เอกสารประกอบวิชา th 4013

Page 1

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา TH 4013 การเขียนบันเทิงคดี

1


1. งานเขียนประเภทบันเทิงคดี ความหมายของบันเทิงคดี งานเขียนแบงตามลักษณะของเนื้อหาได 2 ประเภท คือ บันเทิงคดีและสารคดี หรือเรื่องสมมุติ และเรื่องไมสมมุติ งานเขียนบันเทิงคดี หมายถึงงานเขียนรอยแกวที่แตงเพื่อมุงใหความบันเทิงแกผูอาน โดยใช จินตนาการสมมุติเรื่องราวตาง ๆ ขึ้น ซึ่งแตกตางจากสารคดีที่เสนอขอเท็จจริง เพื่อแสดงความถูกตองให ผูอานไดรับความรู ลักษณะงานเขียนประเภทบันเทิงคดี บันเทิงคดี เปนงานเขียนที่สมมุติขึ้นมาเพื่อใหเกิดความเพลิดเพลินบันเทิงใจหรือเกิดความสะเทือน ใจอยางใดอยางหนึ่ง ในบางยุคบางสมัย งานเขียนบันเทิงคดีไดกลายเปนเครื่องมือทางสังคม โดยมุงหวัง นําเสนอแนวคิดหรืออุดมการณบางประการ ปจจุบันรูปแบบของบันเทิงคดีเปลี่ยนแปลงไปมาก ทั้งในสวน ของรูปแบบ เนื้อหา วิธีการนําเสนอ หรือภาษาที่ใช การสรางสรรครูปแบบแปลก ๆ ใหม ๆ นี้เอง กลายเปน ประเด็นถกเถียงกันวางานเขียนแหวกแนวจัดเปนบันเทิงคดีหรือไม เพราะมีลักษณะที่ก้ํากึ่งระหวางบันเทิงคดี กับสารคดี การเขียนบันเทิงคดีนั้น ผูเขียนจะตองมีจินตนาการ มีความสามารถคิดเรื่องที่สนุกสนาน แปลก ใหม มีประสบการณ มีความรูรอบตัวในศาสตรตาง ๆ และรูจักเลือกใชศิลปะการใชภาษาที่เหมาะสม เพื่อ นําเสนอเรื่องราวที่นาอานและมีสารประโยชน ประเภทของบันเทิงคดี 1. นิทานหรือนิยาย (Tales) เปนงานเขียนบันเทิงคดีที่เนนเรื่องราวเกี่ยวกับอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย ตัวละครเอกมักมีเวทมนตรคาถา ฉากหรือสถานที่ในเนื้อเรื่องมักเปนสถานที่พิเศษ หรือถูกกําหนดขึ้นมา เชน สรวงสรรคหรือเมืองบาดาล มีพระเอกเปนเจาชาย นางเอกเปนเจาหญิง นางฟา เทวดา ยักษ ผูวิเศษสามารถ ทําสิ่งนั้น สิ่งนี้ไดอยางคนที่ธรรมดาไมสามารถจะทําได เปนตน 2. เรื่องสั้น (Short stories) เปนงานเขียนรูปแบบหนึ่งของบันเทิงคดีซึ่งเริ่มมีในประเทศไทย ปลายสมัยรัชกาลที่ 5 เรื่องสั้นมีลักษณะคลายนวนิยายมากแตกตางกันที่ความยาวเทานั้น โดยเฉพาะเรื่องสั้น ของไทยซึ่งพัฒนามาจากนิยายและนิทาน แตอาศัยรูปแบบเนื้อหาจากตะวันตก เชน กลวิธีการแตง แนวคิด และความสมจริงของเรื่อง ซึ่งมีลักษณะดังนี้ 1) มีโครงเรื่องงาย ๆ ไมซับซอน แตอาจดําเนินเรื่องโดยการสรางปมปญหา มีการคลี่คลายปญหา ตลอดจนจบเรื่องอยางพลิกความคาดหมาย 2) มีการสรางจุดสนใจในเรื่องเพียงจุดเดียว คือจุดสุดยอดของเรื่อง (Climax) 3) มีฉากนอยและชวงระยะเวลาของเรื่องสั้น เหตุการณที่เกิดขึ้นในเรื่องจะไมเปลี่ยนสถานที่บอย ๆ และใชระยะเวลาสั้น ๆ ถาเปนเรื่องที่เกิดในระยะเวลานานจะตองกลาวสรุปอยางรวบรัด 4) มีตัวละครนอย ตัวละครสําคัญในเรื่องควรมีเพียง 2 – 3 ตัว เพื่อเนนพฤติกรรมใหเห็นชัดเจน และชวยใหการดําเนินเรื่องเปนไปอยางรวดเร็ว 5) ใชภาษาอยางรัดกุมทั้งดานการบรรยายฉาก ตัวละคร บทสนทนา และสํานวนโวหารอื่น ๆ 2


6) มีขนาดสั้น การกําหนดขนาดของเรื่องสั้น นอกจากจํานวนคําดังไดกลาวแลว ยังอาจกําหนด จากระยะเวลาในการอานคือ อานติดตอกันประมาณ 5 – 50 นาที 3. นวนิยาย (Novels) เปนศัพทที่บัญญัติขึ้นใหมใชเรียกหนังสือประเภท “เรื่องอานเลน” ซึ่งเปน นิยายแบบใหมหรือเรื่องเกาแบบใหม ตรงกับภาษาอังกฤษวา novel นิยายแบบใหมนี้แตกตางจากนิทานหรือ นิยายที่กลวิธีการแตง คือถึงแมจะเขียนถึงเรื่องราวหรือบุคคลจริง ๆ ก็จะใชวิธีเขียนใหผูอานเห็นวาสมมุติขึ้น ตลอดจนมีวิธีการเสนอเรื่องสลับซับซอนชวนติดตามมากขึ้น และแสดงแนวคิดอยางกวางขวาง 4. บทละครพูด พูด (Plays) บทละครเปนวรรณกรรมไทยแตดั้งเดิม ซึ่งสวนมากจะเปนบทรอย กรอง สวนบทละครพูดนั้นเปนบทละครที่แตงเลียนละครยุโรปสมัยใหม มีการดําเนินเรื่องดวยการพูดประกอบ การแสดงทาทาง มีฉากและเปลี่ยนฉากตามทองเรื่อง ไมมีดนตรี ไมมีรองเพลง แตในปจจุบันไดมีการ เพิ่มเติมเทคนิคดานเสียง เชน เสียงดนตรี เสียงประกอบอื่น ๆ เพื่อใหการแสดงนาสนใจยิ่งขึ้น ซึ่งในปจจุบัน นี้มีความหมายรวมไปถึงบทละครวิทยุ บทละครโทรทัศน บทละครเวที และบทภาพยนตรดวย ดังนั้นบท ละครพูด จึงหมายถึงงานเขียนที่ใชเสนอเรื่องราวความคิดของผูแตงในรูปของการแสดง หรือเปนงานเขียน เพื่อแสดงใหคนดู โดยเสนอเรื่องราวในรูปแบบการสนทนา มีการแสดงทาทาง ฉาก และแสงเสียง ประกอบ องคประกอบของบันเทิงคดี 1. แกนเรื่อง (Theme) คือ สาระสําคัญของเรื่องวาตองการนําเสนอประเด็นใด เปนสาระสําคัญ ของเหตุการณในเรื่อง แกนเรื่องไมใชเนื้อเรื่อง เปนเพียงสาระสําคัญที่สกัดมาจากเนื้อเรื่องอีกทีหนึ่ง แกนเรื่องเปนเสมือนตัวบังคับเรื่องใหดําเนินไปตามวัตถุประสงคที่วางไว โดยมากแลวแกนเรื่องมักจะเปน ลักษณะอันเปนนิสัยธรรมดา ธรรมชาติของโลกและมนุษยที่ผูเขียนมองเห็นและมุงหมายจะแสดงลักษณะนั้น ออกมาใหปรากฏแกผูอาน ถาเคยอานนิทาน แกนเรื่องก็คลายสวนของนิทานที่วา “นิทานเรื่องนี้สอนใหรูวา ..............” นั่นเอง นักวิชาการไดแบงแกนเรื่องเปน 4 ประเภท ดังนี้ 1.1 แกนเรื่องแสดงทัศนะ คือแกนเรื่องที่ผูเขียนมุงเสนอความคิดเห็นตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เชน แสดง ความคิดเห็นตอการเมืองการปกครอง แสดงความคิดเห็นตอคานิยมและความเชื่อที่ไมเปนประโยชนตอการ ดํารงชีวิต การเอารัดเอาเปรียบระหวางคนรวยกับคนจน โอกาสทางการศึกษา ฯลฯ เชนเรื่อง “กระดานไฟ” ของลาว คําหอม สะทอนความเชื่อคนคนในสังคมชนบท 1.2 แกนเรื่องแสดงอารมณ คือแกนเรื่องที่ผูเขียนมุงแสดงภาวะทางอารมณ ความรูสึกของ ตัวละครในชวงใดชวงหนึ่งของชีวิต หรือเมื่อประสบเหตุการณหรือชะตากรรมอยางใดอยางหนึ่ง อารมณและ ความรูสึกของตัวละครในเรื่องสั้นก็คือความรูสึกแบบเดียวกับคนทั่วไปนั่นเอง ดังนั้นทุกอารมณและความรูสึก จึงสามารถนํามาใชเปนแกนเรื่องได ไมวาจะเปนอารมณและความรูสึกรัก หึงหวง โกรธแคน อิจฉา ริษยา ตกใจ ความกลัว ความรูสึกสยองขวัญ ฯลฯ เชนเรื่อง “อีกวันหนึ่งของตรัน” ของประภัสสร เสวิกุล แกน เรื่องแสดงความเหงา วาเหวและกลัวที่จะสูญเสียลูกของชายชรา 1.3 แกนเรื่องแสดงพฤติกรรม คือแกนเรื่องที่ผูเขียนมุงเสนอพฤติกรรมบางอยาง หรือบางแงมุม ของตัวละครเปนสําคัญ เชน พฤติกรรมของตัวละครในการตอสูกับความยากจนทุกรูปแบบ ไมวาจะถูกหรือ ผิดกฎหมายและไมคํานึงถึงศีลธรรม ขอเพียงตัวเองอยูรอดเทานั้นเปนพอ พฤติกรรมการหลอกลวงผูอื่นของตัว ละคร หรือพฤติกรรมชิงรักหักสวาทกัน เปนตน เชนเรื่อง “มัทรี” ของศรีดาวเรือง เปนเรื่องราวของหญิง 3


อายุ 19 มีลูกสามคน เธอนําลูกไปที่ปายรถเมลเพื่อถามวาใครจะรับลูกเธอไปบาง แลวเธอก็ทิ้งลูกไว บังเอิญ รถตํารวจผานมา จึงจับเธอไปสอบสวน เธออางวาเธอมีสิทธิ์ ถาจะโทษตองไปโทษผูชายที่ไมยอมรับวาเปนพอ เด็ก ขนาดพระเวสสันดรยังยกลูกใหคนอื่นได ทําไมเธอจะทําไมได ตํารวจจึงพาเธอไปพบหมอเพราะคิดวาเธอ เปนโรคจิต 1.4 แกนเรื่องแสดงสภาพและเหตุการณ คือแกนเรื่องที่ผูเขียนมุงแสดงสภาพบางอยางหรือ เหตุการณบางชวงตอนของชีวิตตัวละคร เชน สภาพอันแหงแลงยากไรของชนบท สภาพการณการจราจรใน เมืองหลวง หรือเหตุการณที่แสดงใหเห็นความขมขื่นของตัวละครที่ยากจนและไรการศึกษา เปนตน เชนเรื่อง “ที่นี่มีวันเดียว” ของไพโรจน บุญประกอบ แสดงภาพการจราจรในกรุงเทพฯ ที่ติดขัดนาเบื่อหนาย เหมือนกันทุกวัน จนคลายกับวาทุกวันคือวันเดียวกันในความรูสึกของคนที่ตองออกจากบานไปทํางานหรือไป เรียน 2. โครงเรื่อง (Plot) คือ การเรียงลําดับเหตุการณในเรื่อง มีการกําหนดจุดมุงหมาย เหตุการณ ปญหาขอขัดแยงตาง ๆ ของเนื้อเรื่องและตัวละครไวชัดเจน ประกอบดวย 2.1 การเปดเรื่อง เปนการเกริ่นนําเรื่อง อาจใชวิธีการบรรยายฉาก แนะนําตัวละคร หรือกลาวถึง เหตุการณกอนที่จะปรากฏปญหาความขัดแยงสําคัญของเรื่อง ตัวอยางเชน - เปดเรื่องโดยนาฏการหรือการกระทําของตัวละคร มันกระชากคอเสื้อผมอยางแรง พรอมกันนั้นกําปนอันหนาเตอะก็พุงสวนมา กระแทกเขาที่กรามของผมดังกรวม แกวหูของผมลั่นเปรี๊ยะ รูสึกเหมือนรางรวงผล็อย ลงมาจากที่สูง กนกระแทกพื้นถนนอยางจัง ยินเสียงรองวี้ด ๆ ในแกวหู นัยนตาพรา ลาย ความรูสึกรางเลือนเหมือนจะดับวูบ (โจร – วิมล ไทรนิ่มนวล) - เปดเรื่องดวยการพรรณนาบุคลิกลักษณะตัวละครเอก หญิงชรารางผอมบาง ผิวหนังยนหยอนในเสื้อผาที่มีกลิ่นสาบไมผิดไปจากคน สวมใส อายุนางคง 80 ปลวงผาน นางเดินถือไมเทาสั่นเทาออกมาจากซอกหลืบของ ผูคน เพื่อเตรียมกิจวัตรหาเลี้ยงชีพตามละแวกผูคนจอแจริมถนนใหญใกลแฟลต นายทหาร นางเริ่มงานที่ริมถนนสายนี้ทุกวันมาได 4 – 5 เดือนแลว เริ่มงาน ตั้งแต เชา...เชากวานายทหารในแฟลตจะออกทํางาน เชากวารถไฟเที่ยวเชาจะเขาเมือง (บรรพบุรุษของใคร – ศรีดาวเรือง) - เปดเรื่องดวยการพรรณนาฉากและบรรยากาศ เปลวแดดอันรอนเราบนถนนลูกรังเสนเล็ก ๆ ที่ทอดทับไปสูหมูบาน ทําให ตนหญาสองขางทางดูเงื่องหงอย ใบไมและปลายหญาเต็มไปดวยฝุนแดงเกาะหนาและ หนักอึ้งจนลมระบัดแลวไมพลิ้วไหว ดวงตะวันลอยตัวสูงอยูกับฟาโปรงปลอด เมฆสาด แสงเขมและรุนแรงลงบนวันบายของฤดูรอน ถนนลูกรังที่ตะปุมตะปาและเปลี่ยวราง ผูคนและเหลาสัตวสัญจรไปมา (บนเสนทางหมาบา – อัศศิริ ธรรมโชติ)

4


- เปดเรื่องดวยการบรรยายความเปนไปตาง ๆ เปนการพบกันอยางงาย ๆ ในสังคมที่ทุกคนตองมีคุณสมบัติในการดิ้นรน และ เงินตราเปนสิ่งที่มีอิทธิพลกําหนดพฤติกรรมสวนใหญของผูคน ฝายหนึ่งมาดวยตองการ เงิน ฝายหนึ่งมีเงินและตองการปลดเปลื้องบางสิ่งบางอยาง อาจจะไมมีผูใดรูสึกเจ็บช้ํา เลยในในชวงนั้น มันตั้งตนแลวก็ผานไปงาย ในเวลาไมนานนัก แคชวงเวลาชระลางก็ลืม ความรูสึกเมื่อแรกเขามาเสียดวยซ้ํา เหมือนกับวาน้ํานั้นสามารถชําแรกเขาภายในชะลาง บึงบอแหงความจดจําไดดวย (หลังคาวใคร – ไพโรจน บุญประกอบ) - เปดเรื่องโดยใชบทสนทนา ควรจะเปนบทสนทนาที่นําผูอานเขาสูเรื่องไดอยางรวดเร็ว หรือ สรางความฉงนในปมของเรื่องซึ่งจะตามมา เปนการปลุกเราความสนใจของผูอาน “นา...นา” “นา...วันนี้เอานิทานดีกวา” “นา...วันนี้เรียนหนังสือเหอะ” “เฮย...เรียกทีละคนซีวะ เรียกยังงี้นาเขาจะฟงใครเลาโวย ขาวาวันนี้มารอง เพลงกันดีกวา” (แดเธอทุกคน – ศรีดาวเรือง) - เปดเรื่องโดยใชสํานวน พังเพย บทกวี หรือคํากลาวคมคาย ชวนคิด มีขอควรระวังวา จะตองเลือกมาใหเหมาะสมกับเนื้อเรื่องที่จะเขียน มิฉะนั้นไมวาจะเลือกอะไรมาก็จะกลายเปนสวนเกินของ เรื่องไป “มือนอยนอยคอยวาดมาดกระสวย อีกมือชวยกระชับดายไกวประกบ ตีนเหยียบกี่กระตุกยกตกกระทบ คอยประคบคัดเสนเปนดอกดวง” หาทราบเหมือนกันวา ทานผูแตงกวีบทนี้ออกมา จะเคยไดมาพบเห็นสองมือ ของกานดาตอนที่สาวนอยเธอกระตุกกระสวยหรือเปลา ทานถึงไดเขียนมันออกมาได เชนนั้น (ผาทอลายหางกระรอก – จําลอง ฝงชลจิตร) - เปดเรื่องดวยการใชคําโปรยชวนติดตาม คําโปรยนั้นอาจจะมีความยาว 2 – 3 บรรทัด หรือ เพียงประโยคเดียวก็ได การเปดเรื่องดวยวิธีนี้ นักเขียนเรื่องสั้นอาจจะปรับมาจากบทความหรือบทสัมภาษณ ตามนิตยสารซึ่งบรรณาธิการมักจะดึงขอความที่นาสนใจ คมคาย ชวนฉงน ชวนติดตาม ออกมาเปนตัวโปรย เขาถอดสมองจากกะโหลกศีรษะออกมาดูในเชาวันหนึ่ง (บริษัทเลี้ยงสมอง – เฉลิมศักดิ์ แหงมงาม) หรือคนรักของฉันผิดปกติ

(ปริศนาอารมณ – ชามา)

