เอกสารประกอบการสอน tc 3103

Page 1

เอกสารประกอบการเรียน TC 3103 ประเพณีและวัฒนธรรมไทย

1


บทที่ 1 ประเทศไทย ‘ประเทศไทย’ หรือ ‘สยาม’ มีภูมิอากาศ แบงได 3 ฤดู ไดแก ในเดือนเมษายน-พฤษภาคม อากาศจะรอนทีส่ ุด เปนชวง “ ฤดูรอน” ในเดือนมิถุนายน-ตุลาคม มีฝนตก เปนชวง “ ฤดูฝน ” สวนในเดือน พฤศจิกายน-มีนาคม อากาศจะหนาวเย็น เปนชวง “ ฤดูหนาว ” 33

33

33

33

33

33

1. เอกลักษณของประเทศไทย 1.1 ชาติ [Nation] หมายถึง ประเทศ ซึ่งประเทศไทยไดชื่อวา ‘สยามเมืองยิ้ม’ ในที่นี้จะแบง ภูมิภาคตาง ๆ โดยอาศัยเกณฑในดานลักษณะภูมิประเทศเปนสําคัญ และนําลักษณะทางดานภูมิอากาศ วัฒนธรรมดานเชื้อชาติ ภาษา และความเปนอยูของผูคนในทองถิ่นมาเปนสวนประกอบในการพิจารณา สามารถแบงได 6 ภาค (77 จังหวัด) ไดแก 1) ภาคเหนือ เปนพื้นที่ภูเขาสูง มีปาไมจํานวนมาก มี 9 จังหวัด ไดแก เชียงราย เชียงใหม นาน พะเยา แพร แมฮองสอน ลําปาง ลําพูน อุตรดิตถ 2) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน) สวนใหญเปนทีร่ าบสูง พื้นดินแหงแลง มี 20 จังหวัด ไดแก กาฬสินธุ ขอนแกน ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บุรีรมั ย มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร รอยเอ็ด เลย สกลนคร สุรินทร ศรีสะเกษ หนองคาย หนองบัวลําภู อุดรธานี อุบลราชธานี อํานาจเจริญ บึงกาฬ 3) ภาคกลาง เปนที่ราบลุม มีความอุดมสมบูรณ เหมาะแกการเพาะปลูก ซึ่งอาชีพหลักของคนไทย คือ “ เกษตรกรรม ” มี ‘ ขาว ’ เปนสินคาสําคัญ มี 22 จังหวัด ไดแก กรุงเทพ กําแพงเพชร ชัยนาท นครนายก นครปฐม นครสวรรค นนทบุรี ปทุมธานี อยุธยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ ลพบุรี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สิงหบุรี สุโขทัย สุพรรณบุรี สระบุรี อางทอง อุทัยธานี 4) ภาคตะวันออก เปนพื้นที่ติดอาวไทย มีผลไมหลากหลายชนิด มี 7 จังหวัด ไดแก จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง สระแกว 5) ภาคตะวันตก เปนหุบเขาและเทือกเขา มี 5 จังหวัด ไดแก กาญจนบุรี ตาก ประจวบคีรีขันธ เพชรบุรี ราชบุรี 6) ภาคใต มีทะเลลอมรอบทัง้ สองดาน มี 14 จังหวัด ไดแก กระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปตตานี พังงา พัทลุง ภูเก็ต ระนอง สตูล สงขลา สุราษฎรธานี ยะลา 33

33

33

33

2


1.2 ศาสนา [Religion] คนไทยมีเสรีภาพในการนับถือศาสนา และศาสนาที่มีคนนับถือมากทีส่ ุด ในประเทศไทย ไดแก “ ศาสนาพุทธ ” ที่ไดเขามาผสมผสานกับความเชื่อพื้นบานตาง ๆ คนที่นับถือศาสนาพุทธ เรียกวา “ชาวพุทธ” และ “วัดพุทธ” ในประเทศมีลักษณะเปนเจดียสที องสูงซึ่งคลายคลึงกับวัดพุทธใน ประเทศอื่น ๆ “ศาสนาอิสลาม” เปนศาสนาที่คนไทยนับถือมากเปนอันดับที่ 2 ซึง่ คนที่นับถือศาสนาอิสลาม เรียกวา “ชาวมุสลิม” สวนใหญอยูบริเวณ 3 จังหวัดชายแดนทางภาคใต ไดแก ปตตานี ยะลา และนราธิวาส ตลอดจนบางสวนของจังหวัดสงขลาและชุมพร และอาจกระจายกันไปทั่วประเทศ “ศาสนาคริสต” เปนอีกศาสนาหนึง่ ทีเ่ ผยแผในประเทศไทย มีคนสวนหนึ่งนับถือศาสนาคริสต โดยเฉพาะทางภาคเหนือและภาคอีสาน นอกจากนี้แลว ในประเทศไทยยังมีศาสาอื่น ๆ เชน ศาสนาฮินดู ศาสนาซิกข ลัทธิขงจื๊อ ศาสนาเตา ฯลฯ 33

33

1.3 พระมหากษัตริย [King] ประเทศไทยมีพระมหากษัตริยเปนประมุขของประเทศมีตงั้ แตอดีต ถึงปจจุบัน พระมหากษัตริยองคปจ จุบันของไทย คือ “ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” เปนพระมหากษัตริยล ําดับที่ 9 แหงราชวงศจักรี จึงมักนิยมเรียกวา “รัชกาลที่ 9” หรือ “ร.9” 33

33

2. ธงชาติ ‘ธงชาติไทย’ หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา ‘ธงไตรรงค’ มีลักษณะเปนสี่เหลี่ยมผืนผา สีที่ใชในธง มี 3 สี หมายถึงสถานบันหลักของประเทศไทย คือ ชาติ (สีแดง), ศาสนา (สีขาว) และพระมหากษัตริย (สีน้ําเงิน) โดยปกติการชักธงชาติจะทําวันละ 2 ชวงเวลา คือ นําธงขึ้นสูยอดเสาธงในเวลา 8.00 น. และนํา ลงในเวลา 18.00 น. เปนประจําทุกวัน ซึ่งเมื่อมีการชักธงชาติขึ้นและลง ใหแสดงความเคารพโดยการยืนตรง หันไปทางเสาธง หยุดนิ่งในอาการสํารวม จนกวาเสียงเพลงชาติหรือสัญญาณการชักธงชาติจะสิ้นสุดลง สวนการชักธงและประดับธงชาติในโอกาสและวันสําคัญตาง ๆ ของประเทศไทยนั้น จะเปนไปตาม ประกาศของรัฐบาล ในวันสําคัญของราชาการจะเห็นวามีการประดับธงชาติตามหนวยงานราชการและอาคาร บานเรือนทั่วไป และอาจเห็นการลดธงลงครึ่งเสาในกรณีไวอาลัยบุคคลสําคัญของประเทศ

3. เมืองหลวง ปจจุบันเมืองหลวงของประเทศไทย คือ “กรุงเทพมหานคร” เปนเมืองทีม่ ีประชากรมากทีส่ ุดของ ประเทศ ไทย เปนศูนยกลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนสง การเงินการธนาคาร การพาณิชย การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ มี “ แมน้ําเจาพระยา ” ไหลผาน จัดเปนเขตปกครองพิเศษของประเทศไทย ไมไดมีสถานะเปนจังหวัด กรุงเทพมหานคร แปลวา ‘เมืองของเทวดา’ หรือชื่อภาษาอังกฤษ เรียกวา Bangkok มีตรา ของกรุงเทพมหานคร เปนรูปพระอินทรทรงชางเอราวัณ พระหัตถทรงสายฟา 33

33

33

33

33

33

33

3

33

33

33

33

33


กรุงเทพมหานครเปนจุดทองเที่ยวจุดหนึง่ มีสถานที่ทองเที่ยวที่สําคัญ ไดแก พระบรมมหาราชวัง , วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแกว), วัดอรุณราชวราราม , วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม , พระที่นั่งอนันต สมาคม , หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร, ถนนสีลม, สยามสแควร , ตลาดนัดจตุจกั ร เปนตน 33

33

33

33

33

33

33

33

3

33

33

33

33

33

33

33

ความรูเบือ้ งตนเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย 1. ความหมาย ประเพณีและวัฒนธรรม เปนสิ่งทีส่ ังคมหรือคนในสวนรวมรวมกันสรางใหมีขึ้น แลวถายทอดใหแกกันได ดวยลักษณะและวิธีการตาง ๆ มีการสืบตอรวมกันมาชานานในสังคม จนเกิดความเคยชิน 2. ลักษณะของวัฒนธรรมไทย 2.1 มีศาสนาพุทธเปนศาสนาประจําชาติ คนไทยสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ หลักคําสัง่ สอน สําคัญของศาสนาพุทธคือ “ละเวนความชั่ว ทําความดี และทําจิตใจใหบริสทุ ธิ์” 2.2 มีพระมหากษัตริยเปนประมุข พระมหากษัตริยมีความสําคัญตอสังคมไทยเปนอยางยิ่ง 2.3 มีอักษรไทยและภาษาไทย ประเทศไทยมีอักษรใชมานานตั้งแตสมัยสุโขทัย โดยไดรบั อิทธิพลจากขอม และไดรับการพัฒนาโดยพอขุนรามคําแหงมหาราช 2.4 มีประเพณีไทย เปนสิ่งแสดงถึงวิถีชีวิตของคนไทย สวนมากเกี่ยวของกับศาสนาพุทธ ปฏิบัติ กันมาตั้งแตสมัยโบราณจนถึงปจจุบัน 2.5 มีศิลปกรรมไทย ไดแก วรรณกรรม ดนตรี จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปตยกรรม 2.6 มีการแสดงออกแบบไทย เรียกวา “มารยาทไทย” คนไทยความสุภาพออนนอม มีการแสดง ความเคารพแตกตางไปจากสังคมอื่น ๆ เชน การยิ้ม การทักทาย การไหว ฯลฯ 3. ประเภทของประเพณีไทย 3.1 จารีตประเพณี หรือกฎศีลธรรม (Mores) เปนประเพณีที่มศี ีลธรรมเขามาเกี่ยวของ มีการ บังคับใหปฏิบัติตาม ถาไมปฏิบัติตามจะเปนความผิดรุนแรง เชน การฆาทํารายผูอื่น การขโมยของผูอ ื่น เปนตน 3.2 ขนบประเพณี (Institution) เปนประเพณีทรี่ ูกันโดยทั่ว ๆ ไป มีการบอกเลาและปฏิบัติ ตอ ๆ มา มักเปนประเพณีที่เกี่ยวกับชีวิต เชน ประเพณีการบวช ประเพณีการแตงงาน เปนตน หรือ ประเพณีตามเทศกาลตาง ๆ เชน ลอยกระทง สงกรานต ขึ้นบานใหม เปนตน 3.3 ธรรมเนียมประเพณี (Convention) เปนประเพณีที่ยึดถือปฏิบัติกันมาตามธรรมเนียม เทานั้น ไมผิดศีลธรรม ไมมีกฎหมายมาเกีย่ วของ และไมมีการบังคับใหปฏิบัติตาม เชน การสวมรองเทา ออกจากบาน การถอดรองเทากอนเขาวัด การใชชอนขณะรับประทานอาหาร การดื่มน้ําจากแกว ฯลฯ โดยมากมักเกี่ยวของกับกิริยามารยาท การรับประทานอาหาร การพูดจา การแตงกาย ฯลฯ ถาไมปฏิบัติ ตาม อาจจะถูกตําหนิวาไมมีมารยาท 4


บทที่ 2 มารยาทไทย มารยาทไทย หมายถึง กิริยาวาจา และการประพฤติปฏิบัติตนใหถูกตองเหมาะสมตามแบบแผน ของความเปนไทยอันออนชอยงดงามและสุภาพออนโยน ซึง่ มารยาทที่ควรเรียนรูใหถูกตองเหมาะสม ไดแก

1. การแสดงความเคารพ การแสดงความเคารพ ถือเปนการแสดงออกมาดวยความนอบนอม สามารถแบงได 4 ลักษณะ คือ การคํานับ การประนมมือ การไหว และการกราบ ซึ่งการจะแสดงความเคารพในลักษณะใดนั้น ตอง พิจารณาใหเหมาะสมกับบุคคลและโอกาส 1.1 การคํานับ เปนการแสดงความเคารพ แบบสากล ในกรณีที่ไมมีการไหวหรือกราบ ดวยการกม ศีรษะใหต่ําลงมาพอสมควร ไมชาหรือเร็วเกินไป ใชใน กรณีทผี่ ูใหญหรือครูอาจารยเดินผานเขามาในระยะใกล เมื่อรับของหรือสงของใหผูใหญ หรือเมื่อบุคคลทีเ่ สมอกัน หรือเพื่อนทักทายกัน นอกจากนี้ การคํานับยังเปนการแสดงความเคารพอยางหนึ่งของทั้งบุรุษและสตรีที่สวมเครื่องแบบ ( กรณีไมใสหมวก ) เมื่อมีโอกาสไดเขาเฝาฯ รับเสด็จ หรือปฏิบัติกิจอยางใดอยางหนึ่ง เฉพาะพระพักตร หรือ หนาพระที่นั่ง รวมไปถึงการถวายความเคารพพระบรมฉายาลักษณ พระบรมสาทิสลักษณ และพระบรมรูป ยกเวนกรณีของสตรีที่ไมไดสวมเครื่องแบบ ใหแสดงความเคารพดวยการ “ถอนสายบัว” การถอนสายบัว มีขั้นตอนปฏิบัติ ดังนี้ 1) ยืนตรง ชักเทาขางหนึ่ง ( ตามถนัด ) ไปขางหลัง แลวลากปลายเทาไขวไปทางดานหลังของเทา ที่ยืนอยู 2) ยอตัวลงโดยยอเขาขางหนึ่งลงชา ๆ ไมตองถึงพื้น ลําตัวตั้งตรง หนาตรง ทอดสายตาลง ถาแบบ สากลนิยมใหปลอยแขนทั้งสองขางลงขางลําตัว กมศีรษะเล็กนอยพองาม แตแบบพระราชนิยม ใหยกมือทั้ง สองขางขึ้นวางประสานกันบนขาหนาเหนือเขา คอมตัวเล็กนอย 3) เสร็จแลวยืนขึ้นในทาตรง

การคํานับ

การถอนสายบัวแบบสากลนิยม 5

การถอนสายบัวแบบประเพณีนิยม


1.2 การไหว การปฏิบัติในการไหวจะประกอบดวยกิริยา 2 สวน ไดแกการประนมมือและการไหว การประนมมือ (อัญชลี) เปนการแสดงความเคารพดวยการยกฝามือทั้งสองขางประกบกัน ใหนิ้ว มือและฝามือชิดกัน ปลายนิ้วเฉียงขึ้นพอประมาณ แขนแนบลําตัวในระดับอกและไมกางออก ทั้งผูชายและ ผูหญิงปฏิบัติเหมือนกัน

การประนมมือนี้ จะใชในการสวดมนต ฟงพระสวดมนต ฟงพระธรรมเทศนา ขณะ สนทนากับพระสงฆ รับพรจากผูใหญ และรับความเคารพจากผูที่มอี ายุนอยกวา เปนตน สวน การไหว สามารถแบงการไหวออกเปน 3 ระดับ ตามระดับของบุคคล ดังนี้ 1) การไหวในระดับที่ 1 คือ การไหวพระ เปนการไหวพระ พุทธ พระธรรม พระสงฆ ปูชนียสถาน และปูชนียวัตถุที่มีความ เกี่ยวของในศาสนาพุทธ เปนการไหวที่ใชแสดงความเคารพในกรณีที่ไม สามารถกราบได โดยประนมมือใหปลายนิ้วหัวแมมือจรดระหวางคิ้ว

2) การไหวในระดับที่ 2 คือ การไหวผูมีพระคุณหรือผู อาวุโสที่เคารพนับถือ ไดแก การไหวพอ แม ปู ยา ตา ยาย ครูอาจารย และผูท ี่เคารพนับถือเปนอยางสูง โดยประนมมือใหปลายนิ้วหัวแมมือ จรดที่ปลายจมูก

3) การไหวในระดับที่ 3 คือ การไหวบุคคลทั่วไป เปนไหว บุคคลที่เคารพนับถือทั่วไป รวมทั้งผูที่เสมอกันดวย ตองประนมมือแลว ยกขึ้นใหปลายนิ้วหัวแมมือจรดปลายคาง

6


การไหวในระดับที่ 3 นี้ สามารถใชในการแสดงความเคารพ ผูที่มีอายุเทากันหรือเพือ่ นกันไดดวย ทั้งผูชายและผูห ญิงจะมีวิธี ปฏิบัติที่เหมือนกัน คือ ยืนตรง ประนมมือในระดับอก แลวกมศีรษะ ลงเล็กนอย

1.3 การกราบ (อภิวาท) เปนการแสดงความเคารพอยางสูง ดวยการประนมมือขึ้นเสมอหนาผาก แลวนอมศีรษะและมือจรดพื้นที่รอง (ซึง่ อาจเปนที่พื้น ที่มือ หรือที่ตัก) มี 2 ลักษณะ ดังนี้ ลักษณะที่ 1 คือ การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ เปนการแสดงความเคารพตอพระรัตนตรัย แบงออกเปน 3 จังหวะ คือ จังหวะที่ 1 ทาอัญชลี ใหประนมมือขึ้นระดับอก ปลายนิ้วชิดกัน ปลายมือเบนจากหนาอก ออกไปขางหนาเล็กนอย และไมกางขอศอก จังหวะที่ 2 ทาวันทนา หรือทาวันทา ใหยกมือที่ประนมขึ้นพรอมกับกมศีรษะลงรับมือเล็กนอย โดยใหนิ้วหัวแมมือจรดระหวางคิ้วหรือกลางหนาผาก จังหวะที่ 3 ทาอภิวาท หรือกราบ ใหกมลงกราบดวยการทอดศอกลงไป มือและแขนทั้งสองขาง ลงถึงพื้นพรอม ๆ กัน คว่ํามือทั้งสองขางแนบราบกับพื้น นิ้วทั้งหาชิดกัน และมือทั้งสองวางหางกันเล็กนอย พอสําหรับใหหนาผากจรดระหวางมือทัง้ สองได

การกราบเบญจางคประดิษฐ

7


ลักษณะที่ 2 คือ การกราบผูใหญหรือผูที่มีอาวุโส เปนการกราบเพื่อแสดงความเคารพผูใหญ หรือผูทมี่ ีอาวุโส ไดแก พอ แม ครู อาจารย และผูมีพระคุณที่เราใหความเคารพ ทั้งชายและหญิงนั่งพับเพียบ ทอดมือทัง้ สองขางลงพรอมกัน ใหแขนทั้งสองครอมเขาใดเขาหนึ่ง มือประนมตั้งกับพื้น คอมตัวลงให หนาผากแตะสวนบนของมือทีป่ ระนม ไมตองแบมือ

การกราบผูอาวุโส เมื่อจะลุกขึ้นจากการกราบ ใหกางแขนทั้งสองขางราบกับพืน้ ยกสวนสะโพกขึ้นกอน หลังจากนั้น จึงยกตัวตาม คลานเขาถอยหลังออกมาเล็กนอย แลวจึงลุกขึ้นยืนเฉียงเดินออกมา หามหันหลังใหแลวเดิน ออกมา

2. มารยาทในการยืน 2.1 การยืนเคารพธงชาติหรือเพลงชาติ ใหยืนตรงแสดงความเคารพ โดยหันหนาไปทางธงชาติ เมื่อเพลงจบใหคอมศีรษะคํานับ 2.2 การยืนฟงโอวาท ใหยืนตรง ปลอยมือไวขางลําตัว หันหนาไปทางผูใหโอวาท กรณีที่ถือ ประกาศนียบัตรหรือสิ่งของอื่น ๆ ถาถือมือเดียว ใหถือดวยมือขาแนบไวกับอก หรือระดับตั้งฉากกับลําตัว แต ถาถือสองมือใหถือระดับตั้งฉากกับลําตัว 2.3 การยืนรับคําสั่ง ใหยืนตรง หนาตรง ปลอยมือไวขางลําตัวและตั้งใจรับฟงคําสั่ง 2.4 การยืนสนทนากับผูใหญ ใหยืนตรง ประสานมืออยูร ะดับต่ํากวาเอว คอมตัวเล็กนอย ไม ควรยืนชิดหรือหางเกินไป 2.5 การยืนตามลําพัง หรือยืนคุยกับเพื่อน ควรยืนในลักษณะที่สุภาพและอยูในทาทีส่ บาย ตัว ตรงหรือเอียงไดเล็กนอย ใหยืนลักษณะสุภาพ ไมกีดขวางผูอ ื่น ทายืนที่ไมควรปฏิบัติ เพราะถือวาไมสุภาพ ไดแก การยืนแกวงแขน การยืนถางขา การยืนเทา สะเอว การเอามือลวงกระเปา การแสดงอาการหลุกหลิก ฯลฯ

8


3. มารยาทในการเดิน 3.1 การเดินในพิธีทางศาสนา การเดินที่เปนพิธีทางพุทธศาสนาที่เปนมงคล ไดแก การเดินเวียน เทียนในวันสําคัญทางศาสนา การเดินในงานอุปสมบท หรืองานแหเทียนพรรษา เพื่อแสดงคารวะตอปูชนีย สถานหรือปูชนียวัตถุ โดยใหเดินเวียนขวา 3 รอบ ประนมมือ โดยถือดอกไม ธูป เทียน ในขณะเดินใหระลึก ถึงพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ 3.2 การเดินผานผูใหญ มี 3 ลักษณะ ขณะผูใหญยืน ใหเดินผานระยะหางพอสมควรในลักษณะสํารวม ปลอยมือไวขางลําตัว แลวคอมตัวเมื่อใกลถึงผูใหญ ขณะผูใหญนั่งเกาอี้ ใหเดินผานระยะหางพอสมควรในลักษณะสํารวม ปลอยมือไวขาง ลําตัว แลวคอมตัวพรอมกับยอเขาเมื่อใกลถึงผูใหญ ขณะผูใหญนั่งหรือนอนกับพื้น ใหเดินผานระยะหางพอสมควรในลักษณะสํารวม เมื่อ ใกลถึงผูใหญ ใหเดินเขา เมือ่ ผานไปแลวจึงลุกขึ้นเดิน 3.3 การเดินนําและเดินตามผูใหญ เดินระยะหางพอสมควรในลักษณะสํารวม ผูเ ดินนําจะตอง อยูทางดานซายมือของผูใหญ มือทั้งสองขางแนบลําตัว หรือประสานกันไวขางหนา

เดินนําผูใหญ

เดินตามผูใหญ

3.4 การเดินผานผูใหญ มี 3 ลักษณะ คือ - เดินผานขณะทีผ่ ูใหญยืน ใหเดินผานในระยะหางพอสมควร ในลักษณะสํารวม ปลอยมือ ไวขางลําตัว แลวคอมตัวเมื่อใกลถึงผูใหญ - เดินผานขณะที่ผูใหญนั่งเกาอี้ ใหเดินผานในระยะหางพอสมควร ในลักษณะสํารวม ปลอย มือไวขางลําตัว แลวคอมตัวพรอมกับยอเขาเมื่อใกลถึงผูใหญ - เดินผานขณะผูใหญนั่งกับพื้น ใหเดินผานในระยะหางพอสมควร ในลักษณะสํารวม เมื่อ ใกลถึงผูใหญ ให “เดินเขา” เมื่อผานไปแลว จึงลุกขึ้นเดิน

