เอกสารประกอบการสอน th 2333

Page 1

เอกสารประกอบการเรียน TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

~1~


1. ความรูพนื้ ฐานเกี่ยวกับการเขียน การเขียนเปนหนึ่งในทักษะการสื่อสารที่ตอ งอาศัยการเรียนรูแ ละการฝกฝน

เพื่อใหสามารถสือ่

ความหมายไปยังผูอื่นไดและพัฒนาขึ้นอยางมีลําดับ หลายคนเห็นวาการเขียนเปนเรือ่ งยาก เมื่อจะตองเขียนก็ คิดไมออก ไมรูจะเริ่มตนการเขียนอยางไร จึงทําใหเกลียดการเขียน บางคนคิดวาตนไมมีพรสวรรคดานการ เขียนก็ไมอยากเขียน เพราะรูส ึกวาเขียนไปก็ไมดี แตปญหาและความรูส ึกดังกลาวจะลดนอยลงหากมีการฝก เขียนบอย ๆ และตระหนักวา ไมมีใครสามารถเขียนไดและเขียนดีมาตัง้ แตเกิด แตถายิ่งฝกยิ่งเกิดความ ชํานาญ ประกอบกับหากรูจ ักการสังเกตงานเขียนของผูอื่นก็จะทําใหทักษะการเขียนดีขึ้นได ความหมายของการเขียน การเขียน คือ การสื่อสารโดยอาศัยตัวอักษรและเครื่องหมายตาง ๆ เปนสื่อในการถายทอดความรู ความรูสึกนึกคิด และอารมณตาง ๆ เพื่อใหผูอื่นไดรับรู อุปกรณที่สําคัญในการสื่อความหมายคือ ภาษา ผูที่ จะเปนนักเขียนที่ดีจึงความเลือกใชภาษาที่สื่อความหมายไดอยางชัดเจนและครบถวนตามความตองการของ ผูเขียน ฉะนั้น การเขียนจึงตองอาศัยความพยายามและฝกฝน เพื่อพัฒนาจนใหเปนผูใชภาษาสื่อสารไดอยาง สมบูรณ ความสําคัญของการเขียน การเขียนเปนการสื่อสารที่มีความสําคัญและจําเปนไมนอยไปกวาการสื่อสารดวยการพูด โดยเฉพาะ อยางยิ่งในวัยของการศึกษาเลาเรียน ผูเรียนตองจดคําบรรยายของผูสอน ตองทําการบาน เขียนรายงาน และเขียนขอสอบ เปนตน อยางไรก็ตามไมเฉพาะผูเรียนเทานั้นแตในวงการอื่น ๆ เชน วงการแพทย วงการ สื่อสารมวลชน วงการศิลปะและบันเทิง ฯลฯ การเขียนก็มีความสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวากัน ซึ่งพอจะสรุป เปนขอ ๆ ไดดังนี้ 1. การเขียนใช ในการดําเนินชีวิตประจําวั น เช น การจดบันทึ ก การทําตารางนั ดหมาย การเขียน ไดอารี่ การเขียนการดอวยพร เปนตน 2. การเขี ยนเป นสื่ อที่ ชวยแพร กระจายความรู ความคิดใหก วางไกลและรวดเร็ว (ตีพิมพ) หนังสือ การเขียนประกาศ และใบปลิวตาง ๆ

เชน การเขียน

3. การเขียนชวยในดานการติดตอสื่อสาร ทั้งในอดีต ปจจุบัน อนาคต กลาวคือ การเขียนเปนการ สื่อสารที่คงทนถาวร ผูรับสารสามารถยอนกลับไปอานหรือดูไดแมผูสงสารจะสงสารหรือเขียนไวนานแลวหรือ อยูกันคนละชวงสมัยกับผูรับสารก็ตาม แตผูอานและผูเขียนก็ยังสามารถติดตอสื่อสารกันผานตัวหนังสือได โดยไมมีขอบเขตของเวลามาจํากัด ~2~


4. การเขียนเปนการบันทึกความรู ความจํา กลาวคือ ความรูตาง ๆ มีมากมายในโลก แตมนุษยไม สามารถที่จะจดจําหรือพูดสื่อสารใหผูอื่นทราบในเวลาเดียวกันไดทั้งหมด ดังนั้นจึงตองอาศัยการเขียนชวย บันทึกไวเปนหลักฐาน 5. การเขียนเปนการถายทอดวัฒนธรรม ประเพณี วรรณคดีและวรรณกรรม คือ เราสามารถเรียนรูและ ศึกษาวัฒนธรรมประเพณี วรรณคดี ไดเพราะมีการเขียนบันทึกไวเปนหลักฐาน เพราะหากมีการถายทอด วัฒนธรรมดวยวิธีการพูด-ฟง เพียงอยางเดียว วัฒนธรรมหลายอยางอาจสูญหายไปและไมสามารถสืบคนได 6. การเขียนเปนเครื่องมือวัดความเจริญของมนุษยในแตละยุคแตละสมัย คือ ในแตละชวงสมัย มนุษย จะมีการประดิษฐคิดคนสิ่งใหม ๆ ขึ้นมาตอบสนองความตองการของมนุษย ชวยใหการดําเนินชีวิตของมนุษย งายขึ้น เมื่อมี สิ่ง ใหมเกิดขึ้นในสังคมยอ มจําเปนตอ งมีการกําหนดคําขึ้นใชเพื่อเรียกสิ่งนั้น ๆ ฉะนั้นเราจึ ง สามารถดูไดวาสังคมแตละยุคพัฒนาไปอยางไรจากการที่มีคําศัพทเกิดขึ้นใหม เชน การมีคําวา คอมพิวเตอร ขึ้นใช ในชวง 20-30 ปที่ผานมา ก็แสดงความกาวหนาทางเทคโนโลยีของสังคมมนุษย 7. การเขียนมีประโยชนตอวงการศึกษา ในวงการศึกษาหลายแขนงวิชา หลายศาสตรมีความยากงาย ตางกัน การคิดคนและการสอนดวยการพูดเพียงอยางเดียวอาจไมพอ จําเปนตองมีตําราบันทึกความรูตาง ๆ ไวใหคนตางสังคม ตางยุคสมัยไดศึกษา ไดอานเพิ่มเติม 8. การเขียนเปนอาชีพอยางหนึ่ง การเขี ยนสามารถสรางรายได โดยอาจเปนนัก เขียนอาชีพ หรือ นักเขียนมือสมัครเลน เพียงเขียนบทความ เรื่องสั้น บทกวี เปนตอน ๆ เปนครั้งเปนคราวสงไปลงในหนังสือ ตาง ๆ จัดเปนอาชีพเสริมได

จุดมุงหมายของการเขียน จุ ด มุ ง หมายเป น สิ่ ง สํ า คั ญ ที่ จ ะเป น ตั ว กํ า หนดการกระท ำ ต า ง ๆ ให เ ป น ไปตามต อ งการ เช น มีจุดมุงหมายที่ตองการไดเกรด A ในวิชาการเขียนเพื่อการสื่อสาร เมื่อมีจุดมุงหมายก็มีแนวทางปฏิบัติตน เพื่อใหบรรลุเปาหมาย ซึ่งอาจมีหลายแนวทาง บางคนอาจเลือกการตั้งใจเรียน เลือกการอานหนังสือทบทวน หนังสือบอย ๆ เ ลือกการใหเพื่อนชวยติวหนังสือใหกอนสอบ เปนตน เชนเดียวกับการสื่อสาร ไมวาจะสื่อสารดวยรูปแบบใด ผูสงสารจะตองมีจุดมุงหมายในการสื่อสาร แตละครั้ง เพื่อใหการสื่อสารสัมฤทธิ์ผล โดยจุดมุงหมายเปนสิ่งแรกที่ผูสงสารจะตองกําหนดใหชัดเจนเพื่อ เลือกรูปแบบการสื่อสาร เลื่อกการใชภาษา สื่อประกอบ ฯลฯ ตอไป

~3~


จุดประสงคของการเขียนมีมากมายหลายประการทั้งนี้ขึ้นอยูกับผูเขียนวาจะตั้งเปาหมายในการเขียน แตละครั้งอยางไร ตองการใหผูอานไดรับผลหรือแสดงปฏิกิริยาภายหลังการรับสารอยางไร ซึ่งสามารถสรุป จุดประสงคของการเขียนอยางกวาง ๆ ได ดังนี้ 1. เพื่อใหความรู จุดประสงคประเภทนี้ผูเขียนตองการถายทอดความรู สรางความเขาใจ ใหความ กระจางแจงแกผูอาน งานเขียนเพื่อใหความรูมักเปนงานเขียนทางวิชาการ เชน การเขียนตํารา บทความ ทางวิชาการ หรือบอยครั้งอาจเปนงานเขียนที่ไมเปนทางการ เชน สารคดีทองเที่ยว การเขียนเลาประวัติ เปนตน ตัวอยาง พิธีไลเรือนี้ตามพงศาวดารกลาววาเริ่มมีขึ้นในรัชกาลของสมเด็จพระเอกาทศรถ นี่เองเปนครั้งแรก พิธีไลเรือนี้จะกระทําขึ้นในกรณีที่มีน้ําทวมขังไรนาอยูนานจนถึงเดือน ธันวาคม ซึ่งปกติแลวเมื่อถึงเดือนธีนวาคมน้ําก็จะตองลดลง แตถาปใดไมลดพระองคก็จะ ทรงกระทําพิธีไลเรือขึ้นในปนั้น 2. เพื่อแจงใหทราบ ผูเขียนมีจุดประสงคเพื่อบอกเลาเรื่องราวหรือเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นหรือกําลัง จะเกิ ดขึ้นใหผูอื่นทราบ ตัวอยางการเขียนเพื่อแจง ใหทราบ เชน ขาว การเขียนเพื่อการประชาสั มพันธ ประกาศ แถลงการณ คําสั่ง ระเบียบขอบังคับตาง ๆ ตัวอยาง เดมี่ มัวร และแอชตัน คุตเชอร คูสามีภรรยาผนึกกําลังปลอยโครงการตอตาน ทาสเด็กในเฮติ หลังมีรายงานขาววามีเด็กจํานวนมากตองไปเปนคนรับใชในครอบครัวคน อื่นเพื่อนํารายไดมาจุนเจือครอบครัวของตนเอง 3. เพื่อโนมนาวใจ จูงใจ การเขียนประเภทนรี้ผูเขียนมีจุดมุงหมายเพื่อใหผูอานคิดหรือทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ตามที่ตนตองการ เชน โฆษณาสินคา โฆษณาหาเสียง ขอความเชิญชวน ปายรณรงคตาง ๆ ตัวอยาง สิ่งที่ทุกคนอาจหลงลืมไป เคยหรือเปลาที่จะหันกลับไปมอง ทุกคนยังมี พอ-แม ที่รักเราเหมือนแกวตาดวงใจ แตเมื่อเติบโตขึ้น กลับลืมผูมีพระคุณไปไดอยางไร บางคน ทิ้งใหทานอยูกันตามลําพังโดยไมดูแล โปรดจงยอนกลับไปดู ณ จุดเริ่มตน เราทุกคน เกิดมาจากอะไรมาเถอะ เรามาทํ าอะไรเพื่ อ พ อ-แม ของเราบา ง พวกท านจะได มี ความสุขตลอดไป

~4~


4. เพื่อแสดงความคิดเห็น วิจารณ หรือแนะนํา การเขียนประเภทนี้เปนการเขียน เพื่อใหผูอานไดเห็น ความคิดของผูเขียนที่มีตอเรื่องหนึ่ง ๆ ซึ่งอาจเปนความคิดเห็นในเชิงสนับสนุนหรือโตแยง และจะใชความรูสึก สวนตัวหรือมีการอางอิงหลักฐาน ใหเหตุผลตาง ๆ ประกอบ ก็ได การเขียนประเภทนี้ เชน การเขียน บทความแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องตาง ๆ ลงในหนังสือพิมพ การเขียนวิจารณหนัง ละคร ตัวอยาง นักรองสมัยนี้ เขาทําผลงานเพลงกันงายแคนี้หรือแคทําเพลงมา 2-3 เพลง ติดหู คน สวนอีก 7-8 เพลง ไมสนจะดังหรือไมก็ชาง คุณภาพไมมีเหมือนทําสง ๆ ไปไมใสใจ หรือความรูจักในงาน ไมเหมือนงานในตางประเทศ เขาทํางานกันจริงจังอยูในหองอัด เปนเดือน ๆ ถึงปก็มีบาง เราทํา 2-3 เดือน ขาย แลวเห็นคนไทยโงเปนควายฟงอะไรก็ได แตคนไทยตอ ไปนี้ ดู แล วค อนข างจะเสพดนตรีม ากขึ้น ไมใชใหไอศิล ปนหนาดานมา ทํางานเพลงหลอกคนไทยที่ไมเห็นแคความหลอดั่งผี 4 ปาชา รองเพลงบาบอ 5. เพื่อสรางความเพลิดเพลินและจรรโลงใจ เปนการเขียนเพื่อสรางความสุข ความสนุกสนาน สราง ความแชมชื่นอิ่มเอิบใจคลายกังวลใหแกผูอาน เชน การเขียนภาพลอ การตูน นิทาน นิยาย คําสอนของ ผูนําทางศาสนา คําคม สุภาษิตเตือนใจ พระบรมราโชวาท ตัวอยาง ความทุกขเปนสมบัติที่ติดตัวมนุษยทุกคนมาตั้งแตเกิด ทันทีที่คลอดออกมาจาก ครรภมารดา สัญลักษณแหงการมีชีวิตคือการเริ่มตนหายใจเปนครั้งแรกก็มาพรอมกับเสียง รองไหเสียแลว และนั่นก็คือจุดเริ่มตนของความทุกขทั้งมวล 6. เพื่อประเมินคา เปนการเขียนเพื่อแสดงความคิด ความรูสึกตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งวาดีหรือไมดี เหมาะสม หรือไมเหมาะสม ควรหรือไมควร โดยการเขียนเพื่อประเมินคุณคานั้นตองอาศัยหลักเกณฑมาตรฐาน เหตุผล หรือเหตุการณตาง ๆ มาสนับสนุน ไมควรกลาวอยางลอย ๆ หรือใชอารมณมาประเมินคาเพราะจะทําใหงาน เขียนนั้นขาดความนาเชื่อถือ ตัวอยาง ยกใหเปนความแซบสไตลอีสานแทรนดี้ ทั้งรสชาติอาหารอีสานและการตกแตง เมนูสมตําเปนพระเอกของรานที่อยากนําเสนอทั้งตําไทย ตําลาว ตําปูมา ตําปูปลารา อรอยครบรส รับรองความแซบถึงทรวง

~5~


7. จุดมุงหมายหลายประการ บอยครั้งที่ผูเขียนใชจุดมุงหมายหลายประการในงานเขียนชิ้นหนึ่ง เชน บทความเกี่ยวกับสถานที่ทองเที่ยว ในเบื้องตนผูเขียนอาจเขียนใหความรูเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวนั้น ๆ วามี ความเป นมาอยางไร การเดินทาง หรือแหลงทอ งเที่ยวที่สําคัญ ๆ จากนั้นผูเ ขียนอาจแสดงความคิดเห็ น เกี่ยวกับสถานการณการทองเที่ยวที่กําลังเปนอยูในขณะนั้น และจบลงดวยการโนมนาวเชิญชวนใหทองเที่ยวใน สถานที่ที่ตนไดใหความรูในตอนตน

รูปแบบ/ประเภทของการเขียน การเขียนสามารถแบงไดเปนหลายประเภท ทั้งนี้ขึ้นอยูก ับเกณฑที่แตกตางกัน ดังนี้ 1. แบงตามเนื้อหา 1.1 เรื่องที่แตงจากจินตนาการ เนนใหความบันเทิงเปนหลัก หรือบางครั้งเรียก บันเทิงคดี เช น เรื่องสั้น นวนิยาย 1.2 เรื่องไมไดแตงจากจินตนาการ เนนเนื้อหาสาระหรือขอเท็จจริงเปนหลัก หรือเรียกอีกอยางหนึ่ง วา “สารคดี” 2. แบงตามลักษณะของคําประพันธ 2.1 รอยแกว คือ ความเรียงที่สละสลวย ไพเราะ เหมาะเจาะดวยเสียงและความหมาย หรืองาน เขียนทั่ว ๆ ไปที่ไมใชรอยกรอง 2.2 รอยกรอง คือ ถอยคําที่เรียบเรียงใหเปนไปตามฉันทลักษณของคําประพันธแตละประเภท เชน กลอน โคลง ราย ฉันท กาพย ฯลฯ 3. แบงตามแบบแผนของการเขียน 3.1 การเขียนที่เปนแบบแผน เชน การเขียนเอกสารทางราชการ บทความ รายงานการประชุม เรียงความ 3.2 การเขียนกึ่งแบบแผน เชน คํากลาวแสดงความรูสึกในโอกาสตาง ๆ สุนทรพจน 3.3 การเขียนที่ไมเปนแบบแผน เชน เรื่องสั้น นวนิยาย บันทึกสวนตัว 4. แบงตามวัตถุประสงค 4.1 การเขียนที่เ ปนงานทางวิชาการ เชน วิท ยานิพ นธ ตํ ารา รายงานทางวิ ชาการ บทความ ทางวิชาการ 4.2 การเขียนที่เปนงานศิลปะ ไดแก การเขียนบันเทิงคดี การเขียนสารคดี

~6~


5. แบงตามลักษณะของการสรางสรรค 5.1 การเขียนที่เปนศิลปะบริสุทธิ์ เปนงานเขียนที่ไมไดมีวัตถุประสงคเพื่อการคาตั้งแตแรก เชน งาน เขียนรอยกรองหรือรอยแกวที่เขียนจากความสะเทือนใจบางเรื่อง 5.2 การเขียนที่เปนพาณิชยศิลป มีวัตถุประสงคตั้งแตเริ่มแรกเพื่อการคา เชน การเขียนคําโฆษณา บทละครโทรทัศน บทภาพยนตร

ลักษณะของผูเขียนที่ดี 1. มีเจตคติที่ดีตองานเขียนทุกชนิด 2. มีความเชื่อมั่นในความรูความสามารถของตน 3. เปนผูมีประสบการณในชีวิตสูง ใฝหาความรู หาประสบการณ 4. มีอารมณมั่นคง ละเมียดละไม 5. มีความสามารถในการใชภาษาไดดี 6. เปนผูมองโลกในแงดีและมีคุณธรรม 7. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค 8. มีความพรอมและความตองการที่จะเขียน 9. อานหนังสือเปน 10. มีนิสัยชอบคนควาหาความรูอยูเสมอ 11. เปนผูมีความสังเกต จดจําดี 12. เปนคนชางคิด 13. มีความรูทางดานจิตวิทยาเปนอยางดี 14. มีความขยันหมั่นเพียรในการเขียนอยูเสมอ

ลักษณะของงานเขียนที่ดี งานเขียนที่ดี หมายถึง งานเขียนที่สามารถสื่อความหมายไดตรงตามวัตถุประสงคของผูเขียน และ ประกอบดวยภาษาที่สวยงาม งานเขียนที่ดีมีลักษณะดังนี้ 1. สื่อความหมายไดชัดเจน หมายถึง เมื่อผูอานอานแลวสามารถเขาใจความหมายไดอยางแจมแจง เขาใจความหมายไดทันที ไมสับสน ประโยคไมเยิ่นเยอ ผูอานไมตองใชเวลาทําความเขาใจมากหรือตองอาน ซ้ําหลาย ๆ รอบเพื่อใหเขาใจเนื้อหา ~7~


2. ถูกตอง ผูเขียนเขียนขอมูลไดตรงตามความเปนจริง เสนออยางตรงไปตรงมา ไมดัดแปลงขอมูล ไม เสนอขอมูลที่หลอกลวงมอมเมาผูอานอันจะกอใหเกิดความสงสัยและผลรายตาง ๆ ตามมา นอกจากขอมูลที่ ถูกตองกาลเทศะ และระดับภาษาที่ใชในการนําเสนอตองถูกตองดวย 3. ไพเราะงดงาม งานเขียนที่ดีควรมีการเลือกใชภาษาที่ดี สละสลวย มีการเลือกใชคําอยางประณีต เลือกใชประโยคที่หลากหลายเพื่อหลีกเลี่ยงความนาเบื่อ อาจมีการใชภาพพจนตาง ๆ ใหงานนาสนใจและมี สีสันมากขึ้น รวมไปถึงเลือกใชคําใหเหมาะสมกับเนื้อหาที่นําเสนอและเหมาะสมกับกลุมผูอาน 4. กวางขวาง งานเขียนที่ดีควรใหประโยชน กระตุนความคิด ใหความรู หรือสรางจินตนาการอยางใด อยางหนึ่ง หรือหลายอยางแกผูอาน มิใชเปนงานเขียนที่ไรประโยชน เมื่อผูอานอานแลวไมไดสิ่งใดเพิ่มเติม มากขึ้นกวากอนอาน

สิ่งที่ตองใชเพื่อการเขียน 1. ความรูและประสบการณ ความรูและประสบการณของแตละบุคคลยอมไมเทากันแตสามารถเพิ่มพูนใหมากขึ้นไดดวยวิธีตาง ๆ คือ อาจหาไดจากการอาน การฟง การดู การพูดคุยเสวนากับผูรู การสังเกต หรือการลองทําดวยตนเอง เปนตน สิ่งเหลานี้ตองทําอยูอยางเสมอเปรียบเหมือนเปนการเก็บเขาคลังตุนไว เมื่อคิดอยากจะเขียนเมื่อใดก็ สามารถหยิบเรื่องราวหรือประเด็นตาง ๆ มาเขียนไดในเบื้องตน แตหากขอมูลที่เคยเก็บหรือจําไวไมเพียงพอ หรือไมทันสมัยก็สามารถปรับเปลี่ยนได แตอยางนอยก็งายขึ้นเพราะมีความรูและประสบการณเปนตนทุนเดิม 2. ขอมูลเกี่ยวกับผูอาน ในการเขียนแตล ะครั้งหากตั้งเปาหมายและรูวาผูอานของเราเปนใคร เปนเด็ก ผูใหญ หรือวัยรุ น นักธุรกิจ หรือชาวบานทั่วไป ฯลฯ ก็จะทําใหสามารถเลือกใชภาษา เลือกรูปแบบไดอยางเหมาะสม เลือก เนื้อหาที่อยูในความสนใจของกลุมคนตาง ๆ ไดงายขึ้น เพราะบางครั้งการเขียนอาจมีเปาหมายเดียวกัน เชน ตองการโนมนาวใหทุกคนตระหนักถึงภาวะโลกรอน เมื่อทราบวาผูอานเปนเด็กก็จะทําใหผูเขียนเลือกไดวาควร จะใชรูปแบบนิทานเพื่อใหเขาถึงเด็กไดงาย ใชภาษาไมสลับซับซอน และเนื้อหาก็จะหยิบยกมาจากเรื่องใกลตัว เด็ก เปนเรื่องเหตุการณในโรงเรียน ในบาน เรื่องระหวางเพื่อน เปนตน ซึ่งจะทําใหงานเขียนของเราประสบ ความสําเร็จ ดังนั้นในการเขียนควรมีการวิเคราะหผูอานดวยวาเปนบุคคลกลุมใด 3. แบบอยางงานเขียน การมี แบบอย างการเขี ยนถื อ เป นสิ่ง จําเปน สําหรับ ผูเ ริ่ม ตนเขีย น แบบอย างงานเขี ยนควรมีทั้ ง แบบอยางงานเขียนที่ดีและไมดี การศึกษางานเขียนที่ดีจะเปนแบบอยางใหกับนักเขียนมือใหม เพราะผู เริ่มตนเขียนอาจยังไมทราบแนวทางการเขียนของตนเองวาควรจะเขียนอยางไร เริ่มตนดวยวิธีไหน ดังนั้นการ ~8~


มีแบบอยางก็จะสรางแนวทางการเขียนและสรางความมั่นใจในการเขียนไดในระดับหนึ่ง แตทั้งนี้ไมควรจะ ยึดถือหรือดูตัวอยางตลอดเวลา เมื่อเริ่มตนเขียนไดหรือเริ่มเกิดความชํานาญในการเขียนควรที่จะสรางสรรค งานเขียนดวยตนเองเพื่อสรางลักษณะเฉพาะงานเขียนของตน ในขณะที่แบบอยางที่ไมดีก็ควรศึกษาไวเพื่อ หลีกเลี่ยงไมเขียนงานในลักษณะดังกลาว ซึ่งจัดเปนการพัฒนางานเขียนของตนใหดีขึ้นทางหนึ่ง 4. เวลา การเขียนเปนการสื่อ สารที่ตองใชเวลา เริ่มตั้งแตการเริ่มคิด ลงมือเขียน และการขัดเกลา หาก ผูเขียนไมมีความกดดันในเรื่องของเวลาก็มักจะทําใหเขียนออกมาไดดี อยางไรก็ตามหลายครั้งการเขียนก็มี เวลาเขามาเกี่ยวของ เชน การเขียนตอบขอสอบ การเขียนแบบฝกหัดในหองเรียน หรือการเขียนบทความ ลงในนิตยสารหรือหนังสือพิมพของนักเขียนอาชีพ เหลานี้ลวนมีขอจํากัดทางดานเวลา ดังนั้นเพื่อลดความ กดดัน ผูเขียนควรบริหารและแบงเวลาในการเขียนใหเหมาะสม โดยแบงเวลาสําหรับการทบทวนขัดเกลาดวย เพื่อใหงานเขียนมีความถูกตองสมบูรณยิ่งขึ้น หากมีเวลาในการเขียนมากอาจเขียนแลวทิ้งไว 1-2 วันแลวจึง กลับมาอานทบทวนใหมเพื่อตรวจแก 5. ความมานะ พยายาม การเขียนเปนทักษะที่จะตองฝกฝนใหเกิดความชํานาญ และตองใชเวลาในการพัฒนาเพื่อใหการเขียน ดี มีประสิทธิภาพ ดังนั้นผูเขียนจึงตองมีความอดทน มานะ พยายามเพื่อใหงานเขียนดีขึ้น หลายครั้งเรา อาจเคยไดยินประสบการณของนักเขียนที่มีชื่อเสียงหลายทานเลาใหฟงวา กวาจะเขียนหนังสือเลมนี้จบใชเวลา เปนป หรือบางคนอาจใชเวลาหลายป และระหวางที่เขียนก็หมดกระดาษไปมาก คือ เขียนแลวไมดีก็ขยําทิ้ง เขียนใหม ประสบการณเหลานี้ลวนแสดงใหเห็นวาการจะเขียนตองใชความอดทนและพยายามอยางมาก 6. คุณธรรม การเขียนเปนการถายทอดสารออกไปยังผูอื่น โดยผูรับสารอาจจะเปนคนเดียว กลุมคนเล็ก ๆ หรือ มวลชนก็ตาม แตสิ่งที่ผูเขียนตองระลึกไวเสมอคือตองมีคุณธรรมในการเขียน ไมวาจะเปนการใหขอมูลตาง ๆ ก็ตองเปนขอมูลที่ถูกตอง งานเขียนตองไมสรางความแตกแยก หรือสรางความเสียหายแกผูอื่น นอกจากนี้ ในกรณีที่มีการนําขอมูลมาจากที่อื่นหรือคัดลอกขอมูลมากจากที่ใด ผูเขียนจะตองอางอิงแหลงที่มาของขอมูล นั้น ๆ ดวยเพื่อไมเปนการละเมินทรัพยสินทางปญญาและกระทําผิดกฎหมาย 7. ความรับผิดชอบ แมงานเขียนที่ผูเขียนเขียนออกมาแลวจะเปนสมบัติของสาธารณชน แตในขณะเดียวกันผูเ ขียนก็ หลีก เลี่ยงความรั บผิดชอบที่มี ตอ งานนั้น ๆ ไมไดหากเกิดกรณีที่ไปพาดพิง หรือสรางความเสียหายแกผูอื่น ดังนั้นผูเขียนจึงจะตองพรอมรับกับสิ่งตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากงานเขียนของตน ซึ่งวิธีแกไขในเบื้องตนคือการ ยึดหลักขอ 6 ความมีคุณธรรม ~9~


8. ใจกวาง ดังที่กลาวแลวในขอ 7 วา งานเขียนเมื่อออกเผยแพรแลวยอมตกเปนสาธารณสมบัติ ดังนั้นผูเขียน เองตองมีใจกวางพอพรอมที่จะรับคําวิพากษวิจารณ ทวงติงจากผูอื่น ซึ่งหากผูเขียนสามารถทําใจยอมรับได และนําขอแนะนําตาง ๆ เหลานั้นมาคิด มาปรับปรุงงานเขียนของตนก็จะเปนการชวยพัฒนาใหงานเขียนมี คุณภาพยิ่งขึ้น

ขั้นตอนในการเขียน หลายคนเมื่อคิดจะเขียน หรือไดรับคําสั่งใหเขียนก็เขียนทันที ซึ่งจริง ๆ แลวการเขียนที่ดีและจะชวย ใหงานมีคุณภาพจะตองปฏิบัติตามลําดับขั้นตอน ซึ่งพอสรุปอยางกวาง ๆ ไดดังนี้ 1. กอนการเขียน ขั้นตอนกอนการเขียนเปนขั้นที่งายที่สุด เรียกไดวาเปนขั้นเตรียมตัวเตรียมใจ ใหพรอมสําหรับที่จะลง มือเขียน โดยเฉพาะในกรณีที่ไมไดคิดอยากจะเขียนขึ้นเอง แตเปนการเขียน เพราะคําสั่งหรือหนาที่ ในขั้นนี้ก็ จะเปนชวงที่ชวยปรับอารมณใหอยากเขียนมากขึ้น โดยสิ่งที่ตองทําในขั้นตอนนี้ มีดังนี้ 1.1 เตรียมตัว หมายถึง การเตรียมความพรอมของรางกาย ไมใหงวงนอน หิวขาว หรือมีอาการ เจ็บปวยตาง ๆ ฯลฯ เพราะสิ่งเหลานี้จะเปนอุปสรรคสําคัญทําใหคิดงานไมออก และมีสมาธิไมพอที่จะลงมือ เขียนได นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการเตรียมอุปกรณตาง ๆ ใหพรอมสําหรับการเขียน ไมวาจะเปน ดินสอ ปากกา ยางลบ กระดาษ หนังสือขอมูลตาง ๆ ที่ตองใช เพื่อไมใหเกิดการติดขัดระหวางการเขียนที่จะตอง ลุกหาอุปกรณนั้นทีนี้ที ซึ่งจะทําใหการเขียนไมตอเนื่องและตองมานั่งเริ่มตนใหม และการเลือกอุปกรณเครื่อง เขียนตาง ๆ ตามที่ชอบก็ยังมีผลทางจิตใจที่ทําใหเกิดความรูสึกอยากเขียนอยากใชไดอีกดวย 1.2 เตรียมใจ หมายถึง การทําใจใหพรอม ไมกังวลตอสิ่งตาง ๆ หลายคน เมื่อจะลงมือเขียนมัก เกิดความกังวล ไมรูจะเขียนอะไร จะเริ่มตนอยางไร เวลาจะทันหรือไม วิธีแกไขคือหาขอมูลไวใหพรอม หรือ หาตัวอยางงานเขียนไวเปนแบบอยาง แลวลงมือเขียนโดยเบื้องตนอาจไมตองคําถึงความถูกตองหรือความ สละสลวยของภาษา แตใหเขียนความคิดของตนออกมาใหไดกอนแลวจึงคอยปรับปรุงเรื่องภาษาอีกครั้งหนึ่ง 2. ลงมือการเขียน ในขั้นตอนนี้ถือเปนขั้นตอนสําคัญเพราะตองถายทอดเนื้อหาที่ตองการแปลออกมา เปนตัวหนังสือ จําเปนตองใชเวลาและสมาธิคอนขางมาก ในขั้นที่ตองลงมือเขียนมีสิ่งที่ตองทําคือ 2.1 ตั้งวัตถุประสงคในการเขียน 2.2 วิเคราะหผูรับสาร 2.3 เลือกเรื่องที่จะเขียน วิธีการเลือกเรื่องที่จะเขียนมีหลักกวาง ๆ ดังนี้ ~ 10 ~


1. เลือกเรื่องที่ผูเขียนมีความรูความสามารถ 2. เลือกเรื่องที่นาสนใจและแปลกใหม ตามความสนใจของผูเขียนหรือผูอาน 3. เลือกเรื่องที่สามารถคนขอมูลได และมีขอมูลมากพอ 4. เลือกหัวขอที่ไมกวางหรือแคบเกินไป เชน คานิยมในสังคมไทย ควรเปน คานิยมเกี่ยวกับ การบริโภคอาหารฟาสตฟูดสในประเทศไทย 5. เลือกหัวขอที่มีลักษณะทาทาย เพื่อชวนใหติดตามอาน 6. เลือกเรื่องใหเหมาะสมกับเวลาที่มี 2.4 เลือกรูปแบบงานเขียนใหเหมาะกับเนื้อหาและผูอาน 2.5 วางโครงเรื่อง 2.6 หาขอมูล เตรียมขอมูลอาจทําไดหลายวิธี เชน การพูดคุยกับบุคคลอื่น การอานหนังสือ การ สัมภาษณ หรือการออกสํารวจ เปนตน (ขั้นตอนนี้อาจทํากอนการวางโครงเรื่องก็ได) 2.7 เขียนเรื่องตามโครงเรื่องที่วางไว 3. ทบทวนงานเขียน ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนสุดทายที่จะตรวจสอบความถูกตองสมบูรณของงานเขียน และจัดเปนอีกขั้นตอนหนึ่งที่จําเปนเพื่อปองกันไมใหเกิดความผิดพลาดหรือใหเกิดความผิดพลาดนอยที่สุดใน งานเขียน เชน ความผิดพลาดดานการสะกดคํา การเขียนขอความซ้ํา หรือเนื้อหาขาดหายไปบางสวน เปนตน ขั้นตอนการทบทวนงานเขียน อาจเลือกใชวิธีใดวิธีหนึ่งตอไปนี้ 3.1 การแกไขใหม (Revising) หมายถึง การพิจารณาเนื้อหาเพื่อดูวาเราจะสามารถปรับปรุงแกไขได อยางไรบาง บางครั้งอาจตองตัดเนื้อหาหรือจัดระบบใหม เชน เปลี่ยนรูปประโยค ยายยอหนา เปนตน มัน เปนการกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญในงานเขียนของเรา จงถามตัวเองขณะแกไขใหมวาจะทําอยางไร ใหงานเขียนของเรามีชีวิตชีวา นาอาน และถอยความกระจางชัดเจน 3.2 การขัดเกลา (Editing) ไมมีนักเขียนคนใดเขียนรางแรกแลวเสร็จสมบูรณ คําบางคําที่ดูชัดเจนใน ตอนแรก อาจเปลี่ยนแปลงไป ถอยคําอาจไมสละสลวยชัดเจน จงลําดับความคิดใหม คนหาถอยคําที่งดงาม และดีกวาเดิม ประโยคที่ ส ละสลวยกว าเดิม วลีที่เหมาะสม และกระจางชัด จงพิจารณาที่ทวงทํานอง มากกวาพิจารณาเนื้อหาซึ่งเราไดทําไปแลวในขั้นตอนของการแกไขใหม วิธีการขั้นเกลา - อานงานเขียนดัง ๆ ชา ๆ และชัดถอยชัดคํา การอานในใจและการอานออกเสียงใหผลแตกตาง กัน การอานออกเสียงจะชวยใหพบขอผิดพลาดไดดีกวาการอานในใจ - ใชไมบรรทัดตรวจทานทีละบรรทัด ๆ แตละประโยค ๆ อยางรอบคอบ ~ 11 ~


- อานยอนหลังจากตอนจบไปตอนตนเรื่อง วิธีนี้จะทําใหเราเพงสมาธิไปเฉพาะประโยค อาจเขียน บันทึกไวบนหนากระดาษแตละแผนวา ตองการตรวจสอบสิ่งใด เชน “ตรวจสอบบุพบท”จะทําให เราเห็นขอผิดพลาดนั้นไดงายขึ้น เพราะมีบันทึกเปนเครื่องชวยเตือนความจํา 3. การพิสูจนอักษร (Proofreading) หมายถึงการพิจารณาการสะกดของคําวาถูกตองหรือไม งาน เขียนที่ดีตองเปนงานเขียนที่ไมมีการสะกดคําผิดพลาด หากมีคําใดที่ไมแนใจตองตรวจสอบกับพจนานุกรม ทันที การเขียนนับเปนเรื่องที่ตองอาศัยสมาธิ ความคิด และความพยายาม ผูเขียนจะเกิดความภาคภูมิใจ ในงานเขียนของตนก็ตอเมื่อสามารถทําใหผูอานเขาใจตามความประสงคที่ผูเขียนตอ งการสื่ออยางถูกตอ ง ตรงกัน ------------------------แหลงขอมูล : บงกช สิ ง หกุ ล (2546). เอกสารประกอบการสอนวิ ช า TH 2333. พิ ม พ ค รั้ งที่ 2. สาขามนุ ษ ยศาสตร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

~ 12 ~


2. การพัฒนางานเขียน การจะทําใหงานเขียนสามารถสื่อ สารไดอ ย างมี ป ระสิ ทธิ ภาพ สื่ อ ความได ชัดเจนตรงตามความ ตองการของผูเขียน ทําใหงานเขียนมีความนาสนใจ และมีเสนหนั้น มีปจจัยเริ่มตั้งแตการเลือกใชคํา การผูก ประโยค และความเหมาะสมของระดับภาษา ซึ่งจะกลาวถึงรายละเอียดตอไป

การใชคํา คํา พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2554 ไดใหความหมายของคําไววา “คํา น. เสียงพูด หรือ ลายลักษณอักษรที่เขียนหรือพิมพขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปกติถือวาเปนหนวยที่เล็กที่สุด ซึ่งมีความหมาย ในตัว , ใชประกอบคําอื่น มีความหมาย เชน คํานาม คํากริยา คําบุพบท ฯลฯ” การใชคําเปนทั้งศาสตรและศิลป กลาวคือ มีระเบียบ กฎเกณฑการใชคํากําหนดไวเปนแบบแผน แลว แตในขณะเดียวกันการเลือกสรรคํามาเรียบเรียงเปนขอเขียนเพื่อแสดงเจตนา อารมณ และความรูสึก นั้น จะมีเสนหหรืองดงามไพเราะเพียงใดนั้น ยอมขึ้นอยูกับการเลือกสรรคําของผูเขียน ภาษาไทยเปนภาษาที่ รุมรวยถอยคําและความ ยิ่งผูเขียนมีคลังคําเก็บไวมากเทาใด ก็ยอมจะทําใหมีโอกาสเลือกเฟนถอยคําไดมาก ขึ้นเทานั้น หลักการเลือกใชคําในการเขียน ควรคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้ 1. สะกดคําใหถูกตอง การสะกดคําถูกตองถือเปนเสนหและเปนการแสดงลักษณะของผูใชภาษาได ประการหนึ่ง คือ แสดงใหเห็นวาผูเขียนนั้นเปนผูมีความรอบรูในเรื่องการใชคํา เปนผูมีความรอบคอบและใส ใจกับงานเขียนของตน แมการสะกดคําผิดบางครั้งอาจจะไมกระทบตอความหมายหรือเนื้อหาโดยรวมของ เรื่อง เพราะมีบริบทในประโยคชวยใหเข าใจความหมายได แตนั่นก็ยอมแสดงใหเ ห็นเปนขอบกพรองของ ผูเขียนและสรางความรําคาญแกผูอาน (ที่มีความรู) ไดไมนอย ดังนั้นเมื่อเขียนจึงจําเปนตองสะกดคําใหถูกตอง โดยเฉพาะคํายากที่อาจเกิดความสับสนเนื่องจากไม คอ ยไดใช ใช แนวเที ยบในการเขี ยนคํ า ผิ ด หรือ ออกเสียงผิด เปน ตน วิธีแ กไขคือ การตรวจสอบจาก พจนานุกรม เพื่อตรวจสอบความถูกตองอีกครั้งหนึ่ง ตัวอยางคําที่มักสะกดผิด เชน เลือกสรรค บุคคลากร

