E
31
XPERT
“แพทย์ทุกสาขาต้องเตรียมตัว เตรียมความพร้อม
ในการหาวิธีการที่ดี ในการดูแลผู้ติดเชื้อเอดส์...” ศ.กิตติคุณ นพ.ประพันธ์ ภานุภาค
นายกสมาคมโรคเอดส์แห่งประเทศไทย วาระ 2545-2548 ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
แรงบันดาลใจในการเลือกเรียนแพทย์ โดยเฉพาะสาขาภูมิคุ้มกันวิทยา
ต้องยอมรับว่าผมมาจากครอบครัวที่ค่อนข้าง ยากจน พ่ อ แม่ ไ ม่ ไ ด้ มี ธุ ร กิ จ อะไรปู ท างไว้ ใ ห้ เ รา ดำเนินการต่อ แต่ผมเป็นคนเรียนเก่ง ก็เลยอยาก จะเรียนแพทย์เพราะเป็นวิชาที่ช่วยคนได้ และเป็น อิสระในตัวเอง ประกอบกับช่วงนั้น คุณพ่อผมป่วย และต้องไปหาหมออยู่บ่อย ๆ ก็เลยมีความคิดว่า ถ้าเรารูเ้ รือ่ งการแพทย์กจ็ ะเป็นประโยชน์กบั ครอบครัว และคนอืน่ ๆ จึงตัดสินใจเรียนแพทย์ทจี่ ฬุ าฯ พอเรียนจบ ได้ รั บ โอกาสในการสมั ค รขอรั บ ทุ น อานั น ทมหิ ด ล ศ.พญ.ท่านผู้หญิงศรีจิตรา บุนนาค ได้แนะนำให้ผม ไปเรียนต่อทางด้านภูมคิ มุ้ กันวิทยา ท่านบอกว่าวิชานี ้ น่าสนใจ เป็นวิชาที่ใหม่และมีความก้าวหน้า ผมเลย บอกกรรมการที่ สั ม ภาษณ์ ว่ า จะไปเรี ย นวิ ช านี้ หลังจากรูว้ า่ ได้รบั ทุน ก็เลยสมัครเป็นอาจารย์ภาควิชา จุลชีววิทยาอยูป่ กี ว่าเพือ่ เตรียมตัวไปเรียนปริญญาเอก ทางด้านจุลชีววิทยา และภูมิคุ้มกันวิทยาที่ประเทศ สหรัฐอเมริกา พอเรียนใกล้จบ เราก็มองต่อว่าเรา เป็ น แพทย์ ถ้ า เกิ ด เรี ย นเฉพาะด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ พืน้ ฐาน คงจะทำประโยชน์ให้กบั คนทัว่ ไปได้ไม่มากนัก
เลยขออนุมัติทางมูลนิธิอานันทมหิดล ขอเรียนทาง ด้านอายุรกรรม และฝึกอบรมเป็นผู้เชี่ยวชาญทาง ด้านโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกันทางคลินิก ก็ได้เรียน ตามทีต่ งั้ ใจ อยูท่ นี่ นั่ 7 ปีกว่า กลับมาก็มาเป็นอาจารย์
ภาควิชาจุลชีววิทยาต่อ ต่อมาได้โอนย้ายมาอยู่ที่ ภาควิชาอายุรศาสตร์พร้อมตั้งหน่วยโรคภูมิแพ้ขึ้น อย่ า งไรก็ ต าม ก็ ยั ง ทำงานเป็ น อาจารย์ ส อนวิ ช า Expert Focus เป็นคอลัมน์จากการสัมภาษณ์ทัศนคติ มุมมอง แบบแผนการดำเนินชีวิตของ แพทย์ต้นแบบในสาขา โดยมุ่งหวังให้เนื้อหาที่ได้จากการสัมภาษณ์เป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อย สำหรับแพทย์รุ่นใหม่ในการประกอบวิชาชีพ ทั้งนี้ แพทย์ท่านใดสนใจเสนอชื่อ สามารถติดต่อ แจ้งชื่อได้ที่เจ้าหน้าที่กองบรรณาธิการ ตามรายละเอียดหน้าสารบัญ journalfocus@yahoo.com / มิถุนายน 2554