9


การเดินผานขณะผูใหญยืน

การเดินผานขณะผูใหญนั่งเกาอี้

การเดินผานขณะผูใหญนั่งกับพืน้

3.5 การเดินสวนกับผูใหญ ใหเดินคอมตัวลงพอสมควร แลวเดินผานไปอยางสุภาพ 3.6 การเดินเขาและออกระหวางการประชุม ผูทมี่ ีความจําเปนตองเดินเขาหรือออกระหวาง ขณะที่มีการประชุม ใหแสดงความเคารพประธานในทีป่ ระชุมทุกครัง้ ดวยการไหวหรือคํานับ เมือ่ จะออกจากที่ นั่งและเมื่อเดินกลับเขาที่นงั่ 3.7 การเดินทั่วไปหรือเดินปกติ ควรเดินดวยความสุภาพ หลังตรง ศีรษะตรง แกวงแขนทัง้ สอง ขางเล็กนอย ชวงกาวเดินไมสั้นหรือยาวเกินไป ทาเดินที่ไมควรปฏิบัติ เพราะถือวาไมสุภาพ ไดแก เดินกมศีรษะ เดินหลังคอม มือไพลหลัง มือลวงกระเปา เดินสายสะโพก เดินกระแทกสนเทา ฯลฯ

4. มารยาทในการนัง่ 4.1 การนั่งพับเพียบ คือ การนั่งราบกับพื้น พับขา ถือเปนการนั่งกับพื้นทีส่ ุภาพเรียบรอยและ สวยงามทีส่ ุด คนไทยสวนใหญทงั้ ผูห ญิงและผูชายปฏิบัติกันมาโดยตลอด แบงกวาง ๆ ได 2 ลักษณะ ดังนี้ - การนั่งพับเพียบโดยทั่วไป ใหนั่งในลักษณะทีส่ ุภาพเรียบรอย ยืดตัวตรง มือทัง้ สองขางวางไว บนหนาขา หรือจะนัง่ เทาแขนไปกับพื้นก็ได โดยใหปลายมือเหยียดตรงไปขางหนา - การนั่งพับเพียบตอหนาผูใหญ ใหนั่งในลักษณะที่สุภาพเรียบรอย คอมตัวลงเล็กนอย เก็บ ปลายเทาโดยเบนปลายเทาเขาหาสะโพก มือทั้งสองขางประสานกัน แลววางไวบนหนาขาขางใดขางหนึง่

การนั่งพับเพียบ (ดานหนา)

การนั่งพับเพียบ (ดานหลัง) 10


4.2 การนั่งหมอบ เปนการนั่งพับเพียบเก็บปลายเทา หมอบลงใหศอกทั้งสองขางลงถึงพื้น ครอมเขาที่ยื่นล้ํามาขางหนา ประสานมือ ไมกม หนา สายตาทอดลงต่ํา การนั่งลักษณะนี้ปฏิบัติ ไดทั้งผูชายและผูหญิง ในขณะเขาเฝารับเสด็จฯ 4.3 การนั่งขัดสมาธิ (สะ-หมาด) เปนทานั่งกับพื้นตามสบายแบบหนึง่ หรืออาจเปนการนัง่ ทํา สมาธิ (สะ-มา-ทิ) แตไมควรนั่งทานี้เมื่ออยูตอ หนาผูใหญหรือผูที่อาวุโส - การนั่งขัดสมาธิแบบธรรมดา คือ การนั่งบนพื้น ใหขาขางหนึ่งซอนทับอยูบ นขาอีกขางหนึ่ง สนเทาทั้งสองขางจะสัมผัสกับขา สวนมากผูชายจะนิยมนั่งทานี้สําหรับการนั่งพักผอน หรือนั่งรับประทาน อาหารทีจ่ ัดสํารับตั้งกับพื้น - การนั่งขัดสมาธิราบ คือ การนั่งใหขาทับซอนกัน โดยเอาขาขวาทับขาซาย มือขาทับมือซาย ใหนิ้วหัวแมมือจรดกัน ยืดตัวใหตรง ซึ่งการนัง่ ขัดสมาธิราบนี้ นิยมใชในการนั่งเจริญภาวนา ทําจิตใจใหสงบ

การนั่งขัดสมาธิธรรมดา

การนั่งขัดสมาธิราบ

4.4 การนั่งคุกเขา เปนการนั่งกับพื้นดวยการยอเขาลงใหติดกับพื้น กอนการกราบพระแบบเญ จางคประดิษฐหรือกอนการเดินเขา ผูชายและผูหญิงจะนั่งไมเหมือนกัน - การนั่งคุกเขาปลายเทาตั้ง เปนลักษณะการนัง่ ของผูชาย ใหนั่งแบบเทพบุตร โดยให นั่งคุกเขา ตัวตรง ปลายเทาตั้ง นั่งลงบนสนเทา มือวางคว่ําลงบนหนาขาทั้งสองขาง การนั่งลักษณะนี้ใชนั่ง เมื่อผูชายจะกราบพระแบบเบญจางคประดิษฐ - การนั่งคุกเขาปลายเทาราบ เปนลักษณะการนัง่ ของผูห ญิง ใหนั่งแบบเทพธิดา โดยให นั่งคุกเขา ตัวตรง ปลายเทาแนบกับพื้น มือคว่ําลงบนหนาขาทั้งสองขาง การนั่งลักษณะนี้ใชนั่งเมื่อผูหญิงจะ กราบพระแบบเบญจางคประดิษฐ

การนั่งทาเทพบุตร

การนั่งทาเทพธิดา 11


4.5 การนั่งเกาอี้ แบงกวาง ๆ ได 2 ลักษณะ ไดแก - การนั่งเกาอี้โดยทั่วไป ใหนั่งปลอยตัวตามสบาย หลังพิงพนักเกาอี้ และควรนั่งใหเต็ม เกาอี้ มือทั้งสองขางวางไวบนหนาขา ผูหญิงใหเทาชิดและเขาชิดกันทัง้ สองขาง สวนผูชายจะนั่งใหเขาหาง กัน สนเทาชิดและปลายเทาแยกกันเล็กนอย - การนั่งเกาอี้ตอหนาผูใหญ ควรนั่งอยางสุภาพและนัง่ ดวยความสํารวมออนนอม นั่งใหเต็ม เกาอี้ นั่งตัวตรง หลังไมพิงพนักเกาอี้ มือทัง้ สองขางวางประสานกันบนตัก เขาทัง้ สองขางหางกันเล็กนอย สนเทาชิดกันทั้งสองขางและปลายเทาแยกกันเล็กนอย สําหรับผูห ญิงใหสนเทาและปลายเทาชิดกัน แตไมควร เอาแขนพาดบนเกาอี้ 4.6 การนั่งเลนหรือนั่งพักผอน เปนการนั่งตามสบาย จะนั่งในลักษระใดก็ได แตเมื่อผูใหญเดิน ผานเขามาในที่นั้น ควรนั่งสํารวม ไมเหยียดเทาไปทางผูใหญ ทานั่งที่ไมควรปฏิบัติ เพราะถือวาไมสุภาพ ไดแก นั่งสั่นขา นั่งโยกเกาอี้ นั่งไขวหาง ฯลฯ

-------------------------------------แหลงขอมูลเรื่องมารยาทไทย : สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ. (2553) มารยาทไทย. พิมพครัง้ ที่ 4. กรุงเทพฯ : กรมสงเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม

12


บทที่ 3 วันสําคัญของไทย วันสําคัญ หมายถึง วันที่เกิดเหตุการณสําคัญในอดีต และเพื่อเปนการระลึกถึงความสําคัญของวัน นั้น ๆ จึงไดมีการจัดกิจกรรมตาง ๆ ขึ้น ซึ่งในแตละป ประเทศไทยมีวันสําคัญหลายวัน ทั้งที่เกี่ยวกับชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และประเพณีสําคัญ ดังตอไปนี้ เดือนมกราคม 1. วันขึ้นปใหม [yuán dàn] ตรงกับวันที่ 1 มกราคมของทุกป เปนวันหยุดราชการ ในวันนี้จะมี งานรื่นเริง จัดงานเฉลิมฉลอง ในตอนเชาของวันที่ 1 มกราคม จะมีการทําบุญตักบาตร บางคนอาจเดินทาง ไปทองเที่ยวหรือเยี่ยมเยียนญาติผูใหญทเี่ คารพนับถือ และมอบของขวัญหรือบัตรอวยพรใหแกกัน 2. วันเด็ก [ér tong jié] ตรงกับวันเสารที่ 2 ของเดือนมกราคมของทุกป สถานศึกษาหลายแหง จัดกิจกรรมใหเด็กไดรวมเลนเพื่อความสนุกสนาน มีทั้งการแสดงมหรสพ แจกอาหาร แจกของขวัญ เลนเกม แขงขัน ฯลฯ สวนสถานทีร่ าชการจะเปดที่ทําการใหเด็กเขาชมฟรี เชน พิพิธภัณฑ รัฐสภา ฯลฯ ในปนี้ตรง กับวันเสารที่ 11 มกราคม 2557 โดยนายกรัฐมนตรีมอบคําขวัญวันเด็กไววา “กตัญู รูหนาที่ เปนเด็กดี มี วินัย สรางไทยใหมั่นคง” 3. วันครู [jiào shī jié] ตรงกับวันที่ 16 มกราคมของทุกป การจัดงานวันครูมีเพื่อใหนกั เรียนได ระลึกพระคุณของครูอาจารย ซึ่งเปนผูมีพระคุณอันดับที่ 3 รองจากพอและแม ที่ใหทั้งวิชาความรูและสัง่ สอน อบรม นับเปนบุคคลสําคัญที่เปนพอพิมพแมพมิ พของชาติ ดังนั้น หนวยงานบางแหงจึงจัดกิจกรรมทางศาสนา พิธีรําลึกพระคุณบูรพาจารย กิจกรรมแขงขันเลนกีฬา หรือจัดงานรื่นเริงใหแกครู เดือนกุมภาพันธ 4. วันมาฆบูชา [wàn fó jié] ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 3 เปนวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา หลักธรรมสําคัญคือ “การไมทําความชั่ว ทําแตความดี และทําจิตใจใหบริสทุ ธิ์ผองใส” เปนวันหยุดราชการ ในปนี้ตรงกับวันศุกรที่ 14 กุมภาพันธ 2557 ชาวพุทธสวนใหญจะไปทําบุญตักบาตร ฟงเทศน สวดมนต และ เลี้ยงพระในตอนเชา สวนตอนค่ําจะไปเดินเวียนเทียน 3 รอบ และฟงเทศน เดือนเมษายน 5. วันจักรี [màn gǔ wáng cháo] ตรงกับวันที่ 6 เมษายนของทุกป เปนวันทีร่ ะลึกถึงรัชกาลที่ 1 ทรงครองราชยเปนกษัตริยแหงราชวงศจกั รี และทรงสรางกรุงเทพเปนเมืองหลวงของไทยมาจนทุกวันนี้ 6. วันสงกรานต [pō shuǐ jié] อยูระหวางวันที่ 13-15 เมษายนของทุกป เปนวันขึ้นปใหมของ ไทย รัฐบาลกําหนดใหเปนวันหยุดยาว 3 วัน คนไทยที่อยูตางจังหวัดจะเดินทางไปหาครอบครัว กราบขอพร ญาติผูใหญ ทําบุญตักบาตร สรงน้ําพร และเลนสาดน้ํากันอยางสนุกสนาน

13


เดือนพฤษภาคม 7. วันแรงงาน [láo dòng jié] ตรงกับวันที่ 1 พฤษภาคมของทุกป จัดขึ้นเพื่อยกยองและชี้ใหเห็น ถึงความสําคัญของผูใชแรงงานที่ควรไดรับการดูแลเอาใจใส ในวันนี้กลุมผูใชแรงงานจึงไดหยุดงาน และรวม กิจกรรมตาง ๆ อยางสนุกสนาน 8. วันฉัตรมงคล [tài wáng dēng jī jì niàn rì] ตรงกับวันที่ 5 พฤษภาคมของทุกป เปนวันทีร่ ะลึก ถึงที่รัชกาลที่ 9 ที่ทรงขึ้นครองราชยเปนพระมหากษัตริยแหงประเทศไทยโดยสมบูรณ วันนี้เปนวันหยุด ราชการ คนไทยทั่วไปจะประดับธงชาติตามบานเรือน และรวมทําบุญตักบาตร 9. วันพืชมงคล [chūn gēng jié] เปนวันที่เกี่ยวกับการเพาะปลูก โดยใหความสําคัญกับอาชีพ เกษตรกรรม ทุกปทางราชการจะจัด “พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ” ขึ้น กําหนดในเดือน พฤษภาคมของทุกป ในปนี้ตรงกับที่ 9 พฤษภาคม 2557 มีการจัดงานที่ทองสนามหลวง เมื่อเสร็จพิธี ประชาชนจะแยงเก็บเมล็ดขาว เพื่อนําไปผสมกับพันธุข าวที่ปลูกอยูห รือบางคนอาจเก็บไวเพื่อความเปนสิริ มงคล 10. วันวิสาขบูชา [fó dàn jié] ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 6 เปนวันสําคัญสากลทางพุทธ ศาสนา เพราะเกิดเหตุการณสําคัญ 3 เหตุการณ ทีเ่ กี่ยวกับพระพุทธเจา ไดแก วันประสูติ วันตรัสู และ วันปรินิพพาน ในปนี้ตรงกับวันอังคารที่ 13 พฤษภาคม 2557 เปนวันหยุดราชการ ชาวพุทธจะรวมทําบุญ ตักบาตร ฟงเทศน และเวียนเทียน เดือนมิถุนายน 11. วันสุนทรภู ตรงกับวันที่ 26 มิถุนายนของทุกป เปนวันคลายวันเกิดของสุนทรภู ทานเปน กวีเอก [jié chū shī rén] ของไทยในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน มีผลงานกวีนิพนธจํานวนมาก เชน นิราศเมือง แกลง นิราศพระบาท พระอภัยมณี ขุนชางขุนแผน โคบุตร ฯลฯ โรงเรียนตาง ๆ จะจัดกิจกรรมตาง ๆ เพื่อ ระลึกถึงความสามารถของสุนทรภู เดือนกรกฎาคม 12. วันอาฬหบูชา [sān bǎo fó jié] ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 8 เปนวันหยุดราชการ ในปนี้ ตรงกับวันศุกรที่ 11 กรกฎาคม อาจเรียกวา “วันพระสงฆ” ก็ได เนื่องจากมีพระสงฆรปู แรกในศาสนาพุทธที่ บวชตามพระพุทธเจา ชาวพุทธจะรวมทําบุญตักบาตร สวดมนต และเวียนเทียน 13. วันเขาพรรษา [shǒu xià jié] เปนวันทีพ่ ระสงฆตองอยูประจําวัดในชวงฤดูฝน 3 เดือน ซึ่ง ในปนี้ตรงกับวันเสารที่ 12 กรกฎาคม 2557 ชาวพุทธจะรวมทําบุญตักบาตร ฟงเทศน และจัด “ประเพณี หลอเทียนเขาพรรษา” นอกจากนี้บางครอบครัวมักจะจัดพิธีอุปสมบทใหบุตรหลานของตน เพราะเชื่อวาการ บวชเรียนและอยูจําพรรษาในระหวางนี้ จะไดรับอานิสงสสูง 14. วันภาษาไทยแหงชาติ ตรงกับวันที่ 29 กรกฎาคมของทุกป สถานศึกษาบางแหงอาจจัด กิจกรรมเพื่อกระตุนใหคนไทยนึกถึงคุณคาและความสําคัญของภาษาไทย 14


เดือนสิงหาคม 15. วันแม [mǔ qīn jié] ตรงกับวันที่ 12 สิงหาคมของทุกป เปนวันหยุดราชการ โดย กําหนดใหถือวา “ดอกมะลิ” เปนสัญลักษณของความดีงามของแม หนวยงานราชการจะประดับธงชาติตาม อาคารบานเรือน และจัดกิจกรรมตาง ๆ สวนลูก ๆ มักจะนําดอกมะลิไปกราบขอพรจากแม 14. วันวิทยาศาสตร ตรงกับวันที่ 18 สิงหาคมของทุกป จัดเพื่อเฉลิมพระเกียรติแกรัชกาลที่ 4 ผูเปน “พระบิดาแหงวิทยาศาสตรไทย” จะมีกิจกรรมทางดานวิทยาศาสตรจํานวนมาก เดือนกันยายน 15. วันสารทไทย ตรงกับวันแรม 15 ค่ํา เดือน 10 เปนการทําบุญกลางปของไทย เพื่ออุทิศ สวนบุญใหแกผลู วงลับไปแลว ในปนี้ตรงกับวันอังคารที่ 23 กันยายน 2557 การจัดกิจกรรมจะแตกตางไป ตามแตละทองถิ่นตาง ๆ ชาวบานจะนิยมทํา “ขนมกระยาสารท” เพื่อนําไปถวายพระ เดือนตุลาคม 16. วันออกพรรษา [jiě xià jié] ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 11 เรียกวา “วันมหาปวารณา” คือ การตักเตือนกันระหวางพระสงฆในเรื่องความประพฤติตาง ๆ ในปนี้ตรงกับวันพุธที่ 8 ตุลาคม 2557 ชาวพุทธจะทําบุญตักบาตร ฟงเทศนฟง ธรรม และรวมพิธี “ตักบาตรเทโวโรหนะ” ในวันถัดไป ในชวงเวลานี้ ยังมีกจิ กรรมสําคัญ ๆ หลายอยาง เชน พิธีทอดกฐิน พิธีทอดผาปา และประเพณีเทศนมหาชาติ 17. วันปยมหาราช [wǔ shì wáng shēng xià jì niàn rì] ตรงกับวันที่ 23 ตุลาคมของทุกป เปนวันคลายวันสรรคตของรัชกาลที่ 5 รัฐบาลประกาศใหเปนวันหยุดราชการ มีการจัดพิธสี ําคัญและกิจกรรม บริเวณพระบรมราชานุสาวรียร ัชกาลที่ 5 เดือนพฤศจิกายน 18. วันลอยกระทง [shuǐ dēng jié] ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 12 ในปนี้ตรงกับวันที่ 6 พฤศจิกายน 2557 ชาวไทยจะรวมจัดกิจกรรมอยางสนุกสนานทั่วทุกภาคของประเทศ เชน การประกวด กระทง การประกวดนางนพมาศ การลอยกระทง ฯลฯ เดือนธันวาคม 19. วันพอ [fù qīn jié] ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคมของทุกป เปนวันหยุดราชการ คนไทยจะประดับ ธงชาติตามอาคารบานเรือน และรวมกิจกรรมตาง ๆ โดยกําหนดให “ดอกพุทธรักษา” เปนดอกไมประจําวัน พอ เพราะสีเหลืองเปนสีประจําวันพอ ลูกจะนําดอกพุทธรักษามอบใหแกพอ เพื่อแสดงใหเห็นถึงความ ศักดิ์สิทธิ์และความเปนมงคล 20. วันรัฐธรรมนูญ [xiàn fǎ jì niàn rì] ตรงกับวันที่ 10 ธันวาคมของทุกป เปนวันทีร่ ะลึกถึง รัชกาลที่ 7 ที่ทรงสรางรัฐธรรมนูญฉบับแรกใหนําไปใชเปนหลักในการปกครองประเทศ ในวันนี้จึงเปน วันหยุดราชการ ประชาชนรวมทําบุญและรวมกิจกรรมบริเวณพระบรมราชานุสาวรียรัชกาลที่ 7 15


21. วันสิ้นป [chú xī ] คือ วันที่ 31 ธันวาคม ของทุกป สิ้นป เก็บกวาดทําความสะอาดบาน ประดับธงตามบานเรือน ทําบุญตักบาตร กรวดน้ํา อุทิศสวนบุญกุศลใหแกผูลวงลับ นอกจากวันสําคัญของไทยดังกลาวแลว คนไทยยังใหความสําคัญกับวันสําคัญของชาติอื่น ๆ อีก ดวย ดังนี้

วันสําคัญของคนไทยเชื้อสายจีน 1. วันตรุษจีน [chūn jié] เปนวันขึ้นปใหมของคนจีน ซึ่งในประเทศไทยมีคนไทยเชื้อสายจีนอยู จํานวนมาก รวมจัดพิธีกรรมตาง ๆ แบงเปน 3 วัน คือ วันจาย วันไหว และวันถือ ซึ่งในปนี้ตรงกับวันศุกรที่ 31 มกราคม 2557 2. วันเชงเมง [qing míng jié] เปนวันกราบไหวบรรพบุรษุ [zǔ xiān] ที่ลวงลับไปแลว ตามที่ ประเพณีของคนจีนโดยทั่วไปจะจัดในวันที่ 5 เมษายนของทุกป ทุกคนจะตองไปพรอมหนากันทีส่ ุสานทีฝ่ ง บรรพบุรุษไวเพื่อรวมทําพิธีกราบไหวดวยอาหารคาว ผลไม เสื้อผา กระดาษเงิน-ทอง น้ําชา สุรา และเครื่องใช ตาง ๆ 3. วันสารทจีน [zhōng yuán jié] เปนวันสําคัญที่ลกู หลานชาวจีนจะแสดงความกตัญูตอ บรรพบุรุษ ดวยการจัดพิธีเซนไหว ในปนี้ตรงกับวันอาทิตยที่ 10 สิงหาคม 2557 เปนวันเปดประตูนรกให วิญญาณทั้งหลายมารับกุศลผลบุญ 4. วันไหวพระจันทร [zhōng qiū jié] เปนวันที่เฉลิมฉลองการเก็บเกี่ยว ซึ่งในปนี้ตรงกับวันที่ 8 กันยายน 2557 คนไทยเชื้อสายจีนจะเฉลิมฉลองดวยการไหวพระจันทรในตอนกลางคืน โดยมี “ขนมไหว พระจันทร” เปนสัญลักษณของวันนี้

วันสําคัญของประเทศตะวันตก 1. วันวาเลนไทน [qíng rén jié] ตรงกับวันที่ 14 กุมภาพันธของทุกป เปนวันทีร่ ะลึกถึงคุณ ความดี ความกลาหาญ และความเสียสละของนักบุญวาเลนไทน แตคนไทยสวนใหญถือวาเปนวันแหงความรัก โดยเฉพาะความรักของหนุม สาว จะมีการมอบของขวัญแทนความรักใหแกกัน เชน ดอกกุหลาบหรือช็อกโกแลต เปนตน 2. วันฮาโลวีน [wàn shèng jié ] ตรงกับวันที่ 31 ตุลาคมของทุกป เปนวันทีผ่ ูตายจะไดรับการ ตัดสินความดี-ความชั่วที่ทําไวตอนยังมีชีวิตอยู และชดใชบาปกรรม เด็ก ๆ จะแตงกายเปนภูตผีปศาจออกไป รวมงานฉลองตอนกลางคืน สัญลักษณสําคัญคือ การแกะสลักฟกทองเปนโคมไฟ 3. วันคริสมาสต [shèng dàn jié] ตรงกับวันที่ 25 ธันวาคมของทุกป เปนวันประสูติของพระเยซู แตในประเทศไทยจะเนนการจัดกิจกรรมที่สนุกสนาน มีการแตงตัวเปน “ซานตาครอส” เพือ่ มอบของขวัญ ใหแกเด็ก ๆ 16


ในที่นี้จะขอกลาวถึงรายละเอียดเฉพาะวันสําคัญที่เกี่ยวเนื่องกับประเพณีสําคัญของไทย 2 ประเพณี ไดแก ประเพณีสงกรานต และประเพณีลอยกระทง ดังรายวละเอียดตอไปนี้