คําที่ถูกคือ

ลายเซ็นต

เลือกสรร บุคลากร ลายเซ็น

~ 13 ~


ดํารงค (เทียบผิดกับคําวา องค)

คําที่ถูกคือ

อนุญาติ (เทียบผิดกับคํา ญาติพี่นอง) ไอศครีม (ออกเสียงผิด)

ดํารง อนุญาต ไอศกรีม

2. ใชคําใหถูกความหมาย การเขียนตองคํานึงถึงความหมายดวยทั้งนี้เพราะ 2.1 คําบางคํามีลกั ษณะเปนคําพองเสียง เมื่อจะนําคํามาใชผูเขียนจะตองทราบความหมายของคํากอนจึงจะสื่อความไดถูกตอง (ใชผิด ตองใชวา อินทรี) เชน เขาสรางบานดวยปูนตรานกอินทรีย อินทรีย อินทรี

แปลวา ”

รางกาย สิ่งมีชีวิต ชื่อนกขนาดใหญชนิดหนึ่ง

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลอนชอบพูดจาขอนขอดสามีตอหนาเพื่อน ๆ เสมอ (ใชผิด ตองใชวา คอนขอด) ขอน ” ทุบ, ตี คอน

ติ,วาใหสะเทือนใจ เชน คอนขอด คอนวา

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เขาเริม่ ซึมซาบปญหาของชุมชนหลังจากไดไปคลุกคลีกบั ชาวบาน (ใชผิด ตองใชวา ซึมทราบ) ซึมซาบ

เอิบอาบเขาไปทั่วถึง, ซึมเขาไป

ซึมทราบ

รูละเอียด

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หอพักนักศึกษามีกฏระเบียบจํานวนมาก (ใชผิด ตองใชวา กฎ) กฎ กฏ

” ”

ขอกําหนด, บัญญัติ, จดไวเปนหลักฐาน ใชรวมกับคําวา ปรา- (ปรากฏ)

2.2 คําบางคําความหมายใกลเคียงกัน เมื่อจะนํามาใชตองทําความเขาใจความหมายของคํา ดังกลาวกอนเพื่อจะไดเลือกคําที่ตรงกับความตองการ เชน “จุกจิก” กับ “จุบจิบ” จุกจิก หมายถึง จุบจิบ

หมายถึง

~ 14 ~

รบกวน, กวนใจ อาการที่กนิ พร่ําเพรือทีละเล็กทีละนอย


“สอดสาย” กับ “สอดสอง” สอดสาย สอดสอง

หมายถึง หมายถึง

กวาดสายตามอง ตรวจดูทั่ว ๆ ไป, เอาใจใสดูแล

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

“วุฒิบัตร” “เกียรติบัตร” “ประกาศนียบัตร” และ “ปริญญาบัตร” วุฒิบัตร หมายถึง เอกสารแสดงวุฒิทางการศึกษา มักใชกับการศึกษา เกียรติบัตร

หมายถึง

ประกาศนียบัตร หมายถึง ปริญญาบัตร

หมายถึง

อบรมในระยะเวลาสั้น ๆ เอกสารทีม่ อบใหแกผูที่สรางคุณงามความดี เพื่อยกยอง ใหเกียรติ หรือแสดงความนับถือ เอกสารแสดงคุณวุฒิ ตามปกติต่ํากวาระดับอุดมศึกษา บัตรที่แสดงวิทยฐานะขอผูส ําเร็จการศึกษา วามีศักดิ์ และสิทธิ์ระดับปริญญา

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

“สืบสวน” กับ “สอบสวน” สืบสวน หมายถึง สอบสวน หมายถึง

เสาะหา ทบทวนไปมา ไลเลียง เพื่อเอาความจริง

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

“เคลือบคลุม” “เคลือบแคลง” และ “เคลือบแฝง” เคลือบคลุม เคลือบแคลง เคลือบแฝง

หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ไมแจมแจง ไมกระจาง ไมชัดเจน สงสัย แคลงใจ ระแวง แสดงความจริงไมกระจาง ใหเปนทีส่ งสัย

2.3 คําบางคํามีความหมายโดยนัย เมื่อจะใชคําที่มีความหมายโดยนัยตองศึกษาความหมาย และพิจารณาดูวาสามารถใชเปนความหมายโดยนัยไดหรือไม เชน เด็กคนนั้นกินสมุดเพื่อน 3 เลม ใชไมได การกอสรางตึกหลังนีม้ ีการกินปูนกินทรายกันอยางมโหฬาร

ใชได

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ลูกถูกพอแมซักฟอก รัฐมนตรีหลายคนถูกซักฟอก

ใชไมได ใชได

~ 15 ~


3. ใชคําใหถูกหลักไวยากรณ 3.1 ใชคําลักษณนามใหถูกตอง - ใชหลังจํานวนนับ เชน ไมขีดไฟ 3 กลัก

กบไสไม 7 ราง

พร 4 ประการ

- ใชตามหลังนามเมือ่ ตองการเนนขอความนั้น เชน งาชางกิ่งนี้ คําประพันธบทนี้ รถคันนี้

ไหม 5 ใจ ปนโตเถานี้

3.2 ใชบุพบทใหถกู ตองตรงตามความหมายที่ตองการ คําบุพบทที่มักใชกับสับสน คือ กับ แก แด ตอ กับ แสดงอาการกระชับ เชน เห็นกับตา แสดงอาการรวม เชน พอไปกับลูก -

แสดงอาการเทียบกัน เชน แสดงระดับ เชน

แก ใชนําหนาคําที่เปนฝายรับอาการ รับอาการให เชน -

รับอาการกระทํา แสดงอาการรับกัน

ขาวตางกับดํา เหนือตรงกับใต ใหรางวัลแกนักเรียน

เชน เชน

สงเคราะหแก... ประทุษรายแก... เหมาะแก ควรแก

เชน เชน

ถึงแกกรรม มีแกใจ เห็นแกชาติ เห็นแกตัว

เชน

ไดแก (คือ)

แด ใชแทนคําวาแกในที่เคารพ

เชน

ถวายแด

แต มีความหมายทํานองวา จาก

เชน

มาแตบาน

เชน เชน

การเขียนหนังสือตองคักลายมือไปแตแรก กินแตขนม แตละอยาง

- รับอาการเปนไป รับอาการเล็งถึง

-

แสดงอาการไขความ

-

ตั้งแต เพียงเฉพาะ

~ 16 ~


ตอ -

นําหนาคําแสดงความเดี่ยวเนื่องกัน

เชน ยื่นตอเจาหนาที่ มีไมตรีตอกัน

-

เฉพาะ เฉพาะหนา

เชน เชน

สองตอสอง ศึกษาธรรมตอทานผูรู เสนอเรื่องตอที่ประชุม

-

เทียบจํานวน ถึง

เชน เชน

หาตอหนึ่ง ตอปหนาจึงจะกลับ

เชน เชน

ลูกเสือเดินตอทหาร ขัดตออํานาจ

ถัด ขืน 3.3 ใชอาการนามใหถูกตอง

อาการนาม คือ คํานามที่ไดจากการเติมคําวา การ ความ เขาขางหนาคํากริยา หรือคําวิเศษณ โดยใหยึดหลักวา การ ใหนําหนาคํากริยา เชน การกิน การเดิน การนอน ความ ใหนําหนาคํากริยาที่มีความหมายเกี่ยวเนือ่ งกับอารมณและคําวิเศษณ เชน ความรัก ความตองการ ความฝน ความดี ความงาม ความยาว 4. ใชคําใหเหมาะสม 4.1 ใชคําใหเหมาะสมตามสมัยนิยม บางคําใชในสมัยหนึง่ แตเมือ่ กาลเวลาผานไปความนิยมที่มี ตอการใชคํานั้นก็นอยลง เชน โลกานุวัตน คนแก แหลงเสือ่ มโทรม,สลัม

ใชคําวา ” ”

โลกาภิวัตน ผูสงู อายุ ชุมชนแออัด

4.2 ใชคําใหเหมาะกับกาลเทศะ ผูส งสารจะตองรูวาในโอกาสและสถานที่อยางนั้นควรใชคํา อยางไร เชน ในโอกาสทีเ่ ปนทางการ ภาษาตองเปนแบบแผน สุภาพเรียบรอย ซึง่ อาจนําคําราชาศัพทหรือ คําสุภาพมาใช ถาเปนโอกาสกึ่งทางการ ภาษาอาจไมเครงครัดเหมือนแบบทางการแตก็ไมถึงกับปลอยปละ ละเลย ยังตองคํานึงถึงความถูกตองและสุภาพอยู สวนโอกาสที่ไมเปนทางการ การใชภาษาอาจไมตอง พิถีพิถันมากนัก ขอเพียงสื่อความกันไดและแสดงถึงความเปนกันเอง เชน อยาใสรองเทาขึ้นบนตึกเรียน กึ่งทางการ หามสวมรองเทาขึ้นบนอาคารเรียน เขาดื่มเหลา

ทางการ กึ่งทางการ

เขาดื่มสุรา

ทางการ ~ 17 ~


4.3 ใชคําใหเหมาะกับบุคคล ภาษาไทยมีคําหลายระดับ เชน คําราชาศัพท คําสุภาพ ภาษา ปาก คําสแลง ฯลฯ ดังนั้นในการใชคําจึงควรคํานึงถึงฐานะของแตละบุคคลดวย เชน ฉันมอบของแกพระภิกษุ ไมถูกตอง ฉันถวายของแดพระภิกษุ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

พระสงฆปวย พระสงฆอาพาธ

ไมถูกตอง

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ฉันจะบอกอาจารยเอง ไมถูกตอง ฉันจะเรียนใหอาจารยทราบ หรือ ฉันจะเรียนใหอาจารยทราบดวยตนเอง 4.4 ใชคําใหเหมาะสมกับขอความ คําที่มีความหมายเหมือนกันอาจจะใชไมเหมือนกัน คําบางคําอาจเหมาะกับขอความหนึ่ง แตอาจไมเหมาะกับอีกขอความหนึ่ง เชน แมวตัวนั้นเทาเจ็บ เลยจับหนูไมได ฉันเทาเจ็บ เลยเลนฟุตบอลไมได

คือ

ใชคําไมถูกตอง ใชคําถูกตอง

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เขาถูกเชิญใหไปงานเลี้ยง เขาถูกเชิญใหไปสถานีตํารวจ

ใชคําไมถูกตอง ใชคําถูกตอง

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สุนัขที่บานของฉันคลอดลูกเมือ่ วานนี้ สุนัขที่บานของฉันออกลูกเมื่อวานนี้

ใชคําไมถูกตอง ใชคําถูกตอง

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หาโจรบุกปลนธนาคาร โจร 5 คนปลนธนาคาร

ใชคําไมถูกตอง ใชคําถูกตอง

5. ใชคําระดับเดียวกัน โดยปกติเมื่อเขียนขอความใดจะตองคํานึงถึงศักดิ์ของคําดวยเพื่อใหเกิดความ ไพเราะและเมื่ออานแลวก็ไมรูสึกติดขัด แมวาคํานั้นอาจมีความหมายเหมือนกัน แตเมื่อเลือกใชคําใดแลวก็ควร ใหเปนระดับเดียวกัน เชน คืนนี้พอจะไปประชุมกับลูกคาแตคุณแมจะกลับมาทานขาวเย็นที่บานกับลูก ควรใช พอ คูกับ แม หรือ คุณพอ คูกับ คุณแม

~ 18 ~


แมบุรุษจะมีความเขมแข็งทางรางกายมากกวาผูหญิง แตผูหญิงก็มีจิตใจที่แข็งแกรงไมแพบุรุษ ควรใช บุรุษ คูกับ สตรี หรือ ผูชาย คูกับ ผูหญิง 6. ใชคําเพิ่มความสละสลวย 6.1 ใชคําที่รูจักกันโดยทั่วไป ไมควรใชคําที่คิดขึ้นใหมหรือคําทีเ่ ขาใจกันเฉพาะในกลุม เชน ภาษาสแลง คําพนสมัย คํายอ คําตัด ศัพทบัญญัติ ภาษาถิ่น เปนตน และไมใชคําภาษาตางประเทศโดย ไมจําเปน เชน ภาพยนตรเรือ่ งนี้เห็นทีจะถูกแบน ภาพยนตรเรือ่ งนี้เห็นทีจะถูกหามฉาย

ใชภาษาอังกฤษ ชัดเจนขึ้น

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลังทําวิทยานิพนธเสร็จก็จะมีการสอบออรัล หลังทําวิทยานิพนธเสร็จก็จะมีการสอบปากเปลา

ใชภาษาอังกฤษ ชัดเจนขึ้น

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คณิตกรณเครื่องนี้เสียอีกแลว เพิ่งซอมมาแท ๆ ใชศัพทบัญญัติ คอมพิวเตอรเครื่องนี้เสียอีกแลว เพิ่งซอมมาแท ๆ ชัดเจนขึ้น ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ตําสมรานนี้อรอยทีส่ ุด สมตํารานนี้อรอยทีส่ ุด

ใชภาษาถิ่น ชัดเจนขึ้น

6.2 ใชคําที่สรางภาพพจน เพื่อใหผูรบั สารเห็นภาพชัดเจนโดยไมตองอธิบาย เชน คําแสดงอาการ - กระฉับกระเฉง เขยื้อน สั่นระริก ยอง ตะกาย คําแสดงเสียง - สวบสาบ ฉึก กังวาน โครมคราม เปรี้ยง คําแสดงลักษณะ - กลมเกลี้ยง สูงโปรง ล่ําสัน โยเย บูบี้ คําแสดงอารมณและความรูส ึก - ฉุนเฉียว งุนงาน ขยะแขยง เคลิบเคลิ้ม 6.3 ใชคําที่แจมแจง ไมกอใหความสงสัย เชน ตาเขาเจ็บ เธอไมยอมตัดผมออก

~ 19 ~


สิ่งที่ควรหลีกเลีย่ งในการใชคํา 1. หลีกเลี่ยงคําภาษาตางประเทศ ไมควรใชคําภาษาตางประเทศโดยไมจําเปน โดยเฉพาะหากคํา เหลานั้นไดบัญญัติคําภาษาไทยแลว หรือหากจําเปนตองใชจริง ๆ และเขียนแบบถายเสียง ผูเขียนควรวงเล็บคํา ภาษาอังกฤษไวทายคําดวย เพราะการที่ใชคําภาษาตางประเทศในการเขียน จะทําใหงานเขียนนั้นอานยาก คนทั่วไปอานแลวอาจไมเขาใจ และแสดงเจตนาของผูเ ขียนวาตองการสงสารเจาะจงกลุม ผูอานที่มีความรู นอกจากนี้ยงั แสดงใหเห็นวาผูเ ขียนมีคลังคําจํากัดจนตองนําคําในภาษาตางประเทศมาใช แตในกรณีที่เปน ศัพทเทคนิคเฉพาะวงการและศัพทที่ยังไมไดมีการบัญญัติขึ้น นับเปนกรณียกเวนที่ผเู ขียนจําเปนตองใชคํา ภาษาตางประเทศ 2. หลีกเลี่ยงคําที่ใหความรูสึกไมดี คําในภาษาไทยมีความหมายคลายกันหรือใกลเคียงกัน ตลอดจน คําแตละคําสามารถทําใหผูอานเกิดอารมณและความรูส ึกแตกตางกันไปดวย การเขียนจึงตองระวังหลีกเลี่ยง คําที่จะทําใหผูอานรูสกึ ไมดี ดวยการหาคําที่มีความหมายใกลเคียงกันและทําใหผูอานมีความรูส ึกดีขึ้นมาใช แทน ตัวอยางเชน ขี้เกียจ

อาจเปลี่ยนเปน

ไมคอยขยัน

อวน บานนอก ยากจน

อาจเปลี่ยนเปน อาจเปลี่ยนเปน อาจเปลี่ยนเปน

สมบูรณขึ้น ตางจังหวัด มีเงินไมพอใช

3. หลีกเลี่ยงคําสแลง คําสแลงเปนคําทีส่ รางขึ้นใหม เพือ่ ความสะใจ แปลกใหม เพื่อสนองความ ตองการของวัยรุน คําสแลงมีขอจํากัดคือเปนคําที่เขาใจความหมายเฉพาะกลุม เปนคําใหมทเี่ กิดงาย ตายงาย เพราะคนเบื่อคําสแลงเร็ว คําสแลงทีผ่ านการทดสอบของกาลเวลา เมื่อไดรบั การยอมรับแลวก็จะเปนสวนหนึ่ง ของภาษามาตรฐาน เชน คําวา “เชย” ดังนั้น การใชคําสแลงจึงเหมาะกับงานเขียนบางประเภทและบาง สถานการณ เชน อาจใชในบทสนทนาเพื่อใหเกิดความสมจริง หรืองานรวมสมัยทีม่ ีผูอานอานอยางฉาบฉวย ไมใชบันทึกที่ตองการใหยืนยงถึงอนุชน เพราะคําสแลงอาจเปนทีเ่ ขาใจไดในปจจุบัน แตเมื่อเวลาผานไปไม นาน อาจจะไมเขาใจวาคําเหลานี้หมายถึงอะไรก็ได 4. หลีกเลี่ยงการใชคําที่ตายแลว คําที่ตายแลวหมายถึง คําที่ไมมีคนใชแลวในปจจุบัน และหากเขียน ไปก็อาจไมมีใครรูความหมายที่ถูกตอง เชน คําวา “อําแดง” หมายถึง นางสาว, “หมากขน” หมายถึง เงาะ เปนตน แตคําที่ตายแลวก็สามารถนํามาใชเขียนไดในกรณีขอความมาอาง

~ 20 ~


การผูกประโยค การนําถอยคํามาเรียงไวอยางถูกตองตามโครงสรางของประโยคเมื่ออานแลวไดใจความสมบูรณ ประกอบดวยภาคประธาน และภาคแสดง การเรียบเรียงคําหรือการผูกประโยค มีหลักดังนี้ 1. ความถูกตองชัดเจนของประโยค คือ การเรียงคําใหถูกตองตามหลักไวยากรณภาษาไทย ทําได ดังนี้ 1.1 เรียงคําใหถูกที่ คือ การวางประธาน กริยา กรรม ใหตรงตามตําแหนงทางไวยากรณ (ประธาน กริยา กรรม) เชน ควรใชวา

ถนนน้ําทวมหนาบานฉัน น้ําทวมถนนหนาบานฉัน

ควรใชวา

สวยมากปนี้นางสาวไทย ปนี้นางสาวไทยสวยมาก

1.2 ขยายความใหถูกที่ คือ การนําคําที่ตองการขยายมาวางใหถูกที่ มิฉะนั้นจะทําให ความหมายไมชัดเจน หรือสือ่ ความไดไมตรงตามที่ตอ งการ เชน ควรใชวา

ผูมีเมตตาจิตใหทุนชวยเหลือนักศึกษามหาวิทยาลัยตาง ๆ ที่ยากจน ผูมีจิตเมตตาใหทุนชวยเหลือนักศึกษาที่ยากจนในมหาวิทยาลัยตาง ๆ

ควรใชวา

เครื่องประดับทีง่ ดงามยอมคูควรกับหญิงงามธรรมดา ธรรมดาเครื่องประดับทีง่ ดงามยอมคูควรกับหญิงงาม

1.3

ใชคําหรือสํานวนตามแบบภาษาไทย ไมเปนประโยคที่เลียนแบบโครงสรางภาษาตางประเทศ เชน

ควรใชวา

เขาอยูในชุดสีฟา เขาใสชุดสีฟา

ควรใชวา

เขาถูกลงโทษโดยธรรมชาติ ธรรมชาติลงโทษเขา

ควรใชวา

นวนิยายเรื่อง “คูกรรม” ถูกแตงโดยทมยันตี ทมยันตีแตงนวนิยายเรื่องคูกรรม ~ 21 ~


1.4 ใชคําใหสิ้นกระแสความ ไมละคําไวในฐานที่เขาใจ เชน ควรใชวา

รถไฟฟาที่เปดใหบริการแกประชาชนเมื่อเดือนที่แลว รถไฟฟาที่เปดใหบริการแกประชาชนเมื่อเดือนที่แลว ชวยใหการจราจรคลองตัวมากขึ้น

ควรใชวา

สรอยคอเสนนี้ สรอยคอเสนนี้เปนของขวัญที่คุณยายมอบให

ควรใชวา

ไชยพรไมชอบดูหนังสือ ไดแตเที่ยวกับเลนไปวัน ๆ ไมเหมือนพี่ชายของเขา ไชยพรไมชอบดูหนังสือ ไดแตเที่ยวกับเลนไปวัน ๆ ไมเหมือนพี่ชายของเขา วัน ๆ ไมออกไปไหนเลย อานแตหนังสือ

1.5 เวนวรรคตอนใหถูกตอง หลักการเวนวรรคตอน มีดังนี้ 1. เมื่อจบประโยค แลวขึ้นตนประโยคใหม ใหสงั เกตที่คําเชื่อม 2. เมื่อจบประโยคหลักแลวตามดวยประโยคยอย ใหสังเกตที่คําเชื่อม 3. เมื่อจบใจความประธานที่เปนกลุมคํา ใหสงั เกตที่คํากริยา 4. เมื่อเปนภาษาไทยกับภาษาอื่น 5. เมื่อเปนตัวหนังสือกับตัวเลข แมนักการเมืองและนักการทหารจะมีอํานาจปานใดก็ตาม//แตไมอาจที่จะ ยับยั้งความคิดและขอ เขียนของนัก ประพันธเ สียได//เพราะนักประพันธมีอิท ธิพ ลอยู เหนือประชาชนสวนใหญ//และอยูใกลชิดกับประชาชนมากกวา หากรัฐบาลชุดใหมยอมปรับเปลี่ยนตามขอเสนอของภาคเอกชน//ปญหาที่ จะตามมาก็ คือ//เสียงสะทอนจากนักวิชาการที่หวั่นเกรงวา//คุ ณภาพของรายการจะ เหมือนกับรายการทั่วไปที่ปรากฏตามสถานีโทรทัศนในปจจุบัน 1.6

สรางประโยคใหมเี อกภาพและสัมพันธภาพ ขอความในประโยคเดียวกันควรจะมีความหมาย

เพียงอยางเดียว หรือหากเปนขอความเดียวกันก็ควรมีความสัมพันธกัน เชน เขาเปนคนจนจึงพยายามแตงตัว ควรใชวา

เขาเปนคนจนจึงเจียมตัว

~ 22 ~


เขาชอบรองเพลงแตไมชอบทานอาหารเผ็ด ควรใชวา

เขาชอบรองเพลงแตไมชอบเลนละคร

2. ความกระชับรัดกุมของประโยค คือ การเรียบเรียงประโยคใหสื่อความไดชัดเจน สั้น กระชับ ได ใจความโดยไมใชคําเกินจําเปน สามารถทําไดดวยวิธีการตาง ๆ ดังนี้ 2.1 รวบความใหกระชับ คือ การนําประธานหลาย ๆ คํา ที่มีกริยารวมกันมารวมกัน ดวยคําวา “ทั้งหมด” “ลวน” “รวมแลว” ฯลฯ เชน เกิด แก เจ็บ ตาย ทั้งหมดนี้เปนสิง่ ที่แนนอน นักเรียน นิสิต นักศึกษา ตางก็มีหนาทีท่ ี่ตองเรียนทั้งนั้น บุหรี่ กัญชา ฝน ยาบา ลวนแลวแตเปนยาเสพติดที่ควรหลีกใหหางไกล 2.2 ลําดับความใหรัดกุม คือ การเรียงสวนขยายไวกอน แลวจึงนําขอความสําคัญไวตอนทาย เพื่อใหผูอานไดอานจนครบ หรือจบขอความ เชน

ควรใชวา

ศาลตัดสินประหารชีวิต เพราะเขาเปนนักโทษอุจฉกรรจที่มคี ดีปลน ฆา ลักทรัพย และลักพาตัว เพราะเขาเปนนักโทษอุจฉกรรจที่มีคดี ลักทรัพย ลักพาตัว ปลน และฆา ดังนั้นศาลจึงตัดสินใหประหารชีวิต

2.3 ไมใชคําฟุมเฟอย จะชวยใหผูรับสารเขาใจประเด็นที่ตองการไดอยางชัดเจน เพราะประโยค ไมยาวจนเกินไปจนจําประเด็นไมได เชน ควรใชวา

เขามีความเสียใจเปนอยางยิง่ ทีส่ อบไลตก ตองเรียนซ้ําชั้น เขาเสียใจเปนอยางยิ่งที่สอบไลตก

ควรใชวา

ตํารวจกําลังเอากระดาษหนังสือพิมพปดศพผูตาย ตํารวจกําลังเอาหนังสือพิมพปดศพ

3. น้ําหนักของประโยค การสรางประโยคโดยการเนนหรือเพิม่ นําหนักประโยค มีวิธีการดังนี้ 3.1 จัดคําใหอยูในที่ซึ่งมีน้ําหนัก หมายถึง หากตองการเนนสิ่งใดก็นําขอความนั้นวางไวในที่ที่มี น้ําหนัก ซึ่งโดยมากจะเรียงไวตนประโยค เชน เกิดระเบิดกลางกรุงนิวยอรก ที่สถาบันญี่ปุนมีการประกวดการชงน้ําชา นายกรัฐมนตรีเดินทางไปประชุมที่ประเทศลาว ~ 23 ~

(เนนกริยา) (เนนสถานที่) (เนนประธาน)


3.2 จัดความใหขัดแยงกัน เปนการจัดขอความที่มีน้ําหนักเทา ๆ กันมาเชื่อมโยงกัน เชน ยิ่งรักมากเทาไหร ก็ยิ่งเสียใจมากเทานั้น รักงาย หนายเร็ว มีความรูทวมหัว เอาตัวไมรอด 3.3 จัดความใหก้ํากึง่ กัน เปนการผูกประโยคใหเนื้อความในตอนตนและตอนทายมีน้ําหนักเทากัน เชน ที่ใดมีรักที่นั่นมีทุกข ยามสุขรวมเสพ ยามทุกขรวมตาน อกหักดีกวารักไมเปน 3.4 ใชคําซ้ํา ๆ กัน จะทําใหขอความมีน้ําหนักมากขึ้น เชน เกิดเปนคน เห็นคนเปนคน นั่นแหละคน จงทําดี จงทําดี และจงทําดี 3.5 ใชคําชักนําใหตอบ เปนการใชคําตั้งคําถามทาทายใหตอบ เชน สิ่งสุดทายในชีวิตมนุษยก็คือความตายมิใชหรือ วันนี้เราจะยอมเปนทาสยาเสพติดตอไปอีกหรือ

ระดับภาษา เนื่องจากในสังคมมีกลุมบุคคลระดับตาง ๆ มีโอกาส และสถานที่ในการสือ่ สารแตกตางกัน รวมไปถึง ระดับความสนิทสนมคุนเคยที่แตกตางกัน ดังนั้นการเขียนเพื่อการสื่อสาร สิง่ สําคัญที่ตองคํานึงถึงอีกประการ หนึ่งคือ “ระดับของภาษา” ระดับของภาษา แบงเปน 3 ระดับ คือ ภาษาปาก ภาษาไมเปนทางการ และภาษาทางการ 1. ภาษาปาก (Vulgarism) สวนใหญเปนภาษาพูดมากกวาภาษาเขียน ไมนิยมมาใชเปนภาษาเขียน เพราะถือวาไมสุภาพ ถาจะเขียนก็ตองใชเมื่อเปนคําพูดของบุคคลในเนื้อเรื่อง ภาษาถิ่น ภาษาซื้อขายในตลาด รานคา ภาษาสแลง ภาษาสนทนาระหวางบุคคลที่คุนเคย เปนตน แตในปจจุบันมีการนําภาษาปากมาใชใน งานเขียนบางประเภท เชน หนังสือพิมพ นิตยสาร หรือการอางอิงในลักษณะการคัดลอกคําพูด สวนใหญ นิยมใชเพื่อใหเกิดบรรยากาศและสถานการณที่สมจริง ตัวอยางเชน หลังจากเขี่ยบอลเริ่มเกมครึ่งหลังไดไมกี่อึดใจ พลพรรคสิงหบลูก็ตามตีเสมอเจา ถิ่นไดอยางรวดเร็ว เมื่อแฟรงค แมลพารด มิดฟลดทีมชาติอังกฤษ ลากตะลุยเขาไป กอนตัดสินใจสับไกยิงนอกเขตโทษดวยเทาขวา บอลพุงวาบเสียบตาขายอยางเฉียบขาด เปนประตูยิงเสมอ 1-1 ของเชลซี ~ 24 ~


เด็กสาววัย 12 ปที่เกือบจะตกเปนเหยื่อเดนสังคมใหการตอวา เมื่อลิฟตเปด ออกชายวัยรุนดังกลาวไดสวมวิญญาณสัตวนรกหื่นกามตรงเขามาล็อกคอ พยายามฉุก ลากใหออกมาจากลิฟต แตตนพยายามรองใหคนชวย จนคนรายโมโหชกเขาที่ปากจน แตก อยางไรก็ตาม ไดดิ้นรนกัดฟนสูจนพนเงื้อมมือคนราย แลววิ่งหนีพรอมตะโกนขอ ความชวยเหลือทําใหคนหลายวิ่งหนีโดยหลบไปทางบันไดหนีไฟ 2. ภาษาไมเปนทางการ (Informal Language) หรืออาจเรียกวา ภาษากึ่งทางการหรือกึ่งแบบแผน ภาษาไมเปนทางการเปนภาษาที่ใชกันโดยทั่วไปในชีวิตประจําวัน เขาใจงาย โดยมากมักนํามาใชในงานเขียน ประเภทเรียงความ บทความ สารคดี เพื่อใหเกิดความเปนกันเองไมเครงเครียดจนเกินไป เราสามารถพิจารณาลักษณะของภาษาไมเปนทางการ ไดดังนี้ 1. เปนภาษาสุภาพที่ใชพูดกันในชีวิตประจําวัน 2. เปนคํายอที่ไดรบั การยอมรับ 3. เปนสํานวนโวหารที่ไมหยาบคาย 4. เปนภาษาที่ไมเครงครัด ตลกขบขันเพื่อการผอนคลาย 5. เปนรูปประโยคที่ตัดทอนได แตยังคงความหมายที่ชัดเจน ตัวอยางเชน เรารู กั น อยู ว า สภาพรถติ ด ทํ า ให เ กิ ด การเผาผลาญน้ํ า มัน โดยไร ป ระโยชน เนื่องจากไมไดระยะทาง ซึ่งเปนความสูญเสียมหาศาล แถมยังกอมลภาวะใหกับอากาศ และอารมณสูงยิ่ง แตภาครัฐเองที่ทําใหเกิดขึ้น แนนอนในระยะยาวสะพานขามแยก หรืออุโมงคจะทําใหการจราจรคลองตัวขึ้น แตในระยะสั้นไมแนใจหรือวามีการวางแผน ที่รอบคอบแลวในการขุดกอสรางแตละแหงเพื่อไมใหเกิดผลกระทบตอการจราจรเกิน ความจําเปน ขอโทษนะครับ คุณ เคยเห็นประเทศไหนมั้ยครับ ? ที่เ ขาทั ก ทายกั น แบบมี มารยาท การยกมือขึ้นไหวดวยรอยยิ้ม อาจจะมี แตผมคิดวา ประเทศไทยเรานี่แหละ ครับ ที่ใครมา ใครไปก็ตองอยากมาอีก “รอยยิ้ม” ที่เปนเอกลักษณของเมืองไทยมา นาน รอยยิ้มสามารถแกปญหาไดทุกอยาง...

~ 25 ~


3. ภาษาที่เปนทางการ (Formal language) เปนภาษาที่เปนแบบแผนและถูกตองตามหลักไวยากรณ เหมาะในการใชเขียนเอกสารทางวิชาการ ตํารา หนังสือราชการ เราสามารถพิจารณาลักษณะของภาษาที่เปนทางการ ไดดังนี้ 1. เปนคําหรือขอความทีส่ ุภาพหรือเปนศัพทวิชาการ 2. เปนคําเต็ม ไมใชคํายอ โดยเฉพาะคํานําหนานาม ตําแหนง หรือยศ 3. เปนภาษาระดับเดียวกัน และไมใชภาษาสแลงหรือภาษาถิ่นปน 4. ใชสาํ นวนโวหารที่ไมแสดงอารมณและเปนกลาง 5. เปนรูปประโยคสมบูรณตามหลักไวยากรณ โดยไมตัดทอนใหสั้นลง ตัวอยางเชน ในบรรดาเครื่องดนตรีไทยหนีไมพน เครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตี และเครื่อง เปา โดยจําแนกตามลักษณะวิธีที่ใชบรรเลง แตเครื่องดนตรีที่จะกลาวถึงในโอกาสนี้เปน เครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีด มีชื่อเรียกขานกันมานานวา “จระเข” สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานวาเปนเครื่องดนตรีของชนชาติ มอญ ไดเขามาสูสยามประเทศในสมัยกรุงศรีอยุธยา เปนเครื่องดนตรีที่มีวิวัฒนาการมา จากพิ ณ นิยมใชบ รรเลงเดี่ ยว ตอ มาไดบรรเลงประสมอยูในวงเครื่องสายและมโหรี ตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 2 จนถึงปจจุบัน ภาษาทั้ง 3 ระดับนี้ สามารถนําไปใชสื่อสารไดทงั้ การพูดและการเขียน แตสิ่งที่ตองคํานึงถึงคือ 1. ความเหมาะสมกับเนือ้ หาของเรือ่ งทีจ่ ะเขียน เชน การเขียนชักจูงใจใหเด็ก ๆ ชวยแมทํางานบาน ก็ควรใชภาษากึ่งทางการ หรือใชภาษาปากในการเขียนบทสนทนา 2. ความเหมาะสมกับโอกาสที่ใช ดานเวลา สถานที่ การเผยแพร ตลอดจนการแพรกระจายของการ เขียน เชน ถาเขียนเรื่องที่จะแพรไปสูส าธารณชน ก็ควรใชภาษาแบบทางการ แตถาเขียนอานกันในกลุมเพื่อน ฝูง ก็อาจใชภาษาแบบกึ่งทางการก็ได 3. ความเหมาะสมกับบุคคล

เราตองพิจารณาผูรบั สารของเราดวยวาคือใคร ถาเปนการเขียนถึง

อาจารย ควรเลือกใชภาษาทางการหรือกึง่ ทางการ แตถาเขียนถึงเพื่อนก็ใชภาษากึ่งทางการหรือภาษาปากก็ได ------------------------แหลงขอมูล : บงกช สิ ง หกุ ล (2546). เอกสารประกอบการสอนวิ ช า TH 2333. พิ ม พ ค รั้ งที่ 2. สาขามนุ ษ ยศาสตร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. ~ 26 ~


3. โวหารการเขียน ในการเขียนระดับยอหนา หรือการเขียนขอความที่มีขนาดคอนขางยาว เชน เรียงความ สารคดี บทความ เรื่องสั้น หรือนวนิยาย ควรเลือกใชโวหารการเขียนใหเหมาะสมกับเนื้อความ สํานวนโวหาร หมายถึง การใชลีลาของการเขียนที่อาศัยถอยคําและขอความอยางมีรูปแบบสละสลวย และคมคาย มีลักษณะการปรุงแตงใหเกิดรสของภาษา จําแนกได 5 ประเภท ไดแก

1. การเขียนบรรยายโวหาร การเขียนบรรยาย หมายถึง การเขียนเลาเรื่องหรือเหตุการณใดเหตุการณหนึ่งที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง โดยการแสดงใหเห็นสถานที่เกิดเหตุ สภาพแวดลอม บุคคล ตลอดจนผลที่เกิดขึ้นจากเหตุการณนั้น ๆ หรือ กลาวไดวาเปนการกลาวถึงเหตุการณนั้น ๆ วามีใครทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อยางไร เพื่ออะไร ผลที่ไดเปน อยางไร การเขียนบรรยายจึงเปนการเขียนเพื่อสรางความเขาใจและใหผูอานไดรับทราบขอมูลมากกวาที่จะ เนนใหผูอานเกิดความรูสึกรวมไปกับผูเขียน บรรยายโวหารมักใชในการเขียนทางวิชาการ เชน การเขียนตํารา บทความ ขาว ประกาศ บันทึกตาง ๆ เปนตน หลักการเขียนบรรยาย การเขียนบรรยายมีหลักที่ควรปฏิบัติดังนี้ 1) ใชถอยคํากะทัดรัด อานแลวเขาใจงาย มีความหมายคมคาย 2) บรรยายตามลําดับเหตุการณ โดยไมทําใหผูอานสับสน 3) ควรมีเหตุการณหรือจุดที่ทําใหผูอานประทับใจอยูในบทบรรยายดวย 4) ควรบรรยายอยางตอเนื่ องและอาจแทรกบทพรรณนา ขอคิดเห็น ความรู ความเปนเหตุเปน ผล เพื่อประโยชนของผูอานตามความเหมาะ 4

4

ขอควรคํานึงในการเขียนบรรยาย 1) จุดมุง หมายของการบรรยายก็คือให คนอ านไดเห็ นภาพ คนเขียนจะเลือกบรรยายอะไรบาง ละเอียดแคไหน เรียงลําดับอยางไร ก็ขึ้นอยูกับวาตองการใหคนอาน “เห็น” อะไรแบบไหน ก็คลายกับกลอง ถายหนังวาจะจับภาพที่ตรงไหนกอน กวางแคบแคไหน แลวคอย ๆ เลื่อนกลองไปทางไหน ทีนี้ถาคนเขียนเอง (หรือผูกํากับเอง) ยังไมรูเลย วาจะใหคนอานเห็นภาพ “อะไร” พอบรรยายออกมา มันก็ไมไดภาพที่ชัดเจน คง จะมัว ๆ และคนอานก็คงไมเขาไปอยูในฉากนั้น เหตุการณนั้นกับตัวละครดวย เพราะฉะนั้น ถาไมอยากใหคน อาน “หลุด” กระเด็นออกไปจากฉากนั้น คนเขียนก็จําเปนตอง “อยู” ในฉากนั้น “เห็น” ภาพฉากนั้นใหได กอน

