฟฟา หรือขอมูลการผลิต ความเร็วรอบ จํานวน ที่ผลิตได จํานวนของเสีย ข อ มู ล สุ ข ภาพเหล า นี้ สามารถ นํ า มาใช พิ จ ารณาประเมิ น อายุ ชิ้ น ส ว น เครื่องจักรอุปกรณได ข อ ดี ข องการใช ข  อ มู ล สุ ข ภาพ เครื่ อ งจั ก รก็ คื อ ในกรณี ที่ มี ก ารจั ด หา จัดซื้อชิ้นสวนอะไหลเพื่อซอมประกอบ

บางรายการอาจจะได ข องไม ค รบตาม จํานวนที่ตองการ หรือในขณะซอมชิ้น สวนบางรายการเกิดการชํารุด เสีย ใช งานไม ไ ด ทํ า ให เ ราไม ส ามารถจั ด หา มาใช ง านได ทั น กํ า หนดตามแผน เรา สามารถพิจารณาจากสุขภาพชิ้นสวนที่มี ประวัติขอมูลสุขภาพดีที่สุดนํามาใชซอม ประกอบทดแทนได แตถาไมมีประวัติ สุขภาพขอมูลมากอน เราจะไมสามารถรู เลยวาชิน้ สวนอะไหลใดสุขภาพดี หรือไม ดีพอที่จะนําอะไหลชิ้นใดมาทดแทน ที่จะ ทําใหสามารถใชงานไดทันเวลา และอยู ในเงื่อนไขประกันงานซอมได 6. ผูเ ชีย่ วชาญชํานาญเฉพาะดาน ถาเปนเครื่องจักรที่ตองใชความรูความ เชี่ยวชาญเฉพาะดาน เชน เครื่องกลึง ที่ ทํ า งานด ว ยโปรแกรมคอมพิ ว เตอร (CNC) เครื่องกําเนิดไฟฟา กังหันแกส บอยเลอร เทอรไบน เกียร มอเตอร ถา มีผูเชี่ยวชาญมาตรวจวัดสภาพ สัมผัส ดู ก ารทํ า งานต า งๆ จากความรู  แ ละ ประสบการณ ที่ ทํ า งานเรื่ อ งนั้ น ๆ โดย เฉพาะ ก็จะบอกไดทนั ทีวา เครือ่ งจักรนัน้ จะสามารถใชงานไดอีกนานเทาใด ในกรณีนี้ก็เชนเดียวกับเครื่องจักร อุปกรณในโรงงานหลายๆ แหง ตั้งแต กอสรางโรงงานมานับสิบๆ ป ถามีการ บํารุงรักษาที่ดี เครื่องจักรนั้นก็ยังใชงาน ไดดีอยูจนถึงปจจุบันนี้ 9. บั น ทึ ก การแก ไ ข-ปรั บ แต ง เปนการบันทึกขอมูล การซอม แกไข ปรั บ แต ง เพื่ อ ใช ท วนสอบ ติ ด ตาม ผล การซอม และพัฒนาระบบงานใหมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

336, มีนาคม 2555 79



ผศ. ถาวร อมตกิตติ์

การบำรุงรักษาทางไฟฟา ใหเกิดความปลอดภัย

การบำรุงรักษาทางไฟฟาใหกบั ระบบตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับความปลอดภัยมีรายละเอียดและ แนวคิดในการดำเนินการจำนวนมาก อีกทัง้ ขัน้ ตอนในการบำรุงรักษาและ ความถีใ่ นการบำรุงรักษาก็เปนสิง่ ทีจ่ ะตองทราบและ จะตองกระทำอยางจริงจังจึงจะเกิดความปลอดภัยสูงสุด

อั

นตรายจากไฟฟาเกิดขึน้ ไดตลอด เวลาหากมีการทดสอบและบำรุง รักษาทางไฟฟาดวยบุคลากรที่ ดอยคุณภาพหรือละเลยการดำเนินการ อยางถูกตอง ปกติแลวจะถือวาการเสือ่ ม ของอุปกรณไฟฟาเปนเรื่องธรรมดา แต การลมเหลวของอุปกรณจะไมถอื เปนการ เสื่อมตามปกติ เมื่อเริ่มใชงานก็จะทำให อุปกรณเสื่อมลงตามอายุ ซึ่งหากไมได ตรวจสอบอยางถูกตองก็จะทำใหอปุ กรณ ล ม เหลวได เ ร็ ว ขึ้ น การเสื่ อ มดั ง กล า ว จะเกิดไดอยางรวดเร็วจากองคประกอบ ตางๆ เชน สภาพแวดลอม, โหลดเกิน, รอบการทำงานหนักอยางตอเนือ่ ง เปนตน

กำหนดการตรวจสอบและบำรุง รักษาตามชวงเวลาดังตัวอยางในรูปที่ 1 ทำให ส ามารถตรวจจั บ องค ป ระกอบที่ ทำใหอุปกรณเสื่อมเร็วขึ้นดังกลาวเพื่อ จะไดหาทางปองกันไดตอไป นอกจากนีย้ งั มีการกระทำทีอ่ าจสง ผลใหอปุ กรณลม เหลวได เชน การเปลีย่ น หรือเพิม่ โหลด, การดัดแปลงวงจร, การปรับ ตัง้ อยางไมเหมาะสม, การเลือกใชอปุ กรณ ปองกันทีไ่ มเหมาะสม, สภาพแรงดันไฟฟา ที่มีการเปลี่ยนแปลง หรือการปรับปรุง ระบบดังตัวอยางในรูปที่ 2 เปนตน หากไมไดกำหนดชวงเวลาทดสอบ และบำรุงรักษาอยางมีประสิทธิผลจะถือ

รูปที่ 1 การตรวจสอบและบำรุงรักษาตามชวงเวลา

80

336, มีนาคม 2555

ไดวาเปนการเพิ่มความเสี่ยงตอการลม เหลวทางไฟฟา กำหนดการบำรุงรักษา เชิงปองกันทางไฟฟาอยางมีประสิทธิผล จะช ว ยลดอุ บั ติ เ หตุ แ ละลดไฟฟ า หยุ ด ชะงักได ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งความ ปลอดภัยกับการบำรุงรักษาเชิงปองกัน เปนเรื่องที่ไมยากสำหรับผูที่ตองการทำ อุปกรณทอี่ อกแบบอยางเหมาะสมและถูก ติดตัง้ อยางเหมาะสมนัน้ ในระยะแรกยอม มีขีดความสามารถในการทำงานสูง แต อายุของอุปกรณและตัวแปรตางๆ จะทำ ใหอุปกรณเสื่อมลงดังตัวอยางตอไปนี้ 1. ฝนุ และความสกปรกทีเ่ กาะบน

รูปที่ 2 การปรับปรุงระบบทีไ่ มเรียบรอย จะทำใหระบบลมเหลวได



อุปกรณ จะทำใหอุปกรณเกิดความรอน สูงเกิน และชิ้นสวนที่มีการเคลื่อนไหว ทำงานผิดพลาดได 2. การสั่ น สะเทื อ นจะทำให ชิ้ น สวนและจุดตอตางๆ หลุดหลวมได ซึ่ง จะทำใหการทำงานลมเหลว 3. ความรอนและอายุการใชงาน ทำให ฉ นวนล ม เหลวได ซึ่ ง ทำให เ กิ ด อันตรายจากการช็อกทางไฟฟา 4. โหลดที่ เ พิ่ ม , เสิ ร จ จากการ สตารตมอเตอร และคุณภาพไฟฟา เชน ฮารมอนิก จะทำใหอปุ กรณเสือ่ มเร็วขึน้ โดยปกติ แ ล ว การล ม เหลวของ อุปกรณทไี่ มไดบำรุงรักษาจะเกิดขึน้ เมือ่ มี ฟอลตทางไฟฟา การลมเหลวดังกลาว ทำใหเกิดอารกและระเบิดไดซึ่งสงผลให คนในพื้นที่เกิดบาดเจ็บและทำใหไฟฟา หยุดชะงักได

หลักการสำหรับ บำรุงรักษาทางไฟฟา เพื่อใหปลอดภัย

ระบบไฟฟ า ที่ มี ก ารบำรุ ง รั ก ษา อยางสม่ำเสมอจะตองมีแนวคิดและหลัก เกณฑในการบำรุงรักษาอยางถูกตองและ เหมาะสม ซึ่งนอกเหนือจากตองการให ระบบและอุปกรณทำงานอยางมีประสิทธิภาพแลว ยังจะตองมุงเนนใหเกิดความ ปลอดภัยและประหยัดอีกดวย 1. ความสั ม พั น ธ ข องอุ ป กรณ ไฟฟาที่บำรุงรักษาอยางเหมาะสมกับ อันตรายทางไฟฟา ตัวอยางของอุปกรณ ไฟฟาทีม่ กี ารบำรุงรักษาอยางไมเหมาะสม ซึง่ อาจจะเกิดอันตรายทางไฟฟาจากการ ช็อกหรือระเบิดใสผทู อี่ ยใู กลหรือผทู ำงาน ไดมีดังนี้ 1. ชุดสายพวงหรือเครือ่ งมือบำรุง รักษาที่ไมเหมาะสม เชน ฉนวนชำรุด ทำใหตัวนำที่มีไฟสัมผัสกับคนไดถือเปน การช็อกทางไฟฟา

2. อุปกรณปอ งกัน เชน เบรกเกอร หรือฟวส ทีบ่ ำรุงรักษาอยางไมเหมาะสม ทำใหระบบลมเหลวเมื่อตัดกระแสเกิน ซึ่งการลมเหลวดังกลาวจะคลายกับการ ระเบิดเชนเดียวกับการอารกทางไฟฟา หรือการระเบิดทางไฟฟา 3. การต อ ที่ ไ ม มี ก ารบำรุ ง รั ก ษา อยางเหมาะสม ทำใหเกิดความรอนทีส่ งู เกินได ซึ่งสงผลใหเกิดเหตุการณตางๆ ตามมาคือ - ฉนวนหลอมละลาย, ตัวนำโผล และ อันตรายจากการช็อกทางไฟฟา - ไฟไหม - อาจเกิดการระเบิดและอารกทางไฟฟา 4. สวิตชเกียร, ชุดควบคุมมอเตอร หรือแผงไฟฟาทีบ่ ำรุงรักษาอยางไมเหมาะ สม ทำใหเกิดการลมเหลวอยางรุนแรง เมือ่ เกิดอารกภายใน ซึง่ เปนอันตรายตอ คนจากการระเบิดทางไฟฟาและการอารก ทางไฟฟา 2. อั น ตรายที่ ม าจากการบำรุ ง รักษาทางไฟฟา เมือ่ ใดทีผ่ ปู ฏิบตั งิ านมา ถึงอุปกรณไฟฟาถือไดวา กำลังเผชิญหนา กั บ อั น ตรายทางไฟฟ า ซึ่ ง อาจจะเป น ผลมาจากการบำรุงรักษาทางไฟฟา จึงมี การกำหนดรายละเอียดไวดังนี้ แผงสวิตช, แผงไฟฟา, แผงควบคุม ทางอุตสาหกรรม และชุดควบคุมมอเตอร ทีน่ อกเหนือจากทีพ่ กั อาศัยนัน้ เมือ่ ทำการ ทดลอง, ปรับแตง หรือบำรุงรักษาขณะที่ มีไฟจะตองมีเครือ่ งหมายเตือนใหทราบถึง อันตรายที่เปนไปไดจากการอารกไฟฟา ซึ่ ง เครื่ อ งหมายดั ง กล า วจะต อ งอยู ใ น ตำแหนงทีม่ องเห็นไดชดั เจนจากผทู จี่ ะเขา

รูปที่ 3 ปายเตือนขัน้ ต่ำ เพื่อติดไวบนอุปกรณไฟฟา

รูปที่ 4 ปายเตือนทีม่ รี ายละเอียด เพื่อติดไวบนอุปกรณไฟฟา

ปฏิบัติงานที่จะทำการทดลอง, ปรับแตง หรือบำรุงรักษาอุปกรณนนั้ ๆ รูปที่ 3 แสดงตัวอยางของปาย เตือนขัน้ ต่ำ สวนรูปที่ 4 แสดงตัวอยาง ของปายเตือนทีม่ รี ายละเอียดมากขึน้ ซึง่ หากเปนไปไดควรทำตามปายเตือนในรูป ที่ 4

ราคาการบำรุงรักษา ทางไฟฟา

การพิจารณาราคาอยางละเอียดใน การบำรุงรักษาทางไฟฟาจะขึ้นกับขอบ เขตของการบำรุงรักษา รูปที่ 5 แสดง ความถี่ในการบำรุงรักษาทางไฟฟาที่มี ผลตอราคารวม ซึ่งจะเห็นไดวาราคาใน การบำรุงรักษาทางไฟฟาจะลดลงเมื่อ ความถี่ในการตรวจสอบเพิ่มขึ้น สวน ราคาในการซ อ มและเปลี่ ย นอุ ป กรณ จะเพิม่ ขึน้ เมือ่ การบำรุงรักษาลดลง โดยสวนใหญผูจัดการจะเพงเล็ง เฉพาะราคาในการบำรุงรักษาโดยไมได นำราคาในการซอมและเปลี่ยนอุปกรณ มารวมพิจารณา แนวทางทีถ่ กู ตองทีจ่ ะทำ ใหเกิดความประหยัดตอการบำรุงรักษา จะตองพิจารณาราคารวมในรูป ซึ่งดาน ขวาของรูปแสดงถึงการบำรุงรักษานอย ทำใหราคาซอมและราคาเปลีย่ นอุปกรณ สูงมาก สวนกรณีทมี่ กี ารบำรุงรักษาทาง ไฟฟามากซึ่งอยูดานซายของรูปจะทำให ราคาซอมและบำรุงรักษาลดลง

336, มีนาคม 2555 81


Nanaboshi : Round Type Connectors 1 - 40P

¨ ¥ Õ« ² Ö¯ ª t²}Ö ¤¸z° t¤ ¸¦ t¤ ¸¦ ¤ ° £ Õ« ¥ ¯ ¥£ ¦ ¤ ²}Ö² z¥ ³ Ñ¥ « ¥ t , ± Ù, Õ« Ù £ ¯~¶ ¯~ Ù, £ ¦¯ ¨ z, ¯w ª · z{¤t ² z¥ « ¥ t ¢ ¢

Standard Type : NCS Series, NJC Series, NR Series, NET Series Waterproof Type : NWPC Series, NJW Series, NRW Series, NEW Series, NT Series (oil-proof)

PARTEX ¯ Ý § ¤ Ù ¥ Ù w ¥ w« ¥ {¥t ¨¯ ¨ ¥ ° ¥ } § ¤¸ z ¥ § t ° £ ¯ ¯ ¤ ¤t }¤ ¯{ z¥ ¥

Website : www.nakhornphan.com

Industrial Connectors

E-Series : For The Professional Sensor z GDM-Series : For The Professional Valve z CA/CM-Series :For The Toughest Environments z

Ð¥ u¥ ° £ §t¥ 183 ¥w¥ ¤{ ¥t¥ ±~ A }¤ ¸ 27 . ¥ ² Ö °u z ¥ ¥ ¥ ¯u ¥ t «z¯ ¢ 10120 ± ¤ Ù : 02 676 5811 ° t~Ù : 02 676 5815 e-mail : sales@nakhornphan.com ¦ ¤tz¥ ² Õ 51-53 ~ z 4 ¤ z °u z ¤z² Õ ¯u « ¤ t «z¯ ¢ 10330 ± ¤ Ù : 02 611 9700 ° t~Ù : 02 611 9855 e-mail : account@nakhornphan.com


การบำรุงรักษาแบบ ศูนยกลางที่เชื่อถือได

การบำรุงรักษาแบบศูนยกลางที่ เชือ่ ถือได (Reliability-Centered Maintenance - RCM) เปนกระบวนการจัด หารายละเอียดการบำรุงรักษาที่ใหประสิทธิผลมากที่สุด ปรัชญาของการบำรุง รักษาแบบศูนยกลางทีเ่ ชือ่ ถือไดนนั้ จะเปน การรวมกันของการบำรุงรักษาเชิงปองกัน (PM), การบำรุงรักษาเชิงพยากรณ (PdM), การมอนิ เ ตอร เ วลาจริ ง (Real-time monitoring - RTM), การเดินสคู วามลม เหลว (Run-to-failure : RTF) หรือทีเ่ รียก วาการบำรุงรักษาแบบตอบโต และเทคนิค ในการบำรุงรักษาแบบมีบทบาทรวม ทัง้ นี้เพื่อใหเครื่องจักรหรือระบบทำงานได ตามตองการตลอดอายุการใชงาน 1. หลักการของการบำรุงรักษา แบบศูนยกลางที่เชื่อถือได หลักการใน การดำเนินการบำรุงรักษาแบบศูนยกลาง ที่เชื่อถือไดของอุปกรณทั้งหมดแสดงใน รูปที่ 6 การวิเคราะหการบำรุงรักษาแบบ ศูนยกลางทีเ่ ชือ่ ถือไดนนั้ จะตองพิจารณา อยางละเอียดจากคำถามตอไปนี้ 1. ระบบหรืออุปกรณทำอะไร 2. เกิดการลมเหลวอะไรในการ ทำงาน 3. อะไรเปนผลลัพธสุดทายของ การลมเหลวในการทำงาน 4. สามารถทำอะไรเพือ่ ลดโอกาส ที่จะลมเหลวได คำตอบทีไ่ ดจากคำถามขางตน จะ ทำให ท ราบถึ ง การกระทำที่ จำเป น เพื่ อ คงสภาพระบบหรืออุปกรณ ซึ่งสามารถ

82

336, มีนาคม 2555

ราคาทีเ่ พิม่ ขึน้

ดังนั้นจุดที่ราคารวมขั้นต่ำมีคาต่ำ สุดควรเปนจุดที่ควรจัดทำรายละเอียด การบำรุงรักษา เนือ่ งจากใหประสิทธิผล ดีที่สุด

ราคารวมขั้นต่ำ

ราคาบำรุงรักษา

ราคาปฏิบัติการที่รวม ซอมและเปลี่ยน

การพยายามในการลดบำรุงรักษา

รูปที่ 5 ผลจากความถีใ่ นการบำรุงรักษาตอราคารวม

รูปที่ 6 หลักการดำเนินการของการบำรุงรักษาแบบศูนยกลางทีเ่ ชือ่ ถือได

นำหลักการของการบำรุงรักษาแบบศูนย กลางที่เชื่อถือไดในรูปที่ 6 มาใชในการ ตอบคำถามดังกลาวได 2. การล ม เหลว การล ม เหลว อธิบายไดหลายแนวทาง ซึง่ การลมเหลว ทีเ่ ปนความรสู กึ อยางกวางๆ จะไดคำตอบ ที่งายและไมนาจะถูกตองสมบูรณ การ บำรุงรักษาแบบศูนยกลางทีเ่ ชือ่ ถือไดนนั้ ไมตองการใหมองความลมเหลวเฉพาะ อุปกรณทลี่ ม เหลวเทานัน้ แตใหมองจาก ระบบดวย นัน่ คือ แมวา อุปกรณยงั ทำงาน ไดแตผลจากงานที่ทำไดนอยลง ก็ถือวา

ลมเหลวเชนกัน เชน รีเลยปอ งกันระบบ ไฟฟาทีล่ ม เหลว แตวงจรยังคงมีไฟ ก็ถอื วาลมเหลว การลมเหลวในการทำงาน คือ การ ทีร่ ะบบหรืออุปกรณไมมคี วามสามารถใน การทำงานใหสอดคลองกับสมรรถนะของ มัน สวนการหยุดทำงานอยางสมบูรณ ก็เปนการลมเหลวในการทำงาน ผลลัพธจากการลมเหลว จะชวยใน การพิจารณาหาการเริม่ ดำเนินการบำรุง รักษาหรือออกแบบในการปรับปรุงเพื่อ ปองกันการลมเหลว กรณีทกี่ ารลมเหลว



การปรับแตง, การทำความสะอาด, การ หล อ ลื่ น และการเปลี่ ย นชิ้ น ส ว นและ อุปกรณ PM เปนการบำรุงรักษาตามชวง เวลาโดยไมมกี ารพิจารณาจากสภาพของ อุปกรณ โดยจัดทำรายละเอียดในการ ตรวจและบำรุ ง รั ก ษาตามช ว งเวลาที่ กำหนดเพือ่ ลดความลมเหลวของอุปกรณ อย า งไรก็ ต าม รายละเอี ย ดของ PM สามารถทำใหการตรวจและราคาเพิม่ ขึน้ โดยไมไดเพิ่มความเชื่อถือได 3. การทำแบบบำรุงรักษาตามการ เสื่อมสภาพ (CBM) ประกอบดวยการ บำรุงรักษาเชิงพยาการณ (PdM) และ มอนิเตอรเวลาจริง (RTM) โดย PdM ใช เทคนิคในการวัดเพื่อทราบถึงสมรรถนะ ของอุ ป กรณ ส ว น RTM ใช ข อ มู ล สมรรถนะกระแสไฟฟ า เพื่ อ ประเมิ น สภาพทางกล การบำรุงรักษาแบบศูนย กลางทีเ่ ชือ่ ถือไดจะเปลีย่ นการบำรุงรักษา ตามเวลาเปนการบำรุงรักษาที่มีรายละ เอียดเฉพาะเพือ่ รับประกันสภาพอุปกรณ การวิเคราะหขอมูลสภาพอุปกรณอยาง ต อ เนื่ อ งใช ว างแผนและจั ด ทำราย ละเอียดในการบำรุงรักษาหรือซอมกอนที่ จะเกิดลมเหลวขึ้น 4. การออกแบบใหม เมือ่ การลม เหลวของระบบหรืออุปกรณเปนความ เสีย่ งทีย่ อมรับไมไดจะตองมีการออกแบบ

RCM PM

CBM PdM

RTF RTM

รูปที่ 7 โครงสรางของการบำรุงรักษาแบบ ศูนยกลางทีเ่ ชือ่ ถือได

ใหมใหกบั อุปกรณหรือระบบ ในกรณีทใี่ ห มีการทำงานแบบทดแทนกันได (Redundancy) ก็จะลดความเสีย่ งลงไดและราคา บำรุงรักษารวมจะไมเพิม่ มากนัก รายละเอียดของการบำรุงรักษา แบบศูนยกลางทีเ่ ชือ่ ถือไดทปี่ ระกอบดวย การวิเคราะหเปน 4 แนวทางขางตน รูป ที่ 7 แสดงความสัมพันธของการบำรุง รักษาตอการบำรุงรักษาแบบศูนยกลางที่ เชือ่ ถือได ทัง้ นีจ้ ากในรูป RCM คือ การ บำรุงรักษาแบบศูนยกลางที่เชื่อถือได, PM คือ การบำรุงรักษาเชิงปองกัน, CBM คือ การบำรุงรักษาตามการเสื่อมสภาพ, RTF คือ การมอนิเตอรเวลาจริง, PdM คือ การบำรุงรักษาเชิงพยากรณ, RTM คือ การเดินสคู วามลมเหลว 4. ผลของการบำรุ ง รั ก ษาแบบ ศูนยกลางที่เชื่อถือไดตอรอบอายุ รอบ

100% 85%

75%

95%

ปฏิบัติการและคงสภาพ

กอสราง

ออกแบบสุดทาย

50%

ออกแบบตามหลักการ และเบื้องตน

65%

ตองการชัดเจน และวางแผน

ราคาในรอบอายุทตี่ กลงไว

ของอุปกรณหนึง่ มีผลกระทบเล็กนอยมาก ก็จะใชการบำรุงรักษาขัน้ ต่ำ ซึง่ หากการ ล ม เหลวของอุ ป กรณ ห นึ่ ง มี ผ ลกระทบ อยางรุนแรงก็จะตองทำการบำรุงรักษาขัน้ สูงสุดหรือออกแบบใหม 3. การบำรุงรักษาในรายละเอียด ของการบำรุงรักษาแบบศูนยกลางทีเ่ ชือ่ ถือได เปาหมายของการบำรุงรักษาแบบ ศูนยกลางที่เชื่อถือได คือ การชี้ชัดถึง เทคนิคในการบำรุงรักษาทีใ่ ชงานไดและ ประหยัดราคามากทีส่ ดุ โดยลดความเสีย่ ง และกระทบตออุปกรณรวมทั้งระบบให เหลือนอยทีส่ ดุ จุดประสงคของการบำรุง รักษาแบบศูนยกลางทีเ่ ชือ่ ถือได คือ - เพื่อใหแนใจในระดับความปลอดภัย และความเชื่อถือไดของอุปกรณ - เพือ่ ทำใหอปุ กรณกลับสรู ะดับทีป่ ลอดภัยและเชือ่ ถือไดเมือ่ อุปกรณเกิดความ ลมเหลวหรือเสือ่ มสภาพ - เพือ่ ใหไดรบั ขอมูลทีจ่ ำเปนสำหรับการ ออกแบบปรับปรุงในรายการทีพ่ สิ จู นได วาความเชื่อถือไดไมเพียงพอ - เพือ่ ใหประสบผลสำเร็จตามเปาหมาย ในราคารวมนอยทีส่ ดุ ซึง่ เปนราคาของ การบำรุงรักษา, ราคาการสนับสนุน และมูลคาทางการเงินจากการทำงาน ลมเหลว การบำรุงรักษาแบบศูนยกลางที่ เชื่อถือไดมีการวิเคราะหเปนสี่แนวทาง ดังนี้ 1. การทำแบบไมบำรุงรักษา การ กระทำนีถ้ อื เปนการบำรุงรักษาแบบตอบ โต, ซอม, ตรึงความลมเหลว, หรือเดินสู การลมเหลว โดยสมมุตวิ า การลมเหลวที่ เกิดขึ้นไมเปนผลเสียหายตอการทำงาน การทำแบบไมบำรุงรักษาจะมีอัตราการ ลมเหลวสูง หรือตองเก็บสำรองชิ้นสวน จำนวนมาก และมีการดำเนินการเกิน กำหนดเวลาอยเู สมอ 2. การทำแบบบำรุ ง รั ก ษาเชิ ง ปองกัน (PM) ประกอบดวยการตรวจ,

ระยะของรอบอายุ รูปที่ 8 การออกแบบและราคาในรอบอายุ

336, มีนาคม 2555 83



อายุ (Life-cycle) แบงไดเปนสองระยะ คือ การไดมา (วางแผน, ออกแบบ และ กอสราง) และการปฏิบตั กิ าร การบำรุงรักษา แบบศูนยกลางทีเ่ ชือ่ ถือไดมผี ลตอทุกเฟส ของระยะการไดมาและการปฏิบตั กิ ารใน บางระดับ การตัดสินใจดำเนินการกอนในรอบ การไดมาจะมีผลตอราคาในรอบอายุ โดย คาใชจายสำหรับโรงงานและอุปกรณจะ เกิดขึ้นภายหลัง รูปที่ 8 แสดงการวาง แผนที่ประกอบดวยการออกแบบจะเปน สองในสาม (65%) ของราคารอบอายุ รวมทั้งหมด ดังนัน้ การตัดสินใจในรายละเอียด การบำรุงรักษาแบบศูนยกลางทีเ่ ชือ่ ถือได ซึ่ ง ประกอบด ว ยการตรวจดู ส ภาพที่ กระทบตอราคาในรอบอายุนั้น จะทำได ดีที่สุดในชวงการวางแผน แมวาการบำรุงรักษาเปนสวนเล็ก น อ ยของราคาในรอบอายุ ทั้ ง หมดคื อ ประมาณ 3-5 เปอรเซ็นตของราคาปฏิบตั -ิ การ แตการบำรุงรักษาแบบศูนยกลางที่ เชื่อถือไดทำใหประหยัดไดมากระหวาง ชวงปฏิบตั กิ ารและบำรุงรักษา ซึง่ หากจัด ทำรายละเอียดการบำรุงรักษาแบบศูนย กลางที่เชื่อถือไดอยางเหมาะสมจะประหยัดได 30-50 เปอรเซ็นตของงบประมาณ บำรุงรักษาประจำป

ขั้นตอนของการจัด ทำรายละเอียดในการ บำรุงรักษา

บางโครงการโดยเฉพาะโครงการ ขนาดเล็กมาก อาจจะไมตองจัดทำเปน กระบวนการตามรายละเอียดของการ บำรุ ง รั ก ษาแบบศู น ย ก ลางที่ เ ชื่ อ ถื อ ได อยางสมบูรณ ขัน้ ตอนของการจัดทำราย ละเอียดในการบำรุงรักษาทางไฟฟามี 8 ขั้นตอนดังนี้ 1. วางแผน กอนปฏิบัติการใดๆ

84

336, มีนาคม 2555

รูปที่ 9 การถายภาพอินฟราเรด

ควรพิ จ ารณาว า กำลั ง จะทำอะไรและ อยางใด ซึง่ การพิจารณากอนเริม่ งานดัง กลาวจะทำใหเกิดความปลอดภัยและมี ประสิทธิภาพ ขัน้ ตอนนีม้ คี วามสำคัญมาก เมือ่ กำลังจัดรูปแบบของงานซอมฉุกเฉิน เริ่มตนดวยสิ่งที่ตั้งใจจะทำ ซึ่งใน ตอนเริม่ ตนไมจำเปนตองทำรายละเอียด มากเกินไป แตใหมุงเนนไปยังสิ่งที่ตอง การใหสำเร็จ โดยระบุแตละเปาหมาย, ผู ที่จะใช, อุปกรณที่ตองการ และเวลาที่ จะใช ขัน้ ตอนนีจ้ ะตองใชคมู อื ทีเ่ หมาะสม และแบบแปลนจากการออกแบบ หลัง จากนัน้ จึงพิจารณาแบบแปลนและกระบวน การทีจ่ ะปรับปรุงตอไป ซึง่ อาจจะมีความ ซับซอนมากขึน้ และตองใชประสบการณ รวมในการพิจารณา 2. ตรวจ การตรวจตามชวงเวลา ควรจัดทำเปนงานประจำพื้นฐาน การ ตรวจสามารถทำไดโดยใชสามัญสำนึกที่ เรียกกันวาการตรวจตามลำพัง หรืออาจ จะใชเครื่องมือวัด เชน กลองมองภาพ อินฟราเรด, ทรานสดิวเซอรแบบอัลตรา ซาวน เปนตน 1. การตรวจตามลำพัง เครือ่ งมือ ในการตรวจตามลำพังทีส่ ำคัญคือสายตา ซึ่งสามารถตรวจจับสิ่งผิดปกติได เชน ความสกปรก, การอานคากระแสไฟฟา, สี

ผิดปกติ, ฉนวนทีค่ วามรอนสูงเกิน, แมลง และหนู, ตนเหตุของปญหาตางๆ เปนตน แตจะตองใชประสบการณชวย อยางไร ก็ตาม แมวา ชางไฟฟาทีไ่ มมปี ระสบการณ ก็สามารถตรวจจับใยแมงมุมในกลไกของ เซอรกติ เบรกเกอรได การตัง้ ขอสังเกตอยู เสมอวาเรากำลังทำงานและคนหาความ ผิดปกติอะไร จะชวยใหเกิดความคิดทีจ่ ะ ทราบถึงปญหาได เครือ่ งมือตรวจตามลำพังทีม่ ปี ระโยชนถดั มา คือ หู เชน หมอแปลงทีภ่ าวะ โหลดเกินจะมีเสียงดังกวาที่ภาวะโหลด นอย, เสียงของโคโรนา, มอเตอรทมี่ แี รง ดันไฟฟาไมสมดุลหรือแบริง่ ทีไ่ มดี เปนตน ซึ่งหากมีเสียงผิดปกติก็ควรตรวจสอบ อยางละเอียดตอไป เครือ่ งมือถัดมา คือ จมูกสามารถ ตรวจจับปญหาจากกลิน่ ไดกอ นสัญญาณ อืน่ เชน กลิน่ จากฉนวนทีร่ อ นเกินหรือลุก ไหม ส ว นการสั ม ผั ส ก็ เ ป น การตรวจ อุปกรณไฟฟาตามลำพังเชนกัน ความรสู กึ จากความรอนและการสั่นที่ผิดปกติจะ ทราบไดจากการสัมผัส แตจะตองไมมไี ฟ หรือสวมอุปกรณปองกันตัวที่เปนฉนวน อยางเหมาะสม เชน ถุงมือยาง 2. การตรวจด ว ยเครื่ อ งมื อ หรื อ เครือ่ งมือวัด นอกเหนือจากใชความรสู กึ


70-100 SERIES

76-100 SERIES

61 SERIES

96-100 SERIES

62 SERIES 10-512

70-140-64 SERIES

76-500 SERIES

73A SERIES

19 SERIES 13-200

13-511 13 SERIES

13-101 10-322

70-100-27 SERIES

10-322 & 10-512 SERIES

89-500 SERIES 76-600 SERIES 10-600 SERIES 14-200 SERIES

70-600 SERIES

76AR SERIES

88A SERIES

72-100 SERIES

87A SERIES

77-100 SERIES

20-250 & 25-200 16 SERIES SERIES

26-300 SERIES

82-100/200 SERIES

15 SERIES

37 SERIES

18 SERIES

20-300, 20-350 25-400 & 25-500 SERIES

36 SERIES

INSTALL IT... FORGET IT ! MODEL FLT 17 BALL FLOAT STEAM TRAP PRESSURE 14 BAR.

MODEL IB12 INVERTED BUCKET STEAM TRAP PRESSURE 14 BAR.

MODEL TH13A THERMOSTATIC STEAM TRAP PRESSURE 13 BAR.

MODEL DT 42 S THERMODYNAMIC STEAM TRAP PRESSURE 42 BAR.

ADCAMAT PRESSURE OPERATED PUMP

MODEL R400 STANDARD 180°F HI - TEMP 550°F TYPE ED

New Apollo 87A/88A Series flanged ball valves. ANSI Class 150 and 300 valves with cast-in ISO style mounting pad. Carbon or stainless steel, sizes 1 to 10 inches.

TYPE ET14

MODEL VB21 SS. VACUUM BREAKER

Series "G" MODEL AE16 AIR ELIMINATOR PRESSURE 16 BAR.

Series 2000

RELIEF VALVE BRONZE & SS.BODY

MODEL SW12 SINGLE WINDOW 316HT GLASS Series "J"

New actuator-ready Apollo ARTM ball valves. Easy actuation for high-cycle applications. Stainless, carbon or bronze, sizes 1/4 to 3 inches. Series "J" and "X"

ºÃÔÉ· Ñ ÍÕ¾à Õ ÍçÁ«Õ ¨Ó¡Ñ´ EPMC Company Limited

CS & CL ELECTRIC ACTUATORS 24V, 110V, 220V, NEMA 4, 4X, 7 & 9

4 th Floor BOONYIUM & ASSOCIATES Bldg., 1314-1322 Srinakarin Rd., Suanluang Suanluang Bangkok 10250 Tel : 0-2322-4330-3, 0-2322-1678-87 Fax : 0-2720-5155, 0-2322-4329 http://www.epmc.co.th E-mail : epmc@epmc.co.th


ในการตรวจแลว กลองมองภาพอินฟราเรดตามรูปที่ 9 จะเปนเครือ่ งมือบำรุงรักษา ที่มีประสิทธิผลมากที่สุด การถายภาพ อินฟราเรดของระบบไฟฟาประจำปจะทำ ใหทราบถึงปญหาทีร่ นุ แรงไดงา ย ดังนัน้ ควรมีการถายภาพอินฟราเรดประจำปอยู ในขอกำหนดการบำรุงรักษา สวนทรานสดิวเซอรแบบอัลตราซาวนตามรูปที่ 10 นิยมใชในการวิเคราะห สภาพของโลหะที่มีการสั่นคงที่ นอกจากนั้นเครื่องมือและเครื่อง มือวัดอืน่ ๆ ก็มสี ว นชวยใหการบำรุงรักษา มีสมรรถนะสูงขึน้ ซึง่ ควรใชโดยผทู ไี่ ดรบั การอบรมวิธใี ชทเี่ หมาะสมและปลอดภัย 3. ทำความสะอาด ฝนุ และไฟฟา ไม ค วรอยู ด ว ยกั น ซึ่ ง หลั ง จากที่ ต รวจ อุปกรณไฟฟาเสร็จเรียบรอยแลว จะตอง ทำความสะอาดสวนประกอบทั้งหมด ขัน้ แรก คือ การทำความสะอาดทัว่ ไปใหกบั มอเตอร, สวิตชเกียร, หมอแปลง และอุปกรณไฟฟาตางๆ ฝุนและความ สกปรกรวมทัง้ วัสดุแปลกปลอมจะตองถูก ทำความสะอาด ซึง่ ในการทำความสะอาด นั้นควรใชเครื่องดูดฝุนที่เปนฉนวนและ ทำความสะอาดโดยใช ผ า และสารทำ ความสะอาดตามที่กำหนด ลูกถวยหรือสายไฟฟาจะมีวิธีทำ ความสะอาดทีแ่ ตกตางกัน เชน ลูกถวย ปอรซเลนสามารถทำความสะอาดไดดว ย สบู, น้ำและแปรง สวนฉนวนพลาสติก จะตองไมทำใหเกิดรอยถลอก ผิวหนาของการตอสายจะตองมี การทำความสะอาดเปนพิเศษ ผิวหนา สั ม ผั ส ของสายทองแดงควรทำความ สะอาดอยางมากกอนที่จะตอเขาดวยกัน สวนอะลูมิเนียมจะตองทำความสะอาด และเคลือบสารปองกันตามกำหนดทันทีที่ ทำความสะอาดเสร็จเพื่อไมใหเกิดออกไซดของอะลูมิเนียมที่จะทำใหเกิดเปน ฉนวนได ทัง้ นีค้ วรใชคมู อื จากผผู ลิตวัสดุ กอนนำมาใช

สายสัญญาณ

ระบบ อัลตราซาวน

ทรานสดิวเซอร แบบอัลตราซาวน

วัตถุ รูปที่ 10 ระบบทรานสดิวเซอรแบบอัลตราซาวน

4. กวดใหแนน การกวดอุปกรณ ไฟฟาอยางแนนหนาควรกระทำและดูแล โดยใชแรงบิดตามทีผ่ ผู ลิตอุปกรณแนะนำ 5. หลอลืน่ การหลอลืน่ สวนประกอบของระบบไฟฟามักจะถูกมองขาม หรือทำอยางไมเหมาะสม การหลอลืน่ มาก เกินไปทำใหเกิดผลเสียมากกวาไมมีหลอ ลื่น อีกทั้งจะตองระวังสารหลอลื่นที่นำ ไฟฟาใหแนใจวาจะไมเกิดการลัดวงจรขึน้ ซึง่ การใชสารหลอลืน่ ควรทำตามขอแนะ นำของผูผลิตอุปกรณ การหลอลื่นแยกเปนพื้นที่ที่สำคัญ 2 พืน้ ทีค่ อื 1. พื้ น ที่ ไ ม นำไฟฟ า จุ ด ที่ ไ ม นำ ไฟฟาควรหลอลื่นดวยวัสดุที่เหมาะสม บางครัง้ อาจจะใชจาระบี, น้ำมัน หรือสาร หลอลืน่ สังเคราะหบางชนิด ทัง้ นีจ้ ะตอง ตระหนักวาอุปกรณบางชิ้น เชน รีเลย ปองกัน ไมจำเปนตองหลอลืน่ 2. พืน้ ทีน่ ำไฟฟา ผผู ลิตสวนใหญ จะแนะนำสารหลอลืน่ โดยเฉพาะทีใ่ ชกบั สายหรือสวนประกอบตางๆ ที่นำไฟฟา ซึง่ การใชสารหลอลืน่ ทีต่ วั นำไฟฟาจะตอง ใชในปริมาณเพียงเล็กนอยเทานั้น 6. ทดสอบ อุปกรณไฟฟาควรทำ การทดสอบตามชวงเวลาที่กำหนด ราย

ละเอียดทีจ่ ะทดสอบมีหลายประการ เชน วัดความตานทานฉนวน, ตรวจสอบเวลา ทริปของเบรกเกอร, ปรับเทียบรีเลย เปน ตน ในขัน้ ตอนนีอ้ าจจะทดลองใหอปุ กรณ ปองกันทำงานดวยก็ได ทัง้ นีร้ ายละเอียด ในกระบวนการทดสอบควรมีการวางแผน ลวงหนาอยางละเอียด 7. บันทึก การทำงานที่ไมมีการ บันทึกขอมูลถือวาแทบจะไรประโยชน การทดสอบที่มีการบันทึกขอมูลจะชวย กำหนดชวงเวลาในการบำรุงรักษา และ สามารถแยกอุปกรณทไี่ มดอี อกไปได รวม ทั้งชวยใหทราบถึงความเสื่อมของฉนวน หรือสวนประกอบตางๆ ที่เริ่มลมเหลว และปญหาที่จะตามมาได สภาพการใช งานของระบบ เชน กระแสไฟฟาโหลด, แรงดันไฟฟา, อุณหภูมิ เปนตน จะทำให ทราบไดถึงภาาวะโหลดเกินและปญหา อืน่ ๆ ได แบบฟอรมการบันทึกและทดสอบ อุ ป กรณ ไ ฟฟ า และระบบไฟฟ า ควรจั ด ทำและเตรียมไวกอนตามความตองการ เฉพาะของแตละผใู ชงาน 8. ประเมิน การประเมินผลลัพธ จากการทดสอบเปนขัน้ ตอนทีส่ ำคัญทีส่ ดุ การวิเคราะหขอมูลที่บันทึกไวจะทำให

336, มีนาคม 2555 85


µ 1/8 - 5 ¦ ¤oµ °´ ¦µ 1:5 - 1: 1800

¤°Á °¦rÁ ¸¥¦rÁ ¦ DC

Ťn °o Á ·¤ ʶ¤´ Á ¦º°É Á · Á ¸¥ ªµ¤¦o° ­¼ ʶ® ´ Á µ ¤¸ ´Ê · Ä oÅ¢ oµ 220V 2 ­µ¥ 220/380V 3 ­µ¥

GHM

12/349 ®¤n¼ 15 . µ  oª °. µ ¡¨¸ .­¤» ¦ ¦µ µ¦ 10540 12/349 Moo 15, Bangkaew, Bangplee, Samutprakarn 10540 Tel : (662) 316-8200, (662) 397-9577 (Auto) Fax : (662) 316-8207 GV GVM

Via Caduti di Sabbiuno, 11 D/E 40011 Anzola Emilia (BO) - ITALY Tel. +39.051.6425811 Fax. +39.051.734943 info@transtecno.com www.transtecno.com

GHD

Via Ferari, 27/11 41043 Fraz. Corlo, Formigne (MO) - ITALY Tel. +39.059.557522 Fax. +39.059.557439 info@geartecno.com www.geartechno.com

GH


สามารถวางแผนและปรับปรุงรูปแบบ การบำรุงรักษาไดกอนที่จะเกิดการลม เหลวตามมา

3. หากป ญ หาถี่ ขึ้ น หรื อ ป ญ หา รุนแรงขึน้ ก็ใหบำรุงรักษาถีข่ นึ้ 4. หากไม มี ป ญ หาบ อ ยนั ก หรื อ แทบจะไมมีปญหา ใหลดความถี่ในการ บำรุงรักษาลง 5. ทำตามขัน้ 2 ถึง 5 ของกำหนด การบำรุงรักษาตลอดอายุของกำหนดการ บำรุงรักษา ความถีโ่ ดยเฉลีย่ ของการบำรุงรักษา สำหรับระบบอุตสาหกรรมโดยประมาณ จะกระทำทุกสองป นัน่ คือในทุกสองปจะ มีโรงงานอุตสาหกรรมที่มีระบบไฟฟาอยู ในสภาพสมบูรณเหมือนใหม ซึง่ หากเปน ไปไดควรกระทำทุกป

ความถี่ในการ บำรุงรักษา

มั ก จะมี คำถามอยู เ สมอว า ควร บำรุงรักษาระบบไฟฟาบอยเพียงใด ซึ่ง การที่จะไดคำตอบนั้นไมงายนัก ขอมูล จากการทดสอบและขอมูลจากการบำรุง รักษาขางตนจะชวยหาคำตอบไดอยาง เหมาะสมดังนี้ 1. เริม่ ตนดวยกำหนดการทดสอบ หนึ่งครั้งตอป 2. ทบทวนขอมูลทดสอบจากการ บำรุงรักษาแตละชวงเวลา

เอกสารอางอิง

1. International Electrical Testing Association (NETA), "Maintenance Testing Spectifications for Electrical Power Distribution Equipment and System", Morrison Co., 2001 2. NFPA 70B, "Recommended Practice for Elecrical Equipment Maintenance", Quincy, 2002 3. NFPA 70E, "Standard for Electrical Safety Requirment for Employee Workspaces", Quincy, 2004 4. F.S.Nowlan, H.F. Heap, "RelialibilityCentered Maintenance", United Airlines, 1978 5. John Cadick, "The Eight Step Maintenance Program", Cadick Co., 20002005

คูมือวิศวกรไฟฟา

คูมือวิศกรไฟฟา หมวด Electrical/Electronic ISBN 974-686-001-1 ผูแตง M&E ขนาด 13.0 × 19.0 ซม. จำนวน 317 หนา กระดาษ ปอนด ราคา 100 (บาท)

เปนหนังสือคมู อื ทางดานไฟฟา ทีร่ วบรวม สูตร, สัญลักษณ, ตาราง, มาตรฐาน และเรือ่ งนารตู า งๆ สำหรับ วิศวกรไฟฟา, ชางเทคนิค, ผสู นใจและนักศึกษา ทีต่ อ ง การขอมูลอางอิง เกีย่ วกับไฟฟา เพือ่ นำไปใช ในงานอุตสาหกรรมตางๆ รวมทัง้ อาคาร ตางๆ และ ในดานการเรียนการสอนทุกระดับ เนื้อหาภายในเลมประกอบดวย หนวยทางวิศวกรรม และการแปลงหนวย, สูตรและการคำนวณทางไฟฟา, การคำนวณขนาด Capacitor, สัญลักษณทางไฟฟา, สัญลักษณทางเครือ่ งมือวัด, ตารางทัว่ ไป สำหรับงานไฟฟา, ตารางสายไฟฟา, ทอรอย สายไฟฟา, ตารางแสดงคามาตรฐาน คาความเขมของแสง, การเลือก และเปรียบ เทียบหลอดไฟฟา, ตารางแสดงมาตรฐานอุปกรณตางๆ, ดรรชนีแสดงคามาตรฐาน การปองกัน (IP) มาตรฐานเครือ่ งมือวัด, มาตรฐานเครือ่ งมือวัดฟวส และฐานฟวส รวมทัง้ เรือ่ งนารอู นื่ ๆ อีกมากมายทีเ่ กีย่ วของ เชน การแบงระดับ อุปกรณกนั ระเบิด ตาม NEMA, NEC การเปรียบเทียบมาตรฐาน อุปกรณกนั ระเบิด ของสหรัฐ อเมริกา และยุโรป, การปองกันฝาผา, การเลือกบัสดัคท ฯลฯ

ผูสนใจสามารถเลือกซื้อไดที่ศูนยหนังสือ เอ็มแอนดอี หรือสั่งซื้อไดที่

บริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด

(BTS สถานีกรุงธนบุรี) 77/111 อาคารสิ น สาธรทาวเวอร ชั้ น 26 ถนนกรุ ง ธนบุ รี แขวงคลองต น ไทร เขตคลองสาน กรุ ง เทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 เว็บไซต www.me.co.th, www.technic.in.th อีเมล info@me.co.th

86

336, มีนาคม 2555



นอ.ดร.ตระการ กาวกสิกรรม

TQA (4)

สรุปมาทํเนืาความเข ้อหาของเกณฑ ห มวด 1-7 าใจภาพรวมในรายละเอียดของเกณฑแตละหมวด เพื่อใหเห็นการเชื่อมโยงโครงรางองคกรกับการปฏิบัติงานและการแสดงผล การดําเนินการ โดยอางอิงจากเกณฑรางวัลคุณภาพแหงชาติ ป 2555-2556 ±w z Õ¥z zwÙt ¥ ° Ö w ¥ ¤ ¤ Ù ° £ ¥ t¥ Ù¯}§zt « Ù 2 5 t¥ ¥z° t¥ «Õz¯ Ö ¯}§zt « Ù «w ¥t 7 1 t¥ ¼¥ zwÙt ¤ Ù 3 6 t¥ «Õz¯ Ö t¥ «Õz¯ Ö ¬twÖ¥ t¥ § ¤ §t¥ 4 t¥ ¤ t¥ §¯w ¥£ Ù ° £t¥ {¤ t¥ w ¥ ¬Ö

นตอนทีแ่ ลว (เทคนิค ฉบับที่ 334, ม.ค. 2555) ไดอธิบายภาพรวมของ โครงรางองคกรซึง่ เปนสวนทีม่ คี วาม สําคัญในการประเมินองคกรในเบื้องตน และเป น ส ว นที่ มี ค วามเกี่ ย วข อ งเชื่ อ ม โยงกับหมวดตางๆ ทั้ง 7 หมวดอยาง แยกกันไมออก เนื่องจากวัตถุประสงคที่ สําคัญของเกณฑ คือ ใหเกิดการบริหาร จัดการแบบองครวม โดยมีมุมมองเชิง ระบบที่การปฏิบัติงานของหนวยงานมี ความเชือ่ มโยงสัมพันธกนั โดยตลอดทีม่ งุ สูผลลัพธ ดั ง นั้ น หลั ง จากที่ จั ด ทํ า โครงร า ง องคกรเรียบรอยแลว ตองเชื่อมโยงโครง รางองคกรกับการปฏิบัติงานของเกณฑ ในหมวด 1-6 และเชือ่ มโยงการปฏิบตั งิ าน ของเกณฑในแตละหมวดใหสัมพันธกัน

และเชื่อมโยงเขาสูการแสดงผลการดําเนิ น การของแต ล ะหมวดกั บ หมวด 7 ผลลัพธ อยางไรก็ดี เพื่อใหเห็นภาพความ เชือ่ มโยงดังกลาว กอนอืน่ ควรมาทําความ เขาใจภาพรวมในรายละเอียดของเกณฑ แตละหมวดกอน (ทั้งนี้เกณฑที่ใชในการ อางอิง คือ เกณฑรางวัลคุณภาพแหง ชาติ ป 2555-2556)

ภาพรวมของเกณฑ แตละหมวด

ภาพรวมเนือ้ หาของเกณฑ ซึง่ แบง ออกเปน 7 หมวด ไดแก หมวด 1 การนําองคกร ไดแก การ กําหนดวิสยั ทัศน คานิยม ทิศทางการทํางาน

รวมถึงการมุงเนนการสรางวัฒนธรรม บุคลากรทีส่ ง เสริมความผูกพันของลูกคา โดยคณะผูน าํ ระดับสูง และวิธกี ารประเมิน ผลการปฏิบตั งิ านของผูบ ริหาร นอกจากนี้ ไดแก การวางระบบการสือ่ สารสิง่ เหลานี้ ไปสูผ ทู เี่ กีย่ วของทัง้ หมดใหเกิดประโยชน สูงสุด หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ ไดแก การวางกลยุทธ การบริหาร ความเสีย่ ง วิธกี ารทีก่ ระบวนการวางแผน เชิงกลยุทธพจิ ารณาถึงการคาดการณผล การดําเนินการในอนาคตขององคกรและ ของคูแ ขง ความสามารถขององคกรในการ ปรับตัวตอการเปลีย่ นแปลงอยางรวดเร็ว ในตลาด ความสัมพันธระหวางแผนปฏิบตั ิ การกับวัตถุประสงคเชิงกลยุทธขององคกร การถายทอดเปาหมายและตัวชี้วัดของ

