Expert
23
“ถ้าเคยแกะนาฬิกาดู จะพบว่า มีเฟืองเล็ก ๆ เต็มไปหมด
ทุกเฟืองต้องทำงานสัมพันธ์กัน ทุกเฟืองต้องทำงาน อย่างถูกต้อง เข็มนาฬิกาถึงจะเดินออกมาตรง” รศ.นพ.วินัย รัตนสุวรรณ
อุปนายกคนที่ 2 สมาคมโรคเอดส์แห่งประเทศไทย
แรงบันดาลใจในการเลือกเรียนแพทย์
โดยเฉพาะสาขาโรคติดเชื้อ
ผมจบ ม.ปลายที่ เ ตรี ย มอุ ด มศึ ก ษา เลื อ ก คณะแพทย์ ศิ ริ ร าชเป็ น อั น ดั บ แรกและก็ ส อบได้ สำหรั บ สาเหตุ ที่ เ ลื อ กเรี ย นทางด้ า นนี้ คื อ การ ได้ เ ห็ น ภาพของแพทย์ ท ำงานช่ ว ยเหลื อ คน เป็ น ที่ยอมรับนับถือของคนทั่วไป และคิดว่าลักษณะ นิสัยเราก็น่าจะเหมาะกับอาชีพนี้ คือถนัดในทาง วิ ช าการมากกว่ า พอเรี ย นแพทย์ จ บ 6 ปี ก็ ไ ป ใช้ทุนอีก 3 ปี โดยจับฉลากได้ที่ รพ.อำเภอท่าวุ้ง จ.ลพบุรี ซึ่งเป็นโรงพยาบาลขนาดเล็ก มี 10 เตียง มีหมอทั้งหมด 2 คน พอใช้ทุนเสร็จก็เข้ามาเรียน ต่อที่ศิริราชโดยเลือกทางด้านอายุรศาสตร์ ถามว่า
แรงบันดาลใจที่เลือกเรียนอายุรศาสตร์ต้องบอกว่า ตอนที่ เ ป็ น นั ก ศึ ก ษาแพทย์ ไ ด้ เ ห็ น ตั ว อย่ า งของ อาจารย์ในสาขาอายุรศาสตร์ที่ประทับใจคือ ท่าน อาจารย์ พญ.อนงค์ เพียรกิจกรรม ซึ่งอาจารย์เป็น อายุ ร แพทย์ อาจารย์ มี ค วามตั้ ง ใจทั้งในด้านการ ดูแลคนไข้ ทั้งในด้านการเรียนการสอน งานวิจัย ก่อนที่จะเข้ามาเรียนก็มาคุยกับอาจารย์ อยากให้ อาจารย์ช่วยเขียนจดหมายแนะนำให้เข้าเรียนทาง ด้านอายุรศาสตร์ให้ อาจารย์ก็กรุณาเขียนให้ และ มาสมั ค รได้ เ ป็ น แพทย์ ป ระจำบ้ า นอายุ ร ศาสตร์
จนจบ 3 ปี ก็ได้เจอกับท่านอาจารย์ นพ.สุรพล Expert Focus เป็นคอลัมน์จากการสัมภาษณ์ทัศนคติ มุมมอง แบบแผนการดำเนินชีวิตของ แพทย์ต้นแบบในสาขา โดยมุ่งหวังให้เนื้อหาที่ได้จากการสัมภาษณ์เป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อย สำหรับแพทย์รุ่นใหม่ในการประกอบวิชาชีพ ทั้งนี้ แพทย์ท่านใดสนใจเสนอชื่อ สามารถติดต่อแจ้ง ชื่อได้ที่เจ้าหน้าที่กองบรรณาธิการ ตามรายละเอียดหน้าสารบัญ
journalfocus@yahoo.com / กรกฎาคม-สิงหาคม 2558
p.23-26 Expert IDV56_a.winai_08023 23
7/8/15 1:18:25 PM