5


2.2 การดําเนินเรื่อง เปนสวนที่นําเสนอเหตุการณของเรื่อง มีสวนประกอบสําคัญ 3 สวน คือ 2.2.1 การเริ่มตนผูกปมของเรื่อง เปนสวนที่ผูเขียนเริ่มจะชี้ใหเห็นวากําลังจะเกิดขอ ขัดแยงอะไรขึ้น ผูเขียนจะสรางเนื้อเรื่องดวยเหตุการณตาง ๆ ที่จะนําไปสูความขัดแยงสําคัญของเรื่อง 2.2.2 ความขัดแยง ถือเปนสวนสําคัญของเรื่อง ถาไมมีความขัดแยง ไมมีปญหาใหตัว ละคร ตองแสดงบทบาทแกไข เรื่องราวตาง ๆ ก็ไมเกิดขึ้น ซึ่งความขัดแยงนั้น มีอยูหลายลักษณะ ดวยกัน เชน 1) ความขัดแยงระหวางตัวละครกับตัวละคร คือ ความขัดแยงที่เกิดจากบุคคลที่อยูคนละ ฝาย ทั้งดานความคิดหรือการกระทํา ซึ่งอาจนําไปสูการตอสูดวยกําลัง เชน คนดีกับคนชั่ว แมผัวกับ ลูกสะใภ ตํารวจกับผูราย ฯลฯ 2) ความขัดแยงระหวางตัวละครกับสังคม คือ ความขัดแยงที่เกิดจากการตอสูกับความไม เปนธรรม คานิยมทางสังคม ความเชื่อสวนใหญของสังคม หรือสภาพแวดลอมตาง ๆ จนทําใหตัวละครตอง ไดรับความบีบคั้นจากคนรอบขาง 3) ความขัดแยงระหวางตัวละครกับธรรมชาติ คือ ความขัดแยงที่เกิดจากการตอสูกับภัย ธรรมชาติ เชน น้ําทวม พายุกระหน่ํา ความแหงแลงกันดาร ความหนาวเหน็บ ตอสูกับสัตวราย โรคระบาด ฯลฯ 4) ความขัดแยงระหวางตัวละครกับอํานาจเหนือธรรมชาติ คือ ความขัดแยงที่เกิดจากการ ตอสูกับอํานาจลึกลับ เปนอํานาจที่อยูเหนือธรรมชาติ ตัวละครไมสามารถกําหนดโชคชะตาของตัวเองได เชน วิญญาณ เวทมนตร โชคชะตา เทพเจา ฯลฯ 5) ความขัดแยงที่เกิดขึ้นในจิตใจของตัวละคร คือ ความขัดแยงที่เกิดจากความสับสนวุนวาย ใจของตัวละครเอง อาจเปนความขัดแยงดานรางกาย ดานอารมณ ดานศีลธรรม ซึ่งเปนตัว กําหนดใหตัวละครรูสึกสับสนทางความคิดและการกระทํา ตัวละครตองตอสู และตัดสินใจทําอยางใดอยาง หนึ่ง 2.2.3 จุดสุดยอด คือจุดสูงสุดของความขัดแยง เนื้อเรื่องที่ดําเนินมาแตตนจะขันเกลียว แนนเขาทุกที ความขัดแยงของเรื่องมาถึงจุดแตกหัก ตัวละครเอกจะตองตัดสินใจเลือกการกระทําอยางใด อยางหนึ่ง หรือไมเชนนั้นสถานการณความขัดแยงก็จะบีบตัวละคร จนกระทั่งตองประสบผลหรือประสบชะตา กรรมไมอยางใดก็อยางหนึ่ง สวนวิธีที่ใชดําเนินเรื่องนั้น มี 3 แบบ คือ แบบที่ 1 เปนการดําเนินเรื่องตามลําดับเวลา ซึ่งขณะที่ ตัวละครดําเนินเรื่องอยู อาจหวนไปคิดถึงเหตุการณในอดีตบางก็ได แตเหตุการณในปจจุบันก็ยังดําเนินไป แบบที่ 2 เปนการดําเนินเรื่องยอนหลัง ผูเขียนอาจเปดเรื่องที่ตอนใดตอนหนึ่ง แลวยอนไปเลาตอนตน จนมาบรรจบกับจุดที่ใชเปดเรื่อง ตอจากนั้นก็ดําเนินเรื่องไปจนจบ แบบที่ 3 เปนการดําเนินตามสถานที่ ที่เกิดเหตุ 2.3 การปดเรื่อง เปนสวนที่ไขเคาความหรือสรุปอธิบายความของเรื่องทั้งหมด ตัวละครทั้งฝายดี –ฝายราย ไดรับผลอยางไรจะอยูในสวนนี้ กลาวไดวาปมความขัดแยงตาง ๆ คลี่คลายกระจางในความรูสึกของ ผูอานและเปนจุดสุดทายของเรื่อง ซึ่งวิธีการปดฉากเรื่องมีหลายวิธี เชน - จบอยางสุขสันต (Happy Ending) - จบแบบนึกไมถึงหรือแบบไมคาดคิด (Surprise Ending, Trick Ending) เหมาะกับเรื่องสั้น มากกวา 6


- จบแบบวงวน (Circular Ending) หมายถึงจบเรื่องคลายหรือเหมือนกับตอนเริ่มเรื่อง เชน 999 ตอติดตาย - จบแบบโศกนาฏกรรมหรือจบอยางไมมีความสุข (Tragedy, Unhappy Ending) เชน แผลเกา โรมิโอจูเลียต คูกรรม ขางหลังภาพ ฯลฯ ลวนแลวแตอยูในความทรงจําของผูอาน - จบแบบไมจบ (No Ending) 3. ตัวละคร (Character) หมายถึงผูประกอบพฤติกรรมตามเหตุการณในเรื่อง แมเรื่องสั้นจะถูก จํากัดใหมีตัวละครนอย แตจะขาดตัวละครไมได ตัวละครไมจําเปนตองเปนคนเทานั้น อาจจะเปนสัตว ตนไม หรือสิ่งของที่ไมมีชีวิต แตผูเขียนใหมันมีบทบาทประดุจสิ่งมีชีวิตจิตใจก็ได ตัวละครจึงจัดเปนองคประกอบที่สําคัญอยางหนึ่ง เพราะทําใหเรื่องสามารถดําเนินไปสูจุดหมาย ปลายทาง ในนวนิยายมีตัวละครไดมาก สามารถจําแนกตามบทบาทได 3 ประเภทใหญ ๆ คือ 1) ตัวละครเอก เปนตัวละครสําคัญ ซึ่งกลุมตัวละครนี้เปนตัวละครที่ออกมาครั้งแลวครั้งเลา เกี่ยวของกับเรื่องราวทั้งหมดตั้งแตตนจนจบ 2) ตัวละครประกอบ หมายถึงตัวละครที่ทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงกับพล็อตเรื่อง แตเราจะไม ใสใจสนใจติดตามตัวละครเหลานั้น งาย ๆ คือออกมาทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือสองอยางแลวก็หายไป 3) ตัวประกอบยอยหรือตัวเดินผานฉาก คือตัวละครที่ผูเขียนไมตองสรางความรูจักใหกับผูอาน ตัวละครเหลานี้เปนเพียงคนประกอบในฉาก มีเพื่อทําใหเกิดความสมจริงของเรื่องราว จากนั้นก็หายไป บุคลิกลักษณะของตัวละครนั้น แบงเปน 2 ประเภท คือ 1) ตัวละครแบบมิติเดียว เปนตัวละครที่มีบุคลิกลักษณะ นิสัยอยางไรก็เปนอยางนั้นตลอดเรื่อง หรือเปนตัวละครที่ผูเขียนสรงขึ้นมาเปนตัวแทนความคิดหรือคุณลักษณะอยางใดอยางหนึ่ง เชน ความซื่อสัตย ยุติธรรม เปนตน 2) ตัวละครแบบหลายมิติ มีลักษณะคลายบุคคลในชีวิตจริงมากกวาแบบแรก ผูอานจะไดเห็น ความ-เปลี่ยนแปลงของตัวละครตามสถานการณในเรื่อง 4. ฉาก (Setting) หมายถึง เวลาและสถานที่ รวมทั้งสิ่งแวดลอมที่ตัวละครแสดงบทบาทอยู ซึ่ง ฉากในนวนิยายมีลักษณะและคุณสมบัติเชนเดียวกับฉากในเรื่องสั้น มีขอที่แตกตางกันเฉพาะในเรื่องจํานวน ฉาก 1) ฉากที่เปนธรรมชาติ ไดแก สภาพธรรมชาติที่แวดลอมตัวละคร เชน ทิวทัศน ทะเล ภูเขา ทุงโลง ปาเปลี่ยว ฯลฯ รวมไปถึงการพรรณนา การตกแตงภายในบานหรืออาคารตาง ๆ ฉากประเภทนี้ เปนฉากที่สําคัญที่สุดในงานเขียน เปนทั้งสิ่งแวดลอมภายนอกและภายในของตัวละคร มีพลังและมีผลตอการ กระทําและชีวิตความเปนอยูของตัวละครดวย 2) ฉากที่เปนสิ่งประดิษฐ ไดแก อาคารบานเรือน วัตถุขาวของเครื่องใชที่มนุษยเปนผูประดิษฐ ขึ้นมาและแวดลอมตัวละครในเรื่อง สิ่งประดิษฐอาจสะทอนใหเห็นตัวตนของผูสรางหรือผูเปนเจาของดวย เสมอ รวมทั้งอาจสะทอนใหเห็นความเปนระเบียบแบบแผนของบานเมือง สังคม 3) ฉากที่เปนชวงเวลาหรือยุคสมัย ชวงเวลาหรือยุคสมัยของการเกิดเหตุการณในเรื่องเปน สวนประกอบที่สําคัญของเรื่องสั้นและนวนิยาย เพราะชวงเวลาจะชวยในการดําเนินเรื่อง ตลอดจนการพัฒนา เปลี่ ย นแปลงพฤติ กรรมตัว ละครสถานการณตาง ๆ ตลอดจนสงผลกระทบและเชื่อมโยงเหตุการณแตล ะ เหตุการณ 7


4) ฉากที่เปนสภาพการดําเนินชีวิตของตัวละคร หมายถึง สภาพแบบแผนหรือกิจวัตรในการ ดําเนินชีวิตของตัวละครตาง ๆ ในเรื่อง รวมถึงแบบแผนการดําเนินชีวิตของชุมชนและสังคม ฉากประเภทนี้จะ ชวยย้ําภาพเหตุการณและตัวละครใหชัดเจนยิ่งขึ้น 5. อารมณและบรรยากาศ (Mood and Atmosphere) คือกลิ่นไอของความประณีตบรรจง ซึ่งเปนวรรณศิลป กอใหผูอานเกิดอารมณอยางใดอยางหนึ่ง เชน รูสึกครั่นคราม วังเวงหรือเพลิดเพลินสบาย ใจ ซึ่งบรรยากาศนี้จะเกิดจากสวนลึกของจินตนาการของแตละคนไมเหมือนกัน เปนสิ่งที่เกิดขึ้นพรอมฉาก เสมอ เชน ฉากตึกราง เกาจนสีกระดํากระดาง มืดทึม เต็มไปดวยหยากไยและเสียงหนูวิ่งพลุกพลาน ยอม ทําใหอารมณและบรรยากาศเปนไปในทางหดหู หมนหมอง หรือนากลัว เปนตน 6. บทสนทนา (Dialogue) คือถอยคําในการสนทนาระหวางตัวละครในเรื่องตั้งแต 2 ตัวละครขึ้น ไป หากบรรยายเรื่องเปนพืดโดยไมมีบทสนทนาคั่นเลยก็คงจะนาเบื่อหนายและไมชวนอาน ในเมื่อบท สนทนาก็ใชดําเนินเรื่อง บงบอกลักษณะนิสัยของตัวละครได และผลพลอยไดคือทําใหเกิดความสมจริง ตัว ละครซึ่งก็คือมนุษยยอมตองพูดจากัน ทั้งยังชวยสลับฉาก ไมใหเกิดความซ้ําซากนาเบื่อหนายอีกดวย

8


2. กลวิธีการเลาเรื่อง

กลวิธีการเลาเรื่อง คือกลวิธีการนําเสนอเรื่องที่ผูเขียนสรางสรรคขึ้นเพื่อใหงานเขียนมีลักษณะเดน แปลกใหม นาสนใจ ผูเขียนแตละคนจะมีสไตลการนําเสนอแตกตางกันไป ในที่นี้จะกลาวถึง 2 ประเด็น คือ วิธีการนําเสนอเรื่อง และการเลาเรื่องผานมุมมองตาง ๆ

1. วิธีการนําเสนอเรื่อง

ผูเขียนแตละคนจะมีความถนัดในการเลาเรื่องแตกตางกัน บางคนใหน้ําหนักกับการเขียนแบบใช บทสนทนามาก ขณะที่บางคนถนัดในการเขียนบรรยาย หรือรูปแบบอื่น ๆ (ตามลักษณะการเขียนเปดเรื่องใน บทที่ 1) ทั้งนี้การเขียนเปดเรื่องนับวาสําคัญ เพราะเปนประตูบานแรกใหผูอานติดตามเรื่อง แตปญหาที่พบ บอย ๆ คือจะเลาเรื่องแบบไหนดี ซึ่งวิธีการสรางสรรคจากวิธีเลาหรือวิธีนําเสนอผูอานมี 5 วิธี คือ 1. บทสนทนา (Dialogue) “ชื่อในทะเบียนสํามะโนครัวนะ…ยง…ชื่อยง…เมียชื่อกิ่งแกว” คนพูดยังไมเงย หนาจากแฟมเอกสารที่ประทับตรายางวา ‘ลับเฉพาะ’ “เดี๋ยว ในนี้วานายยงมีลูกชายคนโตไมใชรึ” ดวงตาคมจัดแลจับใบหนา คนตรงขาม “ยิ่งยศ…แมชื่อนางเซาะ ยังไงกัน” “เฮะ…จริงวะ..” คนพูดหัวเราะหึ ๆ “นายยงเกาะ…มีเมียสองคนซีนะ คนแรกก็ ตองเปนนางเซาะ” “ในนี้วานางเซาะตายตั้งแตลูกชายเกิดไดไมกี่วัน” “ถาอยางนั้นนางกิ่งแกวก็คงมาไดกันตอนหลัง…เอะ…ไมไดสมยอม บะ… นี่มี ประวัติยาวเหยียดไดรึ อานกันตาลายละกู” คนพูดลุกขึ้น ถอดเสื้อตัวนอกออกพาดไวบนเกาอี้ตัวที่วาง เสียงบนตามมาอีก วา “ถาไมมีประชุมที่กรมฯ กูไมหอบเสื้อใหญมาใหหนักเนื้อหนักตัวหรอก … เฮ… วาริส…เปนไง อานเพลินเลยรึ เห็นประวัติ…กูละเบื่อ…ยาวตั้งวา” “นางกิ่งแกวนี่ บานอยูสุไหงโกลกนะยนตร แมขายของหนีภาษีที่นั่น…” วาริสอานประวัติบรรทัดแรก แลวเงยหนาขึ้นมองเพื่อน (หนังหนาไฟ – โสภาค สุวรรณ) จุดมุงหมายของบทสนทนานี้ก็เพื่อใหผูอานรวมรูเกี่ยวกับการสืบประวัติของตัวละครชื่อ ‘ยง’ ซึ่ง เปนพอของ ‘ลสา’ นางเอกของเรื่อง แมเมื่อเริ่มอานจะรูสึกคอนขางสับสน แตนั่นคือจุดสําคัญเพราะ คําสนทนานี้เปนการปูทางสูเรื่องทั้งหมดของนวนิยายเรื่องนี้ ซึ่งเปนเรื่องราวของความสับสนขัดแยงระหวาง ความรักของตัวเอกกับปญหาผูกอการรายในเขตชายแดนภาคใต

9


2. บรรยาย (Description) เปนวิธีที่ใชกันอยางแพรหลาย ผูเขียนตองใชความสามารถของ การบรรยายรายละเอียดสิ่งที่จะเขียนถึง เพื่อใหผูอานไดเห็นภาพแจมชัด ตัวอยางที่ 1 สีแสดของดอกทองกวาวพรางพราวทั่วราวปา ทองฟาสีฟาใส และกลิ่นแหง ๆ ของฤดูรอนลองลอยอยูทั่วไปในอากาศ บึงใหญในหุบเขาสงบนิ่งอยูเบื้องหนา ปรากฏเงาของทองฟา ปุยเมฆและพุมไมสี เหลืองสด (ขอความรักบางไดไหม – พิบูลศักดิ์ ละครพล) ตัวอยางที่ 2 กลิ่นกํายานผสมควันธูปกําจายอยูในหองปดทึบ แสงเทียนเลมสีขาวบนขอบขันลง หินใบเขื่องและบนเชิงเทียนทองเหลืองคูขางที่บูชา สองเรืองจับรางอรชรนางหนึ่ง หลอน นั่งพริ้มนัยนตาสงบงัน ใบหนานั้นถูกแสงสลัวแรเงาดูราวรูปสําริด เหลี่ยมคางของหลอนกวาง รูปหนามีโหนกแกมชัดคม จมูกโดง คิ้วเขมโคงแพน ตาที่แนบสนิทดังนิทราปดบังดวงตาทั้งสองไว หลอนพนมมือระหวางอก…อวบตูมเตงนวล เกลี้ยงในความสลัวรางนั้น นอกจากดอกลําดวนสองดอกที่ใชทัดแนบขางหูประดับเรือน ผมยาวสยายดําขลับ อาภรณอีกชิ้นบนกาย คือพวงประคํารอยสีนิลกาล หอยจากลําคอ ระหงของหลอน ยาวเกือบจรดเอวสะอาดนวล (นางมาร – เพไนย เพียงศูนย) ตัวอยางที่ 3 เบื้องหนาคือกระจกเงาโบราณบานสูงกรอบทองสลักลวดลายวิจิตรสีทองนั้นคร่ํา แลว แตแผนกระจกใสและเที่ยง ตรึงตระหงานอยูกลางผนังหอง ขอบลางเกือบจรดพื้น กระดาน ขอบบนอยูเลยศีรษะขึ้นไป บัดนี้แผนกระจกสะทอนภาพของสตรีสาวใหญวัย สามสิบแปด อยูในชุดราตรีดําสนิท เชิงกระโปรงสูงเหนือเขาเล็กนอย ตัวเสื้อเปน แบบไทยประยุกต กลาวคือ สไบเฉียงแลวปลอยชายสไบพลิ้วพาดไหลตกลงทางเบื้องหลัง สวนลางเปนแบบสอบหลวม ๆ เชิงผายกางออกพองาม ไหลขางที่เปลือยเปลาอยูนั้นขาว ผอง เลื่อมสีขาวและมุกที่ปกแถบตามสวนเฉลียงของสไบ ชวยเนนความงามอยางลึกซึ้ง ใหแกความดําของแพร และความงามของผูแตงจนถึงที่สุดเทาที่จะงามได พุดกรอง วิบูลยสิน ผูทรงเสนห แมมายสามีตายไดปเศษ (น้ําเซาะทราย – กฤษณา อโศกสิน)

10


3. การกระทํา (Action) ชางยกขาหนาใหควาญเหยียบขึ้นนั่งบนคอ ตัวมันสูงใหญ ใบหูที่กําลังไหว พะเยิบอยูนั้นหยุดชั่วครูขณะที่คนขี่เหนี่ยวตัวขึ้น หญิงบนเรือนลงบันไดมาขางลาง เธอ เขยงเทาและชูแขนยื่นผาขาวมาและขาวหอใบตองขึ้นไปใหเขา “ขอพราดวย มะจัน” ควาญหันไปบอกเมื่อเธอคลอยหลังจะขึ้นเรือน ชางนาว กิ่งมะขามเหนือหัว ใบรวงพรู มะจันกลับออกมาอีกครั้งหนึ่งพรอมดวยมีดพราในมือ เขารับมันเหน็บเขาสะเอว หลังจากนั้นจึงคลี่ผาขาวมาโพกหัวแลวกระตุนชางออกจาก รมเงา สูแดดเชาที่สดใส มันระหญาเปยกน้ําคางเลาะไปตามขอบตลิ่งที่มองลงไปเห็น แมน้ํา มะจันกําลังหาบถังเปลาเดินอยูขางหนา ลมหนาวพัดแรง ผมเธอปลิวสยาย แกมแดงระเรื่อ เธอเบนไมคานบนบา แลวยกเทากาวลงบันได หายลับไปขางลางตรงที่ ผิวน้ําสะทอนแสงขึ้นมายิบยิบ ชางลงตลิ่งทางชองแคบ แลวลุยน้ําขามไปฝงขางโนน พอขึ้นตลิ่งสูงชันถึง ขางบน ควาญก็เห็นโรงแกะสลักและสตัฟฟ เปนเรือนไมโปรงแสงหลังคาสังกะสี มีตน ฉําฉาใหญแผกิ่งใบ บังแดดอยูขางหนา ควาญกระตุนชางเขาไปใตรมนั้น “กลับมาแลวรึ คํางาย” ชายคนที่กําลังนั่งแกะสลักทอนไมอยูถามขึ้น เขาวาง คอนและสิ่วในมือ มองดูควาญเหนี่ยวตัวลงมาขางลาง “ไมเห็นแกมาตั้งนาน จะไป ลากซุงที่ไหนอีกหรือนี่” “จะมาลากที่นี่แหละ” คํางายตอบพลางขมวดปมกางเกงโซงใหกระชับ (ตลิ่งสูงซุงหนัก – นิคม รายยวา) เพียงหายอหนาแรกของบทเปดเรื่อง ก็พาเราไปรูจักตัวละครเอกทั้งสามของเรื่อง ‘คํางาย’ ‘มะจัน’ และ ‘พลายสุด’ เปนฉากที่น้ําหนักการเลาเนนที่แอ็กชั่นการกระทําของทั้งสามและดวยวิธีเขียนที่แยบยล เราจึงสัมผัสไดถึงความตอเนื่องที่จะนําไปสูเรื่องราวทั้งหมดของนวนิยาย 4. ความนึกคิด (Thought) เปนอีกวิธีหนึ่งที่จะดึงความสนใจใครรูของผูอานได โดยเฉพาะเมื่อ ความนึกคิดนั้นรุนแรงกวาระดับธรรมดา เชน ถาคุณใหตัวละครของคุณนึกคิดวาสวนดอกไมที่มาเที่ยวนั้น สวยงาม พลังของการเลาจะไมแรงเทากับความนึกคิดที่บอกใหผูอานรูสึกถึงความดีใจ นอยใจ ตกใจ กลัว หรือโกรธ ตัวอยางที่ 1 ผมชื่อฉมา เปนลูกคนกลางที่เขาวาเปนเด็กวันพุธ เปนเด็กมีปญหานั่นแหละ ครับ แตผมดีใจที่เกิดมาเปนลูกคนกลางจริง ๆ เพราะผมไมคอยมีปญหาอะไรกับพอแม และปู อันเนื่องมาจากผมเปนลูกคนกลางที่ไมใครเอาใจใส ถาผมเปนลูกคนอื่น ๆ ผม อาจจะบาไปเสียกอน ทุกคนในบานโดยเฉพาะอยางยิ่งพวกผูใหญไมคอยจะนึกถึงผม ในบางครั้งเขาก็ ลืมไปวามีผมอยูในบานเสียดวยซ้ําไป นอกจากเวลาที่ปูกําลังทําตนไมอยูและผม ปวนเปยนอยูแถว ๆ นั้น ทานจะเรียกใหผมเขาไปชวย (ไมดัด – โบตั๋น)