336, มีนาคม 2555 87



องคกรไปสูหนวยงาน/บุ ค คล (การนํ า กลยุทธไปปฏิบัติ) หมวด 3 การมุงเนนลูกคา ไดแก วิธกี ารทีอ่ งคกรรับฟงลูกคาและวาทีล่ กู คา และวิ ธี ก ารที่ อ งค ก รประเมิ น ความพึ ง พอใจ ความไมพงึ พอใจ และความผูกพัน ของลูกคาตอผลิตภัณฑขององคกร การ สนับสนุนลูกคา การจําแนกกลุมลูกคา และการใชขอมูลลูกคา หมวด 4 การวัด การวิเคราะห และ การจัดการความรู ไดแก การกําหนดสิง่ ที่ จะวัดที่สอดคลองกับการบรรลุวิสัยทัศน และกลยุทธ การจัดการสารสนเทศขอมูล เสียงของลูกคาในการวัดผลการดําเนิน การขององคกร การใชสิ่งที่พบจากการ ทบทวนผลการดํ า เนิ น การและข อ มู ล เปรียบเทียบเพือ่ คาดการณผลการดําเนิน การในอนาคต และการจัดการความรู หมวด 5 การมุง เนนบุคลากร ไดแก การบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหาร อั ต รากํ า ลั ง และขี ด ความสามารถของ บุคลากร การปรับกระบวนทัศน คานิยม ทัศนคติ คุณธรรมจริยธรรม และกระบวนการสรางคุณคาทีม่ งุ เนนลูกคาในการ พัฒนาบุคลากรและผูนํา หมวด 6 การมุงเนนการปฏิบัติ การ ไดแก การลดขัน้ ตอนการทํางาน การ ควบคุมตนทุนของระบบ การเปลีย่ นแปลง

กระบวนงานตามกลยุทธ ความสัมพันธ ของกระบวนการทํางานกับระบบงาน และ กระบวนการจัดการหวงโซอปุ ทาน หมวด 7 ผลลัพธ ไดแก ผลการ ปฏิบัติงานตามเกณฑใน 5 ดาน คือ ดาน ผลิตภัณฑและกระบวนการ ดานการมุง เนนลูกคา ดานการมุงเนนบุคลากร ดาน การนําองคกรและการกํากับดูแลองคกร และดานการเงินและการตลาด สําหรับการปฏิบตั ติ ามเกณฑทงั้ 7 หมวด มีลกั ษณะเปนการพัฒนาแบบองค รวม กลาวคือ ตองมีความสัมพันธสอดคลอง เชื่อมโยงกันหมดดังกลาว จะไมเปนการ พัฒนาแบบแยกสวนทีไ่ มสามารถตอบไดวา ทําไปเพือ่ อะไร แตจะสามารถมองเห็นวาสิง่

ทีก่ าํ ลังทําอยู เปนสวนไหนของการบริหาร จัดการแบบองครวม และสิง่ ทีก่ าํ ลังทําอะไร อยูน นั้ ตองสามารถตอบไดวา สิง่ นัน้ ไดมา อยางไรหรือทําไมตองทําในเรือ่ งนัน้ ๆ ดวย โดยเกณฑทั้ง 7 หมวด สามารถ แบงไดเปน 2 สวนใหญ คือ 1. สวนกระบวนงาน ประกอบดวย เกณฑหมวด 1-6 ซึ่งแบงยอยออกเปน 3 สวน คือ - สวนการนําองคกร (หมวด 1-3) - สวนปฏิบัติ (หมวด 5-6) - สวนสมองสั่งการ (หมวด 4) 2. สวนผลลัพธ ไดแก เกณฑหมวด 7 โดยความสัมพันธของเกณฑในแตละ สวน ดังแสดงในตารางที่ 1 และรูปที่ 1

ตารางที่ 1 ความสัมพันธของเกณฑรางวัลคุ« ณภาพแหงชาติในแตละสวน Õ w¼¥ § ¥ t¥ ¼¥ ¯ Ý t¥ ¥z° ¯ ¨ w ¥ Ö u z zwÙt ± ¯ §· {¥t zwÙt t¼¥ § ¥zu z zwÙt ² Ö}¤ ¯{ t¥ ¥z° ¯}§zt « Ù t¥ ¼¥ ¬Ö ¨ Õ ³ Ö Õ ¯ ¨ ¥ §{¥ ¥ £t ² t¥ {¤ ¼¥uÖ ° £ § ¤ § ¯ ª· ¥z° ¯ ¨ w ¥ Ö ° Ö {£ ¼¥³ § ¤ § Ö z² Öw ¥ ¼¥w¤ t¤ «w ¥t ² zwÙt ° £² Öw ¥ ¼¥w¤ t¤ t £ z¥ ¯ ª· Ö¥zt £ z¥ ² Ö ¨ £ § § ¥ ¨·{£ ¼¥² Ö zwÙt ¥ ¥ « ¥ § ¥zu z zwÙt z t¥ ¤ t¥ §¯w ¥£ Ù ° £t¥ {¤ t¥ w ¥ ¬Ö ¯ Ý z ¨·{£ Ö z ¤·zt¥ «t ¤·zt¥ ¯ ª· z ± ¼¥uÖ ¬ {¥t z ¨¸³ ¤·zt¥ ³ Õ Õ¥{£¯ Ý t¥ ¼¥ zwÙt t¥ {¤ t £ z¥ t¥ £¯ § ¤ Ù ¯ ª· ² Öt¥ ¼¥¯ § t¥ «t Õ¥z §z ¬Õt¤ uÖ ¬ { §z ¤ Ù ¯ Ý t¥ ° z ¤ Ùu zt¥ § ¤ § ¥ ° ° £ { w ¥ ¨ £ § § ° £ £ § § ¥ u zt¥ § ¤ § ¥ ° Õ¥² Ö ¤ Ùu z zwÙt ¥ ¯ Ñ¥ ¥ ª ³ Õ ¤¸z¯ Ý uÖ ¬ Ñ t ¤ ³ ¬Õt¥ ¥z° ¯ ¨ w ¥ Ö u z zwÙt ² z Õ ³ ±w z Õ¥z zwÙt

¥ ° Ö w ¥ ¤ ¤ Ù ° £ ¥ t¥ Ù¯}§zt « Ù

Õ t¥ ¼¥ zwÙt

2 1

t¥ ¥z° ¯}§zt « Ù

5

t¥ «Õz¯ Ö «w ¥t

t¥ ¼¥ zwÙt 3

t¥ «Õz¯ Ö ¬twÖ¥ 4

6

Õ § ¤ § 7

¤ Ù

t¥ «Õz¯ Ö t¥ § ¤ §t¥

t¥ ¤ t¥ §¯w ¥£ Ù ° £t¥ {¤ t¥ w ¥ ¬Ö

รูปที่ 1 ความสัมพันธในแตละสวนของเกณฑรางวัลคุณภาพแหงชาติ

88

336, มีนาคม 2555

Õ ¤ Ù

Õ z ¤·zt¥



สรุปเนื้อหาเกณฑ หมวด 1 การนําองคกร

เกณฑหมวดนี้ประกอบไปดวย 2 สวน คือ 1. การนําองคกรโดยผูนําระดับ สูง และ 2. ธรรมาภิบาลและความรับผิด ชอบตอสังคม 1. การนําองคกรโดยผูนําระดับ สูง จะเปนการพิจารณาใน 3 เรื่อง คือ 1. การกําหนดทิศทางขององคกร โดยให ค วามสํ า คั ญ ต อ การที่ ผู  บ ริ ห าร ระดับสูงจะตองมีการกําหนดวิสัยทัศน คานิยม ทิศทาง ผลการดําเนินการที่คาด หวัง และการถายทอดไปสูก ารปฏิบตั เิ พือ่ ใหบุคลากรขององคกรไดรับรูอยางตอ เนื่อง รวมถึงแสดงความมุงมั่น (commitment) ตอการปฏิบัติตามคานิยมของ องคกรดวย 2. การสรางบรรยากาศในองคกร เพื่ อ ส ง เสริ ม กํ า กั บ และส ง ผลให มี การประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต ามกฎหมายและ มีจริยธรรม โดยใหความสําคัญตอการ บริหารองคกรดวยการสงเสริม กํากับ ให บุ ค ลากรในองค ก รมี จ ริ ย ธรรมใน การทํ า งานและประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต าม กฎหมาย 3. การทําใหองคกรมีความยั่งยืน การทบทวนผลการดําเนินการขององคกร และการวางแผนสืบทอดตําแหนง และ การพั ฒ นาผู  นํ า ขององค ก รในอนาคต โดยใหความสําคัญตอการวางระบบและ สรางปจจัยทีจ่ ะทําใหองคกรอยูร อดตลอด ไป การวางแผนสืบทอดตําแหนง และ การพั ฒ นาผู  นํ า ขององค ก รในอนาคต รวมทั้งตองมีการทบทวนผลการดําเนิน การ ตลอดจนการนํ า ผลมาปรั บ ปรุ ง องคกร 2. ธรรมาภิบาลและความรับผิด ชอบตอสังคม จะเปนการพิจารณาใน 3 เรื่อง คือ 1. ธรรมาภิบาลขององคกร โดย

ใหความสําคัญในการพิจารณาตอการ ดําเนินการอยางมีความรับผิดชอบในดาน ตางๆ ความโปรงใสโดยเฉพาะดานการ เงิน ความโปรงใสในการดําเนินการ การ เปดเผยขอมูล การตรวจสอบภายในและ ภายนอกที่เปนอิสระ และการปกปองผล ประโยชนของผูที่เกี่ยวของอยางสมดุล รวมทั้ ง การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน ของผูนําระดับสูง และคณะกรรมการ กํากับดูแลองคกรที่ตองระบุออกมาวา จะประเมินกันอยางไรและใครเปนคน ประเมินใหชัดเจน 2. การประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต ามกฎหมายและมี จ ริ ย ธรรม โดยให ค วาม สําคัญตอการพิจารณาในเรื่องที่องคกร มี ก ารดํ า เนิ น การตามกฎหมายและ อยางมีจริยธรรม โดยเฉพาะในกรณีที่ ผลิตภัณฑ บริการ และการปฏิบัติการ มี ผ ลกระทบในเชิ ง ลบต อ สั ง คม การ เตรี ย มการเชิ ง รุ ก การใช ท รั พ ยากร อยางคุมคา การรักษาสิ่งแวดลอม ซึ่ง อาจด ว ยวิ ธี วิ เ คราะห แ บบ Failure Modes & Effects Analysis (FMEA) การส ง เสริ ม และกํ า กั บ ดู แ ลให มี ก าร ประพฤติ ป ฏิ บั ติ อ ย า งมี จ ริ ย ธรรมภาย ใตโครงสรางระบบธรรมาภิบาล และ ตลอดทั่ ว ทั้ ง องค ก ร ตลอดจนการวั ด และการตรวจติ ด ตามการดํ า เนิ น การ ตามกฎหมายและจริยธรรม ทั้งนี้ TQA ตองการทราบวาผูนําระดับสูงทําอยางไร ในการนําหลักจริยธรรมที่องคกรสราง ขึ้นมานั้น สามารถนําไปปฏิบัติไดทั่วทั้ง องคกรไมใชเปนเพียงแคสวนหนึ่งของ คนในองค ก ร โดยต อ งมี ผ ลงานเป น ตัวเลขแสดงไดดวย 3. การสนั บ สนุ น ชุ ม ชนที่ สํ า คั ญ โดยใหความสําคัญตอการที่องคกรสนับ สนุนและสรางความเขมแข็งใหแกชมุ ชน ที่ สํ า คั ญ รวมทั้ ง มี แ นวทางอย า งไรใน การเขาไปมีสวนรวมกับชุมชนนั้น ไมใช เพี ย งแต ใ ห เ งิ น ช ว ยเหลื อ แล ว ถื อ ว า

เปนการเขาไปมีสวนรวมและสนับสนุน ชุมชน และไมใชไปจางบริษัทอื่นใหมาทํา ใหดวย กลาวโดยสรุป ในหมวด 1 เปนการ ตรวจประเมินวาผูน าํ ระดับสูงขององคกร ดําเนินการอยางไรในเรือ่ งวิสยั ทัศน พันธกิจ คานิยม เปาประสงคระยะสั้นและระยะ ยาว และความคาดหวังในผลการดําเนิน การ รวมถึงการใหความสําคัญกับลูกคา และผูมีสวนไดสวนเสียทั้งหลาย การ กระจายอํานาจการตัดสินใจ การสราง นวัตกรรม และการเรียนรูในองคกร รวม ทั้งตรวจประเมินวา องคกรมีการกํากับ ดูแลตนเองที่ดี และดําเนินการเกี่ยวกับ ความรับผิดชอบตอสาธารณะและชุมชน อยางไร

สรุปเนื้อหาเกณฑ หมวด 2 การวางแผน เชิงกลยุทธ

เกณฑหมวดนี้ประกอบไปดวย 2 สวน คือ 1. การจัดทํากลยุทธ และ 2. การ ถายทอดกลยุทธเพื่อนําไปปฏิบัติ 1. การจัดทํากลยุทธ จะเปนการ พิจารณาใน 2 เรื่อง คือ 1. การจัดทํากลยุทธ โดยพิจารณา ในเรือ่ งของวิธกี ารวางแผนกลยุทธ ตลอด จนการนําปจจัยที่เกี่ยวของมาประกอบ การวางแผน ผูเกี่ยวของที่สําคัญคือใคร มีจุดบอดที่อาจเกิดขึ้น ณ ตรงไหน นั่น คือ ตองการใหบอกวาแผนกลยุทธของ องค ก รที่ ไ ด ม านั้ น องค ก รมี ที่ ม าที่ ไ ป อยางไร สมเหตุสมผลหรือไม ไมใชเขา ขายในลักษณะคิดจินตนาการขึ้นมาเอง ลอยๆ ดังนั้นตองแสดงใหเห็นวาองคกร ไดวางระบบในเรื่องนี้ไวอยางไร รวม ทั้งมีการวางกรอบเวลาในแตละแผนไว อยางชัดเจนวาแผนแตละแผนจะเริ่มตน เมื่อไร และจบลงเมื่อไร ทั้งแผนระยะ สั้นและระยะยาว ทั้งนี้เพื่อเปนการตรวจ

336, มีนาคม 2555 89


,1129$7,9( *$6 6<67(06


สอบกรอบการทํางานขององคกรนั่นเอง วาสัมพันธกันหรือไม นอกจากนี้ ต อ งมองถึ ง ความ ยั่งยืนขององคกรในระยะยาว และความ สามารถในการนําแผนกลยุทธไปปฏิบัติ ด ว ย ไม ใ ช แ ผนดี แ ต ติ ด ป ญ หาเรื่ อ ง ทรัพยากรและความรูที่จําเปนในการที่ จะนําแผนไปใช 2. วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ โดย พิ จ ารณาในเรื่ อ งของการกํ า หนดวั ต ถุ ประสงคเชิงกลยุทธและกรอบเวลาใน การบรรลุผล ตลอดจนพิจารณาความ สมดุลระหวางความตองการของผูมีสวน ไดสวนเสียทั้งหมด นั่นคือ หลังจากได กลยุทธออกมาตามวิสัยทัศน ตองทราบ วากลยุทธแตละประเด็นมีวัตถุประสงค เชิ ง กลยุ ท ธ เ พื่ อ อะไรเพื่ อ ให ส ามารถ บรรลุตามกลยุทธนั้นซึ่งอาจมีไดหลาย วัตถุประสงคในแตละกลยุทธ ทั้งนี้ตอง สอดรับหรือตอบสนองความทาทายและ ความไดเปรียบเชิงกลยุทธขององคกร รวมทัง้ โอกาสในการสรางนวัตกรรม และ การสรางสมดุลระหวางความทาทายและ โอกาสทั้งในระยะสั้นและระยะยาว 2. การถายทอดกลยุทธเพื่อนํา ไปปฏิ บั ติ จะเป น การพิ จ ารณาใน 2 เรื่อง คือ 1. การจัดทําแผนปฏิบัติการและ การถายทอดเพือ่ นําไปปฏิบตั ิ โดยพิจารณา ในเรื่ อ งของการจั ด ทํ า แผนปฏิ บั ติ ก าร การนําแผนไปปฏิบัติ รวมทั้งการจัดสรร ทรัพยากร การตอบสนองตอความเปลีย่ น แปลง และแผนหลักดานทรัพยากรบุคคล ทั้งนี้เพื่อแปลงแผนกลยุทธนําไปสูการ ปฎิบัติใหเกิดความชัดเจน โดยในแผน ปฏิบตั กิ ารจะระบุสงิ่ ตางๆ ทีจ่ าํ เปนในการ นํากลยุทธลงไปปฏิบัติ ที่สําคัญมากคือ ความเชือ่ มโยงของปจจัยทีส่ าํ คัญในแผน เหลานี้ จากนัน้ จําเปนตองสือ่ สารหรือถาย ทอดแผนปฏิ บั ติ ก ารให ผู  เ กี่ ย วข อ งทั่ ว

90

336, มีนาคม 2555

ทั้งองคกรไดรับทราบ รับรู และเขาใจ ในสวนงานที่ตนเองเกี่ยวของ ซึ่งตอง อาศัยกระบวนการสื่อสารที่มีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ อาจตอง ถายทอดไปยังคูคา คูความรวมมือ และ ผูสงมอบที่สําคัญหากกลยุทธและแผน ปฏิ บั ติ ก ารนั้ น มี พ วกเขามาเกี่ ย วข อ ง ดวย โดยตองคํานึงถึงความยั่งยืนของ ผลการดํ า เนิ น การที่ สํ า คั ญ ตามแผน ซึ่ ง ต อ งกํ า หนดกระบวนการให มี ก าร ปฏิ บั ติ อ ย า งต อ เนื่ อ ง และคํ า นึ ง ถึ ง ทรั พ ยากรด า นการเงิ น และด า นอื่ น ๆ ที่ เ พี ย งพอและพร อ มใช รวมทั้ ง วิ ธี การจัดสรรทรัพยากรอยางสมดุล การ ประเมินความเสี่ยงดานการเงินและดาน อื่นๆ ที่เกี่ยวกับแผน นอกจากนี้ ต อ งมี ก ารวางระบบ การปรับเปลีย่ นแผนทรัพยากร แผนดาน ทรัพยากรบุคคล ดัชนีชี้วัดผลการดําเนิน การที่สําคัญที่ใชติดตามความกาวหนา และระบบการวัดผลโดยรวมของแผน ปฏิบัติการ 2. การคาดการณผลการดําเนิน การ โดยพิ จ ารณาในเรื่ อ งของวิ ธี ก าร คาดการณผลการดําเนินการ ตามกรอบ เวลาของการวางแผนทั้งระยะสั้นและ ระยะยาว ตลอดจนเกณฑเปรียบเทียบที่ สํ า คั ญ ต า งๆ ของผลการดํ า เนิ น การที่ ผานมา การดําเนินการใหมคี วามกาวหนา ตามที่ ค าดการณ ไ ว และการดํ า เนิ น การเมื่อพบวามีความแตกตางของผล การดําเนินการ ในลักษณะหาทางแกไขอาจ ดวยการวิเคราะหปญ  หาไปจนถึงตนตอของ ปญหา กลาวโดยสรุป หมวด 2 จะเปนการ ตรวจประเมินวิธกี ารกําหนดวัตถุประสงค เชิงกลยุทธ และแผนปฏิบตั กิ ารขององคกร รวมทัง้ การถายทอดวัตถุประสงคเชิงกลยุทธ แผนปฏิบตั กิ ารทีเ่ ลือกไวไปปฏิบตั ิ วิธกี าร คาดการณผลการดําเนินการ และการวัด ผลความกาวหนาอยางตอเนือ่ ง

สรุปเนื้อหาเกณฑ หมวด 3 การ มุงเนนลูกคา

เกณฑหมวดนี้ประกอบไปดวย 2 สวน คือ 1. ความรูเกี่ยวกับลูกคาและ ตลาด และ 2. ความสัมพันธกับลูกคา และความพึงพอใจของลูกคา 1. ความรูเ กีย่ วกับลูกคาและตลาด เปนการพิจารณาเกี่ยวกับ ความรูเกี่ยวกับลูกคาและตลาด โดยพิ จ ารณาในเรื่ อ งของการกํ า หนด กลุมลูกคาและสวนตลาด เพื่อใหรูกอน วาลูกคาของผลิตภัณฑหรือบริการของ องคกรคือใครบาง ซึ่งจะนําไปสูการรับ ฟงและเรียนรูเพื่อกําหนดความตองการ และความคาดหวั ง ของลู ก ค า ว า พวก เขาต อ งการผลิ ต ภั ณ ฑ ห รื อ บริ ก ารใน ลักษณะอยางไร ทัง้ นีอ้ งคกรตองหาชอง ทางที่จะใหไดขอมูลจากลูกคา ทําการ วิ เ คราะห และกํ า หนดวิ ธี ก ารใช ข  อ มูลเหลานั้น รวมทั้งขอมูลปอนกลับหลัง การใชผลิตภัณฑหรือบริการเพือ่ ประโยชน ในการปรับปรุงกระบวนการตอไป 2. ความสัมพันธกับลูกคาและ ความพึ ง พอใจของลู ก ค า เป น การ พิจารณาใน 2 เรื่อง คือ 1. การสรางความสัมพันธกบั ลูกคา โดยพิจารณาในเรื่องของกลไกหลักๆ ที่ ลูกคาติดตอองคกร ตลอดจนกระบวนการ จัดการขอรองเรียน และตองหากลยุทธ ในการสรางความสัมพันธอันดีกับลูกคา และหากลไกที่ชวยใหลูกคาสามารถเขา ถึงสารสนเทศ นอกจากนี้ ต อ งมี วิ ธี ก ารจั ด การ กับขอรองเรียนของลูกคาเพื่อลดความ ไมพึงพอใจของลูกคา ซึ่งอาจสงผลตอ การสูญเสียทางธุรกิจ ทั้งนี้การวิเคราะห ขอรองเรียนและการสรางความสัมพันธ กับลูกคาตองกําหนดวิธกี ารในการประเมิน



ความพึงพอใจ ความไมพึงพอใจ และ ความภั ก ดี ข องลู ก ค า ทั้ ง นี้ วิ ธี ก ารที่ จ ะ ไดขอมูลเหลานี้ถือวามีความสําคัญ อยา เพียงแตมีแบบฟอรมใหลูกคากรอกที่จัด วางไวเฉยๆ บนโตะ เพราะนอยนักที่จะมี คนสนใจมากรอกขอมูลให 2. การประเมินความพึงพอใจของ ลูกคา โดยพิจารณาในเรื่องของการวัด ความพึ ง พอใจ ไม พึ ง พอใจของลู ก ค า การใชขอมูลมาปรับปรุงการดําเนินการ ตลอดจนการติดตามขอมูล ซึ่งจะเปน กระบวนการตอจากสวนแรก นัน่ คือ หลัง จากรูความตองการและความคาดหวัง ของลูกคาแลวตองหาทางที่จะทําใหได เหนือกวาที่ลูกคาคาดหวัง อยางไรก็ดี การทําใหไดสารสนเทศ มานัน้ มีหลายทาง แลวแตวา องคกรจะให ความสนใจกับเรือ่ งนีม้ ากนอยแคไหน โดย องคกรตองเสาะหาชองทางทุกทางเพือ่ ให ไดสารสนเทศนี้ ทัง้ นีต้ อ งติดตามความคิด เห็นของลูกคาอยางสมํา่ เสมอ เนือ่ งจาก ปจจุบนั ลูกคาไดรบั ขอมูลสารสนเทศตางๆ จากหลายชองทางมากและตลอดเวลาผาน เครือขายสังคมทางอินเทอรเน็ต ดังนั้น สามารถเปรียบเทียบสิ่งตางๆ ไดตลอด เวลาทําใหความตองการของลูกคาเปลีย่ น แปลงอยูเสมอ หากองคกรตามไมทัน จะ ทําใหสูญเสียลูกคาไดงาย นอกจากนี้ ต อ งนํ า สารสนเทศ ความตองการของลูกคามาใชประโยชน ในการปรับปรุงกระบวนการขององคกร ดังนั้นตองมีกระบวนการในการวิเคราะห สารสนเทศที่ไดมานี้ดวย กลาวโดยสรุป หมวด 3 จะเปนการ ตรวจประเมินวาองคกรกําหนดความตอง การ ความคาดหวัง และความนิยมชมชอบ ของลูกคาอยางไร รวมถึงองคกรมีการดําเนินการอยางไรในการสรางความสัมพันธกบั ลูกคา การกําหนดปจจัยทีส่ าํ คัญทีท่ าํ ใหลกู คามีความพึงพอใจและนําไปสูการกลาว ถึงในทางทีด่ หี รือในทางบวก ทัง้ นีต้ อ งนํา

สารสนเทศเหลานีม้ าวิเคราะหและนําไปสู การปรับปรุงกระบวนการดําเนินการของ องคกร

สรุปเนื้อหาเกณฑ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห และ การจัดการความรู

เกณฑหมวดนี้ประกอบไปดวย 2 สวน คือ 1. การวัด วิเคราะห และการ ปรับปรุงผลการดําเนินการขององคกร และ 2. การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยี สารสนเทศ และความรู 1. การวัด วิเคราะห และการ ปรับปรุงผลการดําเนินการขององคกร จะเปนการพิจารณาในเรื่องของ 1. การวัดผลการดําเนินการ โดย พิจารณาในเรือ่ งของการเลือกวิธรี วบรวม ขอมูลและสารสนเทศที่สอดคลองและ บูรณาการ การเลือกและการใชขอมูล สารสนเทศเชิ ง เปรี ย บเที ย บ เพื่ อ ให องค ก รหาวิ ธี ก ารเลื อ กข อ มู ล ที่ สํ า คั ญ และไมสําคัญ เนื่องจากขอมูลในองคกร มีอยูมากจึงตองมีวิธีการจัดการกับขอมูล ใหไดขอมูลที่จําเปนและสําคัญ มิฉะนั้น จะเกิดอาการสําลักขอมูลจนไมรูว าจะ จั ด เก็ บ อะไร และใช ป ระโยชน ข  อ มู ล อยางไรดี นัน่ คือ ตองบอกวิธกี ารรวบรวม วาทําอยางไร ใครเปนคนเก็บ เก็บที่ไหน ความถีเ่ ทาไรโดยขอมูลทีเ่ ลือกนัน้ จะตอง บูรณาการ คือ เปนขอมูลที่เกี่ยวเนื่อง ในกระบวนการที่ทําใหบรรลุกลยุทธของ องคกรตั้งแตเริ่มตนจนบรรลุผล ทั้งนี้ ต อ งมี ก ารกํ า หนดตั ว วั ด ผลการดํ า เนิ น การและด า นการเงิ น ทั้ ง ระยะสั้ น และ ระยะยาว โดยตัววัดผลไมควรมีมากเกิน ไปจนขาดจุดเนนเพื่อใหผูบริหารไดนํา ไปใชในการตัดสินใจจริงๆ ในเชิงเปรียบ เทียบที่สําคัญอยางมีประสิทธิผล ที่จะให

เห็นวาสมรรถนะขององคกรเปนอยางไร เพื่อนําไปใชปรับปรุงกระบวนการของ องคกรตอไป นอกจากนี้ ระบบการวัดผลตองทัน กับความตองการและทิศทางของธุรกิจ เพื่อทําใหการปรับปรุงกระบวนการทัน สมัยทันตอความตองการ 2. การวิ เ คราะห การทบทวน และการปรับปรุงผลการดําเนินการของ องคกร โดยพิจารณาในเรือ่ งการวิเคราะห เพื่อประเมินผลการดําเนินการและแผน เชิงกลยุทธ ตลอดจนวิธีการสื่อผลการ วิเคราะหเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ถือ เปนการทบทวนผลการดําเนินการและ ขีดความสามารถขององคกร ตามตัวชีว้ ดั ตางๆ ในการดําเนินการตามแผนปฏิบัติ การวาบรรลุผลมากนอยเพียงใด รวม ทั้งการใชผลการทบทวน การแปลงผล การทบทวน และผลการดําเนินการ ให เปนสารสนเทศเพื่อนําไปใชในการสราง นวั ต กรรม และการปรั บ ปรุ ง อย า งต อ เนื่องผานทางการจัดทําโครงการตางๆ ตามที่ไดวางแผนไว โดยตองมีการจัด ลําดับความสําคัญสําหรับการปรับปรุง และตองมีวธิ กี ารในการถายทอดผลอยาง มีประสิทธิภาพไปทั่วทั้งองคกรดวย นอกจากนี้ ตองเนนกระบวนการ ตางๆ ที่เกี่ยวของกับการสรางความพึง พอใจใหกับลูกคาผานทางการปรับปรุง กระบวนการที่สําคัญเหลานี้ 2. การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และความรู จะเปน การพิจารณาในเรื่องของ 1. การจัดการแหลงสารสนเทศ โดยพิจารณาในเรื่องของการทําใหขอมูล และสารสนเทศทันสมัยและพรอมใชงาน การเปดเผยขอมูลและสารสนเทศ ตลอด จนถึงการที่ฮารดแวรและซอฟตแวรมี ความเชื่อถือได ปลอดภัย ใชงานงาย กลาวคือ ตองสรางกระบวนการที่ทําให สารสนเทศที่ไดจากการวิเคราะหเพื่อนํา

336, มีนาคม 2555 91


Call Center: (662) 720-3288

Fax: (662) 720-3343 E-Mail: info@planet.co.th Website: www.planet.co.th


มาใชปรับปรุงกระบวนการใหเปนปจจุบนั รวมทั้งมีวิธีการในการทําใหบุคลากร ผู สงมอบ คูคา คูความรวมมือ และลูกคา สามารถเข า ถึ ง สารสนเทศที่ เ กี่ ย วข อ ง กับเขาและสามารถนําไปใชประโยชน ได อ ย า งเป น ป จ จุ บั น ซึ่ ง จะต อ งหาวิ ธี การที่ ทํ า ให เ กิ ด ความสะดวกในการที่ พวกเขาเหล า นั้ น จะเข า ถึ ง สารสนเทศ เหลานี้ ทั้งนี้ตองมีกระบวนการที่ทําให ฮารดแวรและซอฟแวรมีความเชื่อถือ และมีประสิทธิภาพ นั่นคือมีความพรอม ใชงานเมื่อถึงเวลาที่ตองใช 2. การจัดการขอมูล สารสนเทศ และความรู โดยพิจารณาในเรื่องของ การทําใหมั่นใจวาขอมูลและสารสนเทศ ถูกตอง ทันการณ เชื่อถือได ปลอดภัย แมนยํา และเปนความลับ ตลอดจน วิธี การจัดการความรูขององคกรซึ่งจะให ไดผลตองสรางเปนวัฒนธรรมการเรียน รูขององคกร เพื่อใหเกิดการวางแผน อยางเปนระบบในการเอาความรูในตัว บุ ค ลากรออกมาแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู  กั น ใหเกิดประโยชน เพื่อเปนรากฐานไปสู องคกรแหงการเรียนรู กลาวโดยสรุป หมวด 4 เปนการ ตรวจประเมินวาองคกรเลือก รวบรวม วิ เ คราะห จั ด การและปรั บ ปรุ ง ข อ มู ล สารสนเทศและจัดการความรูอ ยางไรเพือ่ ใหสามารถนํามาใชงานใหเกิดประโยชน สูงสุดตอองคกรได

สรุปเนื้อหาเกณฑ หมวด 5 การมุงเนน บุคลากร

เกณฑหมวดนี้ประกอบไปดวย 2 สวน คือ 1. ความผูกพันของบุคลากร และ 2. สภาพแวดลอมของบุคลากร 1. ความผูกพันของบุคลากร จะ เปนการพิจารณาใน 3 เรื่อง คือ 1. การเพิ่ ม คุ ณ ค า แก บุ ค ลากร

92

336, มีนาคม 2555

โดยพิ จ ารณาในเรื่ อ งของการกํ า หนด ป จ จั ย สํ า คั ญ ที่ ส  ง ผลต อ ความผู ก พั น และความพึงพอใจของบุคลากร ทั้งนี้คํา วา “บุคลากร” คือ ผูที่เกี่ยวของโดยตรง กั บ การทํ า ให ง านขององค ก รให สํ า เร็ จ ดังนั้นจึงประกอบไปดวยพนักงานประจํา พนักงานชั่วคราว พนักงานที่ทํางานไม เต็มเวลา และพนักงานจางตามสัญญาที่ องคกรควบคุมดูแล รวมตลอดถึงหัวหนา ทีม หัวหนางาน และผูจัดการทุกระดับ พนักงานทีค่ วบคุมดูแลโดยผูร บั จางเหมา และสําหรับองคกรที่ไมมุงกําไรอาจรวม ถึงอาสาสมัคร สวนคําวา “ความผูกพันของบุคลากร” หมายถึง ระดับของความมุงมั่น ทั้งทาง อารมณและสติปญญา เพื่อใหงานสําเร็จ บรรลุพันธกิจ และวิสัยทัศนขององคกร จึงเปนหนาที่ของผูนําที่ตองรูวาบุคลากร แตละกลุมมีความตองการอะไร แลวหา วิธีการตอบสนอง แตอยาคิดเพียงวา การจายคาตอบแทนใหมากๆ จะทําให คนทํางานดีขึ้น ซึ่งถือเปนความเขาใจ ที่ผิด แมวาการจายคาตอบแทนมากจะ เปนการสรางความผูกพันอยางหนึ่ง แต ผลของความผูกพันนี้ทําไดเพียงแคให คนเหลานั้นอยูกับองคกร เพราะไมอยาก ไปทํางานที่อื่น เนื่องจากไดคาตอบแทน นอยกวาเทานัน้ แตไมไดหมายถึงการเพิม่ ประสิทธิภาพในการทํางานหรือภักดีตอ องคกร การเสริมสรางวัฒนธรรมองคกร เพือ่ นําไปสูค วามรวมมือ การสือ่ สารอยาง มีประสิทธิผล การแบงปนทักษะ การ ถายทอดสารสนเทศ การสื่อสารแบบ สองทิศทาง การตัง้ เปาหมายระดับบุคคล การใหอํานาจในการตัดสินใจ กลาวไดวา เปนการสรางความผูกพันในระยะยาว โดยองคกรตองสรางกระบวนการในเรือ่ ง เหลานี้อยางเปนขั้นเปนตอน นอกจากนี้ องคกรตองใหคณ ุ คากับ ความคิดเห็นที่หลากหลายของบุคลากร รวมทั้งการวัดการผลการปฏิบัติงานของ

บุคลากร การบริหารคาตอบแทน การให รางวัล การยกยองชมเชย และการสราง แรงจู ง ใจอย า งยุ ติ ธ รรมและสมดุ ล ทุ ก กลุม มิฉะนั้นจะเปนสาเหตุอันสําคัญให คนทํางาน กลายเปนคนที่ไมทํางาน และ กลายเปนเครื่องมือที่ทําลายคนดี 2. การพัฒนาบุคลากรและผูนํา โดยพิจารณาในเรื่องของการเรียนรูและ การพัฒนา ความสามารถพิเศษ ความ ท า ทายเชิ ง กลยุ ท ธ และการบรรลุ ผ ล สําเร็จของแผนปฏิบัติการขององคกรทั้ง ในระยะสั้นและระยะยาว อยางไรก็ตาม ระบบการเรียนรูขององคกรตองจัดทํา อยางบูรณาการ นั่นคือ ตองตรงตาม ความตองการเชิงกลยุทธขององคกรที่ สอดคลองกับเปาหมายทีว่ างไว และตอง พยายามใหถงึ ขัน้ เปลีย่ นพฤติกรรมในการ ทํ า งานให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพขึ้ น และสร า ง ความพึงพอใจใหกับลูกคาเพิ่มขึ้น ดังนั้น องคกรตองมีกระบวนการวัดพฤติกรรมใน การทํางานในภายหลังดวย นอกจากนี้ ตองมีระบบการเรียน รูและการพัฒนาสําหรับผูนําขององคกร ทั้ ง การพั ฒ นาคุ ณ สมบั ติ ข องการเป น ผู  นํ า เฉพาะบุ ค คล การพั ฒ นาความรู  ระดับองคกร วิธีปฏิบัติทางธุรกิจอยาง มีจริยธรรม ความสามารถพิเศษ ความ ท า ทายเชิ ง กลยุ ท ธ และการบรรลุ ผ ล สําเร็จของแผนปฏิบัติการ รวมทั้งตองมี ระบบติดตามพฤติกรรมและผลที่ไดจาก การทํางาน และที่สําคัญ ทุกตําแหนง การบริหารทีส่ าํ คัญตองมีการวางแผนการ สืบทอดตําแหนงอยางมีประสิทธิผลดวย 3. การประเมินความผูกพันของ บุ ค ลากร โดยพิ จ ารณาในเรื่ อ งของ การประเมิ น ความผู ก พั น ของบุ ค ลากร วิ ธี ก ารและตั ว วั ด เพื่ อ ตรวจประเมิ น และปรับปรุงความผูกพันของบุคลากร ประเด็นนี้ TQA ตองการใหผูนําระดับสูง ไดสรางกระบวนการประเมินความผูกพัน ขึน้ มา เพราะถาองคกรไมสามารถวัดและ


CHAROEN MUANG MACHINERY CO., LTD. DISTRIBUTOR & CENTER OF INDUSTRIAL PRODUCTS

MOTOR AD 380 V. B3

MOTOR ND 380 V. B5

MOTOR 220 V. B3

VIBRATOR MOTOR 220 V.

INVERTER MOTOR

PA

CH 380 V.

TK

DOUBLE - STAGE BLOWER 3 PHASE

MOTOR BRAKE B3

PDA

CV 220 V.

TKF

SINGLE - STAGE BLOWER 3 PHASE

MOTOR ND 380 V. B35

VIBRATOR MOTOR 380 V.

FRAME PROOF MOTOR

NMRV

CHD

FR - Series

SINGLE - STAGE BLOWER 1 PHASE

IMPELLER

TURBO BLOWER

RELIEF VALVE INLET FILTER

Series Centrifugal Pumps Ûà ¸¦ ±uÕz } § ² ¤ ¯ ¨· (² ¤ z¯ ª z ° £¯ ¶t Õ ) ¯ Ù ¨² Ö¯ ª t²}Ö° ³ 220 V ° £ 380 V ¤ Û à § {¥t¯ ¶t Õ ¯ ¥ ¯ Ù ¯ Ý ¯ ¶ t AISI 1045 ° £ ° ¯ AISI 1420 t¤ ¤ · Ö ° ww¥ §w ~¨ ° ¯~ ¥ §w ° £t ¥³ Ù ~©z· t¤ ¸¦³ Ö ¨ ¯ Ù £ ¥ w ¥ Ö Ö ¤ ¥ ¥ IP 44 | CLASS B § ¥ ¥ ¥ IEC 60034-1, IEC 335-1, IEC 34-1, ISO 2548 « ¬ u§ z¯ ¬z « ³ Õw ¯t§ 90°C Û à ¸¦ ±uÕz ²}Öt ¤ ¸¦ £ ¥ ¦ ¤ z¥ ¥w¯t t « ¥ t z¥ « ¥ t z¥ ¥ ¥ ¬ ± w ° £ ¥w¥ ¥ ¨ · ¥Õ zµ


ประเมินได ยอมจัดการในเรื่องนี้ไมได แตผลของความผูกพันของบุคลากรตอ องคกรมีผลทั้งทางบวกและทางลบคอน ขางมากตอผลการดําเนินการขององคกร และมั ก เชื่ อ มโยงกั บ ผลลั พ ธ ท างธุ ร กิ จ ที่สําคัญ โดยทั่วไปเมื่อบุคลากรมีความ ผูกพันกับองคกรในทางบวกผลลัพธทาง ธุรกิจขององคกรมักออกมาดี แตตองหา วิธีการประเมินใหไดวาความผูกพันกับ องคกรลักษณะใดที่สงผลในทางบวกตอ ผลลัพธทางธุรกิจขององคกร 2. สภาพแวดลอมของบุคลากร จะเปนการพิจารณาใน 2 เรื่อง คือ 1. ขี ด ความสามารถและอั ต รา กําลังบุคลากร โดยพิจารณาในเรื่องของ การประเมินความตองการดานขีดความ สามารถ อั ต รากํ า ลั ง บุ ค ลากร ทั ก ษะ สมรรถนะของบุ ค ลากร ดั ง นั้ น ต อ งมี กระบวนการในการหาขอมูล มีแผนงาน มีตัวชี้วัด ที่จะสามารถประเมินขีดความ สามารถ อัตรากําลัง สมรรถนะ หรือ ทักษะความชํานาญของบุคลากรเพื่อใช ประกอบในการวางแผนกลยุทธ และ การสรรหา วาจาง บรรจุ รวมทั้งการ บริหารและจัดโครงสรางของบุคลากร และการเตรียมบุคลากรใหพรอมรับตอ การเปลี่ยนแปลงตามสถานการณที่อาจ เปลี่ยนแปลงไป 2. บรรยากาศการทํ า งานของ บุคลากร โดยพิจารณาในเรื่องของการ ปรับปรุงสถานที่ทํางานใหมีสุขอนามัย ความปลอดภั ย การป อ งกั น ภั ย และ ตั ว วั ด ผลการดํ า เนิ น การแต ล ะป จ จั ย ของสถานที่ทํางาน ทั้งนี้เรื่องของความ ปลอดภัยในที่ทํางานนั้นเปนสิ่งที่มีความ สํ า คั ญ และมี ก ารกํ า หนดเป น กฎหมาย รวมทั้ ง ต อ งทํ า ให ส ภาพแวดล อ มในที่ ทํ า งานปราศจากมลพิ ษ ไม ว  า จะเป น ฝุน ควัน หรือเสียง ดังนัน้ ตองสรางระบบ ในเรื่องนี้ผานทางการกําหนดนโยบาย การบริการ และสิทธิประโยชนของบุคลากร

กลาวโดยสรุป หมวด 5 เปนการ ตรวจประเมินวาองคกรสรางความผูกพัน ของบุคลากร และระบบการเรียนรูของ บุคลากรและการสรางแรงจูงใจที่ชวย ให บุ ค ลากรเกิ ด พั ฒ นาตนเองและใช ศั ก ยภาพอย า งเต็ ม ที่ เ พื่ อ ให มุ  ง ไปใน แนวทางเดี ย วกั น กั บ เป า ประสงค แ ละ แผนปฏิ บั ติ ก ารโดยรวมขององค ก ร อยางไร รวมทั้งตรวจประเมินความใสใจ การสร า งและรั ก ษาสภาพแวดล อ มใน การทํางาน สรางบรรยากาศทีเ่ อือ้ ตอการ ปฏิบัติงานของบุคลากร ซึ่งจะนําไปสูผล การดําเนินการที่เปนเลิศและความเจริญ กาวหนาของบุคลากรและองคกรในที่สุด

สรุปเนื้อหาเกณฑ หมวด 6 การมุงเนน การปฏิบัติการ

เกณฑ ห มวดนี้ ป ระกอบไปด ว ย 2 สวน คือ 1. การออกแบบระบบงาน และ 2. การจั ด การและการปรั บ ปรุ ง กระบวนการทํางาน 1. การออกแบบระบบงาน จะ เปนการพิจารณาใน 3 เรื่อง คือ 1. ความสามารถพิ เ ศษ โดย พิจารณาในเรื่องของการกําหนดความ สามารถพิเศษ (Core competency) ขององคกร ไดแกสิ่งที่องคกรมีความเกง หรือความชํานาญในดานนัน้ ซึง่ ตองเปนที่ รูกันโดยทั่วไป เชน ความสามารถพิเศษ ของอินเทล คือ เรื่อง CPU เปนตน รวม ทั้งการออกแบบและสรางนวัตกรรมดาน ระบบงานโดยรวม ที่บอกถึงพัฒนาการ ขององคกรวามีการนําระบบงานใหมๆ อะไรมาใช บ  า ง มี ก ารลดขั้ น ตอนการ ทํางานอยางไร เปนตน นอกจากนี้ ใหระบุถึงวิธีการตัดสิน ใจเกี่ยวกับกระบวนการในระบบงานโดย รวม ทั้งนี้กระบวนการทํางานที่สําคัญ และมีผลกระทบตอความพึงพอใจของ

ลูกคาใหเปนกระบวนการภายในทีอ่ งคกร ทําเอง แตหากมีกระบวนการไหนที่ทํา ขางนอกไดดีกวา ใหตัดสินใจทําขางนอก ทั้งหมดนี้ตองเชื่อมโยงกับการกําหนด ความสามารถพิเศษ ดวย 2. การออกแบบกระบวนการ ทํางาน โดยพิจารณาในเรื่องของกระบวนการทํางานทีส่ าํ คัญ ความสัมพันธกับ ความสามารถพิเศษ ผลตอการสงมอบ คุณคา การสรางกําไร การทําใหองคกร ไดรับความสําเร็จและยั่งยืน ในประเด็นนี้ TQA ตองการให อธิบายกระบวนการทํางานหลักๆ ของ องคกร ที่อาจเชื่อมโยงเขากับผลิตภัณฑ หรื อ การบริ ก าร หรื อ เชื่ อ มโยงเข า กั บ ความสามารถพิเศษ การอธิบายสามารถ ใชแผนภูมิตางๆ ชวย และควรอธิบาย ในลักษณะบูรณาการเชื่อมโยงกับหมวด อื่นๆ เชน ความตองการหรือความคาด หวังของลูกคา และกลยุทธขององคกร เปนตน 3. ความพร อ มต อ ภาวะฉุ ก เฉิ น โดยพิ จ ารณาในเรื่ อ งของการเตรี ย ม พรอมตอภัยพิบัติหรือภาวะฉุกเฉิน การ ปองกัน การจัดการ ความตอเนื่องของ การดําเนินการ และการทําใหคนื สูส ภาพเดิม ในสวนนี้ TQA ตองการรูวาเมื่อ เกิดภาวะฉุกเฉินขึน้ มาองคกรมีวธิ เี ตรียม การเชิงปองกันลวงหนาอยางไร ดังนัน้ ใน เรือ่ งนีต้ อ งพิจารณากอนวาภาวะฉุกเฉินที่ อาจเกิดขึน้ ไดแกอะไรบาง แลวจึงกําหนด วิธีการรับมือ ตัวอยางเชน ไขหวัดนก ไฟ ไหม นํ้าทวมใหญ แผนดินไหว เปนตน 2. การจัดการและการปรับปรุง กระบวนการทํางาน เปนการพิจารณา ใน 2 เรื่อง คือ 1. การจัดการกระบวนการทํางาน โดยพิจารณาในเรื่องของการปฏิบัติงาน ประจําวัน การนําขอมูลจากลูกคา ผูสง มอบ คูคา และคูความรวมมือมาใชใน การจัดการ

336, มีนาคม 2555 93



ในสวนนี้ TQA ตองการใหองคกร บงบอกลักษณะการปฏิบัติงานประจําวัน วาเปนอยางไร เชน ใชระบบ Six Sigma เปนตน รวมทั้งใชเทคโนโลยีอะไรบาง และการควบคุมเปนอยางไร ทัง้ นีใ้ นระบบ เหลานีอ้ งคกรไดนาํ ขอมูลดานตางๆ มาใช ประโยชนอะไรในกระบวนการบาง นอกจากนี้ ไดกําหนดตัววัดหรือ ดัชนีชวี้ ดั ผลการดําเนินการทีส่ าํ คัญ อะไร บ า งทั้ ง ตั ว วั ด นํ า และตั ว วั ด ตามในการ ติดตามความกาวหนาและควบคุมการ ทํางาน ทั้งนี้ใหอธิบายวิธีการลดตนทุน โดยรวม และการปองกันไมใหเกิดสิ่ง บกพรอง ความผิดพลาดตางๆ และการ ทํางานซํ้ารวมตลอดถึงการลดคาใชจาย ในการประกันผลิตภัณฑ (ถามี) ดวย 2. การปรับปรุงกระบวนการทํางาน โดยพิจารณาในเรื่อ งของการปรั บปรุ ง กระบวนการทํ า งานเพื่ อ การบรรลุ ผ ล การดํ า เนิ น การที่ ดี ขึ้ น การลดความ แปรปรวนของกระบวนการ และปรับปรุง ผลิตภัณฑและบริการใหดีขึ้น ดังนั้นตอง วิ เ คราะห ก ระบวนการว า กระบวนการ ไหนมีความเสี่ยงที่จะทําใหเกิดความเสีย หายมากนอยเทาไร แลววางแผนใหออก มาในลักษณะเปนกลยุทธที่จะปรับปรุง กระบวนการเหลานั้น นอกจากนี้ ควรทําใหกระบวนการ เหลานี้ทันกับความตองการและทิศทาง ของธุรกิจอยูเสมอ เชน องคกรที่อยูใน ธุรกิจกลองถายรูปในอดีตเกิดมีกลองถาย รูปดิจติ อลขึน้ มา ทําใหตอ งพลิกโฉมธรุกจิ ใหม เปนตน รวมทัง้ ในการดําเนินการของ องคกรไดมีการกําหนดวิธีการในการแบง ปนขอมูลการปรับปรุงกระบวนการไปสู หนวยงานอื่นๆ ในองคกรหรือไม กลาวโดยสรุป หมวด 6 เปนการ ตรวจประเมินแงมุมที่สําคัญทั้งหมดของ การจัดการกระบวนการ ตัง้ แตการกําหนด ความสามารถพิ เ ศษ ระบบงาน รวม ทั้งการออกแบบ จัดการ และปรับปรุง

94

336, มีนาคม 2555

กระบวนการที่สําคัญที่ชวยสรางคุณคา แกลกู คาและองคกร ตลอดจนการเตรียม ความพรอมสําหรับภาวะฉุกเฉิน

สรุปเนื้อหาเกณฑ หมวด 7 ผลลัพธ การดําเนินการ

เกณฑ ห มวดนี้ ป ระกอบไปด ว ย ผลลัพธ 5 ดาน ทั้งนี้ TQA ไมไดเรียง ตามเกณฑ 1-6 ไปทีละขอ แตจะมอง ในลักษณะเปนกลุมที่เห็นวาเกี่ยวของ กัน ดังนี้ 1. ผลลัพธดานผลิตภัณฑและ กระบวนการ เป น การแสดงผลลั พ ธ ที่ ส ะท อ นการดํ า เนิ น การที่ สํ า คั ญ ด า น ผลิตภัณฑและบริการวาตอบสนองลูกคา ไดดีหรือไมเพียงใด ดังนั้นจึงควรสอดคลองกับความ ต อ งการและความคาดหวั ง ของลู ก ค า ในหมวด 3 แผนกลยุทธและแผนปฏิบัติ การในหมวด 2 และตัวชี้วัดในหมวด 4 นอกจากนี้ ยังรวมถึงการวัดผล ปฏิบัติการขององคกรและผลลัพธอื่นๆ ที่ ไ ม ไ ด แ สดงในหั ว ข อ อื่ น ๆ ที่ เ ป น การ แสดงผลลัพธท่ีสะทอนการดําเนินการ ที่ สํ า คั ญ ด า นการปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ผ ล การปฏิบัติการที่สําคัญตามประเภทของ ผลิตภัณฑและบริการ และสวนตลาด ดัง นั้นจึงควรตอบสนองตอความตองการใน โครงรางองคกรและขอกําหนดในหมวด 6 รวมทั้งผลลัพธที่ไมไดรายงานในหัวขอ 7.2 – 7.5 ดวย ทั้งนี้ใหแสดงในลักษณะ ที่เปรียบเทียบกับคูแขงดวย 2. ผลลัพธดานการมุงเนนลูกคา เปนการแสดงผลลัพธที่สะทอนถึงความ พึงพอใจและคุณคาของผลิตภัณฑและ บริการจากมุมมองของลูกคา ดังนั้นจึง ควรสัมพันธกับกลุมลูกคาและสวนตลาด และวิธีการเก็บขอมูลในหัวขอ 3.1 และ 3.2 ของหมวด 3 ทัง้ นีใ้ หแสดงในลักษณะ

ที่เปรียบเทียบกับคูแขงดวย 3. ผลลั พ ธ ด  า นการมุ  ง เน น บุคลากร เปนการแสดงผลลัพธทสี่ ะทอน การดํ า เนิ น การที่ สํ า คั ญ ด า นระบบงาน ทรัพยากรบุคลากร การเรียนรู การพัฒนา ความผาสุก มีสภาพแวดลอมที่ดี และ ความพึงพอใจของบุคลากรทุกกลุม ที่ ทําใหบคุ ลากรมีความผูกพันกับองคกรดัง นั้นจึงควรสัมพันธกับกิจกรรมในหมวด 5 รวมทัง้ ตอบสนองตอกระบวนการทีส่ าํ คัญ ในหมวด 6 และแผนปฏิบตั กิ ารและแผน ทรัพยากรในหัวขอ 2.2 ของหมวด 2 ทัง้ นี้ ใหแสดงในลักษณะที่เปรียบเทียบกับคู แขงดวย 4. ผลลั พ ธ ด  า นการนํ า องค ก ร และการกํ า กั บ ดู แ ลองค ก ร เป น การ แสดงผลลัพธที่สะทอนการดําเนินการที่ สําคัญดานพฤติกรรมทีม่ จี ริยธรรม ความ รับผิดชอบดานการเงิน การปฏิบัติตาม กฎหมาย และการที่องคกรบําเพ็ญตน เปนพลเมืองที่ดี รวมทั้งแสดงใหเห็นถึง การบรรลุแผนเชิงกลยุทธ ดังนั้นจึงควร ตอบสนองตอขอกําหนดความตองการ และกิจกรรมในหมวด 1 และการบรรลุ แผนเชิงกลยุทธและแผนปฏิบัติการใน หมวด 2 ทัง้ นีใ้ หแสดงในลักษณะทีเ่ ปรียบ เทียบกับคูแขงดวย 5. ผลลัพธดานการเงินและการ ตลาด เปนการแสดงผลลัพธที่สะทอน การดําเนินการที่สําคัญดานการเงินและ ตลาดขององค ก รตามกลุ  ม ลู ก ค า หรื อ สวนตลาด โดยรวมผลตอบแทนทางการ เงิน ความมั่นคงทางการเงิน หรือผลการ ดําเนินการดานงบประมาณ ดังนัน้ จึงควร สัมพันธกับตัววัดดานการเงินในหัวขอ 4.1ก (1) ของหมวด 4 และแนวทางการ จัดการดานการเงินในหัวขอ 2.2 ของ หมวด 2 ทัง้ นีใ้ หแสดงในลักษณะทีเ่ ปรียบ เทียบกับคูแขงดวย กลาวโดยสรุป หมวด 7 เปนการ ตรวจประเมินผลการดําเนินการและแนว



โนมขององคกรในดานตางๆ ที่ไดดําเนิน การในหมวด 1-6 ในลักษณะที่เชื่อมโยง กัน นอกจากนี้ ยังตรวจประเมินผลการดํา เนินการขององคกรโดยเปรียบเทียบกับคู แขงหรือองคกรอื่นที่มีภารกิจคลายคลึง กัน เพื่อใหองคกรไดทราบวาองคกรมี ผลการดําเนินการสูงหรือตํ่าในตลาดที่ เกี่ยวของ อันนําไปสูการวางแผนกลยุทธ ในการปรับปรุงองคกรตอไป

สรุป

เกณฑ ทั้ ง 7 หมวดของเกณฑ รางวัลคุณภาพ ถูกแบงออกเปน 2 สวน ทีส่ าํ คัญ คือ สวนทีเ่ ปนกระบวนการ และ สวนที่เปนผลลัพธ โดยที่ ส  ว นที่ เ ป น กระบวนการ สามารถแบงยอยออกไดเปน 3 กลุม คือ กลุม แรกไดแก กลุม การนําองคกร (ประกอบ ดวยหมวด 1 การนําองคกร หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ และหมวด 3 การ มุง เนนลูกคาและตลาด) กลุม ทีส่ อง ไดแก

กลุมปฏิบัติการ (ประกอบดวยหมวด 5 การมุง เนนบุคลากร และหมวด 6 การมุง เนนการปฏิบตั กิ าร) และกลุม ทีส่ าม ไดแก กลุม พืน้ ฐานของระบบ (ประกอบดวยหมวด 4 การวัด การวิเคราะห และการจัดการ ความรู) สํ า หรั บ ในส ว นที่ เ ป น ผลลั พ ธ นั้ น ไดแก หมวด 7 ผลลัพธ ซึง่ แบงการแสดง ผลออกเปน 5 ดาน คือ ดานผลิตภัณฑ และกระบวนการ ดานการมุงเนนลูกคา ด า นการมุ  ง เน น บุ ค ลากร ด า นการนํ า องคกรและการกํากับดูแลองคกร และ ดานการเงินและการตลาด

บรรณานุกรม

1. พัฒนชัย กุลสิริสวัสดิ์, “การเตรียมองคกร เพื่ อ รั บ การตรวจประเมิ น ตามแนวทาง TQA”, กรุงเทพฯ: พงษวรินการพิมพ, 2551. 2. สุธี ปงสุทธิวงศ และ วลีพร ธนาธิคม, “กาว แรกสูค วามเปนเลิศ”, กรุงเทพฯ: อินโนกราฟ ฟกส, 2550.