24 เป้าหมายการเรียนการสอน อยากที่จะให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น เพราะปัจจุบันนี้เทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสารดีมากขึ้น นักศึกษาสามารถเข้าถึง ข้ อ มู ล ได้ ง่ า ยกว่ า ในอดี ต มาก เมื่ อ ก่ อ นไม่ ว่ า จะ ค้ น คว้ า เรื่ อ งอะไรก็ ต้ อ งไปห้ อ งสมุ ด หาพบบ้ า ง ไม่พบบ้าง ปัจจุบันผ่านทางอินเตอร์เน็ต สะดวก มาก เราก็ อ ยากปรั บ การเรี ย นการสอนให้ เ ป็ น Active learning มากขึ้ น คื อ ให้ เ ด็ ก ได้ ศึ ก ษา หาความรู้ ด้ ว ยตั ว เอง เวลาที่ เจอกันในคลาส จะ เอาปั ญ หามาถกกั น คื อ ให้ ข้ อ มู ล ไปก่ อ นเลย ให้ ตั ว อย่ า งเคสไปศึ ก ษาด้ ว ยตั ว เอง เวลามาถึ ง ห้ อ งเรี ย น ก็ จ ะไม่ ไ ด้ ม าเลกเชอร์ เ หมื อ นแต่ ก่ อ น แต่ จ ะมาแลกเปลี่ ย นกั น ว่ า หลั ง จากเขาได้ เ คสมา แล้วค้นคว้าด้วยตัวเอง แล้วเขาไปได้อะไรมาบ้าง บางอย่างข้อมูลอาจจะตรง บางอย่างอาจไม่ตรง บางทีอาจจะแปลผลผิด ก็จะได้มาแลกเปลี่ยนกัน อะไรที่เขาควรจะรู้แล้วไม่รู้ต้องเติมลงไป ก็จะทำให้ การเรียนการสอนสนุกมากขึ้น ทางด้านงานวิจัยอยากทำมากขึ้น ในปัจจุบัน ความรู้ มั ก เป็ น งานวิ จั ย ที่ ท ำมาจากต่ า งประเทศ ซึ่งจะมีความแตกต่างในหลาย ๆ เรื่องเมื่อนำมา เป้าหมายที่มีการตั้งไว้ในการเป็นแพทย์หรือการใช้ชีวิต ใช้กับคนไทย เราก็อยากได้งานวิจัยที่ทำมาจาก ข้อมูลคนไทย เพื่อเป็นองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ ในมิติอื่น ๆ สำหรับคนไทยจริง ๆ สำหรั บ เป้ า หมายในการประกอบวิ ช าชี พ แพทย์ อยากให้ ผู้ ป่ ว ยโรค ส่วนที่อยากทำเพิ่มเติมคือ การออกไปพบปะ ติดเชื้อโดยเฉพาะคนไข้ HIV ได้รับการรักษาอย่างมีคุณภาพ และมีคุณภาพ ให้ความรู้และแลกเปลี่ยนการดูแลคนไข้กับแพทย์
ชี วิ ต ที่ ดี ซึ่ ง ในปั จ จุ บั น นี้ ก็ ไ ด้ ป ระสบความสำเร็ จ ระดั บ หนึ่ ง ซึ่ ง คนไข้ HIV ตามโรงพยาบาลต่างจังหวัด ที่ ณ ปัจจุบนั คนไข้ HIV ในปัจจุบันก็ไม่ได้เสียชีวิตง่าย ๆ เหมือนเมื่อก่อน เพราะตอนเข้ามาใหม่ ๆ มีไปทุกโรงพยาบาล เพราะโรงพยาบาลต่างจังหวัด
ตอนที่เริ่มดูคนไข้ใหม่ ๆ ปี พ.ศ. 2535-2540 คนไข้ HIV อายุสั้น พอป่วย อาจจะยังขาดแคลนทางด้านบุคลากร ได้ ปี สองปี ก็ เ สี ย ชี วิ ต หมด คนไข้ ก็ ส ภาพแย่ ภู มิ ต้ า นทานต่ ำ ก็ จ ะเกิ ด โรค แทรกซ้อนและเสียชีวิต ถึงแม้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 ที่มียาต้านไวรัสขนานแรก เป้าหมายดังกล่าว สำเร็จได้หรือไม่ ซึ่งก็ยังได้ผลไม่ดีนัก ต่อมาก็มีขนานที่สอง ก็ได้ผลดีขึ้น แต่ก็ยังได้ผลไม่นาน อย่างไร พอปี พ.