1. ประเพณีสงกรานต วันสงกรานตหรือวันตรุษสงกรานต เปนวันปใหมของไทย เริ่มตั้งแตวันที่ 13, 14 และ 15 เมษายน ของทุกป เมื่อใกลถึงวันสงกรานต คนไทยจะตระเตรียมทําความสะอาดบานเรือนและเตรียมขาวของ ที่จะทําบุญตักบาตร วันที่ 13 เมษายน เปน ‘วันมหาสงกรานต’ และถือเปนวันผูสงู อายุ วันที่ 14 เมษายน เปน ‘วันเนา’ คือวันพักผอนหรือทําบุญ และถือเปนวันครอบครัว วันที่ 15 เปน ‘วันเถลิงศก’ คือวันขึ้นศักราชใหม กิจกรรมที่คนไทยปฏิบัติกันในวันสงกรานต มีดังนี้ 1) การทําบุญตักบาตร เมื่อถึงวันสงกรานตก็จะตื่นแตเชา นําอาหารไปทําบุญตักบาตรและเลี้ยง พระที่วัด ทุกคนจะแตงกายดวยเสือ้ ผาชุดใหม สีสันสดใส 2) การกอพระเจดียทราย โดยตกแตงทรายใหเปนรูปเจดียแลวจึงประดับธง จะเล็กหรือใหญ แลวแตกําลังการขนทรายของเรา จะกอทรายบริเวณวัดหรือที่ใดก็ตามแตสะดวก 3) การปลอยนกปลอยปลา ถือเปนการทําบุญอยางหนึ่งของคนไทย คนไทยสวนมากมักมีจิตใจ เมตตากรุณาตอสัตว ที่เลือกปลอยนกปลอยปลา เพราะนกจะบินในอากาศ ปลาก็จะวายลงไปในน้ํา 4) การบังสุกุลอัฐิ คือ การทําบุญอุทิศสวนกุศลใหผูตาย 5) การสรงน้ํา เปนการชําระลางรางกายและจิตใจใหสะอาด เพื่อใหเกิดความสดชื่น เย็นกายเย็นใจ - การสรงน้ําพระพุทธรุป จะใชดอกไม ธูปเทียน ไปบูชา แลวนําน้ําอบไปประพรมที่องคพระ - การสรงน้ําพระสงฆ จะนําน้ําอบไปรดบริเวณที่มือของพระสงฆ จากนั้นพระสงฆจะใหศีลให พร เพื่อใหเกิดความสุขตอชีวิตและครอบครัว 6) การรดน้ําดําหัว นิยมกับภายในครอบครัว เริม่ จากการเชิญญาติผูใหญใหนงั่ แลวลูกหลานก็ เอาน้ํารดบริเวณมือ แลวผูใหญจะนําน้ํานั้นประพรมบนศีรษะ เพื่อแสดงใหเห็นวาไดดําหัวสระหัวแลว ผูใหญจะ ใหศีลใหพร ทั้งนี้เปนการขอพรจากผูใหญ ไมใชการใหพรผูใหญ 7) การสาดน้ํา การสาดน้ําประแปงในวันสงกรานตมีวัตถุประสงคเพื่อคลายรอน และเลนเพือ่ ความสนุกสนาน น้ําที่ใชนํามาสาดกันนั้นตองเปนน้ําสะอาดผสมน้ําอบมีกลิ่นหอม สืบเนื่องมาจากความเชื่อวา การสาดน้ําจะทําใหฝนฟาตกบริบรู ณ ซึ่งปจจุบันชาวตางชาติสวนใหญนิยมเลนน้ําในวันสงกรานตมาก

17


สิ่งที่ไดจากการทําบุญสงกรานต 1) เปนการแสดงความกตัญูกตเวทีตอบรรพบุรุษและแสดงความเคารพบูชาตอสิ่งที่ตนเคารพ ตอ บิดามารดา และญาติผูใหญที่เคารพ 2) เปนการชําระจิตใจและรางกายใหสะอาด ดวยการทําบุญสรางกุศล 3) เปนการสรางความสนุกสนานรื่นเริงในรอบป และพักจากงานประจําชั่วคราว เพื่อจะไปพักผอน หยอนใจ 4) เปนการเตือนสติวามนุษยนั้นผานไป 1 ปแลว และในรอบปทผี่ านมา เราไดทําอะไรบาง และ ควรจะทําอะไรตอไปในปใหมทกี่ ําลังจะมาถึง 5) เปนการทําความสะอาดพระพุทธรูป โตะหมูบ ูชา บานเรือน ทั้งในและนอก ใหสะอาด เรียบรอย

2. ประเพณีลอยกระทง การลอยกระทงนิยมทํากันในวันเพ็ญ เดือน 12 ของทุก ๆ ป เปนวันที่พระจันทรเต็มดวง เรา เรียกวา ‘วันเพ็ญ’ (คําวา ‘เพ็ญ’ แปลวา เต็ม) ซึ่งในเดือนพฤศจิกายนเปนเดือนที่มีน้ําเต็มฝง ตามแมน้ํา ลําคลอง อากาศเย็นสบาย แสงจันทรสวาง จึงจัดประเพณีลอยกระทงขึ้นเพื่อขอขมาตอพระแมคงคาและบูชา รอยพระพุทธบาท ‘นางนพมาศ’ สนมเอกของพระรวงในสมัยสุโขทัย เปนผูรเิ ริ่มประดิษฐกระทงสําหรับลอย ทําเปน รูปดอกบัวบานขึ้น ซึ่งคนทั่วไปนิยมทําตามสืบตอมา กระทงทําจากวัสดุทลี่ อยน้ําได เชน ใบตอง กลีบบัว หยวกกลวย ฯลฯ ในกระทงจะมีดอกไม ธูป เทียน บางคนก็ใสเหรียญเงินลงไปในกระทงเพือ่ เปนการใหทาน กอนจะลอยกระทง จะตองจุดธูปเทียนใน กระทงกอน แลวจึงอธิษฐานขอความสุขความโชคดี และขอขมาตอแมน้ํา ที่เราไดใชกินใชอาบมาทั้งป หลังจากลอยกระทงเสร็จแลวก็ชักชวนกันดูการละเลนรื่นเริงบนฝง เชน การจุดพลุ ดอกไมดอกไมไฟ และ มหรสพตาง ๆ ประเพณีลอยกระทงไทยแตละภูมิภาคตางก็มปี ระเพณีปฏิบตั ิตามวิถีวัฒนธรรม และความเชื่อของ ทองถิ่นนั้น ปจจุบันมีงานลอยกระทงหลายจังหวัด เชน สุโขทัย อยุธยา เชียงใหม บางแหงมีการประกวด กระทง ประกวดนางนพมาศ และการละเลนพื้นบาน ทางภาคเหนือของไทย นิยมทําโคมลอย เรียกวา ‘ลอยโคม’ ทํามาจากผาบาง ๆ แลวสุมควันขาง ใตใหลอยขึ้นไปในอากาศคลายบอลลูน ประเพณีของชาวเหนือนี้เรียกวา ‘ยี่เปง’ หมายถึง การทําบุญในวัน เพ็ญเดือนยี่ (นับวันแบบทางภาคเหนือ ใกลเคียงกับวันเพ็ญเดือน 12 ของภาคกลาง) เพื่อบูชาพระอุปคุตตซึ่ง เชื่อกันวาทานบําเพ็ญบริกรรมคาถาอยูในทองทะเลลึกหรือสะดือทะเล ตรงกับคติของชาวพมา

18


ทางภาคอีสาน จะนิยมตบแตงเรือแลวประดับไฟใหเปนรูปตาง ๆ เรียกวา ‘ไหลเรือไฟ’ จัดเปน ประเพณียิ่งใหญโดยเฉพาะทีจ่ ังหวัดนครพนม โดยการนําหยวกกลวยหรือวัสดุตาง ๆ มาตกแตงเปนรูปพญานาค และรูปอื่น ๆ ตอนกลางคืนจุดไฟปลอยใหไหลไปตามลําน้ําโขงดูสวยงามตระการตา ในแถบภาคตะวันตก เชน จังหวัดตาก จะลอยกระทงขนาดเล็ก ทยอยเรียงรายไปเปนสาย เรียกวา ‘ลอยกระทงสาย’ สวนภาคกลางจะมีงานลอยกระทงหลายแหง เชน สวนสาธารณะริมน้ํา โรงแรมตาง ๆ มีเพลงรอง สําหรับรําวง ซึ่งเปนทีร่ ูจกั กันดีเพลงหนึง่ คือ เพลงรําวงวันลอยกระทง เพลงรําวงลอยกระทง วันเพ็ญเดือนสิบสอง เราทัง้ หลายชายหญิง ลอย ลอยกระทง ลอยกระทงกันแลว รําวงวันลอยกระทง บุญจะสงใหเราสุขใจ

น้ําก็นองเต็มตลิง่ สนุกกันจริงวันลอยกระทง ลอย ลอยกระทง ขอเชิญนองแกวออกมารําวง รําวงวันลอยกระทง บุญจะสงใหเราสุขใจ

19


บทที่ 4 ประเพณีทางพระพุทธศาสนา ประวัติของพระพุทธเจา พระพุทธเจา พระองคทรงเปนมนุษย เปนชาวเมืองกบิลพัสดุ(กะ-บิน-ละ-พัด) มีพระนามเดิมวา ‘สิทธัตถะ’ (สิด-ทัด-ถะ) พระบิดาพระนามวา ‘สุทโธทนะ’ (สุด-โท-ทะ-นะ) พระมารดาพระนามวา ‘สิรมิ หา มายา’ ประสูตทิ ี่ปาลุมพินีวัน เมือ่ วันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 6 กอนพุทธศักราช 80 ป เมื่อทรงพระเยาวทรงศึกษา ในดานอักษรศาสตร ยุทธศาสตร และรัฐศาสตร เพื่อทําหนาที่ปกครองประเทศ ตอมาทรงมีพระเทวีพระนามวา ‘พิมพายโสธรา’ (พิม-พา-ยะ-โส-ทะ-รา) มีพระโอรสพระนามวา ‘ราหุล’ (รา-หุน) เมื่อพระชนมได 29 ป จึงเสด็จออกบรรพชา เพราะเบื่อหนายในความวุนวายของมนุษย ซึ่งทรงเห็นวามีแตความทุกขความเดือดรอนทัง้ สิ้น ครั้นทรงผนวชแลว เสด็จไปศึกษาในสํานักตาง ๆ เรียนจนสิ้นความรูของอาจารยแลวจึงทรงหยุด โดยทรงเห็นวาไมใชหนทางแหงการตรัสรู ตอมาทรงบําเพ็ญทุกกรกิริยา คือ การทรมานรางกาย จนถึงลมสลบก็ไมสําเร็จ จึงทรงเห็นวาไมใช ทางตรัสรู จึงเลิกการทรมานรางกาย แลวหันมาบําเพ็ญเพียรทางจิต ซึ่งทรงเห็นวาเปนทางตรัสรูท ี่ดีกวา จน ไดตรัสรูดงั ทรงมุง หมาย ในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 6 ขณะนั้นทรงมีพระชนมได 35 ปบริบรู ณ หลังจากตรัสรูแลว พระพุทธองคไดทรงแสดงพระธรรมเผยแผศาสนา ตอมาวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 3 พระสงฆจํานวน 1,250 รูป พากันเขาเฝา พระพุทธองคทรงเห็นวาเปนเวลาอันเหมาะสมยิ่งแลว จึงทรง ประกาศหลักธรรมทีเ่ รียกวา ‘โอวาทปาฏิโมกข’ (โอ-วา-ทะ-ปา-ติ-โมก) ถือวาเปนธรรมที่เปนหลักการของ ศาสนาพุทธ จนกระทั่งพระพุทธองคทรงปรินิพพาน ในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 6 นับพระชนมได 80 ปบริบรู ณ วันสําคัญของศาสนาพุทธ 1. วันมาฆบูชา ‘มาฆะ’ เปนชื่อของเดือน 3 คําวา ‘มาฆบูชา’ จึงแปลวา การบูชาพระในวัน เพ็ญเดือน 3 จัดเปนวันสําคัญทางศาสนาวันหนึง่ มีชื่อเรียกวา ‘วันจาตุรงคสันนิบาต’ (วัน-จา-ตุ-รง-คะ-สันนิ-บาด) เพราะเปนการประชุมใหญครั้งแรก มีเหตุการณมหัศจรรยที่เกิดขึ้นพรอมกัน 4 ประการ คือ - เปนวันที่พระสงฆสาวกของพระพุทธเจาจํานวน 1,250 รูป มาประชุมพรอมกันโดยมิไดนัดหมาย - พระภิกษุสงฆเหลานี้ลวนเปนผูที่ไดรบั การอุปสมบทโดยตรงจากพระพุทธเจาทัง้ สิ้น - พระภิกษุสงฆเหลานี้ลวนแตเปนผูไดบรรลุพระอรหันตแลวทั้งสิ้น - วันที่พระภิกษุสงฆสาวกมาประชุมกันนั้นตรงกับวันเพ็ญ เดือน 3 ในตอนเชานิยมทําบุญตักบาตรหรือจัดหาอาหารคาว-หวาน ไปทําบุญฟงเทศนที่วัด ในตอนบายจะ ฟงพระแสดงพระธรรมเทศนา สวนตอนกลางคืน จะนําดอกไมธูปเทียนไปที่วัดเพือ่ เวียนเทียนรอบพระอุโบสถ

20


2. วันวิสาขบูชา ‘วิสาขบูชา’ หมายถึง การบูชาในวันเพ็ญเดือน 6 เปนวันที่มีเหตุการณ สําคัญเกิดขึ้น 3 ประการ คือ เปนวันประสูติ วันตรัสรู และวันปรินิพพาน (ปะ-ริ-นิบ-พาน) ของ พระพุทธเจา วันวิสาขบูชานั้นไดรับการยกยองจากชาวพุทธทั่วโลกใหเปนวันสําคัญสากลทางพระพุทธศาสนา เนื่องจากเปนวันที่เปนจุดเริม่ ตนของศาสนาพุทธ ในตอนเชาจะมีการทําบุญตักบาตร ฟงพระธรรมเทศนา สวนตอนค่ํา จะมีการแสดงพระธรรม เทศนาอีกครัง้ และรวมกันเวียนเทียนรอบพระอุโบสถ 33

33

3. วันอาสาฬหบูชา นับเปนวันที่พระพุทธเจาทรงแสดงหลักธรรมครัง้ แรกชื่อวา ‘ธัมมจักกัปปวัต ตนสูตร’ (ทํา-มะ-จัก-กับ-ปะ-วัด-ตะ-นะ-สูด) ‘อาสาฬหบูชา’ แปลวา การบูชาในเดือน 8 หรือการบูชาเพื่อ ระลึกถึงเหตุการณสําคัญในเดือน 8 คือ - เปนวันที่พระพุทธเจาทรงแสดงปฐมเทศนา - เปนวันที่พระพุทธเจาเริ่มประกาศพระศาสนา - เปนวันที่มพี ระภิกษุรูปแรกในศาสนาพุทธ คือการที่ทาน “โกณฑัญญะ” ขอบรรพชาและไดบวช เปนพระภิกษุ - เปนวันที่พระพุทธเจาทรงไดปฐมสาวก(พระสงฆรปู แรก) คือ ทานโกณฑัญญะ บางทีเรียกวันอาสาฬหบูชานี้วา ‘วันพระสงฆ’ (คือวันที่เริ่มเกิดมีพระสงฆ) จึงนับไดวาวันนี้เปน วันที่พระรัตนตรัยครบบริบรู ณ ไดแก พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ พิธีกรรมที่ทําในวันนี้ คือ การทําบุญ ตักบาตร รักษาศีล เวียนเทียน ฟงพระธรรมเทศนา และสวดมนต 4. วันเขาพรรษา ‘เขาพรรษา’ แปลวา ‘พักฝน’ หมายถึง พระสงฆตองอยูประจํา ณ วัดใดวัด หนึ่งระหวางฤดูฝน ตลอด 3 เดือน การปฏิบัติตนในวันนี้ ชาวพุทธมักจะจัดเครื่องสักการะ เชน ดอกไม ธูปเทียน เครือ่ งใชตาง ๆ มา ถวายพระภิกษุสามเณรที่ตนเคารพนับถือ และที่สําคัญคือมีการจัดประเพณีหลอเทียนขนาดใหญเพื่อใชจุดบูชา พระประธานในโบสถ 5. วันออกพรรษา เปนวันสิ้นสุดของจําพรรษา หรือออกจากการอยูป ระจําที่ในฤดูฝน ซึง่ ตรง กับวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 11 ซึ่งวันออกพรรษานี้ เรียกอีกอยางหนึ่งวา ‘วันมหาปวารณา’ คําวา ‘ปวารณา’ แปลวา ‘อนุญาต’ หรือ ‘ยอมให’ กลาวคือเปนวันที่เปดโอกาสใหพระภิกษุสงฆ ดวยกันวากลาวตักเตือนกันได ในเรื่องที่ผิดพลัง้ ลวงเกิน ระหวางที่ไดจําพรรษาอยูดวยกัน ในวันนี้จะมีการ ‘ตักบาตรเทโว’ คําวา ‘เทโว’ ยอมาจาก ‘เทโวโรหน’ (เท-โว-โร-หะ-นะ) ทุกวัด ในประเทศไทยก็มพี ิธีเหมือนกันหมด ซึง่ กิจกรรมตาง ๆ ที่ควรปฏิบัติในวันออกพรรษา ไดแก ทําบุญตักบาตร อุทิศสวนกุศลใหแกญาติผูลวงลับ ฟงพระธรรมเทศนา ปดกวาดบานเรือนใหสะอาด ประดับธงชาติตาม อาคารบานเรือนและสถานทีร่ าชการ และประดับธงธรรมจักรตามวัดและสถานที่สําคัญทางศาสนาพุทธ หลังจากวันออกพรรษาแลว จะมีประเพณีอยางหนึ่งที่ชาวพุทธนิยมทํากันมากคือ ‘การทอดกฐิน’ 21


การปฏิบัติตนของชาวพุทธ ชาวพุทธ (พุทธศาสนิกชน) หมายถึง คนที่นับถือศาสนาพุทธ ซึ่งคนไทยสวนใหญนบั ถือศาสนา พุทธ มีวิธีปฏิบัติตนเปนชาวพุทธที่ดี สรุปไดดังนี้ 1. การเขารวมพิธีกรรมทางศาสนา ในรอบ 1 ป ของไทย จะมีวันสําคัญทางศาสนาอยู 5 วัน สําคัญ ไดแก วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเขาพรรษา และวันออกพรรษา ซึ่งมีชาวพุทธ สวนใหญจะไปทําบุญที่วัด กลาวคือ ตอนเชาทําบุญตักบาตรที่วัด ฟงพระธรรมเทศนา และเจริญจิตภาวนา สวนตอนค่ําจะมารวมพิธีเวียนเทียน โดยเวียนวนทางขวาไปรอบอุโบสถ 3 รอบ แตละรอบใหระลึกถึงคุณ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ 2. การรักษาศีล 5 เปนพื้นฐานในการดําเนินชีวิตที่มีแตความสุข ประกอบดวย ไมฆาสัตว ไม ลักขโมยทรัพย ไมทําผิดในกาม ไมพูดโกหก และไมดื่มสุรา ซึ่งการปฏิบัติตามศีล 5 นี้ จะนํามาซึ่งความสุข ในการดําเนินชีวิต 3. การเขาวัดฟงธรรม นอกจากวันสําคัญทางศาสนา 5 วันในรอบปแลว ในทุก ๆ เดือนจะมีวัน พระ 4 วัน (สัปดาหละ 1 วัน) ถือเปนวันประชุมของชาวพุทธเพือ่ ปฏิบัติกจิ กรรมทางศาสนา ใน พระพุทธศาสนาประจําสัปดาห หรือที่เรียกกันทั่วไปอีกคําหนึ่งวา “วันธรรมสวนะ” (วัน–ทํา–สะ–วะ–นะ) ซึ่งชาวพุทธจะไปทําบุญตักบาตรและฟงพระธรรมเทศนาที่วัด 4. การแสดงความเคารพตอพระสงฆ เปนสิง่ ที่ชาวพุทธตองปฏิบัติอยางเครงครัด เมื่อพบเห็น พระสงฆตองแสดงความเคารพอยางออนนอม เมือ่ เจรจากับพระสงฆตองประนมมือและกราบไหวทุกครั้ง 33

33

33

33

22

33

33


บทที่ 5 ประเพณีเกี่ยวกับชีวิต ในรอบชีวิตของคนไทย มีประเพณีทสี่ ําคัญ ๆ เกี่ยวกับชีวิตอยู 4 ประเพณี ไดแก ประเพณีที่ เกี่ยวกับการเกิด ประเพณีที่เกี่ยวกับการบวช ประเพณีที่เกีย่ วกับการแตงงาน และประเพณีงานศพ ดังนี้

1. ประเพณีที่เกี่ยวของกับการเกิด การตั้งครรภเปนเรื่องที่สําคัญมากสําหรับผูหญิง ในอดีตมีการประกอบพิธีกรรมเกี่ยวกับหญิงมี ครรภและทารกที่สําคัญหลายอยาง ซึ่งถือวาตองปฏิบัติอยางเครงครัด เพราะถาหากละเลยไมปฏิบัติตามคํา สอนของผูเฒาผูแก อาจเสี่ยงถึงเสียชีวิตทั้งแมและลูกได สิ่งที่ตองรูเกี่ยวกับการเกิดมีดังนี้ - ความเชื่อเกี่ยวกับความฝน เปนความเชื่อที่เกี่ยวกับการทํานายเพศบุตร เมื่อฝนวาไดของมีคา พวก แกว แหวน สรอย มักทํานายวาไดลูกสาว แตถาฝนวาไดพระ ทอง อาวุธ ปน เชื่อวาจะไดลูกชาย - หมอตําแย ในสมัยอดีต เราเรียกคนทีท่ ําคลอดเด็กวา “หมอตําแย” ถือวาเปนบุคคลสําคัญมาก แตปจจุบันนี้นิยมไปทําคลอดที่โรงพยาบาล - เวลาตกฟาก เมื่อเด็กคลอดออกมาตกพื้นจะเรียกวา “ตกฟาก” จึงเรียกเวลาคลอดลูกวา “เวลา ตกฟาก” ซึ่งตามปกติพอแมเด็กจะจดเวลา วัน เดือน ป ที่ตกฟากนี้เอาไว เพื่อดูดวงชะตาของเด็กในอนาคต - การอยูไฟ หลังจากคลอดแลว แมเด็กจะตอง “อยูไฟ” ในสมัยอดีตจะทําโดยการจุดเตาไฟ ไวในหองที่พักของหญิงหลังคลอด และดูแลใหไฟติดตลอดเวลา ซึ่งหญิงหลังคลอดจะตองแตงตัวใหมิดชิด ตลอดเวลาการอยูไฟ และไมใหเดินทางไกล เวลาอาบน้ําก็อาบดวยน้ําสมุนไพร ทําเชนนี้เปนเวลา 1 เดือน เพราะเชื่อวาจะทําใหรางกายแข็งแรงไดรวดเร็วขึ้น แตในปจจุบันการอยูไฟอาจไมถึง 1 เดือน ไมมีการอาบนํ้า สมุนไพร ใชกระเปาน้ํารอนประคบแทนการจุดเตาไฟ บางคนอาจจะไมมีการอยูไฟ เพียงแตพักผอนหลัง คลอดประมาณหนึง่ อาทิตยเทานั้น - การทําขวัญเดือน หรือการโกนผมไฟ เมื่อเด็กอายุครบไดเดือนกับวัน เปนอันวาลวงพนอันตราย จากโรคภัยไขเจ็บ ซึ่งเชื่อวาผีเปนผูกระทํา ก็จะทําการโกนผมไฟและทําขวัญเดือน อาจใหผูอาวุโสหรือพอ แมเด็กเปนคนโกนให เมื่อโกนผมแลว มักจะใหเหลือไวหยอม ๆ หนึ่งที่ตรงกลาง แตบางครอบครัวก็ตัดออก เพียงเล็กนอยเทานั้น ซึ่งการทําพิธีนี้เพื่อใหเด็กมีสุขภาพดีอยูสุขสบาย - ขอหามสําหรับหญิงมีครรภ มีหลายอยาง เชน หามนั่งที่บันไดนาน ๆ เพราะเชื่อวาจะทําให คลอดยาก, หามตอกตะปู เพราะตะปูทําใหติดกันแนน เชื่อวาคลอดยาก, หามอาบน้ําหลังตะวันตกดิน เพราะ จะทําใหน้ําคร่ํามีมาก จะคลอดลําบาก, หามนั่งคาบันได หรือนั่งคาประตูบาน เพราะเชื่อวาจะทํา ใหลูกคลอด ยาก, หามไปงานศพ เพราะผีจะตามมาบาน และทําใหหญิงตั้งครรภรูสกึ หดหูใจซึ่งอาจเปนอันตรายตอสุขภาพ, หามกินอาหารที่มีรสเผ็ดหรือของรอน ๆ เพราะเชื่อวาจะทําใหลูกหัวลาน, หามพูดติหรือดูถูก คนพิการ คนปาก แหวงเพดานโหว หรือคนไมสมประกอบอื่น ๆ เพราะเชื่อวาจะลูกจะเปนแบบนั้น ฯลฯ

