Th 4363 วรรณกรรมสำหรับเด็ก

Page 1

เอกสารประกอบการสอน

TH 4363 วรรณกรรมสําหรับเด็ก

รวบรวมโดย อ.วิไล ธรรมวาจา

สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทย คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ


ความรูทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมสําหรับเด็ก เยาวชน คือบุคคลสําคัญที่จะเปนผูรับผิดชอบประเทศชาติในอนาคต ดังคํากลาวที่วา “เด็กวันนี้คือผูใหญในวันหนา” เด็กจึงเปนทรัพยากรบุคคลที่เราควรดูแลและเอาใจใสรักษาใหอยูในสภาพ ที่ดีที่สุด แตกอนเราเคยไดยินคํากลาวที่วา “เด็กเปรียบเสมือนผาขาว” เด็กคือผูบริสุทธิ์ ถาเราตองการ ปลูกฝงสิ่งใด ควรเริ่มตั้งแตวัยเด็ก คํากลาวนี้เปนความจริง ดังนั้นสิ่งอันดีงาม ความถูกตองทั้งหลาย เรา จึงควรสั่งสมใหเขาทันทีเมื่อมีโอกาส ความรู ความคิด คุณธรรม ประสบการณทั้งหลายที่จะเปนประโยชน เราสามารถหลอหลอมใหเด็กไดงายดาย ถาเรามีการวางแผนที่ดี ดังนั้นเราควรปลูกฝงนิสัยการใฝหา ความรูใหเขาตั้งแตวัยเด็กเพื่อเขาจะไดเปนเยาวชนที่ดีของชาติในอนาคต การอานหนังสือเปนหนทางสําคัญในการใฝหาความรูของเด็ก เพราะหนังสือคือขุมทรัพยทาง ปญญา การปลูกฝงใหเยาวชนมีนิสัยรักการอาน จะเปนหนทางสําคัญที่ชวยใหเยาวชนคนควาหาความรูใน วิชาอื่น ๆ ไดดีอีกดวย หนังสือเปนแหลงถายทอดความรูไดอยางสมบูรณแบบ ใหทั้งความรู ความบันเทิง และเสริมสรางภูมิปญญาแกผูอานทุก ๆ คน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ไดทรง นิพนธเรื่อง “ฉันชอบหนังสือ” (2530, หนา 9) ซึ่งชี้ใหเห็นความสําคัญของหนังสือ ไววา “หนังสือนี้ นําดวงจิต ใหความรู ฉันจึงใฝ มีวิชา ลวนสะดวก วิชาการ ชั่วชีวัน

มีมากมาย เริงรื่น สําเริง ใจสมาน หลายอยาง คนได สรรมา ฉันอานได

หลายชนิด ชื่นสดใส บันเทิงใจ อานทุกวัน ตางจําพวก ใหสุขสันต สารพัน ไมเบื่อเลย”

หนังสือจึงเปนแหลงรวมของวิทยาการตาง ๆ อันหลากหลายสาขา เมื่อเปดหนังสือจึงเหมือนกับ การเปดโลกที่มากมายไปดวยสรรพความรูและจินตนาการอันกวางไกล รวมทั้งไดประสบการณใหมที่อาจ นอกเหนือไปจากสิ่งแวดลอมใกลตัว ซึ่งชวยพัฒนาความรู ความคิด ใหโลดแลนไปกับ เนื้อหาในหนังสือ นั้น นอกจากการไดรับความรู ความคิด คําแนะนํา การสั่งสอนจากพอแม ผูปกครองและครูอาจารยแลว เด็กยังควรไดรับการพัฒนาความรูความคิดดวยการอานหนังสือดวย เมื่อเด็กไดอานหนังสือที่เหมาะสมกับ เพศวัยและความสนใจของเขา เด็กจะมีความคิด มีวิจารณญาณในการเรียนรู และยังไดรับการปลูกฝงที่ดี งามอีกดวย (2)


ในขณะเดียวกันอาจมีผูแยงวา ปจจุบันนี้เรามีสื่อแหงความรูอื่น ๆ อีกมากมายที่ไมใชหนังสือ เชน เราอาจหาความรูไดจากวิทยุ โทรทัศน ภาพยนตร รวมทั้งทางอินเทอรเน็ต โดยที่ไมจําเปนตองอาน หนังสือก็สามารถรับรูขาวสารตาง ๆ ได แตเราควรคิดอยางรอบคอบวาการรับสารจากสื่อเหลานั้นยอม แตกตางจากการรับสารจากหนังสือ เพราะมีรายละเอียดของสารหลายอยางที่ไมสามารถถายทอดไดดีเทา หนังสือ เพราะการอานหนังสือ ผูอานสามารถควบคุมตัวเองไดวาเราจะอานเรื่องอะไร อานอยางไร และ วินิจฉัยอยางไร หนังสือจึงยังคงมีคาและมีความสําคัญอยูตลอดเวลา

ความหมายของวรรณกรรมสําหรับเด็ก(Children’s literature, Literature for children) “หนังสือ คือสิ่งสนองความตองการของเด็ก” โดยธรรมชาติของเด็ก เด็กชอบคิด ชอบ ซักถาม มีความสนใจในสิ่งตาง ๆ รอบตัว อยากรูอยากเห็น อยากไดคําตอบในสิ่งที่ตนสงสัย หนังสือคือ สิ่งที่สามารถตอบสนองขอของใจเหลานี้ของเด็กได อีกทั้งชวยเสริมสรางความรูความคิดทางสติปญญา วรรณกรรม (Literature) หมายถึง ทรัพยากรสารนิเทศที่แตงขึ้นผลิตขึ้นมา ทั้งแตงดีหรือไมดี พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 1 ใหความหมายของวรรณกรรมวา “วรรณกรรม งานหนังสือ, งานพิมพที่ทําขึ้นทุกชนิด ไมวาแสดงออกมาโดยวิธีหรือในรูปอยาง ใด เชน หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ ปาฐกถา เทศนา คําปราศรัย สุนทรพจน สิ่งบันทึกเสียง ภาพ วรรณคดี หนังสือที่ไดรับการยกยองวาแตงดี” วรรณกรรมสําหรับเด็ก หมายถึง ทรัพยากรสารนิเทศที่มีจุดมุงหมายในการจัดทําขึ้นเพื่อใหเด็ก อานโดยเฉพาะ หรืออาจใหผูใหญอานใหฟงก็ได ถาเปนเด็กเล็ก ๆ อาจเปนวรรณกรรมประเภทหนังสือ เชน หนังสือภาพลวน ๆ (Picture book) หรือหนังสือที่มีทั้งเนื้อเรื่องและรูปภาพหรือหนังสือการตูน วรรณกรรมสําหรับเด็กจะตองจัดทําขึ้นใหเนื้อหาสาระ ภาษา รูปเลม และตัวอักษรที่เหมาะกับวัย ความรู และความสามารถของเด็กดวย รูปแบบหรือลักษณะของหนังสือเด็ก จะมีหลายลักษณะ โดยเฉพาะ หนังสือสําหรับเด็กเล็ก ๆ จะมีลักษณะรูปเลมตาง ๆ ไมเล็กหรือใหญจนเกินไป จับถือไดสะดวก จํานวน หนาตั้งแต 1 หนาขึ้นไป จนถึงลักษณะฉบับกระเปาสําหรับเด็กโต ขึ้นอยูกับระดับอายุของผูอานตั้งแต กอนเขาโรงเรียน จนกระทั่งวัยรุน นอกจากนี้ยังมีผูรูอีกหลายทานไดใหความความหมายเกี่ยวกับเรื่องวรรณกรรมเด็กไวมากมาย ดังนี้

1

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิ ตยสถาน พ.ศ. 2525. พิ มพ์ครัง้ ที ่ 6. (กรุงเทพฯ : อักษรเจริ ญทัศน์, 2538). หน้า 754 (3)


จินตนา ใบกาซูยี 2 อธิบายไววา "หนังสือสําหรับเด็ก คือ หนังสือที่จัดทําขึ้นเพื่อใหเด็กใชในการ ฟง อานและเรียนรู ดวยเนื้อหาสาระที่มุงใหความรูหรือเพลิดเพลินอยางหนึ่งอยางใด หรือใหทั้งความรู และความเพลิดเพลินรวมกันไป ในรูปแบบที่เรียกวาสาระบันเทิง" บันลือ พฤกษะวัน3 กลาววา "วรรณกรรมสําหรับเด็กเปนผลงานเกี่ยวกับหนังสือที่มีรูปแบบตาง ๆ กัน ที่มุงใชภาษา เนื้อหาสาระใหงาย เหมาะกับวัยเด็กที่จะเขาใจไดดี ทั้งนี้เพื่อใหเด็กผูอานไดรับ ประโยชน" บุญศรี ไพรัตน 4 กลาววา "หนังสือสําหรับเด็ก หมายถึง หนังสือที่เด็กอานไดดวยความสนุกสนาน เพลิดเพลิน โดยไมตองบังคับใหอานเพราะเนื้อหาสาระตรงกับความสนใจ" ปราณี เชียงทอง 5 ใหความหมายวา “วรรณกรรมสําหรับเด็ก หมายถึง หนังสือที่เขียนใหเด็กอาน อยางเหมาะสมกับวัยของเด็ก และเปนที่สนใจของเด็กวัยตาง ๆ ตั้งแตวัยกอนเขาโรงเรียนไปจนถึงวัยรุน ซึ่งเด็กสามารถเลือกอานไดตามความพอใจ โดยไมมีการบังคับ” เปลื้อง ณ นคร 6 (2516, หนา 42) กลาวไวในหัวขอวาดวยเรื่องการทําหนังสืออานสําหรับ เยาวชนวา “หนังสืออานสําหรับเยาวชนตามที่เขาใจกันนั้น ไมไดหมายถึงหนังสือประเภทแบบเรียน แต หมายถึงหนังสือที่ประดิษฐ คิดเขียนขึ้น เพื่อใหเยาวชนอานเปนทางเพลิดเพลิน” มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 7 กลาวไววา "หนังสือสําหรับเด็ก หมายถึง หนังสือซึ่งเขียนขึ้น หรือแปลใหเด็ก ๆ ไดเลือกอาน เพื่อความเพลิดเพลิน เพื่อใหความรูและเพื่อใชประกอบการศึกษา" สวัสดิ์ เรืองวิเศษ 8 กลาววา “วรรณกรรมสําหรับเด็ก หมายถึง หนังสือที่สงเสริมความรู ความคิด สติปญญา และสงเสริมการใชเวลาวางใหเปนประโยชน ชวยใหเกิดความเพลิดเพลินสนุกสนาน สนอง ความอยากรูอยากเห็น ซึ่งเด็ก ๆ สามารถเลือกอานเองไดตามความสนใจและ ความตองการ” 9 หทัย ตันหยง ในทัศนะทางศึกษาศาสตร โดยกลาววา "หนังสือสําหรับเด็ก หมายถึง วัสดุการ อานอันเปนปจจัยในการพัฒนาชีวิตเด็กทั้งดานพุทธิพิสัย จิตพิสัย ทั้งนี้เพื่อสงเสริมการเรียนรูของเด็กให เกิดประสิทธิผลยิ่งขึ้น" 2

จินตนา ใบกาซูย.ี การจัดทําหนังสือสําหรับเด็ก. (กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน, 2534). หนา 26. บันลือ พฤกษะวัน. วรรณกรรมเด็ก. (กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2533). หนา 1. 4 บุญศรี ไพรัตน. อาชีพที่ปรากฏในหนังสือสําหรับเด็ก. วารสารบรรศาสตร์ . ปที่ 10(1), 2530. หนา 26. 5 ปราณี เชียงทอง. วรรณกรรมสําหรับเด็ก. (กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน, 2526). หนา 2. 6 เปลื้อง ณ นคร. การทําหนังสืออานสําหรับเด็ก ใน เอกสารประกอบการสัมมนาเรื ่องหนังสือสําหรับเด็ก. (กรุงเทพฯ : วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร, 2516). หนา 42. 7 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วรรณกรรมและลีลาคดี ระดับปฐมวัยศึกษา หน่วยที ่ 1-7. (นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2537). หนา 6. 8 สวัสดิ์ เรืองวิเศษ. หนังสือสําหรับเด็ก. (ชลบุรี : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน, 2527). หนา 1. 9 หทัย ตันหยง. การสร้างสรรค์วรรณกรรมและหนังสือสํา(4) หรับเด็ก. (กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน). หนา 12. 3


เห็นไดวา วรรณกรรมสําหรับเด็กนั้น มุงใหเด็กไดรับความสนุกสนานเพลิดเพลินจากการอานเปน หลัก สวนสาระและความรูก็เปนสิ่งที่ควรไดรับดวยเชนกัน แตเปนเรื่องรอง ดังนั้นจึงกลาวไดวา วรรณกรรมสําหรับเด็ก หมายถึง หนังสือที่เขียนขึ้นสําหรับเด็กโดยเฉพาะ เพื่อใหไดรับความเพลิดเพลิน จากการอานและการฟง รวมทั้งไดรับความรูดวย ซึ่งมีทั้งเขียนขึ้นเองและจากการแปล ทั้งนี้ตอง สนองตอบตอความตองการและความสนใจเพื่อเสริมสรางนิสัยรักการอาน