ศ. 2538 มาก็เริ่มมียา 3 ขนาน ใช้พร้อมกัน ก็สามารถยับยั้งไวรัส ได้อย่างดี ทำให้ภูมิต้านทานคนไข้ดีขึ้น แต่ระยะแรกราคายาก็แพงมาก ผู้ป่วย ความสำเร็จทางด้านการรักษา HIV ในปัจจุบนั ที่เข้าถึงยาต้านเอชไอวีได้มีจำนวนน้อย จนถึงปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา ที่ ดีขึ้นกว่าเมื่อก่อนมาก ตอนนี้ต้องบอกเลยว่า ผู้ป่วย รัฐบาลสามารถจัดหายาต้านเอชไอวี ให้คนไข้ได้อย่างทั่วถึง จนคนไข้ HIV HIV เข้าถึงยาต้านเอชไอวีได้ทุกคน ตั้งแต่ปี พ.ศ. ในปัจจุบัน เดินตามท้องถนนคนอาจจะไม่รู้ว่าเป็นคนไข้ HIV เพราะสุขภาพดี 2538 มียา 3 อย่างที่รักษาได้ผลดี แต่ยาแพงมาก ภู มิ ต้ า นทานดี ไม่ ป่ ว ย แข็ ง แรง ณ ปั จ จุ บั น ผู้ ป่ ว ยเป็ น HIV จะมี อ ายุ ย าว เดื อ นหนึ่ ง ตก 2-3 หมื่ น บาท ในช่ ว งนั้ น คนไข้ ก็ ได้ ถึ ง 70-80 ปี เหมื อ นคนไม่ ติ ด เชื้ อ ได้ HIV เป็ น โรคเรื้ อ รั ง ที่ ไ ม่ ส ามารถ ลำบาก ถึงเบิกได้ก็ไม่กล้าเบิก เพราะเบิกไปกลัวคน รักษาให้หายขาด แต่มียาที่จะควบคุมไม่ให้ลุกลาม และทำให้คนไข้มีสุขภาพดี รู้ว่าเป็นโรคนี้ กลัวเรื่องความลับจะเปิดเผย คนไข้ มีครอบครัวที่เหมือนคนทั่ว ๆ ไปได้ ใช้ วิ ธี จ่ า ยเอง ซึ่ ง ก็ เ ดื อ ดร้ อ น บางคนไม่ ส ามารถ สุวรรณกูล ซึ่งเป็นอายุรแพทย์ที่เชี่ยวชาญทางด้านโรคติดเชื้อ เพิ่งจบเทรนนิ่ง จากอเมริกา ได้ชวนให้เป็นแพทย์ทางด้านโรคติดเชื้อ ตอนนั้นปัญหา HIV ก็ เพิ่ ง เข้ า มาในเมื อ งไทยใหม่ ๆ ยั ง มี ค วามจำเป็ น ที่ จ ะต้ อ งมี แ พทย์ ท างด้ า น โรคติดเชื้อที่จะต้องดูแล สมัยนั้นยังไม่ได้มีแพทย์ประจำบ้านต่อยอดทางด้าน โรคติ ด เชื้ อ ในเมื อ งไทย และมี ต ำแหน่ ง ว่ า ง เลยได้ ม าเป็ น อาจารย์ ที่ ศิ ริ ร าช ก็ตรงกับที่ใจต้องการเพราะมองว่าการได้อยู่โรงเรียนแพทย์สามารถทำหน้าที่ ได้หลากหลายครบถ้วนทั้งการสอน การรักษา รวมถึงการทำวิจัย หลังจากเป็นอาจารย์แล้ว ก็ได้ทุนไปเรียน MPH ทางด้านระบาดวิทยา 2 ปี ที่ University of Washington เมื อ งซี แ อตเติ ล ที่ ป ระเทศสหรั ฐ