11


เราจะรูสึกวาแม ‘ฉมา’ จะเลาความคิดคํานึงของตนวา แตผมดีใจที่ผมเกิดมาเปนลูกคนกลาง จริง ๆ เราก็ยังไมเชื่อวาเขาจะดีใจ จากขอความ ‘ผมเปนลูกคนกลางที่ไมมีใครเอาใจใส และเขาก็ลืมไปวามี ผมอยูในบานเสียดวยซ้ํา’ บอกใหเรารูวาตัวละครสําคัญนี้มีความขัดแยงในความนึกคิดและการแสดงความรูสึก แตประโยคที่วา ‘ถาผมเปนลูกคนอื่น ๆ ผมอาจจะบาไปเสียกอน’ เหมือนเปนการบอกลวงหนาใหคนอาน สงสัยและอยากรูตอไปวาจะเกิดอะไรขึ้นกับ ‘ลูกคนอื่น ๆ’ ซึ่งฉมาหมายถึงพี่และนองของเขา ผมเรียกตนไมที่ทานประจงแตงวาบอนไซ และถูกดุทุกครั้งที่เรียกอยางนั้น “เขาเรียกวาไมดัด ดัดใหเปนรูปทรงที่เราชอบ ใหมันเตี้ย เปนไมกระถาง มะขาม ตะโก ไทร พิกุล ปูดัดไดทั้งนั้น ไมใชบอนไซ มันภาษาญี่ปุน ปูไมไดทําบอน ไซ นี่ปูทําไมดัดตําราไทยแทแตโบราณ” ปูของผมทานขุนวิสุทธิ์จะพรรณนาถึงตําราและ วิธีดัดตนไมของทานใหผมฟงซ้ําซากนาเบื่อ ผมนั่งทําทาฟงแตจริง ๆ แลวไมไดฟง ผม เกงมากเรื่องทําหนาตาเฉย กมหนามองพื้นอยางมีสัมมาคารวะผูใหญ แตใจผม สมอง ผม หรือเรียกใหเพราะ ๆ วาจินตนาการของผมนะเตลิดไปถึงไหนตอไหนแลว (ไมดัด – โบตั๋น) จบยอหนาที่หาของบทแรก เราก็พอจะเห็นทิศทางของเรื่องวาเปนนิยายชีวิตครอบครัว ชื่อเรื่อง กับความคิดของตัวเอกทําใหเราอยากติดตามอานตอไปวาครอบครัวที่ไมมีความสุขนี้ จะถูกดัดแตง อยางไร ตัวอยางที่ 2 เวลาที่ผานไปทุก ๆ วินาที ไดเพิ่มความเคียดแคนเกลียดชังในใจหญิงสาวเปน ทบเทาทวีคูณ ยิ่งรักมากเทาใดก็ยิ่งเคียดแคนชิงชังมากเทานั้น ทั้งรักทั้งแคนสุมแนนใน อก…รอนรนราวไฟนรกที่เผาไหมหัวใจอันบอบช้ําของหลอนจนมอดไหมเปนจุณ! บาดแผลที่ถูกฟาดตรงศีรษะนั้นเลือดแหงกรังและหายบวมไปนานแลว หากพิษ ไขพิษแคนที่รุมเราเขามานี่สิ ดึงดูดสติสัมปชัญญะสวนใหญของหลอนไปจนแทบหมดสิ้น บอยครั้งที่หลอนไดแตขดตัวกลม เนื้อตัวสั่นเทาดวยความเหน็บหนาว ปากพึมพําวาจา ไมไดศัพท ครวญครางออนวอนขอความเมตตา ครั้นพอไดสติในชวงเวลาสั้น ๆ หญิงสาวจะเหมอมองลําแสงเล็ก ๆ ที่ลอดผาน หลุมหลบภัยเกาและอับชื้นเขามาดวยสายตาเหมอลอย กี่วันมาแลวนะที่หลอนตองติดอยูในหลุมแหงความตายนี้ หาวัน…ไม…มันนาจะมากกวานี้ รางกายที่อดโซและหมดเรี่ยวแรงของหลอน เปนสิ่งที่ยืนยันไดดี หญิงสาวรวบรวมแรงกําลังเฮือกสุดทายยกมือพนม หันหนาไปทางทิศที่ตั้งของ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ตั้งจิตและสติที่กําลังจะหลุดลอยใหมั่น สูดลมหายใจลึกยาว ชั่วขณะหนึ่ง…จิตใจที่เรารอนสับสนทุรนทุรายและทุกขตรมดวยพิษรักเพลิงแคนกลับ สงบแนวแนและเปยมพลังขึ้นอยางประหลาด…

12


“…ชาตินี้เกิดมาโงเขลา ขี้ขลาด ออนแอ หูเบา เปนทาสของเขามาตลอด จึงตองมาตายอนาถเยี่ยงนี้ แตชาติภพตอไป ลูกสาบานจะเปนคนมีกําลังกายกําลังใจ แข็งกลา มีอํานาจเหนือใคร … ชีวิตนี้ลูกยกใหพวกเขา … แตชีวิตหนาทุกสิ่งทุกอยางที่ เขาและพวกมันทําไวกับลูก ลูกขอเอาคืน!” สิ้นคําสองมือก็ตกลงขางกาย สติสัมปชัญญะหลุดลอย! (ดวยแรงอธิษฐาน – กิ่งฉัตร) กิ่งฉัตร พาผูอานไปถึงปมแรกของเรื่องซึ่งเปนปมที่เธอใชเปนชื่อของนวนิยาย ‘ดวยแรงอธิษฐาน’ โดยดึงผูอานใหรูความคิดคํานึงของตัวเอกที่แมแตชื่อผูอานก็ยังไมรูจัก แตผูอานสามารถเขาใจเรื่องราวไดวา ตัวเอกแคนผูที่ทําใหเธอตองมาอยูในหลุมแหงความตายนี้ ยิ่งรักมากก็ยิ่งชิงชัง ทําใหผูอานคาดเดาไดวาผูที่ ทํารายเธอคือคนที่เธอรักนั่นเอง และอยากติดตามเรื่องตอไปวาจะเกิดเหตุการณใดขึ้นตอไป 5. การชี้แจง (Exposition) เปนการอธิบายแบบบรรยายสั้น ๆ ใหขอมูลรวบรัดใจความมากกวา วิธีบรรยายอยางละเอียด ตัวอยางที่ 1 กาลครั้งหนึ่ง มีชายผูหนึ่งกับภรรยา มีลูกสาวซึ่งสวยงามมาก เมื่อภรรยาของ เขาตายลง ปตอมาเขาก็แตงงานใหมกับหญิงที่เห็นแกตัวและเยอหยิ่ง นางมีลูกสาวสอง คนนิสัยเหมือนผูเปนแม คนทั้งสามใชใหลูกสาวของชายนั้นทํางานบานทุก ๆ อยาง เมื่อ ชายนั้นตายโดยไมคาดฝน เหตุการณยิ่งเลวรายขึ้นไปอีกกับเด็กสาวผูนาสงสาร แม เลี้ยงบังคับใหเธอลงไปนอนหองใตถุนขางฐานปลองผิงไฟซึ่งมีแตขี้เถา ตั้งแตนั้นมาใคร ๆ ก็เรียกเธอวา “แมขี้เถา” (ซินเดอเรลลา) ตัวอยางที่ 2 บานไมหลังใหญ ใตถุนสูงหลังนั้นตั้งอยูริมถนนลูกรัง เมื่อฤดูรอนมาถึง ลมที่ เคยพัดเย็นสบายก็หอบเอาฝุนสีแดงเขามาดวย โดยเฉพาะในยามที่มีรถวิ่งผานหรือลม วาวมาแรง ๆ (เฆมสีเงิน – กนกวลี พจนปกรณ) ตัวอยางที่ 3 พ.ศ. 2490 ประตูเหล็กดัดแบบสมัยเกาทั้งใหญและกวางจนดูเทอะทะนั้น กั้นอยูตรงปาก ทางเขาบริเวณอันกวางขวางไมต่ํากวาหาสิบไร ขนาบขางดวยกําแพงสูงทึบดานบนฝง เศษแกวแหลมคมเรียงรายราวกับเปนการประกาศหามอยูในที ถึงการลวงล้ําเขาไปใน บริเวณนั้นโดยพลการ (แตปางกอน – แกวเกา)

13


ตัวอยางที่ 4 “ครอบครัวเราเปนครอบครัวใหญ มีญาติพี่นองเยอะแยะ อยางที่ยาเนียมชอบ พูดวา… “ญาติวงศพงศาพญาขร ดั่งมัจฉาในสาครวาสี” ครอบครัวเรามีปูเปนหัวหนาครอบครัว ฉันคิดวาหลาย ๆ คนคงรูจักหรือเคยได ยินชื่อปูของฉันมาบาง…นายเหลียง สือพาณิชยไงละ แตในบาน ที่บริษัทหรือ แมกระทั่งคนทั่ว ๆ ไป เมื่อเวลาจะพูดกับปู หรือพูดถึงปูมักใชคําวา ‘ทาน’ แทนชื่อปู เสมอ….ยาเนียมเลาวา ตอนแรก ๆ ปูก็ไมคอยชอบใหใครเรียกอยางนั้น ปูวาขี้กลากมัน จะกินกบาลเอา แตเมื่อใครตอใครพากันเรียกมาก ๆ เขาจนติดปาก ปูก็เลยปลอยเลย ตามเลย (ลอดลายมังกร – ประภัสสร เสวิกุล)

2. การเลาจากมุมมอง (Point of view)

POV. หรือ Point Of View คือการเลาจากมุมมอง (ของ…..) ในเรื่อง ๆ หนึ่ง อาจจะมีมุมมองเดียว ตลอดเรื่องหรือเปลี่ยนมุมมองก็ได รูปแบบพื้นฐานของ POV. 1. บุรุษที่ 1 2. บุรุษที่ 2 3. บุรุษที่ 3 สําหรับคนเริ่มหัดเขียนไมควรใชปนกัน ควรเลือกอยางใดอยางหนึ่งกอนในขั้นเริ่มแรก 1. การเลาเรื่องโดยผานสายตาของบุรุษที่ 1 ตัวละครที่เลามักเปนตัวเอก เลาจากมุมมองของ ตัวเองวาฉันเห็นสิ่งนั้น ฉันเห็นสิ่งนี้ การใชบุรุษที่ 1 เปนผูเลาเรื่อง คือการเลาโดยใชความคิดและมุมมองของตัวละครตัวหนึ่ง โดยให ตัวละครนั้นเปนผูเลา ซึ่งอาจจะเปนตัวเอกของเรื่องหรืออาจเปนตัวรองหรืออาจเปนตัวผูรายของเรื่องก็ได โดย ใชสรรพนามบุรุษที่ 1 เชน ฉัน ผม ขาพเจา ตัวอยางที่ 1 จัน ดารา … นั่นแหละชื่อที่ผมขอแนะนําตัวเอง ในฐานะที่เปนเจาของเรื่อง พิกลนี้ และเราคงจะไดมักคุนกันตอไปอีกสักพักใหญอยูหรอก ถาผมไมมีอันเปนไป อยางใดอยางหนึ่งเสียกอน (เรื่องของจัน ดารา – อุษณา เพลิงธรรม) ตัวอยางที่ 2 สําหรับฉัน เมื่อตอนแมตั้งทอง แมฝนวาไปเที่ยวสวนดอกไม เก็บดอกลั่นทม มารอยเปนพวงมาลัยสวมขอมือ ฉันจึงไดชื่อวา ‘ลั่นทม’ แตดูเหมือนจะไมมีใครเคย เรียกชื่อนั้นเต็ม ๆ เสียที นอกจาก ‘นังทม’ จนฉันคุนหู นี่ถาหากมีใครมาเรียกฉันอยาง นั้น ฉันคงไมรูดวยซ้ําไปวาเขาเรียกฉัน เพราะฉันเกิดมานี่แหละ ใคร ๆ ในบานจึงมัก พูดวา ฉันเกิดมาเพื่อนําความ ‘ระทม’ ใหแกพอแม (รอยมลทิน – ทมยันตี) 14


2. การเลาเรื่องโดยผานสายตาของบุรุษที่ 2 ไมคอยนิยมเทาไร แตมุงใหผูอานรูสึกวามีสวนรวมกับ เรื่องที่เลานั้นดวย โดยที่ทําใหผูอานคิดวาตนเองเปนตัวละครที่ถูกกลาวถึง คุณปดกวาดบานเรือน เก็บสิ่งของที่เกะกะใหเขาที่เขาทาง ตกแตงหองหับ เปดหนาตางรับแสงอุน รับลมหอมพรอมตอนรับชีวิตนอย ๆ และแลวก็ถึงกําหนดคลอด คุณพาเธอไปโรงพยาบาล เจาหนาที่เข็นเธอเขาหองคลอด คุณเดินเปนเสือติด จั่นอยูหลายชั่วโมงและดูนาฬิกาซ้ําแลวซ้ําเลา ดั่งผานไปหลายกัปกัลป…กระทั่ง…นางพยาบาลอุมทารกนอย ๆ ออกมา คุณ เดินรี่เขาไปหา ปรากฏวาเปนลูกของพออีกคนที่กระวนกระวายพอ ๆ กับคุณ คราวนี้ใชแน นางฟาในชุดขาวสะอาด อุมลูกของคุณออกมา คุณโผเขาหา มองดูลูกคุณดวยความปติแกมวิตก วินาทีที่เห็นเขาวูบหนึ่ง คุณคิดถึงพอของคุณ “ครบไหม” คุณถามในใจถึงอาการสามสิบสอง “หญิงหรือชาย” ไมสําคัญ…เขาคือลูกของคุณ บัดนี้คุณคือ ‘คุณพอ’ (ลูกผูชายเลี้ยงลูก – ศักดิ์สิริ มีสมสืบ) คุณจะรูสึกวาคุณเขาไปทําอะไรในเรื่อง เพราะคุณก็ไมไดเปนตัวละคร ซึ่งการใชวิธีนี้ควรใชเขียน บทความสั้น ๆ หรือเรื่องสั้นมาก ๆ จะเหมาะกวานํามาเขียนในนวนิยาย

มี 2 แบบ

3. การเลาเรื่องโดยผานสายตาของบุรุษที่ 3

โดยใชสรรพนามวา เขา หลอน มัน เปนตน

แบบที่ 1 เลาเรื่องโดยผานสายตาของบุรุษที่สามแบบจํากัดผูเลา (Third Person Limited) (ผูเลาเพียงคนเดียว) คือการเลาเรื่องจากมุมมองของตัวละครที่กําลังอยูในบทบาทการกระทํา ถึงแมวาตัวละคร นั้นไมไดเปนผูพูดโดยตรง การเลาลักษณะนี้มักสรางความลึกซึ้งใกลชิดกับผูอานไดมากกวาการเลาแบบไม จํากัดผูเลา เพราะตัวละครที่เราใชเปนผูเลานั้นตองเปนตัวนําเสนอการกระทําหรือคําพูดและอารมณความรูสึก ผานจิตใตสํานึกของเขาเพียงหนึ่งเดียว ตัวอยางที่ 1 เมื่อมิเชลลรูสึกตัวอีกครั้งหนึ่งนั้น หลอนเพิ่งจะโงศีรษะขึ้นมาจากเบาะรถ หนักหัวไมนอย ไอเย็นฉ่ํายังคงกระจายอยูรอบตัว หลอนมองออกไปนอกรถ ผาน กระจกที่ฉาบดวยปรอทภายนอก แสงแดดรอนแรงสะทอนระยิบระยับอยูบนพื้นทราย เนินสูงต่ําของภูเขาทะเลทรายเห็นอยูทั่วไป รถคันนี้จะตองวิ่งมาตลอดคืนแน ๆ เพราะ เมื่อออกจากเกซาหนั่นเวลาเพิ่งสี่ทุมกวาเล็กนอย นี่หลอนกําลังจะไปไหน ใครจับตัวหลอนมา เขามีจุดประสงคอันใด ปานนี้ แคชฟยาจะวุนวายสักเพียงใดที่หลอนหายตัวไปอยางลึกลับ มิเชลลนึกไปถึงเหตุการณ ครั้งหนึ่งไมนานมานี้ จริงซี วิธีการคลายคลึงกัน รถไมมีทะเบียนและชายสามคนที่ ขนาบขางสตรีสาวผูนั้น…