ความสําคัญของวรรณกรรมสําหรับเด็ก หนังสือสําหรับเด็กมีประโยชนในการเสริมสรางความรูความเขาใจใหแกเด็ก เนื่องจากหนังสือ สําหรับเด็กเปนหนังสือที่เขียนพิเศษเพื่อเด็ก ผูเขียนตองมีความเขาใจในธรรมชาติของเด็ก จึงจะสามารถ ถายทอดสิ่งตาง ๆ ที่อยูใกลตัวหรืออยูในแวดวงของเด็ก และเขียนเรื่องที่เด็กสนใจออกมาได ซึ่งในปจจุบัน มีหนังสือสําหรับเด็กออกมามากขึ้น สุนทรี คุณจักร ไดกลาวถึงความสําคัญของวรรณกรรมสําหรับเด็กไว ดังนี้ 1. วรรณกรรมเด็กเปนเครื่องมือสื่อความบันเทิงใหแกเด็ก ชีวิตในวัยเด็กนั้นเปนชวงชีวิตที่มี ความสุขแจมใส บริสุทธิ์และสนุกสนาน สิ่งที่ทําใหชีวิตของเด็กสนุกสนานมีมากมาย แตสิ่งหนึ่งที่พอแม ทุกคนคงจะปฏิเสธไมไดก็คือ นิทาน การที่เด็กไดฟงการเลานิทานจากผูใหญ หรือแมแตเด็กไดอาน หนังสือนิทานดวยตัวของเขาเอง จะทําใหเด็กมีความสุข ไดรับความเพลิดเพลินไปในโลกแหงจินตนาการ ของเด็ก หรือหนังสือสําหรับเด็กที่มีเรื่องราว มีตัวละคร มีบทสนทนาโตตอบกัน จะชวยใหเด็กใชความคิด สติปญญานึกคิดติดตามและรับรูรสอารมณที่ปรากฏในเรื่อง บางเรื่องอาจสนุกสนาน ตื่นเตน โลดโผน ทําใหเด็กเพลิดเพลินแจมใสเบิกบาน บางเรื่องอาจชวนสงสัย นาติดตามมีปริศนาใหขบคิด ทั้งหมดนี้ลวน แลวแตทําใหเด็กมีความเพลิดเพลินใจและเปนสุข ซึ่งบางครั้งอานไปอาจยิ้มไปหัวเราะไปหรือเก็บเรื่องราว เหลานั้นไปถายทอดสูเพื่อนคนอื่นๆ ใหไดฟงดวยความเพลิดเพลิน ดังนั้นเรื่องราวตาง ๆ ในหนังสือจึงเปน อาหารใจที่ดีที่สรางความบันเทิงใหแกเด็ก 2. วรรณกรรมเด็กเปนสิ่งตอบสนองความตองการของเด็ก สิ่งที่ตอบสนองความตองการของเด็ก นั้นมีหลายประการดวยกัน เชน การไดรับความรัก ความเขาใจ ความอบอุนจาก พอแมและผูปกครอง การไดรับการเอาใจใสดูแลจากครู การไดรับการยอมรับจากเพื่อน ๆ ฯลฯ สิ่งเหลานี้เด็กตองแสวงหาจาก บุคคลตาง ๆ ดังที่กลาว แตหนังสือนับเปนสิ่งสําคัญอีกสิ่งหนึ่ง ที่จะตอบสนองความตองการตาง ๆ ของ เด็กได เพราะหนังสือเปนสิ่งที่หาไดไมยาก หนังสือเปนสิ่งที่สามารถเราความสนใจของเด็กได ถาเด็ก ตองการความปลอดภัย อบอุน มีความมั่นคงในชีวิต หนังสือที่สนองความตองการของเด็กทางดานนี้ ไดแก พวกเทพนิยาย ที่กลาวถึงเจาชายเจาหญิง ประทับในวังอยางสงบสุข หรืออาจเปนเรื่องเกี่ยวกับ ครอบครัวที่มีความสุข ถาเด็กตองการใหเปนที่ ยอมรับของสังคม หนังสือที่ควรอานคือ เรื่องราว (5)


เกี่ยวกับครอบครัว โรงเรียนและเพื่อนบาน หรือถาเด็กตองการดานความสําเร็จในชีวิต หนังสือที่สนอง ความตองการ ไดแก หนังสือประเภทชีวประวัติของบุคคล อาจกลาวไดวา ความตองการขั้นพื้นฐานของ เด็กมีสวนสําคัญอยางยิ่งตอการสรางเด็กใหเปนผูใหญที่มีประสิทธิภาพ ผูที่เกี่ยวของกับเด็กจึงจําเปนที่ จะตองคํานึงถึงการตอบสนองความตองการดังกลาว เพื่อใหความตองการของเด็กเหลานั้นบรรลุสมความ ตั้งใจ (สุขุม เฉลยทรัพย 10, 2524, หนา 78) 3. วรรณกรรมเด็กชวยพัฒนารากฐานทางภาษาของเด็ก จากการศึกษาวิจัยของหนวยงานตาง ๆ ระบุวา เด็กที่อานหนังสือสําหรับเด็กอยูเสมอ ๆ หรือมีพอแมอานใหฟง เด็กจะมีความรูความเขาใจ ใน เรื่องคําศัพทและความหมายตาง ๆ ไดถูกตอง รวมทั้งสามารถนําไปใชประโยชนในสถานการณตาง ๆ ได นอกจากนี้เด็กยังจะไดรับการเรียนรูเกี่ยวกับเรื่องโครงสรางของประโยค รูจักประธาน กริยา กรรม การใชคําชนิดตาง ๆ ไดอยางถูกตองตามหลักภาษา ซึ่งเปนผลใหเด็กมีทักษะทางภาษาที่ดี อริยา ไพฑูรย 11 (2541, หนา 93) ไดกลาวไววา เราไมควรเรงรัดใหเด็กเรียนรูคําหรือประโยคที่ยากเกินไป แตก็ไมควร ประเมินความรูทางภาษาของเด็กต่ําเกินไป พรอมทั้งยกตัวอยางใหฟงวา คุณแมอานหนังสือเรื่อง “อาหาร ของใคร” ใหลูกฟง พอถึงรูปปลา คุณแมถามวา อาหารของใครเอย พรอมทั้งเฉลยวา อาหารของเมี้ยว เหมียว เจาหนูวัยไมถึง 2 ขวบ รีบแยงเสียงดังวา แมวตางหากไมใชเมี้ยวเหมียว สิ่งนี้คือขอยืนยันใหเห็น วา เด็กมีความเขาใจในเรื่องภาษาจากการอานหนังสือเด็กอยูเสมอ ๆ 4. วรรณกรรมเด็กชวยสรางจินตนาการและความคิดสรางสรรคแกเด็ก เรื่องราวตาง ๆ ที่ปรากฏ ในวรรณกรรมสําหรับเด็ก ผูเขียนมักกลั่นกรองมาจากความตองการ ความสนใจของเด็กเปนสวนใหญ นพ.พร พันธุโอสถ 12 (2538, หนา 100) กลาวไววา หากเราสังเกตดูสีหนาของเด็กยามที่ฟงนิทาน เราจะ พบบางสิ่งบางอยางที่อยากจะบอกออกมาเปนคําพูดปรากฏอยูในสีหนาพวกเขา สิ่งนั้นไมใชเพียงแคสมาธิ หรือแคความสนุกสนานตื่นเตน แตมันคือชีวิตจิตใจของเด็ก คือความมหัศจรรยใจผสานไปกับความ ซาบซึ้งประทับใจ นิทานไมไดใหแคจินตนาการกับเด็กเทานั้น แตยังใหจิตวิญญาณแกเด็กดวย แมเมื่อเด็ก อานหนังสือ นอกจากเขาไดรับรูเนื้อหาของเรื่องที่อานแลว เขายังไดพิจารณาสรางจินตนาการและ สรางสรรคสิ่งตาง ๆ ดวยตัวของเขาเอง ภาพตาง ๆ ในหนังสือที่มีสีสันสวยงามหลากหลาย ก็มีสวนทําให เด็กเกิดความคิดสรางสรรค ประทับใจในความประณีตงดงามนั้น และอาจมีผลเมื่อเด็กโตขึ้น เขาสามารถ ใชความคิดจินตนาการเหลานั้นสรางงานโดยอิสระของตัวเองได 5. วรรณกรรมเด็กเปนเครื่องมือสรางพื้นฐานความรูความคิดแกเด็ก หนังสือทุกประเภทลวน แลวแตใหคุณคาแกผูอานแตกตางกันไป วรรณกรรมสําหรับเด็กแตละเลมก็ใหสาระ ความรู และ ประสบการณที่หลากหลาย เมื่อเด็กอานมาก เด็กก็ยิ่งรูขอมูล ขาวสาร และสถานการณมากตามไปดวย 10

สุขุม เฉลยทรัพย. หนังสือกับการสนองความตองการของเด็ก. แม่และเด็ก. ป 4(55), 2524. หนา 78. อริยา ไพฑูรย. เลือกหนังสือสําหรับเด็ก. สรรสาระ. 2541. หนา 91-96. 12 พร พันธุโอสถ. นิทานจินตนาการและจิตวิญญาณ. รัก(6) ลูก. ป 13(154), 2538. หนา 99-100. 11


ซึ่งสงผลตอการพัฒนาสติปญญาการเรียนรู และทัศนคติในดานตาง ๆ การไดรับการพอกพูนความรูจาก การอานหนังสือ จะชวยใหเด็กมีมุมมองและรูจักคิด สามารถวิเคราะหขอมูล ปญหาตาง ๆ ไดอยางลึกซึ้ง และแจมชัดขึ้น เพราะหนังสือเด็กจะชวยใหเด็กเกิดการเรียนรูดวยตนเอง จากการเรียนรูนั้น คือหนทางที่ เด็กไดคนพบแนวคิด การตัดสินใจดวยตัวของเด็กเอง ซึ่งเปนประโยชนที่เกิดกับเด็กเมื่อเขาไดอานหนังสือ 6. วรรณกรรมเด็กสงเสริมความสัมพันธภายในครอบครัวและโรงเรียน การที่พอแมหรือครู หา เวลาและโอกาสอานหนังสือรวมกับเด็กบอย ๆ จะเปนการสรางความสัมพันธอันดีตอกัน เพราะเหมือนกับ วาบุคคลเหลานี้ไดใหความรัก ความอบอุนแกเด็ก ๆ โดยผานการอานหรือเลานิทานใหเด็ก ๆ ฟง ความ ใกลชิด การพูดคุย การสัมผัส การโอบกอดกันขณะอานหนังสือ จะชวยเสริมสรางความผูกพันของบุคคล ในครอบครัวใหคงทนถาวร ซึ่งจะทําใหเด็กเกิดความเชื่อมั่น ไววางใจ พอแม อันทําใหเด็กมีพัฒนาการ ดานมนุษยสัมพันธที่ดีและมีชีวิตที่เปนสุขในสังคม นอกจากการเลานิทานจะทําใหเกิดความใกลชิดและ เกิดความเชื่อมั่นแลว เด็กยังไดรับความสนุกสนานบันเทิงใจ ที่ไมมีพิษภัย และรูสึกวาไดรับความรัก ความอบอุนจากพอแม ในที่สุดก็จะเปนความอบอุนทางใจในจิตใจเด็ก ซึ่งจะทําใหเด็กเหลานี้มีความรูสึก เปนสุข นอกเหนือไปจากพอแมแลว ญาติพี่นองบุคคลผูใกลชิดในครอบครัวก็สามารถสรางสัมพันธอันดี กับเด็กได โดยใชหนังสือเปนสื่อ เชน คุณนาอาจซื้อหนังสือเด็กที่มีภาพสวยเปนรางวัลใหหลานเมื่อหลาน สอบไดคะแนนดี คุณลุงอาจเลานิทานในหนังสือใหหลานฟงหลังจากรับประทานอาหารมื้อเย็นหรือคุณยาย อาจใหหลานคนใดคนหนึ่งอานหนังสือใหคุณยายฟงกอนเขานอน การมีกิจกรรมรวมกันโดยใชหนังสือ เปนสื่อ จะทําใหทุกคนในครอบครัวมีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน รักใครกลมเกลียว อันกอใหเกิด ความสามัคคีในครอบครัว การอานหนังสือเด็กดวยกันกับบุคคลในครอบครัว นอกจากจะไดใกลชิดกัน มากขึ้นแลว ที่สําคัญคือผูใหญจะไดรูพัฒนาการทางความคิด อารมณ ความรูสึกของเด็กเมื่อไดพูดคุยกัน หลังจากการอานหนังสือเสร็จสิ้นลง รวมทั้งผูใหญเองก็จะไดกาวทันความคิดของเด็กไดอีกดวย 7. วรรณกรรมเด็กเปนสังคมจําลองที่ใหเด็กไดเรียนรูและเลียนแบบ เนื้อเรื่องที่ปรากฏใน วรรณกรรมสําหรับเด็กเปนเรื่องที่ผานการกลั่นกรองมาแลวเปนอยางดี ทั้งในดานโครงเรื่อง แนวคิด และ สํานวนภาษา เมื่อเด็กไดอาน เขาก็จะไดรับสิ่งดี ๆ เหลานั้น การที่เด็กไดเรียนรูจาก เรื่องราวที่ดีงามและ ถูกตอง จึงเปนการปลูกฝงสิ่งดี ๆ ทั้งหลายแกเขาในทางออม เขาจะเรียนรูและจดจําไดตลอดไป นอกจากเด็กจะไดเรียนรูจากเรื่องราวในวรรณกรรมสําหรับเด็ก เด็กยังสามารถเลียนแบบสิ่ง ที่ ปรากฏในหนังสืออีกดวย เพราะในหนังสือสําหรับเด็กมักจะมีเนื้อหาอันเกี่ยวของกับสภาพชีวิตโดยทั่วไป อาจเปนเรื่องการดําเนินชีวิตในบานหรือที่โรงเรียน ในหนังสือสําหรับเด็กมักจะจําลองชีวิต อันแสนงาม ไวในเนื้อหาเหลานั้น เด็กที่อานเรื่องราวเกี่ยวกับวีรบุรุษ เขาอาจอยากเกง อยากมีความสามารถเชนนั้น หรือในหนังสือไดกลาวถึงบทบาทของบุคคลในครอบครัว คนเปนพอ เปนแม เปนลูก มีบทบาทหนาที่ อยางไร เด็กไดเรียนรูและอาจเลียนแบบพฤติกรรมอันดีงามที่ปรากฏในหนังสือ เหลานั้นดวยเชนกัน หนังสือเด็กที่ดีจึงเปนสื่ออันทรงคุณคา (7)