~ 27 ~


2) คนเขียนจะ "เห็นภาพ" ไดอยางไร ก็อาจจะมีหลายวิธี วิธีแรกคือ การสรางภาพขึ้นมากอน วิธีนี้เปนวิธีที่ยืดหยุนที่สุด เพราะทําใหเราเขียนถึงอะไร ๆ ที่ ไมไดมีอยูจริงได ทําใหเราสรางฉาก สรางเหตุการณ หรือกระทั่งสรางโลกใหมขึ้นมาได แตมันก็ทํายาก ตองใช เวลา ตองใชจินตนาการ วิธีที่สอง คือ การเขียนจากที่ตาเห็น วิธีนี้จะเหมาะมาก ๆ กับการบรรยายฉากสถานที่ ดูจากสถานที่ จริง หรือดูภาพถายหลาย ๆ ภาพ แลวเขียนบรรยายออกมา แตขอจํากัดคือ ที่บางที่อ ยูไกล เราไปดูไมได หรือไมสะดวก แยกวานั้นคือ บางที่มันไมมีอยูจริง (เชน คฤหาสนของพระเอก หรือโลกแฟนตาซี) อันนี้ก็ใชวิธี นี้ ไ ม ไ ด วิธีที่สาม คือ การเขียนจากความทรงจํา อันนี้มีประโยชนมาก ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งกับฉากสถานที่ ซึ่งในเรื่องอาจจะมีหลายที่เยอะแยะ เราไมสามารถตามไปดูไดหมดหรือคิดเองไมไหว แตเราอาจจะเคยไปที่ ลักษณะคลาย ๆ อยางนั้นมา ก็อาศัยความทรงจําตอสถานที่ที่เราเคยไป หยิบยืมเอามาออกแบบสถานที่ใน เรื่องของเรา เชน ในเรื่องมีรีสอรต ก็นึกถึงที่ที่เราเคยไปเที่ยวมา เปนตน วิธีที่สี่ คือ ลองทําดู มีประโยชนสําหรับการเขียนภาพเหตุการณที่เปนการเคลื่อนไหว หรือ แอ็คชั่น แลวเรานึกภาพไมออกวา แขนขาหัวตัวพระเอกนางเอกจะไปอยูตรงไหน เราใชวิธีนี้ประจํา ใหลองลุกขึ้นมาทํา ทาทางแบบนั้นดู ใชชวยในการกะระยะก็ได เชน ความสูงของเกาอี้ การลมของนางเอก จะลมทาไหน ใหลงไป อยูในออมแขนพระเอกได คนอานจะไดไมตกใจ วานางเอกตัวยาวเทาเสาไฟฟา ลมอยูตรงนี้แลวหัวไปซบบา พระเอกไดอยางไร วิธีสุดทาย ที่ไมแนะนํา คือการเปดนิยายของคนอื่น แลวหาดูวาเขาบรรยายอยางไร ถาดูแควิธีคิดของ เขา ก็สามารถทําได แตถาจะไปลอกเขา ก็ไมควรทําอยางยิ่ง เพราะมีความเสี่ยงสูง ความเสี่ยงแรกคือ แอบ “ขอยืม” ถอยคําของเขามาใชโดยไมไดตั้งใจ เชน เสาคฤหาสนเขาเปนแบบ นี้ เราก็แบบนี้ ใชคําเดียวกัน หนึ่งคือไปเอาความคิดของเขามา สองคือเอามาแลว อาจจะไมเหมาะกับเรื่อง ของเรา สภาพการณของเราก็ได ความเสี่ยงที่สองคือ อาจจะเผลอยึดติด “สไตล” การบรรยายของเขา และพยายามจะบรรยาย “ดวย สไตลของเขา” แทนที่จะบรรยายดวยสไตลของเรา ผาน “สายตา” ของเรา แตไมใชวาการอานงานของคนอื่น ไมดี การอานมาก ๆ ดีตรงทําใหเรามองเห็นความเปนไปได มองเห็นรูปแบบการบรรยายที่หลากหลาย แงมุม ที่เราไมเคยนึกถึง แตตองอานเปนประจํา สะสมไปเรื่อย ๆ ถึงจะดี มาเปดหาเวลาตองการเขียนบรรยายจะไม ดี 3) ความสมเหตุ ผ ล ถ าเราเขี ยนออกมาแลวคนมองวา ไมเ ห็นมีเ หตุผ ล ไมนาเชื่อ เลยสัก นิด ตัวอยางเชน “ในการไปทํางานของผมตองอาศัยเรือขามฝากใตสะพานพระราม 8 เปนประจํา” อานแลวก็ดู ไมมีอะไร แตถาคนเขารูวา ปจจุบันใตสะพานพระราม 8 ยังไมมีเรือขามฝาก เรื่องก็ไมสมจริง 4) ถาอยากบรรยายใหไหลลื่นก็คงตองเขียนใหบอย ๆ

~ 28 ~


5) พยายามอยาคิดเปนประโยคความซอน ที่มีคําวา “ที่/ซึ่ง/ผู” เพราะเราพยายามใสอะไรหลาย ๆ อยางเขาไปไวในประโยคเดียว จึงขยายประธาน กริยา กรรม มากเกินความจําเปน จะขยายก็ตองมีคําเชื่อม พวกนี้ทุกที ทําใหรูสึกวาอานยาก เขาใจยาก ตองประมวลความคิดนาน วิธีแกคือใหคิดอะไรเปนประโยคสั้น ๆ 6) การบรรยายคือสรางภาพในจินตนาการของผูอานใหเห็นภาพตาม หากจนหนทางจริง ๆ ก็ลองใช “ประสบการณรวมของคนหมูมาก” แทรกเขาไป คนอานก็จะเห็นภาพไดชัดเจนขึ้น เชน ...หากแกนึกถึงภาพของพระบรมมหาราชวัง ราชธานีศรีอยุธยาไมออก ก็ลองนึก ภาพพระบรมมหาราชวัง -วัดพระแกวดูซี ที่ก รุง เทพสวยงามยัง ไง ที่อ ยุธยาอาจจะ สวยงามยิ่งกวานั้น เพราะตอนสรางพระบรมมหาราชวังที่กรุงเทพนี่ รัชกาลที่หนึ่ง ทาน เกิดทั นครั้ ง อยุ ธยายั งรุ งเรื องดี ทานก็พ ยายามจํ าลองแบบพระบรมมหาราชวั งครั้ ง บานเมืองยังดีนั่นมาใหใกลเคียงที่สุดเทาที่จะทําได..." เปนตน ตัวอยางนี้ จะเห็นวา ภาพที่เปนประสบการณรวมของชนหมูมากก็จะปรากฏขึ้นทันทีในใจของผูอาน (http://nathanon.com เขาถึงเมื่อ 25 พฤษภาคม 2554)

การเขียนบรรยายประเภทตาง ๆ 1.1 การเขียนบรรยายบุคคล การเขียนบรรยายบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ควรกลาวถึงขอมูลพื้นฐานที่ จําเปนกอน แลวเรียงตามลําดับการสังเกตเห็นตั้งแตภายนอกแลวจึงถึงระดับจิตใจ สามารถแยกเปนขอได ดังตอไปนี้ 1. เพศ 2. วัยโดยประมาณ หรือบอกอายุที่ชัดเจน 3. รูปรางลักษณะเดน (เห็นเดนชัดดวยสายตา) เชน ขนาดความสูง ผิวพรรณ แขนดวน ตาบอด 4. ลักษณะยอยที่เดนเปนพิเศษ (เห็นดวยการสังเกต หรือตองใหผูนั้นมีการกระทําจึงจะ ทราบ) เชน เสียงแหบ ทาเดิน สีของเครื่องแตงกาย(เพราะแตละวันไมเหมือนกัน) 5. ลักษณะนิสัยและอารมณ เชน สุขุม เอื้ออารี ขี้เลน ใจรอน หรือบอกกริยาที่กําลังทํา อยูในขณะนั้นซึ่งเปนการกระทําชั่วคราว เชน นั่งหลับ นั่งอานหนังสือ 6. สรุปความรูสึกที่คนทั่วไปพึงมีเมื่อพบเห็นคนนั้น เชน เปนคนนานับถือ เปนคนไมนา ไววางใจ เปนคนนาสงสาร 7. อาจกลาวถึงอาชีพที่ประกอบก็จะชวยใหผูอานสรางจินตนาการและเห็นภาพไดชัดเจนขึ้น

~ 29 ~


ตัวอยางการบรรยายบุคคล ขงเบงรูปรางใหญโต สูงถึงหกศอก สีหนาขาวเหมือนไขหยวก แตงตัวโอโถง ทาทีเปนอาจารยผูใหญ (สามกก) คุณสายเปนคนเจาเนื้อ หนาตาเปนคนมีอารมณดี ผิวเนื้อสองสี ถึงแมเปนคนมี อายุม ากแลว และผมที่ตัดสั้นตามสมัยนั้นหงอกประปราย คุณสายก็ยังไมมีใบหนาที่ แสดงริ้วรอยของความโกรธหรือความทุกขที่ผานมา คุณสายนุงผาลายขัดสีเหล็ก หม ผาแถบสีจําปา นอนคว่ําอยางสบายอยูบนพื้นกระดานที่เย็น (สี่แผนดิน) 1.2 การเขียนบรรยายสถานที่ ควรบอกสิ่งตาง ๆ ดังตอไปนี้ 1. ลักษณะของสถานที่นั้น เชน ถวย หนอง คลอง บึง ภูเขา เนินเขา 2. สถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร เชน บอกวาอยูตําบลอะไร อําเภออะไร หรืออยูตรงไหนของ สถานที่ใหญ เชน ตรงกลางหอง ชายปา ริมแมน้ํา 3. ลักษณะเดนของสถานที่นั้น เชน ขนาด รูปทรง 4. ลักษณะยอยที่สําคัญ มีอะไรที่เปนสวนประกอบพิเศษ ควรเปนลักษณะที่ถาวร 5. บอกความเกี่ยวโยง หรือความสําคัญกับเรื่องที่ตองการเลา (ในกรณียกตัวอยาง หรือ เปรียบเทียบ) 6. บอกเวลาและบรรยากาศในขณะที่เอยถึง หรือบรรยากาศที่ปรากฏอยูตลอดเวลา ตัวอยางการเขียนบรรยายสถานที่ รานตกเบ็ด เขาทําเปนสระและหอสลากเปนรูปสัตวน้ําตาง ๆ อยูในนั้น มีเบ็ด ติดแมเหล็กไวตรงปลาย ใครจะตกเบ็ดก็เสีย 1 บาท แลวยื่นเบ็ดลงไปในสระ หอสัตว เหลานั้นมีเหล็กอยูขางในดวย ก็กระโดดขึ้นมาติดเบ็ด (ความสนุกในวัดเบญจมบพิตร) ลักษณะทั่วไปของเรือนลานนามีใตถุนสูง พื้นที่ใชสอยประกอบดวยชานกวาง ที่มี บันไดหลักขึ้นเรือนทางดานหนา จากชานโลงหนาบานหรือชานใตหลังคาบริเวณขอบริม ชานดานใดด านหนึ่ ง จะมีหิ้ง สําหรับวางหมอน้ําดื่มพรอมที่แขวนกระบวย ภาษาพื้ น ถิ่น เรียก “ฮานน้ํา” บริเวณนี้เปนสวนเชื่อมพื้นที่ตางๆ ของเรือน ถัดจากชานเปนหอง โถงเปดโลงยกสูงจากระดับชานประมาณหนึ่งถึงสองคืบเปนพื้นที่อเนกประสงคสําหรันั่ง เลน รับประทานอาหาร รับรองแขก ทําบุญเลี้ยงพระ เปนตน ภาษาลานนา เรียก "เติ๋น” บริเวณนี้กั้นฝาเต็มดานเดียว และสรางที่เก็บของบนเพดานโปรงใตหลังคา โดย ~ 30 ~


ทํ า เป น ตะแกรงไม ไ ผ ห รื อ ไม เ นื้ อ แข็ ง สํ า หรั บ เก็ บ ของจํ า พวกขั น โตก น้ํา ตะกรา เปนตน

คนโท

ภูเขาไฟฟูจิเปนภูเขาศักดิ์สิทธิ์ทสี่ ุดในประเทศญี่ปุนมาหลายศตวรรษแลว แต แรกภูเขานี้เปนที่เคารพบูชาของชนพื้นเมืองเผาไอนุซึ่งปจจุบนั ยังอยูตามหมูเกาะฮอกไก โด ซึ่งเปนเกาะใหญ ที่อยูเหนือสุดชาวไอนุขนานนาม ภูเขานี้ตามชื่อเทพธิดา “ฟูชิ” ( fuchi) ผูเปนเทพธิดาแหงอัคคี ชาวญี่ปุนยังคงนับถือภูเขาไฟฟูจิตอมา และเรียกชื่อ ตามที่พวกไอนุตั้งไว บรรดาผูนับถือศาสนาชินโตเชื่อวาในธรรมชาติทุกรูปแบบจะมี เทพ หรือ กามิ ( kami ) สถิตอยู แตเทพที่สถิตในภูเขาจะศักดิ์สิทธิ์เปนพิเศษ ภูเขาฟูจิ ซึ่งสูงทีส่ ุดและงามทีส่ ุดในประเทศ จึงไดรบั ความเคารพเปนพิเศษ เพราะถือวาเปน สถานที่สถิตของทวยเทพ เปนจุดเชื่อมโยงระหวางความ ลึกลับของสวรรค และความ เปนจริงของโลกมนุษย (โลกพิสดาร แดนพิศวง) 1.3 การเขียนบรรยายสิ่งของ/สัตว มีหลักในการเขียนดังนี้ 1. บอกสามานยนามวาสิ่งนั้นคืออะไร 2. บอกลักษณะเดนของสิ่งนั้น 3. บอกลักษณะยอยที่สําคัญ ถาเปนของใหมอาจเปรียบเทียบกับสิ่งสิ่งที่เปนที่รูจักอยูแลว 4. บอกประโยชนใชสอยโดยทั่วไป 5. บอกวาสิ่งนั้นอยูที่ไหน อยูในลักษณะใด 6. บอกวาสิ่งนั้นเกี่ยวกับเรื่องที่เขียนอยางไร (ในกรณียกตัวอยาง หรือเปรียบเทียบ) ตัวอยางการเขียนบรรยายสิ่งของ ตัวปากเปด เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม มีปากและเทาเหมือนเปด เล็บยาว หาง แบน ชอบวายน้ํา และวายน้ําเกง ทั้งตัวมีขนคลายผมคน ขนละเอียดและหนาสีน้ําตาล ปนเทา ชอบขุนโพรงอยูตามริมลําธาร โดยขุดจากใตน้ําทะลุขึ้นมาบนพื้นสรางดิน พบ ในประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด และเกาะนิวกีนี เปนตน อายแดง เปนมีดยาวของชาวภาคใต รูปคลายดาบแตปลายตัด ปลายสวนคม เชิดและยาวกวาปลายสวนสัน ตัวมีดดานสันโคงงอนและเรียวลงไปหาดาม ดานนิยมทํา ดวยเขาสัตวหรือไมปลายดามผายออกเล็กนอย และงอนไปขางหนาพองาม ใชเปนอาวุธ ประจํากาย และอาจใชหวดหรือฟนไดอยางดาบและพรา

~ 31 ~


1.4 การเขียนบรรยายเหตุการณ การเขียนบรรยายเหตุการณอาจเขียนเรียงลําดับตั้งแตเริ่มตนจนกระทั่งเหตุการณนั้นสิ้นสุด หรืออาจ ใชกลวิธีการนําเสนออื่น ๆ เพื่อสรางความนาสนใจและติดตาม เชน การเลาเหตุการณจากจุดจบยอนไปที่สุด เริ่มตน หรืออาจเปนการเลาสลับไปสลับมาก็ได แตตองไมสรางความสับสนแกผูอาน เพราะการเลาเรื่อง สลับไปสลับมาแบบมีการวางโครงเรื่องไวอยางดีแลว กับการเขียนสลับไปมาเพราะจั ดลําดับความคิดของ ตนเองไมไดแลวเขียนตามที่นึกคิดออกยอมแตกตางกัน ตัวอยางการเขียนบรรยายเหตุการณ พระองคหนึ่งไปหาหมอดู หมอทายวาพระตองตายในไมชานี้แนนอน ใหกลับไป ขอขมาลาโทษพอแมเสียเถอะ พระก็กลับมานั่งวิตกถึงตัวเอง ก็มองไปเห็นหนองน้ําแหง มีปลากําลังจะตายเพราะขาดน้ําอยู ก็คิดวาตัวเราเองก็จะตายเหมือนปลานี้ก็เอาผาอังสะปู แลวจับปลาและสัตวที่อยูในหนองน้ํานั้นมาไวในอังสะไปปลอยน้ํา และอธิฐานขอใหตน พนจากความตาย ดังที่ตนไดชวยใหปลานี้รอดตาย และพระองคนั้นจึงไมตาย จากเหตุนี้ เองจึงมีประเพณีปลอยปลามาจนทุกวันนี้ (ดวยปญญาและความรัก นิทานชาวเมืองเหนือ : เวานเพลงเออ) ลักษณะการเขียนอีกแบบหนึ่งของบรรยายโวหารคือ การเขียนอธิบาย นํามาใชเปนสวนเสริมหรือ ขยายความใหกระจางเพิม่ มากขึ้น มักใชในการอธิบายกระบวนการ การวิเคราะหหรือจําแนกเนื้อหาออกเปน ประเภทหรือเปนพวก มีหลายลักษณะ เชน การใหคํานิยามหรือคําจํากัดความ การชี้สาเหตุและผลลัพธที่ สัมพันธกัน การอธิบายตามลําดับขั้น เปนตน

2. การเขียนพรรณนาโวหาร การพรรณนา เปนการเขียนที่ใชสําหรับพรรณนาเรื่องราว ความรู ความรูสึกนึกคิด อยางละเอียด เปนการสอดแทรกอารมณเพื่อใหผูอานคลอยตาม การเขียนพรรณนาโวหารใชสําหรับการชมความงามของ ธรรมชาติ สถานที่ บุคคล ความดีงามของบุคคลที่ไดกระทําไว สิ่งที่เปนนามธรรม หรือสิ่งที่เกี่ยวของกับ อารมณความรูสึก สํานวนที่ใชจะเปนคําที่มีความหมายลึกซึ้งมองเห็นภาพเดนชัด ทําใหผูอานเกิดความซาบซึ้ง และประทับใจ การเขียนพรรณนาตางจากบรรยายในประการสําคัญคือ การพรรณนาไมมีการดําเนินเรื่อง แตเปน การใหรายละเอียดของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง สิ่งนั้นอาจเปนบุคคล วัตถุ สถานที่ หรืออะไร ๆ ก็ได ผูพรรณนามัก ใชภาษา และกลวิธีที่ทําใหผูอานเกิดความรูสึกหรืออารมณรวม พรอมทั้งเห็นภาพของรายละเอียดไดอยาง ชัดเจนแจมแจง (กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. 2527 : 105)

~ 32 ~


หลักการเขียนมีดังนี้ 1) เรื่องทีเ่ ขียนอาจไมเครงเครียดในเรื่องของขอเท็จจริง แตตองมีความสมจริง 2) ผูเขียนใชวิธีเขียนที่สรางภาพใหผูอานมองเห็นและมีความรูสกึ คลอยตาม 3) ผูเขียนตองเลือกสรรถอยคําทีส่ ามารถสื่อความหมาย สือ่ ภาพ สื่ออารมณไดอยางชัดเจน เหมาะ กับเรื่องและรูจักใชภาษาภาพพจน เชน อุปมา อุปลักษณ ภาษาเกินจริง การเลนเสียงพยัญชนะ หรือการ เลียนเสียงธรรมชาติมาประกอบ 2.1 การพรรณนาบุคลิกลักษณะของบุคคล วัตถุสิ่งของ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ทานเปนบุคคลที่มีสติปญญาเฉียบแหลมมีปฏิภาณ ไหวพริบดีเ ยี่ยม ทานไมเคยวางตัวแบบเจายศเจาอยางซึ่งเปนบุคลิกที่นาเลื่อ มใสยิ่ง... ทานมีบุคลิกภาพที่ผสมผสานอยางลงตัวและนาสนใจ กลาวคือ ทานเปนผูที่จงรักภักดี ตอสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยอยางยิ่ง เปนที่ประจักษตอสาธารณชนมาโดย ตลอด อี ก ทั้ ง เป นผู ก ล าหาญ มีก ารตัดสินใจที่เ ฉียบขาด เปนนัก บุก เบิก และมี ความคิดสรางสรรค ดังเชนแนวคิดในการ “เปลี่ยนคาบสมุทรอินโดจีนจากสนามรบเปน สนามการคา” และ การเปนผูเริ่มกอตั้ง “สมาคมมิตรภาพไทย-จีน” เปนตน 2.2 การเขียนพรรณนาธรรมชาติ ตะวันสีหมากสุกอบอุนขึ้นทีป่ ลายฟา ชาวบานชาวชองหนาตาขึ้น พรอมกับ สรรพสําเนียงของชีวิตในวันใหม นกบินออกจากรัง เงาสีเทาทาบทับไปตามถนนรนแคม เหมือนความหวังทีท่ อดยาวออกไปเหมือนลมหายใจของชาวถิ่นที่สืบทอดและคงอยู ทะนุ ถนอมและปกปองบานเมือง (คนทายรถ ของ พิบูลศักดิ์ ละครพล) ปลากระทะมีรูปรางคอนขางเปนสี่เหลี่ยมปอมแบนขางมากมีครีบหลัง ติดเปนอันเดียว ซึ่ง แบง เปนกานแข็ง และซี่ออ น สวนครีบกนมีกานแข็งสี่อันและยาว ไลเลี่ยกัน เกล็ดละเอียดสีเขม ดานทองมีจุดดํา กลมใหญและเล็กสลับกันกับตัวและมี เปนจํานวนมากที่ตอนบนหลัง ปลาชนิดนี้ตามปกติอยูในทะเล แตสามารถจะเขาอาศัย ในน้ําจืดได ชอบกินของเนาเสีย ขณะที่ตัวยังเล็กอยู มีผูที่ชอบเลี้ยงในอางแกวไวดูเลน (สารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลม 2)

~ 33 ~


วาวสีขาวตัวเล็ก ๆ หอยติดอยูกับสายไฟตรงโคงซอยหนาบาน มันสายหางยาว ออนลาครั้นที่ลมเรผานคลายสงสัญญาณออดออนจะบอกตนเสาไฟฟาไมที่โยอยูในคูน้ําวา ใหปลอยไปเถิด เจาก็เหนื่อยมากนักหนาแลว ... ฤดูรอน ลมแรงพัดหวนเคลาใบกลวยใน สวนลึก ฟงแลวคลายเสียงคลื่นจากทะเล นกรองเพลงในยามเชา ดาวรองไห ในยามดึก ชีวิตมีทั้งสุขและเศรา และมีอารมณหลากหลายที่แปรปรวนไปไดราวกับสาย ลมนั้น ภาพพฤกษาพันธุใหมยืนตระหงาน เหมือนเลือนรางวากานกอชูชอไสว เหมือนเขียวชอุมพุมพฤกษและกวัดไกว เหมือนหยดน้ําใสใสสะทอนกอนหลนดิน อกอุนนาจากน้ําจากไอฟา ออมโอบเอือ้ มกอดภูผาหิน ปุยเมฆขาวลอยลองเปนอาจินต พาชีวินสุดสิ้นลับนิรันดร (เรียงรอยพรรณนา ละเมอ ฝน ชีวาดับ) 2.3 การเขียนพรรณนาอารมณความรูสึก …พระผูเปนเจาทรงละทิ้งขาพระองคเสียแลวพระราชาทรงพระคํานึงนึกอยาง ปวดร าวในพระทัย...เราพายแพในสงคราม ลูกที่ เรารั กก็ตายไปจากอก สวนคนที่กิ น แหนงแคลงใจกลับเปนคนที่เราตองพึ่งพา...แมแตเมียคนที่เรารักมากที่สุดก็ทรยศตอเรา ปนใจใหชายอื่นไมมีอะไรเหลือสําหรับคนแกที่เจ็บ ๆ ไข ๆ คนนี้เลย...แลวอยางนี้เราจะมี ชีวิตอยูตอไปเพื่ออะไรกันเลา แมวายังหนุมแนน เราจะเต็มไปดวยความพรั่งพรอมสมบูรณแทบจะเรียกวาเปน ผูครองโลก...แตนั่นมันจะมีความหมายอะไร ในเมื่อบัดนี้เราหมดสิ้นทุกสิ่งทุกอยาง... (แคเธอรีน เด เมดิชี กฤตนาราชินี ของ นิดา)

3. การเขียนเทศนาโวหาร การเขียนเทศนา หมายถึง การเขียนอธิบาย ชี้แจงใหผูอานเขาใจ ชี้ใหเห็นประโยชนหรือโทษของเรือ่ ง ที่กลาวถึง มีจุดมุงหมายเพื่อใหผูอานคลอยตามหรืออาจกลาวไดวามุงชักจูงใหผอู าน คิดเห็นหรือคลอยตาม ความคิดเห็นของผูเขียน หลักการเขียนเทศนาโวหาร การเขียนเทศนาโวหารตองใชโวหารประเภทตาง ๆ มาประกอบ กลาวคือทั้งใชบรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร รวมทั้งอุปมาโวหาร และ สาธกโวหารดวย ทั้งนี้เพือ่ ใหใจความชัดเจน แจมชัด สามารถชักจูง ใจผูอานใหคลอยตามความคิดของผูเขียนได ทั้งนี้ยังตองอธิบายชี้ชัดใหเห็นถึงโทษ ประโยชนอยางมีเหตุผล ซึ่งรูปแบบงานเขียนที่ควรใชเทศนาโวหารคือ งานเขียนประเภทบทความชักจูงใจ หรือบทความแสดงความ คิดเห็น ความเรียง เปนตน ~ 34 ~


ตัวอยาง การทําความดีนั้น เมื่อทําแลวก็แลวกัน อยาไดนํามาคิดถึงบอย ราวกับวาการ ทําความดีนั้นชางยิ่งใหญนัก ใครก็ทําไมไดเหมือนเรา ถาคิดเชนนี้ ความดีนั้นก็จะเหลือ เพียงครึง่ เดียว แตถาทําแลวก็ไมนานํามาใสใจอีก คิดแตจะทําอะไรตออีกจึงจะดี จึงจะ เปนความดีทสี่ มบูรณ ไมตกไมหลน การทําจริงนี้ไมใชของยาก ขอใหมีความคิดริเริ่มไวบาง ไมใชเอาอยางคนอื่น เขาอยูเรือ่ ย ๆ ซึ่งทําใหคนลมละลายมามากตอมาก และตองมีความคิดแนวแน มีความ ตั้งใจจริง มีความอดทน พากเพียรพยายาม อยาใชเวลาวางใหเสียประโยชน ทีผ่ าน ๆ ไปแลวก็ขอใหตั้งตนกันใหม เอาจริงทําจริง และทําใหดจี ริง ๆ

4. การเขียนสาธกโวหาร การเขียนสาธก คือ การเขียนที่มุงใหความชัดเจน โดยการยกตัวอยางเพื่ออธิบายใหแจมแจงหรือ สนับสนุนความคิดเห็นที่เสนอใหหนักแนน นาเชื่อถือ หลักการเขียนสาธกโวหาร คือ ตองสามารถเลือกใชใหเหมาะสมกับโอกาส เหมาะสมกับจุดมุง หมาย และเขียนไดอยางถูกตอง จึงควรเลือกใหเขากับเนื้อความ อาจยกตัวอยางสั้น ๆ ในบรรยายโวหารหรืออาจ ยกตัวอยางที่มรี ายละเอียดประกอบในพรรณนาโวหาร และเทศนาโวหาร เปนตน ตัวอยาง ความเปนผูม ีสติปญญามีความสามารถ หากวาจะเปนของที่หยิบยื่นใหกันได ถาเราบรรจุยามใหคนบางคนไปเปนเครื่องหากิน มันเดินไปตามทางพบหมากัดกันเขา มันหยุดดูเพลินเสียประเดี๋ยวเดียวสติปญญาก็คงตกหาย ยามก็คงสูญ บางคนใหแตยามมัน เปลา ๆ มันก็ยังเก็บหนูตายไปเปนอาหารแมว ไดทรัพย 1 กากะณึก มาซื้อน้ําตาลกับน้ํา ดื่มแลกดอกไมจากนายมาลาการ จนมั่งมีขึ้นทุกชั้นแลว ยังจะทํากรงหับตอเอาสติปญญา ของคนอื่นไปเก็บลงยามไวดวยเสียอีก คนเราตองเอาอยางมด อยาไปเอาอยางหนอน เพราะมดนั้นมันจะตัวเล็กนิด เดียว แตก็ขยันขันแข็ง สามารถลากเหยือ่ ชิ้นใหญ ๆ ไดสบาย แตถึงกระนั้นมันก็กลับกิน อาหารแตนอย จนเอวคอดกิ่ว ผิดกันกับหนอน ซึง่ เกียจคราน เอาแตกินทั้งวัน โดยไม ทํางานทําการอะไร จนตัวอวนอุยอาย ผลสุดทายก็กลายเปนเหยื่ออันโอชะของนกของ ปลา

~ 35 ~


อํานาจความสัตยเปนอํานาจที่ศักดิ์สทิ ธิ์ ไมเพียงแตจับหัวใจคน แมแตสัตวก็ยังมี ความรูสึกในความสัตยซื่อ เมื่อกวนอูตายแลว มาของกวนอูก็ไมยอมกินหญากินน้ํา และ ตายตามเจาของไปในไมใช ไมยอมใหหลังของมันสัมผัสกับผูอื่น นอกจากนายของมัน ถาเธอไมอยากอยูกบั ฉันจริงจริง ยินยอมทุกสิง่ ใหเธอทิง้ ไป ฉันขอแคเพียงให เวลาหนอยไดไหม อยากเลานิทานใหฟง ชาวนาคนหนึ่งมีชีวิตลําพัง ไปเจองูเหากําลังใกล ตายสงสาร จึงเก็บเอามาเลี้ยงโดยไมรู สุดทายจะเปนอยางไร คอยดูแลดวยความจริงใจ หวงใย และคอยใหความรักเปนกังวลวามันจะตาย เฝาคอยเอาใจทุกอยาง แตสุดทาย ชาวนาผูชายใจดี ดวยความ ที่เขาไวใจ นาเสียดายกลับตองตาย ดวยพิษงู นิทานมันบอก ใหยอมรับความจริง วามีบางสิง่ ไมควรไวใจ อะไรบางอยางที่ทําดีซกั แคไหน ไมเชื่อง ไมรัก ไมจริง

5. การเขียนอุปมาโวหาร การเขียนอุปมา เปนการเขียนเปรียบเทียบ โดยนําสิง่ ที่คลายคลึงกันมาเปรียบเพื่อใหเกิดความชัดเจน ดานความหมาย ดานภาพ และเกิดอารมณความรูสกึ มากยิ่งขึ้น ซึ่งอุปมาโวหารใชเปนโวหารเสริม บรรยาย โวหาร พรรณนาโวหาร และเทศนาโวหาร เพื่อใหชัดเจนนาอาน โดยอาจเปรียบเทียบอยางสั้น ๆ หรือ เปรียบเทียบอยางละเอียดก็ได ทัง้ นี้ขึ้นอยูกับอุปมา โวหารนัน้ จะนําไปเสริมโวหารประเภทใด ตัวอยาง อันวาแกวกระจกรวมอยูกบั สุวรรณ ยอมไดแสงจับเลื่อมพรายคลายมรกต ผูทโี่ ง เขลา แมไดอยูใกลนักปราชญ ก็อาจเปนคนเฉลียวฉลาดไดฉันเดียวกัน ความโกรธ ความอิจฉาพยาบาท เปนสิ่งทีท่ ุกคนตองยอมรับวาไมดี แตนอยคนที่ จะระงับโกรธได เหมือนกับยาเสพติดที่ทกุ คนเลิกยาก ทั้งทีย่ อมรับวาเปนอันตรายตอชีวิต ในกรณีนี้ตองใชวิธีแผเมตตา อันวานายชางผูเชี่ยวชาญ กอสรางปราสาทมโหฬาร ยอมเพิม่ รูปศิลา จําหลักไว ในที่สมควรตามทํานอง มิใชจะเปนเครือ่ งประดับเทานั้น แตยังใชประโยชนรองรับหรือค้ํา จุนที่บางแหงนั้นไดดวย ขอความนี้อุปมาฉันใด พระศาสนาในบางคราวยอมทรงชักเอา เรื่องเปรียบเทียบเปนภาษิตที่นาฟงและสมดวยกาลสมัยขึ้นแสดงก็อปุ มาฉันเดียวกัน เชาวันตอมา พระอาทิตยทอแสงอันแจมใสเมื่อรุงอรุณ น้ําฝนที่ติดอยูตามใบไม กอหญาตองแสงอาทิตยเปนประกาย เมฆฝนที่ทะมึนอยูเมื่อกลางคืนเหลือในสภาพเหมือน ปุยนุนเล็ก ๆ ที่ถูกลมพัดปลิวไปติดขอบฟา นกยางฝูงหนึง่ บินผานทองน้ําตรงคุงสําเภาไป อยางเชื่องชา มุงหนาไปหากินกลางทุง ธรรมชาติลืมโทสะทีบ่ ังเกิดขึ้นเมื่อตอนกลางคืนนั้น แลวสิ้นและเริม่ วันใหมดวยอาการอันแจมใสเหมือนกับเด็กทีย่ ิ้มเบิกบานทัง้ น้ําตา

0

~ 36 ~


---------------------แหลงขอมูล : ดวงใจ ไทยอุบุญ. (2552) ทักษะการเขียนภาษาไทย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บงกช สิ ง หกุล . (2546). การเขี ยนเพื่ อ การสื่ อ สาร. เอกสารประกอบการสอนวิ ชาการเขี ย นเพื่ อการสื่ อสาร สาขาวิ ช า มนุษยศาสตร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. วชิรนที วงศศิริอํานวย. (2544). ทักษะการใชภาษาไทย. เอกสารประกอบการสอนวิชาทักษะการใชภาษาไทย มหาวิทยาลัย พายัพ. สุทิติ ขัตติยะ. (2551) ศาสตรการเขียน. กรุงเทพฯ : สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยเพื่อการศึกษา.

~ 37 ~


4. การเขียนยอหนา (Paragraph) การเขียนยอ หนาเปนพื้นฐานของการเขียนในระดับที่สูง ขึ้น เชน เรียงความ บทความ สารคดี รวมถึง นวนิยาย และเรื่องสั้น ดังนั้นการจะพัฒนางานเขียนตาง ๆ ใหดีขึ้นควรเริ่มตนจากการฝกเขียนยอหนา ใหมีเอกภาพ

ความหมายของยอหนา ยอหนา หรือ “อนุเฉท” หมายถึง ขอความตอนหนึ่ง ที่เขียนรนเขาไปจากแนวกระดาษดานซาย ประมาณ 5-10 ตัวอักษร เปนขอความซึ่งมีใจความสําคัญเพียงเรื่องเดียว และมีประโยคขยายใจความสําคัญ ใหไดใจความสมบูรณ

ความสําคัญของยอหนา 1. แตละยอหนาจะบรรจุความคิดสําคัญที่ผูเขียนตองการนําเสนอและชวยใหผูเขียนลําดับเรื่อง เหตุ ผลไดอยางตอเนื่องไมสับสน ในขณะที่ผูอานก็สามารถเขาใจเรื่องไดงาย เปนลําดับขั้นตอน มองเห็นเหตุผล ไดชัดเจนยิ่งขึ้น 2. ยอหนาชวยใหผูอานมีโอกาสคิดคิดพิจารณาเนื้อหากอนที่จะขึ้นประเด็นใหมในยอหนาตอไป 3. ยอหนาทําใหผูอานไดพักสายตา พักสมอง 4. ยอหนาชวยใหผูอานเห็นความสัมพันธของแตล ะประโยค เพราะแตละยอหนาจะมีการจํากั ด ความคิดเพียงประเด็นเดียว โดยมีประโยคหลักและประโยคขยายความ 5. ยอหนาทําใหรูปแบบการเขียนงดงาม

ความยาวของยอหนา ยอหนาแตละยอหนาจะสั้นยาวเพียงใดไมสําคัญ บางยอหนาอาจมีเพียงประโยคเดียว สองประโยค หรือหลาย ๆ ประโยคก็ได แตที่สําคัญคือ ตองอธิบายความคิดไดอยางชัดเจน แตที่ควรระวังก็คือ ไมควร เขียนยอหนาสั้นหรือยาวจนเกินไป ยอหนาที่สั้นเกินไปไมควรมีบอยเพราะจะทําใหขาดความสําคัญ ผูอานอาจเกิดความรําคาญที่ตอง หยุดบอย ๆ ทําใหความสนใจตองหยุดชะงักไปดวย ผูอานอาจไมเขาใจจุดมุงหมายและไมสามารถเชื่อมโยง

~ 38 ~


ความคิดใหตอเนื่องกันได การเขียนยอหนาสั้น ๆ สามารถกระทําได ในกรณีที่ตองการเนนย้ําใหเห็นความคิด สําคัญนั้น หรือเปนการสรุปความเห็น ไมเขียนยอหนายาวจนเกินไปจนกระทั่งมีความคิดหลายความคิดปะปนกัน และยอหนาที่ยาวเกินไปก็ ที่ใหผูอานเกิดความเมื่อยลา เบื่อหนาย บางครั้งไมสามารถจับประเด็นสําคัญได โดยทั่ วไปยอหนาควรมีความยาวประมาณ 4 บรรทัด เปนอยางนอย แตไมควรเกิน 8-1 บรรทัด ความสั้นยาวของยอหนาในเรื่องหนึ่ง ๆ ไมควรแตกตางกันมาก เชน ยอหนาแรก 20 บรรทัด ยอหนาถัดไป 5 บรรทัดบาง 3 บรรทัดบาง ซึ่งจะทําใหไมสวยงามและไมเกิดความสมดุล

องคประกอบของยอหนา ในยอหนาแตละยอหนาประกอบไปดวยสวนสําคัญ 2 สวน คือ ใจความสําคัญ และประโยคขยายความ 1. ใจความสําคัญ หรือประโยคใจความสําคัญ คือ ความคิดสําคัญที่ผูเขียนมุงเสนอแกผูอาน ความคิด หลักนี้ผูเขียนจะตองแปรออกมาเปนประโยคใจความสําคัญ แตถาผูเขียนไมเขียนออกมาเปนประโยคใจความ สําคัญ ยอหนานั้นก็จะไมมีประโยคใจความสําคัญ ผูอานจะตองเปนผูจับความคิดหลักของผูเขียนเอง 2. ประโยคขยายความ คือ ประโยคที่มุงขยายความหรือ ใหรายละเอียดความคิดหลัก หรือประโยค ใจความสําคัญใหชัดเจนยิ่งขึ้น

หลักการเขียนยอหนา ในการเขียนยอหนาผูเขียนควรตั้งประเด็นคําถามดังนี้ 1. มีจุดประสงคอะไร ตองการใหผูอานตอบสนองอยางไร 2. ความคิดที่จะเขียนนั้นจะสรุปเปนประโยคเดียวไดวาอยางไร (คิดหาประโยคใจความสําคัญ) 3. จะเรียบเรียงความคิดอยางไร อะไรกอน-หลัง 4. จะนําความคิ ดย อ ย ๆ มาเขียนอย างไร ในปริม าณเพียงไรจึง จะทําใหบรรลุผลตามวัตถุป ระสงค (การคัดเลือกขอมูล)

~ 39 ~


ชนิดของยอหนา การแบงประเภทหรือชนิดของยอหนาทําได 2 ลักษณะ คือ แบงตามหนาที่ และแบงตามกลวิธีเสนอ ใจความสําคัญ 1. แบงตามหนาที่ (สุชาติ พงษพานิช. ม.ป.ป. : 199-201) ปรีชา ชางขวัญยืน กลาววายอหนามี 4 ชนิด คือ ยอหนานําความคิด ยอหนาแสดงความคิด ยอหนาโยงความคิด และยอหนาสรุปความคิด 1.1 ย อหน า นํา ความคิด คือ ยอ หนาที่ใชบอกจุดประสงคของเรื่อ งที่เ ขียน หรือ บอก ประเด็นหลักของเรื่องทั้งหมด ยอหนานี้จะทําใหผูอานเขาใจลักษณะของเรื่องและสนใจที่จะอานเนื้อเรื่อง ตอไป บางคนเรียกยอหนาชนิดนี้วา ยอหนาคํานําหรือสวนนํา 1.2 ยอหนาโยงความคิด คือ ยอหนาที่ใชเชื่อมระหวายอหนา มักใชกรณีที่ความคิดของทั้ง สองยอหนาเปนคนละประเด็นกันหรือไมเกี่ยวของกัน ยอหนาชนิดนี้จะชวยเชื่อมโยงสิ่งที่ไมสัมพันธกันเขา ดวยกัน 1.3 ยอหนาแสดงความคิด คือยอหนาที่ดําเนินเรื่องตามที่วางโครงเรื่องไว แสดงเนื้อหา สาระ ขอมูลหรือขอคิดเห็นที่ตองการจะสื่อสาร 1.4 ยอหนาสรุปความคิด คือ ยอหนาสรุปเรื่อ งหรือสรุปความคิดที่เ สนอตอ ผูอานซึ่ง สามารถทําไดหลายวิธี ตัว อย า งการเขีย นย อ หน า จากบทความเรื่ อ ง “การปฏิ รู ป ระบบศาลยุ ติ ธ รรมตั้ ง แต รั ช สมั ย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวจนกระทั่งปจจุบัน” สถาบันศาลสถิตยุติธรรมนับวามีบทบาทสําคัญในการคุมครองสิทธิเสรีภาพและความ ยุติธรรมของประชาชนในสังคมประชาธิปไตย ดั งคําจารึ กในหิรัญ บัตรที่พระบาทสมเด็จ พระ ยอหนา นําความคิด

จุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัสเกี่ยวกับการปฏิรูประบบศาลยุติธรรมตอนหนึ่งวา “... การยุติธรรมอันเดียวเปนการที่สําคัญยิ่งใหญ เปนหลักประธานการตัดสินความทุกดรงศาล เปน เครื่ องประกอบรั กษาใหความยุติ ธรรมเปนไป ถ าจั ดใหดี ขึ้นเพีย งใด ประโยชนความสุข ของ ราษฎรก็จะเจริ ญยิ่งขึ้ นเทานั้น เพราะฉะนั้นจึ งไดท รงพระอุต สาหะไตส วนในพระราชกํ าหนด กฎหมายเกาใหม และการที่ลูกขุนตระลาการไดกระทําแตกอน ๆ สืบมาจนทุกวันนี้...” กอนที่ จะกล าวถึง การปฏิ รู ป ระบบศาลยุ ติ ธรรมในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จพระ

ยอหนา โยงความคิด

จุลจอมเกลาเจาอยูหัวและในปจจุบันนั้น ควรจะไดศึกษาถึงความเปนมาของศาลยุติธรรมในอดีต ดั้งเดิมวามีอยางใด เพื่อเปนพื้นฐานในการศึกษาเรื่องการปฏิรูปศาลไทยในสมัยตอ ๆ มาใหเขาใจ ยิ่งขึ้น ~ 40 ~


เดิมศาลตาง ๆ มีอยูมากมาย และไมรวมอยูในกระทรวงเดียวกัน พระบาทสมเด็ จ ยอหนา แสดงความคิด

พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงมีพระราชดําริวา ควรจะใหจัดระบบศาลยุติธรรมใหม โดยทรง สถาปนากระทรวงยุติ ธรรมขึ้ น เมื่ อวันที่

25

มีนาคม

2453

เพื่ อรวบรวมศาลไวที่กระทรวง

ยุติธรรมเพียงแหงเดียวเพื่อแกไขปญหาเรื่องตุลาการทุจริตและเพื่อแกไขปญหาเรื่องคดีความตาง ๆ ลาชา ตลอดจนการแยกฝายตุลาการออกจากฝายธุรการ เมื่อพิจารณาศึกษาเรื่องเกี่ยวกับ การปฏิรูประบบศาลยุติธรรมตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน แลวนั้น ยอมเปนพยานหลักฐานยืนยันไดวา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ศาลสถิตยุติธรรมไดมีการปฏิรูปใหเจริญกาวหนามาตามลําดับ ดวยพระอัจฉริยภาพของพระองค โดยแท ประกอบกับพระปรีชาญาณอันแรงกลาที่จะประสิทธิ์ประสาทความยุติธรรมใหแกราษฎร

ยอหนา สรุปความคิด

ดังปรากฏในคําจารึกในหิรัญบัตร ที่กลาวไววา เพื่อขจัดเสียซึ่งอสัตยอธรรมทั้งปวง ทรงเห็นวา ศาลทรงมีความสําคัญอันยิ่งใหญ ถาจัดใหดีขึ้นเพียงใด ก็จะเปนประโยชนและความสุขแกราษฎร มากขึ้นเพียงนั้น ดังไดทรงปฏิรูปศาล โดยเอาอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีที่กระจัดกระจายอยูมา รวมสังกัดในกระทรงยุติธรรม และขอความตอนทายคําจารึกในหิรัญบัตรไดจารึกพระราชปณิธาน ไววา “ขอใหธรรมเนียมยุติธรรมนี้เจริญรุงเรืองไพศาล และจิรถิติกาลอยูชั่วฟาและดิน”

2. แบงตามวิธีเสนอใจความสําคัญ การแบง ประเภทของยอหนาโดยใช ห ลั ก เกณฑ นี้คือ การพิ จ ารณาตํ าแหนง ที่ ป รากฎของประโยค ใจความสําคัญในยอหนา แบงไดเปน 5 ประเภท ดังนี้ 2.1 ประโยคใจความสําคัญอยูตอนตนยอหนา ดังตัวอยาง

การดูแลสุข ภาพเปนเรื่องสําคัญ มาก แตนักเรียนสว นใหญอาจละเลย บางคนจะ อานหนังสือจนดึก และบางทีก็ดื่มกาแฟแกงวง ทั้งที่เปนเวลาที่รางกายตองการพักผอนแลว แตยังคงฝน นาน ๆ เขารางกายก็รับไมไหว และก็เจ็บปวยในที่สุด คุณเคยทรมานรางกาย หรือไม เชน นอนดึกตื่นเชา รับประทานอาหารไมครบหาหมู ดื่มเครื่องดื่มบํารุงกําลังมาก เกินไป ใชยากระตุนประสาทไมใหหลับ ถาคุณทําอยูก็ควรเลือกเสีย กอนที่รางกายของคุณ จะทรุดโทรมลงมากกวานี้

ใยแมงมุมแตละเสนละเอียดแลดูออนแอขาดงาย แตหาไดเปนเชนนั้นไม ใยแมง มุมบางชนิดแข็งแรงกวาเหล็กเสนซึ่งมีขนาดเทากัน ถาเอาใยแมงมุมชนิดนี้มาปนเปนเสนดาย จะเหนียวเทากับเสนใยไนลอนขนาดเดียวกัน นอกจากนี้เสนดายที่ปนจากใยแมงมุมยังหดยืด ได แต เ ส น ใยเที ย มที่ ค นทํ า ขึ้ น เกื อ บไม มี ช นิ ด ใดที่ ห ดยื ด ได ขณะนี้ นั ก วิ จั ย และ ~ 41 ~


นักวิทยาศาสตรในวงการอุตสาหกรรม กําลังคิดคนที่จะใชใยแมงมุมทําวัสดุสารพัดอยางที่ทํา มาจากวั ตถุ ดิบ อื่น ๆ ไม ได เช น เสนเลือ ดเทียม ลิ้นวาวลหัวใจคน เสื้อ เกราะปอ งกัน กระสุนปนซึ่งเบาอยางยิ่ง และสวมสบายมาก

นมเปนแหลงโภชนาการที่สําคัญ ของมนุษยและสัตว โดยที่นมจัดเปนอาหารอันดับ แรกสําหรับทารกแรกเกิด เนื่องจากนมประกอบดวยโภชนะหลายชนิดที่สามารถยอยไดงาย ในนมประกอบด วยของแข็ ง ประมาณ 13 เปอร เ ซ็นต และในของแข็งนี้มี โปรตีน 3.3 เปอรเซ็นต คารโบไฮเตรท 5 เปอรเซ็นต ไขมัน 4 เปอรเซ็นต รวมทั้งแรธาตุและไวตามินอีก เปนจํานวนมาก โปรตีนในนมประกอบดวยกรดอะมิโนที่สําคัญทุกชนิด สวนแลคโตสเปนคาร โบไฮเตรตหลักของนม ซึ่งเปนที่นาสังเกตวานมเปนแหลงของแลคโตสเพียงแหลงเดียวเทานั้น ในธรรมชาติ และในนมยังประกอบดวยไวตามินที่สําคัญ คือ ไวตามิน A B D E และ K 2.2 ประโยคใจความสําคัญอยูตอนกลางยอหนา ดังตัวอยาง ความผูกพันเปนเสมือนโซตรวนที่พันธนาการหัวใจ จนทําใหสูญเสียความเปนตัว ของตัวเอง เพราะมัวแตใสใจคนอื่น ความผูกพันยังเปนภาระอันหนักหนวง ดวยวาเราเอา ชีวิตของเราไปผูกติดกับคนอื่น เปนทุกขเปนรอน เปนหวงเปนใย ทั้ง ๆ ที่ไมใชหนาที่หรือ ความรับผิดชอบของเราสักนิด การไมผูกพันกับใครจึง นับวา เปนสิ่ง วิเศษสุด ปราศจาก ความทุกขและความกังวลใด ๆ ไมอยูใตอํานาจของใครทั้งสิ้น เมื่อใดที่ตองรางรากันก็โบกมือ อําลากันไดดวยความรูสึกปกติ ซ้ํายังกําหนดชีวิตตนเองได และที่สําคัญมีอิสระที่จะโลดแลน ไปไหนมาไหนตามใจชอบ โดยไมตองหวงหนาหวงหลัง ถาพูดถึงการออมหรือการลงทุน หลาย ๆ คนอาจจะเคยนึกสงสัยวา “การออม” กับ “การลงทุน” นั้น ไมเหมือนกันหรือแลวมันตางกันอยางไร ที่จริงแลวการออมกับการลงทุน นั้นก็มีวัตถุประสงคเดียวกันคือ การสรางโอกาสทําใหคุณมีเงินมากขึ้นแตก็อาจจะตางกันอยู บางก็ตรงที่ การออม เปนการเก็บสะสมเงินทีล ะเล็กทีล ะนอยใหพ อกพูนขึ้นเมื่อเวลาผา น

ไป แต การลงทุน คือการนําเงินไปสรางผลตอบแทนที่สูงขึ้น การออมกับการลงทุนจึงเปน คําที่มีความหมายไมเหมือนกันแมจะมีวัตถุประสงคเดียวกันก็ตาม

~ 42 ~


2.3 ประโยคใจความสําคัญอยูตอนทายยอหนา ดังตัวอยาง คําเกา ๆ มีกลาววา “ถึงคนไมเห็นเทวดาก็เห็น” เดี๋ยวนี้อาจเห็นวาพนสมัย แตถา รูจักคิด คํานี้ก็ยังใชได คือเทวดาในดวงใจของเราเอง หมายความวาความมีหิริ (ละอายใจ) และโอตัปปะ (เกรงบาป) ซึ่งทานเรียกวาเปนเทวธรรม (ธรรมของเทวดา หรือธรรมที่ทําให เปนเทวดา) ใจที่ มี ล ะอาย มี เ กรงบาป คือ ความชั่วชาตาง ๆ นี้แหละคือ เทวดา แตใจ กระดาง ดานหยาบชา แข็งกราว ชั่วราย อาจมองไมเห็น ภาษิตมอญมีกลาววา “เมื่อกา จับที่ใบตนหญา ดวยคิดวาไมมีใครเห็น ถึงกระนั้นก็มีผูเห็นถึงสองเปนอยางนอย” ผูเห็นทั้ง สองในภาษิตมอญนี้คือใคร ขอใหคิดเอาเอง ถาคิดไมเปน ก็ใหสองหนาในกระจก ก็จะเห็น ผูที่เห็นกา แมพระพุทธภาษิตก็มีกลาวไววา “ชื่อวาลับยอมไมมีแกผูทําชั่ว ” ภายในวงงานศิลปะประเภทหนึ่ง ๆ มีรูปแบบของศิลปะนั้นแยกออกไป จิตรกรรมก็มี การวาดและระบายสีบนฝาผนัง วาดเปนเสนบนกระดาษ วาดและระบายเปนภาพเล็กเปน ภาพใหญ เ ป นรู ป คนรู ป ภู มิ ป ระเทศและอื่น ๆ วรรณคดี ก็เ ขาในลั ก ษณะนี้ รู ป แบบของ วรรณคดีไทยก็มีหลายแบบ ถานับวรรณคดีตางประเทศทั่วโลกก็มีรูปแบบเกือบจะนับไมถวน คุณภาพของวรรณคดีขึ้นอยูกับรูปแบบจะมีความดีหรือความบกพรองภายในวงของรูปแบบ แตละรูปแบบ การพิจารณาวรรณคดีจึงเปนไปตามรูปแบบแตละรูป ๆ นั้น ในวงการธุรกิจ การสื่อสารดวยวิธีการเขียนเปนสิ่งหนึ่งที่สําคัญยิ่ง การเขียนในทาง ธุรกิจมีหลายประเภท เชน การเขียนเอกสารการประชุม การเขียนรายงาน การเขียน จดหมายธุรกิจ การเขียนเอกสารการจางและการสมัครงาน และการเขียนเอกสารเพื่อการ ประชาสัมพันธ การเขียนแตละประเภทมีวิธีการเขียนที่แตกตางกัน ผูมีหนาที่เขียนเพื่อการ

สื่อสารทางธุรกิจจําเปนตองเลือกใชว ิธีการเขียนใหเหมาะสมกับการเขียนแตละประเภท 2.4 ประโยคใจความสําคัญอยูตอนตนและทายยอหนา ดังตัวอยาง

คํา วา CEO มาจากคํา เต็ม วา Chief Executive Officer หรือหัว หนา คณะ ผูบริหาร ซึ่งเปนตําแหนงทางการบริหารที่นิยมมากในสหรัฐอเมริกา กลายมาเปนที่รูจักใน

เมืองไทยมากที่สุดก็ในยุคของรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร การบริหารงานราชการในยุค ใหม CEO จึงเปนตําแหนงหัว หนาคณะผูบริหารที่มีบทบาทในการบริหารงานราชการ

~ 43 ~


ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม ใ น บ า น เ มื อ ง เ ร า มั ก จ ะ ส อ ด ค ล อ ง กั บ ก า ร ดํ า เ นิ น ชีว ิตประจํา วัน ตัวอยางบางคนชอบปลูกไมดอกไมผล เมื่อเกิดดอกออกผลก็ชื่นใจ เกิด ความคิดที่จะทําดอกผลนั้นใหงดงามนาดูยิ่งขึ้น จึงมีผูนําผลไมมาประดิษฐลวดลาย แลวจัด วางในภาชนะใหมองดูแปลกตานารับประทาน ลวดลายนั้นเกิดจากการตัด ผา ปอก ควาน และแกะสลัก สวนไมดอกที่ออกดอก ก็นํามาผูกมัดเปนชอบาง เปนพวงเปนพูบาง เสียบ เป นพุมหรือ ปกลงในแจกันก็ไดตามแตจ ะเห็นงาม ชีว ิตชาวไทยกับ ศิล ปะความงามจึง

แยกกันไมออก 2.5 ไมมีประโยคใจความสําคัญปรากฏในยอหนา ดังตัวอยาง ถาถามวาอะไรคือสิ่งดึงดูดใหผูคนนิยมไปทองเที่ยวตามอุทยานแหงชาติทางทะเล ไมวาจะเป นเกาะเสม็ ด หมูเกาะสิมิลัน หรือหมูเกาะตะลุเตา จนกระทั่งในชวงเทศกาล วันหยุดผูคนที่ไปพํานักอยู จะมีจํานวนมากจนลนเกาะ เปลี่ยนภาพธรรมชาติที่เคยสงบและ งดงามใหเปนความสับสนอลหมานในทันที คําตอบคงอยูที่สภาพธรรมชาติอันพิเศษของ สถานที่เหลานั้น นับตั้งแตหาดทรายขาวละเอียด ปะการังหลากสีสันและรูปทรง ไปจนถึง ทองทะเลสีครามที่สะกดใหคนเฝามองมันไดตลอดทั้งวัน ใจความสําคัญของยอหนานี้คือ สภาพธรรมชาติที่มีลักษณะพิเศษของแตละสถานที่จะเปนสิ่งดึงดูด ใหมีผูคนนิยมไปทองเที่ยว

กลวิธีการขยายใจความสําคัญในยอหนา 1. ใหรายละเอียด การใหรายละเอียดเปนวิธีการเขียนอธิบ ายเกี่ยวกับใจความสําคัญเพื่อ ใหผูอาน สามารถเขาใจหรือรูเรื่องราวนั้น ๆ ไดอยางสมบูรณวาเปนอยางไร วิธีนี้เปนที่นิยมกันโดยทั่วไป เชน ไข มีนัยยะสําคัญในหลายวัฒนธรรม เชนเดียวกับชาวจีนที่เชื่อวาไขเปนสัญลักษณ ของความอุดมสมบูรณ จึงจะเห็นไดวาหลังจากเด็กลืมตาดูโลก พอแมก็จ ะจัดงานเลี้ยง ไข

ตมแดงขึ้น โดยจะตมไขใ หสุกแลว ยอมเปลือกใหเปนสีแ ดงทานกันในครอบครัว เพื่อเปน การประกาศถึงการถือกําเนิดที่นายินดีในครั้งนี้

~ 44 ~


2. ใหคําจํากัดความ เปนวิธีการเขียนเพื่ออธิบายขอบเขตของความหมายของเรื่องที่ตองการกลาวถึง หรือเพื่อใหผูอานเขาใจความหมายของคําหรือวลีที่ใชในเรื่องที่เขียนก็ได วิธีนี้มักใชกับยอหนาที่เปนคํานํา สํ า นวน “อี ห รอบ” เดิ ม เป นคํ า ที่ เ พี้ ย นมาจากคํ า ภาษาอั ง กฤษว า ยุ โ รป และ ความหมายเพี้ยนมาดวย หมายถึง พวกยุโ รปที่เรียกกันวา ฝรั่ง แลว ก็เลยนํา มาเรียกของ

ที่ม าจากยุโ รปดัง ในตัว อยา งวา “เขา อีห รอบ” ‘เขา ’ คงจะหมายถึง ‘ขา ว’ ในที่นี้คง หมายถึ ง ข า วที่ม าจากยุโ รป ปจ จุบั นนี้ เ ราออกเสี ย งคํา วา ‘ยุ โ รป’ ตรงกั บ เสีย งใน ภาษาอังกฤษ เพราะฉะนั้นคําวา “อีหรอบ”จึงไมใชในความหมายวายุโรปอีก ใหเหตุผล 3. ยกตัวอยาง ตัวอยางที่ยกมาประกอบนั้นจะตองตรงกับเนื้อเรื่อง ไมยากหรือซับซอนเกินไป แต สนับสนุนใหผูอานเขาใจเรื่องมากขึ้น ในสมัยโบราณ พอ แม ปู ยา ตา ยาย มักประดิษฐของเลนจากวัสดุเหลือใชในบานใหบุตร หลานไดเลน เชน ตุกตาเศษผา ตุกตากระดาษ ดินเหนียวปนรูปสัตวตา ง ๆ สิ่ง ของตา ง ๆ

หรือจากใบไม เชน ใบมะพรา ว ใบตาล ใบลาน กก และใบไมอื่น ๆ ที่ส ามารถนํา มาสานหรือ ประดิษฐเปนของเลนได ของเลนจากการสานจะไดรูปแบบมาจากธรรมชาติทั้งสิ้น เชน รูปสัตว ไดแก นก ปลา ตั๊กแตน ดอกไม เปนตน (ใบตาล สานของเลน : ณัฐพร ออไอศูรย) 4. เปรียบเทียบ การเปรียบเทียบอาจเปนการเปรียบเทียบสิ่งตรงขาม เชน ดีกับชั่ว หรืออาจเปนการ เปรียบเทียบนามธรรมกับรูปธรรม การที่จะเรียนวิชาไดดวยวิธีใดนั้นไมสําคัญ ขอสําคัญอยูกับที่ตัวผูเรียนตางหาก เปรียบ

เหมือนแตงกวาจะดองดว ยน้ําสมฝรั่งก็ได ดองดว ยน้ํากระเทียมก็ได เมื่อดองแลว ก็อรอยทั้ง สองอยา ง ขอสํา คัญ คือแตงกวาที่เอาลงดองจะตองเปนแตงที่ยัง ไมเนา ถา เนา เสียแลว จะ ดองดว ยน้ํา กระเทียมหรือน้ํา สม ขวดละตํา ลึง มันก็ไมเปนรสทั้ง นั้น บุคคลที่สืบเสาะร่ํา เรียน วิช าก็เหมือนแตงกวาดอง ถานิสัยใจคอมันเนาเสียแลว ถึง จะร่ํา เรียนดว ยวิธีใ ด มันก็คงไม เปนเรื่องทั้งสิ้น

~ 45 ~


5. ใหเหตุผล การแสดงเหตุและผลเมื่อเขียนเรื่องที่เปนการวิเคราะหวิจารณหรือเรื่องที่เปนขอสงสัยแก ผูอาน จึงตองการเหตุผลมาสนับสนุนใหนาเชื่อถือ แมโลกทุกวันนี้จะกาวหนาทางวัตถุไปมากเพียงใดก็ตาม แตธรรมชาติเปนสิ่งก็ยังเปนสิ่งที่ มีความสัมพันธกับชีวิตและจิตใจของมนุษยอยางขาดเสียมิได เพราะธรรมชาติเปนองคประกอบที่

สําคัญ ของโลก ธรรมชาติใ หความสดชื่นรื่นรมยแ กจิตใจมนุษย กอใหเกิดจินตนาการในการ สรางศิลปะ โดยอาศัยรูปทรง สีสันของธรรมชาติเปนสื่อสรา งสรรคศิล ปกรรมขึ้นใหม ตาม ความรูสึกนึกคิดของศิลปน

ลักษณะของยอหนาที่ดี 1. มีเอกภาพ หมายถึง ยอหนาที่มีใจความสําคัญเพียงอยางเดียว วิธีเขียนก็คือ เขียนโดยกําหนด จุดมุงหมายเปนประโยคใจความสําคัญ แลวหาขอความที่เปนรายละเอียดมาสนับสนุนเพื่อขยายใจความนั้น 2. มีสารัตถภาพ หมายถึง ยอหนามีสาระเนื้อหาเขมขน มีขอมูลชัดเจน และมีการเนนย้ําใจความ สําคัญ เพื่อใหผูอานทราบวาใจความใดสําคัญมากที่สุด 3. มีสัมพันธภาพ หมายถึง ขอความที่เขียนเปนประโยคติดตอกันมีความเกี่ยวของกันตลอดทั้งเรื่อง มี ความกลมกลืนเปนเนื้อเดียวกัน 4. มีความสมบูรณ หมายถึง ยอหนาตองมีเนื้อหา สาระสําคัญ จุดมุงหมาย รายละเอียดชัดเจน มีการ ขยายความที่สอดคลองกัน ไมออกนอกเรื่อง

ขั้นตอนของการเขียนยอหนา การสรางยอหนามี 3 ขั้นตอน (อวยพร นาพิช และคณะ. 2548 : 173-177) ไดแก 1. กําหนดเรื่องที่ตองการจะเขียน ในการสรางยอหนานั้น ลําดับแรกผูเขียนจะตองกําหนดเรื่องที่ ตองการจะเขียนขึ้นกอน โดยพิจารณาวายอหนาที่จะเขียนนั้นเกี่ยวกับเรื่องใด ในแงไหน เชน จะเขียนเรื่อง เกี่ยวกับพืชของไทยชนิดหนึ่ง ก็ ตอ งพิ จารณาวาพืชที่จะเขียนถึงนั้นคืออะไร และจะเขียนในแงไหน เมื่อ พิจารณาไดแลวจึงลงมือสรางประโยคใจความสําคัญ 2. สรางประโยคใจความสําคัญ โดยกําหนดประโยคที่มีเนื้อหาครอบคลุมเรื่องในยอหนาขึ้นกอน เชน ในยอหนาที่จะเขียนเรื่องประโยชนของมะพราว กําหนดใจความสําคัญวา “มะพราวเปนพืชที่สามารถนํา สวนตาง ๆ มาใชประโยชนไดเกือบทั้งหมด” ซึ่งประโยคนี้เปนสวนที่กลาวถึงความคิดสําคัญที่สุดของยอหนา จากนั้นจึงหาขอความอื่น ๆ มาสนับสนุน ~ 46 ~


3. หาขอความสนับสนุนหรือขยายความประโยคใจความสํา คัญ เพื่อขยายความให ชัดเจน โดย ขอความที่จะใชสนับสนุนจะตองมีเนื้อหาสาระที่ดีดวย เชน กําหนดประโยคใจความสําคัญไววา “มะพราว เปนพืชที่ส ามารถนํ าสวนต าง ๆ มาใช ป ระโยชนไดเ กือ บทั้ง หมด” ก็จ ะตอ งหาขอ ความตาง ๆ ที่จ ะชวย สนับสนุนใหเห็นจริงวา มะพราวเปนพืชที่สามารถนําสวนตาง ๆ มาใชประโยชนไดเกือบทั้งหมด ทั้งนี้อาจจะใช วิธีใหรายละเอียดวาสวนตาง ๆ ของมะพราวที่นํามาใชประโยชนนั้นมีอะไรบางและนํามาใชประโยชนอะไร ในการสรางยอหนา ควรคํานึงถึงตําแหนงของประโยคใจความสําคัญในยอหนาดวย ตําแหนงของ ประโยคใจความสําคัญอาจวางไวไดตาง ๆ กัน แตโดยปกติจะนิยมวางไวตนยอหนา เพราะเทากับชวยจํากัด ขอบเขตเนื้อหาในยอหนานั้น ๆ ตั้งแตเริ่มตนวาจะเขียนเกี่ยวกับเรื่องอะไร และบางครั้งอาจวางไวทายยอหนา เพื่อย้ําหรือเนนเนื้อหาที่กลาวในยอหนานั้นใหชัดเจนยิ่งขึ้น ------------------เอกสารอางอิง สุชาติ พงษพานิช. (ม.ป.ป.) การเขียนเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา. พาทินี ไทยะจิตต และคณะ. (2549) ภาษาไทย 1. กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล กรุป. อวยพร นาพิช และคณะ. (2548) ภาษาและหลักการเขียนเพื่อการสื่อสาร.พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ศูนยหนังสือแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

~ 47 ~


5. การเขียนเพื่อเลาเรือ่ ง การเขียนเพื่อเลาเรื่อง คือ การนําเรื่องราวหรือเหตุการณที่เกิดขึ้นแลวมาถายทอดเปนขอเขียนใหเปน ขอความ และถือวาการเขียนเพื่อการเลาเรื่องเปนการเขียนขั้นพื้นฐาน ที่ยังไมยาก เพราะวาเปนการเขียนที่ใช วิธีการเลาหรือบอกเลาตามลําดับเหตุการณกอน-หลัง ตามขอเท็จจริง เพื่อใหผูอานมองเห็นภาพเหตุการณ และสามารถติดตามเรื่องราวไดตอเนื่อง (สุทิติ ขัตติยะ. 2551) เทคนิคของการเขียนเพื่อเลาเรื่อ ง ควรเริ่ ม จากการเลื อ กเรื่ อ งที่ เ ป นเหตุ ก ารณ ไม ป กติ ธรรมดา ประกอบด วยตัวละคร บุคคล เหตุการณหรือสิ่งที่นาใจ กําหนดโครงเรื่องงาย ๆ มีการเกริ่นนําที่นาสนใจ หัวขอเรื่องที่ลําดับเหตุการณอยางสัมพันธกัน ใหรายละเอียดชัดเจน มีจุดสุดยอดที่ตื่นเตนเราใจ แทรกความ ขบขัน ลําดับเรื่ องดวยระดับภาษาและสํ านวนโวหารที่เหมาะสม สวนมากจะใช บรรยายโวหารและมีการ อธิบาย สรางความอยากรูอยากเห็นใหติดตาม และจบเรื่องอยางเหมาะสม

ประเภทของการเขียนเลาเรื่อง การเขียนเลาเรื่อง เปนการเขียนบรรยายเหตุการณหรือประสบการณที่ตนประสบมาหรือไดฟง-อาน แลวลําดับเหตุการณเปนเรื่องราว มาดวยวิธีการเขียนเลาเรื่อง หรือลําดับเหตุการณใหเปนเรื่องราว สามารถ แบงเปน 2 ประเภท ไดแก 1. การเขียนเลาเรื่องประสบการณ ถือเปนการไดบันทึกความทรงจําหรือเหตุการณที่ประสบมา การ ที่จะเขียนเลาเรื่องไดดีนั้นผูเขียนตองมีความรอบรู ชางสังเกต รูจักเปรียบเทียบและสอดแทรกความคิดเห็น เวลาที่ไดพบเห็นอะไรถาหากเกิดความรูสึกประทับใจสิ่งใดขึ้นมา ก็ตองรีบบันทึกใสสมุดทันที แบงยอยได 2 ลักษณะ คือ 1.1 เรื่องเลาจากประสบการณที่ไมเปนทางการ การถายทอดเรื่องราวในชวงชีวิต ทั้งเปนเรื่องที่เกิดจากประสบการณตรงของผูเขียน ที่ได ประสบดวยตนเอง หรือเกิดจากประสบการณทางออม ที่ผูเขียนไดรับรูรับฟงมาจากผูอื่น แหลงขอมูลอื่น ๆ อีก ทอดหนึ่ง การเขียนประเภทนี้สวนมากใชบรรยายโวหาร และมีอธิบายโวหารประกอบ ซึ่งมักเปนการเขียนเลา เรื่องที่เกิดขึ้นจริง ในรูปแบบเรียงความก็สามารถทําได 1.2 เรื่องเลาจากประสบการณที่เปนทางการ เปนลักษณะการเขียนเพื่อบอกเลาชี้แจงขอเท็จจริง การถายทอดเรื่องราจากประสบการณตรงของผูเขียน เพื่อชี้แจงขอเท็จจริง หรือรองเรียน โดยการเขียนเรื่องเพือ่ บอกเลาชี้แจงขอเท็จจริงนั้นโดยสวนใหญแลว มีวัตถุประสงคเพื่อชี้แจงความจริง และ ปองกันการเขาใจผิด หรือเพือ่ อธิบายทําความเขาใจและสรางแนวทางปฏิบัตทิ ี่ถูกตอง หรืออาจเขียนเพือ่ ~ 48 ~


ชี้แจงคลี่คลายปญหาขอของใจ หรือ รองเรียนในเรื่องหนึง่ เรือ่ งใดก็ได วิธีการเขียนลักษณะนีจ้ ึงตองมี วัตถุประสงคที่ชัดเจน มีการอางอิงประเด็นหรือปญหาทีจ่ ะชี้แจง และมีการใหขอเท็จจริงที่ถูกตอง 2. การเขียนเลาเรื่องชีวประวัติและอัตชีวประวัติ โดยเลือกนําเสนอชีวิตของบุคคลที่สําคัญและ นาสนใจ หรือแมแตบุคคลธรรมดา แตมีประสบการณชีวิตที่ตอสูจนประสบความสําเร็จก็สามารถนําเสนอได เพื่อใหผูอานไดยึดเปนแบบอยางตอไป หรือบางคนที่เกิดมาลําบากยากแคน หมดกําลังใจ เพราะรูสึกหมด หนทาง แตเมื่อไดอานชีวประวัติของบุคคลบางคนที่สามารถฟนฝาอุปสรรคตาง ๆ จนประสบความสําเร็จไดก็ เกิดกําลังใจ ตอสูชีวิตตอไป

การวางโครงเรื่อง โครงเรื่อง คือการเรียบเรียงและจัดลําดับความคิดสําคัญของเรื่องที่จะเขียนใหเปนเคาโครงขั้นตอน ตามลําดับกอนหลัง ไมวาจะเปนการเขียนลักษณะใด ผูเขียนก็จําเปนตองวางโครงเรื่องทุกครั้งเพื่อชวยให เนื้อหาที่เขียนมีการเรียงลําดับอยางสัมพันธ และไมออกนอกเรื่อง ตัวอยางการวางโครงเรื่อง เรื่อง “วัยรุนกับเทคโนโลยี” สว นคํานํา 1. นิยามของคําวา “เทคโนโลยี”

สว นเนื้อเรื่อง

สว นสรุป

2. ความสําคัญของเทคโนโลยี 3. รูปแบบการใชเทคโนโลยี 4. ผลกระทบของการใชเทคโนโลยี 5. แนวทางแกไขปญหา 6. ขอคิดในการเลือกใชเทคโนโลยี

หากผูเขียนเขียนใจความสําคัญในแตละขอยอย จะเปนการชวยใหผูเขียนเรียบเรียงเปนเรื่องราวได รวดเร็วยิ่งขึ้น

~ 49 ~


องคประกอบของการเขียน 1. ชื่อเรื่อง เปนขอความที่กําหนดใจความสําคัญของเรื่อง เปนสวนหนึ่งที่ชวยกําหนดกรอบหรือแนว ทางการเขียนของเรื่อง ทําใหผูเขียนมีจุดมุงหมายที่แนนอนในการเขียน 2. คําขึ้นตนหรือคํานํา เปนสวนที่เปดประเด็นเขาสูเรื่อง เพื่อบอกใหผูอานทราบวาผูเขียนจะเขียน เรื่องอะไร และเราใหคนสนใจอานเนื้อเรื่องตอไป คํานําจึงจัดเปนสวนสําคัญสวนหนึ่งของงานเขียน มีวิธีการ เขียนหลายวิธี เชน การตั้งคําถาม การเลาเรื่อง การยกคําคม การชี้แจงวัตถุประสงค การพาดหัวขาว ฯลฯ 3. สวนเนื้อเรื่อง เปนองคป ระกอบที่สําคัญที่สุดของงานเขียน ตอ งใหรายละเอี ยดและสาระที่ นาสนใจ จึงตองมีเอกภาพ มีการลําดับความที่เปนเหตุเปนผล และมีสัมพันธภาพที่ดี 4. สวนปดทายหรือสรุป เปนการทบทวนสาระสําคัญของเรื่องทั้งหมด

------------------เอกสารอางอิง ภาคภูมิ หรรนภา และดุษฎี กองสมบัติ. (2549) การเขียนเพื่อการสื่อสาร. พิมพครั้งที่ 2 : มหาสารคาม : ภาควิชา ภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สุทิติ ขัตติยะ. (2551) ศาสตรการเขียน. กรุงเทพฯ : สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยเพื่อการศึกษา.