15


มิเชลลใจสั่นระริก มือเย็นเฉียบ บอกตัวเองวารถกําลังไตขึ้นไปบนที่สูงนอย ๆ แลววนรอบวงเวียนอะไรสักอยาง พักหนึ่งตอมาจึงจอดสนิท หลอนมองผานกระจกออกไปแลวเบิกตากวางอยางประหลาดใจ ที่แหงนี้เปน เนินสูง แตสิ่งที่เห็นในบัดนี้หาใชทะเลทรายอันอางวางและแหงแลงไม หลอนเห็นความ ชุมชื้นทั่วไป เบื้องหนาหลอนออกไปคือตนไมหลากชนิดใหรมเงาเปนทิวแถว มี สิ่งกอสรางเปนตัวตึกสีขาวแบบทันสมัย ปลูกเปนหมวดหมูระดับที่หลอนอยูนั้น ยังไมสูงนัก เลยขึ้นไปเปนทางเวียนลาดสูตึกขาวมหึมาที่ตั้งเปนสงางาม ประตูเปดออกชา ๆ ลักษณะการผิดกับเมื่อแรกนักหนา มิเชลลซักผาคลุมหนา ทันที หลอนยังคงมือเทาเย็นเฉียบเมื่อมีเสียงสตรีดังมาจากรางในผาคลุมขางรถเปน ภาษาพื้นเมืองก็จริง แตสําเนียงไพเราะหู “เชิญซี เราขอตอนรับผูมาใหม” (ฟาจรดทราย – โสภาค สุวรรณ) ตัวอยางที่ 2 ‘นังขาว’ หรือ ‘อีขาว’ เปนหมาพันธุอะไรไมปรากฏ แตเมื่อมันเกิดบนแผนดิน ไทย มันคงจะมีสัญชาติไทย และตีความวาเปนพันธุไทยนั่นเอง แตจะเปนพันธุไทย แบบไหน เขาตําราเลมใดหรือไม ไมมีใครไปวิจัยวิเคราะหมัน รูแตวารูปรางหนาตา ของมันกระเดียดไปทางขี้เหร เตี้ย สั้น และยิ่งมีลูกออกมาถึง 9 ตัว แลวดวย ทําให มันดูเตี้ยลงไปยิ่งกวาเดิมอีก คาที่เตานมที่หอยเรียงรายกันตามลําดับ ตั้งแตโคนขาหนา มาถึงหวางขาหลังจนถึงเตานมสุดทายนั้นแทบจะลากติดดินดวยแรงดึงดูดของโลก เวลามันเดินไปไหนจึงเกิดภาพที่นาขัน คุณมกรซึ่งมีอาชีพเปนจิตรกรมักจะ บอกกับคุณนุจรีอยูบอย ๆ วา ‘อีขาว’ มันเปนหมาของปกัสโซ เขาหมายถึงงาน ประติมากรรมชิ้นหนึ่งของปกัสโซ ซึ่งเปนรูปแพะคลายหมา ดูบูดเบี้ยวและนาขบขัน ซึ่งแมวาจะดูเปนรูปสัตวที่นาสมเพช แตก็มีความนารักนาเอ็นดูแบบศิลปะ (บานสีขาว – พิษณุ ศุภ.) แบบที่ 2 เลาเรื่องโดยผานสายตาของบุรุษที่สามแบบไมจํากัดผูเลา (Third Person Omniscient) หมายถึงการเลาโดยผานสายตาของบุรุษที่สามมากกวาหนึ่งคน เรียกอยางงาย ๆ แบบ นักเขียนตะวันตกวา ‘God View’ แปลวา ผูเขียนเปนพระเจา มองเห็นความรูสึกนึกคิดและการกระทําของ ทุก ๆ คน ผูเขียนรูทุก ๆ อยาง ทุก ๆ แหง ทุกเวลาไมวาจะเปนอดีตหรืออนาคต หลังจากกินอาหารเชาที่รานเล็ก ๆ ในบริเวณสนามขางเรือนพฤกษชาติ วิศรุต และมธุรา นํานีราและพระพายเขาไปเดินเลนในสวนซึ่งถูกคลุมไวดวยเรือนไมระแนง รูปทรงแปลกตา “ที่นี่เขาจะปลูกไมเมืองรอนอยางเมืองไทย บราซิล ฮาวาย เอาไวมากแหละ ครับ” หนุมนอยอธิบาย“มีตนไมแปลก ๆ ที่เราไมเคยเห็นบอยนัก มีตนกระเชาสีดาใหญ มากดวยครับ โนนไงครับ” เขาชี้ไปที่กลุมกอสีเขียวซึ่งแขวนอยูสูงดานหนึ่งของเรือนนั้น “วินนี่รูเยอะนะ รูจักกระเชาสีดาดวยหรือ” นีราถาม กระเชาสีดาตนนั้นใหญ มาก มากกวาที่หลอนเคยเห็นในเมืองไทย วิศรุตยิ้ม เกือบพูดอธิบายที่มาของขอมูลซึ่งเขารูแตหยุดไวทัน เขาไมตองการ ทําลายความรูสึกรื่นรมยที่เห็นจากนีราและพระพาย 16


แตนองสาวของเขากลับเปนผูเฉลยแทน “พี่ผไทบอกคะ วาเมืองไทยเรียกวากระเชาสีดา นางสีดาที่เปนนางเอกเรื่องที่ พี่ผไทเลาจะตองตัวใหญมาก คงจะเปนยักษ ถึงไดมีตะกราใหญแคนั้น” เหลือบมองหลอน ใบหนาผุดผาดสะอานตานั้นไมมีเครื่องสําอางใดปรากฏให เห็นเลย เรือนผมสีดํามันรวบไวดานหลังดวยโบใหญสีขาวเชนเดียวกับเสื้อยืดคอกลม และกางเกงเขารูปสีดํา ทําใหนีราดูออนวัยลงมาก (ดวงใจในสายลม – กีรตี ชนา)

17


3. การสรางตัวละคร ตัวละคร

แบบที่ 1 ตุกตาเปนเด็กหญิงหนาตานาเอ็นดูที่ใคร ๆ ก็รัก โดยเฉพาะความหวงใยที่เธอมีใหกับ นองชายตัวนอย ๆ แบบที่ 2 นองปอมรองไหสะอึกสะอื้น เด็กหญิงตุกตาแนบแกมของเธอลงกับหลังของนองชาย “อยารองไหนะนองปอม เอาไอติมของพี่ไปกินก็ได พี่กินไมหมดหรอก” คุณประทับแบบไหน นี่คือตัวอยางของการทําใหเห็นดีกวาบอกใหรู

ตัวละคร คือคนที่ไมมีตัวตน เกิดจากตัวอักษรลวน ๆ เปนเพียงภาพในจินตนาการที่ทําใหรูสึก เหมือนมีชีวิต จนแยกไมออกวาแตกตางจากปุถุชนทั่วไปอยางไร ซึ่งผูอานจะเชื่อหรือไมขึ้นอยูกับการเขียน ตัวละครบางเรื่องผูอานจําไมรูลืม ตัวละครบางตัวจึงไมเคยตายจากความทรงจํา เรารูจักโกโบริ จากเรื่อง คูกรรม, เมฆขลา จากเรื่องแมเบี้ย, สมทรง จากเรื่องคําพิพากษา, พจมาน จากเรื่องบานทรายทอง, แมพลอย จากเรื่องสี่แผนดิน ฯลฯ สิ่งที่ทําใหผูอานไมลืมตัวละคร คือบุคลิกภาพที่นาสนใจของตัวละคร หรือยิ่งบุคลิกเดน ๆ ไม เหมือนใครก็ยิ่งจะจําไดงายขึ้น เราจําความซื่อและมั่นคงในความรักของ ‘ไอขวัญ’ ได เราจําภาพนักรักจาก ทั้งรูปรางหนาตาและคาถามอาคมของ ‘ขุนแผน’ ได ลองนึกตัวละครที่คุณยังจําไดแลวคอย ๆ พิจารณาวาเรา จําตัวละครเหลานั้นไดเพราะสาเหตุใด วิษณุ สุวรรณเพิ่ม แนะนําวิธีการสรางตัวละครโดยการทํา “เครือขายลักษณะตัวละคร” (Character trait web) เปนการสรางบุคลิก นิสัย และบอกลักษณะเฉพาะของตัวละครแตละตัวไว โดยการ วางลักษณะแตละตัวใหตรงกับรายละเอียดของเรื่องและเขียนตัวอยงที่เกิดขึ้นในเรื่องไวดวย ดังแผนภูมิ เครือขายลักษณะ ดังนี้ ตัวอยาง

ตัวอยาง

ลักษณะนิสยั

ลักษณะนิสัย

ตัวละคร ลักษณะนิสัย

ลักษณะนิสัย ตัวอยาง

ตัวอยาง

เริ่มดวยการตั้งชื่อตัวละคร ตรงที่วงกลมกลาง รายละเอียดใหสอดคลองกับเรื่อง และยกตัวอยางในแตละบทไว ผูเขียนไมหลงการเขียนนิสัยตัวละครในแตละตอน

18

และกําหนดลักษณะนิสัยตัวละครลงไปใน กําหนดลักษณะนี้ทุกตัวละคร จะทําให


หรือการทํา Worksheet ก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่จะชวยผูเขียนใหไมหลงลืมลักษณะตัวละคร โดย เฉพาะตัวเอกและตัวราย ควรทํารายการเพื่อจะไดแนวการสรางชีวิตของตัวละครใหนาสนใจมากขึ้น ดังนี้

Character Worksheet ชื่อ ......................................................................................................................................... ลักษณะทางกาย อายุ....................................................... สวนสูงและน้ําหนัก................................................. ตา......................................................... ผม............................................................................ ความสามารถพิเศษ................................................................................................................ ขอมูลสวนตัว การศึกษา................................................................................................................................ อาชีพ...................................................................................................................................... สถานภาพทางสังคม............................................................................................................... เผาพันธุตระกูล....................................................................................................................... ศาสนา................................................. งานอดิเรก................................................................. สถานภาพการสมรส........................... บุตร/ธิดา.................................................................. เพื่อนสนิท............................................................................................................................. ครอบครัว สถานที่เกิด............................................................................................................................. สมาชิกครอบครัว................................. สัตวเลี้ยง.................................................................. บุคลิกภาพ.............................................................................................................................. บุคลิกเดน............................................................................................................................... ภาพลักษณประจําตัว............................................................................................................... อารมณสวนตัว........................................................................................................................

19


วิธีการสรางตัวละครนั้น ๆ คือคุณจะตองรูเรื่องราวของตัวละครนั้น ๆ กอน โดยการตั้งคําถามทุก อยางที่คุณอยากจะรูเกี่ยวกับตัวละครตัวนั้น เชน คุณจะเขียนเกี่ยวกับหญิงสาวที่มีบทบาทเปนภรรยาของ ชายผูหนึ่ง โดยเธอมีลูกชาย 1 คน คุณตองคิดคําถามกอน - เธออายุเทาไหร? - นิสัยไมดีของเธอมีอะไรบาง? นิสัยดีมีอะไรบาง? - เธอสวยไหม? หยิ่งยโสหรือเปลา? - เธอคิดอยางไรกับสถานภาพของตนเอง - เธอรักลูกชายของเธอไหม? คุณรูไดอยางไร? - เธอทํางานอะไร? มีปญหาเรื่องเงินไหม? - เธอมีงานอดิเรกไหม? - เธอเปนแมบานที่ดีไหม? หรือวาเธอมีคนรับใช - ระดับการศึกษาของเธอ? เธอเรียนเกงไหม? - สิ่งที่เธออยากทําที่สุดกอนเธอจะแตงงานคืออะไร? เธอไดทําหรือเปลา? - ทําไมเธอจึงแตงงานกับเขา? อยูดวยกันกอนแตงหรือเปลา? เขาเคยมีแฟนหรือมีภรรยามา กอนไหม? อะไรที่ทําใหเธอไมชอบเขา? - ภูมิหลังของเธอเปนอยางไร? - ฯลฯ ใหลองถามคําถามเหลานี้กอน โดยที่คุณตอบใหเธอ แลวคิดวาเธอจะตอบอะไรเวลาพูด มีน้ําเสียง เปนอยางไร วิธีการแนะนําตัวละคร 1. การชี้แจง (Exposition) การเลาโดยการชี้แจง คืออธิบายตัวละครแบบรวบรัด กระชับที่สุด กลาวคือเอาแตเนื้อ ๆ เปนวิธีที่ทําใหผูอานเห็นรายละเอียดของตัวละครนอยกวาวิธีอื่น อาจเรียกไดวาเห็น ภาพไมชัดมากที่สุด ครูสมหวังเปนคนรางสูง แข็งแรง เลนกีฬาไดหลายชนิด แตที่ชอบมากกวา อยางอื่นเห็นจะเปนมวย ตอนเย็น ๆ เขามักเอานวมมาใหเด็กสวมตอยกันจนรองไหไป ขางหนึ่งจึงจะหยุด บอกวาจะสรางแชมปโลกในอนาคตขึ้นมาสักคน วันเสารและ อาทิตย ครูสมหวังจะขับรถมอเตอรไซคไปเลนพนันมวยโทรทัศนที่บานผูใหญบาน... (เศษปกผีเสื้อ – กานติ ณ ศรัทธา) 2. บรรยาย (Description) เปนการเลาที่ทําใหเห็นภาพตัวละครชัดขึ้นอีกระดับหนึ่ง ขณะที่อนงคนอนกายหนาผากคิดถึงประวิช คิดเทาไรยังคิดไมออกอยูนั้น ที่ เตียงใกลกับอนงค ปริศนาก็กําลังนอนคิดถึงเรื่องที่ประวิชเปนตนเหตุอยูเหมือนกัน แต คิดคนละแงกับอนงค ปริศนาคิดถึงผูที่อนงคไมไดคิดไปถึงคือ ทานชายพจน ปริศนานึก ไมออกวาทายชายพจนทําอยางไร จึงจะเอาประวิชกลับวังกับทานได ประวิชออกไมมี สติอยางนั้น คงจะเอะอะอาละวาดตอหนาคนทั้งหลายที่ราชวงศ ปริศนาอยากเห็นหนา ทานชายเวลานั้นเปนกําลัง ทาทางทานคงเฉย ๆ รับสั่งเบา ๆ แตเนตรคงดุอยางนา 20


กลัวเปนที่สุด ปริศนาชอบเนตรดุของทานชาย รูสึกวามีอํานาจทําใจแข็งของคนใหออน ปอแปไปไดอยางนาประหลาด นอกจากเนตรดุ ทานชายยังมี ‘เนตรเหยี่ยว’ คือมองดู เขม็งคลายกับจะใหทะลุเขาไปขางในจนรูเห็นนิสัยของผูถูกมองและ ‘เนตรซึ้ง’ ซึ่งเคยทํา ใหปริศนาหนาเปนสีชมพู (ปริศนา – ว. ณ ประมวญมารค) 3. การกระทํา (Action) เปนวิธีใหผลที่สุดในการทําใหผูอานรูจักตัวละครในนวนิยาย แมวาจะยืดเยื้อบาง แตก็ทําใหผูอานรูถึงอุปนิสัยของตัวละครนั้น ๆ “เขามาทางนี้กอน เดี๋ยวมีคนเห็น” เขาพูดเครียดเปนคําสั่ง เขาความือของนอยแลวดึงเขาไปในหองนั้น หลอนยืนตัวสั่นดวยความตระหนก แสงสวางที่เรื่อเรืองอยูในหองคือแสงเทียนที่ จุดไวกับพื้นดานใน หนาตางทุกบานปดหมด รางของเขาหันมาหาหลอนเมื่อประตูลงกลอนแลว ดูสูงใหญยิ่งขึ้น เพราะแสง เทียนที่สองจากดานลาง นอยถอยหลังกรูดจนไปชนกับผนังหองอีกดานหนึ่ง เขากาว เขามาโดยที่นอยเลี่ยงหลบไมทัน มือใหญทั้งสองขางนั้นตะครุบบาของหลอนไว “อยา...อยาทําอะไรฉัน” นอยพูด แตหลอนแทบไมไดยินเสียงของตัวเองเลย “ไมเจ็บตัวหรอกถาไมแหกปากสงเสียง” แมวาเขาจะพูดเสียงเบา แตมันก็ดัง พอที่จะทําใหความหวาดกลัวของนอยพุงขึ้นจนถึงขีดสุด ทรุดรางลงนั่งชันเขา สองมือกอดแขนตัวเองไวแนน “มึงอยามาทําตกอกตกใจ ไมอยากแลวมึงออกมาหากูทําไม จะมาวากูขาง เดียวไมไดนะ หรือมึงจะเถียง” นอยใจหวิว ๆ ความตระหนกแลนเขาเกาะกุมหัวใจอยางที่ไมเคยรูสึกเชนนี้เลย ยกมือขึ้นประนมไหว มือทั้งสองที่กระทบคางนั้นสั่นระริก... ...มือของเขามือหนึ่งยื่นมาที่ใบหนาของนอย หลอนเอียงหลบ แตก็ไมพน ความสากหยาบของผิวอุงมือใหญนั้น นอยสะอื้นไห หยาดน้ําอุนจัดรินไหลจากหัวตาลงไปตามรองแกม... ...มือของเขาลูบต่ําลง เรื่อยระไปยังลําคอ ตอไปจนถึงคอเสื้อและต่ําลงไปอีก นอยสะบัดตัว ผลักมือนั้นออก แตอีกมือหนึ่งกลับความาบีบคอของหลอนอยางแรง แรงจนหลอนเจ็บและสง เสียงไอออกมา... หลอนกลัวจนปวดประสาทตาทั้งสองขาง กิริยาลนลานของหลอนเหมือนลม พัดไฟที่โชนอยูในดวงตาของเขา นอยเจ็บแปลบที่ตนแขน เมื่อเขากระชากหลอนใหลมลงกับพื้นหอง แรงที่ลม ลงนั้น ทําใหเงารางของเขาจากแสงเทียนซึ่งดูใหญทะมึนอยูบนผนังอีกดานหนึ่งของหอง สั่นไหวไปมาราวกับลีลาของปศาจ (ขนมจีนปาทองดี – กีรตี ชนา)

21


4. ความนึกคิด (Thought) ผูอานจะรูจักตัวละครของคุณได เมื่อคุณรูจักตัวละครของคุณดี คุณตองเขาไปในใจในความนึกคิดของตัวละครใหตัวละครบอกเลาความนึกคิดนั้นออกมา ยิ่งลึกซึ้งเทาใด ผูอานก็จะยิ่งเขาใจตัวละครยิ่งขึ้นเทานั้น วาปถอนหายใจยาว...ผูชายพรอมอยางทักษนี้หายากนักหนา วาปรูสึกมานาน แลว และยิ่งรูสึกหนักขึ้นไปอีก เมื่อไดมาเดินดนดั้นดมฝุนและควันทอไอเสียรถ หลังจากกลับมาจากบานเมืองอันศิวิไลซแลวนี้ หอบหิ้วถุงกับขาวเขาบานเชาเย็น จะ หยิบเงินออกซื้อหาอะไรแตละครั้งก็ตองคิดกันแลวกันอีกหลายตลบ วันหยุดทั้งวันหมด ไปกับการซักผารีดผา ทําความสะอาดบาน จนเหงื่อไหลไคลยอย จะหาลูกมือสักคน ชวยเหลือก็ทั้งยาก แลววันจันทรก็มาถึงเพื่อจะงกเงิ่นออกไปทํางานอีก ทั้งยังไมหาย เหนื่อยเพลีย นี่จะมีวันสักวันไหม...ที่หลอนจะไดเปนเมียเศรษฐี ไดมีชีวิตอยางสุขสบาย อยางใครอื่นเขาบาง มัน...ก็...จวนแลวละ... ก็หลอนไมตองไปวิ่งดักจับเศรษฐีอยูตาม แหลงสังคมชั้นสูงที่ไหนเลย ไมตองตะเกียกตะกายปรุงแตงตัวเองใหหรูแลวไปยืนลอ เศรษฐีสักคนที่จะหลนมาติดกับตามมุมเมืองตาง ๆ ที่เดาวาเขาจะเฉียดกรายไป ทักษ ผานเขามาในชีวิตของหลอนเองอยางนุมนวลและละมุนละมอม เขารักหลอนและเลือก หลอนดวยความเต็มอกเต็มใจ เขาพร่ําบอกหลอนวา ทุกสิ่งทุกอยางที่เขามีและเปนอยู เวลานี้ทั้งหมด วันหนึ่งมันจะเปนของหลอน เขาพร่ําบอกหลอนวาอยาไดกลัวอนาคต เลย หากมีเขาอยูเคียงใกล (ปลาหนีน้ํา– สิริมา อภิจาริน) 5. บทสนทนา (Dialogue) เปนวิธีสรางภาพคาแรกเตอรของตัวละครใหเดนชัดอีกวิธีหนึ่ง ซึ่ง ตัวละครเปนผูนําเสนอดวยคําพูดของเขาเอง “ผมคอยคุณอาตั้งนาน” โตมรวา เขายิ้มนิด ๆ เมื่อมองดูรถรุนใหมเอี่ยม “รุนใหมเชียวนะครับ” แขกผูมาหายิ้มอยางเกอเขินพิกล “ก็...เออ...ครับ ใหมหนอย” “นากลัวจะเหยียบหาแสนกระมัง” โตมรเลื่อนเกาอี้ใหแขก “เมืองไทยนับคัน ได” เขานึกโกรธภรรยาที่บานที่สั่งรถคันนี้ใหเขาแทนที่จะใชรถเล็กกวา แตเมื่อ แตงตัวแลว รถเทียบอยูแลวก็เลยตามเลย ไมอยากจะเปลี่ยนคันอื่น ประจวบกับกําลัง เหอลืมคิดไปวาเขากําลังจะมาพบคนชางเยาะ “ไดยินวาคุณหญิงอยากจะไดบางเหมือนกัน” เขาหยิบผาเช็ดหนาขึ้นซับ หนาผากอันลานเลี่ยน “คุณแมนะหรือ” โตมรหัวเราะ “ทานไมชอบรถอเมริกันหรอกครับคุณอา ทานชอบรถยุโรป บอกวารถอเมริกันเติมน้ํามันทีไรใจหายทุกที แตถามีไวนั่งเพื่อ ประดับเกียรติผมวาก็ดี” นั่นปะไร โดนเขาแลวไหมละ