3. สํานักงานรางวัลคุณภาพแหงชาติ, “เกณฑ รางวัลคุณภาพแหงชาติ ป 2555-2556”, กรุงเทพฯ: บริษทั พงษวริน การพิมพ จํากัด, 2554. (หรือสามารถสืบคนจาก www.tqa. or.th.) 4. สํานักงานรางวัลคุณภาพแหงชาติ, “เอกสาร ประกอบการฝกอบรมรางวัลคุณภาพแหง ชาติ ประจําป 2551 หลักสูตร TQA Criteria เกณฑรางวัลคุณภาพแหงชาติ เพือ่ องคกรที่ เปนเลิศ” (อัดสําเนา) 5. สํานักงานรางวัลคุณภาพแหงชาติ, “เอก สารประกอบการฝกอบรมรางวัลคุณภาพ แหงชาติประจําป 2551 หลักสูตร TQA Management System Reviewer” (อัด สําเนา) 6. สํานักงานรางวัลคุณภาพแหงชาติ, “เอกสาร ประกอบการฝกอบรมรางวัลคุณภาพแหง ชาติประจําป 2552 หลักสูตร TQA Scorebook Writing for Assessor” (อัดสําเนา) 7. สํานักงานรางวัลคุณภาพแหงชาติ, “เอกสาร ประกอบการฝกอบรมรางวัลคุณภาพแหง ชาติประจําป 2552 หลักสูตร TQA Assessor Training” (อัดสําเนา) 8. Baldrige National Quality Program, “Malcolm Baldrige National Quality Award 2010”, Retrieved from www. quality.nist.gov.

การจัดการบํารุงรักษาสําหรับงานอุตสาหกรรม

การจัดการบํารุงรักษา สําหรับงานอุตสาหกรรม หมวด Management - Production ISBN 974-686-096-8 ผูแตง โกศล ดีศีลธรรม ขนาด 18.5 × 26.0 ซม. จํานวน 226 หนา กระดาษ ปอนด ราคา 280 บาท

หนังสือเลมนี้ ประกอบดวย แนวคิด วิศวกรรมการบํารุงรักษา, การบํารุง รักษาเชิงปองกัน, การจัดทําแผนบํารุงรักษา, วิศวกรรมความนาเชื่อถือ, การ บริหารอะไหลสาํ หรับงานบํารุงรักษา, ปจจัยคาใชจา ยในการบํารุงรักษา, เทคนิค การปองกันและแกไขการสึกหรอ, ตนทุนวงจรอายุ, การพัฒนาระบบบํารุงรักษา, การบํารุงรักษาเชิงวางแผน, TPM การบํารุงรักษาทวีผลทีท่ กุ คนมีสว นรวม, เสน ทางสูความสําเร็จการดําเนินโครงการ TPM, TPM กับการพัฒนาประสิทธิผล สายการผลิต, บทบาทกิจกรรม 5 ส กับการบํารุงรักษาดวยตนเอง ฯลฯ หนังสือนี้เหมาะสําหรับผูที่เกี่ยวของกับธุรกิจอุตสาหกรรม ไมวาจะเปน ผูจัดการโรงงาน วิศวกร ที่ปรึกษา ตลอดจนนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร เพื่อ เตรียมความพรอมในการทํางาน

¢Ô ¨q ¥ jt ® ©}Ô ­ ¢ × p ¥ ¬ ¦ }× ­pt ® ©}Ô ­ (BTS j ¡p ¡ ) 77/111 m ¥ × s ® 26 j ¡p ¡ ¦k pm p~Ô © ¥k~m p j ¡p¥ 10600 § × 02 862 1396-9 § 02 862 1395 ¥ ¬ ©t~× www.me.co.th ¥ × member@me.co.th

336, มีนาคม 2555 95



โกศล ดีศลี ธรรม

koishi2001@yahoo.com

ผลกระทบจากอุทกภัยตอหวงโซ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส

โรงงานอุตสาหกรรมหลายแหงในประเทศไทยไดรบั ผลกระทบจากมหาอุทกภัยป 2554 โดยเฉพาะอยางยิง่ กับอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสทมี่ กี ารผลิตทัง้ ทีเ่ ปนสินคา และชิน้ สวนทีอ่ ยใู นหวงโซอปุ ทานสำหรับโรงงานอืน่ ๆ ทัว่ โลก

หาอุทกภัยป 2554 ถือวาเปนภัย รายแรงที่สุดของประเทศไทยใน รอบหลายทศวรรษ ทำใหเกิดความเสีย หายทัง้ บานเรือน พืน้ ทีก่ ารเกษตร ระบบ เศรษฐกิจ-อุตสาหกรรม และชีวิตกวา 700 คน อีกทัง้ ผคู นจำนวนมากตองอพยพ ยายทีพ่ กั พิง ในสวนของโรงงานอุตสาหกรรมหลัก ทีไ่ ดรบั ผลกระทบ โดยเฉพาะอยางยิง่ ใน นิคมอุตสาหกรรมที่จังหวัดพระนครศรี อยุธยาและปทุมธานี ตางเปนฐานการผลิต ทีส่ ำคัญของอุตสาหกรรมสงออกของไทย จึงสงผลกระทบกับโรงงานอุตสาหกรรม อื่นๆ ที่อยูในหวงโซอุปทาน (Supply chain) ในพื้นที่ใกลเคียง แมวาโรงงาน เหลานั้นจะยังไมถูกน้ำทวมก็ตาม แตก็

ตองหยุดการผลิต เนื่องจากตองรอชิ้น สวนจากโรงงานที่ตั้งอยูในพื้นที่ไดรับผล กระทบจากน้ำทวม ยิ่งไปกวานั้น ยังสงผลกระทบตอ หวงโซอปุ ทานไปยังฐานการผลิตประเทศ อื่นที่ตองรอใชชิ้นสวนจากประเทศไทย อาทิ มาเลเซีย ญีป่ นุ และจีน โดยเฉพาะ สินคาประเภทอิเล็กทรอนิกส เครื่องใช ไฟฟา ชิน้ สวนยานยนต ทีม่ สี ดั สวนถึงรอย ละ 39 ของการสงออกรวมของประเทศ

อุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส-ไฟฟา

อุตสาหกรรมรถยนต ชิน้ สวนอิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร เครือ่ งใชไฟฟา มี

มูลคาในการสงออกอยใู น 5 อันดับแรก ไดสง ผลกระทบตอการจางงานของแรงงาน ที่ทำงานในนิคมอุตสาหกรรมที่ประสบอุทกภัยหลายแสนคน แตผลกระทบระยะ ยาวทีจ่ ะตามมาหลังน้ำลด คือ ความเชือ่ มัน่ นักลงทุนตางประเทศ โดยเฉพาะนัก ลงทุนญีป่ นุ ที่มีการลงทุนทางตรงในประเทศไทยมากทีส่ ดุ และมากกวา 70% ของ โรงงานในนิคมอุตสาหกรรมทีไ่ ดรบั ความ เสียหายจากน้ำทวม อยางไรก็ตาม หากบริษัทผูผลิต สินคาตนน้ำทีต่ งั้ อยใู นพืน้ ทีป่ ระสบภัยตอง ใชเวลาฟน ฟูความเสียหายนาน บริษทั ผู ผลิตสินคาขัน้ สุดทายหรือสินคาปลายน้ำ ที่ไมไดรับความเสียหายโดยตรงอาจตอง ปรับแผนหันไปจัดหาชิน้ สวนและวัตถุดบิ

1

! - " #$% " )* + , &''(

1 * 2 . ) 3 &/ 4 0 5 6' 6 + 6 5 7 5

0 $*

96

336, มีนาคม 2555


j }Ô } s ¥ mÔ , } s ¢Ôq }q õ , } s m ¦ m ¥ q j k ~Ó p« ¥sÓ ¥m ñ pj , © Ï , pp , ¡p j , ¡k , j q }j


2 ! " #$ "# % & $ " '. ( 1. * ! + " #$%&''( , * + 0, !

2. . ) , " #$%&''( + ! , 3. &/ ! + " #$%&''( , * + 0, " )* 4. 0 ! + " #$%&''( , * + 0, " )* . 5 6' 6 + ! + " #$%&''(

'. ( 1. 5 ! + " #$%&''( , , 2. 0 + ! + " #$%&''( , " #$%&''(

'. 1. 0 *AB , , C , ! , * + 0 2. 0 ! , , " )* '. )* 1. + 0* , ! + " #$%&''( , " )* 2. 5

0 $* , , ! + " #$%&''(

'. $ 1. 6 ' ) , 0 ) *AB DE )* 0 ). * * $ *

ตารางที่ 3 ผลิตภัณฑอเิ ล็กทรอนิกสและเครือ่ งใชไฟฟาในนิคมอุตสาหกรรม 7 แหง ทีไ่ ดรบั ผลกระทบ จากน้ำทวม พ.ศ. 2554

!

&''(

- / ++ &+ 'F6 0 - " *0

N - $ (Spindle motor), 0 Head - % ! stack ( * + ) - " Q* G%

- 6G ) &''(

- Q - 6G ) (IC) - &''( 6 *R &''(

- $ 5 ) ! (Lead frame & - $ . *N Terminal and Base) - $ , . - G *AB ! ( 0 PCB, $ +) &''( ) - " D D, " - $ " (Image drum cartridge) 6 DO " (G 5 N# $ ) - . &' * . W , . &' + + , - G $ & 6 A " *0 . N* . &' +G * , &'X X (#$%# " " " . 0% " ) - *0 O - &+ E G N )* &

จากแหล ง อื่ น เข า มาทดแทนเพื่ อ ให สามารถผลิตสินคาสงมอบตามคำสั่งซื้อ ไดทันเวลา ทีส่ ำคัญ ปญหาอุทกภัยในครัง้ นีไ้ ด สรางความเสียหายตอพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมอันเปนที่ตั้งของนักลงทุนตางชาติ จำนวนมาก อาจมีผลตอการตัดสินใจของ นักลงทุนในการเลือกที่ตั้งฐานการผลิต โดยเฉพาะอยางยิ่งสำหรับอุตสาหกรรม ดานเทคโนโลยีทไี่ ดรบั ผลกระทบหนักสุด ซึง่ โรงงานหลายแหงในเขตนิคมอุตสาห-

กรรมที่ถกู น้ำทวมและเครือ่ งจักร เสียหาย สวนใหญเปนบริษทั ขามชาติ เปนสวนหนึง่ ในระบบหวงโซอปุ ทานโดยเฉพาะอุตสาหกรรมผลิตเครื่องใชไฟฟา-อิเล็กทรอนิกส ทีก่ วา 80% กระจุกตัวอยใู นนิคมอุตสาหกรรมภาคกลาง (พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ปทุมธานี ลพบุรลี าดกระบัง) บริษทั ผผู ลิตชิน้ สวนอิเล็กทรอนิกส และเครือ่ งใชไฟฟาในนิคมอุตสาหกรรมที่ ตั้งอยูในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและ ปทุมธานี รวมทัง้ บริษทั ทีต่ งั้ อยใู นพืน้ ทีใ่ กล

.

) 6 ( 0.)

43 2 1 143 90 99

14,696 99,7 1 1,186 60,000 6,01

227 44

170,000 3 ,000

4 6 137

76,420 22,884

10 , 02 4,291

231 93

9,097 13,844

89,491 19,848

2 1,816

200 609,093

9,472 8,000 6 ,312 60,000 11,000 280,000 22,000

1,303 776,219

เคียง ทีไ่ ดรบั ผลกระทบจากน้ำทวมมีสดั สวนรวมกันสูงถึงกวารอยละ 44.5 ของ จำนวนผูผลิตในอุตสาหกรรมไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสของประเทศ โดยเฉพาะ ญีป่ นุ ทีม่ กี ารขยายฐานการผลิตกวางขวาง รวมตัวกันในลักษณะคลัสเตอร (Cluster) โดยมีผูผลิตชิ้นสวนประกอบในขั้นตอน ตางๆ ปอนใหแกโรงงานแมที่ประกอบ สินคาขัน้ สุดทาย และพืน้ ทีแ่ ถบนีน้ บั ไดวา เปนแหลงผลิตชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสที่ สำคัญของโลก ซึ่งไทยครองสัดสวนการ สงออกคอนขางสูงในตลาดโลกดวย เชน ฮารดดิสกไดรฟ ตลับลูกปน และแผง วงจรประเภทตางๆ เปนตน สำหรับผลิตภัณฑทางดานไอทีทไี่ ด รับผลกระทบตอเนือ่ ง ประกอบดวย แผง วงจรไฟฟา วงจรพิมพ ชิน้ สวน อะไหล และอุปกรณเครือ่ งรับสงโทรศัพท เครือ่ ง มือสือ่ สารวิทยุโทรคมนาคม เครือ่ งพรินเตอร (ไทยเปนแหลงผลิตและสงออก เครือ่ งพรินเตอรทสี่ ำคัญในภูมภิ าคเอเชีย) มอนิเตอร ชิ้นสวนเครื่องคอมพิวเตอร ตลับลูกปน ในสวนของกลมุ เครือ่ งใชไฟฟา ได รับผลกระทบทัง้ การผลิตตเู ย็น เครือ่ งปรับ

336, มีนาคม 2555 97


˫¯ Ë ¿ website ̲½ ·®¾ °·®¿ Á ¯ w §w ´¾¦¦ÂÔ ! www.me.co.th ˤ ¦Á 12 §¾§ ¨°Æ ¬ ˫¯ 500 §¿¤ ¨°½¸¯¾¡ 100 §¿¤ ˤ ¦Á 12 §¾§ ¨º¦¡ ˫¯ 750 §¿¤ ¨°½¸¯¾¡ 150 §¿¤

·Á¤¥Á«Á˵¶·À¸°¾§·®¿ Á ´¿°·¿°Ë¤ ¦Á ˤ ¿¦¾Ô¦ ; ; ; ; ; ;

³ Õ ¥ t¥ ¤ ¥ ¥ «t| ¤ Õz ©z £ ¬ Ö¥ £ ¤ wÕ¥ Õz ©z 300 ¥ / ¨ ¨wÕ¥{¤ Õz ¤z ª w¬Õ ª ¤· £¯ ¨ ¤z ª ¯ w §w §¯ | ¤ ¨ 2555 ¬ wÕ¥ 120 ¥ www.me.co.th ³ Ö ¤ Õ {¥tt¥ ¤·z~ª¸ ¤z ª w¬Õ ª ¬z « ©z 20% ³ Ö ¤ Õ ² t¥ ¤w ¯uÖ¥ ¤z ¤ ¥ 300 ¥ /w /w ¤¸z (³ Õ{¦t¤ {¦ w )


อากาศ ชิ้นสวนโทรทัศน วิทยุ รวมถึง อุตสาหกรรมการผลิตเกี่ยวเนื่อง อาทิ การผลิตแมพิมพเครื่องใชไฟฟา ซิลิโคน และพลาสติกสำหรับอุปกรณไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกส เปนตน

อุตสาหกรรม คอมพิวเตอร

ประเทศไทยมีโรงงานอุตสาหกรรม ทีเ่ ปนฐานการผลิตฮารดดิสกไดรฟ (Hard disk drive) ใหญอนั ดับ 2 ของโลก มี สวนแบงตลาดเกือบ 20% ทำใหโรงงาน ผูผลิตชิ้นสวน เครื่องใชไฟฟา และชิ้น สวนอิเล็กทรอนิกสรายใหญ มีการปรับ แผนโยกคำสั่งการผลิตไปยังโรงงานตาง ประเทศ เชน มาเลเซีย เวียดนาม เพือ่ ที่ จะผลิตสินคาสงออกตอไปยังตลาดโลก วิกฤติน้ำทวมไดสงผลตอการผลิต ของโรงงานผลิตฮารดดิสกไดรฟรายใหญ ของโลก ทำใหยอดการสงมอบในไตรมาส 4 ป 2554 ลดลงเหลือประมาณ 125 ลาน หนวย หดตัวรอยละ 27.7 เมือ่ เทียบกับ ไตรมาส 3 ทีม่ ยี อดการสงมอบที่ 173 ลาน หนวย และคาดวาปญหาการขาดแคลน ฮารดดิสกไดรฟจะตอเนือ่ งไปจนถึงไตรมาส แรก ป 2555 ซึง่ มีผลตอการผลิตเครือ่ ง คอมพิวเตอรทพี่ งึ่ พาฮารดดิสกไดรฟจาก ไทย สำหรับผผู ลิตฮารดดิสกรายใหญทงั้ 4 ราย คือ Seagate, Western Digital, Toshiba และ Hitachi โดยโรงงานของ Western Digital ไดรบั ผลกระทบจนตอง ปดโรงงานทัง้ สองแหง แต Seagate ได รับความเสียหายเพียงบางสวน เนือ่ งจาก พืน้ ทีต่ งั้ ของโรงงานตัง้ อยบู นทีส่ งู ผลกระทบจากน้ำทวมครั้งนี้สงผลให Seagate ทีม่ ฐี านการผลิตทีเ่ มืองซูโจวและเมืองอซู ี ไดรบั ผลดี เนือ่ งจากเปนโรงงานผลิตฮารดดิสกเหมือนกัน ซึง่ ผลกระทบจากน้ำทวม โดยรวมของ Seagate ยังถือวานอยมาก

98

336, มีนาคม 2555

รูปที่ 1 Spindle motor

ขณะทีผ่ ผู ลิตรายอืน่ แมโรงงานไม ไดรับความเสียหาย แตไดรับผลกระทบ ทางออมจากการขาดแคลนชิน้ สวนประกอบเนือ่ งจากผผู ลิตสวนประกอบหลักใน หวงโซอุปทานของฮารดดิสกไดรฟหลาย รายประสบกับภาวะน้ำทวม โดยเฉพาะ Spindle motor Nidec Corp. เปนผผู ลิตมอเตอร ขับฮารดดิสกรายใหญมีสวนแบงตลาด รวมราว 80% ของโลก โดยทีม่ สี ดั สวน การผลิตในไทยราว 65% ของการผลิต รวม ซึง่ คาดกันวา Spindle motor ใน ตลาดโลกจะหายไปราว 50% ของการผลิต ทัง้ หมดจากผลกระทบวิกฤติน้ำทวมครัง้ นี้ และคาดวาจะสงผลใหตลาดฮารดดิสกไดรฟของโลกจะลดลงราว 30% โดย กำลังการผลิตฮารดดิสกไดรฟของโลกจะ ลดลงเหลือ 60% Toshiba เปนหนึง่ ในผผู ลิตฮารดดิสกทไี่ ดรบั ผลกระทบอยางหนักจากภาวะ น้ำทวม โดยมีโรงงานทีไ่ ดรบั ผลกระทบ 9 แหง ในสวนอุตสาหกรรมบางกะดีทผี่ ลิต อุปกรณเครือ่ งใชไฟฟา สวนอีก 1 แหง ในนิคมอุตสาหกรรมนวนคร ผลิตชิน้ สวน ฮารดดิสก ทำใหสนิ คาบางสวนขาดตลาด อาทิ เครือ่ งซักผาและตเู ย็น 2 ประตูขนึ้ ไป บริษัทตองแกปญหาเฉพาะหนาดวย การนำเขาสินคาจากแหลงผลิตอืน่ อยางไร ก็ตาม มีการยืนยันจากผูบริหารโตชิบา บริษทั แมทปี่ ระเทศญีป่ นุ วาจะไมยา ยฐาน การผลิตหรือไมถอนการลงทุนจากประเทศไทย เพราะไทยยังมีศกั ยภาพเปนฐาน ผลิตใหญทั้งเครื่องใชไฟฟาในบานและ

ฮารดดิสกไดรฟทีม่ กี ารสงออกทัว่ โลก สิง่ ที่โตชิบาจะดำเนินการควบคูกันไป คือ การเปดสายการผลิตใหม โดยมงุ ปรับสาย การผลิตใหมคี วามหลากหลายขึน้ เพือ่ เปด ตัวสินคาใหมๆ ออกสตู ลาด บริษทั ฮัทชินสัน เทคโนโลยี ซึง่ มี โรงงานประกอบฮารดดิสกในนิคมอุตสาหกรรมโรจนะทีป่ ระสบน้ำทวม ทำให ฮัทชินสัน เทคโนโลยี เพิม่ กำลังการผลิตใน โรงงานทีส่ หรัฐอเมริกา และใชสนิ คาคง คลังในสต็อกตอบสนองความคำสั่งซื้อ ของลูกคา บริษัท ไมโครเซมิ คอรป ผูผลิต อุปกรณสารกึง่ ตัวนำทีม่ โี รงงานถูกน้ำทวม ในนิคมอุตสาหกรรมโรจนะ ก็ไดรบั คำสัง่ สั่งระงับการผลิตที่โรงงานในไทยจากผู ผลิตชิปรายใหญอยาง ON Semiconductor Corp. และ Nikon ขณะที่ Canon Inc. ระบุวา จะโยกยายการผลิต เครื่องพิมพอิงคเจ็ตไปยังเวียดนามชั่ว คราว และ Nidec Corp. ผผู ลิตมอเตอร ฮารดดิสกไดรฟไดเพิม่ เพดานการผลิตใน โรงงานฟลิปปนสและจีนมากขึ้น สำหรับ Sony ผผู ลิตสินคาอิเล็กทรอนิกสรายใหญตอ งเลือ่ นการวางจำหนาย กลองดิจิทัลรุนใหมที่เพิ่งเปดตัวกอนเกิด อุทกภัย 3 รนุ ในขณะที่ Nikon ก็ไดรบั ผลกระทบตอการจำหนายกลอง SLR และชุดเลนสอยางมาก

Cloud computing

อุทกภัยในประเทศไทยยังอาจสง ผลกระทบไปถึงภาคบริการบนเครือขาย อิ น เทอร เ น็ ต ทั่ ว โลก หรื อ ที่ รู จั ก กั น ว า Cloud computing ซึง่ ก็คอื ระบบประมวลผลผานเครือขายอินเทอรเน็ตเพือ่ จัด สรรทรัพยากรหรือบริการใหสอดคลอง ตามความตองการของผใู ชคอมพิวเตอรที่ อุปกรณปลายทาง โดยเฉพาะบริษทั ยักษ ใหญดา นไอทีของโลก แมจะมีสำนักงาน ใหญอยูในนิคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยี


§ ¾ § « ̸² °´® ´¿®°Æ

·À¸°¾§ ¿¦´Áµ´ °°® PH%22.6+23

www.facebook.com/meBOOKSHOP


อุตสาหกรรมของ ญี่ปุนในไทย

รูปที่ 2 นิคมอุตสาหกรรมนวนครทีถ่ กู น้ำทวม

Silicon Valley อาทิ Google, Microsoft, Facebook, YouTube, Intel, Amazon และ Apple ก็อาจจะไดรบั ผลกระทบ ดวย เหตุทหี่ ว งโซอปุ ทานอุปกรณชนิ้ สวนสำคัญ อยางฮารดดิสกไดรฟเกิดภาวะขาดแคลน ระบบบริการ Cloud computing กำลังมีบทบาทมากขึ้นในโลกยุคดิจิทัล เนื่องจากตองพึ่งพาอุปกรณเก็บขอมูล สำหรับระบบฐานขอมูลขนาดใหญ รวม ทัง้ ธุรกิจอีกมากทีใ่ หบริการ เชน ฟงเพลง ผานระบบออนไลน หรือรับฝากเพลง รวม ทัง้ การรับฝากเพลง, รูป และขอมูล เมือ่ อุปสงคการใชบริการมากขึ้น ซึ่งทำใหผู ใหบริการตองการเนือ้ ทีส่ ำหรับเก็บขอมูล มากขึ้นตามไปดวย

อุตสาหกรรมของเอกชนญี่ปุนใน ประเทศไทย มีบริษทั จดทะเบียนทัง้ หมด 139 แหง ทีไ่ ดรบั ความเสียหายจากอุทกภัยครัง้ นี้ โดยแยกเปนธุรกิจอิเล็กทรอนิกส 81 แหง และภาคธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับ อุตสาหกรรมยานยนต 71 แหง อีกทั้ง บริษัทแตละแหงสวนใหญยังมีธุรกิจตอ เนื่องดวย โรงงานอุตสาหกรรมของญีป่ นุ ทีไ่ ด รับผลกระทบตองหยุดการผลิต 173 แหง ตองเลือ่ นกำหนดการผลิตไป 7 แหง ใน จำนวนนีม้ โี รงงานอุตสาหกรรม 95 แหง ทีถ่ กู น้ำทวมปดตาย ขณะที่ 41 แหง ตอง ปดลงดวยเหตุผลดานความปลอดภัยของ แรงงาน และ 28 แหง ไดรบั คำแนะนำให อพยพออกจากพืน้ ที่ นอกจากนี้ ยังมีบริษทั ญีป่ นุ ทีไ่ มได จดทะเบียนอีก 96 แหง ซึ่งไดรับผล กระทบครัง้ นี้ บริษทั เหลานีม้ โี รงงานอยใู น นิคมอุตสาหกรรมทัง้ 7 แหงทีถ่ กู น้ำทวม

ไปแลว โดยบริษัทขนาดเล็กและขนาด กลางเหลานี้คงยากที่จะหาฐานการผลิต ทางเลือกใหมและยังจะไดรับผลกระทบ รายไดอยางรุนแรง

แหลงขอมูลอางอิง

1. หนังสือพิมพผูจัดการรายวัน ฉบับวันที่ 27 ตุลาคม 2554. 2. หนังสือพิมพแนวหนา ฉบับวันที่ 19 ตุลาคม. 2554. 3. รายงานศูนยวจิ ยั กสิกรไทย ปที่ 17 ฉบับที่ 3201 วันที่ 3 พฤศจิกายน 2554. 4. http://www.asiaplus.co.th 5. http://www.bangkokbiznews.com 6. http://www.dailynews.co.th/ 7. http://mdn.mainichi.jp 8. http://www.nytimes.com/ 9. http://www.posttoday.com/ 10. http://www.prachachat.net 11. http://www.toshiba.co.th

วิศวกรรมระบบทออุตสาหกรรม

วิศวกรรมระบบทออุตสาหกรรม หมวด Piping - Pump - Valve ISBN 974-686-068-2 ผแู ตง น.ท.ตระการ กาวกสิกรรม ขนาด 18.5 × 26.0 ซม. จำนวนหนา 448 หนา กระดาษ ปอนด ราคา 420 บาท

ระบบทอถือไดวา มีอยแู ทบทุกโรงงานอุตสาหกรรมทีเ่ ดียว ซึง่ เปนระบบหนึง่ ทีม่ คี วาม สำคัญ เพราะถาหากมีการออกแบบ และวางระบบทอไมมปี ระสิทธิภาพแลว จะสงผลกระทบ ตอกระบวนการผลิต และระบบอืน่ ๆ อีกมาก ทำใหเสียคาใชจา ยมากขึน้ ดังนัน้ การทีจ่ ะออกแบบระบบใหทำงานไดอยางราบรืน่ มีประสิทธิภาพ จะตองเขาใจ ถึงองคประกอบของระบบทออยางครบถวน หนังสือเลมนีไ้ ดนำเสนอสาระทีจ่ ะเปนประโยชนตอ การออกแบบ และการวางระบบทอ เพื่อใหผูออกแบบ และผูที่เกี่ยวของ ไดพิจารณานำไปใชอยางเหมาะสม โดยมีหัวขอหลัก คื อ แนวคิ ด เบื้ อ งต น และพื้ น ฐานการคำนวณ, การวางผั ง ระบบท อ , การวางแนวท อ , การจัดทำแบบแปลนระบบทอ, วาลว, ระบบทอของอุปกรณในกระบวนการผลิต, การตรวจ สอบ และบำรุงรักษาระบบทอ นอกจากนี้ ยังมีภาคผนวก ซึ่งมีตาราง และขอมูลเกี่ยวกับ การแปลงหนวย, คุณสมบัตขิ องการไหล, ตารางทอ, ตารางขอตอ และวาลว ฯลฯ

ผูสนใจสามารถเลือกซื้อไดที่ศูนยหนังสือ เอ็มแอนดอี หรือสั่งซื้อไดที่

บริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด

(BTS สถานีกรุงธนบุรี) 77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 เว็บไซต www.me.co.th, www.technic.in.th อีเมล member@me.co.th

336, มีนาคม 2555 99



˹֧è ã¹â¤Ã§กÒà กÒþѲ¹Ò¢Õ´¤ÇÒÁÊÒÁÒöÇÔÈÇกà áÅЪ ҧ෤¹Ô¤ä·Â · ҹ㴻ÃÐʧ¤ ¨Ðà» ¹¹Ñกà¢Õ¹à ÇÁกѺàÃÒ áµ Â§Ñ äÁ Á»Õ ÃÐʺกÒó àªÔ­à¢Õ¹º·¤ÇÒÁ·Ò§ÇÔªÒªÕ¾ÇÔÈÇกÃÃÁ áÅÐÊ §ÁÒ·Õกè ͧºÃóҸÔกÒÃä´ ºÃÔÉ·Ñ àÍçÁá͹´ ÍÕ ¨ÓกÑ´ ÂÔ¹´Õʧ àÊÃÔÁ¹Ñกà¢Õ¹ãËÁ â´Âä´ ¨´Ñ ¹Ñกà¢Õ¹Á×ÍÍÒªÕ¾áÅÐ ¼ ·Ù ç¤Ø³ÇزÁÔ Òà» ¹¾Õàè ÅÕÂé §ª Ç¢ѴàกÅÒáÅÐàÊÃÔÁº·¤ÇÒÁ¢Í§· Ò¹ãË ÊÁºÙó ´§Ñè Á×ÍÍÒªÕ¾ ʹã¨! µÔ´µ Í¢Íá¹Ç·Ò§ áÅÐÃٻẺกÒÃà¢Õ¹º·¤ÇÒÁ ä´ ·ÕèºÃóҸÔกÒèѴกÒà â·ÃÈѾ· 02 862 1396-9 ÍÕàÁÅ editor@me.co.th (º·¤ÇÒÁ·Õ´è Õ ¤ÇÃÁÕû٠»ÃÐกͺ´ ÇÂ)

ºÃÔÉ·Ñ àÍçÁá͹´ ÍÕ ¨ÓกÑ´

(BTS ʶҹÕกÃا¸¹ºØÃÕ) 77/111 ÍÒ¤ÒÃÊÔ ¹ ÊҸ÷ÒÇàÇÍà ªÑé ¹ 26 ¶¹¹กÃØ § ¸¹ºØ ÃÕ á¢Ç§¤Åͧµ ¹ ä·Ã ࢵ¤ÅͧÊÒ¹ กÃØ § à·¾Ï 10600 â·ÃÈѾ· 02 862 1396-9 â·ÃÊÒà 02 862 1395 àÇçºä«µ www.me.co.th, www.technic.in.th ÍÕàÁÅ editor@me.co.th

ºÃÔÉÑ·ËÃ×Í˹ ǧҹ㴷ÕèÁÕµÓá˹ §Ç Ò§ ʹ㨻ÃÐกÒÈã¹àǺ䫵 www.me.co.th «Ö§è à» ¹àǺ䫵 ¢Í§ ºÃÔÉ·Ñ àÍçÁá͹´ ÍÕ ¨ÓกÑ´ ¼ ¼ Ù ÅÔµÇÒÃÊÒÃà·¤¹Ô¤, ÇÒÃÊÒà EC áÅÐ˹ѧÊ×Í-¤ ÁÙ Í× µ Ò§æ ·Ò§ÇÔÈÇกÃÃÁ â»Ã´àµÃÕÂÁ¢ ÍÁÙÅã¹กÒÃÃѺÊÁѤà q µÓá˹ §§Ò¹ q ¤Ø³ÇØ²Ô q ·ÕèÍ ٠q ÍÒÂØ, à¾È q ºÃÔÉÑ· q áÅÐÍ×¹ è æ ·Õ¨è Óà» ¹ã¹กÒÃÃѺÊÁѤçҹ q »ÃÐʺกÒó q ¨Ñ§ËÇÑ´·ÕèÃѺࢠҷӧҹ

ºÃÔÉ·Ñ àÍçÁá͹´ ÍÕ ¨ÓกÑ´

(BTS ʶҹÕกÃا¸¹ºØÃÕ) 77/111 ÍÒ¤ÒÃÊÔ ¹ ÊҸ÷ÒÇàÇÍà ªÑé ¹ 26 ¶¹¹กÃØ § ¸¹ºØ ÃÕ á¢Ç§¤Åͧµ ¹ ä·Ã ࢵ¤ÅͧÊÒ¹ กÃØ § à·¾Ï 10600 â·ÃÈѾ· 02 862 1396-9 â·ÃÊÒà 02 862 1395 àÇçºä«µ www.me.co.th, www.technic.in.th ÍÕàÁÅ editor@me.co.th

100

336, ÁÕ¹Ò¤Á 2555



กองบรรณาธิการ

เยี่ยมชม

เยีย่ มชม

สำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย

หนวยงานสนับสนุนการสรางความรแู ละการวิจยั รวมทัง้ กำหนดนโยบายในการยกระดับความรแู ละเผยแพรผลงานวิจยั ใหนำไปใชประโยชน เพือ่ สรางความสามารถเขมแข็งใหกบั เศรษฐกิจไทยและความเปนอยทู ดี่ ขี องสังคมไทย

ารวิจยั และการสรางนักวิจยั รวม ทั้ ง การเผยแพร ผ ลงานวิ จั ย เพื่ อ นำไปใช ใ ห เ กิ ด ประโยชน ถื อ เป น การ พั ฒ นาประเทศและความเป น อยู ข อง ประชากรในประเทศ ซึ่งการที่จะทำให เกิดประโยชนสูงสุดไดนั้น จะตองมีเปา หมายทีช่ ดั เจนในการสรางนักวิจยั ใหตรง กับความตองการและความจำเปนของ ประเทศ การพัฒนาคุณภาพคนและสังคม ไทยสสู งั คมแหงภูมปิ ญ  ญาและการเรียนรู ในด า นต า งๆ ให เ กิ ด ความสมดุ ล และ ยั่งยืนนั้น จำเปนตองมีหนวยงานที่สนับ สนุนการวิจยั ใหเกิดความคลองตัวในการ สรางนวัตกรรมที่แตกตางกันใหมากขึ้น และมีการวางแผนงานอยางเปนระบบ วารสารเทคนิคฉบับนี้ จึงขอพา

ทานผอู า นเขาเยีย่ มชมหนวยงานแหงหนึง่ ทีส่ นับสนุน สงเสริม และเผยแพรผลงาน วิจัยอยางมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเปน แหลงระดมทุนวิจัยจากหนวยงานตางๆ เพื่อสนับสนุนโครงการวิจัยไดอยางตอ เนือ่ ง นัน่ คือ สำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจยั หรือ สกว.

ที่ตั้งและความเปนมา

สำนั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การ วิจยั ตัง้ อยใู จกลางเมือง ทีอ่ าคาร เอส เอ็ม ทาวเวอร ถนนพหลโยธิน เขตพญาไท กรุ ง เทพมหานคร ซึ่ ง ในรู ป ที่ 1 เป น บริ เ วณต อ นรั บ ของสำนั ก งาน โดยมี

รูปที่ 1 บริเวณตอนรับของ สกว.

336, มีนาคม 2555 101


เอกสารแนะนำตางๆ จำนวนมาก สำนั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การ วิจยั (สกว.) เปนองคกรขนาดเล็กของรัฐ ภายใตการกำกับของสำนักนายกรัฐมนตรี ทีไ่ มไดใชระบบราชการเปนกลไกควบคุม องคกร ไดกอตั้งอยางเปนทางการเมื่อ รัฐสภาไดใหความเห็นชอบตราพระราช บัญญัติกองทุนสนับสนุนการวิจัย พ.ศ. 2535 เพื่อทำหนาที่สนับสนุนการสราง ความรทู งั้ ในระดับทองถิน่ และระดับประเทศ โดยใชการวิจัยเปนกลไกสรางฐาน ความรูสำหรับการแกปญหาใหแกสังคม สกว. มงุ เนนบริหารจัดการแบบครบ วงจรผานเครือขายการทำงานทัว่ ประเทศ สนับสนุนในการสรางและพัฒนากำลัง คนและนักวิจัยสูสังคมที่อาศัยความรูใน การแกปญหา ผลักดันการใชประโยชน จากการวิจัยดานเกษตร อุตสาหกรรม บริการ การพัฒนาคุณภาพชีวติ และสิง่ แวดลอม การสรางความเขมแข็งของ ชุมชนทองถิน่ รวมถึงผลักดันใหเกิดการ ร ว มทุ น กั บ ภาคเอกชน หน ว ยงานใน ประเทศ และตางประเทศ วิสยั ทัศนของ สกว. คือ เปนองคกร ที่สรางสรรคใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ นำไปสู สังคมทีม่ ปี ญ  ญา สามารถใชความ รูจัดการกับศักยภาพ และโอกาส เพื่อ กำหนดอนาคตของตนเองทั้ ง ในระดั บ ทองถิน่ และระดับประเทศ พันธกิจหลักของ สกว. คือ สนับ สนุนการสรางความรู สรางนักวิจยั และ สรางระบบวิจยั เพือ่ ตอบสนองตอสังคม ทั้งระบบเศรษฐกิจดั้งเดิมและสมัยใหม โดยเฉพาะกำหนดนโยบาย ยกระดับความ รแู ละสติปญ  ญาของสังคม และเพิม่ ความ เขมแข็งตอชุมชนทองถิ่น ที่ทำใหสังคม ไทยเปลี่ ย นแปลงสอดคล อ งกั บ ความ เปลี่ยนแปลงของโลก สกว. ไดดำเนินการตามพันธกิจ อยางมีระบบ รัดกุม คลองตัว และมี ประสิทธิภาพอยางตอเนือ่ ง โดยใหความ

102

336, มีนาคม 2555

รวมมือกับหนวยงานตางๆ เปนเครือขาย สนับสนุนการวิจยั และสรางนักวิจยั ในวง กวางขึน้ และสามารถเผยแพรผลวิจยั ให นำไปใชประโยชนไดมากทัง้ ในการพัฒนา และการแกปญ  หาตางๆ ของประเทศ

นโยบายและ การบริหารจัดการ

นโยบายและการบริ ห ารจั ด การ งานวิจยั แบบ สกว. ไดมกี ารกำกับกิจการ ภายใตคณะกรรมการสองชุดคือ คณะ กรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการ วิ จั ย และคณะกรรมการติ ด ตามและ ประเมินผลการสนับสนุนการวิจัย นอก จากคณะกรรมการทั้งสองชุดดังกลาว แลว สกว. ยังมีคณะกรรมการตรวจสอบ การดำเนินงาน ผตู รวจสอบภายใน และ สำนั ก งานการตรวจเงิ น แผ น ดิ น เป น ผู ตรวจสอบภายนอกอีกดวย

รูปที่ 2 ภาคีเครือขายของฝายงานตางๆ

สกว. ทำงานผานภาคีเครือขาย ตามรูปที่ 2 โดยมี “ผปู ระสานงาน” ทีฝ่ า ย งานตางๆ เห็นวาเปนผูเชี่ยวชาญและมี ศักยภาพ มีความเปนกลางและมีจริยธรรม เปนเจาภาพของโครงการวิจยั นัน้ ๆ ตั้ ง แต พั ฒ นาโครงการให ไ ด ข อ เสนอ โครงการทีส่ มบูรณ ติดตามการสนับสนุน โครงการวิจยั รายงานความกาวหนาของ โครงการวิจยั และนำเสนอผลงานในรูป

แบบต า งๆ โดยประสานงานร ว มกั น ระหวาง สกว. ผปู ระสานงาน ทีมนักวิจยั ในโครงการนัน้ ๆ ซึง่ มีกระบวนการทำงาน เชน ติดตามและประเมินผลการดำเนิน โครงการทุกหกเดือน เยี่ยมชมโครงการ ประชุมนำเสนอผลงาน เปนตน ส ว นการบริ ห ารจั ด การภายใน สำนักงานนัน้ สกว. บริหารองคกรแบบ แนวราบ โดยมีการบริหารสามระดับ ซึง่ มีผอู ำนวยการเปนผบู ริหารสูงสุด และมี ผอู ำนวยการฝายตางๆ และเจาหนาทีฝ่ า ย เปนผนู ำนโยบายมาดำเนินงาน เสริมการ ดำเนินงานของหนวยประสานงานวิจัย ของโครงการตางๆ ดานพัฒนาโครงการ จัดทำสัญญาโครงการ ติดตามสนับสนุน โครงการ พัฒนาระบบและวิธีปฏิบัติให มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ สกว. ใหความสำคัญเปน อย า งมากต อ การนำผลงานวิ จั ย ไปใช ประโยชนเชิงพาณิชยและเชิงสาธารณะ ซึ่ง สกว. จะผลักดันและสนับสนุนใหมี การตอยอดหรือขยายผล หรือดำเนินการ จดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร สกว. ไดดำเนินการสนับสนุนการ วิจัยมาอยางตอเนื่องตลอดมาเพื่อสราง ความเขมแข็งแกระบบและนักวิจัยของ ประเทศ ซึง่ บทบาทของ สกว. สามารถ สรุปไดตามรูปที่ 3 สกว. ไดสนับสนุนการวิจยั พืน้ ฐาน ซึง่ เปนการสรางความรใู หมทเี่ ปนความรู พื้นฐาน เพื่อพัฒนาตอยอดไปใชประโยชนและสรางความเขมแข็งเชิงวิชาการ สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาทั้งวิจัยเชิง ประเด็น เชิงนโยบาย เชิงพืน้ ทีแ่ ละปญหา เรงดวน นอกจากนี้ สกว. ยังไดพัฒนา กำลังคนโดยการสรางนักวิจัยใหมผาน โครงการตางๆ และสรางอาชีพของนัก วิจยั ผานทุนวิจยั ในระดับตางๆ อีกทัง้ ยัง ชวยเผยแพรผลงานวิจัยในรูปแบบตางๆ และผลักดันใหมกี ารนำผลงานไปใชประโยชนใหมากยิง่ ขึน้


รูปที่ 3 บทบาทของ สกว.