~ 50 ~


ตัวอยางการเขียนเลาเรื่องจากประสบการณ เรื่องความพากเพียร คือ ความสําเร็จ ชิษณุพงศ พรวนตนไม เมื่อ พ.ศ.2548 ไดบรรจุเปนครูอัตราจาง โรงเรียนพญาไท สอนวิชาพลศึกษาและสุขศึกษา ตอมา พ.ศ.2550 ได เปลี่ยนมาสอนวิชาคอมพิวเตอร ชวงชั้นที่ 1 ขาพเจารักที่จะสอนนักเรียนใหมีความรูค วามเขาใจในเรื่องตาง ๆ และชอบให นักเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนการสอน ขาพเจาสอนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 หอง 1-2 (หอง ADP) สังเกตเห็น นักเรียนสวนใหญจะนั่งฟงครูอธิบายเพียงอยางเดียว เมื่อครูถามมักจะตอบคําถามไดบาง ไมไดบาง ชอบพูดคุยกันและไมรูจัก วิธีคนหาคําตอบ มีหลาย ๆ ครั้งที่ นักเรียนชอบพูดคุยในหองเรียน เมื่อตักเตือนก็นิ่งอยูไดไมนานก็คุยกันอีก เมื่อขาพเจาถามก็ ตอบคําถามไมได ทําใหขาพเจารูสึกวาเกิดอะไรขึ้น ทําไมนักเรียนไมคอยตั้งใจเรียน คนที่ตอบคําถามก็เปนนักเรียนกลุมเดิม และคนเดิม มีนักเรียนที่ตั้งใจเพียงเทานี้หรือ สวนคนอื่นตอบไมไดหรืออยางไร ขาพเจาคิดหาหนทางใหนักเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนการสอน ขาพเจาจึงคอย ๆ เริ่มแกปญหาทีละเล็กที ละนอย โดยวิธีการดังนี้ 1) ศึกษาขอมูลนักเรียนจากครูประจําชั้น 2) พยายามฝกใหนักเรียนคิดหาคําถามและคนหาคําตอบ โดยใหศึกษาจากใบความรูและสื่อเทคโนโลยี โดยตั้ง คําถามจํานวน 5 ขอ และใหทําใหเสร็จภายในเวลาที่กําหนด เมื่อทุกกลุมนํามาสง ขาพเจาจะคัดเลือกคําถามจากทุกกลุม ให นักศึกษาอานคําถามและแขงขันกันตอบ ระหวางสมาชิกเปนกลุม ถากลุมใดตอบคําถามไดถูกตอง และเมื่อครูซักถามกลับ สามารถตอบคําถามได จะไดคะแนน ทําใหนักเรียนกระตือรือรนในการตอบคําถามเปนอยางดี จนรูสึกวานักเรียนชอบและ กลาตอบคําถาม วิธีการในขอนี้ ขาพเจาไดพยายามยั่วยุใหนักเรียนตอบคําถามมากขึ้น โดยบอกวา ตอบถูกหรือผิด ไมเปนไร ครูจะดูวานักเรียนมีความเขาใจมากนอยแคไหน เรื่องใดที่ไมเขาใจ ครูจะชวยอธิบายใหถูกตอง ครูจะฟงเหตุผลในการตอบของ นักเรียน และคอยชี้แนะใหกําลังใจในการตอบ ขาพเจารูสึกวานักเรียนชอบวิธีการนี้ เพราะรูสึกเปนกันเองระหวางครูกับ นักเรียน จึงเกิดความกลาที่จะตอบคําถามของครู รูวิธีคิดหาวิธีการที่จะไดคําตอบอยางมีเหตุผลมากขึ้น 3) ขาพเจาใหนักเรียนไดเรียนรูจากเพื่อน ๆ จึงมอบหมายแตละกลุมใหไปคนควาในเรื่องที่รับผิดชอบจากใบงาน คนควาเพิ่มเติมจากอินเทอรเน็ตหรือหองสมุด พรอมทั้งชวยกันตั้งคําถามและตอบคําถามมาดวย กลุมที่นั่งฟงตองคิดหา คําถามมาซักถามกลุมที่นําเสนอ และสมาชิกกลุมที่นําเสนอตองชวยกันหาคําตอบและตอบคําถามเพื่อน ๆ เพื่อจะไดมีคะแนน ทั้งกลุมที่นําเสนอและกลุมผูฟง สวนขอใด กลุมที่นําเสนอ ถูกซักถามและตอบคําถามเพื่อนไมได หรือตอบไมกระจาง ครูก็จะ ใหกําลังใจและอธิบายเพิ่มเติม เพื่อใหเกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้น วิธีกานี้นับวาไดผลดี นักเรียนมีความสนใจมากขึ้น เพราะสนุก มีความมั่นใจ กลาที่จะพูดตอบโตขอซักถามกับเพื่อน ๆ จากการแกปญหาทั้ง 3 ดังกลาวมาขางตน ขาพเจาไดเห็นพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น ตามลําดับ เปนคุณลักษณะอันพึงประสงค จาการสอบถามพบวา นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนรูแ บบใหครูหรือเพื่อน เปนผูถามมากขึ้น เพราะมีความภูมิใจที่สามารถตอบคําถามไดถูกตองและไดคะแนนเปนของแถมอยูบอย ๆ กลาที่จะซักถาม ทําใหนักเรียนมีกําลังใจในการเรียน และทัศนคติที่ดีตอการตอบคําถาม กลาที่จะซักถามในกรณีสงสัยหรือไมเขามากกวาแต กอน ทําใหครูสามารถวัดความเขาใจของนักเรียน และเติมเต็มในสวนที่ยังไมสมบูรณไดเปนอยางดี ซึ่งทั้งหมดนี้เกิดจากการทํา กิจกรรมรวมกันของครูและนักเรียน (แหลงที่มา : http://sportact.obec.go.th/document/KM56/00006.pdf)

~ 51 ~


6. การเขียนโนมนาวใจ การเขียนโนมนาวใจ เปนการเขียนประเภทหนึ่งที่มลี ักษณะเฉพาะตางจากงานเขียนบรรยายหรือ พรรณนา เพราะเปนการเขียนทีผ่ ูเขียนพยายามใชศิลปะในการเขียนตลอดจนหาเหตุผลตาง ๆ มาโนมนาวให ผูอานเห็นหรือคิดหรือกระทําตามอยางทีผ่ เู ขียนตองการ จุดประสงคของการเขียนโนมนาวใจคือตองการ ยืนยันวาสิ่งนี้ดีกวาหรือนาชื่นชอบมากกวาอีกสิง่ หนึง่ และพยายามโนมนาวผูอานใหคิดหรือเห็นในสิง่ ที่ตรงกับ ผูเขียน แตอยางไรก็ตาม การเขียนโนมนาวใจก็ไมใชการเขียนที่ชี้ผดิ ถูกกับสิง่ ใด เพียงแตผเู ขียนตองยืนยันให ผูอานเห็นวาสารที่ผเู ขียนเสนอนั้นเปนสิ่งที่ดี หรือสิ่งที่ถกู ตองกวาสิ่งอื่น ๆ มีผูกลาววา การเขียนทั้งหมดเปนการโนมนาวใจ หากเจตนาของมันคือการทําใหผูอานไดมีสวนในการ ตระหนักรูของความจริงและประสบการณของผูเ ขียน แมแตการเขียนเลาเรื่องหรือพรรณนาก็มีความพยายาม ที่จะปลุกการโตตอบจากผูอานใหเกิดขึ้นเทาเทียมกับของผูเขียน ปจจุบันเราจะพบการเขียนโนมนาวในรูปแบบที่หลากหลาย เชน โฆษณา แผนพับประชาสัมพันธ ใบปลิวหาเสียงและการขอรอง เปนตน

จุดมุงหมายของการเขียนโนมนาวใจ การเขียนโนมนาวใจเปนการเขียนทีผ่ ูเขียนมีจุดมุงหมายเพื่อเปลี่ยนแปลงความคิด ความเชื่อหรือ พฤติกรรมของผูอาน โดยตองเปนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางสมัครใจ ไมใชการบีบบังคับหรือฝนใจ ซึ่ง การเขียนโนมนาวใจ อาจแบงจุดมุงหมายได ดังนี้ 1. เพื่อใหมีความเห็นคลอยตาม สิ่งแรกสุดคือทําใหผูอานยอมรับความเห็นที่เราเสนอ 2. เพื่อใหเกิดการกระทํา เมื่อเราสามารถทําใหผอู านยอมรับความเห็นของเราไดแลว นั่นคือ หมายถึงวาเขาเห็นคุณคาและประโยชนของความคิดเห็น ผลที่ตามมาคือผูอานจะเกิดพฤติกรรมตามทีเ่ รา ตองการใหทํา เชน ศีรษะเรามีรังแค แลวเราเลือกซื้อแชมพูยี่หอหนึง่ เพราะเราเชื่อวาแชมพูยี่หอนั้นรักษา รังแคได 3. เพื่อกระตุนหรือเราความรูสึก เปนการมุง ใหเกิดผลภายในจิตใจ ซึ่งไมใชพฤติกรรมภายนอกทีเ่ รา จะเห็นได เชน กระตุนใหนักศึกษารักสถาบันการศึกษา เปนตน

หลักการเขียนโนมนาวใจ หลักการโนมนาวใจมีหลายวิธี ในที่นี้จะขอกลาววิธีการเขียนโนมนาวใจที่พบเห็นเสมอ ไดแก หลัก จริยธรรม การเราอารมณ การใหเหตุผล และการเสนอแนะ 1. หลักจริยธรรม (Ethical) เปนเรื่องแปลกไหมที่จะแนะนําประโยคเดียวกัน แตผูใชตางกัน ผลที่ไดรับก็ตางกันไปดวย หรือไมก็คําพูดของใครบางคน เราจะเชื่อถือคําพูดของคนคนนั้นตลอด ในขณะที่ กับใครบางคน ไมวาเขาจะพูดอะไรออกมา เราจะตองคิดกอนที่จะเชื่อ หรือไมก็ไมเชื่อเลยสักนิด ~ 52 ~


เราเชื่อถือใครคนหนึ่งเพราะเรามั่นใจวาเขาเปนคนดี มีจริยธรรม มีความจริงใจ แลวในการเขียนละ เราจะสามารถสรางความนาเชื่อถือใหผเู ขียนและทําใหผูอานไวใจ เชื่อใจ และมั่นใจในขอเขียนของเราได อยางไร นักเขียนระดับอาชีพหลายคนตองอาศัยเวลาและประสบการณในการสั่งสมชื่อเสียงที่แสดงใหเห็นถึง ความจริงใจ ความซื่อสัตยของเขา แตเราไมมีเวลาถึงขนาดนั้น เราสามารถอาศัยการบงชี้ภายในของขอเขียนของเราได เชน การเขียนอยางระมัดระวัง รอบคอบ มีเหตุมีผล และตรงไปตรงมา ดวยทวงทํานองที่กระจางชัดเจน จงเขียนอยางมั่นใจวาเราไดสนับสนุนความ คิดเห็นของเราดวยการคนควาอยางละเอียดและรอบคอบแลว แมวาการบงชี้ภายในนี้จะไมสามารถพิสจู น ความซื่อสัตยของผูเขียนได แตมันก็เปนการแสดงใหผูอานไดเห็นถึงความพยายามทีส่ ัตยซอื่ ของผูเขียนในการ แสดงความเห็นที่นาเชื่อถือได เพราะหากเขาเห็นผูเ ขียนหรืองานเขียนนี้มหี ลักจริยธรรมแลว ก็นาจะเปนการ สะกดกั้นอคติหรือความคิดในแงลบ ตลอดจนความไมไววางใจที่อาจเกิดขึ้นขณะอานได 2. การเราอารมณ (Emotional) การใชถอยคําและภาษาเปนสวนสําคัญสวนหนึ่งของการแสดงความคิดเห็นอยางมีประสิทธิภาพ เพราะภาษาเปนสื่อแสดงความเปนเหตุเปนผล ตลอดจนจริยธรรมของขอเขียน การเขียนโนมนาวสิ่งทีส่ ําคัญ ประการหนึ่งคือ การใชภาษาใหผูอานเกิดอารมณรวมหรือคลอยตาม หรือทําใหผูอานเกิดความรูสกึ อารมณ ซึ่งวิธีการใชภาษาโนมนาวใจมีหลายวิธี ไดแก 1). ความหมายโดยนัย (Connotation) การแสดงความหมายโดยนัยของภาษาเปนวิธีธรรมดาที่สุดในการดึงดูดความสนใจ ความหมาย โดยนัย หมายถึง คํา วลี หรือขอความที่เสนอแนะความหมายมากกวาความหมายโดยตรง ความหมาย โดยนัยอาจเปนเรื่องเฉพาะตัวหรือเรื่องสากลก็ได และคําที่มีความหมายตามพจนานุกรมอาจมีความหมาย โดยนัยทั้งเปนสากลและทีเ่ ฉพาะตัวไดเกือบทุกคํา ตัวอยางเชน ‘กลวย’ ความหมายโดยตรงคือชื่อของผลไมชนิดหนึ่ง แตความหมายโดยนัย หมายถึง สิ่งทีส่ ามารถปฏิบัติใหสําเร็จไดโดยงาย 2). ภาษาภาพพจน (Figurative Language) อุปมาและอุปลักษณ เปนภาษาภาพพจนที่ผูเขียนนิยมนํามาใชในการเขียนโนมนาวใจ เพราะมันกิน ความหมายไดกวางและชวยใหผูอานเกิดจินตภาพในจิตใจได ซึ่งจะยังผลใหการเขียนโนมนาวชิ้นนั้นประสบ ผลสําเร็จ ตัวอยางเชน ผูชายที่ไมกลาทําอะไรผิดกวาผูอาน เปนคนใจเหมือนผูห ญิงที่ฝก ใฝใน แฟชั่น จะกระดิกตัวหนอยก็กลัวยิ่งกวาอุบาสิกากลัวศีลขาด แฟชั่นทานสอนสัง่ อยางไร ก็ตองปฏิบัติตามประหนึ่งวาตัวเปนทาส ซึ่งแฟชั่นไดออกเงินไปทําสาร กรมธรรมมาไว แฟชั่นเหลานี้พระราชบัญญัติเลิกทาสก็ชวยไมได

~ 53 ~


ตัวอยางภาพพจนที่ใชในงานเขียน - อุปมา (simile) เปนการเปรียบเทียบเพื่ออธิบายลักษณะของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยนําสิ่งทีร่ จู ักกันดีแลว มาเปรียบเทียบ และใชคําเชื่อมที่แสดงการเปรียบเทียบ เชน เหมือน ดุจ ดั่ง ประหนึ่ง ราวกับ ดุจดั่ง ฯลฯ - อุปลักษณ (metaphor) เปนการเปรียบเทียบสิง่ ทีม่ ีลักษณะเหมือนหรือคลายกัน เพือ่ ใหเกิดภาพ ชัดเจน โดยไมใชคําแสดงความเปรียบ แตสามารถรับรูไดโดยนัยวาหมายถึงสิง่ ใด หรืออาจจะใชคําเชื่อมวา “คือ” “เปน” และ “เทา” เพือ่ แสดงความเปนสิ่งเดียวกัน - อติพจน (hyperbole) เปนการเปรียบเทียบดวยการกลาวเกินจริง เพือ่ ใหเกิดความรูสกึ ไดอารมณ และมุงผลทางดานจิตใจมากกวาขอเท็จจริง - บุคลาธิษฐาน (personification) เปนการเปรียบเทียบทีน่ ําเอาความรูสกึ ลักษณะ กิริยาอาการของ มนุษยไปใสในสรรพสิง่ ที่มีชีวิตและไมมีชีวิต ทําใหดูเหมือนมีอากัปกิริยาเหมือนมนุษย - ปฏิทรรศน (paradox) บางตําราเรียก ปฏิภาคพจน เปนการเปรียบเทียบที่นําคําที่มีความขัดแยง มาใชรวมขอความเดียวกัน ดูแลวขัดแยงกันจนไมนาจะเปนไปได - สัจพจน (symbol) เปนการเปรียบเทียบดวยการเลียนเสียงธรรมชาติ เพื่อใหเกิดภาพและได บรรยากาศเหมือนจริง 3). การอางถึง (Allusion) การอางถึงในการเขียนโนมนาวใจ เปนเทคนิคหนึง่ ที่ใชไดผลในการเสนอความคิดเห็น นักเขียนหลาย คนอางถึงพุทธวัจนะ เพราะเปนสิง่ ที่คนไทยนับถือและเชื่อถือ หรือไมก็อางถึงคําพูดหรือคําสัง่ สอนของบุคคล ที่เราเคารพนับถือ ตัวอยางเชน อริยสัจ ไตรลักษณ และนิพพาน ‘เปนสัจธรรม’ ที่พระพุทธเจาไดตรัสรูและ ไดทรงแสดงสัง่ สอนเรียกไดวาเปน ‘ธรรมสัจจะ’ สัจจะทางธรรมเปนวิสัยที่พงึ รูได ดวยปญญาอันเปนทางพนทุกขในพระพุทธศาสนา แตทางพระพุทธศาสนาก็ได แสดงธรรมในอีกหลักหนึง่ คูกันไป คือตาม ‘โลกสัจจะ’ สัจจะทางโลกคือแสดง ในทางมีตน มีของตน เพราะโดยสัจจะทางธรรมทีเ่ ด็ดขาดยอมเปนอนัตตา แต โดยสัจจะทางโลกยอมมีอัตตา ดังที่ตรัสวา ‘ตนแลเปนทีพ่ ึ่งแหงตน’ ในเรื่องนี้ได ตรัสไววา ‘เพราะประกอบเครื่องรถเขา เสียงวารถยอมมีฉนั ใด เพราะขันธทั้งหลาย มีอยู สัตวก็ยอมมีฉันนั้น’ ธรรมในสวนโลกสัจจะ เชน ธรรมทีเ่ กี่ยวแกการปฏิบัติ ในสังคมมนุษย เชน ทิศหก แมศีลกับวินัยบัญญัติทั้งหลายก็เชนเดียวกัน ฉะนั้นแม จะปฏิบัติอยูเพื่อความพนทุกขทางจิตใจตามหลักธรรมสัจจะ สวนทางกายและทาง สังคมก็ตอ งปฏิบัติอยูในธรรมดาตามโลกสัจจะ ยกตัวอยางเชน บัดนี้ตนอยูใน ภาวะอันใด เชน เปนบุตรธิดา เปนนักเรียน เปนตน ก็พึงปฏิบัติธรรมตามควร แกภาวะของตน และความพยายามศึกษานําธรรมมาใชปฏิบัติแกปญ  หาทีเ่ กิดขึ้น ประจําวัน พยายามใหมีธรรมในภาคปฏิบัติขึ้นทุก ๆ วัน ในการเรียน ในการ ~ 54 ~


ทํางาน และในการอื่น ๆ เห็นวาผูปฏิบัติ ดังนี้จะเห็นวาเองวา ธรรมมีประโยชน อยางยิ่งแกชีวิตอยางแทจริง 4). การกลาวซ้ํา (Repetition) การกลาวซ้ําเปนเทคนิคการใชภาษาที่ผูเขียนพึงระมัดระวัง เพราะหากใชอยางไมถูกตอง อาจทําให ผูอานเบื่อหนายได แตหากใชอยางถูกจังหวะอยางคนชํานาญ จะกอใหเกิดความประทับใจแกผูอานไดเปน อยางดี ตัวอยางเชน ผมอยากเห็นสังคมของเรามีผูคนที่มที ัศนคติดี ๆ ตอกันมากขึ้น ความรักและมิตรภาพจะเบิกบานไดมากขึ้น ตองรวมกัน ตองชวยกัน แนะนําคนอื่นและตนเองใหมีความคิดในแนว บวกใหมากขึ้น คือการจับถูก ไมจบั ผิด มองกันในแงดี ใหกําลังใจกัน ยกยอง ชมเชยใหเกียรติกัน ชวยเหลือกันใหมากขึ้น ๆ ลดการจับผิดแบบเอาจริงเอาจังกันลงเสียบาง เมื่อเราดีกบั เขา ทั้งความคิด คําพูด และการกระทํา เขาก็จะดีกบั เราเชนเดียวกัน อกเขา – อกเรา ใจเขา – ใจเรา ครับ อากาศก็รอนขึ้นทุกวัน ๆ ในขณะนี้ จิตใจจะยิ่งรอนยิ่งขึ้น เมื่อผูคนรอบขางไมมีแนวคิดในเชิงบวกเขาหากัน มุงจับผิด กลาวโทษ กาวราว กลาวหา ทะเลาะกันอยูตลอดเวลาอยางทุกวันนี้ แลวจะหลบไปอยูตรงไหนของประเทศไทยกันดีเลา ? 5). อารมณขัน (Humor) อารมณขันใชไดดีกับนักเขียนผูไมถนัดกับการเสนอความคิดเห็นที่มเี หตุผลอยางตรงไปตรงมา อารมณ ขันจะชวยใหผูอานไมรูสกึ เครงเครียด ซึ่งจะยังผลใหผูอานเตรียมพรอมตอตานสารทีเ่ ราโนมนาวใจ ตัวอยางเชน เขาวากินอาหารอเมริกันฟาสฟูด มันอันตราย อาจเปนมะเร็งไดงาย เพราะมีไขมันเยอะ ก็อาจจะจริงอยางทีเ่ ขาวา แตคุณคงไมฟาดแตแฮมเบอรเกอรหรือพิชซา ทุกวันใชไหม แฮมเบอรเกอรอาจทําใหคุณตายเร็วกวาปกติปสองป กวยเตี๋ยวน้ํา-แหง กวยเตี๋ยวราดหนา อาจจะตายชากวากิน แฮมเบอรเกอรสองป ผิดกันแคปส องป คุณจะเดือกรอนอะไร หรือจะวอรี่ทําไม

~ 55 ~


อยูแกไปนาน ๆ ลูกหลานรําคาญแย ถาเขาไมรําคาญ เราก็รําคาญ ตัวเอง เพราะจะยายตัวไปไหน มันไมคลอง ไมไวเหมือนตอนยังไมแก ผมถึงวา จะหวงไปไยกับการกินแฮมเบอรเกอร หรือฟาสฟูด อเมริกันแลว ตายเร็วไปทําไม อายกันมันฟาดกันทัง้ เมือง ไมเห็นมันเปนวอรี่อะไร วอรี่อะไรกับตายเร็ว อีกปสองป 6). ถอยคําที่ชัดเจนถูกตอง (Categorical Statements) ผูเขียนใชถอยคําที่ชัดเจน ถูกตอง ในการเขียน เพื่อใหผูอานมั่นใจและเชื่อมั่นวา ไมมีขอจํากัดใด และจะไมมีการเปลี่ยนแปลงถอยคํานั้น ตัวอยางเชน ไมวาวิกฤตการณของประเทศจะหนักหนวงและรุนแรงเพียงใด นายกรัฐมนตรีก็พรอมที่จะฝาฟนอุปสรรคและพยายามทุมเทความสามารถทั้งหมด แกไขปญหาทัง้ หลายใหลุลวงใหจงได 7). ศัพททางตรรกวิทยา (Logical Terms) การใชศัพททางตรรกวิทยาในการเสนอความเห็น จะทําใหผูอานรูส ึกเชื่อ และมีความเห็นคลอยตาม เพราะศัพททางตรรกวิทยาจะสะทอนใหเห็นถึงความมีเหตุผลของความคิดนั้น ตัวอยางคําศัพททางตรรกวิทยา เชน เพราะ....จึงเปนเชนนั้น ดวยเหตุที่.......จึงทําให เปนตน

3. การใหเหตุผล เครื่องมือในการโนมนาวใจที่ดี คือ ความสามารถในการใหเหตุผลที่ดี เรามีวิธีการใหเหตุผลสนับสนุน ความคิดที่เราตองการโนมนาวใจผูอานอยูหลายวิธีไดแก อุปนัย (Induction) การหาความจริงดวยการสังเกตขอเท็จจริง การพิสจู น และการใหเหตุผลจาก สวนยอย ๆ ไปหาสวนรวม ตัวอยางเชน อากาศเย็น ๆ หากไมหาอะไรมาพันคอไวอาจเปนหวัดได ใชวิกวาโปรัปสิ หรือ วันนี้ทองฟาครึ้ม ๆ อากาศคอนขางเย็น ตองรีบกลับบานแลว เพราะเดี๋ยวฝนจะตก นิรนัย (Deduction) เปนวิธีการใหเหตุผลที่นําขอสรุปมากลาวถึงกอนแลวจึงพูดหรือสนับสนุนหรือ อางอิงขอสรุปนั้น ตัวอยางเชน คนไทยทุกคนรักชาติ ไมหลีกเลี่ยงการเสียภาษี โดมเปนคนไทย โดมไมหลีกเลี่ยงภาษี สิ่งทีผ่ ูเขียนพึงระวังในการใหเหตุผลแบบนิรนัย คือ ขอสรุปที่นํามากลาวถึงกอนหนานั้นตอง สมเหตุสมผลและนาเชื่อถือ ~ 56 ~


4. การเสนอแนะ การเสนอแนะจะตองทําใหกลุมเปาหมายไมรูตัววากําลังถูกแนะนํา เพราะอาจทําใหเกิดทาทีที่เปน ปฏิปกษได องคประกอบทีจ่ ะชวยใหการโนมนาวดวยวิธีเสนอแนะไดผล ไดแก 4.1 การทําตัวใหกลมกลืนเปนพวกเดียวกัน 4.2 เสนอสิง่ ทีเ่ ขากับอุปนิสัย ความเชื่อ ความตองการพื้นฐานของคนคนนั้น 4.3 แสดงทาทีทเี่ ปนมิตร 4.4 ความมีชื่อเสียง ความมีอํานาจของผูสง สาร ตลอดจนการเปนผูม ีความรูมาก จะทําให ผูอานเชื่อฟงมากขึ้น การเสนอแนะจะไดผลดี หากทําใหผูอานรูส ึกวาเขาไดตัดสินใจดวยตนเอง ซึ่งวิธีการโนมนาวดวยการ เสนอแนะสามารถทําไดหลายวิธี เชน 1). ใชสรรพนามวา ‘เรา’ เพื่อสรางความเปนกันเอง 2). เสนอขอมูลที่นาเชื่อถือ มีเหตุผล ไมมีขอโตแยง 3). เปรียบเทียบกับสิ่งอื่นที่ทําใหขอเสนอของเราสําคัญทีส่ ุด 4). แยกสวนดีและไมดี เสนอใหกลุมเปาหมายเห็นทั้งสองดาน แตจงจําไววาตองเสนอสวนที่ดี มากกวาสวนที่ไมดี 5). การชักแมน้ําทัง้ หา หวานลอมจนเห็นคลอยตาม 6). แสดงความจริงใจและรับผิดชอบ วิธีนี้จะทําใหผูอานไววางใจ เชื่อถือ และศรัทธา เราตองให ผูอานตัดสินใจเองวาจะเชื่อตามที่เราโนมนาวหรือไม วิธีการโนมนาวที่กลาวมานั้นเปนวิธีการที่พบเห็นโดยทั่วไป อยางไรก็ตาม การเขียนโนมนาวใจยังคงมี อีกหลายวิธี เพราะการเขียนเปนงานสรางสรรค นอกจากนี้การเขียนโนมนาวใจก็มิไดจํากัดวิธีเขียนเพียงวิธีใด วิธีหนึ่งเทานั้น ผูเขียนสามารถนําแตละวิธีมาผสมผสานกันได ทั้งนี้เพื่อกอใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการ โนมนาวใจกลุม เปาหมาย

โครงสรางของการเขียน การเขียนโนมนาว เปนการที่มุงเสนอความคิดเห็นพรอมดวยเหตุผลหรือหลักฐานสนับสนุน เพื่อจูงใจ ใหผูอานคลอยตาม แบงการเขียนเปน 3 ไดแก 1) สวนนํา เปนสวนที่ตองแสดงจุดยืนของผูเขียน โดยกลาวถึงหัวขอเรื่องหรือประเด็นปญหาวา คืออะไร และความคิดเห็นของผูเขียนในเรื่องนี้คืออะไร การเขียนตอนนี้ควรใชขอความที่ดึงดูดความสนใจ 2) สวนเนื้อหา เปนสวนที่ตองแสดงเหตุผล กลาวถึงประเด็นสําคัญทีละประเด็น พรอมดวย หลักฐานสนับสนุน เพื่อใหผูอานพิจารณาวาเหตุใดจึงตองเชื่อตามความคิดเห็นของผูเขียน 3) ตอนสรุป เปนส วนที่ ตอ งเนนย้ําจุดยืนของผูเ ขียน พรอ มสรุป เหตุผลสําคัญ ๆ หรือ อาจ เสนอแนะแนวทางการแกไขปญหา ซึ่งการเขียนควรใชคําที่แสดงอารมณและคําเชื่อมโยงถึงเหตุผลในลักษณะ โนมนาวและเปนปจจุบันกาล ~ 57 ~


สิ่งที่ควรพิจารณาในการเขียนโนมนาวใจ 1. หลักจิตวิทยาที่เกี่ยวของกับการโนมนาวใจ งานเขียนโนมนาวจิตใจเปนงานเขียนที่มีจุดมุงหมายและมีความสัมพันธโดยตรงกับจิตใจของมนุษยผู เปนกลุมเปาหมายหรือผูอาน ดังนั้นจึงเปนงานเขียนที่มิอาจหลีกเลี่ยงความเกี่ยวของกับหลักจิตวิทยาได การศึกษาหลักจิตวิทยาอยางกวางเพื่อใหรูวา มนุษยมีความตองการพื้นฐานอะไรบาง ซึ่งจะทําใหผูเขียน สามารถโนมนาวใจผูอ านไดดียิ่งขึ้น เพราะสิง่ ที่นําไปโนมนาวใจผูอานนั้น หากตรงกับความตองการพื้นฐาน ของเขาพอดี ก็จะทําใหเขายอมรับฟงงายขึ้น หลักจิตวิทยาทีเ่ กี่ยวของกับการโนมนาวใจ ที่จะกลาวถึงนี้เปนแนวคิดของมาสโลวเกี่ยวกับแรงจูงใจ ของมนุษย (Maslow Conceptions of Human Motivation) ซึ่งแบงระดับความตองการของมนุษยไว 5 ระดับ คือ ระดับที่ 1 ความตองการทางสรีรวิทยาหรือความตองการเพื่อดํารงชีวิตรอด เชน อาหาร น้ํา ที่อยู อาศัย เปนตน (Physiological Needs) ระดับที่ 2 ความตองการชีวิตที่มั่นคงปลอดภัย ทั้งดานรางกายและจิตใจ (Safety Needs) ระดับที่ 3 ความตองการเปนสวนหนึง่ ของกลุมและตองการความรัก (Love and Belonging Needs) ระดับที่ 4 ความตองการเกียรติและศักดิ์ศรี การยอมรับในสังคม (Esteem Needs) ระดับที่5 ความตองการตระหนักในตน (Self-actualization Needs) หากจุดมุงหมายในการโนมนาวใจของผูเขียน สอดคลองตรงกับความตองการพื้นฐานของมนุษย ก็จะ ทําใหงานเขียนโนมนาวชิ้นนั้น ๆ มีโอกาสประสบความสําเร็จไดมาก เชน โฆษณาของบริษัทประกันภัยชีวิต มี เปาหมายการจูงใจอยูทที่ ําใหมนุษยมีหลักประกันที่มั่นคงปลอดภัยในชีวิต อันตรงกับความตองการของมนุษย ตามทฤษฎีของมาสโลวขอที่ 2 มีผลทําใหโฆษณาชิ้นนี้มีโอกาสประสบความสําเร็จสูง หรือตัวอยางการ โฆษณาเสื้อเชิ้ตแอรโรว จับจุดความตองการของมนุษยที่ตองการความแตกตางจากผูอื่น มาทําเปนคําขวัญของ โฆษณาวา ‘แอรโรว เอกลักษณของเอกบุรุษ’ เปนตน 2. กลุมเปาหมาย การเขียนโนมนาวใจตองมีภาพกลุม เปาหมายหรือผูอานอยูในจิตใจ เพราะสิง่ นี้จะชวยใหผูเขียนเลือก วิธีการเขียนไดอยางเหมาะสม กอนที่จะลงมือเขียนจะตองถามตัวเองวาผูอานของเราเปนใคร มีการศึกษา ระดับใด มีสถานภาพสังคมอยางไร มีความสนใจตลอดจนประสบการณในหัวขอทีเ่ ราจะโนมนาวใจของเขาแค ไหน พยายามคิดถึงผูอานใหมากที่สุด อาจมากจนถึงลองคิดหรือลองถามคําถาม หรือหาคําตอบในฐานะที่ เปนผูอานคนหนึ่งเลยยิ่งดีมาก 3. น้ําเสียง การควบคุมน้ําเสียงเปนเรื่องสําคัญในการเขียนโนมนาวใจ เพราะน้ําเสียงจะเผยใหเห็นทัศนคติของ ผูเขียนทีม่ ีตอผูอ าน หากผูเ ขียนสนับสนุนผูอานดวยการใชน้ําเสียงออนนอมถอมตน หรือบอกเปนนัยวาผูอาน ~ 58 ~


เปนสวนหนึ่งของปญหาที่คุณกําลังคนพบ เปนการเสี่ยงทีจ่ ะทําใหผอู านถอยหางออกไป ไมมีใครชอบทีจ่ ะทํา ตามคนที่เด็กกวา ในทางตรงขาม หากผูเ ขียนสามารถทําใหผูอานรูส ึกวาเขาฉลาด และมีเหตุผล เปยมไปดวย ศักยภาพที่จะประเมินขอดีทผี่ ูเขียนยกมาอาง ผูเ ขียนก็จะไดรับทาทีตอบสนองที่ดีกวาจากผูอาน การเลือกน้ําเสียงในการเขียน ตองเลือกใหเหมาะสมกับหัวขอเรื่อง และผูอานของเรา เชน หากเขียน เรื่องการเมืองใหนักการเมืองอาน ผูเขียนตองใชน้ําเสียงเสียดสี ถากถาง แตถาเขียนใหประชาชนธรรมดาอาน จะใชน้ําเสียงที่มเี หตุผล

สิ่งที่ตองระวังในการเขียนโนม นาวใจ คือการที่ผูเขียนตองมีจริยธรรม ไมโนมนาวใหผูอานมี ความคิดหรือกระทําพฤติกรรมที่ไมถูกตองตามทํานองคลองธรรม หรือมีพฤติกรรมที่สังคมไมยอมรับ เพราะผิดไปจากมาตรฐานทางสังคม *************************************************************************************

ตัวอยางการเขียนโนมนาวใจ คุณอาจตองจายคาน้ํามันเพิ่มลิตรละไมกี่บาท แตชาติตองจายเพิ่มกวาสองรอยลานบาทตอวัน คุณรูหรือไม? เคยรูไหมวา น้ํามันทีเ่ ราใชทุกวันนี้ เกือบ 100% เปนสินคานําเขา ตองซื้อดวยเงินดอลลาร เทียบ เปนเงินไทยโดยปกติก็กวา 500 ลานบาทตอวัน หรือเกือบ 2 แสนลานบาทตอป ยิ่งชวงหนาหนาว ความตองการน้ํามันทั่วโลกเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะประเทศในเขตหนาวที่ตองใชน้ํามัน จํานวนมากสําหรับใหความอบอุนตลอดฤดูหนาว ประกอบกับกลุมผูคาน้ํามันหรือโอเปก มีนโยบายลดกําลัง การผลิต เมื่อสินคานอย ความตองการมาก สถานการณน้ํามันของโลกจึงมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกลไก ตลาด สงผลใหราคาน้ํามันถีบตัวสูงขึ้น ซึ่งการขยับสูงขึ้นของราคาน้ํามัน ไมเพียงกระทบตอคนไทยกับ ประเทศไทยเทานั้น แตยังสงผลตอทุกประเทศทั่วโลก เวนเพียงบางประเทศที่ใชน้ํามันอยางมีประสิทธิภาพ เทานั้น ที่พนจากปญหาราคาน้ํามันครัง้ นี้ ดังนั้น เมื่อเราคาดเดาไมไดวาสถานการณน้ํามันขางหนาจะเปนอยางไร น้ํามันจะถูกหรือแพงขึ้นอีก วันไหน ทางที่ดีที่สุด เราควรใชน้ํามันอยางประหยัด ใชทุกหยดใหคุมคาเปนนิสัย อยาลืมวา คาน้ํามันที่คุณ จายมากขึ้น ก็หมายถึงรายจายที่เพิม่ ขึ้นของประเทศชาติ

~ 59 ~


การเขียนคําขวัญ คําขวัญ คือ คําพูดที่กลาวใหเปนขอคิดหรือแนวทางปฏิบตั ิเนื่องในกรณีใดกรณีหนึง่ หรือโอกาสใด โอกาสหนึ่ง เปนขอความเตือนใหระลึกถึงหนาที่การงาน และความประพฤติตาง ๆ หรือการปลูกฝงหรือ เปลี่ยนแปลงทัศนคติตอสถาบัน หรือเพือ่ ผนึกความคิดรวบยอดของสินคา ลักษณะคําขวัญที่ดี คําขวัญที่ดีคือ คําขวัญที่กระทบใจผูร บั สาร ทําใหผูรบั สารสนใจและจดจําคําขวัญไดทันที และ/หรือ เปนการอางเตือนผูร ับสารไมใหลมื ขอเดนในคําขวัญนั้น เชน ชื่อสินคา บุคลิกของสินคา และขอมูลที่ ตองการเสนอ ทั้งนี้ขึ้นอยูกบั สือ่ ที่ใช ตําแหนงคําขวัญในสื่อ อวัจนภาษาดานตัวอักษร สี และที่สําคัญ ไดแก วัตถุประสงคในการสรางคําขวัญนั้น ๆ การเขียนคําขวัญโนมนาวใจมีหลักดังนี้ 1. เขียนใหตรงจุดมุงหมาย ตรงตามประเด็นที่ตองการกอนเขียนคําขวัญโนมนาวใจในเรือ่ งใด ๆ ผูเขียน ตองทําความเขาใจจุดมุงหมายใหถองแทเสียกอน เชน - ไมมีครู ก็ไมรูวิชา - ชาวตรังใจกวาง สรางแตความดี - ตํารวจอยูที่ไหน ประชาอุนใจที่นั่น - อากาศเปนพิษ ชีวิตเปนภัย - ปตท. พลังไทย เพื่อไทย - ขับรถระวังคน ขามถนนระวัง เปนตน 2. เปนถอยคําที่สั้น กะทัดรัด อาจมีจํานวนคําตั้งแต 2 คําขึ้นไป อาจเปนประโยค เดียวหรือสอง ประโยคที่สมั พันธกัน หรืออาจมีเพียง 1 วรรค ถึง 4 วรรค เชน - ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย อดทน - ชวยราษฎร เสริมรัฐ ยืนหยัดยุติธรรม - การบินไทยรักคุณเทาฟา ยามศึกเรารบ ยามสงบเราพัฒนา ประชาธิปตย ขจัดปญหา พัฒนา กทม. - อากาศเปนพิษ ชีวิตจะสั้น ตนไมเทานั้น ทั้งกันทั้งแก เปนตน 3. มีใจสมบูรณ ชัดเจน ไมคลุมเครือ มีใจความสําคัญหรือเปาหมายในคําขวัญเพียงประการเดียว เพื่อใหผูรบั สารจําไดงาย ไมสับสน เชน - คุมคาทุกนาที ดูทีวีสีชองสาม - วันพระ ชาวพุทธ หยุดเหลา ~ 60 ~


-

ไทยสมุทรยึดมั่นคําสัญญา บานเมืองสวย ดวยมือเรา ขับเร็วชิดขวา ขับชาชิดซาย เปนตน 4. เขียนดวยถอยคําภาษางาย ๆ มีการเลนคํา เลนสัมผัส และมีชวงจังหวะทีเ่ หมาะสม เพื่อความ ไพเราะและจดจําไดงาย เชน - งานคือเงิน เงินคืองาน บันดาลสุข - ยุงแขยง แมลงขยาด เมือ่ อาทขยับ - ครองตน ครองคน ครองงาน - ยิ้มเดียว เคี้ยวเพลิน - หลงทางเสียเวลา หลงติดยาเสียอนาคต - คาดเข็มขัดนิรภัย ปลอดภัยตลอดเสนทาง เปนตน 5. หากเปนคําขวัญโฆษณาสินคา นาจะมีชื่อสินคาอยูในคําขวัญ นั้นดวย เชน - ตองโคกซิ - เปบซี่ดีทสี่ ุด - ชารป กาวล้ําไปในอนาคต - สวมแพน แสนเพลิน เปนตน

-------------------------เอกสารอางอิง : ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปะศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. (2543) เอกสารการสอนวิชา ศิลปะการเขียน ภาษาไทย 1. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ภาคภูมิ หรรนภา และดุษฎี กองสมบัติ. (2549) การเขียนเพื่อการสื่อสาร. พิมพครั้งที่ 2 : มหาสารคาม : ภาควิชา ภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สมจิต รัตนวิจิตร. (2537) การเขียนเพื่อการสื่อสาร. นครศรีธรรมราช : โครงการตําราและเอกสารทางวิชาการ สถาบันราชภัฎนครศรีธรรมราช.