22


“ผมไมชอบเลย รถอยางของคุณอา” โตมรพูดสืบไป “ผมคงอายแยทีเดียวถา ตองนั่งรถคันนี้ผานคนที่ยืนรอรถเมล กลัวเขาจะคิดวา เอะ ไอนี่ทํามาหากินอะไรหวาถึง ไดรวยนัก” เขาพูดตอไปวา “แตอยางคุณอาก็ไปอยางนะครับ เพราะตําแหนงหนาที่ ใหญโต ใชรถเล็กไมสมกับตําแหนง ผมมันพวกลอยชายไปวัน ๆ ตองใชใหสมกับสภาพ ของตัวเอง” “ฐานะอยางคุณจะซื้อสักสิบคันก็ยังได” แขกผูมาเยือนกลาว “คุณร่ํารวยเปน เศรษฐี” โตมรยิ้ม ๆ “มีธุระอะไรกับอาหรือเปลา” “ครับ ผมก็อยากจะไปพบอยูเหมือนกัน แตที่บานคุณอานะ คนพลุกพลาน ผมเลยเชิญ...” “โอะ ไมเปนไร อามาได มาได” ทําไมจะมาไมไดละ โตมรนึกในใจ บริษัทที่นายคนนี้เปนหุนสวนใหญเปนหนี้ ธนาคารของเขาเทาไหร ไดหรือไมไดก็ตองมาวันยังค่ํา (เขาชื่อกานต – สุวรรณี สุคนธา) (รวมทั้ง 5 แบบ)

ผูหญิงคนนั้นเกือบจะเรียก ‘เปลือย’ ทั้ง ๆ ที่เจาหลอนนุงผานุงผอนเรียบรอย ขณะนั้นเปนเวลาตีสองกวาแลว รถดวนสายใตที่เขานั่งโดยสารมา วิ่งออกมา จากสถานีชุมพร หลังจากที่ไดสวนทางกับรถขึ้นมาไดเกือบครึ่งชั่วโมง เขาซึ่งอิ่มขาวตม เปดมาชามหนึ่งจากชุมพร ก็เริ่มนั่งงุบหลับตอไปใหมบนเกาอี้ในแถบที่วางคนทางหัว โบกี้ ไมมีคนโดยสารทั้งหนาหลัง โดยเฉพาะที่นั่งขาง ๆ เขาแตงกายดวยเสื้อผาที่ออกจะเกาคร่ํา มันเปนชุดสีน้ําเงินเกา ๆ ไมมีกลีบ ไม มีราคาสําหรับจํานํา มิหนําซ้ําเสื้อแจกเก็ตที่เดาะใสทับลงไปกันหนาว ก็ชราและ สมบุกสมบันจนมีรอยเปอนน้ํามัน มีรูขาดและเอวเสื้อที่ทําไวสําหรับยึดรัดก็เสื่อม สมรรถภาพเปนเทิบทาบ หลอนมาจากหลังโบกี้ซึ่งตอเชื่อมกับรถชั้นหนึ่ง ในมือขวาของหลอนมีชะลอม ใบยอม ๆ สําหรับใสผลไมของกิน ตลอดจนเสื้อผาบางชิ้นของหลอน หลอนเดินประคองตัวเอามือซายแตะหัวพนักเกาอี้มาตามชองทางเดินอยางเร็ว ทําทาจะผานออกไปทางหัวโบกี้ แตพอเดินมาถึงเขา...เจากรรม! ใหมีอันเปนไปให หลอนลมเซถลาแลวก็ผวาเขามาลมทับรางเขาที่กําลังหลับ อกนุม ๆ ของหลอนปะทะเขาที่ไหลของเขา เมื่อเขาสะดุงตื่นขึ้น มือซายของ เขายกขึ้นรับรางของหลอนไวพอดี เปนการชวยไวไมใหศีรษะของหลอนกระทบกับขอบ หนาตาง สวนตึงของหลอนประทับชิดรางของเขาเต็มที่ ตนคอที่ขาวเปลือยของหลอนอยู ตรงจมูกที่เขาใชหายใจพอดี ถึงแมจะเปนในขณะที่เขาสะดุงตื่นก็อดรูสึกไมไดวา เขาได กลิ่นเนื้อสาวอยางไมนึกฝนเปนครั้งแรก หลังจากสิบปที่ผานมาอยางแหงแลงและเปนที่ แปลกจมูกของคนอายุสี่สิบปอยางเขา 23


เมื่อหลอนเผยอตัวขึ้น ดึงความนิ่งของทรวงอกออกไปจากไหลของเขา เขายก มือซายลูบไหลของเขาอยางไมรูตัว ทําราวกับวาสวนหนึ่งของไหลของเขาเมื่อกี้นี้ได หายไปพรอมกับอกเต็มของหลอนดวย (ชุมทางเขาชุมทอง – ส. อาสนจินดา) ขอแนะนําในการกําหนดชื่อตัวละคร 1. อยาใชชื่อของคนรูจัก ถึงแมวาคุณอยากจะเอาใจเพื่อน คุณอาจจะทําใหเพื่อนที่คุณนําชื่อมา ใชเปนตัวละครของคุณเขาใจผิด คนที่ชอบความเปนสวนตัวจะไมชอบอานเรื่องของตัวเอง แมวาเรื่องนั้นจะ เปนเรื่องจริงและเปนเรื่องดี ๆ ก็ตาม 2. อยาใชชื่อ-นามสกุลที่เหมือนชื่อของคนที่มีตัวตนจริง ๆ อยาพยายามเพิ่มหรือเปลี่ยนตัวอักษร แบบที่ยังจําชื่อเดิมได ถาคุณเขียนใหตัวละครชื่อ ‘หภัสรา องสกุล’ ใคร ๆ ก็เดาไดวาคุณแปลงมาจากชื่อของ ใคร 3. อยาใชชื่อที่อาจสับสนกับชื่อตัวละครที่โดงดังจากนวนิยายเรื่องอื่น เชน ถาคุณตั้งชื่อตัวละคร วา ‘ชีพ ชูชัย’ หรือ ‘พจมาน สวางวงศ’ คุณอาจจะถูกฟอง ที่แยกวานั้นก็คือคุณจะถูกประณามวาไมมี ปญญาตั้งชื่อตัวละครเอง 4. อยาใชชื่อยาว ๆ ลองคิดดูวาผูอานจะคิดอยางไร หากนางเอกของคุณชื่อ ‘สุวภาพิไล’ แคเขียน หรือพิมพชื่อนั้นสักรอยครั้งก็เหนื่อยแลว แตก็ใชไดถาตัวละครเปนเจานายหรือผูมียศถาบรรดาศักดิ์ในสมัย โบราณ 5. อยาใชชื่อตัวละครที่สะกดหรือออกเสียงคลาย ๆ กัน - เลี่ยงการใชชื่อที่ขึ้นตนดวยตัวอักษรตัวเดียวกัน เชน สุพจน สุพิศ สุดา สุวัฒน สุภา ฯลฯ หรือลงเสียงคลาย ๆ กัน เชน บุษยา สุดา นภา ปทมา ฯลฯ - เลี่ยงการใชชื่อที่อาจสับสนวาเปนเพศใด เชน ประยูร ถนอม ฯลฯ - อยาจับชื่อ-นามสกุล เขาชุดมากเกินไป จนผูอานคิดวาเรื่องนี้นิยายไปหนอย เชน วรัญญา วราวงศ, ปณิตา ปารมี ฯลฯ - เลี่ยงการใชชื่อที่มีคนใชกันมากแลว แตถาตองการใหตัวละครตัวนั้นชื่อโหลหรือชื่อธรรมดา ก็เปนเรื่องที่ทําได

24


4. การเขียนบทสนทนา จําเปนไหมที่เราจะตองบอกวา หลอนพูดอยางเกรี้ยวโกรธ ถาเราทําใหผูอานเห็นภาพไมได เราก็ ตองเขียนบอก ซึ่งทําใหเกิดความนาเบื่อ มีขอแนะนําในการเขียนบทสนทนาดังนี้ 1. ระวังในการบอกวาใครเปนเจาของบทสนทนา ตัวอยางเชน เขาพูด เขากลาว หลอนเปรย ผมพูด ฯลฯ คําเหลานี้ทําใหรูวาตัวละครใดพูด แต ถามีตลอดจะทําใหเกิดความนาเบื่อหนายและนารําคาญ หรือไมมีเลยก็ทําใหเกิดความสับสน แลวเวลาไหน ควรใชชื่อตัวละคร เวลาไหนใชสรรพนามบุรุษที่ 3 เปนสิ่งที่ยากมากที่จะเลือกใช ปายชื่อผูพูด มักเขียนหลังประโยคคําพูด เริ่มแรกอาจใชชื่อตัวละครกอนแลวจึงใชสรรพนามบุรุษ ที่ 3 หรืออาจเขียนแทรกกลางบทสนทนาเพื่อใหเกิดอารมณที่ตางไป เชน “คุณนะรักฉันไหมคะ” หลอนถาม “คุณนะ” หลอนถาม “รักฉันไหมคะ” นอกจากนี้ก็ไมจําเปนตองใชคําวา ‘พูด’ เสมอไป อาจเปลี่ยนคํากริยาที่ทําใหผูอานเห็นภาพได เชน กรีดรอง รองร่ํา กระซิบ คราง รําพัน ตะเบ็ง ฯลฯ หรือใชวิธีบรรยายลักษณะอาการที่ตัวละครพูดแทนก็ได เชน หลอนพูดนัยนตาเบิกกวาง หลอนพูดสะบัดเสียงอยางประชดประชัน เขาพูดและลวงเงินออกจากกระเปาเสื้อ เขาพูดในขณะที่กดกริ่งประตูบานหลายครั้ง ฯลฯ 2. ระวังประโยคสนทนาที่ยาวไมรูจบ 3. ระวังบทสนทนาที่เปนปาฐกถาหรือพระเทศน 4. ระวังบทสนทนาแบบนักขาวหรือนักเขียนสารคดี มากกวาใหตัวละครพูดเอง

25

เพราะพวกเขามักใชวิธีบรรยายคําพูด


ตัวอยางบทสนทนาที่ไมดี “เปนไงพงษ สบายดีหรือ” ชัยพูด “สบายดี แลวคุณละ” พงษถาม “ก็โอเค พงษ” ชัยตอบ “ก็ดี” พงษพูด ชัยถามวา “คุณคิดวารถคันนั้นเปนอยางไรบาง” พงษตอบวา “ผมวาสวยดีนะ” “ผมวา” ...เขาพูด “ก็สวยดีเหมือนกัน” “นั่นซิ” เขาพูด “ก็ดีนะ” “ผมก็วาอยางนั้น” เขาพูด “ผมก็เหมือนกัน” เขากลาว มีหลายแบบแตเมื่อนํามาผสมกันก็สะเปะสะปะ ทําใหผูอานงุนงง ตัวอยางบทสนทนาที่ยาวไมรูจบ “หยุด! นี่เปนคําสั่งตํารวจ” “อะไรกันพี่ ผมไมไดทําอะไรสักหนอย” “อยูเฉย ๆ นะ นายกําลังถูกจับกุมตัว” “พี่...ไมใชผมนะ ผมไมใชขโมย” “ไมตองพูด หันหนาชนกําแพงเดี๋ยวนี้” “โอยพี่ ผมเจ็บแขนนะ” “เอา...เขาไปนั่งหลังรถ” “โอย...หัวผม” “ไมตองพูดอะไรจนกวาจะถึงโรงพัก” “ถึงรึยังละครับหมวด” “เอาละ ออกมาจากรถ เขาโรงพักกันเลย” จะเห็นวาดําเนินเรื่องเร็วเกินไป ควรจะมีบางสิ่งบางอยางดึงใหชาลงและบอกใหเรารูวาเกิดอะไรขึ้น ตัวอยางบทสนทนาแบบสามัญ “วาไงสันติ สบายดีหรือ” แดงถาม “สบายดี แลวคุณละ” สันติตอบ “ผมก็สบายดีสันติ ขอเวลาคุยดวยสักหนอยไดไหม” “ไดสิแดง มีอะไรหรอ” “ผมมีเรื่องจะเลาใหฟง” แดงพูด “เรื่องอะไรหรือ” “ผมเพิ่งถูกรถชน” 26


“จริงหรือ!” “จริงซิ ผมมองไมเห็นรถนั่นหรอก ตอนนี้ผมไมเปนไรแลว แตผมตองบอกคุณ...ผมไมคิด วามันเปนอุบัติเหตุหรอก” สันติไดแตมองแดงอยางตกใจ “ผมคิดวาพวกมันตามจัดการผมนะสันติ” บทสนทนานี้ควรเริ่มตั้งแต “ผมเพิ่งถูกรถชน” กอนหนานี้เยิ่นเยอเกินไปจนนารําคาญ วิธีการที่จะใหรื่นและสมดุล ควรปรับเปลี่ยนฉากใหม เปน แดงกาวเขาไปในหองทํางานของสันติ หลังจากเงียบงันไปครูใหญ แดงจึงพูดขึ้นวา “ผมเพิ่งถูกรถชน”

และยืนนิ่งอยูจนกระทั่งสันติเงยหนาขึ้นมอง

ฉะนั้นควรหลีกเลี่ยงสามัญบทสนทนา ที่บอกถึงความมีมารยาทของตัวละคร เชน วาไง สบายดี หรือ, สบายดี คุณละ ฯลฯ คําอธิบายอาการมีมากมาย ควรนํามาใชดีกวาบอกตรง ๆ เชน “ไป ออกไปใหพน” เขา/หลอน พูดดวยอารมณโกรธ คําวาโกรธ อาจแสดงออกดวยวิธีการอื่น ๆ เชน เขาคํารามอยางนากลัววา “.............................” หรือ “...............................” เขาคํารามอยางนา กลัว เขาตะเบ็งเสียงวา “..................................” หรือ “..................................” เขาตะเบ็งเสียง หลอนตวาดเสียงลั่นวา “.................................” หรือ “..................................” หลอนตวาดเสียงลั่น หลอนสะบัดหางเสียงอยางมะนาวไมมีน้ําวา “..................................” หรือ “...............................” หลอนสะบัดหางเสียงอยางมะนาวไมมีน้ําใสหนาเขา

27


4. การเขียนเรื่องสั้น เรื่องสั้นเปนรูปแบบการเขียนบันเทิงคดีที่รับมาจากตะวันตก หมายถึงบันเทิงคดีขนาดสั้น แมจะ ไมไดกําหนดแนนอนตายตัววาความยาวตองเปนเทาใด แตมีลักษณะเดนเปนเกณฑกลางอยูวาจะตองเสนอ แกนเรื่องเพียงประการเดียว โดยแสดงออกมาในวิกฤติการณเดียวของชวงชีวิตตัวละคร มีตัวละครนอย ใชฉากและเวลาจํากัด ลักษณะเดนเหลานี้ตองนําไปสูความสมบูรณในตัวเองของเรื่องสั้น ทําใหเรื่องสั้นมี ลักษณะเสร็จสิ้นกระแสความในตัว

ลักษณะของเรื่องสั้น

เจือ สตะเวทิน สรุปลักษณะสําคัญของเรื่องสั้น ไวดังนี้ 1. โครงเรื่อง (Plot) หมายถึง การผูกเคาโครงของเรื่อง เปนการรางเรื่องอยางคราว ๆ วาจะให เหตุการณเกิดขึ้นอยางไร ดําเนินไปอยางไรและจบอยางไรจึงจะสามารถแสดงจุดมุงหมายของเรื่องไดเดนชัด ที่สุด และจะตองคํานึงถึงความนาติดตามดวย 2. เรื่องสั้นจะตองมีจุดมุงหมายของเรื่องเพียงประเด็นเดียว เรื่องสั้นเรื่องหนึ่งควรแสดงโลกทัศน หรือความคิดในแงใดแงหนึ่งของชีวิตเพียงประการเดียว ขอใหรําลึกวาเรื่องสั้นมีขอจํากัดดานความยาว ผูเขียน จะตองพยายามแสดงจุดมุงหมายที่ตองการจะสื่อสารของตนใหชัดเจนดวยขอความไมกี่หนา จึงจําเปนอยูเองที่ จะมีประเด็นอื่น ๆ นอกจากจุดมุงหมายสําคัญของเรื่องไมได ผิดกับการเขียนนวนิยายซึ่งผูเขียนสามารถแสดง ประเด็นปญหาและความเห็นไดมากกวา 3. เรื่องสั้นตองใชฉากและเวลาในการดําเนินเรื่องดวย เรื่องสั้นสวนใหญมักมีฉากสําคัญเพียงฉาก เดียว เปดเรื่อง ดําเนินเรื่องและปดเรื่องที่ฉากนั้น สวนเวลาในการดําเนินเรื่องนอย มิไดหมายความวา ระยะเวลาของเหตุการณในเรื่องจะยาวนานเกินเทานั้นเทานี้ไมได ระยะของเหตุการณในเรื่องสั้นอาจจะ ตอเนื่องหลายชั่วชีวิตคนก็ได แตผูเขียนเรื่องสั้นจะตองแสดงออกใหสั้น กระชับ โดยใชศิลปะของการเขียน 4. เรื่องสั้นตองมีตัวละครนอย เนื่องจากลักษณะของเรื่องสั้นจะตองมีเหตุการณสําคัญอยางเดียว จุดมุงหมายเดียว และผลงานของเรื่องเพียงอยางเดียว จึงจําเปนตองมีตัวละครเอกนอยดวย เพื่อดําเนินเรื่อง ไปสูจุดหมายสําคัญของเรื่องไดรวดเร็วและเปนเอกภาพ 5. เรื่องสั้นตองมีขนาดสั้น มีหลักพอสรุปไดวาคําทุกคําที่เขียนลงไปจะตองมีผลตอการมุงไปสู จุดหมายของเรื่อง ไมบรรยายหรือพรรณนายืดยาวโดยใชเหตุ แตจะกําหนดแนนอนวาความยาวควรจะเปน เทาไรก็ทําไดยาก ปกติเรื่องสั้นที่ตีพิมพตามนิตยสารจะมีความยาวประมาณ 4-6 หนา พิมพยาว แตที่สั้นหรือ ยาวกวานี้ก็มีบาง 6. เรื่องสั้นตองมีความกระชับรัดกุมทุกดาน ลักษณะนี้คือผลรวมของลักษณะ 5 ประการดังกลาว ขางตน ผูเขียนเรื่องสั้นตองอาศัยศิลปะการเขียนและกลวิธีตาง ๆ เพื่อสรางความกระชับรัดกุมในเรื่องสั้นของ ตน