ยุทธศาสตร การดำเนินงาน

จากเวลาทีผ่ า นมา สกว. มีสว นผลัก ดันใหเกิดการตื่นตัวดานการวิจัย ทำให เกิดความตองการใชผลงานวิจยั เพือ่ พัฒนา ประเทศมากขึน้ ซึง่ บทบาทหลักทีส่ ำคัญ คื อ สร า งคนและนั ก วิ จั ย ที่ มี คุ ณ ภาพ สรางความรูและผลงานวิจัยที่นำไปใช ประโยชนทั้งดานวิชาการ เชิงพาณิชย เชิงสาธารณะ และเชิงนโยบาย เพือ่ ใหการดำเนินงานเกิดผลสำเร็จ และพัฒนาไดอยางตอเนื่องและคุมคา สกว. ไดพัฒนายุทธศาสตรเพื่อผลักดัน การเปลีย่ นแปลงใหเปนรูปธรรมและจริง จัง โดยใชการบริหารงานวิจัยที่มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตรขบั เคลือ่ นการวิจยั เพือ่ การเปลี่ยนแปลงในระยะสามปนี้ (พ.ศ. 2553 - 2556) ไดจากความรแู ละประสบการณในการบริหารจัดการงานวิจยั ทัง้ เชิงวิทยาศาสตร สังคมศาสตร มนุษยศาสตร และการสรางความเขมแข็งใหแก ชุมชน รวมถึง สกว. มีจดุ แข็งในการสราง เครือขายนักวิจยั ผปู ระกอบการ ชุมชน

และหนวยงานตางๆ อีกดวย แผนยุทธศาสตร สกว. ป 2553 2556 ซึง่ เปนเปาหมายองคกรคือ 1. สรางผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ สามารถนำไปใชประโยชนในการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมของ ประเทศได โดยผลงานวิจัยและพัฒนา อยางนอยรอยละ 70 ถูกนำไปใชประโยชน 2. ยกระดับความสามารถของนัก วิจัยไทยสูระดับสากล โดยมีผลงานวิจัย ของประเทศทีไ่ ดรบั การตีพมิ พในวารสาร วิชาการระดับสากลอยางนอยรอยละ 35 ทีไ่ ดรบั การสนับสนุนจาก สกว. 3. ยกระดับความเขมแข็งของคน ชุมชน และสังคม โดยเฉพาะในภูมภิ าค โดยใช ก ระบวนการสร า งและพั ฒ นา ความรเู ปนเครือ่ งมือ โดยอยางนอยรอย ละ 5 ของชุมชนระดับตำบลในประเทศ ไดรับการสนับสนุนกิจกรรมวิจัย เพื่อใหบรรลุเปาหมายที่กำหนดไว สกว. จึงไดกำหนดยุทธศาสตรหลักไว 4 ประการดังนี้ 1. ยุทธศาสตรการสนับสนุนการวิจัยใน ประเด็นสำคัญทีจ่ ำเปนตอการพัฒนา

ประเทศหรือรองรับการเปลีย่ นแปลง ของโลกในอนาคต สนับสนุนการวิจัยในประเด็นที่มี ความสำคัญตอการพัฒนาประเทศคือ การวิจัยดานอาหารและการเกษตรโดย เน น ความมั่ น คงด า นอาหาร ความ ปลอดภัย และการเพิ่มมูลคา โดยมุงสู อุตสาหกรรม การจัดการทรัพยากรน้ำ โดยเนนการจัดการเชิงพื้นที่ การเตรียม ความพรอมสูประชาคมอาเซียน และ เรื่องพลังงาน สิ่งแวดลอมและระบบ เศรษฐกิจ วัตถุประสงคของยุทธศาสตรนี้คือ 1. ไดผลงานวิจยั เพือ่ เพิม่ ขีดความ สามารถในการแขงขันของประเทศ เชน วิจยั ดานการเกษตรและอาหาร เพิม่ มูลคา ผลิตภัณฑ 2. มีผลงานวิจยั เพือ่ พัฒนาหรือยก ระดับสังคม เชน วิจยั เพือ่ พัฒนาคุณภาพ การศึกษา วิจยั ดานสังคม 3. ได ผ ลงานวิ จั ย และข อ เสนอ แนะเชิ ง นโยบายเกี่ ย วกั บ การเปลี่ ย น แปลงของโลกในอนาคต เชน ติดตามการ เปลีย่ นแปลงของโลก เพือ่ เสนอแนะดาน การบริหารจัดการสิ่งแวดลอม การคา

336, มีนาคม 2555 103


และความสัมพันธระหวางประเทศ แนวทางการดำเนินงานของยุทธศาสตรคือ 1. สนั บ สนุ น การวิ จั ย ด า นการ เกษตรและอาหารและการเพิ่ ม มู ล ค า ผลิตภัณฑ โดยเนนงานวิจยั เชิงนโยบาย การเชื่อมโยงการเกษตรกับอุตสาหกรรม และบริการ การศึกษามาตรการกีดกัน ทางการคา ความปลอดภัยและความมัน่ คงดานอาหาร และสารเคมีปนเปอ น และ มีการพัฒนาระบบเกษตรเพื่อความกิน ดีอยูดีและเหมาะสม 2. สนับสนุนการวิจัยเพื่อพัฒนา คุ ณ ภาพการศึ ก ษา เพื่ อ รองรั บ การ ปฏิรปู การศึกษา โดยเนนระบบการศึกษา การปฏิรปู การศึกษาภายใตหลักการเรียน รู การวิ จั ย ท อ งถิ่ น หรื อ การวิ จั ย และ พัฒนาเครือขายเชิงพื้นที่เพื่อพัฒนาการ เรียนรขู องเด็กและเยาวชน รวมถึงปฏิรปู การเรียนรขู องสังคม 3. สนับสนุนการวิจัยดานสังคม โดยเนนงานวิจยั ดานคุณธรรม จริยธรรม และคุณคาของสังคม การอยรู ว มกัน การ วิจัยเพื่อเขาใจอัตลักษณและวัฒนธรรม ไทย 4. สร า งมู ล ค า จากทุ น เดิ ม ทาง สังคมและประยุกตใชใหเกิดประโยชน รวมทั้งงานวิจัยดานความมั่นคง 5. สนับสนุนการวิจัยเชิงนโยบาย เกี่ยวกับตางประเทศ 2. ยุ ท ธศาสตร ก ารยกระดั บ ขี ด ความ สามารถของนักวิจัยสูระดับสากล สนับสนุนการวิจยั เพือ่ สรางความรู พืน้ ฐานทีจ่ ำเปนตอการพัฒนาในอนาคต และสรางนักวิจัยที่มีคุณภาพสูง และ สามารถผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพได อยางตอเนื่องในอนาคต วัตถุประสงคของยุทธศาสตรนี้คือ 1. ใหเกิดการวิจัยเชิงวิชาการที่ รองรับการพัฒนาประเทศไดในอนาคต 2. สร า งและพั ฒ นานั ก วิ จั ย ที่ มี

104

336, มีนาคม 2555

คุณภาพสูงเพื่อความตองการกำลังคน ระดับคุณภาพสูงในอนาคต แนวทางการดำเนินงานของยุทธศาสตรนี้คือ 1. สนับสนุนการวิจัยเชิงวิชาการ โดยเนนการเผยแพรระดับสากล และ สอดคลองกับความตองการในการพัฒนา ประเทศและภาคอุตสาหกรรม 2. กำหนดเสนทางสนับสนุนการ วิจยั เชิงวิชาการอยางตอเนือ่ ง เพือ่ ความ เปนเลิศในสาขาที่ประเทศมีศักยภาพ 3. ยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็ง ของคนชุมชน และสังคม โดยกระบวนการวิจัย สนับสนุนการวิจัยเพื่อการพัฒนา ทองถิน่ อยางยัง่ ยืน และดำเนินการโดยนัก วิชาการ รวมกับคนในชุมชน และความ รวมมือกับภาคีตางๆ ผานกระบวนการ วิจัยโดยใชปญหาจากพื้นที่เปนตัวตั้ง วัตถุประสงคของยุทธศาสตรนี้คือ 1. ให ชุ ม ชนและสั ง คมมี ค วาม สามารถในการใชการวิจยั เพือ่ แกปญ  หา และพัฒนาทองถิ่น 2. เกิดการรวมคิด รวมทำ และ ร ว มทุ น ในพื้ น ที่ ร ะดั บ ชุ ม ชน ตำบล

จังหวัดและกลุมจังหวัด แนวทางดำเนินการของยุทธศาสตร นี้คือ 1. สนับสนุนการวิจยั เชิงพืน้ ที่ โดย ใชปญ  หาจากคนและชุมชนในพืน้ ที่ เพือ่ แกปญหาและพัฒนาทองถิ่น 2. พัฒนากลไกการทำงานประสาน ทีใ่ ชขอ มูล ความรู ลักษณะเครือขายทาง ปญญาเพือ่ พัฒนาทองถิน่ 3. พัฒนาความรวมมือกับสถาบัน การศึกษาในพืน้ ทีว่ จิ ยั เพือ่ พัฒนาทองถิน่ อยางมีประสิทธิภาพ 4. ยุ ท ธศาสตร ก ารบริ ห ารจั ด การเพื่ อ นำผลงานวิจัยสูการใชประโยชนใน การพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม ของ ประเทศ พัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจยั โดยอาศัยจุดแข็งที่ สกว. มีอยแู ละโอกาส ที่เปดให เพื่อใหผลงานวิจัยมีโอกาสถูก นำไปใชในการพัฒนาทัง้ ในระดับประเทศ ชุมชน และทองถิน่ วัตถุประสงคของยุทธศาสตรนี้คือ 1. ใหนำผลงานวิจยั ไปใชประโยชน ยั ง กลุ ม เป า หมาย ด ว ยกระบวนการที่ เหมาะสม

รูปที่ 4 ยุทธศาสตรการดำเนินงาน


2. เกิดความรวมมือและรวมทุน ระหวางหนวยงาน องคกร และสถาบัน การศึกษา แนวทางดำเนินการของยุทธศาสตร นี้คือ 1. ใหความสำคัญกับการประชาสัมพันธผลงานวิจยั ของ สกว. สกู ลมุ เปา หมายในวงกวางดวยรูปแบบตางๆ 2. พัฒนากลไกสนับสนุนการตอ ยอดงานวิจัยเพื่อใชประโยชน 3. พัฒนาความรวมมือกับหนวย งานตางๆ ทีเ่ กีย่ วของ โดยเนนการรวมคิด รวมทำ และรวมทุน 4. พัฒนาระบบติดตามและประเมินผลลัพธและผลกระทบของการวิจัย ยุทธศาสตรการดำเนินงานทั้ง 4 ประการขางตน แสดงเปนความสัมพันธ กันไดตามรูปที่ 4

การบริหารงานและ การบริการ

โครงสรางการบริหารงานของ สกว. ประกอบดวยผูบริหาร คณะกรรมการ หนวยงานตางๆ และฝายตางๆ ตามรูป ที่ 5 โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ฝ า ยนโยบายชาติ แ ละความ สัมพันธขามชาติ สนั บ สนุ น การวิ จั ย เชิ ง นโยบาย ระดับชาติ (นโยบายสาธารณะ) และ นานาชาติ (ประเด็นขามชาติและนโยบาย ตางประเทศ) เพือ่ เพิม่ ความรู คนควาหา เครือ่ งมือและวิธกี ารทำวิจยั รูปแบบใหมที่ ขามสาขาวิชา และเชื่อมโยงตัวแสดง ระดับตางๆ เขาดวยกัน ทัง้ ในระดับชาติ และนานาชาติ รวมทั้ ง เสนอแนะเชิ ง นโยบายตอหนวยงานตางๆ ของประเทศ

แนวทางการดำเนินงานของฝาย นโยบายชาติและความสัมพันธขามชาติ ดังตัวอยางงานในรูปที่ 6 คือ 1. สร า งกระบวนการวิ จั ย เชิ ง นโยบายทีม่ งุ การมีสว นรวมของรัฐ เอกชน สังคม และนักวิชาการ/นักวิจยั 2. สรางกระบวนการวิจยั ลักษณะ ขามสาขาวิชา และเชื่อมโยงตัวแสดง ระดับตางๆ ทัง้ ในและนอกประเทศ 3. สรางความตอเนื่องเชื่อมโยง ของโครงการวิจัยใหไดความรูเปนภาพ รวมในการตอบปญหาไดอยางรอบดาน 4. สรางเครื่องมือ/กลไก/ชองทาง เผยแพรงานวิจัย และผลักดันใหนำผล วิจัยไปใชประโยชนในรูปแบบตางๆ 2. ฝายเกษตร สนับสนุนการวิจยั เพือ่ ใหความเขม แข็ ง ทางวิ ช าการเกษตร เป น พลั ง ขั บ

รูปที่ 5 โครงสรางการบริหารงาน

336, มีนาคม 2555 105


รูปที่ 6 ตัวอยางงานของฝายนโยบายชาติและความสัมพันธขา มชาติ

เคลื่อนใหเกษตรกรมีอาชีพทางเลือกใน การประกอบอาชีพ เสริมความสามารถใน การแขงขันของภาคเอกชน และเสนอ แนะเชิงนโยบายตอภาครัฐ โดยใชกระบวนการพัฒนาและจัดการงานวิจยั ทีต่ รง ประเด็นบนพื้นฐานความรูในตัวสินคา เกษตรทีเ่ กีย่ วกับคนจำนวนมาก ทัง้ พืชผัก ผลไม สัตว และสัตวน้ำตลอดหวงโซการ ผลิต โดยคำนึงถึงเศรษฐกิจ การคา การ ลงทุน สังคม และสิ่งแวดลอม รวมทั้ง ความปลอดภัยตอผบู ริโภค ทัง้ ในประเทศ และตางประเทศ แนวทางการดำเนินงานของฝาย เกษตรดังตัวอยางงานในรูปที่ 7 คือ 1. สงเสริมและพัฒนากระบวน

การและเทคโนโลยีการผลิต ใหไดผลผลิต คุณภาพ การบริหารจัดการครบหวงโซ อุปทานจากการผลิต หลังการเก็บเกี่ยว/ แปรรูป และเชื่อมโยงสูตลาด โดยเนน สินคาเกษตรไทยที่มีศักยภาพ 2. สงเสริมและยกระดับคุณภาพ ชีวติ ของผผู ลิตและผบู ริโภค จากความรู ดานความมัน่ คงของอาหาร ความปลอดภัย ของอาหาร และสุขภาพ 3. สนับสนุนใหมีการสังเคราะห ผลงานวิ จั ย เพื่ อ ตั ด สิ น ใจเชิ ง นโยบาย ธุรกิจ และอาชีพ 4. สนับสนุนการสรางความรแู ละ นักวิจยั ผานศูนยเครือขายวิจยั และพัฒนา รวมกับสถาบันการศึกษา

รูปที่ 7 ตัวอยางงานของฝายเกษตร

รูปที่ 8 ตัวอยางงานของฝายสวัสดิภาพสาธารณะ

106

336, มีนาคม 2555

3. ฝายสวัสดิภาพสาธารณะ สนับสนุนการวิจยั เพือ่ สรางความรู ที่ นำไปใช ป ระโยชน ด า นสิ่ ง แวดล อ ม ทรัพยากรธรรมชาติ และสวัสดิภาพสังคม เพือ่ สรางฐานความรู ความสามารถ ใน การแกปญ  หา ปองกัน และตอบปญหาใน อนาคต แนวทางการดำเนินงานของฝาย สวัสดิภาพสาธารณะตัวอยางงานในรูปที่ 8 คือ 1. ดำเนินการเปน "ชุดโครงการ และกลุมงานฐานความรูเปน Knowledge Platform" เพื่อตอบคำถามและ เปนความรูสาธารณะ 2. สรางเครือขายในกลมุ โครงการ


รูปที่ 9 ตัวอยางงานของฝายชุมชนและสังคม

เพื่อใหเกิดประชาคมวิจัยในหัวขอที่เปน ความสนใจรวม 3. สนับสนุนใหเกิดความตอเนื่อง จากงานวิจยั เดิม โดยมงุ เปาแผนกลยุทธ และนำไปสูการเผยแพรหรือใชงาน 4. ใหมีกลไกเชิงสถาบันเพื่อเปน เครือ่ งมือกำกับ ใหเกิดการนำผลงานวิจยั ไปใช 5. เชื่อมโยงประเด็นและความรู จากงานวิจัยเพื่อตอบคำถามเชิงยุทธศาสตรและการพัฒนาพื้นที่ 4. ฝายชุมชนและสังคม สนับสนุนการวิจัยเพื่อเสริมสราง การเรียนรู เพิม่ ขีดความสามารถจัดการ ตนเองของชุมชน รวมถึงจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม การแกปญ  หา ของพื้นที่ไดตรงตามความตองการของ ประชาชน ควบคูกับสนับสนุนการวิจัย เพื่ อ สร า งความเปลี่ ย นแปลงในระบบ สรางกลไกขับเคลือ่ นการเปลีย่ นแปลงใน พื้นที่โดยใชความรูเปนเครื่องมือ แนวทางการดำเนินงานของฝาย ชุมชนและสังคมตัวอยางงานในรูปที่ 9 คือ

1. มีการจัดการเปน “ชุดโครงการ” 2. เนนการวิจัยลักษณะสหสาขา ใหเกิด “ภาคีแหงการสรางสรรคปญ  ญา” คือ การทำงานทีเ่ นนกระบวนการมีสว น รวมของภาคีตางๆ ทั้งนักวิจัยและผูใช ประโยชนจากการวิจัยคือ หนวยงานรัฐ เอกชน ประชาชน ชุมชน สือ่ มวลชน รวม คิด รวมทำ และตรวจสอบการทำงานวิจยั 3. สงเสริมใหนกั วิชาการ รวมแลก เปลีย่ นความรแู ละขอมูล ขาวสาร ตลอด จนรวมงานกับคนในทองถิน่ โดยมงุ เนน การวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบการทำงานที่ สามารถนำไปปรับใชในพื้นที่อื่นได 5. ฝายอุตสาหกรรม สนั บ สนุ น การวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นา อุตสาหกรรมทีผ่ ลประโยชนกระจายอยใู น ประเทศ โดยเนนการผลิตและบริการทีม่ ี การใชทรัพยากรในประเทศสูง เพราะ จะกระจายผลประโยชนของการผลิตใน ทุกระดับของประเทศ เพื่อใหเกิดการ กระจายเศรษฐกิจและใหอุตสาหกรรม ไทยแขงขันไดในเวทีโลก แนวทางการดำเนินงานของฝาย อุตสาหกรรมตัวอยางงานในรูปที่ 10 คือ

1. สนับสนุนใหงานวิจยั สรางความ เขมแข็งใหแก SMEs และสามารถเชือ่ ม โยงเศรษฐกิจจุลภาคกับเศรษฐกิจ มหภาค 2. สรางความสามารถแขงขันได ดวยผลิตภัณฑใหมและรูปแบบใหมที่มี เอกลั ก ษณ ข องตนเอง พั ฒ นาคนให อุตสาหกรรม โดยการทำวิจยั ณ สถาน ทีผ่ ใู ช ซึง่ รวมกับมหาวิทยาลัยและสถาบัน วิจัยตางๆ 6. ฝายวิชาการ ฝายวิชาการมีภารกิจหลัก 2 ดาน คือ 1. สนับสนุนการสรางนักวิจยั อาชีพ ทีค่ วามสามารถสูง เพือ่ สรางปญญา และ ตีพิมพผลงานในวารสารวิชาการระดับ นานาชาติ สรางนักวิจยั รนุ ใหมและสราง ความเขมแข็งของชุมชนวิจยั รวมทัง้ เสริม ใหเกิดเครือขายการทำงานวิจัยที่มีประสิทธิภาพสูง 2. สรางความรใู หมและสนับสนุน การสรางงานวิจยั พืน้ ฐานทัว่ ไป และเนน งานวิ จั ย พื้ น ฐานแบบมี ทิ ศ ทางให เ กิ ด ความรูใหมที่เปนพื้นฐานตอการพัฒนา ประเทศ โดยมีผลงานตีพิมพในวารสาร

รูปที่ 10 ตัวอยางงานของฝายอุตสาหกรรม

336, มีนาคม 2555 107


รูปที่ 11 ตัวอยางงานของฝายวิชาการ

วิชาการนานาชาติและจดสิทธิบัตร แนวทางการดำเนินงานของฝาย วิชาการตัวอยางงานในรูปที่ 11 คือ 1. โครงการวิจัยแบบกำหนดทิศ ทางที่สอดคลองกับปญหาของประเทศ 2. โครงการวิจยั แบบไมกำหนดทิศ ทาง ในสาขาที่ ส ง เสริ ม เป น พิ เ ศษคื อ ฟสิกส คณิตศาสตร วิศวกรรมศาสตร และสังคมศาสตร/มนุษยศาสตร 3. โครงการวิจยั แบบไมกำหนดทิศ ทาง โดยความคิดริเริ่มของนักวิจัยเอง และไมจำกัดสาขาวิชา 7. ฝายวิจัยเพื่อทองถิ่น มุงเนนเพิ่มขีดความสามารถของ ชุมชนทองถิ่น ใหคนในทองถิ่นใชประโยชนจากงานวิจยั ดวยการรวมวิจยั ทุกขัน้ ตอน ตั้งแตวิเคราะหชุมชนเพื่อกำหนด คำถามวิจยั ทบทวนทุนเดิมในพืน้ ที่ ออก แบบการวิจยั และวางแผนปฏิบตั กิ ารวิจยั เก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล ทดลองปฏิบัติจริงเพื่อตอบคำถามวิจัย หรือแกปญ  หาในพืน้ ทีว่ จิ ยั ประเมินและ สรุปบทเรียน ใหเกิดการเรียนรรู ะหวางนัก

วิจยั ชาวบาน คนในชุมชน นักวิชาการ ขาราชการ นักพัฒนา และผทู รงคุณวุฒิ แนวทางการดำเนินงานของฝาย วิจัยเพื่อทองถิ่นตัวอยางงานในรูปที่ 12 ซึง่ มี 2 รูปแบบคือ 1. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมี สวนรวมของคนในทองถิน่ เปนงานวิจยั ทีม่ งุ เนนใหชาวบานใชงานวิจยั เปนเครือ่ ง มือตามแนวคิดและวิธีการวิจัยเพื่อทอง ถิ่น ทั้งในเชิงเนื้อหาและกระบวนการ ภายใตหลักการวา “เปนปญหาของชาว บาน ชาวบานเปนทีมวิจยั และมีปฏิบตั -ิ การเพื่อแกปญหา” โดยใชระยะเวลา ดำเนินการ 1-2 ป 2. การวิจยั เพือ่ สรางทางเลือกของ ทองถิน่ เปนงานวิจยั ใหทอ งถิน่ มีทางเลือก ที่สอดคลองและเหมาะสมกับความตอง การและศักยภาพของทองถิ่น และกลุม คนเปาหมายหลายระดับ โดยใชระยะ เวลาดำเนินการ 8-10 เดือน นอกจากนี้ สกว. ยังมี “โครงการ ปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.)” ดัง ตัวอยางโครงการในรูปที่ 13 เพื่อเพิ่ม

รูปที่ 12 ตัวอยางงานของฝายวิจยั เพือ่ ทองถิน่

108

336, มีนาคม 2555

จำนวนนักวิจัยระดับปริญญาเอก ที่จะ สรางความเขมแข็งใหระบบวิจยั และเพิม่ ความสามารถในการแขงขันของประเทศ ทั้ ง นี้ วั ต ถุ ป ระสงค ห ลั ก ของโครงการ ปริญญาเอกกาญจนาภิเษกมีดงั นี้ 1. ผลิตนักวิจัยระดับปริญญาเอก และผลงานวิจัยใหไดมาตรฐานสากล 2. สรางความเขมแข็งใหแกบณ ั ฑิตศึกษาในประเทศใหไดมาตรฐานสากล 3. ชวยประหยัดเงินตราในการให ทุนการศึกษาปริญญาเอกเพือ่ ไปศึกษาใน ตางประเทศ 4. สรางความรวมมือระหวางนัก วิจัยและสถาบันการศึกษาและวิจัยทั้ง ภายในและภายนอกประเทศ

ลักษณะงานวิจัยและ ทุนวิจัย

สกว. แยกเปนหมวดหมงู านวิจยั ไว

ดังนี้ 1. วาระแหงชาติ สนับสนุนการ วิจยั เพือ่ พัฒนาการจัดการขอมูล ความรู


รูปที่ 13 ตัวอยางงานของโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

และผรู ทู เี่ กีย่ วกับการกำหนดนโยบายหรือ ทางเลื อ กในการพั ฒ นาที่ ก ระทบต อ ประชาชน หรืองานทีส่ รางพืน้ ทีใ่ หมเพือ่ เชือ่ มโยงคนจากหนวยงานทีเ่ กีย่ วของมา ทำงานร ว มกั น เพื่ อ ตอบคำถามของผู กำหนดนโยบาย 2. อุตสาหกรรม สนับสนุนการ วิ จั ย และพั ฒ นาและวิ ศ วกรรม เพื่ อ เปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมขนาดกลาง และขนาดยอม ใหเห็นวางานวิจัยและ พัฒนาและวิศวกรรมเปนการลงทุนทีค่ มุ คาและสรางความสามารถในการแขงขัน 3. เกษตร สนับสนุนการวิจยั และ พัฒนาดานการเกษตรเพือ่ ใชประโยชนได ตามความตองการของกลมุ ผเู กีย่ วของคือ เกษตรกร ผูประกอบการเอกชน และผู กำหนดนโยบาย โดยเนนผลิตภัณฑจาก การเพาะปลู ก หรื อ เพาะเลี้ ย ง และมี ศักยภาพสูงทางเศรษฐกิจหรือมีผลกระทบ ตอคนกลุมใหญในสังคม 4. สุขภาพ สนับสนุนการจัดการ เชิงรุกใหเกิดการวางแผน ทำวิจยั และใช ประโยชน จ ากการวิ จั ย ในการกำหนด นโยบาย พัฒนาและใชเทคโนโลยีปรับ เปลี่ยนเชิงระบบและความรู ตลอดจน พฤติกรรมประชาชนที่เกี่ยวกับสุขภาพ 5. สวัสดิภาพ สนับสนุนการสราง ความรูในการพัฒนาความสามารถและ การจัดการของภาครัฐ ในการปองกัน หายนะภัยจากธรรมชาติและมนุษย 6. สภาวะแวดล อ มทางสั ง คม สนับสนุนการสรางความรูเกี่ยวกับการ

พัฒนาสภาวะแวดลอมทางสังคม เพื่อ สรางความเขาใจ สำนึก ความตื่นตัว และการมีสวนรวมของประชาชนและ สาธารณะ ใหสอดคลองกับทองถิน่ 7. ระบบการเมือง/ปกครอง สนับ สนุนการสรางความรูเพื่อพัฒนาระบบ การเมือง การปกครองและการบริหาร จัดการภาครัฐ ทัง้ สวนกลางและทองถิน่ โดยส ว นกลางเน น การปรั บ โครงสร า ง ระบบ กฎหมาย สวนระดับทองถิ่นเนน การจัดระบบ กลไกและสรางความเขาใจ ในการบริหารจัดการของทองถิน่ 8. ทรัพยากร สนับสนุนการสราง ความรคู วามเขาใจเกีย่ วกับฐานทรัพยากร ภูมปิ ญ  ญา และการเปลีย่ นแปลงทีม่ ผี ลตอ การอนุรกั ษและใชทรัพยากร เพือ่ พัฒนา ระบบกลไกและเครื่องมือในการจัดการ ฐานทรัพยากร 9. สิง่ แวดลอมและพลังงาน สนับ สนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสิ่งแวดลอมและพลังงาน โดยถือวาพลังงาน คือปจจัยสำคัญในการผลิตและเศรษฐกิจ สวนสิ่งแวดลอมคือปจจัยสำคัญในการ ดำรงชีวิตและธรรมชาติ 10. ความสัมพันธระหวางประเทศ สนั บ สนุ น การสร า งความรู แ ละ กระบวนการ พัฒนากระบวนการเชื่อม โยงผูมีสวนรวมในความสัมพันธระหวาง ประเทศ ตลอดจนสรางบุคลากรทีม่ คี วาม รคู วามเขาใจในความสัมพันธระหวางรัฐ และขามชาติ 11. การทองเทีย่ ว สนับสนุนการ

สรางความรเู พือ่ พัฒนาโครงสรางและรูป แบบการทองเที่ยว เพื่อกำหนดนโยบาย และแผนการทองเทีย่ ว โดยเชือ่ มโยงกับ การสรางความรขู องทองถิน่ ในดานประวัติศาสตร วัฒนธรรม ชีวภาพ โบราณ สถาน โบราณวัตถุ รวมทัง้ การจัดการการ ทองเที่ยวโดยชุมชน 12. สภาวะแวดลอมทางเศรษฐกิจ สงเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจและ การจัดการทรัพยากรรวมกันของคนใน พืน้ ที่ โดยผานเครือขายความสัมพันธทมี่ ี ฐานอยูบนโครงสรางทางสังคมเดิมบวก กับการปรับเปลี่ยนสมัยใหม 13. กลมุ คนเปาหมาย สนับสนุน การจัดการขอมูล ความรู และผรู ทู มี่ รี ะบบ สะสมความรูตอเนื่องของกลุมเปาหมาย เฉพาะคือ เด็ก เยาวชน คนวัยทำงาน ผู สูงอายุ คนจน คนดอยโอกาส โดยเนน การเฝาระวังและติดตามความเปลี่ยน แปลงจากมาตรการของภาครัฐที่กระทบ ตอกลมุ เปาหมาย 14. องคความรูใหม สนับสนุน การสรางงานวิจยั พืน้ ฐาน โดยเฉพาะแบบ มีทศิ ทางทีเ่ กิดความรใู หมทเี่ ปนพืน้ ฐานตอ การพัฒนาประเทศ และสงเสริมงานวิจยั และพัฒนาและงานวิจัยประยุกต 15. นวัตกรรมสถาบัน พัฒนารูป แบบการจัดกระบวนการเรียนรูในการ พั ฒ นาคุ ณ ลั ก ษณะและศั ก ยภาพด า น ตางๆ สำหรับเยาวชน 16. นักวิจยั รนุ เยาว สรางนักวิจยั ระดับนักเรียน ดวยการพัฒนารูปแบบ

336, มีนาคม 2555 109


รูปที่ 14 การเผยแพรงานวิจัยสูสังคม

การจัดกระบวนการเรียนรูในการพัฒนา คุ ณ ลั ก ษณะและศั ก ยภาพด า นต า งๆ สำหรับเยาวชน ในดานของทุนวิจยั นัน้ สกว.ไดแบง ทุนวิจยั ไวคอื ทุนวิจยั เชิงวิชาการ ทุนวิจยั และพัฒนา ทุนวิจัยเพื่อพัฒนาทองถิ่น และทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก

การเผยแพร งานวิจัยสูสังคม

นอกจาก สกว. มีภารกิจหลักในการ สรางความรู สรางนักวิจัย และสราง ระบบวิจยั แลว สกว. มีการสือ่ สารผลงาน วิจยั สกู ลมุ เปาหมาย รวมถึงพัฒนาเครือ่ ง มือใหกลุมเปาหมายเขาถึงงานวิจัยในรูป

แบบที่เขาใจงาย เพื่อใหผูใชประโยชน นำไปปรับใชหรือตอยอดได โดยนำเสนอ หลายรูปแบบตามรูปที่ 14 ดังนี้ 1. สื่อสารมวลชน 2. เว็บไซต สกว. www.trf.or.th 3. ฐานขอมูล "BIODATA" (http:// biodata.trf.or.th) 4. หองสมุดอิเล็กทรอนิกส “Elibrary” (http://elibrary.trf.or.th) 5. Weblog : http://researchers.in.th 6. วารสารวิจยั เพือ่ การพัฒนาเชิง พื้นที่ (Area Based Development Research Journal) 7. สือ่ สิง่ พิมพเพือ่ เผยแพรกจิ กรรม และผลงานวิจัย

8. หนังสือและสือ่ สิง่ พิมพวชิ าการ กลาวไดวา สกว. ไดดำเนินการตาม พันธกิจอยางมีประสิทธิภาพทำใหมีผล งานวิจัยเผยแพรออกมาเปนจำนวนมาก ซึง่ ชวยใหเปนแหลงสืบคนขอมูลและอาง อิงการวิจยั ไดอยางมีคณ ุ ภาพ อีกทัง้ เปน แหลงพัฒนาและสงเสริมทักษะของนัก วิจยั ใหมคี ณ ุ ภาพมากยิง่ ขึน้ ซึง่ ถือวาเปน ประโยชนตอประเทศและคุณภาพชีวิต ในสังคม

ขอมูล สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) The Thailand Research Fund (TRF) ที่ตั้ง ชัน้ 14 เอส เอ็ม ทาวเวอร เลขที่ 979/17-21 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2278 8200 โทรสาร 0 2298 0476 เว็บไซต www.trf.or.th กิจกรรม สงเสริม สนับสนุน และเผยแพรผลงานวิจยั

110

336, มีนาคม 2555

ศ.ดร.สวัสดิ์ ตันตระรัตน ผอู ำนวยการสำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจยั


กองบรรณาธิการ

10 ผลงานเดนของ สวทช. ปี 2554 สํ า นักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ได คั ด เลื อ ก 10 ผลงานเด น ด า นวิ ท ยาศาสตร ข องไทย ที่ เ กิ ด จากการ วิ จั ย และพั ฒ นาโดยนั ก วิ ท ยาศาสตร ไ ทยในรอบป 2554 ทีพ่ รอมใชงานในระดับกวาง และสรางผลกระทบทีด่ ตี อ เศรษฐกิจ ของประเทศ ดังนี้

1. เทคโนโลยีสงั เคราะหเสียงพูด "วาจา เวอรชั่น 6.0" เปนโปรแกรมสังเคราะหเสียงพูด ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ โดยเนคเทค สามารถ เปลงเสียงอานใหไดยนิ ได และมีบริการ PostVoice ลงบนเฟซบุก และทวิตเตอร ทําใหเฟสบุก และทวิตเตอร สามารถเปลงเสียงอานให ไดยนิ ซึง่ เปนทางเลือกใหมในโซเชียลเน็ตเวิรก และสรางบรรยากาศ ใหมใหเกิดขึน้ บนโลกออนไลน

2. วัคซีนลูกผสมเชื้อเปน ออกฤทธิ์เพื่อปองกันโรคไข

เลือดออกจากไวรัสเด็งกี่ ทัง้ 4 สายพันธุ ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ เปนครัง้ แรก ของโลก โดยไบโอเทค และคณะนักวิจยั จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม และ มหาวิทยาลัยมหิดล ทีว่ จิ ยั และพัฒนาตนแบบวัคซีนลูกผสม เชื้อเปน ออกฤทธิ์ปองกันไขเลือดออก ที่เกิดจากการไดรับเชื้อ ไวรัสเด็งกี่ 4 สายพันธุครั้งแรกของโลก โดยไดลงนามให บริษัท ไบโอเนทเอเชีย รับไปพัฒนาตอเปนวัคซีนปองกันไขเลือดออก เพื่อใชในอนาคตอันใกล

3. ถุงเพาะชํายอยสลายไดทางชีวภาพ (BIOpro) ชวยลดปริมาณขยะ เพิ่มโอกาสทางธุรกิจใหเกษตรกร ผลงาน การวิจัยและพัฒนาโดยทีมวิจัยจากเอ็มเทค เปนถุงเพาะชํา ที่ทําจากแปงมันสําปะหลัง โดยปรับปรุงคุณสมบัติของแปง สูตรผสม สามารถนําไปใชทดแทนถุงเพาะชําที่ผลิตจากพลาสติ ก ป โ ตรเคมี ซึ่ ง ย อ ยสลายได ย ากด ว ยการให ค วามสํ า คั ญ กับระบบนิเวศน ถุงเพาะชํายอยสลายไดทางชีวภาพ เปนแนว ทางหนึ่งของการจัดการเชิงรุกเพื่อลดปริมาณขยะพลาสติก ลดคาใชจายในการกําจัดขยะ และปองกันปญหาสิ่งแวดลอม ต า งๆ โดยสามารถนําไปปลูกพรอมกับตนกลาในแปลงปลูกได ทันทีโดยไมตอ งฉีกถุง จึงไมกระทบกระเทือนตอระบบรากของ พืช และจะยอยสลายไดเองตามธรรมชาติภายในระยะเวลาที่ เหมาะสมของพื ช แต ล ะชนิ ด ซึ่ ง ใช ไ ด กั บ ทั้ ง พื ช ยื น ต น และ พื ช ล ม ลุ ก

336, มีนาคม 2555 111


4. เอนไซมทนดางจากปลวก สําหรับฟอกเยื่อกระดาษ (ENZbleach) ลดใชพลังงาน ลดตนทุน รักษสิ่งแวดลอม เป น ผลงานการวิ จั ย และพั ฒ นาโดยที ม วิ จั ย จากไบโอเทค เปนเอนไซมทไี่ ดจากแบคทีเรียในลําไสของปลวก นํามาดัดแปลง ใชกบั อุตสาหกรรมฟอกเยือ่ กระดาษ โดยนําไปใชในการฟอกเยือ่ กระดาษ โดยไมตอ งปรับคาพีเอชในกระบวนการ ทําใหไมมผี ลตอ ความแข็งแรงของกระดาษ และยังใชเวลาในการผลิตสั้นเพียง 1-2 วันเทานั้น มีประสิทธิภาพเหนือกวาเอนไซมทางการคาที่มี ใชกันอยูในปจจุบัน สามารถลดการใชพลังงาน ลดตนทุน และ ชวยรักษาสิ่งแวดลอมดวย

5. แผนกรองอากาศมัลติฟงกชั่น (iGUARD Nano) ยกระดับคุณภาพชีวิตจากมลภาวะทางเคมีและชีวภาพ ผล งานการวิจัยและพัฒนาโดยทีมวิจัยจากนาโนเทค มีคุณสมบัติ สามารถใชงานไดอยางหลากหลาย เนือ่ งจากมีคณ ุ สมบัตฆิ า เชือ้ แบคทีเรีย เชื้อรา กําจัดแกส หรือไอระเหยของสารเคมี และ กําจัดกลิ่นตางๆ ได ดวยการออกแบบแผนกรองอากาศใหเปน แบบอเนกประสงค (iGUARD nano flexi) ทําใหสามารถตัด ตามขนาดที่ตองการได ชวยในการฆาเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อ ราไดตรงตามความตองการไดมากขึน้ รวมทัง้ ใชนาโนเทคโนโลยี ในการพัฒนากระบวนการเคลือบ (Nano Coating) สําหรับการ ผลิตแผนกรองอากาศ เพือ่ ใชในการบําบัดอากาศ ทัง้ ทีอ่ ยูใ นทีพ่ กั อาศัย สถานที่สาธารณะ โรงงานอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

112

336, มีนาคม 2555

6. เซนเซอร อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส สํ า หรั บ ระบบวั ด ความ เปนกรดเปนดางของนํา้ และเเสดงแผนที่อัตโนมัติ (i-Sensor) ตรวจคุ ณ ภาพนํ้ า ได แ ม น ยํ า พร อ มแสดงจุ ด ที่ ต รวจ บน Google Earth ได ทั น ที ผลงานการวิ จั ย และพั ฒ นา โดยที ม วิ จั ย จากศู น ย เ ทคโนโลยี ไ มโครอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (TMEC) ในสั ง กั ด เนคเทค เป น เครื่ อ งมื อ ที่ พั ฒ นาขึ้ น จาก ไมโครเซนเซอร เพื่อนํามาใชในการวัดระดับคาความเปนกรด ดางในของเหลวหรือคาพีเอช (pH) มีคุณภาพตามมาตรฐาน สากล แตมีราคาถูก เนื่องจากสามารถผลิตขึ้นเองในประเทศ เมื่อทําการตรวจคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าแลว ระบบจะแสดงคาที่ ไดจากเซนเซอรแบบเรียลไทมบนจอคอมพิวเตอร รวมถึงเชื่อม ตอขอมูล และตําแหนงที่ตั้งใหแสดงผลบน Google Earth ไดดวยเทคโนโลยีไอเซนเซอร ถือเปนทางเลือกในการตรวจวัด คาความเปนกรดดางในแหลงนํ้าตางๆ ทดแทนการตรวจคา แบบเดิมที่ไดผลไมแมนยํา หรือมีขนาดใหญไมเหมาะกับการใช งานในภาคสนาม

7. ระบบสแตนบายแบบไมใชพลังงาน (Zero-watt Standby) เสมือนถอดปลั๊กสายไฟ หยุดสูญเสียพลังงาน ไฟฟา ผลงานการวิจัยและพัฒนาโดยทีมวิจัยจากเนคเทค เปน เทคโนโลยีการรับ-สงพลังงานแบบไรสาย ควบคูไปกับการสง สัญญาณควบคุมของรีโมตคอนโทรล เพื่อใชในการควบคุมการ เปดปดของเครือ่ งใชไฟฟา ซึง่ สามารถพัฒนาใหฝง หรือควบรวม เขาไปในอุปกรณไฟฟาได และมีตนทุนไมมากนัก ชวยหยุดการ สูญเสียพลังงานไปกับเครือ่ งใชไฟฟาทีม่ โี หมดสแตนบายสถานะ พรอมใชงาน เชน โทรทัศน เครื่องเลนดีวีดี เครื่องเสียง และ


เครือ่ งปรับอากาศทีใ่ ชรโี มตในการเปดปด เปนตน ระบบดังกลาว เปรียบเสมือนการถอดปลั๊กอุปกรณไฟฟา โดยผูใชงานไมตอง ไปกดปุมเปดปดที่ตัวอุปกรณไฟฟาเพื่อใหเริ่มทํางาน สําหรับ การใชงานรวมกับอุปกรณไฟฟาตางๆ ที่ใชรีโมตคอนโทรลทําได โดยงาย เพียงเชื่อมตอระบบสแตนบายแบบไมใชพลังงานเขา กับเครื่องใชไฟฟา และใชรีโมตคอนโทรลสงพลังงานในการ ควบคุมการเปด

8. กางเกงแกว (Magic pants) ตนทุน 100 บาท ออกแบบ โดยเอ็มเทค คําวา “แกว” หมายถึงความใส เปนกางเกงที่มีราคา ถูก ใชสะดวก บรรจุในหอเล็ก/เบาจนสามารถพกพาติดตัวได ตลอดเวลา ในราคาตํ่าไมคิดคาใบอนุญาตการขอใชทรัพยสิน ทางปญญา และมีการคัดเลือกชนิดของพลาสติกที่เหมาะสมกับ การใชงาน มีคุณสมบัติเหนียว บาง และเนื้อสัมผัสนิ่มคลายผา รวมทั้งการศึกษาวิธีการและรูปแบบของการเชื่อมพลาสติก แบบตางๆ เพื่อเปรียบเทียบความคงทนในการใชงานในระยะ ยาว ซึ่งชื่อ “กางเกงแกว” เปนเครื่องหมายการคาจดทะเบียน ของ สวทช.

9. ระบบบําบัดนํ้าเสีย “เอ็นคา” (nCA) โดยศูนย เทคโนโลยี โ ลหะและวั ส ดุ แ ห ง ชาติ (เอ็ ม เทค) และกรม วิ ท ยาศาสตร บ ริ ก าร ร ว มกั น พั ฒ นานวั ต กรรมเทคโนโลยี บําบัดนํ้าเสีย “เอ็นคา”(nCA) และทดสอบในหมูบานทรงพล

อ.ลําลูกกา ประสบผลสําเร็จ ทําใหนํ้าใส หายเหม็น ออกซิเจน สู ง และมี ผ ลทําใหยุงลดลง ระบบเอ็นคาประกอบดวยสาร จับตะกอน “เอ็นเคลียร” (nCLEAR) เพือ่ ทําใหนาํ้ ใสไดอยางรวดเร็ว และครือ่ งเติมอากาศขนาดเล็ก“เอ็น-แอร”(nAIR) ซึง่ ดัดแปลง จากเครือ่ งสูบนํา้ ไดรโวใหมปี ระสิทธิภาพในการเพิม่ ฟองอากาศลง ในนํา้ ซึง่ สารจับตะกอนเอ็น-เคลียร ทํามาจากวัสดุจากธรรมชาติ เชน เศษไม ผงถาน ไมมีสารเคมี หรือสารพิษตกคางหรือ โลหะหนัก

10. ระบบคํานวณคารบอนฟุตพริ้นท โดยเอ็มเทค จัด ทําระบบคํานวณคารบอนฟุตพริ้นทใหกับประเทศไทย ชวย ใหอุตสาหกรรมในประเทศไทยมีความพรอมในการคํานวณ คารบอนฟุตพริ้นทของผลิตภัณฑตางๆ เพื่อเปนการเพิ่มขีด ความสามารถในการแข ง ขั น ของประเทศในยุ ค โลกาภิ วั ต น การไดมาซึ่งการคํานวณที่นานาชาติยอมรับ (และใชซื้อขาย คารบอนเครดิตได) เกิดจากการจัดทําระบบการจัดการฐาน ขอมูลวัฏจักรชีวิตของวัสดุในประเทศไทย (Thai Life Cycle Inventory Data Management System :ThaiLCD) และการ พัฒนาซอฟตแวรสาํ เร็จรูป เพือ่ ประเมินปริมาณกาซเรือนกระจก ของไทย สองอยางรวมกัน นับเปนระบบและซอฟตแวรดาน การประเมิ น วั ฏ จั ก รชี วิ ต รายแรกของประเทศ และภู มิ ภ าค อาเซียน ถือเปนการเตรียมความพรอม ที่จะนําประเทศไทยสู ระบบเศรษฐกิจแบบคารบอนตํ่า ซึ่งประเทศในสหภาพยุโรป กําลังใหความสําคัญ ผลงานที่นักวิจัยไทยไดคนควาและพัฒนาขึ้นมานั้น ไม เพียงแตเปนการพัฒนาวงการวิจัยและวิทยาศาสตรไทยเทานั้น แตยังเปนการพัฒนาความคิดและตอยอด เพื่อจะนําการวิจัย เหลานั้นไปปรับใชและประยุกตใชกับประชาชนทั่วไป รวมถึง ภาคเอกชนที่จะนําความคิดเหลานั้นไปตอยอดและจําหนาย ภายใตงานวิจัยที่เปนความคิดของคนไทยอีกดวย ซึ่งแสดงให เห็นวาฝมือคนไทย ไมแพชาติใดในโลก z

336, มีนาคม 2555 113


¯ ª เรื· อ่ z{¥t t งจากปก

¦ © ² ¸vจำกั}¾§ดv¦ บริษทั ไฟฟาอุ © ตสาหกรรม

อุปกรณและเครือ่ งมือวัด สำหรับกระบวนการผลิตแบบอัตโนมัติ

กลมุ เครือ่ งมือวัดทางไฟฟาและทางกล, อุปกรณอตั โนมัต,ิ อุปกรณควบคุม, เครือ่ งมือวัดและควบคุมภาคสนาม, อุปกรณเบ็ดเตล็ด

ริษัท ไฟฟาอุตสาหกรรม จำกัด ตัวแทนจำหนาย และ นำเขาสินคาหลากหลายแบรนดชั้นนำอยางเปนทางการ ทางดานเครื่องมือวัดคุม และอุปกรณอั ต โนมั ติ ที่ ใ ช ใ นงาน อุตสาหกรรม กอตัง้ ขึน้ ตัง้ แตป พ.ศ. 2458 โดยมีชอื่ เดิมวา หางหนุ สวน จำกั ด จี้ เ ซ ง ฮวด ตั้ ง อยู บ นถนนเยาวราช ดำเนิ น กิ จ การ มาจนกระทัง่ ป พ.ศ. 2520 จึงไดเปลีย่ นชือ่ เปน บริษทั ไฟฟา จีเ้ ซงฮวด และในป พ.ศ. 2534 กิจการเจริญรงุ เรือง มีการขยับ ขยายพืน้ ทีส่ ำนักงาน และรับพนักงานเขาทำงานเพิม่ จึงไดเปลีย่ น ชือ่ อีกครัง้ เปน บริษทั ไฟฟาอุตสาหกรรม จำกัด และใชชอื่ นีม้ า จนถึ ง ป จ จุ บั น โดยได ย า ยสำนั ก งานมาที่ ถ นนรางน้ำ เมือ่ พ.ศ. 2539 กวา 70 ป แหงความสำเร็จ ดวยนโยบายทีม่ งุ เนนจำหนาย สินคาทีม่ คี ณ ุ ภาพ พรอมทีมงานดานเทคนิคทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ ในการใหคำปรึกษา และการบริการทีเ่ ปนเลิศ ทัง้ ดานความตอง การของลูกคา และรวมแกปญหาที่เกิดขึ้น รวมถึงการพัฒนา อยางตอเนือ่ ง ทำให บริษทั ไฟฟาอุตสาหกรรม จำกัด เปนผู นำดานการจัดจำหนายสินคาเกีย่ วกับ Factory and Process Automation ทีไ่ ดรบั การยอมรับจากลูกคามากมาย ทัง้ ในประเทศ และตางประเทศ สินคาทีท่ างบริษทั ฯ จัดจำหนายแบงออกเปน 5 กลมุ ใหญๆ ดังตอไปนี้ 1. กลุมเครื่องมือวัดทางไฟฟาและทางกล 2. กลุมอุปกรณอัตโนมัติ 3. กลุมอุปกรณควบคุม 4. กลุมเครื่องมือวัดและควบคุมภาคสนาม 5. กลุมอุปกรณเบ็ดเตล็ด

114

336, มีนาคม 2555

นอกเหนือจากกลมุ สินคาทัง้ 5 กลมุ ขางตนแลว ปจจุบนั ทางบริษทั ฯ ยังไดจดั ตัง้ ทีมงานทางดานระบบ (System integration) ทีจ่ ะนำเอาสินคาทุกๆ อยางทีท่ างบริษทั ฯ จัดจำหนาย มารวมเปนระบบ และ Solution ใหแกลกู คา สำหรับรายละเอียดของสินคาทัง้ 5 กลมุ จะไดกลาวในราย ละเอียดตอไป

1

เครื่องมือวัดทางไฟฟาและทางกล

สินคาในกลุมเครื่องมือวัดทางไฟฟาและทางกล (Measuring Instrument) จะแบงออกเปน 2 สวนใหญๆ คือ เครือ่ งมือ วัดทางดานไฟฟา และเครือ่ งมือวัดทางกล โดยตัวสินคาจะเนน การวัดทัง้ ในสวนเกีย่ วของกับการผลิตโดยตรง และสวนทีเ่ กีย่ ว ของกับสิง่ สาธารณูปโภค ทีส่ ง เสริมดานการผลิต

Hioki

Hioki เปนเครือ่ งมือวัดสัญญาณไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส จากประเทศญี่ ปุ น เหมาะสำหรั บ อุ ต สาหกรรมทุ ก ประเภท ประกอบไปดวยเครือ่ งวิเคราะหคณ ุ ภาพทางไฟฟา, เครือ่ งบันทึก คาทางไฟฟา, เครื่องบันทึกอุณหภูมิ, อุปกรณทางดานความ ปลอดภัย และอุปกรณวดั ภาคสนาม 1. Recorder เครื่องมือวัดสัญญาณทางไฟฟา วัดได ทัง้ สัญญาณแอนะล็อก และดิจติ อล มีความสามารถในการบันทึก ขอมูลดวยความเร็วสูง เหมาะสำหรับงานวิจยั และพัฒนา (R&D) และงานบำรุงรักษาในระบบไฟฟา และเครือ่ งจักร • รนุ แนะนำ : 8847, 8870-20 และ 8430-20 2. Power เครือ่ งมือวัดพลังงานไฟฟา คุณภาพไฟฟา และ ประสิทธิภาพไฟฟา แบงเปน 3 หมวดยอย


¯ ª เรื· อ่ z{¥t t งจากปก 1. วัดพลังงานไฟฟา และคุณภาพไฟฟา เหมาะกับงานดาน อนุรักษพลังงานและวิเคราะหระบบไฟฟา • รนุ แนะนำ : 3169-20, 3197 และ 3196 2. วัดประสิทธิภาพของเครื่องใชไฟฟา ไมวาจะเปน ตเู ย็น เครือ่ งซักผา และ TV มีทงั้ วัดแบบ 3 เฟส และ 1 เฟส • รนุ แนะนำ : 3331, 3332, และ 3334 3. วัดประสิทธิภาพของมอเตอร และอินเวอรเตอร • รนุ แนะนำ : 3390 3. Electronic เครื่ อ งมื อ วั ด ความตานทาน (LCR) เครือ่ งสอบเทียบสัญญาณ และทดสอบระบบมาตรฐานความ ปลอดภัย เหมาะสำหรับอุตสาหกรรมทำชิน้ สวนอิเล็กทรอนิกส และทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยในเครือ่ งใชไฟฟา • รนุ แนะนำ : 3541, 3522-50, และ 3159 4. Environment เครือ่ งมือวัดสิง่ แวดลอม ไมวา จะเปน อุณหภูมิ แสง และเสียง เหมาะสำหรับกลุมลูกคาที่ทำงาน ดานความปลอดภัย (Safety) ในโรงงาน • รนุ แนะนำ : 3419-20, 3423, และ FT3432 5. Filed Instrument เครื่องมือวัดสำหรับงานบำรุง รักษา ไมวา จะเปนพวกแคลมปมเิ ตอร, มัลติมเิ ตอร และพวกเม กโอหม • รนุ แนะนำ : 3280-10, 3244-50 และ 3453-01

Kyowa

บริษทั Kyowa Electronic Instrument Co., Ltd. เปนผู ผลิตสเตรนเกจรายแรกในประเทศญี่ปุน ซึ่งในปจจุบันเปน ผนู ำดานเครือ่ งมือวัดและทดสอบทีเ่ นนความแมนยำและความ ละเอียดสูง อาทิ โหลดเซลล, ทรานสดิวเซอรความเรง, ทราน สดิวเซอรแรงบิด, ทรานสดิวเซอรแรงดัน, ทรานสดิวเซอรการเคลือ่ น ยาย (Displacement) สามารถใชงานรวมกับ Instrument amplifier, Strain amplifier, Data loggers, เรคอรเดอร (Recorders) ทัง้ แบบ ไดนามิก (Dynamic) และสแตติก (Static) รวมไปถึงงาน ทดสอบเฉพาะทาง ที่เนนกลุมอุตสาหกรรมยานยนต (Auto-

motive test equipment) กลมุ งานอิเล็กทรอนิกส และกลมุ งาน วิศวกรรมโยธา (Civil sensor) ตัวอยางเชน งานทดสอบโครง สรางสะพาน อาคาร เขือ่ น ระบบขนสงมวลชน เชน รถไฟฟา ระบบการบินและอวกาศ ถนน ฯลฯ ตลอดจนงานวิจัยและ พัฒนาของบริษทั เอกชน สถาบันทดสอบชัน้ นำและมหาวิทยาลัย ตางๆ ทัว่ ประเทศอีกดวย

Siglent

Digital storage oscilloscope คุณภาพสูง ราคาประหยัด จากประเทศจีน ซึ่งมีจุดเดนที่มีหนวยความจำสูง (Memory depth) มีใหเลือกทัง้ แบบ 2 และ 4 ชองสัญญาณ สามารถบันทึก ขอมูลผาน USB เหมาะสำหรับการใชในสายการผลิตตางๆ และ งานวิจัยและพัฒนา

336, มีนาคม 2555 115


¯ ª เรื· อ่ z{¥t t งจากปก Noiseken

เครื่ อ งมื อ ทดสอบความคงทนต อ คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า (Electro-Magnetic Compatibility, EMC) จากประเทศญีป่ นุ ใชในการทดสอบความคงทนตอการรบกวนของสัญญาณจำพวก ไฟฟาสถิตทีเ่ กิดจากมนุษย ไฟฟาแรงสูงชัว่ ขณะทีเ่ กิดจากการเปด ปดสวิตชหรือฟาผา และแรงดันตกหรือเกิดชัว่ ขณะเหมาะสำหรับ งานวิจัยและพัฒนา รวมถึง QA/QC ของอุตสาหกรรมที่ผลิต เครื่ อ งใช ไ ฟฟ า ทั่ ว ไป ยานยนต และแผงวงจรอิ เ ล็ ก ทรอนิกสเพือ่ ทดสอบตามมาตรฐาน IEC และ ISO

จากทีก่ ลาวขางตนจะเห็นไดวา สินคาในหมวดนีจ้ ะชวยให ทานทราบถึงปริมาณ และคุณภาพของระบบไฟฟาของทาน ซึง่ จะนำไปสกู ารใชไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพ และการลดคาใชจา ย ทางดานไฟฟาไดเปนอยางดี นอกจากนี้ ยังครอบคลุมงานดาน การทดสอบทัง้ งานดานกลศาสตและวิศกรรมโยธา ฯลฯ

2

อุปกรณอัตโนมัติ

สินคาในกลุมอุปกรณอัตโนมัติ (Factory automation) จะเน น ถึ ง การควบคุ ม ขบวนการผลิ ต และเครื่ อ งจั ก รแบบ อัตโนมัติ โดยจะแบงออกเปน 2 สวน คือ เซนเซอร ทีใ่ ชตรวจ จั บ ชิ้ น งาน หรื อ วั ต ถุ แ ทนคน และอุ ป กรณ ที่ ใ ช ต อ ก อ นเข า คอนโทรลเลอร, PLC หรือ DCS โดยมีรายละเอียดของสินคา ดังนี้

Pepperl+Fuchs

Microstrain

เครือ่ งวัดสัญญาณแบบไรสาย (Wireless) จากประเทศ อเมริกา สามารถวัดความเคน อุณหภูมิ ระยะทาง และการหมุน ไมตองใชสายสัญญาณในการสงผานขอมูล เหมาะสำหรับงาน ตรวจวัดทีไ่ มสะดวกในการตอสายจากตัวเครือ่ งมายังตัวอาน หรือ การตรวจจับในชิ้นงานที่มีการเคลื่อนไหวตลอดเวลา