23


2. ประเพณีทเี่ กี่ยวของกับการบวช ชีวิตขั้นที่สอง รองจากเกิดก็คือ การบวช ซึ่งคําวา “บวช” แปลวา งดเวน คือ เวนจากกิจบาน การเรือนมาบําเพ็ญเพียรทํากิจพระศาสนา มีสวดมนต ภาวนา เปนตน การบวช ถือเปนการปฏิบัตทิ ี่สบื เนื่องมาจากความเลื่อมใสศรัทธาในศาสนาพุทธของพุทธศาสนิกชน โดยตามประเพณีปฏิบัติในการบวชนั้น ชายที่มีอายุครบ 20 ปบริบูรณจะตองเขาพิธี “อุปสมบท” คือ การบวช เปนภิกษุ เพือ่ ศึกษาพระธรรมใหเขาใจชีวิต และสามารถนํามาใชในการครองชีวิตตอไปในภายภาคหนาไดอยาง สงบสุขและมีสติ หากอายุไมถึง 20 ป แตตองการบวช จะเรียกวา “บรรพชา” คือการบวชเปนสามเณร เวลาและโอกาสของการบวช ชวงเวลาในการบวชที่นิยมโดยทั่วไป คือ ชวงกอนเขาพรรษา เพื่อทีจ่ ะไดสามารถอยูศึกษาพระธรรมตลอดจนระยะเวลาเขาพรรษา ประมาณ 3 เดือน ก็จะลาสิกขาเมื่อพนวัน ออกพรรษาแลว แตถาบวชตอไปก็ไดแลวแตความสะดวก หากไมไดบวชในชวงตามประเพณีระยะเวลาในการ บวชขึ้นอยูกับความสะดวกของผูบ วชเชนกัน โดยสวนใหญจะประมาณ 15 วัน หรือ 1 เดือน ความเชื่อเกี่ยวกับการบวช คนไทยมีความเชื่อที่วา ผูช ายทุกคนเมื่ออายุครบแลวจะตองบวช เพราะการทีบ่ ุตรชายไดบวชจะทําใหบิดามารดาไดเกาะชายผาเหลืองขึ้นสวรรค และการบวชถือเปนการ ทดแทนพระคุณบิดามารดาดวย คุณสมบัติของผูที่จะบวชพระ คือ ตองเปนเพศชายที่มอี ายุครบ 20 ปบริบูรณ ไดรับการอนุญาต จากบิดมารดา มีความประพฤติดี และมีรูปรางสมบูรณ ไมชรา หรือพิกลพิการ การขอขมากอนบวช กอนการจะบวชตองไปพบเจาอาวาสเพื่อหาฤกษบวช เมื่อกําหนดวันบวชได แลวผูทจี่ ะบวชจะตองมาลาญาติมิตรเพื่อขอขมา ซึ่งในการขอขมาผูบวชจะนําดอกไม ธูป เทียนแพไปกราบลา เพื่อขออโหสิ การฝกซอมขั้นตอนการบวช เมื่อขอขมาญาติมิตรแลว ผูบวชจะตองไปอยูวัดกอนบวชประมาณ 15 วัน เพื่อทองคําขอบวช ฝกซอมขั้นตอนวิธีการบรรพชาจากพระพี่เลี้ยง และเตรียมเครื่องใชที่จําเปนซึ่ง เรียกวา “เครื่องอัฐบริขาร” มี 8 อยาง ไดแก บาตร จีวร สบง สังฆาฏิ ผาประคดเอว หมอกรองน้ํา กลองเข็ม พรอมดาย มีดโกนและหินลับมีด นาค คนที่จะบวชเขาเรียกวา “นาค” แปลวา ผูประเสริฐ หรือ ผูไมทําบาป มีเรื่องเลาเกี่ยวกับ นาควา ในสมัยอดีตพญานาคแปลงตัวเปนมนุษยมาบวช เวลานอนหลับกลับเพศเปนนาคตามเดิม วันหนึ่งพวก ภิกษุไปกราบทูลพระพุทธเจา พระองคตรัสเรียกมาถาม ไดความวาเปนเรื่องจริง จึงสัง่ ใหสึก พญานาคมีความ อาลัยในเพศบวช จึงกราบทูลขอฝากชื่อนาคไว ถาผูใดจะเขามาบวชขอให เรียกชื่อวา นาค ดังนั้น คําวา ‘นาค’ จึงเปนชื่อเรียกผูทจี่ ะบวชจนถึงทุกวันนี้ การโกนผมนาค นาคทุกคนตองโกนผมโกนคิ้ว สามารถจัดที่วัดหรือทีบ่ านก็ไดแลวแตความ เหมาะสม โดยเชิญญาติผูใหญ ปู ยา ตา ยาย พอ แม มาทําการตัดผมนาค โดยนําผมปอยที่ตัดวางไวบนใบบัว ที่นาคถือ หลังจากนั้นพระจะเปนผูโกนใหโดยจะโกนผมและคิ้วจนเกลี้ยงเกลา สวนผมในใบบัวนั้นจะนําหอใบ บัว ไปลอยในแมน้ําลําคลอง 24


การอาบน้ํานาค หลังจากโกนผมนาคแลว ก็จะมีพิธีอาบน้ํานาค โดยใชน้ําผสมเครื่องหอมตาง ๆ เมื่ออาบน้ําเสร็จแลว นาคจะนุงหมชุดขาว พิธีทําขวัญนาค เปนการเทศนสอนนาคใหระลึกถึงบุญคุณของบิดา มารดา การทดแทนพระคุณ และคุณประโยชนในการบวชเรียน โดยมี “หมอขวัญ” เปนผูทําพิธีรองแหล เปนอันเสร็จพิธีในตอนเย็น การแหนาค ในตอนเชาของวันรุงขึ้นจะมีการแหนาคจากบานไปวัด มีขบวนนําดวย ขบวนกลอง ยาว แตรวง และขบวนรําขบวนญาติพี่นองที่ถือเครื่องอัฐบริขารแตบิดาจะถือตาลปตรสะพายบาตร มารดาอุม ผาไตร ขบวนจะแหเวียนขวารอบโบสถ 3 รอบ หรือทีเ่ รียกวา “ทักษิณาวัตร” เมื่อแหครบแลวนาคยืนหนา โบสถทําพิธีวันทาเสมาและยืนโปรยทานซึง่ สวนใหญใชเหรียญบาท หลังจากนั้นนาคก็จะเขาโบสถโดยญาติพี่ นองจะอุมนาค โดยไมใหเทานาคเหยียบธรณีประตู เนื่องจากความเชื่อที่วาเปนการสงนาคสูร มกาสาวพัสตร สงผลสูนิพพาน ผูรวมนําสงก็จะไดผลบุญกุศลดวย พิธีบวชนาค เมื่อเขาสูภายในโบสถ จะมีพระอุปชฌายเปนประธาน และคณะสงฆมาประชุม พรอมกันซึ่งในตอนแรกจะตองกลาวคําขอบรรพชาเปนสามเณรกอน เมื่อเสร็จสิ้นขั้นตอนแรกนาคจะไปเปลี่ยน ผานุงแบบสมณะเพศ แลวกลับเขามากลาวคําขออุปสมบท ซึ่งพระอุปชฌายจะมีการกลาวสอนในเรื่องการ ปฏิบัติตนในเพศสมณะหรือแลวแตพระอุปชฌายและเมื่อภิกษุใหมถวายเครื่องไทยธรรม พระสงฆกลาว อนุโมทนาคาถา และญาติกรวดน้ําถือวาเปนอันเสร็จพิธี หลังจากนั้นก็จะเปนการฉลองซึง่ ขึ้นอยูกบั เจาภาพ การลาสิกขา ผูบวชในสมัยโบราณเปนผูเบือ่ ตอโลก จึงไมมีการลาสิกขา ตอมาการบวชไดเปลี่ยนแปลงมาเปนประเพณี การบวชจึงมีระยะเพียงไมกี่วัน ผูบวชที่ไมประสงคจะอยูก็ตองลาสิกขา 3. ประเพณีการแตงงาน คนไทยถือวาการแตงงานตองไดรบั ความเห็นชอบจากพอแมทั้งสองฝาย และการทีจ่ ะไปขอลูกสาว ใครแตงงาน ตองใหพอแมฝายหญิงยินยอม จึงตองมีการทาบทาม สูขอและหมั้นหมายกันไวกอนที่จะมีการ แตงงานเกิดขึ้น พิธีมงคลสมรส แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1) วิวาหมงคล คือ การสมรสที่กระทําที่บานของ ฝายหญิง และชายอยูบานของฝายหญิง และ 2) อาวาหมงคล คือ การสมรสที่กระทําที่บานของฝายชาย และหญิงอยูบ านของฝายชาย การสูขอ ในสมัยกอนผูห ญิงผูชายไมมีโอกาสคบหากันอยางอิสระเหมือนสมัยนี้ เมื่อชายตองการ แตงงานกับลูกสาวบานไหนจึงตองใหผูใหญไปทาบทาม เราเรียกผูทาบทามวา “เถาแก” หรือ “เฒาแก” สวนใหญจะเปนผูใหญที่มีฐานะดี มีผูใหการเคารพนับถือ และที่รจู ักพอแมหรือผูป กครองของทั้งสองฝายเปน อยางดี รวมทั้งรูจกั อุปนิสัยใจคอของฝายชายเปนอยางดี เพราะตัวเฒาแกจะเปนผูรบั รองในตัวฝายชาย หาก ฝายหญิงไมรังเกียจ ก็จะมีการไปทําพิธีสูขอตอไป ถาหากการเจรจาเปนไปดวยดี ก็จะพูดคุยกันเรื่องสินสอด ทองหมั้น และหาฤกษยามสําหรับจัดพิธีแตงงานตอไป

25


ฤกษยามสําหรับงานแตงงาน การหาฤกษยามนั้น จะนําวันเดือนปเกิดของฝายชายและฝายหญิง มาผูกดวงวาสมพงศกันหรือไม แมวาในปจจุบันคนสมัยใหมจะนิยมแตงแบบถือ “ฤกษสะดวก” คือ ปลอดจาก ฤกษไมดีทั้งหลายเปนพอ แตคนสวนใหญก็ยงั ยึดถือการปฏิบัติแบบดัง้ เดิม เชน - ฤกษเดือนแตง คนไทยนิยมแตงงานเดือนคู เพราะคําวา “คู” หรือสิง่ ทีเ่ ปนคูนี้หมายถึง การเริ่มตนของการใชชีวิตคู ยกเวนเดือน 12 เพราะเปนเดือนแหงการผสมพันธุของสัตว หรือเดือน 8 ซึ่งเปน ชวงเขาพรรษา หากจะแตงก็ตองจัดงานกอนวันเขาพรรษา นอกจากนี้ก็มผี ูนิยมแตงงานในเดือน 9 เพราะ เสียงของคําวา 9 พองกับคําวา “ความกาวหนา” - ฤกษวันแตง วันที่เหมาะจะแตงงานคือ วันศุกร เพราะมีเสียงพองกับคําวา “สุข” สวนวันที่ไมนิยมจัดงานแตงงาน คือ วันอังคาร วันพุธ วันพฤหัสบดี และวันเสาร เพราะเชื่อกันวา “วันอังคาร และวันเสาร” เปน “วันแรง” เหมาะสําหรับทําพิธีเกี่ยวกับเครื่องรางของขลังมากกวา ในขณะที่วันพุธก็เปน “วันสุนัขนาม” ดูชื่อแลวไมดนี ัก สวนวันพฤหัสบดีก็ไมเหมาะอีก เพราะเปนวันครูและมีตํานานฮินดูเกี่ยวกับ เรื่อง ลูกสาวพระพฤหัสบดีแตงงานกับพระอาทิตย แลวลักลอบเปนชูกบั พระอังคาร การหมัน้ หมาย เมื่อการเจรจาตกลงกันเรียบรอย บางครอบครัวอาจจะจัดใหมีการหมั้นกันสัก ระยะหนึง่ กอน แลวคอยจัดงานแตงภายหลัง เพือ่ ใหโอกาสทั้งฝายหญิงและฝายชายไดศึกษาอุปนิสัยกันมากขึ้น ตองมีการกําหนดฤกษยามในวันหมั้น รวมทั้งกําหนดสินสอดทองหมั้น หรือทีเ่ รียกวา “ขันหมากหมั้น” หญิงที่ ถูกหมั้นถือวาไดถูกจองไวแลว ผูใหญฝายหญิงจะยกใหใครอื่นอีกไมได แตในปจจุบันนิยมหมั้นและแตงงานใน วันเดียวกันเลย สินสอด – ทองหมั้น เมื่อตกลงกันจะจัดพิธีแตงงาน ก็ตอ งเจรจากันเรื่องสินสอดทองหมั้น ใน สมัยอดีตมักจะเรียกทองคํา เปนของสําหรับหมั้นหมาย ถือวาฝายชายจะตองจัดหาใหเจาสาว เพื่อนําไปเปน เครื่องแตงตัวในวันแตงงาน สวนเงินสินสอดจะเปนของพอแมฝายหญิง ถือวาเปนคาเลี้ยงดู การจัดขันหมาก โดยมาก “ขันหมาก”จะใชขันทอง ขันถม หรือขันเงินแลวแตฐานะ ในแตละ ทองถิ่นอาจแตกตางกันไป ใชหมากดิบ ทั้งลูก 4 ผล หรือ 8 ผล มีพลูใบ 4 เรียง หรือ 8 เรียงก็ได เรียงละ 5 ใบ หรือ 10 ใบ ฯลฯ เพราะเหตุที่ขันนี้ใสหมากนั่นเอง จึงเรียกวา “ขันหมาก” ซึ่งขันมีขนาดเล็กกวาขั้นสินสอด สวนขันสินสอด ใชขันขนาดและชนิดเดียวกับขันหมาก ภายในบรรจุเงินทองหรือของหมั้นคาสินสอดตามที่ตก ลงกับทางฝายหญิงไวแลว เชน สรอย แหวน กําไล ฯลฯ อาจมีการใสเศษเงินเพิ่มเขาไป และใสใบเงิน ใบทอง ใบนาถ ใบแกว ใบรัก และเย็บถุงแพรเล็กๆ ใสขาวเปลือก ถั่วงา แลวใชผาแพรคลุมไว นอกจากนี้เตรียม ดอกไมธูปเทียนแพ ใสในกระทงมีกรวยปด มีผาไหว และจัดขนม ผลไม จะมากหรือนอย แลวแตตกลงกันไว การยกขันหมาก เมื่อไดฤกษงามยามดี ฝายเจาบาวจะยกขันหมากไปยังบานฝายหญิง ซึง่ ฝายหญิง จะเตรียมเด็กเล็ก ๆ ยกหมากพลูออกมาตอนรับ และมีการ “กั้นประตูเงินประตูทอง” ฝายเจาบาวจะตอง มอบซองเงินใหเพื่อเปดประตูทั้งหมด จนเขาไปดานในหองที่จะทําพิธี แลวจึงเริม่ พิธีมอบสินสอดทองหมั้น โดยฝายหญิงจะตรวจสอบวาถูกตองครบถวนหรือไม หากมีแหวนหรือสรอยกําไล เฒาแกทงั้ สองฝายจะเรียกให ฝายชายสวมใหฝายหญิง ซึ่งพิธีการสวมแหวนหมั้นนี้นิยมใชกันมาก 26


พิธีแตงงาน แกนแทของพิธีแตงงานไทย คือ การสูขอฝายหญิงจากพอแมและการรดน้ําอวยพร หรือผูกขอมือแกคูบาวสาว สวนพิธีสงฆนั้นถือวาเปนสิริมงคลแกคูบาวสาว โดยถาไมตักบาตรเชาก็มักนิมนต พระมาสวดและถวายภัตตาหารเพล มีพิธีสําคัญ ๆ ดังนี้ - พิธีตักบาตร เปนธรรมเนียมของประเพณีไทย ที่จะตองมีการตักบาตรเพื่อใหเกิดสิริมงคล คูบาวสาวจึงตองทําพิธีทําบุญตักบาตร ในปจจุบันจะนิมนตพระสงฆมารับบิณฑาต ซึ่งคูบาวสาวจะตักบาตร พรอมกัน โดยใชทัพพีเดียวกัน เพราะเชื่อวาตอไปชาติหนาจะไดเกิดมาคูกันอีก และยังมีความเชื่อเกี่ยวกับการ ตักบาตรของคูบาวสาววา ถาผูใดจับที่ยอดหรือคอทัพพี ผูนนั้ จะไดเปนใหญเหนือกวาคูของตน - พิธีรับไหว จัดขึ้นเพื่อแสดงความเคารพนบนอบบิดามารดาและญาติผูใหญ เมื่อพอแมของคู บาวสาวนั่งในที่จัดไว คูบาวสาวกราบสามครั้ง (หากเปนญาติอื่น ๆ กราบหนึ่งครัง้ ไมตองแบมือ) แลวสงพาน ดอกไมธูปเทียนให พอแมรับและอวยพรคูบาวสาว หยิบสายสิญจนเสนเล็ก ๆ ผูกคอมือใหคูบาวสาว และอาจ ใหเงินรับไหว ซึ่งเงินที่ไดรับจากพิธีรบั ไหวนี้ ถือวาเปนเงินทุนของคูบาวสาว เปนพิธีเชนเดียวกับการยกน้ําชาใน การแตงงานแบบชาวจีน - พิธีรดน้ําสังข คือ การใหผูใหญทั้งสองฝายและแขกเหรือ่ รวมรดน้ําอวยพรแกคูบาวสาว คูบาว สาวจะขึ้นนั่งบนตั่งรดน้ํา ใหหญิงนั่งซาย ชายนั่งขวา จากนั้นใหประธานในพิธีหรือพอแมของคูบ าวสาว ทําการ “เจิม” ให และทํามงคลแฝดสวมใหคูบาวสาวคนละขาง หลังจากพิธีรดน้ําสังขเสร็จแลว เชื่อกันวาหากฝายใด ลุกขึ้นยืนกอน ฝายนั้นจะไดเปนผูท ี่อยูเหนือคูครองของตน - พิธีปูที่นอน ประธานในพิธีปูที่นอน นิยมเชิญคูสามีภรรยาทีอ่ ยูกินกันมาจนแกเฒา มีฐานะดี และมีลูกหลานทีเ่ ลี้ยงงาย และลูก ๆ ยังมีชีวิตอยูทุกคน ผูทําพิธีฝายชายจะนอนทางดานขวา ฝายหญิงนอน ทางดานซาย สิง่ ของอันเปนมงคลที่ใชในพิธีปูที่นอนมีอยูห ลายตํารา เชน ใชหินบดยา ฟกเขียว แมวตัวผูสีขาว ซึ่งทาแปงและของหอมไวทั้งตัว รวมทั้งถั่วทอง งาเมล็ด ขาวเปลือก อยางละหยิบมือหอผาไวในพาน ผูทําพิธีปูที่ นอนจะหยิบของเหลานี้วางบนที่นอนพรอมกับแมว และกลาวถอยคําอันเปนมงคล แลวนอนลงพอเปนพิธี แลว จึงลุกขึ้น บางทีมีการนํากลีบดอกไม เชนดอกกุหลาบ กลีบบานไมรูโรย หรือกลีบบัวมาโรย ไวบนเตียงนอนใหคู บาวสาวดวย จากนั้นพอแมของฝายหญิงจะนําเจาสาวมาสงใหเจาบาว และอบรมคูบาวสาวใหรูจักหนาที่ของ สามีภรรยาที่ดี แลวจึงใหคูบาวสาวนอนลงที่นอน บางทีกอนนอนก็ใหเจาสาวกราบบอกสามีกอน เพื่อความ เปนสิริมงคล - พิธีสงตัว พอแมฝายหญิงจะพาเจาสาวมาสงที่หอ งหอ ใหโอวาทและอวยพรแกทั้งคู ผูใหญจะ ใหเจาสาวกราบหมอนเจาบาว แลวนอนลงทางฟากของตนกอน เปนเคล็ดใหเจาบาวเกรงใจเจาสาว จากนั้น ผูใหญจะสั่งสอนทัง้ สองฝายถึงหนาที่สามีภรรยากอนจะลากลับ ในชวงเย็นของการจัดพิธีแตงงาน อาจมีการเฉลิมฉลอง รวมรับประทานอาหารรวมกัน ตามแตละ ครอบครัวจะกําหนด

27


4. พิธกี รรมที่เกี่ยวของกับความตาย พิธีทําบุญในงานศพ เรียกวา ‘ทําบุญงานอวมงคล’ เพื่ออุทิศสวนกุศลใหแกผทู ี่ถึงแกกรรมไปแลว แตละทองถิ่นอาจแตกตางกัน การอาบน้ําศพ เมื่อมีผูเสียชีวิต ตองทําการอาบน้ําชําระรางกายศพใหสะอาด และแตงตัวศพตาม ฐานะของผูตาย การรดน้ําศพ จัดเตรียมขันน้ําพานรองขนาดใหญ ตั้งไวคอยรองรับน้ําทีร่ ดศพแลว เพื่อใหญาติ มิตรสหายมารดน้ํา ขออโหสิกรรมแกผูตาย การตั้งศพ เริ่มจากตั้งโลงศพ จัดดอกไมธูปเทียนประดับใหเรียบรอย นิมนตพระสงฆมาทอดผา บังสุกุล เมื่อพระชักผาบังสุกลุ แลวเปนอันเสร็จพิธี การสวดพระอภิธรรม หรือ “การสวดหนาศพ” นิยมทําในตอนกลางคืน นิมนตพระมาสวด 4 รูป จุดมุงหมายคือใหเจาภาพไดมีโอกาสฟงธรรมและสนทนาธรรมตามควร จะสวด 3 คืน 7 คืน หรือทุก ๆ 7 วัน จนกวาจะถึงวันเผาก็ได การทําบุญ 7 วัน เมื่อเก็บศพไวครบ 7 วัน ก็นิยมนิมนตพระ 7 รูปหรือ 9 รูป มาสวดพระพุทธ มนตเย็น และถวายอาหารบิณฑบาตเชาในวันรุงขึ้น นอกจากนี้เมื่อครบ 50 วัน หรือ 100 วัน ก็อาจมีการ ทําบุญเชนเดียวกันนี้ดวยก็ได การฌาปนกิจศพ เมื่อถึงเวลาทีเ่ จาภาพกําหนดแลว ก็ตดิ ตอเจาหนาที่ฌาปนสถานและออกบัตร เชิญ โดยกําหนดวันเวลาใหรบั ทราบทั่วกัน มีการสวดอภิธรรม ทําบุญเลี้ยงพระ และเคลือ่ นศพขึ้นสูเ มรุ จนกระทั่งเผาจริงเสร็จ การเก็บอัฐิ บางคนเก็บอัฐิในตอนเย็นของวันเผาเลย และนําไปตั้งบําเพ็ญกุศลเชนเดียวกับตอน กอนเผา รุงขึ้นจึงถวายภัตตาหารพระเชา แลวนําอัฐิไปบรรจุหรือเก็บกลับบาน ก็เปนอันเสร็จพิธี การทําบุญอัฐิ (ออกทุกข) หลังจากเก็บอัฐิ อาจกําหนดวันทําบุญ สวดมนต เลี้ยงพระ บังสุกลุ เพื่อ เปนการทําบุญบานเรือนใหเปนสิริมงคล