28


ประเภทของเรื่องสั้น

มานพ ถนอมศรี กลาวถึงแนวทางการเขียนเรื่องสั้นในปจจุบันไววามีหลายวิธี สรุปได 12 แนวทาง ดังนี้ 1. เรื่องสั้นแนวสะทอนชีวิต เปนเรื่องสั้นที่นําเสนอเรื่องราวที่เกี่ยวของกับชีวิตผูคนในแงมุมตาง ๆ เชน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ความเชื่อ ฯลฯ ทั้งในแงที่เปนปญหาและความสุข มุงหมายเพื่อใหเขาใจ ถึงแกนแทของการมีชีวิตที่มีความหลากหลายและแตกตางกัน 2. เรื่องสั้นแนวความรัก เปนเรื่องสั้นที่นําเสนอเรื่องราวที่มีความรักเปนเปาหมายสูงสุด ไมวาจะ เปนความรักในแบบหวานชื่น สมหวัง หรือความรักผิดหวัง พลัดพรากหรือขมขื่น เพื่อแสดงใหเห็นถึง อิทธิพลของสิ่งที่เรียกกันวาความรักอันมีตอชีวิตมนุษย 3. เรื่องสั้นแนวลึกลับ เปนเรื่องสั้นที่นําเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับความมหัศจรรยลึกลับของสิ่งที่ เกิดขึ้นจากสภาวะที่ไมอาจจะหาคําตอบได เชน เรื่องผี วิญญาณ และเหตุการณเหนือจริงซึ่งยังไมไดรับการ พิสูจนของธรรมชาติตาง ๆ เพื่อสรางความตื่นเตน ระทึกใจ ฉงนสนเท ใหเกิดขึ้นแกผูอาน 4. เรื่องสั้นแนวฆาตกรรม เปนเรื่องสั้นที่เสนอเรื่องราวของความสยดสยอง นากลัวของการเขน ฆาอันมีที่มีและวิธีการตาง ๆ ซึ่งผิดแผกไปกวาจะเปนสิ่งที่มนุษยกระทําตอมนุษย โดยอาจสอดแทรกคติ สอนใจหรือปญหาทางสังคม จิตวิทยา และอื่น ๆ 5. เรื่องสั้นแนววิทยาศาสตร เปนเรื่องสั้นที่เสนอเรื่องราวอันเปนผลจากปฏิบัติการทาง วิทยาศาสตร ทั้งที่เปนทฤษฎีที่เกิดขึ้นมาแลวหรือทฤษฎีที่เกิดขึ้นจากความคิดของผูเขียน แสดงใหเห็น อิทธิพลของวิทยาศาสตรที่มีตอชีวิตมนุษย ทั้งในแงดีและราย 6. เรื่องสั้นแนวเพอฝน เปนการนําเสนอเรื่องราวดวยจินตนาการของผูเขียนในแบบกึ่งจริงกึ่งฝน แสดงความฟุงกระจายทางความคิดของผูเขียนที่มีตอสิ่งที่พบเห็น ทําใหเรื่องสั้นประเภทนี้มีลักษณะเหมือน นิทาน มากกวาสิ่งที่เกิดขึ้นในโลกของความเปนจริง สวนใหญมักเสนอในรูปแบบของความสวยงาม 7. เรื่องสั้นแนวประชดประชันเสียดสี เปนการเสนอเรื่องราวที่เกิดขึ้นในสังคมดวยทัศนคติที่เกิด จากความขัดแยงของผูเขียน เพื่อใหเห็นแงมุมมองใหม ๆ โดยผานทาทีกึ่งเลนกึ่งจริง เสียดสี ประชดประชัน เยยหยัน สวนใหญมักพบในเรื่องสั้นสะทอนการเมือง 8. เรื่องสั้นแนวขบขัน เปนเรื่องสั้นที่วางจุดมุงหมายไวเพื่อความบันเทิง สนุกสนาน เบิกบานใจ โดยมีเปาหมายใหผูอานรูสึกขบขัน เกิดเสียงหัวเราะและรอยยิ้ม ปราศจากการเสียดสี ถากถาง มักเปนเรื่อง ที่คอนขางเบาสมองที่เกิดจากพฤติกรรมแปลก ๆ ของคนที่เกิดขึ้นอยางไมคาดคิด 9. เรื่องสั้นแนวกระแสสํานึก เปนเรื่องสั้นที่ถายทอดโลกสวนตัวของผูเขียนผานกระแสความ-นึก คิดของตนเอง โดยอาจไมคิดถึงความผิดถูกหรือกฎเกณฑตาง ๆ มีลักษณะเปนความเรียง เสนอเนื้อหาดวย การเลา ไมมีตัวละคร ไมมีบทสนทนาและอาจไมมีเปาหมายสูงสุด แตอาจสอดแทรกเปาหมายหรือสิ่งที่ผูเขียน คิดและตองการบอกเอาไวในเรื่อง 10. เรื่องสั้นแนวกามารมณ เปนเรื่องสั้นที่มีเนื้อหาสาระหลักเกี่ยวของกับเพศและกามารมณ บางครั้งเรียกวาเรื่องสั้นแนวอีโรติก สวนใหญเรื่องสั้นแนวอีโรติกมักสอดแทรกคติอันมีคุณคาไว แตขอบขาย ของอีโรติกก็หมายรวมไปถึงเรื่องที่แสดงความลามกไวดวย การเขียนเรื่องสั้นแนวทางนี้ ผูเขียนจึงตองใช ความระมัดระวังและจํากัดของเขตของอีโรติกที่ใหอยูในความพอดี 11. เรื่องสั้นเชิงสัญลักษณ เปนเรื่องสั้นที่นําเสนอในเชิงเปรียบเทียบ โดยใชสัญลักษณที่ผูเขียน สรางขึ้นเพื่อการตีความ เรื่องสั้นชนิดนี้จึงเต็มไปดวยปริศนาที่บางครั้งผูอานก็ไมสามารถหาคําตอบที่ชัดเจนได หากแตกตางกันไปตามการตีความของผูอานแตละคน 29


12. เรื่องสั้นแนวเทคนิคผสม เปนเรื่องสั้นที่เสนอความโดดเดนของรูปแบบและเทคนิคการเขียน มากกวาเนื้อหาของเรื่อง เชน นําเทคนิคการเขียนนิยายมาผสมกับการเขียนบทความ หรือบทกวี และอื่น ๆ เรื่องสั้นชนิดนี้ถือเปนการสรางสรรคทางดานรูปแบบของผูเขียน ซึ่งถือเปนแนวทางใหมในการนําเสนอเรื่องใน ปจจุบัน

การวางโครงเรื่อง

นักเขียนเรื่องสั้นสามารถสรางโครงเรื่องจากประสบการณเดิมและสิ่งแวดลอม เชน บุคคล สิ่งที่ได เห็น เหตุการณ คําพูดที่ไดยิน ฯลฯ โดยจัดใหสิ่งเหลานี้เปนปญหา การเสนอปญหาอาจเสนออยาง ตรงไปตรงมา หรือเสนอในเชิงขัดแยงเพื่อดึงดูดใจผูอาน โดยพยายามยึดหลักตอไปนี้ 1) ตัวละครตองนาสนใจ 2) เปาหมายของตัวละครตองสําคัญพอที่จะจูงใจใหตัวละครเกิดความตองการอยางใหญหลวง เราความสนใจจากผูอาน เชน เรื่อง หางแมว ของ น.ม.ส. หมอแสงตองการเงินจํานวนหนึ่งโดยไมตองเหนื่อย ยาก จึงอธิษฐานกับหางแมว 3) อุปสรรคทั้งหลายตองสมจริง เพื่อสนับสนุนใหเห็นวาความสําเร็จหรือความลมเหลวนั้นเปนไป ได 4) ความสําเร็จและความลมเหลวสวนใหญตองมาจากพฤติกรรมของตัวละครเอง ไมใชเพราะสิ่ง ใดบันดาล กอนที่จะวางแผนเพื่อเขียนโครงเรื่อง นักศึกษาควรทราบวาโครงเรื่องที่ดีมีลักษณะอยางไร โดย พิจารณาจากแนวทางดังนี้ 1) มีความสัมพันธกันระหวางเหตุการณตาง ๆ ในเรื่องเหมือนลูกโซ เริ่มจากสวนที่เล็กไปสูสวนที่ ใหญ มีรายละเอียดประกอบเทาที่จําเปน ไมมากหรือนอยเกินไป 2) มีความสัมพันธกันระหวางบุคคลในเรื่อง 3) ถามีโครงเรื่องยอยตองมีความสําคัญตอโครงเรื่องใหญ และมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธกัน 4) มีกลวิธีลําดับเรื่องใหเขาใจกระจาง รวมทั้งเปดเรื่องและปดเรื่องอยางประทับใจ 5) สรางเงื่อนไขใหผูอานสนใจติดตามตอไป โดยแสดงปญหาหรือเปดเผยเรื่องไมละเอียด แลวจึง คลี่คลายปญหา หรือขยายรายละเอียด 6) มีขอขัดแยงที่นาสนใจ เชน ขอขัดแยงกับผูอื่น กับตนเอง กับสังคม หรือกับธรรมชาติ 7) ไมมีเหตุบังเอิญเพื่อใชเปนวิธีการแกปมปญหาใหลุลวงไป ผูแตงควรใชวิธีการอันแยบคายและ สมจริงในการคลี่คลายปม 8) ชี้ใหผูอานเห็นโลกหรือสังคมมนุษยอยางกวางขวาง กอนจะลงมือเขียน ตองคิดชื่อเรื่อง ซึ่งจะบอกโครงเรื่อง แลวตามมาดวยเนื้อเรื่องและรายละเอียด ของเรื่อง เราตองนึกเสมอวาเราเปนผูกํากับ ไมใชตัวละคร ชื่อเรื่องจะเกิดขึ้นได ตองมีประเด็นหรือ Plot ของเรื่องกอน เชน นึกภาพเราเดินขาม สะพานลอย แลวเห็นขอทานนั่งอยู เราคิดถึงอะไร - การเอารัดเอาเปรียบในสังคม - ชีวิตเลือกไมได - โลกนี้ไมมีอะไรยุติธรรม - ชีวิตที่นาสงสาร ฯลฯ 30


การวางโครงเรื่อง 1. 2. 3. 4.

ใครคือกลุมผูอาน ....................................................................................................................................... เขียนเรื่องเกี่ยวกับอะไร .............................................................................................................................. ประเด็นของเรื่องคืออะไร........................................................................................................................... ชื่อเรื่อง........................................................................................................................................................

5. โครงเรื่อง ........................................................................................................................…………….....……. ..........................................................................................................................................................……..…… ..........................................................................................................................................................………...… ..........................................................................................................................................................…………... ..........................................................................................................................................................…………... ..........................................................................................................................................................…………... 6. เขียนเปนเรื่องเลา .............................................................................................................…………………... ..........................................................................................................................................................………… ..........................................................................................................................................................………… ..........................................................................................................................................................………… ..........................................................................................................................................................………… ..........................................................................................................................................................………… ..........................................................................................................................................................………… ..........................................................................................................................................................………… ..........................................................................................................................................................………… ..........................................................................................................................................................………… ........................................................................................................................................................………….. ..........................................................................................................................................................………… ..........................................................................................................................................................………… ..........................................................................................................................................................………… ..........................................................................................................................................................………… ........................................................................................................................................................................ . ..........................................................................................................................................................……… ..........................................................................................................................................................…………

31


ขั้นทําตนฉบับ ตนฉบับ ก็คือแบบอยางของงานที่เราทํา จะบอกวางานเราผิดไหม? หรือดีไหม? เวนขอบกระดาษ ไว 1 นิ้ว เพื่อไวสําหรับเติมในสิ่งที่หลุดหรือหลงไป เติมบทสนทนา โดยยอหนาเขาไปและใหอยูใน เครื่องหมายอัญประกาศ

ชื่อเรื่อง ................................... ชื่อผูเขียน ............................... ...................................................................................................................... ................................................................................................................................. .................................................................................... ...................................................................................................................... ................................................................................................................................. ................................................................................................................................. ................................................................... “.....................................” ............................. “....................................” ............................. ...................................................................................................................... ................................................................................................................................. ................................................................................... “.....................................” ................................

32


6. การเขียนนวนิยาย นวนิยาย คือ บันเทิงคดีรอยแกวที่มีความยาวไมจํากัด สามารถพลิกแพลงกลวิธีการเขียนได หลากหลาย ทุกสิ่งทุกอยางที่เกี่ยวของกับชีวิต ไมวาทางกายหรือทางจิต พฤติกรรมทุกชนิดของมนุษย สามารถนํามาผูกเปนเนื้อเรื่องของนวนิยายได นวนิยายอาจจะเกิดจากจินตนาการหรือความจริงผสม จินตนาการก็ได ประเภทของนวนิยาย 1. นวนิยายรัก (Romance) ปกติจะเปนเรื่องหญิงพบชายแลวหญิงก็เสียชายที่รักไปแลวกับมาพบ กันรักกันใหม มีนักเขียนหลายคนนิยมเขียนแนวนี้ เชน บานทรายทอง คูกรรม ทวิภพ สายโลหิต ขาง หลังภาพ แผลเกา ฯลฯ 2. นวนิยายอิงประวัติศาสตร (Historical) ผูเขียนจะตองศึกษาขอมูลทางประวัติศาสตรอยาง ละเอียดที่สุด ใชฉากจริงแตเรื่องราวแตงขึ้น เชน สี่แผนดิน 3. นวนิยายลึกลับสอบสวน (Mystery) เปนเรื่องราวของความลึกลับที่ตัวเอกของเรื่องตองคนพบ และแกไขปมของความลึกลับนั้น มักมีฉากที่รุนแรงนากลัว เกี่ยวกับการฆาตกรรม 4. นวนิยายตื่นเตนเขยาขวัญ (Thriller) คลาย ๆ แนวลึกลับสอบสวน แตแนวลึกลับจะให ความสําคัญวาใครกระทํา สวนแนวเขยาขวัญจะอยูที่วิธีการจับผูราย 5. นวนิยายแนววิทยาศาสตร (Science Fiction) เรียกสั้น ๆ วา ไซ-ไฟ เชนสตารวอร ให ความสําคัญกับเหตุการณมากกวาตัวละคร 6. นวนิยายสยองขวัญ (Horror) เปนเรื่องราวการเผชิญหนากับความกลัวและความตาย นาสะพรึงกลัว เชน ผีดูดเลือด มนุษยหมาปา เรื่องแนวผี ๆ ฯลฯ การเขียนนวนิยายแนวนี้จะใชจินตนาการ สมมุติวาถาเกิดขึ้นจะเปนอยางไร 7. นวนิยายผจญภัย (Action, Adventure) เปนการแสดงออกของผูชายที่เขมแข็งที่สามารถตอสู และเอาชนะผูรายไดเสมอ เชน ลองไพร, เพชรพระอุมา ฯลฯ 8. นวนิยายลูกทุง (Western) ใหความสําคัญกับฉากของเรื่อง เชน ลูกอีสาน, คาวบอย, มนตรัก ลูกทุง, แผลเกา, รอยไถ ฯลฯ 9. นวนิยายแฟนตาซี (Fantasy) เปนเรื่องของการนึกฝนและหางไกลจากโลกของความจริง บาง คนเรียกเทพนิยาย หรือตํานาน มีความเหลือเชื่อเกิดขึ้นเสมอ ๆ เชน แฮรี่ พอตเตอร, จินนี่ ตะเกียงวิเศษ ฯลฯ นอกจากนี้มีนวนิยายการเมือง นวนิยายสะทอนสังคม นวนิยายอิโรติก นวนิยายแนวครอบครัว นวนิยายอิงศาสนา และอีกมากมาย ซึ่งการจะเลือกเขียนแนวไหนอยูที่ประสบการณและความสนใจของ ผูเขียน

33


องคประกอบของนวนิยาย

1. แกนเรื่อง (Theme) แกนเรื่องของนวนิยายเปนสวนประกอบที่เปนสาระสําคัญแฝงอยูในเหตุการณ เปนแกนสําคัญที่จะ บังคับเรื่องใหดําเนินไปตามจุดประสงคที่วางไว การดําเนินเรื่อง การปดเรื่อง ลวนตองอาศัยแกนเรื่องเปน แนวทางทั้งสิ้น แกนเรื่องจึงเปนเสมือนหางเสือบังคับมิใหนวนิยายที่เขียนออกนอกเสนทาง ซึ่งจะกอใหเกิด ความสับสนปนเป ทําใหความหมายสําคัญของนวนิยายเรื่องนั้นพราเลือนไป เนื่องจากนวนิยายเปนบันเทิงคดีประเภทรอยแกวที่มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับชีวิตมนุษยทุกแงทุกมุม แกน เรื่องของนวนิยายจึงมักจะเปน “ลักษณะอันเปนนิสัยธรรมดา ธรรมชาติของโลกและมนุษยที่ผูแตงมองเห็น และมุงหมายจะแสดงลักษณะนั้นออกมาใหปรากฏแกผูอาน” ดังนั้นการกําหนดแกนเรื่องเพื่อใชเขียน จึง สามารถหาไดจากชีวิตและพฤติกรรมตาง ๆ ของมนุษย จากการสังเกต หรือสั่งสมประสบการณตาง ๆ สิ่งที่ตองคํานึงถึงคือ แกนเรื่องมิใชตัวเนื้อเรื่อง ถามีคําถามวาเรื่อง “อะไร” คําตอบที่ไดคือเนื้อเรื่อง แตถาถามวาเรื่องนั้น “เกี่ยวกับอะไร” คําตอบจึงจะเปนแกนเรื่อง ในงานเขียนที่มากลาดเกลื่อนในปจจุบัน แกนเรื่องมักวนเวียนอยูไมกี่เรื่อง แตนั่นไมใชปญหา ดวยเหตุผล 2 ประการ - แกนเรื่องที่เกี่ยวกับชีวิต ความรัก และความตาย ไมมีวันลาสมัย ตราบใดที่ยังมีมนุษยอยู เรา จึงจะพบวา - แมจะตองใชแกนเรื่องเดียวกันหรือคลายคลึงกับนวนิยายที่มีผูเคยเขียนมาแลว แตเราก็ สามารถสรางเนื้อเรื่องใหมใหนวนิยายของตนสนุกสนาน มีรายละเอียดและมีสีสัน เปน ลักษณะเฉพาะของตัวเองได สังเกตไดจากนวนิยายที่มีชื่อเสียงบางเรื่อง มี Theme เดียวกัน แมวาพล็อตเรื่องและวิธีการเลาจะตางกัน เชน เรื่องทวิภพ – ทมยันตี, เรือนมยุรา – แกวเกา, บวงบรรจถรณ – กีรตี ชนา, ชอปาริชาติ – ประภัสสร เสวิกุล ฯลฯ ลวนมีแกนคือ มิติของ เวลาไมอาจกั้นความรักได ในนวนิยาย จะกําหนดแกนเรื่องหลักไวเพียงอยางเดียว แตจะมีแกนเรื่องยอยหรือแนวคิดอื่น ๆ แฝงอยู ซึ่งชวยสงเสริมแกนเรื่องหลักใหเดนชัดยิ่งขึ้น 2. โครงเรื่อง (Plot) บางคนคิดเรื่องไดแลวก็ลงมือเขียน โดยไมวางพล็อต ผลที่ตามมาคือไปตอไมได อาจจะเขียนสาม บทแลวนึกไมออกจะเลี้ยวไปทางไหน หรือบางคนก็เลี้ยวผิดทาง ซึ่งคุณจะตองเขาใจกอนวาเรื่องราวกับพล็อต นั้นตางกันอยางไร เรื่องราว หมายถึง การเลาเหตุการณที่เกิดขึ้นในชวงเวลาหนึ่ง เชน เมื่อเจาชายตาย แลวเจา หญิงก็ตายตาม ถือเปนเรื่องราว พล็อต หมายถึง การเกี่ยวโยงเหตุการณเขาดวยกัน เรื่องราวที่นํามาเลาถาไมมีการเกี่ยวโยงก็ไม สรางความสนใจใหผูอาน เชน เจาชายตายลง และตอมาเจาหญิงมเหสีก็ตายลงดวยความทรมานใจ ผูอาน อยากจะรูตอไปวาเกิดอะไรขึ้นแลวเรื่องจะเปนยังไงตอไป การวางพล็อตเรื่องเพื่อใหเรื่องดําเนินไป แบงเปน 3 ตอน คือ ตอนเริ่มเรื่อง ตอนกลาง และตอน จบ ซึ่งพล็อตเรื่องที่สมบูรณจะตองมีองคประกอบพื้นฐาน คือ 1) ความขัดแยง (Conflict) หรือปญหาที่ทําใหเกิดเรื่องราว ถาปญหางายก็แกไขงาย ผูอาน มองเห็นภาพตอนจบตั้งแตเริ่มอานบทแรก ก็จะทําใหผูอานลืมงายดวย แตถาความขัดแยงซับซอน แมแต ผูอานก็ไมรูวาตัวละครจะแกไขไดอยางไร จะทําใหผูอานประทับใจและจําไปอีกนาน 34