อเมริกา หลังจากนั้นก็กลับมาอยู่เมืองไทย 1 ปีแล้วก็กลับไปที่ Creighton University ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า โดยความช่ ว ยเหลื อ จากแพทย์ รุ่ น พี่ 2 ท่าน คืออาจารย์ นพ.มนต์เดช สุขปราณี กับอาจารย์ นพ.อัษฎา วิภากุล ที่ปัจจุบันอยู่ รพ.บำรุงราษฎร์ ไปเทรนแพทย์ประจำบ้านต่อยอดโรคติดเชื้อ 2 ปี และก็ได้กลับมาอยู่ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม
journalfocus@yahoo.com / กรกฎาคม-สิงหาคม 2558
p.23-26 Expert IDV56_a.winai_08024 24
7/8/15 1:18:26 PM
25 ซื้อยาได้ ก็ไม่ได้รับการรักษาเลย แต่ตอนนี้มีระบบประกันสุขภาพ 30 บาท ประกันสังคม ซึ่งรัฐบาลช่วยเหลือทำให้สามารถเข้าถึงยาต้านเอชไอวีได้ทุกคน ด้ า นการเรี ย นการสอน ปั จ จุ บั น มี ค นสนใจเข้ า มาทางด้ า นโรคติ ด เชื้ อ
มากขึ้น ปัจจุบันมีแพทย์ประจำบ้านต่อยอดโรคติดเชื้อที่ฝึกในประเทศไทย มีห ลายสถาบัน ปีหนึ่งจบประมาณมากกว่า 10 คน ก็ดี ขึ้น ทำให้ มีแ พทย์
ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญโรคติดเชื้อมากขึ้น มาช่วยดูแลคนไข้
บางเรื่ อ งที่ ไม่ ส ำเร็ จ หรื อ ควรทำได้ ม ากกว่ า นั้ น เพราะ อะไร ควรปรับปรุงเรื่องอะไรให้สำเร็จมากขึ้น
เรื่องแรกเลย เรายังลดการรังเกียจของสังคมต่อคนไข้ HIV ไม่ได้ เพราะ ว่าตอนนี้คนไข้ HIV รักษาโรคอย่างดี ตรวจไวรัสไม่เจอในเลือด ภูมิต้านทาน แข็งแรงดีทุกอย่าง จะไปสมัครงาน บางทีเขาให้ตรวจร่างกายแล้วมีการตรวจ HIV อยู่ในนั้นด้วย ทำให้คนไข้ไม่กล้าไปสมัคร ต้องทิ้งงาน ทั้งที่บางคนจบ การศึกษาดี แล้วงานตรงนั้นตำแหน่งดี เงินเดือนสูง แต่พอไปเจอว่ามีการ ตรวจ HIV คนไข้ก็ไม่กล้าตรวจ เพราะว่าการตรวจ HIV แบบนี้ไม่ใช่การตรวจ ไวรัสโดยตรง เพราะฉะนั้น เขากินยาจนไวรัสตรวจไม่เจอในเลือด แต่ตรวจ HIV ก็ ยั ง บวก เพราะการตรวจ HIV เป็ น การตรวจโปรตี น ของร่ า งกายที่
สร้างขึ้นเมื่อร่างกายเคยได้รับเชื้อ HIV เพราะฉะนั้น โปรตีนก็ยังอยู่ตลอดชีวิต คนไหนเคยติ ด เชื้ อ HIV ตรวจ แอนตี้ HIV ก็ จ ะบวกไปตลอดชี วิ ต ไม่ ว่ า
เขาจะกินยาอย่างไร บางคนจะไปบวช บางวัดตรวจ HIV ก็มีปัญหา เรื่องนี้ เป็นเรื่องใหญ่ที่ต้องทำอีกเยอะ ที่จะทำให้สังคมเข้าใจคนไข้ HIV มากขึ้นว่า คนไข้ HIV ถ้าได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้อง สุขภาพแข็งแรง ก็สามารถ ทำงานร่ ว มกั บ คนอื่ น ได้ เพราะโรคไม่ ไ ด้ ติ ด กั น ง่ า ย ไม่ ไ ด้ นั่ ง ติ ด กั น แล้ ว จะ ติดกัน มันติดทางเลือด เพศสัมพันธ์ นั่งทำงานอยู่ออฟฟิศเดียวกันได้ ปัจจุบันคนไข้ HIV คาดว่ามีถึง 5-6 แสนคนทั่วประเทศ ถ้าเรารักษา เขาอย่างดี มียาให้กิน ภูมิต้านทานแข็งแรง แต่ไม่สามารถหางานทำได้ เขาก็ จะอยู่ลำบากและเป็นภาระของสังคมด้วย เพราะแทนที่เขายังทำงานได้จะ เป็นกำลังผลิตให้กับประเทศ ปรากฏว่าไม่มีโอกาสได้ทำ เพราะสังคมไม่เข้าใจ ไม่เปิดโอกาสให้เขา
เชื้อดื้อยาหรือไปรับเชื้อดื้อยามาจากคนอื่นเลย ซึ่ง คนกลุ่มนี้เราก็ต้องหาทางช่วยเขา เพราะเขามีเชื้อ ดื้ อ ยาสู ต รแรก ก็ ต้ อ งมี สู ต รสอง สู ต รสาม ที่ จ ะ เตรียมไว้สำหรับคนที่เกิดเชื้อดื้อยา ในส่ ว นการเรี ย นการสอน อยากให้ แ พทย์ จากภายนอก จากโรงพยาบาลต่างจังหวัด ได้เข้า มาดู ง าน ถ้ า มี ค นที่ ส นใจจริ ง ๆ ก็ อ ยากเปิ ด เป็ น สถานที่ให้เขาเข้ามาดูงาน มาร่วมดูเคส ดูผู้ป่วย ด้วยกัน เรียนรู้ไปด้วยกัน มีปัญหาอะไรก็ซักถาม ได้เต็มที่ สำหรับการวิจัยส่วนหนึ่งอยากทำข้อมูลของ คนไทยให้ออกมา จากข้อมูลที่เรามีอยู่ว่าคนไข้ที่ เป็นคนไทย เวลาที่เรารักษาเขาไปแล้วได้ผลเป็น อย่างไร มีปัจจัยอะไรที่มีส่วนเกี่ยวข้อง อะไรที่ให้ ผลดี และอะไรที่ให้ผลไม่ดี หรืออาการข้างเคียง บางอย่างมันจะเกิดบ่อยในคนไข้กลุ่มไหน จะมีอะไร ที่เป็นสัญญาณเตือนไหม คนไข้แบบไหนจะมีโอกาส เกิดอาการข้างเคียงง่ายกว่าคนอื่น รายอื่น ๆ
ใครคื อ บุ ค คลที่ เป็ นตั ว อย่ า งในการ ดำเนินชีวิตหรือการทำงาน
ท่ า นแรกอาจารย์ นพ.สุ ร พล สุ ว รรณกู ล เป็ น ตั ว อย่ า งในเรื่ อ งการทำงานร่ ว มกั บ คนอื่ น ทำงานเอาจริงเอาจัง มุ่งมั่น เพราะอาจารย์เป็น คนแรก ๆ ที่ ต่ อ สู้ ปั ญ หาเรื่ อ ง HIV ในเมื อ งไทย สมั ย ที่ มี ผู้ ป่ ว ยรายแรก ๆ ของเมื อ งไทย เขา ก็ จ ะตามให้ อ าจารย์ สุ ร พลไปช่ ว ยดู อาจารย์ เ ป็ น คนที่ทำงานเป็นทีม ดูแลผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างดี คอยดู ว่ า ใครติ ด ขั ด เรื่ อ งอะไร มี ปั ญ หาเรื่ อ งอะไร อาจารย์ช่วยได้ก็จะช่วย อาจารย์ พญ.อนงค์ เพียรกิจกรรม อาจารย์ เป็นตัวอย่างในเรื่องของการทำงาน การอุทิศตนให้
กับการดูแลคนไข้ อาจารย์เป็นที่รู้กันว่าอาจารย์มาดู คนไข้ตงั้ แต่เช้า อยูจ่ นถึงเย็นทุกวัน วันเสาร์มาทุกวัน ไปที่ตึกอนันทราช จะเจออาจารย์ บางทีอาจารย์