28


บทที่ 6 ประเพณีทองถิน่ ประเพณีเปนกิจกรรมทางสังคมที่ถือปฏิบัติสบื ตอกันมา ประเทศไทยมีประเพณีมากมาย ตกทอด มาจากบรรพบุรุษและสังคม เปนแนวทางในการดําเนินชีวิตและเปนแบบอยางแกลูกหลานมาทุกยุคทุกสมัย และในทุก ๆ ทองถิ่นหรือภูมิภาคของประเทศไทย ก็จะมีประเพณีทเี่ ปนเอกลักษณของตนเอง บงบอกความ เปนทองถิ่น แตก็สามารถบงบอกถึงความเปนไทยไดอยาง ในที่นี้จะขอยกตัวอยางบางสวน ดังนี้ 1. ประเพณีปอยหลวง คําวา “ปอย” แปลวา ฉลอง และคําวา “หลวง แปลวา ใหญโต ดังนั้น งานปอยหลวงจึงหมายถึง งานฉลองที่ใหญโต เมื่อมีวัดที่สรางกุฏิใหม สรางศาลาการเปรียญใหม หรือปฏิสังขรณพระเจดียใหม หรือศา สนสถานอื่น ๆ เสร็จแลว ก็จะมีการฉลองอันยิ่งใหญเปนเวลาไมนอยกวา 7 วัน โดยจะมีการบอกบุญไปยังวัด ใกลเคียงดวย นับเปนงานบุญที่แสดงถึงความสามัคคีของชาวเหนือมาอยางชานาน วัดที่จัดงานปอยหลวง จะมีการจัดทําธงและนําไปปกบริเวณรอบวัดและทางเขาวัด ในตอนเย็นจะมี การนิมนตพระอุปคุตมาไวที่หออุปคุต เพราะเชื่อวาพระอุปคุตจะคุม ครองและปองกันภัยอันตรายที่อาจจะ เกิดขึ้นไดในชวงที่มีการจัดงาน เมื่อถึงวันแรกของงานปอยหลวง ชาวบานจะนําเครื่องไทยทานมาไวที่วัด วันที่สองของงาน ชาวบานจากวัดอื่น ๆ จึงจะแหเครื่องไทยทานมายังวัดทีม่ ีงานปอยหลวง สวนชาวบานของวัดที่จัดงานจะเตรียม อาหารคาวหวานไวตอนรับ จนถึงวันสุดทายจะมีการทําบุญตักบาตร และถวายสิง่ ปลูกสรางที่เพิ่งสรางเสร็จใหม 2. ประเพณีตานกวยสลาก ประเพณีตานกวยสลาก หรือ บุญสลากภัต คือ การทําบุญอุทิศสวนกุศลใหแกญาติทลี่ วงลับไปแลว การทําบุญจะไมเจาะจงวาจะถวายเครือ่ งไทยทานใหพระสงฆรูปใด แตจะทําสลากและเขียนคําอุทิศสวนกุศลลง ในนั้นและนําไปรวมกัน จากนั้นใหพระสงฆและสามเณรจับสลาก พระสงฆและสามเณรรูปใดจับสลากชื่อใครได คนนั้นก็ตองนําเครือ่ งไทยทานไปถวายพระสงฆหรือสามเณรรูปนั้น 3. ฮีตสิบสอง คําวา “ฮีต” หมายถึง จารีต ขนบธรรมเนียมประเพณี สวนคําวา “สิบสอง” หมายถึง สิบสอง เดือน ดังนั้น “ฮีตสิบสอง” จึงหมายถึง ประเพณีทปี่ ระชาชนชาวอีสานปฏิบัติกันมาในโอกาสตาง ๆ ทัง้ สิบสอง เดือนในทุก ๆ ป ภาษาพื้นบานเรียกวา “งานบุญ” ซึ่งประเพณีทองถิ่นที่ยังยึดถือและปฏิบัติตาม ไดแก 3.1 ประเพณีบุญเขากรรม จัดในเดือนอาย เปนกิจกรรมที่ใหพระสงฆที่ไดกระทําความผิดได สารภาพตอหนาคณะสงฆ โดยคณะสงฆจะวากลาวตักเตือน พระสงฆทจี่ ะเขากรรมตองเลือกสถานทีท่ ี่สงบ และทําความสะอาดใหเรียบรอย และจึงไปหาพระสงฆ 4 รูป เพื่อสารภาพความผิด ซึ่งตองอยูกรรมใหครบ 9 คืน กอนจะออกกรรมตองมีพระสงฆ 20 รูป มารับ จึงจะถือวาเปนผูบ ริสุทธิ์ 29


3.2 ประเพณีบุญคูนลาน คือ การนําขาวที่นวดแลวมากองใหสูงขึ้นและใชสถานที่นั้นทําบุญ โดย นิมนตพระสงฆจํานวน 9 รูป มาที่ลานขาว ขึงโยงสายสิญจนใหรอบลานและกองขาวแลว จึงเริ่มพิธีกรรมตาง ๆ จนเสร็จพิธี โดยเชื่อวาจะทําใหขาวในนาปหนาเจริญงอกงามดี 3.3 ประเพณีบุญขาวจี่ คําวา “ขาวจี่” หมายถึง “ขาวเหนียวปง” โดยนําขาวเหนียวนึ่งมาปน เปนกอนกลม ๆ แลวเสียบไมน้ําไปปง ไฟ พอเหลืองนําไขทาใหทั่ว แลวปงจนไขสุก ชาวบานจะรวมกันนําไป ถวายพระสงฆ พระสงฆกจ็ ะใหศีลใหพร 3.4 ประเพณีบุญเผวส คือ ประเพณีทําบุญฟงเทศนมหาชาติ หรืองานบุญทีเ่ กี่ยวกับเรื่องของพระ เวสสันดร ชาวบานจะชวยกันตกแตงวัดดวยดอกไมและสิง่ ของตาง ๆ และรวมแหอญ ั เชิญพระเวสสันดรและ นางมัทรีเขาเมือง ประกอบพิธีกรรมตาง ๆ และฟงเทศนมหาชาติจนครบ 13 กัณฑ จึงจะไดอานิสงสสงู สุด โดยเชื่อกันวาหากใครฟงเทศนมหาชาติจบในวันเดียว จะไดไปพบพระศรีอาริยเมตไตรย นอกจากนี้ “ประเพณีแหผีตาโขน” ก็เปนสวนหนึง่ ของงานบุญเผวส โดยขบวนแหของผีตาโขน นั้น มี 2 ประเภท คือ ผีตาโขนใหญ เปนการทําหุนรูปผีจากไมไผสานใหมีขนาดใหญกวาคนธรรมดาประมาณ 2 เทา และผีตาโขนเล็ก เปนการละเลนของทุกคนทุกเพศทุกวัย แตสวนใหญจะเปนผูชาย เพราะการละเลน คอนขางผาดโผน สวนการแตงกายของผูร วมงานจะแตงคลายผีหรือปศาจ ใสหนากากที่ทําดวยกาบมะพราว แกะสลักและสวมศีรษะดวยหวด 3.5 ประเพณีบุญสรงน้ํา หรือ งานบุญสงกรานต จัดในชวงวันที่ 13-15 เมษายน ของทุกป มีการ รวมทําบุญ กอกองทราย รดน้ําดําหัว เลนสาดน้ํา ฯลฯ 3.6 ประเพณีบุญบั้งไฟ กําหนดทําบุญในเดือน 6 กอนการทํานาชาวบานในจังหวัดในภาค อีสาน จะมีการฉลองอยางสนุกสนาน โดยการจุดบั้งไฟเพื่อไปบอกพญาแถนใหสง น้ําฝนลงมาใหมนุษย มีการ ตกแตงบั้งไฟใหสวยงามนํามาประกวดแห แขงขันกันในวันรุงขึ้น ทั้งนี้ชาวอีสานเชื่อวาการทําบุญบั้งไฟจะทํา ใหฝนตกถูกตองตามฤดูกาล 3.7 ประเพณีบุญซําฮะ เปนภาษาลาว ตรงกับภาษาไทยวา “ชําระ” แปลวาชะลางใหสะอาด จึง หมายถึง การทําบุญเพื่อชําระลางสิ่งตาง ๆ ใหสะอาด หมดเรื่องเศราหมองตาง ๆ ชาวบานจึงรวมกันจัด สถานที่ทําบุญใหสะอาด และเชิญพระสงฆมาทําพิธี บางคนก็ทําความสะอาดบานเรือนและเก็บสิง่ ของเกา ๆ ทิ้งใหหมด 3.8 ประเพณีบุญเขาพรรษา คือวันที่พระสงฆอยูจําวัด 3 เดือน ไมออกไปคางแรมนอกวัด ชาวบานจะรวมทําบุญ ถวายผาอาบน้ําฝนและเทียนพรรษา 3.9 ประเพณีบุญขาวประดับดิน เปนงานบุญที่ทําเพื่ออุทิศสวนกุศลใหกับเปรตและผูล วงลับไป แลว โดยชาวบานจะนําอาหารคาวหวาน หมากพลู และบุหรี่ใสใบตอง จํานวนใหเทากับญาติพี่นอ งที่ตายไป แลว และทําเพิม่ อีก 1 หอ สําหรับเปรตที่ไมมญ ี าติ จากนั้นนําหออาหารไปวางบนพื้นดินเวลาประมาณ ตีส-ี่ หก โมงเชา เพราะเชื่อวาพวกเปรตจะถูกปลอยตัวมาในชวงเวลานั้น

30


3.10 ประเพณีบุญขาวสาก หรือขาวสลาก (สลากภัต) เปนงานบุญที่ทําเพื่ออุทิศสวนกุศลใหกบั เปรตและผูลวงลับไปแลวเชนเดียวกับงานบุญขาวประดับดิน มีพิธีกรรมเชนเดียวกับบุญกวยสลากของ ภาคเหนือ และสลากภัตของภาคกลาง 3.11 ประเพณีบุญออกพรรษา ชาวบานจะรวมทําบุญตักบาตร ฟงเทศน บางทองถิ่นอาจจัด ประเพณีไหลเรือไฟหรือแหปราสาทผึ้งดวย - ประเพณีไหลเรือไฟ หรือภาษาทองถิ่นเรียกวา ‘เฮือไฟ’ จัดในชวงเดือน 11 และเดือน 12 ตรงกับวันออกพรรษา การไหลเรือไฟเปนการเซนสรวงพญานาคที่สิงสถิตตามแมน้ําลําคลอง ใหคุมครองผู สัญจรไปมาทางน้ําและเปนการบูชาพญานาค - ประเพณีแหปราสาทผึ้ง เปนการทําบุญกุศลของชาวอีสาน โดยเฉพาะอยางยิง่ ที่จงั หวัด สกลนคร เชื่อกันวาการทําปราสาทผึ้งถวายวัด จะไดบุญสูงสุดเพราะผึง้ เกี่ยวพันกับพระพุทธศาสนา นอกจากนี้ ยังเปนการอุทิศสวนกุศลใหแกผูตายดวย 3.12 ประเพณีบุญกฐิน คือการถวายผาไตรจีวรแดพระสงฆ จะตองมีการจองกฐิน แหกฐินและ นําไปทอดกฐินในวัดที่จองกฐินไว 4. ประเพณีอุมพระดําน้ํา ประเพณีอุมพระดําน้ํา เปนประเพณีของชาวจังหวัดเพชรบูรณ จัดในชวงเดือน 10 ของทุก ๆ ป การประกอบพิธีจะมี 2 วัน ในชวงเชาของวันแรก ผูวาราชการจังหวัดจะทําพิธีบวงสรวงเทพยดาอารักษ พอถึงชวงบายจะอัญเชิญพระพุทธมหาธรรมราชาขึ้นประดิษฐานบนรถบุษบกและแหไปรอบ ๆ เมือง พอถึง รุงเชาวันทีส่ อง ผูวาราชการจังหวัดจะอัญเชิญพระพุทธมหาธรรมราชาแหไปตามลําน้ําปาสัก เพือ่ ไปประกอบพิธี ณ กลางแมน้ําปาสัก บริเวณหนาวัดโบสถชนะมาร ซึ่งเปนสถานทีท่ ี่พบพระพุทธมหาธรรมราชาเปนครั้งแรก แลวอุมพระมหาธรรมราชาดําน้ํา 3 ครั้ง โดยตองขอพระใหฝนฟาตกตองตามฤดูกาลและขาวปลาอุดมสมบูรณ สวนในตอนกลางคืนจะมีงานมหรสพ 5. ประเพณีแหนางแมว การแหนางแมวเปนพิธีขอฝน ซึ่งจะจัดทําขึ้นเมื่อเห็นวาฝนไมตกตามฤดูกาล เมื่อฝนแลง ชาวนา ชาวสวน ลําบากเพราะขาดน้ํา ชาวบานจะมีพิธีแหนางแมวเพื่อขอฝน เมื่อชาวบานตกลงวาจะจัดแหงนาง แมวเพื่อขอฝน ก็จะหานางแมวตัวเมียตัวหนึง่ ไปใสกรงหรือภาชนะอื่น ๆ ที่เห็นวาเหมาะสม ปดฝาใหแนน มี การทําพิธีในตอนเชา แลวจึงแหไปยังทุก ๆ บาน ตามหมูบา นของตน หรือหมูบ านใกลเคียง เมื่อขบวนแหไปถึง บานผูใด เจาของบานจะออกมาตอนรับ เอาน้ําสาดตัวนางแมว และมีของรางวัลมามอบใหคณะแหนางแมวดวย

31


6. ประเพณีตักบาตรดอกไม ในวันเขาพรรษา ชาวบานวัดพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี หรือบริเวณใกลเคียงนั้นมีความเชื่อวา การบูชาพระรัตนตรัยดวยดอกไมธูปเทียนในวันสําคัญทางศาสนานั้น ยอมไดรับผลบุญมากมาย ดังนั้นพอถึง วันเขาพรรษา ชาวบานจะเก็บดอกไมปาซึ่งดอกมีขนาดเล็ก ออกเปนชอตรงบริเวณสวนยอดของลําตน หลาย สีสันงามตามไดแก สีขาว สีเหลือง และสีเหลืองแซมมวง ชาวบานเรียกชื่อตางกันไปวา “ดอกยูงทอง” บาง หรือ “ดอกหงสทอง” บาง แตที่นิยมเรียกรวมกันก็วา “ดอกเขาพรรษา” เพราะเห็นวาดอกไมปาเหลานีจ้ ะบาน สะพรั่งใหเห็นก็เฉพาะในเทศกาลเขาพรรษานี่เอง 7. ประเพณีการแขงเรือยาว ประเพณีแขงเรือยาว เปนประเพณีของชาวบานที่อาศัยอยูบ ริเวณริมฝง แมน้ําเจาพระยา เมื่อถึง เดือน 11 หลังออกพรรษาแลว ภายในเดือนตุลาคม หรือของทุก ๆ ป ซึ่งเปนฤดูน้ําหลาก ชาวบานจะจัดใหมี งานเทศกาลปดทองไหวพระ และแขงเรือยาวกันในวันไหวพระประจําป โดยแตละสถานทีจ่ ะกําหนดวันไมใหซ้ํา กัน ในภาคกลางนั้นจะจัดตั้งแตจังหวัดนครสวรรค อุทัยธานี ชัยนาท สิงหบุรี อางทอง จนถึงอยุธยา ซึ่งจะมี การจัดการแขงขันเรือยาวทุกป นอกจากจะสรางความสนุกสนานแลวยังสรางความสามัคคี ฝกความเปน ระเบียบ ความรักใครกลมเกลียวระหวางชุมชนในทองถิ่นเดียวกันอีกดวย 8. ประเพณีวิ่งควาย ประเพณีวิ่งควาย เปนประเพณีของชาวจังหวัดชลบุรี ที่สบื ทอดมาเปนเวลานานกวา 100 ป จะ จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 11 เมื่อใกลเทศกาลออกพรรษาครั้งใดก็แสดงวาชวงเวลาแหงการไถหวานไดผาน พนไปแลว ถึงเวลาทีบ่ รรดาชาวไรชาวนาจะไดมีโอกาสหยุดพักผอน โดยเจาของควายแตงตัวใหควายอยาง สวยงามโดยนําผาสีตาง ๆ มาทําเปนโบและผูกรอบ ๆ คอ และตกแตงบริเวณหัวควายแขนขาควายดวยดอกไม สดและลูกปดสีตาง ๆ จากนั้นก็เริ่มการแขงวิ่งควาย 9. ประเพณีรับบัว ประเพณีรบั บัว เปนประเพณีเกาแกของชาว อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ จัดชวงเดือน 11 ในการ จัดงานประเพณีรบั บัวจะมีการแหหลวงพอโต (แตเดิมไมมีการแหดังเชนสมัยนี)้ ปจจุบันแหโดยรูปหลอจําลอง หลวงพอโต ไปตามลําคลอง ประชาชนที่อยูสองฝงคลองที่ขบวนแหหลวงพอโตผาน จะจัดประดับธง ตกแตง บานเรือนและตัง้ โตะหมูบูชา ปจจุบันมีการประกวดเรือ การประกวดเทพี การแขงเรือ ฯลฯ 10. ประเพณีทิ้งกระจาด ประเพณีทิ้งกระจาด คือการทําบุญทําทานใหแกผีไมมีญาติ นิยมจัดในชวงเดือน 8 เพราะเปน ชวงเวลาที่เชื่อวา พวกผีตาง ๆ จะไดรับการปลอยตัวใหมารับสวนบุญ การจัดงานนิยมจัด 2 วัน ในวันแรกจะ เปนพิธีอุทิศสวนกุศลใหกับพวกผี โดยมีพระจีนสวดมนตทงั้ วัน สวนวันที่สองจะมีพิธีเผาหุนยมบาลและของใชที่ เปนกระดาษ แลวจึงเริ่มทิ้งกระจาด ซึ่งใสสิ่งของตาง ๆ ที่ไดรับบริจาคมาลงมา 32


11. ประเพณีชิงเปรต ประเพณีชิงเปรต หรือประเพณีสารทเดือนสิบ เปนประเพณีของชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช จัดใน เดือน 10 โดยมีความเชื่อวา เมื่อบรรพบุรุษที่ตายไปแลวเคยทําบาปไว ก็จะตกนรกกลายเปน ‘เปรต’ ดังนั้น ลูกหลานที่ยงั มีชีวิตอยูจึงตองทําบุญไปให ชาวบานจะจัดอาหารตาง ๆ ไปถวายวัด บางแหงจะนําอาหารไป วางไวบนเสาสูง ๆ และขัดเสาดวยน้ํามันใหลื่น เมื่อนําอาหารไปวางบนเสาแลว จะมีการ ‘ชิงเปรต’ คือ ชาวบานจะแขงกันปเสาเพื่อแยงอาหารจากเปรต เพราะเชื่อกันวาถาใครกินของเหลือจากการเซนไหวจะไดรบั กุศลมาก 12. ประเพณีชักพระ ประเพณีชักพระหรือลากพระ เปนประเพณีของชาวภาคใต นิยมทํากันแทบทุกจังหวัดของภาคใต ในชวงวันออกพรรษา โดยชาวใตมีความเชื่อวาการลากพระจะทําใหฝนตกตองตามฤดูกาลหรือเปนการขอฝน เพราะผูประกอบพิธสี วนใหญมอี าชีพเกษตรกรรม การชักพระหรือลากพระของชาวใตมี 2 ประเภทคือ ลากพระทางบกกับลากพระทางน้ํา 1) การลากพระทางบก คือ การอัญเชิญพระพุทธรูปปางอุมบาตรขึ้นประดิษฐานบนนมพระ (คือ ยานพาหนะที่ใชประดิษฐานพระพุทธรูปในการลากพระทางบก) หรือบุษบกแลวแหไปยังจุดหมาย การลาก พระทางบกเหมาะกับวัดที่อยูหางไกลแมน้ําลําคลอง 2) การลากพระทางน้ํา คือ การอัญเชิญพระพุทธรูปปางอุมบาตรขึ้นประดิษฐานบนเรือพระแลวแห ไปยังจุดหมาย การลากพระทางน้ําเหมาะกับวัดทีอ่ ยูใกลแมน้ํา ในวันชักพระหรือลากพระจะมีการทําบุญตักบาตร โดยชาวบานจะเตรียมอาหารมาใสบาตร แต การลากพระทางน้ํา เรือพายของชาวบานจะไมสามารถเขาใกลเรือพระได ชาวบานที่ตองการทําบุญดวยขนม ตม จะใชวิธีปาตม หรือที่ชาวบานเรียกกันวา ‘ซัดตม’

------------------------แหลงขอมูลเรื่องประเพณีทองถิ่น : ฐิติรัตน เกิดหาญ. (2550) ประเพณีไทย 4 ภาค. ปทุมธานี : สกายบุกส.