2) ความซับซอนของเรื่อง (Complications) เรื่องยาวมาก็มีความซับซอนมาก เพราะฉะนั้นควร สรางพล็อตรองไวดวย อาจใชวิธีใหผูเลาหลาย ๆ คน จะไดเกิดหลายมุมมอง และเปนการขยายพล็อตเรื่อง หรือเพิ่มพล็อตเรื่องยอไปอีก โดยอาจใหญาติพี่นอง หรือเพื่อนตัวเองมีบทบาทเพิ่มขึ้น โดยเกี่ยวโยงกับ ตัวเอก เพื่อไมใหหลุดกรอบพล็อตใหญที่วางไว 3) ไคลแมกซ (Climax) 4) การคลี่คลายปญหา (Resolution) 3. ตัวละคร (Character) ตัวละครคือสิ่งที่ทําใหเรื่องสามารถดําเนินไปสูจัดหมายปลายทาง ความขัดแยงและเหตุการณตาง ๆ ลวนเกิดขึ้นไมไดหากขาดตัวละคร จึงจะตองมีตัวละครเอกที่ผูอานสนใจ เอาใจชวย โดยทําใหผูอานรูลักษณะและอุปนิสัยจากกลวิธีตาง ๆ ในนวนิยายมีตัวละครจํานวนมากจึงมีการจําแนกตัวละครตามบทบาทไวเปน 3 ประเภทใหญ ๆ คือ 3.1 ตัวละครเอก (Hero or Protagonist) คือพระเอกหรือนางเอกที่มีบทบาทสําคัญในการดําเนิน เรื่อง หรืออาจกลาวไดวาเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในเรื่องจะถูกเชื่อมโยงไปสัมพันธกับชีวิตของเขาและเธอ แบงยอยเปน 3 ประเภท ไดแก ตัวเอกตามแบบฉบับ (Traditional Hero) คือตัวเอกที่เปนคนดีพรอม เกงกลาสามารถ รูปรางงดงาม สามารถเอาชนะอุปสรรคขอขัดแยงไดดวยคุณลักษณะที่เพียบพรอมในตัว นวนิยายพาฝนสวน ใหญ มักจะมีตัวเอกประเภทนี้ ตัวละครเอกประเภทขบขัน (Comic Hero) ตัวละครเอกประเภทนี้อาจจะแฝงความซื่อ จนมองเผิน ๆ คลายเซอ เชย เปน หรือมีบุคลิกลักษณะนิสัยแปลก ๆ ที่กอใหเกิดความขับขันแกตัวละครอื่น ๆ และผูอาน การตอสูเพื่อเอาชนะอุปสรรค ตัวละครประเภทนี้มักจะมีวิธีที่อาจจะแปลกจนเหลือเชื่อ หรืองาย จนไมนาเชื่อวาจะสําเร็จ แตที่สําเร็จไดเพราะจังหวะ โอกาสแปลก ๆ ขัน ๆ มีสวนชวย เชน ตัวเอกในนวนิยาย เรื่อง “ความรักของคุณฉุย” เปนตน ตัวเอกประเภทโศกนาฏกรรม (Tragic Hero) เปนตัวละครที่มีคุณสมบัติโดดเดน นาจะ ประสบความสําเร็จในชีวิต แตกลับลมเหลว ตองอยูอยางทุกขทรมานหรือสิ้นชีวิตไปเพราะลักษณะนิสัยเล็ก ๆ นอย ๆ บางอยางที่บกพรอง หรือถูกเหตุการณ/สถานการณบางอยางบีบบังคับจนตองประสบชะตากรรม ดังกลาว ซึ่งพบในวรรณคดีหลายเรื่อง เชน ลิลิตพระลอ แตเมื่อนํามาใชนวนิยาย ตัวละครเอกลักษณะนี้ อาจจะไมสรางความรูสึกวายิ่งใหญเทาวรรณคดี เราจึงพบวาตัวเอกลักษณะนี้ที่ปรากฏในนวนิยาย อาจเปนแค คนดี แตตองประสบชะตากรรมที่เปนโศกนาฏกรรมที่สุด เชน “หมอกานต” ในเรื่องเขาชื่อกานต เปนตน 3.2 ผูรายหรือฝายปรปกษ (Villain or Antagonist) เปนตัวละครฝายตรงขามกับตัวเอก ความ ขัดแยงหลักของเรื่องที่ตัวเอกตองประสบและฟนฝาใหสําเร็จ ลวนเกิดจากการกระทําของตัวละครประเภทนี้ ในขณะเดียวกันพฤติกรรมของผูรายจะทําใหภาพของตัวเอกชัดเจนขึ้นดวย ตัวเอกเปนคนดีอยางไร มี คุณธรรม หรือมีสติปญญาขนาดไหน ผูอานจะไดเห็นจากการเปรียบเทียบกับตัวราย 3.3 ตัวละครยอย (Foil) ตัวละครประเภทนี้มีบทบาทในความขัดแยงของเรื่องนอย บางเรื่องเกือบ ไมมีเลย แตทําหนาที่เปนตัวเปรียบเทียบใหเห็นภาพของตัวเอกหรือผูรายชัดเจนขึ้น เชน เปนเพื่อนที่ตัวเอก คบคาสมาคมดวย ไดสนทนากันเปนครั้งคราว ในบทตอนที่พบกัน ผูเขียนจะใชตัวละครนี้เพื่อแสดงใหเห็น ลักษณะเดนของตัวเอกที่ผูเขียนตองการใหผูอานไดรับรู เปนตน

35


การสรางตัวละครในนวนิยายตองตองใหมีบุคลิกลักษณะ นิสัยใจคอ และสวนประกอบตามความ เปนจริงทั่วไปของมนุษย โดยปกติชื่อและวัยจะเปนสําคัญที่สุดที่ผูเขียนจะตองบอกผูอาน สวนอื่น ๆ นั้น จะมี หรือไมแลวแตความจําเปนในการดําเนินเรื่องตามที่ผูเขียนวางเคาโครงไว 4. ฉาก (Setting) ในนวนิยายใชฉากไดมากมาย ไมจํากัด สามารถเขียนใหละเอียดลออเพียงใดก็ได ไมจําเปนตองรวบ รัดใหสั้นเหมือนในเรื่องสั้น สถานที่และเวลาที่เกิดเรื่องราว วิธีที่ดีที่สุดในการจัดฉากสถานที่ คือ บรรยายในขณะที่มีการ กระทําของตัวละครทีละเล็กทีละนอย แทนที่จะบรรยายเปนหนา ๆ แบบเลาเรื่อง วาปตกลง หลอนออกเดินพรอมกับหอบหนังสือเต็มออมแขนมาดวย บานของ ทักษอยูไมไกลจากมหาวิทยาลัย เพียงเดินผานตึกเรียนเกาแกที่มีเถาไมเลื้อยปกคลุม ครึ้มสองสามตึก เดินบนทางเทาสีขาวเล็ก ๆ ที่ทอดโคงยาวพาดสนามกวางใหญไพศาล ขึ้นเนินเล็ก ๆ ซึ่งสุดสวยในฤดูใบไมผลิ แลวเดินขามสะพานไมสีแดงก็จะถึงถนนใหญที่ พาดผานกลางเมืองสงบเงียบของเมืองมหาวิทยาลัยแหงนี้ ขางถนนสะอาดสะอานซึ่งรถ แลนผานไปมาชา ๆ และเห็นสาวชายหนุมเดินเคลียคลอกัน พรอมกับหมาตัวเพรียวล่ํา สันแข็งแรงของฝายละตัวที่วิ่งโลดกันคะคึกสนุกสนานกับอากาศสบายยามค่ํา เดินไปอีก เพียงสองชวงตึก ก็จะถึงตึกสูงอันเปนอาคารหองพักราคาแพงแหงหนึ่งของเมืองนี้ ทักษอยูชั้นที่หา (ปลาหนีน้ํา – สิริมา อภิจาริน) แดดตอนเที่ยงสาดสองลงมาเต็มที่บนทองถนนที่คลาคล่ําดวยผูคนและยวดยาน พาหนะ แสงสวางสองแรงกลาจนบาดตา พรอมกับไอรอนระอุ สะทอนมาจากทุกหน ทุกแหงในเมืองคอนกรีต ทําใหผูคนที่สัญจรไปมา ไมวาย่ําอยูตามทางเทา เบียดเสียด อยูในรถประจําทาง หรือในยายพาหนะสวนตัว ลวนหนาดําคร่ําเครียดไปตาม ๆ กัน (จากฝนสูนิรันดร – แกวเกา) ภายนอกบานกระจกใสสูงจากพื้นจรดเพดานคือทิวเขาและสลับซับซอนราวกับ ฉากละคร...ภูผาสีเขียวเขมอมครามบางตอน ซุกซอนตัวเองอยูในไอสีขาวของละออง หมอกเชนเดียวกับที่เมฆบางกอนก็คลายจะทิ้งตัวแนบซบลงกับยอดที่แหลมชัน (บัลลังกแสงเดือน – ปยะพร ศักดิ์เกษม) หลวงวิจิตรวาทการใหคําแนะนําเพื่อสรางความสมจริงของฉากไว 2 ประการ คือ - อยาบรรยายสถานที่หรือภูมิประเทศที่ตนไมเคยไป หากเปนฉากในจินตนาการก็ตองอาศัย หลักเดียวกัน คือตองจินตนาการไวอางชัดเจนกอนจึงจะเขียน - หากไมสามารถไปดูสถานที่จริง ก็ใหดูรูปถาย แตใหระวังวารูปถายอาจหลอกตาได โดยเฉพาะ เรื่องเกี่ยวกับระยะความใกล-ไกล ถาไมจําเปนควรใชวิธีแรกดีที่สุด

36


5. อารมณและบรรยากาศ (Mood and Atmosphere) แมในนวนิยายจะมีหลายบทหลายตอน บางบทมีอารมณและบรรยากาศแบบเศราโศก บางบทอาจ ตลกขบขัน อีกบทหนึ่งอาจสยองขวัญก็ได แตทั้งนี้ก็ตองมีอารมณและบรรยากาศหลักของเรื่อง การสราง อารมณและบรรยากาศ ตองพิจารณาวาวางโครงเรื่องไวอยางไร ใชฉากลักษณะไหน พฤติกรรมตัวละครเปน แบบใด จึงจะทําใหรูสึกถึงอารมณและบรรยากาศของเรื่องได 6. บทสนทนา (Dialogue) นวนิยายที่ไมมีบทสนทายังไมพบวามี เนื่องจากเปนเรื่องขนาดยาว หากไมมีบทสนทนาคั่น ก็คงนาเบื่อและไมชวนอาน การเขียนบทสนทนาจึงตองคํานึงถึงความสมจริง เปน ธรรมชาติ เปนไปตามพื้นฐานของตัวละคร บทสนทนาใดที่ไมจําเปนตอเนื้อเรื่อง ก็ไมควรเขียน แมวาบท สนทนานั้นจะมีอยูจริงในชีวิตประจําวัน

แรงบันดาลใจในการเขียน

การเขียนนิยายนั้นไมมีศาสตรที่แนนอนวาจะตองทําอยางไรถึงจะเขียนได สอนก็ยาก แตชี้แนะให เรียนรูแนวทางการเขียนได ซึ่งวิธีการที่ดีที่สุดคือ การอานนิยายและเรียนรูดวยตนเอง นิยายทุกเรื่องเริ่มตนจากจินตนาการของนักเขียน ซึ่งเปนแหลงวัตถุดิบนํามาสรางเรื่อง เรื่องราวจึง เปนเรื่องของความรูจริงและความไมรูที่มารวมกัน ประสบการณชีวิตคือความรูจริง สวนจินตนาการคือภาพ ฝนที่ผูเขียนเห็นอยูในความคิด การเขียนนิยายจึงเปนการสรางมิติในจุดที่คุณสงสัยและอยากคนหา พล็อต เรื่องหาไดจาก… 1. ประสบการณชีวิตของตนเอง แตละคนมีประสบการณชีวิตไมเหมือนกัน ถาชวงใดในชีวิตที่ นาสนใจ คุณก็นํามาบันทึกเปนประวัติชีวิตได แลวผสมจินตนาการเขาไปถาชีวิตเต็มไปดวยประสบการณ แปลก ๆ ก็นับวามีวัตถุดิบชั้นเยี่ยมแลว - กลิ่นสีและกาวแปง ของ พิษณุ ศุภ. นําประสบการณการเปนนักศึกษาวิทยาลัยชางศิลปและ มหาวิทยาลัยศิลปากรมาเขียน - ชี้ค ของประภัสสร เสวิกุล นําประสบการณและจินตนาการเมื่อใชชีวิตที่ประเทศตุรกี 2. ประสบการณชีวิตของผูอื่น โดยอาจเปนคนที่รูจักหรือไมก็ได แตเรื่องราวของเขา เหลานั้นสะดุดใจจนอยากจะถายทอดออกเปนเรื่อง ซึ่งอาจเปลี่ยนชื่อจริงหรือฉากเพื่อหลีกเลี่ยงการฟองรอง ทางกฎหมายหากเจาของประวัติไมพอใจ - หางเครื่อง ของ นิเวศน กับไทยราษฎร นําชีวิตดารานักรองชื่อดังของวงการเพลงลูกทุงมา เขียนเปนนิยาย โดยการบอกเลาจากเจาของประวัติชีวิตเองผสมผสานกับจินตนาการของผูเขียน - ไมออน ของ ศรีฟา ลดาวัลย นําชีวิตของลูกสาวและลูกชายผูเขียนที่อยูในชวงวัยรุน

37


นวนิยายประเภท................................................................................................................... แกนเรื่องคือ ......................................................................................................................... ตอนเริ่มเรื่อง

ตอนกลางเรื่อง

ตอนจบเรื่อง

การตั้งชื่อนวนิยาย 1. ตั้งจากฉากสําคัญของเรื่อง เชน บานทรายทอง, เรือนไมสีเบจ, ความลับที่แหลมไซไน ฯลฯ 2. ตั้งจากชื่อเวลาของเรื่อง เชน วัยฝนวันเยาว, แตปางกอน ฯลฯ 3. ตั้งจากชื่อสิ่งของ เชน แหวนทองเหลือง ฯลฯ 4. ตั้งจากอาชีพของตัวละคร เชน ละครเร, หางเครื่อง ฯลฯ 5. ตั้งจากชื่อตัวละครเอก เชน ปริศนา, ทัดดาว บุษยา, ดาวพระศุกร, จัน ดารา ฯลฯ 6. ตั้งจากสัญลักษณ เชน ขาวนอกนา ฯลฯ ปฐมบท…บทแรกของนวนิยาย ประโยคแรกคือกุญแจ วรรคแรกคือประตู เปดสูโลกใหม หลาย ๆ คนกังวลกับการเปดเรื่อง เพราะนักเขียนหลายคนบนวายาก ไมรูจะเริ่มอยางไรดี จนลืม ไปวา ชวงเวลาของการเริ่มเรื่องนั้นยังไมมีเหตุการณสําคัญที่เปนผลใหเกิดปญหา เกิดความขัดแยง หรือความ ยุงยากของตัวละคร ประโยคแรก ยอหนาแรกหรือหนาแรกของนวนิยายที่คุณเขียนอาจเริ่มดวยคําสนทนา บทบรรยาย รายละเอียด จดหมาย บันทึก หรืออะไรก็ตาม ควรตองอยูในระหวางเหตุการณเกิดขึ้นแลว คุณจะตองยั้ง ตัวเองไมใหเลาเรื่องยาวเกินไปที่จะบอกใหผูอานรูวาเกิดอะไรขึ้นกอนที่จะมาถึงจุดนี้ คุณตองจําไววา คุณ กําลังพยายามดึงความสนใจใครรูของผูอานใหเขาสูนวนิยายของคุณใหเร็วที่สุด เขาจะไดไมคิดวาเขาควรไปทํา อยางอื่น เชน เปดทีวีดูดีกวา! 38


คนที่เพิ่งเริ่มเขียนนวนิยายมักจะใชหนากระดาษสองสามแผน หรือมากกวานั้นตอการพยายาม บรรยายนําเรื่อง แตในเวลาปจจุบันผูอานนวนิยายไมมีเวลาฟงเพลงโหมโรงเหมือนยุคกอน ๆ คือยุคที่ยัง ไมมีทีวีใหเลือกดูหลายชอง ไมมีคอมพิวเตอร โทรศัพท อี-เมล วิดีโอเทปมากมายเหมือนวันนี้ ถาชื่อของ คุณทําใหนิยายขายไดเหมือนนักเขียนที่มีชื่อเสียงมีแฟนคลับ นามปากกาติดหูผูอาน เชน ทมยันตี กิ่งฉัตร โสภาค สุวรรณ โสภี พรรณราย อาริตา ฯลฯ คุณก็ไมตองกังวลเรื่องการเริ่มเรื่องมากนัก แตถาคุณเปน นักเขียนหนาใหม คุณไมควรเสี่ยงกับการบรรยายแบบหวานเย็นชมธรรมชาติ ในการเปดเรื่องถาอยากจะ เขียนแบบนั้นเก็บไวบทอื่นหลังจากที่คุณดึงผูอานไวใหไดดวยบทแรกกอน ตัวอยาง ประโยคเปดเรื่องที่มีพลังทําใหผูอานอยากติดตาม “ผูหญิงที่มีอาชีพอยางฉัน มักจะถูกถามซ้ํา ๆ ซาก ๆ เสมอวา ‘ทําไมเธอมา เปนอยางนี้’ ” (รอยมลทิน – ทมยันตี) นี่คือเรื่องราวของชายคนหนึ่ง ซึ่งไดหญิงมายไมเต็มเต็งมาเปนเมีย (เรื่องคงจบ ตรงนี้ได ถาหากวาหญิงมายคนนี้ไมเคยเปนเมียพอของเขามากอน) (คําพิพากษา – ชาติ กอบกิตติ) จิลลากระสับกระสายทีเดียวเมื่อถึงนาทีนี้…นาทีที่ทุกคนไมวาชายหรือหญิง จะตองถึงเขาสักวันหนึ่ง (ประตูที่ปดตาย – กฤษณา อโศกสิน) หลอนพับกระดาษแผนนั้นใสคืนลงในซอง สีหนาหมนหมองดวยความวิตก กังวล มันคือจดหมายเตือนจากธนาคาร เรียกรองใหชําระคางวดเงินกูกอนใหม ซึ่ง มารดาของหลอนกูมาเมื่อปที่แลว โดยใชบานเปนหลักประกัน (แหวนหมั้น – กุลรัตน)

39


7. การเขียนบทรอยกรอง รอยกรอง เปนคําที่ใชเรียกงานเขียนที่มีลักษณะบังคับในการแตงใหมีสัมผัสคลองจองกันของคํา กําหนดจํานวนคําและลักษณะบังคับตามรูปแบบที่แตกตางกันออกไป ตามลักษณะบังคับของคําประพันธแต ละชนิด ประเภทของบทรอยกรอง หลัก ๆ ของไทยมี 5 ประเภท ไดแก ราย โคลง กลอน กาพย ฉันท ทั้งนี้หากมีการประสมกันก็จะเกิดคําประพันธรูปแบบใหม เชน ลิลิต กาพยหอโคลง เปนตน ขอบังคับของฉันทลักษณ แบงเปน 8 ประเภท คือ 1. คณะ คือ แบบบังคับของคําประพันธแตละชนิดวาคําประพันธนั้น ๆ จะตองมีกี่คํา กี่วรรค ตอง มีเอก-โท หรือครุ-ลหุ เปนตน (บท, บาท, วรรค, คํา) สวนในฉันทนั้น คําวา ‘คณะ’ หมายถึงลักษณะที่วาง เสียงหนักเบาหรือเสียงครุ ( ) และลหุ ( ) ได

2. พยางค คือ เสียงหรือจังหวะเสียงที่เปลงออกมาครั้งหนึ่งจะมีความหมายหรือไมมีความหมายก็