ก็นัดคนไข้ให้มาวันหยุด ดูแลคนไข้ อาจารย์ทำแล็บ เอง เจาะเลื อ ดมาแล้ ว ก็ เ อามาทำสไลด์ ดู ก ล้ อ ง สิ่งที่ตั้งใจจะทำเป็นลำดับต่อไปในอนาคต ดูอะไรเอง และให้การรักษาและติดตามการรักษา การพยายามให้ ค นไข้ ที่ กิ น ยาสู ต รแรก กิ น ยาให้ ค รบถ้ ว นมากที่ สุ ด อย่างใกล้ชิด ถ้าเห็นคนไข้อาจารย์ ก็จะรู้ว่าคนไข้ เพื่อให้เกิดปัญหาดื้อยาให้น้อยที่สุด แต่ถ้าเกิดในบางรายที่เขาโชคไม่ดี เกิด รักอาจารย์มาก journalfocus@yahoo.com / กรกฎาคม-สิงหาคม 2558
p.23-26 Expert IDV56_a.winai_08025 25
7/8/15 1:18:27 PM
26 อาจารย์ นพ.ไพโรจน์ อุ่นสมบัติ อาจารย์เป็นอาจารย์รุ่นแรก ๆ และเป็น อดีตหัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกัน เป็นคนที่อุทิศตนและเป็นผู้บุกเบิก งานด้ า นเวชศาสตร์ ป้ อ งกั น อาจารย์ เ ป็ น ผู้ มี วิ สั ย ทั ศ น์ เล็ ง เห็ น ความสำคั ญ
ของการป้องกันโรค ตั้งแต่กว่า 30 ปีก่อน สนับสนุนอาจารย์ทุก ๆ คนใน ภาควิชาอย่างดี และสอนให้ผสมผสานการป้องกันโรค ไปพร้อม ๆ กับการ ดูแลรักษาผู้ป่วยในแต่ละครั้ง ซึ่งจะทำให้การป้องกันโรคได้ถูกนำไปปฏิบัติจริง
คติหรือหลักการที่ยึดถือปฏิบัติในการดำเนินชีวิต
ท่านพุทธทาส ท่านบอกว่า การทำงานทุกวันคือการปฏิบัติธรรม เพราะ ฉะนั้ น ถ้ า ทุ ก คนทำหน้ า ที่ ข องตั ว เองให้ ดี ที่ สุ ด สั ง คมก็ จ ะดี และทุ ก คนก็ ไ ด้ ปฏิบัติธรรมไปทุกวัน ทุกคน ทุกอาชีพมีความสำคัญหมด การทำงานเป็นทีมมีความสำคัญ เพราะว่าถ้าเปรียบไปก็เหมือนนาฬิกา ถ้าเคยแกะนาฬิกาดูจะพบว่า มีเฟือง เล็ก ๆ เต็มไปหมด ทุกเฟืองต้องทำงานสัมพันธ์กัน ทุกเฟืองต้องทำงานอย่าง ถู ก ต้ อ ง เข็ ม นาฬิ ก าถึ ง จะเดิ น ออกมาตรง เพราะฉะนั้ น ไม่ ว่ า จะเฟื อ งใหญ่ เฟืองเล็ก ถ้าเฟืองไหนมีปัญหาผลสุดท้ายนาฬิกาก็ไม่เดิน เพราะฉะนั้นทุกคน มีความสำคัญหมด เวลาทำงานจะให้ความสำคัญกับทุกคน
มองการแพทย์ของเมืองไทยว่าอย่างไร ทิศทางอนาคต เป็นอย่างไร
การแพทย์ของเมืองไทยบรรพบุรุษทำไว้ดี ทำให้แพทย์รุ่นเราทำงานง่าย ทำให้ เ ป็ น ที่ นั บ ถื อ ของผู้ ค น เพราะเวลาเราพู ด หรื อ ทำอะไรคนก็ จ ะเชื่ อ ถื อ อยากให้ แ พทย์ ทุ ก คนช่ ว ยกั น ธำรงไว้ เพราะว่ า ถ้ า ไม่ ช่ ว ยธำรงไว้ ผู้ ค นขาด ความเชื่อถือ ในอนาคตแพทย์รุ่นหลังเราจะทำงานยาก สำหรับทิศทางในอนาคต ปัจจุบันข้อมูลข่าวสารเผยแพร่กันอย่างรวดเร็ว ในฐานะแพทย์ ซึ่ ง ก็ ต้ อ งทั น ข้ อ มู ล ทั น ข่ า วสาร