116

336, มีนาคม 2555

Pepperl+Fuchs (เพิพเพิรล-แอนดฟชุ ) เปนเซนเซอรที่ มาจากประเทศเยอรมัน และเป น รายแรกของโลกที่ ผ ลิ ต Proximity sensor มีความโดดเดนมากในอุตสาหกรรมอาหาร และเครือ่ งดืม่ , อุตสาหกรรมผลิตวัสดุกอ สราง (เชน โรงงานปูน ซีเมนต, โรงงานผลิตอิฐบล็อก, อิฐมวลเบา, กระเบือ้ งมุงหลังคา) และอุตสาหกรรมรถยนต มีสนิ คาทัง้ หมด 4 กลมุ ใหญๆ คือ 1. Proximity sensors เซนเซอรตรวจจับโดยใชอำนาจ แมเหล็ก มีใหเลือกเปนหมืน่ ๆ รนุ ตอบสนองการใชงานทีห่ ลาก หลาย มีทงั้ รนุ ทีม่ เี อาตพตุ เปนแบบดิจติ อล และแอนะล็อก 2. Photo sensors เซนเซอรตรวจจับโดยใชแสง มีรนุ ใหเลือกหลากหลายตามความตองการใชงาน เชน ตรวจจับสี, ตรวจ จับของใส (ไมมสี )ี , ตรวจจับตำแหนง, ตรวจจับวัตถุชนิ้ เล็กๆ เปน ตน มีทงั้ รนุ ทีม่ เี อาตพตุ เปนแบบดิจติ อล และดิจติ อล 3. Ultrasonic sensors เซนเซอรตรวจจับโดยใชเสียง สามารถนำไปใชในการวัดระยะ หรือระดับของในถัง มีทงั้ รนุ ที่ มีเอาตพตุ เปนแบบดิจติ อล และแอนะล็อก 4. Encoder เปนอุปกรณทใี่ ชบอกตำแหนงของเครือ่ งจักร โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง จะเด น ในรุ น ที่ มี ร ะบบสื่ อ สารสู ง ๆ เช น Profibus เปนตน


¯ ª เรื· อ่ z{¥t t งจากปก Leuze

และในบางครั้งยังใชในการแปลงสัญญาณจากทรานสมิตเตอร (ระดับ, แรงดัน, การไหล, อุณหภูมิ ฯลฯ) ใหมาเปนสัญญาณ ทางไฟฟา นอกจากนี้ ยังมีมเิ ตอรตดิ หนาตไู ฟ (Digital power meter), เรคอรเดอร (Paperless recorder) และอุปกรณปอ งกัน ฟาผาในสวนของสายสัญญาณ และระบบสือ่ สาร

ABB Leuze (ลอยซ) เปนเซนเซอรที่มาจากประเทศเยอรมัน เดนมากในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม, อุตสาหกรรมผลิต วัสดุกอ สราง (พวกโรงงานปูนซิเมนต และงานไม), อุตสาหกรรม กระดาษ โดดเดนมากในสวนของ Photo sensors ทีใ่ ชตรวจจับ วัตถุใส, ตรวจจับสี, ตรวจจับระยะ/ตำแหนง โดยใชกับระบบ สื่อสารสูงๆ และเซฟตี้เซนเซอร (Safety sensors) ทั้งแบบ Safety light grid และ Safety light curtains นอกจากนั้น ยังมีอุปกรณที่ใชในการอานบารโคด และ RFID ทัง้ แบบยึดติดอยกู บั ที่ และแบบเคลือ่ นยายได

Yamatake

Yamatake (Azbil) เปนเซนเซอรทมี่ าจากประเทศญีป่ นุ เดนมากในอุตสาหกรรมรถยนต โดยมีเซนเซอรทใี่ ชกบั งานเชือ่ ม โลหะโดยตรง และมีรุนที่เปนสเตนเลสทั้งตัว (อายุการใชงาน ยาวกวารนุ ธรรมดาถึง 5 เทา) นอกจากนี้ ยังมีลิมิตสวิตชหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต ขนาดเล็ก จนถึงขนาดใหญทเี่ ปนแบบกันระเบิด และมี Photo sensor ทีเ่ ปนแบบไฟเบอรออปติกหลากหลายรูปแบบ

M-System

M-System เปนอุปกรณทใี่ ชตอ กอนเขาคอนโทรลเลอร, PLC หรือ DCS โดยทำหนาทีเ่ ปนตัวแยก (Isolate) สัญญาณ จากทรานสมิตเตอรกอนเขาคอนโทรลเลอร, PLC หรือ DCS

ABB เนนในสวนของ Touch screen โดยมีขนาด จอตัง้ แต 3 นิว้ จนถึง 10.4 นิว้ โดยมีรนุ ทีม่ ี Build-in ระบบ สือ่ สารแบบ Ethernet และจุดเดนทีซ่ อฟตแวร (CP400-Soft) ที่งาย และสะดวกตอการใชงาน นอกจากนี้ ทาง บริษัทยังมี ทีมงานทีค่ อยใหคำปรึกษา และฝกสอนการใชงาน

3

อุปกรณควบคุม

สินคาในกลมุ อุปกรณควบคุม (Control product) จะเนน ไปสหู วั ใจของการควบคุมทัง้ หลาย ซึง่ ก็คอื อุปกรณ PLC และ Smart Relay โดยทาง บริษทั ฯ เปนตัวแทนหลักของ ABB และ Siemens โดยอุปกรณทงั้ สองมีจดุ เดนในสองสวน คือ 1. ซอฟตแวร ไมวา จะเปน Codesys ของทาง ABB หรือ Logo!Soft ของทาง Siemens สามารถเขียนไดหลากหลาย ภาษา และยังสามารถจำลอง (Simulate) การทำงานในกรณีที่ ไมไดตออุปกรณฮารดแวรดวย 2. ฮารดแวร PLC ของ ABB จะมีความโดดเดนในเรือ่ ง ของความยืดหยนุ (Flexible) ตอการใช I/O Card โดยสามารถ นำมาตอผสมในแตละรนุ ของ CPU ได และนอกจากนัน้ ยังมี ระบบสือ่ สารทีห่ ลากหลาย โดยรนุ AC500-CPU 1 ตัว จะมี ระบบสือ่ สารที่ Build-in มาถึง 3 แบบ

336, มีนาคม 2555 117


¯ ª เรื· อ่ z{¥t t งจากปก กลุ ม สิ น ค า อุ ป กรณ ค วบคุ ม แบบ PID การควบคุ ม แบบ PID นีส้ ามารถนำไปประยุกตใชควบคุมงานตางๆ ไดหลาก หลายรูปแบบ เชน อุณหภูมิ อัตราการไหล ความดัน ความชืน้ เปนตน ซึง่ ทางเรามีแบรนดของ West และ eCAL

West

West เปนแบรนดของ West Instrument ซึง่ กอตัง้ มา ตัง้ แตป ค.ศ. 1946 ประเทศอังกฤษ เปนบริษทั ผผู ลิตเจาแรกๆ ที่ พั ฒ นาอั ล กอริ ทึ ม แบบ Self-tune รั บ อิ น พุ ต ได ทุ ก ชนิ ด (Universal input) และมีเอาตพุตแบบ Plug-in board ซึ่ง ทำใหผูใชงานสามารถเลือกเปลี่ยน เพิ่มใชงานไดสะดวกและ มีความคลองตัวสูง กลมุ สินคาของ West สามารถแบงไดใหญๆ เปน 2 กลมุ ดังนี้

• MLC9000+ เปนเครื่องควบคุม PID แบบ Multi loop เหมาะสำหรับการควบคุมที่มีพื้นที่จำกัด อุปกรณควบคุม ทัง้ หมด 32 ลูป ของ MLC9000+ ใชเนือ้ ทีแ่ ค 206 x 120 x 100 mm เทานั้น นอกจากนั้นแลวยังสามารถเชื่อม ตอกับ PLC ตางๆ ดวยระบบบัสหลากหลาย เชน Modbus, Profibus และ CANopen เปนตน MLC9000+ จึงชวย ประหยัดงบประมาณได เพราะไมตอ งใช PLC ประสิทธิภาพ สูงเพื่อคำนวณคา PID โมดูลควบคุมของ MLC9000+ ถามีปญหาเกิดขึ้นสามารถถอดเปลี่ยนไดทันที (Hot-swop) โดยไมตองตัดไฟ

3. เครือ่ งแสดงผล Process indicator P8010 เปนเครือ่ งแสดงผลแบบ LED 4 หลัก รับอินพุต ไดทกุ ชนิด ทัง้ เทอรโมคัปเปล, RTD และสัญญาณ DC Linear 1. เครือ่ งควบคุม PID แบบ Single loop controlled • P6100, P8100 และ P4100 เปนเครือ่ งควบคุมแบบ PID ใชในงานควบคุมทั่วไป • P6170, P8170 และ P4170 เปนเครือ่ งควบคุมแบบ PID ทีใ่ ชควบคุม Valve Motor Drive (VMD) • N4400 เปนเครื่องควบคุมแบบ PID ที่สามารถกำหนด โปรไฟลได (Profiler)

2. เครื่ อ งควบคุ ม PID แบบ Advanced process controller • ProVU เปนเครื่องควบคุมแบบ PID ที่เลือกควบคุมแบบ Single loop และ Profiler ได จอแสดงผลเปน LCD ขนาด ใหญ ทำใหภาษาที่ติดตอกับผูใชไมใชภาษาสัญลักษณแบบ เครือ่ งควบคุมทัว่ ไป ProVU แสดงคำสัง่ เปนประโยคเขาใจ งาย หนาจอสามารถเปลีย่ นสีเมือ่ เกิด Alarm มีออปชัน่ เสริม เปน Data logger ตลอดจนถึงการสื่อสารดวย RS-485, Modbus และ Ethernet เปนตน

118

336, มีนาคม 2555

eCAL

eCAL เปนเครือ่ งควบคุม PID ราคาประหยัด สามารถ เปนไดทงั้ Single loop และ Profiler ในตัวเดียวกัน Profiler ตัง้ ไดสงู สุด 2 โปรแกรมๆ ละ 16 Segments ซึง่ มีทงั้ หมด 2 รุนดังนี้

1. รนุ E6 มีขนาด 1/16 DIN หรือ 48 x 48 mm 2. รนุ E8 มีขนาด 1/8 DIN หรือ 48 x 96 mm กลุ ม เครื่ อ งนั บ จำนวน หรื อ เคาน เ ตอร (Counter) ใชตอ กับเซนเซอรชนิดตางๆ เมือ่ เซนเซอรมกี ารตรวจจับก็จะสง สัญญาณมาใหเครื่องนับจำนวนทำการนับ เพื่อใชตรวจสอบ จำนวน หรือประยุกตใชในการวัดจำนวนรอบ ตรวจวัดระยะจาก การเคลือ่ นทีข่ องเครือ่ งจักร ซึง่ มีแบรนดของ Hengstler


¯ ª เรื· อ่ z{¥t t งจากปก Hengstler

Hengstler กอตั้งเมื่อป ค.ศ. 1846 ประเทศเยอรมัน ผลิตภัณฑแรกของ Hengstler คือ นาฬิกา ดวยพืน้ ฐานความรู เกีย่ วกับชิน้ สวนทางกลของนาฬิกา ทำให Hengstler นำความ รูดานนี้มาผลิตเคานเตอรแบบเมคานิคอล Mechanical และ พัฒนามาเปนแบบ Electro-Mechanical และ Electronic ซึง่ งานอุตสาหกรรมจะใชแบบ Electronic เปนสวนใหญ เชน

อยางกวางขวางทั่วโลก เอ็นโคดเดอรที่มีใชงานทั่วไปแบงได 2 ชนิด คือ

1. เอ็นโคดเดอรแบบเพิม่ คา (Incremental encoder) 2. เอ็นโคดเดอรแบบสมบูรณ (Absolute encoder)

4

• Tico 731 เปนเครื่องนับจำนวนขนาด 1/32 DIN หรือ 48 x 24 mm มีใหเลือกใชงานทัง้ แบบ นับสะสม (Totalizing counter), นับความเร็วรอบ (Tachometer) และนับเวลา (Time counter) ไดทงั้ แบบ hhhh.mm.ss หรือ hhhhhh.hh

เครือ่ งมือวัดและควบคุมภาคสนาม

กลมุ สินคาเครือ่ งมือวัดภาคสนาม (Field instrument) เปน อุปกรณและเครือ่ งมือวัดทีเ่ นนใชงานในภาคสนาม ตองสัมผัสกับ สภาพภูมอิ ากาศโดยตรง ตลอดจนถึงใชงานในพืน้ ทีอ่ นั ตรายดวย (Hazardous area) กลมุ โซลินอยดวาลว (Solenoid valve) คือ วาลวทีม่ กี าร ทำงานโดยใชไฟฟาในการเปด-ปด เพือ่ ควบคุมการไหลของของ เหลวหรือกาซในกระบวนการอัตโนมัติ (Process automation) โดยมีแบรนดทแี่ นะนำ คือ Parker

Parker

• Tico 732 เปนเครือ่ งนับจำนวนแบบอเนกประสงคขนาด 1/16 DIN หรือ 48 x 48 mm

• Tico 735P เครือ่ งนับจำนวนขนาด 1/8 DIN หรือ 48 x 96 mm มีใหเลือกใชงานทั้งแบบ นับแบบสะสม (Totalizing counter), นับความเร็วรอบ (Tachometer), นับความเร็วรอบ และแบบสะสม (Rate/Totalizing) และแบบ Batch counter เปนตน กลุมสินคาเอ็นโคดเดอร (Encoder) เปนเซนเซอร ชนิดหนึง่ ทีแ่ ปลงการเคลือ่ นทีแ่ บบหมุน หรือแบบการเคลือ่ นที่ ในแนวเสนตรงเปนสัญญาณทางไฟฟา ซึ่ง Hengstler ก็เปน ผูผลิตเอ็นโคดเดอรดวยเชนกัน

Parker กอตัง้ ขึน้ เมือ่ ป ค.ศ.1918 ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยในตอนเริ่มตน Parker ไดผลิตระบบเบรกลมสำหรับรถ โดยสาร และรถบรรทุก หลังจากนัน้ ก็พฒ ั นาสินคาเพิม่ เติมเกีย่ วกับ ระบบลมและระบบไฮดรอลิก จนมาถึงโซลินอยดวาลว คุณภาพ สูงทีม่ ยี อดขายในระดับตนๆ ของโลก โซลินอยดของ Parker มีใหเลือกใชอยางมากมายสามารถ ปรั บ เปลี่ยนวัสดุและซีลภายใน รวมถึงอุปกรณปองกันไดอยาง หลากหลาย ไมวาจะเปน ทองเหลือง สเตนเลส อะลูมิเนียม พลาสติก อีกทัง้ ยังมีการพัฒนาใหสามารถใชไดนานกวาโซลินอยด วาลวอื่นๆ ทั่วไปถึง 20 เทา โซลินอยดของ Parker มีฐานการผลิตอยใู นหลายประเทศ ดังนี้

Hengstler

Hengstler เปนผูผลิตเอ็นโคดเดอรคุณภาพสูงที่รูจักกัน

336, มีนาคม 2555 119


¯ ª เรื· อ่ z{¥t t งจากปก 1. SCEM ผลิตจากประเทศอิตาลี โซลินอยดวาลวกลมุ นีจ้ ะเนนการใชงานในระบบน้ำ น้ำรอน สตีม ลม น้ำมัน รวม ถึงระบบทำความเย็น (โดยน้ำยาฟรีออน)

2. Lucifer ผลิตจากประเทศสวิสเซอรแลนด โซลินอยด วาลวนีไ้ ดออกแบบมาพิเศษเพือ่ ใชในงานกลมุ ฉีดขวด PET เครือ่ ง พนไฟ รถไฟฟา โซลินอยดวาลวติดหัวขับ Actuator รวมถึงงาน ทีต่ อ งการการปองกันสูง (กันระเบิดมาตรฐาน ATEX) งานบนแทน ขุดเจาะ

3. Skinner และ Gold-ring ผลิตจากประเทศสหรัฐ อเมริกา ถูกออกแบบมาเพือ่ งานระบบลมดูด (Vacuum) ระบบ แรงดันสูง (High pressure) รวมถึงงานทีต่ อ งการการปองกัน สูง (กันระเบิดมาตรฐาน NEMA) กลมุ อุปกรณอนิ สทรูเมนต (Instrument) เปนเครือ่ งมือ วัดภาคสนามทีม่ กี ารตรวจวัดคาตางๆ ทีใ่ ชในงานอุตสาหกรรม เชน ความดัน (Pressure), อัตราการไหล (Flow), ความเร็วลม (Air velocity), ความชืน้ (Humidity), อุณหภูมิ (Temperature) และการวัดระดับภายในถัง (Level) เปนตน โดยมีแบรนดทแี่ นะ นำ คือ Dwyer, Hitrol, และ Rotronic

120

336, มีนาคม 2555

Dwyer

Dwyer เปนผูเชี่ยวชาญดานการตรวจวัดแรงดันคาต่ำๆ มีผลิตภัณฑทโี่ ดดเดน คือ Differential pressure gage ทีร่ จู กั กันดีในชื่อของ Magnehelic® ซึ่ง Magnehelic ถูกนำมาใช อยางกวางขวางแทน Manometer เพือ่ วัดความดันลมต่ำๆ ใน ทอ (Duct) ตรวจสอบสถานะการอุดตันของแผนกรองอากาศ ตรวจสอบความดันภายในหองสะอาด (Clean room) ซึง่ เปนที่ นิยมมาก โดยผสู ราง Clean room ทัว่ โลกเลือกใช Magnehelic ในการตรวจวัดอยางแพรหลาย

ตั้งแตกอตั้งมาป ค.ศ. 1931 Magnehelic ประสบผล สำเร็จอยางงดงาม แตยงั ไมครอบคลุมงานอุตสาหกรรมทัง้ หมด ทาง Dwyer จึงไดเขาซื้อกิจการแบรนดอื่นๆ ในอเมริกา คือ Mercoid®, W.E. Anderson®, Proximity® และ Love® ซึง่ Dwyer ยังคงแบรนดเหลานีไ้ วในตลาด และกลมุ สินคาทีเ่ พิม่ เขา มานัน้ สามารถเติมเต็มในงานอุตสาหกรรมไดครอบคลุมมากยิง่ ขึน้

พื้นฐานผลิตภัณฑของ Dwyer สามารถตอบสนองงาน HVAC ทัว่ ไป ทัง้ Off-Shore และ On-Shore, ระบบอาคาร อัตโนมัติ (BAS), Clean room ในอุตสาหกรรมอาหารและยา อิเล็กทรอนิกส และงานควบคุมคุณภาพอากาศ (ทัง้ ความเร็วลม และความชืน้ ) ไดเปนอยางดี นอกจากนัน้ ยังมีอปุ กรณคณ ุ ภาพ อื่นๆ เพื่อใชในสายการผลิตทั่วไป ตลอดจนถึงระบบ Facility และ Plant service ดวย เชน มิเตอรการไหล (Flow meter) แบบ Rota หรือ Variable area, สวิตชการไหล (Flow switch) แบบ Magnetic link ซึง่ คุณภาพดีกวาแบบเกา, ทรานสมิตเตอร แรงดัน (Pressure transmitter) และสวิตชระดับ (Level switch) แบบตางๆ เชน แบบ Paddle และแบบ Capacitive เปนตน


¯ ª เรื· อ่ z{¥t t งจากปก ป ค.ศ. 1967 และดวยการพัฒนาอยางตอเนื่อง ทำใหคา Accuracy แบบ Capacitive thin film นีม้ คี วามแมนยำสูงถึง ±0.8%rh ซึง่ นับไดวา ดีทส ี่ ดุ ในขณะนี้

Hitrol

Hitrol เปนผเู ชีย่ วชาญดานการวัดระดับและอัตราการไหล Hitrol กอตัง้ ขึน้ เมือ่ ค.ศ. 1975 โดยเริม่ พัฒนาอุปกรณทใี่ ชใน งานวัดระดับในระยะแรก ตอมาไดมกี ารพัฒนาอุปกรณวดั อัตรา การไหล และมีระบบสอบเทียบอัตราการไหลทีไ่ ดมาตรฐาน ISO 17025 ดวยการพัฒนาอยางตอเนือ่ ง Hitrol ไดพฒ ั นามิเตอรการ ไหล เพือ่ ใชในโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร และเปนผผู ลิตมิเตอร การไหลอยางเปนทางการใหกบั Cameron ซึง่ ใชตดิ ตัง้ ในงาน Oil & Gas ทัว่ โลก

นอกจาก Accuracy ±0.8%rh แลว เซนเซอรความชืน้ ยังสามารถวัดความชืน้ ไดตลอดชวงตัง้ แต 0…100%rh ภายใต อุ ณ หภู มิ ตั้ ง แต –100…200 °C อี ก ทั้ ง เซนเซอร ค วามชื้ น ดังกลาวไดตดิ ตัง้ ไวภายในโพรบแบบตางๆ ของ Rotronic ทำให สามารถนำไปประยุกตใชงานไดอยางคลองตัวและหลากหลาย

เซนเซอรความชืน้ ของ Rotronic ไดถกู ออกแบบใหเชือ่ ม ตอกับระบบอิเล็กทรอนิกสที่ชื่อวา เทคโนโลยี AirChip3000 ทำใหโพรบวัดความชืน้ ของ Rotronic สามารถถอดเปลีย่ นได ตัว โพรบสามารถเปน Data logger เก็บคาได 2,000 คา และ สามารถแสดงคาตางๆ ทาง Psychrometric เชน Dew/Frost point และ Specific humidity เปนตน ผลิตภัณฑของ Hitrol สวนที่เกี่ยวกับอุปกรณวัดระดับ มีทงั้ แบบ Level gage, Level switch และ Level transmitter ใชตรวจจับของเหลว หรือของแข็งที่มีลักษณะเปน เม็ด หรือ ผง ส ว นอุ ป กรณ ที่ เ ป น มิ เ ตอร ก ารไหล ส ว นใหญ เ ป น แบบ Differential pressure แบบตางๆ ใชไดกบั ขนาดทอตัง้ แต 1” จนถึงขนาด 80”

Rotronic

Rotronic เปนผเู ชีย่ วชาญดานเทคโนโลยีการวัดความชืน้ ชั้นนำของโลกจากประเทศสวิสเซอรแลนด ดวยเทคโนโลยี “Capacitive thin film” ซึ่งเปนเทคโนโลยีในการวัดความชื้น แบบหนึง่ ทีท่ าง Rotronic เลือกนำมาวิจยั และพัฒนาขึน้ ตัง้ แต

ดวยเทคโนโลยีตางๆ ที่กลาวมาทำให Rotronic ไดรับ ความไววางใจในอุตสาหกรรมตางๆ อยางแพรหลาย เชน อาหาร และยา, กระดาษ, หองทดลอง, ระบบ HVAC, ระบบ BAS, หองสอบเทียบเครื่องมือวัด, ระบบ Compressed air และ การตรวจวัด Dew point เปนตน

336, มีนาคม 2555 121


¯ ª เรื· อ่ z{¥t t งจากปก 5

เบ็ดเตล็ด

กลุมนี้จะมีอุปกรณดวยกันหลากหลาย แตที่จะนำเสนอ จะเปนในสวนของ Timer, Motion sensor, Light switch ซึ่งอุปกรณเหลานี้เปนสวิตชแบบหนึ่งที่ใชในการตัดตอวงจร กลาวคือ เราสามารถตั้งเวลาในการเปด-ปดอุปกรณตางๆ ได, เราสามารถเปด-ปดหลอดไฟไดในกรณีที่แสงสวางไมเพียงพอ หรือในกรณีที่มีคนอยูหรือไมก็ตาม จากทีก่ ลาวมาขางตนทัง้ หมดจะเห็นวาสินคาทัง้ 5 หมวด หมทู ที่ างบริษทั ฯ จัดจำหนายลวนมีประโยชน และมีความสำคัญ เปนอยางมากในกระบวนการผลิตของทาน การนำเอาสินคา ดังกลาวไปประยุกตใชยอมจะทำใหทานไดรับผลประโยชนทั้ง ทางตรง (ผลิตภาพที่สูงขึ้น) และทางออม (การลดคาสูญเสีย ตางๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในระบบ) โดยในปจจุบนั ทีมงานทางดานระบบ (System integration) ของทาง บริษทั ฯ คอยใหคำปรึกษา ตลอดจนใหคำแนะนำตางๆ แกกลมุ ลูกคาอยางมากมาย ไมวา จะเปน 1. โครงการเฝาดู และควบคุมปริมาณการไฟฟาในโรงงาน (Demand management system) โดยมีซอฟตแวรที่ชื่อวา “IE Soft” เปนตัวสัง่ การทำงาน 2. โครงการเฝาดู (Monitoring system) คาพารามิเตอร ตางๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในโรงงาน ไมวา จะเปนคาทางการผลิต หรือคา ทางดานสาธารณูปโภค เชน ลม, น้ำ และแกสตางๆ 3. โครงการเฝาดู (Monitoring system) คาสูญเสีย ตางๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในโรงงาน

122

336, มีนาคม 2555

4. ระบบ AS-Interface เปนระบบบัสแบบหนึง่ ทีม่ ใี ชกนั อยางแพรหลายในงานอุตสาหกรรม เพียงใชสายไฟเพียงเสน เดียว สามารถทีจ่ ะควบคุมการทำงานตางๆ ของเครือ่ งจักร หรือ ขบวนการผลิตได ระบบนีเ้ ปนระบบเปด (Open bus system) สามารถตอเขากับอุปกรณไดอยางหลากหลาย และไมยดึ ติดอยู กับยีห่ อ ใดยีห่ อ หนึง่ หากทานตองการทราบขอมูลเพิ่มเติม หรือมีปญหาสอบ ถามทัง้ ทางดานเทคนิค หรือทางดานคำแนะนำ สามารถติดตอ กลับมาไดที่ บริษทั ไฟฟาอุตสาหกรรม จำกัด 85/2, 85/3 ซอยสดพิณสรร ถ.รางน้ำ แขวงถนนพญาไท ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2642 6700 โทรสาร 0 2642 4250 เว็บไซต http://www.ie.co.th อีเมล sales@ie.co.th


การประหยัดพลังงาน ชุดที่ 1

การประหยัดพลังงาน ชุดที่ 1 เปน หนังสือที่รวบรวมบทความจากวารสาร เทคนิคและวารสาร EC โดยแบงเนื้อหา ออกเปนหมวดหลักๆ ดังนี้ หมวดการทําความเย็น ปรับอากาศ ระบายอากาศ ซึ่งมีบทความที่นาสนใจ เชน วิธีประหยัดคาแอร, การใช-บํารุง รักษาและปรับปรุงระบบปรับอากาศเพื่อ ประหยัดพลังงาน, การประหยัดพลังงาน ในสวนนํ้าเย็นของระบบปรับอากาศแบบ ทํานํ้าเย็น, การเปด-ปดระบบปรับอากาศ เพื่อการอนุรักษพลังงาน, เครื่องปรับ อากาศแบบสูญเสียพลังงานนอยที่สุด หมวดเตาเผา เตาอบ หองอบ มี บทความที่นาสนใจ เชน การอนุรักษ พลังงานสําหรับเตาเผา, เทคโนโลยีการ ผลิตยางแผนรมควันและการออกแบบ หองรมเพื่อประหยัดพลังงาน, ลดการใช พลังงาน ดวย Regenerative Burner, การปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงาน ของเครื่องอบแหงแบบพนฝอย

นิวแมติกอุตสาหกรรม

นิวแมติกอุตสาหกรรม เปนหนังสือ ทีร่ วบรวมเนือ้ หาเกีย่ วกับนิวแมติก ตัง้ แต หลักการพืน้ ฐาน สูตรคํานวณคาตางๆ ใน ระบบนิวแมติก, การปรับสภาพลมอัด, ขอตอลม, วาลวควบคุม ไปจนถึงการนํา ไปประยุกตใชงานจริง โดยไดอธิบายถึง โครงสราง สวนประกอบ การทํางาน และ การนําไปใชงานของวาลวควบคุมชนิด ตางๆ ในระบบนิวแมติกอยางเปนขัน้ ตอน พรอมกันนี้ยังมีเรื่องการออกแบบ วงจรควบคุมที่เปนพื้นฐาน วงจรแยก สัญญาณควบคุม วงจรลอจิก วงจรทาง ไฟฟาควบคุม หัวจับสุญญากาศ ตลอด จนการเลือกขนาดของอุปกรณตา งๆ ทีจ่ ะ ใชในระบบนิวแมติก ที่มีใหเลือกทั้งสูตร สําเร็จ หรือการหาคาจากตารางและรูป

หมวดสตีมแทรป ไอนํ้า ความรอน มีบทความทีน่ า สนใจ เชน ลดการสูญเสียเพิ่ ม ผลกํ า ไร ด ว ยการใช ส ตี ม แทรปที่ เหมาะสม, การนําความรอนทิง้ ในไอเสีย กลับมาใชประโยชน และแนวทางประหยัด จากการหุม ฉนวนสําหรับทอสงไอนํา้ เปนตน หมวดระบบไฟฟา การวัดผล การ ติดตาม มีบทความที่นาสนใจ เชน การ ลดคากําลังไฟฟาสูงสุด, การประหยัด พลังงานโดยการควบคุมความเร็วรอบ มอเตอร, การประยุกตใชงาน, ระบบเก็บ พลังงานดวยนํ้าแข็ง, การเลือกฉนวน เพือ่ การประหยัดพลังงาน, การประหยัด พลังงานในครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรม, การปรับปรุงผนังทึบของอาคารหรือบาน อยูอาศัยเพื่อลดความรอนจากรังสีดวง อาทิตย และขอคิดในการเลือกซื้อและ ปรับปรุงบานใหประหยัดพลังงาน หนังสือเลมนี้ จัดพิมพและจําหนาย โดย บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด หนา 292 หนา ราคา 240 บาท

ประกอบในภาคผนวก ซึ่งชวยใหผูอานมี ความสะดวกในการคนหาอุปกรณตางๆ หนังสือเลมนี้จึงเหมาะสําหรับใช เปนคูม อื ในการปฏิบตั งิ านของผูเ กีย่ วของ ทางดานนิวแมติกทุกระดับ และยังเหมาะ ที่จะใชเปนตําราเรียนในระดับ ปวส.และ ระดับปริญญาตรี และใชเปนคูมือในการ ศึกษาคนควาดานนิวแมติกดวยตัวเอง หนั ง สื อ เล ม นี้ เขี ย นโดย ผศ. ปานเพชร ชินนิ ทร และขวัญชัย สินทิพยสมบูรณ หนา 378 หนา ราคา 150 บาท สนใจสั่ ง ซื้ อ หรื อ เลื อ กชมได ที่ ศูนยหนังสือเอ็มแอนดอี เลขที่ 77/111 สินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถ.กรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 (BTS สถานีกรุงธนบุรี) โทรศัพท

สนใจสั่ ง ซื้ อ หรื อ เลื อ กชมได ที่ ศูนยหนังสือเอ็มแอนดอี เลขที่ 77/111 สินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถ.กรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 (BTS สถานีกรุงธนบุรี) โทรศัพท 0 2862 1396-9 โทรสาร 0 2862 1395 อีเมล member@me.co.th เว็บไซต www.me.co.th, www.technic.in.th หรือตามศูนยหนังสือชั้นนําทั่วไป z

0 2862 1396-9 โทรสาร 0 2862 1395 อีเมล member@me.co.th เว็บไซต www.me.co.th, www.technic.in.th หรือตามศูนยหนังสือชั้นนําทั่วไป z

336, มีนาคม 2555 123


¿´ Á °°®

ปารคเกอร ฮันนิฟน เปด ParkerStore สาขาสงขลา และสาขาปราจีนบุรี

บริษทั ปารคเกอร ฮันนิฟน (ไทยแลนด) จำกัด ผนู ำเขา และผลิตอุปกรณควบคุมการเคลื่อนไหวและระบบการทำงาน ของเครื่องจักร และเครื่องยนตชั้นนำของโลก ไดเปดราน ParkerStore ในจังหวัดสงขลา และจังหวัดปราจีนบุรี ทีจ่ งั หวัดสงขลา ไดแตงตัง้ ใหบริษทั ปารคเกอร เซาทเทิรน สโตร เปดทำการ ParkerStore สาขา อำเภอสิงหนคร จังหวัด สงขลา เมือ่ วันที่ 23 ธันวาคม 2554 สวนในจังหวัดปราจีนบุรี ไดแตงตัง้ ใหบริษทั เอเบ็กซ ไฮดรอลิคส แอนด เอ็นจิเนียริง่ จำกัด ทำการราน ParkerStore เมือ่ วันที่ 10 มกราคม 2555

โดยราน ParkerStore ทัง้ 2 แหงนีเ้ ปดใหบริการสินคา อุตสาหกรรม เชน Pneumatic, Connector (Hose & Fitting), Filtration, Climate & Industrial Control, Hydraulic, Instrumentation และ Seal ภายใตแบรนด Parker อันเปน มาตราฐานของเราคือ “Genuine Parker Part” โดยทางราน ParkerStore พรอมจะใหบริการและใหคำปรึกษาแนะนำไดอยาง รวดเร็ว เพือ่ ตอบสนองความตองการสูงสุดของลูกคา •

○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

เซโกะ รวมงานบีโอไอแฟร 2012 บริษทั โซเดแพค (ไทยแลนด) แนะนำผลิตภัณฑดดู ซับ ความชื้น เซโกะ ในงานบีโอไอแฟร 2012 มหกรรมแสดง นิทรรศการครั้งยิ่งใหญของประเทศไทย เซโกะ เป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ดู ด ซั บ ความชื้ น ในรู ป แบบเจล สำหรับแกไขปญหาความชื้นสวนเกินในอากาศ ซึ่งเปนสาเหตุ หลักทีท่ ำใหเกิดเชือ้ รา สามารถดูดซับความชืน้ ไดในปริมาณมาก ถึง 300% ของน้ำหนักตัว พรอมชวยควบคุมใหความชืน้ สัมพัทธ ในอากาศอยูระหวาง 40-60% ซึ่งเปนสภาวะที่เหมาะสมกับ มนุษยทำใหรูสึกสบาย ซึ่งไดรับความสนใจจากผูเขาชมงาน จำนวนมาก •

124

336, มีนาคม 2555


¿´ Á °°®

ผลิตภัณฑจากพืชสมุนไพรครองแชมปงานวิจยั เดน วว. ป 2554 ในการสรุปผลงานวิจยั เดนของสถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) ประจำป 2554 นางเกษมศรี หอมชืน่ ผวู า การสถาบันฯ กลาววา กระแสความใสใจสุขภาพ รวมถึงทิศทางการเปลีย่ นแปลงโครงสรางประชากรทีท่ ำใหผสู งู อายุเพิ่มจำนวนขึ้น วว.จึงเนนงานวิจัยที่ตอบโจทยการเปลี่ยน แปลงดังกลาว โดยมุงไปที่การวิจัยและพัฒนาดานอาหารเพื่อ สุขภาพ ผลิตภัณฑเพือ่ สุขภาพ และอุปกรณหรือเครือ่ งมือทีส่ ง เสริมดานสุขภาพเปนหลัก โดยตลอดป 2554 วว.มีงานวิจยั จำนวนมาก แตผลงาน เดนที่ผานการคัดเลือกลวนเปนเทคโนโลยี นวัตกรรม และ ผลิตภัณฑใหมที่มีคุณภาพทัดเทียมตางประเทศ ลดการนำเขา และเพิม่ มูลคาผลผลิตภายในประเทศ ทีส่ ำคัญคือ เพิม่ ศักยภาพ ในการแขงขัน เสริมสรางความเขมแข็งของเศรษฐกิจโดยรวม ของประเทศ ซึง่ แบงออกเปน 3 สวนหลักๆ ไดแก เทคโนโลยี และนวัตกรรมการเกษตร, ผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพและพลังงาน

ทดแทนและสิ่งแวดลอม นอกจากผลงานวิจยั ทีโ่ ดดเดนแลว วว.ยังมีงานบริการทาง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ความรวมมือทางวิชาการกับทัง้ ภาค การศึกษาและภาคเอกชน รวมถึงความรวมมือระดับนานาชาติ ดวย •

○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

วว.รวมกับ ซัคเซส เอ็นไวรอนเมนสฯ พัฒนาเชือ้ เพลิงอัดแทง จากเศษวัสดุเหลือทิง้ จากโรงงานเยือ่ กระดาษ

ดร.สุทธิพร ชีวสาธน รองผูวาการวิจัยและพัฒนากลุม พัฒนาอยางยัง่ ยืน สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง ประเทศไทย (วว.) และ นายพศิน วีระสัย ประธานกรรมการ บริษทั ซัคเซส เอ็นไวรอนเมนส เมเนจเมนส (เซ็ม) จำกัด ลง นามในบันทึกขอตกลงโครงการถายทอดเทคโนโลยี การพัฒนา

การผลิตเชื้อเพลิงอัดแทงจากเศษเยื่อเหลือทิ้งของโรงงานผลิต เยื่อและกระดาษดวยระบบ Rotary ณ หองประชุม กวท. ชัน้ 8 วว.เทคโนธานี คลองหา จ.ปทุมธานี เมือ่ เร็วๆ นี้ โครงการพัฒนาเชือ้ เพลิงอัดแทงจากเศษเยือ่ เหลือทิง้ ของ โรงงานผลิตเยือ่ และกระดาษดวยระบบ Rotary มีจดุ ประสงค

336, มีนาคม 2555 125


¿´ Á °°® เพือ่ นำเศษเหลือทิง้ จากกระบวนการผลิตของโรงงานเยือ่ กระดาษ ไปใชประโยชนดา นพลังงาน โดยการผลิตเปนเชือ้ เพลิงอัดแทง ซึง่ นับเปนความรวมมือตอเนือ่ งจากโครงการความรวมมือบริการ วิจัยการผลิตฝาเพดานที่มีคุณสมบัติกันความรอน และยังได นำเศษขยะเหลือทิ้งประเภทกากยิปซั่ม เศษเยื่อกระดาษจาก กระบวนการ deinking มาทดลองผลิตบล็อกประสานสำหรับกัน้ ผนังภายในอาคารดวย

ทางบริษทั ซัคเซส เอ็นไวรอนเมนสฯ ยังมีเศษเหลือทิง้ จาก โรงงานเยือ่ กระดาษอีกมาก ซึง่ มีศกั ยภาพในการใชเปนวัสดุชวี มวล สามารถใหพลังงานความรอนได ดังนัน้ วว. และ บริษทั ซัคเซสฯ จึงจะไดรวมกันนำเศษวัสดุดังกลาวมาพัฒนาเปนเชื้อเพลิงอัด แทงทีม่ ปี ระสิทธิภาพสำหรับผลิตไอน้ำในหมอตมไอน้ำหรือแกส เชือ้ เพลิงจากเตาปฏิกรณแกสซิไฟเออร เพือ่ ใหเกิดเปนประโยชน ตอการนำของเหลือทิง้ มาใชและลดมลภาวะตอสิง่ แวดลอม •

○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

เอกอัครราชทูตฝรั่งเศส เปนประธานแถลงขาวพาวิลเลียนฝรัง่ เศส ในงานบีโอไอแฟร มร.จิลดาส เลอ ลีเดค (คนกลาง) เอกอัครราชทูตฝรัง่ เศส ประจำประเทศไทย เปนประธานในงานแถลงขาวนิทรรศการ ดานเทคโนโลยีชนั้ นำจากฝรัง่ เศส รวมกับ มร. ฟรองค ฟูรแ ฌร (ที่ 2 จากซาย) ประธานหอการคาฝรัง่ เศส-ไทย และ มิสซิสแคลร ก็องเดสซู (ที่ 2 จากขวา) อัครราชทูตทีป่ รึกษาฝายการพาณิชย พรอมดวยผบู ริหารระดับสูง ณ พาวิลเลียนฝรัง่ เศส ในงานบีโอไอแฟร 2011 โดยในงานบีโอไอแฟรทผี่ า นมา พาวิลเลียนฝรัง่ เศสไดจดั แสดงระหวางวันที่ 5-13 มกราคม 2555 ณ อาคารชาเลนเจอร 2 อิมแพ็คเมืองทองธานี ซึง่ มีผสู นใจเขาชมงานจำนวนมาก •

○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

มจพ.ประชุมวิชาการโลหะวิทยาเพือ่ อุตสาหกรรมเชิงเศรษฐนิเวศน ในการประชุมวิชาการโลหะวิทยาแหงประเทศไทย ครัง้ ที่ 5 ในหัวขอโลหะวิทยาเพือ่ อุตสาหกรรมเชิงเศรษฐนิเวศน (Ecoindustry) ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันที่ 19-20 มกราคม 2555 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด คอนเวนชัน่ กรุงเทพฯ โดยมีนายแพทย วรรณรัตน ชาญนุกลู เปนประธานเปดงาน การประชุมดังกลาว จัดโดยภาควิชาวิศวกรรมวัสดุและ เทคโนโลยี ก ารผลิ ต คณะวิ ศ วกรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (มจพ.) ซึง่ เปนกิจกรรม ที่จัดขึ้นตอเนื่องทุกปนับตั้งแตป 2550 สวนการประชุมในครั้ง ที่ 5 นี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ และ

126

336, มีนาคม 2555


¿´ Á °°® บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตรนานาชาติสริ นิ ธรไทย-เยอรมัน หรือ TGGS เปนเจาภาพ โดยมีผรู ว มจัดงานไดแก จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, มหาวิทยาลัยเชียงใหม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุร,ี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, สถาบันเหล็กและเหล็กกลาแหง ประเทศไทย, ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ และสมาคม การกัดกรอนโลหะและการปองกันไทย การจัดงานนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเปนเวทีในการนำเสนอ ผลงานวิจยั และพัฒนาโลหะ กรรมวิธที างโลหะการ กรรมวิธกี าร ผลิตหรือนวัตกรรมเชิงนโยบายใดๆ ในอุตสาหกรรมที่มีการใช โลหะ อีกทัง้ เพือ่ เปนเวทีในการประชุม แลกเปลีย่ นประสบการณ และแสวงหาความรวมมือ ระหวางหนวยงานภาคการศึกษา ภาคอุตสาหกรรม และภาครัฐบาล เพือ่ ใหสอดคลองกับทิศทาง การพัฒนาอุตสาหกรรมในปจจุบันที่มุงเนนไปสูอุตสาหกรรมที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม พรอมกันนี้ยังไดมอบรางวัลแกนักโลหะวิทยาดีเดน นัก

โลหะวิทยารนุ ใหมดเี ดน ประจำป 2554 จำนวน 2 ทาน คือ ดร.ณรงค อัครพัฒนากูล อาจารยประจำสาขาวิชาวิศวกรรม โลหะการ และผูอำนวยการศูนยเครื่องมือวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี รับรางวัลนักโลหะ วิทยาดีเดน 2554 และ ดร.ปญญวัชร วังยาว อาจารยและ หัวหนาภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รับรางวัลนักโลหะวิทยารนุ ใหมดเี ดน ประจำป 2554 และยังมีรางวัลการนำเสนอผลงานวิจยั ยอดเยีย่ ม ภายในงานมีการบรรยายพิเศษทางดานเทคโนโลยี โลหะรีไซเคิลและโลหะเพื่ออุตสาหกรรมสีเขียวจากบริษัทและ มหาวิทยาลัยชื่อกองโลก ผลงานวิจัยใหมลาสุดจากมันสมอง คนไทยในการพัฒนาโลหะผสมสูตรใหม และกรรมวิธีการผลิต โลหะทีล่ ้ำสมัยซึง่ หลัง่ ไหลมาจาก มหาวิทยาลัย ศูนยวจิ ยั และ บริษทั ชัน้ นำตางๆ ทัว่ ประเทศประมาณ 90 เรือ่ ง พรอมกันนี้ ศ.ดร. ธีรวุฒิ บุณยโสภณ อธิการบดี มจพ. ได ม อบโล ที่ ร ะลึ ก แก ผู ส นั บ สนุ น การจั ด การประชุ ม วิ ช าการ โลหะวิทยาแหงประเทศไทยในครัง้ นีด้ ว ย •

○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

สมารทกรีน เอ็นเนอรจี รวมกับ ธนาคารกรุงเทพเปดโครงการโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย

เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2555 ที่โรงแรมดิเอ็มเมอรัลด ถ.รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ บริษทั สมารทกรีน เอ็นเนอรจี นำโดย นายอภัย จันทนจุลกะ ประธานทีป่ รึกษา นายดีเอนก บุญสิมะ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั สมารท กรีน เอ็นเนอรจี จำกัด รวมกับ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) โดยนายชาญศักดิ์ เฟอ งฟู กรรมการรองผจู ดั การใหญ, นายพดดวง คงคามี Chief

Operating Officer บริษทั บางกอกโซลาร เพาเวอร จำกัด และ นายสมชาย เลาหวรี ะพานิช กรรมการผจู ดั การ บริษทั ดูปองท (ประเทศไทย) จำกัด เปดโครงการโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย แบบเซลลแสงอาทิตย มูลคารวม 4,600 ลานบาท ในโอกาสนี้ยังไดกลาวถึงมุมมองเกี่ยวกับธุรกิจพลังงาน สีเขียวในประเทศไทย และแนวโนมในอนาคต ตลอดจนแผน การดำเนินธุรกิจของ สมารทกรีน เอ็นเนอรจี รวมถึงแนวทาง สนับสนุนเม็ดเงินลงทุนของธนาคารกรุงเทพตอธุรกิจพลังงาน นอกจากนี้ยังมีการแถลงขาวการทำ CSR ของ บริษัท สมารท กรีน เอ็นเนอรจี ทีไ่ ดมอบเงินบริจาคสรางอาคารเพือ่ สาธารณะประโยชนในพืน้ ทีต่ า งๆ ไดแก การสรางอาคาร ICT ใหแก โรงเรียนหนองหูลงิ เจริญเวทย อ.กุฉนิ ารายณ จ.กาฬสินธ,ุ สรางอาคารพยาบาล ใหแก โรงเรียนบัวขาว อ.กุฉินารายณ จ.กาฬสินธุ และ สรางอาคารหอสมุด ใหแก โรงเรียนรงุ เรืองวิทยา อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี เปนตน •

336, มีนาคม 2555 127


¿´ Á °°®

บัก๊ สตอพ ชวยผปู ระสบภัยน้ำทวมดูแลบานหลังน้ำลด บริษทั บัก๊ สตอพ จำกัด ผใู หบริการดานการปองกันและ กำจัด ปลวก มด ยุง หนู แมลงสาบ รวมถึงแมลงรำคาญอืน่ ๆ ชวยผปู ระสบภัยน้ำทวมดูแลบานหลังน้ำลด ดวยการนำเจาหนาที่ จากนักกีฎวิทยาผเู ชีย่ วชาญดานการกำจัดแมลงโดยเฉพาะ ทีผ่ า น การอบรมผคู วบคุมการใชวตั ถุอนั ตราย สำหรับการกำจัดแมลง และสัตวอนื่ ในบานเรือน หรือทางสาธารณสุข เขาชวยเหลือบาน ผปู ระสบภัยน้ำทวมทีไ่ ดรบั บัตรกำนัลฉีดพนน้ำยาเคมีฆา เชือ้ โรค และขจัดกลิ่นเหม็นจากน้ำทวมขัง ณ หมูบานอยูเจริญเปรม ประชา ดอนเมือง, หมบู า นคาซาวิลล ถ.รมเกลา -สุวนิ ทวงศ, หมบู า นพฤกษา 32 ปทุมธานี เมือ่ เร็วๆ นี้ • ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

เมโทรซิสเต็มสฯ จัดงาน IBM Power Talk Part XI

นางสาวอารีรตั น วิทรู าภรณ ผชู ว ยผอู ำนวยการกลมุ ผลิตภัณฑฮารดแวร บริษัท เมโทรซิสเต็มสคอรปอเรชั่น จำกัด

(มหาชน) (ที่ 2 จากซาย) จัดงาน “IBM Power Talk Part XI Smarter Power for Smarter Planet” เมือ่ วันที่ 18 มกราคม 2555 ณ สำนักงานใหญ บริษัท เมโทรซิสเต็มสคอรปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) จุดประสงคของการจัดงาน เพื่อใหกลุมลูกคาไดอัพเดต เทคโนโลยีลา สุดของ IBM Power พรอมทัง้ ไดรบั ฟงการบรรยาย เกีย่ วกับเทคโนโลยีทที่ นั สมัยของ System Software ตางๆ ที่ จะชวยใหใชงานเครื่อง IBM Power ไดอยางมีประสิทธิภาพ และ มีความปลอดภัยมากยิง่ ขึน้ •

○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

ผลการประกวดสือ่ ดิจทิ ลั สรางสรรค e-learning ระดับอุดมศึกษา ประจำป 2554 เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2555 ที่ผานมา ศ.ดร.ไพรัช ธัชยพงษ ประธานมูลนิธิอินเทอรเน็ตรวมพัฒนาไทย และที่ ปรึกษาอาวุโสสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง ชาติ (สวทช.) เปนประธานในงานประกาศผลมอบรางวัล การ ประกวดสือ่ ดิจทิ ลั สรางสรรค ประเภท e-learning ระดับอุดม ศึกษา ประจำป 2554 ผานโครงการ E-book 4 ภูมภิ าค โดยในปนี้ผลงานที่ไดรับรางวัลชนะเลิศ ไดแก “ขวัญ” จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รองชนะเลิศอันดับ 1 ไดแก “อารยธรรมโบราณ” จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และรอง ชนะเลิศอันดับ 2 ไดแก “มหัศจรรยในอวกาศ” จากมหาวิทยาลัย

128

336, มีนาคม 2555

วลัยลักษณ ซึง่ จัดขึน้ โดย อุทยานการเรียนรู TK park (ชัน้ 8) ศูนยการคาเซ็นทรัลเวิลด •


¿´ Á °°®

บีโอไอ รวมกับ ซีทเี อเซีย โรโบติกสจดั สัมมนา อุตสาหกรรมหนุ ยนตไทยสตู ลาดโลก

สำนักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน หรือ บีโอไอ รวมกับ บริษทั ซีทเี อเซีย โรโบติกส จำกัด จัดงานสัมมนาในหัว ขอ “อุตสาหกรรมหนุ ยนตไทยสตู ลาดโลก” ในงาน บีโอไอแฟร 2011 ซึง่ จัดขึน้ ระหวางวันที่ 5-22 มกราคม ทีผ่ า นมา โดยมี คุณเฉลิมพล ปุณโณทก ประธานกรรมการบริหารซีทีเอเซีย โรโบติกส เปนวิทยากรใหความรูในเรื่องอุตสาหกรรมหุนยนต พรอมกันนีย้ งั ไดเปดตัวหนุ ยนต Dinsow 2 หนุ ยนตอจั ฉริยะตัว

แรกของไทย ทีพ่ ฒ ั นาโดยทีมวิศวกรไทย ซึง่ ออกแบบมาเพือ่ ชวย เหลือผสู งู อายุ หนุ ยนต Dinsow 2 สามารถหยิบ จับ เสิรฟ ไดดว ยแขนกล โดยไดติดตั้งระบบไอทีรองรับการติดตอสื่อสารทุกกรณีฉุกเฉิน ดวยโปรแกรม DinsowSpond ซึ่งเปนการเปดตัวเทคโนโลยี หนุ ยนตและซอฟตแวรไทยเพือ่ มงุ สเู วทีโลก ในงานสัมมนาบีโอไอแฟร •

○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

กนอ.รวมกับ บีโอไอ จัดกิจกรรมเสวนาพลิกฟน นิคมอุตสาหกรรมไทย หลังมหาอุทกภัย 2554 การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.) โดยความ รวมมือกับสำนักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (บีโอไอ) จัดกิจกรรมเสวนาในโอกาสการจัดงานบีโอไอแฟร 2011 ระหวาง วันที่ 5-22 มการาคม 2555 ในหัวขอเรื่อง “พลิกฟนนิคม อุตสาหกรรมไทย หลังมหาอุทกภัย 2554” เพือ่ รับมืออุตสาหกรรม หลังน้ำลด ซึง่ นำทีมโดยคุณสุภาพ คลีข่ จาย ผชู ว ยรัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรม (ที่ 4 จากขวา) คุณพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล (ที่ 3 จากซาย) ประธานสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศ ไทย พรอมดวยผทู รงคุณวุฒแิ ละผมู ปี ระสบการณทเี่ กีย่ วของกับ การบริหารภาวะวิกฤต และนิคมอุตสาหกรรมมารวมแลกเปลีย่ น ทัศนะมุมมอง เพือ่ ประโยชนตอ การเรียนรทู มี่ คี ณ ุ คาตอแนวทาง