33


บทที่ 7 การรําไทย การรําไทย เปนการแสดงประเภทหนึง่ ของ ‘นาฏศิลปไทย’ มีการเคลื่อนไหวประกอบเสียงดนตรี ดวยทาทางที่ออนชอย มุง เนนถึงศิลปะทวงทาที่ความสอดคลองกันระหวางมือ แขน เทา ไมมกี ารแสดงเปน เรื่องราว มีลีลาและจังหวะแตกตางกันไปตามแตละภูมิภาค มีทั้งการรําเดี่ยว รําคู และรําหมู ในที่นจี้ ะกลาวถึง เฉพาะ “รําวงมาตรฐาน” รําวงมาตรฐาน เปนการแสดงที่มีวิวัฒนาการมาจาก “รําโทน” เปนการรําและรองของชาวบาน ซึ่ง จะมีผูรําทัง้ ชายและหญิง รําคูกันเปนวงกลม โดยมีโทนเปนเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ ลักษณะการรํา และรองเปนไปตามความถนัด ไมมีแบบแผนกําหนดไว คงเปนการรํา และรองงาย ๆ มุงเนนที่ความสนุกสนานรื่นเริงเปนสําคัญ เชน เพลงชอมาลี เพลงยวนยาเหล เพลงหลอจิงนะดารา เพลงตา มองตา เพลงใกลเขาไปอีกนิด ฯลฯ ตอมาจึงมีการปรับปรุงรําโทนใหเปนมาตรฐาน มีการแตงเนื้อรอง ทํานอง เพลงและนําทารําจากแมบทมากําหนดเปนทารําเฉพาะแตละเพลงอยางเปนแบบแผน รําวงมาตรฐาน ประกอบดวยเพลงทัง้ หมด 10 เพลง คือ เพลงงามแสงเดือน เพลงชาวไทย เพลงรํา ซิมารํา เพลงคืนเดือนหงาย เพลงดวงจันทรวันเพ็ญ เพลงดอกไมของชาติ เพลงดวงจันทรขวัญฟา เพลงหญิงไทย ใจงาม เพลงบูชานักรบ และเพลงยอดชายใจหาญ เมื่อปรับปรุงแบบแผนการเลนรําโทนใหมีมาตรฐาน และมีความเหมาะสม จึงมีการเปลี่ยนแปลงชื่อ จากรําโทนเปน “รําวงมาตรฐาน” อันมีลักษณะการแสดงที่เปนการรํารวมกันระหวางชาย – หญิง เปนคู ๆ เคลื่อนยายเวียนไปเปนวงกลม มีเพลงรองที่แตงทํานองขึน้ ใหม มีการใชทั้งวงปพาทยบรรเลงเพลงประกอบ และบางเพลงก็ใชวงดนตรีสากลบรรเลงเพลงประกอบ ซึ่งมีทารําที่กําหนดไวเปนแบบแผน คือ - เพลงงามแสงเดือน ทาสอดสรอยมาลา - เพลงชาวไทย ทาชักแปงผัดหนา - เพลงรํามาซิมารํา ทารําสาย - เพลงคืนเดือนหงาย ทาสอดสรอยมาลาแปลง - เพลงดวงจันทรวันเพ็ญ ทาแขกเตาเขารัง และทาผาลาเพียงไหล - เพลงดอกไมของชาติ ทารํายั่ว - เพลงหญิงไทยใจงาม ทาพรหมสี่หนา และทายูงฟอนหาง - เพลงดวงจันทรขวัญฟา ทาชางประสานงา และทาจันทรทรงกลดแปลง - เพลงยอดชายใจหาญ ผูห ญิงรําทาชะนีรายไม ผูชายรําทาจอเพลิงกัลป -เพลงบูชานักรบ ผูห ญิงรําทาขัดจางนางและทาลอแกว ผูชายรําทาจันทรทรงกลดต่ํา และ ทาขอแกว รําวงมาตรฐานนิยมเลนในงานรื่นเริงบันเทิงตาง ๆ และยังนิยมนํามาใชเลนแทนการเตนรํา สําหรับ เครื่องแตงกายก็มกี ารกําหนดการแตงกายของผูแสดงใหมีระเบียบดวยการใชชุดไทย และชุดสากลนิยม โดยแตง เปนคู รับกันทั้งชายและหญิง 34


รําวงมาตรฐาน เปนการรําที่ไดรับความนิยมสืบมาจนถึงปจจุบัน มักนิยมนํามาใชหลังจากจบการ แสดง หรือจบงานบันเทิงตาง ๆ เพื่อเชิญชวนผูรวมงานออกมารําวงรวมกัน เปนการแสดงความสามัคคีกลม เกลียว อีกทั้งยังเปนที่นิยมของชาวตางชาติในการออกมารําวงเพื่อความสนุกสนาน ตัวอยางบทรองรําวงมาตรฐาน 1. เพลงงามแสงเดือน งามแสงเดือน มาเยือนสองหลา งามแสงเดือน มาเยือนสองหลา เราเลนเพื่อสนุก ขอใหเลนฟอนรํา

งามใบหนามา เมื่ออยูวงรํา งามใบหนามา เมื่ออยูวงรํา เปลื้องทุกขมิวายระกํา เพื่อสามัคคีเอย

2. รํามาซิมารํา รําซิมารํา ยามงานเราทํางานอยางจริงจัง ถึงยามวางเราจึงรําเลน ตามเยี่ยงอยางตามยุค เลนอะไรใหมีระเบียบ มาซิเจาเอย มาฟอนรํา 3. เพลงดวงจันทรขวัญฟา ดวงจันทรขวัญฟา จันทรประจําราตรี ที่เทิดทูนคือชาติ ถนอมแบบสนิทใน

เริงระบํากันใหสนุก ไมละไมทงิ้ จะเกิดเข็ญขุก ตามเชิงเชนเพื่อใหสรางทุกข เลนสนุกอยางวัฒนธรรม ใหงามใหเรียบจึ่งจะคมขํา มาเลนระบําของไทยเราเอย ชื่นชีวาขวัญพี่ แตขวัญพี่ประจําใจ เอกราชอธิปไตย คือขวัญใจพี่เอย

---------------------------------------แหลงขอมูลเกี่ยวกับการรําวงมาตรฐาน : ฐิติพงศ ถ้ํากลาง (ม.ป.ป.) “รําวงมาตรฐาน” แหลงที่มา : http://thaidances.wikispaces.com/%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%87+%E0%B8%94%E0 %B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B 9%8C%E0%B8%82%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8% B2 (26 กรกฎาคม 2557). สํานักการสังคีต (ม.ป.ป.) “รําวงมาตรฐาน” องคความรู แหลงที่มา : http://www.finearts.go.th/performing/parameters/km/item/%E0%B8%A3%E0%B8%B3%E0%B8 %A7%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%90%E0%B8%B 2%E0%B8%99.html (26 กรกฎาคม 2557). 35


บทที่ 8 การละเลนของเด็กไทย การละเลนเด็กไทย เปนการละเลนของเด็กตัง้ แตสมัยโบราณ เกิดจากการชางคิดชางจินตนาการ และความสรางสรรค การสังเกตสิ่งรอบตัว และการใฝรูใฝเรียน นํามาผสมผสานเขากับความสนุกในแบบฉบับ ของคนสยามไดอยางลงตัวจนทําใหเกิดเปนการละเลนชนิดตางๆ ขึ้นมา มีมากกวา 100 ชนิด จึงขอยกตัวอยาง มาพอใหพอเขาใจ ดังนี้ 1. ขี่มา กานกลวย เปนการละเลนทีส่ นุกสนาน เปนที่ชื่นชอบของเด็กผูชาย วัสดุที่นํามาประดิษฐ เปนมาคือ กานกลวย ตัด-ดัดเลียนแบบหัวและคอมา จะเลนคนเดียวหรือเลนหลาย ๆ คนก็ได โดยเด็ก ๆ จะ ขึ้นไปขี่บนหลังมากานกลวย ทําทาเหมือนขี่มาจริง อาจจะแขงขันวาใครวิ่งเร็วกวากัน หรืออาจขี่มากานกลวยวิ่ง ไปรอบบริเวณลานกวาง ๆ ก็ได 2. เดินกะลา เปนการละเลนเด็กไทย โดยใชวัสดุอุปกรณที่หาไดทั่วไปตามทองถิ่น คือ กะลามะพราว เจาะรูและรอยเชือก ซึ่งผูใหญมักทําใหเด็ก ๆ เลนเพือ่ ความสนุกเพลิดเพลินจะเลนคนเดียวหรือ หลาย ๆ คน ก็ได เสริมสรางความสามัคคีในหมูคณะ และเปนการฝกการทรงตัวอีกดวย การเรียกชื่อของเดิน กะลา จะแตกตางกันไปในแตละภาค เชน ภาคอีสาน เรียกวา “เดินหมากกุบกับ” หรือ “เดินกะโป” สวน ภาคใตเรียกวา “กุบกับ” 3. หมากเก็บ มีผูเลน 2 – 3 คน ใชกอนหินที่มีลกั ษณะกลม ๆ 5 กอน เสี่ยงทายวาใครจะเลนกอน โดย ถือหมากทั้งหาเม็ดไวแลวโยนพลิกหงายหลังมือรับ แลวพลิกมือกลับรับอีกที ใครเหลือหินอยูในหินอยูใน มือมากทีส่ ุด คนนั้นก็เลนกอน การเลนมีทั้งหมด 5 หมาก หมากที่ 1 ทอดหมากใหหาง ๆ กัน เลือกลูกนําไว 1 เม็ดควรใชเม็ดกรวดที่หางทีส่ ุดโยนเม็ดนําขึ้น แลวเก็บทีละเม็ดพรอมกับรับลูกนําทีห่ ลนลงมาใหได ถารับไมได ถือวา ‘ตาย’ 4. ตีวงลอ เลนไดทั้งเด็กชายและเด็กหญิง ไมจํากัดจํานวนผูเ ลน โดยนําวงลอที่ทํามาจากไมไผ คน ละ 1 วงมายังจุดเริ่มตน ใชไมตีวงลอใหกลิง้ ไป คอยเลี้ยงใหกลิ้งไปขางหนา โดยไมใหวงลอพลิกคว่ํา หากใครถึง เสนชัยกอนเปน ‘ผูชนะ ’ 5. กระตายขาเดียว เปนการละเลนไลจับประเภทหนึง่ ตองเลนเปนกลุม โดยผูที่ถูกเรียกวาเปน “กระตาย” จะยืนบนขาขางเดียว งอเขาขาอีกขางไมใหเทาสัมผัสพื้น แลวกระโดดหรือเขยง เพือ่ ไลจบั คนอื่น ๆ ใหสลับมาเปนกระตายแทน เลนไดตามที่โลง หรือสนามหญา ชวยออกกําลังกายขา และฝกทรงตัว ดวยขาขางเดียว มักแบงเปนสองทีมจํานวนคนเทา ๆ กัน หรือ อาจจะไมตองมีทีมเลยก็ได 6. มาเขยง การละเลนนีม้ ีชื่อเรียกแตกตางกัน เชน แขงขาโกกเกก, โกกเกก, เดินขาหยั่ง เปน ตน เปนการละเลนที่ใชอุปกรณทํามาจากไมไผ ประกอบดวยไมสั้นซึ่งเปนที่เหยียบสําหรับยืน มีผาพันเพือ่ ไมให เจ็บเทา ไมทอนยาวใชสําหรับเปนตัวยืนจับ เวลาเลนจะตองพยายามทรงตัวเดิน จะทําใหรูสึกวาขายาวขึ้น เด็ก ๆ อาจจะแขงขันกันวา ใครสามารถเดินไดเร็วกวากัน 33

33

38

36


7. เลนซอนหา หรือโปงแปะ เปนการละเลนแบบกลุม ซึ่งการหาและการซอนตัว กําหนดใหมีเด็ก หนึ่งคน หลับตานับเลข สวนเด็กคนอื่น ๆ หนีไปหลบหาที่ซอ น เมื่อนับเลขครบจํานวน หรือเด็กคนอื่น ๆ ซอน เสร็จแลว ตะโกนบอกวาเริม่ ได เด็กทีม่ ีหนาที่ “หา” จะเริม่ เดินหา ถามองเห็นในสายตา ก็ยกนิ้วโปง พรอม ตะโกนวา “โปง....(ชื่อ).....” ตามดวยชื่อของเด็กที่ถูกหาเจอ ไปเรื่อยๆ จนครบทุกคนถาคนเดินหา รอง “โปง” จับไดครบทุกคน เด็กคนที่ถูก “โปง” คนแรก ตองเปลี่ยนมา ปดตา เปนคนเดินหา ใหเด็กคนอื่น ๆ ซอนตอไป 8. ขี่มา สงเมือง แบงผูเ ลนออกเปนสองฝาย แลวเลือกผูเ ลน 1 คน มาเลนเปนเจาเมือง ฝายที่เริ่ม กอนจะกระซิบชื่อใครคนใดคนหนึง่ ของอีกฝายใหเจาเมืองทราบ สวนอีกฝายก็เดินมากระซิบบาง ถาชื่อตรงกัน เจาเมืองจะบอกวา “โปง” คนกระซิบหมดกอนก็จะเปนฝายแพ ฝายที่ชนะก็จะขึ้นขี่หลังใหไปสงเมือง 9. กาฟกไข บางแหงเรียกกวา “ชิงไขเตา” ผูเลนเปนอีกาหรือเตาจะเขาไปอยูในวงกลมที่ขีดไว คน อื่น ๆ อยูนอกวงกลม พยายามแยงเอากอนหินทีส่ มมุติวาเปนไขมาใหได อีกาหรือเตาจะตองปองกัน ถาเตะ โดนตัวของคนไหน คนนั้นจะตองมาเลนเปนอีกาหรือเตาแทนทันที แตถาไขถูกแยงหมด อีกาหรือเตาจะตองไป ตามหาไขที่ผูอื่นซอนไว หากหาไมพบจะถูกจูงหูไปหาไขที่ซอนไว เปนการลงโทษ 10. งูกินหาง การละเลนนี้ตองมีพองูแมงู สวนผูเลนอื่น ๆ เปนลูกงู เอามือจับเอวแมงูเปนแถวยาว เริ่มเลนดวยการสนทนาระหวางแมงูกับพองู เมื่อสนทนาจบพองูจะพยายามไลจับลูกงู ถาแตะถูกลูกงูคนใด คน นั้นจะตองออกมาจากแถว แมงูจะตองปกปองลูกงู การหนีของลูกงูตองไมใหขาดตอนจากกัน ตองเลื้อยให สวยงามเปนกระบวนเหมือนงู 11. มอญซอนผา กําหนดใหใครคนหนึง่ เปน “มอญ” สวนคนอื่น ๆ นั่งลอมวงรองเพลงวา “มอญ ซอนผา ตุกตาอยูขางหลัง ไวโนนไวนี่ ฉันจะตีกนเธอ” มอญจะถือผาเดินรอบวงแลวแอบทิง้ ผา(สวนใหญจะใช ผาเช็ดหนา) ไวขางหลังผูเ ลนคนใดคนหนึง่ หากผูเ ลนคนนัน้ รูตัวกอน ก็จะหยิบผามาไลตีมอญ แลววิ่งมานั่งที่ เดิม แตถามอญเดินกลับมาอีกรอบหนึ่งแลวผูเ ลนคนนั้นยังไมรูตัว ก็จะถูกมอญเอาผาตีหลังและตองเลนเปน มอญแทน 12. ลิงชิงหลัก เลือกผูเลนคนหนึง่ สมมุติวาเปนลิงไมมหี ลัก ยืนอยูกลางวง ผูเลนที่เหลือยืนเกาะ หลักของตน (ใชคนสมมุติเปนหลักก็ได) อยูรอบวง กติกา คือ ผูเลนเปนลิงทีม่ ีหลักจะตองวิ่งสลับหลักเรื่อย ๆ ลิง ตัวที่ไมมีหลักก็จะตองพยายามแยงหลักของตัวอื่นใหได ถาวิ่งเร็วกวาก็จะได หลักไปครอง ลิงที่ชากวาก็จะ กลายเปนลิงชิงหลัก คอยแยงหลักคนอื่นตอไป 13. โพงพาง ตองเลนเปนกลุม ยิ่งมากยิ่งสนุก ผูเลนทุกคนตองรูจ ักชื่อกันเปนอยางดี มีผูเลนคน หนึ่งเอาผาผูกตายืนอยูตรงกลาง สมมุติวาเปน “เสือปลา” ผูเลนคนอื่น ๆ ลอมวงเดินหมุนไปทางเดียวกัน รองเพลงวา “โพงพางเอย นกยางเขารอบ เสือปลาตาบอด เขารอบโพงพาง” (เนื้อเพลงอาจ แตกตางกันไปตามแตละทองถิ่น) เมื่อจบแลว ใหปลอยมืออกจากกัน พรอมกับรองถามเสือปลาวา “จับเปน หรือจับตาย” ถาเสือปลาตอบวา “จับตาย” แปลวา หามขยับ แตถาตอบวา “จับเปน” ก็ขยับได หากเสือปลา จับตัวคนใดแลวทายชื่อถูก ผูนั้นจะตองกลายเปนเสือปลาแทน ถาไมถูกก็ใหทายใหม

37


14. รีรีขา วสาร ใหผูเลนสองคน ใชสองมือจับกัน แลวยกโคงขึ้นเสมือนซุมประตู ผูเ ลนที่เหลือเอา มือจับเอวเดินเปนแถวลอดประตูนั้นไป พรอมกับรองเพลงพรอมกันวา “รีรีขาวสาร สองทะนานขาวเปลือก (เด็กนอยตาเหลือก) เลือกทองใบลาน คดขาวใสจาน เก็บเบี้ยใตถุนราน พานเอาคนขางหลังไว” เมื่อถึงคําสุดทาย ซุมประตูกจ็ ะลดมือลง ดักจับตัวผูเลนทีเ่ ดินผานมา ผูเลนที่ถูกกักตัวจะถูกคัดออก หรืออาจจะ ถูกลงโทษดวยการใหรําหรือทําทาทางอะไรก็ได 15. ปดตาตีหมอ นิยมเลนเปนกลุม อุปกรณที่ใชในการเลน คือ หมอดิน และไมสําหรับตีหมอยาว พอประมาณ ซึ่งหมอดินเปนภาชนะที่หางาย ราคาถูก มีอยูเกือบทุกพื้นที่ โดยขณะตีจะมีผาปดตาไวกอนจะตี เด็ก ๆ จะนําหมอดินมาวางไวบนลานดิน แลวทดลองวัดระยะทางไวกอนวา จากจุดที่ยืนถึงหมอดินเปน ระยะทางกี่กาว กอนจะออกเดิน ผูเลนจะถูกจับมัดตาดวยผา แลวจับหมุนตัวเสียกอน 3 รอบ ใหหลงทิศทาง และเวียนศีรษะ ใครตีหมอดินถูกกอนจะเปนผูชนะ 16. เกาอี้ดนตรี เปนการละเลนที่นิยมทั้งเด็กและผูใหญ ไมจํากัดจํานวนผูเลน แตตองใชเกาอี้ใน การเลน โดยที่เกาอี้จะตองนอยกวาคนเลน 1 ตัวทุกครั้ง และตองเปดเพลงเวลาเลนดวย ผูเลนยืนเปนวงกลม หลังเกาอี้ พอเพลงขึ้นผูเลนตองรํา แตเมื่อเพลงจบเมื่อไหร ทุกคนตองรีบนั่งเกาอี้ คนไหนที่แยงเกาอี้ไมทัน เพื่อน ตองออกไปจากการแขงขัน และตองเอาเกาอี้ออกไป 1 ตัว ตามคนที่ออกไป จากนั้นก็ขึ้นเพลงใหม พอจบเพลงก็จะมีคนออกไปอีก 1 คน เลนแบบนี้จนกวาจะเหลือคนสุดทาย ก็จะเปนผูชนะ 17. วิ่งสามขา แบงผูเ ลนเปนคู ๆ โดยผูกขาขวาของคนหนึ่งเขากับขาซายของอีกคนหนึ่ง แลววิ่ง แขงกับคูอื่น ๆ บางครัง้ ทีมหนึ่งอาจมีหลายคนก็เปน วิ่งสี่ขา วิ่งหาขา ก็มี 18. วิ่งเปยว ผูเลนไมจํากัดจํานวน แบงออกเปน 2 ฝายเทา ๆ กัน โดยปกหลักทั้งสองขางหรือจะ ใชอะไรมาเปนหลักแทนก็ได ใหมีระยะหางกันประมาณ 50 เมตร เลือกกรรมการตัดสิน 1 คน เริ่มตนเลนพรอมกันทัง้ สองฝาย โดยตองวิ่งลอมหลักไลใหทันกัน ผูเ ลนแตละฝายตองถือผาคนละผืน พอวิ่งมาถึงฝายของตัวเอง ใหสงผาใหคนตอไป เลนแบบนีจ้ นวิ่งทันกัน ฝายที่ไลทันตองใชผาที่ถืออยูตีอีกฝาย หนึ่ง และใหถือวาฝายนั้นเปนผูชนะ 19. วิ่งกระสอบเปนการเลนชนิดหนึง่ ผูเ ลนแตละคนสวมกระสอบวิ่งแขงกัน ใครวิ่งถึงเสนชัยกอน เปนผูชนะ จะเลนเปนทีมละกี่คนก็ได หรือสงทีมละคนก็ได 20. ชักเยอ ใชเชือกเสนใหญยาวพอประมาณกับจํานวนผูเลน แบงผูเลนเปนสองฝาย มีเสนแดน ตรงกลาง เมือ่ สัญญาณเริ่ม ทั้งสองฝายจะเริ่มออกแรงดึงเชือก โดยพยายามดึงฝายตรงขามใหเขามาในแดนของ ตน หากผูแขงขันเปนชายหนึ่งฝายและหญิงฝายหนึ่ง อาจจะกําหนดใหฝายหญิงมีจํานวนมากกวาชายก็ได เปน การละเลนไทยสอนใหรจู ักความสามัคคีและเปนการออกกําลังกายไปในตัวดวย 38

38

-------------------------------------แหลงขอมูลเรื่องการละเลนไทย : แมพลอยจันทร, นามแฝง. (2550) การละเลนของเด็กไทย. กรุงเทพฯ : ซันไซล. วิเชียร เกษประทุม,รองศาสตราจารย. (2550) 100 การละเลนของเด็กไทย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพพัฒนาศึกษา. 38


บทที่ 9 อาหารไทย เครื่องปรุงและรสชาติอาหาร อาหารไทยไดรบั ความนิยมอยางแพรหลาย เพราะมีรสชาติเขมขน และมีเครื่องปรุงหลายอยาง 1. รสเค็ม อาหารไทยไดรสเค็มจากน้ําปลา แตบางครัง้ อาจใชเกลือ หรือซีอิ๊ว เปนเครือ่ งปรุงรสเค็ม ของอาหารแทนน้ําปลาก็ได 2. รสเปรี้ยว อาหารไทยไดรสเปรี้ยวจากมะนาว, มะขาม หรืออาจใชผลไมและพืชผักบางประเภท ตามแตจะหาไดในทองถิ่น บางครั้งอาจใช “น้ําสมสายชู” ก็ได อาหารประเภทยํา, ตํา, ตม, น้ําพริก และ น้ําจิ้มตาง ๆ มักจะมีรสเปรี้ยวนํา รสเปรี้ยวจึงเปนเสนหอยางหนึ่งของอาหารไทย 3. รสหวาน อาหารไทยไดรสหวานจากน้ําตาล น้ําตาลมีหลายประเภท เชน น้ําตาลทราย, น้ําตาลปบ ฯลฯ ซึ่งน้ําตาลแตละประเภท จะมีความหวานและความหอมที่แตกตางกัน 4. รสเผ็ด อาหารไทยไดรสเผ็ดจากพริกสด มีหลายชนิด เชน พริกขี้หนู, พริกชี้ฟา ฯลฯ โดยทั่วไปพริกที่มีขนาดเล็กจะเผ็ดกวาพริกที่มีขนาดใหญ บางครัง้ สามารถใชพริกปน เพิ่มรสเผ็ดแทนได นอกจากนี้ เครื่องปรุงรสและแตงกลิ่นของอาหารไทยยังมีอกี หลายอยาง เชน กะทิ, กะป, เตาเจี้ยว , น้ํามัน, น้ําพริกเผา, น้ํามันหอย, เตาเจี้ยว, พริกไทยเม็ด, พริกไทยปน, กระเทียม, หอมแดง, หอมใหญ, ขิง, ขา, ตะไคร, กะเพรา, โหระพา, ใบแมงลัก, สะระแหน, ใบมะกรูด, ตนหอม, ผักชี, รากผักชี ฯลฯ

ประเภทของอาหารไทย 1. อาหารคาว คือ อาหารที่รบั ประทานกับขาว เรียกวา “กับขาว” หรืออาหารจานเดียวก็ได มักทํา มาจากเนือ้ สัตว และผักตาง ๆ 2. อาหารหวาน คือ อาหารประเภทขนม สวนมากมีรสหวาน เปนอาหารทีร่ ับประทานหลังจากอาหารคาว 3. อาหารวาง คืออาหารที่รบั ประทานระหวางมือ เปนอาหารเบา ๆ มีทั้งอาหารคาวและอาหารหวาน