เวลาผู้ ป่ ว ยมาโรงพยาบาล เขาอาจจะมีข้อมูลมาเรียบร้อย มีคำถามมาพอสมควร เพราะฉะนั้นแพทย์ ต้องมีความทันสมัย มีข้อมูลที่ถูกต้อง และอยากเน้นเรื่องการสื่อสาร เพราะ ส่วนใหญ่ปัญหาที่เกิดขึ้นจะเป็นเรื่องการสื่อสาร ซึ่งบางทีแพทย์อาจจะงานยุ่ง พองานยุ่ ง ก็ อ าจจะไม่ ค่ อ ยพู ด พอไม่ ค่ อ ยพู ด คนไข้ ก็ อ าจจะไม่ เข้ า ใจและ จะทำให้เกิดปัญหาติดตามมา การเปิด AEC ต้องระวังมากขึ้น เพราะแต่ละประเทศมีโรคประจำถิ่น ของตั ว เอง มี เ ชื้ อ โรคที่ ไ ม่ เ หมื อ นกั น เพราะฉะนั้ น เวลาที่ มี ค นอพยพ เดินทางกันมากขึ้น ก็จะมีคนพาโรคแปลก ๆ ใหม่ ๆ จากเพื่อนบ้านเข้ามา
เพราะฉะนั้นก็คงต้องระวังหลายระดับ ทั้งระดับ กระทรวง ระดับกรม กอง โรงพยาบาล ตลอดจน บุคลากรทางการแพทย์
ข้อแนะนำให้แพทย์รนุ่ ใหม่วา่ จะประสบ
ความสำเร็จต้องทำอย่างไร
สำหรับแพทย์รุ่นใหม่ ๆ อยากแนะนำให้ดู จากแพทย์ รุ่ น ครู บ าอาจารย์ ที่ เ ป็ น ตั ว อย่ า งที่ ดี เพราะว่ า แพทย์ รุ่ น ครู บ าอาจารย์ เขาดู แ ลคนไข้ อย่างดี มีการเรียนการสอนที่ดี ก็จะเป็นตัวอย่าง ที่ แ พทย์ รุ่ น ใหม่ จ ะได้ น ำไปประยุ ก ต์ ใช้ ต่ อ อี ก ทั้ ง ตั ว แพทย์ เ องก็ ค งต้ อ งเรี ย นรู้ ไ ปตลอดชีวิต ถึงแม้ จะเรียนจบแล้วก็ยังต้องศึกษาด้วยตัวเองต่อ และ คิ ด ไว้ เ สมอว่ า ทุ ก อย่ า งมั น ไม่ ไ ด้ ม าฟรี ถ้ า อยาก ประสบความสำเร็ จ ก็ ต้ อ งลงทุ น ลงแรง มี ก าร ปฏิบัติจริง เก็บเกี่ยวประสบการณ์ไปเรื่อย ๆ คง ไม่มีอะไรอยู่ดี ๆ ก็ได้มา ต้องมีความอดทนทำอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง และเก็ บ เกี่ ย วประสบการณ์ ไ ปเรื่ อ ย ๆ และในการดูแลผู้ป่วย จำไว้เสมอว่า ให้ดูแลผู้ป่วย เหมือนดูแลญาติตัวเอง
เพื่อให้เนื้อหาวิชาการมีความหลากหลาย กองบรรณาธิการใคร่ขอเรียนเชิญแพทย์ผู้อ่านร่วมส่งบทความเชิงวิชาการ ในรูปบทคัดย่อ บทความทบทวน บทความพิเศษ ที่เป็นประโยชน์ต่อบุคลากรทางการแพทย์ในสาขา โดยพิมพ์ Angsana Size 16 ความยาวไม่เกิน 3 หน้า พร้อมภาพประกอบ ส่งถึงกองบรรณาธิการที่อยู่ตามหน้าสารบัญ ทีมงานจะนำส่งที่ปรึกษาเพื่อพิจารณาคัดเลือก บทความใดได้รับการพิจารณาตีพิมพ์ทางทีมงานจะมีของรางวัลเพื่อเป็นการขอบคุณ
journalfocus@yahoo.com / กรกฎาคม-สิงหาคม 2558
p.23-26 Expert IDV56_a.winai_08026 26
7/8/15 1:18:28 PM