32 ภู มิ คุ้ ม กั น และดู แ ลห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารที่ ภ าควิ ช าจุ ล ชี ว วิ ท ยาควบคู่ กั น ไปด้ ว ย จนเกษียณอายุ ตอนกลับมาใหม่ ๆ ผมก็ทำงานวิจัยเรื่องโรคภูมิแพ้ และการฉีดวัคซีน ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าแบบฉีดเข้าชั้นของผิวหนัง (intradermal) ช่วงเดือน กุมภาพันธ์ ปี ค.ศ. 1985 มีคนไข้ 3 ราย ถูกส่งเข้ามาที่ห้องปฏิบัติการของ ภาควิชาจุลชีววิทยา เพื่อให้ผมวินิจฉัยหาสาเหตุของการติดเชื้อบ่อย ๆ และ ติดเชือ้ รุนแรง ผมก็ใช้วธิ กี ารทางด้านภูมคิ มุ้ กันวิทยาทีร่ ำ่ เรียนมาในการนับจำนวน เซลล์ภูมิคุ้มกัน และดูความสามารถในการทำงานของเซลล์เหล่านี้ พบว่าผู้ป่วย ทั้ง 3 ราย มีความผิดปกติของเซลล์ภูมิคุ้มกันชนิด T-cell ประกอบกับอาการ เลยวินิจฉัยว่าผู้ป่วยทั้ง 3 ราย เป็นเอดส์ โดยที่ตอนนั้นยังไม่มีชุดทดสอบเอดส์ ให้ตรวจ แต่ผมก็เจาะเลือดเก็บไว้ พอชุดทดสอบเอดส์เข้ามาเมืองไทยในเดือน พฤษภาคม ปี ค.ศ. 1985 ผมก็นำเลือดไปตรวจ ก็ยืนยันได้ว่าทั้ง 3 รายติดเชื้อ จริง ซึ่งเป็นผู้ป่วยเอดส์ 3 รายแรกที่ตรวจพบในเมืองไทย หลังจากนั้นก็พบ คนไข้ที่ตรวจพบว่าติดเอดส์มากขึ้นเรื่อย ๆ ผมและ อ.พญ.มัทนา หาญวนิชย์
ก็ช่วยกันดูแลคนไข้เอดส์อย่างต่อเนื่องตั้งแต่นั้นมา
ความภูมิใจและความสำเร็จที่ผ่านมา
เรื่องแรกก็คือ การศึกษาวิจัยการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าจากเซลล์ เพาะเลี้ยง ซึ่งมีราคาแพง โดยการฉีดเข้าชั้นของผิวหนัง (intradermal) เพื่อ ประหยัดวัคซีนทีต่ อ้ งใช้ พบว่าใช้วคั ซีนจำนวนน้อยกว่าการฉีดเข้ากล้ามถึง 4 เท่า โดยได้ภูมิต้านทานที่เท่ากันแต่รวดเร็วกว่า ที่สำคัญคือ ประหยัดกว่ามาก คนไข้ มีสตางค์จา่ ยได้ ทำให้สถานเสาวภาในสมัยทีผ่ มเป็นรองผูอ้ ำนวยการฝ่ายวิชาการ อยู่ สามารถเปลี่ยนการใช้วัคซีนที่เตรียมจากสมองแกะ สมองหนู มาเป็นวัคซีน