การพัฒนาและการบริหารนิคมอุตสาหกรรมในปจจุบัน ที่จะมี การพัฒนาตอไปในอนาคต •

336, มีนาคม 2555 129


¿´ Á °°®

กรมสงเสริมการสงออก จัดอบรมหลักสูตรความรู ในการประกอบธุรกิจสงออกอยางตอเนือ่ ง กรมสงเสริมการสงออก โดยสถาบันฝกอบรมการคา ระหวางประเทศ เดินหนาใหความรเู บือ้ งตนในการประกอบธุรกิจ สงออกแกนกั ธุรกิจรนุ ใหมอยางตอเนือ่ ง เพือ่ สรางแรงกระตนุ ให เศรษฐกิจไทย พรอมสรางมาตรฐานใหมใหกบั ธุรกิจ SMEs ไทย ใหสามารถโลดแลนไดในตลาดโลกอยางยัง่ ยืน ดวยการจัดอบรม หลักสูตรความรเู บือ้ งตนในการประกอบธุรกิจสงออก เพือ่ เสริม ทัพนักธุรกิจรุนใหมเขาสูตลาดโลกอีกครั้ง โดยระหวางวันที่ 20 - 24 กุมภาพันธ 2555 กรมสงเสริม การสงออก ไดจดั อบรมหลักสูตร "ความรเู บือ้ งตนในการประกอบ ธุรกิจสงออก" รนุ ที่ 116 เนือ้ หาในการอบรมมงุ เนนการเรียนรู จากประสบการณจริงของวิทยากรที่คร่ำหวอดอยูในวงการสง ออก เพือ่ ใหผเู ขารวมฝกอบรมสามารถนำความรทู ไี่ ดไปประยุกต ใช ใหเกิดผลสำเร็จในการประกอบธุรกิจตอไป สำหรับผทู สี่ นใจจะเขาอบรมในครัง้ ตอไปสามารถสอบถาม รายละเอียดไดทโี่ ทรศัพท 02 512 0093 -104 ตอ 360, 687, 359

นางสาวกาญจนา เทพารักษ ผอู ำนวยการสถาบันฝกอบรม การคาระหวางประเทศ เผยวา ทางสถาบันฯ ไดจดั หลักสูตรความ รเู บือ้ งตนในการประกอบธุรกิจสงออกประจำทุกป จำนวน 3 รนุ เพือ่ ตองการสรางนักธุรกิจไทยรนุ ใหม ทีม่ คี วามสนใจจะกาวเขา มาสูธุรกิจการคาระหวางประเทศ ซึ่งโครงการฝกอบรมนี้ไดยึด หลักภายใตแผนนโยบายการพัฒนาและสงเสริมการสงออกของ ประเทศ เพื่อที่จะะพัฒนาผูประกอบการใหมีความรู ความ สามารถ และมีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจสงออก •

○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

TUTG รวมมือกับ วสท. และภาคเอกชน จัดงานประชุมอุโมงคโลก 2012 รศ.ดร.สุชชั วีร สุวรรณสวัสดิ์ ประธานคณะกรรมการจัด งานประชุมอุโมงคโลก 2012 และประธานคณะกรรมการพัฒนา การกอสรางใตดนิ และอุโมงค (TUTG) ภายใตวศิ วกรรมสถาน แหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) จับมือกับนาย ชวลิต ถนอมถิน่ กรรมการผจู ดั การ บริษทั ไรทท นั เน็ลลิง่ จำกัด ในการสนับสนุนการจัดงานประชุมอุโมงคโลก 2012 (World Tunnel Congress 2012) ซึง่ ประเทศไทยเปนเจาภาพครัง้ แรก นับเปนการประชุมนานาชาติทยี่ งิ่ ใหญของวงการวิศวกรรมโยธา และสาธารณูปโภคเพือ่ คุณภาพชีวติ และเศรษฐกิจทีย่ งั่ ยืน ปลอดภัย ในงานนีจ้ ะมีนานาประเทศจากทัว่ โลกเขารวมประชุม ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสริ กิ ติ ิ์ ในวันที่ 18-23 พฤษภาคม 2555 ภายใตความรวมมือของสมาคมอุโมงคและพืน้ ทีใ่ ตดนิ นานาชาติ และสำนักงานสงเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องคการ

130

336, มีนาคม 2555

มหาชน) หรือ สสปน. และเมือ่ เร็วๆ นี้ TUTG ไดรว มกับสมาคมวิศวกรรมแหง ประเทศพมา จัดสัมมนาพิเศษ เรื่องวิศวกรรมเทคโนโลยีและ


¿´ Á °°®

ธรณีวทิ ยางานกอสรางอุโมงคและการใชพนื้ ทีใ่ ตดนิ ซึง่ เปนความ รวมมือระหวางไทยและเมียนมารในดานวิศวกรรมกาวไกลเพือ่ ประโยชน แ ก ป ระชาคม โดยจั ด สั ม มนาพิ เ ศษ ในหั ว ข อ “วิศวกรรมเทคโนโลยีและธรณีวทิ ยางานกอสรางอุโมงคและการ ใชพนื้ ทีใ่ ตดนิ ” (Geotechnical Aspects of Tunnelling and Underground Space Utilization)” ณ สมาคมวิศวกรรมแหง เมียนมาร เมืองยางกงุ ประเทศเมียนมาร การจัดสัมมนาครัง้

นีป้ ระสบผลสำเร็จอยางดียงิ่ โดยมีบคุ คลจากวงการวิศวกรรมกอ สราง โลจิสติกสและอสังหาริมทรัพยกวา 200 คน เขารวมงาน วัตถุประสงคของงานสัมมนา เพือ่ เผยแพรองคความรกู าร ใชพนื้ ทีใ่ ตดนิ อยางมีประสิทธิภาพ ภายใตเทคนิคดานการขุดเจาะ อุโมงคใตดินที่มีมาตรฐาน ตลอดจนการเสริมสรางความมั่น คงปลอดภัยแกเมือง และลดความเสียหายจากภัยพิบตั ธิ รรมชาติ เผยแพรองคความรูหลักการและเทคนิคขั้นพื้นฐานของการกอ สรางอุโมงค และวิศวกรรมเทคโนโลยีและธรณีวิทยางานกอ สรางอุโมงคและการขุดเจาะระดับลึกในชัน้ ดินออน พรอมถกถึง ปญหาความตองการของโครงสรางพื้นฐาน อาทิ การขนสง พลังงาน การระบายน้ำทวม สิง่ อำนวยความสะดวกและโครง สรางอาคารใตดนิ เพือ่ ผลประโยชนตอ สาธารณชน สังคมและ สิ่งแวดลอม พรอมกันนี้ทาง TUTG ไดประชาสัมพันธการที่ ประเทศไทยเปนเจาภาพจัดงานประชุมอุโมงคโลก 2012 ทีจ่ ะเกิด ขึน้ ณ ศูนยประชุมแหงชาติสริ กิ ติ ,ิ์ กรุงเทพ ระหวางวันที่ 18 ถึง 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 อีกทางหนึง่ ดวย •

○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

ทีม Stabilize จาก ม.เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ควาแชมปการ แขงขันหนุ ยนตกภู ยั ชิงแชมปประเทศไทย ประจำป 2554 สมาคมวิชาการหุนยนตแหงประเทศไทย รวมกับมหา วิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (มจพ.) โดยการ สนับสนุนของบริษทั ปูนซีเมนตไทย จำกัด ( มหาชน ) กำหนด จัดการแขงขันหนุ ยนตกภู ยั ชิงแชมปประเทศไทย ประจำป พ.ศ 2554 หรือ Thailand Recue Robot 2011 ชิงถวยพระราช ทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึง่ จัด ขึ้นที่ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ โดยผชู นะเลิศจะไดเปนตัวแทนประเทศไทยไปแขงขันทีป่ ระเทศ แม็กซิโก ระหวางวันที่ 18-24 มิถนุ ายน 2555 โดยมีทมี หนุ ยนต ทีผ่ า นรอบคัดเลือกจำนวน 53 จาก 36 สถาบันการศึกษา การแขงขัน Thailand Recue Robot 2012 เริม่ จากวัน ที่ 28-29 มกราคม 2555 เปนการซอมใหญ และในวันที่ 30 มกราคม - 1 กุมภาพันธ 2555 เปนการแขงขันรอบคัดเลือก และในวันที่ 3 กุมภาพันธ 2555 เปนการแขงขันรอบชิงชนะเลิศ สำหรับทีมหุนยนตจาก มจพ.ที่ผานรอบคัดเลือกไดถึง 2 ทีม คือ MiNi Mecha และพันธุ E-INSPIRATION ไมเขา

รวมการแขงขัน เนือ่ งจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือเปนเจาภาพ ประกอบกับทีมหุนยนตกูภัยของ มจพ.ไดเปนแชมปโลกในนามประเทศไทยหลายสมัยติดตอกัน ดั ง นั้ น เพื่ อ เป น การเป ด โอกาสให ที ม หุ น ยนต กู ภั ย จาก สถาบันอืน่ ๆ ไดมโี อกาสแสดงศักยภาพหนุ ยนตบนเวทีนไี้ ดอยาง เต็มความสามารถ ทีมหนุ ยนตจาก มจพ. ทัง้ 2 ทีมจึงขอถอน ตัวจากการแขงขัน ผลการแขงขัน ในรอบชิงชนะเลิศเมือ่ วันที่ 3 กุมภาพันธ

336, มีนาคม 2555 131


¿´ Á °°®

ทีผ่ า นมา ปรากฎวาทีม Stabilize จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร ควาแชมปการแขงขันหนุ ยนตกภู ยั ชิงแชมป ประเทศไทย ประจำป พ.ศ 2554 และไดรบั ถวยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พรอมเงิน รางวัล 200,000 บาท และไดเปนตัวแทนทีมชาติไทยเขารวม การแขงขัน World Robocup Rescue 2012 ระหวางวันที่ 18-24 มิถนุ ายน 2555 ทีเ่ มืองแม็กซิโกซิตี้ ประเทศแม็กซิโก สวนรางวัลรองชนะเลิศ ไดแก ทีม Megatron_Bot จาก วิทยาลัยการอาชีพเวียงสา ซึง่ ไดรบั เงินรางวัล 100,000 บาท นอกจากนีย้ งั มีรางวัล Best-Class Mobility ซึง่ ทีมทีไ่ ด รับรางวัล คือ ทีม Stabilize จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร รับเงินรางวัล 50,000 บาท, รางวัล BestIn-Class Autonomy ไดแกทีม Successfully@RMUTR

จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร (ศาลายา) รับเงินรางวัล 50,000 บาท สำหรับทีมทีผ่ า นเขารอบ 8 ทีมสุดทาย หรือทีมทีไ่ ดเขา รอบชิงชนะเลิศ จะไดทนุ เพือ่ พัฒนาหนุ ยนตทมี ละ 20,000 บาท ไดแก ทีม Stabilize จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, ทีม Megatron_Bot จากวิทยาลัยการอาชีพเวียงสา, ทีม Success_Unity จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร, ทีม Stabilize_Large จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, ทีม ชาง ชาง จากวิยฃทยาลัยเทคนิคสุรนิ ทร, ทีม Four_R จากมหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา, ทีม Eco Mission IV จากมหาวิทยาลัยหอการคาไทย และทีมแกงหินเพิง จากวิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรี •

กกพ. ชวยเหลือโรงงานทีป่ ระสบภัยน้ำทวม ดวยยกเวนเก็บคาไฟฟาชัว่ คราว คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) พิจารณามาตรการใหความชวยเหลือเยียวยาโรงงานอุตสาหกรรมทีม่ ใี บอนุญาต และไดรบั ความเดือดรอนจากการประสบภัยน้ำทวม โดยยกเวน การเก็บคาไฟฟาเปนการชัว่ คราว เพือ่ ชวยบรรเทาความเดือดรอน ทัง้ ของการไฟฟานครหลวงและการไฟฟาสวนภูมภิ าค ดังนี้ 1. ในเดือนที่ผูใชไฟฟาประสบอุทกภัย หากไมมีการใช ไฟฟา การไฟฟาจะไมเรียกเก็บคาบริการรายเดือน โดยใหมผี ล บังคับใชตงั้ แตเดือนทีป่ ระสบอุทกภัยจนถึงสิน้ เดือนเมษายน 2555 2. ผูใชไฟฟาที่ประสบอุทกภัยสามารถติดตอการไฟฟา

132

336, มีนาคม 2555

เพือ่ ขอยกเวนคาไฟฟา โดยไมตอ งนำเงือ่ นไขการคิดคาไฟฟาตาม อัตราขั้นต่ำมาเปรียบเทียบ โดยใหมีผลบังคับใชตั้งแตเดือนที่ ประสบอุทกภัยจนถึงเดือนเมษายน 2555 3. ผูใชไฟฟาที่ประสบอุทกภัยสามารถติดตอการไฟฟา เพื่ อ ขอผ อ นผั น การชำระเงิ น ค า ไฟฟ า ประจำเดื อ นที่ ป ระสบ อุทกภัยแตละเดือนออกไปเปนระยะเวลา 3 เดือน โดยการไฟฟา จะไมเรียกเก็บดอกเบีย้ อยางไรก็ตามมติ กกพ.ดังกลาวขางตนนัน้ มีจดุ ประสงคเพือ่ ชวยเหลือผปู ระกอบการอุตสาหกรรมเปนการชัว่ คราวเทานัน้ •


ปฏิทินงานแสดงสินคาและสัมมนา µ¦µ µ ­ ­· oµ

ºÉ° µ 5XEEHU 7HFKQRORJ\ ([SR &RPPDUW 7KDLODQG %DQJNRN ,QWHUQDWLRQDO %RRN )DLU %XLOG7HFKu

¦³Á£ ª´ ¸É ­ µ ¸É ­ µ ¸É · n° µ ­ °» ­µ® ¦¦¤Â¨³Á à 襸 ¤¸ µ ¤ %,7(& 7HFKQR%L] µ oµ ¥µ ¨³¥µ ¦ &RPPXQLFDWLRQV µ ­ Á à 襸°·Á¨È ¦° · ­r Å° ¸ ¤¸ µ ¤ «¼ ¥r µ¦ ¦³ »¤Â®n µ · Á° °µ¦r ¨³ °¤¡·ªÁ °¦r Á à 襸­µ¦­ Á « ­·¦· · ·Í µ ­ µ oµ ® ´ ­º°Â®n µ · ¤¸ µ ¤ Á¤¬µ¥ «¼ ¥r µ¦ ¦³ »¤Â®n µ · ­¤µ ¤ ¼o ´ ¡·¤¡r¨³ ¼o ε ¨³® ´ ­º° µ µ µ · ­·¦· · ·Í ® nµ¥® ´ ­º°Â®n ¦³Á «Å ¥ µ ­ Á à 襸 µ oµ ª´­ » Á¤¬µ¥ %,7(& 77) ,QWHUQDWLRQDO °» ¦ r n°­¦oµ ¨³  n &R /WG $VLDQ 3DSHU µ ­ Á à 襸 µ oµ Á¤¬µ¥ «¼ ¥r µ¦ ¦³ »¤Â®n µ · 8%0 $VLD 7KDLODQG °» ­µ® ¦¦¤Á¥ºÉ° ¦³ µ¬ ¨³ ¦³ µ¬ ­·¦· · ·Í 7KDLODQG $XWR 3DUWV µ ­ °» ­µ® ¦¦¤ ·Ê ­nª ¥µ Á¤¬µ¥ %,7(& ¦¤­n Á­¦·¤ µ¦­n °° $FFHVVRULHV ¥ r °³Å®¨n¥µ ¥ r ¨³°» ¦ r 7$3$  n 68%&21 7KDLODQG µ ­ °» ­µ® ¦¦¤¦´ nª µ¦ ¨· ¡§¬£µ ¤ %,7(& 8%0 $VLD 7KDLODQG Á¡ºÉ° µ¦ ´ ºÊ° ·Ê ­nª °» ­µ® ¦¦¤ ,QWHUPDFK µ ¦³ »¤Â¨³ µ ­ Á à 襸 ¡§¬£µ ¤ %,7(& 8%0 $VLD 7KDLODQG µ oµ °» ­µ® ¦¦¤Á ¦ºÉ° ´ ¦ ¨ ¨³ µ ,$ 5RERWLFV 6KHHW 0HWDO $VLD :HOGWHFK 0ROGH[ /RJLV3UR $XWRPRWLYH µ ­´¤¤ µ ¨³ µ ­ Á à 襸 ¡§¬£µ ¤ %,7(& 8%0 $VLD 7KDLODQG (QJLQHHULQJ $VLD µ oµ Á ¦ºÉ° ´ ¦ Á ¦ºÉ° ¤º° Ä µ °» ­µ® ¦¦¤ ¦³ ° ¥µ ¥ r :RUOG 7XQQHO &RQJUHVV µ ¦³ »¤°»Ã¤ rè µ¦ ¡§¬£µ ¤ «¼ ¥r µ¦ ¦³ »¤Â®n µ · 3URFRQJUHVV ¦³ »¤ µ µ µ · ° ª µ¦ª·«ª ¦¦¤ ­·¦· · ·Í Ã¥ µ ¨³­µ µ¦ ¼ ã 3XPSV 9DOYHV $VLD µ ­´¤¤ µ ¨³ µ ­ Á à 襸 ¤· » µ¥ %,7(& 8%0 $VLD 7KDLODQG °» ­µ® ¦¦¤ µ oµ ¦³ { ¤ ªµ¨rª n° ¨³ o° n° &RPPDUW ; *HQ µ ­ Á à 襸°·Á¨È ¦° · ­r Å° ¸ ¤· » µ¥ «¼ ¥r µ¦ ¦³ »¤Â®n µ · Á° °µ¦r 7KDLODQG ¨³ °¤¡·ªÁ °¦r Á à 襸­µ¦­ Á « ­·¦· · ·Í 3URSDN $VLD µ ­´¤¤ µ ¨³ µ ­ Á à 襸 ¤· » µ¥ %,7(& %(6 ¦³ ª µ¦ ¨· ¨³ ¦¦ »£´ r $VVHPEO\ 7HFKQRORJ\ µ ¦³ »¤ ¨³ µ ­ Á à 襸 ¤· » µ¥ %,7(& ¦¸Ê Á ¦ Á È r µ oµ Á ¦ºÉ° ´ ¦ Á ¦ºÉ° ¤º°Ä µ °» ­µ® ¦¦¤ ¦³Á£ nµ Ç ®¤µ¥Á® » µ¦µ ¸Ê°µ Á ¨¸É¥  ¨ Å o ¦» µ · n°°¸ ¦´Ê ® ¹É ´ ¼o ´ µ¤®¤µ¥Á¨ à ¦«´¡ r ´ ¨nµª ¦·¬´ ¦¸Ê Á ¦ Á È r ε ´ ¦·¬´  Ȱ Á°È r · · ´É Á °¦rª·­Á ­ ε ´ %(6 à ¦«´¡ r à ¦­µ¦ à ¦«´¡ r à ¦­µ¦ ¦·¬´ Á° °µ¦r °· ¢°¦rÁ¤ ´ ° r ¡´ ¨·Á ´ ε ´ 8%0 $VLD 7KDLODQG &R /WG à ¦«´¡ r à ¦­µ¦ à ¦«´¡ r n° à ¦­µ¦ ¦·¬´ ¸ ¸Á°¢ °· Á °¦rÁ ´É  ¨ ε ´ 7HFKQR%L] &RPPXQLFDWLRQV &R /WG à ¦«´¡ r à ¦­µ¦ à ¦«´¡ r à ¦­µ¦ ¦¤­n Á­¦·¤ µ¦­n °° ¦³ ¦ª ¡µ · ¥r ­¤µ ¤ ¼o ´ ¡·¤¡r¨³ ¼o ε® nµ¥® ´ ­º°Â®n ¦³Á «Å ¥ 38%$7 à ¦«´¡ r à ¦­µ¦ à ¦«´¡ r à ¦­µ¦ 3URFRQJUHVV 7KDLODQG &R /WG à ¦«´¡ r ZZZ ZWF FRP

336, มีนาคม 2555 133


ปฏิทินงานแสดงสินคาและสัมมนา µ¦µ f ° ¦¤Â¨³­´¤¤ µ ´ à ¥ ¦·¬´ Á°È¤Â° r°¸ ε ´ และ

เสนอ...การอบรมสัมมนา

ลับสมองเพิ่มศักยภาพ เพื่อเพิ่มทักษะ, ประสิทธิภาพ และผลกําไร

®´ª o° ª´ ¸É ­ µ ¸É µ¦ ¦ª ­° ¨³ 妻 ¦´ ¬µ¦³ Å¢¢jµ°¥nµ ¤º°°µ ¸¡ ¤· » µ¥ æ ¦¤Â ¦ r Á ° ª·¨¨r µ¦°°  ¨³ 妻 ¦´ ¬µ¦³ ε ªµ¤Á¥È ­Îµ®¦´ °» ­µ® ¦¦¤ ¦ µ ¤ æ ¦¤Â ¦ r Á ° ª·¨¨r Á · Ä µ¦Á¨º° ¨³Ä o µ oµ n° ªµ¨rª { ¤ ­· ®µ ¤ æ ¦¤Â ¦ r Á ° ª·¨¨r µ¦°°  ¨³ · ´Ê ¦³ Å¢¢jµ ´ ¥µ¥ æ ¦¤Â ¦ r Á ° ª·¨¨r ®¤µ¥Á® » µ¦µ ¸Ê°µ Á ¨¸É¥  ¨ Å o ¦» µ · n°°¸ ¦´Ê ® ¹É ´ ¼o ´ µ¤®¤µ¥Á¨ à ¦«´¡ r ´ ¨nµª ­° µ¤¦µ¥¨³Á°¸¥ Á¡·É¤Á ·¤Å o ¸É ¦·¬´ Á°È¤Â° r°¸ ε ´ 0 (

°µ µ¦­· ­µ ¦ µªÁª°¦r ´Ê  ª ¨° o Å ¦ Á ¨° ­µ ¦» Á ¡² à ¦«´¡ r à ¦­µ¦ ZZZ PH FR WK HPDLO LQIR#PH FR WK

¼o ´ Á°È¤Â° r°¸ Á°È¤Â° r°¸ Á°È¤Â° r°¸ Á°È¤Â° r°¸

µ¦µ f ° ¦¤Â¨³­´¤¤ µ

®´ª o° µ¦ 妻 ¦´ ¬µÁ · µ µ¦ r µ¤­£µ¡ ¦· Á ¦¸¥¤¡¦o°¤­¼n µ¦Á } ®´ª® oµ µ µ¦ nª ­¤ »¨ Á ¦ºÉ° ´ ¦®¤» ¡ºÊ µ ¦³ ª »¤ ·ªÂ¤ · µ¦ 妻 ¦´ ¬µ ·Ê ­nª Á ¦ºÉ° ´ ¦ ¨Ä æ µ ,QWURGXFWLRQ WR $XWRPDWLRQ ZLWK =HOLR µ¦Á ¸¥  εÁ · µ °¥nµ ¤¸ ¦³­· ·£µ¡ µ¦ ¦ª ­° à ¥Ä o° »£µ ¤nÁ®¨È µ¦ªµ  µ¦ ´ µ¦¡¨´ µ oª¥ 769 (QHUJ\ &KDUW Å Á È Á¡ºÉ° µ¦ ¦´ ¦» µ 06$ 0HDVXUHPHQW 6\VWHP $QDO\VLV 3URFHVV &RQWURO 6PDOO /RW ­Îµ®¦´ °» ­µ® ¦¦¤¨° Á¨È µ¦°°  0RGHO ¤· · oª¥ *RRJOH 6NHWFKXS µ¦ ¦³¥» rÄ o ([FHO Ä µ¦ ´ 妳 ¦·®µ¦­· oµ ¨´ ¦³ ª »¤Å± ¦°¨· Å¢¢jµ µ¦ ´ µ¦ ªµ¤¦¼o µ §¬ ¸­¼n µ¦ · ´ · ¦³ ·ªÂ¤ · µ¦Ä o µ ¨³ µ¦ 妻 ¦´ ¬µ°¥nµ ¼ ª· ¸ 3/& SURJUDPPLQJ ,(& /DQJXDJH µ¦ 妻 ¦´ ¬µÂ¨³ µ¦Â oÅ ¦³ ű ¦°¨· ª· ¸­¦oµ ´ ¸ ¸Êª´ ªµ¤­ÎµÁ¦È ° µ µ¦­¦oµ · °µ­µ£µ¥Ä ° r ¦­Îµ®¦´ µ °» ­µ® ¦¦¤ µ¦Â o { ®µÂ¨³ ¦´ ¦» µ °¥nµ Á } ¦³ ¼o · ´ · µ ¦³ 妳 ε ´ ¤¨¡·¬ µ Êε µ¦ªµ  ¨³ ª »¤ µ¦ ¨· ­Îµ®¦´ 2(0

134

336, มีนาคม 2555

ª´ ¸É ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤

­ µ ¸É ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 7),, +&%, 7),, ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 æ ¦¤ ´­¤· Á°È Á È ¼ ¸¡ ­¼ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ª­ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ æ ¦¤°¤µ¦¸ Á°Á ¦¸¥¤ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 7),, ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ æ ¦¤°¤µ¦¸ Á°Á ¦¸¥¤ ((, +&%, ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´

¼o ´ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ ­ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ ­ 7),, +&%, 7),, ­ ­ )73, ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ ­ ª­ ­ ­ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ )73, ­ ­ 7),, ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ )73, ((, +&%, ­ ­ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´


ปฏิทินงานแสดงสินคาและสัมมนา ®´ª o° ¦³¥» rÄ o °¤¡·ªÁ °¦r ε ¦³ª´ ·Â¨³ª´ ¦³Á¤· ¦³ n°¤ 妻 µ¦°°  ¨³ · ´Ê ¦³ ´ Á¡¨· oª¥ Êε ¼o ª »¤ ¦³ 室o° Ê娳®¤o° o¤ ¸ÉÄ o ° Á®¨ªÁ } ­ºÉ° ε ªµ¤¦o° ¦³ ű ¦°¨· ¡ºÊ µ µ¦ª·Á ¦µ³®r¨³ ¦´ ¦» ¦³­· · ¨Ã ¥¦ª¤ ° Á ¦ºÉ° ´ ¦ µ¦ª´ ¦³­· · ¨Ã ¥¦ª¤ ° Á ¦ºÉ° ´ ¦ Á · µ¦ ª »¤ nµÄ o nµ¥Ä µ n°¤ 妻 µ¦Á ¸¥ à ¦Â ¦¤ ε¨° ­ µ µ¦ ´Ê ¡ºÊ µ oª¥ $UHQD µ¦¡´ µ ´ ¬³ µ¦ · Á¡ºÉ° µ¦Â o { ®µ°¥nµ ¤¸ ¦³­· ·£µ¡ µ¦ 妻 ¦´ ¬µÁ ¦ºÉ° ´ ¦ ¨°» ­µ® ¦¦¤Á¡ºÉ°Ä®o­° ¨o° ´ ¦³ *03 +$&&3 µ¦ª·Á ¦µ³®r o » ¦·¤µ εŦ  n  o µ¦ ´ µ¦ ¨´ ­· oµ Á · µ¦ j° ´ ¨³Â oÅ µ { ®µ µ¦ » Â È Á«¦¬ · ¡°Á¡¸¥ ´ µ¦° »¦´ ¬r¡¨´ µ µ¦Á ºÉ°¤Ã¨®³ ¦³Á£ ¨»n¤Á®¨È 52, 5HWXUQ 2Q ,QYHVWPHQW /HDUQLQJ 3URFHVV µ¦ ¦·®µ¦ µ¦ ¨· ¨³ µ¦ · ´ · µ¦°¥nµ ¤º°°µ ¸¡ µ¦ 妻 ¦´ ¬µÁ ¦ºÉ° ´ ¦ oª¥ª· ¸ µ¦ª´ ª·Á ¦µ³®r µ¦­´É ­³Á º° µ¦°°  ¦³ n°Å° Êε ®¨´ µ¦ ¦³¥» rÄ o 3/& Ä µ °» ­µ® ¦¦¤ 3DUW ,, ¼o ª »¤ ¦³ 室o° Êε /LQH 0DQDJHU ¡´ »rÄ®¤n ®´ªÄ +5 µ¦ª·Á ¦µ³®r°µ µ¦ ´ o° ¨³ ¨ ¦³ )0($ µ¦­° Á ¸¥ Á ¦ºÉ° ¤º°ª´ °» ­µ® ¦¦¤ §¬ ¸Â¨³ · ´ · $& GULYH EDVLF FRQILJXUDWLRQ &RPPXQLFDWLRQ ¡ºÊ µ ¤°Á °¦rÅ¢¢jµ '& ¨³ $& ¦³ ª »¤Å± ¦°¨· ´Ê ­¼

ª´ ¸É ­ µ ¸É ¼o ´ ¤¸ µ ¤ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ª­ ª­ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ¤¸ µ ¤ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ æ ¦¤°¤µ¦¸ Á°Á ¦¸¥¤ )73, ¤¸ µ ¤ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ 7),, 7),, ¤¸ µ ¤ ((, ((, ¤¸ µ ¤ «¼ ¥r¡´ µ 妻 ¦´ ¬µ «¼ ¥r¡´ µ 妻 ¦´ ¬µ ¤¸ µ ¤ ű ¦°¨· Á · ¦» ű ¦°¨· Á · ¦» ¤¸ µ ¤ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ )73, ¤¸ µ ¤ æ ¦¤°¤µ¦¸ Á°Á ¦¸¥¤ ¤¸ µ ¤ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ((, ((, ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ +&%, +&%, ¤¸ µ ¤ ((, ((, ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ª­ ª­ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ +&%, +&%, ¤¸ µ ¤ æ ¦¤°¤µ¦¸ Á°Á ¦¸¥¤ )73, ¤¸ µ ¤ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ 7),, 7),, ¤¸ µ ¤ ¤¸ µ ¤ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ¤¸ µ ¤ «¼ ¥r¡´ µ 妻 ¦´ ¬µ «¼ ¥r¡´ µ 妻 ¦´ ¬µ ű ¦°¨· Á · ¦» ű ¦°¨· Á · ¦» µ¦ ´ ¦³ µ¦ ¦·®µ¦ µ ¦³ εª´ ¤¸ µ ¤ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ((, ((, ®¨´ µ¦¡´ µÂ »¦ · Á¤ºÉ° ¦³­ £µª³ª· § · ¤¸ µ ¤ æ ¦¤°¤µ¦¸ Á°Á ¦¸ ¥ ¤ )73, ¨ o » Ťn¨ » £µ¡ ¤¸ µ ¤ µ¦ ´ ¦³ µ¦ ¨· ¤¸ µ ¤ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ª­ ª­ µ¦ ε ª  oÅ µ µ ¦µ ° ¦¸ Á­¦·¤Á®¨È ¤¸ µ ¤ ¦³ µ¦ ¨·  ¸É »i °¥nµ nµ¥ ¤¸ µ ¤ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ 1HZ 4& 7RROV ¤¸ µ ¤ ª­ ª­ µ¦Á¨º° ¨³ µ¦ ε ª ¦³ ª »¤ ªµ¤ ºÊ Ä µ¦ ¦´ °µ µ« ¤¸ µ ¤ Á · ¨³ª· ¸ µ¦­° ­ª °» ´ ·Á® » °» ´ · µ¦ rÄ ­ µ ¦³ ° µ¦ ¤¸ µ ¤ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ®¤µ¥Á® » µ¦µ ¸Ê°µ Á ¨¸É¥  ¨ Å o ¦» µ · n°°¸ ¦´Ê ® ¹É ´ ¼o ´ µ¤®¤µ¥Á¨ à ¦«´¡ r ´ ¨nµª ­¤µ ¤ª·«ª ¦¦¤­ µ ®n ¦³Á «Å ¥ Ä ¡¦³ ¦¤¦µ ¼ ´¤£r ª­ ­ µ ´ Å ¥ Á¥°¦¤´ 7*, à ¦«´¡ r à ¦­µ¦ à ¦«´¡ r à ¦­µ¦ ­¤µ ¤­n Á­¦·¤Á à 襸 ­ ­ ­ µ ´ Á¡·É¤ ¨ ¨· ®n µ · )73, à ¦«´¡ r n° à ¦­µ¦ à ¦«´¡ r n° à ¦­µ¦ ­ µ ´ Á­¦·¤­¦oµ ¸ ªµ¤­µ¤µ¦ ¤ »¬¥r +&%, ­ µ ´ ª´ ¦¦¤Á à 襸Š¥ ¦´É Á«­ 7),, ­£µ°» ­µ® ¦¦¤Â®n ¦³Á «Å ¥ ¤®µª· ¥µ¨´¥Á à 襸¡¦³ °¤Á ¨oµ¡¦³ ¦Á® º° à ¦«´¡ r à ¦­µ¦ à ¦«´¡ r à ¦­µ¦ «¼ ¥r¡´ µ 妻 ¦´ ¬µÅ± ¦°¨· Á · ¦» ­ µ ´ Å¢¢jµÂ¨³°·Á¨È ¦° · ­r ((, à ¦«´¡ r n° à ¦­µ¦ à ¦«´¡ r n° à ¦­µ¦

336, มีนาคม 2555 135


แนะนํ แนะนําาผลิ ผลิตตภัภัณณฑฑ

B&K Precision รุน 2640 เครื่องวิเคราะหความถี่ Spectrum Analyzer 2 GHz

B&K Precision รุน 2640 เปนเครื่องวิเคราะหความถี่ Spectrum Analyzer 2 GHz ขนาดมือถือ ที่เหมาะสําหรับงาน วิทยุ FM, งาน Cellular, CATV ที่วัดสนามความถี่วิทยุ ทํางาน ดวยแบตเตอรี่ ใชในการวัดระดับสัญญาณความถี่วิทยุ (RF Level) และวัดสนามความถี่วิทยุ โดยใชหลักการสังเคราะห ความถี่ ที่ใหความแมนยําในการวัดไดกวางตั้งแต 100 KHz ถึง 2000 MHz มีคานอยสฟลอรตํ่าถึง -110 dBm เพื่อการ ตรวจจับสัญญาณออนๆ ไดดี และมีฟง กชนั่ วิเคราะหความถีว่ ทิ ยุ (RF Spectrum Analyzer) ในตัว B&K Precision รุนนี้เหมาะสําหรับงานติดตั้งและซอม บํารุงระบบสื่อสารโทรศัพทมือถือ, วิทยุ FM, ระบบเคเบิ้ลทีวี และทีวดี าวเทียม และใชในการตรวจวัดและซอมบํารุงเสาอากาศ เปนตน โดยมีคุณสมบัติเดน ดังนี้ - ทํางานดวยแบตเตอรี่ขนาดเล็ก พกพาสะดวก

- ชวงวัดความถี่ 100 KHz ถึง 2 GHz กวาดความถีส่ งู สุด 400 MHz - เปนเครื่องนับความถี่ขนาด 2 GHz ในตัว - ตรวจวัดสัญญาณไดทั้ง Wide Band FM (180 KHz), Narrow Band FM (12.5 KHz) และ AM & SSB (2.4 KHz) - ใชเฟสล็อกลูปในการจูนความถี่ไดอยางแมนยํา - สแกนความถี่และแสดงผลได 160 ชองสัญญาณ - มีเสียงแจงเมื่อจับสัญญาณได พรอมลําโพงในตัว - มีเสาอากาศที่ถอดออกได - มีไฟแบ็กไลตสองจอ - เก็บบันทึกการตั้งคาและผลการวัดได - เชื่อมตอดวย RS-232 สนใจติดตอขอรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ บริษัท เมเชอร โทรนิกซ จํากัด z

โมโตโรลา ET1 คอมพิวเตอรแท็บเล็ตเพื่อการใชงานระดับองคกร คอมพิวเตอรแท็บเล็ต ET1 จากโมโตโรลา เปนแท็บเล็ต สําหรับการใชงานระดับองคกรรุน แรกของโมโตโรลา ทีม่ าพรอม แพลตฟอรม Motorola RhoElements ที่รองรับเว็บแอพพลิเคชั่น มุงใหธุรกิจตางๆ สามารถพัฒนาและใชเว็บแอพพลิเคชั่นบนโทรศัพทเคลื่อนที่รุน Motorola Windows Embedded Handheld (เดิมชื่อวา Windows Mobile) และ คอมพิวเตอรเคลื่อนที่ Win-CE (หรือ Windows Embedded Compact) รวมถึงเครือ่ งแท็บเล็ต ET1 รุน ใหมลา สุดของโมโตโรลาไดอยางรวดเร็วและประหยัดคาใชจาย

136

336, มีนาคม 2555


แนะนํ แนะนําผลิ าผลิตตภัภัณณฑฑ แท็บเล็ต ET1 คือ อุปกรณสอื่ สารระดับองคกรทีร่ วบรวม ทุกฟงกชั่นการใชงาน ที่พัฒนาขึ้นเปนอุปกรณเพื่อการใชงาน ระดับองคกรอยางแทจริง มีความทนทานสูง ติดตัง้ ระบบสแกนเนอรบารโคดและเครื่องอานแถบแมเหล็ก ซึ่งเปนออปชั่นให เลือก มีชุดแบตเตอรี่แบบ hot-swappable ที่สามารถถอด เปลี่ยนไดโดยไมตองปดเครื่อง และสนับสนุนซอฟตแวรระบบ ที่มีความปลอดภัยสูงสุด นอกจากนี้ แท็บเล็ต ET1 ยังมีอุปกรณเสริม เชน แทน ชารจแบตเตอรี่แบบหลากหลายชองที่มีความปลอดภัย ทั้งยัง รองรับเทคโนโลยีไว-ไฟ และมีระบบปองกันรหัสผาน จึงนําไป ใชงานรวมกันโดยผูใชงานหลายคนพรอมๆ กันตามระดับหนาที่ ความรับผิดชอบและสิทธิการเขาใชไดอยางงายดาย โดยมีจุด เดนอีกมาก ดังนี้ - ออกแบบใหรองรับการใชงานจากผูใ ชหลายๆ คนทุกวันตลอด 24 ชัว่ โมง โดยใชระบบปฏิบตั กิ ารแอนดรอยด เวอรชนั่ ระดับ องคกร - จอภาพสีขนาด 7 นิ้ว ทําดวยกระจก Gorilla Glass มีความ ทนทาน ซึ่งการออกแบบเปนพิเศษใหรองรับการเลนวิดีโอ และการแสดงภาพตางๆ อยางชัดเจน, สามารถพิมพชื่อผู จําหนายรายยอยไวที่บริเวณขอบจอไดดวย - มีความทนทาน รองรับแรงกระแทกและการตกหลนของ เครือ่ งในระหวางการทํางาน, รองรับการสแกนเนอรบารโคด และระบบอานแถบแมเหล็ก ซึ่งเปนออปชั่นใหเลือก - ชุดแบตเตอรีแ่ บบ hot-swappable ทีส่ ามารถถอดเปลีย่ นได โดยไมตอ งปดเครือ่ ง โดยสามารถรักษาขอมูลในหนวยความ จําไวไดนานถึง 15 นาทีในระหวางการถอดเปลี่ยนแบตเตอรี่ - มี ร ะบบชาร จ แบตเตอรี่ ทั้ ง ที่ ตั ว เครื่ อ งแท็ บ เล็ ต และตั ว

แบตเตอรี่ มีทั้งแบบชองเดียวและหลายชอง - ติดตั้งกลองทั้งดานหนาและดานหลังของตัวเครื่อง - สนับสนุนระบบสแกนเนอรบารโคดแบบมือถือที่สนับสนุน เทคโนโลยีบลูทธู เครือ่ งอานการชําระเงินแบบเคลือ่ นที่ และ เครื่องพรินเตอรแบบเคลื่อนที่ - มีที่จับเพื่อความสะดวกในการใชเครื่อง ซึ่งเปนออปชั่นเสริม ใหเลือก สวนแพลตฟอรม RhoElements นั้นมีจุดเดน คือ เปน แพลตฟอรมที่รองรับแอพพลิเคชั่น HTML5/JavaScript/CSS สนับสนุนการทํางานของเว็บแอพพลิเคชั่นสมรรถนะสูง ทําให การเปลีย่ นจากโซลูชนั่ ของเครือ่ งคอมพิวเตอรจาํ ลอง หรือแอพพลิเคชั่นที่ใชกับเบราเซอรแบบเดิมเปนเว็บแอพพลิเคชั่นที่มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และเปนมิตรกับผูใชงานมากขึ้น, สงเสริม การพัฒนาแอพพลิเคชั่นสําหรับผูใชระดับองคกรใหมีรูปแบบ และรายละเอียด, สามารถใชงานไดบนอุปกรณทุกประเภท ใน ทุกขนาดจอและทุกระบบปฏิบัติการอยางสมํ่าเสมอ ตามความ ตองการของผูใช, สนับสนุนเทคโนโลยี HTML5 ซึ่งมีความ โดดเดน เชน การจัดเก็บขอมูลแอพพลิเคชั่นและการทํา web storage ชวยใหนักพัฒนาสามารถใชเครือขายไดอยางเต็ม ประสิทธิภาพและทํางานไดอยางตอเนื่อง แมในชวงที่ผูใชงาน ไมสามารถเชื่อมตอกับเครือขายไดชั่วคราว แพลตฟอรม RhoElements สนับสนุนนักพัฒนาเว็บไซต เขาใชระบบ application programming interface (API) ที่ ทํางานบนอุปกรณสอื่ สารตางๆ เพือ่ นําฟทเจอรการทํางานระดับ องค ก รในเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร เ คลื่ อ นที่ ร ะดั บ องค ก ร มาใช ประโยชนไดสูงสุด z

Line Range Sensors-LRS36 รุน LRS36/6

Line Range Sensors-LRS36 รุน LRS36/6 จาก Leuze electronic เปนเซนเซอรทปี่ ระกอบไปดวยเซนเซอรจาํ นวน 376 ตัวภายในตัวเดียวกัน ใชสาํ หรับตรวจจับชิน้ งานทีอ่ ยูภ ายในพืน้ ที่ (เปนรูปสามเหลี่ยม) ลําแสงเปนเลเซอรแบบเสนตรง ซึ่งเปน เซนเซอรทถี่ กู พัฒนาขึน้ มาเพือ่ ใชแทน Vision Sensor / Smart Camera โดยแกปญหาเรื่องลําแสงภายนอก (ambient light) โดยมีคุณสมบัติ ดังนี้

138

336, มีนาคม 2555


แนะนํ แนะนําาผลิ ผลิตตภัภัณณฑฑ

- ระยะตรวจจับวัตถุไดไกลตั้งแต 200 - 800 มิลลิเมตร (แกน Z) - ความยาวของลําแสงเลเซอรถึง 600 มิลลิเมตร (แกน X) - สามารถตรวจจับวัตถุไดละเอียดถึง 3 มิลลิเมตร

- Input digital x 3ch (สามารถ จดจําโปรแกรมการทํางานไดถึง 8 โปรแกรม) และมี Output digital x 4ch - สามารถเชือ่ มตอโปรแกรม config ผานทาง Ethernet port ของ คอมพิวเตอร โดยสามารถตั้ง object การตรวจจับไดถึง 16 object - ความไวในการตรวจจับถึง 10ms เหมาะสําหรับตรวจจับชิ้นงานในสายการผลิต - มีออปชัน่ พิเศษทีส่ ามารถสือ่ สารผาน Profibus protocol ได สนใจติดตอขอรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ บริษัท ไฟฟา อุตสาหกรรม จํากัด z

ฟูจิตสึ Eternus DX60 S2 ระบบจัดเก็บขอมูลรุนใหม

Eternus DX60 S2 ระบบจัดเก็บขอมูลรุน ใหม จากฟูจติ สึ ทีเ่ นนเรือ่ งความคุม คาดานราคา และความสามารถในการขยาย ระบบใหรองรับตามความตองการของขอมูลที่เพิ่มขึ้น สําหรับ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก ดวยการผนวกคุณสมบัติดาน ประสิทธิภาพ และการทํางานรวมกับความยืดหยุนและงายใน การใชงาน ซึ่งจะชวยผูใชงานแกปญหาในเรื่องของการจัดการ และความตองการพื้นที่ที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ของขอมูลดวยตนทุน ที่เหมาะสม Eternus DX60 S2 เปนผลิตภัณฑที่พัฒนาโดยเฉพาะ เพื่อธุรกิจขนาดกลางและเล็กที่ตองการควบรวมและจัดการ ระบบขอมูลจากศูนยกลาง ตลอดจนระบบจัดเก็บขอมูลที่เชื่อ ถือไดใหกับสํานักงานสาขา นอกจากนี้ยังรองรับการใชงานดาน สารสนเทศในดานตางๆ ไมวาจะเปนแอพพลิเคชั่นสําคัญๆ ดาน ธุรกิจฐานขอมูล เซิรฟเวอรเสมือน และคลังขอมูลของธุรกิจ ซึ่ง มีความสามารถในการขยายความจุสูงสุดถึง 72 TB เทียบไดกับ

140

336, มีนาคม 2555

การบันทึกรายการทีวีในคุณภาพแบบดีวีดีมาก ถึง 72,000 ชั่วโมง หรือมากกวา 8 ป แบบ ไมหยุด Eternus DX60 S2 ใช ซ อฟต แ วร จัดการ Eternus SF Express ซึ่งเปนระบบ จั ด เก็ บ ข อ มู ล ที่ จั ด การง า ยและตรงไปตรง มา ชวยขยายประสิทธิภาพดานการใชงานไมวาจะเปนขั้นตอน การติ ด ตั้ ง ปรั บ แก แ ละบริ ห ารจั ด การโครงสร า งของระบบ จัดเก็บขอมูล พรอมทํางานเชื่อมกับโครงสรางดานไอทีที่มีอยู รวมถึงระบบปฏิบัติการที่อยูบนโฮสตเซิรฟเวอร และยังรองรับ การทํางานรวมกับเซิรฟเวอร ระบบเครือขายและโซลูชั่นการ สํารองขอมูลจากหลายแบรนด โดยสามารถทํางานไดอยาง รวดเร็วบนระบบของ Eternus ชวยลดทั้งเวลาและภาระใหกับ ผูดูแลระบบ Eternus DX60 S2 สามารถขยายดิสกแบบ RAID ไดสูงสุด 24 ลูกรองรับความเปลี่ยนแปลงไดตามความตองการ ของธุรกิจ และยังสามารถเลือกทีจ่ ะเพิม่ การเชือ่ มตอแบบ iSCSI และ SAS สําหรับการรองรับระบบ Fibre Channel ที่ชวยให ความคุมคาสูงสุดกับการลงทุนดานทรัพยากรสารสนเทศของ ลูกคา z


แนะนํ แนะนําผลิ าผลิตตภัภัณณฑฑ

Bellow Coupling ประกับเพลาแบบปลอกลักษณะสปริง

ประกับเพลาแบบปลอกลักษณะสปริง (Bellow Coupling) เปนประกับเพลาที่มีความออนตัวในแนวแกน เพื่อรับ ความเยื้องศูนยไดดี แตไมมีระยะคลอนและมีความแข็งเกร็ง

เชิงมุมสูงมาก จึงไมเกิดการบิดตัวของประกับเพลาตามแรงบิด เหมาะสําหรับใชในงานควบคุมการเคลื่อนที่ เชนการขับเคลื่อน ดวย Stepping Motor หรือ Servo Motor และการควบคุมการ เคลือ่ นที่ หรือการหมุนของเครือ่ งจักรอัตโนมัติ และเครือ่ งจักรที่ ควบคุมดวยคอมพิวเตอร (CNC) นอกจากนี้ บริษัท เวอรทัส ยังมีประกับเพลาและอุปกรณ สงกําลังคุณภาพสูงตามมาตรฐานสากลอีกมากมาย เชน ประกับ เพลาออนตัว, อุปกรณตึงโซและสายพาน, ขารองตะแกรงรอน, ฐานเครื่องจักรเพื่อขจัดความสั่น, อุปกรณยึดเพลาทั้งแบบมีลิ่ม และไรลิ่ม, ตลับลูกปนหรือคลัตชหมุนทางเดียว และอื่นๆ สนใจติดตอขอรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ บริษัท เวอรทัส จํากัด z

Inverter รุน Frenic Mega Series อุปกรณความเร็วรอบมอเตอรประสิทธิภาพสูง

Inverter รุน Frenic Mega Series เปนอุปกรณความเร็ว รอบมอเตอรประสิทธิภาพสูง จากประเทศญี่ปุน ซึ่งมีใหเลือกใช งานตั้งแตขนาด 0.4 kW - 630 kW สําหรับแรงดันอินพุตทั้ง 3 เฟส 200 - 240 VAC 50/60 Hz และ 3 เฟส 380 - 480 VAC 50/60 Hz มีทงั้ รุน มาตรฐาน (Standard Type) และ EMC Filter built-in type โดยมีคุณสมบัติตางๆ ดังนี้ Keypad built-in USB Port สามารถโหลดขอมูลดู สถานการณการทํางานของตัว Inverter โดยใชสาย USB ซึ่ง ไมตองใชตัว Converter RS- 485 สวนตัวซอฟตแวรสามารถ ติดตอขอรับไดฟรี จากพนักงานขาย

สามารถเลือกการควบคุมโหลดที่เปนแบบ Heavy duty และ low duty ไดและในกรณีในงานแบบ low duty สามารถ up size ของมอเตอรได 1 Size เชน Inverter ขนาด 45 kW สามารถขับโหลดทีเ่ ปนพัดลม ปม นํา้ ซึง่ เปนโหลด แบบ low duty ขนาด 55 kW ได สามารถควบคุมไดหลายแบบทั้ง PG Vector control, sensorless vector control, Dynamic torque vector control และ V/F vector control รองรับการสือ่ สารแบบ Device net, CC-Link, ProfibusDP, CANopen, T-Link, Modbus RTU สนใจติดตอขอรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ บริษัท เอส. ที.คอนโทรล จํากัด z

336, มีนาคม 2555 141


แนะนํ แนะนําาผลิ ผลิตตภัภัณณฑฑ

โกดัก 305 เครื่องพิมพยอดประหยัด

โกดัก 305 เปนเครื่องยอดประหยัดสําหรับงานพิมพ ตัว เครือ่ งออกแบบทันสมัย ในขนาดทีก่ ะทัดรัด นํา้ หนักเบา เคลือ่ น ยายงาย จึงสะดวกในการพกพาไปใชงานนอกสถานที่ หรืองาน อีเวนตตางๆ ความละเอียดในการพิมพ 300 dpi สามารถสั่ง

พิมพได 2 ขนาด คือ 4x6 นิ้ว และ 6x8 นิ้ว และพิมพได 2 พื้นผิว ทั้งแบบมันวาวและแบบดาน ชวยเพิ่มทางเลือกใหกับ ลูกคา สามารถพิมพภาพไดรวดเร็ว โดยพิมพรูปขนาด 4x6 นิ้ว ไดในเวลาเพียง 12 วินาที และขนาด 6x8 นิ้ว ไดในเวลา เพียง 22 วินาที โหมดการทํางานของโกดัก 305 นัน้ งายมาก โดยสามารถ โหลดวัสดุพิมพแบบมวนจากดานหนา ลดความยุงยากในการ เปลี่ยนมวนกระดาษทําใหพิมพงานไดเร็ว พรอมดวยเทคโนโลยี การออกแบบที่ชวยประหยัดพลังงาน และลดปญหาฝุนละออง ที่เกิดจากการพิมพ จึงเหมาะสําหรับธุรกิจรูปถายติดบัตร และ พิมพภาพถายงานตางๆ ดวยเครื่องพิมพเพียงเครื่องเดียว จึง ชวยใหประหยัดพลังงาน ประหยัดพื้นที่ในการทํางาน และยัง ชวยประหยัดเงิน z

หัวขับวาลวไฟฟาขนาดเล็ก รุน HQ-004 หัวขับวาลวไฟฟาขนาดเล็ก รุน HQ-004 เปนหัวขับวาลว ที่ออกแบบเปนพิเศษใหมีขนาดเล็ก, นํ้าหนักเบา, มีความคงทน แข็งแรง, ใชพนื้ ทีต่ ดิ ตัง้ ทํางานนอย แตมากดวยฟงชัน่ การทํางาน ที่เปนเลิศ เมื่อเทียบกับขนาดและนํ้าหนักของหัวขับยี่หออื่นๆ ในรุนที่มีแรงบิดเทาๆ กัน โดยมีคุณสมบัติพื้นฐาน ดังนี้ - ทนตอการกัดกรอน ดวยโครงสรางหลักทํามาจากอะลูมเิ นียม Die-cast, พรอมทําสีปอ งกันการกัดกรอนแบบ Epoxy Powder coate - รับไดทั้งไฟฟากระแสสลับ (85-265 VAC) และกระแสตรง (24 VDC) - มีชุดอุปกรณไลความชื้นในตัว - สามารถทํางานภายใตสภาพแวดลอมที่มากดวยฝุนละออง และความชื้นไดเปนอยางดี ดวยระดับ IP67 ตามระดับการ ปองกันตามมาตรฐาน DIN 40050/1980 และ IEC 529 - มีชุดควบคุมการทํางานดวยมือ เปนแบบมือโยก จึงงาย สะดวกและรวดเร็วตอการทํางาน ไมตองการอุปกรณพิเศษ ใดๆ มาทํางานรวมดวย - โครงสรางหลักในสวนประกอบติดตั้งกับวาลวหรืออุปกรณ อื่นๆ เปนไปตามมาตรฐาน ISO5211 ที่มีใหมา 3 ขนาด คือ F03, F04 และ F05

142

336, มีนาคม 2555

- ชุดสงสัญญาณทางไฟฟาเปนแบบ Mechanical Switch ที่มีใหมามากถึง 4 ชุดดวยกัน - มีชุดแสดงตําแหนงการทํางานอยางชัดเจน และหลอดไฟ LED แสดงสถานะตําแหนงเปดหรือปดสุด - ใหแรงบิด ที่ 4 kg/m หรือ 40 N/m สนใจขอรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ บริษทั เอ็มทีอี จํากัด z


แนะนํ แนะนําผลิ าผลิตตภัภัณณฑฑ

FX3FS Series Multi-Function เครื่องควบคุมอุณหภูมิแบบ 2 จุด

FX3FS Series Multi-Function Temp Controller เปน เครื่องควบคุมอุณหภูมิแบบ 2 จุด (2 เซนเซอร) เพื่อใชในการ เปรียบเทียบคา, คาเฉลี่ย, คาสูง-ตํ่าของแตละเซนเซอร ซึ่ง สามารถนํามาประยุกตใชในงานไดหลากหลาย เชน - ใชในฟารมเลี้ยงสัตว โดยประยุกตใชสําหรับการระบาย อากาศภายในและภายนอกฟารม - โรงเพาะเห็ด โดยใชปรับอุณหภูมแิ ละความชืน้ ทัง้ ภายในและ ภายนอกอาคาร

- Cooling Tower ใชเพื่อลดพลังงานของปมนํ้า, พัดลม หากทราบถึงความแตกตางอุณหภูมิของนํ้าดานขาเขาและ ขาออก - ระบบทําความเย็น สามารถนําไปวัดอุณหภูมิเพื่อหาคาเฉลี่ย แตละจุด เพื่อใหอุณหภูมิทุกจุดเทากัน เครื่ อ งควบคุ ม อุ ณ หภู มิ แ บบ 2 จุ ด FX3FS Series มีคุณสมบัติเดน ดังนี้ - เปนเครื่องที่มีโปรแกรมการใชงานไมซับซอน จึงควบคุมงาย กวาแบบเดิม และราคาประหยัด

- ใหคาความแมนยํา (Accuracy) สูงกวาเครื่องควบคุมทั่วไป ถึง 2-3 เทา - ใชกบั ไฟฟา 100-240V โดยไมมปี ญ  หากับระบบไฟฟา 110V - สามารถตอกับระบบ RS485 และมีสัญญาณ 4..20 mA - สามารถควบคุมไดทั้งแบบเดิม (+ or - Setpoint) และแบบ ใหม (+ and - Setpoint) - ขนาดของเครื่องและชองติดตั้งเครื่องเปนไปตามมาตรฐาน

นอกจากคุณสมบัติดังกลาวแลว เครื่องควบคุมอุณหภูมิ แบบ 2 จุด นี้ยังนํามาประยุกตใชงานไดหลากหลายดังราย ละเอียดในกรอบ สนใจรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ติ ด ต อ ที่ บริ ษั ท บางกอก อินสตรูเมนท จํากัด z

336, มีนาคม 2555 143


(สำหรับเจาหนาที่) หมดอายุฉบับที่.......................................... สมาชิกเลขที่..............................................