~ 61 ~


7. การเขียนแนะนําหนังสือ การเขียนแนะนําหนังสือ บางทีเรียกวา ‘ปริทัศนหนังสือ’ เปนการใหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับหนังสือ เลมนั้นอยางงาย ๆ แกผทู ี่จะเลือกหนังสืออาน หนังสือที่เลือกมาแนะนําควรเปนเรื่องที่นาอานและมีคุณคา ซึ่ง การเขียนแนะนําหนังสือเปนการวิจารณหนังสืออยางงาย ๆ ไมตองใชหลักการวิจารณอยางเปนทางการ เพียงแตใหคนทั่วไปรูจกั หนังสือเลมนั้น ๆ มากยิ่งขึ้น ประโยชนของการแนะนําหนังสือ 1. เปนการชวยประหยัดเวลาในการเลือกหนังสือเนื่องจากในทองตลาดมีหนังสือจํานวนมาก 2. รูจักหนังสือเลานั้น ๆ มากยิ่งขึ้น เพือ่ ชวยในการเลือกหนังสือ 3. รูจักหนังสืออยางคราว ๆ โดยไมตองเสียเวลาอานเลมจริง หลักการเขียนแนะนําหนังสือ 1. กลาวถึงชื่อหนังสือ ชื่อผูแตงหรือนามปากกาที่ใชเขียน 2. บอกลักษณะหนังสือ เชน จํานวนหนา ครั้งที่พิมพ ปที่พมิ พ สํานักพิมพ และราคา 3. บอกประเภทหนังสือ เชน ตํารา สารคดี นวนิยาย เรื่องสัน้ การตูน 4. เลาเรื่องโดยยอ ถายทอดแนวคิดสําคัญใหผูอานไดรู อาจยกตัวอยางขอความที่นาสนใจในหนังสือ มาประกอบ 5. บอกคุณลักษณะพิเศษของหนังสือ เชน การใชภาษา เนื้อหา ภาพประกอบ 6. แสดงความคิดเห็นของผูเขียน การเขียนหนังสือตองมีใจเปนธรรม ไมมอี คติหรือใชอารมณความรูสึกมากเกินไป ซึ่งสอดคลองกับ คํากลาวของกุหลาบ มัลลิกะมาส (2525 : 3) ที่วา ‘การแนะนําหนังสือนั้น จะตองไมเลาเรื่องละเอียด จนเกินไป ควรเลาแตโครงเรือ่ งและยกตัวอยางทํานองอัญประภาษ ตอนที่นาสนใจหรือนาติดใจ อันเปนจุดเดน แทนการเลาเรื่อง ... หรือยกยองคุณคาจนเกินไปจนกลายเปนการโฆษณาอยางขาดความเปนกลาง แต ขณะเดียวกันก็ไมตําหนิโดยใจลําเอียงหรือขาดหลักฐาน’

~ 62 ~


ตัวอยางการเขียนขึ้นตนของการแนะนําหนังสือ 1. แนะนําดวยการกลาวถึงความสําคัญและความดีเดนของเรื่อง เชน การเขียนแนะนําหนังสือเรื่อง History of Thailand & Cambodia ของ ม.ล. มานิจ ชุมสาย ดังความวา หนังสือเรื่องนีม้ ีขอเท็จจริงใหมหลายประการ เพราะผูแตง เปนคนไทยผูม ีโอกาสไปคนควาเอกสารในประเทศอังกฤษและ ฝรัง่ เศสมากเรื่องดวยกัน นักประวัติศาสตรไทยจะเห็นไดวา เรื่องที่ยังไมทราบ จะไดทราบจากหนังสือนี้อกี หลายเรื่องทีเดียว ดิลกี : ผูเขียนแนะนํา 2. แนะนําดวยการบอกถึงคุณภาพของงานเขียนที่ผานมา เพื่อเปนหลักประกันความดีเดนของงาน เขียน ใหม เชน การเขียนแนะนําหนังสือเรือ่ ง ตะกวดกับคบผุ ของนิคม รายยวา ดังความวา นิคม รายยวา ไมใชเปนนักเขียนหนาใหม เขา เคยผลิตผลงานเดน ๆ แนวสัญลักษณออกมาเมื่อราวสิบปที่ผาน มา คือ เรื่องคนบนตนไมและคนดําน้ํา ระยะหลัง ๆ เขาไดหาย เงียบไป แตไดกลับมาเสนอผลงานที่นาสนใจอีกครัง้ หนึ่งคือ ตะกวดกับคบผุ ซึ่งไดรับรางวัลในงานสัปดาหหนังสือแหงชาติที่ จัดขึ้นเมื่อเดือนเมษายนที่ผานมา อิงอร สุพันธุวณิช : ผูเขียนแนะนํา 3. แนะนําดวยการบอกประเภทหรือลักษณะของหนังสือ เชน การเขียนแนะนําหนังสือเรื่อง สมุดขาง หมอน ของ ส.ศิวรักษ ดังความวา หนังสือเลมนีเ้ ปนบันทึกการทองเที่ยวอันเนื่องมาจากผูเ ขียน ไดรับเชิญจาก International House of Japan ใหไปเยือนญี่ปุน เดือนหนึง่ และไดมีโอกาสเที่ยวตะวันออกไกลอีกบางประเทศ แลว ยังเดินทางตอไปยังยุโรปอีกดวย จึงรวมเปนเวลาทั้งหมดเกือบสอง เดือน ซึ่งเปนเวลานานพอที่จะไดเห็นตัวเองอยูในสภาพแวดลอมที่ ตางออกไปจากเดิม ทําใหไดคิดผิดแปลกไปจากระบบความคิดและ ระบบงานอันเคยชินและทําใหรจู ักตนเองกระจางขึ้น เปนโอกาสให ผูเขียนทําบันทึกเอาไว โดยใหชื่อวา ‘สมุดขางหมอน’ เปนการ เลียนแบบชื่อหนังสือ ‘The pillow of Sei Shonageon’ อันมีชื่อ ของญี่ปุน นิจ หิญชีระนันทน : ผูเขียนแนะนํา

~ 63 ~


4. แนะนําดวยการบอกวัตถุประสงคของผูแตง เชน การเขียนแนะนําหนังสือเรื่อง ไวยากรณไทย ของ นววรรณ พันธุเมธา ดังความวา หนังสือ ‘ไวยากรณไทย’ ฉบับนี้ ผูเ ขียนไดแสดง วัตถุประสงคของหนังสือไวอยางชัดเจนในคํานําวา เปนหนังสือที่ เขียนขึ้นเพื่อประโยชนใชสอย 2 ประการ คือ เปนตําราสําหรับ วิชาวิเคราะหโครงสรางภาษาไทย และเปนหนังสืออางอิงใหแนว วิเคราะหประโยคภาษาไทยสําหรับนิสิตปริญญาโท เพียรศิริ วงศวิภานนท : ผูเขียนแนะนํา 5. แนะนําดวยการบอกทีม่ าของเรื่อง เชน การเขียนแนะนําหนังสือเรื่อง กํานันโพธิ เชิงชาย ของ นิมิต ภูมิถาวร ดังความวา นิมิต ภูมิถาวร เขียนเรื่องนี้ขึ้นจากประสบการณทเี่ คยมีมา แตเยาววัยในทองถิ่นชนบท และสิ่งที่ไดพบไดเห็นซ้ําแลวซ้ําเลา ในขณะที่รับราชการครู วนิช ศรีวงษา: ผูเขียนแนะนํา ตัวอยางการเขียนลงทายการแนะนําหนังสือ 1. ลงทายดวยการกลาวถึงความสําเร็จของผูเ ขียน เชน การเขียนแนะนําหนังสือเรื่อง ไวยากรณ ไทย ของ นววรรณ พันธุเมธา ดังความวา โดยสรุป อาจกลาวไดวา หนังสือเลมนี้บรรลุวัตถุประสงค ที่ผูเขียนไดตั้งใจไวอยางดี คือ การเปนตําราวากยสัมพันธใน ระดับปริญญาตรี และการเปนหนังสืออางอิงเบื้องตนในระดับ ปริญญาโท ขอดอยขอติงที่ยกมากลาวก็เปนเพียงวาผูอา นซึ่ง ไมใชนิสิตปริญญาตรีและปริญญาโท อาจจะรูสกึ วา หนังสือเลมนี้ นาจะลงลึกกวานี้ในหลาย ๆ หัวขอ ซึ่งถาจะวาไป ก็เปนการ พยายามจะขอมากกวาทีผ่ ูเขียนเจตนาจะให เพียรศิริ วงศวิภานนท : ผูเขียนแนะนํา 2. ลงทายดวยการสรุปถึงคุณภาพและคุณคาของหนังสือ เชน การเขียนแนะนําหนังสือเรือ่ ง ซอย เดียวกัน ของ วาณิช จรุงกิจอนันต ดังความวา ดังนั้น ถาอานดวยใจเปนธรรมแลว ก็เห็นไดวา หนังสือ เลมนีเ้ หมาะทีจ่ ะไดรบั รางวัลซีไรท ในปนี้ เพราะมีเนื้อหาที่ดี พอสมควร ไมมีเรื่อง “น้ําเนา” การใชภาษาสื่อความรูส กึ ไดดี สะทอนความคิดคอนขางรวมสมัย สะทอนวัฒนธรรมความเชื่อ ~ 64 ~


ของคนไทย ในฐานะนักอานที่ไดติดตามผลงานของ วาณิช มา นานป ก็ใครจะแสดงความยินดีกบั นักเขียนซีไรทคนลาสุดไว ณ ที่นี้ดวย และหวังวา วาณิช คงจะผลิตเรื่องสั้นแนวใหม ๆ ที่ นาสนใจออกมาสูวงวรรณกรรมอีก อิงอร สุพันธุวณิช : ผูเขียนแนะนํา 3. ลงทายดวยการบอกถึงลักษณะของหนังสือทีเ่ หมาะสมกับรสนิยมของผูอาน เชน การเขียน แนะนําหนังสือเรื่อง บุพเพสันนิวาส ดงปาริชาติ และเรื่องสั้นอื่น ๆ ของ นวนาค ดังความวา สําหรับผูอานที่นิยมกลิ่นหอมกรุนออน ๆ ของดอกไมไทย ชื่น ชมในความนุมนวลอันเปนคุณสมบัตสิ ตรีไทย “บุพเพสันนิวาส” และ เรื่องสั้นอื่น ๆ คือหนังสือที่ทานควรทําความรูจ ัก วันเพ็ญ จันทรวิโรจน : ผูเขียนแนะนํา 4. ลงทายดวยการแหยยั่วยุเพือ่ ใหแสวงหาคําตอบที่ทุกคนสนใจ เชน การเขียนแนะนําหนังสือเรือ่ ง การเปลี่ยนแปลงถอยคําและความหมายของสํานวนไทย ของ ไขสิริ ปราโมช ณ อยุธยา ดังความวา ตัวเองไมอาน ใหลกู อานก็ได หรือถึงไมอานอยางเอาไปใช ก็ อานอยางทําความเขาใจ แลวคําตอบของคําถามที่วา ทําไมคํา ประเภท เอาะ เอาะ ของบรรดา “วัยหวาน” ทัง้ หลาย จึงไดอุบัติ ขึ้นอยางไมขาดสาย แลวเราจะมองเห็นอนิจลักษณะอยางที่เปน ธรรมดา สาหราย : ผูเขียนแนะนํา 5. ลงทายดวยการบอกถึงความเหมาะสมของหนังสือกับผูอา น เชน การเขียนแนะนําหนังสือเรื่อง History of Thailand & Combodia ของ ม.ล.มานิจ ชุมสาย ดังความวา อยางไรก็ตาม หนังสือ History of Thailand & Combodia ของ ม.ล.มานิจ ชุมสาย เหมาะอยางยิ่งสําหรับนัก ประวัติศาสตรและนักอานหนังสือทั่วไป ดิลกี : ผูเขียนแนะนํา ------------------แหลงอางอิง : ดวงใจ ไทยอุบุญ. (2552) ทักษะการเขียนภาษาไทย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

~ 65 ~


ตัวอยางการเขียนแนะนําหนังสือ เรื่อง “แวนวรรณกรรม : รวมบทความ” ม.ล.บุญเหลือ เทพยสุวรรณ สํานักพิมพอานไทย, 2529 จํานวน 550 หนา, 65 บาท “แวนวรรณกรรม” เปนหนังสือรวมบทความวรรณกรรมของ ศาสตราจารย ม.ล.บุญเหลือ เทพย สุวรรณ ประกอบดวยบทความหลายชิ้นและทัศนะในการอภิปรายวาระตาง ๆ เปนสมบัติทพิ ยทางวรรณกรรม ที่ ม.ล.บุญเหลือ มอบไวแดผสู นใจวรรณกรรมและครูผสู อนวรรณคดี วรรณกรรม ทุกทาน เนื้อหาของหนังสือ แบงออกเปน 2 ภาค คือ ภาควรรณกรรมศึกษาและภาคนักเขียนกับงาน ภาควรรณกรรมศึกษา เปนบทความทีเ่ ขียนขึ้นเพื่อประกอบการสอนวรรณกรรม ประกอบดวย ตัวอยางการวิจารณนวนิยาย ขอสังเกตเรื่องวรรณคดีไทย แนวทางการเรียนวรรณกรรมวิจักษและวรรณคดี วิจารณ แนะแนวทางการอานนวนิยาย แนะแนวทางวิจารณวรรณคดีประเภทรอยกรอง วรรณกรรม การเมือง วิชาวรรณกรรมศึกษา : สิ่งทีส่ อนและวิธีการสอน คานิยมใหมในวรรณคดีไทยเกา วรรณกรรมเดิม กับคานิยมของสังคมปจจุบัน แนวทางการศึกษาและวิเคราะหวรรณคดีไทย การตีความวรรณกรรม วรรณคดี กับการวิจัยและวรรณกรรมปจจุบัน บทความในภาคนี้แสดงใหเห็นถึงความเปนนักเลงวรรณกรรมอยางแทจริง ของผูเขียน นอกจากจะเปนนักเลงวรรณกรรมแลว ม.ล.บุญเหลือ ยังเปนผูทเี่ ห็นความสําคัญของพันธกิจนักเขียน และนักวิจารณ ดังจะเห็นไดจากทัศนะของทาน ในบทความภาคนักเขียนกับงาน ซึง่ ประกอบดวยขอคําถาม ชวนคิดเกี่ยวกับพระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย “พระพุทธเลิศหลาฯ ไมเห็นไดทํา อะไร” นวนิยายของดอกไมสด งานของอังคาร กัลปยาณพงศ ขอคิดบทวิจารณ “จดหมายจาก เมืองไทย” ของ โบตั๋น และนักเขียนในฐานะผูป ระกอบศิลปะ สาระทั้งหมดในเลมสมบูรณไปดวยขอคิดและขอควรรูเกี่ยวกับวรรณกรรมไทย แมวาเนื้อหาบางสวน จะมีความซ้ําซอนกันอยูบ าง เนื่องจากเปนหนังสือทีจ่ ัดพิมพขึ้นภายหลังที่ผเู ขียนเสียชีวิตไปแลว จึงไมอาจ จัดระบบเนื้อหาไดดีกวานี้ แตถึงกระนั้นก็ตาม “แวนวรรณกรรม” ก็ยังมุง หวังใหผอู านไดรับสาระเรื่องราว อยางลุมลึก และทาทายตอการศึกษาตอในสวนทีผ่ ูเขียนทิง้ คางประเด็นตาง ๆ ไว ขอเชิญเพื่อนครูภาษาไทย หยิบ “แวนวรรณกรรม” เพื่อสองคุณคาของวรรณกรรมไทยกันเถิด หาก ทานเปนคน “สายตาสั้น” มองคุณคาของวรรณกรรมพราเลือน บางที “แวนวรรณกรรม” เลมนี้ อาจชวยให ทานมองเห็นคุณคาไดกระจางตายิ่งขึ้น ดวงใจ ไทยอุบุญ : ผูเขียน แนะนํา

~ 66 ~


8. การเขียนโฆษณาและประชาสัมพันธ ความหมายของโฆษณา “การโฆษณา” (Advertising) หมายถึง การนําเอาแนวความคิด สินคา หรือบริการมาเสนอใหกบั ลูกคา โดยใชสื่ออยางใดอยางหนึ่ง และมีการระบุตัวผูใหการสนับสนุนดวย ในการนี้จะตองมีการเสียคาใชจาย ในการใชสื่อนั้น ๆ เชน การโฆษณาสินคาอยางหนึ่งทางหนังสือพิมพ ผูขอใหมีการโฆษณาหรือผูส นับสนุนมี จุดมุงหมายเพื่อแนะนําหรือสงเสริมการขายสินคานั้น จึงตองจายเงินคาเชาเนื้อที่การโฆษณาตามที่หนังสือพิมพ กําหนด การโฆษณาจึงจะเกิดขึ้น จะเปนการโฆษณาโดยใชสอื่ อยางอื่นก็เชนกัน คําอีกคําหนึ่งซึง่ มีลักษณะคลาย ๆ กัน แตมีความหมายตางกัน คือ “การโฆษณาชวนเชื่อ” (Propaganda) ซึ่งเปนการชักจูงหรือชักชวนบุคคลใหมีความเห็นคลอยตามหรือมีความเชื่อตามคําชักชวนนั้น ๆ เนื้อหาการชักชวนอาจจะเปนไปในทางดีหรือไมดกี ็ได ซึ่งมีจุดมุง หมายเพื่อใหผรู ับเกิดความเชื่อตามที่ตน ชักชวน โดยมิไดคํานึงถึงหลักความจริง เพียงแตเพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายที่ตั้งไวเทานั้น นิยมนํามาใชทาง การเมือง จึงอาจจะมีทั้งเรื่องจริงและเรื่องไมจริง จุดมุงหมายของการโฆษณา การโฆษณามีจุดมุงหมายแตกตางกันตามโอกาสและตามเวลาที่แตกตางกัน ดังนี้ 1. เพื่อแนะนําใหรูจักสินคานั้น ๆ และ/หรือบริการใหม สําหรับกลุมเปาหมายนั้น ๆ 2. เพื่อใหขาวสารตาง ๆ ที่เกี่ยวกับลักษณะ และคุณประโยชนของสินคา และ/หรือบริการ 3. เพื่อสรางแรงจูงใจ เราใจ หรือดึงดูดใจ ใหเกิดขึ้นกับสินคา และ/หรือบริการนั้น 4. เพื่อเปนการย้ําใหสินคาหรือบริการนั้น อยูในความทรงจําของผูบริโภคตลอดไป 5. เพื่อเปนการเอาชนะคูแขงขันในการจําหนายสินคาหรือบริการประเภทเดียวกัน 6. เพื่อเปนการสรางความเชื่อถือในสินคา หรือบริการใหเปนที่ยอมรับ อันจะสงผลถึงการจําหนาย สินคาหรือบริการของผูผลิตคนเดียวกัน 7. เพื่อสงเสริมการใชสินคาหรือบริการใหมากยิ่งขึ้น อันจะสงผลถึงการขยายตลาดสินคาหรือบริการ นั้นใหกวางขวางยิ่งขึ้น

การเขียนขอความโฆษณา ขอความโฆษณา หมายถึง สวนประกอบทุกอยางทีป่ ระกอบขึ้นเปนชิ้นงานโฆษณา เชน ถาเปนการ โฆษณาทางสิ่งพิมพ ขอความโฆษณา จะหมายถึงขอความทีเ่ ปนภาษาเขียน สัญลักษณ รูปภาพ เสนกรอบ และ เสนประดับทั้งหมด ที่ปรากฏอยูในสวนของโฆษณา แตถาเปนการโฆษณาทางโทรทัศน ก็หมายถึง บท บรรยาย บทสนทนา ภาพที่ใชในการโฆษณา ดนตรี เสียงประกอบการแสดง และเทคนิคตาง ๆ ที่ใชในการ ทําใหการโฆษณาสมบูรณ

~ 67 ~


การเขียนโฆษณาจะตองยึดหลักการดึงดูดความสนใจ (Attention) การสรางความนาสนใจ (Interest) การทําใหเกิดความตองการ (Desire) และการกระตุนใหเกิดการกระทํา (Action) โดยกําหนดใหมีโครงสราง 4 สวน คือ สวนหัวเรื่องและหัวเรื่องรอง สวนเนื้อหา สวนสนับสนุน และสวนปดทาย 1. การดึงดูดความสนใจ (Attention) เปนสวนของการโฆษณาที่ทําใหผูพบเห็นหรือผูรับการ สื่อสารเกิดความสนใจในอันที่จะติดตามขอความโฆษณาตอไป โฆษณาที่ดีจะตองสรางองคประกอบที่ทําให ดึงดูดความสนใจ มีลัก ษณะเฉพาะตัว เชน การใช ขอความสั้ น ๆ กะทัดรัด ได ใจความ เราใจให อยาก ติดตามรายละเอียดอื่นๆ อาจสรางเปนรูปคําถามปริศนาหรือแงคิด เชน “ทําไมยาสีฟนเหมือนกัน แตใหคุณคาไมเหมือนกัน” “หายหวงเรือ่ งผิวเสียเพราะแดดไดแลวคะ” “สิ่งที่คุณมิไดคาดฝน อาจเกิดขึ้น”

สิ่ง เหลานี้คือ “หัวเรื่ อง” (Headline) ซึ่ง ทํ าหนาที่ดึงดู ดความสนใจ อาจจะแสดงด วยภาพหรือ ขอความหรือ ทั้งภาพและขอ ความก็ได แตส วนมากจะใช ขอ ความที่ มีขนาดใหญก วาขอ ความอื่ น ถา ขอความมีความยาวมาก อาจจะแบงหัวเรื่องเปน หัวเรื่องรอง (Sub heading) หัวเรื่องรองจะมีลักษณะชี้ เฉพาะเจาะจงกวาหัวเรื่องหลัก ซึ่งจะชักจูงใหผูอานติดตามรายละเอียดในโฆษณาตอไป หัวเรื่องหลัก หัวเรื่องรอง

: เลิกหวาดกลัวกับการยอมผมหงอกไดแลว : ขอแนะนําแคลรอล เลิฟวิ่ง แคร คัลเลอร มูส มูสยอมผมหงอก วิวัฒนาการใหมที่ไมทําลายสุขภาพผม

หัวเรื่องหลัก หัวเรื่องรอง

: ขาวดีสําหรับแมบานผูรกั การประหยัด : บริษัท...ไดผลิตผงซักฟอก...ขึ้นใหม คุณภาพเหมือนเดิม แตราคาประหยัดกวา...

หัวเรื่องหลัก หัวเรื่องรอง

: เลิกหวาดกลัวกับการยอมผมหงอกไดแลว : ขอแนะนําแคลรอล เลิฟวิ่ง แคร คัลเลอร มูส มูสยอมผมหงอก วิวัฒนาการใหมที่ไมทําลายสุขภาพผม

~ 68 ~


การพาดหัวเรื่องอาจเขียนไดหลายลักษณะแตกตางกัน 1) พาดหัวแบบขาว เปนพาดหัวที่มีลักษณะเปนการนําเสนอขอมูลใหม ใหกับกลุมเปาหมายเพื่อให รับทราบ เชน การประกาศสถานที่ตั้งรานสาขาแหงใหม การออกผลิตภัณฑใหม การลดราคาพิเศษ เปนตน วิธีการเสนอขายแบบนี้เปนแบบที่ใชกันมาก เพราะเปนเรื่องที่ผูบริโภคมีสวนเกี่ยวของ จึงทําใหเกิดความสนใจ เชน - ฮอทออยส ทางเลือกใหมของเสนผม - แพน คอสเมติก ฉลองครบรอบ 5 ป 2) พาดหัวแบบเราอารมณ เปนพาดหัวที่มีลักษณะเปนการสรางอารมณผูรับสารหรือผูบริโภค ใหเกิด อารมณคลอยตาม เชน - แคร สบูเหลวสําหรับเด็ก ใส นุมนวล บริสุทธิ์ - เสนทางใหม นุมนวลดุจพลิ้วไหม..สูสุราบายา 3 เที่ยวบินตอสัปดาห - เจ็บคอ เหมือนลําคอเปนกระดาษทราย สเตร็ปซิล บรรเทาอาการเจ็บคอ 3) พาดหัวแบบบอกประโยชนผลิตภัณฑ เปนพาดหัวที่มีลักษณะที่เ ปนขอความบอกประโยชน สําคัญ หรือคุณลักษณะของผลิตภัณฑ เพื่อใหผูบริโภคทราบ เชน - คิงส สเตลลา สรางบรรยากาศที่สดชื่นใหกับคุณและ..โลก - นอริชชิง ไนทออยล บํารุงผิวหนาใหนุม สวย ไรริ้วรอย - แหง..และเย็นสบายกวา ความรูสึกที่ทีผาออมผาไมมี คิมบี้ส ผาออมสําเร็จรูป - สปอนเซอร เครื่องดื่มมีคุณคา สําหรับผูเสียเหงื่อ - อะแล็กตา-เอ็นเอฟ มีคุณคาอาหารสําหรับเด็กวัยเติบโต 4) พาดหัวแบบคําสั่ง/แนะนํา เปนพาดหัวที่มีลักษณะเปนการสั่งใหกระทํา หรือไมใหกระทําสิ่งใดสิ่ง หนึ่ง หรืออาจมีลักษณะเปนการแนะนําใหผูอานกระทําบางอยาง เชน อยาใหมลพิษและแบคทีเรีย ทํารายผิว - รีบดูแลฟนผุ ... ตั้งแตระยะเริ่มตน โปรดเขยากอนดื่ม กาแฟกระทิงแดง - เพิ่มเสนหสีผมสวยดวย แคลรอล ไนซ แอนด อีซี่” 5) พาดหัวแบบโออวด เปนพาดหัวที่มีลักษณะกึ่งคุยโมโออวด การใชพาดหัวลักษณะนี้จะตองระวัง ในการใชใหมาก การกลาวอางลักษณะความเปนเลิศของผลิตภัณฑสามารถกระทําได แตตองอยูในวิสัยแหง ความเปนจริง เชน ครีมไขมุกแท คุณภาพลานเปอรเซ็นต บรั่นดีชนิดแรกของเมืองไทย รสนิ่ม จิบเดียวเทานั้น ทานจะลืมบรั่นดีชนิดอื่น - เนรมิตใบหนาใหขาวนวลเนียนในพริบตา ครีมรองพื้นมิสทิน ไวทเทนนิ่ง ~ 69 ~


6) พาดหัวแบบใชคําขวัญ (slogan) เปนพาดหัวที่นําคําขวัญ ฉลากผลิตภัณฑ มาอยูเปนสวนพาดหัว เรื่อง เพราะสามารถสรางการรับรู หรือสรางอารมณใหแกอานสารไดดี เชน ตอบรับ ทุกธุรกิจ....ดวยแฟกซพานาโซนิค มิลติฟงกชั่น - ขาวมาบุญครอง สะอาดทุกถุง หุงขึ้นหมอ สบูครีมนีเวีย..ออนละมุน เพื่อความสดชื่นของผิวพรรณ แมคโดนัลด อรอยรส สนุกล้ํา -

7) พาดหัวแบบสรางความอยากรูอยากเห็น โดยใชขอความที่ทําใหเกิดความสงสัย เชน สิ่งที่คุณไมคาดฝนอาจเกิดขึ้น

8) พาดหัวแบบตั้งคําถาม เปนพาดหัวที่เขียนในรูปคําถาม ที่เราอารมณ สรางความสนใจและเชิญ ชวนใหติดตามใหอานขอความตอไปวา คําตอบคืออะไร เชน - ทําไม...ผูหญิงสมัยนี้จึงดูขาสวย? (ถุงนองเชอรีลอน) - ผูหญิงยุคใหม ไมรูจัก แลคตาซิด ไดอยางไร? - ทําไมตองกลับมาใชซอลส? - ทานทราบหรือไมวา การลางหนาที่ถูกวิธีคือการชะลอวัย? (เบบี้เฟซโฟม) 9) พาดหัวแบบใชผูรับรองสินคา เปนพาดหัวที่กลาวอางพาดพิงถึงบุคคลที่ใชสินคาที่มีชื่อเสียง เชน ดาราภาพยนตร ดารานักรอง หรือนักกีฬา เปนตน เปนผูรับรองเพื่อสรางความนาเชื่อถือ เชน - เมท อัลฟา ปราดเปรียว มหัศจรรย แบบนี้แหละ ทาทา ชอบ (รถมอรเตอรไซด ยามาฮา) อาจารยภิรมย อั๋งประเสริฐ กรรมการฟุตบอลโลกฟรองซ’98 เจาะจงใชไซโก ตัดสินเวลา 10) พาดหั ว แบบอธิ บายภาพ เปน การพาดหัว มีลัก ษณะเปน การเขี ยนอธิบ ายภาพ ถา ไม มี ภาพประกอบอาจจะไมรูเรื่อง (ภาพน้ําทวม) ทานจะไมเปนอยางนี้ ถาทานอยูในหมูบาน... หัวเรื่องที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้ 1. สามารถเราใหเกิดความสนใจตอผูพบเห็น หยุดดู อาน หรือฟง 2. ใชขอความหรือรูปภาพที่ดึงดูดใจไดดี 3. ใชภาษาที่เขาใจไดงาย มีความหมายชัดเจน ตรงประเด็น 4. ใชขอความที่สั้นกะทัดรัด 5. ขอความที่กลาวอางตองมีน้ําหนัก นาเชื่อถือ 6. มีความสัมพันธ สอดคลอง กลมกลืนกับขอความอื่นในโฆษณา

~ 70 ~


2. การสรางความสนใจ (Interest) เมื่อสวนหัวเรื่องสามารถดึงดูดความสนใจใหกลุมเปาหมายหัน มาสนใจไดแลวก็จะตองสรางใหเกิดความสนใจที่จะศึกษารายละเอียดในขอความโฆษณาตอไป คือการแสวงหา คําตอบ เชน จากโฆษณาที่มีหัวเรื่องวา “ทาทาย...สไตล” มีสวนที่สรางความสนใจหรือสวนเนื้อหา (Body copy) ดังนี้ ไมวาเปนผมสไตลไหน...ไหน ไมวาจะเปนโอกาสอะไร เชาตกเย็น ลวงเลยไปจนถึงดึก คุณมั่นใจ...เพราะคุณมี ออดาซ เยล สไตลลงิ่ เยล ในรูปแบบใหม ไรความกระดาง จากออดาซ ในสวนนี้เปนสวนที่แสดงใหเห็นถึงประโยชนที่กลาวไวในหัวเรื่อง จะสําเร็จหรือเกิดขึ้นไดอยางไรเปน การแกขอสงสัยตาง ๆ มีอยูในสวนหัวเรื่อง การเขียนสวนสรางความสนใจ จึงควรเขียนใหสั้น กะทัดรัด ชัดเจน ใหผูรับสารเขาใจไดโดยงายใน ระยะเวลาอันสั้น โดยเฉพาะสาระที่สําคัญ 3. การทําใหเกิดความตองการ (Desire) เปนสวนที่จะกระตุนใหกลุมเปาหมายเกิดความตองการที่ จะซื้อสินคาหรือใชบริการ อาจใชขอความหรือรูปภาพที่แสดงถึงความจําเปนดวยการเขียนแสดงเหตุผลเพื่อ โนมนาวใหมีความตองการ เชน พาดหัวเรื่อง : ทึ่งในความเปลี่ยนแปลง เพือ่ ผิวหนาขาวเนียนสดใสเปนธรรมชาติ อยางปลอดภัย – Carene natural care ขอความสนับสนุนตอนทาย : รับรองโดย สถาบันไฮแคร ประเทศเยอรมัน นอกจากนี้อาจใชขอความสนับสนุนตอนทาย (Base-line) ซึ่งเปนขอเสนอแนะ ชวนเชิญ รวบเรา หรือออกคําสั่ง และมักบอกชื่อผลิตภัณฑ ตราผลิตภัณฑ สถานที่จําหนาย ชื่อหรือชื่อยอของผูโฆษณา หรือ เครื่องหมายสัญลักษณ ก็ได

~ 71 ~


4. การทําใหเกิดการกระทํา (Action) เปนความพยายามที่จะกระตุน เราใจใหกลุมเปาหมายที่ มุง หวัง ไวแสดงพฤติ ก รรมซื้อ ผลิ ตภั ณฑ หรือ ใชบ ริก าร เปนสวนทายของการโฆษณา โดยการสรางความ ประทับใจ และใหเกิดความงายแกการจดจํา นิยมใชเปน คําขวัญ (Slogan) มี 2 ลักษณะ ไดแก 4.1 คําขวัญที่ใชชื่อสถาบัน ชื่อบริษัท หรือชื่อผลิตภัณฑในการโฆษณา เปนวิธีการที่ทําให ลูกคาเกิดความเชื่อถือ บางครั้งอาจใชการประทับตราเครื่องหมายการคาลงในโฆษณา เชน - เปา เอ็ม วอช พลังซักล้ําหนา เนื้อผาสะอาดทุกเสนใย - แสตมปตั้น ผูนําดานประหยัดพลังงาน - อนาคตสดใส อนาคตออเรนจ - ไทยประกันชีวิต บริษัทคนไทย เพื่อคนไทย 4.2 คําขวัญที่โฆษณาสินคาโดยตรง เปนการสรุปลักษณะพิเศษและลักษณะสําคัญของ สินคาหรือบริการ เชน - เต็มรสหวาน แตมีแคลอรี่เพียงครึ่งเดียว (ไลท ชูการ) นอกจากหลักการเขียนโฆษณาดังกลาวแลว “ภาพประกอบ” จัดเปนอีกสวนสําคัญที่ชวยดึงดูดความ สนใจของผูบริโภคไดเปนอยางดี

ตัวอยางโฆษณา

ฟรี ซื้อนมผงดูเม็กซวันนี้ รับฟรี! ขวดนม pur มูลคา 95 บาททันที นมผงดูเม็กซคืนกําไรใหคุณงายๆ เพียงซื้อนมผงดูเม็กซวันพลัส หรือทรีพลัส ขนาด 1,300 กรัม รับฟรีทันทีขวดนมทรงโคงกันสําลักและทองอืดสําหรับเด็ก จากผลิตภัณฑ pur ทันที วันนี้ – 30 สิงหาคม 2547 สุขภาพและความปลอดภัยของทารกและเด็กเปนสิ่งที่บริษัทดูเม็กซใหความสําคัญสูงสุด นมผงดูเม็กซผลิตภัณฑที่คุณแมทั่วโลกไววางใจ

~ 72 ~


ลักษณะการใชภาษาในการโฆษณา การใชภาษาในการเขียนโฆษณาจะแตกตางกัน กลาวคือ สวนหัวเรือ่ ง จะเนนความสําคัญของสินคา หรือบริการใหมากทีส่ ุด เรียกรองใหกลุมเปาหมายเกิดความสนใจ หยุดอาน ฟงหรือดู ใชภาษาที่มีความ เขาใจกระจางชัดและเขาใจไดดี แตขอมูลอาจไมเพียงพอตองขยายดวยหัวเรือ่ งรองและสรางความสนใจให เกิดขึ้น ในสวนรายละเอียดนั้น จะชี้ใหเห็นคุณประโยชน ความสําคัญ ความตองการ และตัดสินใจซื้อหา สินคาและบริการ ในที่สุดดวยความเชื่อมั่น เชื่อในตัวสินคาและผูผ ลิต สามารถสรุปลักษณะการใชภาษาใน โฆษณา ไดดังนี้ 1. การใชภาษาเชิงจิตวิทยา เปนการใชหลักทางจิตวิทยามาดึงดูดใจผูบ ริโภคการนําลักษณะ คานิยมของคนในชาติมานําเสนอ หรือการเนนลักษณะพิเศษของคนบางกลุมที่ไมชอบทําอะไรเหมือนคนอื่น 2. การเขียนแสดงเหตุผล เปนการใชที่แสดงรายละเอียด หรือโยงไปสูเหตุการณปจจุบันที่กําลังเปน ที่สนใจ 3. การใชภาษาที่ผูบริโภคตองตีความเอง เปนการใชภาษาที่ไมไดใหความจริงทั้งหมด เนื่องจาก ภาษาที่ใชสื่อความหมายไมชัดเจนและตีความไดหลายอยาง 4. การใชภาษาภาพพจน เปนการใชภาษาใหเกิดภาพและจินตนาการ ซึ่งภาพพจนที่นิยมนํามาใช ในภาษาโฆษณามีอยูหลายลักษณะ ตัวอยางเชน 4.1 อุปมา คือ การเปรียบเทียบสิ่งสิงสิ่งเพื่อใหเกิดความชัดเจนดานความหมาย ดานภาพ และ ดานอารมณความรูส ึก โดยใชคําเชื่อม เชน ดุจ ดั่ง เหมือน ประหนึง่ ราวกับ ฯลฯ ใช TEA TREE ผมของคุณจะนุมสวยดุจแพรไหม ไมใชแคสะอาด? แตสะอาดหมดจด พรอมกับสัมผัสผิวเนียนนุมราวกับผิวทารก 4.2 อุปลักษณ คือ การเปรียบเทียบโดยนัย โดยนําลักษณะเดนของสิง่ ที่ตองการเปรียบมาทําให เกิดภาพ บางครั้งอาจมีคําเชื่อวา “เปน เทา คือ” กูดเยียร กลามอันทรงพลังของรถบรรทุก อาคารพาณิชยแหงใหม หนาสถานีรถไฟ หัวใจเมืองรังสิต 4.3 อติพจน คือ การกลาวเกินจริง เปนการใชภาษาที่มุงดึงดูดความสนใจของผูบ ริโภคโดยไม คํานึงถึงหลักความเปนจริง เชน บํารุงลึกล้ํายิ่งกวา จนถึงหัวใจของเสนผม - แอทแทคใหม สูตรไบโอคลีน พาวเวอร ที่ขจัดคราบไดลกึ สุดสุด ทุกอณูเสนใยสลายคราบ - 14 สวนผสมมหัศจรรย ที่จะเปลี่ยนแปลงคุณไดใน 14 วัน -

4.4 บุคลาธิษฐาน คือ การเปรียบสิง่ ไมมีชีวิตใหมีกริ ิยาอาการเหมือนสิ่งมีชีวิต เจอ็อกซ รองเทาหายใจได วันนี้ผิวคุณจะไดดื่มนม (จอหนสัน เบบี้ มิลด บาธ) ~ 73 ~


4.5 ปฏิภาคพจน คือ การใชถอยคําที่มีความหมายตรงกันขามหรือขัดแยงกัน นํามาเขียนให กลมกลืนกัน -

ตัวเล็กใจใหญ ซัมซุงรับรองคุณภาพ มาสดา 808 โฉมใหมในราคาเกา เย็นสุดขั้วหัวใจ สําหรับผูชายใจรอน

5. การใชคําภาษาตางประเทศ เปนการใชภาษาตางประเทศเพื่อทําใหโฆษณานั้นนาเชื่อถือยิ่งขึ้น เนื่องจากคนไทยมีคานิยมเรื่องการนิยมสินคาตางประเทศมากกวาคนไทย ไอ-เฟรช แซบเวอร ไมวอรรี่ (ยาสีฟน i-fresh) ผิวนุมแบบแคร พิงก ซอฟต ผสมวิตามินอี กอดแลวยากจะยอมปลอย -

6. การใชคําซ้ํา สมูธ อี ลดสิว ลดริ้วรอย ใหคุณเบบี้เฟรช อรอย ยิ่งดื่ม ยิ่งดีกับตัวคุณ คอบอล คอ ‘โคก’ คอเดียวกัน - คืนความหวงใย ใหคนที่คุณหวงใย ผาออมผูใหญแฮนดี้ เพื่อคนที่คุณหวงใย

7. การใชคําผิดแปลก เปนการสรางคําขึ้นเพื่อใชสื่อความหมาย อาจใชการเพิ่มเสียงของคํา หรือ เลือกใชคําที่ไมปรากฏในชีวิตประจําวัน แปงเย็นตรางู คูลพิ้งค คูล...คูล หอม...หอม - น้ําผลไม Maqui Berry ระบิดไขมัน ตูม ตูม ตูม ตูมมม ... (เหรอ?) ผดผื่นเหรอ... ไมไดแอมแกมหนูหรอก โคก สาดซาส สาดสนุก - สีสันแหงความสนุก ที่คุณจะไมรูลืม - Be Nice ปลุกความสดใส ในตัวคุณ อาบ...ความหอม ละมุนผิว เผยผิวกระจางใสกวาที่เคย... บีโอเร เฟเชียล โฟม ความสุขของผิว สะอาดนุม เบาสบาย 8. การใชสัมผัส เปนการสรางคําที่เนนความไพเราะดานเสียงในภาษาไทย มี 2 ลักษณะ คือ สัมผัส พยัญชนะ และสัมผัสสระ เด็ก ๆ สรางสรรค ดูเม็กซสรางเสริม คูลแพทซ เนื้อเจลใส ชวยลดไข ฉับไว สบายใจ พกงาย ใชสะดวก

~ 74 ~


ความหมายของการประชาสัมพันธ “การประชาสัมพันธ” (Public Relation) เปนการสื่อสารแนวคิด ขาวสาร ขอเท็จจริง ระหวาง หนวยงาน สถาบัน กับประชาชน เพื่อสรางความสัมพันธอนั ดีตอกัน การประชาสัมพันธจึงอยูบ นรากฐานของ การสรางความเขาใจอันดีระหวางหนวยงานหรือสถาบัน กับผูมสี วนเกี่ยวของ หนวยงานหรือสถาบันก็ตองมี การเผยแพรขาวสารใหประชาชนหรือผูเกี่ยวของทราบ และรับฟงความคิดเห็นของประชาชน เพื่อใหเกิดความ เขาใจ ยอมรับ รวมมือ ศรัทธา อันจะบังเกิดผลดีตอการดําเนินงานดวยความราบรื่น ปราศจากปญหาขอยุง ยาก ตาง ๆ จุดมุงหมายของการประชาสัมพันธ 1. เพื่อสรางความเขาใจอันดีระหวางองคกร สถาบัน หรือหนวยงาน กับประชาชน ดวยการแจงธุรกิจ ของตน ใหประชาชนทราบ เพื่อใหไดเลือกใชบริการ หรือใหความรวมมือไดถูกตองและเหมาะสม 2. เพื่อใหองคกร สถาบัน หรือหนวยงาน ไดทราบความคิดเห็นของประชาชนอันจะเปนประโยชนใน การพัฒนาและแกไขปญหาที่อาจเกิดขึ้นได 3. เพื่อสรางความศรัทธา ความนิยมใหเกิดขึ้นกับองคกร สถาบัน หรือหนวยงานนั้น ๆ 4. เพื่อรักษาชื่อเสียงเกียรติยศขององคกร สถาบัน หรือหนวยงาน มิใหเสื่อมเสีย 5. เพื่ออํานวยความสะดวกในการติดตอสื่อสารระหวางองคกร สถาบัน หรือหนวยงาน ใหเปนไปอยาง มีประสิทธิภาพ 6. เพื่อสรางความสัมพันธและความเขาใจอันดีใหเกิดขึ้นภายในองคกร สถาบัน หรือหนวยงาน อันจะ เปนผลใหการปฏิบัติงานดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ รูปแบบการประชาสัมพันธ เมื่อสังคมไดมีการพัฒนาซับซอนยิ่งขึ้น ทําใหการติดตอสื่อสารระหวางมวลสมาชิกของสังคมมีความ ซับซอนตามไปดวย ปญหาความขัดแยงตาง ๆ ความไมเขาใจกัน ความสับสนของขอมูลขาวสาร การ บิดเบือนขอมูล ลวนแลวแตเปนอุปสรรคในการปฏิบัติงานและการแสวงหาความรวมมือ ดังนั้นหนวยงานใน ระดับตาง ๆ จึงไดตระหนักถึงความสําคัญของงานประชาสัมพันธ จึงไดกําหนดใหมีผูรับผิดชอบมากนอยตาม ความจําเปน ผูที่รับผิดชอบในการประชาสัมพันธ จะตองเปนผูที่มีบุคลิกเหมาะสมกับงานนี้ คือ เปนผูที่มีความ รอบคอบ รูจักการวางตัวที่เหมาะสม สามารถเขาไดกับบุคคลทั่วไป และมีความเขาใจในระบบงานของ หนวยงานเปนอยางดี