8. วรรณกรรมเด็กเปนเพื่อนที่แสนดีของเด็ก เรื่องราวในหนังสือสําหรับเด็ก ทําใหเด็กไดรับ ความสนุกสนานเพลิดเพลินและเปนสุข ยามเหงาเขาก็สามารถใชหนังสือเปนเพื่อนแทนเพื่อนเลนได เพราะหนังสือที่เปนเพื่อนนี้จะพาเด็กไปสูโลกแหงจินตนาการและความคิดสรางสรรค ยามเบื่อหนาย บรรยากาศรอบตัว เด็กก็สามารถอานหนังสือได เมื่ออานแลวรูสึกเบื่อ เขาก็จะเลิกอานได เมื่อรูสึกอยาก อานหนังสือเมื่อใดก็พรอมจะหยิบมาอานได ระยะเวลาที่อานจะนอยจะมากหรือนานเพียงใด หนังสือก็ไม แสดงอาการเบื่อหนาย ไมมีเสียงบนวาหรือแสดงความไมพอใจ หนังสือสําหรับเด็กจึงเปนเพื่อนที่ดีของ เด็กไดตลอดไป 9. วรรณกรรมเด็กชวยฝกใหเด็กมีสมาธิ การที่เด็กอานหนังสือหรือฟงเรื่องราวจากหนังสือ เด็ก จะมีความตั้งใจแนวแนในการับรูเนื้อหานั้น ๆ เด็กจะใชความคิดในการติดตามความเปนไปของเรื่อง ซึ่ง จะฝกใหเด็กมีสมาธิ สามารถที่จะอยูนิ่งเพื่อฟงหรืออานหนังสืออยางสงบไดเปนเวลานาน หรืออยางนอย คือชวงที่อานหนังสือเรื่องนั้นเสร็จสิ้น เด็กที่มีโอกาสไดฟงนิทานบอย ๆ จะทําใหมีทักษะในการฟงดีขึ้น มีสมาธิในการฟงดีขึ้น จะดีกวาเด็กที่ไมไดฝกหัดรับฟง ผลจากการฝกใหเด็กไดมีสมาธิในเรื่องดังกลาว จะสงผลดีตอเด็กในดานอื่นดวย คือ เปนการฝกเด็กใหมีการเตรียมพรอมในเรื่องของการเรียน เด็กจะมี สมาธิในการนั่งฟงครูอธิบายเปนระยะเวลานาน รวมทั้งทําใหเด็กรูจักใชสมาธิในการกระทําเรื่องอื่น ๆ อีก ตอไป

วัตถุประสงคในการทําวรรณกรรมสําหรับเด็ก 1. เพื่อใหเกิดความเพลิดเพลิน สนุก ผอนคลายอารมณ 2. เพื่อใหอานหนังสือไดคลองแคลว แตกฉาน ซึ่งชวยพัฒนาการเรียนรูดานภาษาของเด็ก 3. เพื่อเปนการลับสมอง สงเสริมจินตนาการ ใหเกิดความคิดสรางสรรคและสงเสริมเชาวน ปญญาใหกับเด็ก 4. ใหความรู ตอบสนองความอยากรูอยากเห็นของเด็กใหเขาใจสิ่งแวดลอม เขาใจตนเองและ ความรูอื่น ๆ 5. ปลูกฝงคุณธรรมใหแกเด็ก ซึ่งเปนสิ่งจําเปนมาก เพราะเด็กเปนสมาชิกรุนใหมของสังคม และเปนความหวังของสังคมที่จะตองรับผิดชอบตอสังคมตอไป 6. เพื่อใหเด็กรักการอานมากขึ้น

(8)


เหตุที่ตองมีการทําวรรณกรรมสําหรับเด็กโดยเฉพาะ

1. เด็กมีประสบการณในชีวิตนอย 2. เด็กมีพัฒนาการทางจิตใจและสติปญญาไมมากพอที่จะเขาใจเรื่องผูใหญได 3. ความรูทางภาษาของเด็กมีนอย 4. ความตองการของเด็กไมเหมือนผูใหญ และความตองการของเด็กแตละวัยก็ไมเหมือนกัน ดังนั้นการทําวรรณกรรมสําหรับเด็ก เชน การทําหนังสือสําหรับเด็กแตละวัยจึงไมเหมือนกันดวย

ความแตกตางของวรรณกรรมสําหรับเด็กกับผูใหญ 1. วรรณกรรมสําหรับเด็ก เชน หนังสือสําหรับเด็กเขียนเนื้อเรื่องงาย ๆ ที่อยูรอบ ๆ ตัวเด็ก มี การดําเนินเรื่องไมสลับซับซอน 2. ระดับภาษางาย ๆ เด็กยิ่งเล็กยิ่งเขาใจภาษางาย ๆ สวนของผูใหญตองใชภาษาใหเหมาะกับ ทองเรื่อง ฉากและบรรยากาศ 3. แกนของเรื่อง (Theme) หรือแนวคิดของเรื่องที่แตกตางกัน ของเด็กมุงใหแนวความคิดดาน พฤติกรรมที่ดี มุงความเพลิดเพลิน สงเสริมจินตนาการ สนุกสนาน การดําเนินชีวิตประจําวันอยางมี ความสุข สวนของผูใหญมุงในดานการครองรักครองเรือน การดําเนินชีวิต ปญหาชีวิต ปญหาสังคมและ การเมือง เปนตน 4. ตัวละครมุงเปนแบบอยางของเยาวชน ทั้งความประพฤติและการศึกษาเลาเรียน 5. มุงสอนใหแนวความคิดตาง ๆ ไมเปนไปทางตรงก็ทางออม สวนของผูใหญมุงความ สมเหตุสมผล การตัดสินใจ ใหแนวความคิด แฝงคุณธรรมคอนขางลึกซึ้ง

(9)


วรรณกรรมเด็กกับการสรางนิสัยรักการอาน ความสําคัญและประโยชนของการอาน การพัฒนาเด็กเปนเรื่องสําคัญ เพราะเด็กเปนทรัพยากรมนุษยที่เปนอนาคตของชาติ การอานมี ความสําคัญและมีประโยชน ชวยใหเด็กเติบโตเปนทรัพยากรบุคคลที่มีคุณคา เปนพลเมืองดีและเปนกําลัง สําคัญของประเทศชาติ การรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชนโดยการอานจะทําใหเด็กเจริญงอกงาม ทั้ง ทางสติปญญาและรางกายที่แข็งแรง มีจิตใจดี มีวิสัยทัศนกวางไกล มีความคิดริเริ่มสรางสรรค สามารถ นําความรูที่ไดจากการอานมาประยุกตใชในการดําเนินชีวิตประจําวันอยางมีความสุข ตลอดจนการเกิดแรง บันดาลใจจากการอาน ทําใหสามารถสรางผลงานใหม ๆ ขึ้นมาเปนประโยชนทั้งกับตนเอง ครอบครัวและ ประเทศชาติ

ความสําคัญของการสรางนิสัยรักการอาน การรักการอานเปนสิ่งจําเปนและสําคัญ เด็กทุกเพศทุกวัยจะตองไดรับการฝกฝนใหมีนิสัยรักการ อาน นิสัยรักการอานนี้จะตองฝกฝนตั้งแตเด็กเล็ก ๆ ตามคํากลาวที่วา “ไมออนดัดงาย ไมแกดัดยาก” การ ฝกใหมีนิสัยรักการอานนั้น ผูที่จะทําการฝก ไดแก พอแม ผูปกครอง ครูผูสอน และบรรณารักษ พอแม ซึ่งเปนครูคนแรกของลูกและผูปกครองจะตองเปนนักอาน รูจักชี้แนะหรือแนะนําการอาน เลานิทาน เลา เรื่องตาง ๆ จากหนังสือ และอานหนังสือใหฟง เปนตน ครูมีวิธีการสอนที่มุงใหเด็กรูจักคนควาเพิ่มเติม บรรณารักษมีวิธีการแนะนําวรรณกรรมและสื่อ ประเภทตาง ๆ จัดกิจกรรมตาง ๆ อันเปนการปลูกฝงนิสัยใหเด็กรักการอาน เมื่อเด็กรักการอานตั้งแตเล็ก ๆ แลว ครั้นเมื่อเจริญเติบโตขึ้น นิสัยรักการอานนี้ก็จะติดตัวเด็กไป เรื่อย ๆ ซึ่งจะเปนผลดีตอการเรียน ตอการปรับตัวใหเขากับสังคมและสิ่งแวดลอมของเด็กไดเปนอยางดี แตอยางไรก็ตาม เมื่อปลูกฝงนิสัยรักการอานใหกับเด็กแลว ควรจะแนะแนวทางใหเด็กมีรสนิยมในการ เลือกอานหนังสือและสื่อตาง ๆ ใหกับเด็กดวย เพราะในปจจุบันนี้มีหนังสือสําหรับเด็กและสื่อตาง ๆ จัดทําขึ้นมากมายในทองตลาด ทั้งเหมาะสมและไมเหมาะสมกับเด็ก ดังนั้นการมีรสนิยมในการเลือกอาน หนังสือและสื่อตาง ๆ ของเด็ก จึงเปนสิ่งจําเปนมากสําหรับภาวะการณปจจุบันนี้ และเพื่อจะชวยสงเสริม รสนิยมในการอานของเด็ก และมุงสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรคของเด็กใหกวางขวาง ผูจัดทําหนังสือและสื่อตาง ๆ สําหรับเด็กจึงควรมีความรู ความสามารถและศึกษาการจัดทําหนังสือและสื่อ ตาง ๆ สําหรับเด็กใหเหมาะกับวัยของเด็กดวย จึงจะสามารถจําทําหนังสือหรือผลิตสื่อที่ดีสําหรับเด็กได

(10)


สาเหตุที่เด็กไมรักการอาน 1. ผูปกครองไมรักการอาน จึงไมเห็นคุณคาของการอานหรืออาจจะเนื่องมาจากเศรษฐกิจ แตก็ มีขอขัดแยงไดวาของบางอยางซึ่งไมสําคัญและไมจําเปน ผูปกครองยังซื้อได เชน เหลา บุหรี่ เปนตน แต ไมอาจลงทุนซื้อหนังสือใหเด็กได 2. ผูปกครองเห็นคุณคาของอยางอื่นมากกวา เชน ของเลนราคาแพง ๆ เปนตน แตไมซื้อ หนังสือใหกับเด็ก 3. ผูปกครองไมมีเวลาฝกใหเด็กรักการอาน อาจเปนเพราะขี้เกียจหรือไมมีเวลา 4. โรงเรียนไมมีหองสมุดหรือมีแตไมดี ไมมีบรรณารักษ ครูใหญหรือผูอํานวยการไม สนับสนุนหองสมุด แตสนับสนุนอยางอื่นมากกวา 5. วิธีการสอนของครู มุงการอานแบบเรียนอยางเดียว ครูไมมีโอกาสสอนใหนักเรียนคนควาใน หองสมุด และไมมีกิจกรรมเกี่ยวกับการอานที่ใหเด็กเปนศูนยกลางการเรียนการสอน 6. บรรณารักษไมมีกิจกรรมสนับสนุนสงเสริมแนะนําการอาน อาจเนื่องจากตองไปสอน หนังสือดวยก็ได หรือโรงเรียนไมสนับสนุนหองสมุดใหซื้อหนังสือใหม ๆ และไมมีชั่วโมงใหนักเรียนมา ใชหองสมุด 7. วรรณกรรมสําหรับเด็กที่ไมมีคุณภาพออกมามาก เชน หนังสือและภาพยนตร การตูนญี่ปุน เด็ก ๆ ชอบอานมาก แตบางเรื่องไมดี เนื้อหาไมสรางสรรค ลามก หยาบคาย รายการโทรทัศนและเว็บ ไซดในอินเทอรเน็ตไมเหมาะสม 8. เนื้อเรื่องของหนังสือสําหรับเด็กมีนอย ยิ่งเรื่องไทย ๆ ยังมีอยูอีกมากที่จะนํามาเขียนและควร จะเขียนเรื่องที่สนองความอยากรูอยากเห็นของเด็กมากกวานี้ เชน เรื่องที่เปนความรู เรื่องที่สราง จินตนาการ และกอใหเกิดความคิดสรางสรรค ยังขาดอยูอีกมาก 9. ขาดแหลงซื้อสําหรับเด็กชนบท ไมมีรานขายหนังสือ มีแตเมืองใหญ ๆ เทานั้น เชน เชียงใหม นครราชสีมา ขอนแกน เปนตน 10. ขาดหองสมุดประชาชน ถึงมีหองสมุดประชาชนก็ยังมีหนังสือเด็กไมมากนัก 11. มีสื่อตาง ๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งดึงความสนใจจากการอาน เชน เกม คอมพิวเตอร โทรทัศน อินเทอรเน็ต ฯลฯ ที่ดึงดูดความสนใจมากกวาการอานหนังสือ อาจสรุปไดวาสาเหตุหลัก ๆ ที่ทําใหเด็กไมอานหนังสือเกิดมาจากผูปกครอง โรงเรียน เนื้อหาของ หนังสือ และสิ่งแวดลอมอื่น ๆ นั่นเอง