วารสารเทคนิค วารสาร EC

ใบสมัคร/ตออายุสมาชิก

สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก (หมายเลขเดิม........................................................) สมัคร/ตออายุในนาม

สวนตัว

นิตบิ คุ คล

* กรณีตอ อายุ กรุณากรอกขอมูลใหม เพือ่ เก็บประวัตทิ จี่ ะเปนประโยชนตอ สมาชิกในอนาคต * ชื่อ-สกุล................................................................................................. ตำแหนง........................................................................ เพศ..................... อายุ.................ป ระดับการศึกษา.................................................................. สาขา........................................................... ประเภทธุรกิจ...................................................................... โทรศัพท.................................................................. โทรสาร..................................... มือถือ................................. อีเมล....................................................................... สถานทีจ่ ดั สงหนังสือ ที่ บ า น บริษทั ......................................................................................................................................................................... ที่อยู เลขที่................................. หมูที่............................ ตรอก/ซอย.............................................................. ถนน............................................................................. ตำบล/แขวง...................................................... อำเภอ/เขต.............................................. จังหวัด................................................ รหัสไปรษณีย............................. จัดสงใบเสร็จรับเงินที่ จัดสงทีเ่ ดียวกับทีส่ ง วารสาร จัดสงตามทีอ่ ยดู า นลาง ตัวแทน / ผรู บั ใบเสร็จ (ชื่อ-นามสกุล)................................................................................................................................................................................................. ที่อยูออกใบเสร็จ (บริษัท)........................................................................................................................ ที่อยู...................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ...........................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ขาพเจาขอสมัคร/ตออายุสมาชิกวารสารเทคนิค/วารสาร EC ประเภท

ประเภทหนังสือ

วารสารเทคนิค (รายเดือน) กระดาษปรูฟ (เลมละ 50 บาท)

12 ฉบับ 24 ฉบับ 5 x 12 ฉบับ 5 x 24 ฉบับ

500 บาท 950 บาท 1,800 บาท 3,300 บาท

กระดาษปอนด (เลมละ 75 บาท)

750 บาท 1,450 บาท 2,700 บาท 4,950 บาท

วารสาร EC (ราย 2 เดือน) กระดาษปอนด (เลมละ 50 บาท)

540 บาท 1,000 บาท 1,900 บาท 3,250 บาท

เริม่ ตัง้ แต ฉบับที.่ .................................ถึง.................................พรอมกันนีไ้ ดชำระเงินคาสมาชิกจำนวน...........................................................บาท

การชำระเงิน โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนามบริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด

 กรณีที่ไมระบุชื่อผูรับวารสาร ทางบริษัทจะไมรับผิดชอบ เงินสด กรณีชำระที่ บริษัท เอ็มแอนดอี จำกัด เทานั้น ถาการจัดสงวารสารไมถงึ มือทาน ธนาณัติ (คต. สินสาธร) เทานั้น สั่งจายในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จำกัด  คาสมัครสมาชิกถือเปนการขายหนังสือ ไดรับการยกเวน ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่ 158-0-82377-9 ภาษีหัก ณ ที่จาย และไมมีภาษีมูลคาเพิ่ม 7 % ธนาคารกสิกรไทย สาขาสำเหร เลขที่ 032-2-71585-4  เมื่อทานสงเอกสารการสมัคร/ตออายุสมาชิก พรอมการ ธนาคารไทยพาณิชย สาขาตากสิน เลขที่ 055-2-30081-7 ชำระเงินแลว ถาไมไดรับใบเสร็จรับเงินภายใน 7 วัน ธนาคารยูโอบี สาขาถนนกรุงธนบุรี เลขที่ 240-2-03096-5 กรุณาติดตอกลับดวย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาสะพานพระเจาตากสิน เลขที่ 153-1-25818-2 โอนเงินวันที่............................................................ ** (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผโู อนเปนผรู บ ั ผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) **

การโอนเงินกรุณาสงไปรษณีย อีเมล หรือแฟกซ ใบนำฝากเงินเขาบัญชี (Pay in) มาพรอมกับใบสมัครสมาชิกวารสาร และโทรแจงใหทราบดวย หมายเหตุ : ขออภัยไมมบี ริการพนักงานเก็บเงิน

บริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด

www.me.co.th เลขที่ 77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชัน้ 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 E-mail : member@me.co.th (BTS สถานีกรุงธนบุรี)

144

336, มีนาคม 2555


ใบสัง่ ซือ้ หนังสือของ บริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด ชือ่ -นามสกุล........................................................................................................................................... ที่อยู................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................... โทรศัพท....................................................................... โทรสาร................................................ E-mail...............................................................................

รหัส 2101 1113 1114 1116 1104 1115 1106 1107 1108 1109 1110 1111 1112 1117

เทคนิค

เปนสมาชิกวารสาร

EC

หมายเลขสมาชิก ....................................................................... ไมไดเปนสมาชิกวารสาร

หมวด

เครื่องกล

ราคา สมาชิก ทัว่ ไป จำนวน เปนเงิน ปกติ ลด 15 % ลด 10 % เลม

คมู อื วิศวกรเครือ่ งกล เครือ่ งกล ชุดที่ 1 (เครื่องมือวัดและควบคุม, การลำเลียง,วัสดุและอุปกรณ, เครื่องกลทั่วไป) เครือ่ งกล ชุดที่ 2 (เครือ่ งมือวัดและควบคุม, การลำเลียง,เครือ่ งมือชาง, เครือ่ งกลทัว่ ไป) เครือ่ งกล ชุดที่ 3 (เครื่องมือวัดและควบคุม, รถยนต, ระบบปรับอากาศ, ไฮดรอลิก, ทอ, วาลว) เครื่องกล ชุดที่ 4 (ระบบไอน้ำ, ทำความเย็น-ปรับอากาศ, ปม -เครือ่ งอัดอากาศ, ทอ, วาลว, กลไก) เครื่องกล ชุดที่ 5 (ระบบไอน้ำ, ระบบทำความเย็น, ปมและเครื่องอัดอากาศ, ทอ-วาลว, เครือ่ งกลทัว่ ไป) เครื่ อ งกล ชุดที่ 6 (ระบบไอน้ำ, ความรอน, ทำความเย็น, ปรับอากาศ, เครื่องอัดอากาศ, ทอ, วาลว, ปม, ซีล) เครื่องกล ชุดที่ 7 (เทคโนโลยีนารู, โลหะ, ความรูเชิงชาง, วิศวกรรมเคมีและปโตรเคมี) เครื่องกล ชุดที่ 8 (เครื่องกลทั่วไป, เครื่องมือวัดและควบคุม, ระบบขนถายวัสดุ, บริหารการผลิต) เครื่องกล ชุดที่ 9 (ระบบทอ, ระบายอากาศ, ทำความรอน) เครือ่ งกล ชุดที่ 10 (วัดการไหล, ไฮดรอลิก) เครื่องกล ชุดที่ 11 (ปม, ตลับลูกปน, เสียงรบกวน) เครือ่ งกล ชุดที่ 12 (รถยนต, เครือ่ งยนต,การหลอลืน่ ) ระบบทำความรอน และไอน้ำ ชุดที่ 1 NEW

600 220 180 220 185 220 220 230 240 190 195 155 155 295

510 187 153 187 158 187 187 196 204 162 166 132 132 251

540 198 162 198 167 198 198 207 216 171 176 140 140 266

120 140 240 180 160 165 195 215 235 310 305 100 250 150

102 119 204 153 136 141 166 183 200 264 260 85 213 128

108 126 216 162 144 149 176 194 212 279 275 90 225 135

ไฟฟา-อิเล็กทรอนิกส 1201 1202 1203 1204 1205 1206 1207 1208 1209 1210 1211 2201 2202 2203

ไฟฟา ชุดที่ 1 (มาตรฐานสากล, การปองกันอุบตั เิ หตุทางไฟฟา, ระบบกราวนด, หมอแปลงไฟฟา) ไฟฟา ชุดที่ 2 (ระบบปองกันอุบตั เิ หตุทางไฟฟา, แหลงกำเนิดไฟฟา, หมอแปลงไฟฟา,มอเตอร) ไฟฟา ชุดที่ 3 (ไฟสองสวาง, มอเตอร, หมอแปลง, ไฟฟากำลัง, การวัดและควบคุม) ไฟฟา ชุดที่ 4 (เครือ่ งกำเนิดไฟฟา, ระบบไฟสองสวาง, อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร, ไฟฟาทัว่ ไป) ไฟฟา ชุดที่ 5 (การวัด, การควบคุม, การผลิต) ไฟฟา ชุดที่ 6 (มอเตอร, เครื่องกำเนิดไฟฟา, หมอแปลง) ไฟฟา ชุดที่ 7 (ไฟฟาทั่วไป, ตอลงดิน, ฮารมอนิก) NEW คุณภาพไฟฟา ชุดที่ 1 (ไฟตก-เพิ่ม, ฮารมอนิก, UPS, PF, ตอลงดิน) คุณภาพไฟฟา ชุดที่ 2 (ไฟตก-เพิ่ม, ฮารมอนิก, UPS, PF, ตอลงดิน) NEW มอเตอร และระบบขับเคลื่อน ชุดที่ 1 NEW ระบบผลิต และจัดการไฟฟา ชุดที่ 1 NEW คมู อื วิศวกรไฟฟา ระบบกำลังไฟฟาตอเนือ่ ง (ยูพเี อส) และเครือ่ งควบคุมคุณภาพไฟฟา คำสัง่ และการใชงานโปรแกรมออกแบบลายวงจร EAGLE

รวม บริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด

เลขที่ 77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชัน้ 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 E-mail : member@me.co.th www.me.co.th

(BTS สถานีกรุงธนบุรี)

กรณีที่ไมระบุชื่อผูรับหนังสือ ทางบริษัทจะไมรับผิดชอบถาการจัดสงหนังสือไมถึงมือทาน การขายหนังสือ ไดรบั การยกเวนภาษีหกั ณ ทีจ่ า ย และไมมภี าษีมลู คาเพิม่ 7 %  เมื่อทานสงเอกสารการสั่งซื้อ / พรอมการชำระเงินแลว ถาไมไดรับใบเสร็จรับเงิน และหนังสือภายใน 7 วัน กรุณาติดตอกลับดวย  

สำหรับบุคคลทั่วไปสั่งซื้อหนังสือไมถึง 500 บาท เสียคาจัดสง 50 บาท

การชำระเงิน โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนามบริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด

เงินสด กรณีชำระที่ บริษัท เอ็มแอนดอี จำกัด เทานั้น ธนาณัติ (คต. สินสาธร) เทานั้น สั่งจายในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จำกัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่ 158-0-82377-9 ธนาคารกสิกรไทย สาขาสำเหร เลขที่ 032-2-71585-4 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาตากสิน เลขที่ 055-2-30081-7 ธนาคารยูโอบี สาขาถนนกรุงธนบุรี เลขที่ 240-2-03096-5 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาสะพานพระเจาตากสิน เลขที่ 153-1-25818-2

โอนเงินวันที่................................ (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผูโอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) การโอนเงินกรุณาสงไปรษณีย อีเมล หรือแฟกซ ใบนำฝากเงินเขาบัญชี (Pay in) มาพรอมกับใบสั่งซื้อหนังสือ และโทรแจงใหทราบดวย หมายเหตุ : ขออภัยไมมบี ริการพนักงานเก็บเงิน

336, มีนาคม 2555 145


ใบสัง่ ซือ้ หนังสือของ บริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด ชือ่ -นามสกุล........................................................................................................................................... ที่อยู................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................... โทรศัพท....................................................................... โทรสาร................................................ E-mail...............................................................................

รหัส 2204 2205 2206 2207 2209

เทคนิค

เปนสมาชิกวารสาร

EC

หมายเลขสมาชิก ....................................................................... ไมไดเปนสมาชิกวารสาร

หมวด

ไฟฟา-อิเล็กทรอนิกส

ราคา สมาชิก ทัว่ ไป จำนวน เปนเงิน ปกติ ลด 15 % ลด 10 % เลม

พืน้ ฐานวิศวกรรมการสองสวาง เลม 1 คมู อื การลดคาไฟฟา คมู อื ระบบไฟฟา และการประหยัดพลังงานสำหรับประชาชน การสงกำลัง และการประหยัดพลังงานของมอเตอรไฟฟากระแสสลับ การออกแบบและติดตัง้ ระบบไฟฟา

320 270 160 200 470

272 230 136 170 400

288 243 144 180 423

ปรับอากาศ-ทำความเย็น-แลกเปลี่ยนความรอน 1301 1302 1303 1304 2301

ระบบปรับอากาศ ชุดที่ 1 ( การทำความเย็น, เครื่องปรับอากาศ, ระบบสงลม, การระบายอากาศ, คูลลิง่ เทาเวอร) ระบบปรับอากาศ ชุดที่ 2 (พืน้ ฐานการปรับอากาศ, คูลลิง่ ทาวเวอร, การประหยัดพลังงาน,) ระบบปรับอากาศ-ทำความเย็น ชุดที่ 3 (ทำความเย็น, ปรับอากาศ, ระบายอากาศ) NEW ระบบปรับอากาศ-ทำความเย็น ชุดที่ 4 (ทำความเย็น, คูลลิ่งทาวเวอร, บำรุงรักษา) NEW ระบบควบคุมสำหรับ การทำความรอน การระบายอากาศ และการปรับอากาศ

125 165 260 280 500

107 141 221 238 425

113 149 234 252 450

1406 1407 1501 1502 1503 1504 2401 2402 2403 2404 2405 2406

การจัดการงานวิศวกรรม ชุดที่ 1 (จิตวิทยาการบริหาร, บัญชีและการเงินวิศวกรรม, การบริหารงานบุคคล) การจัดการงานวิศวกรรม ชุดที่ 2 (การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต, การบริหารการผลิต, การบำรุงรักษา) ขนถายวัสดุ ชุดที่ 1 (อุปกรณขนถาย, เครน, โซลำเลียง, กระพอ, การกำจัดฝนุ ) ขนถายวัสดุ ชุดที่ 2 (ขนถายวัสดุดวยลม, สายพานลำเลียง, ขนถายวัสดุทั่วไป) ขนถายวัสดุ ชุดที่ 3 (สายพานลำเลียง, โซลำเลียง, เครน, ขนถายวัสดุดวยลม) NEW ขนถายวัสดุ ชุดที่ 4 (สายพานลำเลียง, โซลำเลียง, กระพอลำเลียง, อุปกรณขนถายวัสดุ) NEW การควบคุมคุณภาพสำหรับนักบริหาร สูความเปนเลิศในการผลิต และธุรกิจ กลยุทธ เทคนิค และเทคโนโลยี การบริหารในแบบของ ตัวเอง การจัดการบำรุงรักษาสำหรับงานอุตสาหกรรม ระบบบำรุงรักษาเครือ่ งจักรเชิงปฏิบตั ิ เทคนิคการวัดและวิเคราะหการสัน่ สะเทือนเพือ่ งานบำรุงรักษา

165 170 175 205 240 245 320 680 70 280 300 370

141 145 149 175 204 209 272 578 60 238 255 315

149 153 158 185 216 221 288 612 63 252 270 333

1701 1702 2502 2503

ระบบทอ วาลว ปม (ชุดที่ 1) ระบบทอ วาลว ปม (ชุดที่ 2) คูมือทออุตสาหกรรม วิศวกรรมระบบทออุตสาหกรรม

120 220 280 420

102 187 160 357

108 198 170 378

การบริหาร-จัดการ-การผลิต-ขนถายวัสดุ

ทอ-วาลว-ปม

NEW

บริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด

เลขที่ 77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชัน้ 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 E-mail : member@me.co.th www.me.co.th

(BTS สถานีกรุงธนบุรี)

กรณีที่ไมระบุชื่อผูรับหนังสือ ทางบริษัทจะไมรับผิดชอบถาการจัดสงหนังสือไมถึงมือทาน การขายหนังสือ ไดรบั การยกเวนภาษีหกั ณ ทีจ่ า ย และไมมภี าษีมลู คาเพิม่ 7 %  เมื่อทานสงเอกสารการสั่งซื้อ / พรอมการชำระเงินแลว ถาไมไดรับใบเสร็จรับเงิน และหนังสือภายใน 7 วัน กรุณาติดตอกลับดวย  

สำหรับบุคคลทั่วไปสั่งซื้อหนังสือไมถึง 500 บาท เสียคาจัดสง 50 บาท

146

336, มีนาคม 2555

(หนังสือลดลางสตอก)

รวม

การชำระเงิน โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนามบริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด

เงินสด กรณีชำระที่ บริษัท เอ็มแอนดอี จำกัด เทานั้น ธนาณัติ (คต. สินสาธร) เทานั้น สั่งจายในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จำกัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่ 158-0-82377-9 ธนาคารกสิกรไทย สาขาสำเหร เลขที่ 032-2-71585-4 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาตากสิน เลขที่ 055-2-30081-7 ธนาคารยูโอบี สาขาถนนกรุงธนบุรี เลขที่ 240-2-03096-5 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาสะพานพระเจาตากสิน เลขที่ 153-1-25818-2

โอนเงินวันที่................................ (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผูโอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) การโอนเงินกรุณาสงไปรษณีย อีเมล หรือแฟกซ ใบนำฝากเงินเขาบัญชี (Pay in) มาพรอมกับใบสั่งซื้อหนังสือ และโทรแจงใหทราบดวย หมายเหตุ : ขออภัยไมมบี ริการพนักงานเก็บเงิน


ใบสัง่ ซือ้ หนังสือของ บริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด ชือ่ -นามสกุล........................................................................................................................................... ที่อยู................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................... โทรศัพท....................................................................... โทรสาร................................................ E-mail...............................................................................

รหัส 1801 1802

หมวด

เทคนิค EC เปนสมาชิกวารสาร หมายเลขสมาชิก ....................................................................... ไมไดเปนสมาชิกวารสาร ราคา สมาชิก ทัว่ ไป จำนวน เปนเงิน ปกติ ลด 15 % ลด 10 % เลม

พลังงาน การประหยัดพลังงาน ชุดที่ 1 (HVAC, เตาเผา-อบ, ไอน้ำ-ความรอน, ระบบไฟฟา) การประหยัดพลังงาน ชุดที่ 2 (HVAC, ระบบลมอัด, ไอน้ำ-ความรอน, ระบบไฟฟา)

NEW NEW

240 255

204 217

216 230

270

230

243

310 260 130 95 350 240

264 221 111 60 200 204

279 234 117 70 210 216

350 290 220

298 247 187

315 261 198

280 150 270 240 230

238 80 230 204 196

252 90 243 216 207

250 60 120

213 51 102

225 54 108

อุปกรณวัดและควบคุม-ระบบควบคุม 2601

ไมโครคอนโทรลเลอร เลม 1

วัสดุ-โลหะการ 1715 2702 2703 2704 2705 2706

งานโลหะ NEW คมู อื ฉนวนความรอน การออกแบบงานหลอ ปะเก็นแกสเก็ต เทคนิคงานโลหะ คูมือการเชื่อม มิก-แม็ก (GMAW-Welding)

(หนังสือลดลางสตอก) (หนังสือลดลางสตอก)

ยานยนต 2802 2803 2804

เทคนิคยานยนต เคาะพนสีรถยนต เทคนิครถยนตสำหรับประชาชน

สิ่งแวดลอม-สุขาภิบาล 1901 2901 2902 2903 2904

การจัดการสิ่งแวดลอมดานอุตสาหกรรม ระบบน้ำรอนในอาคาร เทคโนโลยีระบบทอสุขภัณฑ เครือ่ งสุขภัณฑ การผลิตน้ำสำหรับอุตสาหกรรม

NEW

(หนังสือลดลางสตอก)

วิศวกรรมทัว่ ไป 2001 2002 2003

ความรูเบื้องตน วิศวกรรมงานระบบ Engineering Quick Reference เทคนิคพิเศษ 2554 NEW

รวม บริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด

เลขที่ 77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชัน้ 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 E-mail : member@me.co.th www.me.co.th (BTS สถานีกรุงธนบุรี) กรณีที่ไมระบุชื่อผูรับหนังสือ ทางบริษัทจะไมรับผิดชอบถาการจัดสงหนังสือไมถึงมือทาน การขายหนังสือ ไดรบั การยกเวนภาษีหกั ณ ทีจ่ า ย และไมมภี าษีมลู คาเพิม่ 7 %  เมื่อทานสงเอกสารการสั่งซื้อ / พรอมการชำระเงินแลว ถาไมไดรับใบเสร็จรับเงิน และหนังสือภายใน 7 วัน กรุณาติดตอกลับดวย  

สำหรับบุคคลทั่วไปสั่งซื้อหนังสือไมถึง 500 บาท เสียคาจัดสง 50 บาท

การชำระเงิน โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนามบริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด

เงินสด กรณีชำระที่ บริษัท เอ็มแอนดอี จำกัด เทานั้น ธนาณัติ (คต. สินสาธร) เทานั้น สั่งจายในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จำกัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่ 158-0-82377-9 ธนาคารกสิกรไทย สาขาสำเหร เลขที่ 032-2-71585-4 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาตากสิน เลขที่ 055-2-30081-7 ธนาคารยูโอบี สาขาถนนกรุงธนบุรี เลขที่ 240-2-03096-5 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาสะพานพระเจาตากสิน เลขที่ 153-1-25818-2

โอนเงินวันที่................................ (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผูโอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) การโอนเงินกรุณาสงไปรษณีย อีเมล หรือแฟกซ ใบนำฝากเงินเขาบัญชี (Pay in) มาพรอมกับใบสั่งซื้อหนังสือ และโทรแจงใหทราบดวย หมายเหตุ : ขออภัยไมมบี ริการพนักงานเก็บเงิน

336, มีนาคม 2555 147


ใบสัง่ ซือ้ หนังสือของ บริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด ชือ่ -นามสกุล........................................................................................................................................... ที่อยู................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................... โทรศัพท....................................................................... โทรสาร................................................ E-mail...............................................................................

รหัส ชื่อหนังสือ 5052 5399 5061 5142 5225 5063 5064 5053 5058 5146 5054 5055 5059 5072 3064 3203 3844 5066 5843 6239 6370 6439 6421 6808 6882 6933 3161 3229 3405 3526 3691 3 959 6089 6103 6210 6420 6563 6579 6956 6972

สิ่งแวดลอม/สุขาภิบาล

ราคา สวนลด จำนวน เปนเงิน ปกติ 10%

วิศวกรรมการกำจัดน้ำเสีย เลม 1 วิศวกรรมการกำจัดน้ำเสีย เลม 2 วิศวกรรมการกำจัดน้ำเสีย เลม 3 วิศวกรรมการกำจัดน้ำเสีย เลม 4 วิศวกรรมการกำจัดน้ำเสีย เลม 5 การบำบัดน้ำเสีย การออกแบบโรงบำบัดน้ำเสีย Waste Water Engineering Design Calculation วิศวกรรมสิ่งแวดลอม การจัดการเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม วิศวกรรมการประปา การออกแบบทออาคาร และสิ่งแวดลอมอาคาร เลม 1 การออกแบบทออาคาร และสิ่งแวดลอมอาคาร เลม 2 ของเสียอันตราย

100 300 200 500 400 500 100 100 400 100 200 200 300 400

โลหะวิทยาเบื้องตน NEW พืน้ ฐานเทคโนโลยีการขึน้ รูปโลหะ NEW วัสดุวิศวกรรม ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม NEW กลศาสตรของวัสดุ ตารางออกแบบโครงสรางอาคาร การทดสอบวัสดุการทาง NEW งานขึ้นรูปโลหะ เลมที่ 1 แมพิมพโลหะแผน งานขึน้ รูปโลหะ เลมที่ 2 วัสดุทำแมพมิ พและชิน้ งาน NEW วิศวกรรมการฉีดพลาสติก NEW การออกแบบแมพิมพ การออกแบบจิกและฟกซเจอร เทคโนโลยีพลาสติก

195 180 320 300 300 380 180 250 250 180 150 230

176 162 288 270 270 342 162 225 225 162 135 207

การปองกันระบบไฟฟากำลัง NEW อิเล็กทรอนิกสในงานอุตสาหกรรม NEW การพัฒนาไฟฟาพลังน้ำขนาดเล็ก NEW การออกแบบระบบไฟฟา เรียนรู PLC ขั้นตนดวยตนเอง CD เรียนรู PLC ขั้นกลางดวยตนเอง การตรวจความปลอดภัยระบบไฟฟา เซนเซอรและทรานสดิวเซอร หมอแปลงไฟฟา ELECTRICAL TRANSFORMER คูมือความปลอดภัยทางไฟฟาในสถานประกอบการ เครือ่ งกลไฟฟา 1 ระบบ PLC เซ็นเซอรและทรานสดิวเซอรเบื้องตน โรงตนกำลังไฟฟา (ฉบับปรับปรุง) NEW

295 250 120 195 150 195 150 230 180 320 135 260 250 165

266 225 108 176 135 176 135 207 162 288 122 234 225 149

วัสดุและโลหะการ

ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส

บริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด

เลขที่ 77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชัน้ 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 E-mail : member@me.co.th www.me.co.th (BTS สถานีกรุงธนบุรี) กรณีที่ไมระบุชื่อผูรับหนังสือ ทางบริษัทจะไมรับผิดชอบถาการจัดสงหนังสือไมถึงมือทาน การขายหนังสือ ไดรบั การยกเวนภาษีหกั ณ ทีจ่ า ย และไมมภี าษีมลู คาเพิม่ 7 %  เมื่อทานสงเอกสารการสั่งซื้อ / พรอมการชำระเงินแลว ถาไมไดรับใบเสร็จรับเงิน และหนังสือภายใน 7 วัน กรุณาติดตอกลับดวย  

สำหรับบุคคลทั่วไปสั่งซื้อหนังสือไมถึง 500 บาท เสียคาจัดสง 50 บาท

148

336, มีนาคม 2555

90 270 180 450 360 450 90 90 360 90 180 180 270 360

เทคนิค EC เปนสมาชิกวารสาร หมายเลขสมาชิก ....................................................................... ไมไดเปนสมาชิกวารสาร

รหัส ชื่อหนังสือ

3035 3374 3447 3609 6003 6094 6368 6385 6415 6637 6998

3159 3278 3408 3483 3626 3807 3821 3984 4871 6055 6076 6266 6268 6281 6372 6321 6358 6381 6416 6418 6424 6432 6445 6514 6571 6603 6982

ราคา สวนลด จำนวน เปนเงิน ปกติ 10%

เครื่องกล

เครื่องทำความเย็นและเครื่องปรับอากาศ เทคโนโลยีไอน้ำ ไฮดรอลิกอุตสาหกรรม นิวเมติกอุตสาหกรรม การทำความเย็นและการปรับอากาศ เทคโนโลยีซีเอ็นซี HEAT PUMP ระบบไฮดรอลิกและการซอมบำรุง หมอไอน้ำฉบับใชงานในโรงงาน นิวแมติกสและไฮดรอลิกสเบื้องตน นิวแมติกสและนิวแมติกสไฟฟาเบื้องตน

155 250 245 150 250 175 200 350 380 135 220

140 225 221 135 225 158 180 315 342 122 198

การจัดการการผลิตและการปฏิบตั กิ าร 185 NEW บริหารการจัดซือ้ และคลังพัสดุ 160 การวางแผนและควบคุมกำลังการผลิต 180 NEW 250 111 กูรูบริหารจัดการอุตสาหกรรมโลก การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) 275 บำรุงรักษา งานเพิม่ กำไรบริษทั (Maintenance the Profit ฯ) 650 เรียนรแู ละใชงานเครือ่ งมือชางอยางถูกวิธี 185 NEW 185 การเขียนแบบวิศวกรรมพื้นฐาน การจัดการอะไหลใหเพิ่มผลผลิต (Spare Parts ฯ) 350 รจู กั ... ระบบการผลิตแบบลีน (Introduction to Lean) 100 ปทานุ ก รมศั พ ท ช า ง ญี่ ปุ น -ไทย-อั ง กฤษ 290 หลักการการควบคุมคุณภาพ 520 เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานดวยไคเซ็น (Kaizen) 160 ZERO LOSS ดวย TPM ฉบับเขาใจงาย 230 เมคคาทรอนิกส เบื้องตน 180 การสอบเทียบครื่องมือวัด 300 การประเมินผลการปฏิบัติงาน 250 การบริหารพัสดุคงคลัง 330 การกำหนดตารางการผลิตและการควบคุม NEW 290 NEW 250 การวิเคราะหระบบการวัด (MSA) Layout Kaizen การปรับปรุงเลยเอาตโรงงาน NEW 230 ไคเซ็นตามวิถีโตโยตา 180 วิธกี ารเมตาฮิวริสติกเพือ่ แกไขปญหาการวางแผน 200 NEW 200 หลักการและการใชงานเครือ่ งมือวัด การออกแบบและวางผังโรงงาน 200 วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัย 200 การวางแผนและควบคุมการผลิต ฉบับปรับปรุงใหม 280

167 144 162 225 248 585 167 167 315 90 261 468 144 207 162 270 225 297 261 225 207 162 180 180 180 180 252

วิศวกรรมทั่วไป

NEW

รวม รวม การชำระเงิน โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนามบริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด

เงินสด กรณีชำระที่ บริษัท เอ็มแอนดอี จำกัด เทานั้น ธนาณัติ (คต. สินสาธร) เทานั้น สั่งจายในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จำกัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่ 158-0-82377-9 ธนาคารกสิกรไทย สาขาสำเหร เลขที่ 032-2-71585-4 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาตากสิน เลขที่ 055-2-30081-7 ธนาคารยูโอบี สาขาถนนกรุงธนบุรี เลขที่ 240-2-03096-5 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาสะพานพระเจาตากสิน เลขที่ 153-1-25818-2

โอนเงินวันที่................................ (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผูโอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) การโอนเงินกรุณาสงไปรษณีย อีเมล หรือแฟกซ ใบนำฝากเงินเขาบัญชี (Pay in) มาพรอมกับใบสั่งซื้อหนังสือ และโทรแจงใหทราบดวย หมายเหตุ : ขออภัยไมมบี ริการพนักงานเก็บเงิน


ใบสัง่ ซือ้ หนังสือของ บริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด ชือ่ -นามสกุล........................................................................................................................................... ที่อยู................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................... โทรศัพท....................................................................... โทรสาร................................................ E-mail...............................................................................

รหัส ชื่อหนังสือ

3284 6098 6279 6913

วิศวกรรมโยธา

ทบ./ป. ทดสอบวัสดุในงานวิศวกรรมโยธา เขียนแบบกอสราง การกอสรางโครงสรางเหล็ก การประมาณราคากอสราง

ราคา ราคา สราคา วนลด ปกติ ก จำนวน เปนเงิน ปกติ สมาชิ 10%

NEW

ยานยนต/เครื่องยนต

3022 เครือ่ งปรับอากาศรถยนต 3271 การแกปญ  หาชางยนต 3330 เชื้อเพลิงและสารหลอลื่น 3393 ทฤษฎีและปฏิบัติไฟฟายานยนต 3565 งานเครื่องยนต 3593 เครื่องปรับอากาศรถยนต 3765 งานเครือ่ งยนตเบือ้ งตน 3814 งานเครือ่ งยนตดเี ซล 3930 คูมือตรวจสอบ บำรุงรักษา และฟน ฟูสภาพรถยนตฯ NEW 6278 เครื่องยนตแกสโซลีน NEW 6674 อิเล็กทรอนิกสรถยนต 6886 เครื่องยนตหัวฉีด EFI (ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง ใหม ) 6966 ปฏิบัติระบบฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส NEW

คอมพิวเตอร

NEW

3042 คูมือการออกแบบและระบบงานฐานขอมูล NEW 3016 โลกเครือขาย NEW 3044 Auto CAD 2010 เขียนแบบงานวิศวกรรม ฯ 3307 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 3413 สารสนเทศทางธุรกิจ NEW 3417 โครงสรางขอมูลเพื่อการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร 3581 แลนไรสาย 3608 ระบบฐานขอมูล 3815 การสือ่ สารขอมูลและเครือขาย NEW 8871 AutoCAD 2009+CD

บริหารทั่วไป/พัฒนาบุคคล

3066 การจัดการทรัพยากรมนุษย 3224 บริหารตรงเปาหมายไดผลลัพธ 3297 พลิกโฉมธุรกิจอยางไรใหเปนตอ 3407 การจัดการเชิงกลยุทธ Strategic Management 3401 TQM คูมือพัฒนาองคกร สูความเปนเลิศ 3466 นำเสนอแบบมืออาชีพ

160 180 420 330

144 162 378 297

145 230 250 280 180 185 95 160 195 200 160 200 80

131 207 225 252 162 167 86 144 176 180 144 180 72

259 240 495 229 198 198 155 199 115 299

234 216 446 207 179 179 140 180 104 270

รหัส ชื่อหนังสือ

บริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด

เลขที่ 77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชัน้ 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 E-mail : member@me.co.th www.me.co.th (BTS สถานีกรุงธนบุรี) กรณีที่ไมระบุชื่อผูรับหนังสือ ทางบริษัทจะไมรับผิดชอบถาการจัดสงหนังสือไมถึงมือทาน การขายหนังสือ ไดรบั การยกเวนภาษีหกั ณ ทีจ่ า ย และไมมภี าษีมลู คาเพิม่ 7 %  เมื่อทานสงเอกสารการสั่งซื้อ / พรอมการชำระเงินแลว ถาไมไดรับใบเสร็จรับเงิน และหนังสือภายใน 7 วัน กรุณาติดตอกลับดวย  

สำหรับบุคคลทั่วไปสั่งซื้อหนังสือไมถึง 500 บาท เสียคาจัดสง 50 บาท

180 86 162 171 158 158

ราคา สวนลด จำนวน เปนเงิน ปกติ 10%

บริหารทั่วไป/พัฒนาบุคคล

3471 เขียนรายงานและโครงงานแบบมืออาชีพ NEW 175 3479 สราง Mind Map ดวย Mind Manager (ภาคปฏิบตั )ิ 220 3500 คิดใหญ ไมคิดเล็ก 150 3561 วัฒนธรรมโตโยตา : Toyota Culture 485 3564 เกษียณเร็ว เกษียณรวย Retire Young Retire 250 3588 กลยุทธสรางองคกรสีเขียว Strategies for the Geen 359 3663 สายตรงจากสุดยอด CEO 245 3817 Competency สมรรถนะเขาใจใชเปนเห็นผล 200 3820 เปลีย่ นความคิด ชีวติ เปลีย่ น 145 3866 พรีเซนตงานใหเปนเลิศ NEW 170 6229 Logical Thinking คิดอยางมีตรรกะ ชนะทุกเงือ่ นไข 200 6973 หัวหนางานพันธแท 130

3058 3219 3628 6310 6386

การตลาด/การขาย

กลเม็ดเคล็ดลับการตลาดออนไลน การตลาดแนวใหมผาน Social Media NEW คุณก็เปนสุดยอดนักขายได เจาแมขายตรงแหงญีป่ นุ โยชิดะ โยโกะ การวิจยั การตลาดและระบบสารสนเทศทางการตลาด

สุขภาพ

180 180 200 180 NEW 295

3049 อยู 100 ป ดวย 100 วิธีรักษาสุขภาพ 3054 เภสัชโภชนา 3105 คู มื อ ดู แ ลสุ ข ภาพดวยการลางพิษ Detox HANDBOOK 3840 Anti-Aging สูตรลับชะลอวัย 3983 อยยู นื ยาว 100 ป อยางมีความสุข 6330 รูจักและเขาใจ เลือด สิ่งมหัศจรรยในรางกายเรา

ทั่วไป

200 95 180 190 175 175

เทคนิค EC เปนสมาชิกวารสาร หมายเลขสมาชิก ....................................................................... ไมไดเปนสมาชิกวารสาร

0002 คนรใู จ 3 0003 คนจิตปวน 3443 พจนานุกรมไทย-อังกฤษ ฉบับทันสมัย 3760 Love Analysis มหัศจรรยแหงรัก Vol.2 3763 เข็มทิศชีวติ (ฉบับของขวัญ)

158 198 135 437 225 324 221 180 131 153 180 117

162 162 180 162 266

165 165 169 245 195 195

149 149 153 221 176 176

185 190 160 195 99

167 171 144 176 90

รวม รวม การชำระเงิน โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนามบริษทั เอ็มแอนดอี จำกัด

เงินสด กรณีชำระที่ บริษัท เอ็มแอนดอี จำกัด เทานั้น ธนาณัติ (คต. สินสาธร) เทานั้น สั่งจายในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จำกัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่ 158-0-82377-9 ธนาคารกสิกรไทย สาขาสำเหร เลขที่ 032-2-71585-4 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาตากสิน เลขที่ 055-2-30081-7 ธนาคารยูโอบี สาขาถนนกรุงธนบุรี เลขที่ 240-2-03096-5 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาสะพานพระเจาตากสิน เลขที่ 153-1-25818-2

โอนเงินวันที่................................ (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผูโอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) การโอนเงินกรุณาสงไปรษณีย อีเมล หรือแฟกซ ใบนำฝากเงินเขาบัญชี (Pay in) มาพรอมกับใบสั่งซื้อหนังสือ และโทรแจงใหทราบดวย หมายเหตุ : ขออภัยไมมบี ริการพนักงานเก็บเงิน

336, มีนาคม 2555 149




# 304 & # 316 IP 65

IP 55

& IP 65

IP 55

! "$%'

IP 55

)

( ) IP 66 : IK 08 (IP 66 : IK 08 Plastic Terminal Box / Enclosure) Economy Box Big Box, Control Box, Nice Box

(

(9 ; ) )

• "

• Protection Guard

( ;) < < % $, = )

, ( " % , , ( 2 " (% ) , ( . " 7 )

... . . . !" # 864/23 .$"%& &' # ( ' # ( ' # " ) 10800 ". 0-2913-7544, 0-8371-70889, 0-8192-01780 * +. 0-2913-7545

www.cklengineering.co.th E-mail : ckl_bkk@yahoo.com / info@cklengineering.co.th



wÕ¥t§± ¤ Ùu z Power ¨·²}Ö{ §z wÕ¥ ¬ ¯ ¨ {¥t Reactive power wÕ¥ ¬ ¯ ¨ {¥t Unbalance wÕ¥ ¬ ¯ ¨ {¥t Harmonics wÕ¥ ¬ ¯ ¨ {¥tt £° Neutral ¯ Ý ¯z§ {¥tt§± ¤ Ù}¤· ± z ¨ · ¬ ¯ ¨ ³

°{t°{zw ¥ ¬ ¯ ¨ {¥t ¥¯ « ¥Õ zµ Ö w¦ ¤ ¯ u Ö « ¨ · ¬ ¯ Õ¥

± ª Õ« z ¤ t £° ³ Ö ¬z ©z 6000 A

{ £ § § ¥ u z Inverter

2425/2 ¨µ ¡¦oµª ¦³®ªnµ °¥ 67/2-69  ª ­³¡µ ­° Á ª´ ° ®¨µ ¦» Á ¡² 10310 à ¦«´¡ r : 0-2514-1000, 0-2514-1234 ¢ r : 0-2514-0001, 0-2514-0003 internet : http://www.measuretronix.com E-Mail Address : info@measuretronix.com

§ · Ê

¥}¥ § Õ¥

~ 71

¦·¬ ´ Á¤Á °¦rà ¦ · r ¶ ´

¥¶«³ £ ¯¥qÄ ¥ ¶ q µ ³ ~ 69

­ Ä Ã ¦ · n°­° µ¤¦µ¥¨³Á°¸¥ Á¡·É¤Á ·¤Å o ¸É......

³ ¤} ¥ §¯ t ³ ¥zt£ Ì

¥z Õ ¥{ zwÙ- ¥ § ¥

¦ Data Logging ¯t¶ uÖ ¬ ¯ Ý wÕ¥ ¤ ¯ u ° £ ¬ w ª· ¯ «t¥ Ù ³ Ö ¥ ¯ Ý ¯ ª Ö Õ w ¥ {¦ SD Card ² ¤ 8 GB (¯ §· ³ Ö ¬z « 32 GB)

~ 67/2

° z Phasor Diagram u zt £° ° £° z ¤ ¯ ª· §¯w ¥£ Ù Unbalance

www.measuretronix.com/power-quality



Drop Tester Model PDT-56 & 227 Ë °ÄÓº À²º ·­¿« ¿°¢ °½Ì¤ º ·Á¦ ¿

• ¦ÔÀ¸¦¾ ¢¾´º¯ ¿ 60 & 227 ÁͲ °¾® • °½¡¾§ ´¿®·Æ ¤¡·º§ 180 Ë ¦¢ÁË®¢° • ®¿¢° ¿¦ ASTM D-775

SAVER 3X90 Ë °ÄÓ º §¾ ¦ ¤Ã º ®Æ ² ·­¿´½ ¿° ¦· ·Á ¦ ¿ ¿°¢ ´¿®²ÄÓ¦ ºÅ ¸­Æ®Á ̲½ ´¿® ÄÔ¦ • °½¯½Ë´²¿ ¿°§¾¦¤Ã º®Æ² 90 ´¾¦ • §¾¦¤Ã º®Æ²

Vibration Model 1000 & 7000 Ë °ÄÓº À²º ·­¿´½ ¿°²ÄÓ ¦Ì§§ Sing & Random • ¦¿¡Í¢ ½¤¡·º§ 65 x 65 Ë ¦¢ÁË®¢° ̲½ 91 x 152 Ë ¦¢ÁË®¢° • ¦ÔÀ¸¦¾ ¢¾´º¯ ¿ 84 ÁͲ °¾® ̲½ 998 ÁͲ °¾® • ¤¡·º§Î¦Ì¦´¢¾Ô ˤ ¿¦¾Ô¦

Shock Tester Model 15 & 23 Ë °ÄÓº À²º ·­¿´½ °½Ì¤ 2000 g & 5000 g

• Ì° °½Ì¤ ·Æ ·Å¡

Vibration Model MS-400 & 2000 Ë °ÄÓº À²º ·­¿´½ ¿°·¾Ó ¦Ì§§ "Repetitive Shock" ¢¿®®¿¢° ¿¦ ISTA, ASTM, TAPPI, ISO, UN, DOT • ¦¿¡Í¢ ½´¿ ¢¾´º¯ ¿ 122 x 122 cm ¸°Äº 213 x 213 cm • ¦ÔÀ¸¦¾ ¢¾´º¯ ¿ 180 x 900 Kg • ¤¡·º§Î¦Ì¦´¢¾Ô ˤ ¿¦¾Ô¦

Compression Squeezer Ë °ÄÓº À²º ·­¿´½ ¿° ¡ ¸°Äº º¦¤¾§¤ÂÓË Á¡ ¿ ¿° ¦· • ¦¿¡Í¢ ½´¿ ¢¾´º¯ ¿ 76 x 76 cm • °½¯½ ´¿®·Æ 123 cm • Ì° ¡·Æ ·Å¡ 2,268 Kg

LDS Vibration Model V830-335 LPT-600 LDS Vibration Model V875LS-440 HBT-90 LDS Vibration Model Ë °ÄÓ º ¤¡·º§ ´¿®·¾Ó ¦ ·½Ë¤Ä º ¦Î¦©²Á ¢ ­¾

• °Æ¨Ì§§ ¿°·¾Ó¦ Sine, Random, Shock • ·¿®¿°£·¾Ó¦Ï¡ ¤¾Ô ̦´¢¾Ô ̲½Ì¦´¦º¦ • ¢¾´º¯ ¿ Ë ¦ Í ®Ï¬°£¯¦¢ Ë °ÄÓº ΠϬ¬{¿

¤ÂӮ¦ÔÀ¸¦¾ Ï® Ë Á¦ 50 ÁͲ °¾®

Ë °ÄÓº ¤¡·º§ ´¿®·¾Ó¦·½Ë¤Äº¦ ¦¿¡Î¸

• ¦¿¡ 8.9-17.8-98/196-178/311-

178/489-900-1620-2900-5120N Sine (or Random)

Ë °ÄÓº ΠϬ¬{¿ ¦¿¡Î¸ ¤ÂӮ¦ÔÀ¸¦¾ ®¿ ´ ¿ 50-200 ÁͲ °¾®

KNR Structural Testing System KNR SiMat 4000 Ë °ÄÓº À²º ·­¿´½ ¿°·¾Ó¦Ì§§ Universal Testing Model

¤Áµ¤¿ ˡ¯´ • Ì° ·¾Ó¦·Æ ·Å¡ 250-500-1000 KN • ´¿®£ÂÓ ¿°·¾Ó¦ +/-10mm @ 1Hz Dynamiz • ½Ë ²ÄÓº¦¤ÂÓ +-250 mm

Ë °ÄÓ º ·° ¿ ´¿®·¾Ó ¦ ·½Ë¤Ä º ¦ ¦¿¡Ë²Ò

• °Æ¨Ì§§ ¿°·¾Ó¦ Sine, Random, Shock • ·¾Ó¦Ï¡ ¤¾Ô ̦´¢¾Ô ̲½Ì¦´¦º¦ • ¢¾´º¯ ¿ ¤¡·º§ Ë ¦ ¨°½¢Æ ˧¿½ ̲½ ÁÔ¦· ´¦°£¯¦¢

Ë °ÄÓ º ¤¡·º§Ì° ¡Ã Ì° ¡ ̲½Ì° ¡¾¡ • ¦¿¡ º Ì° ¤¡·º§ 200-300 -500-1000-2000-3000 KN

• °Æ¨Ì§§ ¿°·¾Ó¦

KNR Seismic Earthquake Simulation Testing System

KNR Civil Structure and Component Testing

Ë °ÄÓº À²º ·­¿´½Ì© ¦¡Á¦Ï¸´

˨ ¦ ¿°°´§°´®Ë °ÄÓº ¤¡·º§¤ÂÓ À˨ ¦·À¸°¾§ ¸¦ ´ ¯ ¿¦´Á ¾ ¯ ·À¸°¾ § © Æ © ²Á ¢ ´¾ · ¡Å ºÅ ¨ ° ÃÓ ·¿®¿°£Ë ¿£Ã ̸² º Ë °ÄÓº ®Äº¤¡·º§ Ï¡ ˸®¿½·®¢° ´¿®¢ º ¿° ¨°½ º§¡ ´¯ • Compression Test • Tensile Test • Bindin Test • Linear Actuator • Seismic Earthquake Simulation Testing System

• ·¿®¿°£·° ¿ ·­¿´½Ì© ¦¡Á¦Ï¸´Ï¡ ¸²¿¯°Æ¨Ì§§

Ë ¦ 1 DOF, 2 DOF, 3 DOF ̲½ 6 DOF ˨ ¦¢ ¦ • ¢¾´Ë °ÄÓº ·¿®¿°£ºº ̧§Î¸ ®Â ¦¿¡Ì²½·­¿´½ ͸²¡Î Î ¦ ¿°ºº ̧§´¾ · ¡Å Ì ²½Í ° ·° ¿ º¿ ¿° ¿¦ º¦ °Â¢ Í ° ·° ¿ ·½«¿¦ ̲½´¾·¡Å ¢ ¿ Ñ ¤Â¢Ó º Î ¸°ÄºË© Á ¾§·­¿´½Ì© ¦¡Á¦Ï¸´

­ Ä Ã ¦ · n°­° µ¤¦µ¥¨³Á°¸¥ Á¡·É¤Á ·¤Å o ¸É......

¦·¬ ´ Á¤Á °¦rà ¦ · r ¶ ´

2425/2 ¨µ ¡¦oµª ¦³®ªnµ °¥ 67/2-69  ª ­³¡µ ­° Á ª´ ° ®¨µ ¦» Á ¡² 10310 à ¦«´¡ r : 0-2514-1000, 0-2514-1234 ¢ r : 0-2514-0001, 0-2514-0003 internet: http://www.measuretronix.com E-Mail Address : info@measuretronix.com www.measuretronix.com/lansmont-knr-lds


±y ¬¹¢| ¬¢± ¬¹¢|§ } ¦ ©±y §¥ Û± ª |² ¥y § ¦¹ ¥± ¬¢

CTRL UL101 ¥ Û ¥m ñ p

~ q }Ô ~ Ô t }× ­¥j }q jj ­ k pm } ¡vv j © Ï ¦ p ¢p j ¥ } q jj s ¡} k p¥j צ ¦ ­p©}Ôq j ©j Ó p¦ Ó CTRL UL101 m © ¢p j vv | j ~­ j© Ó ¥m ñ p ¡Ó ¨} ©}Ô} ¥ Ó m¡|q p ~ qq m } j~ ­¥ p ¥ Û Ó p ­p©}Ô Ó ppÓ } ¦ }¥ ¬

PHOTON+ ¥ Û ¥m ñ p }¦ ¥m ×¥ p¦ m ­ ¥

k } Î ¦ 1D@K 3HLD ¢p ­ ¡~¨ Ô¥ j ¦ ¦s ¥ Ô ¡~ }m ¥ ¬ 3@BGNLDSDQ ¥sñ ~Ó Ó 42! © Ó~Ô p¨sÔ¥ ¥ ×t ~Ó p j t ~צ × ¨sÔp pÓ

¥m ×¥ p¦ m ­ ¥ ¦ %%3 ¦ NBS@UD p m¢ ~ m p ¦jÔ©k Ùv ¥ p m ­ ¥ j ~Ó p«

¬ ~j V@SDQE@KK ¦ RODBSQNFQ@L ¥ ñ ¥m × Ùv m ­ ¥ ¨ ¥m ñ pq j ¡ ¨ p ¡p j ¥m pq j

\\\ RJFXZWJYWTSN] HTR XTZSI [NGWFYNTS




-

8 Analog Input, 4 Digital Input, 4 Digital Output Universal Input (V, mV, mA, Thermocouple, PT100) Memory 256 K (Expandable to 1 M) ¤¸ Program ¶ Graph ¨³­n Data Á oµ Excel Å o ­µ¤µ¦ nµ¥ o°¤¼¨ nµ Modem, GSM Modem.