~ 75 ~


การประชาสัมพันธมี 2 รูปแบบ คือ 1. การประชาสัม พันธภายในหน วยงาน เปนการประชาสัมพันธที่มุง สรางสัมพันธใหเกิดขึ้นภายใน หนวยงาน ระหวางสมาชิกกับหนวยงาน และระหวางสมาชิกดวยกันเอง เพื่อใหเกิดขวัญกําลังใจในการทํางาน มักออกมาในรูปแบบการประชุมปรึกษา การออกหนังสือเวียน จดหมายขาว และการเปดโอกาสใหสมาชิก แสดงความคิดเห็นในรูปแบบตาง ๆ 2. การประชาสั ม พั น ธ ภ ายนอกหนว ยงาน เปนการสรา งความสัม พันธ อัน ดีกับ บุค คลภายนอก หนวยงาน หรือหนวยงานอื่น เพื่อใหเขาใจลักษณะการดําเนินงาน ขอบขายหนาที่ และความรับผิดชอบของ หนวยงานตน การประชาสัมพันธอาจทําไดโดยออกเอกสาร สิ่งพิมพ หรือสื่ออยางอื่น เพื่อแนะนําชี้แจง และ เผยแพรผลงานตามโอกาสอันสมควร ถากรณีเกิดความเขาใจผิดหรือความไมเขาใจในหนวยงาน หรือบุคคลใน หนวยงานก็อาจจะมีการชี้แจงดวยสื่อตาง ๆ การเขียนขอความประชาสัมพันธ การเขียนขอความเพื่อ จุดมุงหมายในการประชาสัมพันธ เปนการเขียนเพื่อใหความรู ขาวสารที่ ถูกตอง และเปนการเขียนเพื่อการโนมนาวใหกลุมเปาหมายเกิดความศรัทธากับหนวยงาน การเขียนจึงตอง ยึดหลักดังนี้ 1. ขอมูลที่เขียนจะตองอยูบนพื้นฐานความเปนจริง ใหขาวสารที่ถูกตอง 2. ใชภาษาที่เขาใจงาย ชัดเจน กะทัดรัด สละสลวย 3. แสดงดวยรูปภาพ หรือสื่อที่มีลักษณะเปนรูปธรรมมากที่สุด 4. ออกแบบสารใหเหมาะสมกับระดับของกลุมเปาหมาย การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ จะมีความแตกตางกันตามรูปแบบของสื่อที่ใช การเขียนสําหรับสื่อ สิ่ง พิ ม พ สามารถเลือ กใชไดห ลายรูป แบบตามความเหมาะสม ซึ่ งอาจเขี ยนในรู ป แบบจดหมายแจง ไปยัง ผูเกี่ ยวของ แตตอ งระมัดระวัง การใชภาษาใหส ามารถเขาใจงาย มีความชัดเจน ถาจัดทําเปนแบบสิ่ง พิม พ เอกสารแนะนํา หรือจุลสาร จะตองออกแบบใหดึงดูดใจทําใหชวนอาน รายละเอียดอาจมีมากนอยแตกตางกัน แตถาเปนการเขียนสําหับถายทําเปนสื่อโสตทัศนจะตองเขียนเปนบท (Script) แตการเขียนจะตองจํากัดอยู เพี ยงการให ขาวสาร และการโนม นาวกลุม เปาหมายเทานั้ น ความถูก ต องของข อมู ล และการสร างความ ประทับใจ จึงนับความมีความสําคัญมาก ภาพและคําบรรยายตองกะทัดรัด ชัดเจน ในที่นี้จะขอกลาวถึงการเขียนขอความประชาสัมพันธ ใน 2 รูปแบบ ไดแก 1) การเขียนจดหมายขาว จดหมายขาว คือ เอกสารเผยแพรไปยังบุคคลเปาหมายเพื่อบรรลุวัตถุประสงคที่ผูสงสารตองการ เพื่อการประชาสัมพันธ เพื่อการโฆษณา หรือใหทราบขอมูลขาวสาร องคประกอบของจดหมายขาวประกอบดวย ชื่อหัวจดหมายขาว สัญลักษณ ฉบับที่ วันเดือนป ภาพประกอบ เนื้อหา ผูผ ลิต ฯลฯ

~ 76 ~


2) การเขียนแผนพับ แผนพับ คือสิ่งพิมพเฉพาะกิจประเภทหนึ่งที่ผลิตขึ้นเพื่อใชงานเฉพาะดานใดดานหนึ่งและในเวลาใด เวลาหนึ่ง เชน การประชาสัมพันธ งานโฆษณา งานสื่อสารภายในและภายนอกองคกร งานรณรงค เปนตน ลักษณะและขอความในการผลิตแผนพับ สามารถเลือกเนื้อหาไดตามกลุม เปาหมาย แผนพับมีได หลายพับ แตแผนพับขนาดเล็กสามารถมีไดตั้งแต 2 - 4 พับ ขึ้นอยูลักษณะการใชงาน การออกแบบและเรื่อง ที่ตองการนําเสนอในแผนพับนั้น ๆ ขอมูลในแผนพับไมควรแนนจนเกินไปทั้งภาพและตัวอักษร ซึ่งขอมูลแตละ หนาควรจบในหนานั้น ๆ หรือวางขอมูลไดสะดวกและตอเนือ่ ง ************************************

--------------------------------------แหลงอางอิง : เว็บไซต : http://courseware.payap.ac.th/docu/th203/content/advertise.htm เว็บไซต : http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/04090035_2202/multiweb/printed/5.htm เว็บไซต : http://free4marketingad.blogspot.com/2012/02/structure-fo-copy.html

~ 77 ~


9. การเขียนบทความ บทความ (Articles) เปนความเรียงทีเ่ ขียนขึ้นจากขอเท็จจริง ผูเขียนมักจะแสดงความคิดเห็นและ ขอเสนอแนะเชิงวิพากษวิจารณในทางสรางสรรคไวดวย เรื่องที่เขียนควรเปนเรื่องที่อยูในความสนใจของคน โดยทั่วไปในขณะนั้น ซึ่งถือเปนจุดสําคัญของการเขียนบทความ บทความสวนมากจะมีความยาวไมมากนัก ดังนั้นเนื้อหาจึงตองกระชับและใชภาษาที่สื่อความสนใจของผูอานอยางดีและมีแบบแผน

ลักษณะเฉพาะของบทความ 1. เปนเรื่องทีผ่ ูอานสวนมากกําลังสนใจอยูในขณะนั้น อาจเปนปญหาที่คนกําลังอยากรูวาจะดําเนิน ตอไปอยางไร หรือมีผลอยางไร หรือเปนเรื่องทีเ่ ขายุคเขาสมัย 2. มีสาระ มีแกนสาน อานแลวไดความรูและเกิดความคิดเชิงสรางสรรค มิใชเรื่องเลื่อนลอยไรสาระ 3. มีการแสดงความคิดเห็น ขอคิด ขอวิเคราะห และขอเสนอแนะของผูเ ขียนแทรกอยูดวย 4. มีกลวิธีการเขียนนาสนใจ ชวนใหอาน อานแลวทาทายความคิด เราความสนใจผูอานใหอยาก ติดตามอานจนจบ ทําใหเกิดความเพลิดเพลินและมีขอชวนใหคิด

ประเภทของบทความ การแบงประเภทของบทความใหตายตัวนั้นทําไดยาก เพราะบทความบางบทมีบทความหลายประเภท ผสมกัน ในปจจุบันอาจแบงประเภทของบทความ แบงไดดงั นี้ (ดวงใจ ไทยอุบญ ุ . 2552 : หนา 281-284) 1. บทความประเภทกึ่งชีวประวัติ เปนการเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลทีม่ ีชื่อเสียงหรือบุคคลที่ ประสบความสําเร็จในชีวิตในดานตาง ๆ โดยผูเขียนตองการรูถึงคุณสมบัติและวิธีการดําเนินชีวิตหรือหลักการ ดําเนินชีวิต ตลอดจนการปฏิบัติตนอยางไรจึงประสบความสําเร็จ หรือทําใหเขามีชื่อเสียง แตเราจะไมกลาวถึง เรื่องสวนตัวของเขามากเกินไป บทความประเภทนีม้ ีลกั ษณะคลายบทความประเภทสัมภาษณ ขอมูลที่ ผูเขียนนํามาใชประกอบการเขียนนั้น อาจไดมาจากการสัมภาษณบุคคลนั่นเอง หรือสอบถามบุคคลใกลชิด รวมถึงเอกสารหรือผลงานตาง ๆ ของเขา 2. บทความประเภทสัมภาษณ เปนบทความที่ไดจากการรวบรวมขอมูลตาง ๆ จากการสัมภาษณ แลวนํามาเรียบเรียงใหม ผูเขียนบทความควรรูจ ักเลือกบุคคลที่จะสัมภาษณ คือควรเปนบุคคลที่เดน มีชื่อเสียง ในวงสังคม หรือเปนผูมีความรูความสามารถและเชี่ยวชาญในเรื่องทีผ่ ูเขียนตองการจะเขียนบทความประเภทนี้ ไมจําเปนจะตองสัมภาษณผูมีชื่อเสียงเสมอไป อาจจะสัมภาษณบุคคลธรรมดาที่เปนตัวอยางของการตอสูชีวิต หรือฟนฝาอุปสรรคจนประสบความสําเร็จในชีวิต

~ 78 ~


การนําขอมูลการสัมภาษณมาเขียนเปนบทความที่ดี ผูเขียนจะตองวางแผนการสัมภาษณตั้งแตการ กําหนดคําถามตามประเด็นเรือ่ ง การเลือกบุคคลที่เกี่ยวของเพื่อสัมภาษณ การประสานงานและการนัดหมาย สัมภาษณ การบันทึกคําสัมภาษณ การเลือกสรรคําตอบที่สมั ภาษณ นําขอมูลการสัมภาษณมาเรียบเรียง หรือถอดคําสัมภาษณใหตรงประเด็น และแสดงถึงความคิดเห็นทีเ่ ปนประโยชนและนาสนใจ การนําเสนอ บทความประเภทนี้ จะทําใหผูอานตระหนักวา บุคคลที่ใหสมั ภาษณมีความคิดเห็นอยางไร นับไดวาเปนวิธีการ เรียนรูทางออม เปนอุทาหรณ รวมทั้งเปนตนแบบของการดําเนินชีวิตและการแกปญหาไดเปนอยางดี 3. บทความประเภทแสดงความคิดเห็น บทความประเภทนี้ เรามักจะพบเสมอในหนังสือพิมพ นิตยสาร หรือวารสารทางวิชาการตาง ๆ มากมาย โดยผูเ ขียนมักจะหยิบยกเอาปญหาที่เกิดขึ้นในสังคมขึ้นมา เขียน โดยที่ผูเขียนจะตองมองปญหาที่เขียนใหเขาใจอยางถองแท พยายามแยกแยะในแงมมุ ตาง ๆ แลวเสนอ ความคิดเห็นใหขอเสนอแนะ ขอสังเกต โดยอาจทิ้งทายไวสาํ หรับใหผอู านตัดสินใจดวยตนเอง เชน ปญหาทาง เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง เปนตน การแสดงความคิดเห็นนีจ้ ะมีขอมูล หลักฐานตาง ๆ มาอางอิงใหเห็น อยางเดนชัด นาเชื่อถือ 4. บทความทองเที่ยว เปนบทความทีเ่ ขียนขึ้นเพื่อชีช้ วนใหผูอานเกิดความสนใจอยากไปเที่ยว สถานที่นั้น ๆ ผูเ ขียนบทความประเภทนี้จะตองเคยไปและมีประสบการณในการไปเที่ยวสถานที่นั้น ๆ มาก พอสมควร การเขียนบทความนีจ้ ําเปนจะตองใชกลวิธีเขียนที่นาอาน ใชภาษางาย ๆ โดยกลาวตั้งแตการเตรียม ตัว ตลอดจนรายละเอียดตาง ๆ เชน วิธีการเดินทาง ระยะเวลาการเดินทาง ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะ ภูมิอากาศ ตลอดจนความสวยงามของธรรมชาติในแถบนั้น สิ่งของทีจ่ ําเปนทีจ่ ะตองนําไป นอกจากนี้ยังอาจ แทรกขอเสนอแนะ ขอควรระวังทีผ่ ูเขียนมีประสบการณไวดวย เพื่อผูอานเกิดความสนใจและอยากไปเที่ยวใน ที่นั้น ๆ 5. บทความประเภทวิจารณ เปนบทความทีก่ ําลังนิยมในปจจุบัน ทั้งผูเ ขียนและผูอาน จะเห็นได จากคอลัมนในหนังสือพิมพ นิตยสาร วารสารทางวิชาการตาง ๆ เชนเดียวกับบทความแสดงความคิดเห็น บทความประเภทวิจารณเปนบทความที่เสนอความคิดเห็น โดยอาศัยเหตุผลและหลักทฤษฎี ซึ่งตางจาก บทความประเภทแสดงความคิดเห็นที่เสนอความคิดเห็นอันเปนความคิดหรือทัศนะของผูเขียน บทความ ประเภทวิจารณนี้นิยมใชในการวิจารณหนังสือ วิจารณขาว วิจารณการเมือง วิจารณภาพยนตร หรืองานศิลปะ สาขาตาง ๆ โดยผูเขียนจะตองพิจารณาเรือ่ งนั้น ๆ อยางละเอียดรอบคอบทุกแงมุม วิเคราะห ประเมินคาตาม หลักวิชาและชี้ใหเห็นคุณคา ขอบกพรอง พรอมทัง้ แนวทางที่เสนอแนะ ซึ่งในปจจุบัน มีบทความวิจารณซอน วิจารณเพิม่ ขึ้น โดยผูเขียนบทความประเภทนี้มีความคิดเห็นขัดแยงกับบทวิจารณของผูวิจารณคนอื่นในเรื่อง เดียวกัน 6. บทความทางวิชาการ เปนบทความทีม่ ีเนื้อหาสาระเกี่ยวของกับวิชาการหรือเปนความรูเฉพาะ ดาน ผูเขียนบทความประเภทนี้จะตองเปนผูม ีความรูความสนใจหรือเชี่ยวชาญในเรื่องใดหรือสาขาใดสาขา หนึ่ง บทความวิชาการนี้ ผูเขียนจะตองมีหลักฐานอางอิง ทั้งทางตัวเลขสถิติ ตลอดจนความคิดเห็นและ ขอเสนอแนะในแนวคิดใหม ๆ ความรูใหม ๆ ใหแกผูอาน หรือเปนแนวคิดแนวปฏิบัติที่จะเปนประโยชนแกวง การศึกษา หรือวงวิชาการตอไปในอนาคต อันเปนสิ่งสําคัญสําหรับบทความประเภทนี้ ~ 79 ~


โครงสรางของบทความ ดร.เปลื้อง ณ นคร (อางถึงใน สุทิติ ขัตติยะ. 2551 : 108 )กําหนดโครงสรางของบทความ ประกอบดวย 3 สวนหลัก ไดแก สวนนํา สวนเนื้อหาสาระ และสวนสรุปทาย 1) สวนนําหรือคํานํา เปนการแสดงแนวคิดเกี่ยวกับหัวเรื่อง ความสําคัญและสิ่งที่ตอ งการกลาวตอไป แนวทางการเขียนสวนนําใหผอู านสนใจ อยากรูและชวนติดตาม ดังนั้น ผูเขียนจําเปนตองเขียนใหดีและมี น้ําหนักดี หมายถึง การใชภาษาที่ถูกตองและเหมาะสม มีเนื้อหาสาระอยูในความสนใจของกลุมผูอาน 2) สวนเนื้อหาสาระ จัดวาเปนสวนที่สําคัญและเปนสวนที่ยาวที่สุด รวมความคิดและขอมูลทัง้ หมด ยอหนาแตละยอหนาในเนือ้ เรื่องจะตองสัมพันธเปนเรื่องเดียวกัน มีลําดับขั้นตอนไมวกวนไปมา กอนที่จะเขียน บทความผูเ ขียนจึงตองหาขอมูล หาความรูทจี่ ะนํามาเขียนเสียกอน การหาขอมูลนั้นอาจไดจากการสัมภาษณ การสอบถามผูรู การเดินทางทองเที่ยว การอานหนังสือพิมพหรือหนังสือตางๆ เปนตน ดังนั้นการเขียน บทความจึงควรเขียนพรรณนาใหชัดเจนและมีเหตุมผี ล พยายามอางอิงความรูและพยานหลักฐานใหผูอาน เกิด ความรูสึกคลอยตามและนําเอาไปปฏิบัติดวยการใชถอยคําภาษาหรือสํานวนโวหารทีเ่ หมาะสม 3) สวนสรุปทาย เปนการเขียนในตอนทายกอนจบเรื่อง ผูเ ขียนจําเปนตองสรุปหรือขมวดเรือ่ งใหเกิด ความประทับใจ เชน ใชสุภาษิต คําคม ปรัชญาหรือแนวคิดสําคัญของบุคคลสําคัญ สวนสรุปนีเ้ ปนสวนทีฝ่ าก ความคิดและปญหาไวกับผูอานหลังจากที่อานแลว บทความทั่วไปที่นิยมเขียนลงในหนังสือพิมพหรือนิตยสาร จะมีความยาวไมมากนัก ไมควรเกิน 1-3 หนากระดาษ และสํานวนภาษาที่ใชตองเรียบงายและไมเปนศัพทเฉพาะมากจนเกินไป โดยควรคํานึงถึง กลุมเปาหมายทีเ่ ปนประชาชนทั่วไปใหมากทีส่ ุด และถาทําไดก็ควรพยายามสรางความนาสนใจใหครอบคลุม ทุกเพศทุกวัย และพื้นฐานการศึกษา เพื่อมุง ผลในการประชาสัมพันธอยางกวางขวาง

สิ่งที่ควรคํานึงในการเขียนบทความ 1. ตั้งชื่อบทความใหนาอาน เปนการเริ่มตนที่จะสามารถดึงดูดผูอาน ชวนใหติดตามอาน การ เริ่มตนเขียนที่ดี ควรเริ่มกันตัง้ แตชื่อบทความ แลวตามดวยขอความยอหนาแรก และหัวขอยอยในบทความ ทั้งหมดนี้ควรจะบอกผูอานไดทันทีวาบทความนั้นสําคัญอยางไร นาสนใจอยางไร และจะใหประโยชนอะไร เชน วาระสุดทายของชีวิต : ศักดิ์ศรีที่พงึ มี , รวยไดไมตองโกง, เอดสมหัตภัยใกลตัว , ปฏิวัติความอวน , 100 เรื่องนารูส ูคลอเลสเตอรอล เปนตน 2. ไมควรใหขอความของแตละยอหนายาวเกินไป ถายาวมากไป สายตาผูอ านจะลาเร็ว ยิ่งถายาว มากๆ กวาผูอานจะอานจนจบไดแทบหมดความตั้งใจ โดยทั่วไปอาจถือเปนเกณฑไดวาแตละยอหนาไมควร ยาวเกินกวา 15-20 บรรทัด ถาเขียนบทความเสร็จแลวพบวามีทอนใดที่ยาวเกินไป ลองอานทานดูซิวามีชวง ใดที่พอจะตัดตอนใหขึ้นยอหนาใหมไดหรือไม

~ 80 ~


3. แบงเปนหัวขอยอย ถาบทความยาวพอสมควร ควรแบงเปนหัวขอยอย เพือ่ ใหผูอานไดพักสายตา เปนระยะๆ นอกจากนีห้ ัวขอยอยยังชวยใหมจี ุดสนใจขึ้นมาเปนชวง และชวยใหผูอานกวาดสายตาหาทอนหรือ เนื้อหาทีเ่ ขาสนใจไดเร็วขึ้น ในกรณีที่ตองการผอนคลายความจริงจังของบทความ หรือความเครียดของผูอาน ลง อาจจะตัง้ ชื่อหัวขอยอยใหดูนาอานขึ้น โดยถือเอาขอความใดขอความหนึ่งในหัวขอนั้น มาตั้งเปนชื่อหัวขอ ยอย หรืออาจตั้งชื่อหัวขอยอยในลักษณะของคําถามเพื่อกระตุนความสนใจของผูอาน 4. ขีดเสนใตหรือทําตัวเขมที่ขอความที่ตองการจะเนน แตไมควรเนนมากเกินกวาที่จําเปนจริง ๆ มิฉะนั้นผูอานจะรูส ึกรําคาญ 5. ใชศัพทเทคนิคเทาที่จําเปน และพยายามใชภาษาอังกฤษใหนอยที่สุด ไมใชเขียนมายอหนาหนึ่ง มีแตภาษาอังกฤษ ศัพทเทคนิคคําใดแปลเปนภาษาไทยได ใหแปลไปเลย แตถาแปลแลวไมแนใจวาผูอานจะ เขาใจไดถูกตองควรวงเล็บภาษาอังกฤษไวดวย ยกเวนไมสามารถจะแปลเปนภาษาไทยได ใหทบั ศัพทเปน ภาษาไทยแลววงเล็บภาษาอังกฤษกํากับไปอีกทีหนึ่ง 6. ตีกรอบแยกสวนเนื้อหา ถามีเนื้อหาบางสวนเกี่ยวของกับบทความ แตไมสามารถเชื่อมเขาไปใน บทความไดโดยตรง อาจแยกออกมาจากเนื้อเรื่องปกติไดโดยตีกรอบลอมรอบเนือ้ หาสวนนั้นเอาไว ลองดู วารสารตางประเทศจะพบทํานองนี้บอย 7. อยาใหหวือหวามากเกินไป แมวาการแทรกอารมณขัน การใชศัพทสแลง จะชวยผอนคลาย ความเครียดขณะอานไปได แตไมควรใชมากเกินไปจนบทความวิชาการกลายเปนบทความทั่วไปที่ใหแตความ สนุกอยางเดียว 8. พยายามใชคําธรรมดางาย ๆ ซึ่งคนทั่วไปเขาใจไดงายและยังคงความถูกตองอยูได 9. ใชประโยคที่กระชับ ไมกาํ กวม พยายามหลีกเลี่ยงการใชประโยคยาวๆ ที่ดูยืดยาด และประโยค ซอนประโยคที่อาจทําใหเขาใจความหมายผิดไป (ขอมูลจาก http://www.academic.hcu.ac.th/forum/board_posts.asp?FID=217)

-------------------แหลงขอมูล : ดวงใจ ไทยอุบุญ. (2552) ทักษะการเขียนภาษาไทย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. เว็บไซต : http://www.academic.hcu.ac.th/forum/board_posts.asp?FID=217

~ 81 ~


ตัวอยางบทความแสดงความคิดเห็น 0

วัยรุนไทย : สงกรานต สงคราม หรือสมกาม 13 เมษายนของทุก ๆ ปเปนวันที่มีความหมายตอพวกเราคนไทยทุกคนในหลาย ๆ ความหมาย ตามโบราณ ดั้งเดิมนั้นถือวาวันที่ 13 เมษายนของทุกปเปนวัน “มหาสงกรานต” ที่การเคลื่อนยายของพระอาทิตยจะโคจรจากราศีมีน เขาสูราศีเมษ อันเปนวันที่พระอาทิตยอยูในตําแหนงกึ่งกลาง ทําใหเวลาระหวางกลางวันและกลางคืนยาวเทากัน จึงเปน ที่มาของชื่อเทศกาล “สงกรานต” ที่เปนภาษาสันสกฤตและมีความหมายวา ผาน หรือ เคลื่อนยาย เปนวันที่ลูกหลาน และผูหลักผูใหญในครอบครัวจะไดกลับมาพบหนาพบปะถามไถสารทุกขสุขดิบซึ่งกันและกัน แตกับปจจุบันนี้ โดยเฉพาะตามสถานที่ที่เปนที่นิยมของวัยรุน เชน ตรอกขาวสาร ดูเหมือนวาจุดประสงค ของ “มหาสงกรานต” จะเปลี่ยนแปลงไปโดยสิ้นเชิง ดวยบรรยากาศที่วุนวาย อึกทึก เบียดเสียด ไมปลอดภัย และรุนแรง ดวยเสียงที่เปดแขงกันดังลั่น ดวยแอลกอฮอลขวดแลวขวดเลาที่ผานลําคอลงกระเพาะ แลวสงผลตอสํานึกและศีลธรรม ดวยการแตงตัวโชวสัดสวนองคเอว ดวยคนจํานวนมากที่เบียดเสียดยัดเยียดจนไมเปนอิสระ ดวยการสาดน้ําที่รุนแรง ใช น้ําเย็นเฉียบสาดเขาใส ใชน้ําแข็งขวางปา ดวยการประแปงที่ไมไดมีเพียงจุดประสงคดีเทานั้น ดวยบรรยากาศที่วามาทั้งหมด จึงเปนที่มาของชื่อบทความนี้ วัยรุนไทย : สงกรานต สงคราม หรือสมกาม จะมีวัยรุนไทยมากเทาไรที่สามารถตอบไดวาตํานานเรื่องเลาสืบตอกันมาของสงกรานตไทย คือ เรื่องของทาวกบิลพรหม กับธิดาทั้ง 7 จะมีสักกี่คนที่รูความหมายที่แทจริงของคําวา “สงกรานต” จะมีใครที่กลับบานไปหาญาติพี่นอง พอแม ปูยา ตายายเพื่อเยี่ยมเยียนและดูแลทาน ทําความเคารพทาน กราบไหวและรดน้ําดําหัวแสดงความเคารพทาน ดูเหมือนวาวัยรุนไทยสมัยนี้จะตีความ “สงกรานต” กลายเปน “สงคราม” และ “สมกาม” ไปเสีย มากกวา สงคราม- เมื่อถึงเทศกาลสงกรานต วัยรุนไทยหลายคนตางพากันจัดแจงเตรียมอุปกรณในการเลนน้ําราวกับ อาวุธยุทโธปกรณในสงคราม การละเลนที่รุนแรง ปนฉีดน้ําที่มีแรงดันสูง น้ําที่แชน้ําแข็งจนเย็นเฉียบ น้ําแข็งขนาดตาง ๆ ที่ปลิววอน ถุงพลาสติกบรรจุน้ํา และพาหนะในการเดินทาง สิ่งเหลานี้เปรียบไดกับปนและลูกระเบิดที่รอเวลาที่จะถูก ระดมยิงและขวางปาเขาใสฝายตรงขามอยางบาคลั่ง ประกอบกับอาการมึนเมาดวยฤทธิ์แอลกอฮอลและความคึกคะนอง ก็ยิ่งทําใหทุกสิ่งทุกอยางดูรุนแรงมากขึ้น หลายครั้งหลายหนที่เกิดเหตุการณทะเลาะตอยตีกันเพราะมีสาเหตุเกิดจาก การละเลนที่รุนแรง หลายครั้งหลายหนที่เกิดอุบัติเหตุตั้งแตเล็กนอยไปจนถึงอาการสาหัสจากการละเลนที่รุนแรงขาด ความยั้งคิด สมกาม- โดยสวนตัวมีความเชื่อวา วัยรุนไทยหลายคนตัดสินใจใชเวลาในเทศกาลสงกรานตไปกับการมี เพศสัมพันธ ทั้งเต็มใจและไมเต็มใจ ทั้งยินยอมและไมยินยอม และมีวัยรุนไทย โดยเฉพาะผูชายที่ตั้งใจไป “หาเศษหา เลย” กับสาว ๆ ที่มารวมเลนน้ําโดยการประแปง ซึ่งนาจะเรียกวาการ “ปาย” มากกวา “ประ” ที่จะลากยาวตั้งแต ใบหนา ลงมาตามลําคอ ผานหนาอก และอาจยาวลงไปถึงสวนพึงสงวนของสาว ๆ ขึ้นอยูกับสถานที่และโอกาสจะอํานวย ได อีกทั้งการแตงตัวที่เปดเผยเนื้อหนังมังสาที่มากเกินควร เสื้อผาที่รัดรูปยามเปยกน้ําเผยทรวดทรงองคเอว และความมึน เมาจากฤทธิ์แอลกอฮอลทําใหกลายเปนเทศกาลที่เปรียบดั่งฤดูกาล “ลาเหยื่อ” โดยเฉพาะ ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นเพราะอะไร? ปญหามาจากอะไร? และจะแกไดอยางไร? สวนตัวเชื่อวาปญหามาจากสอง ประเด็นหลัก นั่นคือการเลี้ยงดู และสภาพสังคม การเลี้ยงดูอยางปลอยปะละเลย การเลี้ยงดูแบบสัตวเลี้ยงลูกดวยเงิน ความหางเหินของสายใยครอบครัว เปน เพียงสาเหตุบางสวนที่ทําใหเกิดปญหาเหลานี้ขึ้น ปจจุบันครอบครัวของคนไทยสวนใหญมักเปนครอบครัวที่มีขนาดเล็กลง จนเหลือเพียงสวนยอยที่สุดนั่นคือ พอ แม ลูก เทานั้น ซึ่งมีผลกระทบตอการเลี้ยงดูบุตรเปนอยางมากหากวาทั้งฝายพอ ~ 82 ~


และแมตองออกไปทํางานหาเงินมาเลี้ยงครอบครัวและจางผูดูแลมาเลี้ยงดูบุตร ทําใหสายใยระหวางพอแมกับลูกหางเหิน ไปในระดับหนึ่ง และเมื่อเปนสวนยอยที่สุดของครอบครัวก็ยิ่งทําใหสายใยระหวาง ปู ยา ตา ยาย ลุง ปา นา อา กับหลาน ยิ่งหางขึ้นมากทุกที กอใหเกิดปญหาทางการขาดความอบอุนในครอบครัวและการเลี้ยงดูที่ไมตอเนื่อง ขาดการแนะนํา ดูแล เอาใจใสใหเด็กไดพัฒนาไปตามธรรมชาติ การตามใจลูกโดยการใชเงินปรนเปรอก็ยิ่งปลูกฝงใหลูกรูจักวิธีการแกปญหาทุกอยางดวยการใชเงินซื้อทุกอยาง เพียงอยางเดียว ทําใหกลายเปนคนเอาแตใจ เห็นแกผลประโยชนสวนตน หลงในวัตถุและความสนุกเพียงชั่วครั้งชั่วคราว เทาที่จะใชเงินแสวงหามาได ครอบครัวที่ทะเลาะเบาะแวงตบตีเปนประจําทําใหลูกซึมซับความรุนแรงโดยไมรูตัว และหากยิ่งฝายพอเปนผูใช กําลังรุนแรงกับแม เด็กก็จะเรียนรูทางใดทางหนึ่งระหวางเกลียดความรุนแรงที่พอทํา กับดูดซับและยอมรับความรุนแรงที่ พอทําตอแมวาเปนสิ่งดี กอใหเกิดความคิดที่วาผูชายเหนือกวาผูหญิงและอาจกอใหเกิดพฤติกรรมและความคิดที่เปน อันตรายตอผูหญิงไดทุกเมื่อ ดานสภาพสังคม ที่เต็มไปดวยสื่อยั่วยุ การแตงกาย เศรษฐกิจ ระดับการศึกษา และอีกหลายปจจัยที่ทําใหเกิด การบิดเบือนของประเพณีอันดีงามที่สืบทอดมาแตโบราณใหลมสลายไปกับน้ํามือของวัยรุนในยุคปจจุบัน น้ําเมาที่หาซื้อไดงายตามรานมินิมารททั่วไปตามทองถนนทําใหแอลกอฮอลผานลําคอวัยรุนไดงาย แมออก กฎหมายบังคับหามเด็กอายุต่ํากวา 18 ป มิใหซื้อเครื่องดื่มมึนเมาไดก็ตาม แตก็มีหลากหลายวิธีที่สามารถหลบเลี่ยง กฎหมายนั้นได วิธีที่งายที่สุดคือใหผูปกครองหรือผูที่มีอายุเกิน 18 ปเขาไปซื้อมาให ซึ่งเปนวิธีที่สามารถทําไดโดยไมตอง ยุงยากแตอยางใดและสามารถทําไดเกือบทุกที่ทุกเวลา เศรษฐกิจที่กําลังเติบโตและมีอัตราคาครองชีพสูงก็เปนสวนหนึ่งของสาเหตุของปญหา ซึ่งเกี่ยวพันกับการเลี้ยงดู ดังที่กลาวมาแลว ครอบครัวที่มีขนาดเล็ก มีเพียง พอ แม ลูก นั้น ทําใหพอและแมตองออกไปหาเลี้ยงครอบครัวและทิ้ง ลูกนอยไวในความเลี้ยงดูของบุคคลอื่นทําใหสายใยที่เชื่อมโยงเขาดวยกันเบาบางลงทุกขณะ สภาพสังคมที่พัฒนาทางดานวัตถุไปอยางรวดเร็วจนความเจริญทางดานจิตวิญญาณและจิตสํานึกกลับถูกกลบลบ เลือนหายไปดวยเสียงเพลงที่แผดสนั่น สื่อลามกอนาจารที่สามารถจับจองเปนเจาของไดโดยงาย การใชจายฟุงเฟอเพียง เพราะตองการสนองความอยากไดอยากมีของตนจนทําใหวัยรุนหญิงไทยหลายคนตัดสินใจ "หากินแนวนอน" และการใช เงินฟุมเฟอยสนองตอบความตองการชื่อเสียงและเปนที่ยอมรับในบรรดาวัยรุนชาย การใหการศึกษาเรื่อง “เพศศึกษา” ที่เปรียบดั่งแดนสนธยาสําหรับวัยรุนไทยที่ไมไดรับคําตอบที่ถูกตอง ไมได เรียนรูถึงวิธีการหลีกเลี่ยงถึงโอกาสเสี่ยงตอการชักนําสูการมีเพศสัมพันธ ไมไดนําเสนอตัวชวยในการควบคุมและระบาย ความใครของตนที่เหมาะสม ไมไดเรียนรูถึงวิธีการปองกันตัวเองและคูนอนจากการตั้งครรภที่ถูกวิธี ทําใหปญหาทั้งหลาย ตามมาเปนโขยงเพราะความอยากรูอยากเห็นอยากลองอยากทําของวัยรุนไทย เพราะความมึนเมาของแอลกอฮอลที่ ครอบงําสติสัมปชัญญะ เพราะการเยายวนจากสื่อทั้งหลายและการแตงตัว นั่นเปนเพียงสวนหนึ่งของ "ปจจัย" ที่กอใหเกิดปญหาทั้งหมดขึ้นเทานั้น ยังมีอีกหลากหลายปญหาที่ชอนไช ลงไปในปญหานี้ราวกับรากของตนไมที่แตกแขนงออกไปไมสิ้นสุด การจะแกปญหานี้ไดนั้นคงไมสามารถแกไดภายในเร็ว วัน แตตองแกไปทีละจุดอยางใชเวลาและความตั้งใจจริงจากทุกคนและทุกฝายที่จะรวมมือกันเพื่ออนาคตอันสดใสของ วัยรุนไทย หวังวาวัยรุนไทยที่ไดอานบทความนี้แลวจะตระหนักถึงบทบาท หนาที่ และขอบเขตของตัวเอง ตระหนักรูวา ตัวเองคือใคร มีหนาที่อะไร และสมควรทําสิ่งใด ตระหนักรูวาสิ่งใดถูก และสิ่งใดผิด สิ่งใดกอประโยชน และสิ่งใดกอความ เดือดรอนตอผูอื่น อยาใหประเพณีอันดีงามที่เหลาบรรพบุรุษทั้งหลายตองสูญเสียเลือดเนื้อเพื่อปกปกรักษาไวตองมาถูก ทําลายยอยยับเพียงเพราะความคึกคะนองและเห็นแกไดของเราเพียงอยางเดียวเลย ขอมูลจาก : http://www.online-station.net/news/views.php?id=4148 ~ 83 ~


ตัวอยางบทความสัมภาษณ

0

วิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยจะแขงขันอยางไรในยุคสื่อ Convergence

ผูบริหารไฟแรงที่กาวทันเทคโนโลยี 4 G มีคําตอบ

~ 84 ~


~ 85 ~


~ 86 ~


(แหลงขอมูล : สุทิติ ขัตติยะ. (2551) ศาสตรการเขียน. กรุงเทพ : สถานีวิทยุแหงประเทศไทยเพื่อการศึกษา.)