(11)


ปญหาการขาดแคลนหนังสือเด็กที่มีคุณภาพดี 1. ขาดผูอาน เพราะเด็กไมมีนิสัยรักการอาน ตามหลักของ demand and supply ไมมีคนอานก็ไม มีคนผลิต ปจจุบันมีสื่ออื่น ๆ ที่เด็กใหความสนใจมากกวา เชน โทรทัศน แถบบันทึกภาพ และ อินเทอรเน็ต เปนตน 2. ปจจุบันยังขาดผูเขียนหนังสือสําหรับเด็กโดยแทจริง และยังขาดผูวาดภาพประกอบหนังสือ สําหรับเด็กอยูมาก 3. นักเขียนสวนมากมักจะผลิตหนังสือเด็กวัยเดียวกัน เรื่องทํานองเดียวกันมาก ควรจะมุงผลิต หนังสือบางประเภทที่ขาดแคลน เชน หนังสือเด็กเล็ก ๆ และวัยรุน 4. ภาวะเศรษฐกิจไมดี กระดาษแพง การพิมพหนังสือเด็กตองลงทุนสูง 5. สวนใหญการใหคาลิขสิทธิ์ยังนอย ไมมากเทาหนังสือผูใหญ 6. ขาดผูแปลหนังสือเด็กดี ๆ โดยตรง โดยเฉพาะหนังสือเด็กวัยรุน 7. ขาดการสงเสริมสนับสนุนจากสถาบัน หนวยงานตาง ๆ สถาบันตาง ๆ มูลนิธิตาง ๆ จัด ประกวดใหรางวัลหรือสงเสริมการเขียนหนังสือสําหรับเด็ก ทั้ง ๆ ที่สํานักพิมพก็สนับสนุนใหรางวัล ผูเขียนหนังสือเด็กดีเดน และตนฉบับหนังสือดีเดนทุกปรวมกับสมาคมองคกรตาง ๆ จัดประชุมการทํา หนังสือเด็ก สงเสริมการอานของเด็ก แตหนังสือเด็กก็ยังไมมากเทาที่ควร 8. ขาดผูชี้แนะ การรูจักเลือกอานหนังสือที่ดี ๆ มีความรูเสริมสรางจินตนาการและกอใหเกิด ความคิดสรางสรรค เชน ขาดบรรณารักษ ครู และผูปกครองที่เห็นคุณคาของการอานและรูหลักการเลือก หนังสืออานใหกับเด็ก ดังนั้นหนังสือที่มีเนื้อหาสาระที่ใหความรูตาง ๆ เด็กจึงมองขามไป มักจะสนใจ หนังสือที่ใหความเพลิดเพลินอยางเดียว หนังสือที่เปนพวกสารคดีทั้งหลายสําหรับเด็กจึงผลิตไดนอยมาก การชี้แนะใหเด็กรูจักเลือกอานหนังสือ จึงเปนสิ่งจําเปนและสําคัญที่จะขจัดหนังสือเด็กที่ไมมีคุณภาออกไป จากหองสมุดโรงเรียนหรือจากทองตลาดได

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เอกสารประกอบการสอน

ฉวีวรรณ คูหาภินันทน. (2545). วรรณกรรมสําหรับเด็ก. กรุงเทพฯ : ศิลปาบรรณาคาร. หนา 1-14. สุนทรี คุณจักร. (มปป). หนังสือสําหรับเด็ก. ชลบุรี : ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา. หนา 1-14. (12)


ความรูพื้นฐานทางดานจิตวิทยาที่เอื้อตอ การเขียนวรรณกรรมสําหรับเด็ก ผูที่จะเขียนวรรณกรรมสําหรับเด็ก จําเปนจะตองมีความรูพื้นฐานทางดานจิตวิทยาที่เอื้อตอการ เขียนวรรณกรรมสําหรับเด็ก กลาวคือ ในการเขียนวรรณกรรมสําหรับเด็ก ผูเขียนจะตองรูวาเด็กแตละ วัยตองการสิ่งใดและมีความสนใจอะไรบาง เพราะเด็กแตละวัยมีความตองการและมีความสนใจที่ แตกตางกัน หนังสือที่จะดึงดูดใหเด็กสนใจจึงมีความแตกตางกันดวยถาผูเขียนทราบสิ่งเหลานี้จะทําให สรางวรรณกรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ

ความตองการของเด็ก ความตองการ คือสิ่งที่เกิดขึ้นจากแรงผลักดันภายใน กระตุนใหเกิดการแสดงพฤติกรรมตาง ๆ เมื่อยังเด็ก เด็กจะมีความตองการอยูในวงจํากัด แตเมื่อเติบโตขึ้น ความตองการของเด็กก็จะขยายกวางตาม ไปดวย ซึ่ง Arbuthnot และ Sutherland (อางถึงใน ) สรุปความตองการของเด็กไวดังนี้ 1. ตองการความมั่นคงและความปลอดภัย (The need for physical well being) การไดรับความ อบอุนจากพอแม ความเอาใจใส ความมั่นคง ความปลอดภัย ความสุขสบายตาง ๆ เห็นโลกสวย ตองการ ความหรูหราตาง ๆ ดังนั้นหนังสือที่มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับความสุขสบาย มีเสื้อผาสวย ๆ สวมใส มีงานเลี้ยง หรูหรา มีแกวแหวนเงินทอง อยูในประสาทราชวัง จึงเปนเรื่องที่เด็ก ๆ ชอบ เรื่องแนวนี้ประเภทเทพนิยาย ซึ่งเด็กผูหญิงจะชอบอานมากกวาเด็กผูชาย 2. ตองการความรักและไดรับความรักจากผูอื่น (The need to love and to be loved) เชน รักพอแม ญาติพี่นอง เพื่อนฝูง สัตว สิ่งของ และยังตองการไดรับความรักจากสิ่งเหลานี้ดวย ดังนั้นหนังสือที่มีเนื้อ เรื่องเกี่ยวกับครอบครัว เพื่อน เด็กในวัยเดียวกันและสัตว เด็กจะชอบอานเปนพิเศษ ซึ่งโดยสวนใหญ นิทานสําหรับเด็กจะเนนเรื่องความรักอยูแลว 3. ตองการแสดงความเปนเจาของ (The need to belong) ความตองการแสดงความเปนเจาของใน สิ่งตาง ๆ เชน พอ แม สิ่งของ เพื่อน สัตวเลี้ยง ฯลฯ เด็กจะอวดดวยความภาคภูมิใจวา นี่พอฉัน นี่แมฉัน นี่โรงเรียนฉัน นี่ของเลนฉัน ฯลฯ หนังสือที่มีเรื่องเกี่ยวกับครอบครัวและสิ่งเหลานี้เด็กจะชอบมาก แต ผูเขียนควรแทรกเรื่องของการดูและเอาใจใสสิ่งของเหลานี้ใหแกเด็กดวย 4. ตองการความสําเร็จ (The need to achieve) เมื่อทําอะไรก็ตาม ถาประสบผลสําเร็จ เด็กจะรูสึก ภาคภูมิใจ เพราะฉะนั้นหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความสามารถ การทําอะไรที่ประสบผลสําเร็จ เรื่อง วีรบุรุษ วีรสตรี เด็กจะชอบมาก (13)


5. ตองการความเปลี่ยนแปลง (The need for change) หนังสือที่มีเรื่องแปลก ๆ ใหม ๆ การผจญ ภัย เนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องการผจญภัย ลึกลับ การเปลี่ยนแปลงของรางกายก็เปนสิ่งที่เด็กชอบ 6. ตองการที่จะรู (The need to know) กลาวคือ เด็กมีความอยากรูอยากเห็นในสิ่งแปลก ๆ ใหม ๆ สิ่งรอบ ๆ ตัว ธรรมชาติตาง ๆ การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ หนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับทวีปตาง ๆ ประเทศตาง ๆ ทะเล ทะเลทราย พืช กอนหิน ดวงดาว โลกใหม เครื่องบิน ยานอวกาศ ทองฟา พระอาทิตย ฝนตก พระจันทร ฯลฯ หรือเรื่องแนวประดิษฐคิดคน เด็กจะชอบมาก หนังสือประเภทพจนานุกรมหรือ สารานุกรมเด็ก จะเปนที่ถูกอกถูกใจเด็กมาก เพราะจะชวยในการคนควาหาคําตอบในเรื่องที่เด็กสงสัย และอยากรูอยากเห็น 7. ตองการความสวยงาม ความเปนระเบียบ จังหวะตาง ๆ บทเพลงตาง ๆ (The need for beauty and order) ดังนั้นเด็กจะชอบอานหนังสือศิลปะ หนังสือเพลง บทรอง ดนตรี หนังสือเกี่ยวกับความงาม โคลง ฉันท กาพยกลอนตาง ๆ หนังสือปรับปรุงบุคลิก เสริมความงามทั้งหลาย หนังสือรูปศิลปะ วาด เขียน แกะสลัก บทละคร

ความสนใจของเด็ก ความสนใจ คือ ความรูสึกอยางหนึ่งที่ถูกเราใหเกิดขึ้น โดยวัตถุภายนอก ซึ่งความสนใจของเด็ก นั้นอาจเกิดขึ้นมาจาก 2 ทาง คือ 1. ความสนใจที่เกิดขึ้นจากภายใน กลาวคือ ความสนใจที่เกิดขึ้นเอง ความสนใจชนิดนี้เกิดมาก จากลักษณะเฉพาะของบุคคลหรือความถนัดของบุคคล เชน ชอบวาดรูป ชอบรองเพลง 2. ความสนใจที่เกิดขึ้นจากภายนอก ไมวาจะเปน โดยการแนะนําจากผูอื่น หรือที่เกิดขึ้นจากการ ทําตามผูอื่น หรือเกิดขึ้นจากสิ่งแวดลอมบังคับ ความสนใจเหลานี้เปนสิ่งที่เกิดขึ้นไดเชนกัน ทวีศักดิ์ ญาณประทีป (2537, 39-52)ไดสรุปองคประกอบที่สําคัญซึ่งมีอิทธิพลตอความสนใจในการ อานของเด็กไว 4 ประการ คือ 1. อายุและเพศ ไดมีการสํารวจความพอใจในการอานหนังสือของเด็ก พบวา เด็กแตละวัยและตาง เพศกันมีความสนใจในการอานแตกตางกัน กลาวคือ - เด็กที่อายุตางกัน มีความสนใจแตกตางกัน เชน เด็กเล็ก จะสนใจภาพวาด สัตว ดอกไม ภาพสี ฉูดฉาด เด็กวัยหัดอาน (3-6 ขวบ) ชอบเรื่องเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมรอบ ๆ ตัว เด็กวัย 6-8 ขวบ ชอบเรียนรูศัพทใหม ๆ อานเรื่องตลกแลวเขาใจ สวนเด็กวัย 8-11 ขวบ เริ่มสนใจเรื่องจริงมาก ขึ้น เนนรูปและเนื้อเรื่องเทา ๆ กัน (14)


- ความสนใจของเด็กหญิงและเด็กชายตางกันเล็กนอย ซึ่งปรากฏชัดในชวงกอนอายุ 9 ป - เด็กหญิงจะชอบอานหนังสือมากกวาเด็กชาย แตเด็กชายจะชอบอานหนังสือไดหลายชนิดกวา - เด็กหญิงจะชอบเรื่องแนวนิยายรักโศก สวนเด็กชายจะชอบแนวลึกลับผจญภัย จะเห็นไดวา อายุและเพศมีอิทธิพลตอความสนใจในการอานของเด็กอยางมาก เพราะทําใหผูเขียน ทราบความพอใจในการอานหนังสือของเด็กและสวนประกอบตาง ๆ ที่ดึงดูดใจใหเด็กอานหนังสือ และ สามารถสรางสรรคงานเขียนไดตรงความสนใจของเด็ก 2. อายุสมอง ความสนใจในการอานของเด็ก เกี่ยวโยงกับอายุสมองดวย เดวิด รัสเซลล (David Russell) ไดศึกษาเปรียบเทียบความสนใจในการอานของเด็กกับสติปญญา และสรุปหลักใหญ ๆ ไว 3 ประการ คือ - เด็กฉลาดจะชอบอานหนังสือที่เด็กสติปญญาดอยซึ่งแกกวาตน 2-3 ป - เด็กฉลาด จะอานหนังสือเปนจํานวน 3-4 เทาของเด็กที่มีสติปญญาปานกลาง - เด็กที่ฉลาดจะมีความสนใจในการอานนานกวา 3. รูปรางและขนาดของหนังสือ ประกอบดวย ภาพ สี ขนาดของหนังสือ ชนิดของการพิมพ และ รูปรางลักษณะ สิ่งเหลานี้มีอิทธิพลตอความสนใจของเด็กในการเลือกหนังสือ แดน แคปปา (Dan Cappa) ไดศึกษาเด็กอนุบาลจํานวน 2,500 คน พบวา รูปภาพเปนสิ่งสําคัญที่สุด (34%) ที่จะชักจูงใจเด็ก ใหเลือกหนังสือ เนื้อเรื่อง (30%) มีความสําคัญรองลงมา สวนอื่น ๆ มีความสําคัญลดหลั่นลงมา ตามลําดับ เชน ความรูที่มีในเนื้อเรื่อง ความตลกขบขัน ความตื่นเตน และเรื่องที่เคยอานมาแลว 4. สิ่งแวดลอม เชน การมีเงินซื้อหา การหาแหลงหนังสือ มีผลกกระทบตอความสนใจในการ อานของเด็กบาง แตความแตกตางในเรื่องที่ตั้งทางภูมิศาสตร เด็กชนบท เด็กชานเมือง และเด็กในเมือง ไมมีผลตอรสนิยมในการอานของเด็ก