ที่ทำมาจากเซลล์เพาะเลี้ยงได้ทั้งหมด ทำให้ไม่เกิดโรคแทรกซ้อนจากการฉีด วัคซีนจากสมองสัตว์ ต่อมากระทรวงสาธารณสุขไทยก็แนะนำให้ใช้ และองค์การ อนามัยโลกก็แนะนำสูตรของสถานเสาวภาให้ใช้กันทั่วโลก ผมภูมิใจที่สามารถ ทำให้คนไข้ทุกคนได้รับการฉีดวัคซีนที่ดีและคุ้มค่า เรือ่ งทีส่ อง ผมภูมใิ จทีไ่ ด้เรียนรูเ้ กีย่ วกับโรคเอดส์จากผูต้ ดิ เชือ้ เอชไอวีโดยตรง ทัง้ ทางด้านการแพทย์ สภาวะจิตใจและสังคม ซึง่ เมือ่ รูส้ งิ่ ต่าง ๆ เหล่านีแ้ ล้ว ทำให้
ผมกลายเป็นแพทย์ทคี่ ล้ายนักเคลือ่ นไหวกลาย ๆ คือมีการไปพูด ไปต่อสูเ้ รียกร้อง กับรัฐ และกับกลุม่ คนต่าง ๆ รวมทัง้ กลุม่ แพทย์ดว้ ยกัน เกีย่ วกับปัญหาต่าง ๆ ของ ผูต้ ดิ เชือ้ เช่น เรือ่ งการรักษา เรือ่ งสิทธิ์ และความเป็นธรรมในสังคม ซึง่ สังคมไทย บางส่วนอาจไม่ยอมรับ เพราะดูคล้ายกับเป็นคนที่มีนิสัยดุดัน ไม่น่าคบหา หรือ อยากดัง แต่ผมภูมใิ จในสิง่ ทีท่ ำ เพราะบริสทุ ธิใ์ จ ไม่ได้พดู เพือ่ ผลประโยชน์ของตัวเอง และภายหลังสังคมและกระทรวงสาธารณสุขก็ยอมรับในสิ่งที่ผมพูดมากขึ้น อย่าง เรื่องมีตึกหรือโรงพยาบาลสำหรับผู้ป่วยเอดส์โดยเฉพาะ ผมไม่เห็นด้วย เพราะ ถ้าเกิดทำขึ้นมาโรงพยาบาลอื่น หรือตึกอื่น ก็จะส่งคนไข้มาให้หมด ไม่ยอมดูแล journalfocus@yahoo.com / มิถุนายน 2554
รักษา คนที่ยอมดูแลก็อ่วม ใครจะยอมมา คนไข้เอง ก็ไม่อยากมาเพราะถูกตีตรา ในทางกลับกัน ตึกหรือ โรงพยาบาลที่ไม่ต้องรับผู้ป่วยเอดส์ก็จะเกิดความ ชะล่าใจ จนเกิดอุบัติเหตุได้ และบุคลากรก็ขาดการ เรียนรู้ หรือการที่เจ้าหน้าที่ของรัฐไปตรวจตราสถาน บริการทางเพศ จับพนักงานตรวจเอดส์หมดทุกคน แล้วมีบัตรบอกผลการตรวจให้ถือไว้ ผมไม่เห็นด้วย เพราะลูกค้าที่เห็นผลการตรวจว่าไม่ติดเชื้อ ก็อาจ ไม่ใส่ถงุ ยางอนามัย ทำให้ยงิ่ เสีย่ งมากขึน้ นอกจากนี ้ การบังคับตรวจเป็นวิธีการป้องกันเอดส์ที่ไม่ได้ผล เพราะจะทำให้คนกลัว และหนีการถูกตรวจ จึงเป็น สิ่งที่ไม่ควรกระทำ ต้องตรวจโดยสมัครใจ จึงเป็น เหตุผลที่เราเปิดคลีนิคนิรนามขึ้นมา นี่คือจุดยืนของ ผมที่กล้าขึ้นมาบอกว่าสิ่งเหล่านั้นเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง เรือ่ งทีส่ าม ผมภูมใิ จทีห่ น่วยงานทีผ่ มทำอยูค่ อื HIV-NAT ซึ่งเป็นหน่วยงานของศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย สามารถจัดการประชุมนานาชาติ ติดต่อกันมาได้ 15 ปีแล้ว โดยงานนี้เป็นการประชุม เพื่อให้ความรู้จริง ๆ ไม่มีการเสนอผลงานวิชาการ เหมือนการประชุมนานาชาติทั่วไป มีชาวต่างชาติ ทั่วโลกและคนไทยมาร่วมงานเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่ ง ก็ ท ำให้ บุ ค ลากรทางการแพทย์ ใ นประเทศไทย และในภู มิ ภ าคได้ เ รี ย นรู้ แ ละอั พ เดทความรู้ เ รื่ อ ง โรคเอดส์ กั น ทุ ก ปี ก็ ภู มิ ใ จที่ ส ร้ า งชื่ อ เสี ย งให้ กั บ ประเทศไทย
ปัจจัยที่เป็นที่มาสู่ความสำเร็จ อันนำมาสู่ความภูมิใจ
ผมคิดว่าเกิดจาก หนึ่ง ผมทุ่มเท ศึกษา และ สอบถามผู้รู้ในทุก ๆ เรื่องที่ผมทำ โดยจะพยายาม มองว่าปัญหาคืออะไร แล้วเราจะเข้าไปช่วยแก้ปญ ั หา ได้หรือไม่ ถ้าช่วยได้เราจะยื่นมือเข้าไปช่วย ผมจะ พยายามทำในเรือ่ งทีเ่ ห็นว่าเป็นประโยชน์ ครอบคลุม ทั้งในสังคมผู้ติดเชื้อและประชาชนทั่วไป สอง ผมคิด ว่าผมได้รบั โอกาสจากการเกือ้ หนุนทีด่ จี ากคนรอบข้าง ทัง้ ระดับบน ระดับล่าง และระดับเดียวกัน เช่น ผมได้รบั
โอกาสจากท่าน ศ.นพ.ม.ล.เกษตร สนิทวงศ์ อดีต เลขาธิการสภากาชาดไทย ให้ไปเป็นรองผูอ้ ำนวยการ ฝ่ายวิชาการทีส่ ถานเสาวภา ก็เป็นโอกาสดีทไี่ ด้ศกึ ษา วิจยั วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนขั บ้า พอโรคเอดส์เข้ามา ในบ้านเรา สภากาชาดไทยก็มอบหมายให้ผมมาดูแล เรือ่ งเอดส์ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ก็อนุญาต ให้ ผ มใช้ เ วลาส่ ว นหนึ่ ง ไปทำงานด้ า นเอดส์ ใ ห้ กั บ
33 สภากาชาดไทยได้ และสิง่ ทีซ่ าบซึง้ จนถึงทุกวันนีก้ ค็ อื พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ท่านมีเมตตาประทานทรัพย์ส่วนพระองค์
ในการช่วยเหลือกิจกรรมต่าง ๆ ของศูนย์วิจัยโรคเอดส์ ซึ่งก็ทำให้งานต่าง ๆ ราบรืน่ มากขึน้ รวมไปถึงท่านนายกฯ อภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ ทีก่ รุณามาเป็น presenter ถ่ายโปสเตอร์เกีย่ วกับการรณรงค์ให้ตรวจเอดส์ปลี ะครัง้ เป็นต้น ผมว่าบุคคลต่าง ๆ เหล่านี้มีส่วนเกื้อหนุนให้งานทุกอย่างประสบผลสำเร็จ
กว่าจะถึงวันที่ประสบความสำเร็จ ผ่านอุปสรรคอะไรบ้างและเอาชนะได้อย่างไร