~ 87 ~


10. การเขียนวิจารณ ความหมายของการวิจารณ การเขียนวิจารณ คือ การคนหาขอดีและขอไมดีของเรือ่ งที่จะวิจารณชี้ใหเห็นขอบกพรอง พรอม ทั้งเสนอแนวทางแกไขใหดีขึ้น เปนการวิจารณเพื่อสรางสรรค บทวิจารณเปนขอเขียนที่ปรากฏในหนังสือพิมพและนิตยสารแทบจะทุกฉบับ เพราะเปนการแสดง ความคิดเห็นของผูเขียนที่มีตอ เหตุการณและงานศิลปะแขนงตาง ๆ ทําใหผูอานไดรบั ความรู ไดขอคิด เกิด ความเขาใจ และรูเ ทาทันเหตุการณหรือสถานการณที่เกิดขึน้ รวมถึงเขาใจผลงานศิลปะดานตาง ๆ ที่นําเสนอ ผานสายตาสาธารณชน

ลักษณะของการวิจารณ 1. การวิจารณเปนการถายทอดความคิดเห็น ชี้จุดเดน จุดดอยตลอดจนความรูสกึ เกี่ยวกับสิง่ ตาง ๆ เชน ผลงานดานศิลปกรรม งานวรรณกรรม ขาวสารบานเมือง เหตุการณในสังคม เรื่องราวของบุคคล เปนตน อยางสมเหตุสมผล มีขอมูลสนับสนุนความคิดเห็นอยางตรงไปตรงมา ไมมีอคติตอสิง่ ที่วิจารณ เชน หนังสือทีเ่ รา จะวิจารณนั้นมีอะไร ใหเนื้อหาสาระแกผอู านมากนอยเพียงใด เปนตน 2. เปนขอเขียนที่ชัดเจนในการบอกใหผูอานทราบถึงรายละเอียดของสิง่ นั้น ดังนั้นผูวิจารณตองมี ความรูความสามารถเกี่ยวกับเรือ่ งที่วจิ ารณเปนอยางดี เชน การวิจารณวรรณกรรม จะตองรูวาเปนหนังสือ ประเภทใด ใครเปนผูแตง มีเนื้อเรื่อง วิธีการแตง การใชภาษาเปนอยางไร เปนตน แลวจึงสามารถวินิจฉัย คุณคาของสิ่งทีจ่ ะวิจารณไดวาดีหรือไมอยางไร ซึ่งจะเปนประโยชนตอผูอานในการตัดสินใจ เลือกชม เลือกซื้อ เลือกอานสิง่ นั้น 3. เปนขอเขียนทีอ่ านแลวเขาใจงาย นาอาน ทําใหผอู านติดตามอานจนจบ ใชถอยคําอยางสรางสรรค ไมใชถอยคําในเชิงประจาน หรือโจมตีผูเขียนอยางรุนแรง นอกจากนี้ บทวิจารณที่ดจี ะตองใหความรู ความคิด ขอเสนอแนะ แกผูอาน ชี้ใหเห็นคุณคาพิเศษที่อยูในงานเขียนเรื่องนั้น

ชนิดของการวิจารณ เสถียรโกเศศ ไดแบงการวิจารณออกเปน 3 แบบ ไดแก 1. จิตวิจารณ (Impressionistic Criticism) เปนการวิจารณในแงความรูสึกนึกคิดของผูวิจารณ 2. อรรถวิจารณ (Interpretative Criticism) เปนการวิจารณในแงแปลหรือตีความ 3. วิพากษวิจารณ (Judicial Criticism) เปนการวิจารณในแงการใหคําพิพากษา

~ 88 ~


การวิจารณแบบที่ 1 และแบบที่ 2 เปนเรื่องของความเห็นและความรูส ึกของบุคคลธรรมดาเปนที่ตงั้ ไมไดใชหลักความรูอะไรวิจารณ สวนแบบที่ 3 เรียกวา ‘วิพากษวิจารณ’ หมายความวา ผูวิจารณยอมมีหลัก ในการวินิจฉัยทํานองเดียวกับผูพิพากษาอรรถคดี ธรรมดาผูซึ่งจะตัดสินอรรถคดีในศาลไดตองเปนผูพ ิพากษา ซึ่งทรงความรูท างนิติศาสตร และกอนจะตัดสินใจใหคําพิพากษาไดตองพิจารณาใหถองแทแนนอน เชนเดียวกับนักวิจารณตองมีภูมิปญ  ญา ภูมิธรรม และมีหลักเกณฑในการพิจารณางานเฉพาะสาขา จึงจะ เปนนักวิจารณ

ระดับการวิจารณ การวิจารณผลงานใด ๆ ก็ตาม จะมีอยู 2 ระดับ คือ 1. การพินิจ (Review) เปนการวิจารณที่ผเู ขียนเพียงแตใหขอมูลเกี่ยวกับผลงานที่ตนเขียนถึง เชน ผลงานดานดนตรี ดานละคร หรือหนังสือที่ออกใหม รวมถึงการสรุปสาระสําคัญของผลงานนั้น ๆ ใหผูอาน ไดทราบ การพินิจนีจ้ ะไมกาวเขาไปถึงการแสดงความคิดเห็น วิพากษวิจารณ หรือประเมินคุณคาผลงานชั้น นั้น บางทานเรียกการวิจารณระดับนี้วา การปฏิทัศนหรือการแนะนํา 2. การวิพากษวิจารณ (Criticism) เปนการใหความในเชิงประเมินคุณคาและเปรียบเทียบผลงานที่ วิพากษวิจารณกับงานอื่นในประเภทเดียวกัน โดยปกติหนังสือพิมพและนิตยสารทั่วไปจะไมพยายามวิจารณ งานทั่ว ๆ ไป นอกจากจะมีคอลัมนวิจารณผลงานศิลปะประจําหนังสือพิมพหรือนิตยสาร เชน วิจารณหนังสือ ละคร ดนตรี เปนตน ในกรณีเชนนี้บรรณาธิการจะมอบใหผูมีประสบการณและผูเ ชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ เปน ผูเขียนวิพากษวิจารณ เพราะตองอาศัยความรู ประสบการณ และความชํานาญในศาสตรนั้น ๆ มาอธิบายให เห็นคุณคาของงานชั้นนั้น ๆ อยางไรก็ตาม ขอเขียนที่มลี ักษณะวิจารณ ไมวาจะเปนระดับ Review หรือระดับ Criticism ใน ภาษาไทยเรามักเรียกรวมกันวา ‘บทวิจารณ’

คุณสมบัติของผูวิจารณ ผูที่จะเขียนบทวิจารณควรมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. ตองมีความรอบรู กลาวคือ ตองมีความรูความเขาใจในเรื่องที่จะวิจารณเปนอยางดี เชน จะ วิจารณดนตรีก็ควรมีพื้นฐานความรูดนตรี จะวิจารณละครเวทีก็ตองเขาใจลักษณะของละครเวที มิใชเอา ละครโทรทัศนไปเปรียบเทียบกับละครเวที แลววิจารณวา ผูแสดงละครเวทีแสดงเกินจริง เปนตน ดังนั้นผู วิจารณควรศึกษาเพื่อใหความรู ความเขาใจอยางถองแทเสียกอน รวมทัง้ ศึกษาถึงหลักการงานประเภทตาง ๆ ดวย จึงจะทําใหบทวิจารณนาเชื่อถือ

~ 89 ~


2. ตองติดตามความเคลื่อนไหวของวงการที่จะวิจารณ การอาน การฟง การดู การชมอยาง สม่ําเสมอ ทําใหเปนผูมีความรอบรู ทําใหมีมุมมองกวางขวางขึ้น เกิดความเขาใจ เห็นใจ หาเหตุผลมาแสดง ทัศนะไดคอนขางตรงประเด็น เชน การวิจารณภาพยนตรไทยเปรียบเทียบกับภาพยนตรตางประเทศ ถาผู วิจารณเขาใจกระบวนการสรางและปจจัยทีเ่ ปนปญหาในการสรางภาพยนตรไทย ก็จะไมโจมตีหรือติเตียนแต เพียงดานเดียว ความเปนธรรมจึงเกิดขึ้น ผูอานก็จะเขาใจ เห็นใจวงการภาพยนตรไทย เปนตน 3. ตองมีญาณทัศน คือ ความคิดเฉียบแหลม หยัง่ รูถงึ แกนเรื่อง ไมพิจารณาแตเพียงผิวเผินและ ดวนสรุปเอางาย ๆ การจะฝกฝนตนเองใหเปนผูม ีญาณทัศน ทําไดโดยการสังเกต การลองตั้งคําถาม ตั้งสมมติฐาน และติดตามหาคําตอบดวยความตั้งใจ 4. มีความเที่ยงธรรม การเปนผูวจิ ารณที่ดีตองตั้งตัวเปนกลาง ไมชมเพราะเปนเพื่อนหรือเพราะมี แนวคิดเหมือนกัน หรือเปนพวกเดียวกัน ไมติเพราะไมชอบ ไมถูกรสนิยมผูเขียน ตองตัดอคติออกไป เอา เหตุผลและหลักธรรมมาเปนที่ตั้ง

แนวทางการวิจารณ 1. การวิจารณแนวจิตวิทยา เปนการวิพากษวิจารณโดยอาศัยการพิจารณาพฤติกรรมของมนุษย (ตัวละคร) ที่ศิลปนไดเติมแตงเขาสูงานศิลปะของตน แลวถายทอดความรูสึกนึกคิดนั้นออกมาสูผ ูเสพ ซึ่งอาจ พิจารณาจากการใชความรูท ั่วไปทางจิตวิทยาหรือจิตวิเคราะหเพื่อแสวงหาความกระจางจากงานศิลปะนั้น วา พฤติกรรมที่แสดงออกทั้งของตัวละคร และ/หรือ ศิลปนผูส รางนั้นเกิดจากอะไร ทําไมจึงเกิดขึ้นและสงผล อยางไร การวิจารณแบบนี้ชวยเสริมสรางความสมจริงใหแกงานศิลปะวาสามารถนํามาสัมพันธกับชีวิตจริงได 2. การวิจารณแนวสังคมศาสตร เปนการวิพากษวิจารณโดยถือวาศิลปะเปนผลทีเ่ กิดขึ้นจากการ สะทอนภาพของสังคมที่ศิลปนไดรจนาขึ้นในมุมมองทีเ่ ขาเห็น เนื่องจากสังคมมีอิทธิพลตอการสรางสรรค ศิลปะของศิลปนดังคํากลาวที่วา “เบือ้ งหลังเสียงกลอง คือ คนตี และเบื้องหลังคนตี คือ สังคม” หรือ “ศิลปน วาดภาพที่เปนจริงเสียยิง่ กวาตัวความจริงเอง” ทั้งนีเ้ พราะศิลปนมีญาณทัศนะที่กวางไกลและลุม ลึกมากกวาที่ คนทัว่ ไปจะมองเห็น 3. การวิจารณแนวสุนทรียศาสตร เปนการวิพากษวิจารณจากการรับรูในความงามของศิลปะ ซึ่ง การตัดสินความงามทั้งดานเนื้อหาและรูปแบบ ขึ้นอยูก ับผลกระทบของสิ่งนั้นที่มีตออารมณและจิตใจของ มนุษยตามเกณฑที่กําหนดไว ไดแก ความชัดเจนในการแสดงออก ความกลมกลืนตอเนือ่ ง ความเกี่ยวของ สัมพันธ ความสมบูรณและความนาสนใจ 4. การวิจารณแนวชีวประวัติ เปนการวิพากษวิจารณโดยพิจารณาความสัมพันธระหวางงานศิลปะ กับศิลปน รวมทั้งวิเคราะหสังคมและสิ่งแวดลอมที่มอี ิทธิพลตองานศิลปะนั้น เพื่อใหเกิดความเขาใจในตัว ศิลปนและชิ้นงานศิลปะ 5. การวิจารณแนวภาษาศาสตร เปนการวิพากษวิจารณเรื่องราวการใชภาษาวามีความถูกตอง เหมาะสม สัมพันธกบั เนื้อหาหรือไม มีความสละสลวยเพียงไรในงานศิลปะนั้น

~ 90 ~


6. การวิจารณแนวปรัชญา เปนการวิพากษวิจารณโดยไตรตรองและมองปญหาอยางใชปญ  ญาดวย การพิจารณาผลงานในสวนที่สมั พันธกับผูส รางงานศิลปะ เพื่อศึกษาหาความหมายที่แฝงไวในผลงานนั้นหรือ เปรียบเทียบผลงานดังกลาวกับผลงานอื่นทีผ่ สู รางคนเดียวกันหรือคนอื่นที่เคยทํามาแลว 7. การวิจารณแนวประวัติศาสตร เปนการวิพากษวิจารณโดยนําเอาประวัติศาสตรและประวัติของ งานศิลปะนั้นมาใชในการศึกษาวิเคราะหศิลปกรรม เพื่อไขความเขาใจและชี้แจง อธิบายขอเท็จจริงบางอยางที่ แฝงอยูในงานศิลปะนั้น ทั้งนี้เพื่อมุง ศึกษาชวงเวลาทีผ่ ลิตงานศิลปะนั้น รวมทั้งสภาพแวดลอมตาง ๆ ที่ผูสราง เอาอิทธิพลมาไวในงานของตน แนวการวิจารณที่กลาวมานี้ สามารถนําไปประยุกตเพื่อวิจารณศิลปะไดทกุ แขนง โดยเฉพาะศิลปะที่ เปนสื่อมวลชน คือ ภาพยนตร ละครโทรทัศน

โครงสรางบทวิจารณ 1. ชื่อเรื่อง (Title) ควรตั้งชื่อเรื่องที่เรียกรองความสนใจของผูอานและสื่อความหมายไดชัดเจน เชน ตั้งชื่อตามชื่อหนังสือที่ตอ งการวิจารณ ตั้งชื่อตามจุดมุง หมายของเรือ่ ง ตั้งชื่อดวยการใหประเด็นชวนคิด ชวน สงสัย เปนตน 2. ความนําหรือประเด็นที่จะวิจารณ (Lead or Issue) หรือบทนํา เปนการเขียนนําเกี่ยวกับเรื่องที่ จะวิจารณ เชน ถาเปนการวิจารณวรรณคดี ตองบอก ชื่อวรรณคดี ผูแตง ประเภท ความเปนมาของเรื่อง และ อาจเขียนอธิบายและจูงใจที่ทําใหผูวิจารณสนใจวรรณคดีเรือ่ งนี้ 3. เนื้อเรื่อง (Body) เปนสวนแสดงความคิดเห็นและรายละเอียดในการวิจารณ โดยนําเสนอจุดเดน และจุดบกพรองของเรื่องอยางมีหลักเกณฑและมีเหตุผล หากตองการเลาเรื่องยอของวรรณคดีหรือวรรณกรรม ที่นํามาวิจารณ ควรเขียนเลาเรื่องอยางสั้น ๆ เพราะการวิจารณไมใชการสรุปเรื่อง แตเปนการแสดงความ คิดเห็นของผูวิจารณที่มีตอวรรณคดีหรือวรรณกรรมเรื่องนั้น ผูเขียนตองการสือ่ ความหมายอะไรมายังผูอาน หนังสือ และสื่อใหชัดเจนหรือไม อยางไร ถาประเด็นในการวิจารณมหี ลายประเด็น ควรนําเสนอตามลําดับ เพื่อใหผูอานบทวิจารณเขาใจงายไมสับสน ในกรณีที่วรรณคดีหรือวรรณกรรมเรือ่ งนั้นมีจุดเดนและจุดดอย ควร เขียนถึงจุดเดนกอนแลวจึงกลาวถึงจุดดอย เพื่อใหเกียรติผูเขียน และแสดงใหเห็นวาการวิจารณ คือการ สรางสรรคไมใชการทําลาย 4. บทสรุป (Conclusion) เปนยอหนาสุดทายของบทวิจารณ เปนการเขียนสรุปความคิดทั้งหมดที่ วิจารณและใหแงคิด หรือขอสังเกตทีเ่ ปนประโยชนตอผูอา น นอกจากนี้บทสรุปยังชวยใหผูอานไดทบทวน ประเด็นสําคัญของเรื่องและความคิดสําคัญของผูวจิ ารณ แมวาผูอานอาจจะไมไดอานบทวิจารณทั้งบท แตได อานบทสรุปก็สามารถทราบเรื่องของวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่นํามาวิจารณ รวมทัง้ ความคิดเห็นของผูวิจารณ ที่มีตอวรรณคดีหรือวรรณกรรมเรื่องนั้นได

~ 91 ~


ปจจุบันนี้ มีการใหรางวัลวรรณกรรมหลายประเภทจากหลายหนวยงาน นับไดวาเปนกิจกรรม ประเมินคุณคาวรรณกรรมและสงเสริมการอาน รางวัลวรรณกรรมทีร่ ูจกั กันดี คือ รางวัลซีไรต ที่ใหแก นวนิยาย เรื่องสั้น และรอยกรอง สลับกันไปแตละป และกอใหเกิดการวิพากษวิจารณวรรณกรรมอยาง ตอเนื่องถึงปจจุบัน ซึ่งการวิจารณวรรณกรรมมิใชเรื่องยาก แตตองใชการอานอยางละเอียด การฝกความคิด เชิงวิจารณและความรักในการเขียน หากไดฝก ฝนการเขียนบทวิจารณ และอานบทวิจารณอยางสม่ําเสมอ นักเรียนสามารถพัฒนาตนเองเปน นักวิจารณวรรณกรรมได สิ่งที่พึงระมัดระวังคือตองเขียนดวยความเปน กลางอยางไมมีอคติ และพึงระลึกไวเสมอวา การวิจารณวรรณกรรม ควรเปนไปเพื่อการสรางสรรคมิใชเพื่อ ทําลาย

~ 92 ~


ตัวอยางบทวิจารณ “เขียดขาคํา” อมตะเรื่องสั้นชั้นครู "เขียดขาคํา" เปนหนึ่งในเรื่องสั้นจํานวน 18 เรือ่ ง ชุด "ฟาบกั้น" ของ ลาว คําหอม หรือนามจริงวา คําสิงห ศรีนอก เปนเรื่องสั้นที่สะทอนภาพชีวิตที่แรนแคนลําเค็ญของชาวชนบทอีสาน ไดอยางชัดเจนแมวา อีสานในปจจุบันจะพัฒนาจนไดชื่อวาเปน “อีสานเขียว” แลวก็ตาม แตเรื่องสั้นเรือ่ งนี้ก็ยงั คงความเปนอมตะ อยูไมเสือ่ มคลาย สมกับที่ไดรบั การยกยองจากบรรดานักวิจารณวาเปน “เรื่องสั้นชั้นครู” ลาว คําหอม เปดเรื่องดวยการพรรณนาธรรมชาติและพฤติกรรมของตัวละครเอก คือ นาค นางาม ดังนี้ “แดดกลาเริงแรงเหมือนจงใจจะแผดเผาทุกชีวิตบนทองทุง กวาง ใหไหมมอด จนสิ้นซาก สะแบงหลวงกับพะยอมยืนโดดเดน ทิ้งใบแกสีเหลืองคล้ํารอนลงดินเปนครั้ง คราว เขาหยอนกาย ลงตรงโคนไมดวยทาทางทีเ่ หนื่อยออน เสือ้ สีครามคล้ําเปยกชื้น ไปดวยหยาดเหงื่อ รอบตัวมีแตความอางวาง แหงแลง เขาเพงมองกลุมหญาหมัน และ ฟางฝอยที่ปลิววอนหมุนเปนลําพุงสูงขึ้นสูทองฟา นอกจากหญาและฟางมันยังหอบเอา ดินสีน้ําตาลลอยฟุงจนมิดมัวไปหมด” ลาว คําหอม ฉายภาพจากมุมมองระดับสูงลงสูมุมมองระดับต่ํา คือ ภาพสะแบงหลวงกับพะยอมที่ยืน ตน ภาพตัวละครเอกนัง่ จับเจาอยูทามกลางฟากวางทีม่ ีแสงแดดกลา แลวไลลงมาสูภาพตัวละครเอกนัง่ หยอน โคนไมการไลภาพจากสูงลงต่ํา สรางความรูสกึ กดทับ หดหู เดียวดายและสิ้นหวัง หลังจากบรรยายภาพ ธรรมชาติกับตัวละครเอกแลว ลาว คําหอม ไดสรางเหตุการณ โดยฉายภาพยอนหลัง คือ กลาวถึงลูกของนาค ถูกงูกัด และนาคตองไปรับเงินสองรอยบาททีอ่ ําเภอ ลาว คําหอม ใชบทสนทนามาดําเนินเรือ่ งไดอยางกระชับ แสดงใหเห็นภาวะสับสนทางจิตใจของนาค ระหวางการไปรับเงิน กับการไมไปรับเงินที่อําเภอ และสะทอนใหเห็นทัศนคติของขาราชการที่ดหู มิ่นเหยียด หยามราษฎรในชนบท ลาว คําหอม สามารถทําใหผูอานเปรียบเทียบทัศนคติระหวางบุคคลสองฝายไดจากบท สนทนาในเรื่อง โดยไมจําเปนตองระบุโดยตรง นอกจากนี้ บทสนทนา ตอนจบเรื่อง ทีเ่ พื่อนบานแสดงความชื่น ชมกับความโชคดีของนาคที่ไดรับเงินสงเคราะหผมู ีลูกมาก สะทอนใหเห็นทัศนคติของชาวบานวาเห็นคุณคา ของเงินสองรอยบาทมากกวาชีวิต ในสายตาของชาวบานดูเหมือนวานาคจะโชคดีจริง ๆ เพราะหากลูกของเขา ตายไปกอนที่เขาจะเดินทางไปรับเงินสองรอยบาทที่อําเภอ เขาก็จะไมมีคุณสมบัติตามเกณฑการสงเคราะหผูมี ลูกมาก ซึง่ จะตองมีลูกถึงหาคน แตในสายตาของผูอานกลับรูสึกวา นาคชางโชครายเหลือเกิน

~ 93 ~


อาจสรุปไดวาเรื่องสั้นเรื่องนีโ้ ดเดนดวยบทสนทนา ทั้งในการดําเนินเรื่องและการปดเรื่อง กอใหเกิด ความสะเทือนใจอยางลึกซึ้ง ดวยการประชดเยยหยันชะตากรรมของมนุษยอยางปวดราว ผูอานจะสามารถ เปรียบเทียบความสําคัญระหวาง “เขียดขาคํา” กับ “เงินสองรอยบาท” ทีม่ ีตอชะตากรรมชีวิตของนาคไดวา “เขียดขาคํา” ทําใหลกู ของเขาถูกงูกัด และ “เงินสองรอยบาท” ทําใหเขาไมมีโอกาสดูแลลูกที่ใกลตาย แมวา เขาจะโชคดีที่ไดทั้ง “เขียดขาคํา” และ “เงินสองรอยบาท” แตสองสิ่งนี้กท็ ําใหสูญเสียลูกไป นอกจากนี้ ยัง สะทอนภาพ “ความไมรู” ของชาวบาน ดังตัวอยางที่นาคอุม ลูกชายที่ถูกงูกลับบาน โดยไมลมื ครุเขียด และไม ลืมบอกลูกอีกคนใหซากงูไปดวย แตมิไดหาทางปองกันมิใหพิษงูแลนเขาหัวใจ หากพิจารณาชื่อของตัวละครเอก จะเห็นไดวา ลาว คําหอม ตองการลอเลียนเยาะหยันชะตากรรมของตัวละครเอก แมวาเขาจะชื่อ นาค นางาม ซึ่งหมายถึง ความอุดมสมบูรณ แตชีวิตของเขากลับแรนแคนลําเค็ญยิง่ นัก นอกจากนี้ หากพิจารณาจากชื่อหนังสือ “ฟาบกั้น” จะเห็นไดวาแมฟาจะไมขวางกั้น แตวิถีชีวิตของ คนในเมืองกับในชนบทก็ยงั ถูกกั้นใหหางกันดวยสภาพแวดลอมและชะตากรรม จะเห็นไดวาเรือ่ งสั้นที่มีความ ยาว ไมมากนักเรื่องนี้ ผูเขียนสามารถเสนอภาพชนบทอีสานไดอยางลึกซึ้งนําเสนอชีวิตตัวละครเอกไดอยางลุม ลึก และสะทอนทัศนคติ พฤติกรรม ตลอดจนความคิด ความเชื่อของชาวบาน และขาราชการไดอยางเฉียบคม สมกับไดรับการยกยองวาเปน “เรื่องสั้นอมตะ”

~ 94 ~


ตัวอยางการวิจารณหนังสือนวนิยาย นวนิยาย “เขาชื่อกานต” ผูแตง สุวรรณี สุคนธา (นามปากกา) นามจริง สุวรรณี สุคนธเที่ยง ขนาด 44 ตอนจบ ตีพิมพโฆษณาเผยแพรเปนครั้งแรกในนิตยสาร “สตรีสาร” รายสัปดาห พ.ศ.2513

4

4

4

“เขาชื่อกานต” มีลักษณะเปนนวนิยายสมจริงทีม่ ีเอกภาพเนนสารัตถะสําคัญของเรื่อง คือ ความ เขมแข็งทีจ่ ะรักษาอุดมการณในการปฏิบัติงานและการเสียสละความสุขสวนตนของนายแพทยชนบทผูห นึ่ง มี ตัวละครไมสมู ากนัก แตลวนเปนตัวแทนของกลุมชนหลายประเภทที่มีตัวจริงอยูในสังคม ในกรุงเทพฯในชนบท ขณะนี้ เคาโครงเปนเรื่องการกลาวถึงสภาพชีวิตตัวละครเหลานั้นทุกคน ทั้งเปนผูมีการศึกษาและฐานะพื้นเพ มีอาชีพและมีทัศนะแตกตางกัน แตตางมีบทบาทความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกัน เรือ่ งจบลงดวยการเสียชีวิตของ นายแพทยที่มีชิอวา “กานต” ผูนั้น จุดสะเทือนใจในตอนจบเปนเครื่องแสดงวา อุดมคติยังใชไดอยู เนื้อเรือ่ ง มีทั้งในกรุงเทพมหานครและในชนบทหางไกลความเจริญ เปนการแสดงภาพทํานองชีวิตในการเทียบเคียงอยาง ชัดเจน บทสนทนาเปนไปอยางเหมาะสมแกฐานะและพื้นฐานนิสัยใจคอของแตละบุคคลในเรื่อง จึงมีลักษณะ สมจริง และมีชีวิตชีวา จึงอาจกลาวไดวา นวนิยายเรื่องนี้เปนนวนิยายที่ดีเยี่ยมในดานองคประกอบตาง ๆ ของเนื้อเรือ่ ง แต นับไดวานวนิยายเรื่องนี้มีคุณคาสมบูรณดานวรรณกรรม คือวิธีแสดงออกของเรื่องราว ซึ่งประกอบไปดวยกลวิธี แตง และสํานวนโวหารอันเปนสํานวนเฉพาะในการแตง ผูเขียนมีความสามารถเดนยิง่ ในการนําเสนอ นว นิยายเรื่องนี้ โดยอาศัยกลวิธีแตงหลายแบบผสมผสานกันอยางแนบเนียน วางสวนสัดตรงกับเนือ้ เรื่องอยาง สมดุลกระทัดรัดไมยืดเยื้อ เหตุการณตาง ๆ ในเรื่องดําเนินเขาสูจุดของเรื่อง เปนการรักษาเอกภาพของเนื้อ เรื่องไวไดเปนอยางดี เปนการเปลี่ยนฉากสนับสนุนเนื้อเรื่อง และแทรกบทสนทนาตามที่เหมาะสม ทําใหมี ความแปลกเปลี่ยนอยูตลอดเวลา และจากบทสนทนานี้เองทําไหผูอานรูจ ักตัวละครอีกดวย ตัวละครมีไมมากนัก และผูแตงมีกลวิธีปลอยตัวอยางรัดกุมไมทําใหเกิดความสับสน แตทําใหบทบาท และบุคลิคภาพของตัวละครกระจางชัดขึ้น โดยที่ผูแตงไมตองอธิบายอยางตรงไปตรงมาแตอาศัยวิธีการ ละเมียดละไมแนะใหเห็นภาพบุคคลในเรือ่ งในจินตนาการของผูอาน ตัวละครแตละตัวเปนคนในชีวิตจริง มีทั้ง คนโลภ-ทุจริต คนหนุมเจาสําราญ พอคาผูม ีผลประโยชนเปนที่ตั้ง คุณนายหัวเมืองกับขวดน้ําดื่มจุกหุม ผาดอกสี เลอะเทอะชาวบานที่ยากจนไรการศึกษาแตมีน้ําใจ ซื่อและเอื้อเฟอ เหลานี้แสดงลักษณะตัวละครหลาย ประเภทและหลายดาน หลายมุม โดยเฉพาะหมอกานตผูมีปณิธานวาจะรักษาความสุจริตและอุทิศตนเพื่อ ประโยชนสุขของเพื่อนมนุษย และหฤทัยภรรยาหมอกานต ซึ่งเปนแบบอยางของหญิงไทยรุนใหมที่มีการศึกษา สูง มีความคิด ความฉลาดในการตัดสินใจ และมีความสามารถในการปรับตัวใหเขากับสถานการณตาง ๆ ใน สถานการณของตนไดเปนอยางดี ทั้งที่ดูดผิวเผินแลวดูราวกับเปนคนสํารวยรักความสุขความสบาย แตเมื่อถึง คราวที่ตองตัดสินใจเลือกเอาระหวางความสบายอยางฉาบฉวยกับความมั่นคงและความถูกตองแลว หฤทัยก็ เลือกอยูขางหมอกานตผูยากจน แตมีอุดมคติแนวแนเสมอทุกครั้ง ภาพตัวละครเหลานี้ปรากฏในบทสนทนา ~ 95 ~


และความนึกคิดของตัวละครเองคอย ๆ ประจักษชัดเจนเปนบุคลิคของตัวละครแตละบุคคน ใหความเขาใจแก ผูอานอยางซึมทราบ ผูประพันธมีกลวิธีในการเปดโปงเรื่อง โดยสรางความแตกตางอยางตรงกันขามคือการเปดเรื่องดวย งานรื่นเริงฉลองการแตงงานระหวางหมอกานตกบั หฤทัย และจบลงอยางเศราหมองดวยความตายของหมอ กานต ทุกคนรองไหเสียดายหมอที่ชื่อ กานต ในขณะ “ฝนตกพรางพรราวกับวาฟารองไหอําลารางที่ ปราศจากชีวิตของเขา” สุวรรณี สุคนธา ยังไดใหกลวิธีในการเขียนนวนิยายเรือ่ งนี้อกี หลายแบบ เปนตนวาการ กลาวถึงเรื่องราวแบบยอนหลัง การพรรณาความแบบจิตประหวัดไดอยางแนบเนียนและเปดโอกาสใหผูอานได ใชวิจารณญาณและจินตนาการรวมดวยโดยใชวิธีแนะดังไดกลาวแลวเหลานี้เปนกลวิธีการแตงดีเดนควรแกการ ยกยอง สวนสํานวนโวหารอันเปนแบบเฉพาะตัวของผูประพันธนั้น ในการเขียนนวนิยายเรื่องนี้ สุวรรณี สุ คนธา ไดแสดงคุณสมบัติพเิ ศษในฐานะที่เปนนักเขียนอยางแทจริง มีลักษณะที่เปนแบบเฉพาะตัวในการ เลือกใชถอยคําที่มีความหมายตรง กระชับ สั้น และรัดกุม แตทําใหผูอานเกิดความเขาใจและความรูสกึ อยาง ลึกซึง้ กับ สํานวนที่วา “อานไดระหวางบรรทัด” อีกดวย แมเรื่องจะจบลงเสมือนวาหมอกานตสิ้นชีวิตลงอยางเปลาดายไรรางวัลตอบแทนใด ๆ ทั้งสิ้น แตผูแตง ก็ไดกลาวแนะโดยนัยถึงเหตุการณที่แสดงปญหาดานครอบครัวและความรักของหมอกานตนั้นเรียบรอยลงแลว เพราะหฤทัยแสดงความตั้งใจที่จะกลับไปอยูกบั หมอกานตทบี่ านในชนบทตอไป ความเศราโศกอาลัยของบุคคล ที่เห็นหมอกานตตาย เปนรางวัลของชีวิตอยางหนึ่ง ที่เปนประจักษพยานยืนยันความคิดของทุกคนวา “ความดี ไมสูญเปลา” ชีวิตที่มีแคควรแกการอาลัยนั้น คือชีวิตที่ซื่อตรงและเปนประโยชนตอเพือ่ นมนุษย และบุคคล อยางเขาที่ชื่อกานตนี้แหละคือผูเชิดชูอุดมคติใหยืนยงมั่นคง อยูในความนึกคิดของมนุษยชาติตลอดไป จึงนับวา ผูประพันธไดใชโวหารงาย ๆ ตรงไปตรงมา แตสรางความรูส ึกตระหนัก ในคุณคาของอุดมคติและการเสียสละ ไดอยางแนบแนนลึกซึ้ง โดยสรุปแลว นวนิยายเรื่องนี้ มีความดีเดนหลายประการไดแก เนื้อเรื่อง กลวิธีการแตง และสํานวน โวหารการใชถอยคํา จึงเปนเรือ่ งทีม่ ีคุณคาสอดคลองกับสภาพชีวิตในปจจุบันซึ่งตองการสรางเสริมและกําลังใจ สนับสนุนในดานอุดมคติ ความจริงจังตอชีวิต ความซื่อสัตยสจุ ริตและการเสียสละเปนอยางยิง่ แหลงที่มา : ศาสตราจารยกุหลาบ มัลลิกะมาส. วรรณคดีวิจารณ. หนาที่ 170-174.

~ 96 ~


บทความวิจารณ หนังสือความสุขของกะทิ หมวดหมู: หนังสือ ประเภท: อื่น ๆ ผูประพันธ: นัทธนัย ประสานนาม 0

0

0

0

0

0

ขอตอไปที่จะวิพากษคือคุณธรรมของผูหญิงในเรื่องนี้ ชีวิตคนในความสุขของกะทิ ถึงแมไมสมบูรณ แบบ เพราะเต็มไปดวยการพลัดพราก ความตาย และความสูญเสีย แตเราตองยอมรับวา กะทิไดพบแตคนดี ๆ อยาง นาอัศจรรยและตัวกะทิเองก็เปนคนดีสมแกฐานะการเลี้ยงดูดวย ยกตัวอยางเชน เมื่อกะทิเลา ใหแมฟงเกี่ยวกับ พิราวรรณเพื่อนนักเรียนที่ขากรรไกรหัก “เพื่อน ๆ ชอบเรียกวายายเออ ไมยอมเลน ดวย กะทิเลยชวนพิราวรรณมานั่งอานหนังสือสนุก ๆ จะชวนคุยก็ไมไดหรอกคะ เพราะพูดไมคอยถนัด” (60) น้ําใจของเด็กหญิงชางแสนงดงาม จะคิดมากเกินไปหรือไมหากกลาววาตอนนี้กะทิเปนภาพแทนวัยเด็กของ ผูหญิงทีจ่ ะเติบโตขึ้นไปเปนนักสังคมสงเคราะหตามแบบฉบับของผูห ญิงชนชั้นกลางและชนชั้นกลางระดับสูง ทั้งหลาย นอกจากกะทิแลวตัวละครหญิงตัวอื่นยังเปยมดวยคุณธรรม เชน พี่สดับทีท่ ิ้งนองทิวไปทัง้ ทีเ่ พิ่งคลอด ออกมา “พี่สดับกมหนาดวยความละอาย ...พีส่ ดับไมมีทางเลือก จึงตองหนีออกจากบาน” (169) ครูราตรีที่ ตัดสินใจหยาขาดจากสามีเมือ่ พบวาเขามีครอบครัวอยูกอนแลว “ราตรีไมเคยตองการทํารายใคร และในชีวิตก็ ไมเคยคิดเลยวาตัวเองจะตองกลายมาเปนคนทําใหผูหญิงคนหนึ่งและเด็กเล็ก ๆ สองคนเปนทุกข จนวันตาย ราตรีก็ไมลืมสายตาช้ําตรมของผูห ญิงคนนั้น” (63-64) ผูเขียนอาจตองการเสนอวาผูห ญิงทุกคนอาจเคยทํา ผิดพลาด แตขึ้นอยูกับวาจะสํานึกผิดและแกไขสิ่งที่เกิดขึ้นอยางไร คุณธรรมของตัวละครหญิงในเรื่องนี้มิใชธรรมดา เพราะเปนสิง่ ที่ประกอบสรางผานอํานาจชายเปนใหญ โปรดสังเกต การทีส่ ดับตองละอายมากเพราะวาเธอละทิง้ บทบาทของแมที่ควรกระทํา สดับจึงกลายเปน “แม ใจยักษ” เชนเดียวกับที่ปรากฏตามหนาหนังสือพิมพ งามพรรณอาจมองเห็นประเด็นนีจ้ ึงพยายามสราง คําอธิบายวาธงไทยพอของนองทิวเสียชีวิตที่ไตหวันเพราะเขาไปชวยเพื่อนคนงานที่ติดอยูในตึกระหวางเกิดไฟ ไหม เปนอันวาพีส่ ดับพนโทษเพราะรับผิด สวนธงไทยทีไ่ มไดอยูรับผิดชอบก็ไดรบั การยกยองเปนวีรบุรุษไป (แนนอนวาชื่อธงไทยเชื่อมโยงกับความเปนวีรบุรุษชาวไทย) ฝายครูราตรีเมื่อรูวาตัวเองมาทีหลังก็ตองถอยฉาก มา เพื่อธํารงรักษาไวซึ่งสถาบันครอบครัวของสามีที่ตราไวโดยอุดมการณชายเปนใหญเชนกันวาประกอบดวย พอ แม ลูก สุขสมบูรณ อาจยังมีขอโตแยงอีกวาเรื่องนี้ชายอาจไมเปนใหญเพราะกะทิอยูไดโดยไรพอ คําอธิบาย สําหรับขอโตแยงนี้คือ ความสุขของกะทิ เสนอตัวตนของ “พอ” ผานผูชายหลายคนในเรื่อง เริ่มตัง้ แตตาที่ แสรงทําเปนกลัวยาย แตตาในฐานะนักกฎหมายเกาก็เปนทีน่ ับหนาถือตาของคนในชุมชน กลาวคืออยูในพื้นที่ สาธารณะอยางสมภาคภูมิ และเปนที่พงึ่ ใหแกยายยามออนแอ เชนเดียวกับกะทิที่มีคาถาวา “คิดอะไรไมออก ใหบอกตา” นอกจากตาแลวยังมี่นากันตที่ใหกะทิขี่หลัง พี่ทองที่คอยชวยเหลือกะทิ รวมทั้งเชิงรบลูกชาย ปลัดอําเภอที่กะทิไมเคยเห็นความสําคัญ จนกระทั่งเขาไดแสดงความเปนชายที่ปกปองคุมครองกะทิได ดวย การแสดงฝมือยูโดทุม ปอมยักษเพือ่ นอันธพาลลงไปนอนกอง “ทุกครั้งที่ไดยินเสียงเรียก กะทิจะจงใจเดินชาลง 0

0

~ 97 ~


และยอมใหเชิงรบเดินคูดวยสายตาของใครตอใคร ตําแหนงหวานใจฮีโรจะเปนใครที่ไหนยอมไมไดทั้งนั้น กะทิ คิด”(184) ตัวตนของพอที่เดนชัดทีส่ ุดคือลุงวสันตผูแอบรักแมของกะทิมาตลอด “เสียงของลุงวสันตนุมนวลและมี บางอยางในทาทีที่กะทิรูสึกอุนใจเมื่ออยูใกล ... ตาสบตากันนิ่งนาน กะทิไดแตหวังวาลุงวสันตจะพบบางสวน เสี้ยวของแมในตัวกะทิบาง ลุงวสันตจูบหนาผากของกะทิเบาๆ” (197) งามพรรณกําหนดใหวสันตปฏิบัติตอ กะทิเสมือนหนึ่งลูกสาว เชนเดียวกับกะทิที่มีแนวโนมวาจะมองลุงวสันตในฐานะพอ การทีก่ ะทิตัดสินใจไม ติดตอพออาจเปนเพราะกะทิมีพอตัวแทนอยูเต็มไปหมด มีอํานาจของผูชายใหพงึ่ พิงไมตองรูส ึกโดดเดี่ยวขาด ไร ประเด็นของลุงตองที่เปนชายที่ไมสนใจผูหญิงก็นาสนใจ ดูเหมือนงามพรรณตองการเปดพื้นที่ใหแก เพศที่แตกตางมากขึ้น แตวาภาพเสนอของลุงตองในฐานะชายที่ไมสนใจผูห ญิงก็ยังคงปราศจากมิติ และเปนวิธี อธิบายผานปากคําของตัวละครอื่นที่ไมใชเจาตัว ยิ่งไปกวานั้นงามพรรณยังใหลงุ ตองทําหนาที่พอ ของนองทิว ดวย แมลุงตองจะมีเพศวิถีที่แตกตาง ทวาเพศสถานะของลุงตองยังคงเปนชายตามการคิดแบงขั้ว “ชาย-หญิง รักตางเพศ” ของปตาธิปไตยอยูนั่นเอง ที่กลาวมาทั้งหมดคือการตีความ ความสุขของกะทิ ผานแวนของสตรีนิยมที่กระเดียดไปทางสายถอน รากถอนโคนหรือสายรากเหงา (Radical feminism) สตรีนิยมสายนี้มองวาวิธีการเดียวทีผ่ ูหญิงจะไดรับความ เทาเทียมคือการลมลางอํานาจชายเปนใหญ ตัวอยางการอานชีวิตของกะทิและผูที่อยูแวดลอมแมจะดูเหมือน การ “จับผิด” แตก็ทําใหเราแนใจวารางแหอํานาจของผูชายนั้นแผคลุมโลกเราอยูท ั้งในระดับสังคมและปจเจก บุคคล อํานาจชายเปนใหญผลิตคานิยมและระบบคิดทีส่ ัมพันธกับสถานภาพและวิธีที่คนปฏิบัติตอกัน หากจะ ใชคําของงามพรรณมาอธิบายเรื่องนี้ คงตองกลาววาอํานาจของผูชายนั้นซึมซานอยูใน “เนื้อชีวิต” ของเรา 0

บทความจาก กรุงเทพธุรกิจ: จุดประกาย (19 มกราคม 2550) แหลงที่มา : http://jaoha11.multiply.com/reviews/item/11 0

~ 98 ~


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.