(15)


ลักษณะแหงวัย ความตองการ และความสนใจ ที่มีผลตอการอานของเด็ก บันลือ พฤกษะวัน (2536, 14-17)ไดกลาวถึงลักษณะของวัย ความตองการ ความสนใจ และ หนังสือที่เด็กแตละวัยควรจะอานไวดังนี้ 1. วัยอนุบาลหรือวัยกอนเขาเรียน (3-6 ป) ลักษณะแหงวัย - ยึดเอาตนเองเปนศูนยกลาง สนใจตนเองมากกวาสิ่งอื่น ไมคอยคิดถึงผูอื่น เรียกไดวาเปนวัยที่ เห็นแกตัวมากไป - ชวงความสนใจสั้น และมักเปลี่ยนความสนใจบอย ๆ - เปนระยะที่ความเจริญทางภาษาเปนไปอยางรวดเร็ว ตองการที่จะไดพบเห็นสิ่งแปลก ๆ ใหม ๆ - การเลียนแบบเปนทางสําคัญแหงการเรียนรูสําหรับเด็กวัยนี้มาก ทั้งในดานภาษาและลักษณะทาทาง ความสนใจและความตองการของเด็ก - สนใจในสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ เชน สัตว ตนไม ดอกไม และเด็กในวัยเดียวกัน - ตองการที่จะพูด ฟง ซ้ํา ๆ เปนจังหวะ เพื่อจะไดเลียนแบบเปนครั้งคราว - สนใจที่จะซักถามโดยใชคําถามตรง ๆ บางทีก็ถามซ้ําซากจนผูใหญเกิดความรําคาญก็มี แตก็ยัง ไมมุงถามถึงเหตุผลอยางจริงจัง - สนใจในการทองจําคําคลองจองงาย ๆ บทเลนเด็ก และเพลงสั้น ๆ งาย ๆ ได - สนใจและมักรบเราที่จะฟงนิทานจากผูใหญ การอานนิทานงาย ๆ สั้น ๆ ใหฟง จะเปนการ สนองความตองการแหงวัยนี้ไดอยางมาก - สนใจที่จะฝกอานภาพจากสมุดภาพหรือหนังสือเอง - เริ่มสนใจที่จะอานเองบาง แตชอบใกลชิดผูใหญละชอบการชมเชยจากผูใหญ หนังสือที่เหมาะกับเด็กวัยนี้ - สมุดภาพ พจนานุกรมภาพ-เสียง - หนังสือที่ใชภาพกับคํา เชน สมุดภาพสัตว และสิ่งของเครื่องใชตาง ๆ 2. วัยประถมตอนตน (ป.1-2) ลักษณะแหงวัย - ชวงความสนใจยาวขึ้น ประมาณ 15-20 นาที - เด็กวัยนี้จะถือเอาการเลนเปนชีวิตจิตใจ เด็กจะเลนเพลินจนลืมเรื่องอาหารการกินเสมอ ๆ - ชอบเลนรวมกลุม ไมแยกเพศ ชอบแขงขันทุกประเภท ชอบการเอาชนะ - สามารถพูดเปนประโยค โดยใชคํา 6-8 คํา และใชภาษาพูดสื่อความหมายในชีวิตไดดีขึ้น (16)


ความสนใจและความตองการของเด็ก - ตองการแสดงออกซึ่งความสามารถหรือความสําเร็จในการเรียน การเลน เพื่อใหผูอื่นยอมรับ - สนใจที่จะทดลอง เลียนแบบสิ่งตาง ๆ ตามความคิดเห็นของตน - ตองการการยอมรับจากลุมของตน - ตองการมีสวนรวมในทุกกิจกรรม - ตองการฟงนิทาน เรื่องราวสนุก ๆ ชวนเพอฝน เรื่องราวที่เต็มไปดวยความอบอุน หนังสือที่เหมาะกับเด็กวัยนี้ - หนังสือเกี่ยวกับกิจวัตรประจําวัน เชน เรื่องความรักของแม มายิ้มกันเถอะ มาแปรงฟนกัน ดีกวา - นิทานที่มีเรื่องราวสนุกสนาน อาจจะเปนนิทานอีสปก็ได - หนังสือแนวเพอฝน ทํานองเทพนิยายตาง ๆ 3. วัยประถมตนตอนปลาย (ป.3-4) ลักษณะแหงวัย - ชวงความสนใจยาวขึ้น 30-40 นาที - มีการสังเกตรายละเอียดของสิ่งตาง ๆ มากขึ้น - เรียนรูที่จะทํางานเปนกลุมไดดี - สามารถจะอานตามลําพังไดเอง และพอจะเขาใจเรื่องที่เปนนามธรรมไดบาง - มีความรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมายมากขึ้น ความสนใจและความตองการของเด็ก - ความสนใจในตนเองเริ่มลดลง หันมาสนใจเพื่อน สิ่งแวดลอมรอบ ๆ ตัวมากขึ้น - สนใจเรื่องราวความเปนมาของสิ่งตาง ๆ - ตองการที่จะมีสวนรวมมากขึ้น - สนใจนิทาน เรื่องราว และนํามาถายทอดเลาสูเพื่อนไดบาง - ความสนใจในการอานเริ่มขยายตัวกวางมากขึ้น หนังสือที่เหมาะกับเด็กวัยนี้ - นิทานสุภาษิต นิทานคํากลอน ที่ใหคติสอนใจและมีแนวคิดในการประพฤติปฏิบัติ - นิทานที่มีประวัติความเปนมาของสิ่งตาง ๆ เชน นิทานพื้นบาน นิทานอธิบายเหตุ - นิทานที่ตลกขบขัน แสดงถึงความกลาหาญ แนวผจญภัยตาง ๆ - นิทานที่มีคุณธรรมแฝงในเรื่อง (17)


4. วัยประถามศึกษาตอนปลาย (ป.5-6) ลักษณะแหงวัย - มีชวงความสนใจตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งยาวนานขึ้น 50-60 นาที หรือนานกวานั้น - เริ่มเรียนรูเกี่ยวกับนามธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมใกลตัว - สามารถที่จะอานและใชความเปนอิสระไดดีขึ้น - รูจักวิเคราะห และมีความรูสึกนึกคิด - เริ่มมีความเขาใจ ชางสังเกตสิ่งตาง ๆ - เริ่มรูจักเลือกคบเพื่อน มีความสนใจเพื่อนฝูงมากขึ้น ความสนใจและความตองการของเด็ก - ตองการความเปนตัวเองมากขึ้น ชวยเหลือตัวเองไดเอง ตองการความชวยเหลือจากผูใหญ ลดลง - เริ่มมีความเพอฝน - ความสนใจของเพศหญิงและชายตางกันชัดเจน หญิงจะสนใจเรื่องครอบครัว การเรือน สวน ชายจะสนใจเรื่องเครื่องยนตกลไก เกษตรกรรม - ตองการความเพลิดเพลินจากการอาน หนังสือที่เหมาะกับเด็กวัยนี้ - หนังสือประเภทสารคดีเด็ก การทองเที่ยว ตาง ๆ - หนังสือแนวชีวประวัติบุคคลสําคัญ ๆ - หนังสือวรรณคดี - หนังสือเริงรมยที่ใหแนวคิดตาง ๆ - หนังสือประเภทเรื่องสั้น พวกวรรณกรรมเยาวชนตาง ๆ

(18)


หลักเกณฑการเขียนวรรณกรรมสําหรับเด็ก แมวาการเขียนวรรณกรรมเด็กจะสามารถเขียนไดอยางอิสระ ตรงกับความตองการของเด็ก แต การจะเขียนเรื่องสักเรื่องหนึ่งนั้น ไมใชเรื่องงายเลย จึงมีนักวิชาการจํานวนมากเสนอแนวทางการเขียนไว หลากหลาย ทั้งนี้ ผูเขียนเห็นวาควรศึกษาหาความรูทั่วไปเกี่ยวกับการจัดทําวรรณกรรมสําหรับเด็ก ศึกษาความเปนมาของหนังสือเด็ก มีความรูความเขาใจความตองการของเด็กในวัยตาง ๆ และเลือก ประเภทของวรรณกรรมเด็กที่จะเขียน ซึ่งกลาวถึงมากอนหนานี้แลว สิ่งตาง ๆ เหลานี้เปนสวนเริ่มตน เพื่อปูพื้นฐานของผูเขียนวรรณกรรมเด็ก แตการลงมือเขียนนั้นมีหลักเกณฑที่ควรทราบดังตอไปนี้ 1. สวนประกอบของวรรณกรรมสําหรับเด็ก 2. คุณธรรมที่ควรสอดแทรกในวรรณกรรมสําหรับเด็ก 3. เคาโครงการเขียน 4. เทคนิคในการนําเสนอเรื่อง 5. การใชภาษาในการเขียน 1. สวนประกอบของวรรณกรรมสําหรับเด็ก วรรณกรรมสําหรับเด็กมีองคประกอบดังนี้ 1.1 เนื้อเรื่อง คือเหตุการณตาง ๆ หลายเหตุการณที่ผูแตงนํามาแตงใหเปนเรื่องราวตอเนื่องกัน ตั้งแตตนจนจบ มีรายละเอียดสมบูรณ ผูอานไดรับรูวามีเหตุการณใดเกิดขึ้นกับตัวละครบาง เรื่อง ดําเนินไปอยางไร ตัวละครมีพฤติกรรมอยางไร มีการบรรยายและพรรณนาความประกอบเพื่อใหผูอาน เขาใจเรื่องราวไดอยางชัดเจน 1.2 โครงเรื่อง คือลําดับเหตุการณและเรื่องราวที่เกิดขึ้นตั้งแตตนจนจบ เกี่ยวโยงถึงกันอยาง สมเหตุสมผล มีทั้งสวนที่คลายและแตกตางจากเนื้อเรื่อง สวนที่คลายกันคือ ทั้งเนื้อเรื่องและโครงเรื่อง ตางก็เปนการเลาเหตุการณดวยกัน สวนที่ตางกันก็คือ เนื้อเรื่องคือรายละเอียดทั้งหมดของเรื่องราวที่ เกิดขึ้น แตโครงเรื่องเปนเพียงการวางลําดับของสวนเปดเรื่อง สวนดําเนินเรื่อง และสวนปดเรื่อง อยาง เปนลําดับขั้นตอน ไมแจกแจงรายละเอียด เพียงแตบอกใหรูถึงความเปนไปคราว ๆ ของเนื้อหาเทานั้น 1.3 ตัวละคร ผูที่ทําใหเรื่องราวดําเนินไปไดเราเรียกวา “ตัวละคร” ตัวละครอาจเปนมนุษย สัตว หรือสิ่งไมมีชีวิตก็ได เปนผูมีสวนทําใหเรื่องราวสนุกสนาน ตื่นเตน นาติดตาม เราสามารถแบง ไดเปน 2 ลักษณะ ดังนี้ - ตัวละครเอก เปนตัวหลักในการดําเนินเรื่อง - ตัวประกอบ เปนตัวรองใการชวยใหเนื้อเรื่องสนุกสนาน เปนผูสนับสนุนให บทบาทของตัวละครเอกเดนมากขึ้น (19)