อุปสรรคส่วนใหญ่มาจาก เงินไม่พอ นโยบายมีความเห็นไม่ตรงกัน กฎหมาย ไม่เอือ้ อำนวย ซึง่ อาจจะทำให้รสู้ กึ ท้อถอยในบางครัง้ แต่กเ็ ป็นแรงผลักดันในเวลา เดียวกัน เพราะอุปสรรคมีไว้ให้แก้ไข เพราะฉะนั้นก็ต้องหาวิธีการในการที่จะมา แก้ปัญหา อย่างเรื่องการส่งรายชื่อ-ที่อยู่ของผู้ติดเชื้อเอดส์ให้กับรัฐบาลเก็บไว้ เป็นความลับ แต่ความลับก็มกี ารรัว่ ไหลออกมาเรือ่ ย ๆ จนทำให้คนไม่กล้ามาตรวจ เราก็ เ ลยหาวิ ธี แ ก้ ไ ขโดยการทำจดหมายไปขอยกเว้ น จากรั ฐ บาลในขณะนั้ น
จนทำให้เราสามารถตั้งคลีนิคนิรนามขึ้นมาได้ หรืออย่างเรื่องยาไม่มีจะรักษา เพราะราคาแพง เราก็ไปร่วมงานกับหมอเอดส์ในต่างประเทศ ตั้ง HIV-NAT ขึ้นที่ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย ทำการศึกษาทดลองยาต้านไวรัสเอดส์
ในบ้านเรา เอายาราคาแพงไปให้คนไทยได้ใช้ แต่ต้องเก็บข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ให้ เ ขาสามารถที่ จ ะเอาไปใช้ ข ยายข้ อ บ่ ง ชี้ ใ นการใช้ ย าให้ ดี ขึ้ น เพราะฉะนั้ น อุปสรรคมีครับ แต่กท็ ำให้ชวี ติ น่าสนใจ ตืน่ เต้น และทำให้เราแกร่งขึน้ ในระดับหนึง่
ถ้าย้อนเวลากลับไปแก้ไขได้ อยากกลับไปแก้ไขเรื่องใด
ผมเป็นคนที่ไม่ชอบมองย้อนหลัง สิ่งไหนที่อยากจะทำก็พยายามทำ ถ้า
ทำไม่ได้ก็คือทำไม่ได้ ไม่ค่อยเสียใจกับสิ่งที่ผ่านมา เพราะไม่ได้ประโยชน์อะไร
บุคคลต้นแบบในการดำเนินชีวิตหรือการทำงาน
บุคคลต้นแบบของผม คือ ศ.นพ.ศุภวัฒน์ ชุติวงศ์ ท่านเป็นเจ้านายผม มาก่อน ท่านเป็นคนที่เปิดรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและคอยให้คำแนะนำ ใครจะเข้ามาพบท่านโดยไม่ได้นัดล่วงหน้า ท่านก็ยินดีให้เข้าพบ ผมคุยกับท่าน แล้วเกิดกำลังใจ มีความหวัง อะไรที่คิดไม่ออก คุยกับท่านก็คิดออก บางครั้ง ท่านแต่งจดหมายด้วยตัวเอง เพื่อช่วยให้กิจการงานต่าง ๆ ไปได้เร็วขึ้น ท่าน บอกเสมอว่าคนจะอยู่และทำงานกับเราได้ ท้องเขาต้องอิ่ม ทำอย่างไรให้เขา มีความสุข ไม่ใช่เฉพาะลาภ ยศ ต้องท้องอิ่มด้วย ทำยังไงจะช่วยให้เขามีรายได้ เพิ่ ม ขึ้ น เพื่ อ สร้ า งกำลั ง ใจในการทำงาน และสิ่ ง หนึ่ ง ที่ ท่ า นเคยพู ด ไว้ แ ละยั ง