- 1 Analog Input (4 - 20 mA, 0 - 10 V, 1 - 5 V, Thermocouple, PT100) - Memory 64 K (Expandable to 256 K) - ¶ µ oª¥ Battery £µ¥Ä Á ¦º°É - µ Á¨È 75 × 20 × 50 mm. -

1 Analog Input (4 - 20 mA, 0 - 10 V, 1 - 5 V) 2 Counter Input (Record Totalize) 4 Digital Input (Event Record, Time Stamp.) ´ ¹ KW Peak Demand, Flow ¶ ª µ¦ ¨· ­· oµ

- 8 Analog Input, 4 Digital Input, 4 Digital Output - Universal Input (V, mV, mA, Thermocouple, PT100) - Á¤º°É n° ´ Computer ­µ¤µ¦ Á ¸¥ Program °nµ ¶ Input ¨³ ª »¤ Output (Visual Basic, Delphi) -  ¤ Program ´ ¹ o°¤¼¨¡¦o°¤¦µ¥¨³Á°¸¥ Protocol - ¤¸ Port RS 232 ¨³ RS 485 ­µ¤µ¦ Ä o °n ´ PC ®¦º° PLC - 115 KBPS Data Rate - Opto Isolation - Built - in Power Supply



µÑÇá·¹¨Ó˹ Ò â´ÂµÃ§¨Ò¡âç§Ò¹ ÊÓËÃѺÍØ»¡Ã³ äδÃÍÅÔ¤áç´Ñ¹ÊÙ§ 10,000 PSI ÂÕËè Í ENERPAC ¨Ò¡ÊËÃÑ°ÍàÁÃÔ¡Ò Áҵðҹ ISO 9001 áÅÐ ANSI B 30.1

** ÁÕºÃÔ¡Òë ÍÁ áÅкÃÔ¡ÒÃÍÐäËÅ ËÅѧ¡ÒâÒÂâ´Â·ÕÁª Ò§¼ ªÙ Ó¹Ò­ **

JACK SET

CYLINDER

ELECTRIC PUMP

Bolt Tensioner

PRESS

PULLER SET

Work Holding Tool

TORQUE WRENCH

l l l

Jack, Cylinder áÁ áçáÅСÃк͡äδÃÍÅÔ¤¢¹Ò´µÑé§áµ 5-1,000 µÑ¹ Pump » Á äδÃÍÅÔ¤ª¹Ô´Á×Íâ¡ (hand pump), ä¿¿ Ò (electric) áÅÐ ÅÁ (Air) System Component ä´ á¡ ¢ ͵ Í (fitting), ࡨÇÑ´¤ÇÒÁ´Ñ¹ (pressure guage), ÊÒÂäδÃÍÅÔ¤ (hose), ¢ ͵ Í

l l l l l

Valve ª¹Ô´¤Çº¤ØÁâ´Â manual áÅÐ solenoid ÃÇÁ·Ñ§é flow control valve ª¹Ô´µ Ò§æ Bolt Tensioner ÃкºäδÃÍÅԤ㪠¡ºÑ ÊÅÑ¡à¡ÅÕÂÇ¢¹Ò´ M16-M95 áç´Ö§ 25-320 µÑ¹ Press á· ¹¡´ª¹Ô´äδÃÍÅÔ¤ÊÓËÃѺ workshop ¢¹Ò´µÑ§é áµ 10-200 µÑ¹ Puller µÑÇ´Ù´ËÃ×Íà¤Ã×Íè §¶Í´Ë¹ Òá»Å¹, µÅѺÅÙ¡» ¹, pulley, flywheel ·Ñ§é ª¹Ô´ manual áÅÐ hydraulic Hydraulic tools ä´ á¡ à¤Ã×Íè §à¨ÒÐÃÙ (hydraulic punch), µÕ¹µÐ¢ÒºÊÓËÃѺ ÒÂà¤Ã×Íè §¨Ñ¡Ã (load skates) µÑǵѴàËÅç¡

(quick coupler áÅÐ manifold)

áÅÐÊÒÂà¤àºÔÅ (hydraulic cutter), µÑǵѴËÑǹç͵ (hydraulic nut spilter), µÑǶ ҧ˹ Òá»Å¹ (flange spreader) l Work Holding Tool ¡Ãк͡äδÃÍÅÔ¤¢¹Ò´àÅç¡ ÊÓËÃѺ¨ÑºÂÖ´ªÔ¹é §Ò¹à¾×Íè ¡Òâֹé ÃÙ»·Õµè Í §¼ÅԵ໠¹¨Ó¹Ç¹ÁÒ¡ æ l Torque wrench »ÃÐá¨äδÃÍÅÔ¤ ÊÓËÃѺ㪠¢¹Ñ NUT ·Õµè Í §ãª torque ÊÙ§ ʹ㨵Դµ Í... ºÃÔÉ·Ñ à¤» ÍÔ¹´ÑÊàµÃÕÂÅ ¨Ó¡Ñ´ (ÊÒ¢ÒÀÒ¤µÐÇѹÍÍ¡) ºÃÔÉ·Ñ ¤Í¹ÊµÃѤªÑ¹è á͹´ ä¾ÅÔ§è ÍÕ¤ÇÔ»àÁ ¹· ¨Ó¡Ñ´ CAPE INDUSTRIAL CO.,LTD. (EASTERN BRANCH) CONSTRUCTION AND PILING EQUIPMENT LIMITED 19 «ÍÂà©ÅÔÁ¾ÃÐà¡ÕÂÃµÔ Ã.9 «Í 2 ¶¹¹ÊØ¢ÁØ ÇÔ· 103 á¢Ç§Ë¹Í§ºÍ¹ ࢵ»ÃÐàÇÈ ¡ÃØ§à·¾Ï 10250 19 Soi Chaloem Phrakiat Rama 9 Soi 2 Sukhumvit 103 Rd., Nongbon, Pravet, Bangkok 10250 Tel. 0-2745-9348-51, 0-2745-9397-98 Fax: 0-2399-0908 E-mail : sales@cape-thailand.com

267/235 àÁ×ͧãËÁ ÁÒºµÒ¾Ø´ ¶.ÊØ¢ÁØ ÇÔ· µ.ÁÒºµÒ¾Ø´ Í.àÁ×ͧÃÐÂͧ ¨.ÃÐÂͧ 21150 267/235 Muangmai Maptapud Sukhumvit Rd., T.Maptapud A.Muang Rayong. Rayong 21150 Tel. 0-3860-8370-1 Fax: 0-3860-8372 E-mail : ind@cape-thailand.com

www.cape-thailand.com



³¨ ©· ° º ­ ®u ©· ° º ­ ®u Ç ­ ¸ ³r³ Æ ¸ ¤«· ©¾ Æ ¤µ 1HY\UZHUP[^VUN )HUN VY )HUN 7OSH[ )HUNRVR 9*1 +&= \\\ XNFRNS[JWYJW%MTYRFNQ HTR




(THERMOMETER ÂąÂŒ¢Â˜Ă›ÂłÂ––Š¹ÂŠ¢Â˜Ă›) Ă‚Â?Â? I Ă‚Â?Â? T

¯Š Â–Ù¹”w¤ÂŽÂŻÂŽĂŒÂ˜ / RTD

DIGITAL TEMPERATURE CONTROLLER

ÂŻt˜¨Â•ÂšÂ•ŠÂ‡ ˆ¤ÂšÂŻÂ–ÂŞÂ ÂŒÂŻÂŽĂ?ÂŒÂ?°ÂˆÂŒÂŻÂ˜Â? ”¨wš¼”•¼štĂ–ÂĽÂŒ ˆ¤¸z°ÂˆĂ• 3 ÂŒ§¸Âš uŠ¸ÂŒÂłÂŽ (tĂ–ÂĽÂŒÂš¤Â‡Â˜zÂ˜Ă•ÂĽz) 0~120, 0~150, 0~200, 0~300, 0~400

™¯¼qÄ££œÂ—¯¼q ­Â›n´Â?z™£q £§

THERMOSTAT THERMOMETER

INDICATORS / CONTROLLERS z REFRIGERATION z COMPRESSORS MANAGEMENT z DATA LOGGER, RECORDER AND TELEVIS SYSTEM z ACCESSORIES

ĂƒÂœÂœÂ—ÂśÂ–§¯¤ÂƒÂłÂœÂžÂ›ÂłÂ‰ —³ŠĂ‚¼š¯Â›ÂŹĂƒÂ—›Â§

ÂŒmŠÂ‰Âƒ´¼Š³Â–£¡

• Â?¼••¼š 1.5 ÂŻÂ”ÂˆÂ–, 3 ÂŻÂ”ÂˆÂ– •  Â†ÂžÂ“”§ 120°C, 0-200°C

Made in German

{ÂŚÂžÂŒĂ•ÂĽÂ• ÂŽt–†Ù³’’Ѽ°Â–zÂ?ÂŹz°Â˜ÂŁ °Â–zˆ¡Œ Â?Œž–¤Â?¹–zzÂĽÂŒ ÂˆÂ?¼žt––” Št}ÂŒ§Â‡ ²ÂŒÂ–ÂĽw¼‰t

ÂŻt˜¨Â•ÂšÂ•ŠÂ‡ ˆ¤ÂšÂŻÂ–ÂŞÂ ÂŒÂŻÂŽĂ?ÂŒÂ?°ÂˆÂŒÂŻÂ˜Â? ”¨wš¼”•¼štĂ–ÂĽÂŒ ˆ¤¸z°ÂˆĂ• 3 ÂŒ§¸Âš uŠ¸ÂŒÂłÂŽ (tĂ–ÂĽÂŒÂš¤Â‡  tž˜¤z) 0~120, 0~150, 0~200, 0~300, 0~400, 0~500, 0~600

- 50 ‰Šz 50°C 0 ‰Šz 120°C 0 ‰Šz 300°C 0 ‰Šz 200°C 0 ‰Šz 400°C 0 ‰Šz 500°C

FRUTON %7 'LJLWDO 7KHUPRPHWHU

CIKACHI DIGITAL TIMER DIGITAL TIMER

¯Š Â–Ù¹””§¯Âˆ Â–Ă™ š¤Â‡Â“¼•²ÂŒ°Â˜ÂŁÂ“ÂĽÂ•ÂŒ t

TYPE : AH3D-DM TIME : 0.1S...99H VOLTS : 220VAC FREQ : 50/60Hz

FRUTON %7 'LJLWDO +\JURPHWHU ¯Š Â–Ù¹””§¯Âˆ Â–Ă™ °Â˜ÂŁwš¼”}ÂŞÂŒ¸ Â?¤Â”‘¤ÂŠÂ‹Ă™

Ă‚ÂƒÂŠŠ³Â–ĂƒÂĽÂ‰Â–ÂłÂ› ĂƒÂĽÂ‰Â–ÂťÂ– Ă‚ÂƒÂŠ &203281' Ă‚ÂƒÂŠŠ³Â–ĂƒÂĽÂ‰Â–ÂłÂ›Â—ĂŠÂľ PP$T PP+J .3D ™¯¼qÄ££œÂ—¯¼qĂƒÂœÂœ­Â›n´Â?zÂ–Ăƒ§²ĂƒÂœÂœÂ?¼¯™

ELECTRONIC THERMO HYGROGRAPH MODEL : TH-26

MODEL : UN-1125

ÂŻÂŽĂ?ÂŒÂŻw–ª ¡ z”ª Š¨¡Â?”Â?–†Ù°Â?Â? Š¨¡Â–š”Š¤z¸ t¼–š¤Â‡Â‘–֠” Â?¤ ÂŒ ŠŠ t tÂĽÂ–ÂŻÂŽÂ˜¨¡ • ÂŒ°ÂŽÂ˜z  † ž“ ”§ ° Â˜ÂŁwš¼”}ª¸ ÂŒ u z Â?––•¼t¼›Žtˆ§³Â‡Ă– Â•Ă•ÂĽzÂˆĂ• ¯ÂŒª ¡ z°Â˜ÂŁÂŻÂŠ¨Â•¡ zˆ–z Â?¼”¼–‰ Â?¤ÂŒÂŠŠtÂłÂ‡Ă–ÂŒÂĽÂŒÂ‰Šz 3 ÂŻÂ‡ÂŞÂ ÂŒ Â?ÂŻt˜t¼–Â?¤ÂŒÂŠŠt °Â?Ă•z  t ÂŻÂŽĂ?ÂŒ 2 }՚z ¹‡•Â?ÂŻtÂ˜Â‡Ă–ÂĽÂŒÂ?ÂŒÂŻÂŽĂ?ÂŒt¼–Â?¤ÂŒÂŠŠt Â†ÂžÂ“”§ ¹‡•¯w–ª¡ z{£²}Ă– bimetal ÂŻÂŽĂ?Œˆ¤ÂšÂˆÂ–š{š¤Â‡ Â?Ă•ÂšÂŒÂ?ÂŻtÂ˜Â‡Ă–ÂĽÂŒÂ˜Ă•ÂĽzÂŻÂŽĂ?ÂŒt¼–Â?¤ÂŒÂŠŠt wš¼”}ª¸ÂŒ ¹‡•{£²}Ă– de-fatted-hairs ÂŻÂŽĂ?Œˆ¤ÂšÂˆÂ–š{š¤Â‡ Â?¤ÂŒÂŠŠtwÕ¼¹‡•Ž¼ttÂĽ Â?¤ÂŒÂŠŠt (cartridge-pen) ˜zÂ?ÂŒtÂ–ÂŁÂ‡ÂĽÂœt–¼’Š¨¡Â”Ă–ÂšÂŒÂ– Â?t–£Â? tŠ–zt˜”Š¨¡ ÂžÂ”ÂŤÂŒÂąÂ‡Â•Â” ¯Âˆ Â–Ă™wšÂ?w”–£Â?Â? §¯Â˜ÂśtŠ– ÂŒ§tÂ?Ă™ †¼š¯ĂŠ ‰Š³Â–†Š´£ÂŒšÂ›Ă‹ „¯‰Æ£nĂƒ§²Š³Â–ÂşÂƒÂŻm ÂŹÂĽn´Â‰

WHVWR WHVWR

}՚zt¼–š¤Â‡ : 0 ‰Šz 90% ; -10 ‰Šz +50 °C ; 0 ‰Šz 100%rh z wš¼”³š²ÂŒt¼– Ă•ÂĽÂŒwÕ¼³‡Ö 0.5 š§ÂŒÂĽÂŠ¨ z ”¨Â’z Ă› tĂ™}ÂŒ¤ wzwĂ•ÂĽt¼–š¤Â‡ÂłÂ‡Ă– z  Â†ÂžÂ“”Â? § Œž–¤Â?²}Ă–zÂĽÂŒu zˆ¤ÂšÂŻw–ª ¡ z -10 ‰Šz +50 °C z °Â?‡zwĂ•ÂĽt¼–š¤Â‡ Â†ÂžÂ“”§°Â˜ÂŁ wš¼”}ª¸ÂŒÂ?¤Â”‘¤ÂŠÂ‹Ă™²ÂŒÂžÂŒĂ•ÂšÂ• °C, °F, %rh, °Ctw, °Ctd ³‡Ö z { °Â?‡zÂ?˜”¨³Â’¯–ª z°Â?zÂ?Œž–¤Â? Ă•ÂĽÂŒwĂ•ÂĽ ²ÂŒÂŠ¨¡Â”ª‡³‡Ö

Mini Float Level Switch MF series

†¼šĂŠÂŻÂ‰Š³Â–¯º•­¢£œ

ÂŻw–ª ¡ zÂ?¤ÂŒÂŠŠtwš¼”}ÂŞÂŒ¸ °Â˜ÂŁÂ †ž“”§

™¯¼qÄ££œÂ—¯¼qŠ³Â– ¯º•­¢£œĂƒ§²Â†Š´£ÂŒšĂ‹Â› Testo 608-H1-H2 Testo 608-H1 Measuring range 0 to + 50/+32 to 122 F/10-to 95% RH

testo 830-T1 Accuracy Âą 1 digit 0.50 (at + 25C) 1F (at + 77F) 3% RH (10 to 95% RH) Âą Âą Âą

Low Pressure Control Danfoss 0.2-7.5 Bar

,167580(176 )25 0($685,1* :RRG 0RLVWXUH 0HWHU

z

w 5DQJH °& w $FFXUDF\ Âą GLJLW Âą °& RU RI 5HDGLQJ w 5HVROXWLRQ °& w Ă…ÂŒn %DWWHU\ 9 'LPHQWLRQ [ [ PP w :HLJKWLQJ J

Compact simple design and principle, high reliability, low price.

™¯¼qÄ££œÂ—¯¼qĂƒÂœÂœÂ?¼¯™ ˆ¤ÂšÂŻÂ–ÂŞÂ ÂŒÂŻÂŽĂ?ŒŠ zÂŻÂžÂ˜ÂŞÂ z, ÂąÂ˜ÂžÂŁ, °Â?Â?t˜” °Â˜£°Â?ÂŒ z ”¨°Â?Â?tĂ–ÂĽÂŒÂˆÂ–z °Â˜ÂŁtĂ–ÂĽÂŒz z ”¨ Â† ÂŤ ž“”²§ ÂžĂ–ÂŻÂ˜ÂŞÂ t -50 +600 °C

Solenoid Vale

z

EGO Single-Plate Ring-Cooker with six-heat regulator switch ÂŻÂˆÂĽÂłÂ’Â’Ă‘ÂĽ E.G.O. u z¯• Â–”¤ÂŒ ”¨²ÂžĂ–ÂŻÂ˜ÂŞÂ t²}Ă– 2 uÂŒÂĽÂ‡ 220 VA 1500 W °Â˜ÂŁ 2000 W

z

ÂŻw–ª ¡ zš¤Â‡wš¼”}ÂŞÂŒ¸ ³”Ö °Â?Â?²}Ă–ÂŻu֔ yĂ– ÂŒÂ?Œž–¤Â?ˆ t. Temp. for KF: 0 to 210°F for KC: -15 to 95°C

Constant wattage cut to length heating cable

Â–Ă•ÂŒÂŤ : Lignometer KF and KC

Â?¼•¥¨ÂˆÂŻÂˆ Â–Ă™ Â?Œž–¤Â?ŠÕ ÂŒ¸ŒÂŠ§¸zw Â˜Ă™Â•ÂŻÂ•ÂśÂŒ, – Â?šztÂ?ÂŽÂ–ÂŁÂˆÂŹÂžĂ– zÂŻÂ•ÂśÂŒ Constant wattage parallel heating cable silicone rubber insulation sheath (application : drain pipes, cold store frame doors)

Ceramic Infrared Panel Radiators

Up to 70°C with silicone insulation. Suitable for avoiding ice in pipes and metal surfaces or forheating not exceeding 55°C on them. lt can be cut to size. They are commonly used in industrial or commercial refrigeration installations to avoid ice in the drain pipes, condensationon the surface, and in applications on metal surfaces notexceeding 55°C.

°¡Â——¯¼qĂ…ÂŒn¾­¼³ÂœÂŻÂşÂ—´­¼¼£

†Š¯Â—§q ™Â?§m¯› Ăƒ§² ƙ™´Ă‚›¡¤£°¡Â——¯¼q

°¡Â——¯¼q—£n ›Ë¾ ›Ë¾£³Â›

£¡Â†Š´£Â™Â›Â™´Â›Â—mÂŻ ƒ´¼ÂƒÂłÂ–ÂƒÂĽmÂŻÂ›Â„ÂŻÂ‰ÂƒÂĽÂ– –m´Â‰ Ăƒ§²Ă‚†£¡Â™ÂşÂƒÂŒÂ›ÂśÂ– ÂŻÂŻÂƒĂƒÂœÂœĂƒ§²Âž§œÂ—Ɩn Â™ÂşÂƒÂ†Š´£Â—nÂŻÂ‰Âƒ´¼Â„¯‰ §ÂƒÂ†n´ z

Elstein FSR panel radiators are ceramic infrared radiators, which are designed for operating temperatures up to 750 °C. Surface ratings of up to 64 kW/m2 can be installed.

°¡Â——¯¼qĆ¼£´§oÂŻÂƒÂ?q

°¡Â——¯¼q¯œ›¥¼´Ă‚¼–

‹›ŠÂ›ÂƒÂłÂ›Â†Š´£¼n¯› ĂƒÂœÂœÂžn´ Ă‚ÂŒš¯Âƒ ĂƒÂžm› Ė¤£¡Š³ –º—´m Â‰Ăˆ Ă‚ÂŒm› Ă…¤­œÂ› Ă…¤ĂƒÂƒnŠ Ă‚Â?¼´£œÂ† Â?œ¼ÂƒÂś ´n &(0(17 %2$5'

Wire and Strip Heater “ /Japanâ€? (Max. Temperature 1400°C)

°¡Â——¯¼qĂ…ÂŒnÂƒÂłÂœÂ›Ă‹Âľ ›Ë¾£³Â› Ăƒ§²Â„¯‰Â­§Š Ă…ÂŒnÆ¥ 9$& Š³Â——qÂ—ÂłĂ‹Â‰ĂƒÂ—m Z

EGO ™¯¼qÄ£—³™ High alloy heating element material and ultra high grade alloys produced by special electroslage melting process, distributed in various grades. Pyromax is classified into 2 types, namely, Fe-Cr-Al and Ni-Cr. When Pyromax used for heating element, it is important to select the most suitable type according to the operating conditions. General characteristics of metallic heating element.

Rang 0-110°°C, 0-300

°¡Â——¯¼q†¼¡Âœ ™m¯§£¼n¯›

INFRARED

FINNED HEATER

´¤Ă†ÂĄÂ™Â›Â†Š´£¼n¯›

¯º•­¢£ Âś

Â?˜ŠÂžÂŚÂŒ Âą}˜ŠÂ‚ÂœŠÂŒÂ—Ă› €Œ““š§Â— }¨vŒ‰

CHALERNWIT SUPPLY CO.,LTD.

°¡Â——¯¼qĂƒÂ™m‰

HIGH WATT DENSITY CARTRIDGE HEATER

268 ~ Â•ÂŠ§ÂŒt– ‰ŒŒ‡§ÂŒ°Â‡z °ušz‡§ÂŒ°Â‡z ÂŻuˆ‡§ÂŒ°Â‡z t–z¯Š‘¢ 10400

RATING : 200°C, 500°C, 750°C SIZE : ˆ¤z¸ °ÂˆĂ• 0.3-16.0 sq-mm. COLER : white, red, green, black, yellow, blue

+HDWHU ¼³–™m¯

+HDWHU ĂƒÂžm›

www.chalernwitsupply.com

E-mail: chalernwit@yahoo.co.th

268 SOI TINAKORN DINDAENG ROAD DINDAENG BANGKOK 10400 TEL. 0-2643-3153-4, 0-2643-4412, 0-2643-3502, 0-2643-7773 FAX : 0-2245-3327, 0-2643-7774






§ ¤ ¯ w ° ww¥ §w {¦t¤ tÕ ¤¸zu©¸ ¥¯ ª· ¤ « £ zwÙ¯ Ý t¥ z ¤ z¥ Ö¥ ~Õ ¦ «z ¤t ¥¯w ª· z{¤t t ± zz¥ « ¥ t ~©·z ¤ ¤ {£u ¥ ¤ ¥tu© ¸ ¯ Ý ¨ · ¥ t¤ Õ¥ ¨ § t¨ ¥ ¥ Õ¥z ¨¯· ¥{£ {¯}¶w ¥t¥ u z¯w ª · z{¤t ¥ t¥ ¦z¥ u z¯w ª · z{¤t ¥ §¯}Õ t¥ ¤ ± w ¥ ¤ ¤ ¥t¥ ³ ° £ « ¬ § ¯ Ý Ö uÖ ¬ ¯ Õ¥ ¨¯¸ Ý ª ¸ ¥ zÕ¥ µ ¨{· £ t ¥ ¯w ª · z{¤t ± ¤ · µ ³ ² }Õ z ¥ Í ¨· ¥Õ ¥ ¨ ¸ § ¥t¥ t¥ ¤ ¥t¥ ¤ · £¯ ª ¯ Ý § ¨ ¨· ¦ ¥²}Ö° Õ ¥ ¨ · « ¦ ¤ ± zz¥ ¨ · ¨ £ t¥ {¤ t¥ ¨ · ¨ ¯ ª · z{¥t ¨w ¥ ° Õ ¦ ¬t Ö z ¥tt Õ¥ § t¨ ¥ Õ¥z ª · ¯ ª · ¯w ª · z{¤t ¯ § · ° z ¥t¥ § t § t¥ ¤ ¥t¥ ¤ · £¯ ª {£ ¥ tÕ § ¨ ª· ° £ ¥ ¥ t³ Ö ¥Õ § t § z{« ³ Õ ³ u z¯w ª · z{¤t ¯t¨· t¤ Ö¬ ¦¯ § t¥ Ö¬tÕ ¤¸z¯ Ý Ö¬ Õ¬² « t§{~Õ ¦ «z ° £ ¤¸z ¬ Ù Õ z (DYNAMIC BALANCING) ¯w ª· z{¤t t ¥ ¥ t Õ¥ 30 Í {©z ¨ ¤¸z w ¥ }¦ ¥ z¥ Ö¥ ¯ w §w ° £ Ö¥ t¥ ¥ ¯ Ý Õ¥z ¨ { ¬twÖ¥ Õ ¥t ¤ ° £¯}ª · ª ¥ {¥tt¥ { ² Û{{« ¤ ¦² Ö ¥ Õ¥ ¤z ¨w ¥ Ö zt¥ ¨t ¥t² « t§{t¥ ~Õ ¦ «z° £ ¤z¸ ¬ Ù Õ z ¨¸ ~©z· Ö z²}Öw ¥ ¥ ¨ ° £ £ t¥ Ù ¯¨· ¥ ¨ Ö ¦ ¤ ¯w ª · z{¤t ¨ · w ¨ ¥Õ u z Õ¥ ¤ ~Õ - Ö¥z BLOWER £ § § ¥ ¬zu z± zz¥ « ¥ t «w £¯ Ö ¦ (DYNAMIC BALANCING) t¥ ¦ DYNAMIC BALANCING }§¸ Õ u z¯w ª· z{¤t ¨· « Ö w ¥ ¯ ¶ ¬z ¤¸z ¨· Ö¥z² Õ ª ²}Öz¥ ³ ¯ Ý ¯ ¥ ¥ {£¯t§ t¥ ¤· ¤ ¯ ª · z ¥{¥tt¥ ¯ ¨ ¬ Ù Ö¥ Õ¥ Ö zt¥ {£ ª ¥ «t¥ ²}Öz¥ ¯ § · w ¥ ¤ w ¥ ¯ ¨ · z z² t¥ ¦z¥ Ö ¤z¸ wÕ¥²}Ö{¥Õ Õ Õ¥zµ ¯}Õ ¬}, ° §·z, ¥ ¥ , t £° ³ Ñ¥ ° £¯ ¥ ¨·¯ ¨ ³ t¤ t¥ « ¯ § u z¯w ª· z{¤t t §·z¯ Õ¥ ¨¸ ¨·{£°tÖ³u³ Ö Ö t¥ ¦ DYNAMIC BALANCING ° £¯ ¥ ¤z ¨t¥ ¦ DYNAMIC BALANCING t ¥ ¨· (ON - SITE FIELD BALANCING) }§¸ z¥ «tu ¥ ² ¥ u £t¦ ¤z²}Öz¥ Õ¬± ³ Õ Ö z }§ ¸ z¥ t ¥

SPEC MECHANICAL FACTORY

DYNAMIC BALANCING TURBO CHARGER ALL SIZES

DYNAMIC BALANCING SCREW - D - CANTER

DYNAMIC BALANCING ROTOR CUTTER

DYNAMIC BALANCING ROTOR MOTOR, ROTOR GENERATOR ALL SIZES

DYNAMIC BALANCING BLOWER ALL SIZES

DYNAMIC BALANCING A LARGE AND LONG ROTOR SUCH AS ROLLER MILL

DYNAMIC BALANCING CENTRIFUGAL BASKET

DYNAMIC BALANCING ROTOR TURBINE

z¥ t ¥ ¨· (ON-SITE FIELD ¸ z¥ «tu ¥ ² BALANCING) }§ ¥ u £²}Öz¥ Õ¬

DYNAMIC BALANCING HIGH SPEED GEAR

¤ ¤ °t× ³ ± ¯{ , ¯ ¨· ¬t ¥z Õ ACCUMULATOR

DYNAMIC BALANCING IMPELLER PUMP

DYNAMIC BALANCING ROTOR ¨¯ ª· t £ ¥

DYNAMIC BALANCING SCREW MIXER

DYNAMIC BALANCING SERVICES FOR ALL ROTATING PARTS Ä¥ q ¥²¬¶ ¶ Î

Æ ´ Ã

ç q ï q á ¯¥·ÂÊ °n´¬q

z £ ˵£³  ¥Â «£

Æ c} Â §n´

 ¥Â «£

Æ ¥ £

m´ ³Ê ª¥·¬µ¥´ ­n¯ ¯´­´¥ º n¯¤

c}  §n´ ¥ ³¤ª¥·

º £ § ¬´¤

E-mail : email@specmechanical.com

02 431 1594 081 453 6290 02 813 8748

ª´§´¤´

µ §¯n¯£ n¯¤ ¯µÂ¢¯ ¥² º£ m à ³ ­©³ ¬£º ¥¬´ ¥ 74130 Ä ¥ª³ q 02 431 1452, 02 431 1594, 02 813 8747 á q 02 813 8748 www.specmechanical.com

º £ § ¬´¤

230 ­£» m 13 ¯¤Â ¥Â «£ 95  ¥Â «£

á q

Æ ¬£º ¥¬´ ¥

¥¶« ³ ¬Â ã ´ ¶ ¯§ µ ³ 63(& 0(&+$1,&$/ &2 /7'

­£»m  ¥Â «£  ¥Â «£ ¯n¯£ n¯¤ ¯ ¥² ºm£Ã ¬£º ¥¬´ ¥ Ä ¥ª³ q 02 431 1452

Æ ¥² º£ m à ª¥« ¶

¥¶« ³ ¬Â ã ´ ¶ ¯§ µ ³

Æ ¥ ³¤ª¥·


Ä¥ q ¥²¬¶ ¶ Î

Æ ´ Ã

ç q ï q á ¯¥·ÂÊ °n´¬q

z £ ˵£³  ¥Â «£

Æ c} Â §n´

 ¥Â «£

Æ ¥ £

m´ ³Ê ª¥·¬µ¥´ ­n¯ ¯´­´¥ º n¯¤

c}  §n´ ¥ ³¤ª¥·

º £ § ¬´¤

E-mail : email@specmechanical.com

02 431 1594 081 453 6290 02 813 8748

ª´§´¤´

µ §¯n¯£ n¯¤ ¯µÂ¢¯ ¥² º£ m à ³ ­©³ ¬£º ¥¬´ ¥ 74130 Ä ¥ª³ q 02 431 1452, 02 431 1594, 02 813 8747 á q 02 813 8748 www.specmechanical.com

º £ § ¬´¤

230 ­£» m 13 ¯¤Â ¥Â «£ 95  ¥Â «£

á q

Æ ¬£º ¥¬´ ¥

¥¶« ³ ¬Â ã ´ ¶ ¯§ µ ³ 63(& 0(&+$1,&$/ &2 /7'

­£»m  ¥Â «£  ¥Â «£ ¯n¯£ n¯¤ ¯ ¥² ºm£Ã ¬£º ¥¬´ ¥ Ä ¥ª³ q 02 431 1452

Æ ¥² º£ m à ª¥« ¶

¥¶« ³ ¬Â ã ´ ¶ ¯§ µ ³

Æ ¥ ³¤ª¥·








ºÃÔ¡ÒâͧàÃÒ • ºÃÔ¡ÒõѴ, ¾Ñº, à¨ÒÐªÔ¹é §Ò¹ âÅËÐá¼ ¹ ÍÅÙÁàÔ ¹ÕÂÁáÅÐ Ê൹àÅÊ´ ÇÂà¤Ã×Íè §¨Ñ¡Ã·Ñ¹ÊÁÑ • ºÃÔ¡ÒÃÍ͡ẺµÙ ãË ¤Ó»ÃÖ¡ÉÒ • ºÃÔ¡Òçҹ¾ÔÁ¾ «ÅÔ ¤ Ê¡ÃÕ¹ ÊÓËÃѺÅÙ¡¤ Ò • ¼ÅÔµµÙÊ ÓàÃç¨ÃÙ»µÒÁẺ§Ò¹ËÃ×͵ÒÁÁҵðҹ ÊÓËÃѺ¹Óä»ãª »ÃСͺµÙä ¿¿ Ò ÍÔàŤ·Ã͹ԤÊ

ÊÔ¹¤ ÒÊÓàÃç¨ÃÙ»

• µÙ Rack ÁҵðҹáÅÐẺ Wall mount • Rack Accessories ઠ¹ Blank Panel, Cable Management, ÃÒ§»ÅÑ¡ê , ¶Ò´ÂÖ´ áÅжҴÃÒ§àÅ×Íè ¹ • µÙ ẵàµÍÃÕèªÒà ¨à¨Íà • µÙâ ·ÃÈѾ· ÊÒ¢Ò • µÙ UPS, Stabilizer Ẻ Rack áÅÐ Tower • µÙ MDB, MCB • µÙ¡ ¹Ñ ¹éÓ, µÙ¾ ¡Ñ ÊÒ áÅе١ ÃШÒÂÊÒ • µÙá ºµàµÍÃÕè áÅЪѹé ÇҧẵàµÍÃÕè

ºÃÔÉ· Ñ ÍÔ¹â¹àǪѹ è à·¤ ¨Ó¡Ñ´

INNOVATION TECH CO.,LTD.

88 ËÁÙ 18 ¶¹¹ÅÓÅÙ¡¡Ò µÓºÅºÖ§·Í§ËÅÒ§ ÍÓàÀÍÅÓÅÙ¡¡Ò »·ØÁ¸Ò¹Õ 12150 â·ÃÈѾ· 02 549 5318-9 â·ÃÊÒà 02 549 5319 E-mail : sale@innovation-tech.com



Heatsink








AUMA is the leading German manufacturer of electric actuators, actuator controls and valves gearboxes for the automation of valves worldwide. AUMA has 45 years of experience in research & development and in the manufacturing of electric actuators.

£ Õ ¥ Ù Û à }« ¨· 2

£ Õ ¥ Ù Ûà }« ¨· 2 ISBN 974-686-103-8 Piping - Pump - Valve Ö°¬ Õz ¯ ¶ ° Ù ¨ {. u ¥ 18.5 x 26.0 ~ . {¦ 336 Ö¥ t £ ¥ Ù ¥w¥ 220 ¥

¤z ª ¨ · w ¥ ¯t¨ · t¤ Õ ¥ Ù ° £ Û à ¨ · § Ù² ¥ ¥ ¯ w §w ± ¨¯ ª ¸ ¥u z° Õ £t Õ « ¯}Õ Õ : ¯ ¨ z t {¥t £ Õ , ¯ ª t| Ö« Õ Õ¥z³ ©z{£³ Öu z ¨, Õ ¦ ¤ t¥ ³ ¨ · ¨ ¥ ¥ £, t¥ t° £ Õ ¢ ¢ ¥ Ù : ¥ Ù ° £t¥ ²}Öz¥ , ¥ Ù § ¤ , t¥ ¯ ª t²}Ö ¥ Ù ¨¯ ª ¸ , ¤ « tÖ¥ ¥ Ù , ¥ Ù ¤ w ¥ ¤ , t¥ ¯ ª t²}Ö±~ ¨ Ù ¥ Ù ¢ ¢ Û à : ¯w ª· z ¬ ° £ £ ¬ , Ûà ±uÕz, Ûà {Õ« , § ¤¸z Ûà ² Ö ¨ Ö z ¨ ¯ w §w, ¯w ª · z ¬ ¸¦° ¯ § · w ¥ ¤ Booster Pump ¢ ¢

Ö¬ ²{ ¥ ¥ ¯ ª t~ª¸ ³ Ö ¨· ¬ Ù ¤z ª ¯ ¶ ° Ù ¨ ª ¤·z~ª¸ ³ Ö ¨·

§ ¤ ¯ ¶ ° Ù ¨ {¦t¤

(BTS ¥ ¨t «z « ¨) 77/111 ¥w¥ § ¥ ¥ ¯ Ù }¤¸ 26 t « z « ¨ °u zw z Ö ³ ¯u w z ¥ t « z ¯ ¢ 10600 ± ¤ Ù 02 862 1396-9 ± ¥ 02 862 1395 ¯ ¶ ³~ Ù www.me.co.th, www.technic.in.th ¨¯ member@me.co.th


DMO200 200A Micro - Ohnmeter

š—­°Â?‡ª¾¤Â˜oÂľÂœÂšÂľÂœĂ…Â—o˜Š´ĂŠ Ă‚Â˜n 0.1 ΟΊ - 5 Ί Test Current ˜´ÂŠĂŠ Ă‚Â˜n 1 - 200 A Â?´ÂœÂššÂ„Â…o°¤Ÿ¨¨ÂŠĂ„Âœ USB Flash Drive (CSV File ­¾¤¾ŒÂ™Ă žd—„´Â? Excel ŗo) ÂŽÂœo¾‹°Ă‚­Â—ŠÂ&#x;¨à ž}Âœ LCD ‡ª¾¤¨³à °¸¼Â—­ŸÂŠ Ă‚­Â—Š‡nÂľ Ί, Test Current Test Voltage Ă‚¨³­Â™ÂľÂœÂłÂ„¾ŒÂšÂ—­°Â? (Pass / Fail) • ¤¸ Thermal & Over - Current Protection • ÂœĂŠœŽÂœ´Â„Ă Â?¾à ¥¸¼ÂŠ 6.9 kg

• • • •

t–£°Â?Š‡Â? Â?Â?ÂŹzÂ?‡ 200 A

200ADM-P Relay Test System with

Phase Shift & USE Storage

• Voltage Output ­ŸÂŠ­Â— 260 V ­œŽŒ´Â?š—­°Â? Voltage Relay • Current Output ­ŸÂŠ­Â— 200 A ­œŽŒ´Â?š—­°Â? Current Relay • š—­°Â? Over / Under Voltage Relay, Voltage Frequency Relay

{¤Â‡ÂŻtÂśÂ?uĂ– Â”ÂŹÂ˜Â˜zÂ?ÂŒ

USB Flash Drive

1 Voltage + 1 Current Relay, 2 Current - Bias Differential Relay 2 Voltage - Check Sync Relay • ¤¸ Auxiliary AC, DC Output ­¾¤¾ŒÂ™ÂžΫÂ?ŗošŠ´ĂŠ Ă‚°¤¢¨¡Â‹Â—Âź Ă‚¨³ Phase Shift Ă‚¨³ÂšÂśÂŠÂľÂœÂŚnª¤Â„´Â? Timing Unit ŗo • Timing Function 5 ¨´Â„–³ Internal Start, 1 Contact, 2 Contacts Current Operate, Pulse • š—­°Â? Phase Shift ŗo˜Š´ĂŠ Ă‚Â˜n 0 - 360° ŽŒº°ÂžΫÂ?‡ª¾¤Â™¸Ă…É —o˜Š´ĂŠ Ă‚Â˜n 45-100 Hz

750ADM

Primary Current Injection System 750 A

• Ă„ÂŽo„Œ³Â­ÂšÂ—­°Â?­ŸÂŠ­Â— 750 A Ă‚¨³ No Load Voltage ­ŸÂŠ­Â— 5 V • Ă„Â?oÂŠÂľÂœ­œŽŒ´Â?„¾ŒÂšÂ—­°Â? Circuit Breaker ŽŒº° Over - Current Relay t–£°Â?Š‡Â? Â?Â?ÂŹzÂ?‡ 750 A

Âœ¼œÂ™ Âł Ăƒ¯¼´ ÂŠÂľÂƒÂłÂ–

$65$6 &2 /7'

Ă‚¨³¼´ÂŠ­¾¤¾ŒÂ™Ă„Â?oÂŠÂľÂœà ¥º°Ă‰ š—­°Â? CT Ratio ŗo°Â„¸ —oÂŞÂĽ • ¤¸ 2 Output ­¾¤¾ŒÂ™ÂžΫÂ? Trip Level ¼„„´ÂœĂ…—o • ¤¸ Thermal & Over - Current Protection Relay • ­¾¤¾ŒÂ™Â˜n°¥nªŠ„´Â? Voltage Source à ¥º°Ă‰ šœ Phase Lock

1694, 1694/1 ˜››Â?¼²ÂŒ´Â‰Ă‚†¼´²­q ĂƒÂ„ŠÂ‰Â–ÂśÂ›ĂƒÂ–Â‰ Ă‚Â„Â—Â–ÂśÂ›ĂƒÂ–Â‰ ÂƒÂĽÂşÂ‰Ă‚Â™ ¹ 10400

ę¼ 0-2277-9969, 0-2692-3980 ę¼´¼ 0-2277-0995, 0-2692-3978 http://www.asras.com

E-mail : sales@asras.com


• 1,000 V • 2 GΊ • Continuity ! • "# $ • " % Alarm $ & $ ' $ & • ( # ) *(+ 2

• / " 4/ !) ( (

& ) / , . • / , / " " 9&$+ (

( Continuity • / Ohm Zero Reset ,( ,) • +- & ":

• /9 * ΟA

• Voltage, Current, -(. ,/ , Capacitance • Current ! "3 ΟA " Iornisation Current * Engine Combustion • 4 Range 5 /

• $ ' * "3 4000 Count • 7 4 - ( Voltage Current • % Voltage, Current, , Capacitance, Frequency • "# #! Min, Max • 4 Range 5 /

• $ & & 8 1 $ " 3 $ : • " Inrush Current ) $ • $( !( : ! $ # 8 4 • " % 54 $8& 3 ; PC

• 1 3 • ! "# $ " %& ' ( ) • %* & Trend + , "# " • %* Inrush Current - . , & ) %/ 0 22 4 • / ( Alarm , %* ,5 4 !)

" ,)% -& Dip, Swell of Voltage, +- ) , +- , , )

• True Rms % AC DC • $ ' 4,000 Count • 4 4< " ) 50 Ă— 5 mm ( & ' ) ∅ 42 mm • " 4 kHz

• True Rms % AC DC • " 8 % W, Var, VA, PF • " 3 Inrush Current ) $ • " #$ > $ ' ! $ (Phase Rotation) • $( !( : ! $ # 8 4

1694, 1694/1

0-2277-9969, 0-2692-3980

http://www.asras.com

10400 0-2277-0995, 0-2692-3978 E-mail : sales@asras.com



The “Vega” Thermal oil Boiler fully meets the requirements of manufacturers who to make the maximum economical use of energy in their manufacturing processes. Heating output 400,000 Kcal/Hr up to 5,000,000 Kcal/Hr. “Vega” Boiler enables thermal fluids to be heated up to 350C with out any increase in system pressure. All fitting & dimension is to be Germany standard. Any kind of fuel can be use, Diesel, LPG, Natural Gas, Biogas, Heavy oil or Dual fuel. Boiler to be complete packaged unit with weishaupt burner,KSB. Oil circulation pump, Program logic control & touch screen display.

The Compact HXS range of Steam Boilers are of conventional three pass wet back economic design utilising single pass of flame in the fumace and two passes of straight tubes.

A Vertical tubeless boiler is of relatively simple design offering years of trouble-free operation. Every Fulton boiler is built and stamped to ASME Code and registered with the National Board of Boiler and Pressure Vessel inspectors, U.S.A.

The Load Leveller is unsurpassed in its field. Offering flexibility in instaneous heating combined with storage, it can deliver hot water with a more accurate temperature control than any rival system.

The Costswold Mark lll range, the latest version of the highly successful Costswold design first introduced into the industry in 1964 continue to give you the following advantages : Competitive prices yet manufactured to the highest standards. Quick deliveries met by the use of 13 standard sizes. Modifications easily incorporated to you own specificaton. Full compliance with BS 853:1981. Vertical or horizontal mounting. Technical advice and support from highly qualified Engineers.

Plate heat exchangers are often the most economical and effcient solution for many heat transfer applications, particularly in situations requiring maximum recovery from low grade energy sources. The ReHeat system incorporates the follwing benefits : Flexible unit design and plate configuration. Unique tongue and groove plate and gasket design. High heat transfer co-efficients with low pressure drops. Economic, compact and reliable units. Purpose built units to suit your system.

CF Process Water Heaters

This standard range of heat exchangers designed for continuous flow process heatingm provides reliability with economy, The reliability you get as a result of quality construction to BS3274 and the economy as a result of selection from a range of 24 standard sizes.

Heat Exchangers for Special Purposes Our expertise allows us to offer shell and tube heat exchangers for most applications, in a veriety of materials and configurations, to meet your individual needs. We have standard ranges of “U” tube, pull through floating head and fixed tubeplate designs and we have manufactured any special units based on modifications to this standard range. Why not challenge our Engineers to solve your heat transfer problem?



ดัชนีโฆษณา ° ­ ´ ´É ° r Å¡¨·É °¸ ª· Á¤o rh Á ¦ · ­r Á à 襸 ­¸ Áª·¨ r { ¤ ¦³Á «Å ¥ ­¸ Á ¡¸ Á ¦ ·Ê ¦»p h µ¦r Á °¦r ±´ ·¢d Å ¥Â¨ r ­¸ ­Á ¤ µ · °¨ Á ¦ºÉ° ¡n Å¢ ´¨Á °¦r ¦³Á «Å ¥ ­¸ à ¦Á¢­ Á µ r °¸­ r Á°Á ¸¥  ·¢d ­¸ ­Á } ¸¨ Á Á°­ ¸ ¡´Ë¤­r ­¸ ¡· ¼¨ ε¦ ¤ ¸ Á °¦¸ ­¸ ­¤ µ¥°· ´­ ¦¸ ­¸ Á µÂ ­¸ ¡¸ Á°­ ¥¼Á ¸É¥ à ¦Á ¦­ ­¥µ¤°· Áª°¦rÁ °¦r h Á ¦· Á¤º° ¤ ¸ Á °¦r¦¸É ­¸ ¡¨ Á ¸ ° r Á°­ ­¸ °´¨¢iµ ° à ¦¤µ · h ­¸ Á ¦· ª· ¥r ´¡¡¨µ¥ Å¡¦¤´­ °µ¦r °¨ Á ·¦r Á °¦r ¦³Á «Å ¥ ­¸ · » ¦ r ­¸ ¢¨¼Á ­¸ °µ¦rà o °æÁ È ¦° · ­r hh h ´ ¸Éªµ¨rªÂ° r °· Á °¦rÁ ¦ ¢¨¼°· ¤ µ · ´¡¡¨µ¥ ­¸ °· Á °¦r °· ­ ¦¼Á¤o r ¸ °µ¦r Á°È¤ ä ´É ¦»p h ­¸ ¢Á¨È r ·Á ·¨ °°Ã Á¤ ´É ·­Á Ȥ ­¸ °· à Áª ´É Á ¸ Á °¨ ᨸÁ Á°È ·Á ¸¥¦·É ¢°¦r ¼ Á¤ µ · ° r ´¡¡¨µ¥ ­¸ °·Á¤°¦r­´ ¦³Á «Å ¥ ­¸ ¸Â È¡ ­¸ Å¢¢jµ°» ­µ® ¦¦¤ ® oµ °¸¡¸Á°È¤ ¸ ­¸ ¸¨¨· ­Á Á ·¨ Á °¦rª·­ ®¨´ Ä ¤µ · ­» ¸ Á°È ·Á ¸¥¦·É ¦³Á «Å ¥ ­¸Â ¦ °¸Á¨ ¦° · ­r °¦r ­¸ Á o Á ¦· Á¤º° ­¸ ¤»¨Á¨°¦r ¤ µ · ­¸ °¸Á¨È ¦·¤  à ¸É ¤°Á °¦r ­¸ Á ¦µÅ ¥ Á¤Á °¦rà ¦ · r hhhh Á° ° r ¸ °· à Áª ´É ¦»p ­¸  ¤ ´É ° à ¦¨ hhh ­¸ Á¤Á °¦·É °°Ã Á¤ ´É Á° ¡¸ Á°­ ° à ¦¨ h ­¸ ¸Å¨ r ´¡¡¨µ¥ hhh Â¤È µ °· Á °¦r Á ´É  ¨ Á°Á ¸¥Å ¦r¢ ­¸ ¸¦ · °°Ã Á¤ ´É ­¸ äà ªµ¦·Ã°Â° r­Á Á ¸¥¦¸É Á ¸¥¦r¤°Á °¦r ­¸ Á°Á ¸¥Á ¡µªÁª°¦r ° à ¦¨ ­¸ Á ¸¥Á È Á­È ¥µ¤µ · · °¸Á¨È ¦· ­¸ Á° ¸Ã o Á°È ·Á ¸¥¦·É ° r °¨ ´¨Â o r ¸ °¨ Á ¸¥¦r¤°Á °¦r ­¸ ¥¼Ã¦ Á ¸¥¦r ­¸ Á° ¸ ¸ hh ­¸ ¸ Á°È Á¤ ´¨Áª·¦r ­¸Â ¦ Á¥ Á °¦´¨ Á¡µÁª°¦r ¤ µ · ­¸ Á°¢ Á° Á ­¸ Á à 襸°· ­ ¦¼Á¤ r Á¥°¦¤´ Å ¥ °¥Á¨°¦r ¤ ·ªÂ¢ Á °¦·É ­¸ Á°È¤ ¸°¸ Å ¥­ ª ªµ · hh ® oµÄ ¦¸Ê Á ¦ Á È r ­¸Â ¦ Á°È¤Â° r°¸ ¸¦ ´¥Å¡«µ¨ Á°È ·Á ¸¥¦·É ­¸ ¦¼Á¤ oµ ¡´ ° Á°­ ¸ ° à ¦¨ h ­¸ ¦£´ r °¸Á¨È ¦· ­¸ ¨µ¢µÁ ®¨´ Á°­Á°È¤°¸ °· Á °¦rÁ ´É  ¨hhhhh ·ªÂ¤È ­¸ ¨Îµ¨¼ µ °· ´­Á ¦¸¥¨ ¤· · ¢ °¦¸É ­¸Â ¦ Á°Â° r°µ¦r °· Á °¦rÁ ´É  ¨ ¦»p ­¸ ¸Â °· ´­Á ¦¸¥¨ °°Ã Á¤ ´É h ªµ · ¦»n Á¦º° °· Á °¦rÁ ¦ ­¸ °æ¢¨¼°· » Á¥¸É¥¤Â¨³­®µ¥hhhhhhh ­¸ ª·­Ã o °­¦µ­ h Á oµ ¦³Á «Å ¥ Áª°¦r ´­ űÁ Á°È ·Á ¸¥¦·É

´Ñª¹Õâ¦É³Òä´¨Ñ´·Ó¢Öé¹à¾×èÍÊдǡμ‹Í¡Ò䌹ËÒÃÒª×èͺÃÔÉÑ·μÒ§æ ·Õèŧâ¦É³Òã¹ÇÒÃÊÒéºÑº¹Õé â´ÂäÁÁÕ¢ͼ١ÁÑ´ã´æ ¡ÑººÃÔÉÑ··Õèŧâ¦É³ÒáμÍÂÒ§ã´

152

336, มีนาคม 2555


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.