รอยกรองประเภทตาง ๆ ที่ใชคํารอยกรองกันอยู หมายถึงคําพยางคทั้งสิ้น รอยกรองประเภท โคลง กาพย กลอน ราย ลิลิต ไมเครงครัดในการนับคํา โดยคําพยางคที่มีเสียงลหุจะรวม 2 พยางค เปนหนึ่ง คํา เชน สนุก กมล ฯลฯ แตคําพยางคที่มีเสียงครุจะรวมกันไมได เชน หัวหิน เปนตน รอยกรองดังกลาวจึงมักเลือกถือเอาคําแตละวรรคจาก ‘คํา’ หรือ ‘พยางค’ ก็ได ยกเวนรอยกรอง ประเภทฉันท จะเครงครัดในการนําจํานวนคํา จึงกําหนดคําในแตละวรรคจาก ‘พยางค’ เทานั้น คําในรอย กรองจึงแบงเปน 2 ประเภท ไดแก - คําความหมาย หมายถึง คําที่เปลงออกมาจะมีกี่พยางคก็ตาม แตมีความหมาย เชน พอ แม ดี ราย สมุด พระราชบัญญัติ เปนตน - คําพยางค คือ จังหวะเสียงที่เปลงออกมาครั้งหนึ่งจะมีความหมายหรือไมมีก็ตามเรียกวา ‘พยางค’ หรือ ‘คําพยางค’ เชน จิ นุ มุ เปนตน

3. สัมผัส คือ ความคลองจองของถอยคํา เชน ในน้ํามีปลา ในนามีขาว จัดเปนขอบังคับที่ใชใน ฉันทลักษณเพื่อใหเสียงรับกัน คําที่คลองจองกันนั้น หมายถึงคําที่ใชสระและมาตราตัวสะกดอยางเดียวกัน แตตองไมซ้ําอักษรหรือซ้ําเสียงกัน ซึ่งสัมผัสแบงเปน 2 ประเภท คือ 3.1 สัมผัสนอก (สัมผัสบังคับ) คือ ลักษณะการบังคับคําใหคลองจองกันระหวางวรรคหนึ่งกับอีก วรรคหนึ่ง และระหวางบทหนึ่งกับอีกบทหนึ่ง ตําแหนงการสัมผัสจะขึ้นอยูกับคําประพันธแตละชนิด สัมผัส ชนิดนี้เปนกฎขอบังคับของคําประพันธทุกประเภทและจะตองเปนสัมผัสสระเทานั้น เชน

40


โคลง

ขึ้นลง

เหตุการณดีชั่วราย จงหยัดยืนทระนง

มั่นไว

ดุจบรรพตมั่นคง

พื้นแผน ปฐวีนา

วายุพัดโบกสะบัดไซร

ดั่งไลชายภู (บุณย จันทราคํา)

ดอกไมกลางใจฉันนั้นประหลาด

เพราะมิอาจผลิชอลออหวาม

กลอน

คราเมื่อใจลุกไหมไหวสั่นคราม

คราวูวามมิปรามจิตคิดรําพัน

คราลุมหลงปลงใจใครพิศวาส

คราอาฆาตชิงชังพังสุขสันต

ทั้งชอใบก็มลายลงไปพลัน

จิตผกผันผลาญใบดอกออกจากใจ (บุณย จันทราคํา)

3.2 สัมผัสใน (สัมผัสพิเศษ) คือ การสัมผัสคําที่คลองจองกันอยูวรรคเดียวกัน จะมีหรือไมมีก็ได แตหากมีก็จะชวยเสริมใหคําประพันธนั้น ๆ มีความสละสลวยและไพเราะยิ่งขึ้น กําชัย ทองหลอ กลาวถึง ตําแหนงการสัมผัสไววา จะเปนสัมผัสคูเรียงคําไวติดตอกันหรือจะเปนสัมผัสสลับ คือ เรียงคําอื่นแทรกคั่นไว ระหวางคําที่สัมผัสก็ไดสุดแตจะเหมาะ ทั้งไมมีกฎเกณฑจํากัดวาจะตองมีอยูตรงนั้นตรงนี้เหมือนอยางสัมผัส นอกและไมจําเปนจะตองใชสระอยางเดียวกันดวย เพียงแตใหอักษรเหมือนกันหรือเปนอักษรประเภทเดียวกัน หรืออักษรที่มีเสียงคูกันก็ใชได ซึ่งสัมผัสในสามารถแบงเปน 2 ชนิด ดังนี้ 1) สัมผัสสระ ไดแก การสัมผัสโดยใชสระหรือมาตรสะกดอยางเดียวกัน สักวาเขาวาคนไมทนคิด เรื่องเพียงนิดจิตกระจายหลายพันเหตุ คิดทั้งดีรายขยายเลศ จองสังเกตจับถูกผิดคิดเรื่อยไป เพราะฉะนั้นอยาถือคนไมทนคิด จงทําจิตของตนบนไฉน เขาอยากคิดอยาสุดหามปรามผูใด จงทําใหใหหนักแนนอยาแคนเอย (ดุษฎีเพลิง) 2) สัมผัสอักษร ไดแก การสัมผัสโดยใชอักษรชนิดเดียวกันหรือตัวอักษรประเภทเดียวกัน หรือ อักษรที่มีเสียงคูกัน ดังนี้ - ใชอักษรเดียวกัน คือ ใชอักษรเดียวกันทั้งวรรค ดังนี้

41


เมื่อมั่งมีมากมายมิตรหมายมอง เมื่อมัวหมองมิตรมองเหมือนหมูหมา เมื่อไมมีมิตรเมินไมมองมา เมื่อมอดมวยหมูหมาไมมามอง (นิรนาม) แลลิงลิงเลนลอ พาเพื่อนเพนพานพิง ตื่นเตนไตตอติง กนกูกันกึกกอง - ใชอักษรชนิดเดียวกันเกือบทั้งหมด เชน ลางลิงลิงลอดไม แลลูกลิงลงชิง ลิงลมไลลมติง แลลูกลิงลางไหล

ลางลิง พวกพอง เตี้ยต่ํา เกาะเกี้ยวกวนกัน (หลักภาษาไทย : กําชัย ทองหลอ) ลางลิง ลูกไม ลิงโลด หนีนา ลอดเลี้ยวลางลิง (ลิลิตพระลอ)

- ใชอักษรประเภทเดียวกัน คือ อักษรที่มีเสียงเหมือนกันแตมีรูปไมเหมือนกัน เชน ค-ฆ , ช-ฌ , ท-ธ-ฑ-ฒ , พ-ภ , น-ณ , ด-ฎ , ต-ฏ , ร-ล-ฬ , ศ-ษ-ส เปนตน เชน ศึกษาสําเร็จรู ลีลา กลอนแฮ ระลึกพระคุณครูบา บมไว อโฆษคุณาภา เพ็ญพิพัฒน นิเทศธรณินให หื่นซองสาธุการ (หลักภาษาไทย : กําชัย ทองหลอ) - ใชอักษรที่มีเสียงคูกัน ซึ่งกําชัย ทองหลอ จําแนกไววาใชอักษรต่ําชนิดอักษรคู 14 ตัว กับอักษร สูง 14 ตัว ซึ่งมีเสียงผันเขากันไดเปนคู ๆ ดังนี้ อักษรต่ํา 14 อักษรสูง 11 ค ฅ ฆ เสียงคูกับ ข ฃ ช ฌ เสียงคูกับ ฉ ซ (ทร=ซ) เสียงคูกับ ศ ษ ส ฑ ฒ ท ธ เสียงคูกับ ฐ ถ พ ภ เสียงคูกับ ผ ฟ เสียงคูกับ ฝ ฮ เสียงคูกับ ห 42


คูแคขิงขาขึ้น แฟงฟกไฟฝอฝาง ซางไทรโศกสนสาง ทิ้งถอนทุยทอมทาย

เคียงคาง ฝนฝาย ซอนซุม เถื่อนทองแถวเถิน (หลักภาษาไทย : กําชัย ทองหลอ)

การสัมผัสในทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร แมจะไมมีการบังคับในคําประพันธชนิดตาง ๆ ก็จริง แตทําใหเกิดความไพเราะคลองจองขึ้น ซึ่งถือไดวาเปนอรรถรสในคําประพันธโดยแท 4. คําครุ-ลหุ 1) คําครุ ( ) คือพยางคที่มีเสียงหนัก ไดแก พยางคที่ประกอบดวยสระเสียงยาว (ฑีฆสระ) หรือ พยางคที่ประกอบดวยสระเสียงสั้นและสระเสียงยาวมีตัวสะกดทั้ง 8 แมตัวสะกด (กก กด กบ กม กน กง เกย เกอว) รวมทั้งสระเกิด (สระเสียงสั้น) ทั้ง 4 ตัว คือ อํา ใอ ไอ เอา เชน ตา ไป ดํา นา กับ ยาย ตั้งแต เชา จน สาย 2) คําลหุ ( ) คือพยางคเสียงเบา ไดแกพยางคที่ประกอบดวยสระเสียงสั้น (รัสสระ) สระเสียงสั้น ในที่นี้หมายถึงสระทั้งคงรูปและไมปรากฏรูป ไมมีตัวสะกด เชน พระ มิ ริ ทํา เปนตน รวมถึง ก็ บ บ ฤ ธ ณ (บางแหงอนุโลมให อํา เปนคําลหุดวย แตที่เห็นเปนครุเพราะเปนคําที่เสมือนมี ‘ม’ สะกด ) 5. เอก – โท 1) เอก คือ คําที่มีวรรณยุกตเอก ( ) กํากับอยูดวย เชน ไก ใช นี่ ป สี่ ฯลฯ และคําตาย ทั้งหมด เชน กิจ ขอด สิทธิ์ เปนตน ในโคลง-ราย ลวนใชแทนเอกได 2) โท คือ คําหรือพยางคที่มีวรรณยุกตโท ( ) กํากับอยูดวย เชน ปา จา ชา คา นา หญา ฯลฯ ไมวาคําหรือพยางคใดที่มีวรรณยุกตโทกํากับจะออกเสียงดวยวรรณยุกตใดก็ตาม 3) เอกโทษ คือ คําที่ปกติเขียนเปนรูปวรรณยุกตโท แตนํามาเขียนขึ้นใหมเปน วรรณยุกตเอกแทน เชน สู ซู , สราง ซาง เปนตน 4) โทโทษ คือ คําที่ปกติเขียนเปนวรรณยุกตเอก แตนํามาเขียนใหมเปน วรรณยุกตโทแทน เชน เลน

เหลน, เขี้ยว

เคี่ยว เปนตน

6. คําขึ้นตนและลงทาย 1) คําขึ้นตน คือคําที่ใชกลาวขึ้นตนของคําประพันธประเภทกลอนตาง ๆ เพื่อบอกชนิดของกลอน นั้น ๆ วาเปนกลอนชนิดใด เชน กลอนดอกสรอย ใช เอย (เด็กเอยเด็กนอย) กลอนสักวา ใช สักวา กลอนนิราศ ใช นิราศ (ขึ้นในวรรคที่ 2) กลอนบทละคร ใช เมื่อนั้น บัดนั้น มาจะกลาวบทไป กลอนเสภา ใช ครานั้น จะกลาวถึง

43


2) คําลงทาย คือ คําที่ใชลงทายหรือคําสุดทายของคําประพันธประเภทตาง ๆ เพื่อจะบอกถึงตอน จบของเรื่อง เชน เอย ใชลงทาย กลอนดอกสรอย กลอนสักวา เพลงยาว กลอนนิราศ หรือจะเปนกลอนทั่ว ๆ ไปก็ได เทอญ ใชลงทาย โคลง กลอน ราย กาพย ฉันท แล ใชลงทาย โคลง ราย ฉันท นั้นแล ใชลงทาย รายยาว แหลเทศน 7. คําสรอย คือ วลีหรือคําที่ใชสําหรับลงทายบท หลังบท หรือใชเสริมระหวางกลางของคํา ประพันธชนิดตาง ๆ ซึ่งบางกรณีเพิ่มคําสรอยเพื่อใหครบจํานวนคําตามที่บัญญัติไวในคําประพันธ และเปน การชวยเพิ่มสําเนียงใหสละสลวย เสริมความไพเราะในการอานไดดวย คําสรอยนี้โดยมากจะใชกับ คําประพันธประเภทโคลง ราย และกลอนบางชนิด ซึ่งคําสรอยนี้จะตองเปนคําเปนเทานั้น หามใชคําตาย เชน พี่เอย ฤา นา แฮ รา เปนตน 8. คําเปน-คําตาย 1) คําเปน คือ คําหรือพยางคที่ประกอบดวยสระเสียงยาว (ทีฆสระ)ในแม ก กา โดยไมมีตัวสะกด และคําหรือพยางคที่สะกดดวยตัวสระในแมกน กง กน เกย เ กอว รวมทั้งสระเกิน คือ อํา ใอ ไอ เอา 2) คําตาย คือ คําหรือพยางคที่ประกอบดวยสระเสียงสั้น (รัสสระ) ทั้งมีรูปและไมมีรูป (อนุชา, มะ ลิ) ยกเวนสระเสียงสั้น (สระเกิน) อํา ใอ ไอ เอา รวมทั้งคําหรือพยางคที่สะกดดวยตัวสะกดในแมกก กด กบ และพยางค ก็ บ บ ฤ ธ ณ กลอนนิราศ นิราศ แปลวา การจากไป การพรากไป ในทางฉันทลักษณ หมายถึงบทประพันธที่พรรณนาถึง การจากถิ่นฐานที่อยูไปในที่ตาง ๆ และตองรําพึงถึงการจากคนรักหรือภรรยา ถาไมมีก็ตองสมมุติขึ้นจึงนับวา ถูกตองตามแบบนิยมของนิราศ กลอนนิราศเปนเสมือนการบันทึกการเดินทางโดยการบรรยายถึงภูมิประเทศและเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้น รวมถึงการถายทอดความรูสึกที่ไกลบาน เงียบเหงา จนเกิดการหวนระลึกถึงถิ่นเดิมหรือคนรัก วรรณกรรมนิราศนิยมแตงเปนโคลงและกลอนมากที่สุด ซึ่งมีการตั้งชื่อนิราศ 4 วิธี คือ 1) ตั้งตามชื่อสถานที่จะไป เชน นิราศเมืองแกลง นิราศพระบาท นิราศเมืองเพชร ฯลฯ 2) ตั้งชื่อตามนามผูแตง เชน นิราศนรินทร นิราศพระยาตรัง ฯลฯ 3) ตั้งชื่อตามนามตัวเอกของเรื่อง เชน นิราศอิเหนา นิราศสีดา ฯลฯ 4) ตั้งชื่อตามเหตุการณที่ไดพรรณนา เชน นิราศเดือน

44


แผนผังกลอนนิราศ นิราศ 0 0 0 0 0 0 บท 1

บท 2

บทสุดทาย

0 0 0 0 0 0 0 0

0 0 0 0 0 0 0 0

0 0 0 0 0 0 0 0

0 0 0 0 0 0 0 0

0 0 0 0 0 0 0 0 .............................. ..............................

0 0 0 0 0 0 0 0 .............................. ..............................

0 0 0 0 0 0 0 0

0 0 0 0 0 0 0 0

0 0 0 0 0 0 0 0

0 0 0 0 0 0 0 เอย

กฎ

1) กลอนนิราศใชวรรคที่ 2 ของบาทเอกเปนวรรคขึ้นตนเหมือนกลอนเพลงยาว แตคําขึ้นตนใชวา ‘นิราศ’ และลงทายดวยคําวา ‘เอย’ เหมือนกลอนเพลงยาว 2) วรรคหนึ่งใชคํา 7- 9 คํา การสัมผัสเหมือนกลอนสุภาพทั่วไป

45


8. การเขียนบทละคร บทละครสมัยใหม เปนบทละครที่ไดรับอิทธิพลจากละครตะวันตก และเปนบทละครพูดรอยแกว ซึ่งเขากับยุคสมัยและนําไปใชไดจริง รื่นฤทัย สัจจพันธ กลาววา “ละครพูดสมัยใหม (Modern Drama) เปนรูปแบบของวรรณกรรมการแสดงอีกแบบหนึ่งที่พัฒนามาจากบทละครพูด แตมีการศึกษาแบบแผนการ แสดงจากตะวันตกและไดนํามาปรับปรุงการละครชนิดนี้ใหกาวหนาขึ้น ทั้งเทคนิคในการแสดง บทที่ใชในการ แสดง ตลอดจนปรัชญาในการแสดงใหสอดคลองกับเรื่องที่นํามาแสดง” บทละครเปนเรื่องที่แตงขึ้นโดยมุงนํามาใชแสดงหรือสําหรับอาน ผูเขียนจึงตองมีจินตนาการวาบท ละครนั้น นําไปแสดงไดจริงหรือไม ซึ่งในปจจุบันนี้ ละครที่ไดรับความนิยมอยางมากคือ ละครพูดหรือละคร เวที ละครวิทยุ และละครโทรทัศน การเขียนบทละคร การเขียนบทละคร มักไดแรงบันดาลใจจากเหตุการณอยางใดอยางหนึ่งทํานองเดียวกับเรื่องสั้น หรือนวนิยาย เชนมีความรูสึกสะเทือนใจอยางแรง หรือมีความประทับใจอยางยากที่จะลืมได มีความรูสึก อยากจะระบายออกมาดวยการเขียนใหผูอื่นไดรับทราบ หรือมีความเขาใจตรงกับผูเขียน แรงบันดาลใจนี้ นับเปนสิ่งสําคัญมาก การเขียนบทละครบางทีอาจไดเปรียบอยูบาง เพราะบางคนอาจเอามาจากเรื่องสั้นหรือนวนิยายที่ นักประพันธเอกไดเขียนไวแลว มาทําเปนละครเวที ละครวิทยุ และละครโทรทัศน ผูทําเรียกวาฝายเขียนบท ซึ่งอาจมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแกไขใหเหมาะสมกับสภาพของประเภทการเขียน อาทิเชน เขียนเพื่อนําไป แสดงบนเวทีหรือแสดงทางโทรทัศน ตลอดจนการเขียนเปนบทภาพยนตร เปนตน การเขียนบทละครมีความสําคัญอันเปนแกนของเรื่อง มีเคาโครงเรื่อง ตัวละคร บทสนทนา และ ฉาก การเขียนเรื่องสั้นทําใหผูอานไดรับความเพลิดเพลินจากการอาน แตบทละครเปนศิลปะที่จะนําไปแสดง เพื่อใหคนไดชม แลวเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ขณะชมหรือฟงบรรยากาศของการแสดงเปนสิ่งสําคัญ ไมวาจะเปนการบรรยายกอนเปดฉากหรือบทสนทนา ผูชมตองมีอารมณคลอยตามเรื่องไปดวย การเขียนบทละคร อาจเขียนจบฉากเดียวหรือหลายฉากก็ได เรียกตอนหนึ่ง ๆ วา ‘องก’ ก็ได (ในแตละองคมีกี่ฉาก) ฉาก บอกใหทราบสถานที่ชัดเจน เชน ในปาลึก หาดทราย ในบาน หรือในหอง บอกเวลาใน ขณะนั้นดวย ตัวละคร บอกเพศ ชื่อ และชื่อสกุล อายุ รูปรางลักษณะ การบรรยายนําเรื่องเพื่อสรางบรรยากาศ ในกรณีเปนเรื่องยาว ควรมีอยางยิ่ง แตถาเปนละครสั้นๆ อาจไมจําเปนนัก บทสนทนา มีความสําคัญมาก เพราะการดําเนินเรื่องอยูที่การสนทนาของตัวละคร ใชภาษาพูด ใหเหมือนชีวิตจริง ๆ ควรเปนประโยคสั้น ๆ เขาใจงาย อาจแทรกอารมณขันลงไป จะทําเรื่องออกรสยิ่งขึ้น ตอนจบ ตองจบอยางมีเหตุผล จบอยางมีความสุข หรือเศรา หรือจบลงเฉย ๆ ดวยการทิ้งทาย คําพูดใหผูชมคิดเอง อาจเปนถอยคําประทับใจ การขึ้นตนและการจบเรื่อง เปนลีลาและศิลปะของผูเขียนโดยเฉพาะที่จะทําใหผูชมพอใจ แตเมื่อ จบแลวตองใหเขาใจเรื่องโดยตลอด 46


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.