1.4 ฉาก คือ เวลาและสถานที่ที่เกิดเหตุการณนั้น ๆ รวมถึงสภาวะแวดลอมตาง ๆ ที่เกิดขึ้นใน เรื่อง ฉากมีสวนสัมพันธกับบรรยากาศของเรื่อง เชน ฉากในบานรางเกา ๆ เต็มไปดวยบรรยากาศที่มี แตความวังเวง เยือกเย็น จนกอใหเกิดความนาหวาดกลัว เปนตน การสรางฉากอาจอาศัยกลวิธีหลายอยาง เชน คําบรรยายของผูเขียน การใชภาษาถิ่น ของตัว ละคร หรือการกลาวถึงประเพณีของทองถิ่นเพื่อใหทราบวาเรื่องนั้น ๆ เกิดขึ้นในสมัยใด และที่ไหน หรืออาจใชภูมิหลังทางประวัติศาสตรก็ได 1.5 บทสนทนา หมายถึง บทเจรจาของตัวละคร มีความสําคัญมากโดยเฉพาะงานเขียนแนว บันเทิงคดี พอสรุปขอดีของบทสนทนาไดดังนี้ - ชวยใหผูอานรูจักบุคลิกลักษณะนิสัยและความรูสึกของตัวละคร โดยไมตองใช การบรรยาย - ชวยใหมีวิธีการไมซ้ําซาก แทนที่จะอานแตคําบรรยายเพียงอยางเดียว - ชวยสรางความสมจริงแกเรื่อง - ชวยใหเรื่องนาอาน นาสนใจ โดยเฉพาะการแทรกมุขตลก ชวยใหเรื่องมีชีวิตชีวา ยิ่งขึ้น ลักษณะของบทสนทนาที่ดีนั้น จะตองเหมาะสมกับตัวละครและสถานการณในเรื่อง ปจจุบัน จะเขียนบทสนทนาโดยมีเครื่องหมายอัญประกาศกํากับ และมักแยกบทโตตอบระหวางตัวละครไว ชัดเจน แตผูเขียนบางคนอาจจะเขียนบทสนทนารวมกับการบรรยาย ไมมีการแยกแยะคําพูดบางก็มี 1.6 การใชภาษา ลักษณะภาษาของผูเขียนแตละคน จะบงบอกเอกลักษณของผูเขียนนั้น ๆ แต ทั้งนี้ตองคํานึงอยูเสมอวา การใชภาษาในงานเขียนสําหรับเด็ก ควรเปนภาษาที่เหมาะสมกับวัยของเด็ก ผูเขียนจึงควรเลือกสรรคํามาใชอยางระมัดระวัง เพื่อใหเด็กเขาใจเรื่องราวและจดจําคําที่ถูกตอง 2. คุณธรรมที่ควรสอดแทรกในวรรณกรรมสําหรับเด็ก วรรณกรรมเด็กเปนหนังสือที่มีอิทธิพลตอเด็กมาก สงผลตอความคิดและพฤติกรรมของเด็ก ในอนาคต สังเกตไดวาเมื่อเด็กไดฟงหรืออานนิทานสักเรื่องหนึ่ง เด็กจะเลียนแบบพฤติกรรมของตัว ละครที่เด็กพึงพอใจจากในเรื่อง เด็กจะใชตัวละครที่เด็กรูจักเลียนแบบพฤติกรรมและความคิดนั้น ดังนั้น ผูเขียนวรรณกรรมสําหรับเด็กจึงตองคํานึงถึงการสรางตัวละครใหมาก หากแตมองในดานดี การใชตัวละครใหเปนตนแบบแกเด็ก จะเปนวิธีการกลอมเกลานิสัยของเด็กได ซึ่งผูเขียนสามารถ ปลูกฝงคุณธรรมอันดีงามไวในตนแบบเหลานี้ จริยธรรมที่ควรสอดแทรกไวในวรรณกรรมสําหรับเด็ก นั้น พอสรุปไดดังนี้ (20)


1. สอนใหรูวาอะไรดี อะไรชั่ว นิทานที่เขียนใหเด็กอานสวนใหญมักจะสอนใหเด็กทําแต ความดี ทําดีแลวไดรับผลตอบแทนที่ดี ขณะที่อะไรก็ตามที่ทําแลวสงผลใหผูอื่นเดือนรอนเปนการ กระทําที่ไมควรกระทําและไดรับผลตอบแทนที่ไมดี ควรเนนใหเด็กเห็นคุณคาของการทําดี และ ละอายตอการทําชั่ว 2. สอนใหเด็กมีความเปนระเบียบวินัย 3. สอนใหเด็กมีความกลาที่จะทําความดี เด็กบางคนกลัวที่จะทําความดี เพราะถือเปนเรื่องหนา อาย ผูเขียนตองพยายามเสนอใหเห็นวา การทําความดีนั้นเปนเรื่องที่นายกยอง เพื่อใหเด็กรูสึก ภาคภูมิใจ 4. สอนใหเด็กรูจักการใหอภัย เรื่องบางเรื่องตัวเอกอาจตองเผชิญชะตากรรมที่โหดราย โดน กลั่นแกลงจากตัวราย ผูเขียนตองเสนอใหเด็กเห็นวาการแกแคนและการตอสูนั้นไมใชหนทาง แกปญหาเสมอไป ควรแสดงใหเห็นวา เขาเปนผูชนะไดโดยไมตองตอสู และรูจักใหอภัยในความ ผิดพลาดของผูอื่น 5. สอนใหเด็กมีความรับผิดชอบ อันเปนหนาที่ของพลเมืองดี 6. สอนใหเด็กรูจักความสามัคคี 7. สอนใหเด็กรูจักความรัก ความเมตตา เอื้อเฟอเผื่อแผ 8. ปลูกพื้นฐานการศึกษาใหแกเด็ก 9. ใหขอคิดในการแกปญหาในชีวิตดวยตนเอง เด็กบางคนไมกลาคิดไมกลาตัดสินใจ ตองคอยฟง คําแนะนําของคนอื่น การที่เขาเห็นแบบอยางในหนังสือ เห็นแนวทางการแกปญหาที่ถูกตอง จะทําให พวกเขาตัดสินใจไดดวยตนเอง สงผลตอความมั่นใจและการดําเนินชีวิตในสังคมไดอยางมีความสุข 3. เคาโครงการเขียน การเขียนเคาโครงเรื่อง คือการกําหนดลําดับขั้นตอนในการเขียนใหเหมาะสม เพื่อชวยให ดําเนินเรื่องไดอยางสมเหตุสมผล สอดคลองกันตลอดทั้งเรื่อง ซึ่งมีขั้นตอนดังตอไปนี้ 3.1 กําหนดขอบเขตของงานเขียน ผูเขียนตองกําหนดของเขตใหชัดเจนวาเรื่องที่ตนจะเขียน นั้น จะเปนเรื่องแนวไหน ทวีศักดิ์ ญาณประทีป (2537, 27-28) กลาวถึงขอบเขตของเรื่องที่จะเขียน ตามประเภทของวรรณกรรมสําหรับเด็กไวดังนี้ - เรื่องจากประสบการณชีวิตประจําวัน (Everyday Life Experience) - นิทานคติสอนใจ ทํานองนิทานอีสป (Near Fable Story) - นิทานเกี่ยวกับสัตว (An Animal Story) - นิทานเกี่ยวกับสัตว แตใหสัตวมีพฤติกรรมเหมือนคน (Personified Animal Story) - เรื่องเหนือวิสัย (Simple Fantasy) (21)


3.2 กําหนดแกนเรื่องหรือสารัตถะของเรื่อง คือการกําหนดแนวคิดวาตองการใหผูอานไดรับ แนวคิดใด หรือกลาวงาย ๆ คือ มุงเสนอความรูหรือขอคิดใดแกผูอาน หรือพฤติกรรมใดที่ผูเขียน ตองการใหเกิดขึ้นกับเด็กเมื่อเด็กอานเรื่องที่ตนเขียนจบ ซึ่งแกนเรื่องในหนังสือเด็กมักจะมีเพียง ประการเดียว เชน ใหเปนคนซื่อสัตย ใหมีความกตัญู ใหรูจักการอภัย ใหมีความกลาหาญ ใหมี น้ําใจแกผูอื่น เปนตน

3.3 ตั้งชื่อเรื่อง เมื่อกําหนดแนวคิดและรูวากลุมเปาหมายเปนเด็กวัยใดแลว ผูเขียน ควรกําหนดชื่อเรื่องใหดึงดูดความสนใจของเด็ก วิธีการตั้งชื่อเรื่องมีหลายแบบ - ตั้งชื่อเรื่องโดยเนนตัวละครเอก เปนวิธีที่งายที่สุด เชน หนูนอยหมวกเด็ก แกว จอมแกน - ตั้งชื่อเรื่องโดยเนนแนวคิด เชน วิลลี่ผูกลาหาญ หนูแดงแบงของ - ตั้งชื่อเรื่องโดยเนนฉาก เชน ชีวิตในบานปา - ตั้งชื่อเรื่องโดยการเนนจินตนาการจากการผูกเรื่อง ไมตรงกับ 3 แบบขางตน เปนการมองภาพรวมของเรื่องแลวประมวลความคิดมาเปนชื่อเรื่อง เชน ชีวิต ใหม 3.4 กําหนดตัวละคร งานเขียนประเภทบันเทิงคดีสวนใหญจะมีตัวละครเกี่ยวของ ผูเขียนจําเปนจะตองวางตัวละครใหสอดคลองกับกลุมผูอาน และตองเหมาะกับเนื้อเรื่องที่ วางไว เพื่อใหเกิดความสมจริง อีกทั้งควรคํานึงไววา ตัวละครที่ตนสรางขึ้นมานั้น จะมี อิทธิพลตอ พฤติกรรมของเด็ก ฉะนั้น ผูเขียนความใหความสําคัญและวางบุคลิกของ ตัวละครใหเปน แบบอยางที่ดีแกเด็กเปนสําคัญ ทั้งนี้การตั้งชื่อใหตัวละครก็เปนสิ่งสําคัญ ควรตั้งใหเหมาะสมกับบทบาทของ ตัวละครที่ผูเขียนวางไว เชน เด็กสาวบานนา ควรชื่อ “ลําดวน” มากกวาที่จะใหชื่อ “สาวิตรี” เปนตน 3.5 วางโครงเรื่อง โครงเรื่องที่ดี คือการลําดับเหตุการณและเรื่องราวที่เกิดขึ้นตั้งแตตนจนจบ เกี่ยวโยงถึงกันอยางสมเหตุสมผล โครงเรื่องมีลักษณะคลายเรื่องยอ แตไมมีรายละเอียดมากมายนัก เปนเรื่องการลําดับเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในเรื่อง แบงเปน 3 ตอน คือ ตอนเริ่มตน ตอนดําเนินเรื่อง และตอนจบเรื่อง เชน

(22)


ตอนเริ่มเรื่อง 1) หนูแดงเปนเด็กดื้อรั้นและเห็นแกตัว ตอนดําเนินเรื่อง 2) หนูแดงไมเคยแบงปนสิ่งของใหเพื่อน 3) หนูแดงไมเคยชวยเพื่อนทําเวรหอง 4) เพื่อน ๆ ไมพูดกับหนูแดง 5) หนูแดงรองไหเสียใจเพราะตองอยูตัวคนเดียว 6) คุณครูสอนใหหนูแดงรูจักมีน้ําใจกับเพื่อน ตอนจบเรื่อง 7) หนูแดงแบงขนมใหเพื่อนและชวยเพื่อนทําเวรหอง 8) หนูแดงมีความสุขเพราะหนูแดงมีเพื่อนรักมากมาย 4. เทคนิคในการนําเสนอเรื่อง 5. การใชภาษาในการเขียน ผูเขียนวรรณกรรมสําหรับเด็ก จําเปนตองรูจักใชภาษาใหเหมาะสมกับวัยและศักยภาพของเด็ก เนื่องจากเด็กแตละวัยมีความสามารถในการรับรูทางภาษาแตกตางกัน ผูเขียนจึงควรตระหนักใหถอง แท ถาเปนเด็กเล็ก ควรเนนรูปภาพมากกวาถอยคํา เนนคําเปนคํา ๆ เพื่อใหเด็กจดจําคําตาง ๆ ถาเปนเด็กวัยประถมตน ควรเปนภาษาที่เขาใจงาย รูปคําสั้น กะทัดรัด และเวนระยะ ตัวอักษร ตัวโต มีรูปภาพมากกวาถอยคํา ถาเปนเด็กวัยประถมปลาย ควรมีคําและประโยคที่ยาวขึ้น ตัวหนังสือเริ่มเล็กลงกวาเดิม ผูเขียนวรรณกรรมเด็กจําเปนตองรูจักใชภาษาใหเหมาะกับวัยและศักยภาพของเด็ก สิ่งที่ ผูเขียนควรคํานึงถึงเกี่ยวกับการใชภาษาในงานเขียนสําหรับเด็ก มีดังนี้ 1). ใชภาษาที่ถูกตอง ไมควรใชภาษาที่แปรรูปจากภาษาเขียน เชน เคา ปูโธ ซะ เนี่ย เมื่อไหร เฮย ฯลฯ คําเหลานี้สําหรับเด็กเล็กไมควรใชอยางเด็ดขาด แตสําหรับเด็กโตอนุโลมใหใชไดบาง ใน กรณีที่เปนสนทนาเพื่อใหเกิดความสมจริง ซึ่งขอความตองอยูในรูปของบทสนทนา เชน “เคาไมไป หรอก เคาเบื่อ” เจี๊ยบบอก หรือ “เฮย จอย ใหฉันชวยแบกไหมละ” สํารวยทําเสียงลอ เปนตน

(23)


2). ใชภาษาที่กระชับ กลาวคือ ใชคํานอยแตไดใจความชัดเจน มีน้ําหนัก ซึ่งความ กระชับของภาษาเกิดมาจากสิ่งตอไปนี้