ประทับใจอยู่ คือ รักษาคนไข้เหมือนเป็นญาติของ เรา ผมว่าสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ช่วยผลักดันให้ผมทำงาน ได้ดี ท่านไม่เคยห้ามเราคิด หรือปฏิเสธไม่ให้ทำ อย่างนั้นอย่างนี้ เสนอไอเดียแล้วมาช่วยกันคิดว่าดี หรือไม่ดี ถ้าเห็นว่าดีควรทำ ถึงมีอุปสรรคก็ต้องทำ
คติหรือหลักการที่ยึดถือ ในการดำเนินชีวิต
ทำอะไรต้องทำให้ดที สี่ ดุ ทำให้สดุ ความสามารถ อย่าอยู่นิ่ง
ข้อแนะนำสำหรับแพทย์รุ่นใหม่
แพทย์ พยาบาลในปั จ จุ บั น และในอนาคต จำเป็ น ที่ จ ะต้ อ งมี ทั ก ษะในการสื่ อ สารกั บ ผู้ ป่ ว ย มากขึ้น จะต้องเข้าใจความรู้สึกและความต้องการ ของเขามากขึ้น เคารพสิทธิและการตัดสินใจของ ผู้ป่วยมากขึ้น ซึ่งผมเชื่อว่าถ้าแพทย์ของเราพูดคุย กับคนไข้มากขึ้น คุยอย่างจริงใจ ไม่หลอกลวง มี ทักษะการคุยเพื่อสร้างความเข้าใจที่ดี จะส่งผลให้ การรักษามีประสิทธิภาพตามมา และความสัมพันธ์ ระหว่างแพทย์กบั คนไข้จะดีขนึ้ การฟ้องร้องในสังคม น่าจะลดลง และจริงอยูแ่ ม้วา่ ทุกวันนีค้ า่ ครองชีพสูงขึน้ ความจำเป็นในเรือ่ งรายได้กส็ งู ขึน้ ทำให้วงการแพทย์
ในอนาคตจะเป็ น การแพทย์ เ ชิ ง พาณิ ช ย์ ม ากขึ้ น
เรื่ อ ย ๆ สิ่ ง ที่ แ พทย์ จ บใหม่ ค วรระลึ ก อยู่ เ สมอคื อ คิ ด ถึ ง คนไข้ ใ ห้ ม ากขึ้ น ไม่ ไ ด้ ห มายความว่ า ห้ า ม สร้างฐานะให้กับตัวเอง แต่ต้องทำด้วยความพอดี โดยยึดถือคนไข้เป็นหลัก อะไรที่ไม่จำเป็นต้องทำ ก็อย่าทำ จะทำอะไรต้องให้พอเหมาะพอควร อี ก เรื่ อ งคื อ เวลานี้ ผู้ ติ ด เชื้ อ เอดส์ มี จ ำนวน เพิ่ ม ขึ้ น เรื่ อ ย ๆ โดยมี อั ต ราการเสี ย ชี วิ ต ลดลง เพราะยามีราคาถูกลงทำให้เข้าถึงยาได้งา่ ยขึน้ เพราะ ฉะนั้นคนไข้ที่ติดเชื้อก็จะมีอายุยืนยาวมากขึ้น และ ผลข้ า งเคี ย งของการใช้ ย าก็ มี ม ากขึ้ น จึ ง เป็ น เหตุ ให้เกิดโรคแทรกซ้อนตามมา และแสดงผลเร็วมาก กว่ า คนปกติ เช่ น เส้ น เลื อ ดหั ว ใจตี บ โรคไตวาย ความดันโลหิตสูง ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งคงจะไม่มีแพทย์ แขนงไหนในขณะนี้ ที่ จ ะหลี ก เลี่ ย งการสั ม ผั ส กั บ
ผูต้ ดิ เชือ้ ได้อกี ต่อไป แพทย์ทกุ สาขาจึงต้องเตรียมตัว เตรียมความพร้อมในการหาวิธีการที่ดีในการดูแล ผู้ติดเชื้อเอดส์ต่อไป
journalfocus@yahoo.com / มิถุนายน 2554