อาหารคาว แบงตามวิธีการประกอบอาหาร ไดดังนี้ 1. อาหารคาว ประเภทแกง แกง หมายถึง การผสมอาหารหลาย ๆ อยาง รวมกับน้าํ มีหลายประเภท ไดแก 1.1 แกงสม คือแกงที่ใชน้ําพริกแกงสม มีรสเปรี้ยว เค็ม และหวานเล็กนอย ใชผักที่มีตามทองถิ่นนั้น ๆ สวนเนื้อสัตวที่นํามาใชมักเปนอาหารทะเล 1.2 แกงคั่ว คือ แกงที่ตองใชเนื้อสัตวประเภทปลายาง ปลากรอบ หรือกุง แหง อยางใดอยางหนึ่งผสม กับเครื่องแกง เพื่อทําใหน้ําแกงขน มีกลิ่นหอมชวนรับประทาน แกงคั่วจะใชผกั เปนหลักเชน ผักบุง , สับปะรด, เห็ด, ฟกเขียว ฯลฯ สวนเนื้อปลา, กุง, หอย เปนสวนประกอบ แกงคั่วอีกชนิดหนึ่งเรียกวา ‘ฉูฉี่’ มีน้ําแกงขน 39


1.3 แกงเผ็ด เปนแกงที่ตองใชเนือ้ สัตวในการปรุงเปนหลัก มีผกั เปนสวนประกอบ เนือ้ สัตวที่นิยมนํามา ประกอบ ไดแก เนื้อ หมู ไก กุง และปลา สวนผักจะใชมะเขือออน, มะเขือพวง, ถั่วฝกยาว, หนอไม ฯลฯ ตกแตงดวยพริกชี้ฟาสีตาง ๆ ใบมะกรูด ใบโหระพา ปรุงรสดวยน้ําปลา ใหความเค็ม มีน้ําตาลเล็กนอย เพราะ แกงเผ็ดไดความหวานจากกะทิ - แกงเผ็ดที่ใสกะทิ ใชพริกแหงมีสีแดง เรียกวา ‘แกงเผ็ด’ - แกงเผ็ดที่ไมใสกะทิเรียกวา ‘แกงปา’ แกงเผ็ดที่ใชพริกสดสีเขียวเรียกวา ‘แกงเขียวหวาน’ แกงเผ็ดแบบมุสลิม ปรุงดวยเครื่องเทศ น้ําแกงขน มีรสเค็ม หวาน และออกเปรี้ยว เรียกวา ‘แกงมัสมั่น’ - แกงเผ็ดทีม่ ีน้ําขลุกขลิก หรือแหง ๆ เนื้อสัตวเคี่ยวจนนุม ปรุงรสเค็มและหวานเล็กนอย เรียกวา “แกงพะแนง” แกงที่ไดรับวัฒนธรรมอินเดีย ลดพริกแหง น้ําพริกตองเผาและคั่วจนหอม ไมใสพริกไทย เพิ่มขิง และผงกะหรี่ ปรุงรสเค็มและหวานเล็กนอย เรียกวา “แกงกะหรี่” 1.4 แกงเลียง คือ แกงที่ใสพริกไทย หัวหอมแดง กะป กุงแหงปน หรือปลากรอบ มีรสเค็ม หวาน และ เผ็ด ผักที่นิยมใสที่สามารถบอกลักษณะวาเปนแกงเลียง คือ “ใบแมงลัก” มีกลิ่นหอมนารับประทาน 1.5 แกงจืด คือ แกงทีม่ ีลกั ษณะน้ําใส มีรสจืด อาจมีรสเค็มหรือรสหวานเล็กนอย เปนอาหารที่ตอง รับประทานรอน ๆ จึงจะอรอย 1.6 ตมยํา คือ แกงที่มรี สเปรี้ยว เค็ม และเผ็ดปานกลาง-เผ็ดมาก ใชเนื้อสัตวเปนหลัก ถาไมใชกะทิ เรียกวา “ตมยําน้ําใส” แตถาใสกะทิ จะเรียกวา “ตมยําน้ําขน” สวนผักทีส่ ามารถบอกลักษณะไดวาเปนตมยํา คือ ตะไคร ใบมะกรูด ฯลฯ 1.7 ตม คือ แกงที่มีรสหวาน เค็ม และเปรี้ยว มีทั้งที่ใสกะทิและไมใสกะทิ เชน ตมสม ตมโคลง ฯลฯ 2. อาหารคาว ประเภทผัด ผัด หมายถึง การประกอบอาหารใหสุกโดยใชน้ํามัน ใชระยะเวลาสั้น ใชไฟแรง เมื่อสุกแลว จะมีลักษณะแหง มีน้ําขลุกขลิก มี 2 ประเภท ไดแก 2.1 ผัดที่มีรสเผ็ด คือ ผักที่ใชพริกแกง หรือพริกสด เปนสวนประกอบ เชน ผัดเผ็ดหมู ผัดกะเพรา ผัดขี้เมา ผัดฉา ฯลฯ 2.1 ผัดที่ไมเผ็ด อาจจะใชผักเปนหลัก เชน ผัดถั่วงอก, ผัดผักคะนา ผัดผักบุง ฯลฯ หรือใชเนือ้ สัตว เปนหลัก เชน ไกผัดขิง ไกผัดเม็ดมะมวงหิมพานต, ผัดวุนเสน, ผัดเปรี้ยวหวาน, ปูผัดผงกะหรี่ ฯลฯ 3. อาหารคาว ประเภทยํา ยํา หมายถึง การประกอบอาหารดวยการใชผักและเนื้อสัตวที่สุกแลว มาผสมกันดวยน้ํายํา แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก 40


3.1 ยํา คือ การคลุกเคลาเนื้อสัตวที่สกุ และผักเขาดวยกัน มี 4 รส คือ เปรี้ยว เค็ม หวาน และเผ็ด การยํามีหลากหลายชนิด เชน ยําใหญ ยําวุนเสน ยําปลาดุกฟู, ยําผักกระเฉด, ยําถั่วพู, ยําหมูยอ, ฯลฯ โดยเฉพาะอาหารยอดนิยมคือ “สมตํา” ทําจากมะละกอ มีหลายชนิด แตที่นิยมคือ “สมตําไทย” ไมใสปูและ ปลารา แตใสกุงแหงและถั่วลิสงคั่วแทน รสชาติออกหวานและเปรี้ยวนํา มีผกั สดเปนเครื่องเคียง รับประทาน พรอมกับ ซุปหนอไม, ลาบ, น้ําตก , ไกยาง , ขาวเหนียว ฯลฯ 3.2 พลา คือ การนําผักและเนื้อสัตวดิบ หรือสุก ๆ ดิบ ๆ นํามาผสมกับน้ําปรุงรส ใสตะไครและ ใบสะระแหน เชน พลากุง พลาเนื้อ ฯลฯ 33

33

33

33

33

33

4. อาหารคาว ประเภททอด ทอด คือ การประกอบอาหารใหสุกเหลืองหรือกรอบ ดวยการใชน้ํามัน แบงเปน 2 ประเภท ไดแก 4.1 การทอดแบบแหงกรอบ จะทอดจนเหลืองกรอบ เชน กุงชุบแปงทอด ฯลฯ 4.2 การทอดแบบแหงนุม จะทอดใหมีสเี หลือง เนื้อนุม ไมไหม เชน ไกทอด ปลาทอด ทอดมัน ฯลฯ 5. อาหารคาว ประเภทนึ่ง ตุน และอบ นึ่ง คือ การประกอบอาหารใหสุกดวยการใชไอน้ํารอนในหวดหรือลังถึง เชน ปลานึ่งมะนาว หอหมก ฯลฯ ตุน คือ การประกอบอาหารใหสุกดวยการเอาอาหารใสภาชนะวางในภาชนะที่มีน้ํา แลวเอาฝาครอบ ตั้งไฟใหน้ําเดือด หรือการเคี่ยวเนื้อสัตวใหเปอย เชน ไขตุน, ไกตุนมะนาวดอง ฯลฯ อบ คือ การประกอบอาหารใหสุกดวยการใชไอความรอน เชน เปดอบ ฯลฯ 6. อาหารคาว ประเภทปงและยาง ปง คือ การประกอบอาหารใหสกุ ดวยการวางไวเหนือไฟ มักเปนอาหารแหง ใชเวลานอยกวายาง ยาง คือ การประกอบอาหารใหสกุ หรือแหงดวยการวางไวเหนือไฟ มักเปนอาหารสด ใชเวลานานกวาปง 7. อาหารคาว ประเภทเครื่องจิ้ม เครื่องจิ้ม หมายถึง อาหารที่มลี ักษณะแหงหรือมีน้ําเล็กนอย มีรสจัด รับประทานพรอมกับผักหรือ ของแนมตาง ๆ ไดแก 7.1 น้ําพริก คือ อาหารที่นําสวนผสมมาโขลกเขาดวยกัน แลวปรุงรส มีหลายชนิด เชน น้ําพริกกะป น้ําพริกหนุม น้ําพริกมะขาม น้ําพริกออง ฯลฯ 7.2 หลน คือ อาหารที่มีลกั ษณะขน มีสวนผสมของกะทิ มีเนื้อสัตวประกอบ เชน หลนปูเค็ม เตาเจี้ยวหลน ฯลฯ 7.3 ของแนม คือ อาหารที่ตองรับประทานควบคูกับเครื่องจิม้ เชน ผักสดชนิดตาง ๆ หรือเนื้อสัตวที่ สุกแลว

41


นอกจากอาหารคาวดังกลาวแลว ยังมีอาหารประเภท “อาหารจานเดียว” ที่ไดรับความนิยม คอนขางมาก เพราะหารับประทานงาย รวดเร็ว ไดแก 1) อาหารจานเดียวประเภทขาว เชน ขาวผัด, ขาวตม, ขาวขาหมู, ขาวคลุกกะป, ขาวหมูแดง, ขาวหมูกรอบ, ขาวมันไก, ขาวหนาเปด, ขาวหมกไก ฯลฯ 2) อาหารจานเดียวประเภทเสนกวยเตี๋ยว มีหลายลักษณะใหเลือกตามความชอบ เชน เสนหมี,่ เสนเล็ก, เสนใหญ, วุนเสน, บะหมี,่ เกี๊ยมอี,๋ เกี๊ยว, มามา ฯลฯ สามารถนํามาทําอาหารจานเดียวไดหลายชนิด เชน ผัดไทย, ผัดซีอิ๊ว, ราดหนา, เย็นตาโฟ, กวยจั๊บ, สุกี้ ฯลฯ 3) อาหารจานเดียวประเภทเสนขนมจีน ประกอบดวย ‘เสนขนมจีน’ และ ‘ น้ํายา ’ เปนที่นิยม ทุกทองถิ่นของไทย แตมีการปรุงน้ํายาที่แตกตางกันไป เชน ขนมจีนน้ํายากะทิ ขนมจีนน้ํายาปา น้ําจีนน้ําเงี้ยว ขนมจีนแกงไตปลา ขนมจีนแกงเขียวหวาน ขนมจีนซาวน้ํา ฯลฯ 4) อาหารจานเดียวอื่น ๆ เชน หอยทอด, กระเพาะปลา ฯลฯ 33

33

33

33

33

33

33

33

33

33

อาหารพืน้ บานภาคตาง ๆ ของไทย 1. อาหารภาคเหนือ คนไทยภาคเหนือรับประทานขาวเหนียวเปนหลัก มีน้ําพริกชนิดตาง ๆ เชน น้ําพริกหนุม น้ําพริกออง ฯลฯ นิยมรับประทานกับผักสดและแคบหมู และมีแกงหลายชนิด เชน แกงออม แกงฮังเล แกงโฮะ ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีขาวซอย ขนมจีนน้ําเงี้ยว และไสอั่ว ที่ไดรับความนิยมอยางแพรหลาย 2. อาหารภาคอีสาน คนไทยภาคอีสานนิยมรับประทานขาวเหนียว อาหารสวนใหญมรี สชาติเผ็ด เค็ม และเปรี้ยว เครื่องปรุงสําคัญที่แทบจะขาดไมไดเลย คือ “น้ําปลารา” ชาวอีสานเรียกวา “ปลาแดก” เปน สวนประกอบหลักของอาหารทุกประเภท เชน ลาบ กอย หมก ออม แจว ตมสม ซุปหนอไม ฯลฯ อาหารจะมีลักษณะแหง ขน หรือมีน้ําขลุกขลิก ไมนิยมใสกะทิ รสชาติอาหารจะเขมขนเผ็ดและเปรี้ยวจัด 3. อาหารภาคกลาง คนไทยภาคกลางนิยมรับประทานขาวสวยเปนหลัก มักมีน้ําพริกและผักสด ตาง ๆ รสชาติของอาหารมีทุกรสชาติ ทั้งรสเค็ม เผ็ด เปรี้ยว และหวาน ตามแตชนิดของอาหาร นิยมใชเครื่องเทศแตงกลิ่นรสและใชกะทิเปนสวนประกอบของอาหาร อาหารบางอยางจะประดิษฐใหสวยงาม โดยเฉพาะ “อาหารชาววัง” 4. อาหารภาคใต มีลักษณะการผสมผสานกับระหวางอาหารไทยกับอาหารอินเดียใต นิยมการใช เครื่องเทศในการปรุงอาหาร อาหารของภาคใตจะมีรสเผ็ดกวาอาหารภาคอื่น ๆ แกงที่มีชื่อเสียงของภาคใต คือ แกงเหลือง และแกงไตปลา สวนเครื่องจิ้ม คือ “น้ําบูดู” ซึ่งนิยมนํามาคลุกขาวเรียกวา “ขาวยําน้ําบูดู”

42


อาหารหวาน (ขนมไทย) ขนมไทย เปนเอกลักษณดานวัฒนธรรมประจําชาติไทยอยางหนึง่ ที่เปนทีร่ ูจักกันดี เพราะเปนสิ่งที่ แสดงใหเห็นถึงความละเอียดออนประณีตในการทํา ตั้งแตวัตถุดิบ วิธีการทําที่กลมกลืนพิถีพิถันในเรือ่ งรสชาติ สีสัน ความสวยงาม กลิ่นหอม รูปลักษณะชวนรับประทาน ตลอดจนกรรมวิธีการรับประทาน ขนมแตละชนิด ซึ่งยังแตกตางกันไปตามลักษณะของขนมชนิดนั้น ๆ สวนผสมของขนมไทย 1. ขาวและแปง มีหลายชนิด เชน - แปงขาวเจา สําหรับขนมที่ตองการความรวน ไมเหนียวหนืด - แปงขาวเหนียว สําหรับขนมที่ตอ งการความเหนียว - แปงมันสําปะหลัง สําหรับขนมที่ตองการความเหลว เหนียวและหนืด มีลักษณะใส ซึ่ง มักใชรวมกับแปงชนิดอื่น ๆ เพื่อใหขนมมีความเหนียวนุม - แปงขาวโพด สําหรับขนมที่ตองการความขนอยูตัว มีลักษณะขนและใส มันวาว ไมคืน ตัวงาย - แปงถั่วเขียว สําหรับขนมที่ตองการความใสอยูตัว และคอนขางเหนียว - แปงทาวยายมอม สําหรับขนมที่ตองการความขนเหนียว เปนมันวาว - แปงสาลี มีหลายชนิด สําหรับขนมที่ตองการความรวน ไมอยูตัว 2. มะพราวและกะทิ “มะพราวออน” จะใชเนื้อผสมในขนม “มะพราวทึนทึก” จะขูดฝอยเอาไว โรยหนาขนม สวน “มะพราวแก” จะนํามาคั้นเปนกะทิกอนใสในขนม นําไปทําเปนขนมไดหลายชนิด 3. ไข เปนสวนผสมสําคัญของขนมไทยหลาย ๆ ชนิด นิยมใชไขแดง ทําขนมตาง ๆ เพื่อใหมีสี เหลืองทอง 4. น้ําตาล นิยมใชน้ําตาลจากลูกตาลหรือมะพราว บางทองถิ่นอาจใชน้ําตาลจากออย ปจจุบัน นิยมใชน้ําตาลทรายแทน 5. ถั่วและงา เปนสวนผสมสําคัญในขนมไทย มีหลายชนิด เชน ถั่วเขียว ถั่วดํา ถั่วลิสง งาดํา งาขาว ฯลฯ 6. กลวย เปนผลไมไทยสารพัดประโยชน ใชเปนทั้งเนื้อขนมและไสขนมหลายชนิด ในขนมไทย สวนใหญนิยมใช “กลวยน้ําวา” 7. สี ขนมไทยมีหลายสี เปนสีที่ไดจากธรรมชาติ เชน สีเขียวจากใบเตย สีน้ําเงินและสีมวงจาก ดอกอัญชัญ สีเหลืองจากขมิ้น สีแดงจากครัง่ สีดําจากกาบมะพราวเผาไฟ ฯลฯ แตในปจจุบันนิยมใชสผี สม อาหารแทน 8. กลิ่น ความหอมเปนเสนหอยางหนึง่ ของขนมไทย ไดมาจากธรรมชาติ เชน กลิ่นดอกมะลิ กลิ่นดอกกะดังงา กลิ่นใบเตย กลิ่นเทียนอบ ฯลฯ

43


ขนมไทยที่ไดรับความนิยม ขนมไทยมีหลากหลายชนิด แตละภูมิภาคของประเทศไทยจะมีลักษณะแตกตางกันไป ในที่นี้ขอ ยกตัวอยางขนมไทยที่เปนทีร่ ูจกั กันอยางแพรหลาย แบงตามวัตถุดิบหลักที่ใชในการทํา ไดแก 1. ขนมไทยที่ทําจากไข เชน ฝอยทอง, ทองหยิบ, ทองหยอด, เม็ดขนุน, ทองเอก, จามงกุฎ, เสนหจันทน, สังขยาฟกทอง, ขนมหมอแกง ฯลฯ 2. ขนมไทยที่ทําจากขาว แปงและน้ําตาล เชน ขนมน้าํ ดอกไม, ขนมเปยกปูน, ขนมถวยฟู, ขนมชั้น, ขนมปุยฝาย, ขนมขี้หนู, ขาวเมาคลุก, ขนมดวง, ขนมกลีบลําดวน, ขนมผิง, ขนมอาลัว ฯลฯ นอกจากยังยังมีประเภทที่ตอ งนํามาทอดใหเหลืองกรอบ เชน ขนมกง, ขนมดอกจอก, ขนมนางเล็ด ฯลฯ 3. ขนมไทยที่ทําจากขาวเหนียว เชน ขาวตมมัด, ขาวเหนียวสังขยา, ขาวเหนียวแกว , ขาวเหนียว แดง, ขาวเหนียวมะมวง, ขาวหลาม ฯลฯ 4. ขนมไทยที่ทําจากวุนและน้ําตาล เชน วุนกะทิ, วุนกรอบ ฯลฯ นอกจากนี้ยงั นําวุนมาเคลือบ ขนมบางชนิด เชน ลูกชุบ 5. ขนมไทยที่ทําจากมะพราว เนื้อมะพราวนํามาเปนสวนผสมหลักของขนมไทยหลายชนิด เชน มะพราวแกว ขนมบาบิ่น ขนมจาก ฯลฯ อีกทั้งสวน “น้ํากะทิ” ยังเปนสวนประกอบหลักของขนมไทยหลาย ชนิดเชนกัน เชน กลวยบวชชี, ฟกทองแกงบวด, ถั่วดําแกงบวด, มันแกงบวด, ลอดชองน้ํากะทิ, ซาหริ่ม, ครองแครงน้ํากะทิ, ทับทิมกรอบ , บัวลอย ฯลฯ 6. ขนมไทยที่ทําไสขนมไวดานใน สวนใหญไสขนมจะทํามาจากมะพราว น้ําตาล หรือถั่วกวน เชน ขนมสอดไส, ขนมตมขาว, ขนมตมแดง, ขนมโค, ขนมเทียน, ถั่วแปบ ฯลฯ 7. ขนมไทยที่ทําใจเนื้อของพืชหรือผลไม เชน ขนมกลวย, ขนมฟกทอง, ขนมมันสําปะหลัง, ขนมตาล, จาวตาลเชื่อม, ถั่วกวน ฯลฯ 26

ปจจุบันคนไทยหันมานิยมใชขนมไทย เปนของขวัญของฝากในนานาเทศกาล ไมวาจะเปนวันขึ้น ปใหมไทยหรือสากล วันคลายวันเกิด วันขึ้นบานใหม วันเกษียณอายุราชการ ฯลฯ ขนมไทยมีหลายความหมาย ใหเลือกใชตามเทศกาลตาง ๆ เชน • ขนมชั้น หมายถึง ความเจริญกาวหนาในการงาน การเลือ ่ นตําแหนง • ขนมจามงกุฎ หมายถึง ความเจริญกาวหนา ไดเปนหัวหนา เลื่อนยศตําแหนง • ขนมถวยฟู หมายถึง ความเจริญรุงเรือง เฟองฟู • ขนมทองเอก หมายถึง ความเปนทีห ่ นึ่ง • ขาวเหนียวแกว หมายถึง ความดีประเสริฐ ดุจดังแกว • ขนมเสนหจันทน หมายถึง ความมีเสนหดจ ุ พระจันทรวันเพ็ญ • ขนมเม็ดขนุน หมายถึง การเกื้อหนุน ค้ําจุน • ขนมกง หมายถึง ความสุขความเจริญ ความมั่นคง • ขนมตาล หมายถึง ความหวานชื่น ชีวิตที่ราบรื่น 44


อาหารวาง อาหารวาง หมายถึง อาหารรับประทานเลนระหวางอาหารมื้อหลัก มีทั้งอาหารคาวและอาหาร หวาน มีชิ้นพอคํา จัดใสภาชนะทีส่ วยงาม หยิบรับประทานงาย ใชรับประทานควบคูกบั เครื่องดื่มรอนหรือ น้ําผลไมอยางใดอยางหนึ่ง หากแบงตามวิธีการทําจะแบงไดดังนี้ 1. อาหารวางประเภทตมหรือนึ่ง เชน สาคูไสหมู, ขาวเกรียบปากหมอ, ชอมวง, ขนมจีบ , ขาวเหนียวหนาตาง ๆ ฯลฯ 2. อาหารวางประเภทผัดหรือทอด เชน กระทงทอง, ถุงทอง, หรุม, ลาเตียง, ปนสิบ, ฮอยจอ, ปอเปยะ, หมี่กรอบ ฯลฯ 3. อาหารวางประเภทปงหรือยาง เชน หมูสะเตะ

ผลไมของไทย ในประเทศไทยมีผลไมจํานวนมาก หาซื้องาย ราคาถูก บางชนิดออกตามฤดูกาล แตบางชนิดมี ตลอดทั้งป สามารถสรุปผลไมสําคัญ ๆ ของไทย ไดดังนี้ 1. กลวย 11. มังคุด 2. สม 12. ชมพู 3. ทุเรียน 13. นอยหนา 4. ขนุน 14. มะปราง 5. แตงโม 15. ลองกอง 6. ฝรั่ง 16. ละมุด 7. มะมวง 17. ลําไย 8. มะละกอ 18. ลิ้นจี่ 9. สับปะรด 19. สละ 10. เงาะ 20. องุน

45


บทที่ 10 ความเชื่อ (Belief) ความเชื่อ คือ การยอมรับสิง่ ใดสิง่ หนึง่ วามีอยูจริง ซึง่ สังคมไทยมีความเชื่ออยูห ลายลักษณะ แมวาความเชื่อบางอยางจะไมสามารถพิสจู นไดวาเปนความจริงก็ตาม แตคนก็ยังยึดถือและเชื่อวาหากปฏิบัติ ตามจะเกิดผลดีแกชีวิต แตหากไมปฏิบัติอาจเกิดผลรายได