- รูจักเลือกสรรคํามาใช โดยเลือกคําที่ตรงความหมาย ทั้งนี้ผูเขียนตองระมัดระวังเปน พิเศษ เพราะในภาษาไทยมีคําจํานวนมากที่มีรูปคําและการเขียนคลายกัน อีกทั้งบางคํามีความหมาย คลายกัน ผูเขียนตองมั่นใจวาคําที่เลือกมาใชในขอความและบริบทนั้นถูกตองตรงความหมายที่สุด เชน “ดูซิ เทาบวมเบงเชียวลูก” แมวา คําวา “เบง” หมายถึงการทําใหหลุดออกมา ในที่นี้ควรใชคําวา “เปง” ซึ่งหมายถึง พองหรือนูนออกมา หรือ “แดงแยมประตูมองไปดานใน” คําวา “แยม” มี ความหมายวาเปดออกแตนอย ๆ ใชกับดอกไม ในที่นี้ควรใชคําวา “แงม” จึงจะถูกตองที่สุด - เลือกใชคําแทนวลีหรือประโยค เพื่อใหกะทัดรัดแทนการอธิบายที่ยืดยาว เชน บาน ที่ปลูกลอยอยูในแมน้ําเรียงรายไปตามลําน้ํายาวเหยียดทั้งสองฝง ควรใชคําวา “เรือนแพ” หรือ ผูที่ทํา นาเปนอาชีพเฝารอฝนที่จะตกลงมาหลอเลี้ยงตนขาว ควรใชคําวา “ชาวนา” แทน ซึ่งจะชวยให ขอความกระชับมากขึ้น - ใชคําขยายใหถูกที่ จําไวเสมอวาคําขยายตองอยูใกลกับคําที่จะขยายอยูเสมอ เชน “สมใจมีบทบาทสําคัญในการแสดงละครครั้งนี้ที่สุด” คําวา “ที่สุด” ควรขยายคําวา สําคัญ จึงจะ ถูกตอง หรือ “เด็กไทยตายดวยโรคขาดอาหารเปนจํานวนมาก” คําวา “เปนจํานวนมาก” ควรขยายคําวา เด็กไทย เปนตน - ไมใชคําฟุมเฟอย เพราะการใชคําฟุมเฟอยทําใหประโยคนั้น ๆ ขาดน้ําหนัก เชน “แกวตะโกนดวยเสียงอันดังเรียกจิ๋มใหลงไปหา” การ “ตะโกน” ก็บอกอยูแลววาตองใชเสียงอันดัง ฉะนั้นไมจําเปนตองเติมคําวา “ดวยเสียงอันดัง” ลงไปอีก หรือ “มะมวงออกชอเปนพวงระยาอยูเต็ม ตน” มะมวงที่ออกชอเต็มตนยอมเปนระยาอยูแลว ไมจําเปนตองเติมคําวา “เปนพวงระยา” เขาไปอีก 3). ใชภาษาที่มีความสละสลวย ความสละสลวย หมายถึงการเลือกสรรใชคําเรียบงาย แตมี เสียงราบรื่น ไพเราะ ความสละสลวยของการใชภาษาแบงไดดังนี้

(24)


ลักษณะหนังสือหรืองานที่เหมาะสมสําหรับเด็ก

จาก Early Childhood Language Arts โดย Mary Renek Jalongo

1. ทําใหทั้งเด็กและผูใหญเกิดความสนุกสนาน 2. กระตุนจินตนาการของเด็ก 3. ชวยใหเด็กเขาใจตัวเองและรูสึกวาไมไดอยูอยางโดดเดี่ยว 4. ทําใหเด็กไดพบเห็นสิ่งตาง ๆ ที่ไมจําเปนตองเหมือนกับตัวเขา 5. ใหโอกาสเด็กในการคนหาและใชภาษาในหลาย ๆ ทาง 6. เปดโอกาสใหเด็ก ๆ ไดสํารวจ คนหาความเปนไปของสิ่งที่อาจไมไดเกิดขึ้นใน space และ time ที่เขา รูจักมากอน 7. ใหขอมูลขาวสารแกเด็ก ๆ 8. เปนชองทางใหเด็ก ๆ ไดหลีกหนีความซ้ําซากจําเจในชีวิตประจําวัน 9. ถาเรื่องเนนความจริงและเหตุการณจริง ควรวาดภาพความเปนจริงและประวัติศาสตรไดอยางถูกตอง 10. ดึงความสนใจของเด็กลงไปสูรายละเอียด เชน มีภาพวาดคูกับ text มีคํารองคูกับดนตรี เปนตน 11. เปนวรรณกรรมที่ดี ทั้งโครงเรื่อง ลักษณะที่เดนชัดของตัวละคร การใชภาษาที่สรางสรรค และมี ลักษณะเปนเรื่องที่ไมตาย (timelessness) 12. ดึงดูดใจดวยความงดงาม 13. กลาวถึงอารมณของมนุษยอยางระมัดระวัง เสนอแนะวิธีการที่สรางสรรคแกเด็กในการเผชิญกับความ ยากลําบากตาง ๆ 14. ไมควรสรางความขบขันบนความเจ็บปวดของคนอื่น 15. อยาใชภาษาหรือปฏิบัติตอเด็กในเชิงตําหนิติเตียนหรือดูหมิ่น

(25)


1

การเลานิทาน

เด็กเปนวัยที่มากดวยโลกของจินตนาการอันกวางไกล ผูใหญมักจะเปนผูถายทอดเรื่องราวที่ หลากหลาย ไมวาจะเปนเรื่องที่ตื่นเตน เรื่องสนุกสนาน เรื่องเศราโศกเสียใจ เรื่องราวสะเทือนขวัญ เรื่องที่เกี่ยวของกับชีวิตหรือสิ่งแวดลอม เราจึงควรทําความเขาใจกับการจินตนาการของเด็ก เพื่อจะ สามารถเลาหรือแตงนิทานเพื่อถายทอดเรื่องราวตาง ๆ อยางสอดคลองกับจินตนาการและความตองการ ของเด็ก การจินตนาการของเด็ก พอจะแบงออกไดดังนี้ 1. จินตนาการแบบอิสระ คือจินตนาการที่เด็กไมมีประสบการณรองรับเลย เด็กจะใชความคิด คํานึงเฉพาะตัวเปนหลักในการตัดสิน และสงผลตออารมณของตนเอง 2. จินตนาการแบบมิติสัมพันธ เปนจินตนาการของเด็กที่สามารถเชื่อมโยงสิ่งที่เห็นหรือไดฟง กับของที่เคยเห็นเคยฟงมาแลว แบงได 3 ขั้นตอนคือ ขั้นที่1 คือเมื่อเด็กไดฟงสิ่งใด หรือเห็นสิ่งใดแลวนึกถึงสิ่งที่เคยเห็นมากอนหรือ จินตนาการสิ่งที่เคยเห็นมากอน ขั้นที่2 นอกจากเด็กจะเชื่อมโยงสิ่งที่ตนเห็นหรือไดฟงกับอีกสิ่งหนึ่งแลวเด็กยัง จินตนาการไปถึงอารมณหรือความมีชีวิตชีวาของสิ่งนั้น ๆ ดวย ขั้นที่3 เปนการจินตนาการไปถึงสิ่งเหนือจริง ของวิเศษ สิ่งมหัศจรรย จินตนาการขั้นนี้ เปนขั้นที่เด็กๆใฝฝนอยากจะมีกันทุกคน จะสังเกตไดวา ถาเราบอกวา "มีกบอยูตัวหนึ่ง" เด็ก ๆ ก็จะฟง เฉย ๆ แตถาบอกวา "มีกบวิเศษอยูตัวหนึ่งสามารถพนไฟไดดวย" เด็ก ๆ ก็จะทําตาโตทีเดียว 2

นิทานกับความตองการของเด็ก สาเหตุที่เด็ก ๆ ชอบฟงนิทานนั้น ไมใชเพราะนิทานมีโลกจินตนาการเทานั้น แตนิทานหลาย เรื่องมีการสนองความตองการของเด็ก ๆ แฝงอยูดวย เด็ก ๆ มีความตองการมากมาย เปนตนวา ตองการความรัก ตองการใหคนอื่นสนใจ ตองการใหความรักแกคนอื่น ตองการเลน ตองการกิน ตองการสิ่งวิเศษ มหัศจรรย ตองการสิ่งสวยงาม ตองการสิ่งลึกลับ ตองการความขบขัน ฯลฯ จากความตองการดังกลาว ทําใหเราสามารถเลือกนิทานที่เหมาะสมและควรเลาใหเด็กฟงได นิทานที่เหมาะสมและควรเลาใหเด็กฟงนั้น ควรเปนนิทานที่เปยมดวยคุณคาทางเนื้อหาไดอรรถรส รูปแบบการใชถอยคํา สํานวนภาษา ความคิดสรางสรรค สงเสริมคุณภาพ ยกระดับสติปญญาและจิตใจ 1

1

(26)


ผูเลาหรืออานนิทานใหเด็กฟง จะตองเลือกนิทานใหเปน เพราะนิทานที่มีอยูทั้งหมด ไมใชวาเด็กจะ ชอบทุกเรื่อง การเลือกนิทานควรพิจารณาสิ่งตางๆดังตอไปนี้ 1. นิทานเรื่องนั้นสนองความตองการของเด็กไดมากนอยเพียงไร 2. เรื่องเลาควรจะเลือกใหเหมาะกับวัยตาง ๆ ของเด็ก 3. เวลาที่ใชในการเลาควรจะเหมาะสมกับชวงระยะเวลาความสนใจและสมาธิในการฟงของเด็กวัย ตาง ๆ 4. เนื้อหาจะตองมีสาระ คานิยม ความคิดสรางสรรค สงเสริมคุณธรรมและจริยธรรม 5. มีเนื้อเรื่องสนุกสนานชวนติดตาม กระตุนจินตนาการของเด็ก 6. เปนวรรณกรรมที่ดีทั้งโครงเรื่อง ลักษณะที่เดนของตัวละคร การใชภาษาที่สรางสรรค เปนเรื่องที่ ไมเคยตาย (Timelessness) 7. ไมควรสรางความขบขันบนความเจ็บปวดของคนอื่น และไมใชภาษาหรือปฏิบัติตอเด็กในเชิง ตําหนิ ติเตียนหรือดูหมิ่น 8. กลาวถึงอารมณมนุษยอยางระมัดระวัง เสนอแนะวิธีการที่สรางสรรคแกเด็กในการเผชิญกับ ความยากลําบากตาง ๆ การเตรียมตัวกอนเลานิทาน ผูเลานิทานเมื่อเลือกเรื่องของนิทานใหเหมาะสมกับกลุมผูฟงและพอใจกับเนื้อเรื่องแลว ผูเลา จะตองนํานิทานที่จะเลามาจัดเตรียมใหพรอมกอนจะดําเนินการเลา ดังนี้ 1. ผูเลาจะตองอานทบทวนเรื่องราวที่ผูเลาเลือกมา ใหเกิดความคุนเคย เขาใจ และรูจักเรืองที่ เลือกมาไดเปนอยางดี เพื่อจะไดเกิดความราบรื่นตลอดขณะดําเนินการเลา 2. ขั้นตอนการเลา ผูเลาจะตองพิจารณาในการนําเสนอการขึ้นตนเรื่อง การเลาเรื่องตอเนื่อง จนถึงกลางเรื่อง และการจบเรื่องใหชัดเจน และนาสนใจตามลักษณะเฉพาะของผูเลา 3. สื่อวัสดุอุปกรณที่ใชในการเลา ผูเลาจะตองเตรียม และทดลองใชใหเกิดความชํานาญ และ จัดระบบการใชตามลําดับกอนหลัง 4. กิจกรรมประกอบการเลานิทาน ผูเลาจะตองเตรียมใหพรอมและจะตองเหมาะสมกับกลุม ผูฟง เชน การรองเพลงซ้ํา ๆ และงาย คําพูดซ้ํา ๆ และงาย การรองขอใหผูฟงมาชวยรวมแสดงหรือทํา กิจกรรมดวยขณะดําเนินการเลา 5. สถานที่เลา ผูเลาจะตองพิจารณาตามความเหมาะสมใหพอดีกับกลุมผูฟง เพราะผูเลา จะตองจัดเตรียมสื่อใหพอเหมาะกับการมองเห็น และการฟงของผูเลา นอกจากนี้ผูเลานิทานจําเปนอยางยิ่งที่จะตองอานนิทานซ้ําแลวซ้ําอีก โดยออกเสียงดัง ๆ และจะตองอานจนขึ้นใจในเรื่องราว ถอยคํา และการดําเนินเรื่อง ถากลัวติดขัดขณะทําการเลา ผูเลา จะตองบันทึกยอเพื่อกันลืม 1

1

(27)


วิธีเลานิทาน 1. เลาปากเปลา ผูเลาตองเตรียมตัวใหพรอมเสมอ เพราะจุดสนใจของเด็กที่กําลังฟงนิทานจะอยู ที่ ผูเลาเทานั้น วิธีเตรียมตัวในการเลานิทานมีดังนี้ 1.1 เตรียมตัวดานเนื้อหาของนิทาน - อานนิทานที่จะเลาและทําความเขาใจกับนิทานเสียกอน - จับประเด็นนิทานใหไดวา นิทานที่จะเลาใหอะไรแกเด็กที่ฟง - แบงขั้นตอนของนิทานใหดี - การนําเสนอขั้นตอนของนิทานในขณะที่เลา ไมจําเปนตองเหมือนกับที่อานเสมอไป - เพิ่มหรือลดตัวละครเพื่อความเหมาะสมในการเลา ที่สําคัญผูเลาตองสามารถปรับนิทานใหสอดคลองกับความสนใจของเด็กไดดวย เพราะถา เห็นวาเด็กกําลังสนุกสนานก็เพิ่มเนื้อหาเขาไปได 1.2 น้ําเสียงที่จะเลา ผูเลาตองมีน้ําเสียงที่นาฟง ซึ่งไมจําเปนตองเปนเสียงที่ไพเราะ และที่สําคัญที่สุดคือ การเวนจังหวะ การเนนเสียงใหดูนาสนใจ ไมควรใหน้ําเสียงราบเรียบมากเกินไป เสียงเบา-เสียงหนัก พูดเร็ว-พูดชา ก็เปนการบงบอกอารมณของนิทานไดเชนกัน 1.3 บุคลิกของผูเลานิทานตอหนาเด็กจํานวนมาก ตองมีบุคลิกที่นาสนใจสําหรับเด็กคือ -ไมนิ่งจนเกินไป -ไมหลุกหลิกจนเกินไป - ตองมีการเคลื่อนไหวที่เหมาะสมกับเนื้อหาของนิทาน - มีการแสดงทาทางที่เหมาะสมกับเนื้อหาของนิทานอยางพอเหมาะพอเจาะ - มีทาที่ผอนคลายและดูเปนกันเองกับเด็ก ๆ 1.4 เสื้อผาที่สวมใส ตองเปนเสื้อผาที่มั่นใจในการเคลื่อนไหว 1.5 บรรยากาศในการฟงนิทาน ตองไมวุนวายจนเกินไป อยูในสถานที่ที่สามารถสราง สมาธิสําหรับคนฟงและคนเลาไดเปนอยางดี 1

1

1

2. เลาโดยใชหนังสือประกอบการเลา การใชหนังสือประกอบการเลานี้ หมายถึงการใชหนังสือ ที่มีภาพประกอบ ผูที่จะใชหนังสือภาพตองมีการเตรียมตัวดังนี้ 2.1 อานนิทานใหขึ้นใจ เวลาเลาจะไดเปดหนังสือภาพใหสัมพันธกับเรื่องที่เลา 2.2 ศึกษาความหมายของสีที่ใชประกอบภาพ เพราะหนังสือสําหรับเด็กมักจะใชสีเปน สื่ออารมณของเรื่องดวย 2.3 ศึกษาภาพประกอบที่เปนปกหนาปกหลัง เพราะบางเรื่องตอนเริ่มเรื่องอยูที่หนาปก และตอนจบอยูที่ปกหลังก็มี 1

1

1

1

(28)


2.4 การถือหนังสือ ตองอยูในตําแหนงที่ผูฟงสามารถมองเห็นภาพประกอบไดอยาง ทั่วถึง ถาผูฟงนั่งเปนรูปครึ่งวงกลม ตองมีการยกภาพใหมองเห็นทั่วทั้งหมด การจัดที่นั่งใหเปน กลุมเดียว จะทําใหผูเลาสามารถยกภาพใหดูในตําแหนงเดียวและครั้งเดียวไดเลย เพราะผูฟงสามารถ มองเห็นภาพไดพรอมกันหมด 2.5 นิ้วมือตองสอดเตรียมพรอมที่จะเปดหนาตอไป การใชหนังสือประกอบการเลา นิทาน ไมจําเปนตองถือหนังสืออยูนิ่งตลอดเวลา อาจจะโยกหนังสือหรือขยับหนังสือตามเหตุการณใน นิทานก็ได เชน เมื่อผูเลากําลังเลานิทานกระตายกับเตา ตอนที่พูดถึงกระตายวิ่งก็ควรขยับหนังสือให เหมือนกับกระตายวิ่งหรือกระโดด พอพูดถึงเตาคลานก็ใชนิ้วไตบนหนังสือแสดงการเดินชาๆ ของเตา เปนตน 3. เลาโดยใชภาพประกอบ ภาพประกอบที่ใชในการเลานิทานนี้ ไมใชภาพประกอบจาก หนังสือนิทาน เราอาจเปดภาพจากหนังสือใหเด็กดูพรอมกับเลาหรืออานก็ได 1

นิทาน

4. เลาโดยใชสื่อใกลตัวหรืออุปกรณประกอบการเลา 4.1 การเลาโดยใชสื่อใกลตัว สื่อใกลตัวในที่นี้หมายถึง สื่อหรืออุปกรณประกอบการเลา

4.2 การเลานิทานโดยใชอุปกรณประกอบ ผูเลานิทานสามารถนําเอาวัสดุมาสรางสรรค สรางสื่อหรือหรือผูเลาจัดหาสื่อสําเร็จมาประกอบการเลา เกิดเปนนิทานเลาประกอบสื่อ การเลานิทานโดยมี อุปกรณประกอบจะมีทั้งน้ําเสียงของผูเลา ลีลา ทาทางของผูเลา และสื่อประกอบการเลา สื่อที่ใช ประกอบการเลานิทานมีหลากหลาย เชน - การเลานิทานประกอบสื่อหุนกระดาษ นิทานหุนกระดาษ หมายถึง นิทานที่เลา ประกอบสื่อที่จัดสรางขึ้น โดยสรางสรรคจากกระดาษแลวระบายสี ทั้งฉากและตัวละครหุนกระดาษ ของเรื่องที่ผูเลาเลือกนํามาเลาแกผูฟง การเลานิทานประกอบสื่อนิทานเชือก เปนนิทานที่ผูเลาจะเลาแบบปากเปลา ประกอบกับการสรางสรรคเชือกใหมีความสัมพันธกับการเลาอยางตอเนื่อง ผูดูหรือผูฟงจะตื่นเตนกับ การสรางสรรคเชือกจากผูเลาเปนรูปรางตาง ๆ ประกอบกับการเลาเรื่อง การเลานิทานพับกระดาษและฉีกกระดาษ เปนนิทานที่ผูเลาจะตองเลานิทานพรอม ๆ กับการพับกระดาษและฉีกกระดาษ การเลาและการพับกระดาษฉีกกระดาษจะตองพอดีกับเหตุการณ ๆ หรือสัมพันธกันอยางพอดีพอเหมาะตลอดทั้งเรื่อง การเลานิทานทั้งหมดนั้นจะนาสนใจหรือไม อยูที่วิธีการเลา น้ําเสียง การเวนจังหวะ และระยะเวลาในการนําเสนอนิทานของผูเ ลา วิธีการดังที่กลาวมาไมใชวิธีการที่มีอยูทั้งหมด ผูเลา นิทานบางคนอาจมีวิธีการนําเสนอนิทานที่ นาสนใจไดหลายรูปแบบ ขอสําคัญอยูที่วา ผูเลา (29)


นั้นเปน"นักเลานิทานที่มีหัวใจเด็ก"หรือเปลา เทานั้นเอง

(30)


การประเมินคาวรรณกรรมสําหรับเด็ก วรรณกรรมที่ดีสําหรับเด็ก หมายถึง วรรณกรรมหรือหนังสือที่เด็กอานแลวสนุกสนาน เพลิดเพลิน มีเนื้อหาสาระตรงกับใจที่เด็กอยากจะอาน มีรูปเลมสีสันสวยสะดุดตา ผูสรางหนังสือ สําหรับเด็กจําเปนที่จะตองทําความเขาใจถึงลักษณะวรรณกรรมที่ดีสําหรับเด็กกอนที่จะลงมือสราง เพราะเมื่อเขาใจแลวยอมจะสรางวรรณกรรมสําหรับเด็กไดอยางมีคุณภาพในทุกดาน วรรณกรรมที่ดี สําหรับเด็กควรมีลักษณะดังนี้ 1. สนองความตองการและความสนใจของเด็ก 2. สงเสริมจินตนาการ ชวยใหเด็กไดคิดกาวไปไกลกวาสภาพที่เคยพบเห็น 3. สงเสริมใหเกิดความมั่นใจ อบอุนใจ 4. สนองอารมณที่ปรารถนา 5. สงเสริมความรู คุณคาของวรรณกรรมสําหรับเด็ก สามารถพิจารณาไดจาก 1. เคาโครงเรื่อง สําหรับเด็กตองไมซับซอน มีแนวคิดหรือแกนของเรื่อง (Theme) ที่เดนชัด จับ ไดงาย ไมเกินกําลังปญญาของเด็ก ตัวละครควรอยูในวัยใกลเคียงกับผูอาน การวางโครงเรื่องตองติดตอ สืบเนื่องเปนเรื่องเปนราว มีเหตุผลเปนไปตามธรรมชาติ มีความสัมพันธกับพื้นฐานประสบการณของ เด็ก มีเงื่อนปมบางตอนที่ตลกขบขัน แสดงถึงความสําเร็จ ความสุข สมหวัง มีชื่อเรื่องกะทัดรัด เขาใจ งาย และมีการดําเนินเรื่องที่กระตุนอารมณ สรางความสนุกสนาน 2. วิธีการเขียน นักเขียนตองมีความสามารถในการเขียนใหสนุก ใชถอยคําสละสลวย อานเขาใจ งาย เปนภาษาที่นิยมใชกันในสังคม ตรงกับลักษณะบุคลิกตัวละคร คงเสนคงวา ตรงตามสมัยของเรื่อง และเรียบเรียงไดเหมาะสม สะกดการันตถูกตองตามหลักภาษา ทั้งการใชภาษาในรอยแกวและรอย กรอง อาจใชการดําเนินเรื่องแบบเลาเรื่อง หรือใหตัวละครสนทนากัน แตตองเปนบทสนทนาสั้นๆ อาจ มีการพรรณนาสลับบางก็ได แตตองดําเนินเรื่องรวดเร็ว ขอที่สําคัญ คือ ตองมีภาพประกอบเรื่อง โดย ภาพและเรื่องตองอยูในหนาเดียวกัน 3. ภาพประกอบ ภาพประกอบที่ดีจะตอง เปนภาพที่ตรงเรื่อง สามารถเลาเรื่องไดดี ทําใหผูอาน เกิดอารมณคลอยตามได เปนภาพไมซับซอน ดูแลวเขาใจงาย เปนภาพที่เขียนไดสวยงามตรงตาม ลักษณะของตัวละคร ตรงตามฉาก ตรงตามสถานที่และทองเรื่อง ถูกตองในเรื่องขนาดและสัดสวนของ ภาพ และเปนภาพที่ใหชีวิต มีความรูสึกและความเคลื่อนไหว 4. รูปเลมและเทคนิคการพิมพ เด็กชอบหนังสือที่มีปกสีสวยสด ชอบปกแข็งมากกวาปกออน และชอบปกมันๆ ที่เคลือบน้ํายาเงา มากกวาปกหนังสือพิมพสีเดียว หรือพิมพหลายสีแตไมเคลือบเงา การจัดหนาหนังสือดูโปรงตา ภาพกับตัวอักษรไม ทับกัน และชื่อเรื่องดึงดูดความสนใจของเด็ก (31)


กอนที่จะเย็บเลม จะตองมีการตรวจสอบตัวสะกดของตนฉบับใหถูกตอง พิมพตัวอักษรและ ภาพประกอบไดชัดเจน มีสีสันไดงดงาม และดึงดูดความสนใจ ขนาดและรูปรางของหนังสือควรขึ้นอยู กับความสนใจและความงายในการหยิบฉวยของเด็ก เด็กชอบหนังสือที่พิมพดวยกระดาษที่มีคุณภาพดี คอนขางแข็ง และเปนกระดาษสีขาว วัสดุที่ใชในการเย็บเลมตองทนทานและตองเย็บดวยความประณีต เพื่อจะไดทนทานตอการหยิบถือของเด็ก 5. ราคา ราคาของหนังสือสําหรับเด็กไมใชปญหาของเด็ก แตเปนปญหาของผูซื้อ (ผูปกครอง) เด็กชอบหนังสือทุกราคา แตผูใหญจะตองเลือกหนังสือที่มีคุณภาพคุมกับราคา หรือหนังสือที่มีราคาไม แพงเกินไป สิ่งที่ควรระลึกเพิ่มเติมในการประเมินคุณคาของวรรณกรรมหรือหนังสือสําหรับเด็ก ไดแก โครงเรื่องที่เหมาะสม สอดคลองกับวัตถุประสงคของสภาพแวดลอม สนองความตองการของเด็กสวน ใหญ เรื่องราวกระตุนอารมณ ปลูกฝงทัศนคติที่ดีแกผูอาน ควรเปนเรื่องราวที่มีความตลก สอดแทรก อารมณขัน ภาพและเนื้อเรื่องมีความสอดคลองตองกัน พยายามใชภาษาที่เขาใจงาย มีการซ้ําคําและ จังหวะเพียงพอ จะชวยเสริมใหเด็กอยากอาน ลักษณะตัวละคร ตองมีบุคลิกประจํา ใหเปนจุด สนใจแกเด็ก ใชบทสนทนาไดอยางเหมาะสม และอานแลวจัดกิจกรรมประกอบงาย

(32)


การประเมินหนังสือเด็กของ ............................................................................................... ลําดับ

ประเด็นการประเมิน 5

1.

2.

3.

4.

5.

คะแนนการประเมิน 4 3 2

1

คะแนน (ดานละ 2 คะแนน)

ลักษณะรูปเลม 1.1 ขนาดเลม ความหนา และความคงทน 1.2 สีปกและการออกแบบปก 1.3 คุณภาพของกระดาษและการจัดหนา 1.4 ขนาดตัวอักษรและความชัดเจนของตัวพิมพ 1.5 การเขารูปเลมและเย็บเลม เนื้อเรือ่ ง-สาระ 2.1 การวางโครงเรื่องเปนลําดับเหตุการณ 2.2 ความมีเอกภาพและความกลมกลืนของเนือ้ เรือ่ ง 2.3 ความสอดคลอง สมจริง ถูกตองกับเหตุการณ 2.4 สารัตถะที่รับจากเรือ่ งมีประโยชนตอผูอ าน 2.5 ความเหมาะสมที่จะนําไปประกอบการเลานิทาน การใชภาษา 3.1 การสะกดการันตถูกตองตามหลักไวยากรณ 3.2 การใชคําศัพทเหมาะสมกับกลุมผูอ าน 3.3 การเรียบเรียงประโยค 3.4 การยอหนาและเวนวรรคตอน 3.5 ความชัดเจนของการใชภาษา ภาพประกอบ 4.1 ความชัดเจนของภาพและสี 4.2 การจัดวางตําแหนงภาพเหมาะสม 4.3 ความสอดคลองของภาพกับคําบรรยาย 4.4 ความตอเนือ่ งของภาพแตละหนา 4.5 ขนาดของภาพและความสมจริง ความคิดสรางสรรค 5.1 ความสนุกสนาน อารมณขนั 5.2 ความแปลกใหมนาสนใจ คะแนนที่ไดรับ

ขอเสนอแนะ : .......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................ (33)


(34)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.