สาเหตุของความเชื่อ ความเชื่อเกิดมาจากการคนหาคําตอบของเรื่องที่มนุษยยังไมรู และเมื่อมีสิ่งใดมาสอดคลองกับ ความรูสึกดัง้ เดิมที่เคยมีอยูก ็จะตกลงเชื่อในทันที พอจะสรุปสาเหตุของความเชื่อได ดังนี้ 1. เกิดจากความกลัวหรือความไมรูของมนุษย ที่ไมสามารถหาเหตุผลมาอธิบายปรากฏการณ ตาง ๆ ทางธรรมชาติทเี่ กิดขึ้นได เชน ทําไมฝนจึงตก ทําไมฟาจึงผา เปนตน จึงทําใหมนุษยเกิดความกลัวและ เชื่อวาเปนสิ่งลึกลับที่กระทําขึ้น มนุษยจึงสมมุติใหมีเทพประจําสิง่ ตาง ๆ เชน พระพิรุณ พระพาย พระเพลิง ฯลฯ แลวทําพิธีบูชาเซนสรวงเพื่อใหเกิดสิรมิ งคล แตเมื่อมนุษยไดพัฒนาการขึ้น มนุษยสามารถหาเหตุผลมา อธิบายได ความเชื่อในสิ่งเหลานี้จงึ เสื่อมคลายลง 2. เกิดจากการที่มนุษยมีพัฒนาการขึ้น แลวตองการใหสังคมเกิดความเปนระเบียบ เรียบรอย มนุษยจึงตั้งความเชื่อขึ้นมาโดยมีเหตุผลตาง ๆ แฝงไวในความเชื่อ ไดแก 2.1 ความเชื่อที่ตองการใหสงั คมเปนระเบียบเรียบรอย เชน ฉี่รดตนไมใหญ รุกขเทวดาจะ โกรธ ทั้งนี้เพื่อตองการใหขับถายใหเปนทีเ่ ปนทางไดอยางถูกตอง ถาหวีผมตอนกลางคืนผีจะมา ทั้งนีเ้ พื่อ ไมใหไปเทีย่ วกลางคืน เปนตน 2.2 ความเชื่อที่ตองการใหคนมีมารยาท มีความละเอียดรอบคอบ เชน ตําครกแตกจะไมได แตงงาน ถอดผานุงเปนวงทิ้งไวจะเปนเสนียด เปนตน 2.3 ความเชื่อที่ตองการใหมสี ุขภาพอนามัยและความปลอดภัย เชน ไมใหพาเด็กที่ ฟนยังไม งอกเขาไปใตถุน เดี๋ยวฟนจะไมงอก หามปลูกมะพราวใกลบานเชื่อวาจะไมดี คนทองหามอาบน้ําเวลากลางคืน จะแฝดน้ํา เปนตน 2.4 ความเชื่อที่ตองการผลทางจิตใจ เชน นุงผาใหมวันจันทรจะมีเสนห หรือใหนงุ ผาสีตามวัน จะเกิดมงคล เปนตน 2.5 ความเชื่อที่ตองการผลอื่น ๆ เชน หวงน้ําทองจะมาน ไมใหเคาะหัวแมว เพราะเมื่อแกหัว จะสั่นเหมือนแมว ตนไมออกผลหามชี้เพราะผลจะเนา เปนตน

46


ลักษณะของความเชื่อ ความเชื่อที่ปรากฏในสังคมไทยมีมากมายหลายประเภท ซึ่งความเชื่อบางอยางสามารถหาเหตุผล อธิบายได แตความเชื่อบางอยางไมสามารถหาเหตุผลมาอธิบายได ดังนั้นความเชื่อที่ปรากฏในสังคมไทยมี 2 ลักษณะ คือ 1. ความเชื่อแบบไมมีเหตุผล เนื่องจากความกลัวและความไมรู ทําใหมนุษยเกิดความเชื่อและ แสดงพฤติกรรมตอสิง่ นั้น ๆ โดยคิดวาจะชวยทําใหตนเองมีความสุขได บางคนอาจมองวาความเชื่อประเภทนี้ เปน “ความงมงาย” ตัวอยางเชน - การที่มนุษยกราบไหวบูชาและพันผาใหตนไมใหญ ๆ ดวยเขาใจวาตนไมมีเทพเจาสิงสถิตอยู - การเชื่อวาตนวาน ‘นางคุม’ จะชวยคุมครองปองกันเภทภัยตาง ๆ ได การเชื่อวาวันพระจันทรเต็มดวง หามใชนิ้วชี้เด็ดขาด มิฉะนั้นจะเกิดอาเพศแกครอบครัว การเชื่อวาหลังจากคนตายแลว 3 วัน วิญญาณของคนตายจะมาหา การเชื่อวาถาหญิงมีครรภทกั ดาวตก จะทําใหดวงวิญญาณของทารกตกเขาทองสุนัข การเชื่อวาเอานิ้วชี้รุงกินน้ํา นิ้วมือจะกุด - ฯลฯ 2. ความเชื่ออยางมีเหตุผล เปนความเชื่อที่มเี หตุผลนาเชื่อถือ โดยเชื่อวาถาทําอยางที่เชื่อแลวจะ เกิดผลอยางนั้นจริง เชน เชื่อวาปลูกตนไมใหญไวใกลบานไมดี เพราะรากของตนไมจะชอนไช เขามาในบานหรือกิ่งของ ตนไมใหญจะหักลงมาทับบาน เชื่อวาสตรีมีครรภไมควรยืนขวางบันได เพราะจะทําใหกดี ขวางคนขึ้นลงบันได และสตรีนั้นอาจ ตกบันไดลงมาได หามกวาดบานเวลากลางคืน เพระจะมองอะไรไมเห็น อาจจะกวาดสิง่ ของมีคาทิ้งไป หามปลูกตนไมเลื้อยขึ้นหลังคาบาน เพราะสัตวพิษอาจมาอาศัยทํารัง เปนอันตรายแกคนได เชื่อวาเวลากลางคืนไดยินเสียงรองเรียกจากคนไมคุนเคย หามขานรับ เปนการปองกันคน ๆ นั้น คิดทํารายได เชื่อวาผูใหญจบั แกมเด็กทารก จะทําใหเด็กนั้นไมกินขาว เพราะเด็กยังบอบบาง หากถูกมือทีม่ ี เชื้อโรค จะทําใหไมสบายได หามออกจากบานเวลาเที่ยงวัน เพราะพระอาทิตยอยูตรงศีรษะพอดี ทําใหอากาศรอนจัด อาจ ไมสบายได เชื่อวาหุนไลกากลางทองนา จะดูแลขาวกลาแทนชาวนาได เพราะเมื่อลมพัดมา หุนไลกาจะ โยกไหว ทําใหนกกาตกใจ บินหนีไป เชื่อวาการตัดเล็บตอนกลางคืน เปนการแชงพอแม เพราะสมัยโบราณอาศัยแสงสวางจาก ตะเกียงหรือคบไต แสงสวางนอย อาจทําใหตัดเล็บแลวโดนนิ้วมือ เปนแผลได - ฯลฯ 47


ประเภทของความเชื่อ ความเชื่อทั้งหลายสามารถแบงไดหลายลักษณะตามแตจะจัดประเภท ในที่นี้จะกลาวถึงบาง ประเภททีเ่ ปนทีร่ ับรูกันทั่วไปในสังคมไทย ดังนี้ 1. ความเชื่อเกี่ยวกับปรากฏการณทางธรรมชาติ เมื่อเกิดปรากฏการณทางธรรมชาติตาง ๆ มนุษยจึงพยายามหาบางสิง่ บางอยางมาอธิบาย เชน - เชื่อวาฟาผา เกิดจากรามสูรขวางขวานลงมาสูดิน - เชื่อวาฟารอง เกิดจากรามสูรโกรธจัด จึงขวางขวานไปในอากาศ - เชื่อวาสุริยคราส เกิดจากอสูรตนหนึง่ (ราหู) อมดวงอาทิตยไว - เชื่อวาจันทรคราส เกิดจากอสูรตนหนึ่ง(ราหู) อมดวงจันทรไว เรียกวา ราหูอมจันทร ผูคนตองตีเกราะเคาะไมเพือ่ ใหคายดวงจันทร - วันพระจันทรเต็มดวงหามใชนิ้วชี้ ถาไมเชื่อนิ้วจะกุด 2. ความเชื่อเกี่ยวกับยากลางบาน เมื่อมนุษยเจ็บไขไดปวย ก็หาพืชสมุนไพรมาใชรักษาโรค คน สมัยโบราณจะมีความรูในเรื่องนี้เปนอยางดี แตคนในปจจุบนั อาจไมรจู ัก เชน - ยอดฝรั่ง สามารถนํามากินแกทอ งเดิน - เปลือกแค สามารถนํามาเคี้ยวแกปากนกกระจอก - ใบตําลึง สามารถนํามาทาผิวหนังแกคัน เพราะสัมผัสถูกใบตําแย 3. ความเชื่อเกี่ยวกับโชคลาง คือ สิ่งที่ปรากฏใหเห็นเพื่อบอกเหตุรายหรือเหตุดี ซึ่งคนไทยเชื่อวา สิ่งตาง ๆ รอบตัวสามารถบอกเหตุการณได เชน - นกแสกบินมาเกาะหลังคาบานเปนลางราย จะมีคนปวยหนักหรือตาย - จิ้งจกทักหามออกเดินทางหรือคิดทําอะไรใหลมเลิก เพราะเปนลางราย - จิ้งจกตกลงมาตายตอหนาเปนลางไมดี ออกจากบานจะเกิดเหตุราย - ถามีสัตวตกตรงหนาและไมตายจะใหโชคลาภ - ตุกแกรองกลางวันภายในบานไมเกิน 7 ครั้ง จะเกิดเหตุรายในครอบครัว - งูขึ้นบาน เปนลางบอกเหตุราย - การองหลายตัว วนเวียนไปมา เปนลางบอกเหตุราย - แมงมุมตีอกจะเกิดลางราย - นกถายมูลรดศีรษะจะเคราะหราย ใหหยุดการเดินทางทันที - เตาเดินเขาบาน จะถือวามีโชคมีลาภ - มือชนกันขณะกินขาว จะมีแขกมาเยือน - สางผมแลวหวีหกั โชคมักไมดี มีแตเรื่องทุกข

48


4. ความเชื่อเกี่ยวกับฤกษยาม ถือวาเปนสิง่ สําคัญเพื่อเปนสิริมงคลแกตนเอง การจะเลือกวัน มงคลตองดูขอหามวันตาง ๆ ดังคํากลาววา “ขึ้นบานวันเสาร เผาผีว ันศุกร โกนจุกวันอัง คาร แตงงานวันพุธ พุธหามตัด พฤหัสหามถอน” ซึ่งแตละวันจะมีความหมายในแงความเชื่อ ดังนี้ - หามขึ้นบานใหมวันเสาร เพราะเชื่อวาวันเสารเปนวันเหนื่อย วันแหงความทุกข คนโบราณจึงหามไมใหประกอบพิธเี กี่ยวกับการปลูกสราง บานเรือน เชน การยกเสาเอก วางศิลาฤกษ เปดปายอาคาร เปดราน เปดบริษัท หรือแมกระทั่งการยายเขาสูบานใหมในวันเสาร - หามเผาผีวันศุกร เพราะเสียงของคําวา “ศุกร” พองกับเสียงของคําวา “สุข” จึงเชื่อ วาถาเอาความสุขไปใหคนตาย ความทุกขทั้งหลายจะตกอยูก ับคนเปน หามโกนจุกวันอังคาร เพราะเชื่อวาวันอังคารเปนวันแรง จึงเหมาะกับการออกรบหรือ งานที่ตองการความแข็งแกรง ถาตองการความรมเย็น ผาสุก จึงไมควรจัดงานอังคาร เชน การโกนจุก การขึ้น บานใหม มงคลสมรส เปนตน เพราะถาหากนําวันนี้ไปใชแลวก็อาจจะมีการทะเลาะวิวาทกัน หรือมีอบุ ัติเหตุ เกิดขึ้นก็ได เพราะดาวอังคารยังจัดเปนดาวแหงอุบัติเหตุ อีกดวย - หามแตงงานวันพุธ เพราะดาวพุธเปนดาวแหงความแปรปรวน ไมแนนอน เดี๋ยวดี เดี๋ยวราย จึงหาความมั่นคงไมได ดังนั้นจึงไมใชวันนี้ประกอบพิธีแตงงาน เพราะอาจจะทําใหคูบาวสาวมี จิตใจที่โลเล ไมมั่นคงกับคูครองของตนเอง ซึง่ จะนําพาไปสูก ารนอกใจและหยารางกันในที่สุด - หามตัดวันพุธ และหามถอนวันพฤหัสบดี เพราะวันพุธเปนวันแหงการเจริญเติบโต ถาตัดผมวันพุธจะทําใหปญญาทราม สวนวันพฤหัสนั้นเปนวันครูเปนวันที่นิยมเรียนวิชา ทําใหมีความเจริญกาวหนา รุง เรือง ดังนั้นไมควรถอนหรือโคนทําลายสิง่ ใด ๆ ก็ตาม 5. ความเชื่อเกี่ยวกับความฝน คนไทยถือวา ความฝนเปนสิ่งทีส่ ะทอนถึงชีวิตในอนาคต เชน - ฝนวาถูกงูรัด แสดงวาจะไดคูครอง - ฝนวาไดแหวน จะไดลูกสาว - ฝนวาเห็นพระ จะไดลูกชาย - ฝนวาฟนหัก ญาติจะปวยหนัก - ฝนวาเห็นคนตาย แสดงวามาขอสวนบุญ - ฝนวาไดเตา จะไดขาทาสบริวารหรือไดบุตรภรรยา - ฝนวาของหาย จะตองจากทีอ่ ยู - ฝนวาเดินขามสะพาน ทําอะไรจะสําเร็จทุกทาง - ฝนวาผมรวง จะถึงคราวเคราะหราย - ฝนเห็นน้ําทวม จะตองยายบาน - ฝนวาอาบน้ํา แสดงวาจะหายจากโรคภัยไขเจ็บ - ฝนวาขี่เสือ จะไดไปแดนไกล - ฝนเห็นจระเข จะมีโชคลาภ 49


6. ความเชื่อเกี่ยวกับเครื่องรางของขลัง เวทมนตรคาถา ลวนเปนเรื่องเกี่ยวกับไสยศาสตร ที่ สงผลใหเกิดความหวาดกลัวหรือาจสรางความขวัญกําลังใจได - เครื่องรางของขลัง เปนสิง่ ของเฉพาะอยางที่มีอํานาจ หากใครมีไวครอบครองจะเกิด ความมั่นใจ รูสกึ วาชีวิตนเองปลอดภัย สามารถชวยปองกันภยันอันตรายได เชน ผายันต ตะกรุด ลูกประคํา เขี้ยวหมูปา ฯลฯ - เวทมนตร และคาถาอาคมตาง ๆ เปนถอยคําอันศักดิ์สิทธิ์ มีพลังอํานาจในการดล บันดาล อาจทําใหคนรักคนหลงได ทําใหหลงลืมบางอยาง หรืออาจทําใหถึงแกชีวิตไดเชนกัน 7. ความเชื่อเกี่ยวกับภูตผี หมายถึง สิ่งที่ไมสามารถมองเห็นตัวตนได แตมีอิทธิฤทธิ์หรืออํานาจใน การดลบันดาลใหคุณและใหโทษแกมนุษยได มีอยูมากมายหลายชนิด เชน - แมโพสพ เปนผีที่คุมครองการทําไรนาใหไดผลดี ซึ่งสังคมไทยมีการทําการเกษตรเปน สวนใหญ จึงใหความเคารพแมโพสพอยางยิง่ คนโบราณจึงมักสอนลูกหลานใหไหวแมโพสพทุกครั้งเมื่อกินขาว อิ่มแลว - นางกวัก เปนผีผหู ญิงที่ใหคุณในเรื่องการคาขาย พอคาแมคาสวนใหญจึงมักมีนางกวัก ไวบูชา โดยนิยมตั้งรูปนางกวักไวในราน เพื่อกวักเรียกลูกคา - แมยานาง เปนผีผูหญิงที่ดูแลรักษาเรือ ชาวประมงเชื่อกันวาแมยานางจะสถิตอยูบ ริเวณ หัวเรือ ใหความคุมครองในยามที่พวกเขาออกหาปลา - นางตะเคียน เปนผีผูหญิง อาศัยอยูในตนตะเคียนขนาดใหญ จึงไมนิยมนําไมตะเคียน มาปลูกสรางบาน - ผีกระสือ เปนผีผูหญิง มีแสงไฟวับ ๆ แวบ ๆ โดยจะถอดหัวและไสลอยออกหาของ สกปรกกินในเวลากลางคืน - นางตานี เปนผีผหู ญิง อาศัยอยูในตนกลวยตานี คนสมัยโบราณจึงไมนิยมปลูกตนกลวย ชนิดนี้ไวในบริเวณบาน - ผีปอบ เปนผีที่เขามาอาศัยในรางกายมนุษย เพื่อแยงกินอาหารจนมนุษยคนนั้นผายผอม ตายในที่สุด 8. ความเชื่อที่เกี่ยวกับศาสนา สามารถแบงกวาง ๆ ได 2 ลักษณะ คือ ความเชื่อเกี่ยวกับสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนา และความเชื่อเรื่องนรก-สวรรค ความเชื่อในเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนา หมายถึง สิ่งที่มีอํานาจในการดลบันดาลให เปนไปอยางใดอยางหนึ่งได ในสังคมไทยมีการเคารพนับถือพระพุทธรูปและเทพเจาตาง ๆ จํานวนมาก เชน พระสยามเทวธิราช พระแกวมรกต พระอิศวร พระนารายณ พระพรหม พระพิฆเนศ ฯลฯ

50


ความเชื่อเรื่องนรก-สวรรค โดยเชื่อวาใครทําดีจะไดขึ้นสวรรค มีวิมาน อิ่มทิพย ไม รอนไมหนาว มีเพลงขับกลอม มีคนธรรพบรรเลง แตหากใครทําชั่วจะตกนรก เปนเปรตปากเทารูเข็ม ตก กระทะทองแดง ปนตนงิ้ว ฯลฯ แลวแตกรรมที่ทําไวในขณะที่ยังมีชีวิต 9. ความเชื่อเรื่องโหราศาสตร เปนการพยากรณโชคชะตาของมนุษย เหตุการณบานเมือง โดย อาศัยเวลาและตําแหนงของดวงดาวบนทองฟาเปนสําคัญ ซึ่งมีวิธีทํานายหลายวิธี เชน การผูกดวง การเสี่ยง เซียมซี การดูลายมือ การทํานายกราฟชีวิต การดูไพพยากรณ ฯลฯ 10. ความเชื่อเรื่องลักษณะคนและสัตว พิจารณาจากลักษณะที่ดีแลวนํามาสรุปวาถามีลักษณะ ตามแบบนั้นจะเปนอยางไร เชน คนหัวลาน มักจะเจาชูและเจาเลห บางก็วาเปนคนมีบญ ุ - คนหัวโต มักจะเปนคนฉลาด คนใดที่มีลักษณะผมหยิก ๆ หนาสั้นคอสั้น มักจะเจาชู - ผมมีหางเตาเปนคนขี้เหนียว - หนาผากโหนก โชคดี มีทรัพย นับเสนห - คนหูยานจะอายุยืน คนใบหูใหญมักร่ํารวยและมีบญ ุ วาสนา คนใบหูหนาเปนคนมีศีลธรรม คนใบหูบาง เปนคนโดดเดี่ยว ไรบญ ุ วาสนา - ตาเขมนเปนลางบอกเหตุ - คนจมูกหนา โบราณวามีทรัพย - คนที่มีไฝทีร่ ิมฝปากลาง ใหระวังปากนําเคราะห เพราะพูดไมคิด และมักเปนคนใจรอน - คนที่พูดจาหลายเสียงในการพูดคุยครัง้ เดียวกัน เปนคนคบยาก ไมมีความแนนอน - นิ้วมือชิดกันทั้งหมดจะเก็บเงินเกง - นิ้วชี้เทายาวกวานิ้วหัวแมเทาของลูกคนโต พอจะตายกอนแม - แมวออกลูก 5 ตัว หมาออกลูก 6 ตัว หามเลี้ยงเด็ดขาด 11. ความเชื่อเรื่องเคล็ดและการแกเคล็ด เปนการกระทําบางอยาง ดวยความเชื่อวา ถาทําเชนนั้น จะเกิดโชคดี เชน - หญิงมีครรภจะเข็มขัดมากลัดไวที่ชายผา เพื่อปองกันสิง่ ชั่วราย เด็กทารกที่ปวยบอย ๆ ใหยกเปนลูกของคนอื่น เด็กก็จะหายจากโรคภัยไขเจ็บ การเปลี่ยนชื่อใหม จะชวยใหหายจากโรคภัยไขเจ็บ เพราะคนไทยเชื่อวาถามีตัวอักษร กาลกิณีอยูในชื่อของตน จะทําใหพบแตสงิ่ ไมดี จึงนิยมเปลีย่ นชื่อใหมใหชีวิตเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น - ถาถูกสุนัขกัด และรูวาใครเปนเจาของสุนัข ใหไปใหเจาของสุนัขทําแผลให แผลก็จะ หายเร็วกวาปกติและสุนัขตัวนั้นก็จะไมมากัดอีก - หามนอนหันศีรษะไปทางทิศตะวันตก เพราะเปนทิศของคนตาย 51


-

ชมวาเด็กนารัก ผีจะมาลักตัวไป วาชังเหลือใจ ผีจะไมมากวน เด็กตกใจใหเรียก ‘ขวัญเอยขวัญมา’ รานคาใดที่ลูกคาคนแรกในวันนั้นซื้อของดวยเงินเชื่อ ตลอดวันนั้นจะมีแตคนซื้อเงินเชื่อ ประตูหนาบานและหลังบานไมใหตรงกัน เงินทองจะไหลออกหมด กอนกาวเทาออกจากบาน โบราณใหพูดแตสงิ่ ที่ดี ๆ

จากความเชื่อตาง ๆ เหลานี้ ทําใหมนุษยตางประพฤติปฏิบตั ิแปลก ๆ ไปตามความเชื่อของตนและ ไมปฏิบัติในบางสิ่งบางอยาง ทั้งนี้เพราะเชื่อวาถาทําอยางนี้หรือไมทําอยางนี้แลว จะทําใหเกิดผลดีแกตนเอง เชน ทําใหปลอดภัยจากโรคภัยไขเจ็บ ทําใหรางกายแข็งแรงสมบูรณสวยงาม เปนตน

ผลของความเชื่อ ผลของความเชื่อมี 2 ลักษณะ ไดแก 1. ความเชื่อที่ไมควรทํา เชน - หามรองเพลงในครัว จะไดสามีแก - หามกินกลวยแฝด จะทําใหมลี ูกแฝด - หามใชสากตําครกเปลา เพราะนมจะยาน - หามกินของฝาก จะทําใหคอพอก - หามปลูกตนลั่นทม ครอบครัวจะมีแตความทุกข - หามปลูกตนมะไฟ ครอบครัวจะมีแตความเดือดรอน - ฯลฯ 2. ความเชื่อที่ควรทํา เพราะจะทําใหเกิดมงคล เชน - ปลูกตนมะยมไวหนาบาน จะเปนมหานิยม - ตั้งชื่อเด็กเปนชื่อสัตว ผีจะไมเอาไป - หญิงขณะมีครรภใหรักษาศีล - เมื่อกลับจากเผาศพ ตองลางเทา ลางหนา ลางตา - ฯลฯ --------------------------แหลงขอมูลเรื่องความเชื่อ : 1. ขนิษฐา จิตชินะกุล,ผูชวยศาสตราจารย. (2545). คติชนวิทยา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร. 2. วาสนา บุญสม. (2548). ศิลปวัฒนธรรมไทย สายใยจากอดีต. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก. 3. สุโขทัยธรรมาธิราช,มหาวิทยาลัย. (2539). เอกสารการสอนชุดวิชาความเชื่อและศาสนาในสังคมไทย. พิมพครั้งที่ 3. นนทบุรี : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 52


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.